โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เบอร์ลินตะวันออก

ดัชนี เบอร์ลินตะวันออก

อร์ลินตะวันออก ฤดูร้อน ค.ศ. 1989 เบอร์ลินตะวันออก เป็นชื่อที่เรียกส่วนตะวันออกของเบอร์ลินระหว่างปี ค.ศ. 1949 ถึง 1990 ประกอบด้วยเขตเบอร์ลินใต้ปกครองของโซเวียตซึ่งก่อตั้งใน..

25 ความสัมพันธ์: ฟริตซี ฮาเบอร์แลนด์ทพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียกองทัพประชาชนแห่งชาติการก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953การรวมประเทศเยอรมนีฝั่ม ถิ ฮหว่ายมหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลินวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1983สงครามเย็นอนุสรณ์สถานทหารโซเวียต (สวนเทร็พทัวร์)ผมเป็นชาวเบอร์ลินจอห์น ฮาร์ตฟีลด์ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์ประตูบรันเดินบวร์คประเทศเยอรมนีประเทศเยอรมนีตะวันออกแอร์โครยอเบอร์ลินเบอร์ลินตะวันตกเยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตรเลโอนิด เบรจเนฟเขมรแดง7 ตุลาคม

ฟริตซี ฮาเบอร์แลนด์ท

ฟริตซี ฮาเบอร์แลนด์ท ในปี ค.ศ. 2013 ฟริตซี ฮาเบอร์แลนด์ท (เกิด 6 มิถุนายน ค.ศ. 1975, East-Berlin) เป็นนักแสดงหญิงชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและฟริตซี ฮาเบอร์แลนด์ท · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (Communist Party of Kampuchea; គណបក្សកុំមុយនីសកម្ពុជា; CPK) หรือพรรคคอมมิวนิสต์เขมร (Khmer Communist Party), เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ซึ่งต่อมา กลุ่มที่ได้ครองอำนาจรัฐใน..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย

รรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย (Communist Party of Indonesia; ภาษาอินโดนีเซีย: Partai Komunis Indonesia, PKI) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ที่ไม่ได้มีอำนาจปกครองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก พรรคนี้ถูกปราบปรามอย่างหนักใน..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพประชาชนแห่งชาติ

กองทัพประชาชนแห่งชาติ (NPA) (German: Nationale Volksarmee – NVA) เป็นชื่อเรียกของกองทัพสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี มีกำลังทหารประมาณ 120,000 นาย กองทัพประชาชนแห่งชาติถูกสถาปนาในปี 1956 และถูกยุบในปี 1990 กองทัพมีส่วนในการบุกครองพร้อมกับกองทัพสหภาพโซเวียต ต่อรัฐบาลเชโกสโลวาเกียในช่วงปรากสปริง ในปี 1968 นอกจากนี้ยังมีการพบว่ามีเจ้าหน้าที่ทางทหารของเยอรมนีตะวันออกทำงานให้กับรัฐบาลคอมมิวนิสต์ในแอฟริกาในช่วงสงครามเย็น.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและกองทัพประชาชนแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953

การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและการก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953 · ดูเพิ่มเติม »

การรวมประเทศเยอรมนี

ผู้คนออกมารวมตัว ณ กำแพงเบอร์ลิน การรวมประเทศเยอรมนี (Deutsche Wiedervereinigung) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและการรวมประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ฝั่ม ถิ ฮหว่าย

ฝั่ม ถิ ฮหว่าย (Phạm Thị Hoài) เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและฝั่ม ถิ ฮหว่าย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน

มหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน (FU Berlin; เยอรมัน: Freie Universität Berlin; อังกฤษ: The Free University of Berlin) เป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งใน ค.ศ. 1948 โดยนักศึกษาและอาจารย์ที่ถูกไล่ออก เพราะมุมมองทางการเมืองของพวกเขา จากมหาวิทยาลัยฮุมโบลด์ทแห่งเบอร์ลิน (ก่อนหน้านี้ชื่อ Friedrich-Wilhelms-Universität) ซึ่งในตอนนั้นควบคุมดูแลโดยผู้มีอำนาจในเขตดูแลของโซเวียต (เบอร์ลินตะวันออก) ใน ค.ศ. 1968 มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์กลางของขบวนการนักศึกษาฝ่ายซ้าย พร้อม ๆ กับนักศึกษาในปารีส ลอนดอน และเบิร์กลี.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและมหาวิทยาลัยเสรีแห่งเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1983

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1983 (1983 Men's European Volleyball Championship) เป็นครั้งที่ 13 ของการแข่งขัน อยู่ภายใต้การกำกับของสมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป จัดขึ้นที่ เยอรมนีตะวันออก ระหว่างวันที่ 17–25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 1983 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเย็น

กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ. 1989 เป็นสัญลักษณ์ว่าสงครามเย็นใกล้ยุติ สงครามเย็น (Cold War Холодная война) เป็นสถานะความตึงเครียดทางการเมืองและการทหารหลังสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างประเทศในกลุ่มตะวันตก (สหรัฐอเมริกา พันธมิตรเนโท ฯลฯ) และประเทศในกลุ่มตะวันออก (สหภาพโซเวียตและพันธมิตรในสนธิสัญญาวอร์ซอ) นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ส่วนใหญ่ถือ..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและสงครามเย็น · ดูเพิ่มเติม »

อนุสรณ์สถานทหารโซเวียต (สวนเทร็พทัวร์)

นรามาของอนุสรณ์สถานทหารโซเวียต (สวนเทร็พทัวร์) อนุสรณ์สถานทหารโซเวียต (Sowjetisches Ehrenmal im Treptower Park) เป็นอนุสรณ์สถานสงครามและสุสาน ตั้งอยู่ที่สวนเทร็พทัวร์ใกล้กรุงเบอร์ลิน (เบอร์ลินตะวันออกในอดีต) อนุสรณ์ออกแบบโดยสถาปนิกชาวโซเวียต ยาคอฟ เบโลปอลสกี โดยสร้างเพื่อรำลึกถึงทหารโซเวียต 7,000 ถึง 80,000 คนที่เสียชีวิตระหว่างการรบในยุทธการที่เบอร์ลิน ระหว่างเดือน เมษายน ถึง พฤษภาคม 1945 อนุสรณ์สถานเปิดให้เข้าชมในวันที่ 8 พฤษภาคม 1949 หลังสงครามโลกครั้งที่สอง จบลง 4 ปี อนุสรณ์สถานเป็นอนุสรณ์สถานหลักของเยอรมนีตะวันออก โดยอนุสรณ์สถานนี้เป็นหนึ่งในสามอนุสรณ์สถานทหารโซเวียตที่สร้างในกรุงเบอร์ลิน โดยมีอนุสรณ์สถานอีกสองที่คือ อนุสรณ์สถานที่เทียร์การ์เทน สร้างขึ้นในปี 1945 ในเขตเทียร์การ์เทน ต่อมาเขตนี้เป็นของเบอร์ลินตะวันตก และ อนุสรณ์สถานที่เชินฮอลเซอร์ ไฮเดอ ในเขตพานโคฟ อนุสาวรีย์หลักของอนุสรณ์สถานทหารโซเวียตออกแบบและสร้างโดยสถาปนิกชาวโซเวียต เยฟเกนี วูเชติช มีความสูง 12 เมตร อนุสาวรีย์ประกอบไปด้วยทหารโซเวียตถือดาบกำลังอุ้มเด็กผู้หญิงชาวเยอรมัน โดยยืนอยู่เหนือ เครื่องหมายสวัสดิกะที่ถูกทำลาย โดยสร้างจากความประสงค์ของจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต วาซีลี ชุยคอฟ โดยเพื่อรำลึกถึงสิบเอกนิโคไล มาซาลอฟ ระหว่างการบุกครั้งสุดท้ายที่ตอนกลางของกรุงเบอร์ลิน โดยได้ช่วยชีวิตเด็กสาวอายุสามขวบ ที่ตามหาแม่ที่หายไปท่ามกลางกระสุนปืนกลของนาซี นอกจากนี้อนุสรณ์สถานยังมีโลงหิน 16 โลง แต่ละโลงจะจารึกชื่อ 16 สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต (ในปี 1940–56 โดยรวมถึง สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตคารีโล-ฟินนิช ต่อมาคือ สาธารณรัฐปกครองตนเองสังคมนิยมโซเวียตคาเรลียา ในชื่อ 16 "สาธารณรัฐของสหภาพ") โดยที่หินอ่อนสีน้ำตาลแดงและโลงหินที่ใช้ในการสร้างอนุสรณ์สถานทหารโซเวียตนี้ส่วนใหญ่ได้มาจากการทำลายอาคารทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ หลังจากที่กำแพงเบอร์ลินถูกทำลาย มีผู้ไม่หวังดีนิรนามได้ทำลายข้าวของในอนุสรณ์สถาน รวมถึงได้สร้างรอยขูดขีดเขียนต่อต้านโซเวียต ทำให้ชาวเยอรมันตะวันออก 250,000 คน ได้มีการเดินขบวนที่อนุสรณ์สถานในวันที่ 3 มกราคม 1990.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและอนุสรณ์สถานทหารโซเวียต (สวนเทร็พทัวร์) · ดูเพิ่มเติม »

ผมเป็นชาวเบอร์ลิน

"อิช บิน ไอน์ แบร์ลีแนร์" (Ich bin ein Berliner, "ผมเป็นชาวเบอร์ลิน") เป็นตอนหนึ่งของสุนทรพจน์โดยประธานาธิบดีสหรัฐ จอห์น เอฟ. เคนเนดี ในเบอร์ลินตะวันตก เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและผมเป็นชาวเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ฮาร์ตฟีลด์

อห์น ฮาร์ทฟิล (John Heartfield) เดิมชื่อว่า เฮลมุท เฮิร์ซเฟล (Helmut Hearzfeld) เกิดเมื่อ 19 มิถุนายน..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและจอห์น ฮาร์ตฟีลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์

ทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ (Reichskanzlei ไรชส์คันซไล) คือชื่อที่ใช้เรียกสำนักงานและที่พำนักประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี (ไรชส์คันซเลอร์) ในยุคไรช์เยอรมันระหว่าง..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและทำเนียบนายกรัฐมนตรีไรช์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์

ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์ (Flughafen Berlin-Schönefeld) เป็นท่าอากาศยานระดับรองตั้งอยู่ห่างจากกรุงเบอร์ลินไปทางตะวันตกเฉียงใต้ราว 18 กิโลเมตร ใกล้กับเมืองเชอเนอเฟ็ลท์ในรัฐบรันเดินบวร์ค ท่าอากาศยานแห่งนี้เป็นท่าอากาศยานหนึ่งในสองแห่งของเบอร์ลิน อีกแห่งหนึ่งคือท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์ลินเทเกิล ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า ท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์เคยเป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศเยอรมนีตะวันออก ซึ่งในยุคนั้นถือเป็นท่าอากาศยานเพียงแห่งเดียวของเบอร์ลินตะวันออก ในอนาคตอันใกล้มีแผนจะย้ายการดำเนินงานทั้งหมดในท่าอากาศยานแห่งนี้ไปยังท่าอากาศแห่งใหม่คือท่าอากาศยานเบอร์ลินบรันเดินบวร์ค มีกำหนดเปิดใช้งานในปี..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและท่าอากาศยานเบอร์ลินเชอเนอเฟ็ลท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประตูบรันเดินบวร์ค

ประตูบรันเดินบวร์ค ประตูบรันเดินบวร์ค (Brandenburger Tor) เป็นอดีตประตูเมืองที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นประตูชัยที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก (Neoclassical) และปัจจุบันถือว่าเป็นสถานที่สำคัญที่เป็นที่รู้จักกันอย่างดีใน กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ฝั่งตะวันของใจกลางกรุงเบอร์ลินบริเวณชุมทางระหว่างถนนหลวงอุนเทอร์ เดน ลินเดน (Unter den Linden) กับถนนอีบัทสทราสเซ่ (Ebertstraße) และอยู่ทางทิศตะวันตกของจัตุรัสพาริเซอร์ (Pariser Platz) ห่างประตูออกไปทางเหนือหนึ่งบล็อก เป็นที่ตั้งของ อาคารรัฐสภาไรชส์ทาค ประตูแห่งนี้เป็นอนุสรณ์ของทางเข้าสู่ถนนอุนเทอร์ เดน ลินเดน ซึ่งเป็นถนนหลวงที่มีชื่อเสียงมาจากต้นลินเดน (บางที่เรียกต้นทิเลีย หรือต้นไลม์) ซึ่งเป็นถนนที่ตรงไปสู่พระราชวังเมือง (Stadtschloss/Berlin City Palace) ของพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรปรัสเซีย (Prussia) พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 2 แห่งปรัสเซียทรงมีรับสั่งให้สร้างประตูบรันเดินบวร์คเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพ ใช้เวลาสร้างตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2331 ถึงปี 2334 โดยนายคาร์ล ก็อทท์ฮาร์ด แลงฮานส์ แล้วได้รับความเสียหายในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อมาประตูบรันเดินบวร์คก็ได้รับการบูรณะจนเสร็จสิ้นในช่วงปีพุทธศักราช 2543 ถึง 2545 โดยมูลนิธิอนุรักษ์อนุสาวรีย์เบอร์ลิน (Stiftung Denkmalschutz Berlin) ในช่วงหลังสงครามที่ได้แบ่งประเทศเยอรมนีออกเป็นสองส่วน ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ในเยอรมนีตะวันออก และได้แยกออกจากเยอรมนีตะวันตก ซึ่งมีกำแพงเบอร์ลินกั้นไว้ บริเวณโดยรอบประตูถือว่าเป็นจุดเด่นที่เด่นชัดที่สุดในการคุ้มครองสื่อในการเผยแพร่การเปิดผนังกำแพงในปีพุทธศักราช 2532 ตั้งแต่มีการสร้างประตู บ่อยครั้งเกิดเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ของเยอรมนีในบริเวณประตูบรันเดินบวร์ค และวันนี้ก็ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของความปั่นป่วนในประวัติศาสตร์ยุโรป แต่ก็เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นเอกภาพและสันติภาพของยุโรปด้ว.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและประตูบรันเดินบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนีตะวันออก

อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและประเทศเยอรมนีตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

แอร์โครยอ

แอร์โครยอ (context, โครยอฮังกง; ชื่อเดิมคือ โชซ็อนมินฮัง (조선민항)) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศเกาหลีเหนือ ดำเนินการโดยรัฐบาล มีศูนย์บัญชาการในเขตซูนัน กรุงเปียงยาง และมีฐานการบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน (IATA: FNJ) โดยให้บริการเที่ยวบินประจำและเที่ยวบินพิเศษไปยังจุดหมายปลายทางในทวีปเอเชียและยุโรป แอร์โครยอ มีสำนักงานสายการบินในกรุงปักกิ่ง กับนครเสิ่นหยาง ประเทศจีน, นครวลาดีวอสตอค ประเทศรัสเซีย, กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี และมีสำนักงานขายในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย, ประเทศสิงคโปร์, กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน, เขตบริหารพิเศษฮ่องกง, ประเทศคูเวต, ประเทศอิตาลี, ประเทศออสเตรีย และประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและแอร์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลินตะวันตก

แสดงอาณาเขตของกรุงเบอร์ลินที่อยู่ในการปกครองของประเทศต่างๆ โดยที่เบอร์ลินตะวันตกจะแสดงด้วยสีน้ำเงิน ม่วงและฟ้า เบอร์ลินตะวันตก เป็นชื่อเรียกของฝั่งตะวันตกของเมืองเบอร์ลิน ในช่วงปี ค.ศ. 1949 ถึง ปี ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและเบอร์ลินตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร

มื่อนาซีเยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะจึงได้แสดงสิทธิ์การปกครองเหนือดินแดนของรัฐเยอรมัน (เยอรมันไรช์) ที่ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันตกของแนวโอเดอร์-ไนเซอ (Oder–Neisse line) และล้มล้างรัฐบาลภายใต้การปกครองของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ลง (ดูที่ปฏิญญาเบอร์ลิน ค.ศ. 1945) จากนั้นมหาอำนาจทั้ง 4 ของฝ่ายสัมพันธมิตรจึงได้แบ่งแยกเยอรมนีออกเป็น เขตยึดครอง จำนวนสี่เขตเพื่อเป้าหมายด้านการปกครอง โดยให้ฝรั่งเศสปกครองดินแดนทางตะวันตกเฉียงใต้ สหราชอาณาจักรปกครองดินแดนทางตะวันตกเฉียงเหนือ สหรัฐปกครองดินแดนตอนใต้ และสหภาพโซเวียตปกครองภาคตะวันออก และบริเวณนี้เป็นที่รู้จักโดยรวมภายใต้ชื่อ เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร (Alliierten-besetztes Deutschland) การแบ่งแยกนี้เป็นที่ยอมรับและให้สัตยาบัน ณ การประชุมพอทสดัม ระหว่างวันที่ 17 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและเยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนิด เบรจเนฟ

ลโอนิด อิลลิช เบรจเนฟ (Леонид Ильич Брежнев; Leonid Illyich Brezhnev; 19 ธันวาคม 2449 – 10 ธันวาคม 2525) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและประธานาธิบดีโซเวียตคนที่ 8 ระหว่างสงครามเย็น.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและเลโอนิด เบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

7 ตุลาคม

วันที่ 7 ตุลาคม เป็นวันที่ 280 ของปี (วันที่ 281 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 85 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เบอร์ลินตะวันออกและ7 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

East Berlin

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »