โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เทลอาวีฟ

ดัชนี เทลอาวีฟ

thumbtime.

93 ความสัมพันธ์: บอนน์ชาลอมชาวเบตาอิสราเอลฟิสิกส์โอลิมปิกระดับทวีปเอเชียฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2013ฟุตบอลทีมชาติอิสราเอลฟุตบอลทีมชาติไซปรัสฟุตบอลทีมชาติเลบานอนพ.ศ. 2539พาราลิมปิกฤดูร้อน 1968กรกฎาคม พ.ศ. 2549กลุ่มภาษาเซมิติกการสังหารหมู่ที่ท่าอากาศยานลอดการแต่งงานโดยฉันทะกีฬาพาราลิมปิกภาษาลิซาน ดิดันมิสเวิลด์ 2016มิสเวิลด์ 2017ยิตซัก เพิร์ลแมนยิตซัค ราบินยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2013–14 รอบแพ้คัดออกยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบแบ่งกลุ่มยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบแบ่งกลุ่มยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2010–11 รอบแบ่งกลุ่มยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่มรหัสเที่ยวบินรายชื่อระบบรถไฟและรถไฟฟ้าชานเมืองรายชื่อสวนสัตว์รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอิสราเอลรายชื่อเมืองที่มีตึกระฟ้ามากที่สุดในโลกสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในอิสราเอลสิงหาคม พ.ศ. 2548สโมสรฟุตบอลมัคคาบีเทลอาวีฟสโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2015–16อัลแฟรด ฟินปอกาซอนอาเรียล ชารอนอิซมีร์อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ฮะเดราจอร์เจียแอร์เวย์จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์จุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ธรรมศาลา...ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติเบนกูเรียนดานา อินเตอร์เนชันแนลดิอะเมซิ่งเรซ: Ha'Merotz La'Millionคีชีเนาคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่นคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกาคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลีคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจียคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีนคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถานคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกสคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทยคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัสคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาลปฏิบัติการเสาค้ำเมฆาประเทศอิสราเอลนาตาเนียนีโคไล บุลกานินแอล อัลแดน เชชท์มันแดเนียล คาฮ์นะมันโมเช ดายันโยคานัน อาเฟ็กโอฟรา ฮาซาโอเดด เฟหร์โนแอม ดาร์เบนจามิน เนทันยาฮูเม็นออฟอิสราเอลเลิฟพาเหรดเอลี โคเฮนเอฮุด โอลเมิร์ตเฮอร์มันน์ ฟาลเลนทินเดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์เซาเปาลูเปตะห์ติกวา4 มีนาคม ขยายดัชนี (43 มากกว่า) »

บอนน์

อนน์ (Bonn) เป็นเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 19 ของประเทศเยอรมนี ตั้งอยู่ห่างออกไปประมาณ 25 กิโลเมตร ทางใต้ของโคโลญ บนแม่น้ำไรน์ในรัฐนอร์ทไรน์-เวสต์ฟาเลีย บอนน์เคยเป็นเมืองหลวงของอดีตประเทศเยอรมนีตะวันตก ในช่วง ค.ศ. 1949 ถึง ค.ศ. 1990 และเป็นที่ตั้งอย่างเป็นทางการของรัฐบาลจนถึง ค.ศ. 1990 เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 1998 องค์กรรัฐบาลแห่งชาติหลายแห่งได้ย้ายจากบอนน์ไปเบอร์ลิน สภาทั้งสองแห่งของรัฐสภาแห่งชาติเยอรมัน คือ บุนเดสทาก (Bundestag - สภาล่าง) และ บุนเดสราท (Bundesrat - สภาสูง) ได้ย้ายไป พร้อมกับสำนักนายกรัฐมนตรี (Chancellery) และบ้านพักประธานาธิบดี อย่างไรก็ตาม บอนน์ยังคงเป็นศูนย์กลางการเมืองและการปกครองแห่งหนึ่งอยู่ ประมาณครึ่งหนึ่งของตำแหน่งงานในรัฐบาลไม่ได้ย้ายไปไหน เนื่องจากหน่วยงานรัฐบาลหลายแห่งยังคงอยู่ที่บอนน์และหน่วยงานระดับเล็กกว่ากระทรวงจำนวนมากได้ย้ายมาจากเบอร์ลินและส่วนอื่น ๆ ของเยอรมนีเพื่อเป็นการแสดงความสำคัญ เมืองหลวงเก่าแห่งนี้จึงได้ชื่อว่า นครสหพันธ์ ("Bundesstadt").

ใหม่!!: เทลอาวีฟและบอนน์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาลอม

"ชาลอม" ในภาษาฮีบรู ชาลอม (ฮีบรู: שָׁלוֹם, ฮีบรูเซฟาร์ติก/ฮีบรูอิสราเอล: Shalom; ฮีบรูอาซเกนาซี/ยิดดิช: Sholem, Shoilem, Shulem) เป็นคำภาษาฮีบรูที่หมายถึง สันติภาพ ความสมบูรณ์ และสวัสดิภาพ และสามารถใช้เป็นสำนวนในความหมายทั้งสวัสดีและลาก่อน คำนี้สามารถหมายถึงสันติภาพระหว่างสิ่งที่มีอยู่จริงสองอย่าง (โดยเฉพาะระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าหรือระหว่างสองประเทศ) หรือความเป็นอยู่ที่ดี สวัสดิภาพหรือความปลอดภัยของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล คำคำนี้ยังพบในรูปแบบอื่นๆอีก โดยมีความหมายเช่นเดียวกับ salaam ในภาษาอาหรับ sliem ในภาษามอลตา Shlama (ܫܠܡܐ) ในภาษาซีเรียค และภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย และ sälam ในภาษากลุ่มเซมิติกในเอธิโอเปีย คำเหล่านี้มีที่มาจากรากศัพท์ S-L-M ในภาษาเซมิติกดั้งเดิม.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและชาลอม · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเบตาอิสราเอล

วเบตาอิสราเอล (ภาษาฮีบรู: בֵּיתֶא יִשְׂרָאֵל‎‎ - Beyte (beyt) Israel, ภาษากีเอซ: ቤተ እስራኤል - Bēta 'Isrā'ēl, modern Bēte 'Isrā'ēl, EA: "Betä Əsraʾel", บ้านของอิสราเอล") หรือชาวยิวเอธิโอเปีย (ภาษาฮีบรู: יְהוּדֵי ‏אֶ‏תְיוֹ‏פְּ‏יָ‏ה‎‎: yehudei itiyopya, ภาษากีเอซ: "የኢትዮጵያ አይሁድዊ", ye-Ityoppya Ayhudi), เป็นชื่อของชุมชนชาวยิวที่อาศัย ในบริเวณของจักรวรรดิอัคซุมหรือจักรวรรดิเอธิโอเปีย (ฮาเบซหรืออบิสซิสเนีย) ซึ่งปัจจุบันถูกแบ่งเป็นเขตอัมฮาราและตึกรึญญา ชาวเบตาอิสราเอลอาศัยอยู่ทางเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือของเอธิโอเปีย มีหมู่บ้านอย่างน้อย 500 หมู่บ้าน กระจายในเขตปกครองของชาวคริสต์และมุสลิม ส่วนใหญ่อาศัยอยู่หนาแน่นบริเวณทะเลสาบทานา และทางเหนือของทะเลสาบในติเกร กอนเดอร์ และเวลโล มีส่วนน้อยอาศัยอยู่ในเมืองกอนเดอร์และแอดดิส อะบาบา เกือบทั้งหมดของชุมชนชาวเบตาอิสราเอลในเอธิโอเปียมากกว่า 120,000 คนอาศัยอยู่ในอิสราเอลภายใต้กฎหมายของการอพยพกลับซึ่งจะทำให้ชาวยิวและผู้ที่มีพ่อแม่หรือปู่ย่าตายายเป็นชาวยิวและคู่สมรสของพวกเขามีสิทธิที่จะตั้งถิ่นฐานในอิสราเอลและได้รับสัญชาติ รัฐบาลอิสราเอลได้ดำเนินการช่วยเหลือชาวเบตาอิสราเอลส่วนใหญ่โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างปฏิบัติการโมเสส(พ.ศ. 2527) และปฏิบัติการโซโลมอน (พ.ศ. 2534) การย้ายถิ่นของพวกเขาเกิดขึ้นเมื่อเกิดสงครามกลางเมืองและความอดอยากคุกคามประชากรชาวยิวในประเทศเอธิโอเปีย การอพยพได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ทุกวันนี้ชาวเบตาอิสราเอล 81,000 คน เกิดในเอธิโอเปียในขณะที่ 38,500 คนหรือ 32% เกิดในอิสราเอล.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและชาวเบตาอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ฟิสิกส์โอลิมปิกระดับทวีปเอเชีย

การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับทวีปเอเชีย (Asian Physics Olympiad: APhO) เป็นการแข่งขันฟิสิกส์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกๆ ปี ยังเป็นการแข่งขันหนึ่งของการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ ที่จัดเป็นระดับภูมิภาค ยังเป็นการแข่งขันฟิสิกส์รายการเดียวที่จัดขึ้นในระดับภูมิภาค โดยมีต้นกำเนิดมาจากฟิสิกส์โอลิมปิก โดยจะจัดล่วงหน้าการแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกประมาณ 2 เดือน.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและฟิสิกส์โอลิมปิกระดับทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2013

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2013 เป็นการจัดฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี ครั้งที่ 19 ของ ยูฟ.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2013 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอิสราเอล

ฟุตบอลทีมชาติอิสราเอล (נבחרת ישראל בכדורגל) เป็นฟุตบอลทีมชาติจากประเทศอิสราเอล ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลอิสราเอล (IFA).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและฟุตบอลทีมชาติอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติไซปรัส

ฟุตบอลทีมชาติไซปรัส (Εθνική ομάδα ποδοσφαίρου της Κύπρου) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศไซปรัส อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลไซปรัสซึ่งควบคุมดูแลฟุตบอลในประเทศไซปรัส สนามเหย้าของทีมชาติคือ จีเอสพี สเตเดียม ตั้งอยู่ที่นิโคเซีย ผู้ฝึกสอนคนปัจจุบันคือแรน เบน ชิมอน ไซปรัสไม่เคยผ่านรอบคัดเลือกของฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปหรือฟุตบอลโลกเล.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและฟุตบอลทีมชาติไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเลบานอน

ฟุตบอลทีมชาติเลบานอน (อาหรับ: المنتخب اللبناني لكرة القدم; ฝรั่งเศส: Équipe du Liban de football) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศเลบานอน มีฉายาคือ "ต้นซีดาร์" อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลเลบานอน (LFA) ซึ่งเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) และสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) อันดับโลกฟีฟ่าที่สูงที่สุดคืออันดับที่ 85 ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและฟุตบอลทีมชาติเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พาราลิมปิกฤดูร้อน 1968

ราลิมปิกฤดูร้อน 1968 (Paralympic 1968) หรือการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 3 เป็นการแข่งขันกีฬาคนพิการระดับโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่Tel Aviv ประเทศอิสราเอล ระหว่างวันที่ 4 พฤศจิกายน ถึง 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2511.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและพาราลิมปิกฤดูร้อน 1968 · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและกรกฎาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติก

หมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย กลุ่มภาษาเซมิติก (Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน) กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและกลุ่มภาษาเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่ที่ท่าอากาศยานลอด

การสังหารหมู่ที่ท่าอากาศยานลอด เป็นการก่อการร้ายที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและการสังหารหมู่ที่ท่าอากาศยานลอด · ดูเพิ่มเติม »

การแต่งงานโดยฉันทะ

้าหญิงเฮนเรียตตา มาเรียแห่งฝรั่งเศสทรงเสกสมรสโดยฉันทะเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1625 และด้วยพระองค์เองเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน ในปีเดียวกัน (ภาพเขียนของทั้งสองพระองค์โดยแอนโทนี แวน ไดค์ (เมษายน ค.ศ. 1634)) การแต่งงานโดยฉันทะ (ภาษาอังกฤษ: Proxy marriage หรือ Proxy wedding) เป็นการแต่งงานโดยที่เจ้าบ่าวหรือเจ้าสาวมิได้ปรากฏตัวในพิธีการแต่งงาน แต่ในพิธีจะให้ผู้มีอำนาจแทนทางกฎหมาย, ผู้แทน, ผู้รับฉันทะแสดงตัวเป็นตัวแทนผู้ที่ไม่สามารถปรากฏตัวได้ ถ้าทั้งเจ้าบ่าวและเจ้าสาวไม่สามารถปรากฏตัวได้ก็จะเรียกการแต่งงานว่าเป็นแบบ “การแต่งงานโดยฉันทะซ้อน” (Double-proxy Marriage).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและการแต่งงานโดยฉันทะ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาพาราลิมปิก

กีฬาพาราลิมปิก (Paralympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับคนพิการหลายประเภทจากทั่วโลก โดยอยู่ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการพาราลิมปิกสากล (International Paralympic Committee; IPC) โดยในปัจจุบัน กีฬาพาราลิมปิกจะจัดขึ้น หลังจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสิ้นสุดลง และประเทศเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกครั้งนั้น ก็จะเป็นเจ้าภาพจัดแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกด้ว.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและกีฬาพาราลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลิซาน ดิดัน

ษาลิซาน ดิดัน (Lishan Didan) เป็นภาษาอราเมอิกใหม่ จุดเริ่มต้นของภาษาอยู่ในอาเซอร์ไบจานของอิหร่าน บริเวณทะเลสาบอูร์เมีย ปัจจุบันผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในอิสราเอล คำว่าลิซาน ดิดันหมายถึงภาษาของเรา นักสัทศาสตร์ได้ตั้งชื่ออื่นให้ภาษานี้เพื่อลดความสับสนว่าภาษาอราเมอิกใหม่อาเซอร์ไบจานอิหร่านของชาวยิวหรือภาษาลาโคลคี.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและภาษาลิซาน ดิดัน · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2017

มิสเวิลด์ 2017 ครั้งที่ 67 ของการประกวดมิสเวิลด์ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและมิสเวิลด์ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

ยิตซัก เพิร์ลแมน

ตซัก เพิร์ลแมน (יצחק פרלמן‎) นักไวโอลิน ผู้อำนวยเพลง และครูสอนดนตรีชาวอเมริกันเชื้อสายอิสราเอลที่มีชื่อเสียงในระดับโลก เพิร์ลแมนเกิดที่เมืองเทลอาวีฟ ดินแดนปาเลสไตน์ของอังกฤษ (ปัจจุบันคือประเทศอิสราเอล) เคยป่วยเป็นโปลิโอตั้งแต่อายุ 4 ขวบ แต่ได้รับการรักษาจนหายดี และเข้าเรียนไวโอลินที่สถาบันการดนตรีที่เทลอาวีฟ และได้รับทุนเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนจูลเลียร์ด เพิร์ลแมนออกแสดงในที่สาธารณะเป็นครั้งแรกเมื่ออายุ 18 ปี ที่คาร์เนกีฮอลล์ นิวยอร์ก และชนะเลิศการแข่งขัน Leventritt Competition ในปีถัดมา ปัจจุบันเขามีผลงานร่วมกับวง เซนต์หลุยส์ซิมโฟนี และนิวยอร์กฟิลฮาร์โมนิก ผลงานแสดงของเพิร์ลแมนที่มีชื่อเสียง คือการเล่นในพิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ ของบารัค โอบามา เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2551 เป็นการเล่นควอร์เทท ร่วมกับโย-โย มา (เชลโล) กาเบรียลา มอนเทอโร (เปียโน) และแอนโทนี แม็กกิล (คลาริเนต) และการบรรเลงที่ทำเนียบขาว ในงานเลี้ยงอาหารค่ำ เพื่อเป็นเกียรติแก่สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและยิตซัก เพิร์ลแมน · ดูเพิ่มเติม »

ยิตซัค ราบิน

ตซัค ราบิน (יִצְחָק רַבִּין) (1 มีนาคม ค.ศ. 1922 – 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995) เป็นนักการเมือง รัฐบุรุษ และนายพลเอกชาวอิสราเอล ราบินเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนที่ 5 ของประเทศอิสราเอล โดยดำรงตำแหน่ง 2 วาระ คือเมื่อ..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและยิตซัค ราบิน · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2013–14 รอบแพ้คัดออก

รอบแพ้คัดออก หรือรอบน็อกเอาต์ ในการแข่งขันยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2013-14 เริ่มแข่งขันในวันที่ 20 กุมภาพัน..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2013–14 รอบแพ้คัดออก · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ

การแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ เริ่มต้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายนและจะสิ้นสุดในวันที่ 25 สิงหาคม..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบแบ่งกลุ่ม

รอบแบ่งกลุ่ม ในการแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 จะเริ่มแข่งขันตั้งแต่วันที่ 15 กันยายน..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบแบ่งกลุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ

การแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ เริ่มต้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน และจะสิ้นสุดในวันที่ 24 สิงหาคม..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบแบ่งกลุ่ม

รอบแบ่งกลุ่ม ในการแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2017–18 จะเริ่มแข่งขันตั้งแต่วันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2017–18 รอบแบ่งกลุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2010–11 รอบแบ่งกลุ่ม

รอบแบ่งกลุ่ม ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2010–11 เริ่มแข่งขันในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2010–11 รอบแบ่งกลุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ

รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 เริ่มแข่งขันในวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่ม

รอบแบ่งกลุ่ม ในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 เริ่มแข่งขันในวันที่ 15 กันยายน..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

รหัสเที่ยวบิน

รหัสเที่ยวบินบน ป้ายแสดงผลแบบพับ ภายในสนามบินแฟรงเฟิร์ต รหัสเที่ยวบิน (อังกฤษ: flight number) ประกอบไปด้วยรหัสของสายการบินและเลขเที่ยวบิน เพื่อที่จะแสดงถึงเที่ยวบินนั้นโดยเฉพาะ รหัสเที่ยวบินไม่ควรที่จะเกี่ยวข้องกับ รหัสประจำเครื่องบินใช้เป็นสัญญาณเรียกขานในการบิน ในรหัสเที่ยวบินหนึ่งอาจบินหลายเที่ยวบินในหนึ่งวัน และรหัสเที่ยวบินหนึ่งอาจใช้กับเครื่องบินหลายลำ.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและรหัสเที่ยวบิน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อระบบรถไฟและรถไฟฟ้าชานเมือง

รายชื่อระบบรถไฟและรถไฟฟ้าชานเมืองที่มีอยู่ทั่วโลก.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและรายชื่อระบบรถไฟและรถไฟฟ้าชานเมือง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสวนสัตว์

;.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและรายชื่อสวนสัตว์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ

รายชื่อสนามกีฬาฟุตบอลเรียงตามความจุ นับตามจำนวนเก้าอี้ ตามข้อกำหนดฟีฟ่าขั้นต่ำ 40,000 ที่นั่ง ที่สามารถจัดการแข่งขันรายการระดับฟุตบอลโลกได้ จำนวนรายชื่อดังกล่าวมีทั้งสนามกีฬาแห่งชาติ และสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล ส่วนใหญ่จะเป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์และสนามฟุตบอล.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอิสราเอล

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศอิสราเอลทั้งสิ้น 9 แหล่ง.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเมืองที่มีตึกระฟ้ามากที่สุดในโลก

นี่คือรายชื่อเมืองที่มีตึกระฟ้ามากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและรายชื่อเมืองที่มีตึกระฟ้ามากที่สุดในโลก · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในอิสราเอล

ทธิของเลสเบียน เกย์ ไบเซ็กชวล คนข้ามเพศ (กลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ) ในอิสราเอล ถือว่าพัฒนามากที่สุดในประเทศตะวันออกกลาง โดยในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและสิงหาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลมัคคาบีเทลอาวีฟ

มสรฟุตบอลมัคคาบีเทลอาวีฟ (מועדון כדורגל מכבי תל אביב; Moadon Kaduregel Maccabi Tel Aviv) เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพแห่งหนึ่งในประเทศอิสราเอล และเป็นส่วนหนึ่งของ สโมสรกีฬามัคคาบีเทลอาวีฟ เป็นเพียงสโมสรเดียวที่ไม่เคยตกชั้นจากลีกสูงสุดของประเทศ และเป็นหนึ่งในสามทีมของประเทศที่เคยเข้าแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก สโมสรมีการลงทุนและพัฒนาเป็นอย่างมาก และยังมีการปั้นเด็กผู้มีพรสรรค์ทางด้านฟุตบอล โดยมีพื้นที่อะคาเดมีของเยาวชนถึงสามแห่งในเทลอาวีฟ สโมสรมีทีมเยาวชน 17 ทีม ผู้เล่น 400 คน ซึ่งมีอายุระหว่าง 9-19 ปี ทำให้สโมสรประสบความสำเร็จมาก.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและสโมสรฟุตบอลมัคคาบีเทลอาวีฟ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2015–16

ูกาล 2015–16 เป็นฤดูกาลที่ 102 ของเชลซี, และเป็นฤดูกาลที่ 24 ของ พรีเมียร์ลีก, และเป็นปีที่ 110 ในการดำรงก่อตั้ง สโมสรฟุตบอล เชลซีได้เข้ามาร่วมแข่งขันใน พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2015–16 หลังจากครองแชมป์พรีเมียร์ลีก เป็นสมัยที่สี่ได้สำเร็จใน ฤดูกาลที่ผ่านมา แต่ผลการแข่งขันโดยรวมในพรีเมียร์ลีกของเชลซี เมื่อผ่านไปเกือบครึ่งฤดูกาลไม่ดีเอาเสียเลย เมื่อเป็นฝ่ายแพ้ไปถึง 9 นัด จากการแข่งขันทั้งสิ้น 16 นัด อยู่ในอันดับที่ 16 ของตารางคะแนน ซึ่งเกือบที่จะตกชั้น โดยมีคะแนนเหนือทีมอันดับที่ 17 คือ สวอนซีซิตี เพียงคะแนนเดียวเท่านั้น ทำให้ในปลายปี 2015 ทางสโมสรได้ตัดสินใจปลด โชเซ มูรีนโย ผู้จัดการทีมชาวโปรตุเกส ที่หวนกลับมารับหน้าที่นี้เป็นครั้งที่ 2 และนำพาทีมคว้าแชมป์เมื่อฤดูกาลที่แล้ว ออกจากตำแหน่ง และได้แต่งตั้ง คืส ฮิดดิงก์ ซึ่งเคยเป็นผู้จัดการทีมมาแล้วเมื่อปี 2009 กลับมารับหน้าที่อีกครั้ง จนกระทั่งสิ้นสุดฤดูกาล.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและสโมสรฟุตบอลเชลซี ในฤดูกาล 2015–16 · ดูเพิ่มเติม »

อัลแฟรด ฟินปอกาซอน

อัลแฟรด ฟินปอกาซอน (ไอซ์แลนด์: Alfreð Finnbogason; เกิดวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989) เป็นนักฟุตบอลชาวไอซ์แลนด์ ปัจจุบันลงเล่นตำแหน่งกองหน้าให้กับสโมสรฟุตบอลเอาก์สบวร์คและทีมชาติไอซ์แลนด์ อัลแฟรด เป็นผู้ทำประตูสูงสุดในลีกเอเรอดีวีซีของประเทศเนเธอร์แลนด์ ในฤดูกาล 2013–14 ยิงได้ 29 ประตู มากที่สุดเป็นอันดับที่ 4 ของลีกยุโรป รองจาก ลุยส์ ซัวเรซ, คริสเตียโน โรนัลโด และ Jonathan Soriano อัลแฟรดลงเล่นให้กับทีมชาตินัดแรก พบกับหมู่เกาะแฟโร ในปี..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและอัลแฟรด ฟินปอกาซอน · ดูเพิ่มเติม »

อาเรียล ชารอน

อาเรียล ชารอน (Ariel Sharon, אֲרִיאֵל שָׁר‏וֹן, أرئيل شارون) เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอิสราเอล เป็นคนที่ 11 ต่อจากเอฮุด บารัค ตั้งแต่วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2544 จนถึงวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2549 หลังจากที่เขาได้เกิดอาการภาวะเลือดคั่งในสมอง เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2549 โดยเอฮุด โอลเมิร์ตได้รักษาการแทน หลังจากอยู่ในสภาพผักเรื้อรังกว่าแปดปี อาเรียลถึงแก่อสัญกรรมจากภาวะไตวายเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2557 ด้วยอายุ 85 ปี.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและอาเรียล ชารอน · ดูเพิ่มเติม »

อิซมีร์

อิซเมียร์ (Σμύρνη Smyrne; Smyrna) เป็นมหานครในปลายสุดทางตะวันตกของอานาโตเลีย และเป็นเมืองอันดับที่สามมีประชากรมากที่สุด ในประเทศตุรกี.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและอิซมีร์ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์

อเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ หรือ แซนดี้ คาลเดอร์ (Alexander Calder หรือ Sandy Calder) (22 กรกฎาคม ค.ศ. 1898 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1976) เป็นประติมากรของขบวนการลัทธิเหนือจริงคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาของคริสต์ศตวรรษที่ 20 คาลเดอร์มีชื่อเสียงจากการเป็นผู้ริเริ่มการสร้าง “ประติมากรรมจลดุล” (mobile sculpture) นอกจากประติมากรรมจลดุลแล้วคาลเดอร์ก็ยังสร้างงานที่เป็น “ประติมากรรมศักยดุล” หรือ “ประติมากรรมสถิต” (stabile), จิตรกรรม, ภาพพิมพ์หิน, ของเล่น, พรมทอแขวนผนัง และ เครื่องประดับด้ว.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและอเล็กซานเดอร์ คาลเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮะเดรา

รา ฮะเดรา (חֲדֵרָה; الخضيرة; Hadera) เป็นเมืองในเขตไฮฟา ประเทศอิสราเอล ตั้งอยู่ห่างจากเมืองใหญ่อย่าง เทลอาวีฟและไฮฟา ราว 45 กม.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและฮะเดรา · ดูเพิ่มเติม »

จอร์เจียแอร์เวย์

อร์เจียแอร์เวย์ (ჯორჯიან ეარვეისი) ชื่อเดิมคือ Airzena เป็นสายการบินแห่งชาติของจอร์เจีย มีที่ทำการหลักที่ทบิลิซี และมีฐานบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติทบิลิซีFlight International 3 April 2007.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและจอร์เจียแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์

This is a list of airports to which Swiss International Air Lines flies (as of March 2009).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและจุดหมายปลายทางของสายการบินสวิสอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์

ประเทศจุดหมายปลายทางของโคเรียนแอร์ แอร์บัส เอ 380 ของสายการบินโคเรียนแอร์ โคเรียนแอร์ ให้บริการเที่ยวบินสู่จุดหมายปลายทาง 13 แห่งในประเทศ และ 115 แห่งใน 50 ประเทศใน 5 ทวีป เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013 โคเรียนแอร์ให้บริการเที่ยวบินระหว่างอินช็อนกับอีก 22 เมืองในจีนแผ่นดินใหญ่ พร้อมกับ เอเชียนาแอร์ไลน์ ซึ่งให้บริการเที่ยวบินไปจีนเช่นกัน.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและจุดหมายปลายทางของสายการบินโคเรียนแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและจุดหมายปลายทางของสายการบินเอธิโอเปียนแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมศาลา

ลาธรรมยิวในเมืองทรานี ในศาสนายูดาห์ ธรรมศาลา (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ศาลาธรรม (ศัพท์โรมันคาทอลิก) (synagogue; συναγωγή; หมายถึง การชุมนุมหรือรวมตัว) เป็นศาสนสถานที่ใช้รวมกลุ่มกันทำการอธิษฐาน ทว่าสำหรับชาวยิวแล้ว พวกเขาไม่จำเป็นต้องไปธรรมศาลาเพื่อประกอบพิธี หากรวมตัวได้ครบองค์ประชุม (Quorum) ที่ประกอบด้วยผู้ชายที่บรรลุนิติภาวะแล้วจำนวนสิบคน เรียกว่า "องค์คณะสิบ" หรือ "มินยัน" (Minyan) ก็สามารถประกอบพิธีได้ เมื่อก่อนไม่อนุญาตให้สตรีเป็นหนึ่งในองค์คณะสิบ แต่เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2001, ยิวอนุรักษ์นิกายอนุญาตให้สตรีเป็นหนึ่งในคณะมินยันได้ ในชุมชนยิวปัจจุบัน ธรรมศาลาไม่ได้มีไว้สำหรับพิธีกรรมทางศาสนาเท่านั้น แต่ยังมีสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น เช่น สถานที่จัดเลี้ยง โรงเรียนสอนศาสนา ห้องสมุด ศูนย์รับเลี้ยงเด็กเวลากลางวัน และครัวโคเชอร์ (Kosher) ตามหลักมาตรฐานอาหารยิว.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและธรรมศาลา · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ. 2541 แทนที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงเดิม ท่าอากาศยานแห่งนี้เปิดใช้งานเพื่อการพาณิชย์เมื่อปี พ.ศ. 2541 และเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายผู้โดยสารที่สำคัญของสาธารณรัฐประชาชนจีน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีประวัติความเป็นมาไม่ยาวนานนัก แต่ท่าอากาศยานแห่งนี้ก็ได้รับรางวัลท่าอากาศยานยอดเยี่ยมระดับนานาชาติมาหลายครั้งในช่วงปี..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเบนกูเรียน

ตปลอดภาษีอากรภายในท่าอากาศยาน ท่าอากาศยานนานาชาติเบนกูเรียน (ฮิบรู: נְמַל הַתְּעוּפָה בֵּן גּוּרְיוֹן; Ben Gurion International Airport) คือท่าอากาศยานนานาชาติหลักของประเทศอิสราเอล ตั้งชื่อตามนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศ เดวิด เบนกูเรียน เป็นศูนย์กลางของสายการบินแอลอัล, อิสแรร์ และอาร์เกียอิสราเอล โดยมีตัวเลขประมาณการผู้โดยสารในปี..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและท่าอากาศยานนานาชาติเบนกูเรียน · ดูเพิ่มเติม »

ดานา อินเตอร์เนชันแนล

นา อินเตอร์เนชั่นแนล (דנה אינטרנשיונל, ชื่อจริง: ชาโรน โคเฮน, שרון כהן, 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1972 -) เป็นนักร้องชาวอิสราเอล ดานามีชื่อเสียงไปทั่วโลกจากการที่ได้รับชัยชนะในการประกวดเพลงยูโรวิชันในปี..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและดานา อินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ: Ha'Merotz La'Million

อะเมซิ่ง เรซ: Ha'Merotz La'Million (המירוץ למיליון‎; The Race to the Million; ดิ อะเมซิ่ง เรซ: การแข่งขันสู่เงินล้าน) เป็นเวอร์ชันอิสราเอลของรายการเรียลลิตี้โชว์ชื่อดังของสหรัฐอเมริกาที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นรายการแข่งขันเดินทางรอบโลกโดยมีผู้เข้าแข่งขันทั้งหมด 10 คู่ และทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านเชเกล รายการนี้มีการผลิตและออกอากาศทางช่อง Reshet Channel 2 ของเครือข่ายโทรทัศน์อิสราเอล Reshet โดยเริ่มออกอากาศในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 และออกอากาศทุกวันพฤหัสบดี ในเวลา 21 นาฬิกา (เวลามาตรฐานอิสราเอลที่ใช้ DST ตรงกับเวลา 18 นาฬิกาของ GMT) และมีพิธีกรประจำรายการคือราซ เมอร์แมน.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและดิอะเมซิ่งเรซ: Ha'Merotz La'Million · ดูเพิ่มเติม »

คีชีเนา

อาคารที่ทำการรัฐบาลมอลโดวาในกรุงคีชีเนา คีชีเนา (Chișinău) เป็นเมืองหลวง ศูนย์กลางอุตสาหกรรม และศูนย์กลางการค้าของประเทศมอลโดวา และเป็นเมืองใหญ่ที่สุดซึ่งตั้งทางตอนกลางของประเทศ ริมแม่น้ำบิก (Bîc) ซึ่งเป็นแควฝั่งขวาของแม่น้ำนีสเตอร์ (Dniester) ในแง่เศรษฐกิจ กรุงคีชีเนาเป็นเมืองที่มั่งคั่งที่สุดในมอลโดวาและเป็นหนึ่งในเมืองศูนย์กลางการขนส่งและอุตสาหกรรมของภูมิภาค ในฐานะที่เป็นเมืองสำคัญของประเทศ กรุงคีชีเนาจึงมีสิ่งอำนวยความสะดวกต่อการศึกษาที่ดี นอกจากนี้ยังเป็นเมืองที่มีสัดส่วนพื้นที่สีเขียวสูงที่สุดแห่งหนึ่งในบรรดาเมืองใหญ่ต่าง ๆ ของทวีปยุโรป ปัจจุบัน (ปี ค.ศ. 2004) กรุงคีชีเนามีประชากร 647,513 คน มีนายเวอาตเชสลาฟ อีออร์ดัน (Veaceslav Iordan) เป็นนายกเทศมนตรีตั้งแต่ปี ค.ศ. 2007 คีชีเนาได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1436 ในฐานะส่วนหนึ่งของราชรัฐมอลเดเวีย (Moldavia) ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมืองนี้อยู่ภายใต้อำนาจของจักรวรรดิออตโตมัน เมื่อเริ่มต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 คีชีเนาเป็นเพียงเมืองเล็ก ๆ ที่มีประชากรเพียง 7,000 คน ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมืองนี้ได้ถูกจักรวรรดิรัสเซียเข้ายึดครองและตั้งเป็นศูนย์กลางของแคว้นเบสซาราเบีย (Bessarabia) เมื่อถึงปี ค.ศ. 1862 จำนวนประชากรเพิ่มขึ้นเป็น 92,000 คน และเพิ่มเป็น 125,787 คนเมื่อถึงปี ค.ศ. 1900 ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1940-1941 และ ค.ศ. 1945-1991 เมืองนี้เป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลเดเวีย (Moldavian SSR) ในชื่อ คิชิเนฟ (Kishinev).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคีชีเนา · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์

นทูตและสถานกงสุลฟิลิปปินส์ในประเทศต่าง.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตญี่ปุ่นประจำอยู่ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศญี่ปุ่นในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศศรีลังกาในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตสเปน ประเทศสเปนเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสเปนในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอิตาลี รายชื่อข้างล่างคือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศอิตาลีในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตอุซเบกิสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของอุซเบกิสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจอร์แดน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของจอร์แดนในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจีย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจอร์เจีย รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของจอร์เจียในประเทศต่างๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตจีน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสาธารณรัฐประชาชนจีนในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถาน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตคาซัคสถาน รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลของคาซัคสถานในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตโปรตุเกส ประเทศโปรตุเกสเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของโปรตุเกสในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางทูตไทย สถานทูตและสถานกงสุลไทยในต่างแดน.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัส

ประเทศที่มีคณะทูตไซปรัสประจำอยู่ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศไซปรัสในประเทศต่างๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตเกาหลีใต้ รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของเกาหลีใต้ในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาล

รายชื่อสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของประเทศเนปาลในประเทศต่าง ๆ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการเสาค้ำเมฆา

ปฏิบัติการเสาค้ำเมฆา (עַמּוּד עָנָן) เป็นปฏิบัติการของกองกำลังป้องกันอิสราเอลในฉนวนกาซาระหว่างวันที่ 14 ถึง 21 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและปฏิบัติการเสาค้ำเมฆา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและประเทศอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

นาตาเนีย

มืองนาตาเนีย นาตาเนีย (נְתַנְיָה, lit., "gift of God"; Netanya) เป็นเมืองในประเทศอิสราเอล ตั้งอยู่ห่างจากเมืองเทลอาวีฟไปทางทิศเหนือราว 30 กม.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและนาตาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

นีโคไล บุลกานิน

นีโคไล อะเลคซันโดรวิช บุลกานิน (Никола́й Алекса́ндрович Булга́нин; Nikolai Alexandrovich Bulganin; 11 มิถุนายน 2438 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518) เป็นนักการเมืองโซเวียต เป็น ผู้บัญชาการประชากลาโหม แห่งสหภาพโซเวียตภายใต้รัฐบาลโจเซฟ สตาลิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พ.ศ. 2496–พ.ศ. 2498) และประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต (1955-1958) ภายใต้รัฐบาล นีกีตา ครุชชอฟ.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและนีโคไล บุลกานิน · ดูเพิ่มเติม »

แอล อัล

แอล อัล อิสราเอลแอร์ไลน์ หรือ แอล อัล (אל על, "สู่ท้องฟ้า" หรือ "Skywards") เป็นสายการบินแห่งชาติของอิสราเอล ให้บริการเที่ยวบินในประเทศ, ระหว่างประเทศ และเที่ยวบินขนส่งสินค้า มีจุดหมายปลายทางในทวีปยุโรป, อเมริกาเหนือ, อเมริกาใต้,แอฟริกา, และเอเชีย มีฐานบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติเบนกูเรียน กรุงเทลอาวีฟOrme, William A. Jr.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและแอล อัล · ดูเพิ่มเติม »

แดน เชชท์มัน

แดน เชชท์มัน แดน เชชท์มัน (דן שכטמן, Dan Shechtman; เกิด 24 มกราคม พ.ศ. 2485 ในเทลอาวีฟ) เป็นศาสตราจารย์แห่งภาควิชาวัสดุศาสตร์ที่สถาบันเทคโนโลยีเทคเนียน-อิสราเอล, รองศาสตราจารย์แห่งห้องปฏิบัติการอาเมส กระทรวงพลังงานสหรัฐอเมริกา และศาสตราจารย์แห่งภาควิชาวัสดุศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยไอโอวาสเตต เมื่อวันที่ 8 เมษายน..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและแดน เชชท์มัน · ดูเพิ่มเติม »

แดเนียล คาฮ์นะมัน

แดเนียล คาฮ์นะมัน (Daniel Kahneman, דניאל כהנמן เกิด 5 มีนาคม ค.ศ. 1934) เป็นนักจิตวิทยาชาวอิสราเอล-อเมริกัน ผู้มีชื่อเสียงเกี่ยวกับงานทางจิตวิทยาเรื่องการประเมินหลักฐานและการตัดสินใจ (judgment and decision-making) และงานทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (behavioral economics) ซึ่งเขาได้รับรางวัลรางวัลเพื่อระลึกถึงอัลเฟรด โนเบล สาขาเศรษฐศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและแดเนียล คาฮ์นะมัน · ดูเพิ่มเติม »

โมเช ดายัน

มเช ดายัน (משה דיין, Moshe Dayan; 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 – 16 ตุลาคม พ.ศ. 2524) คือผู้บัญชาการเหล่าทัพและนักการเมืองชาวอิสราเอล รู้จักกันดีในฐานะบุรุษตาเดียว.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและโมเช ดายัน · ดูเพิ่มเติม »

โยคานัน อาเฟ็ก

นัน อาเฟ็ก (יוחנן אפק; Yochanan Afek) เกิดวันที่ 16 เมษายน..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและโยคานัน อาเฟ็ก · ดูเพิ่มเติม »

โอฟรา ฮาซา

อฟรา ฮาซา (Ofra Haza) เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1957 นักร้อง นางแบบ และนักแต่งเพลงชาวอิสราเอล มีชื่อเสียงจากนางแบบและผลงานเพลง เขาเป็นนักร้องเพลงแนว ป็อป เวิลด์มิวสิก และ ดนตรีโฟล์ก และ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000 ฮาซาก็ได้เสียชีวิตด้วยโรคปอดบวม.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและโอฟรา ฮาซา · ดูเพิ่มเติม »

โอเดด เฟหร์

อเดด เฟหร์ (Oded Fehr, ฮิบรู: עודד פהר) นักแสดงชาวอิสราเอล เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1970 เป็นนักแสดงประกอบในภาพยนตร์ฮอลลีวูดเรื่องใหญ่ ๆ หลายเรื่อง เช่น The Mummy และ Deuce Bigalow: Male Gigolo ในปี ค.ศ. 1999, The Mummy Return ในปี ค.ศ. 2001, Resident Evil: Apocalypse ในปี ค.ศ. 2004 และResident Evil: Extinction ในปี ค.ศ. 2007 เป็นต้น.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและโอเดด เฟหร์ · ดูเพิ่มเติม »

โนแอม ดาร์

นแอม ดาร์ (Noam Dar) (Hebrew: נועם דר; เกิด 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1993) นักมวยปล้ำอาชีพชาวอิสราเอลสกอต ปัจจุบันเซ็นสัญญาปล้ำในรุ่นครุยเซอร์เวทกับWWE เคยร่วมสมาคม TNA และซีรีส์ "British Boot Camp" รวมทั้งการเป็นแกนนำสมาคมที่โดดเด่นในสหราชอาณาจักรเช่น PROGRESS Wrestling, Preston City Wrestling (PCW), Insane Championship Wrestling (ICW), Whatculture Pro Wrestling (WCPW).

ใหม่!!: เทลอาวีฟและโนแอม ดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบนจามิน เนทันยาฮู

เบนจามิน "บีบี" เนทันยาฮู (Benjamin "Bibi" Netanyahu; בִּנְיָמִין "בִּיבִּי" נְתָנְיָהוּ; بنيامين نتانياهو; เกิด 21 ตุลาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีอิสราเอลคนปัจจุบัน เขายังเป็นสมาชิกรัฐสภา (Knesset) และหัวหน้าพรรคลิคุด (Likud) เขาเกิดในกรุงเทลอาวีฟ มีบิดามารดาเป็นชาวยิวโลกิยะ เนทนยาฮูเป็นนายกรัฐมนตรีอิสราเอลคนแรกที่เกิดในประเทศอิสราเอลหลังการสถาปนารัฐ เนทันยาฮูเข้าร่วมกำลังป้องกันอิสราเอลไม่นานหลังสงครามหกวันในปี 2510 และเป็นหัวหน้าทีมในหน่วยรบพิเศษซาเยเรตแมตกัล (Sayeret Matkal) เขาเข้าร่วมหลายภารกิจ ซึ่งประกอบด้วยปฏิบัติการอินเฟอร์โน (ปี 2511), ปฏิบัติการกิฟต์ (ปี 2511) และปฏิบัติการไอโซโทป (ปี 2525) ซึ่งระหว่างนั้นเขาถูกยิงที่ไหล่ เขาต่อสู้ในแนวหน้าในสงครามการบั่นทอนกำลัง (War of Attrition) และสงครามยมคิปปูร์ในปี 2516 โดยร่วมกับกำลังพิเศษตีโฉบฉวยตามคลองสุเอซ แล้วนำการโจมตีของคอมมานโดลึกเข้าดินแดนซีเรีย เขาได้ยศร้อยเอกก่อนได้รับการปลด หลังสำเร็จการศึกษาจากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ด้วยปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิตและวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต เขาได้รับสรรหาเป็นผู้ให้คำปรึกษาทางเศรษฐกิจแก่บอสตันคอนซัลทิงกรุป เขากลับประเทศอิสราเอลในปี 2521 เพื่อก่อตั้งสถาบันต่อต้านการก่อการร้ายโยนาทัน เนทันยาฮู (Yonatan Netanyahu Anti-Terror Institute) ซึ่งได้ชื่อตามโยนาทัน เนทันยาฮู ผู้เสียชีวิตขณะเป็นผู้นำปฏิบัติการเอนเทบบี (Entebbe) เนทันยาฮูรับราชการเป็นเอกอัครราชทูตอิสราเอลประจำสหประชาชาติตั้งแต่ปี 2527 ถึง 2531 เนทันยาฮูเป็นหัวหน้าพรรคลิคุดในปี 2536 เนทันยาฮูชนะการเลือกตั้งปี 2539 ทำให้กลายเป็นนายกรัฐมนตรีอิสราเอลที่หนุ่มที่สุด ดำรงวาระแรกระหว่างเดือนมิถุนายน 2539 ถึงกรกฎาคม 2541 เขาย้ายจากเวทีการเมืองไปภาคเอกชนหลังพ่ายการเลือกตั้งชิงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีปี 2542 แก่เอฮุด บารัค (Ehud Barak) เนทันยาฮูหวนคืนการเมืองในปี 2545 โดยเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ (ปี 2545–2546) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ปี 2546–2548) ในรัฐบาลแอเรียล ชารอน แต่เขาออกจากรัฐบาลเพราะความไม่ลงรอยต่อแผนการปลดปล่อยกาซา ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เนทันยาฮูปฏิรูปเศรษฐกิจอิสราเอลขนานใหญ่ ซึ่งผู้วิจารณ์ยกย่องว่าพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจของอิสราเอลในเวลาต่อมาอย่างสำคัญ เขาทวงตำแหน่งหัวหน้าพรรคลิคุดในเดือนธันวาคม 2548 หลังชารอนออกไปตั้งพรรคการเมืองต่างหาก ในเดือนธันวาคม 2549 เนทันยาฮูเป็นผู้นำฝ่ายค้านในรัฐสภาและหัวหน้าพรรคลิคุดอย่างเป็นทางการ หลังการเลือกตั้งรัฐสภาปี 2552 ซึ่งลิคุดได้อันดับสองและพรรคฝ่ายขวาได้เสียงข้างมาก เนทันยาฮูตั้งรัฐบาลผสม หลังชัยชนะในการเลือกตั้งปี 2556 เขากลายเป็นบุคคลที่สองที่ได้รับเลือกตั้งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่สาม ถัดจากเดวิด เบนกูเรียน ในเดือนมีนาคม 2558 เนทันยาฮูได้รับเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่สี่ เนทันยาฮูได้รับเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีอิสราเอลสี่สมัย เท่ากับสถิติของเดวิด เบนกูเรียน เขาเป็นนายกรัฐมนตรีคนเดียวในประวัติศาสตร์อิสราเลที่ได้รับเลือกตั้งสามครั้งติดต่อกัน ปัจจุบันเขาเป็นนายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งยาวที่สุดเป็นอันดับที่สอง หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีอิสราเอล หมวดหมู่:ทหารชาวอิสราเอล หมวดหมู่:ชาวยิว หมวดหมู่:ชาวเทลอาวีฟ.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและเบนจามิน เนทันยาฮู · ดูเพิ่มเติม »

เม็นออฟอิสราเอล

ม็นออฟอิสราเอล (Men of Israel) เป็นหนังโป๊เกย์ในปี..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและเม็นออฟอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

เลิฟพาเหรด

ลิฟพาเหรด (Love Parade หมายถึง "ขบวนแห่ความรัก") เป็นเทศกาลและขบวนแห่ที่ได้รับความนิยม มีต้นกำเนิดในปี..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและเลิฟพาเหรด · ดูเพิ่มเติม »

เอลี โคเฮน

อลียาฮู เบน-ชาอูล โคเฮน (ฮีบรู: אֱלִיָּהוּ בֵּן שָׁאוּל כֹּהֵן‎‎,อาหรับ: إيلي كوهين‎‎‎; 26 ธันวาคม ค.ศ. 1924 - 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1965) หรือโดยทั่วไปรู้จักในชื่อ เอลี โคเฮน เป็นสายลับชาวอิสราเอล เขาเป็นที่รู้จักจากงานสืบราชการลับของเขาในซีเรียเมื่อปี..1961 - 1965 ซึ่งเขาพัฒนาความสัมพันธ์ทางการเมืองและทางการทหารกับซีเรียจนได้เป็นหัวหน้าที่ปรึกษาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของซีเรีย ต่อมาเขาถูกเจ้าหน้าที่ข่าวกรองของซีเรียจับได้ว่าเขาเป็นสายลับและถูกประหารชีวิตโดยการแขวนคอในปี..

ใหม่!!: เทลอาวีฟและเอลี โคเฮน · ดูเพิ่มเติม »

เอฮุด โอลเมิร์ต

อฮุด โอลเมิร์ต (อังกฤษ: Ehud Olmert ฮีบรู: אהוד אולמרט) เกิดเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2488 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอิสราเอล เป็นคนที่ 12 เมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2549 หลังจากที่ เขาได้รักษาการแทน นายอาเรียล ชารอน นายกรัฐมนตรีอิสราเอลคนก่อน ซึ่งเกิดอาการภาวะเลือดคั่งในสมอง เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2549 นายเอฮุด โอลเมิร์ต เป็นสมาชิกของ พรรคการเมืองที่ชื่อว่า คาดิมา พรรคคาดิมา ได้ชนะการเลือกตั้ง เมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2549 โดยก่อนหน้านี้ นายเอฮุด โอลเมิร์ต ได้ดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง,รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน นายเอฮุด โอลเมิร์ต ได้สมรมกับ นางอลิซา โอลเมิร์ต มี บุตร-ธิดา ด้วยกันทั้งหมด 4 คน และ ธิดาบุญธรรมอีก 1คน.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและเอฮุด โอลเมิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

เฮอร์มันน์ ฟาลเลนทิน

อร์มันน์ ฟาลเลนทิน (24 พฤษภาคม ค.ศ. 1872 – 18 กันยายน ค.ศ. 1945) เป็นนักแสดงชายชาวเยอรมัน เฮอร์มันน์เกิดที่กรุงเบอร์ลิน และเสียชีวิตขณะอายุ 76 ปี ที่กรุงเทลอาวีฟ ประเทศอิสราเอล.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและเฮอร์มันน์ ฟาลเลนทิน · ดูเพิ่มเติม »

เดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์เดนเจอรัส (Dangerous World Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 2 โดย นักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน สนับสนุนโดย เป๊ปซี่ โคล่า โดยจัดทั้งหมด 70 รอบ ซึ่งผลกำไรทั้งหมดจะถูกบริจาคให้กับองค์กรการกุศลต่าง ๆ รวมทั้งแจ็คสันของตัวเอง มูลนิธิฮีลเดอะเวิลด์ โดยเริ่มแสดงตั้งแต่วันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1992 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1993 แจ็คสันสิ้นสุดทัวร์ลง เนื่องจากในขณะที่เขาประกาศความเจ็บป่วยที่ต้องรักษาในโรงพยาบาล นักแสดงกลายเป็นพึ่งพายาแก้ปวด,มีความทุกข์ทรมานจากการขาดน้ำ,ไมเกรน และบาดเจ็บ เดิมที่คอนเสิร์ตทัวร์เดนเจอรัส ควรจะทำงานต่อไปจนกว่าถึงวันคริสต์มาส ค.ศ. 1993.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและเดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เซาเปาลู

นตัวเมืองเซาเปาลู right right right เซาเปาลู (São Paulo) เป็นเมืองหลวงของรัฐเซาเปาลู ประเทศบราซิล เมืองนี้เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศและใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลกตามจำนวนประชากร ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของบราซิล นอกจากนี้ยังเป็นเมืองที่มีความมั่งคั่งที่สุดในประเทศ ชื่อเซาเปาลูเป็นภาษาโปรตุเกส มีความหมายว่า "นักบุญพอล" เซาเปาลูมีเนื้อที่ 1,523 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 10,886,518 คน ซึ่งทำให้เมืองนี้เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศบราซิล ทวีปอเมริกาใต้ และซีกโลกใต้ (เขตมหานคร: ประมาณ 19 ล้านคน) เซาเปาลูเดิมเป็นหมู่บ้านเล็ก ๆ ที่ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1554 โดยคณะมิชชันนารีนิกายเยซูอิตชาวโปรตุเกส ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 โปรตุเกสก็เริ่มเข้ามาขยายอำนาจในอเมริกาใต้ (ภายในเขตที่กำหนดไว้ในสนธิสัญญาตอร์เดซียัส) โดยส่งคณะนักสำรวจเข้ามาครอบครองดินแดนแถบนี้และค้นหาทองคำ เพชร และทรัพยากรอื่น ๆ ซึ่งมีส่วนทำให้เซาเปาลูขยายตัวมากขึ้น จนในที่สุดก็ยกฐานะขึ้นเป็นเมืองอย่างเป็นทางการเมื่อปี ค.ศ. 1711 ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คลื่นผู้อพยพจากประเทศอิตาลี โปรตุเกส สเปน เยอรมนี และประเทศอื่น ๆ ก็เริ่มเข้ามาในเซาเปาลูเพื่อทำงานในไร่กาแฟภายในรัฐ จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 การค้ากาแฟตกต่ำลง ผู้ประกอบการจึงเริ่มหันไปลงทุนในการพัฒนาอุตสาหกรรมในเมือง โดยในครึ่งแรกของศตวรรษ นอกจากชาวยุโรปแล้ว ชาวญี่ปุ่นและชาวอาหรับก็อพยพเข้ามาด้วย และตลอดศตวรรษเดียวกันนี้ เศรษฐกิจที่เฟื่องฟูของเซาเปาลูก็เป็นตัวดึงดูดให้ประชากรจากรัฐอื่น ๆ ที่ยากจนในบราซิลเข้ามาทำงานในเมืองนี้เช่นกัน.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและเซาเปาลู · ดูเพิ่มเติม »

เปตะห์ติกวา

ปตะห์ติกวา เปตะห์ติกวา (פֶּתַח תִּקְוָה;Petah Tikva) เป็นเมืองในเขตกลางของประเทศอิสราเอล ตั้งอยู่ห่างจากกรุงเทลอาวีฟไปทางทิศตะวันออก 10.6 กม.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและเปตะห์ติกวา · ดูเพิ่มเติม »

4 มีนาคม

วันที่ 4 มีนาคม เป็นวันที่ 63 ของปี (วันที่ 64 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 302 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เทลอาวีฟและ4 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Tel Avivเทล อาวีฟเทลอาวีฟ-ยาโฟ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »