โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อเทวนิยม

ดัชนี อเทวนิยม

หมายเปาโลถึงชาวเอเฟซัส (2:12) จากพาไพรัส 46ในศตวรรษที่ 3 ตอนต้น อเทวนิยม (atheism) คือ ทรรศนะที่ไม่เชื่อว่ามีพระเป็นเจ้า และเชื่อในกฎธรรมชาติ ตรงกันข้ามกับเทวนิยมEncyclopædia Britannica 2009 อเทวนิยมแตกต่างจากอไญยนิยม (agnosticism) ซึ่งเป็นมุมมองที่ว่ามนุษย์ไม่อาจพิสูจน์ได้ว่าพระเจ้ามีจริงหรือไม่ รวมถึงปรากฏการณ์ที่ไม่อาจรับรู้ได้ด้วยประสบการณ์ทางผัสสะ คำว่า atheism ในภาษาอังกฤษ มาจากภาษากรีก ἄθεος (atheos) อันมีความหมายว่า "ปราศจากเทพ" ถือเป็นคำหยาบที่ใช้เรียกผู้ปฏิเสธเทพที่สังคมบูชากัน หลังจากที่มีความคิดอย่างอิสระ (freethought) ความสงสัยทางวิทยาศาสตร์ (skeptical inquiry) และการวิจารณ์ศาสนา (criticism of religion) เพิ่มขึ้นแล้ว การใช้คำนี้ก็มีความหมายอย่างแคบลง บุคคลกลุ่มแรกที่เริ่มถือว่าตนเป็นผู้ที่ไม่เชื่อเรื่องพระเทพ โดยเรียกตนเองว่า "ผู้ถืออเทวนิยม" (atheist) นั้น ใช้ชีวิตอยู่ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 เนื่องจากเหตุที่ว่า ความหมายและความเข้าใจของอเทวนิยมนั้น มีความแตกต่างกัน ในปัจจุบันจึงทราบได้ยากว่าในโลกมีผู้ถืออเทวนิยมกี่คน อิงตามการคาดคะเนในปี..

53 ความสัมพันธ์: ชวาหะร์ลาล เนห์รูชาวบาสก์ชาวสเปนชาวแมนจูชาวโปรตุเกสชาวเกาหลีชุมชนนักวิทยาศาสตร์กรันต์ อัลเลนกัฟรีโล ปรินซีปการสังหารหมู่ที่โรงเรียนโยเกลาการไม่มีศาสนาการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนกีออร์เก กีออร์กีอู-เดจมนุษย์ยอซีป บรอซ ตีโตยูแซฟ ออแล็กซือรัฐธรรมนูญคิวบารายการสาขาวิชาริชาร์ด ดอว์กินส์ริชาร์ด ไฟน์แมนลัทธิขงจื๊อวีตอเรียศาสนาพุทธศาสนาพุทธและวิทยาศาสตร์สหรัฐสาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียอีลี เมตช์นิคอฟอีวา กรีนอไญยนิยมฌัก เอแบร์จี. เอช. ฮาร์ดี้ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐคอนสตันติน เชียร์เนนโคคิม อิล-ซ็องคิม จ็อง-อิลฆราวาสนิยมซัมบวงกาซิตีประชากรศาสตร์มองโกเลียประวัติศาสนาพุทธประเทศออสเตรเลียประเทศโรมาเนียประเทศโครเอเชียประเทศไทยปีเตอร์ ฮิกส์นักบวชนิโคไล เชาเชสกูโรวัน แอตคินสันโจนาทาน เอดเวิดส์ (นักกีฬา)โจเอาเปสโซอาโปร์ตูอาเลกรี...ไลนัส พอลิงเอลีโย ดี รูโปเทวนิยม ขยายดัชนี (3 มากกว่า) »

ชวาหะร์ลาล เนห์รู

วาหะร์ลาล เนห์รู (जवाहरलाल नेहरू ชวาหรลาล เนหรู; Jawaharlal Nehru; 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1889 – 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1964) รัฐบุรุษของอินเดีย และนายกรัฐมนตรีคนแรก หลังได้รับเอกราชจากอังกฤษ ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 17 ปี ตั้งแต..

ใหม่!!: อเทวนิยมและชวาหะร์ลาล เนห์รู · ดูเพิ่มเติม »

ชาวบาสก์

วบาสก์ (euskaldunak, vascos, basques) เป็นชนเผ่าหนึ่งอาศัยอยู่ทางตะวันตกของเทือกเขาพิเรนีส บนชายฝั่งอ่าวบิสเคย์และข้ามไปถึงทางตอนเหนือ-กลางของประเทศสเปน และทางใต้-ตะวันตกของประเทศฝรั่งเศส พวกบาสก์โดยทั่วไปเป็นพวกนับถือศาสนาคริสต์ที่เคร่งมากและมีภาษาเป็นของตนเองซึ่งแตกต่างจากสเปนและฝรั่ง.

ใหม่!!: อเทวนิยมและชาวบาสก์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวสเปน

วสเปน (Spanish people หรือ Spaniards; españoles) มีสองความหมาย ความหมายทั่วไปคือ คนพื้นเมืองที่อยู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของประเทศสเปน นอกจากนั้นยังมีความหมายด้านกฎหมาย คือบุคคลที่ถือสัญชาติสเปน ในประเทศสเปนนั้นมีชนเผ่าและผู้นับถือศาสนาที่หลากหลาย สะท้อนถึงประวัติศาสตร์ความซับซ้อนของประเทศ ภาษาอย่างเป็นทางการคือ ภาษาสเปน (คาสตีล) ซึ่งเป็นภาษาของสเปนแถบเหนือ-กลาง แต่ละท้องถิ่นมีภาษาเฉพาะกลุ่ม ภาษาที่พูดในสเปนนั้นเป็นกลุ่มภาษาโรมานซ์ (ยกเว้นภาษาบาสก์) ส่วนชาวสเปนนอกประเทศสเปนที่อพยพออกไปจากสเปนนั้น โดยมากมักอยู่ในลาตินอเมริก.

ใหม่!!: อเทวนิยมและชาวสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแมนจู

แมนจู (แมนจู:; หม่านจู๋) เป็นชนกลุ่มน้อยเผ่าหนึ่งในประเทศจีนและผู้คนจากดินแดนแมนจูเรียได้ใช้ชื่อดินแดนเป็นชื่อเรียกชนเผ่าของตนเอง ชาวแมนจูเป็นกลุ่มสาขาที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชาวตุงกูซิกที่ใช้ภาษากลุ่มตุงกูซิกและได้อาศัยกระจัดกระจายทั่วประเทศจีน ถือเป็นชนกลุ่มน้อยที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ของประเทศจีน ชาวแมนจูได้อาศัยและพบได้ใน 31 จังหวัดของจีน โดยเฉพาะในดินแดนแมนจูเรีย เหลียวหนิงถือได้ว่าเป็นดินแดนที่มีประชากรแมนจูเยอะที่สุด ส่วนเหอเป่ย, เฮย์หลงเจียง, จี๋หลิน, มองโกเลียในและปักกิ่ง มีประชากรแมนจู 100,000 คนอาศัยอยู่ ประมาณครึ่งของประชากรอาศัยอยู่ในเหลียวหนิงและ 1 ใน 5 อยู่ที่เหอเป่ย์ นอกจากนี้ยังมีชาวแมนจูอาศัยอยู่ในประเทศรัสเซียอันได้แก่ ดินแดนปรีมอร์สกี บางส่วนของดินแดนฮาบารอฟสค์และแคว้นอามูร์ ประวัติโดยสังเขปของชาวแมนจูนั้น ในทัศนคติของชาวฮั่น ถือได้ว่าเป็นชนกลุ่มน้อยเร่ร่อนหรือคนป่าเถื่อน ชาวแมนจูได้สืบเชื้อสายมาจากชาวหนี่เจิน (Jurchen; 女真) ที่ซึ่งได้สถาปนาราชวงศ์จินตอนแรกขึ้นทางตอนเหนือของจีน ในช่วง..

ใหม่!!: อเทวนิยมและชาวแมนจู · ดูเพิ่มเติม »

ชาวโปรตุเกส

วโปรตุเกส (os portugueses; Portuguese people) คือชนชาติและกลุ่มชาติพันธุ์จากประเทศโปรตุเกส ทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตอนใต้-ตะวันตกของทวีปยุโรป ใช้ภาษาโปรตุเกส โดยมากนับถือโรมันคาทอลิก จากประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิโปรตุเกสและการล่าอาณานิคมในแอฟริกา เอเชีย และทวีปอเมริกา เช่นเดียวกับการอพยพตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ทำให้มีสังคมชาวโปรตุเกสในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก.

ใหม่!!: อเทวนิยมและชาวโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเกาหลี

วเกาหลี เป็นชนชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งซึ่งพูดภาษาเดียวกัน ผลการศึกษาด้านภาษาศาสตร์ และมานุษยวิทยา และแหล่งตำนานต่างๆ แสดงให้เห็นว่า เกาหลีแตกต่างจากจีน หรือญี่ปุ่น ลักษณะเด่นทางร่างกายที่เหมือนกันทำให้เชื่อว่าเกาหลีสืบเชื้อสายมาจากชาวมองโกลหลายเผ่าที่อพยพจากเอเชียกลางเข้ามายังคาบสมุทรเกาหลีในปัจจุบัน ชาวเกาหลีรวมกันเป็นชนชาติเดียวกันตั้งแต่ตอนต้นคริสต์ศักราช ในคริสต์ศตวรรษที่เจ็ด ชาวเกาหลีรวมกันเป็นชาติเดียวรวมอยู่ใต้การปกครองเดียวกันเป็นครั้งแรกในสมัยอาณาจักรชิลลา (57 ปีก่อนคริสต์ศักราช-คริสต์ศักราช 935) ยังส่งผลให้เกิดความรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมอย่างใหญ่หลวง ชาวเกาหลีต่อสู้มาอย่างสัมฤทธิ์ผลเป็นเวลาหลายพันปี เพื่อดำรงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และการเมืองของตน แม้จะเผชิญกันเพื่อนบ้านอย่างจีน และความโน้มเอียงที่จะรุกรานของญี่ปุ่นเมื่อไม่นานมานี้ก็ตาม ชาวเกาหลีเป็นชนชาติที่ภาคภูมิใจ ด้วยมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานที่สุดชาติหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: อเทวนิยมและชาวเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ชุมชนนักวิทยาศาสตร์

มชนนักวิทยาศาสตร์ (scientific community) เป็นเครือข่ายชุมชนที่หลากหลายของนักวิทยาศาสตร์ผู้ทำงานอย่างมีปฏิสัมพันธ์กัน โดยรวมชุมชนย่อย ๆ ที่ทำงานในวิทยาศาสตร์สาขาใดสาขาหนึ่ง และในสถาบันหนึ่ง ๆ ถึงแม้การทำงานข้ามสาขาและข้ามสถาบันก็มีอย่างแพร่หลายเหมือนกัน ความเป็นกลาง (หรือภาวะปรวิสัย) ควรจะเป็นผลของระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในชุมชน การทบทวนโดยผู้รู้เสมอกันผ่านการปรึกษาและอภิปรายในวารสารวิทยาศาสตร์และงานประชุม จะช่วยให้เกิดความเป็นกลาง โดยรับรองคุณภาพของระเบียบวิธีวิจัยและการแปลความหมายของผลที่ได้.

ใหม่!!: อเทวนิยมและชุมชนนักวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

กรันต์ อัลเลน

Charles Grant Blairfindie Allen ชาร์ลส์ กรันต์ แบลร์ฟินดี อัลเลน (Charles Grant Blairfindie Allen) (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2390 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2422) เกิดในแคนาดา แต่ไปเรียนหนังสือในสหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และอังกฤษ เมื่ออายุ 25 ปี เขาไปเป็นอาจารย์สอนวิชาตรรกศาสตร์ (รวมทั้งปรัชญา จริยศาสตร์ ภาษาละตินและภาษากรีก) ในมหาวิทยาลัยในจาไมกาอยู่สองสามปี จากนั้นก็กลับยุโรป เขาแต่งงานใหม่ และใช้ชีวิตในแคว้นเคนต์ ประเทศอังกฤษ ส่วนในหน้าหนาวจะไปอยู่ในบ้านทางตอนใต้ของฝรั่งเศส นักเขียนยุควิกตอเรียซึ่งผลิตงานมากมายหลากหลายผู้นี้ เคยเขียนเพื่อเงินถ่ายเดียวไว้หลายเรื่อง (โดยมากเป็นนวนิยายสืบสวนและเขียนโดยใช้นามปากกา) รวมถึงหนังสือท่องเที่ยวอีกจำนวนหนึ่ง เพื่อตอบสนองความอยากเขียนความเรียงในประเด็นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และแสดงความเห็นเกี่ยวกับแนวคิดอเทวนิยม รวมทั้งสนับสนุนลัทธิเสรีนิยม ในทศวรรษ 1890 เขากลายเป็นที่รู้จักไปทั่วจากหนังสือ The woman who did เรื่องราวของหญิงหัวสมัยใหม่ผู้พึ่งตนเองได้ และมีลูกโดยไม่ได้แต่งงาน.

ใหม่!!: อเทวนิยมและกรันต์ อัลเลน · ดูเพิ่มเติม »

กัฟรีโล ปรินซีป

กัฟรีโล ปรินซีป (อักษรซีริลลิก: Гаврило Принцип Gavrilo Printsip; Gavrilo Princip; 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1894 — 28 เมษายน ค.ศ. 1918) เป็นคนชาวเซอร์เบีย กลุ่มยิว และเป็นสมาชิกกลุ่ม "มือดำ" ปรินซีปเป็นผู้ลอบปลงพระชนม์ อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย มกุฎราชกุมารแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และโซฟี ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์กพระชายาที่ เมืองซาราเยโว ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซึ่งขณะนั้น ยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอยู่ ในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2457 เป็นผู้ทำให้จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รบกับ เซอร์เบีย ใน สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: อเทวนิยมและกัฟรีโล ปรินซีป · ดูเพิ่มเติม »

การสังหารหมู่ที่โรงเรียนโยเกลา

การสังหารหมู่โรงเรียนโยเกลา เกิดขึ้นวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ที่โรงเรียนมัธยมโยเกลา ที่โยเกลา เขตเทศบาลตูซุลา ประเทศฟินแลนด์ มีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ทั้งสิ้น 9 ราย เป็นนักเรียน 6 ราย อาจารย์ใหญ่ พยาบาลโรงเรียน และตัวผู้ก่อเหตุ ซึ่งเป็นนักเรียนชายวัย 18 ปี ชื่อเปกกา-เอริก เอาวิเนน ก่อนหน้าที่จะเกิดเหตุการณ์ เอาวิเนนได้เผยแพร่วิดีโอผ่านเว็บไซต์ยูทูบเกี่ยวกับการสังหารหมู่นี้ เหตุการณ์นี้เป็นการยิงกันภายในโรงเรียนครั้งที่สองของประเทศ ก่อนหน้านี้เคยเกิดเหตุการณ์ยิงกันในโรงเรียนที่เรามา เมื่อปีพ.ศ. 2532 ในประเทศฟินแลนด์ การเป็นเจ้าของปืนเป็นเรื่องปกติ แต่การใช้อาวุธปืนจนถึงแก่ชีวิตเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นน้อยมาก.

ใหม่!!: อเทวนิยมและการสังหารหมู่ที่โรงเรียนโยเกลา · ดูเพิ่มเติม »

การไม่มีศาสนา

การแบ่งประเทศตามร้อยละของการให้ความสำคัญแก่ศาสนา ตามผลสำรวจของสำนักวิจัยพิว ใน พ.ศ. 2545 การไม่มีศาสนา (Irreligion หรือ No religion) หมายความว่า ภาวะที่ไม่นับถือศาสนา ไม่แบ่งแยกศาสนา หรือเป็นปรปักษ์ต่อศาสนา ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสนา ว่ากันตามแต่ละนิยามหรือความเข้าใจของบุคคล การไม่มีศาสนาอาจเข้าใจได้ว่าหมายถึง อเทวนิยม (atheism), อไญยนิยม (agnosticism), ศาสนวิมตินิยม (religious skepticism) หรือ มนุษยนิยมแบบฆราวาส (secular humanism) เป็นต้น สำหรับในบางสังคมอาจไม่ยอมรับการไม่มีศาสนา หรืออาจมีอคติต่อผู้ที่ไม่มีศาสนา เช่นการเหมารวมว่าคนที่ไม่มีศาสนาทั้งหมดคือคนที่ชั่วร้าย เป็นต้น บ่อยครั้งที่มีผู้วิพากษ์วิจารณ์ว่าผู้ก่อเหตุอาชญากรรมหรือผู้ก่อการร้ายเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนา แม้ว่าผู้ก่อเหตุจะแสดงตัวว่ามีศาสนาก็ตาม ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจเข้าใจการไม่มีศาสนาเท่า ๆ กับศาสนิกชน เช่น ผู้นับถือลัทธิมนุษยนิยมมีความเชื่ออย่างลึกซึ้งยิ่งในวัตรปฏิบัติของตนเองพอ ๆ กับความลึกซึ้งของความเชื่อที่ศาสนิกชนมีต่อศาสนาของตน เป็นต้น ถึงแม้ว่าคนที่ระบุว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาจะมิได้รับนับถือศาสนาใด ๆ แต่ผู้ที่ไม่มีศาสนาบางกลุ่มยังคงเชื่อถือในเทวะหรือผีสางนางไม้เป็นต้น เช่น คนที่นับถือผีหรือเชื่อโชคลาง แต่ไม่ได้ประกอบพิธีกรรมใด ๆ หรือไม่ได้เป็นศาสนิก เป็นต้น พึงทราบว่า ในบางประเทศ เช่น ซาอุดีอาระเบีย บังคับให้พลเมืองต้องเป็นศาสนิกชน หรือประเทศไทย ผู้ที่ไม่มีศาสนาอาจถูกระบุโดยบุคคลอื่นว่าเป็นพุทธศาสนิกชน หรือในบางสังคมที่ไม่ยอมรับการไม่มีศาสนาอาจมีผู้ที่ไม่เปิดเผยว่าตนเป็นผู้ที่ไม่มีศาสนาในการสำรวจข้อมูลหรือการทำสำมะโนประชากร ดังนั้น จำนวนของผู้ที่ไม่มีศาสนาในโลกนี้จึงยังไม่อาจระบุให้เป็นที่แน่นอนได้ แต่คาดว่าอาจมีมากกว่า 900 ล้านคนทั่วโลก.

ใหม่!!: อเทวนิยมและการไม่มีศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน

การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชนในจักรวรรดิโรมัน ในภาพคริสตชนสตรีถูกสังหารขณะที่จักรพรรดิเนโรชายพระเนตรมาดู การเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน (ศัพท์โรมันคาทอลิก) หรือ การข่มเหงคริสต์ศาสนิกชน (ศัพท์โปรเตสแตนต์) (Persecution of Christians) หมายถึงการเบียดเบียนศาสนาคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนยุคแรกถูกเบียดเบียนทั้งจากชาวยิวและจักรวรรดิโรมันซึ่งปกครองดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอยู่ในขณะนั้น การเบียดเบียนครั้งนี้เกิดขึ้นตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 จนมาสิ้นสุดตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 4 เมื่อจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 และจักรพรรดิลิซิเนียสทรงประกาศพระราชกฤษฎีกาแห่งมิลานเป็นการรับรองเสรีภาพทางศาสนาทั่วทั้งจักรวรรดิโรมัน จนต่อมาศาสนาคริสต์จึงกลายเป็นศาสนาประจำชาติจักรวรรดิโรมันอย่างเป็นทางการ มิชชันนารีและผู้เปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ก็มักตกเป็นเป้าของการเบียดเบียน เป็นที่มาให้เกิดมรณสักขีในศาสนาคริสต์เป็นจำนวนมาก แม้แต่ระหว่างนิกายในศาสนาคริสต์เองก็ยังเบียดเบียนกันเพราะกล่าวหาคริสต์ศาสนิกชนนิกายอื่นว่าเป็นพวกนอกรีต เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นมากในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มีการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 คริสต์ศาสนิกชนยังคงถูกเบียดเบียนจากชาวมุสลิมและกลุ่มรัฐที่เป็นอเทวนิยม เช่น สหภาพโซเวียต ในปัจจุบัน (ค.ศ. 2012) กลุ่มโอเพนดอรส์ประเมินว่ามีคริสต์ศาสนิกชนราวหนึ่งร้อยล้านคนถูกเบียดเบียน โดยเฉพาะในประเทศมุสลิม เช่น ประเทศอิหร่าน ประเทศซาอุดิอาระเบีย และประเทศคอมมิวนิสต์ เช่น ประเทศเกาหลีเหนือ จากการศึกษาของสันตะสำนักพบว่าร้อยละ 75 ของผู้ที่ถูกฆ่าตายเพราะศาสนาเป็นคริสต์ศาสนิกชน.

ใหม่!!: อเทวนิยมและการเบียดเบียนคริสต์ศาสนิกชน · ดูเพิ่มเติม »

กีออร์เก กีออร์กีอู-เดจ

กีออร์เก กีออร์กีอู-เดจ (Gheorghe Gheorghiu-Dej; 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1901 - 19 มีนาคม ค.ศ. 1965) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนีย ระหว่าง..

ใหม่!!: อเทวนิยมและกีออร์เก กีออร์กีอู-เดจ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์

มนุษย์ (ภาษาละตินแปลว่า "คนฉลาด" หรือ "ผู้รู้") เป็นสปีชีส์เดียวที่ยังมีชีวิตอยู่ในสกุล Homo ในทางกายวิภาค มนุษย์สมัยใหม่ถือกำเนิดขึ้นในทวีปแอฟริการาว 200,000 ปีที่แล้ว และบรรลุความนำสมัยทางพฤติกรรม (behavioral modernity) อย่างสมบูรณ์เมื่อราว 50,000 ปีที่แล้ว เชื้อสายมนุษย์แยกออกจากบรรพบุรุษร่วมสุดท้ายกับชิมแพนซี สิ่งมีชีวิตที่ใกล้ชิดที่สุด เมื่อราว 5 ล้านปีที่แล้วในแอฟริกา ก่อนจะวิวัฒนาการไปเป็นออสตราโลพิเธซีน (Australopithecines) และสุดท้ายเป็นสกุล Homo สปีชีส์ โฮโม แรก ๆ ที่อพยพออกจากแอฟริกา คือ Homo erectus, Homo ergaster ร่วมกับ Homo heidelbergensis ซึ่งถูกมองว่าเป็นบรรพบุรุษสายตรงของมนุษย์สมัยใหม่ Homo sapiens ยังเดินหน้าตั้งถิ่นฐานในทวีปต่าง ๆ โดยมาถึงยูเรเซียระหว่าง 125,000-60,000 ปีที่แล้ว ทวีปออสเตรเลียราว 40,000 ปีที่แล้ว ทวีปอเมริการาว 15,000 ปีที่แล้ว และเกาะห่างไกล เช่น ฮาวาย เกาะอีสเตอร์ มาดากัสการ์และนิวซีแลนด์ระหว่าง..

ใหม่!!: อเทวนิยมและมนุษย์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอซีป บรอซ ตีโต

อซีป บรอซ (Јосип Броз/Josip Broz) หรือ ตีโต (Тито/Tito, พ.ศ. 2435-2523) เป็นรัฐบุรุษและประธานาธิบดีของประเทศยูโกสลาเวีย (พ.ศ. 2496-2523) เกิดที่เมืองคุมรอเวตส์ อาณาจักรโครเอเชีย-สลาโวเนียซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี (ปัจจุบันเมืองนี้อยู่ในประเทศโครเอเชีย) คำว่า "ตีโต" แปลว่า "นั่น-นี่" เป็นสมญานามที่ได้มาจากการชอบสั่งนั่นสั่งนี่เป็นประจำของเขาเมื่อมีอำนาจ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ตีโตเข้าประจำการเป็นทหารในกองทัพบกออสเตรีย-ฮังการี ถูกจับเป็นเชลยโดยกองทัพรัสเซียและได้กลายเป็นคอมมิวนิสต์ในเวลาต่อมา ตีโตถูกจองจำเนื่องจากการสมรู้ร่วมคิดต่อต้านระบอบการปกครองในยูโกสลาเวีย (..

ใหม่!!: อเทวนิยมและยอซีป บรอซ ตีโต · ดูเพิ่มเติม »

ยูแซฟ ออแล็กซือ

ูแซฟ ออแล็กซือ (Józef Oleksy) เป็นนักการเมืองชาวโปแลนด์และนายกรัฐมนตรีโปแลนด์คนที่ 7 โดยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีระหว่าง พ.ศ. 2536 - พ.ศ. 2539 เขาเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งที่กรุงวอร์ซอ โปแลนด์ ในวันที่ 9 มกราคม..

ใหม่!!: อเทวนิยมและยูแซฟ ออแล็กซือ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญคิวบา

กระทั่งก่อนคิวบาได้รับเอกราชจากสเปน ผู้ก่อการกำเริบก็เสนอหรือมีมติเห็นชอบรัฐธรรมนูญเป็นเอกสารปกครองดินแดนที่ตนควบคุมระหว่างสงครามต่อต้านสเปน ระเทศคิวบามีรัฐธรรมนูญหลายฉบับนับแต่ได้รับเอกราช รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีการร่างในปี 2519 และมีการแก้ไขเพิ่มเติมนับแต่นั้น.

ใหม่!!: อเทวนิยมและรัฐธรรมนูญคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

รายการสาขาวิชา

รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2440) โดยได้เพิ่มวิชาภาษาศาสตร์ที่ไม่ใช่คลาสสิก วรรณคดี และวิชาสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาและวิศวกรรมศาสตร์เสริมเข้าไปในหลักสูตรแบบประเพณีโบราณ ในต้นคริสต์ศตวรรษ ที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2440 - พ.ศ. 2475) ได้มีการเพิ่มสาขาวิชาใหม่ๆ เช่น การศึกษา สังคมวิทยา และจิตวิทยา ในมหาวิทยาลัยต่างๆ และในช่วงประมาณ พ.ศ. 2513 - พ.ศ. 2523) ได้เกิดปรากฏการณ์ "การระเบิด" ของสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เน้นเนื้อหาเฉพาะเจาะจง เช่น สื่อศึกษา สตรีศึกษา และชนผิวดำศึกษา สาขาใหม่ๆ เหล่านี้จัดขึ้นในมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับอาชีพและวิชาชีพต่างๆ เช่น การพยาบาล การจัดการโรงพยาบาล การราชทัณฑ์ และหลังสุดก็ได้เห็นสาขาวิชาที่เป็นลักษณะ "สหสาขาวิชา" เช่น ชีวเคมี และ ธรณีฟิสิกส์เกิดเพิ่มขึ้นและได้รับการยอมรับว่าสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ได้ช่วยเพิ่มพูนความรู้ให้กว้างขวางขึ้น เครื่องหมายดอกจัน * แสดงเป็นหมายเหตุว่าสาขาวิชานั้นยังเป็นที่ถกเถียงถึงสถานภาพว่าควรนับไว้ในสายวิชาใด เช่น วิชามานุษยวิทยา และวิชาภาษาศาสตร์ควรจัดไว้ในกลุ่มสังคมศาสตร์ หรือ มนุษยศาสตร์ เป็นที่สังเกตได้ว่าบางท่าน โดยเฉพาะนักทฤษฎีวิจารณ์มักให้ความสำคัญในการบ่งชี้การจัดกลุ่มที่เข้มงวดในทุกสายวิชา รวมทั้งความชัดเจนของโครงสร้างของแนวคิดโดยรวมของแต่ละวิชาซึ่งยังเป็นถกเถียงได้มากสำหรับบางคน.

ใหม่!!: อเทวนิยมและรายการสาขาวิชา · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด ดอว์กินส์

ริชาร์ด ดอว์กินส์ ริชาร์ด ดอว์กินส์ (Richard Dawkins) นักชีววิทยาและนักเขียนชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง มีชื่อเต็มว่า คลินตัน ริชาร์ด ดอว์กินส์ (Clinton Richard Dawkins) เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1941 ที่เมืองไนโรบี ประเทศเคนยา เมื่อครั้งที่ยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ด้านสัตววิทยา แห่งมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด ดอว์กินส์ มีชื่อเสียงจากการเป็นนักวิทยาศาสตร์ทางด้านพฤติกรรมศาสตร์และทฤษฎีวิวัฒนาการ โดยได้ศึกษาทฤษฎีวิวัฒนาการของชาร์ลส์ ดาร์วิน และมีความคิดในทฤษฎีนี้ มีผลงานการเขียนหนังสือที่โด่งดัง มีชื่อเสียงกว่า 10 เล่ม อาทิ The Selfish Gene, River out of Eden, The Blind Watchmaker, The God Delusion ซึ่งในแต่ละเล่มนั้นเกี่ยวกับทฤษฎีวิวัฒนาการที่ตรงกันข้ามกับความเชื่อในคริสต์ศาสนาและอิสลาม ซึ่งทำให้ดอว์กินส์ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่คิดในอย่างอเทวนิยม และยังเป็นนักเขียนบทสารคดีสำหรับภาพยนตร์สารคดีทางโทรทัศน์อีกด้วย ในปี ค.ศ. 2012 โรฮัน เพธิยาโกดา นักวิทยาศาสตร์ชาวศรีลังกา ได้ตั้งชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ที่อาศัยอยู่ในประเทศอินเดีย ในวงศ์ Cyprinidae จำนวน 4 ชนิด ว่า Dawkinsia เพื่อเป็นเกียรติแก่ ริชาร์ด ดอว์กิน.

ใหม่!!: อเทวนิยมและริชาร์ด ดอว์กินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด ไฟน์แมน

ริชาร์ด ฟิลลิปส์ ไฟน์แมน (Richard Phillips Feynman) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 เสียชีวิต 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988 เป็นหนึ่งในนักฟิสิกส์ ที่ทรงคุณค่าและมีอิทธิพลมากที่สุดของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในการจัดอันดับนักฟิสิกส์ยอดเยี่ยมตลอดกาลของโลก โดยสำนักข่าวบีบีซี ที่ให้นักฟิสิกส์ชั้นนำของโลกร่วม 100 คนช่วยกันตัดสิน ไฟน์แมน เป็นนักฟิสิกส์สมัยใหม่เพียงคนเดียว ที่ชนะใจเหล่านักฟิสิกส์ชั้นนำทั่วโลก โดยติดอันดับ 10 คนแรกของโลก (สมัยใหม่ในที่นี้ คือนับหลังจากยุคทองของทฤษฎีควอนตัม คือในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน ค.ศ. 2005) แม้แต่นักฟิสิกส์ผู้โด่งดังอย่างสตีเฟ่น ฮอว์คิง ก็ยังได้เพียงอันดับ 16 ในผลโหวต แน่นอนผลโหวตนี้ไม่สามารถตัดสินอะไรได้ แต่ก็เป็นเครื่องบ่งชี้อย่างดีว่า ไฟน์แมนมีอิทธิพลต่อวงการฟิสิกส์ยุคปัจจุบันแค่ไหน ทั้งในแง่ผลงานทางวิชาการ การสอนหนังสือ และการใช้ชีวิต ผลงานของไฟน์แมนมีมากมาย เช่น การขยายทฤษฎีพลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัมให้กว้างใหญ่ขึ้นมาก ซึ่งนำไปสู่รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ เมื่อปี ค.ศ. 1965 ซึ่งเขาได้ร่วมกับจูเลียน ชวิงเกอร์ และโทะโมะนะกะ ชินอิจิโร ไฟน์แมนปฏิเสธตำแหน่งนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ที่ที่ไอน์สไตน์อยู่, เพียงเพราะเขาต้องการสอนหนังสือให้กับเด็ก ครั้งหนึ่งเขาเคยพูดว่า "ผมอยากสอน เพราะในตอนที่ผมไม่มีไอเดียอะไรใหม่ ๆ ในงานวิจัย ผมก็ยังสามารถให้อะไรกับสังคมได้" ไฟน์แมนตัดสินใจรับตำแหน่งที่สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (แคลเทค) สร้างยุคทองของมหาวิทยาลัย ร่วมกับเมอเรย์ เกลมานน์ ผู้คิดค้นทฤษฎีควาร์ก, ไลนัส พอลลิง หนึ่งในนักเคมีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่ 20 หนึ่งในผู้คิดค้นทฤษฎีควอนตัมเคมี และนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำท่านอื่นๆ ในแง่ของการเป็นอาจารย์ เขาได้เขียนคำบรรยายฟิสิกส์ของไฟน์แมน (Feynman Lectures on Physics) อันโด่งดัง ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้สอนวิชาฟิสิกส์เป็นจำนวนมาก ทั้งในแง่เนื้อหาและการนำเสนอ เป็นการพลิกการเรียนการสอนฟิสิกส์แบบเก่า ๆ ให้เข้าใจง่าย นอกจากนั้นเขายังเป็นหนึ่งในผู้พัฒนาระเบิดนิวเคลียร์ลูกแรกของโลก ในโครงการแมนฮัตตัน เป็นหนึ่งในผู้ตรวจสอบการระเบิดของกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ และเป็นผู้ริเริ่มเสนอแนวคิดของนาโนเทคโนโลยี.

ใหม่!!: อเทวนิยมและริชาร์ด ไฟน์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: อเทวนิยมและลัทธิขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

วีตอเรีย

วีตอเรีย (Vitória) เป็นเมืองหลวงของรัฐเอสปีรีตูซานตู ประเทศบราซิล ตั้งอยู่บนเกาะเล็ก ๆ ในอ่าวที่แม่น้ำบรรจบกับทะเล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: อเทวนิยมและวีตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: อเทวนิยมและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธและวิทยาศาสตร์

มีการเสนอเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ว่า ศาสนาพุทธนั้นเข้ากับวิทยาศาสตร์ได้ ทำให้ศาสนาพุทธได้กลายเป็นประเด็นหนึ่งในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างศาสนาและวิทยาศาสตร์ มีการอ้างว่า คำสอนทั้งทางปรัชญาทั้งทางจิตวิทยาในศาสนาพุทธ มีส่วนที่เหมือนกันกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์และทางปรัชญา ยกตัวอย่างเช่น ศาสนาพุทธสนับสนุนให้ทำการตรวจสอบธรรมชาติอย่างเป็นกลาง ๆ แนวคิดที่นิยมบางอย่าง เชื่อมคำสอนศาสนาพุทธกับทฤษฎีวิวัฒนาการ ทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม และทฤษฎีจักรวาลวิทยา แต่ว่า นักวิทยาศาตร์โดยมาก เห็นความแตกต่างระหว่างคำสอนทางศาสนาและเกี่ยวกับอภิปรัชญาของศาสนาพุทธ กับระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ ในปี..

ใหม่!!: อเทวนิยมและศาสนาพุทธและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: อเทวนิยมและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย

รณรัฐประชาชนมองโกเลีย (50px, Bügd Nairamdakh Mongol Ard Uls (BNMAU)) คือรัฐคอมมิวนิสต์ในเอเชียตะวันออกระหว่าง พ.ศ. 2464 ถึง พ.ศ. 2535 หลังจากมองโกเลียได้รับเอกราชจากจีน จากการช่วยเหลือของสหภาพโซเวียตแต่ต้องสถาปนาการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ตามแบบประเทศเพื่อนบ้าน ลัทธิคอมมิวนิสต์สิ้นสุดลงจากมองโกเลียเมื่อปี พ.ศ. 2533 ปีเดียวกันกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ซึ่งต่อมามองโกเลียได้นำระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภามาใช้กับตน.

ใหม่!!: อเทวนิยมและสาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

อีลี เมตช์นิคอฟ

อิลียา อิลยิช เมชนิคอฟ (Ilya Ilyich Mechnikov, Илья́ Ильи́ч Ме́чников) หรือ อีลี เมตช์นิคอฟ (Élie Metchnikoff, Élie Metchnikoff) (15 พฤษภาคม (แบบเก่า 3 พฤษภาคม) ค.ศ. 1845 – 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1916) เป็นนักสัตววิทยาชาวรัสเซีย เป็นผู้ค้นพบกระบวนการฟาโกไซโทซิสจากการทดลองกับตัวอ่อนของดาวทะเล ผลงานดังกล่าวทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ร่วมกับเพาล์ เอร์ลิชในปี..

ใหม่!!: อเทวนิยมและอีลี เมตช์นิคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

อีวา กรีน

อวา กาแอล เกรน (Eva Gaëlle Green;; เกิดวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1980) เป็นนักแสดงและนางแบบชาวฝรั่งเศส เธอได้เริ่มแสดงละครเวทีก่อนที่จะทำการเปิดตัวในฐานะนักแสดงภาพยนตร์ชุด The Dreamers (ค.ศ. 2003) ซึ่งเน้นการทะเลาะวิวาทมากกว่าหลายฉากเปลือยของเธอ เธอประสบความสำเร็จมีชื่อเสียงมากขึ้นเมื่อเธอได้ร่วมบทในภาพยนตร์ชุด มหาศึกกู้แผ่นดิน (ค.ศ. 2005) และภาพยนตร์เจมส์ บอนด์ ชุด พยัคฆ์ร้ายเดิมพันระห่ำโลก ที่ทำให้ได้เธอรับรางวัลรางวัลบาฟต้าในเวลาต่อมา ตั้งแต..

ใหม่!!: อเทวนิยมและอีวา กรีน · ดูเพิ่มเติม »

อไญยนิยม

อไญยนิยม (agnosticism) เป็นมุมมองที่ว่าค่าความจริงของการอ้างบางอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอ้างเกี่ยวกับการมีอยู่หรือไม่มีอยู่ของพระเจ้าใด ๆ ตลอดจนการอ้างอภิปรัชญา ศาสนาอื่นๆ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเรื่องเหนือธรรมชาติอื่นๆ ว่าเป็นสิ่งที่มีอยู่หรือไม่มีอยู่ หรือไม่สามารถหยั่งรู้ได้ ตามคำกล่าวของนักปรัชญา William L. Rowe ในสำนึกซึ่งเป็นที่นิยม พวกอไญยนิยมคือผู้ที่ไม่ได้เชื่อหรือไม่ได้ไม่เชื่อในการมีอยู่ของพระเจ้าองค์ใด ขณะที่พวกเทวนิยมและอเทวนิยมเชื่อและไม่เชื่อ ตามลำดับ ลัทธิอไญยนิยม คือ ทัศนะที่เชื่อว่ามนุษย์เราไม่อาจรู้หรือพิสูจน์ได้ว่าพระเจ้ามีจริงหรือไม่ คำว่า “อไญย” หมายความว่า “โดยปราศจากความรู้” ทัศนะอไญยนิยม คือ ทัศนะที่มีเหตุผลต่อยอดขึ้นมาจากลัทธิอเทวนิยม (Atheism) ลัทธิอเทวนิยมไม่เชื่อว่ามีพระเจ้า – พิสูจน์ไม่ได้ – แต่ลัทธิอไญยนิยมบอกว่าการทรงดำรงอยู่ของพระเจ้าพิสูจน์ไม่ได้ ดังนั้นมันจึงเป็นไปไม่ได้ที่เราจะรู้ว่าพระเจ้าทรงมีอยู่หรือไม่ พูดอีกอย่างคือ ลัทธิอไญยนิยมเชื่อว่าพระเจ้าอาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ ไม่ปักใจเชื่อว่ามี และไม่ปักใจเชื่อว่าไม่มี เนื่องจากการเชื่อความไม่มีอยู่ของพระเจ้าจึงสอดคล้องกับ ลัทธิซาตาน ในประเภทแบบเชื่อว่าพระเจ้าไม่มีอยู่จริง ซึ่งมุ่งเน้น ความเป็นเอกบุคคลและอัตนิยมเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: อเทวนิยมและอไญยนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ฌัก เอแบร์

ัก-เรอเน เอแบร์ (Jacques-René Hébert) เป็นนักหนังสือพิมพ์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ ลาแปร์ดูว์แชน (Le Père Duchesne) ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ลัทธิหัวรุนแรงในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส และทำให้เขาเป็นผู้นำของกลุ่มเอแบร์ (Hébertist) ในวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อเทวนิยมและฌัก เอแบร์ · ดูเพิ่มเติม »

จี. เอช. ฮาร์ดี้

ก็อดฟรีย์ แฮโรลด์ "จี.

ใหม่!!: อเทวนิยมและจี. เอช. ฮาร์ดี้ · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: อเทวนิยมและความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คอนสตันติน เชียร์เนนโค

คอนสตันติน อุสตีโนวิช เชียร์เนนโค(Константи́н Усти́нович Черне́нко, Konstantin Ustinovich Chernenko)(24 กันยายน 1911 - 10 มีนาคม 1985) เป็นนักการเมืองโซเวียตและห้าเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต เขานำสหภาพโซเวียตจาก 13 กุมภาพันธ์ 1984 จนกระทั่งเขาตายสิบสามเดือนต่อมาเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 1985 Chernenko ยังประธานรัฐสภาของสูงสุดสหภาพโซเวียตจาก 11 เมษายน 1984 จนกระทั่งเขาตาย หมวดหมู่:ผู้นำในสงครามเย็น หมวดหมู่:นักการเมืองโซเวียต.

ใหม่!!: อเทวนิยมและคอนสตันติน เชียร์เนนโค · ดูเพิ่มเติม »

คิม อิล-ซ็อง

อนุสาวรีย์คิม อิล-ซ็อง คิม อิล-ซ็อง (15 เมษายน พ.ศ. 2455 – 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) เป็นผู้นำคนแรกของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต่ก่อตั้งประเทศเมื่อ..

ใหม่!!: อเทวนิยมและคิม อิล-ซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

คิม จ็อง-อิล

ม จ็อง-อิล มีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า ยูริ อีร์เซโนวิช คิม/Юрий Ирсенович Ким (ตามบันทึกโซเวียต) (16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1941/2 – 17 ธันวาคม ค.ศ. 2011) อดีตผู้นำสูงสุดของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) เขาเป็นเลขาธิการพรรคกรรมกรเกาหลี ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลตั้งแต..

ใหม่!!: อเทวนิยมและคิม จ็อง-อิล · ดูเพิ่มเติม »

ฆราวาสนิยม

ราวาสนิยม (secularism) คือ แนวปรัชญาที่ว่าสถาบันการปกครองหรือสถาบันการเมือง หรือ สถาบันในรูปอื่นควรจะดำเนินการปกครองที่เป็นอิสระจากการอำนาจการควบคุมของสถาบันศาสนา และหรือความเชื่อทางศาสนา ในแง่หนึ่งสถาบันที่ดำเนินนโยบาย “ฆราวาสนิยม” จะเป็นสถาบันที่ยึดนโยบายดำรงความเป็นกลางในทางด้านความเชื่อทางศาสนาของประชาชนและ/หรือผู้อยู่ใต้การปกครอง, ดำเนินการปกครองที่เป็นอิสระจากกฎและคำสอน หรือ ความเชื่อทางศาสนา, ไม่ใช้อำนาจตามหลักความเชื่อทางศาสนาในการบังคับประชาชน และ ไม่มีการมอบอภิสิทธิพิเศษหรือให้การช่วยเหลือแก่สถาบันศาสนา ส่วนในอีกแง่หนึ่ง “ฆราวาสนิยม” หมายถึงมุมมองที่เกี่ยวกับกิจกรรมและการตัดสินใจของมนุษย์ โดยเฉพาะกิจกรรมและการตัดสินใจทางการเมือง ว่าควรตั้งอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริงโดยปราศจากอคติอันเนื่องมาจากอิทธิพลทางศาสนา ฆราวาสนิยมในรูปแบบที่แท้จริงแล้วจะติเตียนความเป็นอนุรักษนิยมของศาสนา และมีความเห็นว่าศาสนาเป็นอุปสรรคต่อความก้าวหน้าของมนุษย์เพราะเป็นสิ่งที่เน้นความเชื่องมงาย และ สิทธันต์ (dogma) เหนือเหตุผลและกระบวนการในสิ่งที่พิสูจน์ได้ (scientific method) พื้นฐานของปรัชญาฆราวาสนิยมมาจากหลักการคิดของนักปรัชญากรีกและโรมันเช่นมาร์คัส ออเรลิอัส และ เอพิคารัส, จากผู้รู้รอบด้านของปรัชญามุสลิมของยุคกลาง เช่น อิบุน รัชด์, จากนักคิดของยุคเรืองปัญญา เช่น เดอนีส์ ดิเดอโรต์, วอลแตร์, จอห์น ล็อก, เจมส์ แมดิสัน, ทอมัส เจฟเฟอร์สัน และ ทอมัส เพน และ จากนักคิดเสรี (freethinkers), นักอไญยนิยม (Agnosticism) หรือ นักอเทวนิยม เช่น เบอร์ทรานด์ รัสเซิลล์ และ โรเบิร์ต อิลเกอร์โซลล.

ใหม่!!: อเทวนิยมและฆราวาสนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ซัมบวงกาซิตี

ซัมบวงกาซิตี (Chavacano: Ciudad de Zamboanga, Lungsod ng Zamboanga) เป็นนครหนาแน่นแห่งหนึ่งในเขตตังไวนางซัมบวงกา ประเทศฟิลิปปินส์ มีประชากร 861,799 คนในปี..

ใหม่!!: อเทวนิยมและซัมบวงกาซิตี · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์มองโกเลีย

วามเปลี่ยนแปลงของประชากรมองโกเลีย บทความนี้ว่าด้วยลักษณะประชากรของประเทศมองโกเลีย รวมถึงความหนาแน่นของประชากร ชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา สาธารณสุข สถานภาพทางเศรษฐกิจ การนับถือศาสนา เป็นต้น.

ใหม่!!: อเทวนิยมและประชากรศาสตร์มองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: อเทวนิยมและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: อเทวนิยมและประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนีย

รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.

ใหม่!!: อเทวนิยมและประเทศโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโครเอเชีย

รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28.

ใหม่!!: อเทวนิยมและประเทศโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: อเทวนิยมและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ ฮิกส์

ปีเตอร์ ฮิกส์ (Peter Higgs; เกิด 29 พฤษภาคม..) เป็นนักฟิสิกส์เชิงทฤษฎีชาวอังกฤษ โดยได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับฟร็องซัว อ็องแกลร์ในปี..

ใหม่!!: อเทวนิยมและปีเตอร์ ฮิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

นักบวช

นักบวช หรือ บรรพชิต เป็นผู้สละชีวิตฆราวาสเข้าพิธีบวชตามลัทธิศาสนาต่าง ๆพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน..

ใหม่!!: อเทวนิยมและนักบวช · ดูเพิ่มเติม »

นิโคไล เชาเชสกู

นิโคไล เชาเชสกู (อังกฤษ - Nicolae Ceausescu; โรมาเนีย: Nicolae Ceauşescu) (26 มกราคม พ.ศ. 2462 - 25 ธันวาคมพ.ศ. 2532) เขาเป็นชาวโรเมเนีย (ชาวโรมาเนีย) และนักการเมืองในสายคอมมิวนิสต์ เขาเป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์โรเมเนียในช่วงปี..

ใหม่!!: อเทวนิยมและนิโคไล เชาเชสกู · ดูเพิ่มเติม »

โรวัน แอตคินสัน

รวัน เซบาสเตียน แอตคินสัน (เกิดเมื่อวันที่ 6 มกราคม ค.ศ. 1955) เป็นนักแสดงบทตลกและเป็นนักเขียนบทละครชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง เขาเป็นคนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดจากงานเขียนบทตลกแนวเสียดสีจากละครซีรีส์เรื่อง Not The Nine O'Clock News และละครซิตคอมเรื่อง มิสเตอร์ แบล็คแอ็ดเดอร์, Mr. Bean และ The Thin Blue Line แอตคินสันถูกจัดอันดับจากหนังสือพิมพ์ดิออบเซิร์ฟเวอร์ให้เป็น 1 ใน 50 นักแสดงตลกของอังกฤษที่ตลกที่สุด และเป็นนักแสดงตลกชั้นนำ 50 คนแรกในปี 2005 จากผลการสำรวจความเห็นของผู้ที่ชมรายการตลก เขายังประสบความสำเร็จในผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่อง มิสเตอร์บีน, มิสเตอร์บีน พักร้อนนี้มีฮา, พยัคฆ์ร้าย ศูนย์ ศูนย์ ก๊าก, พยัคฆ์ร้าย ศูนย์ ศูนย์ ก๊าก สายลับกลับมาป่วน แอตคินสัน จบปริญญาตรีวิศวกรรมไฟฟ้าจากมหาวิทยาลัยนิวคาสเซิล แล้วศึกษาต่อที่ควีนส์คอลเลจ มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ระหว่างศึกษาปริญญาโทนี้ เขาได้ร่วมชมรมการแสดงของมหาวิทยาลัย และได้พบกับริชาด เคอร์ทิส และร็อบบิน ดริสคอล ซึ่งได้ร่วมงานสร้าง มิสเตอร์บีน ในเวลาต่อมา แอตคินสัน เข้าสู่วงการแสดงในปี ค.ศ. 1983 จากบทตัวประกอบในภาพยนตร์ เจมส์ บอนด์ ตอน พยัคฆ์เหนือพยัคฆ์ เป็นภาพยนตร์เจมส์บอนด์อย่างไม่เป็นทางการ ที่นำแสดงโดย ฌอน คอนเนอรี่ ปี..2012 เขาได้ไปร่วมแสดงในพิธีเปิด กีฬาโอลิมปิก ที่ลอนดอนและอเมริกาด้ว.

ใหม่!!: อเทวนิยมและโรวัน แอตคินสัน · ดูเพิ่มเติม »

โจนาทาน เอดเวิดส์ (นักกีฬา)

นาทาน เดวิด เอดเวิดส์, ซีบีอี (Jonathan David Edwards, CBE) เกิดวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1966 ที่กรุงลอนดอน เป็นอดีตนักกีฬาเขย่งก้าวกระโดด เคยได้รับเหรียญทองโอลิมปิก กีฬาเครือจักรภพ ยูโรเปียนแชมเปียนชิป และเวิลด์แชมเปียนชิป ถือสถิติโลกมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: อเทวนิยมและโจนาทาน เอดเวิดส์ (นักกีฬา) · ดูเพิ่มเติม »

โจเอาเปสโซอา

อาเปสโซอา (João Pessoa) เป็นเมืองหลวงของรัฐปาราอีบา ประเทศบราซิล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: อเทวนิยมและโจเอาเปสโซอา · ดูเพิ่มเติม »

โปร์ตูอาเลกรี

ปร์ตูอาเลกรี (Porto Alegre) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐรีโอกรันดีโดซูล ประเทศบราซิล ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: อเทวนิยมและโปร์ตูอาเลกรี · ดูเพิ่มเติม »

ไลนัส พอลิง

ลนัส คาร์ล พอลิง (Linus Carl Pauling; 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2444 – 19 สิงหาคม พ.ศ. 2537) เป็นนักเคมี นักชีวเคมี นักเคลื่อนไหวสันติภาพ นักเขียน และนักวิชาการชาวอเมริกัน เขาเป็นนักเคมีคนหนึ่งที่มีอิทธิพลมากที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นนักเคมีที่สำคัญมากที่สุดคนหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 พอลิงเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งสาขาเคมีควอนตัม และอณูชีววิท.

ใหม่!!: อเทวนิยมและไลนัส พอลิง · ดูเพิ่มเติม »

เอลีโย ดี รูโป

อลีโย ดี รูโป (Elio Di Rupo,; เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2494) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรเบลเยียม คนที่ 40 และหัวหน้าคณะรัฐมนตรีชุดที่ 68 ดำรงตั้งแต่วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2554 จนถึงปัจจุบัน เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสในรอบสามสิบปีหลังจากผู้ดำรงตำแหน่งคนสุดท้ายคือ เปาล์ ฟันเดิน บุยนันตส์ เข้ารับตำแหน่งเมื่อพ.ศ. 2522 และยังเป็นนายกรัฐมนตรีจากพรรคสังคมนิยมคนแรกในรอบเกือบสี่สิบปีหลังจากแอดมง เลอบูร์ตง ซึ่งหมดวาระลงในปีพ.ศ. 2517 เอลีโย ดี รูโป ยังเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของเบลเยียมที่ไม่ได้สืบเชื้อสายจากชาววัลลูนหรือเฟลมิช โดยบิดาและมารดาของเขาเป็นผู้อพยพจากประเทศอิตาลี และยังเป็นนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวที่แสดงออกว่าเป็นเกย์ในกลุ่มประเทศยุโรป.

ใหม่!!: อเทวนิยมและเอลีโย ดี รูโป · ดูเพิ่มเติม »

เทวนิยม

หล่าทวยเทพในภาพ ''The Triumph of Civilization'' (ชัยชนะแห่งความศิวิไลซ์) เทวนิยม (Theism) ในความหมายอย่างกว้างหมายถึงความเชื่อว่ามีพระเป็นเจ้าหรือเทพเจ้า ความหมายอย่างแคบคือเชื่อแบบเอกเทวนิยมว่ามีพระเจ้าองค์เดียวและทรงสัมพันธ์กับการดำรงอยู่ของเอกภพ เทวนิยมยังเชื่อว่าพระเจ้าทรงเป็นบุคคล และมีอำนาจปกครองและจัดการโลกและเอกภพ แนวคิดตามแบบแผนนี้อธิบายพระเจ้าในเชิงเอกเทวนิยมซึ่งปรากฏในศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดูในบางสำนัก คำว่า Theism ตามแนวคิดนี้เกิดขึ้นในช่วงการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อให้ต่างจากคำว่าเทวัสนิยม ที่เชื่อว่ามีพระเจ้าเป็นอุตตรภาวะสูงสุด แต่พระเจ้ามิได้ทรงแทรกแซงโลกตามธรรมชาติ และมนุษย์รู้จักพระองค์ได้ด้วยการใช้เหตุผล ไม่ใช่โดยการวิวรณ์ ส่วนสรรพเทวนิยมเชื่อว่าสรรพสิ่งคือพระเจ้า และพหุเทวนิยมเชื่อว่ามีเทวดาหลายองค์ แต่ละองค์มีอำนาจต่าง ๆ กันไป คำว่า Theism มาจาก theos ในภาษากรีกที่แปลว่า เทพ นักปรัชญาชื่อ Ralph Cudworth ใช้คำนี้เป็นคนแรก ส่วนอเทวนิยมเป็นการปฏิเสธความเชื่อแบบเทวนิยมในความหมายกว้าง คือไม่เชื่อว่ามีพระเจ้าองค์เดียว ถ้าปฏิเสธพระเจ้าในความหมายแคบ จะเรียกว่า เทวัสนิยม สรรพเทวนิยม พหุเทวนิยม ตามแต่ลักษณะของความเชื่อ ถ้าเห็นว่าพระเจ้าหรือเทวดาจะมีอยู่หรือไม่เราก็รู้ไม่ได้เรียกว่าอไญยนิยม ถ้าเชื่อว่ารู้ได้ (ว่ามีหรือไม่มี) ก็ถือว่าเป็นเทวนิยมหรืออเทวนิยม (ตามแต่ลักษณะความเชื่อ) เทวนิยมและอเทวนิยมจึงเป็นยืนยันหรือปฏิเสธการดำรงอยู่ของพระเจ้า แต่อไญยนิยมปฏิเสธการรับรู้ ผู้ที่ไม่มีศาสนาจะไม่เชื่อในเรื่องการมีสิ่งศักดิ์สิทธื์ใด ๆ เลย ศาสนาพุทธอาจจัดว่าเป็นทั้งเทวนิยมและอเทวนิยม นิกายเถรวาทและนิกายเซน เชื่อในกฎธรรมชาติ สร้างสรรพสิ่ง จัดเป็นอเทวนิยม นิกายสุขาวดีและวัชรยาน เชื่อว่ามีพระอาทิพุทธะเป็นผู้สร้างโลกและสรรพสิ่งเฉกเช่นพระเจ้า จึงอาจจัดนิกายเหล่านี้เป็นเทวนิยมได้.

ใหม่!!: อเทวนิยมและเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

AtheismAtheist

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »