โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เคแอลเอ็ม

ดัชนี เคแอลเอ็ม

KLM head office เคแอลเอ็ม โรยัลดัตช์ แอร์ไลน์ (Koninklijke Luchtvaart Maatschappij; หมายถึง Royal Aviation Company) เป็นบริษัทลูกของแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม โดยก่อนที่จะควบรวมกับแอร์ฟรานซ์นั้น เคแอลเอ็มเป็นสายการบินแห่งชาติของเนเธอร์แลนด์ มีท่าอากาศยานหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัม สคิปโฮล แอร์ฟรานซ์ได้เข้าซื้อกิจการเคแอลเอ็มเมื่อเดือนพฤษภาคม..

65 ความสัมพันธ์: บริติชแอร์เวย์บางกอกแอร์เวย์พันธมิตรสายการบินภัยพิบัติท่าอากาศยานเตเนรีเฟมาเลเซียแอร์ไลน์มาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 17รายชื่อเครื่องบินของการบินไทยสายการบินประจำชาติอาลีตาเลียจอร์เจียแอร์เวย์ทีดับบลิวสตีลท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ท่าอากาศยานลอนดอนซิตีท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดาท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอนท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัมสคิปโฮลท่าอากาศยานฮัมบวร์คท่าอากาศยานจอร์จบุชอินเตอร์คอนติเนนตัลท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรนท่าอากาศยานนานาชาติกลาสโกว์ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ท่าอากาศยานนานาชาติมาดริดบาราคัสท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิกท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิสท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลสท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อนท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตาท่าอากาศยานนานาชาติฮาหมัดท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีท่าอากาศยานนานาชาติดูไบท่าอากาศยานนานาชาติคันไซท่าอากาศยานนานาชาติคูเวตท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโกท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตงท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่งท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกลท่าอากาศยานนานาชาติปีนังท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียนท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮมท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวาท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์...ท่าอากาศยานนานาชาติเฉิงตูซวงหลิวท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโนท่าอากาศยานเอดินบะระขนส่งอากาศยานควอนตัสตัวเลขในวัฒนธรรมจีนแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11แอร์ฟรานซ์แอร์อัสตานาโบอิง 2707โบอิง 747-400โบอิง 777เมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนลเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเติน ขยายดัชนี (15 มากกว่า) »

บริติชแอร์เวย์

Waterside บริติช แอร์เวย์ (อังกฤษ: British Airways) เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของสหราชอาณาจักร และเป็นลำดับที่สามของทวีปยุโรป (ตามหลัง แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม และ ลุฟต์ฮันซา) และมีเที่ยวบินจากยุโรปข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกมากกว่าสายการบินอื่นๆ ท่าอากาศยานหลักของบริติชแอร์เวย์ คือ ลอนดอนฮีทโธรว์ และ ลอนดอนแกตว.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและบริติชแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

บางกอกแอร์เวย์

การบินบางกอกแอร์เวย์ เป็นสายการบินเชิงพาณิชย์ ดำเนินงานโดย บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด ซึ่งเริ่มดำเนินงานกิจการด้านการบินเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2511 ในแผนกการบินสหกลแอร์ บริษัท กรุงเทพสหกล จำกัด ซึ่งในระยะแรกได้ดำเนินกิจการทำการบินบริการให้แก่หน่วยงานของรัฐบาล (รบ.) รัฐวิสาหกิจ (รสก.) และธุรกิจเอกชนต่างๆ ทั่วไป ในปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและบางกอกแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรสายการบิน

ันธมิตรสายการบิน คือ การรวมกลุ่มกันระหว่างสายการบินสองสายหรือมากกว่าขึ้นไป โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ความร่วมมือกันในด้านต่างๆ เช่น ข้อตกลงการบินโดยใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกัน (หรือบางครั้งอาจไม่ได้ใช้รหัสเที่ยวบินร่วมกัน แต่สามารถเชื่อมต่อเที่ยวบินกันระหว่างเที่ยวบินในพันธมิตรฯ สองเที่ยวบินหรือมากกว่า), จัดตั้งรายการสะสมแต้มการบินร่วมกัน, การประชาสัมพันธ์ร่วมกันในนามพันธมิตรสายการบิน เป็นต้น พันธมิตรสายการบินที่สำคัญๆ มีอยู่สามกลุ่มได้แก่ สตาร์อัลไลแอนซ์, วันเวิลด์และสกายทีม นอกจากนี้ยังมีพันธมิตรสายการบินกลุ่มอื่นอีก เช่น วานิลลาอัลไลแอนซ์ ที่เป็นการรวมกลุ่มกันของสายการบินในประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย, ยู-ฟลายอัลไลแอนซ์ และ แวลูอัลไลแอนซ์ ที่เป็นการรวมกลุ่มกันของสายการบินต้นทุนต่ำ รวมถึงพันธมิตรสายการบินขนส่งสินค้า ได้แก่ สกายทีมคาร์โก (SkyTeam Cargo) และวาวคาร์โกอัลไลแอนซ์ (WOW Cargo Alliance) สำหรับกลุ่มของสายการบินที่เป็นเครือเดียวกันทั้งหมดหรือใช้ชื่อยี่ห้อเดียวกันอยู่แล้วทั้งหมดตั้งแต่ต้น เช่น กลุ่มแอร์เอเชีย หรือกลุ่มไลอ้อนแอร์ นั้นไม่ถือว่าเป็นพันธมิตรสายการบิน.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและพันธมิตรสายการบิน · ดูเพิ่มเติม »

ภัยพิบัติท่าอากาศยานเตเนรีเฟ

แผนภาพเหตุการณ์ ภัยพิบัติท่าอากาศยานเตเนรีเฟ เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1977 เมื่อเครื่องบินโดยสารโบอิง 747 ของสายการบินแพนแอมและเคแอลเอ็ม ชนกันบนทางวิ่งของท่าอากาศยานลอสรอดีออส (ปัจจุบันคือท่าอากาศยานนอร์ทเตเนรีเฟ) ที่เตเนรีเฟ หมู่เกาะคะเนรีของสเปน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 583 คน นับเป็นอุบัติเหตุทางการบินที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์การบิน จากผลของอิทธิพลขององค์กร สภาพแวดล้อม และการกระทำที่ไม่ปลอดภัยที่นำไปสู่หายนะครั้งนี้เป็นตัวอย่างในการทบทวนกระบวนการและกรอบงานสำหรับการสอบสวนหายนะและการป้องกันอุบัติเหตุทางการบิน จุดเริ่มต้นของเหตุการณ์เกิดจากเหตุระเบิดที่ท่าอากาศยานแกรนแคนาเรียและมีการขู่วางระเบิดลูกที่สอง ทำให้เครื่องบินหลายลำต้องเปลี่ยนมาลงที่ท่าอากาศยานลอสรอดีออสซึ่งเล็กกว่าแทน เจ้าหน้าที่ของท่าอากาศยานจึงต้องทำงานอย่างหนักในการจัดระเบียบเครื่องบินที่มาลงจอดที่นี่ เพื่อรอเวลาที่ท่าอากาศยานแกรนแคนาเรียจะเปิดใช้อีกครั้ง เมื่อท่าอากาศยานแกรนแคนาเรียเปิดใช้อีกครั้ง เจ้าหน้าที่ได้พยายามจัดการทางวิ่งที่มีเครื่องบินหลายลำจอดรออยู่ รวมถึงเครื่องบินของสายการบินแพนแอม เที่ยวบินที่ 1736 ที่เดินทางมาจากลอสแอนเจลิสโดยแวะพักที่นิวยอร์กและเครื่องบินของสายการบินเคแอลเอ็ม เที่ยวบินที่ 4805 ที่เดินทางมาจากอัมสเตอร์ดัม หมอกที่ลงจัดทำให้หอบังคับการบินมองไม่เห็นเครื่องบินทั้งสองลำ อีกทั้งเครื่องบินทั้งสองลำก็ไม่มีเรดาร์ภาคพื้นดิน ทำให้หอบังคับการบินไม่ทราบตำแหน่งและต้องใช้วิธีการสื่อสารแทน ผลของการสื่อสารที่ผิดพลาดทำให้นักบินของเครื่องบินเคแอลเอ็ม ตัดสินใจบินขึ้นในขณะที่เครื่องบินของแพนแอมยังอยู่บนทางวิ่ง ทำให้เกิดการชนกันและระเบิดเป็นลูกไฟขนาดใหญ่ ผู้โดยสารและลูกเรือบนเครื่องบินเคแอลเอ็ม ทั้งหมด 248 คนเสียชีวิต ส่วนผู้โดยสารและลูกเรือบนเครื่องบินแพนแอมเสียชีวิต 335 คน บาดเจ็บ 61 คน รวมยอดผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์นี้ 583 คน เนื่องจากอุบัติเหตุเกิดขึ้นในดินแดนของสเปน เจ้าหน้าที่จากประเทศสเปนจึงเข้ามาสอบสวนสาเหตุ เหตุการชนเกี่ยวกับเครื่องบินจากสหรัฐอเมริกาและเนเธอร์แลนด์ ทั้งสองประเทศจึงเข้ามาสืบสวนสาเหตุเช่นกัน จากการสืบสวนพบว่าสาเหตุหลักของอุบัติเหตุคือเที่ยวบินเคแอลเอ็มแล่นขึ้นโดยยังไม่ได้รับสัญญาณจากหอบังคับการบิน การสอบสวนระบุว่ากัปตันไม่ได้ตั้งใจแล่นขึ้นโดยไม่อาศัยสัญญาณ แต่เนื่องจากความเข้าใจผิดของลูกเรือเที่ยวบินเคแอลเอ็มและหอบังคับการบิน ทำให้เขาเชื่อว่าเขาได้รับสัญญาณให้แล่นขึ้นแล้ว ผู้สืบสวนชาวดัตช์ให้ความสนใจเหตุครั้งนี้มากกว่าผู้สืบสวนชาวอเมริกันและสเปน แต่ในที่สุดแล้ว เคแอลเอ็มยอมรับว่าลูกเรือมีส่วนให้เกิดอุบัติเหตุครั้งนี้ และสายการบินชดเชยค่าเสียหายให้ญาติผู้เสียชีวิต.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและภัยพิบัติท่าอากาศยานเตเนรีเฟ · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียแอร์ไลน์

Malaysia Airlines head office มาเลเซียแอร์ไลน์ เป็นสายการบินประจำชาติของมาเลเซีย ให้บริการเดินทางทั้งในและนอกทวีป เคยเป็น 1 ใน 5 สายการบินที่ได้รับการจัดอันดับโดยสกายแทรกซ์ให้อยู่ในอันดับ 5 ดาว มาเลเซียแอร์ไลน์เคยเป็นหนึ่งในสายการบินที่มีผู้คนยอมรับมากที่สุดในโลกตะวันออก จนกระทั่งเกิดเหตุการณ์เครื่องบินของเที่ยวบินที่ 370 สูญหายระหว่างทำการบินในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและมาเลเซียแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 17

มาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 17 (MH17/MAS17) เป็นเที่ยวบินพาณิชย์ของมาเลเซียแอร์ไลน์ซึ่งออกเดินทางจากกรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ ไปยังกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและมาเลเซียแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 17 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องบินของการบินไทย

ลโก้ของการบินไทย ณ วันที่ 5 พฤษภาคม..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและรายชื่อเครื่องบินของการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

สายการบินประจำชาติ

การบินแห่งชาติ เป็นสายการบินรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นสายการบินตัวแทนของประเทศหรือดินแดนนั้น ๆ สายการบินแห่งชาติส่วนใหญ่จะมีรูปธงชาติประดับไว้บนตัวหรือหางของเครื่องบิน เกือบทุกประเทศมีสายการบินประจำชาติ ยกเว้นสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและสายการบินประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อาลีตาเลีย

อาลีตาเลีย (Alitalia) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศอิตาลี เปิดทำการบินครั้งแรกวันที่ 16 กันยายน 2489 มีฐานการบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน และฐานการบินรองที่ท่าอากาศยานมิลาโน ลีนาเต และท่าอากาศยานมิลาโนมัลเปนซ.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและอาลีตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

จอร์เจียแอร์เวย์

อร์เจียแอร์เวย์ (ჯორჯიან ეარვეისი) ชื่อเดิมคือ Airzena เป็นสายการบินแห่งชาติของจอร์เจีย มีที่ทำการหลักที่ทบิลิซี และมีฐานบินหลักที่ท่าอากาศยานนานาชาติทบิลิซีFlight International 3 April 2007.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและจอร์เจียแอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทีดับบลิวสตีล

นาฬิกาทีดับบลิวสตีล ทีดับบลิวสตีล (TW Steel) เป็นผู้ผลิตนาฬิกาเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นที่รู้จักในภาพลักษณ์ของนาฬิกากับโครโนกราฟขนาดใหญ่ บริษัทก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและทีดับบลิวสตีล · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์

ท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์ (Aéroport de Marseille Provence) หรือที่รู้จักในอีกชื่อหนึ่งว่า ท่าอากาศยานมาร์แซย์-มารีญาน (Marseille-Marignane Airport) เป็นท่าอากาศยานที่ตั้งอยู่ห่างจากเมืองมาร์แซย์ในแคว้นพรอว็องซาลโกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส ไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 27 กิโลเมตร เปิดให้บริการเมื่อ..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานมาร์แซย์พรอว็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์

ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ (London Heathrow Airport) หรือมักเรียกโดยย่อว่า ฮีทโธรว์ เป็นท่าอากาศยานที่มีการจราจรทางอากาศหนาแน่นที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของประเทศสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ในกรณีของจำนวนผู้โดยสาร และเป็นท่าอากาศยานที่หนาแน่นที่สุดของโลก ในกรณีของจำนวนผู้โดยสารระหว่างประเทศ ดำเนินการโดย บริษัท ท่าอากาศยานอังกฤษ จำกัด (เดิมคือ องค์การท่าอากาศยานแห่งประเทศอังกฤษ) ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเมืองฮิลลิงดอน ห่างจากตัวเมืองของกรุงลอนดอนประมาณ 24 กิโลเมตร (15 ไมล์) เป็นหนึ่งในสามของท่าอากาศยานที่อยู่ในเขตของกรุงลอนดอนและปริมณฑล อีกสองแห่งก็คือ ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี และท่าอากาศยานลอนดอนบิกกิงฮิล ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์มีทางวิ่งขนานกัน 2 ทางวิ่ง ตามแนวทิศตัวออกและทิศตะวันตก และ มีอาคารผู้โดยสาร 4 อาคาร โดยอาคารที่ 5 กำลังก่อสร้าง และยังมีแผนปรับปรุงอาคารผู้โดยสารฝั่งตะวันออกใหม่ รวมทั้งเพิ่มทางวิ่งอีกหนึ่งเส้นทางด้ว.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี

ท่าอากาศยานลอนดอนซิตี (London City Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองนิวแฮม ในอีสลอนดอน ประเทศอังกฤษ รองรับพื้นที่ศูนย์กลางการเงินของลอนดอน และเนื่องจากทางวิ่งของท่าอากาศยานแห่งนี้มีระยะสั้น จึงมีข้อจำกัดด้านขนาดเครื่องบินที่มาใช้บริการ.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานลอนดอนซิตี · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี

ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินชางงี ตั้งอยู่ในเขตชางงี เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์, สิงคโปร์แอร์ไลน์คาร์โก, ซิลค์แอร์, ไทเกอร์แอร์เวย์, เจ็ตสตาร์เอเชียแอร์เวย์ และแวลูแอร์ ในปี พ.ศ. 2549 ท่าอากาศยานแห่งนี้รองรับผู้โดยสารจำนวนถึง 35 ล้านคน เพิ่มมากขึ้น 8% จากปีงบประมาณ 2548..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ

ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เป็น สนามบิน ตั้งอยู่ที่ ถนนเทพรัตน และ ทางพิเศษบูรพาวิถี ในเขตตำบลหนองปรือและตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ห่างจากใจกลางเมือง กรุงเทพมหานคร ประมาณ 25 กิโลเมตร เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์เต็มรูปแบบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 รัฐบาลได้กำหนดให้ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิเป็นท่าอากาศยานหลักของ ประเทศไทย แทน ท่าอากาศยานดอนเมือง และตั้งเป้าให้เป็นศูนย์กลางการบินใน ทวีปเอเชีย อีกทั้งการเน้นพัฒนาคุณภาพการให้บริการของท่าอากาศยานให้ได้รับการจัดอันดับ 1 ใน 10 ท่าอากาศยานที่มีคุณภาพการบริการดีที่สุดในโลกในปี พ.ศ. 2553 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีหอควบคุมที่สูงเป็นอันดับ 2 ของโลก (132.2 เมตร) และอาคารผู้โดยสารเดี่ยวที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก (563,000 ตารางเมตร) ปัจจุบันเป็น หนึ่งในท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก โดยในปี พ.ศ. 2559 มีผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลกและใน เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิบริการสายการบินที่ทำการบินแบบประจำ 109 สายการบิน ซึ่งถือว่าบริการตามจำนวนสายการบินมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก (สามารถรองรับเที่ยวบิน 76 เที่ยวต่อชั่วโมงและผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี) Suvarnabhumi Airport.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา

ท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาลันดา (Stockholm-Arlanda Airport) ตั้งอยู่ที่เขตซิกทูนา มณฑลสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน ห่างจากกรุงสตอกโฮล์มไปทางเหนือประมาณ 42 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสวีเดน และเป็นท่าอากาศยานหลักสู่ประเทศสวีเดน เป็นหนึ่งในท่าอากาศยานหลักของสแกนดิเนเวียน แอร์ไลน์ ซิสเต็ม ใหญ่เป็นอันดับสามในประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีผู้ใช้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศหนาแน่นเป็นอันดับสองในภูมิภาค รองรับผู้โดยสารกว่า 19 ล้านคนต่อปี ในปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานสตอกโฮล์ม-อาร์ลันดา · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอน

ท่าอากาศยานออสโล, การ์เดอร์มอน (Oslo lufthavn, Gardermoen) ตั้งอยู่ที่การ์เดอร์มอน ในเขตยูลเลนแซเกอร์ ประเทศนอร์เวย์ ห่างจากตัวเมืองกรุงออสโลไปทางเหนือประมาณ 48 กิโลเมตร เริ่มเปิดใช้ในเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัมสคิปโฮล

ท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัมสคิปโฮล (Amsterdam Airport Schiphol, Luchthaven Schiphol) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติหลักของประเทศเนเธอร์แลนด์ เปิดดำเนินงานตั้งแต่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานอัมสเตอร์ดัมสคิปโฮล · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานฮัมบวร์ค

ท่าอากาศยานฮัมบวร์ค (เยอรมัน: Flughafen Hamburg-Fuhlsbüttel) ตั้งอยู่ที่เมืองฮัมบวร์ค ประเทศเยอรมนี ห่างจากตัวเมืองออกไปทางตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 8.5 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 5 ของเยอรมนี.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานฮัมบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานจอร์จบุชอินเตอร์คอนติเนนตัล

ท่าอากาศยานจอร์จบุชอินเตอร์คอนติเนนตัล (George Bush Intercontinental Airport) ตั้งอยู่ที่ฮิวส์ตัน รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา ห่างออกไปทางเหนือของตัวประมาณ 37 กิโลเมตร (23 ไมล์) บุชอินเตอร์คอนติเนนตัลเป็นท่าอากาศยานที่มีความสำคัญเป็นอันดับ 2 รองจากท่าอากาศยานนานาชาติดัลลาส-ฟอร์ทเวิร์ธ และยังเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของสายการบินคอนติเนนตัล แอร์ไลน์ บุชอินเตอร์คอนติเนนตัล เดิมคือ ท่าอากาศยานฮิวส์ตันอินเตอร์คอนติเนนตัล โดยเปลี่ยนมาใช้ชื่อปัจจุบัน เมื่อปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานจอร์จบุชอินเตอร์คอนติเนนตัล · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟ

ท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟ (Flughafen Düsseldorf) ตั้งอยู่ที่เมืองดึสเซิลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 3 ของเยอรมนี เป็นรองจากมิวนิกและแฟรงก์เฟิร์ต และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอลทียูและลุฟต์ฮันซ.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานดึสเซิลดอร์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรน

ท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรน (อาหรับ: مطار البحرين الدولي) ตั้งอยู่ที่เกาะอัล มูฮาร์รัก ทางตอนเหนือสุดของมานามา ประเทศบาห์เรน เป็นท่าอากาศยานหลักของกัลฟ์แอร.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติกลาสโกว์

ท่าอากาศยานนานาชาติกลาสโกว์ (Glasgow International Airport) ตั้งอยู่ใกล้กับเมืองเพรสลีย์ และเรนฟริว ในเรนฟริวไชร์ รองรับการจราจรทางอากาศของเมืองกลาสโกว์ โดยอยู่ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันตกประมาณ 13 กิโลเมตร (8 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสก็อตแลนด์ และเป็นท่าอากาศยานหลักของโลแกนแอร.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติกลาสโกว์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ (Lapangan Terbang Antarabangsa Kuala Lumpur) ตั้งอยู่ที่เขตเซปัง รัฐเซอลาโงร์ ประเทศมาเลเซีย ห่างจากตัวเมืองกัวลาลัมเปอร์ประมาณ 50 กิโลเมตร เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เพื่อใช้เป็นท่าอากาศยานหลัก แทน ท่าอากาศยานสุลต่านอับดุล อาซิส ซาห์ (ซูบัง) ซึ่งตั้งห่างอยู่ทางทิศเหนือ (ปัจจุบันเปิดทำการในสายภายในประเทศ และเครื่องบินขนาดเล็ก) และเป็นท่าอากาศยานหลักของมาเลเซียแอร์ไลน์, มาเลเซียแอร์ไลน์คาร์โก และแอร์เอเชีย ได้รับรางวัลท่าอากาศยานที่ดีที่สุด จาก (AETRA awards) ปี 2005 และ (ACI-ASQ awards) ปี 2006.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติกัวลาลัมเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติมาดริดบาราคัส

ท่าอากาศยานอาดอลโฟ ซัวเรซ มาดริด-บาราคัส (Aeropuerto Adolfo Suárez Madrid-Barajas) ตั้งอยู่ที่กรุงมาดริด ประเทศสเปน เปิดให้บริการมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติมาดริดบาราคัส · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิก

Lufthansa Regional Embraer E195 ท่าอากาศยานมิวนิก (Munich International Airport) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ท่าอากาศยานมิวนิก ฟรันซ์ โยเซฟ ชเตราสส์ (Flughafen München Franz Josef Strauß) เพื่อเป็นเกียรติต่อฟรันซ์ โยเซฟ ชเตราสส์ อดีตผู้ว่าการรัฐบาวาเรีย ท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ที่มิวนิก เยอรมนี ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 28 กิโลเมตร (17.5 ไมล์) มิวนิกเป็นท่าอากาศที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของเยอรมนี รองจากท่าอากาศยานนานาชาติแฟรงค์เฟิร์ต และเป็นท่าอากาศยานหลักของลุฟต์ฮันซ.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติมิวนิก · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส

ท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส (Los Angeles International Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ชาวแคลิฟอร์เนียจะเรียกท่าอากาศยานแห่งนี้อย่างย่อว่า แอลเอเอกซ์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของลอสแอนเจลิส ห่างจากตัวเมืองไปประมาณ 24 กิโลเมตร แอลเอเอกซ์เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ และอลาสกาแอร์ไลน์ เนื่องจากท่าอากาศยานแห่งนี้ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเล ทำให้ต้องเจอกับปัญหาเรื่องหมอก จนบางครั้งจะต้องให้เครื่องบินเปลี่ยนไปลงที่ท่าอากาศยานนานาชาติแอลเอ/ออนแทริโอ ซึ่งอยู่ห่างออกไปทางตะวันออก 76 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติลอสแอนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลส

ท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตัน ดัลเลส (Washington Dulles International Airport) ตั้งอยู่ระหว่างเมืองชานทิลลีในแฟร์แฟกเคาน์ตี และดัลเลสในลูดอนเคาน์ตี รัฐเวอร์จิเนีย ห่างจากวอชิงตัน ดี.ซี.ไปทางตะวันตกประมาณ 41.8 กิโลเมตร (26 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานสำคัญของเจ็ตบลูแอร์เวย์ วอชิงตัน ดัลเลส ตั้งชื่อตามจอห์น ฟอสเตอร์ ดัลเลส อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศในสมัยประธานาธิบดีไอเซนฮาว.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติวอชิงตันดัลเลส · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน

ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน (ฮังกึล: 인천국제공항, ฮันจา: 仁川國際空港) ตั้งอยู่ที่เกาะยางจอง เมืองอินช็อน ประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันตกของโซล โดยรองรับการเป็นท่าอากาศยานหลักของเกาหลีใต้ และสายการบินแห่งชาติอย่างโคเรียนแอร์ รวมทั้งเอเชียน่าแอร์ไลน์ และคาร์โก360 แทนที่ท่าอากาศยานกิมโป (เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติกิโป) นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตา

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ตสฟีลด์-แจ็กสัน แอตแลนตา (Hartsfield-Jackson Atlanta International Airport) หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานแอตแลนตา, ท่าอากาศยานฮาร์ตสฟีลด์ หรือเรียกอย่างย่อว่า ฮาร์ตสฟีลด์ ตั้งอยู่บริเวณชานเมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา เป็นท่าอากาศยานที่ความหนาแน่นมากที่สุดในกรณีจำนวนผู้โดยสารและเที่ยวบินขึ้น-ลง มาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติฮาร์ทสฟิลด์–แจ็คสัน แอตแลนตา · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาหมัด

ท่าอากาศยานนานาชาติฮาหมัด (مطار حمد الدولي) เป็น ท่าอากาศยานนานาชาติ ตั้งอยูในโดฮา เมืองหลวงของประเทศกาตาร์ สร้างขึ้นใหม่เพื่อใช้แทน ท่าอากาศยานนานาชาติโดฮา เพื่อเป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ เป็นสนามบินที่รู้จักกันในชื่อเดิมว่า ท่าอากาศยานนานาชาติโดฮาแห่งใหม่ (NDIA), ท่าอากาศยานนานาชาติฮาหมัด เดิมมีกำหนดเปิดให้บริการในปี 2009 แต่ก็เกิดความล่าช้าเรื่องค่าใช้จ่ายทำให้ท่าอากาศยานเปิดใช้จริงในวันที่ 30 เมษายน 2014 โดยเครื่องบินของกาตาร์แอร์เวย์ บินจากท่าอากาศยานนานาชาติโดฮา ผู้ให้บริการหลักอย่าง กาตาร์แอร์เวย์ และผู้ให้บริการรายอื่นๆ ทั้งหมดย้ายมาอย่างเป็นทางการมายังสนามบินใหม่แห่งนี้เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2014.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติฮาหมัด · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง

ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (จีน: 香港國際機場, จีนกลาง: Xiānggǎng Guójì Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: hoeng1 gong2 gwok3 zai3 gei1 coeng4) หรือเรียกโดยทั่วไปว่าสนามบินเช็กล้าบก็อก (จีน: 赤鱲角機場, จีนกลาง: Chìlièjiǎo Jīcháng, จีนกวางตุ้ง: cek3 laap6 gok3 gei1 coeng4) เป็นท่าอากาศยานหลักของเขตบริหารพิเศษฮ่องกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปิดใช้เมื่อปีพ.ศ. 2541 แทนที่ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกงเดิม ท่าอากาศยานแห่งนี้เปิดใช้งานเพื่อการพาณิชย์เมื่อปี พ.ศ. 2541 และเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายผู้โดยสารที่สำคัญของสาธารณรัฐประชาชนจีน เอเชียตะวันออก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีประวัติความเป็นมาไม่ยาวนานนัก แต่ท่าอากาศยานแห่งนี้ก็ได้รับรางวัลท่าอากาศยานยอดเยี่ยมระดับนานาชาติมาหลายครั้งในช่วงปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี

ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ

ท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ (อาหรับ: مطار دبي الدولي) ตั้งอยู่ที่ดูไบ, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเอมิเรตส์แอร์ไลน.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติดูไบ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ

ทางอากาศ หอควบคุมการบิน ท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่เกาะที่มนุษย์สร้างขึ้นในอ่าวโอซะกะ นอกชายฝั่งเมืองเซ็นนังและเมืองอิซุมิซะโนะ จังหวัดโอซะกะ ญี่ปุ่น ออกแบบโดยสถาปนิก Renzo Piano เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2537 โดย ในระหว่างปีงบประมาณ 2015 (พ.ศ. 2558) ท่าอากาศยานแห่งนี้มีเที่ยวบินเข้าและออก 163,506 เที่ยว ในจำนวนนี้มี 72,251 เที่ยวเป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศ และอีก 40,328 เที่ยวเป็นเที่ยวบินภายในประเทศ มีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งหมด 23,214,756 คน โดยเป็นผู้โดยสารระหว่างประเทศ 16,250,323 คน และผู้โดยสารภายในประเทศ 5,289,063 คน.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติคันไซ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต

ท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต ตั้งอยู่ที่เมืองฟาร์วานิยา ประเทศคูเวต ห่างจากตัวเมืองไปทางใต้ของคูเวตซิตีประมาณ 16 กิโลเมตร (10 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินคูเวตแอร์เวย์ และเป็นที่ตั้งของกองบัญชาการสูงสุด ของกองทัพอากาศคูเวต รวมถึงพิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศคูเวต.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติคูเวต · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก

ท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก (San Francisco International Airport) ตั้งอยู่ริมอ่าวซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองออกไปทางตอนใต้ประมาณ 21 กิโลเมตร (13 ไมล์) มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 2 ของแคลิฟอร์เนีย เป็นรองจากลอสแอนเจลิส ซานฟรานซิสโกยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และหากเป็นไปตามแผนที่จัดเตรียมไว้ ก็จะเป็นท่าอากาศยานหลักของเวอร์จิ้น อเมริกา ด้ว.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติซานฟรานซิสโก · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง

ท่าอากาศยานนานาชาติเซี่ยงไฮ้ผู่ตง (จีนตัวย่อ: 上海浦东国际机场, จีน: 上海浦東國際機場, พินอิน: Shànghǎi Pǔdōng Guójì Jīchǎng) ตั้งอยู่ทางตะวันออกของผู่ตง ในเขตเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นประตูหลักสู่ประเทศจีน รองรับผู้โดยสารระหว่างประเทศกว่า 17 ล้านคน ในปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติซ่างไห่ผู่ตง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง

อาคารเทียบเครื่องบิน 3 ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นสนามบินระหว่างประเทศสนามบินหลักของกรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือห่างจากใจกลางเมืองประมาณ ในเขตฉาวหยาง และบางส่วนของ เขตซุ่นอี้ บริหารงานโดย บริษัทท่าอากาศยานปักกิ่งแคปิตอล ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจ รหัสสนามบิน IATA ของปักกิ่งคือ PEK มาจากการถอดความชื่อของปักกิ่งเป็นอักษรโรมันแบบเดิม (Peking) ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ไชน่า สายการบินแห่งชาติของประเทศจีน ซึ่งมีเที่ยวบินจากที่นี่มากกว่า 120 เส้นทาง (ไม่รวมเที่ยวบินส่งสินค้า) ทั้งนี้ยังมี ไห่หนานแอร์ไลน์ และ ไชน่าเซาเทิร์นแอร์ไลน์ ที่ยึดสนามบินนี้เป็นสนามบินหลักอีกด้วย ท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง เพิ่มอาคารผู้โดยสารหลังที่ 3 ในปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติปักกิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล

ท่าอากาศยานปารีส-ชาร์ล เดอ โกล (Paris-Charles de Gaulle Airport; Aéroport Paris-Charles-de-Gaulle) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานรัวซี (Roissy) ตั้งอยู่ที่รัวซี กรุงปารีส ฝรั่งเศส อยู่ห่างจากตัวเมืองปารีสไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 25 กิโลเมตร นับเป็นประตูสำคัญในการเดินทางเข้าออกประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินแอร์ฟรานซ์ด้วย ท่าอากาศยานแห่งนี้ ตั้งชื่อตามชาร์ล เดอ โกล วีรบุรุษ และผู้นำขบวนการปลดปล่อยฝรั่ง.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติปารีส-ชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง

ท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง (Lapangan Terbang Antarabangsa Pulau Pinang) เดิมคือ ท่าอากาศยานนานาชาติบายันเลอปัซ ตั้งอยู่ที่เมืองบายันเลอปัซ รัฐปีนัง ประเทศมาเลเซีย อยู่ห่างจากตัวเมืองจอร์จทาวน์ (เมืองหลวงของรัฐ) ไปทางใต้ประมาณ 16 กิโลเมตร (10 ไมล์) รองรับการจราจรทางอากาศของปีนังเพื่อเชื่อมต่อกับเมืองสำคัญต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของไฟร์ฟลาย ซึ่งเป็นสายการบินลูกของ Malaysia Airlines ทางวิ่งของท่าอากาศยานนานาชาติปีนังอยู่ในทิศทาง 04/22 ผิวราดด้วยแอสฟัลต์ มีความยาว 3,352 เมตร กว้าง 45.5 เมตร ภายในอาคารมีช่องตรวจบัตรโดยสาร 64 ช่อง ประตูขึ้นเครื่อง 11 ประตู เป็นแบบประชิดอาคารมีสะพานเทียบ 8 ประตู มีสายพานรับกระเป๋า 3 สายพาน และลานจอดรองรับรถยนต์ได้ 808 คัน ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังเป็นท่าอากศยานขนาดกลาง บริหารงานโดย Malaysia Airports Holdings Berhad (MAHB) ซึ่งเป็นบริษัทของกระทรวงคมนาคม มีเที่ยวบินเชื่อมโยงไปยังสนามบินหลักๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เนื่องด้วยขนาดที่กระทัดรัดของสนามบิน ทำให้ผู้โดยสารได้รับการบริการที่รวดเร็ว และมีสิ่งอำนวยความสะดวกขั้นพื้นฐานอย่างครบครัน โดยมีเวลาขั้นต่ำในการต่อเครื่องบิน (minimum connection times) จากในประเทศไปต่างประเทศ (และในทางกลับกัน) 40 นาที และจากในประเทศไปในประเทศ 30 นาที ในปี 2007 ท่าอากาศยานนานาชาติปีนังมีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งสิ้นกว่า 3.1 ล้านคน จำนวนเครื่องบินขึ้นลงทั้งหมด 39,265 ลำ รองรับสินค้าทางอากาศทั้งสิ้น 208,582 ตัน.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติปีนัง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ

ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ เป็นสนามบินนานาชาติ ตั้งอยู่ที่เมืองนาริตะ จังหวัดชิบะ ประเทศญี่ปุ่น ดำเนินการโดย บริษัทท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ ซึ่งแปรสภาพมาจาก องค์การบริหารงานท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียวแห่งใหม่ ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นสนามบินหลักที่ให้บริการผู้โดยสารระหว่างประเทศที่เดินทางเข้าและออกจากประเทศญี่ปุ่น และเป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางระหว่างทวีปเอเชียและอเมริกา เป็นสนามบินที่รองรับเที่ยวบินสำหรับผู้โดยสารมากอันดับ 2 ของญี่ปุ่น (รองจากสนามบินฮะเนะดะ) เป็นสนามบินที่รองรับการขนส่งทางอากาศเป็นอันดับ 1 ของญี่ปุ่นและอันดับ 3 ของโลก ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ สายการบินออล นิปปอน แอร์เวย์ และสายการบินนอร์ธเวสต์แอร์ไลน์ และยังเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ อีกด้วย ท่าอากาศยานานาชาตินาริตะ เคยใช้ชื่อว่า New Tokyo International Airport (新東京国際空港 Shin-Tōkyō Kokusai Kūkō) จนกระทั่งปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์

ท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์ (Vancouver International Airport) ตั้งอยู่ที่ริชมอนด์, บริติชโคลัมเบีย ประเทศแคนาดา ห่างจากตัวเมืองแวนคูเวอร์ประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นท่าอากาศยานหลักของแอร์แคนาดา และเป็นท่าอากาศยานรองของเวสต์เจ็ต แวนคูเวอร์ ยังเป็น 1 ใน 8 ของท่าอากาศยานในแคนาดา ที่เป็นที่ตั้งของด่านตรวจลงตราล่วงหน้าของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติแวนคูเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ

ท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ (OR Tambo International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองโจฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุดในแอฟริกาใต้ และทวีปแอฟริกา รวมถึงเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเซาแอฟริกันแอร์เวย์ เดิมท่าอากาศยานแห่งนี้ชื่อว่า ท่าอากาศยานนานาชาติแจน สมัตส์ ตั้งชื่อตามรัฐบุรุษของแอฟริกาใต้ จนกระทั่งได้เปลี่ยนมาใช้ชื่อท่าอากาศยานนานาชาติโจฮันเนสเบิร์ก ในปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติโออาร์ แทมโบ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์

ท่าอากาศยานนานาชาติชิคาโกโอแฮร์ (Chicago O'Hare International Airport) ตั้งอยู่ที่ ชิคาโก, รัฐอิลลินอยส์, สหรัฐอเมริกา ห่างจากตัวเมืองชิคาโกไปทางตัวะนตกเฉียงเหนือ 27 กิโลเมตร (17 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินยูไนเต็ดแอร์ไลน์ และเป็นท่าอากาศยานรองของสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์ บริหารงานโดยกรมขนส่งทางอากาศเมืองชิคาโก (City of Chicago Department of Aviation) ก่อนหน้าปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติโอแฮร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน

ท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน (จีนตัวเต็ม: 台灣桃園國際機場 หรือ 臺灣桃園國際機場, ไต้หวันพินอิน: Táiwan Táoyuán Gúojì Jicháng, พินอิน: Táiwān Táoyuán Gúojì Jīcháng) เดิมคือท่าอากาศยานนานาชาติเจียงไคเช็ก (จีนตัวเต็ม: 中正國際機場, ไต้หวันพินอิน: Jhongjhèng Gúojì Jicháng, พินอิน: Zhōngzhèng Gúojì Jīcháng) ตั้งอยู่ที่เมืองเถา-ยฺเหวียน ในเขตไต้หวัน ประเทศสาธารณรัฐจีน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐจีน และเป็นท่าอากาศยานหลักของไชน่าแอร์ไลน์ และอีวีเอแอร์ โดยอาคาร 1 รองรับผู้โดยสารได้ 15ล้านคน อาคาร 2 รองรับผู้โดยสารได้ 17ล้านคน รวมกันได้ 32ล้านคนต่อปี.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติไต้หวันเถา-ยฺเหวียน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮม

ท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮม (Birmingham International Airport) เป็นท่าอากาศยานนานาชาติที่ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมืองเบอร์มิงแฮมไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 5.5 nautical mile ที่หมู่บ้าน Bickenhill ใน Metropolitan Borough of Solihull มณฑล West Midlands อังกฤษ ใน..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติเบอร์มิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวา

ท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวา, หรือที่รู้จักกันในชื่อ ท่าอากาศยานกวงแทร็ง เป็นท่าอากาศยานที่ให้บริการแก่เมืองเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ตั้งอยู่ห่างจากใจกลางเมืองไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 4 กิโลเมตร และเชื่อมต่อโดยตรงกับทางด่วน เส้นทางเดินรถประจำทางและรถไฟ (SBB-CFF-FFS) และมีพื้นที่ติดกับพรมแดนระหว่างสวิตเซอร์แลนด์กับฝรั่งเศส และยังสามารถเข้าสู่ท่าอากาศยานได้จากทั้งสองประเทศ ผู้โดยสารบนเที่ยวบินที่มาจากหรือจะไปฝรั่งเศสไม่ต้องผ่านด่านตรวจคนเข้าเมืองและศุลกากรของสวิตเซอร์แลนด์ หากยังคงอยู่ในพื้นที่ฝรั่งเศสของท่าอากาศยาน การขนส่งสินค้าสามารถกระทำได้จากทั้งสองประเทศ ทำให้เจนีวากลายเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการขนส่งสินค้าของสหภาพยุโรป แม้ว่าสวิสเซอร์แลนด์จะได้เป็นสมาชิกสหภาพยุโรปก็ตาม บางส่วนของท่าอากาศยานอยู่ในเขตเมย์แร็ง และอีกส่วนอยู่ในเขตกรองด์-แซเกอเน็กซ์"." Meyrin.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติเจนีวา · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์

ท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์ (Cape Town International Airport) ตั้งอยู่ที่เมืองเคปทาวน์ ประเทศแอฟริกาใต้ เป็นท่าอากาศยานที่มีผู้ใช้บริการมากเป็นอันดับ 2 ของแอฟริกาใต้ เป็นรองจากท่าอากาศยานนานาชาติโจฮันเนสเบิร์ก และยังเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินเซาต์แอฟริกันแอร์เว.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติเคปทาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานนานาชาติเฉิงตูซวงหลิว

ท่าอากาศยานนานาชาติเฉิงตูซวงหลิว เป็นท่าอากาศยานขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเมืองเฉิงตู ประเทศจีน ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 16 กิโลเมตร ในเขตซวงหลิว ในปี 2552 ท่าอากาศยานแห่งนี้ได้กลายเป็นท่าอากาศยานที่วุ่นวายที่สุดในภาคตะวันตกของจีน มีผู้โดยสารมาใช้บริการทั้งสิ้นกว่า 22,637,762 คน เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2551 ท่าอากาศยานต้องปิดทำการชั่วคราว เนื่องจากเกิดเหตุแผ่นดินไหวในมณฑลเสฉวน พ.ศ. 2551 ในอนาคต ได้มีแผนการก่อสร้างท่าอากาศยานแห่งใหม่ที่เขตจินถัง ซึ่งจะประกอบด้วยรันเวย์ 5 รันเวย์ และเมื่อสร้างเสร็จแล้ว จะช่วยย่นเวลาในการเดินทางจากตัวเมืองเฉิงตูได้ 30 นาที.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานนานาชาติเฉิงตูซวงหลิว · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์

ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ (Manchester Airport) เป็นท่าอากาศยานหลักของ แมนเชสเตอร์ อังกฤษ เปิดให้บริการเมื่อเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน

ท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน (Aeroporto Leonardo da Vinci di Fiumicino) หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ ท่าอากาศยานฟีอูมีชีโน เป็นท่าอากาศยานที่ใหญ่ที่สุดในอิตาลี ด้วยจำนวนผู้โดยสาร 35,226,351 คนใน พ.ศ. 2551 ตั้งอยู่ในเมืองฟีอูมีชีโน ห่างจากศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ของโรม 35 กิโลเมตร นอกจากนี้ ยังเป็นท่าอากาศยานที่มีผู้โดยสารคับคั่งมากเป็นอันดับที่ 27 ของโลกใน พ.ศ. 2552 และเป็นท่าอากาศยานหลักของสายการบินอัลอิตาเลีย ชื่อของท่าอากาศยานชื่อของเลโอนาร์โด ดา วินชี ผู้เชี่ยวชาญหลากหลายสาขาวิชาชาวอิตาลี ผู้ออกแบบต้นแบบของเฮลิคอปเตอร์และเครื่องจักรมีปีกบินได้เป็นคนแรกของโลก.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานเลโอนาร์โด ดา วินชี-ฟีอูมีชีโน · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานเอดินบะระ

ท่าอากาศยานเอดินบะระ (Edinburgh Airport) หรือเรียกโดยทั่วไปว่า เทิร์นเฮาส์ (Turnhouse) ตั้งอยู่ที่เมืองเอดินบะระ สกอตแลนด์ ห่างจากตัวเมืองไปทางตะวันตกประมาณ 13 กิโลเมตร (8 ไมล์) เป็นท่าอากาศยานที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและท่าอากาศยานเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

ขนส่งอากาศยาน

นส่งอากาศยาน (cargo airline) คือสายการบินที่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะการส่งสินค้าเพียงอย่างเดียว โดยขนส่งอากาศยานบางสายการบิน อาจจะเป็นสายการบินที่แยกส่วนกิจการออกจากสายการบินรับส่งผู้โดยสารทั่วไป.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและขนส่งอากาศยาน · ดูเพิ่มเติม »

ควอนตัส

วอนตัส (Qantas) เป็นสายการบินประจำชาติและเป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดของออสเตรเลีย และยังเป็นสายการบินเก่าแก่เป็นอันดับ 3 ของโลกที่ยังให้บริการอยู่ ตามหลังเคแอลเอ็ม และเอวิอองคา ชื่อของควอนตัส (Qantas) นั้นย่อมาจาก "Queensland and Northern Territory Aerial Services" เครื่องบินแอร์บัส เอ 380 ของควอนตั.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและควอนตัส · ดูเพิ่มเติม »

ตัวเลขในวัฒนธรรมจีน

ตัวเลขในวัฒนธรรมจีน ในวัฒนธรรมจีน มีความเชื่อว่าตัวเลขบางตัวเป็นตัวเลขแห่งความโชคดีหรือเป็นเลขมงคล (auspicious; 吉利) และมีบางตัวเลขเป็นเลขแห่งความโชคร้ายหรือเป็นเลขอวมงคล (inauspicious; 不利) ตามคำในภาษาจีนที่ตัวเลขนั้นมีการออกเสียงคล้ายคลึง โดยเชื่อว่าเลข 0, 6, 8 และ 9 ล้วนเป็นเลขมงคลเนื่องจากเป็นคำพ้องเสียงกับคำที่มีความหมายในเชิงบวก.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและตัวเลขในวัฒนธรรมจีน · ดูเพิ่มเติม »

แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11

แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11 เป็นเครื่องบินสามเครื่องยนต์ ผลิตโดยแมคดอนเนลล์ดักลาส และโบอิ้งหลังจากควบรวมกิจการกันแล้ว มีต้นแบบมาจากแมคดอนเนลล์ ดักลาส ดีซี-10 เน้นใช้วัสดุผสมเป็นหลัก ใช้เครื่องยนต์ขับเคลื่อน 3 เครื่อง แต่ก็สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงมากกว่าเครื่องบินแบบ 2 เครื่องยนต์ และเกิดอุบัติเหตุบ่อยทำให้ไม่เป็นที่นิยมนัก ผลิตออกมาได้แค่ 200 ลำ มีทั้งแบบโดยสาร แบบโดยสารกับขนส่งสินค้า และแบบขนส่งสินค้า  แบบโดยสารและแบบโดยสารกับขนส่งสินค้าออกบินครั้งสุดท้ายในปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-11 · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ฟรานซ์

แอร์ฟรานซ์ (Air France) (Compagnie Nationale Air France) เป็นสายการบินหนึ่งของแอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม (Air France-KLM) แอร์ฟรานซ์เป็นสายการบินประจำชาติของฝรั่งเศส ปัจจุบันได้เข้าร่วมกิจการกับสายการบินเคแอลเอ็ม (KLM) สายการบินประจำชาติของเนเธอร์แลนด์ โดยใช้ชื่อว่า "แอร์ฟรานซ์-เคแอลเอ็ม" และแอร์ฟรานซ์เป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งของเครือข่ายพันธมิตรสายการบินสกายทีม.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและแอร์ฟรานซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์อัสตานา

แอร์อัสตานา (Эйр Астана) เป็นสายการบินแห่งชาติของคาซัคสถาน มีที่ตั้งที่ อัลมาตี คาซัคสถาน มีฐานการบินหลักที่ ท่าอากาศยานนานาชาติอัสมาตี และอีกที่คือท่าอากาศยานนานาชาติอัสตาน.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและแอร์อัสตานา · ดูเพิ่มเติม »

โบอิง 2707

อิง 2707 เป็นอากาศยานความเร็วเหนือเสียง พัฒนาโดยฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์โบอิง และได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาลเพื่อพัฒนาโครงการ แต่เนื่องจากต้นทุนที่พุ่งสูงขึ้น รวมทั้งไม่เป็นที่สนใจของสายการบินต่าง ๆ มากเท่าควร และความกังวลเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทำให้ต้องยกเลิกโครงการไปในปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและโบอิง 2707 · ดูเพิ่มเติม »

โบอิง 747-400

รื่องบินโบอิง 747-400 ของบริติช แอร์เวย์ซึ่งเป็นเจ้าของฝูงบิน 747-400 ที่ใหญ่ที่สุด เดลต้า แอร์ไลน์ 747-400 โบอิง 747-400 เป็นเครื่องบินรุ่นล่าสุดของ โบอิง 747 ผลิตโดยฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์โบอิง และเคยเป็นเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดจนกระทั่งการให้บริการของแอร์บัส เอ 380 ทั้งนี้โบอิงกำลังทดแทนเครื่องบินรุ่นนี้ด้วย โบอิง 747-8 ซึ่งคาดว่าจะเริ่มให้บริการได้ในปี..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและโบอิง 747-400 · ดูเพิ่มเติม »

โบอิง 777

อิง 777 เป็นอากาศยานแบบลำตัวกว้าง ใช้เครื่องยนต์ 2 ตัว มีพิสัยบินระยะไกล ผลิตโดยฝ่ายผลิตเครื่องบินพาณิชย์โบอิง ซึ่งถือได้ว่าเป็นเครื่องบินเชิงพาณิชย์ลำแรกที่มีการออกแบบและพัฒนาบนคอมพิวเตอร์ทุกขั้นตอน โดยโปรแกรมเขียนภาพสามมิติ CATIA และมีสายการบินขนาดใหญ่อย่างยูไนเต็ดแอร์ไลน์, อเมริกันแอร์ไลน์, เดลต้า แอร์ไลน์, ออลนิปปอนแอร์เวย์, บริติช แอร์เวย์, เจแปนแอร์ไลน์, แควนตัส และคาเธย์แปซิฟิก มีส่วนร่วมในการพัฒนาเครื่องบินรุ่นนี้ ทำให้ 777 เป็นเครื่องบินที่ตรงตามความต้องการของลูกค้ามากที่สุด ทั้งนี้นับจนถึงพฤษภาคม..

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและโบอิง 777 · ดูเพิ่มเติม »

เมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนล

Boeing 737-300 ที่ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี (ถ่ายในปี ค.ศ. 2002) เครื่องบิน Airbus A320 จอดที่ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง เครื่องบิน Airbus A320 ในลายปัจจุบัน บริษัท เมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนล จำกัด (အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာ မြန်မာ့လေကြောင်း) เป็นสายการบินเอกชนซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ย่างกุ้ง ประเทศพม่า ให้บริการสายการบินไปยังจุดหมายปลายทางต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีฐานการบินหลักอยู่ที่ท่าอากาศยานนานาชาติย่างกุ้ง นอกจากนี้ยังเคยเป็นผู้สนับสนุนหลักของกีฬาซีเกมส์ 2013 อีกด้ว.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและเมียนมาร์แอร์เวย์อินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเติน

ันโท เจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเติน (22 เมษายน พ.ศ. 2449 — 26 มกราคม พ.ศ. 2490) เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน กับเจ้าหญิงมาร์กาเรธา มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน และเป็นพระราชชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน.

ใหม่!!: เคแอลเอ็มและเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเติน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

KLMสายการบินเคแอลเอ็มเคแอลเอ็ม โรยัลดัชต์แอร์ไลน์เคแอลเอ็ม โรยัลดัตช์ แอร์ไลน์เคแอลเอ็มรอแยลดัตช์แอร์ไลน์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »