โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค

ดัชนี เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค

ือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุค หรือ ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน เป็นประมวลกฎหมายแพ่งของประเทศเยอรมนีซึ่งเริ่มร่างเมื่อ ค.ศ. 1881 (พ.ศ. 2424) และมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1900 (พ.ศ. 2443) นับเป็นโครงการขนาดมหึมาและไม่ปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์โลกโครงการหนึ่ง กับทั้งกลายมาเป็นแม่แบบของประมวลกฎหมายแพ่งแห่งประเทศอื่น ๆ ที่ใช้ระบบซีวิลลอว์ อาทิ โปรตุเกส จีนแผ่นดินใหญ่ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน กรีซ ยูเครน และรวมถึงไทย เองด้ว.

10 ความสัมพันธ์: การจัดการงานนอกสั่งการโฆษณาทางโทรศัพท์ที่ไม่พึงปรารถนารายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมายลูกหนี้ร่วมทรัพย์สินประมวลกฎหมายแพ่งสวิสประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประเทศญี่ปุ่นนิติกรรมอำพรางเอกเทศสัญญา

การจัดการงานนอกสั่ง

การจัดการงานนอกสั่ง เป็นกรณีที่บุคคลคนหนึ่งเข้าทำบางสิ่งบางอย่างแทนอีกบุคคลหนึ่งโดยที่เขามิได้มอบหมายเลยก็ดี หรือโดยที่ไม่มีสิทธิทำเช่นนั้นเลยก็ดี เป็นเหตุให้บุคคลทั้งสองนี้เกิดสิทธิและหน้าที่ต่อกันตามที่กฎหมายบัญญัติ แม้อันที่จริงแล้ว เขาอาจไม่ประสงค์จะผูกความสัมพันธ์กันในทางกฎหมายเลยก็ตาม การจัดการงานนอกสั่งเป็นมูลหนี้ (บ่อเกิดของหนี้) ประเภทนิติเหตุ ตรงกันข้ามกับมูลหนี้ประเภทนิติกรรม การจัดการงานนอกสั่งนั้น ภาษาละตินว่า negotiorum gestio แปลว่า การจัดการงาน (ของผู้อื่น) ส่วนในภาษาอังกฤษนั้นมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันไป เช่น.

ใหม่!!: เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคและการจัดการงานนอกสั่ง · ดูเพิ่มเติม »

การโฆษณาทางโทรศัพท์ที่ไม่พึงปรารถนา

การโฆษณาทางโทรศัพท์ที่ไม่พึงปรารถนาวรนารี สิงห์โต, 2553: ออนไลน.

ใหม่!!: เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคและการโฆษณาทางโทรศัพท์ที่ไม่พึงปรารถนา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย

ระบบกฎหมายทั่วโลก รายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย ปัจจุบันระบบกฎหมายทั่วโลกอยู่บนพื้นฐานของระบบกฎหมายสำคัญหนึ่งในสามระบบได้แก่ ระบบซีวิลลอว์ ระบบคอมมอนลอว์ และกฎศาสนา หรือผสมกันมากกว่าสองระบบขึ้นไป อย่างไรก็ดีแต่ละประเทศอาจมีระบบกฎหมายที่มีลักษณะจำเพาะไปที่แตกต่างกันไปตามประวัติศาสตร์ของตน.

ใหม่!!: เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคและรายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

ลูกหนี้ร่วม

ลูกหนี้ร่วม (joint obligor) คือ บุคคลหลายคนที่ร่วมกันผูกพันตนเองในหนี้ (obligation) รายเดียวกันโดยทุกคนต้องชำระหนี้รายนั้นจนครบถ้วน เว้นแต่ลูกหนี้ร่วมคนหนึ่งพ้นจากความเป็นหนี้ หนี้ที่เหลืออยู่ก็ตกเป็นภาระของลูกหนี้ร่วมคนอื่น ๆ ที่จะต้องชำระหนี้ต่อไปจนครบถ้วน การเป็นลูกหนี้ร่วมนั้นภาษาอังกฤษว่า "solidarity" ปรกติแล้วมักพบเห็นแต่ลูกหนี้ (obligor) เดี่ยว ๆ คนเดียว ซึ่งการเป็นลูกหนี้ร่วมนี้ย่อมเป็นผลเสียมากกว่าผลดีเพราะทุกคนต้องร่วมรับผิดชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้จนกว่าหนี้นั้นจะครบถ้วนหรือที่เรียก "ชำระหนี้โดยสิ้นเชิง" (performance in whole) และเจ้าหนี้มีความได้เปรียบกว่าลูกหนี้ร่วมตรงที่จะเรียกให้ลูกหนี้ร่วมคนใดคนหนึ่งรับผิดชำระหนี้โดยสิ้นเชิงแต่ผู้เดียวก็ได้.

ใหม่!!: เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคและลูกหนี้ร่วม · ดูเพิ่มเติม »

ทรัพย์สิน

ทรัพย์ (thing) หมายถึง วัตถุมีรูปร่าง ซึ่งได้แก่สิ่งที่มองเห็นได้ด้วยตา สัมผัสได้ด้วยมือ อาทิ โต๊ะ ตู้ ตั่ง เตียง ช้าง มา วัว ควาย เป็นคำมาจากคำในภาษาสันสกฤตว่า "ทฺรวฺย"ราชบัณฑิตยสถาน, 2551: ออนไลน.

ใหม่!!: เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคและทรัพย์สิน · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายแพ่งสวิส

ประมวลกฎหมายแพ่งสวิส (Zivilgesetzbuch; Civil Code; Code civil; Codice civile) เป็นประมวลกฎหมายแพ่งแห่งประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1907 (พ.ศ. 2450) และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1912 (พ.ศ. 2455) มาจวบจนปัจจุบันนี้ ประมวลกฎหมายนี้ได้อีกชื่อว่า "ประมวลกฎหมายแพ่งสวิส ฉบับวันที่ 10 ธันวาคม..

ใหม่!!: เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคและประมวลกฎหมายแพ่งสวิส · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ย่อ: ป.พ.พ.) เป็นประมวลกฎหมายแพ่ง อันเป็นกฎหมายสารบัญญัติ (substantive law) แห่งประเทศไทย เริ่มร่างครั้งแรกใน ร.ศ. 127 ตรงกับ พ.ศ. 2451 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาเมื่อปีเดียวกัน เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำไว้กับต่างประเทศอันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาลแสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552: 204.

ใหม่!!: เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคและประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่น

ประเทศญี่ปุ่น (ชื่ออย่างเป็นทางการ) เป็นรัฐเอกราชหมู่เกาะในเอเชียตะวันออก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกนอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทรเกาหลีและประเทศจีน โดยมีทะเลญี่ปุ่นกั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค์เป็นเส้นแบ่งแดน ตัวอักษรคันจิของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของดวงอาทิตย์" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะกรวยภูเขาไฟสลับชั้นซึ่งมีเกาะประมาณ 6,852 เกาะ เกาะใหญ่สุดคือ เกาะฮนชู ฮกไกโด คีวชู และชิโกกุ ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 จังหวัดใน 8 ภูมิภาค โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และโอกินาวะเป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 10 ของโลก ชาวญี่ปุ่นเป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุงโตเกียว เมืองหลวงของประเทศ การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่ยุคหินเก่า การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดในเอเชียตะวันออก หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน..

ใหม่!!: เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคและประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

นิติกรรมอำพราง

นิติกรรมอำพราง (hidden transactionGerman Civil Code,.; verdeckte Rechtsgeschäft) หมายถึง นิติกรรมอันหนึ่งที่ทำขึ้นด้วยเจตนาลวง เพื่อปิดบังนิติกรรมอีกอันหนึ่งที่ทำขึ้นด้วยเจตนาอันแท้จริง ซึ่งกฎหมายให้บังคับตามกฎหมายเกี่ยวกับนิติกรรมที่ถูกอำพรางนั้น.

ใหม่!!: เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคและนิติกรรมอำพราง · ดูเพิ่มเติม »

เอกเทศสัญญา

อกเทศสัญญา (specific contract), หนี้เอกเทศ (specific obligation) หรือ สัญญามีชื่อ (nominated contract) เป็นศัพท์กฎหมาย หมายถึง หนี้หรือสัญญาประเภทที่กฎหมายขนานนามให้เป็นพิเศษ เพื่อวางกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องเป็นการเอกเทศ ดังนั้น หนี้หรือสัญญาทั่วไปที่ไม่ปรากฏชื่อตามกฎหมาย จึงได้ชื่อว่า "สัญญาไม่มีชื่อ" (innominate contract) หรือ "หนี้สามัญ" (general obligation) โดยปรกติแล้ว กฎหมายจะวางบทบัญญัติครอบคลุมสัญญาและหนี้เป็นการทั่วไปก่อน เรียกบทบัญญัตินี้ว่า "บททั่วไป" ซึ่งจะใช้บังคับแก่ทุกกรณี และวางหลักเฉพาะเจาะจงสำหรับเรื่องพิเศษบางประเภท เรียกบทบัญญัตินี้ว่า "บทพิเศษ" ซึ่งต้องนำมาใช้ก่อนบททั่วไป เมื่อไม่มีบทพิเศษบัญญัติไว้จึงค่อยยกบททั่วไปมาใช้ เช่น ตามกฎหมายไทย ซื้อขายเป็นเอกเทศสัญญาที่มีบทบัญญัติกำหนดความสัมพันธ์ของคู่กรณีไว้เป็นบทพิเศษ แต่ไม่ได้กำหนดเรื่องการเกิดและการสิ้นสุดลงของสัญญา จึงต้องยกบททั่วไปที่เกี่ยวข้องมาใช้ เอกเทศสัญญาและหนี้เอกเทศนั้นเป็นบทบัญญัติจำพวกบทพิเศษ ส่วนสัญญาไม่มีชื่อและหนี้ทั่วไปคือสัญญาและหนี้ตามบททั่วไปนั่นเอง และเอกเทศสัญญาหรือหนี้เอกเทศจะมีประเภทใดบ้างนั้น ขึ้นอยู่กฎหมายของแต่ละประเท.

ใหม่!!: เบือร์แกร์ลีเชสเกเซทซ์บุคและเอกเทศสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

BGBBürgerliches GesetzbuchCivil Code of GermanyGerman Civil Codeบัวร์แกร์ลิชส์เกเซทซ์บุคประมวลกฎหมายแพ่งแห่งเยอรมนีประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมันประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมนีเบือร์แกร์ลิชส์เกเซทซ์บุคเบเกเบ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »