โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ฮ่องกงของบริเตน

ดัชนี ฮ่องกงของบริเตน

องกงของบริเตน (British Hong Kong; 英屬香港) หรือเรียกอย่างง่ายว่า ฮ่องกง เป็นช่วงสมัยที่ฮ่องกงอยู่ภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..

21 ความสัมพันธ์: ชาวบริติชกีฬาตะวันออกไกลกีฬาตะวันออกไกล 1913กีฬาตะวันออกไกล 1915กีฬาตะวันออกไกล 1917กีฬาตะวันออกไกล 1919กีฬาตะวันออกไกล 1921กีฬาตะวันออกไกล 1923กีฬาตะวันออกไกล 1925กีฬาตะวันออกไกล 1927กีฬาตะวันออกไกล 1930กีฬาตะวันออกไกล 1934กีฬาเฟสปิกกีฬาเฟสปิก 1977ยุทธการที่ฮ่องกงระบบจราจรซ้ายมือและขวามือรักบี้ 7 คนชิงแชมป์โลกหวง ชิวเซินซุน ยัตเซ็นโฮโฮลุนไซอิ๋ว ตอน ปีศาจแมงมุม

ชาวบริติช

วบริติช เป็นชนชาติหรือคนพื้นเมืองของสหราชอาณาจักร ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร และคราวน์ดีเพนเดนซี ตลอดจนผู้สืบเชื้อสายจากชนชาตินี้ กฎหมายสัญชาติสหราชอาณาจักรสมัยใหม่ถือว่าหมายถึงผู้ถือความเป็นพลเมืองและสัญชาติสหราชอาณาจักร แต่ในบริบททางประวัติศาสตร์จะหมายถึงชาวบริตัน ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองของเกาะบริเตนใหญ.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและชาวบริติช · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล

กีฬาชิงชนะเลิศแห่งตะวันออกไกล (The Far Eastern Championship Games) หรือที่รู้จักในชื่อ กีฬาตะวันออกไกล (Far East Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายประเภท ระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียใต้ของทวีปเอเชีย จัดขึ้นโดย สมาคมกีฬาแห่งตะวันออกไกล (Far Eastern Athletic Association) อันมีหมู่เกาะฟิลิปปินส์ในอารักขาของสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐจีน และจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้ง มีการแข่งขันในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2477 ซึ่งถือเป็นการเริ่มต้นพัฒนาไปสู่กีฬาเอเชียนเกมส์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาตะวันออกไกล · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1913

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 4 - 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1913 จัดขึ้นที่ มะนิลา, หมู่เกาะฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาตะวันออกไกล 1913 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1915

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 4 - 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1915 จัดขึ้นที่ เซี่ยงไฮ้, สาธารณรัฐจีน.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาตะวันออกไกล 1915 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1917

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 30 พฤษภาคม - 4 มิถุนายน ค.ศ. 1917 จัดขึ้นที่ โตเกียว, จักรวรรดิญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาตะวันออกไกล 1917 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1919

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 2 ในเดือน พฤษภาคม ค.ศ. 1919 จัดขึ้นที่ มะนิลา, หมู่เกาะฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาตะวันออกไกล 1919 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1921

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 5 ระหว่างวันที่ 30 พฤษภาคม - 4 มิถุนายน ค.ศ. 1921 จัดขึ้นที่ เซี่ยงไฮ้, สาธารณรัฐจีน.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาตะวันออกไกล 1921 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1923

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 6 ระหว่างวันที่ 21 พฤษภาคม - 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1923 จัดขึ้นที่ โอซากา, จักรวรรดิญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาตะวันออกไกล 1923 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1925

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 2 ในเดือน พฤษภาคม ค.ศ. 1925 จัดขึ้นที่ มะนิลา, หมู่เกาะฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาตะวันออกไกล 1925 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1927

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 5 ระหว่างเดือน สิงหาคม ค.ศ. 1927 จัดขึ้นที่ เซี่ยงไฮ้, สาธารณรัฐจีน.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาตะวันออกไกล 1927 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1930

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 9 ระหว่างวันที่ 24 พฤษภาคม - 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1930 จัดขึ้นที่ โตเกียว, จักรวรรดิญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาตะวันออกไกล 1930 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1934

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 10 ในเดือน พฤษภาคม ค.ศ. 1934 จัดขึ้นที่ มะนิลา, ฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาตะวันออกไกล 1934 · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเฟสปิก

กีฬาเฟสปิก (FESPIC Games) หรือ การแข่งขันกีฬาคนพิการภาคพื้นตะวันออกไกล และ แปซิฟิกตอนใต้ (Far East and South Pacific Games for the Disabled) เรียกว่า สหพันธ์กีฬาเฟสปิก เป็นมหกรรมกีฬาหลากหลายชนิด โดยนักกีฬาเป็นผู้พิการจากทั่วเอเชียและโอเชียเนีย เป็นมหกรรมกีฬาคนพิการอันดับสองของโลกรองจากกีฬาพาราลิมปิก (Paralympic Games) โดยจัดขึ้นครั้งแรกที่เมือง เบ็บปุ จังหวัดโออิตะ ญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) โดยมีนักกีฬาร่วมแข่งขัน 973 คน จาก 18 ประเทศ กีฬาเฟสปิกเกมส์ครั้งที่ 9 จัดขึ้นครั้งสุดท้าย ที่เมืองกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ในปี พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) มีนักกีฬาเข้าร่วม 4,000 คน จากประเทศสมาชิก 46 ประเทศ ชิงชัยกันใน 19 ชนิดกีฬา ก่อนที่ครั้งต่อมา (ค.ศ. 2010) ในการแข่งขันที่เมืองกว่างโจว ประเทศจีน จึงได้มีการเปลี่ยนชื่อการแข่งขันจากกีฬาเฟสปิกเป็นกีฬาเอเชียนพาราเกมส์ ให้สอดคล้องกับการแข่งขันเอเชียนเกมส์ รวมถึง การแข่งขันเอเชียนพาราเกมส์ดังกล่าว ยังเป็นการเริ่มนับครั้งที่หนึ่งใหม่อีกด้ว.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาเฟสปิก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเฟสปิก 1977

กีฬาเฟสปิกเกมส์ 1977 การแข่งขันกีฬาเฟสปิก ครั้งที่ 2 จัดขึ้นที่ ปาร์รามัตตา รัฐนิวเซาท์เวลส์ ออสเตรเลีย ระหว่างวันที่ 20 - 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 (ค.ศ. 1977) จำนวนนักกีฬา 310 คน จาก 15 ประเท.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและกีฬาเฟสปิก 1977 · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ฮ่องกง

ทธการที่ฮ่องกง(08-25 ธันวาคม 1941)ยังเป็นที่รู้จักคือ การป้องกันฮ่องกงและการยึดครองฮ่องกงเป็นหนึ่งในครั้งแรกของสงครามมหาสมุทรแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง.เช้าในวันเดียวกันกับการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์,กองทัพของจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้าโจมตีคราวน์โคโลนีของบริเตนของเกาะฮ่องกง.การโจมตีในการละเมิดกฎหมายต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่นไม่ได้ประกาศสงครามกับจักรวรรดิอังกฤษ.การโจมตีของฝ่ายญี่ปุ่นนั้นก็ต้องพบการต่อต้านจากทหารในฮ่องกงประกอบไปด้วยกองกำลังท้องถิ่นอย่างทหารอังกฤษ,แคนาดาและอินเดี.ภายในสัปดาห์ กองกำลังฝ่ายป้องกันได้ถูกทอดทิ้งจากแผ่นดินใหญ่และน้อยกว่าสองสัปดาห์ต่อมา,กองกำลังฝ่ายการป้องกันบนเกราะนั้นไม่สามารถป้องกันได้,อาณานิคมจึงได้ยอมจำนนและถูกยึดครองในที.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและยุทธการที่ฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ · ดูเพิ่มเติม »

รักบี้ 7 คนชิงแชมป์โลก

รักบี้ 7 คนชิงแชมป์โลก (Rugby World Cup Sevens) เป็นการแข่งขันรักบี้ 7 คนระหว่างประเท.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและรักบี้ 7 คนชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

หวง ชิวเซิน

หวง ชิวเซิน (จีนตัวเต็ม: 黃秋生, จีนตัวย่อ: 黄秋生, Anthony Wong, Anthony Wong Chau-Sang, พินอิน: Huáng Qiūshēng) หรือ อันโทนี หว่อง นักแสดงมากฝีมือชาวฮ่องกง เกิดเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1961 ที่ฮ่องกง โดยเป็นลูกครึ่งมีพ่อเป็นชาวอังกฤษ แม่เป็นชาวจีน มีชื่อจริงว่า อันทีโนี วิลเลียม เพร์รี (Anthony William Perry).

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและหวง ชิวเซิน · ดูเพิ่มเติม »

ซุน ยัตเซ็น

นายแพทย์ ซุน ยัตเซ็น (12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1866 - 12 มีนาคม ค.ศ. 1925) เป็นนักปฏิวัติ และ ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น "บิดาของชาติ" ในสาธารณรัฐจีน และ "ผู้บุกเบิกการปฏิวัติประชาธิปไตย" ในสาธารณรัฐประชาชนจีน ด้วยความเป็นผู้ริเริ่มจีนชาตินิยมคนสำคัญ ซุนมีบทบาทสำคัญในจุดประกายการโค่นล้มราชวงศ์ชิงที่ปกครองแผ่นดินจีนเป็นราชวงศ์สุดท้ายและเกือบนำประเทศไปสู่ความหายนะ ซุนได้ปลุกกระแสให้ชาวจีนหันมาตระหนักถึงความล้มเหลวของราชวงศ์ชิง กระทั่งกลายเป็นกระแสต่อต้านราชวงศ์และนำไปสู่การปฏิวัติซินไฮ่ ซึ่งเปลี่ยนประเทศจีนเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ซุนเป็นประธานาธิบดีเฉพาะกาลคนแรกเมื่อสาธารณรัฐจีนก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและซุน ยัตเซ็น · ดูเพิ่มเติม »

โฮโฮลุน

หวองยักลุน (Wong Yuk Lun) เกิด 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและโฮโฮลุน · ดูเพิ่มเติม »

ไซอิ๋ว ตอน ปีศาจแมงมุม

ซอิ๋ว ตอน ปีศาจแมงมุม (The Cave of Silken Web) เป็นภาพยนตร์จีนกำลังภายในที่ออกฉายในปี ค.ศ. 1967 กล่าวถึงเรื่องราวส่วนหนึ่งของวรรณกรรมชิ้นเอกของ อู๋ เฉิงเอิน เรื่อง ไซอิ๋ว นำแสดงโดย อู๋ เฉิน, เฮลเลน หม่า, ฟาน เหอ, หวู เว.

ใหม่!!: ฮ่องกงของบริเตนและไซอิ๋ว ตอน ปีศาจแมงมุม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

British Hong Kongหมู่เกาะฮ่องกงของบริเตนบริติชฮ่องกง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »