โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เคมี

ดัชนี เคมี

มี (chemistry) เป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาในเรื่องของสสาร โดยไม่เพียงแต่ศึกษาเฉพาะในเรื่องของปฏิกิริยาเคมี แต่ยังรวมถึงองค์ประกอบ โครงสร้างและคุณสมบัติของสสารอีกด้วย การศึกษาทางด้านเคมีเน้นไปที่อะตอมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างอะตอมกับอะตอม และโดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณสมบัติของพันธะเคมี บางครั้ง เคมีถูกเรียกว่าเป็นวิทยาศาสตร์ศูนย์กลาง เพราะเป็นวิชาช่วยที่เชื่อมโยงฟิสิกส์เข้ากับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติสาขาอื่น เช่น ธรณีวิทยาหรือชีววิทยา ถึงแม้ว่าเคมีจะถือเป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์กายภาพแต่ก็มีความแตกต่างจากวิชาฟิสิกส์ค่อนข้างมาก มีการถกเถียงกันอย่างมากมายถึงต้นกำเนิดของเคมี สันนิษฐานว่าเคมีน่าจะมีต้นกำเนิดมาจากการเล่นแร่แปรธาตุซึ่งเป็นที่นิยมกันมาอย่างยาวนานหลายสหัสวรรษในหลายส่วนของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในตะวันออกกลาง.

268 ความสัมพันธ์: บรรยากาศศาสตร์บาเซิลชื่อระหว่างประเทศที่ไม่มีเจ้าของชีวธรณีเคมีฟรานซิส คริกฟรีดริช โมสพระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง)พลังงานกระตุ้นพลาสมา (สถานะของสสาร)พหุนามพืชกรรมสวนกฎสัดส่วนพหุคูณกระบวนการก่อตัวใหม่กรดยูริกกรดโฟลิกกลุ่มดาวเตาหลอมกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยกลูโคสกายวิภาคศาสตร์มนุษย์การพิสูจน์ว่าเป็นเท็จการลำดับชั้นหินการอุบัติการจำลองการถ่ายโอนการถ่ายโอนสัญญาณการทำแกรนูลการทดลองแบบอำพรางการดูดซับการดูดซึมการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.การป่าไม้ในเมืองการแพร่การเรียกชื่อสารเคมีตามระบบ IUPACกำจร มนุญปิจุกูกอลญาบิรภาพติดตาชั่วขณะภาวะมาตรฐานภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูลมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมหาวิทยาลัยแอสตันมหาวิทยาลัยไลพ์ซิชมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีมัลคอล์ม บราวน์มารี กูว์รีมาร์ติน ไฮน์ริช คลาพรอทยัน บัปติสต์ ฟัน แฮ็ลโมนต์...ยาแก้สรรพโรคยาโรสลาฟ เฮย์รอฟสกียงยุทธ ยุทธวงศ์รอเบิร์ต คอร์เนเลียสรายชื่อการแข่งขันวิทยาศาสตร์รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)รายชื่อตัวละครในเพชรพระอุมารายชื่อนักวิทยาศาสตร์ที่นำมาใช้เป็นชื่อธาตุรายการสาขาวิชารายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.รางวัลวูล์ฟรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยรางวัลโนเบลสาขาเคมีริทอร์ตลวดลายในธรรมชาติลิแกนด์ลู้ก ฮาวเวิร์ดวัฏจักรทางชีวธรณีเคมีวัสดุศาสตร์วัสดุผสมวัคซีนวาลีนวิชัย ริ้วตระกูลวิลเบอร์ สโกวิลล์วิลเลียม ไฮด์ วูลลาสตันวิศวกรรมสมุทรศาสตร์วิศวกรรมอาหารวิศวกรรมเครื่องกลวิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์สุขภาพวิทยาศาสตร์ธรรมชาติวิทยาศาสตร์โลกวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นว็อล์ฟกัง เพาลีศักรินทร์ ภูมิรัตนศาสตราจารย์สบู่สภาพผสมเข้ากันได้สมิธสัน เทนแนนต์สมุทรศาสตร์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิสสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารีสยามสแควร์สวานเต อาร์เรเนียสสหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศสัญกรณ์คณิตศาสตร์สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนสัมประสิทธิ์สารละลายสารละลายในน้ำสารประกอบอินทรีย์สารประกอบไอออนิกสารเคมีสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีสำนักงานราชบัณฑิตยสภาสุวบุญ จิรชาญชัยสุขุม นวลสกุลสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริกสถานะ (สสาร)ส่วนลงตัวสไปเดอร์-แมนหมู่ (ตารางธาตุ)หยกหลักสูตรหลุยส์ ปาสเตอร์ห้องปฏิบัติการอะตอมอัลเบิร์ต ฮอฟมานน์อัลเฟรด โนเบลอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยอาร์เชอร์ มาร์ตินอาดอล์ฟ ชเตรคเคอร์อาเมเดโอ อาโวกาโดรอุณหพลศาสตร์อุไรวรรณ ศิวะกุลอีปอลิต แมฌ-มูเรียสอีแรน ฌอลีโย-กูว์รีอ็องตวน ลาวัวซีเยอ็องแซลม์ ปาแย็งอ็องเดร-มารี อ็องแปร์ฮัมฟรี เดวีฮันส์ ฟิชเชอร์ผับเคมผักตบชวาฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัวจลนพลศาสตร์เคมีจอห์น ซ่งจิตต์ลัดดา ศักดาภิพาณิชย์จุดภาพชัดเสื่อมธรณีวิทยาธรณีเคมีธาตุธาตุหลังยูเรเนียมธาตุเรพริเซนเททิฟทฤษฎีอะตอมทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าทอร์เบิร์น เบิร์กมันทาเดอุช ไรค์สไตน์ขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการข้าวกวก. 1ดมีตรี เมนเดเลเยฟดาราศาสตร์ดิวเทอเรียมคริสเตียน ฟรีดริช เชินไบน์ความบริสุทธิ์ความภูมิใจแห่งตนความเข้มข้นความเป็นโลหะ (ดาราศาสตร์)คาร์บีนคาร์ล กุสตาฟ โมแซนเดอร์คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์คณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณิตศาสตร์ประยุกต์คนพลังกายสิทธิ์ค่าคงตัวค่าเฉลี่ยกำลังสองงานกระจกสีงานวิจัยที่มีความเริ่มแรกตรีโกณมิติตัวกระตุ้นอันตรายตัวตั้งต้นตู้เย็นซูสีไทเฮาซูเปอร์คอมพิวเตอร์ซีเอสไอ: ไครม์ซีนอินเวสติเกชันปฏิกิริยาสะเทินประพนธ์ วิไลรัตน์ปรัชญาปีสากลแห่งเคมีปีแยร์ กูว์รีนักฟิสิกส์นักเคมีนิรมล สุริยสัตย์นิวคลีโอลัสนิติวิทยาศาสตร์น้ำหล่อลื่นแก๊สเรือนกระจกแรงแม่เหล็กไฟฟ้าแอลกอฮอล์แอ็กเซล เฟรดริก ครูนสเตทแฮร์มัน ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์แฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์แถบ นีละนิธิแดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ดโยฮัน เอากุสท์ อาร์ฟเวดสันโยฮันน์ ว็อล์ฟกัง เดอเบอไรเนอร์โรชาน เซธโรงเรียนชลประทานวิทยาโรงเรียนมารีย์วิทยาโรเบิร์ต บอยล์โฌแซ็ฟ หลุยส์ แก-ลูว์ซักโจะเซ โทะดะโคพอลิเมอร์ไบเออร์ไพโรจน์ เปรมปรีดิ์ไมเคิล ฟาราเดย์ไอแซค อสิมอฟไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัสไฮโดรเจนคลอไรด์ไซยาโนอะคริเลตไนตรัสออกไซด์ไนโตรกลีเซอรีนไนโตรเจนออกไซด์ไนโตรเจนไดออกไซด์เชอร์ล็อก โฮมส์เพชรเพาล์ คาร์เรอร์เกลือ (เคมี)เกออร์ก วิททิกเภสัชกรเภสัชวิทยาเภสัชศาสตร์เภสัชเคมีเมลามีนเยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียสเลขโคออร์ดิเนชันเลโอ บาเกอลันด์เลเซอร์เวกเตอร์เศรษฐกิจของประเทศไนจีเรียเหมราชพัฒนาที่ดินเออร์วิง แลงมิวร์เอิร์ท (อนุกรมเคมี)เฮนรี คาเวนดิชเจมส์ ดี. วัตสันเทออดอร์ สเวดแบร์ยเทคโนโลยีอาหารเดอะ ร็อก ยึดนรกป้อมมหากาฬเดอะฮูซิเออร์สเคมีการคำนวณเคมีวิเคราะห์เคมีอินทรีย์เคมีอนินทรีย์เคมีดาราศาสตร์เคมีนิวเคลียร์เคมีเชิงฟิสิกส์เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยาเซจิ โอะงะวะเปลือกอิเล็กตรอนDNepenthes rajahSTP3 ธันวาคม4 ขยายดัชนี (218 มากกว่า) »

บรรยากาศศาสตร์

แผนภูมิผสมแสดงวัฏจักร/วิวัฒนาการขององค์ประกอบต่างๆ ของบรรยากาศโลก ผลกระทบระดับภูมิภาคของ ENSO คราวร้อน (El Niño). บรรยากาศศาสตร์ (Atmospheric sciences) เป็นคำศัพท์กลางๆ ใช้เรียกการศึกษาด้านบรรยากาศ ซึ่งได้แก่กระบวนการ ผลของระบบอื่นๆ ที่มีต่อบรรยากาศ และ ผลของบรรยากาศที่มีต่อระบบอื่นๆ อุตุนิยม ซึ่งรวมถึง "เคมีบรรยากาศ" และ "ฟิสิกส์บรรยากาศ" ที่หลักๆ เน้นไปที่การพยากรณ์อากาศ ภูมิอากาศวิทยา (Climatology) ได้แก่ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ (ทั้งระยะยาวและระยะสั้น) ที่จะบ่งชี้ภูมิอากาศเฉลี่ยและการเปลี่ยนไปตามเวลาที่เนื่องมาจากทั้งภูมิอากาศที่ผันแปรตามธรรมชาติ และภูมิอากาศที่ผันแปรตามกิจกรรมของมนุษย์ สาขาวิชาด้านบรรยากาศศาสตร์ได้ขยายตรอบคลุมถึงสาขาศาสตร์แห่งดาวเคราะห์และการศึกษาบรรยากาศของดาวเคราะห์ในระบบสุริยจักรวาล.

ใหม่!!: เคมีและบรรยากาศศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

บาเซิล

ซิล (Basel) เป็นเมืองที่มีประชากรเป็นอันดับ 3 ของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีประชากรราว 166,000 คน ตั้งอยู่ใกล้ชายแดนสวิตเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศสและเยอรมนี มีผู้อยู่อาศัยในเขตเมือง รวมกันทั้ง 3 เชื้อชาติราว 830,000 คน จากข้อมูลปี..

ใหม่!!: เคมีและบาเซิล · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อระหว่างประเทศที่ไม่มีเจ้าของ

ื่อระหว่างประเทศที่ไม่มีเจ้าของ (International Nonproprietary Name หรือ INN หรือเรียกอีกอย่างว่า rINN ย่อจาก recommended International Nonproprietary Name) ชื่อเป็นทางการที่ไม่มีเจ้าของ หรือชื่อสามัญทั่วไปที่ใช้เรียก สารประกอบเคมี ทาง เภสัชกรรม ที่กำหนดโดย องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) เนื่องจากชื่อตำรับยาที่มีเจ้าของมีจำนวนมากมายแต่มีตัวยาสำคัญตัวเดียวกันซึ่งอาจทำให้เกิดความสับสนได้ง่าย INN เป็นชื่อที่ทำให้ง่ายและสะดวกในการสื่อสารโดยการกำหนดชื่อมาตรฐานสำหรับสารแต่ละตัว คล้ายกับชื่อชื่อ IUPAC ในวิชา เคมี อย่างไรก็ดีบางครั้งชื่อเหล่านี้อาจยาวและไม่สะดวกที่จะใช้ องค์การอนามัยโลก ได้ตั้งชื่อ INN ไว้ในภาษาต่างๆ คือ อังกฤษ ลาติน ฝรั่งเศส รัสเซีย และสเปน ส่วนภาษาอาหรับและจีนจะเป็นอีกเล่มหนึ่ง.

ใหม่!!: เคมีและชื่อระหว่างประเทศที่ไม่มีเจ้าของ · ดูเพิ่มเติม »

ชีวธรณีเคมี

ชีวธรณีเคมี (Biogeochemistry) คือการศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์บนพื้นฐานกระบวนการทางเคมี, ฟิสิกส์, ธรณีวิทยา, และชีววิทยา รวมถึงการปฏิกิริยาซึ่งควบคุมองค์ประกอบของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ (รวมถึงชีวาลัย, อุทกภาค, บรรยากาศ และธรณีภาค) และวัฏจักรของสสารและพลังงานต่างๆ ซึ่งลำเลียงสารประกอบต่างๆ ในโลกทั้งในเวลาและอวกาศ ชีวธรณีเคมีเป็นวิทยาศาสตร์ระบบ หมวดหมู่:ธรณีวิทยา หมวดหมู่:เคมี หมวดหมู่:ชีววิทยา.

ใหม่!!: เคมีและชีวธรณีเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิส คริก

ฟรานซิส คริก ฟรานซิส คริก (Francis Harry Compton Crick OM FRS (8 มิถุนายน พ.ศ. 2459 – 28 กรกฎาคม 2547) นักอณูชีววิทยาชาวอังกฤษ นักฟิสิกส์และนักประสาทวิทยาศาสตร์ ผู้ได้รับการยกย่องเป็นผู้ร่วมค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของ “กรดดีออกซีไรโบนิวคลิอิก” หรือ “ดีเอ็นเอ” เมื่อ พ.ศ. 2496 ฟรานซิส คริก กับ เจมส์ ดี. วัตสัน ผู้ร่วมค้นพบ ได้ร่วมรับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยา หรือ การแพทย์ “สำหรับการค้นพบที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างโมเลกุลของกรดนิวคลิอิกและความสำคัญของมันในการถ่ายทอดข้อมูลสำคัญในสิ่งมีชีวิต” งานของฟรานซิส คริกในช่วงหลังจนถึงปี พ.ศ. 2520 ที่หอทดลองอณูชีววิทยา “เอ็มอาร์ซี” หรือ “สภาวิจัยทางการแพทย์” (MRC-Medical Research Council) ไม่ได้รับการยอมรับเป็นทางการมากนัก ในช่วงท้ายในชีวิตงาน คริกได้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์เมธีวิจัย “เจ ดับบลิว คีกเคเฟอร์” ที่ “สถาบันซอล์คชีววิทยาศึกษา” ที่เมืองลาโฮลา รัฐแคลิฟอร์เนีย และได้ดำรงตำแหน่งนี้จนสิ้นชีวิตเมื่ออายุได้ 88 ปี.

ใหม่!!: เคมีและฟรานซิส คริก · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช โมส

ร์ล ฟรีดริช คริสเตียน โมส (Carl Friedrich Christian Mohs; 29 มกราคม ค.ศ. 1773 – 29 กันยายน ค.ศ. 1839) เป็นนักธรณีวิทยาและนักวิทยาแร่ชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองแกร์นโรเดอ โมสเรียนวิชาเคมี คณิตศาสตร์ และฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยฮัลเลอและเรียนที่สถาบันเหมืองแร่ที่เมืองไฟรแบร์ก ต่อมาเดินทางไปทำงานพิสูจน์แร่ให้นายธนาคารที่ประเทศออสเตรีย ในปี..

ใหม่!!: เคมีและฟรีดริช โมส · ดูเพิ่มเติม »

พระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง)

อำมาตย์โท พระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง) หรือ หม่อมราชวงศ์ชายสรรพศิลป์เครือวัลย์ ชุมแสง (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2428 - พ.ศ. 2478) นายกเภสัชกรรมสมาคมแห่งกรุงสยามคนแรก นักพฤกษศาสตร์ และอาจารย์ชาวไท.

ใหม่!!: เคมีและพระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง) · ดูเพิ่มเติม »

พลังงานกระตุ้น

ลังงานกระตุ้น หรือ พลังงานก่อกัมมันต์ (activation energy) ในทางเคมีและชีววิทยา เป็นพลังงานกระตุ้น หรือพลังงานที่ต้องใช้ในการเริ่มปฏิกิริยาเคมี (chemical reaction) ให้เกิดขึ้น หรือมิฉะนั้นพลังงานกระตุ้นอาจจะแสดงได้ว่าเป็นพลังงานน้อยที่สุดที่จำเป็นสำหรับใช้กระตุ้นปฏิกิริยาเคมีให้เกิดขึ้น พลังงานกระตุ้นอาจแสดงโดยตัวย่อได้ดังนี้ 'Ea.

ใหม่!!: เคมีและพลังงานกระตุ้น · ดูเพิ่มเติม »

พลาสมา (สถานะของสสาร)

หลอดไฟพลาสมา แสดงปรากฏการณ์ที่ซับซ้อนบางประการ รวมทั้งปรากฏการณ์ "ฟิลาเมนเตชั่น" (filamentation) พลาสมา ในทางฟิสิกส์และเคมี คือ แก๊สที่มีสภาพเป็นไอออน และมักจะถือเป็นสถานะหนึ่งของสสาร การมีสภาพเป็นไอออนดังกล่าวนี้ หมายความว่า จะมีอิเล็กตรอนอย่างน้อย 1 ตัว ถูกดึงออกจากโมเลกุล ประจุไฟฟ้าอิสระทำให้พลาสมามีสภาพการนำไฟฟ้าเกิดขึ้น สถานะที่ 4 ของสสารนี้ มีการเอ่ยถึงครั้งแรก โดยเซอร์ วิลเลียม ครูกส์ (Sir William Crookes) เมื่อ ค.ศ. 1879 และในปี ค.ศ. 1928 นั้น เออร์วิง แลงเมียร์ (Irving Langmuir) คิดคำว่าพลาสมา (plasma) ขึ้นมาแทนสถานะของสสารนี้เนื่องจากเขานึกถึงพลาสมาของเลือด พลาสมาจัดได้ว่าเป็นสถานะที่ 4 ของสสาร เนื่องจากมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างไปจากสถานะอื่นอย่างชัดเจน พลาสมาประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุทั้งประจุบวกและลบ ในสัดส่วนที่ทำให้ประจุสุทธิเป็นศูนย์ การอยู่รวมกันของอนุภาคเหล่านี้เป็นแบบประหนึ่งเป็นกลาง (quasineutral) ซึ่งหมายความว่าอิเล็กตรอนและไอออนในบริเวณนั้น โดยรวมแล้วมีจำนวนเท่า ๆ กัน และแสดงพฤติกรรมร่วม (collective behavior) พฤติกรรมร่วมนี้หมายถึง การเคลื่อนที่ของอนุภาคในพลาสมา ไม่เพียงแต่จะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในบริเวณนั้นๆ เท่านั้น แต่เป็นผลโดยรวมจากพลาสมาส่วนใหญ่ มากกว่าจะเป็นผลมาจากการชนกันของอนุภาคที่อยู่ใกล้เคียงกัน เนื่องจากอนุภาคในพลาสมาที่สถานะสมดุล จะมีการสั่นด้วยความถี่ที่สูงกว่าความถี่ในการชนกันของอนุภาค 2 ตัวที่อยู่ใกล้กัน ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมร่วมนี้เป็นพฤติกรรมที่กลุ่มพลาสมาแสดงออกมาร่วมกัน พลาสมาสามารถเกิดได้โดย การให้สนามไฟฟ้าปริมาณมากแก่ก๊าซที่เป็นกลาง เมื่อพลังงานส่งผ่านไปยังอิเล็กตรอนอิสระมากพอ จะทำให้อิเล็กตรอนอิสระชนกับอะตอม และทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอม กระบวนการนี้เรียกว่ากระบวนการแตกตัวเป็นไอออน (ionization) ซึ่งจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้จำนวนอิเล็กตรอนที่หลุดออกมานี้เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากซึ่งจะทำให้ก๊าซแตกตัวและกลายเป็นพลาสมาในที่สุด พลาสมามีความแตกต่างจากสถานะของแข็ง สถานะของเหลว และสถานะก๊าซ โดยมีเงื่อนไข 3 ประการ ในเรื่องดังต่อไปนี้คือ ความยาวคลื่นเดอบาย จำนวนอนุภาค และความถี่พลาสมา ซึ่งทำให้พลาสมามีความจำเพาะเจาะจงที่แตกต่างจากสถานะอื่นออกไป หมวดหมู่:ฟิสิกส์พลาสมา หมวดหมู่:ฟิสิกส์ หมวดหมู่:เคมี หมวดหมู่:สถานะของสสาร หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์.

ใหม่!!: เคมีและพลาสมา (สถานะของสสาร) · ดูเพิ่มเติม »

พหุนาม

upright พหุนาม ในคณิตศาสตร์ หมายถึง นิพจน์ที่สร้างจากตัวแปรอย่างน้อยหนึ่งตัวและสัมประสิทธิ์ โดยใช้การดำเนินการแค่ การบวก การลบ การคูณ และการยกกำลังโดยที่เลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบเท่านั้น ตัวอย่างของพหุนามตัวแปรเดียวที่มี เป็นตัวแปร เช่น ซึ่งเป็นฟังก์ชันกำลังสอง พหุนามสามารถนำไปใช้ในสาขาต่าง ๆ ของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ได้อย่างกว้างขวาง ตัวอย่างเช่น สมการพหุนาม ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างกว้างขวาง จากโจทย์ปัญหาพื้นฐาน ไปจนถึงปัญหาที่ซับซ้อนทางวิทยาศาสตร์ และยังใช้ในการนิยาม ฟังก์ชันพหุนาม ซึ่งนำไปใช้ตั้งแต่พื้นฐานของเคมีและฟิสิกส์ ไปจนถึงเศรษฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมถึงการนำไปใช้ในแคลคูลัส และการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ซึ่งคล้ายคลึงกับฟังก์ชันต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ขั้นสูงนั้น พหุนามยังใช้ในการสร้างวงล้อพหุนาม และความหลากหลายทางพีชคณิต และเป็นแนวคิดสำคัญในพีชคณิต และเรขาคณิตเชิงพีชคณิตอีกด้ว.

ใหม่!!: เคมีและพหุนาม · ดูเพิ่มเติม »

พืชกรรมสวน

วนไม้ดอกในฝรั่งเศส พืชกรรมสวน หรือ วิชาพืชสวน (Horticulture) คือวิชาที่ครอบคลุมอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์แห่งการเพาะปลูกพืชผล นักพืชสวน หรือพืชกรสวน (hell) ทำงานและปฏิบัติงานค้นคว้าวิจัยในงานในสาขาการขยายพันธุ์พืช การเพาะปลูก การผลิตกรรมทางเกษตร การปรับปรุงพันธุ์พืช งานวิศวกรรมพันธุศาสตร์ ชีวเคมีพืช และสรีรวิทยาพืช ขอบเขตของงานเกี่ยวข้องกับไม้ผล เบอรี่ (berries) นัท (nuts) ผัก ไม้ดอก ไม้ยืนต้น ไม้พุ่มและหญ้าสนาม พืชกรทำการปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชผล คุณค่าทางอาหารของพืชผลและการต้านทานต่อโรค แมลงและสภาพเครียดทางสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: เคมีและพืชกรรมสวน · ดูเพิ่มเติม »

กฎสัดส่วนพหุคูณ

ตัวอย่าง กฎสัดส่วนพหุคูณ จากสารประกอบออกไซด์ของไนโตรเจน กำหนดให้ไนโตรเจนมีปริมาณ 1 กรัมในทุกสารประกอบ ในทางเคมี กฎสัดส่วนพหุคูณ (law of multiple proportions) เป็นกฎพื้นฐานของปริมาณสารสัมพันธ์ บางครั้งเรียกว่ากฎของดาลตัน ตามชื่อของจอห์น ดาลตันผู้ตั้งกฎดังกล่าว กฎสัดส่วนพหุคูณกล่าวว่า ถ้าธาตุสองชนิดสามารถรวมกันได้เป็นสารประกอบมากกว่าหนึ่งอย่าง กำหนดให้มวลของธาตุชนิดแรกคงที่ อัตราส่วนระหว่างมวลของธาตุชนิดที่สองในสารประกอบแต่ละชนิดที่ว่านั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็มน้อยๆ เช่น สารประกอบออกไซด์ของคาร์บอน สองชนิด CO และ CO2 กำหนดให้คาร์บอนมีปริมาณ 100 กรัม ในสารประกอบทั้งสอง ในคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) มีออกซิเจน 133 กรัม ส่วนในคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีออกซิเจน 266 กรัม อัตราส่วนระหว่างมวลออกซิเจนในสารประกอบทั้งสอง คือ 266:133 ≈ 2:1 เป็นสัดส่วนระหว่างจำนวนเต็มน้อยๆ ตามก.

ใหม่!!: เคมีและกฎสัดส่วนพหุคูณ · ดูเพิ่มเติม »

กระบวนการก่อตัวใหม่

กระบวนการก่อตัวใหม่ (Diagenesis) ในความหมายเชิงธรณีวิทยาและสมุทรศาสตร์ คือกระบวนการการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ, ทางเคมีหรือทางชีวภาพในระดับตะกอน ตั้งแต่ที่เริ่มมีการทับถมของตะกอนไปจนถึงหลังจากที่ตะกอนจับตัวกลายเป็นหิน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการ alteration หรือการแปรสภาพของหิน เนื่องจากการแปรสภาพมีความเกี่ยวข้องกับความดันและอุณหภูมิซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับแร่องค์ประกอบและเนื้อหิน หลังจากเกิดกระบวนการการทับถมของตะกอนแล้ว ตะกอนได้ถูกแรงกดอัดแน่นกลายเป็นชั้นหินตะกอน เม็ดตะกอนซึ่งอาจรวมไปถึงเศษหินแตก ซากบรรพชีวินที่อยู่ในชั้นหินอาจถูกแทนที่ด้วยแร่อื่นๆและจะถูกเชื่อมประสานด้วย matrix ทำให้ช่องว่างหรือความเป็นรูพรุนของตะกอนลดลงซึ่งอยู่ในขั้นตอนของกระบวนการก่อตัวใหม่ การศึกษากระบวนการก่อตัวใหม่ ของหินนั้น ทำให้เข้าใจถึงกระบวนการทางเทคโทนิคส์ หรือวัฏจักรของของไหลที่เกี่ยวข้องกับชั้นหินนั้นๆ ซึ่งจะสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการสำรวจหาแหล่งแร่หรือแหล่งปิโตรเลียมได้ หมวดหมู่:ธรณีวิทยา หมวดหมู่:เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์.

ใหม่!!: เคมีและกระบวนการก่อตัวใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

กรดยูริก

กรดยูริก (Uric acid) เป็นสารประกอบเฮเทอโรไซคลิก (heterocyclic) ที่มีคาร์บอน ไนโตรเจน ออกซิเจน และไฮโดรเจน โดยมีสูตรเคมีเป็น C5H4N4O3 มันมีรูปแบบทั้งเป็นไอออนและเกลือที่เรียกว่าเกลือยูเรต (urate) และเกลือกรดยูเรต (acid urate) เช่น ammonium acid urate กรดยูริกเป็นผลของกระบวนการสลายทางเมแทบอลิซึมของนิวคลีโอไทด์คือพิวรีน (purine) และเป็นองค์ประกอบปกติของปัสสาวะ การมีกรดยูริกในเลือดสูงอาจทำให้เกิดโรคเกาต์ และสัมพันธ์กับโรคอื่น ๆ รวมทั้งโรคเบาหวาน และนิ่วในไตที่เกิดจาก ammonium acid urate.

ใหม่!!: เคมีและกรดยูริก · ดูเพิ่มเติม »

กรดโฟลิก

ฟเลต หรืออีกรูปแบบหนึ่งที่รู้จักคือ กรดโฟลิก และ วิตามินบี9 (folate, folic acid, vitamin B9) เป็นวิตามินบีชนิดหนึ่ง มีปริมาณที่แนะนำต่อวันอยู่ที่ 400 ไมโครกรัม และมักใช้เป็นอาหารเสริมในช่วงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารก (ซึ่งรวมการไม่มีสมองใหญ่ สมองโป่ง กระดูกสันหลังโหว่) --> และยังใช้รักษาภาวะเลือดจางจากการขาดกรดโฟลิก กว่า 50 ประเทศเสริมกรดโฟลิกในอาหารเพื่อเป็นมาตรการลดอัตรา NTDs ในประชากร การเสริมกรดโฟลิกในอาหารเป็นประจำสัมพันธ์กับการลดความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจเล็กน้อย เป็นวิตามินที่สามารถใช้ทานหรือฉีดก็ได้ ยาไม่มีผลข้างเคียงที่สามัญ ยังไม่ชัดเจนว่าการทานในขนาดสูงเป็นระยะเวลายาวนานมีปัญหาหรือไม่ แต่การใช้ขนาดสูงสามารถอำพรางการขาดวิตามินบี12ได้ --> โฟเลตเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย เพื่อผลิต DNA RNA และกระบวนการสร้างและย่อยสลายกรดอะมิโนซึ่งจำเป็นต่อการแบ่งเซลล์ เนื่องจากมนุษย์ไม่สามารถสร้างกรดโฟลิก ดังนั้นจำต้องได้จากอาหาร การไม่ได้โฟเลตเพียงพอก็จะทำให้เกิดภาวะขาดโฟเลต --> ซึ่งอาจมีผลเป็นภาวะเลือดจางที่มีเม็ดเลือดขนาดใหญ่ (megaloblastic) เป็นจำนวนน้อย --> อาการอาจรวมความล้า หัวใจเต้นเร็ว หายใจไม่ทัน แผลบนลิ้นไม่หาย สีผิวหรือผมเปลี่ยน --> การขาดในช่วงตั้งครรภ์เบื้องต้นเชื่อว่าเป็นเหตุของภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารกเกินครึ่ง การขาดในเด็กอาจเกิดภายในเดือนเดียวที่ทานอาหารไม่ดี ในผู้ใหญ่ระดับโฟเลตทั้งหมดในร่างกายอยู่ที่ระหว่าง 10,000-30,000 ไมโครกรัม (µg) โดยมีระดับในเลือดเกิน 7 nmol/L (3 ng/mL) กรดนี้ค้นพบในระหว่างปี..

ใหม่!!: เคมีและกรดโฟลิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มดาวเตาหลอม

กลุ่มดาวเตาหลอม เป็นกลุ่มดาวในซีกฟ้าใต้ ตั้งชื่อโดยนิโกลา-ลุย เดอ ลากาย ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 เดิมมีชื่อภาษาละตินว่า Fornax Chemica (เตาหลอมเคมี) หมวดหมู่:กลุ่มดาว หมวดหมู่:กลุ่มดาวเตาหลอม.

ใหม่!!: เคมีและกลุ่มดาวเตาหลอม · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย

รงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เป็นกลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์ที่จัดตั้งขึ้นจากวัตถุประสงค์ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สัมพันธ์ ทองสมัคร เพื่อสนองพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ที่ทรงมุ่งมั่นจะส่งเสริมคุณภาพชีวิต ในด้านความเป็นอยู่และการศึกษาของเยาวชน ปัจจุบันเป็นโรงเรียนที่อยู่ในแผนและยุทธศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์ โดยจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา โรงเรียนส่งเสริมให้เด็กคิดเป็น และกล้าลงมือทำ โดยโรงเรียนจะสนับสนุนทั้งด้านอุปกรณ์การเรียนการสอน อุปกรณ์ในห้องทดลองที่มีครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการของเด็ก ในการศึกษาคนคว้าส่งที่ตนเองสนใจได้เอง โดยมีอาจารย์ที่มีความรู้ความสามารถ คอยให้คำปรึกษาและสนับสนุนให้เด็กแสดงศักยภาพของตนได้อย่างเต็มที.

ใหม่!!: เคมีและกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

กลูโคส

กลูโคส (อังกฤษ: Glucose; ย่อ: Glc) เป็นน้ำตาลประเภทโมโนแซคคาไรด์ (monosaccharide) มีความสำคัญที่สุดในกลุ่มคาร์โบไฮเดรตด้วยกัน เซลล์ของสิ่งมีชีวิติทุกชนิดใช้กลูโคสเป็นแหล่งพลังงาน และสารเผาผลาญขั้นกลาง (metabolic intermediate) กลูโคสเป็นหนึ่งในผลผลิตหลักของการสังเคราะห์แสง (photosynthesis) และเป็นแหล่งพลังงานสำหรับการหายใจของเซลล์ (cellular respiration) โครงสร้างโมเลกุลตามธรรมชาติของมัน (D-glucose) จะอยู่ในรูปที่เรียกว่า เดกซ์โตรส (dextrose) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมอาหาร.

ใหม่!!: เคมีและกลูโคส · ดูเพิ่มเติม »

กายวิภาคศาสตร์มนุษย์

รูปแสดงระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ในลักษณะธรรมชาติ จากหนังสือ ''Fabrica'' โดยแอนเดรียส เวซาเลียส กายวิภาคศาสตร์มนุษย์ (Human anatomy) เป็นสาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่เน้นทางด้านการศึกษาโครงสร้างต่างๆที่ประกอบกันเป็นร่างกายของมนุษย์ และเป็นหนึ่งในศาสตร์ที่มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน การศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์สามารถแบ่งออกได้เป็นสี่สาขาหลัก ได้แก่ มหกายวิภาคศาสตร์ (Gross anatomy) จุลกายวิภาคศาสตร์ (Histology) ประสาทกายวิภาคศาสตร์ (Neuroanatomy) และกายวิภาคศาสตร์การเจริญเติบโต (Developmental anatomy) ในปัจจุบันการศึกษากายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์จะเน้นไปในด้านการประยุกต์ใช้ และการนำเอาเทคโนโลยีทางด้านอณูชีววิทยามาใช้ในการศึกษากายวิภาคศาสตร์ในระดับเซลล์และเนื้อเยื่อ.

ใหม่!!: เคมีและกายวิภาคศาสตร์มนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

การพิสูจน์ว่าเป็นเท็จ

สมมติฐานว่า "หงส์ทั้งหมดมีสีขาว" จะพิสูจน์ว่าจริงได้อย่างไร? พิสูจน์ว่าเท็จได้หรือไม่? การพิสูจน์ว่าเป็นเท็จ หรือ การพิสูจน์ว่าเป็นเท็จได้ (falsifiability, refutability) ของประพจน์ (บทความ, ข้อเสนอ) ของสมมติฐาน หรือของทฤษฎี ก็คือความเป็นไปได้โดยธรรมชาติที่จะพิสูจน์ว่ามันเป็นเท็จได้ ประพจน์เรียกว่า "พิสูจน์ว่าเป็นเท็จได้" ถ้าเป็นไปได้ที่จะทำการสังเกตการณ์หรือให้เหตุผลที่คัดค้านลบล้างประพจน์นั้นได้ ยกตัวอย่างเช่น เพราะปัญหาของการอุปนัย (วิธีการใช้เหตุผลที่ดำเนินจากส่วนย่อยไปหาส่วนรวม) ไม่ว่าจะมีจำนวนการสังเกตการณ์เท่าไร ก็จะไม่สามารถพิสูจน์การกล่าวโดยทั่วไปได้ว่า "หงส์ทั้งหมดมีสีขาว" แต่ว่า มันเป็นไปได้โดยตรรกะหรือโดยเหตุผลที่จะพิสูจน์ว่าเท็จ เพียงโดยสังเกตเห็นหงส์ดำตัวเดียว ดังนั้น คำว่า "พิสูจน์ว่าเท็จได้" บางที่ใช้เป็นไวพจน์ของคำว่า "ตรวจสอบได้" (testability) แต่ว่าก็มีบางประพจน์ เช่น "ฝนมันจะตกที่นี่อีกล้านปี" ที่พิสูจน์ว่าเท็จได้โดยหลัก แต่ว่าทำไม่ได้โดยปฏิบัติ เรื่องการพิสูจน์ว่าเท็จได้กลายเป็นจุดสนใจเพราะคตินิยมทางญาณวิทยาที่เรียกว่า "falsificationism" (คตินิยมพิสูจน์ว่าเท็จ) ของนักปรัชญาวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ-อเมริกัน.

ใหม่!!: เคมีและการพิสูจน์ว่าเป็นเท็จ · ดูเพิ่มเติม »

การลำดับชั้นหิน

ั้นทางธรณีวิทยาในอาร์เจนตินา วิชาลำดับชั้นหิน (Stratigraphy) เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งว่าด้วยรูปแบบ การวางตัว การแผ่กระจาย การสืบลำดับอายุ (chronolgic succession) การจำแนกชนิดและสัมพันธภาพของชั้นหิน (และหินอย่างอื่นที่สัมพันธ์กัน) อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งหมดที่มีอยู่ในหิน เป็นเกณฑ์กำหนดแบ่ง เพราะฉะนั้นวิชานี้จะมีความเกี่ยวข้องกับต้นกำเนิด องค์ประกอบสภาพแวดล้อม อายุ ประวัติ สัมพันธภาพที่มีต่อวิวัฒนาการของสิ่งที่มีชีวิต ตลอดจนลักษณะอื่น ๆ ของชั้นหิน สรุปว่า ในการจำแนกลำดับชั้นหิน หินทุกชนิดไม่ว่าจะวางตัวเป็นชั้นหรือไม่เป็นชั้น ก็อยู่ภายในขอบข่ายทั่วไปของวิชาลำดับชั้นหินและการจำแนกลำดับชั้นหินนี้ด้วยเพราะหินเหล่านั้นสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดหรือเกี่ยวเนื่องกันกับชั้นหิน สรุปก็คือวิชาลำดับชั้นหินเป็นสาขาวิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ทางแนวตั้งและทางข้างทั้งหลายของหินตะกอนโดยความสัมพันธ์เหล่านี้ถูกกำหนดขึ้นจากพื้นฐานของคุณสมบัติในทางกายภาพและทางเคมีลักษณะทางบรรพชีวิต ความสัมพันธ์ด้านอายุ และคุณสมบัติทางธรณีฟิสิกส์ซึ่งใช้กันมากในปัจจุบัน ก่อนปี ค.ศ. 1970 นั้น วิชาลำดับชั้นหินจะเกี่ยวข้องส่วนใหญ่กับแนวความคิดแบบดั้งเดิมทั้งหลายของ การลำดับชั้นหินตามอายุกาล.

ใหม่!!: เคมีและการลำดับชั้นหิน · ดูเพิ่มเติม »

การอุบัติ

ในสาขาปรัชญา ทฤษฎีระบบ วิทยาศาสตร์ และศิลปะ การอุบัติ หรือ คุณสมบัติอุบัติ (emergence) เป็นกระบวนการที่สิ่งที่ใหญ่และซับซ้อนกว่า เกิดขึ้นอาศัยปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่เล็กและง่ายกว่า โดยสิ่งที่ใหญ่กว่าจะมีคุณสมบัติซึ่งสิ่งที่เล็กกว่าไม่มี การอุบัติเป็นหลักของทฤษฏีต่าง ๆ เกี่ยวกับระดับบูรณาการ (integrative level) และระบบซับซ้อน ยกตัวอย่างเช่น ปรากฏการณ์ของ "สิ่งมีชีวิต" ที่ศึกษาในสาขาชีววิทยา เป็นคุณสมบัติอุบัติของกระบวนการทางเคมีและทางจิตวิทยา เช่นเดียวกัน เศรษฐกิจและกฎหมายเป็นปรากฏการณ์ที่อุบัติจากปรากฏการณ์ทางจิตวิทยา ในปรัชญา การอุบัติมักใช้คำภาษาอังกฤษว่า "emergentism" และการอธิบายเรื่องนี้ทั้งหมด มักจะกล่าวถึงการลดทอนไม่ได้ทางญาณวิทยา (epistemic) หรือภววิทยา (ontological) ขององค์ต่าง ๆ ในระดับล่าง หมวดหมู่:การอุบัติ หมวดหมู่:ทฤษฎีระบบ หมวดหมู่:วิวัฒนาการ หมวดหมู่:ไซเบอร์เนติกส์ หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางอภิปรัชญา หมวดหมู่:อภิปรัชญาของจิต หมวดหมู่:อภิปรัชญาของวิทยาศาสตร์ หมวดหมู่:ทฤษฎีความอลวน หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางญาณวิทยา หมวดหมู่:มโนทัศน์ทางปรัชญา หมวดหมู่:ญาณวิทยา หมวดหมู่:ทวินิยมเรื่องใจกาย หมวดหมู่:ทวินิยม หมวดหมู่:อภิปรัชญาของจิต หมวดหมู่:ปรัชญาของจิต หมวดหมู่:อภิปรัชญา หมวดหมู่:อภิปรัชญาของวิทยาศาสตร์ หมวดหมู่:ปรัชญาวิทยาศาสตร์ หมวดหมู่:ทฤษฎีระบบซับซ้อน หมวดหมู่:ระบบ หมวดหมู่:ทฤษฎีระบบ.

ใหม่!!: เคมีและการอุบัติ · ดูเพิ่มเติม »

การจำลอง

การจำลองการเคลื่อนตัวของนักบินอวกาศในอวกาศโดยทดสอบในน้ำแทนที่ การจำลอง หรือ ซีมิวเลชัน (simulation) เป็นการจำลองของสิ่งที่มีอยู่จริง เหตุการณ์ในอดีต หรือขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์ เพื่อชี้ชัดลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้ชัดเจน บางครั้งจะมีการสร้างแบบจำลองอย่างง่ายขึ้น เพื่อให้จุดเด่นจุดใดจุดหนึ่งชี้ชัดออกม.

ใหม่!!: เคมีและการจำลอง · ดูเพิ่มเติม »

การถ่ายโอน

การถ่ายโอน/การแปร (transduction) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เคมีและการถ่ายโอน · ดูเพิ่มเติม »

การถ่ายโอนสัญญาณ

วิถีการถ่ายโอนสัญญาณหลัก ๆ (แบบทำให้ง่าย) ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในเซลล์ การถ่ายโอนสัญญาณ หรือ การแปรสัญญาณ (signal transduction) เป็นกระบวนการทางเคมีหรือทางกายภาพโดยเป็นลำดับการทำงาน/ลำดับเหตุการณ์ในระดับโมเลกุล ที่โมเลกุลส่งสัญญาณ (ปกติฮอร์โมนหรือสารสื่อประสาท) จะเริ่มการทำงาน/ก่อสภาพกัมมันต์ของหน่วยรับ ซึ่งในที่สุดมีผลให้เซลล์ตอบสนองหรือเปลี่ยนการทำงาน โปรตีนที่ตรวจจับสิ่งเร้าโดยทั่วไปจะเรียกว่า หน่วยรับ (receptor) แม้ในบางที่ก็จะใช้คำว่า sensor ด้วย ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการจับของลิแกนด์กับหน่วยรับ (คือการพบสัญญาณ) จะก่อลำดับการส่งสัญญาณ (signaling cascade) ซึ่งเป็นลำดับเหตุการณ์ทางเคมีชีวภาพตามวิถีการส่งสัญญาณ (signaling pathway) เมื่อวิถีการส่งสัญญาณมากกว่าหนึ่งมีปฏิสัมพันธ์กับกันและกัน นี่ก็จะกลายเป็นเครือข่าย เป็นการประสานการตอบสนองของเซลล์ บ่อยครั้งโดยเป็นการส่งสัญญาณแบบร่วมกัน ในระดับโมเลกุล การตอบสนองเช่นนี้รวม.

ใหม่!!: เคมีและการถ่ายโอนสัญญาณ · ดูเพิ่มเติม »

การทำแกรนูล

การทำแกรนูล (granulation) เป็นขั้นตอนในเชิงเคมีในการสร้างforming หรือ crystallizing สามารถแบ่งได้เป็น 2 วิธีใหญ่คือ wet granulation และ dry granulation.

ใหม่!!: เคมีและการทำแกรนูล · ดูเพิ่มเติม »

การทดลองแบบอำพราง

การทดลองแบบอำพราง"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ hemisphere ว่า "doubled blind cross-over study" ว่า "การศึกษาข้ามกลุ่มแบบอำพรางสองฝ่าย" (blind experiment, blinded experiment) เป็นการทดลองที่ปิดข้อมูลเกี่ยวกับการทดลองที่อาจจะทำให้เกิดความเอนเอียงในผลการทดลอง ไม่ให้ผู้ทำการทดลอง หรือผู้รับการทดลอง หรือทั้งสองฝ่าย รับรู้ จนกระทั่งการทดลองได้จบเสร็จสิ้นลงแล้ว ความเอนเอียงที่อาจเกิดขึ้นนั้นเป็นได้ทั้งแบบจงใจหรือแบบไม่จงใจ ส่วนการทดลองที่ทั้งสองฝ่ายไม่รู้เรื่องที่ปิด เรียกว่า การทดลองแบบอำพรางสองฝ่าย (double-blinded experiment) นักวิทยาศาสตร์จะใช้การทดสอบแบบอำพราง.

ใหม่!!: เคมีและการทดลองแบบอำพราง · ดูเพิ่มเติม »

การดูดซับ

ในทางเคมี คือปรากฏการณ์หรือกระบวนการทางเคมีหรือฟิสิกส์ ที่อะตอม, โมเลกุลหรือไอออนเข้าไปอยู่บริเวณผิวของวัสดุที่เป็นแก๊ส, ของเหลวหรือของแข็ง.

ใหม่!!: เคมีและการดูดซับ · ดูเพิ่มเติม »

การดูดซึม

การดูดซึม (absorption) ในทางเคมี คือปรากฏการณ์หรือกระบวนการทางเคมีหรือฟิสิกส์ ที่อะตอม, โมเลกุลหรือไอออนเข้าไปในส่วนที่เป็นเนื้อในของวัสดุที่เป็นแก๊ส, ของเหลวหรือของแข็ง การดูดซึมนั้นเป็นกระบวนการที่แตกต่างจากการดูดซับ (adsorption) เพราะในการดูดซึม โมเลกุลที่ถูกดูดซึมจะไปอยู่ในปริมาตรของวัสดุ ส่วนการดูดซับ โมเลกุลที่ถูกดูดซับจะไปอยู่ที่ผิวของวั.

ใหม่!!: เคมีและการดูดซึม · ดูเพิ่มเติม »

การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว.

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้เริ่มจัดการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ตั้งแต..

ใหม่!!: เคมีและการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว. · ดูเพิ่มเติม »

การป่าไม้ในเมือง

การป่าไม้ในเมือง (urban forestry) หมายถึงการดูแลและจัดการต้นไม้ใหญ่ (trees) ทั้งหลายที่ขึ้นอยู่ในเขตเมืองเพื่อเป็นการเสริมสร้างสภาพแวดล้อมในเมืองให้ดีขึ้น การป่าไม้ในเมืองเป็นสิ่งสนุบสนุนบทบาทของต้นไม้ในฐานะเป็นองค์ประกอบหลักของโครงสร้างพื้นฐานของเมือง นักการป่าไม้ในเมืองทำหน้าที่ปลูกและดูแลรักษาต้นไม้ใหญ่ ใหการสนับสนุนการอนุรักษ์ต้นไม้และป่า ส่งเสริมให้มีการวิจัยและแสดงให้สาธารณชนเล็งเป็นคุณประโยชน์ของต้นไม้ที่มีอยู่มากมายแก่มนุษย์ การป่าไม้ในเมืองปฏิบัติโดยรุกขกร (arborist) ของเทศบาลหรือองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและโดยรุกขกรภาคเอกชน รวมทั้งรุกขกรสาธารณูปโภค (utility arborists) นอกจากนี้ยังมีผู้เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการรุกขกรรมหรือการป่าไม้ในเมืองอีกหลายฝ่ายได้แก่ ผู้มีอำนาจตัดสินใจด้านสิ่งแวดล้อม นักผังเมือง ที่ปรึกษา นักการศึกษา นักวิจัยและนักรณรงค์ในชุมชน.

ใหม่!!: เคมีและการป่าไม้ในเมือง · ดูเพิ่มเติม »

การแพร่

แสดงการผสมกันของสารสองสารด้วยการแพร่ การแพร่ เป็นการกระจายตัวของโมเลกุลของสสารจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าด้วยการเคลื่อนที่เชิงสุ่มของโมเลกุล การแพร่จะทำให้ เกิดการผสมของวัสดุอย่างช้าๆ สำหรับเฟสหนึ่งๆของวัสดุใดๆก็ตามที่มีอุณหภูมิสม่ำเสมอ และไม่มีแรงภายนอกมากระทำกับอนุภาค กระบวนการแพร่ก็จะยังคงเกิดถึงแม้ว่า สสารจะผสมกันโดยสมบูรณ์หรือเข้าสู่ภาวะสมดุลแล้ว โดยพื้นฐานแล้ว การเคลื่อนที่ของโมเลกุล จากพื้นที่ที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่ความเข้มข้นที่ต่ำกว่าเรียกว่าการแพร่ทั้งสิ้น ตัวอย่างการแพร่ เช่น การแพร่ของเกล็ดด่างทับทิมในน้ำ การแพร่ของน้ำหวานในน้ำ การแพร่ของสีน้ำในน้ำ โดยปกติแล้วการแพร่ของโมเลกุลจะอธิบายทางคณิตศาสตร์ได้โดยผ่าน กฎของฟิก.

ใหม่!!: เคมีและการแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

การเรียกชื่อสารเคมีตามระบบ IUPAC

ระบบการเรียกชื่อสารเคมีของ IUPAC (IUPAC nomenclature) เป็นระบบการตั้งชื่อ สารประกอบเคมี และการอธิบายข้อมูลทาง เคมี ทั่วไป ระบบนี้ถูกพัฒนาและดูแลรักษาโดย สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (International Union of Pure and Applied Chemistry-IUPAC) กฎเกณฑ์ในการตั้งชื่อสารประกอบอินทรีย์และอนินทรีย์เคมีมีรายละเอียดเป็นเอกสาร 2 ชุดคือ.

ใหม่!!: เคมีและการเรียกชื่อสารเคมีตามระบบ IUPAC · ดูเพิ่มเติม »

กำจร มนุญปิจุ

ตราจารย์เกียรติคุณ นาวาตรี กำจร มนุญปิจุ ร.น.ราชบัณฑิต เกิดวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2469 ที่ตำบลบางหลวง อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี เป็นบุตรของ ขุนกัลยาณวิทย์ (เกิด มนุญปิจุ) อดีตศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี และนางกิม มนุญปิจุ สมรสกับนางวิภาวรรณ มนุญปิจุ มีบุตรชาย 1 คน คือ นายณัฐเสกข์ (กวิช) มนุญป.น.ต.กำจร มนุญปิจุ เป็นนักวิทยาศาสตร์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาอินทรีย์เคมี เป็นผู้ริเริ่มดำเนินการให้เกิดความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างประเทศไทยและประเทศออสเตรีย นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: เคมีและกำจร มนุญปิจุ · ดูเพิ่มเติม »

กูกอล

กูกอล (อังกฤษ: googol) หมายถึง จำนวนมหาศาล (large number) จำนวนหนึ่งซึ่งมีค่าเท่ากับ 10100 นั่นคือมีเลข 1 แล้วตามด้วยเลข 0 อีก 100 ตัวในเลขฐานสิบ หรือเท่ากับ 10,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000,000 คำนี้ถูกกำหนดขึ้นในปี ค.ศ. 1920 โดยเด็กอายุ 9 ขวบชื่อว่า มิลทัน ซิรอตทา (Milton Sirotta) หลานชายของนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกัน เอดเวิร์ด แคสเนอร์ (Edward Kasner) ซึ่งแคสเนอร์เป็นคนเสนอแนวความคิดนี้ให้เป็นที่รู้จักในหนังสือ Mathematics and the Imagination (คณิตศาสตร์กับจินตนาการ) กูกอลมีอันดับของปริมาณ (order of magnitude) เท่ากับแฟกทอเรียลของ 70 (70! ≈ 1.198 กูกอล ≈ 10100.0784) และตัวประกอบเฉพาะของกูกอลก็มีเพียง 2 กับ 5 เป็นจำนวน 100 คู่ สำหรับเลขฐานสองต้องใช้ถึง 333 บิตในการบันทึกค่านี้ กูกอลมักไม่มีนัยสำคัญในทางคณิตศาสตร์โดยเฉพาะ แต่ก็อาจมีประโยชน์เมื่อใช้เปรียบเทียบกับปริมาณมหาศาลอื่นๆ เช่น จำนวนอนุภาคภายในอะตอมในเอกภพที่มองเห็น หรือจำนวนความน่าจะเป็นทั้งหมดของการเล่นหมากรุก แคสเนอร์สร้างขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างจำนวนมหาศาลกับอนันต์ กูเกิล (Google) ที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องมือค้นหาบนอินเทอร์เน็ต ได้รับแรงบันดาลใจจากชื่อของจำนวนนี้ แลร์รี เพจ (Larry Page) หนึ่งในผู้ก่อตั้งกูเกิลกล่าวว่า เขาหลงใหลในคณิตศาสตร์และจำนวนกูกอล แต่เขาก็ตั้งชื่อเว็บไซต์เป็น "กูเกิล" ด้วยเหตุที่ว่าเขาสะกดชื่อผ.

ใหม่!!: เคมีและกูกอล · ดูเพิ่มเติม »

ญาบิร

อะบูมูซา ญาบิร บินฮัยยาน ที่ชาวตะวันตกเรียกว่า เกเบอร์ (Geber) ขึ้นชื่อลือชาว่าเป็นบิดาแห่งเคมี ท่านเป็นนักเคมีที่ยิ่งใหญ่มากตำราชื่อ Kitab al-Kimya, Kitab al-Sab'een เป็นตำราถูกแปลเป็นภาษาของยุโรบหลายภาษา เช่น ภาษาลาติน ภาษาฮีบรู ภาษาอังกฤษ ภาษาเยอรมัน ภาษาฝรั่งเศส มีอิทธิผลต่อนักเคมีชาวยุโรปต่อมาอีกหลาย ศตวรรษ ญาบิร บินฮัยยาน เกิดราวปี..

ใหม่!!: เคมีและญาบิร · ดูเพิ่มเติม »

ภาพติดตาชั่วขณะ

Afterimage illusions *http://www.palinopsiafoundation.org The Palinopsia Foundation is dedicated to increasing awareness of palinopsia, to funding research into the causes, prevention and treatments for palinopsia, and to advocating for the needs of individuals with palinopsia and their families. *http://www.eyeonvision.org Eye On Vision Foundation raises money and awareness for persistent visual conditions *http://faculty.washington.edu/chudler/after.html Afterimages, a small demonstration. *http://www.goillusions.com/2014/08/count-black-dots-in-pic-color-illusion.html afterimage examples *https://www.eng.tau.ac.il/~hedva/documents/color_dove_illusion.html The Color Dove Illusion ปรากฏการณ์การเห็น หมวดหมู่:การมองเห็น หมวดหมู่:ภาพลวงตา.

ใหม่!!: เคมีและภาพติดตาชั่วขณะ · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะมาตรฐาน

ในวิชาเคมี ภาวะมาตรฐาน ของสสารบริสุทธิ์ สารผสม หรือสารละลาย เป็นจุดอ้างอิงที่ใช้สำหรับการคำนวณคุณสมบัติของสารนั้นภายใต้สภาวะที่แตกต่างกัน ซึ่งโดยหลักการแล้ว ตัวเลือกของภาวะมาตรฐานสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ถึงแม้ว่า สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (IUPAC) จะแนะนำว่าให้ใช้ภาวะมาตรฐานทั่วไปในการคำนวณ IUPAC แนะนำให้ใช้ความดันมาตรฐาน po.

ใหม่!!: เคมีและภาวะมาตรฐาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นภาควิชาที่ผลิตผลงานและบัณฑิตออกสู่สังคมจำนวนมาก และเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติในระดับต้นๆ โดยการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย จาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ภาควิชาเคมีได้รับการจัดให้อยู่ในระดับ 5 (ดีเยี่ยม) ในปี 2553 และระดับ 4 ในปี 2556.

ใหม่!!: เคมีและภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (Mahasarakham University, อักษรย่อ: มมส - MSU) ตั้งอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ก่อกำเนิดจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และได้รับการยกระดับเป็นมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อปี พ.ศ. 2537 นับเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ 22 ของประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาสารคามมีวิทยาเขตหลักที่ตำบลขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และวิทยาเขตพื้นที่ในเมือง ตำบลตลาด อำเภอเมือง มหาสารคาม เปิดการสอนระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก 177 สาขาวิชา ใน 21 คณะหรือเทียบเท่า และขยายโอก่าสทางการศึกษาโดยจัดโครงการศึกษาที่จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี นอกจากนี้ยังมีการจัดการเรียนการสอนขั้นพื้นฐาน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฝ่ายประถมและฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: เคมีและมหาวิทยาลัยมหาสารคาม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล

มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล (University of Liverpool) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ในสหราชอาณาจักรที่มีเปิดสอนในระบบที่อิงฐานการเรียนการสอนในห้องเรียนและบนพื้นฐานของการทำวิจัย ตั้งอยู่ในเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1881 ในรูปแบบของมหาวิทยาลัยวิทยาลัย (University College) โดยเปิดสอน 3 คณะ (Faculty) ที่ประกอบด้วยภาควิชา (Department) และสำนักวิชา (School) ต่างๆรวมแล้ว 35 สาขาวิชา มหาวิทยาลิเวอร์พูลเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความก้าวหน้าอย่างโดดเด่นในด้านนวัตกรรมงานวิจัย โดยเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มรัสเซล (Russell Group) ซึ่งเป็นกลุ่มของมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรที่ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ใน 18 มหาวิทยาลัยจากสมาชิก 19 แห่ง ติด 20 อันดับแรกของประเทศในด้านงบวิจัย และเป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มความร่วมมือด้านงานวิจัยของมหาวิทยาลัยในเขตภาคเหนือของสหราชอาณาจักรอีกด้วย มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูลเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในสหราชอาณาจักรที่สามารถสร้างมหาวิทยาลัยอิสระในประเทศจีนและเป็นมหาวิทยาลัยจีน-บริติชแห่งแรกของโลก เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลกที่เปิดสอนสาขาวิชาสมุทรศาสตร์ (Oceanography) การออกแบบเมือง (Civic Design) สถาปัตยกรรมศาสตร์ (Architecture) และชีวเคมี (Biochemistry) ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยลิเวอร์พูลมีเงินสนับสนุนรายปีกว่า 410 ล้านปอนด์สเตอร์ลิง ซึ่งในจำนวนนี้ประกอบด้วบงบประมาณที่สนับสนุนด้านงานวิจัยถึง 150 ล้านปอนด์สเตอร์ลิง.

ใหม่!!: เคมีและมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น

มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น (Northwestern University หรือเรียกโดยย่อว่า NU) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองเอแวนสตัน และเมืองชิคาโก ในรัฐอิลลินอยส์ มหาวิทยาลัยก่อตั้งในปี พ.ศ. 2394 (ค.ศ. 1851) ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) มีนักศึกษาประมาณ 15,000 คน เป็นนักศึกษาในระดับปริญญาตรีประมาณ 8,000 คน แคมปัสหลักที่อยู่ที่เมืองอีแวนสตัน มีพื้นที่กว่า 970,000 ตร.ม. (240 เอเคอร์) ตั้งอยู่บริเวณ ทะเลสาบมิชิแกน สีประจำมหาวิทยาลัยคือ สีม่วง ซุ้มประตูบริเวณแคมปัสที่เมืองอีแวนสตัน มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น มีชื่อเสียงในหลายด้าน ซึ่งรวมถึง บริหารธุรกิจ นิติศาสตร์ แพทยศาสตร์ นิเทศศาสตร์ เคมี เศรษฐศาสตร์ ครุศาสตร์ สังคมสงเคราะห์ วารสารศาสตร์ และดนตรี.

ใหม่!!: เคมีและมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์น · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแอสตัน

มหาวิทยาลัยแอสตัน (Aston University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในสหราชอาณาจักร ตั้งที่ตำบลแอสตัน ซึ่งเป็นชุมชนใจกลางเมืองเบอร์มิงแฮม ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: เคมีและมหาวิทยาลัยแอสตัน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช (Universität Leipzig; University of Leipzig) ตั้งอยู่ที่เมืองไลพ์ซิช รัฐซัคเซิน ประเทศเยอรมนี และเป็นมหาวิทยาลัยประจำเมืองไลพ์ซิช มีการเรียนการสอน 14 คณ.

ใหม่!!: เคมีและมหาวิทยาลัยไลพ์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต

มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต (Pennsylvania State University) หรือรู้จักในชื่อ เพนน์สเตต (Penn State) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ ตั้งอยู่ในเมือง ยูนิเวอร์ซิตีปาร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2398 (ค.ศ. 1855) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 เพนน์สเตตได้มีผลงานวิจัยที่เป็นที่รู้จักมากมายในสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2549 มีนักศึกษา 81,664 คน อาจารย์และนักวิจัย 20,817 คน ในปัจจุบันเพนน์สเตตมีชื่อเสียงในหลายคณะ เช่น เคมี สังคมศาสตร์ ธรณีวิทยา เศรษฐศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ โดยเฉพาะในสาขา วิศวกรรมอุตสาหการ และวิศวกรรมวั.

ใหม่!!: เคมีและมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียสเตต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อังกฤษ: Suranaree University of Technology; อักษรย่อ: มทส.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 โดยได้มีการยกฐานะจาก "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ทำการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใน 7 สำนักวิชาและ 1 สถาบันสมทบ โดยมีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 32 หลักสูตร ปริญญาโท 34 หลักสูตร และปริญญาเอก 28 หลักสูตร (ข้อมูลในปีการศึกษา 2553) นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคณาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกคิดเป็นร้อยละสูงที่สุดในประเทศไทย (ร้อยละ 80.21) และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีผลงานวิจัยต่อหัวคณาจารย์สูงที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: เคมีและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

มัลคอล์ม บราวน์

มัลคอล์ม บราวน์ (Malcolm Browne; 17 เมษายน ค.ศ. 1931 – 27 สิงหาคม ค.ศ. 2012) เป็นช่างภาพและนักหนังสือพิมพ์ชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: เคมีและมัลคอล์ม บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

มารี กูว์รี

มารี สกวอดอฟสกา-กูว์รี (Marie Skłodowska-Curie) มีชื่อแต่แรกเกิดว่า มาเรีย ซาลอแมอา สกวอดอฟสกา (Marya Salomea Skłodowska;; 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2410 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2477) เป็นนักเคมีผู้ค้นพบรังสีเรเดียม ที่ใช้ยับยั้งการขยายตัวของมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่มีอัตราการตายของคนไข้เป็นอันดับหนึ่งมาทุกยุคสมัย ด้วยผลงานที่มีความสำคัญต่อมนุษยชาติเหล่านี้ ทำให้มารี กูว์รีได้รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้งด้วยกัน.

ใหม่!!: เคมีและมารี กูว์รี · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน ไฮน์ริช คลาพรอท

มาร์ติน ไฮน์ริช คลาพรอท (Martin Heinrich Klaproth; 1 ธันวาคม ค.ศ. 1743 – 1 มกราคม ค.ศ. 1817) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองแวร์นิแกโรเดอร์ ชีวิตส่วนใหญ่ของเขาทำงานในร้านขายยาที่เมืองเควดลินแบร์ก ฮันโนเวอร์และดันซิก ในปี..

ใหม่!!: เคมีและมาร์ติน ไฮน์ริช คลาพรอท · ดูเพิ่มเติม »

ยัน บัปติสต์ ฟัน แฮ็ลโมนต์

หอคอยโรมันของโบสถ์เก่าในเนเดอร์-โอเฟอร์-เฮมเบก (Neder-Over-Heembeek) และhttp://maps.google.co.uk/maps?q.

ใหม่!!: เคมีและยัน บัปติสต์ ฟัน แฮ็ลโมนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ยาแก้สรรพโรค

ยาแก้สรรพโรค (panacea /pænəˈsiːə/ หรือ panchrest) เป็นยาที่เชื่อกันว่าจะสามารถรักษาโรคภัยทั้งปวงได้ และยืดอายุของผู้รับประทานออกไปอย่างไม่รู้จบ ชื่อในภาษาอังกฤษ "panacea" มาจากพระนามเทพีแพเนเซีย เจ้าแห่งการบำบัดรักษาในเทพปกรณัมกรีก ยาแก้สรรพโรคนี้เคยเป็นที่ต้องการและควานค้นหาอย่างบ้าคลั่งของลัทธิรสายนเวทอยู่พักใหญ่ และมีความเกี่ยวโยงกับความเชื่อเรื่องน้ำอมฤต และศิลานักปราชญ์อันเป็นวัตถุที่เชื่อกันว่าสามารถใช้แปรธาตุสามัญให้กลายเป็นทองคำได้ ในวิชาแพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์บางแขนง เช่น เคมี ชีวโมเลกุล ชีวเคมี ชีวฟิสิกส์ พันธุศาสตร์ และวิทยาภูมิคุ้มกัน ยังมีการค้นหาซึ่งยาแก้สรรพโรคและน้ำอมฤตอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันดูเหมือนว่ากำลังเพ่งเล็งไปยังเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน บทบาทของยีน กับทั้งความสัมพันธ์กันระหว่างกรรมพันธุ์และสิ่งแวดล้อม โดยมีความต้องการของมนุษย์ที่จะสามารถ "แก้สรรพโรค" และหยุดกระบวนการแก่เจ็บตายเป็นแรงขับเคลื่อนอันแรงกล้า คำว่า "ยาแก้สรรพโรค" เป็นศัพท์ทางวิชาการ แต่ในภาษาไทยก็มีคำพ้องความหมายอยู่หลายคำ เช่น ยาระงับสรรพโรค, ยาอายุวัฒนะ, ยาครอบจักรวาล ฯลฯ หมวดหมู่:แพทยศาสตร์ หมวดหมู่:การเล่นแร่แปรธาตุ.

ใหม่!!: เคมีและยาแก้สรรพโรค · ดูเพิ่มเติม »

ยาโรสลาฟ เฮย์รอฟสกี

รสลาฟ เฮย์รอฟสกี (Jaroslav Heyrovský;; 20 ธันวาคม ค.ศ. 1890 – 27 มีนาคม ค.ศ. 1967) เป็นนักเคมีและนักประดิษฐ์ชาวเช็ก เกิดที่กรุงปราก ราชอาณาจักรโบฮีเมีย (ปัจจุบันอยู่ในประเทศสาธารณรัฐเช็ก) เป็นบุตรของเลโอโปลด์และคลารา (นามสกุลเดิม ฮาเนิล ฟอน เคิร์ชทอย) เฮย์รอฟสกี เฮย์รอฟสกีเรียนวิชาเคมี, ฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยชาลส์ ระหว่าง..

ใหม่!!: เคมีและยาโรสลาฟ เฮย์รอฟสกี · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ยุทธวงศ์

ตราจารย์ ยงยุทธ ยุทธวงศ์ (เกิด 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 ที่จังหวัดลพบุรี) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นสาขาเคมี อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาและอดีตรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นบุคคลหนึ่งที่มีบทบาทในการศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและประธานกรรมการในคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: เคมีและยงยุทธ ยุทธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต คอร์เนเลียส

รอเบิร์ต คอร์เนเลียส (Robert Cornelius; 1 มีนาคม ค.ศ. 1809 – 10 สิงหาคม ค.ศ. 1893) เป็นช่างภาพและผู้ผลิตโคมไฟชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองฟิลาเดลเฟีย เป็นบุตรของคริสเตียนและซาราห์ (นามสกุลเดิม โซเดอร์) คอร์เนเลียส บิดาของคอร์เนเลียสย้ายมาจากอัมสเตอร์ดัมในปี..

ใหม่!!: เคมีและรอเบิร์ต คอร์เนเลียส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อการแข่งขันวิทยาศาสตร์

การแข่งขันวิทยาศาสตร์ เป็นการแข่งขันที่ผู้เข้าแข่งขันจะต้องทำข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์ อาจแยกออกเป็นรายวิชา ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา ฯลฯ ซึ่งข้อสอบอาจเป็นรูปแบบตัวเลือกตอบ เติมคำตอบ หรือแสดงวิธีทำ.

ใหม่!!: เคมีและรายชื่อการแข่งขันวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา)

รายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (List of fields of doctoral studies) นี้จัดทำขึ้นโดย "ศูนย์วิจัยความเห็นแห่งชาติ" (Opinion Research Center หรือ NORC) ที่ตั้งอยู่ที่มหาวิทยาลัยชิคาโก สหรัฐอเมริกาจากการสำรวจปริญญาเอกที่มีผู้จบการศึกษารายปี โดยจัดทำให้กับมูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ และหน่วยงานของรัฐบาลกลางอีกหลายหน่วยงานในสหรัฐฯ ทั้งหมดนี้คือสายวิชาการศึกษาระดับปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยที่มุ่งสู่ปริญญาดุษฎีบัณฑิตปรัชญา (Doctor of Philosophy หรือ Ph.D.) และการศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต (Doctor of Education Ed.D 1หรือ D.Ed) ที่เปิดสอนในสหรัฐฯ ซึ่งในปีการศึกษา 2547-2548 พบว่าร้อยละ 90.3 ของปริญญาเอกที่เน้นการวิจัยจำนวน 43,354 ปริญญาในสหรัฐฯ ปริญญาเป็น Ph.D. และร้อยละ 7.0 เป็น Ed.D. การศึกษาระดับปริญญาเอกสาขาวิชาชีพ (professional doctorates) เช่น แพทยศาสตร์ (Doctor of Medicine - M.D.) และปริญญาเอกด้านกฎหมาย (Juris Doctor - J.D.) ไม่นับรวมในรายชื่อนี้.

ใหม่!!: เคมีและรายชื่อสาขาการศึกษาระดับปริญญาเอก (สหรัฐอเมริกา) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในเพชรพระอุมา

ตัวละครในเพชรพระอุมา เป็นรายละเอียดของตัวละครจากเพชรพระอุมา แยกตามตัวละครหลักและตัวละครรอง ตามแต่ปรากฏในแต่ละภาค ได้แก่ภาคแรกไพรมหากาฬ - แงซายจอมจักรา ในการออกติดตามค้นหาผู้สูญหายและภาคสมบูรณ์จอมพราน - มงกุฎไพร ในการออกติดตามหาเครื่องบิน บี 52 และระเบิดนิวเคลียร.

ใหม่!!: เคมีและรายชื่อตัวละครในเพชรพระอุมา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนักวิทยาศาสตร์ที่นำมาใช้เป็นชื่อธาตุ

ทความนี้เกี่ยวกับ รายชื่อนักวิทยาศาสตร์ที่นำมาใช้เป็นชื่อธาตุ เฉพาะธาตุแกโดลิเนียมและซาแมเรียมที่พบในธรรมชาติ ส่วนธาตุอื่นทั้งหมดเป็นธาตุสังเคราะห.

ใหม่!!: เคมีและรายชื่อนักวิทยาศาสตร์ที่นำมาใช้เป็นชื่อธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

รายการสาขาวิชา

รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2440) โดยได้เพิ่มวิชาภาษาศาสตร์ที่ไม่ใช่คลาสสิก วรรณคดี และวิชาสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาและวิศวกรรมศาสตร์เสริมเข้าไปในหลักสูตรแบบประเพณีโบราณ ในต้นคริสต์ศตวรรษ ที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2440 - พ.ศ. 2475) ได้มีการเพิ่มสาขาวิชาใหม่ๆ เช่น การศึกษา สังคมวิทยา และจิตวิทยา ในมหาวิทยาลัยต่างๆ และในช่วงประมาณ พ.ศ. 2513 - พ.ศ. 2523) ได้เกิดปรากฏการณ์ "การระเบิด" ของสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เน้นเนื้อหาเฉพาะเจาะจง เช่น สื่อศึกษา สตรีศึกษา และชนผิวดำศึกษา สาขาใหม่ๆ เหล่านี้จัดขึ้นในมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับอาชีพและวิชาชีพต่างๆ เช่น การพยาบาล การจัดการโรงพยาบาล การราชทัณฑ์ และหลังสุดก็ได้เห็นสาขาวิชาที่เป็นลักษณะ "สหสาขาวิชา" เช่น ชีวเคมี และ ธรณีฟิสิกส์เกิดเพิ่มขึ้นและได้รับการยอมรับว่าสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ได้ช่วยเพิ่มพูนความรู้ให้กว้างขวางขึ้น เครื่องหมายดอกจัน * แสดงเป็นหมายเหตุว่าสาขาวิชานั้นยังเป็นที่ถกเถียงถึงสถานภาพว่าควรนับไว้ในสายวิชาใด เช่น วิชามานุษยวิทยา และวิชาภาษาศาสตร์ควรจัดไว้ในกลุ่มสังคมศาสตร์ หรือ มนุษยศาสตร์ เป็นที่สังเกตได้ว่าบางท่าน โดยเฉพาะนักทฤษฎีวิจารณ์มักให้ความสำคัญในการบ่งชี้การจัดกลุ่มที่เข้มงวดในทุกสายวิชา รวมทั้งความชัดเจนของโครงสร้างของแนวคิดโดยรวมของแต่ละวิชาซึ่งยังเป็นถกเถียงได้มากสำหรับบางคน.

ใหม่!!: เคมีและรายการสาขาวิชา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

180px รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เรียงชื่อตามลำดับอักษร.

ใหม่!!: เคมีและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

ใหม่!!: เคมีและรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว. · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลวูล์ฟ

มูลนิธิวูล์ฟ รางวัลวูล์ฟ (อังกฤษ: Wolf Prize) เป็นรางวัลที่จัดตั้งโดยมูลนิธิวูล์ฟ มีการมอบรางวัลครั้งแรกในปี ค.ศ. 1978 เพื่อนักวิทยาศาสตร์และศิลปินที่ "มีผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติ โดยไม่จำกัดเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ สีผิว ศาสนา เพศ และมุมมองทางการเมือง".

ใหม่!!: เคมีและรางวัลวูล์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นรางวัลเพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีผลงานดีเด่น โดยจะประกาศรางวัลในต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี และมอบรางวัลในวันที่ 18 สิงหาคม ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" โดยถือเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการว่ารางวัลนี้เป็นรางวัลสูงสุดของประเทศสำหรับนักวิทยาศาสตร์พื้นฐานและนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยมีรางวัลเป็นโล่พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และเงินรางวัล 200,000-400,000 บาท พระราชทานโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" ที่งานมหกรรมวิทยาศาสตร์แห่งชาติพร้อมกันกับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ รางวัลนี้สนับสนุนโดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สวท.

ใหม่!!: เคมีและรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: เคมีและรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ริทอร์ต

ริทอร์ตทองแดง ริทอร์ตแก้ว ในห้องปฏิบัติการเคมี ริทอร์ต คือ เครื่องแก้วที่ใช้สำหรับการกลั่นหรือกลั่นแห้งของสสาร ริทอร์ตประกอบด้วยภาชนะทรงกลมที่มีคอยาวชี้ลงล่าง ของเหลวที่จะถูกกลั่นนั้นถูกใส่ในภาชนะและอุ่นให้ร้อน คอนั้นทำหน้าที่เป็นคอนเดนเซอร์ซึ่งให้ไอน้ำควบแน่นและไหลไปตามคอสู่ภาชนะด้านล่าง ในอุตสาหกรรมเคมี ริทอร์ตคือภาชนะที่อากาศเข้าไม่ได้ โดยสสารถูกอุ่นเพื่อให้ปฏิกิริยาเคมีที่สร้างผลิตผลก๊าซซึ่งจะถูกเก็บไว้ในภาชนะเพื่อนำไปใช้ต่อไป ริทอร์ตยังถูกใช้ในระดับอุตสาหกรรม เช่น การสกัดน้ำมันหิน และการผลิตถ่านหุงต้ม กระบวนการให้ความร้อนหินน้ำมันเพื่อผลิตน้ำมันหิน ก๊าซหิน มักถูกเรียกว่าการริทอร์ต ในอุตสาหกรรมอาหาร หม้ออบความดันส่วนใหญ่จะถูกเรียกว่าริทอร์ต หมายถึง "ริทอร์ตบรรจุกระป๋อง" สำหรับการฆ่าเชื้อโรคในอุณหภูมิสูง (116–130 องศาเซลเซียส) การใช้ริทอร์ต.

ใหม่!!: เคมีและริทอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

ลวดลายในธรรมชาติ

รอยริ้วคลื่นปรากฏบนพื้นผิวครั้งแล้วครั้งเล่าเมื่อมีสภาวะที่เหมาะสม ลวดลายของเวลล์คามิเลียน (veiled chameleon) หรือ ''Chamaeleo calyptratus'' ซึ่งวิวัฒนาการมาเพื่ออำพราง และเพื่อบอกอารมณ์ และสถานะทางการผสมพันธุ์ ลวดลายในธรรมชาติ คือ รูปแบบที่มีความสม่ำเสมออย่างชัดเจนซึ่งพบได้ในโลกธรรมชาติ ลวดลายเหล่านี้เกิดขึ้นซ้ำ ๆ ในบริบทที่ต่างกัน และบางครั้งสามารถถูกกำหนดรูปแบบโดยแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ลวดลายทางธรรมชาติ ได้แก่ ความสมมาตร ต้นไม้ เกลียว ลำน้ำโค้งตวัด คลื่น โฟม เทสเซลเลชัน รอยแตก และ รอยริ้ว นักปรัชญากรีกได้ศึกษาลวดลายเช่นเดียวกัน โดยมีเพลโต พีทาโกรัส และเอมเพโดคลีส พยายามจะอธิบายอันดับในธรรมชาติ การเข้าใจเรื่องลวดลายซึ่งมองเห็นได้นั้นได้รับการพัฒนาตามกาลเวลา  ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักฟิสิกส์ชาวเบลเยี่ยม โยเซป พลาโตได้ทำการทดลองกับฟิล์มฟองสบู่ทำให้เขาได้วางเกณฑ์แนวความคิดของพื้นผิวที่น้อยที่สุด นักชีววิทยาและศิลปินชาวเยอรมัน แอร์นสต์ เฮคเคล ได้วาดรูปสัตว์น้ำกว่าร้อยชนิดเพื่อให้ความสำคัญเรื่องความสมมาตร นักชีววิทยาชาวสก๊อต D'Arcy Thompson ริเริ่มการศึกษาลวดลายในทั้งในพืชและสัตว์และแสดงให้เห็นว่าสามารถใช้สมการง่าย ๆ เพื่ออธิบายการโตแบบวงก้นหอยได้ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ แอลัน ทัวริง ทำนายกลไกของการเกิดสัณฐานซึ่งทำให้เกิดลายจุดและรอยริ้ว นักชีววิทยาชาวฮังการี Aristid Lindenmayer และนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสอเมริกัน เบอนัว มานดัลบรอ แสดงว่าคณิตศาสตร์ของแฟร็กทัลสามารถสร้างลวดลายในการเจริญเติบโตของพืช คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ และ เคมี สามารถอธิบายลวดลายในธรรมชาติในระดับที่ต่างกัน ลวดลายในสิ่งมีชีวิตอธิบายได้โดยวิธีทางชีววิทยาด้านการคัดเลือกโดยธรรมชาติ และ การคัดเลือกทางเพศ การศึกษาของการเกิดลวดลายแบบจำลองทางคอมพิวเตอร์เพื่อจำลองลวดลายในแบบต่าง ๆ .

ใหม่!!: เคมีและลวดลายในธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ลิแกนด์

ลิแกนด์ (ligand) มีความหมายตามวิชาดังนี้.

ใหม่!!: เคมีและลิแกนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ลู้ก ฮาวเวิร์ด

ลู้ก ฮาวเวิร์ด (Luke Howard, 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1772 – 21 มีนาคม ค.ศ. 1864) เป็นนักเคมีและนักอุตุนิยมวิทยาสมัครเล่นชาวบริติช เกิดที่กรุงลอนดอน เป็นบุตรของรอเบิร์ต ฮาวเวิร์ดกับเอลิซาเบธ ลีแทม ฮาวเวิร์ดเรียนที่โรงเรียนเควกเกอร์ในเมืองเบอร์ฟอร์ด มณฑลอ๊อกซฟอร์ดเชอร์ก่อนจะทำงานเป็นเภสัชกร ในปี..

ใหม่!!: เคมีและลู้ก ฮาวเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

วัฏจักรทางชีวธรณีเคมี

วัฏจักรของไนโตรเจน วัฏจักรที่สำคัญอย่างหนึ่งของวัฏจักรทางชีวธรณีเคมี วัฏจักรชีวธรณีเคมี (Biogeochemical cycle) โดยนิยามเชิงนิเวศวิทยาคือวงจรหรือแนวกระบวนการที่เกี่ยวกับการที่ธาตุหลักทางเคมีหรือโมเลกุลเคลื่อนที่ผ่านสภาพแวดล้อมของระบบนิเวศทั้งที่มีชีวิต (ชีวภาพ) และไม่มีชีวิต (ธรณีภาพ) โดยหลักการแล้ว วัฏจักรทุกวัฏจักรย่อมซ้ำกระบวนการเสมอ แม้ว่าในบางวัฏจักร จะใช้เวลาซ้ำกระบวนการนานมาก โดยการเปลี่ยนรูปนี้จะเกิดผ่านทั้งบรรยากาศ น้ำ และบนบก รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีส่วนร่วมในวัฏจักร แต่ที่มีบทบาทมากที่สุดคือจุลินทรีย์ เพราะมีกระบวนการทางเมตาบอลิซึมที่หลากหลาย แหล่งพลังงานสำคัญของการหมุนเวียนของแร่ธาตุต่างๆคือพลังงานจากแสงอาทิตย์ และพลังงานจากสารที่อยู่ในสภาพรีดิวซ์ พลังงานเหล่านี้จะถ่ายทอดไปในระบบนิเวศและทำให้ระบบนิเวศทำงานได้ ธาตุที่มีการหมุนเวียนในวัฏจักรนี้ มีทั้งธาตุอาหารหลัก เช่น คาร์บอน ไนโตรเจน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ฟอสฟอรัส และกำมะถัน ธาตุอาหารรอง ได้แก่ แมกนีเซียม โปตัสเซียม โซเดียม และธาตุฮาโลเจน ธาตุอาหารเสริม ได้แก่ โบรอน โคบอลต์ โครเมียม ทองแดง โมลิบดินัม นิกเกิล ซีลีเนียม และสังกะสี ธาตุที่ไม่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต สามารถเข้ามาหมุนเวียนในวัฏจักรได้เช่นกัน เช่น โลหะหนักต่าง.

ใหม่!!: เคมีและวัฏจักรทางชีวธรณีเคมี · ดูเพิ่มเติม »

วัสดุศาสตร์

ซรามิกแบริง วัสดุศาสตร์ (materials science) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาคุณสมบัติต่าง ๆ ของวัสดุและกระบวนการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาศัยความรู้จากหลายสาขาวิชา เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และธรณีวิทยา โดยมุ่งความสนใจไปที่คุณสมบัติต่าง ๆ ของวัสดุในสภาวะที่เป็นของแข็งอันได้แก่ โครงสร้าง ระดับอะตอมหรือโมเลกุลของวัสดุ คุณสมบัติทางอิเล็กทรอนิกส์ การนำความร้อน คุณสมบัติทางเคมี คุณสมบัติทางแม่เหล็กไฟฟ้า คุณสมบัติที่ยอมให้แสงผ่าน หรือการผสมผสานกันของบางคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้ คุณสมบัติของวัสดุที่สังเกตง่ายและชัดเจนจะแสดงออกมาในรูปของคุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ ส่วนความแตกต่างในระดับโครงสร้างโมเลกุลและอะตอมจะต้องใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่ซับซ้อนในการตรวจสอบ สำหรับการประเมินสมรรถนะของวัสดุจะเป็นพื้นฐานของงานวิศวกรรมที่จะนำวัสดุนั้น ๆ ไปใช้งาน ส่วนวิชาว่าด้วยวัสดุศาสตร์จะเกี่ยวข้องกับกระบวนการความรู้ทางเทคโนโลยีของวัสดุสี่ส่วนซึ่งแต่ละส่วนจะเกี่ยวข้องเชื่อมโยงซึ่งกันและกันเป็นรูปสี่มุมสี่ด้าน (Tetrahedron) การนำวิชาการทางด้านวัสดุศาสตร์ไปใช้งานทางด้านวิศวกรรมอย่างกว้างขวางทำให้เกิดนิยามของวิชาการสาขานี้ใหม่เป็น"วัสดุศาสตร์และวิศวกรรม" วัสดุที่คิดค้นและประดิษฐ์ขึ้นใหม่ทำให้เกิดผลิตภัญฑ์ใหม่หรือไม่ก็เกิดอุตสาหกรรมใหม่ อุตสาหกรรมเหล่านี้จำเป็นต้องมีนักวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรสาขาวัสดุศาสตร์คอยดูแลแก้ไขปัญหาและวิจัยวัสดุใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง ในอุตสาหกรรมนักวัสดุศาสตร์จะมีบทบาทในส่วนของ การออกแบบวัสดุ (materials design) การประเมินค่าใช้จ่ายในการผลิตวัสดุนั้น ๆ ดูแลกระบวนการทางเทคนิคซึ่งประกอบด้วย การหล่อ, การม้วน, การเชื่อม, การใส่ประจุ, การเลี้ยงผลึก, การรอกฟิล์ม (thin-film deposition), การเป่าแก้ว เป็นต้น และเทคนิคการวิเคราะห์โดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน, การเอกซเรย์ เป็นต้น.

ใหม่!!: เคมีและวัสดุศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วัสดุผสม

วัสดุผสม (composites) คือวัสดุที่ถูกสร้างขึ้นมาจากวัสดุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป เพื่อใช้ประโยชน์เฉพาะงาน โดยไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ การผสมกันของวัสดุเหล่านี้จะไม่เป็นเนื้อเดียวกันแต่จะแยกกันเป็นเฟสที่เห็นได้อย่างเด่นชัด เฟสแรกเรียกว่า เนื้อพื้น (matrix) ซึ่งจะอยู่ด้วยกันอย่างต่อเนื่องและล้อมรอบอีกเฟสซึ่งเรียกว่า เฟสที่กระจาย หรือ ตัวเสริมแรง (reinforcement) คุณสมบัติของวัสดุผสมที่ได้จะเป็นฟังชั่นหรือขึ้นกันกับคุณสมบัติและปริมาณของสารตั้งต้นเหล่านี้ และรูปทรงทางเรขาคณิตของเฟสที่กระจายตัว.

ใหม่!!: เคมีและวัสดุผสม · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีน

็กกำลังรับวัคซีนโปลิโอชนิดหยอด วัคซีน (Vaccine) เป็นชีววัตถุที่เตรียมขึ้นจากเชื้อจุลินทรีย์หรือส่วนของเชื้อจุลินทรีย์ซึ่งจะมีกลไกชักนำให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันที่จำเพาะต่อจุลินทรีย์ชนิดนั้น ๆ กล่าวคือมีฤทธิ์ชักนำการสร้างภูมิคุ้มกันอันจำเพาะกับโรค วัคซีนโดยทั่วไปจะประกอบด้วยส่วนประกอบของจุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุของโรค (แอนติเจน) ซึ่งถูกทำให้อ่อนฤทธิ์ลง, ตาย หรือการใช้ส่วนที่เป็นพิษที่อ่อนฤทธิ์ลง (toxoid) โดยวัคซีนจะกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายและสามารถจดจำได้ว่าเป็นสารก่อโรคซึ่งจะมีกลไกการทำลายต่อไป คุณสมบัติการจดจำแอนติเจนของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำให้ร่างกายสามารถกำจัดแอนติเจนหากเมื่อได้รับอีกในภายหลังได้รวดเร็วยิ่งขึ้น วัคซีนเริ่มมีการพัฒนาในราวคริสต์ทศวรรษที่ 1770 โดยเอดเวิร์ด เจนเนอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ประสบความสำเร็จในการสกัดเชื้อ cowpox เพื่อป้องกันโรคฝีดาษ (small pox) ในมนุษย์ได้ วัคซีนในระยะเริ่มแรกเป็นการนำเชื้อมาทำให้ตายหรือการใช้เชื้อที่อ่อนฤทธิ์เท่านั้น จนกระทั่งปัจจุบันมีการพัฒนาโดยนำเทคโนโลยีรีคอมบีแนนต์มาช่วยในการพัฒนาโดยอาศัยความรู้ทางชีววิทยาระดับโมเลกุล และมีความพยายามพัฒนาวัคซีนโดยการสังเคราะห์แอนติเจนในการผลิตซับยูนิตวัคซีน (subunit vaccine) อีกด้วย คำว่า "วัคซีน" (vaccine) ได้มาจากครั้งที่เอ็ดวาร์ดให้เชื้อ cowpox แก่มนุษย์ โดยคำว่า variolæ vaccinæ มาจากคำว่า vaccīn-us หรือ vacca ซึ่งแปลว่า cow หรือวัวซึ่งมีความสัมพันธ์กับเชื้อ cowpox.

ใหม่!!: เคมีและวัคซีน · ดูเพิ่มเติม »

วาลีน

วาลีน (valine, VAL หรือ V) เป็นกรดอะมิโนชนิดที่จำเป็นต่อร่างกาย คือ ร่างกายไม่สามารถสร้างเองได้จำเป็นต้องได้รับจากอาหารที่รับประทานเข้าไป วาลีนมีสูตรโครงสร้างทางเคมีคือ HO2CCH(NH2)CH(CH3)2.

ใหม่!!: เคมีและวาลีน · ดูเพิ่มเติม »

วิชัย ริ้วตระกูล

ตาจารย์ วิชัย ริ้วตระกูล (12 ตุลาคม 2485 -) กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยนครพนม นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ประจำปี..

ใหม่!!: เคมีและวิชัย ริ้วตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

วิลเบอร์ สโกวิลล์

วิลเบอร์ ลิงคอล์น สโกวิลล์ (Wilbur Lincoln Scoville; 22 มกราคม ค.ศ. 1865 – 10 มีนาคม ค.ศ. 1942) เป็นเภสัชกรชาวอเมริกัน ในปี..

ใหม่!!: เคมีและวิลเบอร์ สโกวิลล์ · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม ไฮด์ วูลลาสตัน

วิลเลียม ไฮด์ วูลลาสตัน (William Hyde Wollaston; 6 สิงหาคม ค.ศ. 1766 – 22 ธันวาคม ค.ศ. 1828) เป็นนักเคมีและนักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองเดียแรม เป็นบุตรของนักดาราศาสตร์ ฟรานซิส วูลลาสตันและอัลเธีย ไฮด์ วูลลาสตันเรียนที่โรงเรียนชาร์เตอร์เฮาส์และวิทยาลัยกอนวิลล์และคีสในเคมบริดจ์ ในปี..

ใหม่!!: เคมีและวิลเลียม ไฮด์ วูลลาสตัน · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมสมุทรศาสตร์

วิศวกรรมสมุทรศาสตร์ (อังกฤษ: Oceanic Engineering หรือ Ocean Engineering) เป็นสาขาทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบทางวิศวกรรมที่ซับซ้อนเพื่อใช้กับสภาพแวดล้อมทางทะเล(รวมถึงมหาสมุทร) โดยใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์, วิศวกรรมศาสตร์ทั่วๆไป รวมกับความรู้ทาง ชลพลศาสตร์(hydrodynamics), กลศาสตร์ทางโครงสร้าง (structural mechanics), ปรากฏการณ์การสั่นประเทือน (vibratory phenomina), การแปลงพลังงาน (energy conversion), วัสดุศาสตร์ และ อิเล็กทรอนิกส์ จริงๆแล้ววิศวกรรมสมุทรศาสตร์เป็นสาขาที่ประยุกต์ความรู้ทางวิศวกรรมหลายๆด้านเช่นวิศวกรรมเครื่องกล,วิศวกรรมโยธา, วิศวกรรมไฟฟ้า, วิศวกรรมเคมี และวิศวกรรมเสียง(Acoustical Engineering)เข้าด้วยกันกับศาสตร์ทางด้านนาวาสถาปัตยกรรม (Naval Architecture)และวิทยาศาสตร์ทางทะเล (Ocean Science) งานของวิศวกรสมุทรศาสตร์จะเกี่ยวกับอุตสาหกรรมน้ำมันและแก๊สธรรมชาติ, อุตสาหกรรมการเดินเรือและต่อเรือ, การสำรวจและวิจัยทางทะเล, งานทางด้านสิ่งแวดล้อม โดยครอบคลุมทั้งชายฝั่ง, แม่น้ำ, ทะเล, และมหาสมุทร หัวข้อที่กำลังเป็นที่สนใจของวิศวกรรมสมุทรศาสตร์ได้แก.

ใหม่!!: เคมีและวิศวกรรมสมุทรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมอาหาร

รงงานขนมปัง ในประเทศเยอรมนี วิศวกรรมการอาหาร (Food engineering) เป็นแขนงหนึ่งของวิศวกรรมเครื่องกล ซึ่งเป็นสาขาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบเครื่องจักรในกระบวนการผลิตอาหาร โดยใช้หลักการทางวิศวกรรมเครื่องกลมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับกระบวนการแปรรูปอาหาร และคุณสมบัติเฉพาะของอาหารประเภทนั้น ๆ เนื้อหาใจความหลักของสาขาวิชานี้ได้แก.

ใหม่!!: เคมีและวิศวกรรมอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมเครื่องกล

วิศวกรรมเครื่องกลออกแบบและสร้างเครื่องจักร งานวิศวกรรมเครื่องกลรวมไปถึงยานพาหนะในทุกขนาด ระบบปรับอากาศเองก็เป็นหนึ่งในงานทางวิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical engineering) เป็นวิชาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้คณิตศาสตร์และกฎทางฟิสิกส์เพื่อการประดิษฐ์ การผลิต และการดูแลรักษาระบบเชิงกล วิศวกรรมเครื่องกลเป็นหนึ่งในสาขาทางวิศวกรรมที่เก่าแก่ที่สุดและมีขอบข่ายกว้างขวางที่สุด การศึกษาวิศวกรรมเครื่องกลนั้นจำเป็นต้องมีความเข้าใจในหลักการพื้นฐานของหลักกลศาสตร์ พลศาสตร์ อุณหพลศาสตร์ กลศาสตร์ของไหลและพลังงานเป็นอย่างดี วิศวกรเครื่องกลนั้นสามารถใช้หลักการณ์พื้นฐานได้ดีพอกับความรู้อื่น ๆ ในงานภาคสนามเพื่อการออกแบบและวิเคราะห์ยานยนต์ อากาศยาน ระบบทำความร้อนและความเย็น เรือ ระบบการผลิต จักรกลและอุปกรณ์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น.

ใหม่!!: เคมีและวิศวกรรมเครื่องกล · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: เคมีและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์สุขภาพ

วิทยาศาสตร์สุขภาพ คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ วิทยาศาสตร์สุขภาพสามารถแบ่งออกได้ 2 ส่วน ส่วนแรก คือ การศึกษา วิจัย และความรู้ที่เกี่ยวกับสุขภาพ ส่วนที่ 2 คือ การนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสุขภาพ, รักษาโรค และทำความเข้าใจการทำงานของร่างกายมนุษย์และสัตว์ งานวิจัยด้านนี้วางอยู่บนฐานของชีววิทยา, เคมี และฟิสิกส์ รวมไปถึงความรู้ด้านสังคมศาสตร์ เช่น สังคมวิทยาการแพท.

ใหม่!!: เคมีและวิทยาศาสตร์สุขภาพ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (อังกฤษ: natural science) หมายถึงกลุ่มของสาขาวิชาทางวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ อย่างไรก็ตามการจัดให้สาขาใดสาขาหนึ่งอยู่ในวิทยาศาสตร์ธรรมชาตินั้น ขึ้นอยู่กับทั้งข้อตกลงในอดีตและความหมายสาขาในปัจจุบัน ตามธรรมเนียมดั้งเดิม ความหมายของ.

ใหม่!!: เคมีและวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์โลก

อซ์แลนด์ กำลังพวยพุ่ง วิทยาศาสตร์โลก, โลกวิทยา, โลกศาสตร์, พิภพวิทยา, วิทยาศาสตร์พื้นพิภพ (Earth Sciences) เป็นศัพท์ที่ใช้เรียกครอบคลุมแขนงต่าง ๆ ของวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับดาวเคราะห์โลก วิทยาศาสตร์โลกอาจถือได้ว่าเป็นกรณีพิเศษของวิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ เนื่องจากโลกเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวเท่าที่เรารู้จักที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ แนวทางในการศึกษาวิทยาศาสตร์โลกนั้น มีทั้งคตินิยมแบบลดทอนและแบบองค์รวม สาขาวิชาสำคัญ ๆ ของวิทยาศาสตร์โลกเท่าที่ผ่านมานั้น จะใช้วิชาฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ เคมี และชีววิทยา เพื่อสร้างความเข้าใจเชิงปริมาณในพื้นที่หรือภาค (sphere) หลัก ๆ ของระบบโลก ซึ่งได้แก.

ใหม่!!: เคมีและวิทยาศาสตร์โลก · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ัญลักษณ์ของการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (International Junior Science Olympiad: IJSO) เป็นสัญลักษณ์หลักการแข่งขันในทุกๆครั้ง การแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (International Junior Science Olympiad: IJSO) เป็นสาขาหนึ่งในสาขาของโอลิมปิกวิชาการประเภทเดียวที่ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เนื่องจากการแข่งขันมีข้อกำหนดว่าผู้เข้าแข่งขันต้องมีอายุน้อยกว่า 15 ปีในวันแข่งขัน โดยมีการเริ่มแข่งขันครั้งแรกในปี พ.ศ. 2547 ที่เมืองจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย โดยประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขันจะหมุนเวียนในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และมีการจัดการแข่งขันทุกๆ ปี โดยแต่ละประเทศสามารถส่งผู้เข้าร่วมการแข่งขันได้ 6 คน และสามารถส่งอาจารย์ผู้คุมทีมได้อีก 3 คน.

ใหม่!!: เคมีและวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น · ดูเพิ่มเติม »

ว็อล์ฟกัง เพาลี

ว็อล์ฟกัง แอนสท์ เพาลี (Wolfgang Ernst Pauli, 25 เมษายน พ.ศ. 2443 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวออสเตรีย และหนึ่งในกลุ่มผู้บุกเบิกด้านฟิสิกส์ควอนตัม เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี..

ใหม่!!: เคมีและว็อล์ฟกัง เพาลี · ดูเพิ่มเติม »

ศักรินทร์ ภูมิรัตน

รองศาสตราจารย์ ศักรินทร์ ภูมิรัตน ประธานกรรมการคณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์, กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ,ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 นักวิทยาศาสตร์ของประเทศไทยที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านไบโอแก๊ส, Transport Properties of Food Materials และ Algal Technology Research ปัจจุบันดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ร.ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน เป็นบุตรของศาสตราจารย์ อมร ภูมิรัตน และคุณหญิง ระเบียบ ภูมิรัตน.

ใหม่!!: เคมีและศักรินทร์ ภูมิรัตน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสตราจารย์

ตราจารย์ (อักษรย่อ ศ.) คือผู้มีความเชี่ยวชาญในศิลปะวิทยาการเฉพาะด้าน หรือผู้สอนผู้มีความชำนาญระดับสูง ศาสตราจารย์อาจได้รับการคัดเลือกแล้วแต่งตั้งตามตำแหน่งทางวิชาการ หรือมีคุณวุฒิในระดับที่ควรแก่การยกย่อง มีคนในวงการอ้างถึงและยกผลงานให้เป็นทฤษฎี หรือมีผลงานวิจัยที่ส่งผลกระทบโดยกว้าง ความหมายของ ศาสตราจารย์ (professor) แตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มเครือจักรภพ (ยกเว้นแคนาดาและไอร์แลนด์) คำนี้หมายถึง อาจารย์อาวุโสที่ดำรงตำแหน่งระดับภาควิชา โดยเฉพาะหัวหน้าภาควิชา หรือหมายถึงตำแหน่งที่ได้รับเป็นการเฉพาะบุคคล สำหรับแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์เป็นตำแหน่งสำหรับอาจารย์อาวุโสในสถาบันอุดมศึกษาทั่วไป ตำแหน่งศาสตราจารย์ในอเมริกาและแคนาดาเปิดกว้างสำหรับอาจารย์จำนวนมากกว่าตำแหน่งในกลุ่มเครือจักรภพ หลายประเทศในทวีปยุโรป อาทิ เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คำว่า ศาสตราจารย์ ใช้เป็นคำนำหน้าชื่อตามกฎหมาย ซึ่งมีจำนวนจำกัด เช่นเดียวกับกลุ่มประเทศในเครือจักรภพ สำหรับประเทศไทยคำว่า ศาสตราจารย์ สามารถใช้นำหน้าชื่อได้ตามที่บุคคลนั้นต้องการ ประเทศที่พูดภาษาสเปนในลาตินอเมริกา คำว่า ศาสตราจารย์ (profesor) ใช้แก่ผู้ที่ทำหน้าที่สอนในโรงเรียน สถาบัน โรงเรียนเทคนิค โรงเรียนอาชีวศึกษา วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย โดยไม่คำนึงถึงระดับของเนื้อหาวิชา หรือระดับชั้นหรืออายุของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งรวมไปถึงระดับอนุบาล ประถม มัธยมด้วยเป็นต้น ถึงเช่นนั้นก็ตาม ศาสตราจารย์ที่สอนอยู่ในมหาวิทยาลัยจะระบุว่าเป็น ศาสตราจารย์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เคมีและศาสตราจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สบู่

ู่ของโรงแรม โครงสร้างของโซเดียมสเตียเรตหรือสบู่ ในทางเคมี สบู่คือเกลือของกรดไขมัน สบู่ในบ้านเรือนใช้ชะล้าง อาบ และใช้ในการทำความสะอาดบ้าน โดยสบู่ทำหน้าที่เป็นสารลดแรงตึงผิว และน้ำมันอิมัลซิไฟเออร์เพื่อให้สบู่ไหลไปกับน้ำได้ ในอุตสาหกรรม สบู่ยังใช้กับการปั่นผ้า และเป็นส่วนประกอบสำคัญของสารหล่อลื่นบางชนิด สบู่สำหรับการชะล้างได้มาจากน้ำมันพืชหรือสัตว์ และไขมันที่มีค่าเบสสูง เช่น โซดาไฟ หรือโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ในสารละลายในน้ำ ไขมันและน้ำมันเป็นส่วนประกอบของไตรกลีเซอไรด์ กล่าวคือ โมเลกุลของกรดไขมันสามโมเลกุลติดกับโมเลกุลของกลีเซอรอลหนึ่งโมเลกุลCavitch, Susan Miller.

ใหม่!!: เคมีและสบู่ · ดูเพิ่มเติม »

สภาพผสมเข้ากันได้

น้ำมันดีเซลไม่สามารถผสมเข้ากันได้กับน้ำ รูปแบบสีรุ้งเกิดจากการแทรกสอดทางแสง สภาพผสมเข้ากันได้ เป็นคำที่ใช้ในทางเคมี เพื่ออธิบายสมบัติของของเหลวที่ผสมกันในทุกอัตราส่วน ทำให้เกิดสารละลายเนื้อเดียว ตามหลักการแล้ว สภาพผสมเข้ากันได้สามารถหมายถึงสารในสถานะอื่นก็ได้ (ของแข็งและแก๊ส) แต่จุดสนใจหลักอยู่ที่สภาพละลายได้ของของเหลวชนิดหนึ่ง ในของเหลวอีกชนิดหนึ่ง น้ำและเอทานอลเป็นตัวอย่างของสารที่สามารถผสมเข้ากันได้ในทุกอัตราส่วน ในทางตรงข้าม สสารสองชนิดจะกล่าวว่าไม่สามารถผสมเข้ากันได้ ถ้าหากเมื่อผสมสารทั้งสองด้วยอัตราส่วนบางค่าแล้วไม่เกิดสารละลาย ตัวอย่างเช่น ไดเอทิลอีเทอร์เป็นสารที่ละลายได้ในน้ำพอสมควร แต่ตัวทำละลายทั้งสองไม่สามารถผสมเข้ากันได้ เนื่องจากไม่สามารถละลายได้ในทุกอัตราส่วน หมวดหมู่:สมบัติทางเคมี.

ใหม่!!: เคมีและสภาพผสมเข้ากันได้ · ดูเพิ่มเติม »

สมิธสัน เทนแนนต์

มิธสัน เทนแนนต์ (Smithson Tennant; 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1761 – 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1815) เป็นนักเคมีชาวอังกฤษ เกิดที่เมืองเซลบี เป็นบุตรของแคลเวิร์ต เทนแนนต์และแมรี ดอนต์ เทนแนนต์เรียนที่โรงเรียนเบฟเวอร์ลีย์แกรมมาร์และเรียนวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยเอดินบะระ ก่อนจะย้ายไปเรียนที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เทนแนนต์ค้นพบว่าเพชรและแกรไฟต์ประกอบขึ้นจากคาร์บอนเหมือนกัน ในด้านการเกษตร เทนแนนต์แนะนำให้ใช้แคลเซียมคาร์บอเนตในการปัญหาดินเปรี้ยว ในปี..

ใหม่!!: เคมีและสมิธสัน เทนแนนต์ · ดูเพิ่มเติม »

สมุทรศาสตร์

Thermohaline circulation สมุทรศาสตร์ หรือ สมุทรวิทยา (oceanography, oceanology, หรือ marine science) คือ ศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องเกี่ยวกับทะเลและมหาสมุทร สมุทรศาสตร์เกี่ยวพันกับศาสตร์แขนงอื่น ๆ อีกหลายสาขา เช่น ธรณีวิทยา ภูมิศาสตร์ ธรณีฟิสิกส์ ฟิสิกส์ เคมี ธรณีเคมี คณิตศาสตร์ อุตุนิยมวิทยา พฤกษศาสตร์และสัตวศาสตร์ เราอาจแบ่งสมุทรศาสตร์ออกได้เป็น 5 สาขา ดังนี้.

ใหม่!!: เคมีและสมุทรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง พลตำรวจเอกหญิง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พระนามเดิม: สังวาลย์ ตะละภัฏ; พระราชสมภพ: 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ณ จังหวัดนนทบุรี — สวรรคต: 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ณ กรุงเทพมหานคร) เป็นพระชายาในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์, พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยยิกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระองค์มีพระนามที่นิยมเรียกกันว่า สมเด็จย่า ทั้งนี้พระองค์ยังได้ประกอบพระราชกรณียกิจเยี่ยมราษฎรชาวไทยภูเขาที่อาศัยในถิ่นทุรกันดาร และได้พระราชทานความช่วยเหลือผ่านทางเฮลิคอปเตอร์พระที่นั่ง เปรียบเสมือนพระองค์เสด็จมาจากฟากฟ้าช่วยให้พวกเขามีวิถีชีวิตที่ดีขึ้น ชาวไทยภูเขาจึงถวายพระสมัญญานามว่า "แม่ฟ้าหลวง"มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัม.

ใหม่!!: เคมีและสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส

มเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส (Francis; Franciscus) เป็นพระสันตะปาปาองค์ที่ 266 มีพระนามเดิมว่า คอร์เค มาเรียว เบร์โกเกลียว (Jorge Mario Bergoglio) พระราชสมภพเมื่อ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2479.

ใหม่!!: เคมีและสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: เคมีและสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500) พระราชธิดาพระองค์เล็กในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระขนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน ในพระราชวังดุสิตสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี มีพระธิดา 2 พระองค์ คือ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ และพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ พระองค์ทรงเป็นเจ้าฟ้านักวิทยาศาสตร์ผู้มีผลงานดีเด่นของโลกในสาขาสารเคมีก่อมะเร็ง และพิษวิทยาสิ่งแวดล้อม ทรงก่อตั้งสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..

ใหม่!!: เคมีและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สยามสแควร์

มสแควร์ด้านนถนนพญาไท สยามสแควร์ ศูนย์การค้าแบบเชิงราบ จากภาพคือบริเวณสยามสแควร์ซอย 7 สยามสแควร์ ปี พ.ศ. 2558 สยามสแควร์ หรือเรียกกันว่า สยาม เป็นศูนย์การค้าแบบเชิงราบในกรุงเทพมหานคร เนื้อที่ 63 ไร่ ตั้งอยู่บนหัวมุมถนนพญาไท และถนนพระราม 1 โดยด้านหลังติดกับถนนอังรีดูนังต์ และด้านทิศตะวันออกติดต่อกับคณะเภสัชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขและคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกด้านหนึ่งติดกับ ห้างสรรพสินค้าเอ็มบีเคเซ็นเตอร์ และอีกด้านหนึ่งติดกับ สยามดิสคัฟเวอรี สยามเซ็นเตอร์และสยามพารากอน สยามสแควร์เป็นพื้นที่ในความดูแลของสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ธุรกิจในสยามสแควร์มีความหลากหลาย ทั้งโลกของแฟชั่น อาหาร พื้นที่โฆษณา โรงเรียนกวดวิชา สังคมเด็กแนว หรือในแวดวงทางการธุรกิจการตลาด เป็นสถานที่ที่มีการทดลองสินค้า และกิจกรรมการตลาดแบบแปลกใหม่และเข้มข้นที่สุดแห่งหนึ่ง มีจำนวนคนเดินในสยามสแควร์ในวันธรรมดาเฉลี่ยวันละ 20,000 คน วันหยุดไม่ต่ำกว่า 50,000 คน ซึ่งแต่ละคนมีกำลังซื้อเฉลี่ย 1,000 บาท/ครั้ง/คน สยามสแควร์ในปัจจุบันมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงภายนอก รูปแบบอาคารอยู่เสมอ แต่ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ รวมถึงภูมิทัศน์ มีการเพิ่มการแพร่ภาพสื่อผ่านทางจอโทรทัศน์ทั่วสยามสแควร์ และทางสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาโครงการศึกษาผังแม่บทสยามสแควร์ขึ้นอย่างจริงจัง และโครงการหลังจากเซ็นเตอร์พอยท์ได้หมดสัญญาลงไป ก็คือโครงการ "ดิจิตอล เกตเวย์" และยังมีโครงการอาคารจอดรถ โครงการโรงแรม 3 ดาวครึ่ง ในอนาคต สยามสแควร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมสมัยนิยมของไทย โดยมีภาพยนตร์ที่มีฉากหรือเนื้อหาเกี่ยวกับสยามสแควร์ เช่น รักแห่งสยาม และ สยามสแควร์ นอกจากนี้มิวสิกวิดีโอก็นิยมใช้สยามสแควร์เป็นฉากในเรื่อง.

ใหม่!!: เคมีและสยามสแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

สวานเต อาร์เรเนียส

วานเต ออกัส อาร์เรเนียส สวานเต ออกัส อาร์เรเนียส (Svante August Arrhenius -19 กุมภาพันธ์, พ.ศ. 2402 - 12 ตุลาคม, พ.ศ. 2470) นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน เดิมเป็นนักฟิสิกส์ แต่ส่วนใหญ่ในวงการยอมรับและเรียกอาร์เรเนียสว่าเป็นนักเคมี เป็นผู้ร่วมก่อตั้งวิชาวิทยาศาสตร์สาขาเคมีฟิสิกส์ ได้มีการตั้งชื่อสมการ "สมการอาร์เรเนียส" และ "หลุมอุกกาบาตดวงจันทร์อารร์เนเนียส" เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา นอกจากนี้อาร์เรเนียสยังเป็นผู้คำนวณและพิสูจน์หาปริมาณความร้อนในปรากฏการณ์เรือนกระจกที่โจเซฟ ฟูริเออร์เป็นผู้ค้นพบอีกด้ว.

ใหม่!!: เคมีและสวานเต อาร์เรเนียส · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ

หภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ (International Union of Pure and Applied Chemistry, ย่อ: IUPAC /ไอยูแพ็ก/) เป็นสหพันธ์ระหว่างประเทศซึ่งประกอบด้วยองค์กรที่เป็นตัวแทนของนักเคมีในแต่ละประเทศ สหภาพฯ เป็นสมาชิกของสภาสหภาพวิทยาศาสตร์ระหว่างประเทศ (ICSU) มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สำนักงานบริหาร หรือที่รู้จักกันในชื่อ "สำนักเลขาธิการ IUPAC" ตั้งอยู่ที่อุทยานสามเหลี่ยมวิจัย รัฐนอร์ทแคโรไลนา สหรัฐอเมริกา สำนักงานบริหารแห่งนี้นำโดยผู้อำนวยการบริหารของ IUPAC IUPAC ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เคมีและสหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สัญกรณ์คณิตศาสตร์

สัญกรณ์คณิตศาสตร์เป็นระบบของสัญลักษณ์สำหรับการแสดงสิ่งต่างๆ รวมถึงความคิดเชิงคณิตศาสตร์ ที่รวมสัญลักษณ์พื้นฐาน เช่น เลขโดด 0,1 และ 2 สัญลักษณ์เชิงฟังก์ชัน เช่น + - sin สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงความคิดทางคณิตศาสตร์ เช่น lim dy/dx ตัวแปร และ สมการ สัญกรณ์คณิตศาสตร์ มักถูกใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เคมี ฟิสิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ และ เศรษฐศาสตร์ หมวดหมู่:สัญกรณ์คณิตศาสตร์.

ใหม่!!: เคมีและสัญกรณ์คณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน

ในเคมีและฟิสิกส์อะตอม สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electron affinity) ของอะตอมหรือโมเลกุลคือค่าที่แสดงถึงปริมาณพลังงานที่ ถูกปล่อยออกมา เมื่ออิเล็กตรอนถูกเพิ่มเข้าไปในอะตอมหรือโมเลกุลที่เป็นกลางทางไฟฟ้า ในสถานะแก๊สเพื่อทำให้เกิดไอออนประจุลบ ในฟิสิกส์ของแข็ง คำนิยามของ "สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน" จะแตกต่างออกไป โดยสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนในความหมายของฟิสิกส์ของแข็ง คือ พลังงาน ที่ได้รับ จากอิเล็กตรอนที่กำลังเคลื่อนที่ออกจากสุญญาก.

ใหม่!!: เคมีและสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน · ดูเพิ่มเติม »

สัมประสิทธิ์

ัมประสิทธิ์ ของความในทางคณิตศาสตร์หมายถึงตัวประกอบการคูณในบางพจน์ของนิพจน์ (หรือของอนุกรม) ปกติแล้วจะเป็นจำนวนจำนวนหนึ่ง ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับตัวแปรของนิพจน์ ตัวอย่างเช่น สามพจน์แรกมีสัมประสิทธิ์เป็น 7, −3 และ 1.5 ตามลำดับ (พจน์ที่สามไม่มีตัวแปร ดังนั้นพจน์ดังกล่าวจึงเป็นสัมประสิทธิ์โดยตัวเอง เรียกว่าพจน์คงตัวหรือสัมประสิทธิ์คงตัวของนิพจน์) ส่วนพจน์สุดท้ายไม่ปรากฏการเขียนสัมประสิทธิ์อย่างชัดเจน แต่ปกติจะพิจารณาว่ามีสัมประสิทธิ์เท่ากับ 1 เนื่องจากการคูณด้วยตัวประกอบนี้จะไม่ทำให้พจน์เปลี่ยนแปลง บ่อยครั้งที่สัมประสิทธิ์เป็นจำนวนดังเช่นตัวอย่างดังกล่าว แต่ก็สามารถเป็นพารามิเตอร์ของข้อปัญหาได้เช่นในประโยคต่อไปนี้ พารามิเตอร์ a, b และ c จะไม่ถูกพิจารณาว่าเป็นตัวแปร ดังนั้นพหุนามตัวแปรเดียว x สามารถเขียนได้เป็น สำหรับจำนวนเต็ม k บางจำนวน จะมี a_k,..., a_1, a_0 เป็นสัมประสิทธิ์ เพื่อให้นิพจน์เช่นนี้เป็นจริงในทุกกรณี เราจะต้องไม่ให้พจน์แรกมีสัมประสิทธิ์เป็น 0 สำหรับจำนวนที่มากที่สุด i โดยที่ แล้ว ai จะเรียกว่า สัมประสิทธิ์นำ ของพหุนาม เช่นจากตัวอย่างนี้ สัมประสิทธิ์นำของพหุนามคือ 4 สัมประสิทธิ์เฉพาะหลายชนิดถูกกำหนดขึ้นในเอกลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เช่นทฤษฎีบททวินามซึ่งเกี่ยวข้องกับสัมประสิทธิ์ทวินาม สัมประสิทธิ์เหล่านี้ถูกจัดระเบียบอยู่ในรูปสามเหลี่ยมปาสกาล.

ใหม่!!: เคมีและสัมประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สารละลาย

รละลายเกลือแกงในน้ำ ในทางเคมี สารละลาย (solution) คือสารผสมที่เป็นเนื้อเดียวกัน ซึ่งมีสสารหนึ่งชนิดหรือมากกว่าเป็นตัวละลาย ละลายอยู่ในสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็นตัวทำละลาย ตัวอย่างเช่น ไม่เพียงแต่ของแข็งที่สามารถละลายในของเหลว เหมือนเกลือหรือน้ำตาลที่ละลายในน้ำ (หรือแม้แต่ทองคำที่ละลายในปรอทแล้วเกิดเป็นอะมัลกัม (amalgam)) แต่ก๊าซก็สามารถละลายในของเหลวได้ เช่น คาร์บอนไดออกไซด์หรือออกซิเจนสามารถละลายในน้ำได้.

ใหม่!!: เคมีและสารละลาย · ดูเพิ่มเติม »

สารละลายในน้ำ

ซเดียมไอออนที่ละลายในน้ำ สารละลายในน้ำ หรือ เอเควียส (Aqueous solution)​ คือสารละลายที่มีตัวทำละลายเป็นน้ำ มักจะแสดงไว้ในสมการเคมีโดยใส่ "(aq)" ต่อท้ายสสารนั้น ซึ่ง aq ย่อมาจาก aqueous หมายถึงความเกี่ยวข้องหรือการละลายในน้ำ น้ำเป็นตัวทำละลายที่ดีชนิดหนึ่งทั้งในธรรมชาติและในการทดลองทางเคมี สารที่ไม่ละลายในน้ำมักมีคุณสมบัติไม่ชอบน้ำ (hydrophobic) ส่วนสารที่ละลายในน้ำได้มักมีคุณสมบัติชอบน้ำ (hydrophilic) ตัวอย่างของสารที่ละลายในน้ำได้เช่นโซเดียมคลอไรด์ (เกลือแกง) กรดและเบสส่วนใหญ่เป็นสามารถละลายได้ในน้ำ ซึ่งเป็นไปตามนิยามส่วนหนึ่งของทฤษฎีปฏิกิริยากรดเบส (ยกเว้นนิยามของลิวอิส) ความสามารถในการละลายน้ำของสสารจะพิจารณาว่า สสารนั้นสามารถจับตัวกับน้ำได้ดีกว่าแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ำหรือแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของสารนั้นหรือไม่ หากเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้ความสามารถในการละลายน้ำลดลง (เช่น อุณหภูมิเปลี่ยนไป) น้ำระเหยออกไปจากสารละลาย หรือ เกิดปฏิปริกิริยาเคมีทำให้เกิดสารที่ไม่ละลายน้ำ จะเกิดการตกตะกอนหรือตกผลึก สารละลายในน้ำที่สามารถนำไฟฟ้าได้จะต้องมีอิเล็กโทรไลต์อย่างเข้มอย่างเพียงพอ คือสสารนั้นสามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ในน้ำอย่างสมบูรณ์ น้ำซึ่งเป็นโมเลกุลมีขั้วก็จะมาอยู่ล้อมรอบ ส่วนอิเล็กโทรไลต์อย่างอ่อนที่แตกตัวในน้ำได้ไม่ดี ก็จะทำให้สารละลายนั้นนำไฟฟ้าได้ไม่ดีตามไปด้วย สำหรับสสารที่ไม่ได้เป็นอิเล็กโทรไลต์แต่สามารถละลายในน้ำได้ เนื่องจากสสารนั้นไม่แตกตัวเป็นไอออนในน้ำ ยังรักษารูปร่างของโมเลกุลเอาไว้ อาทิ น้ำตาล ยูเรีย กลีเซอรอล และเมทิลซัลโฟนิลมีเทน (MSM) เป็นต้น.

ใหม่!!: เคมีและสารละลายในน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

สารประกอบอินทรีย์

มีเทนเป็นหนึ่งในสารประกอบอินทรีย์ที่เรียบง่ายที่สุด สารประกอบอินทรีย์ หมายถึง สารประกอบเคมีที่อยู่ในสถานะใดก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ที่ประกอบด้วยโมเลกุลคาร์บอน ยกเว้นสารประกอบบางชนิดที่ไม่จัดว่าเป็นสารประกอบอินทรีย์แม้ว่าจะมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบก็ตาม ตัวอย่างเช่น สารประกอบคาร์ไบน์, คาร์บอเนต, ออกไซด์ของคาร์บอนและไซยาไนด์ เช่นเดียวกับอัญรูปของคาร์บอน อย่างเช่น เพชรและแกรไฟต์ ซึ่งถูกจัดเป็นสารประกอบอนินทรีย์ ความแตกต่างระหว่างสารประกอบคาร์บอนที่เป็นสารประกอบ "อินทรีย์" และ "อนินทรีย์" นั้น ถึงแม้ว่า "จะมีประโยชน์ในการจัดระเบียบวิชาเคมีอย่างกว้างขวาง...

ใหม่!!: เคมีและสารประกอบอินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

สารประกอบไอออนิก

ในทางเคมี สารประกอบไอออนิก (Ionic compound) เป็นสารประกอบเคมีที่เกิดจากโลหะ (ที่มีประจุบวก) กับอโลหะ (ที่มีประจุลบ) มารวมกันเป็นสารประกอบ (หรือเรียกว่าเป็นเกลือ) โดยยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะไอออนิก ซึ่งสารประกอบไอออนิกจะเป็นสารประกอบที่ไม่มีสูตรเคมี แต่สามารถเขียนสูตรอย่างง่ายได้ เพราะไอออนจะเกาะกันหลายตัว ส่วนใหญ่จะเป็น เกลือกับเบส แต่กรดจะเป็นสารประกอบโควาแลนซ์ มีสถานะเป็นของแข็ง.

ใหม่!!: เคมีและสารประกอบไอออนิก · ดูเพิ่มเติม »

สารเคมี

รเคมี (chemical substance) เป็นสสารวัสดุ ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมหรือได้จากกระบวนการเคมี อาท.

ใหม่!!: เคมีและสารเคมี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จัดการเรียนการสอนที่หลากหลายแยกเป็นสาขาวิชา (คำว่า สาขาวิชาจะเทียบเท่ากับ ภาควิชาของมหาวิทยาลัยทั่วไป) ซึ่งในหนึ่งสาขาวิชาจะรับผิดชอบการเรียนการสอนและผลิตบัณฑิตทั้ง ในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดยไม่มีบัณฑิตวิทยาลั.

ใหม่!!: เคมีและสำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ำนักงานราชบัณฑิตยสภา (Office of the Royal Society) หรือชื่อเดิมว่า ราชบัณฑิตยสถาน (the Royal Institute), ข่าวประชาสัมพันธ์ เว็บไซต.

ใหม่!!: เคมีและสำนักงานราชบัณฑิตยสภา · ดูเพิ่มเติม »

สุวบุญ จิรชาญชัย

ตราจารย์ สุวบุญ จิรชาญชัย (เกิด ปี พ.ศ. 2507 -) เป็นคณบดี อาจารย์ประจำวิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และที่ปรึกษาสมาคมโพลิเมอร์แห่งประเทศไท.สุวบุญ จิรชาญชัย หรือ.ดร.สุวบุญ จิรชาญชัย มีความเชี่ยวชาญด้านสาขาเคมี โดยเฉพาะเรื่อง พอลิเมอร์ชีวภาพ ซุปปราโมเลกุล พอลิเมอร์สังเคราะห์ พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ (biodegradable plastics) พอลิเมอร์เมมเบรนเซลล์ เชื้อเพลิง โดยได้สร้างผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการชั้นนำกว่า 80 เรื่อง เขาได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติในสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ประจำปี..

ใหม่!!: เคมีและสุวบุญ จิรชาญชัย · ดูเพิ่มเติม »

สุขุม นวลสกุล

รองศาสตราจารย์ สุขุม นวลสกุล อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคำแหง อดีตคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง นักพูด และนักวิชาการทางรัฐศาสตร์ เกิดเมื่อวันที่ 8 เดือนมกราคม พ.ศ. 2486 ที่จังหวัดยะลา โดยเป็นลูกคนสุดท้องในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 8 คน (ชาย 4 หญิง 4) บิดามีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปครอง พ.ศ. 2475 โดยที่ครอบครัวมีธุรกิจประเภทอสังหาริมทรัพย์ เริ่มศึกษาที่โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา แล้วไปศึกษาต่อยังโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยขณะเรียนได้เรียนในสายวิทยาศาสตร์เพราะมีความตั้งใจจะเป็นแพทย์ แต่คะแนนวิทชาทางเคมีหรือชีววิทยาได้ไม่ดี แต่กลับได้คะแนนดีในวิชาภาษาไทย จึงเปลี่ยนไปสอบเอนทรานซ์สายสังคมศาสตร์แทน ซึ่งสอบได้คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษาในปี พ.ศ. 2511 (รุ่นที่ 15) ด้วยการใช้เวลาศึกษานานถึง 5 ปี ต่อมาได้เรียนระดับปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์และสังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยเท็กซัส เอแอนด์เอ็ม (Master of Science Texas A & M University) สหรัฐอเมริกา และได้ศึกษาเพิ่มเติมที่สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง กองบัญชาการทหารสูงสุด ได้รับประกาศนียบัตรสงครามจิตวิทยา เมื่อครั้งจบปริญญาตรี ได้ทำงานเป็นคอลัมนิสต์ในนิตยสารมวยไทยอยู่ 6 เดือน ก่อนจะเดินทางไปศึกษาต่อที่สหรัฐอเมริกา เมื่อจบปริญญาโทในปี พ.ศ. 2514 ได้เข้าทำงานเป็นอาจาย์ในมหาวิทยาลัยรามคำแหง ซึ่งเพิ่งก่อตั้ง นับเป็นคณาจารย์รุ่นบุกเบิกของมหาวิทยาลัยด้วยคนหนึ่ง จนกระทั่งได้รับตำแหน่งทางวิชาการเป็นรองศาสตราจารย์ และได้เป็นคณบดีคณะรัฐศาสตร์ จนถึงตำแหน่งอธิการบดี เมื่อปลายปี พ.ศ. 2525 และยุติการรับราชการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ก่อนเกษียณอายุราชการจริงหลายปี นอกจากนี้แล้วในทางการเมือง เคยเป็นที่ปรึกษาทางการมืองให้แก่นายกรัฐมนตรี พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524-พ.ศ. 2531 ซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายของการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พล.อ.เปรม ในระหว่างดำรงตำแหน่งอธิการบดี ได้เกิดเหตุนักศึกษาของมหาวิทยาลัยรามคำแหงผู้หนึ่ง ได้เข้าทำร้ายร่างกาย พล.อ.เปรม ด้วยการชกหน้าและด่าทอด้วยคำหยาบคาย ขณะที่ พล.อ.เปรมเป็นประธานในพิธีปิดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย ที่ทางมหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นเจ้าภาพ จน พล.อ.เปรมต้องเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล ทาง ร.สุขุมในฐานะอธิการบดีและที่ปรึกษาของ พล.อ.เปรม ได้แสดงความรับผิดชอบด้วยการลาออกทันที แต่ทว่าทางสภามหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เคมีและสุขุม นวลสกุล · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เคมีและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เคมีและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก

ันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก (Swiss Federal Institute of Technology in Zurich, ชื่อเต็มในภาษาเยอรมันคือ Eidgenössische Technische Hochschule Zürich โดยมีชื่อย่อที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ETH Zürich) เป็นมหาวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริกเป็นมหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงในระดับนานาชาติเป็นสมาชิกของ IDEA League และ International Alliance of Research Universities IARU.

ใหม่!!: เคมีและสถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก · ดูเพิ่มเติม »

สถานะ (สสาร)

นะ (State of matter) เป็นความสัมพันธ์กับโครงสร้างทางเคมีและคุณสมบัติทางฟิสิกส์ เช่น ความหนาแน่น, โครงสร้างผลึก (crystal structure), ดรรชนีหักเหของแสง (refractive index) และอื่นๆ สถานะที่คุ้นเคยกันมาก ได้แก่ ของแข็ง, ของเหลว, และแก๊ส ส่วนสถานะที่ไม่เป็นที่รู้จักกันมากนัก ได้แก่ พลาสมา และ พลาสมาควาร์ก-กลูออน, โบส-ไอน์สไตน์ คอนเดนเซต และ เฟอร์มิโอนิค คอนเดนเซต, วัตถุประหลาด, ผลึกเหลว, ซูเปอร์ฟลูอิด ซูเปอร์โซลิด พาราแมกเนติก, เฟอโรแมกเนติก, เฟสของ วัสดุ แม่เหล็ก.

ใหม่!!: เคมีและสถานะ (สสาร) · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนลงตัว

ในทางคณิตศาสตร์ ส่วนลงตัว (aliquot part หรือ aliquot) คือจำนวนเต็มบวกใดๆ ที่นำไปหารจำนวนเต็มบวกอีกจำนวนหนึ่งแล้วสามารถหารได้ลงตัว หรือเรียกได้ว่า "เป็นตัวหาร" เช่น 2 เป็นส่วนลงตัวของ 12 ผลบวกของส่วนลงตัวทั้งหมดของ n จะมีค่าเท่ากับ σ(n) ซึ่งหมายถึงฟังก์ชันตัวหาร (divisor function) ของ n คำว่า aliquot มาจากคำในภาษาละติน aliquoties แปลว่า หลายครั้ง ในทางเคมี ส่วนลงตัวมักเป็นส่วนแบ่งปริมาณรวมของสารละลาย ในทางเภสัชกรรม ส่วนลงตัวเป็นการอ้างถึงวิธีการวัดปริมาณส่วนผสมของยาภายใต้ความไวของเครื่องชั่ง (weighing scale) ตัวอย่างเช่น ใบสั่งยาระบุว่าต้องการส่วนผสมในปริมาณ 40 มิลลิกรัม ดังนั้นเราอาจชั่งส่วนผสมเพื่อปรุงยาในปริมาณ 120 มิลลิกรัม โดยที่ 40 เป็นส่วนลงตัวของ 120 แล้วปรุงยาในปริมาณสามเท่า จากนั้นจึงค่อยแบ่งตัวยาออกไปเป็นสามส่วน หนึ่งส่วนสำหรับใบสั่งยา และอีกสองส่วนสามารถเก็บไว้ในคลังได้ ซึ่งตัวยาจะเกิดความผิดพลาดในส่วนผสมน้อยกว่าการชั่งให้เป็น 40 มิลลิกรัมทันที.

ใหม่!!: เคมีและส่วนลงตัว · ดูเพิ่มเติม »

สไปเดอร์-แมน

อ้แมงมุม/สไปเดอร์-แมน (Spider-Man) หรือ ปีเตอร์ ปาร์คเกอร์ (Peter Parker) คือ ตัวการ์ตูนยอดมนุษย์สัญชาติอเมริกันของสังกัดมาร์เวลคอมิกส์ (Marvel Comics) สร้างขึ้นมาโดยสแตน ลี (Stan Lee) และสตีฟ ดิตโก (Steve Ditko) ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือการ์ตูน "อแมซซิงแฟนตาซี" (Amazing Fantasy) ฉบับที่ 15 (สิงหาคม 2505) ในปัจจุบันนี้ ไอ้แมงมุมถือเป็นหนึ่งในตัวละครยอดมนุษย์ที่โด่งดังที่สุดในโลก และยังคงประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชย์อีกด้วย ในตอนที่ไอ้แมงมุมได้รับการตีพิมพ์ครั้งแรกในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 60 ในเวลานั้น ตัวละครที่เป็นวัยรุ่นในหนังสือการ์ตูนยอดมนุษย์ของอเมริกา มักจะมีบทบาทเทียบเท่าตัวประกอบเท่านั้น แต่การ์ตูนชุดไอ้แมงมุมได้พังกรอบเหล่านี้ออกไป โดยให้ตัวไอ้แมงมุม ซึ่งยังเป็นวัยรุ่นอยู่ มีบทบาทของวีรบุรุษตัวเอก ที่มี "ความสนใจเฉพาะตัว พร้อมกับการถูกปฏิเสธ ความขัดสน และความอ้างว้าง" ด้วยลักษณะเช่นนี้เอง ไอ้แมงมุมจึงสามารถดึงดูดความสนใจจากผู้อ่านอายุน้อยได้ นอกจากจะเป็นตัวละครในหนังสือการ์ตูนแล้ว ไอ้แมงมุมยังปรากฏตัวในสื่ออื่น ๆ ด้วย ไม่ว่าจะเป็นแอนิเมชัน ละครชุดทางโทรทัศน์ คอลัมภ์การ์ตูนในหนังสือพิมพ์ วิดีโอเกม และภาพยนตร์ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างสูง มาร์เวลได้ตีพิมพ์หนังสือการ์ตูนชุดไอ้แมงมุมออกมาจำนวนหนึ่ง โดยชุดแรกมีชื่อว่า "ดิอแมซซิงสไปเดอร์แมน" (The Amazing Spider-Man) ในหนังสือการ์ตูนแต่ละชุด จะแสดงให้เห็นพัฒนาการของตัวละครปีเตอร์ ปาร์คเกอร์ ตั้งแต่เป็นนักเรียนขี้อาย นักศึกษามีปัญหา ครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ จนถึงสมาชิกของคณะยอดมุนษย์ที่ชื่อ "อเวนเจอร์ส" (Avengers) ส่วนในการ์ตูนชุด "สไปเดอร์เกิร์ล" (Spider-Girl) ปาร์คเกอร์ยังมีสถานะเป็นนักวิทยาศาสตร์และพ่ออีกด้วย สไปเดอร์-แมนปรากฏตัวในจักรวาลภาพยนตร์มาร์เวลในภาพยนตร์ได้แก่กัปตันอเมริกา: ศึกฮีโร่ระห่ำโลก, สไปเดอร์แมน: โฮมคัมมิ่ง, อเวนเจอร์ส: มหาสงครามล้างจักรวาล.

ใหม่!!: เคมีและสไปเดอร์-แมน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่ (ตารางธาตุ)

ตารางธาตุ หมู่ตารางธาตุ (periodic table group) คือคอลัมน์ในแนวดิ่งของธาตุเคมีในตารางธาตุ มีทั้งหมด 18 หมู่ในตารางธาตุมาตรฐานในยุคใหม่นี้การจัดหมวดหมู่ของธาตุในตารางธาตุจะพิจารณาจากการโคจรของอิเล็กตรอนในวงโคจรชั้นนอกสุดของอะตอม ซึ่งคุณสมบัติทางเคมีของธาตุจะขึ้นอยู่กับการให้อิเล็กตรอนชั้นนอกสุดนี้ ธาตุที่อะตอมมีวงโคจรของอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดเหมือนกันมักจะมีคุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์เหมือนกัน หมู่ตารางธาตุมีรายละเอียดดังนี้ (ในวงเล็บเป็นระบบเก่า: ยุโรป-อเมริกัน).

ใหม่!!: เคมีและหมู่ (ตารางธาตุ) · ดูเพิ่มเติม »

หยก

right หยก (Jade) คือชื่อที่ใช้เรียกหินซึ่งเป็นอัญมณีอันล้ำค่ามากชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะชาวจีนถือว่าหยกเป็นเจ้าแห่งหินมีค่าทั้งมวล ในอดีตเข้าใจกันว่าหยกมีเพียงชนิดเดียว ต่อมาเมื่อมนุษย์มีความรู้ทางด้านเคมีมากขึ้น จึงสามารถแยกหยกได้เป็น 2 ชนิด คือ.

ใหม่!!: เคมีและหยก · ดูเพิ่มเติม »

หลักสูตร

หลักสูตร (curriculum (เอกพจน์) หรือ curricula (พหูพจน์)) เป็นคำที่เกิดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเริ่มใช้คำนี้อย่างแพร่หลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยในตำราเรียนเล่มแรกที่เขียนอธิบายเกี่ยวกับหลักสูตรของจอห์น แฟรงคลิน บอบบิทในปี..

ใหม่!!: เคมีและหลักสูตร · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ ปาสเตอร์

หลุยส์ ปาสเตอร์ (27 ธันวาคม ค.ศ. 1822 - 28 กันยายน ค.ศ. 1895) เป็นนักเคมีและนักจุลชีววิทยา เกิดที่เมืองโดล ประเทศฝรั่งเศส ได้รับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยเบซากองและมหาวิทยาลัยปารีส ต่อมาได้ดำรงตำแหน่งอาจารย์ในสถาบันการศึกษาที่สตราบวร์ก ลิลล์ และมหาวิทยาลัยปารีส และได้รับการแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์สาขาเคมีที่มหาวิทยาลัยซอร์บอนน์ในปี พ.ศ. 2410 ปาสเตอร์เป็นผู้แถลงว่าการเน่าและการหมักเกิดจากเชื้อโรคหรือจุลินทรีย์ ปาสเตอร์ได้ค้นพบปรากฏการณ์นี้ในระหว่างการศึกษาว่าเหตุใดเหล้าองุ่นจึงเสียรสขณะบ่ม แต่เมื่อนำเหล้าองุ่นไปอุ่นให้ร้อนแล้วจึงป้องกันไม่เหล้าองุ่นกลายเป็นน้ำส้มสายชูได้ ซึ่งการกระทำลักษณะนี้ต่อมาได้พัฒนาเป็นการฆ่าเชื้อวิธีปาสเตอร์ (Pasteurization) การค้นพบนี้ทำให้สาขาวิชาจุลชีววิทยาโดดเด่นก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็ว การทดลองที่มีชื่อเสียงของปาสเตอร์เมื่อปี พ.ศ. 2424 ที่พิสูจน์ให้เห็นว่าแกะและวัวที่ได้รับการฉีด “วัคซีน” ที่ทำจากเชื้อจุลินทรีย์บาซิลไล ซึ่งเป็นเป็นสมมติฐานของโรคแอนแทรคที่ถูกทำให้อ่อนจางลงของเขา สามารถต่อสู้กับโรคระบาดที่มีอันตรายของสัตว์คือโรคแอนแทรคดังกล่าวได้โดยไม่ติดโรค ในปี พ.ศ. 2431 สถาบันปาสเตอร์ได้รับการจัดตั้งขึ้นในกรุงปารีสเพื่อต่อสู้กับโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งปาสเตอร์ได้ทำงานประจำในสถาบันนี้จนถึงแก่กรรม ปัจจุบัน สถาบันปาสเตอร์ยังคงเป็นสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลกที่ยังคงทำงานวิจัยงานด้านจุลชีววิทยาอยู่ รวมทั้งการค้นพบเชื้อไวรัสเอชไอวี ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเอ.

ใหม่!!: เคมีและหลุยส์ ปาสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ห้องปฏิบัติการ

ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์บริหารโดยสถาบันบัณฑิตโรคมะเร็ง ณ มหาวิทยาลัยการแพทย์จีน (ประเทศไต้หวัน) Adam Mickiewicz University ในพอซนาน โต๊ะทำงานในห้องปฏิบัติการทางเคมี  ห้องปฏิบัติการ Schuster ในมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ (ห้องปฏิบัติการทางฟิสิกส์) ห้องปฏิบัติการ (laboratory) เรียกสั้น ๆ ว่า ห้องแล็บ (lab) คือสถานที่ซึ่งอยู่ในสภาวะที่ถูกควบคุม และเป็นที่สำหรับการวิจัย การทดลอง และการวัดทางวิทยาศาสตร์หรือทางเทคนิค   ห้องปฏิบัติการซึ่งใช้สำหรับการวิจัยทางวิทยาศาสตร์มีหลายแบบ ด้วยความที่แต่ละภาควิชาของวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์มีความต้องการเฉพาะที่ต่างกัน ห้องปฏิบัติการทางฟิสิกส์อาจมีเครื่องเร่งอนุภาคหรือห้องสุญญากาศ ส่วนห้องปฏิบัติการทางวิศวกรรมโลหการอาจมีเครื่องมือในการหล่อหรือการกลั่น (refine) เหล็กเพื่อทดสอบความแข็งแรงของเหล็ก นักเคมีหรือนักชีววิทยาอาจใช้ห้องปฏิบัติการแบบเปียก (wet laboratory) ส่วนห้องปฏิบัติการของนักจิตวิทยาอาจเป็นห้องซึ่งมีกระจกด้านเดียวติดอยู่รวมไปถึงมีกล้องซ่อนไว้เพื่อเฝ้าดูพฤติกรรม บางห้องปฏิบัติการ เช่น ห้องที่นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ใช้ อาจมีคอมพิวเตอร์ (บางครั้งอาจเป็นซูเปอร์คอมพิวเตอร์) เพื่อใช้สำหรับบการจำลองหรือการวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งมาจากที่อื่น นักวิทยาศาสตร์ในภาควิชาอื่นอาจใช้ห้องปฏิบัติการแบบอื่น วิศวกรใช้ห้องปฏิบัติการในการออกแบบ สร้าง หรือทดสอบเครืองมือทางเทคโนโลยีต่างๆ ห้องปฎิบัตรการทางวิยาศาสตร์นั้นพบได้ในโรงเรียน มหาวิทยาลัย อุตสาหกรรม สถานที่ทางราชการหรือทหาร รวมไปถึงเรือและยานอวก.

ใหม่!!: เคมีและห้องปฏิบัติการ · ดูเพิ่มเติม »

อะตอม

อะตอม (άτομον; Atom) คือหน่วยพื้นฐานของสสาร ประกอบด้วยส่วนของนิวเคลียสที่หนาแน่นมากอยู่ตรงศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ นิวเคลียสของอะตอมประกอบด้วยโปรตอนที่มีประจุบวกกับนิวตรอนซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า (ยกเว้นในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 ซึ่งเป็นนิวไคลด์ชนิดเดียวที่เสถียรโดยไม่มีนิวตรอนเลย) อิเล็กตรอนของอะตอมถูกดึงดูดอยู่กับนิวเคลียสด้วยแรงแม่เหล็กไฟฟ้า ในทำนองเดียวกัน กลุ่มของอะตอมสามารถดึงดูดกันและกันก่อตัวเป็นโมเลกุลได้ อะตอมที่มีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเท่ากันจะมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า มิฉะนั้นแล้วมันอาจมีประจุเป็นบวก (เพราะขาดอิเล็กตรอน) หรือลบ (เพราะมีอิเล็กตรอนเกิน) ซึ่งเรียกว่า ไอออน เราจัดประเภทของอะตอมด้วยจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ในนิวเคลียส จำนวนโปรตอนเป็นตัวบ่งบอกชนิดของธาตุเคมี และจำนวนนิวตรอนบ่งบอกชนิดไอโซโทปของธาตุนั้น "อะตอม" มาจากภาษากรีกว่า ἄτομος/átomos, α-τεμνω ซึ่งหมายความว่า ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไป หลักการของอะตอมในฐานะส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของสสารที่ไม่สามารถแบ่งได้อีกต่อไปถูกเสนอขึ้นครั้งแรกโดยนักปรัชญาชาวอินเดียและนักปรัชญาชาวกรีก ซึ่งจะตรงกันข้ามกับปรัชญาอีกสายหนึ่งที่เชื่อว่าสสารสามารถแบ่งแยกได้ไปเรื่อยๆ โดยไม่มีสิ้นสุด (คล้ายกับปัญหา discrete หรือ continuum) ในคริสต์ศตวรรษที่ 17-18 นักเคมีเริ่มวางแนวคิดทางกายภาพจากหลักการนี้โดยแสดงให้เห็นว่าวัตถุหนึ่งๆ ควรจะประกอบด้วยอนุภาคพื้นฐานที่ไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกต่อไป ระหว่างช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักฟิสิกส์ค้นพบส่วนประกอบย่อยของอะตอมและโครงสร้างภายในของอะตอม ซึ่งเป็นการแสดงว่า "อะตอม" ที่ค้นพบตั้งแต่แรกยังสามารถแบ่งแยกได้อีก และไม่ใช่ "อะตอม" ในความหมายที่ตั้งมาแต่แรก กลศาสตร์ควอนตัมเป็นทฤษฎีที่สามารถนำมาใช้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของอะตอมได้เป็นผลสำเร็จ ตามความเข้าใจในปัจจุบัน อะตอมเป็นวัตถุขนาดเล็กที่มีมวลน้อยมาก เราสามารถสังเกตการณ์อะตอมเดี่ยวๆ ได้โดยอาศัยเครื่องมือพิเศษ เช่น กล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราดในอุโมงค์ มวลประมาณ 99.9% ของอะตอมกระจุกรวมกันอยู่ในนิวเคลียสไอโซโทปส่วนมากมีนิวคลีออนมากกว่าอิเล็กตรอน ในกรณีของ ไฮโดรเจน-1 ซึ่งมีอิเล็กตรอนและนิวคลีออนเดี่ยวอย่างละ 1 ตัว มีโปรตอนอยู่ \begin\frac \approx 0.9995\end, หรือ 99.95% ของมวลอะตอมทั้งหมด โดยมีโปรตอนและนิวตรอนเป็นมวลที่เหลือประมาณเท่า ๆ กัน ธาตุแต่ละตัวจะมีอย่างน้อยหนึ่งไอโซโทปที่มีนิวเคลียสซึ่งไม่เสถียรและเกิดการเสื่อมสลายโดยการแผ่รังสี ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการแปรนิวเคลียสที่ทำให้จำนวนโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียสเปลี่ยนแปลงไป อิเล็กตรอนที่โคจรรอบอะตอมจะมีระดับพลังงานที่เสถียรอยู่จำนวนหนึ่งในลักษณะของวงโคจรอะตอม และสามารถเปลี่ยนแปลงระดับไปมาระหว่างกันได้โดยการดูดซับหรือปลดปล่อยโฟตอนที่สอดคล้องกับระดับพลังงานที่ต่างกัน อิเล็กตรอนเหล่านี้เป็นตัวกำหนดคุณสมบัติทางเคมีของธาตุ และมีอิทธิพลอย่างมากต่อคุณสมบัติทางแม่เหล็กของอะตอม แนวคิดที่ว่าสสารประกอบด้วยหน่วยย่อยๆ ไม่ต่อเนื่องกันและไม่สามารถแบ่งออกเป็นชิ้นส่วนที่เล็กไปได้อีก เกิดขึ้นมานับเป็นพันปีแล้ว แนวคิดเหล่านี้มีรากฐานอยู่บนการให้เหตุผลทางปรัชญา นักปรัชญาได้เรียกการศึกษาด้านนี้ว่า ปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy) จนถึงยุคหลังจากเซอร์ ไอแซค นิวตัน จึงได้มีการบัญญัติศัพท์คำว่า 'วิทยาศาสตร์' (Science) เกิดขึ้น (นิวตันเรียกตัวเองว่าเป็น นักปรัชญาธรรมชาติ (natural philosopher)) ทดลองและการสังเกตการณ์ ธรรมชาติของอะตอม ของนักปรัชญาธรรมชาติ (นักวิทยาศาสตร์) ทำให้เกิดการค้นพบใหม่ ๆ มากมาย การอ้างอิงถึงแนวคิดอะตอมยุคแรก ๆ สืบย้อนไปได้ถึงยุคอินเดียโบราณในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล โดยปรากฏครั้งแรกในศาสนาเชน สำนักศึกษานยายะและไวเศษิกะได้พัฒนาทฤษฎีให้ละเอียดลึกซึ้งขึ้นว่าอะตอมประกอบกันกลายเป็นวัตถุที่ซับซ้อนกว่าได้อย่างไร ทางด้านตะวันตก การอ้างอิงถึงอะตอมเริ่มขึ้นหนึ่งศตวรรษหลังจากนั้นโดยลิวคิพพุส (Leucippus) ซึ่งต่อมาศิษย์ของเขาคือ ดีโมครีตุส ได้นำแนวคิดของเขามาจัดระเบียบให้ดียิ่งขึ้น ราว 450 ปีก่อนคริสตกาล ดีโมครีตุสกำหนดคำว่า átomos (ἄτομος) ขึ้น ซึ่งมีความหมายว่า "ตัดแยกไม่ได้" หรือ "ชิ้นส่วนของสสารที่เล็กที่สุดไม่อาจแบ่งแยกได้อีก" เมื่อแรกที่ จอห์น ดาลตัน ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับอะตอม นักวิทยาศาสตร์ในสมัยนั้นเข้าใจว่า 'อะตอม' ที่ค้นพบนั้นไม่สามารถแบ่งแยกได้อีกแล้ว ถึงแม้ต่อมาจะได้มีการค้นพบว่า 'อะตอม' ยังประกอบไปด้วย โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน แต่นักวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันก็ยังคงใช้คำเดิมที่ดีโมครีตุสบัญญัติเอาไว้ ลัทธินิยมคอร์พัสคิวลาร์ (Corpuscularianism) ที่เสนอโดยนักเล่นแร่แปรธาตุในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ซูโด-กีเบอร์ (Pseudo-Geber) หรือบางครั้งก็เรียกกันว่า พอลแห่งทารันโท แนวคิดนี้กล่าวว่าวัตถุทางกายภาพทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคขนาดละเอียดเรียกว่า คอร์พัสเคิล (corpuscle) เป็นชั้นภายในและภายนอก แนวคิดนี้คล้ายคลึงกับทฤษฎีอะตอม ยกเว้นว่าอะตอมนั้นไม่ควรจะแบ่งต่อไปได้อีกแล้ว ขณะที่คอร์พัสเคิลนั้นยังสามารถแบ่งได้อีกในหลักการ ตัวอย่างตามวิธีนี้คือ เราสามารถแทรกปรอทเข้าไปในโลหะอื่นและเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายในของมันได้ แนวคิดนิยมคอร์พัสคิวลาร์อยู่ยั่งยืนยงเป็นทฤษฎีหลักตลอดเวลาหลายร้อยปีต่อมา ในปี..

ใหม่!!: เคมีและอะตอม · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์

ร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ เมื่ออายุ 87 ปี ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ เมื่ออายุ 100 ปีเมื่อ พ.ศ. 2549 อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ (Albert Hofmann; 11 มกราคม พ.ศ. 2449 - 29 เมษายน พ.ศ. 2551) เป็นนักเคมีคนสำคัญของสวิตเซอร์แลนด์ ได้รับการขนานนามว่าเป็น "บิดาแห่งแอลเอสดี" เกิดที่เมืองบาเดิน สวิสเซอร์แลนด์ จบการศึกษาด้านเคมีจากมหาวิทยาลัยซูริก ขณะเรียนมีความสนใจเคมีที่เกี่ยวกับพืชและสัตว์ ซึ่งต่อมาได้นำไปสู่การค้นคว้าวิจัยงานสำคัญในโครงสร้างของสารที่มีอยู่ทั่วไปในสัตว์ คือ "ไคทิน" (สารหลักในเปลือกกุ้ง ปูและสัตว์ที่คล้ายกัน) ซึ่งเป็นหัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของฮอฟมานน์ ดร.อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ ได้เข้าทำงานในแผนกเภสัช-เคมีในสถานีทดลองของบริษัทแซนดอส (ปัจจุบันคือบริษัทโนวาร์ติส) เมืองบาเซิล โดยทำการวิจัยพืชหัวที่ใช้ทำยา และเออร์กอตของพวกเห็ดรา เพื่อนำมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการสังเคราะห์และทำความบริสุทธิ์ให้กับตัวยาสำคัญที่จะนำมาใช้ทางเภสัชกรรม อัลเบิร์ต ฮอฟมานน์เสียชีวิตด้วยภาวะหัวใจล้มในปี..

ใหม่!!: เคมีและอัลเบิร์ต ฮอฟมานน์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด โนเบล

อัลเฟร็ด เบิร์นฮาร์ท โนเบล (21 ตุลาคม พ.ศ. 2376, สตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2439, ซานเรโม ประเทศอิตาลี) นักเคมีชาวสวีเดน วิศวกร นักประดิษฐ์ ผู้ผลิตอาวุธและผู้คิดค้นดินระเบิดไดนาไมท์ เขาเป็นเจ้าของบริษัทโบโฟรส์ (Bofors) ซึ่งเป็นผู้ผลิตอาวุธรายใหญ่ โดยเขาได้เปลี่ยนแปลงบทบาทของโรงงานจากเดิมที่เป็นโรงงานเหล็กและเหล็กกล้า มาเป็นโรงผลิตปืนใหญ่ และอาวุธต่างๆ ในพินัยกรรมของเขา เขาได้ยกทรัพย์สมบัติจำนวนมหาศาลได้จากการผลิตอาวุธให้แก่สถาบันรางวัลโนเบล เพื่อมอบรางวัลแก่บุคคลที่สร้างคุณประโยชน์แก่มนุษยชาติ เรียกว่า รางวัลโนเบล และในโอกาสที่มีการสังเคราะห์ธาตุชนิดใหม่ขึ้น นักวิทยาศาสตร์ได้ตั้งชื่อธาตุนั้นตามชื่อของเขา เพื่อเป็นการให้เกียรติ ว่า โนเบเลียม (Nobelium).

ใหม่!!: เคมีและอัลเฟรด โนเบล · ดูเพิ่มเติม »

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย

อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยในที่นี้ เป็นการจัดอันดับสถาบันอุดมศึกษาของประเทศไทยโดยหน่วยงานของไทยเอง และนิตยสารของต่างประเทศ สำหรับหน่วยงานของไทย ในปี พ.ศ. 2549 นี้ ทางกระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้มีการจัดลำดับมหาวิทยาลัยรัฐในประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดย 2 หน่วยงาน คือ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) สำหรับในต่างประเทศได้มีการจัดทำอันดับมหาวิทยาลัยทั่วโลกจากทั้ง นิตยสารไทมส์ไฮเออร์เอดูเคชันซัปพลีเมนต์ นิตยสารเอเชียวีก บริษัท แควกเควเรลลี ไซมอนด์ส จำกัด, CWTS, CWUR ฯลฯ รวมทั้งการจัดอันดับความเป็นอิเล็กทรอนิกส์และการเข้าถึงเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยจากเว็บไซต์เว็บโอเมตริกซ์ โดยมหาวิทยาลัยในประเทศไทยบางส่วนได้ถูกเสนอชื่อเข้าไปในนั้น ในขณะที่บางลำดับเช่นจาก มหาวิทยาลัยเซี่ยงไฮ้เจียวถง ไม่มีรายชื่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทยแต่อย่างใ.

ใหม่!!: เคมีและอันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เชอร์ มาร์ติน

อาร์เชอร์ จอห์น พอร์เตอร์ มาร์ติน (Archer John Porter Martin; 1 มีนาคม ค.ศ. 1910 – 28 กรกฎาคม ค.ศ. 2002) เป็นนักเคมีชาวอังกฤษ เกิดที่กรุงลอนดอน เป็นบุตรของวิลเลียม อาร์เชอร์ พอร์เตอร์ มาร์ตินและลิเลียน เคต มาร์ติน (นามสกุลเดิม บราวน์) มาร์ตินเรียนที่โรงเรียนเบดฟอร์ดและเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ หลังเรียนจบมาร์ตินทำงานที่ห้องปฏิบัติการเคมีฟิสิกส์และย้ายไปทำงานที่ห้องปฏิบัติการโภชนาการดันน์ในเคมบริดจ์ ในปี..

ใหม่!!: เคมีและอาร์เชอร์ มาร์ติน · ดูเพิ่มเติม »

อาดอล์ฟ ชเตรคเคอร์

การสังเคราะห์กรดอะมิโนแบบชเตรคเคอร์ อาดอล์ฟ ชเตรคเคอร์ (Adolph Strecker; 21 ตุลาคม ค.ศ. 1822 – 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1871) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองดาร์มสตัดท์ เป็นบุตรของลุดวิจ ชเตรคเคอร์ เรียนที่โรงเรียนในเมืองดาร์มสตัดท์ ก่อนจะเรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยกีสเซิน หลังเรียนจบ ชเตรคเคอร์กลับไปเป็นครูที่ดาร์มสตัดท์ ก่อนจะทำงานเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์และอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยกีสเซิน ในปี..

ใหม่!!: เคมีและอาดอล์ฟ ชเตรคเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาเมเดโอ อาโวกาโดร

เคานต์ โลเรนโซ โรมาโน อาเมเดโอ อาโวกาโดร เคานต์ โลเรนโซ โรมาโน อาเมเดโอ การ์โล อาโวกาโดร ดี กวาเรญญา เอ แชร์เรโต (Count Lorenzo Romano Amedeo Carlo Avogadro di Quaregna e Cerreto; 9 สิงหาคม พ.ศ. 2319 – 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2399) นักวิทยาศาสตร์สาขาเคมีชาวอิตาลี เกิดที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี ผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้สร้างทฤษฎี “โมลาริตี” ที่ว่าด้วยน้ำหนักโมเลกุล เลขอาโวกาโดร และ กฎอาโวกาโดร ที่ปรากฏในวิชาเคมีตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา ในปี พ.ศ. 2354 อาโวกาโดรได้สร้างสมมุติฐานที่เรียกในเวลาต่อมาว่า “กฎอาโวกาโดร” ดังกล่าว ที่ว่าบริมาตรของแก๊สจะมีจำนวนโมเลกุลเท่ากันถ้าอยู่ภายใต้ความดันที่เท่ากันและมีอุณหภูมิเท่ากัน สมมุติฐานนี้ไม่ได้รับการยอมรับจนกระทั่งเมื่อ “แคนนิซซาโร” พิสูจน์ได้เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2394- พ.ศ. 2402 อาโวกาโดรดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์สาขาฟิสิกส์ที่มหาวิทยาลัยตูรินระหว่าง พ.ศ. 2377- พ.ศ. 2402.

ใหม่!!: เคมีและอาเมเดโอ อาโวกาโดร · ดูเพิ่มเติม »

อุณหพลศาสตร์

แผนภาพระบบอุณหพลศาสตร์ทั่วไป แสดงพลังงานขาเข้าจากแหล่งความร้อน (หม้อน้ำ) ทางด้านซ้าย และพลังงานขาออกไปยังฮีทซิงค์ (คอนเดนเซอร์) ทางด้านขวา ในกรณีนี้มีงานเกิดขึ้นจากการทำงานของกระบอกสูบ อุณหพลศาสตร์ (/อุน-หะ-พะ-ละ-สาด/ หรือ /อุน-หะ-พน-ละ-สาด/) หรือ เทอร์โมไดนามิกส์ (Thermodynamics; มาจากภาษากรีก thermos.

ใหม่!!: เคมีและอุณหพลศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

อุไรวรรณ ศิวะกุล

อุไรวรรณ ศิวะกุล (สกุลเดิม ทัฬหพงศ์พันธุ์) หรือ อาจารย์อุ๊ อาจารย์สอนพิเศษวิชาเคมีเจ้าของ "โรงเรียนกวดวิชาวรรณสรณ์" (เคมี อาจารย์อุ๊) ร่วมกับสามี นายอนุสรณ์ ศิวะกุล ตั้งแต..

ใหม่!!: เคมีและอุไรวรรณ ศิวะกุล · ดูเพิ่มเติม »

อีปอลิต แมฌ-มูเรียส

อีปอลิต แมฌ-มูเรียส (Hippolyte Mège-Mouriès; 24 ตุลาคม ค.ศ. 1817 – 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1880) เป็นนักเคมีชาวฝรั่งเศส เกิดในปี..

ใหม่!!: เคมีและอีปอลิต แมฌ-มูเรียส · ดูเพิ่มเติม »

อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี

อีแรน ฌอลีโย-กูว์รี (Irène Joliot-Curie; 12 กันยายน พ.ศ. 2440 – 17 มีนาคม พ.ศ. 2499) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เธอเป็นลูกสาวของมารี กูว์รี และปีแยร์ กูว์รี และเป็นภรรยาของเฟรเดริก ฌอลีโย-กูว์รี เธอได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีร่วมกับสามีของเธอจากการค้นพบกัมมันตรังสีเหนี่ยวนำ ทำให้ครอบครัวกูว์รีเป็นครอบครัวที่มีผู้ได้รับรางวัลโนเบลมากที่สุดในขณะนั้นเอแลนและปีแยร์ บุตรของอีแรนกับเฟรเดริกก็เป็นนักวิทยาศาสตร์เช่นกัน.

ใหม่!!: เคมีและอีแรน ฌอลีโย-กูว์รี · ดูเพิ่มเติม »

อ็องตวน ลาวัวซีเย

อ็องตวน-โลร็อง เดอ ลาวัวซีเย (Antoine-Laurent de Lavoisier; 26 สิงหาคม พ.ศ. 2286 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2337) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสผู้ซึ่งต้องจบชีวิตลงโดยกิโยติน เขามีผลงานสำคัญคือ ได้ตั้งกฎการอนุรักษ์มวล (หรือกฎทรงมวล) และการล้มล้างทฤษฎีโฟลจิสตัน ซึ่งเป็นประโยชน์มากในการศึกษาวิชาเคมี.

ใหม่!!: เคมีและอ็องตวน ลาวัวซีเย · ดูเพิ่มเติม »

อ็องแซลม์ ปาแย็ง

อ็องแซลม์ ปาแย็ง (Anselme Payen; 6 มกราคม ค.ศ. 1795 – 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1878) เป็นนักเคมีชาวฝรั่งเศส เกิดที่กรุงปารีส ได้รับการศึกษาจากบิดาก่อนจะเรียนต่อด้านเคมีที่วิทยาลัยสารพัดช่าง (École Polytechnique) เมื่อปาแย็งอายุได้ 23 ปี เขาทำงานเป็นผู้จัดการโรงงานผลิตบอแรกซ์ ปาแย็งพัฒนากระบวนการสังเคราะห์บอแรกซ์จากโซเดียมและกรดบอริก วิธีนี้ช่วยลดการนำเข้าบอแรกซ์จากอินเดียตะวันออกและสิ้นสุดการผูกขาดตลาดการค้าบอแรกซ์ของดัตช์ นอกจากนี้เขายังพัฒนากระบวนการผลิตน้ำตาล แป้งและแอลกอฮอล์จากมันฝรั่ง คิดค้นวิธีคำนวณหาปริมาณไนโตรเจนและประดิษฐ์ดีคัลเลอริมิเตอร์ (decolorimeter) เพื่อใช้ศึกษาคุณสมบัติของน้ำตาล ในปี..

ใหม่!!: เคมีและอ็องแซลม์ ปาแย็ง · ดูเพิ่มเติม »

อ็องเดร-มารี อ็องแปร์

นของอ็องแปร์กับบุตรชาย อ็องเดร-มารี อ็องแปร์ (André-Marie Ampère; 22 มกราคม ค.ศ. 1775 — 10 มิถุนายน ค.ศ. 1836) เป็นนักฟิสิกส์และนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ผู้ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้ค้นพบทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า หน่วย SI ของการวัดกระแสไฟฟ้า โดยชื่อของหน่วยแอมแปร์ ได้ตั้งตามชื่อของ.

ใหม่!!: เคมีและอ็องเดร-มารี อ็องแปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮัมฟรี เดวี

ซอร์ ฮัมฟรี เดวี, บารอนเน็ตที่ 1 (Sir Humphry Davy, 1st Baronet) (17 ธันวาคม ค.ศ. 1778 - 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1829) เป็นนักเคมีและนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษDavid Knight, ‘Davy, Sir Humphry, baronet (1778–1829)’, Oxford Dictionary of National Biography, Oxford University Press, 2004 เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ค้นพบโลหะแอลคาไลและโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท และยังค้นพบธาตุคลอรีนและไอโอดีน ในปี..

ใหม่!!: เคมีและฮัมฟรี เดวี · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ ฟิชเชอร์

ันส์ ฟิชเชอร์ (Hans Fischer; 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1881 – 31 มีนาคม ค.ศ. 1945) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองเฮิคสต์อัมไมน์ เป็นบุตรของดร.

ใหม่!!: เคมีและฮันส์ ฟิชเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ผับเคม

ัญลักษณ์ PubChem PubChem เป็นฐานข้อมูลของโมเลกุลเคมี ระบบนี้ถูกดูแลรักษาโดยศูนย์ข้อมูลเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (National Center for Biotechnology Information-NCBI) ซึ่งเป็นของสถาบันสุขภาพแห่งชาติ (National Institutes of Health-NIH) ของประเทศสหรัฐอเมริกา PubChem ให้บริการฟรีโดยผ่านเว็บยูสเวอร์อินเตอร์เฟซ (web user interface) PubChem จะมีข้อมูลส่วนใหญ่ของโมเลกุลขนาดเล็กซึ่งมีน้ำหนักโมเลกุลต่ำกว่า 500 สมาคมเคมีอเมริกัน (American Chemical Society) พยายามขอร้องให้รัฐสภาอเมริกันจำกัดการปฏิบัติงานของ PubChem เพราะไปก้าวก่ายงานบริการบทคัดย่อทางเคมี (Chemical Abstracts Service) ของสมาคม.

ใหม่!!: เคมีและผับเคม · ดูเพิ่มเติม »

ผักตบชวา

ผักตบชวา เป็นพืชน้ำล้มลุกอายุหลายฤดู สามารถอยู่ได้ทุกสภาพน้ำ มีถิ่นกำเนิดในแถบลุ่มน้ำแอมะซอน ประเทศบราซิล ในทวีปอเมริกาใต้ มีดอก สีม่วงอ่อน คล้ายช่อดอกกล้วยไม้ และแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วจนกลายเป็นวัชพืชที่ร้ายแรงในแหล่งน้ำทั่วไป มีชื่อเรียกในแต่ละท้องถิ่นดังนี้: ผักปอด, สวะ, ผักโรค, ผักตบชวา, ผักยะวา, ผักอีโยก, ผักป่อง.

ใหม่!!: เคมีและผักตบชวา · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว

ัง บัปติสต์ ปาลเลอกัวซ์ พร้อมด้วยเด็กไทยชื่อแก้ว และเด็กญวนชื่อชมถ่ายที่ปารีส เมื่อ พ.ศ. 2397 ฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว (Jean-Baptiste Pallegoix.) หรือที่รู้จักในนามพระสังฆราชปัลเลอกัวซ์ เป็นบาทหลวงสังกัดคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส ปฏิบัติหน้าที่มิชชันนารีในประเทศไทยในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีสมณศักดิ์เป็นประมุขมิสซังสยามตะวันออก (apostolic vicar of Eastern Siam) และมุขนายกเกียรตินามแห่งมาลลอสหรือมัลลุส (titular bishop of Mallos/Mallus) ท่านได้นำวิทยาการการถ่ายรูปเข้ามาในประเทศไทย และนอกจากนี้ท่านยังจัดทำพจนานุกรมสี่ภาษาเล่มแรกของไทยขึ้นชื่อ สัพะ พะจะนะ พาสา ไท โดยมีภาษาทั้งสี่ที่ว่านี้คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส และภาษาละติน.

ใหม่!!: เคมีและฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว · ดูเพิ่มเติม »

จลนพลศาสตร์เคมี

อัตราการเกิดปฏิกิริยามีแนวโน้มที่จะเพิ่มตามความเข้มข้น - ปรากฏการณ์อธิบายได้โดย ทฤษฎีการปะทะ จลนพลศาสตร์เคมี (Chemical kinetics) เป็นสาขาหนึ่งของวิชาเคมี ที่ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการทำปฏิกิริยาเคมีของสารต่างๆ ทั้งในด้านปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี, กลไกในการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสถานะกัมมันต์ และรวมไปถึงการสร้างสมการคณิตศาสตร์เพื่ออธิบัยการดำเนินไปของปฏิกิริยาเคมี ในปี ค.ศ. 1864 ปีเตอร์ วาจจ์ และคาโต กุลด์เบิร์ก ถือเป็นผู้แรกในการอ้างถึงความสัมพันธ์ของความเร็วในการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณของสารเคมีในร.

ใหม่!!: เคมีและจลนพลศาสตร์เคมี · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ซ่ง

ซ่ง ช่างเจี๋ย (27 กันยายน 1901 – 18 สิงหาคม 1944) หรือ จอห์น ซ่ง (John Sung) เป็นผู้ประกาศข่าวประเสริฐนิกายโปรเตสแตนต์ชาวจีน ผู้มีบทบาทสำคัญในการนำการฟื้นฟูความเชื่อในหมู่ชาวจีนแผ่นดินใหญ่ ไต้หวัน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในระหว่างปี..

ใหม่!!: เคมีและจอห์น ซ่ง · ดูเพิ่มเติม »

จิตต์ลัดดา ศักดาภิพาณิชย์

ตราจารย์ ดร.จิตต์ลัดดา ศักดาภิพาณิชย์ ศาสตราจารย์ จิตต์ลัดดา ศักดาภิพาณิชย์ เกิดวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย สาขาเคมีและ พอลิเมอร์ เชี่ยวชาญเป็นพิเศษในเรื่องของเทคโนโลยียาง การวิเคราะห์และพัฒนาการใช้ประโยชน์จากยางธรรมชาติ โดยได้ร่วมมือกับบริษัทเอกชนหลายๆ แห่ง พัฒนานวัตกรรมด้านกระบวนการผลิต สร้างมูลค่าเพิ่มให้ ‘ยางสกิม’ โดยใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตกาวที่ใช้ในการแพทย์ และใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตหมากฝรั่ง ซึ่งนับเป็นกรณีแรกของงานวิจัยในเชิงเทคโนโลยีของโลก ที่นำน้ำยางธรรมชาติไปใช้ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ทางอาหารได้ จนสามารถคว้ารางวัลรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจำปี..

ใหม่!!: เคมีและจิตต์ลัดดา ศักดาภิพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดภาพชัดเสื่อม

ัดเสื่อม (macular degeneration) หรือ จุดภาพชัดเสื่อมเนื่องกับอายุ (age-related macular degeneration ตัวย่อ AMD, ARMD) เป็นโรคที่ทำให้มองไม่ชัดหรือมองไม่เห็นที่กลางลานสายตา เริ่มแรกสุดบ่อยครั้งจะไม่มีอาการอะไร ๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไป บางคนจะมองเห็นแย่ลงเรื่อย ๆ ที่ตาข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง แม้จะไม่ทำให้ตาบอดโดยสิ้นเชิง การมองไม่เห็นในส่วนกลางก็จะทำให้กิจกรรมในชีวิตต่าง ๆ ทำได้ยากรวมทั้งจำหน้าคน ขับรถ อ่านหนังสือเป็นต้น การเห็นภาพหลอนอาจเกิดขึ้นโดยไม่ใช่เป็นส่วนของโรคจิต จุดภาพชัดเสื่อมปกติจะเกิดกับคนสูงอายุ ปัจจัยทางพันธุกรรมและการสูบบุหรี่ก็มีผลด้วย เป็นอาการเนื่องกับความเสียหายต่อจุดภาพชัด (macula) ที่จอตา การวินิจฉัยทำได้ด้วยการตรวจตา ความรุนแรงของอาการจะแบ่งออกเป็นระยะต้น ระยะกลาง และระยะปลาย ระยะปลายยังแบ่งออกเป็นแบบแห้ง (dry) และแบบเปียก (wet) โดยคนไข้ 90% จะเป็นแบบแห้ง การป้องกันรวมทั้งการออกกำลังกาย ทานอาหารให้ถูกสุขภาพ และไม่สูบบุหรี่ วิตามินต่อต้านอนุมูลอิสระและแร่ธาตุดูเหมือนจะไม่ช่วยป้องกัน ไม่มีวิธีแก้หรือรักษาการเห็นที่สูญไปแล้ว ในรูปแบบเปียก การฉีดยาแบบ anti-VEGF (Anti-vascular endothelial growth factor) เข้าที่ตา หรือการรักษาอื่น ๆ ที่สามัญน้อยกว่ารวมทั้งการยิงเลเซอร์ (laser coagulation) หรือ photodynamic therapy อาจช่วยให้ตาเสื่อมช้าลง อาหารเสริมรวมทั้งวิตามินและแร่ธาตุสำหรับคนไข้ที่มีโรคอาจช่วยชะลอความเสื่อมด้วย ในปี 2015 โรคนี้มีผลต่อคนไข้ 6.2 ล้านคนทั่วโลก ในปี 2013 มันเป็นเหตุให้ตาบอดเป็นอันดับสี่หลังต้อกระจก การเกิดก่อนกำหนด และต้อหิน มันเกิดบ่อยที่สุดในผู้มีอายุเกิน 50 ปีในสหรัฐอเมริกา และเป็นเหตุเสียการเห็นซึ่งสามัญที่สุดในคนกลุ่มอายุนี้ คนประมาณ 0.4% ระหว่างอายุ 50-60 ปีมีโรคนี้ เทียบกับ 0.7% ของคนอายุ 60-70 ปี, 2.3% ของคนอายุ 70-80 ปี, และ 12% ของคนอายุเกิน 80 ปี.

ใหม่!!: เคมีและจุดภาพชัดเสื่อม · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีวิทยา

The Blue Marble: ภาพนี้เป็นภาพถ่ายของโลก เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1972 ที่ถ่ายโดยแฮร์ริสสัน ชมิตต์ (Harrison Schmitt) นักธรณีวิทยาคนแรกที่ร่วมเดินทางไปกับยานอวกาศอะพอลโล 17 (Apollo 17) ที่เดินทางไปยังดวงจันทร์ ธรณีวิทยา, ธรณีศาสตร์ (Geology จากγη- (''เก-'', โลก) และ λογος (''ลอกอส'', ถ้อยคำ หรือ เหตุผล).) เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับโลก สสารต่าง ๆ ที่เป็นส่วนประกอบของโลก เช่น แร่ หิน ดินและน้ำ รวมทั้งกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ ตั้งแต่กำเนิดโลกจนถึงปัจจุบัน เป็นการศึกษาทั้งในระดับโครงสร้าง ส่วนประกอบทางกายภาพ เคมี และชีววิทยา ทำให้รู้ถึงประวัติความเป็นมา และสภาวะแวดล้อมในอดีตจนถึงปัจจุบัน ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นผิว วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ตลอดจนรูปแบบ และวิธีการนำเอาทรัพยากรธรรมชาติ มาใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนอีกด้วย นักธรณีวิทยาศึกษาพบว่าโลกมีอายุประมาณ 4,500 ล้านปี (4.5x109 ปี) และเห็นตรงกันว่าเปลือกโลกแยกออกเป็นหลายแผ่น เรียกว่าแผ่นเปลือกโลก แต่ละแผ่นเคลื่อนที่อยู่เหนือเนื้อโลกหรือแมนเทิลที่มีสภาวะกึ่งหลอมเหลว เรียกกระบวนการนี้ว่าการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก นอกจากนี้ นักธรณีวิทยายังทำหน้าที่ระบุตำแหน่งและจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติ เช่น แหล่งหิน แหล่งแร่ แหล่งปิโตรเลียมเช่น น้ำมันและถ่านหิน รวมทั้งโลหะอย่างเหล็ก ทองแดง และยูเรเนียม วิชาธรณีวิทยา มีความเกี่ยวข้องกับหลากหลายสาขาวิชา เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ มีการบูรณการความรู้จากหลากหลายวิชา เพื่อวิเคราะห์หาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นบนโลก โดยสามารถแบ่งออกเป็นหลากหลายสาขาวิชา เช่น ธรณีวิทยากายภาพ (Physical Geology) ธรณีวิทยาโครงสร้าง (Structural Geology) ธรณีวิทยาแปรสัณฐาน (Geotectonics, Tectonics) ตะกอนวิทยา (Sedimentology) ธรณีสัณฐานวิทยา (Geomorphology) ธรณีเคมี (Geochemistry) ธรณีฟิสิกส์ (Geophysics) ธรณีอุทกวิทยา (Geohydrology) บรรพชีวินวิทยา (Paleontology) เป็นต้น '''การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก''' วิชาธรณีวิทยานอกโลก ศึกษาองค์ประกอบทางธรณีวิทยาของวัตถุในระบบสุริยะ อย่างไรก็ตาม ยังมีศัพท์เฉพาะอื่น ๆ ที่ใช้เรียกธรณีวิทยานอกโลก เช่น "ศศิวิทยา" (selenology) ศึกษาธรณีวิทยาบนดวงจันทร์, areology ศึกษาธรณีวิทยาบนดาวอังคาร เป็นต้น วิชาธรณีวิทยา สามารถตอบปัญหาต่างๆ มากมาย ที่เกี่ยวข้องกับ วิวัฒนาการของโลก ดาวเคราะห์ และ จักรวาล ธรณีพิบัติภัย ภูเขาไฟ แผ่นดินไหว รอยเลื่อน สึนามิ อุทกภัย น้ำท่วม น้ำหลาก การกัดเซาะ ดินถล่ม หลุมยุบ ภูเขา แม่น้ำ ทะเล มหาสมุทร ทะเลทราย ไดโนเสาร์ ซากดึกดำบรรพ์หรือบรรพชีวินหรือฟอสซิล บั้งไฟพญานาค ไม้กลายเป็นหิน ถ่านหิน น้ำมัน ปิโตรเลียม เชื้อเพลิง แหล่งแร่ เหล็กไหล อุลกมณี โลกศาสตร.

ใหม่!!: เคมีและธรณีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

ธรณีเคมี

รณีเคมี (Geochemistry) เป็นวิทยาศาสตร์ ที่ใช้เป็นเครื่องมือและหลักการทางเคมี เพื่ออธิบายกลไกที่อยู่เบื้องหลังระบบธรณีวิทยาที่สำคัญ ๆ เช่น เปลือกโลก และมหาสมุทร ในขอบเขตของธรณีเคมีขยายไปไกลกว่าของโลก, การครอบคลุมทั้งระบบสุริยะ และมีส่วนร่วมสำคัญในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการต่างๆรวมถึง การพาความร้อนของเปลือกโลกในชั้นหลอมเหลว (Mantle convection),การก่อตัวของดาวเคราะห์และต้นกำเนิดของหินแกรนิต และหินบะซอลต.

ใหม่!!: เคมีและธรณีเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุ

ในทางเคมี ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานเลขอะตอม อันเป็นจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ตัวอย่างธาตุที่คุ้นเคยกัน เช่น คาร์บอน ออกซิเจน อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง ทองคำ ปรอทและตะกั่ว จนถึงเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: เคมีและธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุหลังยูเรเนียม

ตุกัมมันตรังสีอย่างรุนแรง ธาตุเหล่านี้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพวกมันน้อยมากเนื่องจากความไม่เสถียรและกัมมันตภาพรังสี ในทางเคมี ธาตุหลังยูเรเนียม (transuranium element, transuranic element) เป็นธาตุเคมีซึ่งมีเลขอะตอมมากกว่า 92 (เลขอะตอมของยูเรเนียม) ธาตุเหล่านี้เป็นธาตุไม่เสถียรและจะสลายตัวให้รังสีจนกลายสภาพไปเป็นธาตุอื่น.

ใหม่!!: เคมีและธาตุหลังยูเรเนียม · ดูเพิ่มเติม »

ธาตุเรพริเซนเททิฟ

ในเคมีและฟิสิกส์อะตอม ธาตุเรพริเซนเททิฟ (representative element) เป็นกลุ่มของธาตุในที่มีธาตุที่เบาที่สุดของแต่ละกลุ่ม ได้แก่ ฮีเลียม ลิเทียม เบริลเลียม โบรอน คาร์บอน ไนโตรเจน ออกซิเจน และฟลูออรีนซึ่งจัดอยู่ในตารางธาตุแล้ว ลิเทียมและเบริลเลียมอยู่ในบล็อก-s ธาตุที่เหลืออยู่ในบล็อก-p ในบางครั้งธาตุหมู่ 12 ซึ่งประกอบไปด้วยสังกะสี (Zn) แคดเมียม (Cd) และปรอท (Hg) ก็อาจจะถูกรวมเป็นธาตุเรพริเซนเททิฟด้วย และยังมีนักวิทยาศาสตร์บางครั้งที่สนับสนุนเรื่องนี้.

ใหม่!!: เคมีและธาตุเรพริเซนเททิฟ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีอะตอม

ในวิชาเคมีและฟิสิกส์ ทฤษฎีอะตอมคือทฤษฎีที่ว่าด้วยธรรมชาติของสสาร ซึ่งกล่าวว่า สสารทุกชนิดประกอบด้วยหน่วยเล็กๆ ที่เรียกว่า อะตอม ซึ่งตรงกันข้ามกับแนวคิดดั้งเดิมที่แบ่งสสารออกเป็นหน่วยเล็กหลายชนิดตามแต่อำเภอใจ แนวคิดนี้เริ่มต้นเป็นแนวคิดเชิงปรัชญาของชาวกรีกโบราณ (ดีโมครีตุส) และชาวอินเดีย ต่อมาได้เข้ามาสู่วิทยาศาสตร์กระแสหลักในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อมีการค้นพบในสาขาวิชาเคมีซึ่งพิสูจน์ว่า พฤติกรรมของสสารนั้นดูเหมือนมันประกอบขึ้นด้วยอนุภาคขนาดเล็ก คำว่า "อะตอม" (จากคำกริยาในภาษากรีกโบราณว่า atomos, 'แบ่งแยกไม่ได้') ถูกนำมาใช้เรียกอนุภาคพื้นฐานที่ประกอบกันขึ้นเป็นธาตุเคมี เพราะนักเคมีในยุคนั้นเชื่อว่ามันคืออนุภาคมูลฐานของสสาร อย่างไรก็ดี เมื่อเข้าสู่คริสต์ศตวรรษที่ 20 การทดลองจำนวนมากเกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟ้าและสารกัมมันตรังสี ทำให้นักฟิสิกส์ค้นพบว่าสิ่งที่เราเรียกว่า "อะตอมซึ่งแบ่งแยกไม่ได้อีก" นั้นที่จริงแล้วยังประกอบไปด้วยอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอมอีกจำนวนมาก (ตัวอย่างเช่น อิเล็กตรอน โปรตอน และนิวตรอน) ซึ่งสามารถแยกแยะออกจากกันได้ อันที่จริงแล้วในสภาวะแวดล้อมสุดโต่งดังเช่นดาวนิวตรอนนั้น อุณหภูมิและความดันที่สูงอย่างยิ่งยวดกลับทำให้อะตอมไม่สามารถดำรงอยู่ได้เลยด้วยซ้ำ เมื่อพบว่าแท้จริงแล้วอะตอมยังแบ่งแยกได้ ในภายหลังนักฟิสิกส์จึงคิดค้นคำว่า "อนุภาคมูลฐาน" (elementary particle) เพื่อใช้อธิบายถึงอนุภาคที่แบ่งแยกไม่ได้ วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอมนี้เรียกว่า ฟิสิกส์อนุภาค (particle physics) ซึ่งนักฟิสิกส์ในสาขานี้หวังว่าจะสามารถค้นพบธรรมชาติพื้นฐานที่แท้จริงของอะตอมได้.

ใหม่!!: เคมีและทฤษฎีอะตอม · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า

ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetism) เป็นสาขาหนึ่งของวิชาฟิสิกส์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา แรงแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งเป็นปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นระหว่างอนุภาคใดๆที่มีประจุไฟฟ้า แรงแม่เหล็กไฟฟ้ามักจะแสดงสนามแม่เหล็กไฟฟ้าเช่นสนามไฟฟ้า, สนามแม่เหล็ก, และแสง แรงแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหนึ่งในสี่ปฏิสัมพันธ์พื้นฐานในธรรมชาติ อีกสามแรงพื้นฐานได้แก่ อันตรกิริยาอย่างเข้ม, อันตรกิริยาอย่างอ่อน และแรงโน้มถ่วง ฟ้าผ่าเป็นการระบายออกของไฟฟ้าสถิตแบบหนึ่งที่ไฟฟ้าสถิตจะเดินทางระหว่างสองภูมิภาคท​​ี่มีประจุไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้ามาจากภาษาอังกฤษ electromagnet คำนี้ป็นรูปแบบผสมของคำภาษากรีกสองคำได้แก่ ἤλεκτρον หมายถึง อิเล็กตรอน และ μαγνῆτιςλίθος (Magnetis Lithos) ซึ่งหมายถึง "หินแม่เหล็ก" ซึ่งเป็นแร่เหล็กชนิดหนึ่ง วิทยาศาสตร์ของปรากฏการณ์แม่เหล็กไฟฟ้าถูกกำหนดไว้ในความหมายของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า บางครั้งถูกเรียกว่าแรงลอเรนซ์ (Lorentz force) ซึ่งประกอบด้วยทั้งไฟฟ้าและแม่เหล็กในฐานะที่เป็นสององค์ประกอบของปรากฏการณ์ แรงแม่เหล็กไฟฟ้ามีบทบาทสำคัญในการกำหนดคุณสมบัติภายในของวัตถุส่วนใหญ่ที่พบในชีวิตประจำวัน สสารทั่วไปจะได้รูปแบบของมันจากผลของแรงระหว่างโมเลกุลของโมเลกุลแต่ละตัวในสสาร อิเล็กตรอนจะถูกยึดเหนี่ยวตามกลไกคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเข้ากับวงโคจรรอบนิวเคลียสเพื่อก่อตัวขึ้นเป็นอะตอมซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักของโมเลกุล กระบวนการนี้จะควบคุมกระบวนการที่เกี่ยวข้องทั้งหลายในทางเคมีซึ่งเกิดขึ้นจากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างอิเล็กตรอนในวงโคจรของอะตอมหนึ่งกับอิเล็กตรอนอื่นในวงโคจรของอะตอมที่อยู่ใกล้เคียงซึ่งจะถูกกำหนดโดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างแรงแม่เหล็กไฟฟ้ากับโมเมนตัมของอิเล็กตรอนเหล่านั้น มีคำอธิบายของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าทางคณิตศาสตร์จำนวนมาก ในไฟฟ้าพลศาสตร์แบบคลาสสิก (classical electrodynamics) สนามไฟฟ้าจะอธิบายถึงศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า ในกฎของฟาราเดย์ สนามแม่เหล็กจะมาพร้อมกับการเหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้าและแม่เหล็ก, และสมการของแมกซ์เวลจะอธิบายว่า สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กถูกสร้างขึ้นได้อย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงซึ่งกันและกันอย่างไร และมีการเปลี่ยนแปลงโดยประจุและกระแสได้อย่างไร การแสดงเจตนาเป็นนัยในทางทฤษฎีของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า โดยเฉพาะในการจัดตั้งของความเร็วของแสงที่ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของ "ตัวกลาง" ของการกระจายคลื่น (ความสามารถในการซึมผ่าน (permeability) และแรงต้านสนามไฟฟ้า (permittivity)) นำไปสู่​​การพัฒนาทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษโดย อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ในปี 1905 แม้ว่าแรงแม่เหล็กไฟฟ้าถือเป็นหนึ่งในสี่แรงพื้นฐาน แต่ที่ระดับพลังงานสูงอันตรกิริยาอย่างอ่อนและแรงแม่เหล็กไฟฟ้าถูกรวมเป็นสิ่งเดียวกัน ในประวัติศาสตร์ของจักรวาล ในช่วงยุคควาร์ก แรงไฟฟ้าอ่อน (electroweak) จะหมายถึงแรง(แม่เหล็ก)ไฟฟ้า + (อันตรกิริยาอย่าง)อ่อน.

ใหม่!!: เคมีและทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ทอร์เบิร์น เบิร์กมัน

ทอร์เบิร์น โอลอฟ เบิร์กมัน (Torbern Olof Bergman; 20 มีนาคม ค.ศ. 1735 – 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1784) เป็นนักเคมีและนักวิทยาแร่ชาวสวีเดน เกิดที่เมืองคาทารินเบิร์ก (ปัจจุบันอยู่ในประเทศสาธารณรัฐเช็ก) เป็นบุตรของบาร์โธลด์ เบิร์กมันและซารา แฮก เบิร์กมันเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยอุปซอลาเมื่ออายุได้ 17 ปี โดยบิดาต้องการให้เขาเรียนกฎหมายและศาสนา ในขณะที่ตัวเบิร์กมันเองอยากเรียนคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา เบิร์กมันทำงานอย่างหนักจนต้องหยุดเรียน ระหว่างหยุดเรียน เบิร์กมันสนใจด้านพฤกษศาสตร์และกีฏวิทยา และส่งตัวอย่างแมลงชนิดใหม่ ๆ หลายชนิดไปให้คาโรลัส ลินเนียส ในปี..

ใหม่!!: เคมีและทอร์เบิร์น เบิร์กมัน · ดูเพิ่มเติม »

ทาเดอุช ไรค์สไตน์

ทาเดอุช ไรค์สไตน์ (Tadeusz Reichstein; 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1897 – 1 สิงหาคม ค.ศ. 1996) เป็นนักเคมีชาวโปแลนด์/สวิส เกิดในครอบครัวชาวยิวที่เมืองววอตซวาเวก เป็นบุตรของแกสตาวา บร็อคมันน์กับอิซิดอร์ ไรค์สไตน์ เขาใช้ชีวิตวัยเด็กในเมืองเคียฟและเรียนหนังสือที่เมืองเยนา ก่อนจะย้ายไปอยู่ที่เมืองซูริกและเข้าเรียนที่สถาบันเทคโนโลยีแห่งสมาพันธรัฐสวิส (ETH) หลังเรียนจบ ไรค์สไตน์ทำงานเป็นอาจารย์และผู้ช่วยศาสตราจารย์ที่นั่น ในปี..

ใหม่!!: เคมีและทาเดอุช ไรค์สไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการ

ในศาสตร์ของปัญญาประดิษฐ์ นั้น ขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary algorithm) เป็นหนึ่งในเรื่องของการคำนวณเชิงวิวัฒนาการ (evolutionary computation) ที่ใช้ฐานประชากรโดยทั่วไปของขั้นตอนวิธีแบบเมตาฮิวริสติกที่เหมาะสมที่สุด (metaheuristic optimization algorithm) โดยขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการนั้น ใช้กระบวนการที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการวิวัฒนาการทางชีววิทยา อันได้แก่ การสืบพันธุ์ (reproduction) การกลายพันธุ์ (mutation) การแลกเปลี่ยนยีน (recombination) และการคัดเลือก (selection) โดยจะมีผลเฉลยที่สามารถเลือกได้ (candidate solution) แทนประชากร และฟังก์ชันคุณภาพ (quality function) ในการคัดเลือกประชากรที่เหมาะสมตามสภาพแวดล้อมที่กำหนดไว้ ขึ้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการนี้มักจะใช้ได้ดีสำหรับการหาผลเฉลยของปัญหาในทุกๆ ด้าน เนื่องจากสามารถพัฒนาผลเฉลยที่มีไปยังผลเฉลยที่ถูกต้องได้อย่างรวดเร็ว ทำให้มันประสบความสำเร็จในหลายๆ ด้านของปัญหา เช่น วิศวกรรม ศิลปกรรม ชีวภาพ เศรษฐศาสตร์ การตลาด พันธุศาสตร์ การค้นคว้าวิจัย การออกแบบหุ่นยนต์ วิทยาศาสตร์ด้านสังคม ฟิสิกส์ รัฐศาสตร์ และ เคมี นอกจากการใช้งานด้านคณิตศาสตร์แล้ว ขั้นตอนวิธีและการคำนวณเชิงวิวัฒนาการยังถูกใช้เป็นข่ายงานในการทดลองในเรื่องการตรวจสอบความสมเหตุสมผลในทฤษฎีที่เกี่ยวกับการวิวัฒนาการและการคัดเลือกทางธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในข่ายของงานที่เกี่ยวข้องกับชีวประดิษฐ์ (artificial life).

ใหม่!!: เคมีและขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒนาการ · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวกวก. 1

ลักษณะข้าวพันธุ์กวก. 1 ข้าวกวก.

ใหม่!!: เคมีและข้าวกวก. 1 · ดูเพิ่มเติม »

ดมีตรี เมนเดเลเยฟ

มีตรี อีวาโนวิช เมนเดเลเยฟ (Дми́трий Ива́нович Менделе́ев; อักษรโรมัน:Dmitriy Ivanovich Mendeleyev) เกิดเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1834 ถึงแก่กรรมวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1907 ในเมืองเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก เมนเดเลเยฟเป็นนักเคมีชาวรัสเซีย เขาได้รับการยกย่องมีฐานะบุคคลแรกที่สร้างตารางธาตุฉบับแรกขึ้นมา แต่เมนเดเลเยฟนั้นมีความคิดแตกต่างจากผู้เขียนตารางธาตุคนอื่นๆ นั่นคือ เขาได้ทำนายคุณสมบัติของธาตุต่าง ๆ ที่ยังไม่ได้ค้นพบด้วย และนอกจากการทุ่มเทให้กับการวางแบบแผนตารางธาตุและเคมีแล้ว เขายังให้ความสนใจปัญหาสังคมด้ว.

ใหม่!!: เคมีและดมีตรี เมนเดเลเยฟ · ดูเพิ่มเติม »

ดาราศาสตร์

ราจักรทางช้างเผือก ดาราศาสตร์ คือวิชาวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง และดาราจักร) รวมทั้งปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากนอกชั้นบรรยากาศของโลก โดยศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ลักษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า ตลอดจนถึงการกำเนิดและวิวัฒนาการของเอกภพ ดาราศาสตร์เป็นหนึ่งในสาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด นักดาราศาสตร์ในวัฒนธรรมโบราณสังเกตการณ์ดวงดาวบนท้องฟ้าในเวลากลางคืน และวัตถุทางดาราศาสตร์หลายอย่างก็ได้ถูกค้นพบเรื่อยมาตามยุคสมัย อย่างไรก็ตาม กล้องโทรทรรศน์เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่จำเป็นก่อนที่จะมีการพัฒนามาเป็นวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตกาล ดาราศาสตร์ประกอบไปด้วยสาขาที่หลากหลายเช่น การวัดตำแหน่งดาว การเดินเรือดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ การสร้างปฏิทิน และรวมทั้งโหราศาสตร์ แต่ดาราศาสตร์ทุกวันนี้ถูกจัดว่ามีความหมายเหมือนกับฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ดาราศาสตร์ได้แบ่งออกเป็นสองสาขาได้แก่ ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงทฤษฎี ดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์จะให้ความสำคัญไปที่การเก็บและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการใช้ความรู้ทางกายภาพเบื้องต้นเป็นหลัก ส่วนดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีให้ความสำคัญไปที่การพัฒนาคอมพิวเตอร์หรือแบบจำลองเชิงวิเคราะห์ เพื่ออธิบายวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทั้งสองสาขานี้เป็นองค์ประกอบซึ่งกันและกัน กล่าวคือ ดาราศาสตร์เชิงทฤษฎีใช้อธิบายผลจากการสังเกตการณ์ และดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์ใช้ในการรับรองผลจากทางทฤษฎี การค้นพบสิ่งต่าง ๆ ในเรื่องของดาราศาสตร์ที่เผยแพร่โดยนักดาราศาสตร์สมัครเล่นนั้นมีความสำคัญมาก และดาราศาสตร์ก็เป็นหนึ่งในวิทยาศาสตร์จำนวนน้อยสาขาที่นักดาราศาสตร์สมัครเล่นยังคงมีบทบาท โดยเฉพาะการค้นพบหรือการสังเกตการณ์ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงชั่วคราว ไม่ควรสับสนระหว่างดาราศาสตร์โบราณกับโหราศาสตร์ ซึ่งเป็นความเชื่อที่นำเอาเหตุการณ์และพฤติกรรมของมนุษย์ไปเกี่ยวโยงกับตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า แม้ว่าทั้งดาราศาสตร์และโหราศาสตร์เกิดมาจากจุดร่วมเดียวกัน และมีส่วนหนึ่งของวิธีการศึกษาที่เหมือนกัน เช่นการบันทึกตำแหน่งดาว (ephemeris) แต่ทั้งสองอย่างก็แตกต่างกัน ในปี ค.ศ. 2009 นี้เป็นการครบรอบ 400 ปีของการพิสูจน์แนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ของ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส อันเป็นการพลิกคติและโค่นความเชื่อเก่าแก่เรื่องโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลของอริสโตเติลที่มีมาเนิ่นนาน โดยการใช้กล้องโทรทรรศน์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ของกาลิเลโอซึ่งช่วยยืนยันแนวคิดของโคเปอร์นิคัส องค์การสหประชาชาติจึงได้ประกาศให้ปีนี้เป็นปีดาราศาสตร์สากล มีเป้าหมายเพื่อให้สาธารณชนได้มีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับดาราศาสตร์มากยิ่งขึ้น.

ใหม่!!: เคมีและดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิวเทอเรียม

วเทอเรียม (Deuterium) สัญญลักษณ์ 2H ถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าไฮโดรเจนหนัก เป็นหนึ่งในสองของไอโซโทปของไฮโดรเจนที่เสถียร โดยที่นิวเคลียสของอะตอมมีโปรตอน 1 ตัวและนิวตรอน 1 ตัว ในขณะที่ไอโซโทปของไฮโดรเจนที่รู้จักกันทั่วไปมากกว่าที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โปรเทียม (protium) มีเพียงโปรตอนเดียวเท่านั้น ไม่มีนิวตรอน ดิวเทอเรียมมี'ความอุดมในธรรมชาติ' โดยพบในมหาสมุทรทั่วไปประมาณหนึ่งอะตอมใน 6420 อะตอมของไฮโดรเจน ทำให้ดิวเทอเรียมมีสัดส่วนที่ประมาณ 0.0156% (หรือ 0.0312% ถ้าคิดตามมวล) ของไฮโดรเจนที่เกิดในธรรมชาติทั้งหมดในมหาสมุทร ในขณะที่โปรเทียมมีสัดส่วนมากกว่า 99.98% ความอุดมของดิวเทอเรียมเปลี่ยนแปงเล็กน้อยตามชนิดของน้ำตามธรรมชาติ (ดู ค่าเฉลี่ยของน้ำในมหาสมุทรตามมาตรฐานเวียนนา) นิวเคลียสของดิวเทอเรียมเรียกว่าดิวเทอรอน เราใช้สัญลักษณ์ 2H แทนดิวเทอเรียม อย่างไรก็ตาม บ่อยครั้งที่เราใช้ D แทนดิวเทอเรียม เช่นเมื่อเราต้องการจะเขียนสัญลักษณ์แทนโมเลกุลก๊าซดิวเทอเรียม จะสามารถเขียนแทนได้ว่า 2H2 หรือ D2 ก็ได้ หากแทนที่ดิวเทอเรียมในโมเลกุลของน้ำ จะทำให้เกิดสารดิวเทอเรียมออกไซด์หรือที่เรียกว่าน้ำมวลหนักขึ้น ถึงแม้น้ำชนิดหนักจะไม่เป็นสารพิษที่ร้ายแรงมากนัก แต่ก็ไม่เคยถูกนำมาใช้ในการอุปโภคบริโภค การมีอยู่ของดิวเทอเรียมในดาวฤกษ์เป็นข้อมูลสำคัญในวิชาจักรวาลวิทยา โดยปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันในดาวฤกษ์จะทำลายดิวเทอเรียม ยังไม่พบกระบวนการในธรรมชาติใดๆที่ทำให้เกิดดิวเทอเรียมนอกจากปรากฏการณ์บิ๊กแบง ดิวเทอเรียมไม่มีอะไรต่างจากไฮโดรเจนมากนักในเชิงเคมีฟิสิกส์ นอกเสียจากว่ามีมวลที่หนักกว่า ซึ่งมวลที่หนักกว่านี้เองที่ทำให้ดิวเทอเรียมเปรียบเสมือนกับไฮโดรเจนที่เชื่องช้า เนื่องจากการที่มีมวลมากกว่า จะทำให้มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาน้อยกว.

ใหม่!!: เคมีและดิวเทอเรียม · ดูเพิ่มเติม »

คริสเตียน ฟรีดริช เชินไบน์

ริสเตียน ฟรีดริช เชินไบน์ (Christian Friedrich Schönbein; 18 ตุลาคม ค.ศ. 1799 – 29 สิงหาคม ค.ศ. 1868) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน/สวิส เกิดที่เมืองเม็ทซิงเงิน เมื่ออายุได้ 13 ปี เชินไบน์ช่วยงานที่บริษัทยาในเมืองเบอบลิงเงินและผ่านการสอบของศาสตราจารย์ด้านเคมีที่ทือบิงเงิน ต่อมาในปี..

ใหม่!!: เคมีและคริสเตียน ฟรีดริช เชินไบน์ · ดูเพิ่มเติม »

ความบริสุทธิ์

ความบริสุทธิ์ (purity) ในทางเคมี จะถูกวัดเป็นเปอร์เซนต์ของโลหะผสม หรือที่เรียกว่าอัลลอย ในโลหะมีค่า ความบริสุทธิ์ของทองคำและแพลทินัมจะวัดกันโดยใช้หน่วย กะรัต วัตถุจะบริสุทธิ์ถ้าไม่มีการปนเปื้อน หรือเจือปนวัตถุแปลกปลอมต่างๆ หมวดหมู่:โลหะ.

ใหม่!!: เคมีและความบริสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ความภูมิใจแห่งตน

ในสังคมวิทยาและจิตวิทยา ความภูมิใจในตน หรือ ความภูมิใจแห่งตน หรือ การเคารพตนเอง หรือ การเห็นคุณค่าในตัวเอง (self-esteem) เป็นการประเมินคุณค่าตนเองโดยทั่วไปที่เป็นอัตวิสัยและอยู่ในใจ เป็นทั้งการตัดสินและทัศนคติต่อตนเอง ความภูมิใจในตนอาจรวมความเชื่อ (เช่น ฉันเก่ง ฉันมีคุณค่า) และอารมณ์ความรู้สึก เช่น การได้ชัยชนะ ความซึมเศร้า ความภูมิใจ และความอับอาย หนังสือปี 2550 ให้คำนิยามว่า "ความภูมิใจในตนเป็นการประเมินในเชิงบวกหรือเชิงลบเกี่ยวกับตัวเอง คือ เรารู้สึกกับตัวเองอย่างไร" เป็นแนวคิดทางจิตวิทยา (psychological construct) ที่น่าสนใจเพราะว่านักวิจัยเชื่อว่ามันเป็นตัวพยากรณ์ที่ทรงอิทธิพลต่อผลบางอย่าง เช่น การเรียนเก่งS.

ใหม่!!: เคมีและความภูมิใจแห่งตน · ดูเพิ่มเติม »

ความเข้มข้น

น้ำผสมสีแดงด้วยปริมาณสีที่แตกต่างกัน ทางซ้ายคือเจือจาง ทางขวาคือเข้มข้น ในทางเคมี ความเข้มข้น คือการวัดปริมาณของสสารที่กำหนดซึ่งผสมอยู่ในสสารอีกชนิดหนึ่ง ใช้วัดสารผสมทางเคมีชนิดต่าง ๆ แต่บ่อยครั้งแนวคิดนี้ก็ใช้จำกัดแต่เฉพาะสารละลาย ซึ่งหมายถึงปริมาณของตัวถูกละลายในตัวทำละลาย การที่จะทำให้สารละลายเข้มข้นขึ้น ทำได้โดยการเพิ่มปริมาณของตัวถูกละลายมากขึ้น หรือการลดตัวทำละลายลง ในทางตรงข้าม การที่จะทำให้สารละลายเจือจางลง ก็จะต้องเพิ่มตัวทำละลายขึ้น หรือลดตัวถูกละลายลง เป็นอาทิ ถึงแม้สสารทั้งสองชนิดจะผสมกันได้อย่างเต็มที่ แต่ก็จะมีความเข้มข้นค่าหนึ่งซึ่งตัวถูกละลายจะไม่ละลายในสารผสมนั้นอีกต่อไป ที่จุดนี้เรียกว่าจุดอิ่มตัวของสารละลาย ซึ่งขึ้นอยู่กับตัวแปรหลายอย่าง เช่นอุณหภูมิแวดล้อม และสมบัติทางเคมีโดยธรรมชาติของสสารชนิดนั้น.

ใหม่!!: เคมีและความเข้มข้น · ดูเพิ่มเติม »

ความเป็นโลหะ (ดาราศาสตร์)

ในทางดาราศาสตร์และจักรวาลวิทยาเชิงกายภาพ ความเป็นโลหะ (metallicity) ของวัตถุคือค่าสัดส่วนองค์ประกอบของสสารในวัตถุนั้นที่มีส่วนประกอบของธาตุทางเคมีชนิดอื่นมากกว่าไฮโดรเจนและฮีเลียม ทั้งนี้ ดาวฤกษ์ซึ่งเป็นวัตถุที่สามารถมองเห็นได้ชัดในเอกภพมักประกอบด้วยไฮโดรเจนกับฮีเลียม นักดาราศาสตร์จึงนิยมเรียกส่วนที่เหลือ (ในที่ว่างดำมืด) ว่าเป็น "โลหะ" เพื่อความสะดวกในการบรรยายถึงส่วนที่เหลือทั้งหมด จากคำนิยามนี้ เนบิวลาซึ่งมีส่วนประกอบของคาร์บอน ไนโตรเจน ออกซิเจน และนีออน อยู่อย่างล้นเหลือ จึงถูกเรียกว่าเป็น "วัตถุอุดมโลหะ" ในทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ แม้ว่าองค์ประกอบเหล่านั้นไม่ได้เป็นโลหะจริงๆ ตามความหมายของเคมีดั้งเดิม จึงจำเป็นอย่างยิ่งต้องระมัดระวังไม่นำไปปะปนกับคำว่า "โลหะ" (metal หรือ metallic) โดยทั่วไป ความเป็นโลหะของวัตถุทางดาราศาสตร์อาจพิจารณาได้จากอายุของวัตถุนั้นๆ เมื่อแรกที่เอกภพก่อตัวขึ้นตามทฤษฎีบิกแบง มีองค์ประกอบของไฮโดรเจนอยู่อย่างมากมาย ซึ่งเมื่อผ่านช่วงนิวคลีโอซินทีสิสในยุคแรกเริ่มแล้ว จึงได้เกิดสัดส่วนฮีเลียมเพิ่มจำนวนมากขึ้น กับลิเทียมและเบริลเลียมอีกจำนวนเล็กน้อย แต่ยังไม่มีธาตุหนักเกิดขึ้น ดาวฤกษ์ที่อายุเก่าแก่จึงมักมีส่วนประกอบโลหะอยู่ค่อนข้างน้อย แต่ข้อเท็จจริงที่พบจากการเฝ้าสังเกตดาวฤกษ์จำนวนมากและพบส่วนประกอบของธาตุหนักอยู่ด้วย ยังเป็นปริศนาที่ไขไม่ออก คำอธิบายในปัจจุบันจึงเป็นการนำเสนอข้อมูลการมีอยู่ของดาวฤกษ์ชนิด Population III เชื่อกันว่า ถ้าไม่มีโลหะ ก็มีแต่เพียงดาวฤกษ์ที่มีมวลมากอย่างมหาศาลเท่านั้นที่จะก่อตัวขึ้นมาได้ และในช่วงปลายอายุขัยของมันก็จะมีการสร้างธาตุ 26 ชนิดแรกไปจนถึงเหล็กในตารางธาตุ ผ่านกระบวนการนิวคลีโอซินทีสิส ในเมื่อดาวฤกษ์เหล่านี้มีมวลมหาศาล แบบจำลองในปัจจุบันจึงระบุถึงการสิ้นอายุขัยของมันในลักษณะซูเปอร์โนวา ซึ่งทำให้สสารภายในของดาวแตกกระจายและแผ่ออกไปในเอกภพ ทำให้เกิดเป็นดาวฤกษ์ในรุ่นถัดมาที่มีส่วนประกอบของธาตุหนักอยู่ดังที่เราพบเห็นในปัจจุบัน ตามทฤษฎีเท่าที่มีในปี..

ใหม่!!: เคมีและความเป็นโลหะ (ดาราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

คาร์บีน

มทิลีน (คาร์บีน) ในทางเคมี คาร์บีน (carbene) เป็นโมเลกุลที่ประกอบด้วยอะตอมของคาร์บอนที่มีสองพันธะและมีแวเลนซ์อิเล็กตรอนที่ไม่มีพันธะอีกสองตัว สูตรทั่วไปคือ RR′C: แต่คาร์บอนอาจมีพันธะคู่กับอีกหมู่แทนก็ได้ คำว่า "carbene" อาจใช้อ้างถึงเพียงแค่สารประกอบ H2C: ซึ่งสามารถเรียกว่าเมทิลีน ซึ่งเป็น parent hydride ที่เกี่ยวข้องกับสารประกอบคาร์บีนอื่นๆ ทั้งหมด คาร์บีนอาจจำแนกได้เป็น singlets หรือ triplets โดยขึ้นกับโครงสร้างเชิงอิเล็กตรอนของมัน สารประกอบคาร์บีนส่วนใหญ่มีอายุสั้นมาก แต่สารประกอบคาร์บีนแบบถาวรบางชนิดก็เป็นที่รู้จัก สารประกอบคาร์บีนชนิดหนึ่งที่มีการศึกษาเป็นอย่างดีได้แก่ Cl2C: หรือ ไดคลอโรคาร์บีน (dichlorocarbene) ซึ่งสามารถสร้างขึ้นแบบ in situ จากคลอโรฟอร์มและเบสแก.

ใหม่!!: เคมีและคาร์บีน · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล กุสตาฟ โมแซนเดอร์

ร์ล กุสตาฟ โมแซนเดอร์ (Carl Gustaf Mosander; 10 กันยายน ค.ศ. 1797 – 15 ตุลาคม ค.ศ. 1858) เป็นนักเคมีชาวสวีเดน เกิดที่เมืองคาลมาร์ เป็นบุตรของไอแซก โมแซนเดอร์และคริสตินา แมเรีย ต่อมาย้ายมาอยู่ที่กรุงสตอกโฮล์มกับมารดาเมื่ออายุได้ 12 ปี ที่นั่นโมแซนเดอร์ฝึกงานในร้านขายยา ก่อนจะหันมาสนใจด้านการแพทย์และเข้าเรียนที่สถาบันแคโรลินสกา โมแซนเดอร์เรียนจบปริญญาโทด้านศัลยศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: เคมีและคาร์ล กุสตาฟ โมแซนเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ

ร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ (Carl Wilhelm Scheele; 9 ธันวาคม ค.ศ. 1742 – 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1786) เป็นนักเคมีและเภสัชกรชาวเยอรมัน-สวีเดน ผู้ได้รับฉายา "เชเลอผู้อาภัพ" จากนักเขียน ไอแซค อสิมอฟ จากการค้นพบทางเคมีหลายอย่างแต่ไม่ได้รับการยกย่องในช่วงชีวิตของเขา เชเลอเป็นผู้ค้นพบธาตุออกซิเจน, คลอรีน, ทังสเตนและสารประกอบอินทรีย์อื่น ๆ เช่น กรดยูริก, กรดแล็กติก, กรดออกซาลิก คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: เคมีและคาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถือได้ว่าเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยมากที่สุดของประเทศ และเป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่ได้รับการจัดอันดับสูงสุดในสาขาวิทยาศาสตร์ ทั้งด้านการเรียนการสอน และด้านการวิจัย จากการจัด อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: เคมีและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประกอบด้วย สำนักงานเลขานุการคณะและ 4 ภาควิชา คือ ภาควิชาคณิตศาสตร์ สถิติและคอมพิวเตอร์ ภาควิชาเคมี ภาคฟิสิกส์ และภาควิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ทำหน้าที่หลักในการจัดการเรียนการสอนวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ให้กับคณะต่าง ๆ ตามหลักสูตรในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เคมีและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นหน่วยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 เดิมสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ได้รับการจัดตั้งตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 110 ตอนที่ 34 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2536 อาคารแม่โจ้ 60 ปี คณะวิทยาศาสตร.

ใหม่!!: เคมีและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นหน่วยงานระดับคณะ ในสังกัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เริ่มเปิดทำการเรียนการสอนเมื่อปี..

ใหม่!!: เคมีและคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิทยาศาสตร์ที่มีอาจารย์ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติมากที่สุดของประเทศไทย และเป็นคณะวิทยาศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่ง 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในขณะนั้นใช้ชื่อว่า "คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์" ปัจจุบันประกอบด้วย 14 ภาควิชา แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และกลุ่มเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยด้านตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างสระน้ำ การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติจาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 258 ของโลก และเป็นเพียงแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดั.

ใหม่!!: เคมีและคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

ณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มีวัตถุประสงค์ที่จะผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิต และบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรม และการให้บริการวิชาการในรูปแบบต่างๆที่เหมาะสม บริการการสอนวิทยาศาสตร์ในหมวดวิชาทั่วไป แก่นักศึกษาทั้งในคณะและนอกคณะ ดำเนินการวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ และประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม พร้อมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมศิลปวัฒนธรรมของชาต.

ใหม่!!: เคมีและคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ก่อตั้งขึ้นเป็นคณะที่ 3 ในวิทยาเขตปัตตานี โดยโอนภาควิชาวิทยาศาสตร์ และภาควิชาคหกรรมศาสตร์ จากคณะศึกษาศาสตร์ มาสังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และภาควิชาที่โอนมาสังกัดคณะใหม่ ได้เปลี่ยนชื่อภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป เป็นภาควิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยเปิดสอนนักศึกษารุ่นแรกของคณะ ในปีการศึกษา 2528 สาขาเทคโนโลยีการยาง จำนวน 11 คน นอกจากนี้คณะฯ ยังรับผิดชอบในการสอนนักศึกษาของคณะศึกษาศาสตร์ คือ ศษ..

ใหม่!!: เคมีและคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะลำดับที่ 13 ของมหาวิทยาลัย สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2536 ดำเนินการเรียน-การสอนใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ต่อมา ปี พ.ศ. 2554 ได้รับมอบหมายให้จัดการเรียน-การสอน ในวิทยาเขตสุพรรณบุรีด้ว.

ใหม่!!: เคมีและคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา

ณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนาในเครื่องแบบ "ชุดเดินทาง" ในงานคอนเสิร์ตปี พ.ศ. 2546 ที่ห้องโถง Wiener Musikverein ในนครเวียนนา ซิมโฟนีของคนนับพัน'' ของกุสตาฟ มาห์เลอร์ ร่วมกับคณะประสานเสียง Wiener Singverein แห่งเวียนนา, วงศ์ดุริยางค์ Slovenský filharmonický zbor และ Staatskapelle Berlin, มีผู้ควบคุม คือ Pierre Boulez ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2552 คณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา (Wiener Sängerknaben, Vienna Boys' Choir, Vienna Choir Boys, ตัวย่อ VBC) เป็นคณะประสานเสียงของเด็กชายที่มีเสียงระดับโซปราโนและแอลโตแห่งนครเวียนนา ประเทศออสเตรีย เป็นคณะประสานเสียงเด็กชายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคณะหนึ่งในโลก เด็กส่วนใหญ่มาจากออสเตรีย แต่ก็มีที่มาจากประเทศอื่น รวมทั้งประเทศจีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินเดีย และไต้หวัน คณะประสานเสียงเป็นองค์กรเอกชนที่ไม่หวังผลกำไร มีเด็กนักร้องประมาณ 100 คนอายุระหว่าง 10-14 ปี โดยแบ่งออกเป็น 4 คณะที่ออกเดินทาง ตั้งชื่อมุ่งใช้ภายในสถาบันตามผู้ประพันธ์ดนตรีชาวออสเตรียที่ใกล้ชิดกับคณะ คือ บรุกเนอร์ ไฮเดิน โมซาร์ท และชูแบร์ท แต่ละคณะแยกเรียนต่างหากและออกเดินทางประมาณปีละ 11 อาทิตย์ คณะประสานเสียงได้รับค่าเล่าเรียนและเงินสนับสนุนจากการออกคอนเสิร์ตและการขายเสียงอัด นอกจากการร้องเพลงเพื่อพิธีมิสซาทุกวันอาทิตย์ ในโบสถ์ที่พระราชวังฮอฟบูร์กแล้ว คณะจะออกเดินทางไปยังที่ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากผู้อุปถัมภ์ จากเทศบาลนครเวียนนา และจากรัฐบาลประเทศออสเตรีย ปกติจะเดินทางไปยังสหรัฐและญี่ปุ่นทุกปี ซึ่งเป็นที่ที่คณะได้รับความนิยมมาก คณะยังเดินทางไปประเทศจีน ไต้หวัน สิงค์โปร์ เกาหลีใต้ เขตตะวันออกกลาง ออสเตรเลีย อเมริกาใต้ และประเทศยุโรปอื่น ๆ เป็นประจำ คณะพิจารณาว่าเป็นองค์การทางวัฒนธรรมที่สำคัญที่สุดองค์การหนึ่งของประเทศ โดยนักการเมืองมักเรียกพวกเด็ก ๆ ว่าเป็น "ทูตที่อายุน้อยที่สุดในออสเตรีย" คณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา - ร้องเพลง ''ที่ที่ต้นเลมอนออกดอก (Wo die Zitronen bluhn)'' Op. 364 ประพันธ์โดยโยฮันน์ ชเตราสส์ ที่สอง.

ใหม่!!: เคมีและคณะประสานเสียงเด็กชายแห่งเวียนนา · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2511 ในยุคของมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ซึ่งแรกก่อตั้งใช้ชื่อว่า คณะเภสัชศาสตร์ พญาไท มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เนื่องจากในเวลานั้นมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ได้โอนย้ายสังกัดคณะเภสัชศาสตร์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาก่อนหน้าแล้ว (คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปัจจุบัน) ต่อมาในปี..

ใหม่!!: เคมีและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณิตศาสตร์ประยุกต์

คณิตศาสตร์ประยุกต์ (applied mathematics) แตกต่างจากคณิตศาสตร์บริสุทธิ์ (pure mathematics) ตรงที่ จะเริ่มต้นพิจารณาปัญหาในชีวิตจริงก่อน ไม่ว่าปัญหานั้นจะอยู่ในเรื่องของวิชา หรือ สาขาใดๆ เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา ธรณีวิทยา แพทยศาสตร์ ทันตแพทย์ศาสตร์ เภสัชศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ คอมพิวเตอร์ฯลฯ หรือแม้แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นในสาขาวิชาคณิตศาสตร์เอง แล้วจากนั้น จะนำความรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ที่มีอยู่แล้ว หรืออาจจำเป็นจะต้องสร้างใหม่ขึ้นมา เพื่อจะใช้แก้ปัญหาเหล่านั้น คณิตศาสตร์ประยุกต์.

ใหม่!!: เคมีและคณิตศาสตร์ประยุกต์ · ดูเพิ่มเติม »

คนพลังกายสิทธิ์

นพลังกายสิทธิ์ (Mister Fantastic) หรือ รีด ริชาร์ดส (Reed Richards) เป็นตัวละครการ์ตูนซูเปอร์ฮีโรที่ปรากฏในหนังสือการ์ตูนของมาร์เวลคอมิกส์ สร้างสรรค์โดยนักเขียน สแตน ลี และจิตรกร/พลอตเตอร์ร่วม แจ็ค ไคร์บี ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือการ์ตูนเดอะแฟนแทสติกโฟร์ ฉบับที่ 1 (พฤศจิกายน 1961) เป็นสมาชิกของแฟนแทสติกโฟร์ ริชาร์ดมีความเชี่ยวชาญในวิศวกรรมเครื่องกล,การบินและอวกาศ และวิศวกรรมไฟฟ้า,เคมี,ทุกระดับของฟิสิกส์ และชีววิทยาของมนุษย์และมนุษย์ต่างดาว ในนิตยสารBusinessweek ระบุให้มิสเตอร์แฟนแทสติกเป็นหนึ่งในสิบของตัวละครที่อัจฉริยะที่สุดในหนังสือการ์ตูนอเมริกัน เขาเป็นนักประดิษฐ์ของยานอวกาศที่ถูกรังสีคอสมิกในการเดินทางครั้งแรก ให้มีพลังในแฟนแทสติกโฟร์ ริชาร์ดสามารถยืดร่างกายของเขาให้เป็นรูปร่างใดก็ได้ตามที่เขาต้องการ ในตัวละครรีด ริชาร์ดส ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ที่รับบทโดย โยอัน กริฟฟิดด์ ในปี 2005 สี่พลังคนกายสิทธิ์ และปี 2007 สี่พลังคนกายสิทธิ์: กำเนิดซิลเวอร์ เซิรฟเฟอร.

ใหม่!!: เคมีและคนพลังกายสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ค่าคงตัว

งตัว หรือ ค่าคงที่ ในทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ หมายถึง ค่าค่าหนึ่งของตัวเลขซึ่งกำหนดตายตัวไว้ หรืออาจเป็นค่าที่ไม่ระบุตัวเลข ค่าคงตัวมีความหมายตรงข้ามกับตัวแปรซึ่งสามารถแปรผันค่าได้.

ใหม่!!: เคมีและค่าคงตัว · ดูเพิ่มเติม »

ค่าเฉลี่ยกำลังสอง

ฉลี่ยกำลังสอง (root mean square; เขียนย่อ RMS หรือ rms) เป็นศัพท์ทางคณิตศาสตร์และสถิติ (อาจเรียกอีกอย่างว่า quadratic mean) เป็นการวัดทางสถิติของปริมาณที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การคำนวณนั้น สามารถคำนวณหาอนุกรมของค่าใดๆ หรือฟังก์ชันใดๆ ที่แปรผันต่อเนื่อง ทั้งนี้คำว่า root mean square ก็คือ "รากที่สองของค่าเฉลี่ย" ของค่านั้นๆ ยกกำลังสอง ด้วยเหตุนี้เราจึงถือว่าเป็นค่าเฉลี่ยยกกำลัง โดยมีตัวชี้กำลังคือ t.

ใหม่!!: เคมีและค่าเฉลี่ยกำลังสอง · ดูเพิ่มเติม »

งานกระจกสี

หน้าต่างประดับกระจกสีเป็นรูปอีแวนเจลลิสทั้งสี่ที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ หน้าต่างประดับกระจกสี (รายละเอียด) เป็นรูปพระเยซูปรากฏตัวต่อนักบุญทอมัสที่วัดเซนต์แมรีที่หมู่บ้านแฟร์ฟอร์ดในอังกฤษ การทำแก้วมงกุฏ งานกระจกสี (Stained glass) คำว่า งานกระจกสี หมายถึงงานที่ใช้กระจกสีตกแต่งหรืองานการทำกระจกสี ซึ่งไม่แต่เฉพาะแต่หน้าต่างเท่านั้น ยังรวมถึงศิลปะอื่นๆ ที่ใช้กระจกสีตกแต่งด้วยเช่น บานกระจกที่ทำเพื่อการตกแต่งโดยเฉพาะ หรือโคมตะเกียงเป็นต้น ตลอดระยะพันปีการตกแต่งด้วยกระจกสีจะหมายถึงหน้าต่างประดับกระจกสีของวัด หรือ มหาวิหารทางคริสต์ศาสนา หรือสิ่งก่อสร้างอื่นๆ การตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยเดิมจะแต่งบนแผงแบนสำหรับใช้ทำหน้าต่าง แต่วิธีการตกแต่งด้วยกระจกสีสมัยปัจจุบันจะรวมไปถึงโครงสร้างกระจกสีแบบสามมิติและงานแกะสลักกระจกสีด้วย และจะรวมไปถึงบานกระจกสีสำหรับที่อยู่อาศัยที่เรียกกันว่า “leadlight” ด้วย หรืองานศิลปะที่ทำจากกระจกสีและเชื่อมต่อกันด้วยตะกั่วอย่างเช่น โคมกระจกสีที่มีชื่อเสียงที่ทำโดย หลุยส์ คอมฟอร์ท ทิฟฟานี (Louis Comfort Tiffany) เมื่อพูดถึงวัสดุคำว่า “กระจกสี” โดยทั่วไปจะหมายถึงแก้วที่ทำให้เป็นสีโดยการเติม Metallic salts ระหว่างการผลิต ช่างจะใช้กระจกสีในการสร้าง “หน้าต่างประดับกระจกสี” โดยการเอากระจกสีชิ้นเล็กๆ มาจัดให้เป็นลวดลายหรือภาพภายในกรอบโดยเชื่อมชิ้นกระจกด้วยกันด้วยเส้นตะกั่ว เมื่อเสร็จแล้วก็อาจจะทาสีและย้อมสีเหลืองตกแต่งอีกเล็กน้อยเพื่อให้ลวดลายเด่นขึ้น นอกจากนั้นคำว่า “กระจกย้อมสี” (Stained glass) จะหมายถึงหน้าต่างกระจกที่วาดทาสีเสร็จแล้วเผาในเตาหลอมก่อนที่จะทิ้งไว้ให้เย็น “งานกระจกสี” เป็นงานฝีมือที่ศิลปินต้องมีพรสวรรค์ทางศิลปะเพื่อที่จะออกแบบได้ และต้องมีความรู้ทางวิศวกรรมเพี่อที่สามารถประกอบบานกระจกที่ทำใว้ให้แน่นหนาภายในกรอบสิ่งก่อสร้าง โดยเฉพาะกระจกบานใหญ่ๆ ที่จะต้องรับน้ำหนักของตัวบานกระจกเองและสามารถทนทานต่อสภาวะอากาศภายนอกได้ หน้าต่างบานใหญ่เหล่านี้ยังอยู่รอดมาให้เราชมบ้างตั้งแต่สมัยยุคกลางโดยไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง ในยุโรปตะวันตกหน้าต่างประดับกระจกสีเป็นจักษุศิลป์ชนิดเดียวที่เหลือมาตั้งแต่ยุคกลาง จุดประสงค์ของหน้าต่างประดับกระจกสีมิใช่ให้ผู้ดูมองออกไปดูโลกภายนอกหรือให้แสงส่องเข้ามาในสิ่งก่อสร้างแต่จะควบคุมผู้อยู่ภายใน จากเหตุผลนี้หน้าต่างประดับกระจกสีจึงอาจจะเรียกได่ว่าเป็น “การตกแต่งผนังส่องแสง” (“illuminated wall decorations”) มากกว่าจะเป็นหน้าต่างอย่างตามความหมายทั่วไปของหน้าต่างที่ใช้มองออกสู่ภายนอก การออกแบบหน้าต่างวัดอาจจะเป็นได้ทั้งอุปมาอุปไมยหรือไม่ก็ได้ หน้าต่างอาจจะเป็นตำนานจากคัมภีร์ไบเบิล ประวัติศาสตร์ หรือ วรรณคดี หรือ ชีวิตของนักบุญ หรือผู้อุปการะวัด หรืออาจจะเป็นลวดลายสัญญลักษณ์ เช่นตราประจำตระกูล การตกแต่งภายในสิ่งก่อสร้างหนึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวในหัวข้อเดียวกันเช่นถ้าเป็นวัดก็อาจจะเป็นเรื่องราวชีวประวัติของพระเยซู หรือนักบุญ หรือผู้สร้างวัด ถ้าเป็นภายในวิทยาลัยกระจกอาจจะมีสัญลักษณ์สำหรับศิลปะหรือวิทยาศาสตร์ หรือภายในบ้านอาจจะเป็นลวดลายแบบใดแบบหนึ่งที่เจ้าของเลือก.

ใหม่!!: เคมีและงานกระจกสี · ดูเพิ่มเติม »

งานวิจัยที่มีความเริ่มแรก

งานวิจัยใหม่ที่มีความเริ่มแรก (original research) หมายถึงงานวิจัยมีเนื้อหาที่ไม่ได้ใช้ผลการสรุป งานปริทัศน์ หรือการสังเคราะห์ของงานวิชาการที่ตีพิมพ์ก่อนหน้านั้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยใหม่ที่มีความเริ่มแรกก็เพื่อการสร้างความรู้ใหม่มากกว่าการนำเสนอความรู้ที่มีอยู่ก่อนแล้วในรูปแบบใหม่ (เช่น การสรุป หรือ การจำแนก).

ใหม่!!: เคมีและงานวิจัยที่มีความเริ่มแรก · ดูเพิ่มเติม »

ตรีโกณมิติ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติทั้งหมดของมุม ''θ'' สามารถนำมาสร้างทางเรขาคณิตในวงกลมหนึ่งหน่วยที่มีศูนย์กลางที่จุด ''O'' ตรีโกณมิติ (จากภาษากรีก trigonon มุม 3 มุม และ metro การวัด) เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์ที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความยาวและมุมของรูปสามเหลี่ยม ตรีโกณมิติเกิดขึ้นในสมัยเฮลเลนิสต์ ในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสต์ศักราช ปัจจุบันได้มีการนำไปใช้ตั้งแต่ในวิชาเรขาคณิตไปจนถึงวิชาดาราศาสตร์ นักดาราศาสตร์ในศตวรรษที่ 3 ได้สังเกตว่าความยาวด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและมุมระหว่างด้านมีความสัมพันธ์ที่คงที่ ถ้าทราบความยาวอย่างน้อยหนึ่งด้านและค่าของมุมหนึ่งมุม แล้วมุมและความยาวอื่น ๆ ที่เหลือก็สามารถคำนวณหาค่าได้ การคำนวณเหล่านี้ได้ถูกนิยามเป็นฟังก์ชันตรีโกณมิติ และในปัจจุบันได้แพร่หลายไปทั้งคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ เช่น การแปลงฟูรีเย หรือสมการคลื่น หรือการใช้ฟังก์ชันตรีโกณมิติเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ที่เป็นคาบในสาขาวิชาฟิสิกส์ วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมไฟฟ้า ดนตรีและสวนศาสตร์ ดาราศาสตร์ นิเวศวิทยา และชีววิทยา นอกจากนี้ ตรีโกณมิติยังเป็นพื้นฐานของการสำรวจ ตรีโกณมิติมีความเกี่ยวข้องมากที่สุดกับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากบนระนาบ (กล่าวคือ รูปสามเหลี่ยมสองมิติที่มีมุมหนึ่งมีขนาด 90 องศา) มีการประยุกต์ใช้กับรูปสามเหลี่ยมที่ไม่มีมุมฉากด้วย โดยการแบ่งรูปสามเหลี่ยมดังกล่าวเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากสองรูป ปัญหาส่วนมากสามารถแก้ได้โดยใช้การคำนวณบนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังนั้น การประยุกต์ส่วนใหญ่ก็จะเกี่ยวข้องกับรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ยกเว้นในตรีโกณมิติเชิงทรงกลม วิชาที่ศึกษารูปสามเหลี่ยมบนพื้นผิวทรงกลม ซึ่งมีความโค้งเป็นค่าคงที่บวก ในเรขาคณิตอิลลิปติก (elliptic geometry) อันเป็นพื้นฐานของวิชาดาราศาสตร์และการเดินเรือ) ส่วนตรีโกณมิติบนพื้นผิวที่มีความโค้งเป็นค่าลบเป็นส่วนหนึ่งของเรขาคณิตไฮเพอร์โบลิก วิชาตรีโกณมิติเบื้องต้นมักมีการสอนในโรงเรียน อาจเป็นหลักสูตรแยกหรือเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรความรู้พื้นฐานสำหรับแคลคูลั.

ใหม่!!: เคมีและตรีโกณมิติ · ดูเพิ่มเติม »

ตัวกระตุ้นอันตราย

ตัวกระตุ้นอันตราย (noxious stimulus) เป็นปรากฏการณ์ ที่ทำให้เกิดความเสียหายในเนื้อเยื่อจริง ๆ หรืออาจจะทำให้เกิดความเสียหายในเนื้อเยื่อได้ เป็นสิ่งที่จะต้องมีก่อนที่โนซิเซ็ปชั่น (คือการส่งสัญญาณประสาทสื่อว่า มีตัวกระตุ้นอันตราย) จะเกิดขึ้นได้ และโนซิเซ็ปชั่นก็จะต้องมี ก่อนที่ความเจ็บปวดจะะเกิดขึ้นได้ ตัวกระตุ้นอันตรายอาจจะเป็นแบบเชิงกล (เช่นการหนีบ การหยิก หรือการทำเนื้อเยื่อให้ผิดรูป) เชิงเคมี (เช่นการสัมผัสกระทบกรดหรือสารระคายเคืองอย่างอื่น) หรือเชิงอุณหภูมิ (คือมีอุณหภูมิสูงหรือต่ำ ร้อนหรือเย็น) มีความเสียหายของเนื้อเยื่อบางประเภทที่ไม่มีตัวรับความรู้สึกใด ๆ ตรวจจับได้ จึงไม่เป็นเหตุของความเจ็บปวด ดังนั้น ตัวกระตุ้นอันตรายทั้งหมด จึงไม่ใช่เป็นตัวกระตุ้นที่เหมาะสม (adequate stimulus) ของโนซิเซ็ปเตอร์ ตัวกระตุ้นที่เหมาะสมของโนซิเซ็ปเตอร์จึงเรียกว่า ตัวกระตุ้นโนซิเซ็ปเตอร์ (nociceptive stimulus) ซึ่งมีนิยามว่าเป็นปรากฏการณ์ ที่ทำให้เกิดความเสียหายในเนื้อเยื่อจริง ๆ หรืออาจจะทำให้เกิดความเสียหายในเนื้อเยื่อได้ เป็นปรากฏการณ์ที่โนซิเซ็ปเตอร์ทำการถ่ายโอนในสรีรวิทยา การถ่ายโอน (Transduction) คือการเปลี่ยนตัวกระตุ้นแบบหนึ่งไปยังอีกแบบหนึ่ง การถ่ายโอนในระบบประสาทมักจะหมายถึงการส่งสัญญาณเพื่อแจ้งการตรวจพบตัวกระตุ้น โดยที่ตัวกระตุ้นเชิงกล ตัวกระตุ้นเชิงเคมี หรือเชิงอื่น ๆ ถูกเปลี่ยนเป็นศักยะงานประสาท แล้วส่งไปทางแอกซอน ไปสู่ระบบประสาทกลางซึ่งเป็นศูนย์รวบรวมสัญญาณประสาทเพื่อประมวลผลและทำการเข้ารหั.

ใหม่!!: เคมีและตัวกระตุ้นอันตราย · ดูเพิ่มเติม »

ตัวตั้งต้น

ตัวตั้งต้น (precursor) ตามคำศัพท์แปลว่าสิ่งที่อยู่ก่อนหรือมาก่อน ซึ่งต้องมีของที่เป็นคู่กับมันเป็นสิ่งที่จะต้องตามมา และมีความหมายเดียวกับ ผู้นำหน้า (forerunner) หรือ ผู้มาก่อน (predecessor) ตัวอย่างเช่น โกโก้ (cocoa) เป็นตัวตั้งต้นของ ช็อกโกแลต (chocolate) แต่ ช็อกโกแลต ไม่ใช่ตัวตั้งต้นของไอศกรีม นั่นคือ ช็อกโกแลต เป็น ส่วนประกอบ (ingredient).

ใหม่!!: เคมีและตัวตั้งต้น · ดูเพิ่มเติม »

ตู้เย็น

ตู้เย็นตามบ้านทั่วไป ตู้เย็น เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ทำความเย็นโดยประกอบด้วยสองส่วนหลัก ๆ คือ ส่วนฉนวนป้องกันความร้อน (ป้องกันไม่ให้ความร้อนไหลเข้ามา) และ ส่วนทำความเย็น (ปั๊มที่นำความร้อนออกไปสู่ภายนอกซึ่งมีอุณหภูมิต่ำกว่า) คนส่วนใหญ่ใช้ตู้เย็นเก็บอาหาร เพื่อป้องกันการเน่าเสีย เนื่องจากแบคทีเรียเติบโตช้ากว่าในอุณหภูมิต่ำ ตู้เย็นมีหลายประเภทตั้งแต่แบบที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจุดเยือกแข็ง (ช่องธรรมดา) แบบที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งเล็กน้อย (ช่องแช่แข็ง, ช่องฟรีซ) ก่อนที่จะมีตู้เย็นประเทศในเขตหนาวใช้กล่องน้ำแข็ง (icebox) ในการรักษาอาหาร ช่องแช่แข็งของตู้เย็นที่ขายอยู่ทั่วไปมีอุณหภูมิประมาณ -18 °C (ประมาณ 0 °F) สำหรับตู้เย็นที่ใช้ในบ้านมักมีช่องธรรมดาและช่องแช่แข็งรวมกัน และมักใช้เครื่องทำความเย็นร่วมกัน (บางครั้งก็แยกกัน) ตู้เย็นรุ่นใหม่ ๆ มักมีเครื่องทำน้ำแข็งติดตั้งมาพร้อมกัน ตู้เย็นขนาดใหญ่รวมทั้งเครื่องทำน้ำแข็งขนาดใหญ่ในโรงงานมักใช้แก๊สแอมโมเนียซึ่งเป็นอันตรายในการทำการทำความเย็น ทำให้ไม่ปลอดภัยในการใช้ในบ้านเรือน ต่อมาในช่วงทศวรรษ 1930s ที่สหรัฐอเมริกาได้สังเคราะห์สารเคมีราคาถูก ไม่เป็นพิษ ไม่ติดไฟ เช่น แก๊สฟรีออน.

ใหม่!!: เคมีและตู้เย็น · ดูเพิ่มเติม »

ซูสีไทเฮา

ฉือสี่ไท่โฮ่ว ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ซูสีไทเฮา ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908) เป็นสตรีชาวแมนจูจากตระกูลเย่เฮ่อน่าลา (葉赫那拉氏) ดำรงตำแหน่งไท่โฮ่ว (พระราชชนนีพันปีหลวง) และสำเร็จราชการแทนจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ในช่วงปลายราชวงศ์ชิง พระนางจึงควบคุมการปกครองจักรวรรดิจีนโดยพฤตินัยเป็นเวลา 47 ปีตั้งแต..

ใหม่!!: เคมีและซูสีไทเฮา · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์คอมพิวเตอร์

อบีเอ็ม โรดรันเนอร์ - '''ซูเปอร์คอมพิวเตอร์''' ที่เร็วที่สุดในโลกผลิตโดยไอบีเอ็ม และสถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส (2551) http://www.cnn.com/2008/TECH/06/09/fastest.computer.ap/ Government unveils world's fastest computer จากซีเอ็นเอ็น ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถสูงที่สุดในกลุ่มมีขนาดใหญ่ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) สามารถประมวลผลข้อมูลในปริมาณมากรวมถึงการประมวลผลงานที่มีรูปแบบอันซับซ้อน มีความรวดเร็วในการคำนวณได้มากกว่าหนึ่งล้านล้านต่อวินาที (1 Trillion calculations per second) ภายในซูเปอร์คอมพิวเตอร์ สามารถรองรับโปรเซสเซอร์ได้มากกว่า 100 ตัว หน่ายวัดความเร็วของคอมพิวเตอร์นี้คือ หน่วยจิกะฟลอบ (Gigaflop) ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคนคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับงานคำนวณที่ต้องมีการคำนวณตัวเลขจำนวนหลายล้านตัวภายในเวลาอันรวดเร็ว เช่น งานพยากรณ์อากาศ ที่ต้องนำข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับอากาศทั้งระดับภาคพื้นดิน และระดับชึ้นบรรยากาศเพื่อดูการเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงของอากาศ งานนี้จำเป็นต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูงมาก นอกจากนี้มีงานอีกเป็นจำนวนมากที่ต้องใช้ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ซึ่งมีความเร็วสูง เช่น งานการวิจัยนิวเคลียร์ งานควบคุมทางอวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย์ ด้านการทหาร วิศวกรรมเคมีภัณฑ์ปิโตรเลียม เช่น การสร้างโมเดลที่สามารถประมวลผลด้านความซับซ้อนสูงในการจำลองการประมวลผลต่างๆ รวมทั่วใช้วิจัยพันธุกรรมในมนุษย์หรือโครงสร้างดีเอ็นเอ ซึ่งมีมากกว่า 80,000 ถึง 100,000 ยีนในร่างกายของมนุษย์ งานด้านวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะทางด้านเคมี เภสัชวิทยา และงานด้านวิศวกรรมการออกแบบ และเนื่องจากราคาของซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) สูงมาก จึงมักมีการใช้งานเฉพาะด้านเท่านั้น หน่วยงานที่มีกำลังความสามารถในการนำไปใช้เพื่องานวิจัย ก็คือหน่วยงานขององค์การรัฐบาล ธุรกิจที่มีขนาดใหญ่มากและมหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เคมีและซูเปอร์คอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอสไอ: ไครม์ซีนอินเวสติเกชัน

ซีเอสไอ: ไครม์ซีนอินเวสติเกชัน (CSI: Crime Scene Investigation) หรือ ซีเอสไอ (บางครั้งจะรู้จักกันดีในนาม CSI: Las Vegas หรือ ซีเอสไอ ลาสเวกัส) (ในประเทศไทย ซีรีส์ชุดนี้ถูกเรียกว่า ทีมปฏิบัติการล่าความจริง ตามที่ออกฉายในช่อง AXN ของ True Visions และถูกเรียกว่า ไขคดีปริศนา ตามที่ออกเป็นสื่อบันเทิงตามบ้าน ที่ผลิตและจัดจำหน่ายโดยบริษัท เอสทีจี มัลติมีเดีย จำกัด) คือชื่อของรายการซีรีส์ออกฉายทางโทรทัศน์ที่เกี่ยวกับการทำงานของตำรวจที่เป็นที่นิยมในสหรัฐอเมริกา ที่ผลิตโดยช่อง ซีบีเอส ร่วมกับบริษัทกิจการบันเทิง Alliance Atlantis, ออกฉายในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) เป็นต้นมา, รายการนี้มีศูนย์กลางของเรื่องอยู่ที่ทีมนักนิติเวชวิทยา ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองลาส เวกัส, รัฐเนวาดา ในช่วงเวลาปัจจุบัน (เหตุผลที่เลือกเมืองนี้ไม่ได้เลือกเพื่อการแสดงเท่านั้น แต่เพราะว่าห้องทดลองอาชญากรรมของกรมตำรวจเมืองลาส เวกัส ยังมีประสิทธิภาพยอดเยี่ยมเป็นที่สองในสหรัฐอเมริกา อีกด้วย จะเป็นรองก็แต่ห้องทดลองของสำนักงานสืบสวนกลางแห่งสหรัฐอเมริกา - FBI ในเมือง ควอนทิโค, รัฐเวอร์จิเนียเท่านั้น) ฤดูกาลแรก ของ CSI ดำเนินเรื่องในลาส เวกัส ต่อมาได้มีการสร้าง ซีเอสไอ ที่ดำเนินเรื่องในเมืองอื่นๆ เช่น ซีเอสไอ ไมอามี่ (CSI: Miami) (ไมอามี่, ฟลอริดา), ซีเอสไอ นิวยอร์ก (CSI: NY) (นิวยอร์ก) และ ซีเอสไอ ไซเบอร์ ("'CSI: Cyber"') (วอชิงตัน ดี.ซี.)แสดงโดยทีมนักแสดง ที่แตกต่างกันออกไป หน่วยนี้จะสืบสวนสอบสวนการเสียชีวิตที่เป็นปริศนา ผิดธรรมดา และบางครั้งก็น่าสยดสยอง เพื่อหาสาเหตุการตายที่แท้จริงและความเป็นมาของผู้ที่เสียชีวิต พวกเขายังสอบสวนอาชญากรรมร้ายแรงอื่น ๆ ด้วย แต่แกนสำคัญส่วนใหญ่ของเรื่องมักจะเป็นการฆาตกรรม ในปี..

ใหม่!!: เคมีและซีเอสไอ: ไครม์ซีนอินเวสติเกชัน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิกิริยาสะเทิน

ปฏิกิริยาการสะเทินระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์กับกรดไฮโดรคลอริก อินดิเคเตอร์คือ โบรโมไทมอลบลู ในทางเคมี ปฏิกิริยาสะเทิน (neutralization หรือ neutralisation) หรือ ปฏิกิริยาการสะเทิน หรือ ปฏิกิริยาลบล้างฤทธิ์ ก็เรียก เป็นปฏิกิริยาเคมี ซึ่งกรดและเบสทำปฏิกิริยากันเกิดเป็นเกลือ บ่อยครั้งที่เกิดน้ำเป็นผลิตภัณฑ์ด้วย แต่ไม่จำเป็นเสมอไป ปฏิกิริยาสะเทินระหว่างกรดและเบสอาร์เรเนียส จะให้น้ำด้วยเสมอ ดังสมการ เมื่อ Y และ X เป็นไอออนบวกและไอออนลบที่มีค่าประจุเป็น +1 และ -1 ตามลำดับ XY จะเป็นเกลือที่เกิดขึ้น ตัวอย่างปฏิกิริยารูปนี้ เช่น ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์กับกรดไฮโดรคลอริก โดยมีโซเดียมเป็น Y และคลอรีนเป็น X ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปฏิกิริยาข้างต้น คือ น้ำและเกลือแกงสามัญ ปฏิกิริยาสะเทินสามารถพิจารณาได้เป็นสมการไอออนสุทธิ เช่น การแสดงนี้คลาดเคลื่อน อย่างไรก็ดี เพราะไฮโดรเจนไอออน (H+) แท้จริงแล้วมิได้เกิดขึ้นในสารละลายระหว่างปฏิกิริยาสะเทิน ที่จริงแล้ว ไฮโดรเนียมไออน (H3O+) ต่างหากที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็นผลตามสมการด้านล่าง เมื่อพิจารณาไฮโดรเนียมไออน สมการไอออนสุทธิแท้จริงจะเป็น ในปฏิกิริยาไม่ใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย (non-aqueous) มีความเป็นไปได้น้อยว่าจะเกิดน้ำขึ้น อย่างไรก็ดี กรดกับเบสจะมีการให้โปรตอนเสมอ (ตามทฤษฎีกรด-เบสเบรินสเตด-บาวรี) เนื่องจากมีนิยามกรดและเบสหลายอย่าง ปฏิกิริยาทั้งหลายจึงอาจถูกพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยาการสะเทินได้ ซึ่งทั้งหมดด้านล่างนี้อาจถูกพิจารณาว่าเป็นปฏิกิริยาสะเทินได้ตามนิยามแตกต่างกัน บ่อยครั้ง ปฏิกิริยาสะเทินเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน ตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไฮดรอกไซด์กับกรดไฮโดรคลอริก ตัวอย่างของการสะเทินแบบดูดความร้อน เช่น ปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมไบคาร์บอเนต (โซดาทำขนม) กับกรดน้ำส้ม (น้ำส้มสายชู) การสะเทินหมายถึงการทำให้เป็นกลาง ในทางเคมี "เป็นกลาง" หมายถึง pH เท่ากับ 7.

ใหม่!!: เคมีและปฏิกิริยาสะเทิน · ดูเพิ่มเติม »

ประพนธ์ วิไลรัตน์

ตราจารย์ ประพนธ์ วิไลรัตน์ เกิดวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2487 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นแฝดผู้พี่ของรองศาสตราจารย์ ดร.ประพิณ วิไลรัตน์ และเป็นบุตรคนที่หนึ่ง ในจำนวน 4 คน ของนายนิพนธ์ และนางสดับพิณ วิไลรัตน์ ศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: เคมีและประพนธ์ วิไลรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ปรัชญา

มัยคลาสสิกไว้ในภาพเดียวกัน คำว่า ปรัชญา มีที่มามาจากภาษาสันสกฤต หมายถึงความรู้อันประเสริฐ โดยมีรากศัพท์มาจากคำว่า ปฺร ที่แปลว่าประเสริฐ กับ คำว่า ชฺญา ที่แปลว่ารู้ ซึ่งเป็นศัพท์บัญญัติโดยพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ แทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำΦιλοσοφία ซึ่งไพธากอรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวศตวรรษที่ 6 ก่อน..

ใหม่!!: เคมีและปรัชญา · ดูเพิ่มเติม »

ปีสากลแห่งเคมี

ปีสากลแห่งเคมี 2011 เป็นการระลึกถึงความก้าวหน้าในวิชาเคมี และการมีส่วนต่อมนุษยชาติ July 9, 2009.

ใหม่!!: เคมีและปีสากลแห่งเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ กูว์รี

ปีแยร์ กูว์รี (Pierre Curie; 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1859 – 19 เมษายน ค.ศ. 1906) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส สามีของมารี กูว์รี นักเคมีชาวโปแลนด์ ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี ค.ศ. 1903.

ใหม่!!: เคมีและปีแยร์ กูว์รี · ดูเพิ่มเติม »

นักฟิสิกส์

นักฟิสิกส์ คือนักวิทยาศาสตร์ผู้ศึกษาหรือปฏิบัติงานด้านฟิสิกส์ นักฟิสิกส์ศึกษาปรากฏการณ์ทางกายภาพอย่างกว้างขวางในทุกขนาด ตั้งแต่อนุภาคระดับต่ำกว่าอะตอม (sub atomic particles) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของสสาร (ฟิสิกส์ของอนุภาค) ไปจนถึงพฤติกรรมของวัตถุในเอกภพโดยรวม (จักรวาลวิทยา หรือ Cosmology) วิชาฟิสิกส์มีมากมายหลายสาขา แต่ละสาขามีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะในสาขานั้น.

ใหม่!!: เคมีและนักฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

นักเคมี

นักเคมีคนหนึ่งกำลังเตรียมเซลล์เชื้อเพลิงเพื่อทดสอบ นักเคมี คือนักวิทยาศาสตร์ที่ฝึกฝนและศึกษาวิชาเคมี นักเคมีศึกษาองค์ประกอบและสมบัติของสสาร นักเคมีจะบรรยายคุณสมบัติที่พวกเขาศึกษาอย่างระมัดระวังในด้านปริมาณในระดับโมเลกุลและอะตอม นักเคมีจะวัดสัดส่วนของสสาร อัตราปฏิกิริยา และสมบัติอื่น ๆ ทางเคมี ในภาษาอังกฤษ คำว่า chemist สามารถหมายถึงเภสัชกรในเครือจักรภพอังกฤษด้วย นักเคมีใช้องค์ความรู้นี้เพื่อศึกษาองค์ประกอบ และสมบัติของสสารที่ไม่คุ้นเคยมาก่อน รวมถึงสร้างและสังเคราะห์สสารที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเป็นปริมาณมาก ๆ และสร้างสสารจำลองและกระบวนการใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ นักเคมีอาจมีความรู้เฉพาะในระเบียบย่อยใด ๆ ของเคมีก็ได้ นักวัสดุศาสตร์และช่างโลหะ มีพื้นฐานความรู้และทักษะทางเคมีเหมือนกัน งานของนักเคมีมักมีส่วนเกี่ยวข้องกับงานของวิศวกรรมเคมี ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการออกแบบ การสร้าง และการประเมินค่าของโรงงานเคมีขนาดใหญ่ที่มีประสิทธิภาพทางต้นทุนสูงสุด และทำงานในระดับเคมีอุตสาหกรรมในการพัฒนากระบวนการและวิธีการใหม่ ๆ สำหรับการผลิตสารเคมีและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องในเชิงพาณ.

ใหม่!!: เคมีและนักเคมี · ดูเพิ่มเติม »

นิรมล สุริยสัตย์

ท่านผู้หญิงนิรมล สุริยสัตย์ (4 พฤศจิกายน 2475 - 5 เมษายน 2545) ป.., ป.ม., ท..ว. บุคคลผู้ทำคุณประโยชน์ อดีตประธานกรรมการบริษัท โตชิบา ไทยแลนด์ จำกัด และอดีตสมาชิกวุฒิสภา 2 วาระ ระหว่าง พ.ศ. 2535-2543 ท่านยังเคยดำรงตำแหน่งสำคัญทางเศรษฐกิจและสังคมอีกมาก.

ใหม่!!: เคมีและนิรมล สุริยสัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

นิวคลีโอลัส

นิวเคลียสและ'''นิวคลีโอลัส''' นิวคลีโอลัส (Nucleolus) ทำหน้าที่สังเคราะห์ไรโบโซม เป็นบริเวณเฉพาะภายในนิวเคลียส เป็นที่อยู่ของยีนที่ควบคุมการสังเคราะห์อาร์อาร์เอ็นเอ ไม่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบ ประกอบด้วยสารประเภท RNA และสารอื่นที่เป็นองค์ประกอบของไรโบโซม ค้นพบโดย "ฟอนตานา" (Fontana) เมี่อปี..

ใหม่!!: เคมีและนิวคลีโอลัส · ดูเพิ่มเติม »

นิติวิทยาศาสตร์

นิติวิทยาศาสตร์ (Forensic Science) เป็นการนำเอาวิชาความรู้ในทางด้านวิทยาศาสตร์ ในการเก็บและพิสูจน์หลักฐาน ตรวจร่างกายและวัตถุพยานเพื่อช่วยในการค้นหาความจริง มักเป็นการใช้วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์หรือวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เช่น ชีววิทยา ฟิสิกส์ กายภาพ เคมี คอมพิวเตอร์ และกีฏวิทยา เป็นต้น เพื่อประโยชน์ในการสืบสวน และดำเนินคดีทางกฎหมายเพื่อช่วยกระบวนการยุติธรรมในการพิสูจน์หลักฐานและชี้นำไปสู่ผู้กระทำความผิดอาญา ปัจจุบันมีการนำนิติวิทยาศาสตร์มาใช้ควบคู่กับกระบวนการยุติธรรม ซึ่งมีความสำคัญมากขึ้นในต่างประเทศ เพื่อลดการโต้แย้งความหวาดระแวงระหว่างผู้ควบคุมกฎหมายกับผู้ถูกกล่าวหา เนื่องเพราะวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องหลักการและเหตุผลที่เป็นจริงสามารถพิสูจน์ได้ โดยนิติวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยมีความเกี่ยวเนื่องกับนิติเวชศาสตร์หรือการชันสูตรศพ สามารถแบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ ดังนี้.

ใหม่!!: เคมีและนิติวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

น้ำหล่อลื่น

น้ำหล่อลื่นหลั่งออกจากหัวองคชาตของชายมนุษย์ น้ำหล่อลื่น (pre-ejaculate, pre-ejaculatory fluid, preseminal fluid, Cowper's fluid, pre-cum) เป็นน้ำเหนียว ๆ ใส ๆ ไม่มีสีที่ขับออกมาจากท่อปัสสาวะขององคชาตชายเมื่อเกิดอารมณ์ทางเพศ แม้จะมีส่วนที่คล้ายคลึงกับน้ำอสุจิ แต่น้ำหล่อลื่นก็มีองค์ประกอบทางเคมีที่แตกต่างจากน้ำอสุจิอย่างสำคัญ ยังไม่ชัดเจนว่า มีตัวอสุจิในน้ำหล่อลื่นด้วยหรือไม่ คือ มีงานวิจัยหลายงานที่ไม่พบตัวอสุจิ หรือพบแต่น้อย แต่ว่า งานวิจัยเหล่านี้ไม่สามารถให้ข้อสรุปโดยอุปนัยเพราะว่ามีจำนวนตัวอย่างน้อยเกินไป และหลังจากนั้น ในเดือนมีนาคม ปี..

ใหม่!!: เคมีและน้ำหล่อลื่น · ดูเพิ่มเติม »

แก๊สเรือนกระจก

ice core) ล่าง: ปริมาณสุทธิของคาร์บอนที่เพิ่มในบรรยากาศเปรียบเทียบกับคาร์บอนที่ปลดปล่อยจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (fossil fuel) แก๊สเรือนกระจก (greenhouse gas) หรือบางครั้งเรียกย่อๆว่า GHG คือแก๊สในบรรยากาศที่ดูดซับและปลดปล่อยรังสีภายในช่วงความถี่(คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า)อินฟราเรดร้อน (thermal infrared range) ทำให้เกิดการสูญเสียความร้อนบางส่วนออกสู่ห้วงอวกาศภายนอกและปลดปล่อยความร้อนกลับสู่พื้นผิวโลก ขบวนการนี้จึงเป็นสาเหตุพื้นฐานของปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse effect) แก๊สเรือนกระจกมีความจำเป็นและมีความสำคัญต่อการรักษาระดับอุณหภูมิของโลก หากปราศจากแก๊สเรือนกระจก โลกจะหนาวเย็นจนสิ่งมีชีวิตอยู่อาศัยไม่ได้ อุณหภูมิในโลกจะต่ำกว่าปัจจุบันที่ 14 °C (57 °F) ลงอีก 33 °C (59 °F) แต่การมีแก๊สเรือนกระจกมากเกินไปก็เป็นเหตุให้อุณหภูมิสูงขึ้นถึงระดับเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตดังที่เป็นอยู่กับบรรยากาศของดาวศุกร์ซึ่งมีบรรยากาศที่ประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์มากถึงร้อยละ 96.5 มีผลให้อุณหภูมิผิวพื้นร้อนมากถึง 467 °C (872 °F) คำว่า “แก๊สเรือนกระจก” บนโลกหมายถึงแก๊สต่างๆ เรียงตามลำดับความอุดมคือ ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ โอโซน และ คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon) แก๊สเรือนกระจกเกิดเองตามธรรมชาติและจากกระบวนการอุตสาหกรรมซึ่งปัจจุบันทำให้ระดับคาร์บอนไดออกไซด์มีในบรรยากาศ 380 ppmv และที่ปรากฏในแกนน้ำแข็งตัวอย่าง (ดูแผนภูมิ) จะเห็นว่าระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศปัจจุบันสูงกว่าระดับเมื่อก่อนยุคอุตสาหกรรมประมาณ 100 ppmv.

ใหม่!!: เคมีและแก๊สเรือนกระจก · ดูเพิ่มเติม »

แรงแม่เหล็กไฟฟ้า

ทความนี้ควรนำไปรวมกับ ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า ในวิชา ฟิสิกส์ แรงแม่เหล็กไฟฟ้า คือแรงที่ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า กระทำต่ออนุภาคที่มีประจุทางไฟฟ้า มันคือแรงที่ยึด อิเล็กตรอน กับ นิวคลิไอ เข้าด้วยกันใน อะตอม และยึดอะตอมเข้าด้วยกันเป็น โมเลกุล แรงแม่เหล็กไฟฟ้าทำงานผ่านการแลกเปลี่ยน messenger particle ที่เรียกว่า โฟตอน การแลกเปลี่ยน messenger particles ระหว่างวัตถุทำให้เกิดแรงที่รับรู้ได้ด้วยวิธีแทนที่จะดูดหรือผลักอนุภาคออกจากกันเพียงแค่นั้น การแลกเปลี่ยนจะเปลี่ยนคุณลักษณะของพฤติกรรมของอนุภาคที่แลกเปลี่ยนนั้นอีกด้ว.

ใหม่!!: เคมีและแรงแม่เหล็กไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

แอลกอฮอล์

รงสร้างของแอลกอฮอล์ ในทางเคมี แอลกอฮอล์ (alcohol) คือสารประกอบอินทรีย์ ที่มีหมู่ไฮดรอกซิล (-OH) ต่อกับอะตอมคาร์บอนของหมู่แอลคิลหรือหมู่ที่แทนแอลคิล สูตรทั่วไปของแอลกอฮอล์แบบอะลิฟาติกไฮโดรคาร์บอน (สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เป็นสายตรง) คือ CnH2n+1OH โดยทั่วไป แอลกอฮอล์ มักจะอ้างถึงเอทานอลเกือบจะเพียงอย่างเดียว หรือเรียกอีกอย่างว่า grain alcohol ซึ่งเป็นของเหลวที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และสามารถระเหยได้ ซึ่งเกิดจากการหมักน้ำตาล นอกจากนี้ยังสามารถใช้อ้างถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นที่มาของคำว่าโรคพิษสุรา (alcoholism) เอทานอลเป็นยาเสพติดที่มีฤทธิ์กดประสาท ที่ลดการตอบสนองของระบบประสาทส่วนกลาง แอลกอฮอล์ชนิดอื่น ๆ จะอธิบายด้วยคำวิเศษณ์เพิ่มเติม เช่น isopropyl alcohol (ไอโซโพรพิล แอลกอฮอล์) หรือด้วยคำอุปสรรคว่า -ol เช่น isopropanol (ไอโซโพรพานอล).

ใหม่!!: เคมีและแอลกอฮอล์ · ดูเพิ่มเติม »

แอ็กเซล เฟรดริก ครูนสเตท

รอน แอ็กเซล เฟรดริก ครูนสเตท (Axel Fredrik Cronstedt; 23 ธันวาคม ค.ศ. 1722 – 19 สิงหาคม ค.ศ. 1765) เป็นนักเคมีและนักวิทยาแร่ชาวสวีเดน ได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งวิชาวิทยาแร่สมัยใหม่ ครูนสเตทเกิดที่เมืองไทริงจ์ เรียนด้านคณิตศาสตร์ที่เมืองอุปซอลา ก่อนจะหันมาสนใจด้านวิทยาแร่และเป็นผู้สังเกตการณ์ในคณะกรรมการเหมืองแร่สวีเดน ต่อมาเขาได้เรียนกับเกออร์ก แบรนต์ ผู้ค้นพบธาตุโคบอลต์ และทำงานเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเหมืองแร่ ในปี..

ใหม่!!: เคมีและแอ็กเซล เฟรดริก ครูนสเตท · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มัน ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์

แฮร์มัน ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์ แฮร์มัน ลูทวิช แฟร์ดีนันท์ ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์ (Hermann Ludwig Ferdinand von Helmholtz; 31 สิงหาคม ค.ศ. 1821 – 8 กันยายน ค.ศ. 1894) เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ซึ่งเชี่ยวชาญในวิทยาศาสตร์หลายสาขา ในทางสรีรศาสตร์ เขาได้คิดค้นทฤษฎีการมองเห็น การมองเห็นในอวกาศ งานวิจัยเรื่องการเห็นสี รวมถึงการได้ยินเสียง ในทางฟิสิกส์ งานที่มีชื่อเสียงของเขาคือทฤษฎีเกี่ยวกับ อิเล็กโตรไดนามิกส์ อุณหพลศาสตร์เคมี และหลักพื้นฐานทางกลของอุณหพลศาสตร์ เขายังเป็นนักปรัชญาทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งกำหนดแนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างกฎการตระหนักรู้ กับกฎธรรมชาติ และแนวคิดเรื่องวิทยาศาสตร์เพื่อคุณธรรม สถาบันวิจัยในเยอรมันแห่งหนึ่งได้ใช้ชื่อว่า "Helmholtz Association" เพื่อเป็นเกียรติแก.

ใหม่!!: เคมีและแฮร์มัน ฟ็อน เฮ็ล์มฮ็อลทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์

แฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์ (Hermann Günther Graßmann) เป็นผู้รอบรู้ชาวเยอรมัน มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในฐานะนักภาษาศาสตร์ในยุคของเขา ปัจจุบันได้รับการยกย่องว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ เขายังเป็นนักฟิสิกส์ นักมนุษยวิทยาสมัยใหม่ นักวิชาการทั่วไป และนักหนังสือพิมพ์ แต่งานทางคณิตศาสตร์ของเขาไม่เป็นที่น่าสังเกตหรือน่าจดจำจนกระทั่งเขาอายุหก.

ใหม่!!: เคมีและแฮร์มันน์ กึนเทอร์ กรัสส์มันน์ · ดูเพิ่มเติม »

แถบ นีละนิธิ

ตราจารย์อุปการคุณ แถบ นีละนิธิ (1 กรกฎาคม 2450 - 10 สิงหาคม 2523) อดีตราชบัณฑิต สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน, อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และอดีตคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: เคมีและแถบ นีละนิธิ · ดูเพิ่มเติม »

แดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ด

แดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ด (Daniel Rutherford; 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1749 – 15 ธันวาคม ค.ศ. 1819) เป็นแพทย์ นักเคมีและนักพฤกษศาสตร์ชาวสกอตแลนด์ เกิดที่เมืองเอดินบะระ เป็นบุตรของศาสตราจารย์จอห์น รัทเทอร์ฟอร์ดและแอนน์ แมคเคย์ เรียนที่โรงเรียนมันเดลส์และมหาวิทยาลัยเอดินบะระ ที่นั่นรัทเทอร์ฟอร์ดได้เรียนกับโจเซฟ แบล็ก ซึ่งกำลังศึกษาคุณสมบัติของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รัทเทอร์ฟอร์ดและแบล็กร่วมกันทดลองนำหนูมาขังในพื้นที่ปิดจนเสียชีวิตและจุดเทียน จนพบว่าที่หนูเสียชีวิตและเทียนดับเกิดจากก๊าซชนิดหนึ่งซึ่งไม่ติดไฟและใช้หายใจไม่ได้ รัทเทอร์ฟอร์ดเรียกก๊าซชนิดนี้ว่า "noxious air" หรือ "phlogisticated air" เขารายงานผลการทดลองนี้ในปี..

ใหม่!!: เคมีและแดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

โยฮัน เอากุสท์ อาร์ฟเวดสัน

ัน เอากุสท์ อาร์ฟเวดสัน (Johan August Arfwedson; 12 มกราคม ค.ศ. 1792 – 28 ตุลาคม ค.ศ. 1841) เป็นนักเคมีชาวสวีเดน เกิดในครอบครัวพ่อค้าที่มีฐานะ เป็นบุตรของยาคอบ อาร์ฟเวดสันและอันนา เอลิซาเบธ โฮลเตอร์มันน์ อาร์ฟเวดสันเรียนที่มหาวิทยาลัยอุปซอลาจนจบด้านกฎหมายและวิทยาแร่ ก่อนจะได้งานในคณะกรรมการเหมืองแร่สวีเดน ต่อมาเขามีโอกาสทำงานในห้องปฏิบัติการของเยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส นักเคมีชาวสวีเดน อาร์ฟเวดสันศึกษาแร่เพทาไลต์ จนค้นพบธาตุลิเทียมในปี..

ใหม่!!: เคมีและโยฮัน เอากุสท์ อาร์ฟเวดสัน · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ ว็อล์ฟกัง เดอเบอไรเนอร์

โยฮันน์ ว็อล์ฟกัง เดอเบอไรเนอร์ (Johann Wolfgang Döbereiner; 13 ธันวาคม พ.ศ. 2323 – 24 มีนาคม พ.ศ. 2392) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน ที่เป็นที่รู้จักในการคาดเดากฎพิริออดิกของธาตุเคมี หมวดหมู่:นักเคมีชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: เคมีและโยฮันน์ ว็อล์ฟกัง เดอเบอไรเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรชาน เซธ

โรชาน เซธ โรชาน เซธ (Roshan Seth) เกิดเมื่อ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2485 เป็นนักแสดงชื่อดังของอังกฤษ และ บอลลีวู้ด โรชาน เซธ เกิดในรัฐพิหาร เขาเป็นบุตรของอาจารย์สอนวิชาเคมีคนหนึ่งในรัฐพิหาร ต่อมาได้เข้าวงการแสดง ผลงานภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียง คือ คุรุ และคานธี ในบทชวาหระลาล เนห์รู หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2485 หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ หมวดหมู่:นักแสดงอังกฤษ หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐพิหาร หมวดหมู่:ชาวอังกฤษเชื้อสายอินเดีย หมวดหมู่:นักแสดงชายเชื้อสายอินเดีย.

ใหม่!!: เคมีและโรชาน เซธ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนชลประทานวิทยา

รงเรียนชลประทานวิทยา เป็นโรงเรียนเอกชนที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี โดยมีกรมชลประทานเป็นเจ้าของ ตั้งอยู่เลขที่ 201 หมู่ 1 ถนนติวานนท์ ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สังกัดเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 โรงเรียนชลประทานวิทยา มีเนื้อที่ประมาณ 56 ไร่ มีอาคารเรียน 10 หลังและอาคารเรียนประกอบล้อมรอบสนามฟุตบอล และสนามกรีฑา ผังของโรงเรียนท่านอาจารย์ประหยัด ไพทีกุล นำแบบอย่างมาจากโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ปัจจุบันโรงเรียนชลประทานวิทยามีนักเรียน 6,423 คน ชาย 3,339 คน หญิง 3,084 คน มีครู 305 คน มีห้องเรียนทั้งหมด 138 ห้องในปีการศึกษา 2551 และเพิ่มขึ้นเป็น 141 ในปีการศึกษา 2557 โดยโรงเรียนชลประทานวิทยาทำการสอนนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปิดสอน 2 แผนการเรียนคือ.

ใหม่!!: เคมีและโรงเรียนชลประทานวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมารีย์วิทยา

รงเรียนมารีย์วิทยา (อักษรย่อ: ม.ว. /MV) เป็นสถานศึกษาเอกชนขนาดใหญ่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2499 โดยบาทหลวงมารีอุส หลุยส์ เบรย์ และเซอร์โยเซฟ อันนา (อธิการิณีคนแรกของโรงเรียนมารีย์วิทยา) มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้การศึกษาอบรมแก่กุลบุตร กุลธิดาชาวจังหวัดนครราชสีมา เริ่มเปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2499 โดยคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร เปิดสอนครอบคลุมทุกระดับชั้นตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนมารีย์วิทยาตั้งอยู่ ณ เลขที่ 386 ถนนมุขมนตรี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา บนพื้นที่ขนาด 31 ไร่ 2 งาน 6.5 ตารางวา ของกรมธนารักษ์ โดยมีอาณาเขตทิศเหนือติดกับตลาดย่าโม ทิศใต้ติดกับสถานีรถไฟนครราชสีมา ทิศตะวันออกติดกับตลาดหัวรถไฟ และทิศตะวันตกติดกับโรงเรียนเทศบาลวัดสมอราย โรงเรียนมารีย์วิทยาตั้งอยู่บนพื้นที่ใจกลางเมืองนครราชสีมา ล้อมรอบด้วยสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น ธนาคารไทยพาณิชย์สาขามุขมนตรี ศูนย์การค้าเดอะมอลล์นครราชสีม.

ใหม่!!: เคมีและโรงเรียนมารีย์วิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต บอยล์

รเบิร์ต บอยล์ (Robert Boyle; FRS; 25 มกราคม ค.ศ. 1627 – 31 ธันวาคม ค.ศ. 1691) นักวิทยาศาสตร์ชั้นนำของอังกฤษในฐานะผู้คิดค้นกฎของบอยล์ และนักประดิษฐ์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผลงานที่โดดเด่นของบอยล์คือ เป็นผู้คิดค้นกฎของบอยล์ ซึงกฎของบอยล์ กล่าวว่า ในกรณี ที่อุณหภูมิของแก๊สไม่เปลี่ยนแปลง ผลคูณระหว่าง ความดันของแก๊ส (P) กับปริมาตรของแก๊ส (V) มีค่าคงตัว (C) เขียนสมการได้ว่า PV.

ใหม่!!: เคมีและโรเบิร์ต บอยล์ · ดูเพิ่มเติม »

โฌแซ็ฟ หลุยส์ แก-ลูว์ซัก

แซ็ฟ หลุยส์ แก-ลูว์ซัก (Joseph Louis Gay-Lussac; 6 ธันวาคม 1778 - 9 พ.ค. 1850) เป็นนักเคมีและนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส เขาเป็นที่รู้จักในคนส่วนใหญ่สำหรับกฎสองข้อที่เกี่ยวข้องกับก๊าซ และสำหรับผลงานของเขาในส่วนผสมของแอลกอฮอล์กับน้ำ, ซึ่งนำไปสู่​​สเกลองศาแก-ลูว์ซัก ใช้ในการวัดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในหลายประเท.

ใหม่!!: เคมีและโฌแซ็ฟ หลุยส์ แก-ลูว์ซัก · ดูเพิ่มเติม »

โจะเซ โทะดะ

ซ โทะดะ เกิดเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2443 ใน จังหวัดอิชิกะวะเป็นนายกสมาคมโซกา งัคไค ท่านที่ 2 เป็นอาจารย์ของไดซาขุ อิเคดะ ท่านได้ยืนหยัดต่อสู้เพื่อสมาคม และเป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการบูรณะ วัดใหญ่ไทเซขิจิ ร่วมกับลูกศิษย์ คือ ดร.ไดซาจุ อิเคดะ และสมาชิกสมาคมสร้างคุณค่า ให้มีสภาพที่ดีขึ้นหลังจากตกต่ำในช่วงสงครามโลกครั้งที่2 จนถึงแก่มรณกรรมวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2501.

ใหม่!!: เคมีและโจะเซ โทะดะ · ดูเพิ่มเติม »

โคพอลิเมอร์

ตัวอย่างโคพอลิเมอร์รูปแบบต่างๆ โคพอลิเมอร์ หรือ เฮเทอโรพอลิเมอร์ (Copolymer) คือพอลิเมอร์ที่ได้จากการสังเคราะห์สารมอนอเมอร์ตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป มีความหมายโดยทั่วไปตรงข้ามกับโฮโมพอลิเมอร์ซึ่งสังเคราะห์จากมอนอเมอร์เพียงชนิดเดียว กระบวนการสังเคราะห์โคพอลิเมอร์ (Copolymerization) ยังอ้างอิงไปถึงวิธีการสังเคราะห์ทางเคมีในการสังเคราห์โคพอลิเมอร.

ใหม่!!: เคมีและโคพอลิเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไบเออร์

ออร์ เอจี (Bayer AG; ออกเสียง ไบเออร์ แต่ตามต้นฉบับภาษาเยอรมัน และชาวต่างชาตินิยมออกเสียงเป็น เบเยอร์) เป็นบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเคมีและยา บริษัทก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: เคมีและไบเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ เปรมปรีดิ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ไพโรจน์ เปรมปรีดิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไพโรจน์ เปรมปรีดิ์ เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย สาขาเคมี อดีตคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ติดต่อกัน 4 สมัย เป็นเวลา 16 ปี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ไพโรจน์ เปรมปรีดิ์ หรือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เปรมปรีดิ์ สมรสกับ นางสุรางค์ เปรมปรีดิ์ (นามสกุลเดิม กรรณสูต) อดีตผู้อำนวยการ สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ปัจจุบันดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการประกวดมิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ เวทีอันดับหนึ่งของสาวไทย โดยไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน.

ใหม่!!: เคมีและไพโรจน์ เปรมปรีดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล ฟาราเดย์

มเคิล ฟาราเดย์ (22 กันยายน ค.ศ. 1791 – 25 สิงหาคม ค.ศ. 1867) เป็นนักเคมีและนักฟิสิกส์ ชาวอังกฤษ เป็นผู้คิดค้นไดนาโมในปี..

ใหม่!!: เคมีและไมเคิล ฟาราเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอแซค อสิมอฟ

ร.ไอแซค อาซิมอฟ (Isaac Asimov; Айзек Азимов Ayzek Azimov; IPA:; 2 มกราคม พ.ศ. 2463-6 เมษายน พ.ศ. 2535) นักเขียนและนักชีวเคมีชาวอเมริกันเชื้อสายรัสเซียที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง มีชื่อเสียงรู้จักกันดีในฐานะนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ และหนังสือแนววิทยาศาสตร์สำหรับบุคคลทั่วไป ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขาคือ หนังสือชุดสถาบันสถาปนา รวมทั้งหนังสืออีก 2 ชุด นั่นคือ หนังสือชุดจักรวรรดิเอ็มไพร์ และ หนังสือชุดหุ่นยนต์ นอกจากนี้เขายังได้เขียนนิยายแนวลึกลับและแฟนตาซี รวมทั้งสารคดีอีกจำนวนมาก เขาได้เขียนหนังสือในหมวดใหญ่ๆ ของระบบทศนิยมดิวอี้ทุกแนวเนื้อหา เว้นก็แต่แนวปรัชญาเท่านั้น อาซิมอฟถือเป็นนักเขียนรุ่นใหญ่ในบรรดานักเขียนนวนิยายวิทยาศาสตร์ โดยจัดอยู่ในแนวหน้า เช่นเดียวกับ โรเบิร์ต เอ. ไฮน์ไลน์ และอาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก ซึ่งถือเป็นผู้ยิ่งใหญ่ทั้งสาม (Big Three) ในหมู่นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ในช่วงชีวิตของ.

ใหม่!!: เคมีและไอแซค อสิมอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัส

น์ริช กุสทัฟ แมกนัส (Heinrich Gustav Magnus; 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1802 – 4 เมษายน ค.ศ. 1870) เป็นนักฟิสิกส์และนักเคมีชาวเยอรมัน ไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัสเกิดที่เมืองเบอร์ลิน ในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ได้รับการเรียนการสอนจากที่บ้านก่อนจะเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน และได้ไปศึกษาดูงานที่กรุงสตอกโฮล์มและปารีส ในปี..

ใหม่!!: เคมีและไฮน์ริช กุสทัฟ แมกนัส · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจนคลอไรด์

Submit to get this template or go to:Template:Chembox.

ใหม่!!: เคมีและไฮโดรเจนคลอไรด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไซยาโนอะคริเลต

ูตรโมเลกุลทั่วไปของไซยาโนอะคริเลต C5H5NO2 ซูเปอร์กลู ไซยาโนอะคริเลต (cyanoacrylate) คือชื่อเรียกรวมของวัสดุทางเคมีกลุ่มหนึ่งที่ใช้เป็นสารยึดติดแบบแห้งเร็ว อาทิ methyl-2-cyanoacrylate กับ ethyl-2-cyanoacrylate ที่รู้จักกันตามชื่อสามัญว่า กาวตราช้าง, กาวร้อน, หรือ ซูเปอร์กลู (Superglue), และ 2-octyl-cyanoacrylate หรือ n-butyl-cyanoacrylate ซึ่งใช้เป็นสารยึดติดทางการแพทย์และศัลยกรรมในชื่อ เดอร์มาบอนด์ (Dermabond) หรือ ทรอมาซีล (Traumaseal) เป็นต้น ส่วนในทางอุตสาหกรรมจะใช้อักษรย่อเรียกสารกลุ่มนี้ว่า "CA".

ใหม่!!: เคมีและไซยาโนอะคริเลต · ดูเพิ่มเติม »

ไนตรัสออกไซด์

แนวโน้มในการเป็นแก๊สเรือนกระจก ถังแก๊สไนตรัสออกไซด์สำหรับใช้ในทางทันตกรรม ไนตรัสออกไซด์ หรือ แก๊สหัวเราะ (Nitrous oxide หรือ laughing gas) คือสารประกอบทางเคมีที่มีสูตรทางเคมีว่า N2O ที่อุณหภูมิห้อง ไนตรัสออกไซด์จะไม่มีสี และเป็นแก๊สไม่ติดไฟ ไนตรัสออกไซด์มีกลิ่นหอมและมีรสหวานเล็กน้อย มีการนำไนตรัสออกไซด์ไปใช้ในการผ่าตัดและทางทันตกรรมเพื่อให้เกิดอาการชาและเพื่อการระงับความปวด โดยทั่วไปรู้จักกันในชื่อ “แก๊สหัวเราะ” เนื่องจากเมื่อสูดดมแล้วจะให้ความรู้สึกเคลิ้มสุขหรือครึ้มใจ เป็นคุณสมบัติที่ทำให้มีการใช้ในเชิงนันทนาการโดยการใช้เป็นยาดม และยังมีการนำไปใช้ในการแข่งรถยนต์โดยให้เป็นตัวเติมออกซิเจนเพื่อเพิ่มกำลังให้เครื่องยนต์อีกด้ว.

ใหม่!!: เคมีและไนตรัสออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนโตรกลีเซอรีน

ไนโตรกลีเซอรีน (Nitroglycerin) มีชื่ออื่นๆ เช่น ไตรไนโตรกลีเซอรีน (trinitroglycerin), กลีเซอรีล ไตรไนเตรต (glyceryl trinitrate) เป็นต้น เป็นสารประกอบทางเคมีชนิดหนึ่ง ปกติเป็นของเหลว ระเบิดได้ ลื่นมัน เป็นพิษ ไม่มีสี และหนัก ได้จากการไนเตรตสารกลีเซอรอล นิยมใช้ในการผลิตวัตถุระเบิด โดยเฉพาะไดนาไมต์ และใช้ในอุตสาหกรรมการก่อสร้างและรื้อทำลาย นอกจากนี้ยังมีใช้ในการแพทย์ เพื่อขยายหลอดเลือดหัวใจ ในคนไข้ที่เป็นโรคหัวใจ ไนโตรกลีเซอรีน (C_3H_5(ONO_2)_3) หรือที่รู้จักในชื่อของไดนาไมต์ ซึ่งเป็นวัตถุระเบิดที่มีความรุนแรงสามเท่าของดินปืน อัลเฟรด โนเบล เป็นผู้ค้นพบและผลิตในยุคต้นๆ และทำความร่ำรวยให้กับเขาอย่างมหาศาล ซึ่งต่อมาใช้เป็นรางวัลโนเบลจนถึงปัจจุบัน หมวดหมู่:สารเคมี หมวดหมู่:วัตถุระเบิด.

ใหม่!!: เคมีและไนโตรกลีเซอรีน · ดูเพิ่มเติม »

ไนโตรเจนออกไซด์

นโตรเจนออกไซด์ (NOx) หรือ กลุ่มก๊าซที่มี (Highly reactive gases) เป็นก๊าซซึ่งมีองค์ประกอบทางเคมีของไนโตรเจนและออกซิเจน ในอัตราส่วนแตกต่างกัน ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ยกเว้นก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ เมื่อรวมตัวกับอนุภาคอื่น ๆ ในอากาศ จะเห็นคล้ายตดเป็นชั้นสีน้ำตาลแดง.

ใหม่!!: เคมีและไนโตรเจนออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

ไนโตรเจนไดออกไซด์

นโตรเจนไดออกไซด์ (Nitrogen dioxide) เป็นสารประกอบเคมีที่มีสูตรเคมี เป็นหนึ่งในหลาย ๆ ของไนโตรเจนออกไซด์ เป็นระดับกลางในการสังเคราะห์อุตสาหกรรมของกรดไนตริก นับล้านตันที่ผลิตในแต่ละปี แก๊สพิษสีน้ำตาลแดงนี้มีลักษณะคมกัดกลิ่นและมลพิษทางอากาศที่โดดเด่น ไนโตรเจนใดออกไซด์เป็นโมเลกุลพาราแมกเนติก โค้งด้วย C2v กลุ่มจุดเชื่อมสมมาตร.

ใหม่!!: เคมีและไนโตรเจนไดออกไซด์ · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์ล็อก โฮมส์

อร์ล็อก โฮมส์ เป็นนวนิยายสืบสวนหรือรหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ นักเขียนและนายแพทย์ชาวสกอต ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮมส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้ปราดเปรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้านทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยหลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคลี่คลายคดี โคนัน ดอยล์ แต่งเรื่อง เชอร์ล็อก โฮมส์ ไว้ทั้งสิ้นเป็นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่องเป็นการบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮมส์ คือ นายแพทย์จอห์น เอช. วอตสัน หรือ หมอวอตสัน ในจำนวนนี้ มี 2 เรื่องที่โฮมส์เป็นผู้เล่าเรื่องเอง และอีก 2 เรื่องเล่าโดยบุคคลอื่น เรื่องสั้นสองเรื่องแรกตีพิมพ์ใน Beeton's Christmas Annual ในปี..

ใหม่!!: เคมีและเชอร์ล็อก โฮมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เพชร

รดิบ เพชร เป็นอัญมณีรูปแบบหนึ่งของคาร์บอน จัดเรียงตัวเป็นทรงแปดหน้า เป็นแร่ที่แข็งที่สุดตามสเกลของโมส์ (Moh's scale) มีค่าความแข็งเท่ากับ 10 เพชรมีหลายสี สีที่นิยมที่สุดคือสีขาวบริสุทธิ์ สีที่หายากคือสีแดง ฟ้า เขียว ส้ม ชมพู เรียก "แฟนซีไดมอนด์" มีราคาสูงมาก การเจียระไนเป็น 52 เหลี่ยมนับว่าสวยที่สุด เพชรเป็นสัญลักษณ์ของอำนาจ ความแข็งแกร่ง แหล่งของเพชรมีอยู่ทั่วโลก ส่วนมากพบที่บราซิลและแอฟริกาใต้.

ใหม่!!: เคมีและเพชร · ดูเพิ่มเติม »

เพาล์ คาร์เรอร์

ล์ คาร์เรอร์ (Paul Karrer; 21 เมษายน ค.ศ. 1889 – 18 มิถุนายน ค.ศ. 1971) เป็นนักเคมีชาวสวิส เกิดที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เป็นบุตรของเพาล์ คาร์เรอร์ และยูลิเยอ คาร์เรอร์ ต่อมาครอบครัวย้ายมาอาศัยในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ คาร์เรอร์เรียนเคมีที่มหาวิทยาลัยซูริก หลังเรียนจบ คาร์เรอร์ทำงานเป็นผู้ช่วย ก่อนจะดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ด้านเคมีและผู้อำนวยการสถาบันเคมีอินทรีย์ของมหาวิทยาลัยซูริก คาร์เรอร์มีผลงานที่สำคัญคือการศึกษาสารกลุ่มแคโรทีนอยด์และชี้ให้เห็นว่าบางส่วนสามารถแปรสภาพเป็นวิตามินเอได้เมื่อเข้าสู่ร่างกาย การศึกษานี้นำไปสู่การระบุโครงสร้างของบีตา-แคโรทีน หลังจากนั้นคาร์เรอร์ได้ศึกษาโครงสร้างของกรดแอสคอร์บิก (วิตามินซี), วิตามินบี2 และวิตามินอี ในปี..

ใหม่!!: เคมีและเพาล์ คาร์เรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกลือ (เคมี)

ผลึกเกลือ เมื่อส่องขยาย (เฮไลต์/เกลือแกง) ในทางเคมี เกลือ เป็นสารประกอบไอออนิก ประกอบด้วยแคตไอออนและแอนไอออน ทำให้ผลผลิตที่ได้เป็นกลาง (ประจุสุทธิเป็นศูนย์) ไอออนเหล่านี้อาจเป็นอนินทรีย์ (Cl−) กับอินทรีย์ (CH3COO−) หรือไอออนอะตอมเดี่ยว (F−) กับไอออนหลายอะตอม (SO42−) ก็ได้ เกลือจะเกิดขึ้นได้เมื่อกรดและเบสทำปฏิกิริยากัน.

ใหม่!!: เคมีและเกลือ (เคมี) · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์ก วิททิก

กออร์ก วิททิก (Georg Wittig; 16 มิถุนายน ค.ศ. 1897 – 26 สิงหาคม ค.ศ. 1987) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เป็นผู้ค้นพบปฏิกิริยาวิททิก ซึ่งเป็นการสังเคราะห์อินทรีย์เพื่อเตรียมแอลคีน รวมถึงค้นพบปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 1,2-วิททิก ปฏิกิริยาเรียงตัวใหม่ 2,3-วิททิกและการเตรียมฟีนิลลิเทียม วิททิกได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีร่วมกับเฮอร์เบิร์ต ซี. บราวน์ ในปี..

ใหม่!!: เคมีและเกออร์ก วิททิก · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชกร

ัชกร (pharmacist) คือผู้ที่มีวิชาชีพทางด้านสาธารณสุข (health profession) มีหน้าที่จ่ายยา ให้ผู้ป่วย แนะนำการใช้ยา ติดตามการใช้ยาให้ผู้ป่วย และเป็นผู้ผลิตยา เภสัชกรจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความสามารถหลายสาขาโดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการแพทย์ไม่ว่าจะเป็นทางด้านคลินิก โรงพยาบาล และเภสัชชุมชนซึ่งจะต้องเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ทางเลือกหนึ่งของวิชาชีพเภสัชกรคือการปฏิบัติงานในร้านขายยาซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นเจ้าของร้านเอง (small business) ในงานด้านนี้เภสัชกรนอกจากจะมีความชำนาญในธุรกิจร้านค้าแล้วยังมีความรู้และข้อมูลการใช้ยาทั้งประสิทธิภาพและผลข้างเคียงของยา ตลอดจนการให้ข้อมูลความรู้ให้คำปรึกษาการใช้ยาแก่ชุมชนด้วย เภสัชกรบางครั้งเรียกว่านักเคมี เพราะในอดีตมีการให้ผู้สำเร็จการศึกษาในวิชาเคมีสาขาเภสัชกรรม (Pharmaceutical Chemistry: PhC) มาเป็นเภสัชกรซึ่งเรียกกันว่านักเคมีเภสัชกรรม (Pharmaceutical Chemists) โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษ เช่น เครือข่ายร้านขายยาของบู๊ตส์เรียกเภสัชกรของบู๊ตส์ว่า "นักเคมีบูตส์" (Boots The Chemist).

ใหม่!!: เคมีและเภสัชกร · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชวิทยา

ัชวิทยา (Pharmacology) เป็นศาสตร์สาขาของชีววิทยา ซึ่งมุ่งเน้นศึกษาเกี่ยวกับการออกฤทธิ์ของยา, การได้มาของยา ทั้งจากที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์โดยมนุษย์ ธรรมชาติ หรือแม้แต่โมเลกุลภายในร่างกายมนุษย์เอง ซึ่งส่งผลชีวเคมีหรือสรีรวิทยาต่อเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ หรือจุลชีพ (ในบางครั้ง คำว่า ฟาร์มาคอน ก็ถูกนำมาใช้แทนที่เพื่อให้มีนิยามครอบคลุมสารภายในและภายนอกร่างกายที่ทำให้ผลทางชีวภาพเหมือนกับยา) แต่ถ้ากล่าวให้จำเพาะมากขึ้นแล้ว เภสัชวิทยานั้นเป็นศาสตร์ที่ศึกษาปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างสิ่งมีชีวิตและสารคเมีที่ส่งผลให้เกิดความผิดปกติและปรับสมดุลการทำงานทางชีวเคมีของสิ่งมีชีวิตนั้นๆ ซึ่งหากสารเคมีใดที่มีคุณสมบัติในการบำบัดรักษาโรค อาจถือได้ว่าสารเคมีนั้นจัดเป็นยา การศึกษาด้านเภสัชวิทยานั้นครอบคลุมองค์ประกอบและคุณสมบัติต่างๆของยา การสังเคราะห์และการออกแบบยา กลไกการออกฤทธิ์ของยาทั้งในระดับโมเลกุลและระดับเซลล์ ผลของยาต่ออวัยวะและระบบต่างๆของร่างกาย ระบบการรับส่งสัญญาณการสื่อสารระดับเซลล์ การวินิจฉัยระดับโมเลกุล อันตรกิริยา พิษวิทยา ชีววิทยาของเซลล์ การบำบัดรักษา การประยุกต์ใช้ยาทางการแพทย์ และความสามารถในการต้านทานการเกิดโรคของยา ทั้งนี้ การศึกษาด้านเภสัชวิทยามุ่งเน้นไปที่ 2 ประเด็นหลัก คือ เภสัชพลศาสตร์ และเภสัชจลนศาสตร์ โดยเภสัชพลศาสตร์จะเป็นการศึกษาถึงผลของยาต่อระบบชีวภาพต่างๆของสิ่งมีชีวิต ส่วนเภสัชจลนศาสตร์ จะศึกษากระบวนการการตอบสนองหรือการจัดการของระบบภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิตต่อยา หากกล่าวสรุปแล้ว เภสัชพลศาสตร์จะอภิปรายได้ถึงผลของยาต่อร่างกาย และเภสัชจลนศาสตร์จะกล่าวถึงการดูดซึมยา การกระจาย การเปลี่ยนแปลงยา และการกำจัดยาของร่างกาย (ADME) ทั้งนี้ บ่อยครั้งที่เกิดความสับสนและเข้าใจผิดว่า เภสัชวิทยา และเภสัชศาสตร์ เป็นคำพ้องซึ่งกันและกัน แต่โดยรายละเอียดของศาสตร์ที่งสองแล้ว มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน เมื่อเปรียบเทียบแล้ว เภสัชวิทยาจั้นจัดเป็นชีวเวชศาสตร์ที่เกี่ยวเนื่องกับการวิจัย การค้นคว้า และการจำแนกสารเคมีที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ การศึกษาการทำงานของเซลล์และจุลชีพที่เกี่ยวเนื่องกับสารเคมีเหล่านั้น ในทางตรงกันข้าม เภสัชศาสตร์ เป็นการศึกษาทางวิชาชีพบริการทางสุขภาพที่มุ่งเน้นการปรับประยุกตฺใช้หลักการและองค์ความรู้ต่างๆที่ได้จากการศึกษาทางเภสัชวิทยามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการบำบัดรักษาโรค ดังนั้น ความแตกต่างหลักระหว่างทั้งสองศาสตร์ คือ ความแตกต่างระหว่างการดูแลผู้ป่วยโดยตรงโดยการปฏิบัติด้านเภสัชกรรม และสาขาการวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์ที่ขับเคลื่อนโดยเภสัชวิทยา ต้นกำเนิดของการศึกษาทางเภสัชวิทยาคลินิกเกิดขึ้นในยุคกลาง ตามที่มีการบันทึกไว้ในตำราการแพทย์ The Canon of Medicine ของอิบน์ ซีนา, Commentary on Isaac ของปีเตอร์ ออฟ สเปน, และ Commentary on the Antedotary of Nicholas ของจอห์น ออฟ เซนต์ แอมานด์ โดยเป็นศาสตร์ที่มีฐานรากมาจากการศึกษาค้นคว้าทางการแพทย์ของวิลเลียม วิเธอริง แต่เภสัชวิทยาในฐานะศาสตร์แขนงหนึ่งของวิทยาศาสตร์ไม่ได้มีการพัฒนาก้าวหน้ามากขึ้นเท่าใดนักจนกระทั่งในช่วงกลางของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นยุคที่มีการฟื้นตัวของศาสตร์ชีวการแพทย์แขนงต่างๆ เป็นอย่างมาก โดยในช่วงต้นคริสต์สตวรรษที่ 19 นั้น ความเข้าใจในกลไกการออกฤทธิ์ที่จำเพาะและความแรงของยาต่างๆ เช่น มอร์ฟีน, ควินีน และดิจิทาลลิส นั้นยังมีความคลุมเครือเป็นอย่างมาก รวมไปถึงมีการกล่าวอ้างถึงคุณสมบัติและสัมพรรคภาพของสารเคมีบางชนิดต่อร่างกายและเนื้อเยื่อที่ผิดแผกไปจากความเป็นจริงในปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางเภสัชวิทยาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 นี่ทำให้มีการจัดตั้งแผนกเภสัชวิทยาขึ้นเป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: เคมีและเภสัชวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชศาสตร์

ร้านยาแผนปัจจุบันในประเทศนอร์เวย์ เภสัชศาสตร์ ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งว่าด้วยกระบวนการต่างๆ เกี่ยวกับเรื่องยาบำบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค โดยศึกษาตั้งแต่วัตถุดิบที่จะนำมาผลิตยา การปรุงยา การเก็บรักษา ตลอดจนกระบวนการกระจายยา โดยศึกษาตั้งแต่แหล่งของยา โครงสร้างทางเคมีของยา การผลิตเป็นรูปแบบยาเตรียมต่างๆ การควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพยาและเภสัชภัณฑ์ การวิจัยและการพัฒนายาและเภสัชภัณฑ์ ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา เภสัชจลนศาสตร์ เภสัชพลศาสตร์ การใช้ยาทางคลินิกในโรคของระบบต่างๆ อาการไม่พึงประสงค์ของยา การติดตามผลของยา การประเมินการใช้ยา ไปจนถึงการบริหารจัดการเรื่องยาและกฎหมายเกี่ยวกับยา ทั้งนี้ยังครอบคลุมไปถึงเครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร สารเสพติด สารพิษ และวัตถุหรือสารออกฤทธิ์ประเภทต่างๆ เภสัชศาสตร์กำเนิดขึ้นควบคู่กับวิวัฒนาการของมนุษยชาติ ในการบำบัดรักษาคนป่วยในสมัยโบราณได้นำพืช สัตว์ และแร่ธาตุในการบำบัดรักษา โดยศึกษาวิธีการจากสิ่งมีชีวิตรอบตัว จนได้มีการจดบันทึกสั่งสมองค์ความรู้สู่การพัฒนาเภสัชตำรับฉบับแรกของโลกโดยชาวสุเมเรียน และได้เริ่มมีการศึกษาฤทธิ์ของยาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์มากขึ้นในสมัยของฮิปโปเครตีส การเรียนการสอนทางเภสัชศาสตร์ในสมัยโบราณเป็นการศึกษาในวงจำกัดของชนชั้นสูงในสังคมอาหรับและการสืบทอดตำราโดยบาทหลวงเท่านั้น จนกระทั่งสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 ทรงประกาศกฎหมายเกี่ยวกับวิชาชีพเภสัชกรรม และการฝึกหัดทางเภสัชศาสตร์ทำให้มีการจัดการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบยิ่งขึ้น เภสัชศาสตร์เป็นศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สุขภาพอย่างยิ่ง การเรียนการสอนทางเภสัชศาสตร์เน้นหลักในวิชาการด้านเคมีเป็นส่วนใหญ่ มีการแบ่งสาขาวิชาทางเภสัชศาสตร์จำแนกย่อยอีกหลายสาขา โดยแบ่งเป็นด้านวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม ประกอบด้วยสาขาเภสัชวิทยา เภสัชเวท เภสัชเคมี เภสัชวิเคราะห์และเภสัชภัณฑ์ จวบจนกระทั่งเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้น การผลิตยาจึงได้ประยุกต์สู่ด้านเภสัชอุตสาหกรรมด้วย ด้านเภสัชบริบาลศาสตร์ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการบริบาลผู้ป่วยและดูแลรักษาควบคุมการใช้ ตลอดจนติดตามผลการรักษาจากการใช้ยา ประกอบด้วยสาขาเภสัชกรรมคลินิกและเภสัชกรรมโรงพยาบาล และด้านเภสัชสาธารณสุข เภสัชศาสตร์สังคมและบริหารเภสัชกิจที่ดูแลการใช้ยาในระดับประชากรและการบริหารจัดการเรื่อง.

ใหม่!!: เคมีและเภสัชศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชเคมี

ัชเคมี (Pharmaceutical Chemistry) เป็นสาขาวิชาที่เกิดจากการผสมผสานกันของศาสตร์หลายสาขาโดยเฉพาะเคมีและเภสัชกรรม เพื่อการค้นหาและออกแบบตัวยา เภสัชเคมีจะเกี่ยวข้องกับการศึกษาเอกลักษณ์ทางเคมีของตัวยา การสังเคราะห์ตัวยา และการพัฒนาสารเคมีตัวใหม่ที่เหมาะสำหรับการรักษาโรค รวมถึงการศึกษายาที่มีอยู่เดิมในส่วนของคุณสมบัติทางเคมีกับคุณสมบัติทางเภสัชวิทยา-พิษวิทยา เช่น ความสัมพันธ์เชิงปริมาณระหว่างการออกฤทธิ์และโครงสร้างของยา (Quantitative Structure-Activity Relationship: QSAR) เป็นต้น.

ใหม่!!: เคมีและเภสัชเคมี · ดูเพิ่มเติม »

เมลามีน

มลามีน Melamine เป็นเบสอินทรีย์ มีสูตรทางเคมีว่า C3H6N6, และชื่อทาง IUPAC ว่า 1,3,5-triazine-2,4,6-triamine เมลามีนเป็นสารที่ละลายน้ำได้เพียงเล็กน้อย เมลามีนเป็นไทรเมอร์ (หรือสารประกอบที่เกิดจากโมเลกุล 3 ตัวที่เหมือนกันแตกเป็นสามขา) ของไซยานาไมด์ (cyanamide) เช่นเดียวกันกับไซยานาไมด์ เมลามีนประกอบด้วยไนโตรเจน 66% (โดยมวล) เป็นสารที่มีคุณสมบัติหน่วงไฟเมื่ออยูในรูปของเรซินด้วยการปลดปล่อยไนโตรเจนออกมาเมื่อลุกใหม้หรือถูกเผา มีการนำเอา Dicyandiamide (หรือ cyanoguanidine), ที่เป็นไดเมอร์ (สองส่วน - dimer) ของไซยานาไมด์มาใช้เป็นสารหน่วงไฟเช่นกัน เมลามีนเป็นสารในกระบวนการสร้างและสลาย (metabolite) ของ “ไซโลมาซีน (cyromazine) ซึ่งเป็นยาฆ่าแมลงชนิดหนึ่ง เป็นสารที่เกิดขึ้นในตัวของสัตว์เลือดอุ่นที่ย่อยไซโลมาซีน มีรายงานด้วยเช่นกันว่าไซโลมาซีนเปลี่ยนเป็นเมลามีนในพื.

ใหม่!!: เคมีและเมลามีน · ดูเพิ่มเติม »

เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส

รอน เยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส (Jöns Jacob Berzelius; 20 สิงหาคม ค.ศ. 1779 – 7 สิงหาคม ค.ศ. 1848) เป็นนักเคมีชาวสวีเดน เกิดที่จังหวัดเอิสแตร์เยิตลันด์ บิดามารดาของแบร์ซีเลียสเสียชีวิตตั้งแต่เขายังเล็ก เขาจึงอยู่ในความดูแลของญาติในเมืองลินเชอปิง แบร์ซีเลียสเรียนหนังสือในเมืองนั้นก่อนจะเรียนต่อวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยอุปซอลา เขาเรียนเคมีกับอันเดอร์ส กุสตาฟ เอเกแบร์ก ผู้ค้นพบธาตุแทนทาลัม แบร์ซีเลียสเป็นผู้ช่วยเภสัชกรและแพทย์ก่อนจะเรียนจบในปี..

ใหม่!!: เคมีและเยินส์ ยาคอบ แบร์ซีเลียส · ดูเพิ่มเติม »

เลขโคออร์ดิเนชัน

ในวิชาเคมีและผลิกศาสตร์ เลขโคออร์ดิเนชัน (coordination number) ของอะตอมศูนย์กลางในโมเลกุลหรือในผลึกหนึ่ง หมายถึง จำนวนของอะตอมเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้ชิดอะตอมนั้นที่สุด วิธีการหาเลขโคออร์ดิเนชันสำหรับโมเลกุลและสำหรับผลึกไม่เหมือนกันเสียทีเดียว ในทางเคมี สิ่งที่พิจารณาคือพันธะเคมีเป็นหลัก เลขโคออร์ดิเนชันของอะตอมหนึ่งได้จากการนับจำนวนอะตอมอื่นที่ตัวมันยึดเหนี่ยวอยู่ (ไม่ว่าจะยึดด้วยพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม ก็นับแต่จำนวนอะตอมเท่านั้น) เช่น 1- มี Cr3+ ที่อยู่ตรงกลางมีเลขโคออร์ดิเนชันเป็น 6.

ใหม่!!: เคมีและเลขโคออร์ดิเนชัน · ดูเพิ่มเติม »

เลโอ บาเกอลันด์

ลโอ แฮ็นรีกึส อาร์ตืร์ บาเกอลันด์ (Leo Henricus Arthur Baekeland; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1863 - 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1944) เป็นนักเคมีและนักประดิษฐ์ชาวเบลเยียม/อเมริกัน.

ใหม่!!: เคมีและเลโอ บาเกอลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เลเซอร์

ลเซอร์สีแดง (635 นาโนเมตร), สีเขียว (532 นาโนเมตร) และสีม่วง-น้ำเงิน (445 นาโนเมตร) เลเซอร์ (ย่อมาจากคำว่า light amplification by stimulated emission of radiation) ในทางฟิสิกส์ คือ อุปกรณ์ที่ให้กำเนิดลำแสง ที่มีลักษณะเฉพาะ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่รวมกันระหว่างกลศาสตร์ควอนตัมกับอุณหพลศาสตร์ ซึ่งพลังงานแสงเลเซอร์ สามารถมีคุณสมบัติได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ในการออกแบบ เลเซอร์ส่วนมากจะเป็นลำแสงที่มีขนาดเล็ก มีการเบี่ยงเบนน้อย (low-divergence beam) และสามารถระบุความยาวคลื่นได้ง่าย โดยดูจากสีของเลเซอร์ ถ้าอยู่ในสเป็กตรัมที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (visible spectrum) ซึ่งเลเซอร์นี้อาจกล่าวได้ว่า เป็นการรวมพลังงานแสงที่ส่งออกมาจากหลายความยาวคลื่นเข้าด้วยกัน เลเซอร์ จะหมายรวมไปถึงการให้พลังงานผ่านทางสื่อนำแสง ซึ่งสื่อนำแสงอาจเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว ก๊าซ หรืออิเล็กตรอนอิสระที่มีคุณสมบัติสามารถนำแสงได้ ในรูปแบบที่ง่ายที่สุด ออบติคอล คาวิตี้ (Optical cavity) จะประกอบไปด้วยกระจก 2 อัน ที่จะจัดเรียงแสงเข้าด้วยกันครั้งแล้วครั้งเล่า โดยที่แต่ละครั้งจะผ่านสื่อนำแสง โดนหนึ่งในกระจกนั้น (Output coupler) จะส่งลำแสงออกมา ลำแสงเลเซอร์ ที่ผ่านทางสื่อนำแสงจะมีความยาวคลื่นเฉพาะ และมีพลังงานเพิ่ม ซึ่งกระจกนี้จะพยายามทำให้แสงส่วนมาก สามารถผ่านทางสื่อนำแสงให้ได้ และออกมาเป็นลำแสงเลเซอร์ กระบวนการเหนี่ยวนำลำแสงเพื่อเพิ่มพลังงานนี้ จะใช้พลังงานไฟฟ้าหรือแแสงในหลายความยาวคลื่น ซึ่งในการทดลองแต่ละครั้ง ความยาวคลื่นของแสงในแต่ละความยาวคลื่น จะส่งผลโดยตรงต่อคุณสมบัติ รูปร่าง และความยาวคลื่นของลำแสงเลเซอร์ที่สร้างออกมา การค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับเลเซอร์ เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภาคม ปี 1960 โดย ทีโอดอร์ ไมแมน (Theodore Maiman) ที่สถาบันวิจัย ฮิวจ์ (Hughes Research Laboratories) ทุกวันนี้เลเซอร์กลายเป็นอุตสาหกรรมที่ทำรายได้หลายพันล้านดอนล่าร์ ผลผลิตจากงานวิจัยเลเซอร์ และกลายเป็นอุปกรณ์ที่มีใช้กันอย่างแพร่หลาย มีให้เห็นอย่างเช่น แผ่นดีวีดี แผ่นซีดี เครื่องเล่นดีวีดี เครื่องอ่านบาร์โค้ด อุปกรณ์ตัดโลหะด้วยเลเซอร์ ฯลฯ จะเห็นได้ว่าเลเซอร์มีการใช้กันอย่างกว้างขวาง ไม่ว่าจะเป็นด้านวิทยาศาสตร์ ด้านอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์ หรือแม้กระทั่งด้านการทหาร ก็เพราะว่าเลเซอร์สามารถควบคุมความยาวคลื่นตามที่ต้องการได้.

ใหม่!!: เคมีและเลเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เวกเตอร์

แบบจำลองเวกเตอร์ในหลายทิศทาง เวกเตอร์ (vector) เป็นปริมาณในทางคณิตศาสตร์ ซึ่งมีลักษณะไม่เหมือนกับ สเกลาร์ ซึ่งเป็นจำนวนที่มีทิศทาง เวกเตอร์มีการใช้กันในหลายสาขานอกเหนือจากทางคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะในทางวิทยาศาสตร์ฟิสิกส์ และเคมี เช่น การกระจั.

ใหม่!!: เคมีและเวกเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจของประเทศไนจีเรีย

ประเทศไนจีเรียเป็นประเทศรายได้ปานกลาง มีเศรษฐกิจแบบผสม และเป็นตลาดเกิดใหม่ โดยภาคการเงิน บริการ สื่อสาร เทคโนโลยีและบันเทิงกำลังขยายตัว เศรษฐกิจไนจีเรียมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) มากเป็นอันดับที่ 22 ของโลก (จีดีพีราคาตลาด: อันดับที่ 30 ในปี 2556) และในเดือนเมษายน 2557 เป็นเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในทวีปแอฟริกา ไนจีเรียมีศักยภาพเป็นหนึ่งในยี่สิบเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดของโลกภายในปี 2563 ภาคการผลิตที่กำลังเกิดใหม่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของทวีปแอฟริกา และผลิตสินค้าและบริการเป็นสัดส่วนมากในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก แม้ว่าปัจจุบันจะมีการปฏิบัติการต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ เดิมเศรษฐกิจไนจีเรียมีอุปสรรคจากช่วงที่มีการจัดการผิดพลาด แต่การปฏิรูปเศรษฐกิจในทศวรรษที่ผ่านมาดึงไนจีเรียกลับมาสู่การบรรลุศักยภาพทางเศรษฐกิจอย่างเต็มที่ จีดีพีที่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ (PPP) ของไนจีเรียเพิ่มขึ้นเป็นเกือบสามเท่าจาก 170,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐในปี 2543 เป็น 451,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐในปี 2555 แต่การประมาณขนาดเศรษฐกิจนอกระบบ (ซึ่งไม่นับรวมในตัวเลขทางการ) ทำให้ตัวเลขแท้จริงใกล้เคียง 630,000 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ เช่นเดียวกัน จีดีพีต่อหัวเพิ่มขึ้นจาก 1,400 ดอลล่าร์สหรัฐในปี 2543 เป็น 2,800 ดอลล่าร์สหรัฐในปี 2555 (เมื่อนับรวมเศรษฐกิจนอกระบบแล้ว มีการประมาณว่าจีดีพีต่อหัวอยู่ที่ราว 3,900 ดอลล่าร์สหรัฐ) โดยที่ประชากรเพิ่มขึ้นจาก 120 ล้านคนในปี 2543 เป็น 160 ล้านคนในปี 2553 จะมีการทบทวนตัวเลขเหล่านี้โดยอาจปรับเพิ่มขึ้นมากที่สุด 80% เมื่อมีการคำนวณเมตริกใหม่หลังการเปลี่ยนฐานเศรษฐกิจในเดือนเมษายน 2557 แม้ว่าไนจีเรียจะมีสถานภาพเป็นผู้ส่งออกน้ำมันรายใหญ่ แต่ไนจีเรียผลิตน้ำมันได้เพียง 2.7% ของอุปสงค์ทั่วโลก (ซาอุดิอาระเบีย: 12.9%, รัสเซีย: 12.7%, สหรัฐอเมริกา: 8.6%) เพื่อให้เห็นภาพรายได้จากน้ำมัน ที่อัตราการส่งออกที่ประมาณ 1.9 ล้านบาร์เรลต่อวัน (300,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน) และราคาขายประมาณการ 65 ดอลล่าร์สหรัฐต่อบาร์เรลในปี 2554 รายได้ที่คาดไว้จากปิโตรเลียมของไนจีเรียอยู่ที่ประมาณ 52,200 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (จีดีพีปี 2555 อยู่ที่ 451,000 ดอลล่าร์สหรัฐ) ซึ่งคิดเป็นราว 11% ของตัวเลขจีดีพีอย่างเป็นทางการ (และลดเหลือ 8% หากนับรวมเศรษฐกิจนอกระบบ) ฉะนั้น แม้ว่าภาคปิโตรเลียมจะสำคัญ แต่ยังเป็นส่วนเล็กของเศรษฐกิจไนจีเรียในภาพรวม ภาคเกษตรกรรมที่เน้นการยังชีพเป็นส่วนใหญ่ตามไม่ทันการเติบโตของประชากรที่รวดเร็ว และปัจจุบันไนจีเรียนำเข้าผลิตภัณฑ์อาหารปริมาณมาก จากเดิมที่เคยเป็นผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่ แม้จะมีการผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารกลับมาใหม่ก็ตาม ตามรายงานของซิตีกรุปซึ่งจัดพิมพ์เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2554 ไนจีเรียจะมีการเติบโตของจีดีพีโดยเฉลี่ยสูงที่สุดในโลกระหว่างปี 2553–2603.

ใหม่!!: เคมีและเศรษฐกิจของประเทศไนจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

เหมราชพัฒนาที่ดิน

ริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) (HEMARAJ LAND AND DEVELOPMENT PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:HEMRAJ) บริษัทดำเนินการประกอบธุรกิจพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเป็นหลัก โดยการพัฒนาที่ดินพร้อมระบบสาธารณูปโภคต่างๆ อาทิเช่น ถนน ระบบไฟฟ้า ระบบประปา ระบบโทรศัพท์ ระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบกำจัดขยะ และสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ รวมถึงการให้บริการสาธารณูปโภคดังกล่าวหลังการขายให้แก่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ แบบรายงาน56-1 เหมราชพัฒนาที่ดิน จำกัด (มหาชน) ประจำปี:2555.

ใหม่!!: เคมีและเหมราชพัฒนาที่ดิน · ดูเพิ่มเติม »

เออร์วิง แลงมิวร์

ออร์วิง แลงมิวร์ (Irving Langmuir; 31 มกราคม ค.ศ. 1881 – 16 สิงหาคม ค.ศ. 1957) เป็นนักเคมีและนักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เป็นผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีในปี..

ใหม่!!: เคมีและเออร์วิง แลงมิวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอิร์ท (อนุกรมเคมี)

อิร์ท (earth) อาจแปลได้ว่า "ปฐวีธาตุ" (ธาตุดิน) นิยามโดยทั่วไปในภาษาอังกฤษ จึงอาจอ้างเทียบกับ "ธาตุดิน" กล่าวคือหมายถึง มวลสารที่ประกอบขึ้นเป็นแผ่นดินโลก หรือสสารที่มีสถานะเป็นของแข็ง สำหรับนิยามทางเคมี และวิทยาแร่ อาจเจาะจงหมายถึง แร่หรือสารประกอบกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเป็นสารประกอบประเภทออกไซด์ของธาตุโลหะ ที่ปรากฏพบได้ในธรณีภาค (ชั้นหิน) ของโลก รวมถึง ธาตุเคมี ที่ประกอบขึ้นเป็นแร่หรือสารประกอบนั้น โดยมีข้อสังเกตว.

ใหม่!!: เคมีและเอิร์ท (อนุกรมเคมี) · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี คาเวนดิช

นรี คาเวนดิช (Henry Cavendish) (10 ตุลาคม พ.ศ. 2274–24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2353) เป็นหลานของดยุคที่สองแห่งเดวอนไชร์ (Second Duke of Devonshire) ได้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ แต่ต้องออกกลางคัน เขามีความสนใจในวิทยาศาสตร์เป็นอย่างมาก และงานของเขาส่วนใหญ่ก็มิได้ถูกตีพิมพ์ตอนที่เขายังมีชีวิตอยู่ นอกเหนือจากนี้ เขายังเป็นผู้ค้นพบไฮโดรเจน และการชั่งมวลโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: เคมีและเฮนรี คาเวนดิช · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ ดี. วัตสัน

มส์ ดี. วัตสัน เจมส์ ดิวอี วัตสัน (James Dewey Watson; 6 เมษายน พ.ศ. 2471) นักอณูชีววิทยาชาวอเมริกัน ได้รับการยอบรับว่าเป็นผู้ค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของดีเอ็นเอร่วมกับฟรานซิส คริกและมอริส วิลคินส์ โดยได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ มีผลงานการตีพิมพ์คือบทความ โครงสร้างโมเลกุลของกรดนิวคลีอิก.

ใหม่!!: เคมีและเจมส์ ดี. วัตสัน · ดูเพิ่มเติม »

เทออดอร์ สเวดแบร์ย

ทออดอร์ "เท" สเวดแบร์ย (Theodor "The" Svedberg; 30 สิงหาคม ค.ศ. 1884 – 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1971) เป็นนักเคมีชาวสวีเดน เกิดที่เมืองวัลโบ เป็นบุตรของเอเลียส สเวดแบร์ย และเอากุสตา อัลสเตอร์มาร์ก เรียนและทำงานที่มหาวิทยาลัยอุปซอลา สเวดแบร์ยมีผลงานที่สำคัญคือการศึกษาสารคอลลอยด์เพื่อใช้ศึกษาการเคลื่อนที่แบบบราวน์และการพัฒนาวิธีการอัลตราเซนติฟิวจ์ ในปี..

ใหม่!!: เคมีและเทออดอร์ สเวดแบร์ย · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยีอาหาร

ตัวอย่างห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีอาหาร. เทคโนโลยีอาหาร (Food Technology) เป็นสาขาวิชาที่ประยุกต์มาจากวิทยาศาสตร์การอาหาร มีเนื้อหาเกี่ยวกับการถนอมอาหาร การแปรรูปอาหาร บรรจุภัณฑ์ การจัดจำหน่ายอาหาร และหลักโภชนาการของอาหาร นักวิทยาศาสตร์การอาหารและนักเทคโนโลยีอาหารเป็นจะศึกษาลักษณะทางกายภาพ ทางจุลชีววิทยา และทางเคมีของอาหาร ในบางสถานศึกษา เทคโนโลยีอาหารจะถูกบรรจุอยู่ในหลักสูตรการเรียนการสอนร่วมกับวิชาการปรุงอาหาร โภชนาการ และกระบวนการผลิตอาหาร.

ใหม่!!: เคมีและเทคโนโลยีอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ ร็อก ยึดนรกป้อมมหากาฬ

อะ ร็อก ยึดนรกป้อมมหากาฬ (The Rock) เป็นภาพยนตร์แอคชั่นจากสหรัฐอเมริกา นำแสดงโดยนักแสดงชื่อดัง นิโคลัส เคจ, ฌอน คอนเนอรี่ (อดีตนักแสดงจากภาพยนตร์ชุด เจมส์ บอนด์) และเอ็ด แฮริส ผลงานกำกับภาพยนตร์โดย ไมเคิล.

ใหม่!!: เคมีและเดอะ ร็อก ยึดนรกป้อมมหากาฬ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะฮูซิเออร์ส

อะฮูซิเออร์ส (The Hoosiers) เป็นวงอินดี้ร็อกจากประเทศอังกฤษ ประกอบด้วยสมาชิกคือ Irwin Sparkes (ร้องนำ กีตาร์), Martin Skarendahl (เบส) และ Alfonso Sharland (กลอง) สมาชิกในวงมาจากเอ็กซิเตอร์, เรดิง จากอังกฤษ และ สตอกโฮล์ม จากประเทศสวีเดน อัลฟองโซ (มือกลอง) และ เออร์วิน (นักร้องนำ) เจอกันเมื่อตอนที่เรียนหนังสือในอเมริกา และได้แรงเชียร์จากอาจารย์วิชาเคมีให้พวกเขาตั้งวงดนตรี ซึ่งตอนนั้นทั้งคู่เป็นนักฟุตบอลนักเรียนทุนของมหาวิทยาลัยแห่งอินเดียนาโปลิส และหลังจากที่รวบรวมผลงานที่แต่งไว้มากพอที่จะรวมเป็นอัลบั้มได้ ทั้งคู่ก็เดินทางกับมาลอนดอน และได้พบกับมาร์ติน (มือเบส) อดีตนักดับเพลิงที่หันมาเอาดีในการเป็นซาวน์ดเอนจิเนียร์ ทั้งสามคนได้เซ็นสัญญากับ RCA แนวเพลงของพวกเขาได้รับอิทธิพลมาจาก เดอะเคียวร์ (The Cure), เจฟฟ์ บั๊กลีย์ (Jeff Buckley), The Flaming Lips และ XTC พวกเขามีซิงเกิลแรก "Worried About Ray" สามารถขึ้นถึงอันดับ 5 ใน UK Singles Chart เมื่อเดือนกรกฎาคมปี 2007 ซิงเกิลที่ 2 "Goodbye Mr A" อยู่ในอันดับ 4 เมื่อเดือนตุลาคม จากนั้นก็วางขายอัลบั้ม The Trick To Life เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม และขึ้นสูงถึงอันดับ 1 ใน UK Albums Chart อัลบั้มชุดนี้โปรดิวซ์โดย Toby Grafty-Smith อดีตสมาชิกวงจามิโรไคว (Jamirouquai).

ใหม่!!: เคมีและเดอะฮูซิเออร์ส · ดูเพิ่มเติม »

เคมีการคำนวณ

มีการคำนวณ (Computational chemistry) เป็นสาขาหนึ่งของเคมีทฤษฎี (theoretical chemistry) มีความคาบเกี่ยวกันระหว่างวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (computer science) วิชาเคมี (chemistry) วิชาฟิสิกส์ และวิชาคณิตศาสตร์วัตถุประสงค์หลักก็คือการใช้แนวคิดทางทฤษฎีที่พิสูจน์ได้ทางฟิสิกส์และเคมีมาออกแบบหรือสร้างระบบจำลองที่มีประสิทธิภาพ ยกตัวอย่างเช่น ระบบจำลองของแข็ง ระบบจำลองดีเอ็นเอ ระบบจำลองโปรตีน เป็น้ตน ซึ่งในการประมาณการ (approximation) ทางคณิตศาสตร์จะใช้โปรแกรมการคำนวณ (computer program) มาคำนวณ เนื่องจากมีความซับซ้อนและความยุ่งยากทางคณิตศาสตร์มากเกินกว่าที่มนุษย์จะกระทำได้ ซึ่งคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงนี้เองที่เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้นักเคมีคำนวณลดระยะเวลาในการ simulation ลงอย่างมากอีกด้วย สำหรับสิ่งที่ต้องการจะศึกษาก็มีปลายรูปแบบแตกต่างกันไป ขึ้นกับระบบนั้น ๆ โดยส่วนมากจะใช้คำนวณหรือศึกษาคุณสมบัติของโมเลกุล (molecule) เช่น.

ใหม่!!: เคมีและเคมีการคำนวณ · ดูเพิ่มเติม »

เคมีวิเคราะห์

มีวิเคราะห์ (Analytical chemistry.) คือสาขาของวิชาเคมีที่ว่าด้วยการวิเคราะห์สารตัวอย่าง เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงองค์ประกอบ และโครงสร้างทางเคมีของวัสดุนั้น.

ใหม่!!: เคมีและเคมีวิเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

เคมีอินทรีย์

มีอินทรีย์ (Organic chemistry) เป็นสาขาย่อยในวิชาเคมี ที่ว่าด้วยการศึกษาโครงสร้าง คุณสมบัติ องค์ประกอบ ปฏิกิริยา และการเตรียม (ด้วยการสังเคราะห์หรือด้วยวิธีการอื่น) สารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนเป็นหลัก ไฮโดรคาร์บอนและอนุพันธ์ของพวกมันอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ สารประกอบเหล่านี้อาจมีธาตุอื่นอีกจำนวนหนึ่งด้วยก็ได้ เช่น ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน แฮโลเจน เช่นเดียวกับฟอสฟอรัส ซิลิกอนและซัลเฟอร์ สารประกอบอินทรีย์เป็นพื้นฐานกระบวนการของสิ่งมีชีวิตบนโลกแทบทั้งสิ้น (โดยมีข้อยกเว้นเล็กน้อยมาก) สารประกอบเหล่านี้มีโครงสร้างหลากหลายมาก ลักษณะการนำไปใช้ของสารประกอบอินทรีย์ก็มีมากมาย โดยเป็นได้ทั้งพื้นฐานของ หรือเป็นองค์ประกอบสำคัญของผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น พลาสติก ยา สารที่ได้จากน้ำมันปิโตรเคมี อาหาร วัตถุระเบิด และสี.

ใหม่!!: เคมีและเคมีอินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เคมีอนินทรีย์

มีอนินทรีย์ (Inorganic chemistry) เป็นสาขาหนึ่งของวิชาเคมีว่าด้วยเรื่องคุญสมบัติและปฏิกิริยาเคมีของสารประกอบอนินทรีย์ หรืออาจจะกล่าวได้ว่าสารประกอบเคมีทุกชนิดยกเว้นสารประกอบเคมีที่มีโซ่และวงแหวนคาร์บอน แต่ก็มีสารบางกลุ่มที่เป็น ได้ทั้งอินทรีย์และอนินทรีย์เช่น ออร์แกนโนเมทัลลิกเคมี (organometallic chemistry).

ใหม่!!: เคมีและเคมีอนินทรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เคมีดาราศาสตร์

มีดาราศาสตร์ (Astrochemistry) เป็นการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีที่พบในอวกาศ โดยมากเป็นการศึกษาในระดับที่ใหญ่กว่าระบบสุริยะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเมฆโมเลกุล ซึ่งจะศึกษาตั้งแต่การก่อตัว การเกิดอันตรกิริยา และการสิ้นสลายลง เคมีดาราศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่ก้ำกึ่งระหว่างดาราศาสตร์และวิชาเคมี แนวทางการศึกษาเคมีดาราศาสตร์จะใช้กล้องโทรทรรศน์เพื่อตรวจวัดค่าคาดการณ์ต่างๆ ของวัตถุในอวกาศ เช่นอุณหภูมิและองค์ประกอบของวัตถุ นอกจากนี้ยังใช้ประโยชน์จากการใช้สเปกโตรสโกปีในห้องทดลองเคมีเพื่อแยกแยะชนิดของโมเลกุลในวัตถุทางดาราศาสตร์ (เช่น ดาวฤกษ์ หรือ เมฆระหว่างดาว) คุณลักษณะที่แตกต่างกันของโมเลกุลจะแสดงออกมาในสเปกตรัมของวัตถุนั้น เคมีดาราศาสตร์ยังมีความเกี่ยวข้องกับสาขาวิชาฟิสิกส์ดาราศาสตร์และนิวเคลียร์ฟิสิกส์ ในการศึกษาคุณสมบัติของปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดในดาวฤกษ์ ลำดับขั้นตอนของวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของดาวฤกษ์ เพราะปฏิกิริยานิวเคลียร์ในดวงดาวทำให้เกิดองค์ประกอบทางเคมีขึ้นโดยธรรมชาติ เมื่อดาวฤกษ์มีวิวัฒนาการไป มวลขององค์ประกอบใหม่ๆ ที่เกิดก็เพิ่มมากขึ้น.

ใหม่!!: เคมีและเคมีดาราศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เคมีนิวเคลียร์

มีนิวเคลียร์ (Nuclear chemistry) เป็นสาขาย่อยของวิชาเคมีที่เกี่ยวข้องกับกัมมันตภาพรังสี (radioactivity) กระบวนการนิวเคลียร์ และคุณสมบัติทางนิวเคลียร์ สามารถแบ่งเป็นสาขาย่อยได้ดังนี้.

ใหม่!!: เคมีและเคมีนิวเคลียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เคมีเชิงฟิสิกส์

มีเชิงฟิสิกส์ (physical chemistry แต่เดิมเรียกเคมีกายภาพ) คือศาสตร์สาขาหนึ่งของวิชาเคมีที่มีเนื้อหาเชื่อมโยงและคาบเกี่ยวกับวิชาการสาขาอื่นๆดังนี้.

ใหม่!!: เคมีและเคมีเชิงฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา

รื่องฟอกไอเสียแบบใช้เหล็กเป็นแกนรองรับสารเร่งปฏิกิริยา เครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา (catalytic converter) เป็นอุปกรณ์สำหรับ กำจัด ลด ปริมาณมลพิษ ที่เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของเครื่องยนต์ ก่อนปล่อยออกสู่บรรยาก.

ใหม่!!: เคมีและเครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา · ดูเพิ่มเติม »

เซจิ โอะงะวะ

ซจิ โอะงะวะ (เกิด 19 มกราคม 2477) เป็นนักค้นคว้าชาวญี่ปุ่น ที่รู้จักกันว่าเป็นผู้ค้นพบเทคนิคที่ใช้ใน fMRI (Functional Magnetic Resonance Imaging) ผู้ได้รับการนับถือว่า เป็นบิดาของการสร้างภาพสมองโดยกิจยุคสมัยใหม่ ผู้ได้ชี้ว่า ความเปลี่ยนแปลงของระดับออกซิเจนในโลหิต ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก จึงทำให้สามารถสร้างแผนภาพของโลหิต และเพราะเหตุนั้น ของเขตในสมองที่กำลังทำงาน แผนภาพนี้ส่องให้เห็นว่า เซลล์ประสาทกลุ่มไหนในสมองตอบสนองด้วยสัญญาณเคมีไฟฟ้า ในการทำงานของจิตใจ ดร.

ใหม่!!: เคมีและเซจิ โอะงะวะ · ดูเพิ่มเติม »

เปลือกอิเล็กตรอน

ตารางธาตุกับชั้นพลังงานของอิเล็กตรอน ในสาขาวิชาเคมีและฟิสิกส์ของอะตอม เปลือกอิเล็กตรอน (electron shell) หรือ ระดับพลังงานหลัก (principal energy level) อาจเข้าใจได้ว่าเป็นวงโคจรของอิเล็กตรอนที่หมุนวนอยู่รอบนิวเคลียสของอะตอม เปลือกที่ใกล้นิวเคลียสที่สุดเรียกว่าเป็น เปลือกชั้นที่ 1 (หรือเปลือก K) ต่อมาจึงเป็น เปลือกชั้นที่ 2 (หรือเปลือก L), เปลือกชั้นที่ 3 (หรือเปลือก M) ไกลออกมาเรื่อย ๆ จากนิวเคลียส เปลือกเหล่านั้นจะสอดคล้องกับเลขควอนตัมหลัก (n.

ใหม่!!: เคมีและเปลือกอิเล็กตรอน · ดูเพิ่มเติม »

D

D (ตัวใหญ่:D ตัวเล็ก:d) เป็นอักษรละตินลำดับที่ 4.

ใหม่!!: เคมีและD · ดูเพิ่มเติม »

Nepenthes rajah

Nepenthes rajah (มาจากภาษามลายู: rajah.

ใหม่!!: เคมีและNepenthes rajah · ดูเพิ่มเติม »

STP

อักษรย่อ STP อาจหมายถึง.

ใหม่!!: เคมีและSTP · ดูเพิ่มเติม »

3 ธันวาคม

วันที่ 3 ธันวาคม เป็นวันที่ 337 ของปี (วันที่ 338 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 28 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: เคมีและ3 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

4

4 (สี่) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 3 (สาม) และอยู่ก่อนหน้า 5 (ห้า).

ใหม่!!: เคมีและ4 · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วิชาเคมี

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »