โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เขตลาดกระบัง

ดัชนี เขตลาดกระบัง

ตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที.

98 ความสัมพันธ์: พิธีสำเร็จการศึกษาพูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิมกรุงเทพมหานครกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครและสมาชิกสภาเขต พ.ศ. 2553การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอลรายชื่อศูนย์การค้าในประเทศไทยรายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายชื่อสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานครรายชื่อสโมสรที่เล่นในไทยลีกรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ปรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานครรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานครรายชื่อทางแยกในเขตลาดกระบังรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานครรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานครรายการรหัสไปรษณีย์ไทยรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลลาดกระบัง (แก้ความกำกวม)วิชาญ มีนชัยนันท์วิทยาลัยช่างศิลปสภากรุงเทพมหานครสภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครสำราญ รอดเพชรสุวรรณภูมิมหานครสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบังสถานีรถไฟลาดกระบังสถานีรถไฟหัวตะเข้สถานีลาดกระบังสโมสรฟุตบอลไทยฮอนด้าหยัด ช้างทองหฤทัย ม่วงบุญศรีหอสมุดแห่งชาติเขตลาดกระบัง เฉลิมพระเกียรติอำเภอบางบ่ออำเภอบางพลีอำเภอบางเสาธงอำเภอเมืองฉะเชิงเทราองค์การบริหารส่วนตำบลบางเสาธงองค์การบริหารส่วนตำบลศีรษะจรเข้น้อยจังหวัดพระนคร...จังหวัดมีนบุรีธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อยถนนกาญจนาภิเษกถนนร่มเกล้าถนนศรีนครินทร์ถนนสิริโสธรถนนสุวรรณภูมิถนนหลวงแพ่งถนนอ่อนนุชถนนเจ้าคุณทหารถนนเทพรัตนถนนเทพารักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยทางหลวงชนบท ฉช.3001ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3256ดนุพร ปุณณกันต์คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังตำบลบ้านระกาศประพันธ์ คูณมีนาถยา แดงบุหงาแขวงแขวงราษฎร์พัฒนาแขวงทับช้างแคนตาลูปโรงเรียนพรตพิทยพยัตโรงเรียนพร้อมโรงเรียนมาเรียลัยโรงเรียนสารสาสน์วิเทศร่มเกล้าโรงเรียนเชิดเจิมศิลป์โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สุวรรณภูมิไรน่าน อรุณรังษีเลี่ยม บุนนาคเอฟบีที (บริษัท)เจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4เขตมีนบุรีเขตสะพานสูงเขตหนองจอกเขตประเวศเด่นเก้าแสน เก้าวิชิต ขยายดัชนี (48 มากกว่า) »

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและพิธีสำเร็จการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

พูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม

ูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม มีชื่อจริงว่า เฉลิมวงศ์ อุดมนา (ชื่อเดิม: ประกอบ อุดมนา, ชื่อเล่น: โต้) เกิดวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 ที่อำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร มีฉายาว่า "ไอ้รถถังจูเนียร์" หรือ "ไอ้รถถัง" อดีตแชมป์โลกรุ่นซูเปอร์แบนตัมเวท WBA, อดีตแชมป์'เฉพาะกาล'รุ่นแบนตัมเวท WBA, อดีตแชมป์ PABA และ อดีตแชมป์ WBA Fedelatin(สละ) พูนสวัสดิ์เป็นลูกชายของ พูนสวัสดิ์ ศิษย์ศรทอง อดีตแชมป์มวยไทยเวทีราชดำเนิน รุ่น 126 ปอนด์ เคยชกมวยไทยมาก่อนในชื่อ พูนสวัสดิ์ ว.สิงห์เสน่ห์, คำอธิบายเพิ่มเติม.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและพูนสวัสดิ์ กระทิงแดงยิม · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและกรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ร้อยละของผู้เห็นชอบต่อร่างรัฐธรรมนูญ แบ่งตามจังหวัด การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครและสมาชิกสภาเขต พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งสมาชิกสภาเขตกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครและสมาชิกสภาเขต พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ (Bangkok Suvarnabhumi University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและมหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล

มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มีศักยภาพสูงจากต่างประเทศ แบบสถาบันร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน กับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อศูนย์การค้าในประเทศไทย

รายชื่อศูนย์การค้าในประเทศไทย หน้านี้เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อศูนย์การค้า (shopping complex, shopping center) ขนาดใหญ่ที่อยู่ในประเทศไทย (พื้นที่ใช้สอย 8,000 ตารางเมตรขึ้นไป) ที่เปิดทำการอยู่ในปัจจุบัน โดยเรียงตามรายชื่อจังหวัด.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่อศูนย์การค้าในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานคร

วนสาธารณะหลักในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 34 สวน จากข้อมูลของสำนักสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อม กทม.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่อสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสโมสรที่เล่นในไทยลีก

นี่คือ รายซื่อสโมสรที่เคยลงแข่งขันใน ไทยลีก นับแต่ตั้งแต่ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดตั้งไทยลีกขึ้นในปี พ.ศ. 2539 จนถึงปัจจุบัน สถิตินี้จะนับเฉพาะการแข่งขันไทยลีกเท่านั้น โดยแบ่งดังนี้.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่อสโมสรที่เล่นในไทยลีก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ป

รายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย สำหรับอักษรย่อที่ขึ้นต้นด้วย ป.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่ออักษรย่อของโรงเรียนในประเทศไทย/ป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อและระยะทางของถนนในเขตกรุงเทพมหานคร เฉพาะถนนสาธารณะที่อยู่ในความดูแลของหน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท รวมทั้งเส้นทางที่ตัดผ่านที่ดินของหน่วยงานราชการอื่นและเส้นทางของเอกชนที่ได้รับการกำหนดให้เป็น "ถนน" อย่างเป็นทางการจากกรุงเทพมหานครแล้ว ทั้งนี้ ไม่รวมเส้นทางที่ใช้สัญจรเฉพาะภายในพื้นที่หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษา บ้านจัดสรร และสถานที่เอกชนซึ่งมักมีการปิดกั้นหรือควบคุมทางเข้าออก.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่อถนนในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร

รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร ทางแยกต่างระดับ รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทางแยกในเขตลาดกระบัง

รายชื่อทางแยกในเขตลาดกระบัง เฉพาะทางแยกสัญญาณไฟจราจร รวมทั้งทางแยกบางแห่งที่ไม่มีสัญญาณไฟจราจรและไม่ใช่ทางแยกต่างระดับ แต่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการ สำหรับชื่อทางแยกต่างระดับและรายละเอียด ดูที่รายชื่อทางแยกในกรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:ทางแยกในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่อทางแยกในเขตลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีม่วงอ่อนบนแผนที.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ คือขนาดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่กำหนดขึ้นโดยกรมสามัญศึกษาเดิม (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.) โดยกำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่า 2,501 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและโรงเรียนประจำจังหวัด ทั้งนี้ ไม่รวมโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ เช่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล), สังกัดมหาวิทยาลัย (โรงเรียนสาธิต), โรงเรียนเอกชน เป็นต้น ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแบ่งตามภาค ตามจำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่นับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่อโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร

ต (district หรือ khet) เป็นชื่อเรียกหน่วยการปกครองทางมหาดไทย อยู่ระดับเดียวกับอำเภอซึ่งอยู่รองจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุงเทพมหานครซึ่งไม่มีสถานะเป็นจังหวัด ในแต่ละเขตแบ่งออกเป็นแขวง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

250px รถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นแผนงานโครงข่ายระบบรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษ หรือบีอาร์ที (BRT) ที่ภาครัฐพยายามนำมาใช้เสริมโครงข่ายระบบขนส่งมวลชน เพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรและพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะโดยเฉพาะระบบรถประจำทาง ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จัดทำโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร กรุงเทพมหานครได้เปิดให้บริการ รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร-ราชพฤกษ์ ตั้งแต่วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 (จากกำหนดเดิมในวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) โดยโครงการสายอื่นนั้นยังอยู่ในขั้นตอนการวางแผน.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและรถโดยสารประจำทางด่วนพิเศษในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล · ดูเพิ่มเติม »

ลาดกระบัง (แก้ความกำกวม)

ลาดกระบัง สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและลาดกระบัง (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

วิชาญ มีนชัยนันท์

นายวิชาญ มีนชัยนาน.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและวิชาญ มีนชัยนันท์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยช่างศิลป

วิทยาลัยช่างศิลป (College of Fine Arts) เป็นกลุ่มสถาบันการศึกษาในสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม โดยจัดการเรียนการสอนในสาขาศิลปะ ทั้งศิลปะไทยประเพณีและศิลปะร่วมสมั.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและวิทยาลัยช่างศิลป · ดูเพิ่มเติม »

สภากรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร (ตัวย่อ: ส.ก.) เป็นองค์กรฝ่ายสภาของกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่ควบคุม ตรวจสอบและดูแลการบริหารราชการกรุงเทพมหานครของฝ่ายบริหารอันมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครเป็นหัวหน้าคณะฯ ซึ่งประธานสภากรุงเทพมหานครคนปัจจุบัน คือ ร้อยตำรวจตรี เกรียงศักดิ์ โลหะชาละ สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร,นาย กิตติ บุศยพลากร สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร เป็นรองประธานสภากรุงเทพมหานคร คนที่ 1 และนาย นิรันดร์ ประดิษฐกุล รองประธานสภากรุงเทพมหานคร คนที่ 2.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสภากรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553

กรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสภากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร มี 33 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 33 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

สำราญ รอดเพชร

นายสำราญ รอดเพชร (30 กันยายน พ.ศ. 2499; ที่อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช; ชื่อเล่น: อ๊อด) สื่อมวลชนอิสระ, อดีตแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (พธม.) รุ่นที่ 2 และแนวร่วมกปปส. (คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข).

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสำราญ รอดเพชร · ดูเพิ่มเติม »

สุวรรณภูมิมหานคร

ที่ตั้งของโครงการสุวรรณภูมิมหานคร มหานครสุวรรณภูมิ หรือ สุวรรณภูมิมหานคร คือโครงการตามนโยบายของรัฐ ภายใต้รัฐบาลของอดีตนายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ริเริ่มโดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีหน่วยงานที่ตั้งขึ้นมาใหม่ชื่อ สำนักงานคณะกรรมการบริหารการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (สกภ./OSDC) เป็นผู้บริหารโครงการ โครงการนี้สืบเนื่องมาจากแนวคิดที่จะพัฒนาพื้นที่โดยรอบท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพื่อเป็นเมืองศูนย์กลางการบินและเป็นเมืองอากาศยาน โดยมีรูปแบบการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษและ เขตการปกครองพิเศษที่มีรูปแบบคณะกรรมการอิสระในการดูแลบริหารเมือง มหานครสุวรรณภูมิเป็นชื่อจังหวัดที่กำลังถูกเสนอให้พิจารณาตั้งเป็นจังหวัดใหม่ของประเทศไทย บริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงเทพมหานครบริเวณรอบสนามบินสุวรรณภูมิ ในโครงการกำหนดให้ครอบคลุมพื้นที่เขตลาดกระบังและเขตประเวศในกรุงเทพมหานคร และอำเภอบางพลีและกิ่งอำเภอบางเสาธงในจังหวัดสมุทรปราการ เข้าด้วยกัน เพื่อวางกรอบการพัฒนาพื้นที่รอบสนามบินสุวรรณภูมิรองรับการตั้งเมืองใหม่ ภายใต้ชื่อ "สุวรรณภูมิมหานคร" โดยจะมีพื้นที่รวมประมาณ 521 ตร.กม.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสุวรรณภูมิมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง

นีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง หรือ ไอซีดี ลาดกระบัง (Inland Container Depot: ICD) เป็นสถานีรถไฟชั้นพิเศษ ของการรถไฟแห่งประเทศไทยที่สร้างขึนเพื่ออำนวยความสะดวก ให้บริการแก่ผู้ส่งออก ผู้นำเข้า และบุคคลทั่วไป ในกิจกรรมทุกอย่างเกี่ยวกับสินค้าประเภทตู้คอนเทนเนอร์ ทั้งขาเข้า และขาออก เสมือนท่าเรือบก ตั้งอยู่ในเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่จำนวน 645 ไร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟลาดกระบัง

นีรถไฟลาดกระบัง เป็นสถานีรถไฟระดับ 2 ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่ที่แขวงคลองสามประเวศ เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีรถไฟในทางรถไฟสายตะวันออก หากจะไปเขตลาดกระบัง หรือ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ สามารถลงที่สถานีนี้ได้ สถานีรถไฟลาดกระบัง ตัวสถานีอยู่ห่างจาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประมาณ 3 กิโลเมตร หากต้องการเดินทางไปยังสถาบันฯ ดังกล่าว ต้องลงที่สถานีถัดไป คือ ป้ายหยุดรถไฟพระจอมเกล้า ซึ่งภายในบริเวณสถาบันฯ.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสถานีรถไฟลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟหัวตะเข้

นีรถไฟหัวตะเข้ เป็นสถานีรถไฟระดับ 2 ของการรถไฟแห่งประเทศไทย ตั้งอยู่ที่แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานครเป็นสถานรถไฟชั้น 2 ของทางรถไฟสายตะวันออก หากจะไปเขตลาดกระบัง หรือ ท่าอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ให้ลงที่สถานีนี้ได้ สถานีรถไฟหัวตะเข้ อยู่ห่างจากป้ายหยุดรถไฟพระจอมเกล้า ในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพียง 580 เมตรเท่านั้น.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสถานีรถไฟหัวตะเข้ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีลาดกระบัง

นีลาดกระบัง (Lat Krabang Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางระบบขนส่งทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link - SARL) ในระบบรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สาย City Line (Suvarnabhumi Airport Rail Link City Line) ที่แวะจอดรายทางจากสถานีพญาไทถึงสุวรรณภูมิ โดยสถานีลาดกระบังเป็นสถานีสุดท้ายก่อนเข้าสู่ท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสถานีลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลไทยฮอนด้า

มสรฟุตบอลไทยฮอนด้า หรือเดิมคือ สมาคมกีฬาไทยฮอนด้า เป็น สโมสรฟุตบอลในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันลงแข่งขันในระดับ ไทยลีก 2 และใช้ สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา เขตมีนบุรี เป็นสนามเหย้า โดยผลงานของสโมสร สามารถทำผลงานเลื่อนชั้น 4 ครั้ง จาก ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ติดต่อกัน ตั้งแต่ปี 2545 - 2548 โดยเริ่มจากการได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ ถ้วย ง ปี 2545, ชนะเลิศ ถ้วย ค ปี 2546,ชนะเลิศ ถ้วย ข ปี 2547 และได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ ดิวิชั่น 1 ปี 2548 ทำให้ได้ลงทำการแข่งขันในระดับ ไทยลีก และเป็นสโมสรฟุตบอลแรกในกลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่ได้เลื่อนชั้นเข้ามาแข่งขันในลีกสูงสุดระดับ โดยปัจจุบันดำเนินการบริหารโดย บจก.พญาอินทรี ลาดกระบัง ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ บจก.ไทยฮอนด้า แมนูแฟคเจอริ่ง ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ใน นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง โดยฐานผู้สนับสนุนของสโมสร ส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มพนักงานของ บริษัทไทยฮอนด้าฯ และในเขตนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและสโมสรฟุตบอลไทยฮอนด้า · ดูเพิ่มเติม »

หยัด ช้างทอง

หยัด ช้างทอง ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปการแสดง (นาฏศิลป์-โขน) พุทธศักราช ๒๕๓.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและหยัด ช้างทอง · ดูเพิ่มเติม »

หฤทัย ม่วงบุญศรี

หฤทัย ม่วงบุญศรี (เกิดเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2517) เป็นนักร้องชาวไทย อดีตนักร้องนำของวง เปเปอร์แจม ซึ่งเคยมีผลงานเพลงในปี พ.ศ. 2540 ต่อมาได้มีผลงานอัลบั้มเดี่ยวอีกหลายชุด มีบทเพลงที่โด่งดังเช่น ไม่รักดี, แค่หลับตา, จะภาวนา, ตำนานคนโชคดี และเคยได้รับรางวัล สีสันอะวอร์ดส์ ในฐานะศิลปินหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยมถึง 2 สมัย ในปี..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและหฤทัย ม่วงบุญศรี · ดูเพิ่มเติม »

หอสมุดแห่งชาติเขตลาดกระบัง เฉลิมพระเกียรติ

200px หอสมุดแห่งชาติเขตลาดกระบัง เฉลิมพระเกียรติ เป็นแห่งแรกของโครงการหอสมุดแห่งชาติ 4 มุมเมือง ตั้งอยู่บริเวณถนนหลวงพรตพิทยพยัต เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและหอสมุดแห่งชาติเขตลาดกระบัง เฉลิมพระเกียรติ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางบ่อ

งบ่อ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ใช้ภาษาไทยภาคกลางเป็นภาษาท้องถิ่น.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและอำเภอบางบ่อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางพลี

งพลี เป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ เป็นที่ตั้งของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ตั้งของโครงการสร้างศูนย์ที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุแบบครบวงจร และเป็นที่ตั้งของสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลทางเข้าวัดบัวโร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและอำเภอบางพลี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางเสาธง

งเสาธง เป็นอำเภอใหม่ล่าสุดของจังหวัดสมุทรปราการ แยกพื้นที่การปกครองบางส่วนจากอำเภอบางพลี.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและอำเภอบางเสาธง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา

อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครองและการบริหารราชการของจังหวัดฉะเชิงเทร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลบางเสาธง

องค์การบริหารส่วนตำบลบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดใหญ่ ประเภท 1 พื้นที่ในการบริหารราชการครอบคลุมบางส่วนของตำบลบางเสาธง อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ และยังเป็นที่ตั่งของที่ว่าการอำเภอบางเสาธงอีกด้วย องค์การบริหารส่วนตำบลบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ปัจจุบันมีรายได้ตามประชากรอยู่ในเกณฑ์ที่จะได้ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมือง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและองค์การบริหารส่วนตำบลบางเสาธง · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลศีรษะจรเข้น้อย

ในสมัยก่อนราว 100 กว่าปี ท้องที่ตำบลศีรษะจรเข้น้อยเป็นพื้นที่น้ำเค็มท่วมถึง มีจระเข้ชุกชุม อาศัยอยู่ในพื้นที่เป็นจำนวนมาก ภายหลังสภาพท้องที่ได้เปลี่ยนไป ลำคลองตื้นเขินขึ้น เคยมีการขุดพบหัวของจระเข้ในแถบนี้ด้วย ภายหลังมีการตั้งเป็นตำบล งได้ชื่อว่าตำบลศีรษะจรเข้น้อยและตำบลศีรษะจรเข้ใหญ่ที่มีพื้นที่อาณาเขตติดต่อกัน โดยอยู่ภายใต้เขตการปกครองส่วนภูมิภาคระดับอำเภอ คืออำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ และแยกออกมาเป็นอำเภอบางเสาธงในปัจจุบัน.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและองค์การบริหารส่วนตำบลศีรษะจรเข้น้อย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระนคร

รถรางในจังหวัดพระนครก่อนที่จะถูกยกเลิกไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในอดีต ตราประจำจังหวัดพระนคร จังหวัดพระนคร เป็นจังหวัดในอดีตของประเทศไทย ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีขึ้นในช่วง..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและจังหวัดพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมีนบุรี

ตจังหวัตมีนบุรีในอดีต จังหวัดมีนบุรี ขึ้นกับมณฑลกรุงเทพ ตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2444 โดยแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอคลองสามวา อำเภอแสนแสบ อำเภอหนองจอก และอำเภอเจียรดับ หรือ อำเภอในคลองเจียรดับ (ปัจจุบันอยู่ในเขตหนองจอก) ต่อมาในปี พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีได้ถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดพระนคร เพื่อประหยัดงบประมาณราชการ เนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 อำเภอที่เป็นที่ตั้งของจังหวัดมีนบุรีเดิมจึงมีชื่อเรียกว่า อำเภอมีนบุรี และได้รับเอาท้องที่ตำบลแสนแสบจากอำเภอลาดกระบังมาอยู่ในการปกครองในปี พ.ศ. 2500 จากนั้นอำเภอมีนบุรีได้เปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตมีนบุรี เมื่อมีการรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2515 แบ่งเขตการปกครองย่อยเป็นแขวง รวม 7 แขวง จนในที่สุด ปี พ.ศ. 2540 ได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตมีนบุรี แยก 5 แขวงทางด้านเหนือของเขต ไปจัดตั้งเป็นเขตคลองสามวา ทำให้เขตมีนบุรีเหลือพื้นที่ปกครองอยู่ 60 ตารางกิโลเมตรเศษ ซึ่งใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ของกรุงเทพมหานคร หากจังหวัดมีนบุรียังคงอยู่ในปัจจุบัน จะประกอบด้วยอำเภอดังนี้.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและจังหวัดมีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์

ร.ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ (ชื่อเล่น:อิ่ม;เกิด 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2522) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 20 ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 สังกัดพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย

นาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย (Thai Credit Retail Bank) เป็นธนาคารพาณิชย์เพื่อรายย่อย ในประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและธนาคารไทยเครดิตเพื่อรายย่อย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกาญจนาภิเษก

นนกาญจนาภิเษก (Thanon Kanchanaphisek) หรือ ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 เป็นถนนสายสำคัญที่มีเส้นทางเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวนล้อมรอบตัวเมืองกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ รวมถึงผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาด้วย มีระยะทางตลอดทั้งสายรวม 168 กิโลเมตร ถนนสายนี้สร้างขึ้นเพื่อแก้ปัญหาการจราจรที่ติดขัดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่มีปริมาณการจราจรและการขนส่งเพิ่มขึ้น อันเป็นผลจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเป็นทางเลี่ยงเมืองกรุงเทพมหานครที่เป็นตัวเชื่อมทางสายหลักเข้าไปสู่ทุกภาคของประเทศ เริ่มก่อสร้างครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและถนนกาญจนาภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนร่มเกล้า

นนร่มเกล้า (Thanon Rom Klao) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3119 สายมีนบุรี–ลาดกระบัง เดิมมีชื่อว่า "ถนนมีนบุรี–ลาดกระบัง" เป็นถนนในกรุงเทพมหานคร ระยะทาง 11.003 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นจากถนนสุวินทวงศ์ในท้องที่แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร ไปบรรจบกับถนนลาดกระบัง ในท้องที่แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ซึ่งจุดสิ้นสุดของถนนร่มเกล้าในท้องที่เขตลาดกระบังต่อจากนี้ไปจะเป็นทางยกระดับเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ แต่เดิมถนนเส้นนี้มีเพียง 2 ช่องทางจราจร แต่ในปัจจุบันเป็นถนนแบบ 6 ช่องทางจราจร ยกเว้นช่วงสะพานข้ามคลองแสนแสบและสะพานข้ามทางรถไฟสายตะวันออกจะมีขนาดเพียง 4 ช่องทางจราจร โดยถนนร่มเกล้าฟากตะวันออกในพื้นที่เขตมีนบุรี ตั้งแต่สะพานข้ามคลองแสนแสบถึงเส้นแบ่งเขตมีนบุรีกับเขตลาดกระบัง เป็นเส้นแบ่งแขวงระหว่างแขวงมีนบุรีกับแขวงแสนแ.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและถนนร่มเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ถนนศรีนครินทร์

นนศรีนครินทร์ (Thanon Srinagarindra) เป็นถนนที่ตั้งชื่อขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีจุดเริ่มต้นจากถนนลาดพร้าวที่เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ไปบรรจบกับถนนสุขุมวิทที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ลักษณะถนนแบบ 4-8 ช่องจราจร ระยะทางทั้งหมด 20.181 กิโลเมตร โดยมีระยะทางอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 12.5 กิโลเมตร ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ 7.681 กิโลเมตร ตลอดแนวถนนไปจนถึงทางแยกศรีเทพาเป็นเส้นทางส่วนใหญ่ของรถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเกาะกลางถนน ถนนศรีนครินทร์ช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0 (ทางแยกบางกะปิ) จนถึงกิโลเมตรที่ 10 มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ กรุงเทพมหานคร และช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 10 (ทางแยกศรีอุดม) ไปจนถึงกิโลเมตรที่ 20+181 (ทางแยกการไฟฟ้า) มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ แขวงทางหลวงสมุทรปราการ กรมทางหลวง ช่วงที่สองนี้มีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3344 สายอุดมสุข–สมุทรปราการ.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและถนนศรีนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสิริโสธร

นนสิริโสธร (Thanon Siri Sothon) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 314 สายบางปะกง–ฉะเชิงเทรา มีระยะทาง 22.3 กิโลเมตร จำนวนช่องทางจราจร 4-6 ช่องทางจราจร และในช่วงทางแยกเข้าเมืองฉะเชิงเทราถึงทางแยกต่างระดับโสธราเวชจะเป็นถนนขนาด 8 ช่องจราจร ซึ่งมีทางคู่ขนาน โดยเริ่มต้นจากปลายถนนสุวินทวงศ์และถนนมหาจักรพรรดิในท้องที่อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา จากนั้นจึงผ่านท้องที่อำเภอบ้านโพธิ์ และไปสิ้นสุดที่ถนนเทพรัตนและถนนสุขุมวิท ในท้องที่อำเภอบางปะกง มีทางแยกสำคัญดังนี้.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและถนนสิริโสธร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสุวรรณภูมิ

นนสุวรรณภูมิ (Thanon Suvarnabhumi) เป็นถนนโดยรอบของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในท้องที่ แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร และ ตำบลราชาเทวะ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ทั้งหมดเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ยกเว้นถนนสุวรรณภูมิ 1 ที่เป็นพื้นที่ความรับผิดชอบร่วมกันระหว่างกรมทางหลวงและท่าอากาศยานไทย ถนนสุวรรณภูมิถูกจัดไว้เป็นถนนสำหรับเชื่อมต่อพื้นที่ต่าง ๆ ภายในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เนื่องมาจากพื้นที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมีขนาดใหญ่ และไม่ได้จัดพื้นที่ให้มีพื้นที่แบบระยะประชิดเฉกเช่นเดียวกับท่าอากาศยานดอนเมือง รวมถึงความต้องการในการเปิดทางเข้า-ออกท่าอากาศยานด้วยการเชื่อมต่อกับถนนโดยรอบ ท่าอากาศยานไทย จึงได้ดำเนินการก่อสร้างถนนเวียนภายในท่าอากาศยานจำนวน 5 เส้นทาง ก่อนให้ชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่าถนนสุวรรณภูมิเช่นเดียวกับชื่อท่าอากาศยานในภายหลัง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและถนนสุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหลวงแพ่ง

ถนนหลวงแพ่ง (Thanon Luang Phaeng) เป็นถนนสายหนึ่งในท้องที่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร มีแนวสายทางต่อเนื่องจากถนนลาดกระบัง ซึ่งเริ่มต้นที่สะพานข้ามคลองหัวตะเข้ในท้องที่แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดกับถนนประชาพัฒนาและถนนมอเตอร์เวย์ จากนั้นจึงข้ามคลองทับยาวเข้าท้องที่แขวงขุมทอง เขตลาดกระบัง ตัดกับถนนขุมทอง-ลำต้อยติ่ง และไปสิ้นสุดที่สะพานข้ามคลองกาหลง (สุดเขตกรุงเทพมหานคร) ซึ่งต่อจากนี้ไปก็จะเป็นถนนเทพราช-ลาดกระบัง ในท้องที่ตำบลเปร็ง อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ หลวงแพ่ง หลวงแพ่ง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและถนนหลวงแพ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ถนนอ่อนนุช

แผนที่เขตวัฒนา ถนนอ่อนนุชปรากฏอยู่ด้านล่างขวาของภาพในชื่อ Sukhumwit 77 (On Nut) ถนนอ่อนนุช (Thanon On Nut) ซึ่งมีชื่อเดิมว่า ซอยสุขุมวิท 77 เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร มีระยะทางทั้งหมดประมาณ 12.2 กิโลเมตร แนวถนนขนานไปกับคลองพระโขนงและคลองประเวศบุรีรมย์ แยกจากถนนสุขุมวิทที่ทางแยกอ่อนนุชในท้องที่แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางนางจีนเข้าท้องที่แขวงอ่อนนุช เขตสวนหลวง เมื่อถึงซอยอ่อนนุช 9 จึงโค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ แล้วไปทางทิศตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จากนั้นตัดกับถนนศรีนครินทร์ที่ทางแยกสวนหลวง (ศรีนุช) ไปทางทิศเดิม ข้ามคลองหนองบอนเข้าท้องที่แขวงประเวศ เขตประเวศ ตัดกับถนนพัฒนาการที่ทางแยกต่างระดับอ่อนนุช-พัฒนาการ ไปทางทิศตะวันออก ตัดกับถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ที่ทางแยกประเวศ ตัดกับถนนกาญจนาภิเษก (วงแหวนรอบนอกตะวันออก) ที่ทางแยกต่างระดับอ่อนนุช และตัดกับถนนสุขาภิบาล 2 ที่ทางแยกโรงพยาบาลสิรินธร ก่อนไปสิ้นสุดที่สะพานข้ามคลองตาพุก โดยมีถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนลาดกระบังในท้องที่แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและถนนอ่อนนุช · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเจ้าคุณทหาร

นนเจ้าคุณทหาร (Thanon Chao Khun Thahan) เป็นถนนที่เชื่อมระหว่างถนนร่มเกล้ากับถนนฉลองกรุง ในพื้นที่แขวงคลองสามประเวศและแขวงลำปลาทิว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร ตลอดระยะถนนเจ้าคุณทหารมีถนนที่สำคัญตัดผ่านดังนี้.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและถนนเจ้าคุณทหาร · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเทพรัตน

นนเทพรัตน (Thanon Debaratana) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 สายบางนา–หนองไม้แดง เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวตะวันตก–ตะวันออก แยกออกมาจากถนนสุขุมวิท ในเขตบางนา กรุงเทพมหานคร แล้วไปบรรจบถนนสุขุมวิทที่ทางแยกต่างระดับหนองไม้แดง ในท้องที่อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและถนนเทพรัตน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเทพารักษ์

นนเทพารักษ์ (Thanon Thepharak) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3268 สายสำโรง - บางบ่อ เป็นถนนท้องถิ่นในจังหวัดสมุทรปราการ แยกจากถนนสุขุมวิทบริเวณกิโลเมตรที่ 20 ข้างสถานีตำรวจภูธรสำโรงเหนือ ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ระยะทางประมาณ 28 กิโลเมตร ผ่านท้องที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ อำเภอบางพลี อำเภอบางเสาธง และอำเภอบางบ่อ โดยไปบรรจบกับถนนรัตนราชและถนนปานวิถี (คลองด่าน-บางบ่อ) บริเวณโรงเรียนอนุบาลชุมชนบางบ่อ ตำบลบางบ่อ อำเภอบางบ่อ แต่เดิมถนนเส้นนี้มีเพียง 2 ช่องทางจราจรตลอดเส้นทาง ปัจจุบันได้ขยายช่องจราจรเป็น 6-8 ช่องจราจรเรียบร้อยแล้วตลอดทั้งเส้นทาง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและถนนเทพารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย

ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอยู่อย่างมากมาย และยังมีความอุดมสมบูรณ์อยู่ แบ่งออกเป็น ทรัพยากรดิน ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้ำ และทรัพยากรแร่ธาต.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงชนบท ฉช.3001

ทางหลวงชนบท ฉ.3001 สายแยกทางหลวงหมายเลข 314 (กม.ที่ 14+800) - บ้านลาดกระบัง มีชื่อที่นิยมเรียกกันทั่วไปหลายชื่อ คือ ถนนฉะเชิงเทรา-อ่อนนุช, ถนนอ่อนนุช-ฉะเชิงเทรา, ถนนเทพราช, ถนนเทพราช-ลาดกระบัง, ถนนลาดกระบัง-เทพราช, ถนนเทพราช-อ่อนนุช และ ถนนอ่อนนุช-เทพราช เป็นถนนสายหนึ่งของจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดฉะเชิงเทรา มีแนวสายทางต่อจากถนนหลวงแพ่ง (ที่มาจากแขวงขุมทอง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร) เริ่มที่สะพานข้ามคลองกาหลงในเขตตำบลเปร็ง อำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ และตัดผ่านท้องที่ตำบลคลองสวน อำเภอบางบ่อ จากนั้นจึงเข้าท้องที่ตำบลเทพราช และตัดผ่านพื้นที่ตำบลคลองประเวศ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยไปบรรจบกับถนนสิริโสธร ถนนสายนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท ฉช.3001 ฉช.3001 ฉช.3001.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและทางหลวงชนบท ฉช.3001 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 สายกรุงเทพมหานคร−บ้านฉาง เป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายแรกของประเทศไทย มีระยะทางยาว 125.865 กิโลเมตร ทางสายนี้เป็นโครงข่ายทางหลวงที่มีความสำคัญในการพัฒนาเส้นทางคมนาคมขนส่งกับพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก แก้ไขปัญหาการจราจรติดขัดคับคั่งในถนนสุขุมวิท และถนนเทพรัตน และเป็นทางเชื่อมเข้าสู่ท่าอากาศยานสากลแห่งใหม่ คือ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ถนนสายนี้ได้รับการกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 19 และทางหลวงเอเชียสาย 123 ปัจจุบันทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 มีเส้นทางตั้งแต่กรุงเทพมหานครไปถึงแค่เพียงเมืองพัทยาเท่านั้น ซึ่งเส้นทางไปยังอำเภอบ้านฉางอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง นอกจากนี้ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ในปัจจุบัน ยังถูกกำหนดในเส้นทางอื่นอีก ได้แก่ ทางแยกไปบรรจบถนนเทพรัตน, ทางแยกเข้าชลบุรี, ทางแยกเข้าท่าเรือแหลมฉบัง และทางแยกเข้าพัทยา รวมถึงทางแยกไปบรรจบทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (บ้านอำเภอ) ซึ่งอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 สายปากเกร็ด–สะพานต่างระดับนครราชสีมา เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เชื่อมระหว่างจังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครราชสีมา มีจุดเริ่มต้นบนถนนติวานนท์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306) ที่ห้าแยกปากเกร็ด ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดบนถนนมิตรภาพ กับทางเลี่ยงเมืองนครราชสีมาด้านตะวันตก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 204) ที่ทางแยกต่างระดับนครราชสีมา ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ระยะทางทั้งสิ้น 298.515 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 296.707 กิโลเมตร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3256

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3256 สายบางปู - กิ่งแก้ว แบ่งออกเป็น 2 ช่วง มีระยะทางรวมทั้งหมดประมาณ 24 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของแขวงการทางสมุทรปราการ สังกัดกรมทางหลวง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3256 · ดูเพิ่มเติม »

ดนุพร ปุณณกันต์

นุพร ปุณณกันต์ (เกิด 3 กันยายน พ.ศ. 2514) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบบัญชีรายชื่อ และรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย กรรมการผู้จัดการบริษัททูทเวนตี้ทรี จำกัด เป็นอดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีใน ครม.ทักษิณ 2 อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และเป็นอดีตนักแสดงที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและดนุพร ปุณณกันต์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แต่เดิมเป็นเพียง"ศูนย์ฝึกโทรคมนาคมนนทบุรี" ก่อนจะยกฐานะเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็น 1 ใน 7 คณะของสถาบัน มีทั้งสิ้น 13 ภาควิชา ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามสำนักหอสมุดกลาง และมีพื้นที่ติดกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เดิมสังกัดอยู่ในคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ โดยเปิดสอนแก่วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานให้แก่นักศึกษาคณะต่าง ๆ ของสถาบันมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 หลังจากนั้น ในปี..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและคณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็น 1 ใน 7 คณะของสถาบัน มีทั้งสิ้น 3 กลุ่มวิชา ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามหอสมุดกลาง ติดกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ มีเนื้อที่ 80 ไร่เศษ แต่เดิมเป็นโรงเรียนช่างบริการส่งเสริมอาชีวศึกษาก่อนที่ยกฐานะเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ถือเป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ที่ใหญ่และมีพื้นที่การเรียนการสอนมากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ก่อตั้งเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (Faculty of Medicine, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang) เป็นคณะแพทยศาสตร์ของสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง โดยเป็นสถาบันแพทยศาสตร์ลำดับที่ 22 ของประเทศไทย และผ่านการรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตจากแพทยสภาแล้ว.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและคณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็น 1 ใน 9 คณะของสถาบัน เดิมมีทั้งสิ้น 7 ภาควิชา ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 3 ภาควิชา 5 หลักสูตร เดิมเป็น "โรงเรียนเกษตรกรรมนครปฐม" ก่อนจะโอนมาสังกัดสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังและยกฐานะเป็น "คณะเทคโนโลยีการเกษตร" ในวันที่ 22 เมษายน..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบ้านระกาศ

ตำบลบ้านระกาศ เป็นตำบลหนึ่งของอำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ มีเนื้อที่ประมาณ 25 ตารางกิโลเมตรหรือ 15,625 ไร่ จำนวนประชากร 6,632 คน ภาษาท้องถิ่นที่ใช้ภาษาไทยภาคกลาง ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา จำนวนหมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและตำบลบ้านระกาศ · ดูเพิ่มเติม »

ประพันธ์ คูณมี

นายประพันธ์ คูณมี เกิดเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ที่จังหวัดอุบลราชธานี มีชื่อเล่นที่เรียกกันในหมู่เพื่อน ๆ ว่า "ผอม" เมื่อเหตุการณ์ 14 ตุลา เป็นหนึ่งในนักศึกษาที่เข้าร่วมในเหตุการณ์ โดยทำงานร่วมกับสหพันธ์นักศึกษาเสรี และหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา ได้หลบหนีเข้าป่า ร่วมงานกับ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) มีชื่อจัดตั้งว่า "สหายสงคราม" มีเขตงานเป็นของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์ฯ ในนาม "เขตงาน 196 ภูเขียว, ชัยภูมิ" เมื่อออกจากป่า นายประพันธ์ได้กลับมาเรียนต่อจนสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง และระดับ ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และจบเนติบัณฑิตไทย รุ่นที่ 37 โดยเป็นลูกศิษย์ของ นายพิศิษฏ์ เทศะบำรุง อดีตผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา และได้ร่วมกันก่อตั้งสำนักทนายความขึ้นในชื่อ "สำนักงานพิศิษฏ์ ประพันธ์ และเพื่อน".

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและประพันธ์ คูณมี · ดูเพิ่มเติม »

นาถยา แดงบุหงา

นาถยา แดงบุหงา มีชื่อจริงว่า นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตนักแสดงและนางแบบที่มีชื่อเสียง นอกจากจะเป็นดาราสาวที่ได้รับการยกย่องว่า ทั้งสวย ทั้งเก๋ และเก่ง แล้ว เธอคนนี้ยังได้ชื่อว่าเป็น “เจ้าแม่พรีเซ็นเตอร์” แห่งยุคอีกด้ว.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและนาถยา แดงบุหงา · ดูเพิ่มเติม »

แขวง

แขวง เป็นชื่อเรียกของเขตการปกครอง โดยในประเทศลาวและประเทศพม่านั้น "แขวง" จะมีอำนาจปกครองในระดับเดียวกับจังหวัดของประเทศไท.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและแขวง · ดูเพิ่มเติม »

แขวงราษฎร์พัฒนา

ราษฎร์พัฒนา เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย บางแห่งเป็นพื้นที่เกษตรกรรม.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและแขวงราษฎร์พัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

แขวงทับช้าง

ทับช้าง เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยผสมผสานพื้นที่เกษตรกรรม.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและแขวงทับช้าง · ดูเพิ่มเติม »

แคนตาลูป

แคนตาลูป (cantaloupe) หรือเรียกกันว่า แตงแคนตาลูป มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cucumis melo L. var.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและแคนตาลูป · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพรตพิทยพยัต

รงเรียนพรตพิทยพยัต (Protpittayapayat school) ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและโรงเรียนพรตพิทยพยัต · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพร้อม

โรงเรียนพร้อม เป็นโรงเรียนเอกชนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช.) ตั้งอยู่เลขที่ 505 ถนนลาดกระบัง แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร เดิมมีชื่อโรงเรียนอนุบาลพร้อม มีเนื้อที่จำนวน 2 ไร่ 250 ตารางวา เปิดทำการสอนชั้นเตรียมอนุบาล อนุบาล 1-3 และระดับประถมศึกษาปีที่ 1-6 ตามหลักสูตร IEP (Intensive English Program).

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและโรงเรียนพร้อม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมาเรียลัย

รงเรียนมาเรียลัย เป็นโรงเรียนโรมันคาทอลิกในเขตมิสซังกรุงเทพฯ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช.) ตั้งอยู่เลขที่ 389 ถนนประชาพัฒนา แขวงทับยาว เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่จำนวน 15 ไร่ 40 ตารางวา เดิมเป็นอาคารเรียนเรือนไม้ 2 ชั้น 3 หลัง ชุมชนมีการพัฒนาความเจริญมากขึ้น ตามลำดับ ในพื้นที่ของวัดแม่พระประจักษ์เมืองลูร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและโรงเรียนมาเรียลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสารสาสน์วิเทศร่มเกล้า

รงเรียนสารสาสน์วิเทศร่มเกล้า (Sarasas Witaed Romklao School) เป็นโรงเรียนแห่งที่ 13 ของกลุ่มโรงเรียนในเครือสารสาสน์ที่เปิดการเรียนการสอนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อการสอน (Bilingual Program โรงเรียนสองภาษา) ก่อตั้งขึ้นโดย พิบูลย์ ยงค์กมล และ เพ็ญศรี ยงค์กมล เมื่อปี พ.ศ. 2545 และเป็นโรงเรียนสอนหลักสูตรสองภาษา และเปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ (International Education Program).

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและโรงเรียนสารสาสน์วิเทศร่มเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเชิดเจิมศิลป์

220px ตราโรงเรียนเชิดเจิมศิลป์ โรงเรียนเชิดเจิมศิลป์ (Chirdjermsil) เป็นโรงเรียนเอกชน ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 66/9 ถนนหลวงพรต แขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและโรงเรียนเชิดเจิมศิลป์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า

อาคาร นวม (นะวะมะ) โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า เป็นโรงเรียนสหศึกษาของรัฐบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 146 หมู่ที่ 3 ถนนร่มเกล้า แขวงคลองสามประเวศ เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สุวรรณภูมิ

รงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการสุวรรณภูมิ มีตัวย่อ ต.อ...

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สุวรรณภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ไรน่าน อรุณรังษี

รน่าน อรุณรังษี อดีตนักการเมืองและนักเขียน, นักแปลชาวไทย นายไรน่านเกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2485 ที่อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง เป็นชาวไทยมุสลิม จบการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง), ปริญญาโทสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอาลีการ์มุสลิม ประเทศอินเดีย, ปริญญาเอก สาขาปรัชญาและศาสนา มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น นายไรน่าน เข้าสู่แวดวงการเมืองในช่วงของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ขณะที่จบการศึกษาปริญญาโท เมื่อได้เดินทางกลับมาสู่ประเทศไทย และร่วมกับเพื่อน ๆ จัดตั้งหนังสือพิมพ์ธงไทย, เพชรไทย และมหาราษฎร์ ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์แนวซ้าย เรียกร้องรัฐธรรมนูญ และขับไล่รัฐบาลในสมัยนั้น ภายหลังเหตุการณ์ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ร่วมร่างรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2517 จากนั้นได้ร่วมกับ ดร.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและไรน่าน อรุณรังษี · ดูเพิ่มเติม »

เลี่ยม บุนนาค

ณหญิงเลี่ยม บุนนาค เป็นธิดาคนที่ 12 ของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็น สมุหกลาโหม ในสมัยต้นรัชกาลที่ 5 ซึ่งคนทั่วไปมักเรียกบิดาท่านว่า เจ้าคุณทหารหรือเจ้า คุณกลาโหม มารดาชื่อ ท่านหลี ท่านเลี่ยมได้สมรสกับเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน ต่อมาได้สมรสกับหลวงพรตพิทยพยัต และก็ไม่มีบุตรธิดาเช่นเดียวกัน ระหว่างที่มีชีวิตอยู่ท่านมักจะมาพักอยู่ที่บ้านพักอยู่บ้านพักที่หัวตะเข้ (ตั้งอยู่ริมคลองตรงข้ามที่ว่าการเขตลาดกระบัง) ซึ่งขณะนั้นยังเป็นท้องถิ่นที่ห่างไกล จะเดินทางไปมาได้โดยทางเรือเท่านั้น ระหว่างที่พักอยู่ที่หัวตะเข้ท่านเห็นเด็ก ๆ ชาวหัวตะเข้และลูกหลานชาวนาที่เช่าที่นาของท่านและทำใกล้เคียง เช่น บ้านบึงบัว ลำปะทิว ทับยาว ยังไม่ค่อยได้รับการศึกษา เพราะไม่มีสถานศึกษาระดับมัธยมในย่านนั้นเลย และการเดินทางก็ลำบากประกอบกับท่านเจ้าคุณทหาร เมื่อครั้งมาควบคุมการขุดคลองประเวศบุรีรมย์ผ่านท้องที่ลาดกระบังไปยังจังหวัดฉะเชิงเทรานั้นได้สังเกตเห็นว่าคนงานที่รับจ้างขุดดินในการขุดคลองแถวนี้เมื่อเลิกงานก็ดื่มสุรามึนเมาเล่นการพนันทะเลาะวิวาทฆ่าฟันกันตายเป็นเนืองนิจท่านก็ได้ ปรารภกับท่านเลี่ยมเสมอว่า คนพวกนี้ไม่มีอะไรอีกแล้วในชีวิต หากินมาได้ก็กินเหล้า เล่นการพนันหมดซ้ำยังก่อการวิวาทฆ่าฟันกันอีกด้วย ทั้งนี้เพราะว่าขาดการศึกษา 185px ดังนั้นทางที่จะช่วยคนพวกนี้ได้ก็มีอยู่ทางเดียว คือ ให้การศึกษาแก่บรรดาลูก ๆ หลาน ๆ ของคนพวกนี้เท่านั้น ท่านเจ้าคุณทหารจึงจับจองที่ดินในบริเวณริมคลองที่ขุดขึ้นประมาณ 1,500 ไร่ โดยมีความตั้งใจว่า จะให้ที่ดินผืนนี้เป็นสถานศึกษา ให้ความรู้แก่อนุชนรุ่นหลัง ให้มีสติปัญญามีอาชีพที่ดีขึ้นกว่านี้ต่อมาไม่นานท่านเจ้าคุณทหารถึงแก่อสัญกรรม ที่ดินผืนนี้จึงตกเป็นของธิดาท่านคือท่านเลี่ยมซึ่งท่านก็ได้สืบทอดเจตนารมณ์ของท่านเจ้าคุณทหารด้วยการ ที่ยกที่ดินในเขตลาดกระบังให้กระทรวงศึกษาธิการ 1,041 ไร่ เพื่อจัดตั้งสถานศึกษาให้เด็กชาวลาดกระบังได้มีโอกาสเล่าเรียนชั้นสูงต่อไป โดยมอบบ้านพักของท่านที่หัวตะเข้ให้ใช้เป็นอาคารเรียนเปิดสอนในระดับมัธยม และให้ใช้ชื่อโรงเรียนนี้ว่า"โรงเรียนพรตพิทยพยัต" เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่สามีผู้ล่วงลับไป ส่วนที่ดินอีกส่วนหนึ่ง ท่านขอให้กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งเป็นวิทยาลัยอาชีวะ สอนวิชาชีพและขอให้ใช้ชื่อ ท่านเจ้าคุณทหาร เป็นชื่อวิทยาลัยซึ่งต่อมาก็เป็นวิทยาลัย เกษตรกรรมเจ้าคุณทหาร (ปัจจุบันโอนไปสังกัดสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) อีกส่วนหนึ่งเป็นวิทยาลัย โทรคมนาคมและวิทยาลัยวิชาการก่อสร้าง (ปัจจุบันเป็นสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง) 225px.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและเลี่ยม บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

เอฟบีที (บริษัท)

ริษัท โรงงานฟุตบอลล์ไทย สปอร์ตติ้งกู๊ดส์ จำกัด หรือที่รู้จักกันดีในชื่อย่อว่า เอฟบีที (Football Thai Factory Sporting Goods Co, Ltd; อักษรย่อ: FBT) เป็นบริษัทและตรายี่ห้อของผลิตภัณฑ์เครื่องกีฬาสัญชาติไทย บริษัทก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและเอฟบีที (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดากลิ่น หรือเจ้าจอมมารดาซ่อนกลิ่น (บางแห่งสะกดว่า ส้อนกลิ่น).พลายน้อ.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและเจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เขตมีนบุรี

ตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและเขตมีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตสะพานสูง

ตสะพานสูง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและเขตสะพานสูง · ดูเพิ่มเติม »

เขตหนองจอก

ตหนองจอก เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นท้องทุ่งและเกษตรกรรม มีลำคลองไหลผ่านหล.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและเขตหนองจอก · ดูเพิ่มเติม »

เขตประเวศ

ตประเวศ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตศรีนครินทร์ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์ชุมชนชานเมือง แหล่งงานและการบริการเพื่อรองรับท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและเขตประเวศ · ดูเพิ่มเติม »

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิต

นเก้าแสน เก้าวิชิต (ชื่อจริง: สุเทพ หวังมุก; ชื่อเล่น: มะ) เป็นอดีตแชมป์โลกในรุ่นฟลายเวท ของสมาคมมวยโลก (WBA) นับเป็นนักมวยชาวไทยคนแรกที่มีโอกาสชิงแชมป์โลกถึง 3 ครั้งและประสบความสำเร็จ ซึ่งก่อนหน้านั้นมีนักมวยไทย 2 คนที่ได้ชิงแชมป์โลกถึง 3 ครั้ง แต่ไม่ประสบความสำเร็จ คือ จำเริญ ทรงกิตรัตน์ และ ถนอมศักดิ์ ศิษ.

ใหม่!!: เขตลาดกระบังและเด่นเก้าแสน เก้าวิชิต · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ลาดกระบังอำเภอลาดกระบัง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »