โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อำเภอเมืองเพชรบุรี

ดัชนี อำเภอเมืองเพชรบุรี

อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครองการบริหาร เศรษฐกิจ และการศึกษาของจังหวัดเพชรบุรี มีอาณาบริเวณเป็นที่ราบ มีภูเขาหินปูนโดดบ้างเล็กน้อย มีชายหาดที่ขึ้นชื่อคือ "หาดเจ้าสำราญ" มีแม่น้ำซึ่งเป็นที่ตั้งของชุมชนคนเมืองเพชรบุรีมาแต่สมัยโบราณไหลผ่านกลางอำเภอ นั่นคือ "แม่น้ำเพชร" และหากมองจากเขตเทศบาล จะปรากฏ "เขาวัง" หรือ "พระนครคีรี" ตั้งตระหง่านบนยอดเขาสามลูก อีกทั้งยังมีพระปรางค์ 5 ยอด อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองในสมัยโบราณด้ว.

80 ความสัมพันธ์: พระบรมนขทัศฯพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)พระรามอินทรา (ดวง จุลัยยานนท์)พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)พระสุนทรโวหาร (ภู่)พระครูวัชรโพธิคุณ (หริ่ง มโหสโถ)พระปรางค์วัดมหาธาตุพระเทพวัชรกิริณีฯพลับพลาชัยพานิช สัมภวคุปต์กังวาลไพร ลูกเพชรก้องไพร ลูกเพชรมณฑลทหารบกรายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบุรีรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบุรีรายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทยรายการรหัสไปรษณีย์ไทยรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทยวัดกำแพงแลงวัดมหาธาตุวรวิหารวัดทองนพคุณวัดป่าเลไลย์ (แก้ความกำกวม)วัดนาควัดไผ่ล้อมวัดไผ่ล้อม (จังหวัดเพชรบุรี)สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรีสมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ)สถานีรถไฟเพชรบุรีสถานีรถไฟเขาทโมนสถานีเอื้อน อนามัยส่ง เทภาสิตหาดชะอำหาดสำราญ (แก้ความกำกวม)หน่วยการเรียนทางไกล สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์อำเภอบ้านลาดอำเภอบ้านแหลมอำเภอท่ายางอำเภอเขาย้อยอุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรีองค์การบริหารส่วนตำบลบางจากองค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว (อำเภอบ้านแหลม)องค์การบริหารส่วนตำบลปากทะเลองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมผักเบี้ยองค์การบริหารส่วนตำบลโพพระจังหวัดของประเทศไทยจังหวัดเพชรบุรีถนนพระรามที่ 2ถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม)ถนนเพชรเกษม...ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญทางหลวงพิเศษหมายเลข 8ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3349ณรงค์ มหานนท์ตำบลบางแก้ว (อำเภอบ้านแหลม)ปิยะ อังกินันทน์นิราศเมืองเพชรแดนอรัญ แสงทองโรงพยาบาลพระจอมเกล้าโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรีโรงเรียนวัดจันทราวาส(ศุขประสารราษฎร์)โรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาโรงเรียนอรุณประดิษฐโรงเรียนคงคารามโรงเรียนเบญจมราชูทิศโรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรีโฮมโปรเพชรบุรี (แก้ความกำกวม)เย็น แก้วมะณีเทพฤทธิ์ สิงห์วังชาเทศบาลตำบลบางตะบูนเทศบาลตำบลบ้านลาดเทศบาลตำบลหัวสะพานเทศบาลตำบลหาดเจ้าสำราญเทศบาลตำบลหนองจอกเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองเพชรบุรีเขตพื้นที่การศึกษาเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกงเนื่อง แฝงสีคำ ขยายดัชนี (30 มากกว่า) »

พระบรมนขทัศฯ

ระบรมนขทัศฯ พระบรมนขทัศฯ ช้างสำคัญในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นช้างสำคัญในตระกูลวิษณุพงศ์ จำพวกอัฎฐคช ชื่อ "ครบกระจอก" เป็นช้างที่มีเล็บครบ 20 เล็บ คือเท้าละห้าเล็บทั้งสี่เท้า ช้างเดียวในรัชกาลที่ 9 โดยจมื่นศิริ วังรัตน์ เป็นผู้ตรวจคชลักษณ์ พระบรมนขทัศฯ เป็นช้างพลายเผือกลูกเถื่อน เกิดจากแม่ช้างป่า พระครูโสภณพัฒนกิจ (พระปลัดบุญส่ง ธัมมปาโล) เจ้าอาวาสวัดเขาบันไดอิฐ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ได้มาจากราษฎรอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตั้งชื่อว่า พลายดาวรุ่ง และนำมาเลี้ยงไว้ที่วัดเขาบันไดอิฐ คู่กับ พังขวัญตา (พระเทพวัชรกิริณีฯ) นายศุภโยค พาณิชย์วิทย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรีเป็นผู้น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ประกอบพระราชพิธีสมโภช และขึ้นระวางเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและพระบรมนขทัศฯ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)

ันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) อดีตนายทหารบก ผู้เป็นแกนหลักในเหตุการณ์กบฏบวรเดชเมื่อปี พ.ศ. 2476 พระยาศรีสิทธิสงคราม มีชื่อเดิมว่า ดิ่น ท่าราบ เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2434 ในครอบครัวคหบดีชาวสวน ที่ตำบลท่าราบ อำเภอคลองกระแชง (ปัจจุบัน คือ อำเภอเมืองเพชรบุรี) จังหวัดเพชรบุรี จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก ด้วยการสอบได้ที่ 1 จึงได้ทุนการศึกษาไปศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกเยอรมัน ร่วมรุ่นเดียวกับ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) และพระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) โดยทั้ง 3 สนิทสนมกันมาก จนได้รับฉายาจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ว่าเป็น "สามทหารเสือ" เช่นเดียวกับ สามทหารเสือ ในนวนิยายชื่อเดียวกันของอเล็กซังเดรอ ดูมาส์ นักเขียนชาวฝรั่งเศส พระยาศรีสิทธิสงคราม ได้ศึกษาที่ประเทศเยอรมันนานถึง 10 ปี ก่อนจะเดินทางกลับมายังประเทศไทย มีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการอย่างรวดเร็ว โดยได้รับยศเป็น พันเอก (.อ.) ตั้งแต่อายุ 37 ปี และได้รับบรรดาศักดิ์เป็น พระยา เมื่ออายุได้ 40 ปี ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 นั้น พระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกชักชวนให้เข้าร่วมด้วย แต่พระยาศรีสิทธิสงครามไม่ขอเข้าร่วม เนื่องจากยึดมั่นในคำถวายสัตย์ แต่ก็ไม่ต่อต้าน โดยในวันที่ 24 มิถุนายน ปีเดียวกันนั้นที่เกิดเหตุการณ์ ตัวของพระยาศรีสิทธิสงครามก็ได้ซ่อนตัวอยู่ในบ้านพักของพระยาพหลพลหยุหเสนาทั้งวัน จากนั้น พระยาศรีสิทธิสงคราม จึงถูกย้ายไปรับราชการในกระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบัน) ต่อมาเมื่อเกิดความขัดแย้งกันในหมู่คณะราษฎร เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี ปิดรัฐสภา และงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา ซึ่งเป็นชนวนเหตุให้พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี (ลอย) ก็เป็นพระยาศรีสิทธิสงครามที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน และได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้ากรมยุทธการทหารบก แต่ก็อยู่ในตำแหน่งได้เพียง 2 วันเท่านั้น ก็เกิดการรัฐประหารเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 โดยกลุ่มของ พระยาพหลพลพยุหเสนา และหลวงพิบูลสงคราม พระยาศรีสิทธิสงครามจึงถูกย้ายไปรับราชการที่กระทรวงธรรมการอีกครั้ง ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นเหตุให้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เกิดความขุ่นข้องหมองพระทัย และได้ก่อเหตุการณ์กบฏบวรเดชขึ้นในเดือนตุลาคม ปีเดียวกันนั้น โดยพระยาศรีสิทธิสงครามเข้าร่วมด้วย มีฐานะเป็นแม่ทัพ รับหน้าที่เป็นกองระวังหลัง จนเมื่อทางฝ่ายกบฏเพลี่ยงพล้ำต่อรัฐบาล ในเวลาพลบค่ำของวันที่ 23 ตุลาคม ปีเดียวกัน พระยาศรีสิทธิสงครามได้เป็นผู้เดินไปเจรจากับทหารฝ่ายรัฐบาล เพื่อขอให้หยุดยิง แต่ปรากฏว่า พระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกยิงเสียชีวิต ที่สถานีรถไฟหินลับ จังหวัดสระบุรี โดยร้อยโท ตุ๊ จารุเสถียร (ประภาส จารุเสถียร) จากนั้นร่างของพระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกส่งกลับกรุงเทพมหานคร โดยทำการฌาปนกิจอย่างเร่งด่วนที่วัดอภัยทายาราม หรือวัดมะกอก โดยที่ทางครอบครัวไม่ได้รับรู้มาก่อนเลย และกว่าจะได้อัฐิกลับคืนก็เป็นเวลาล่วงไป 3-4 ปีแล้ว อีกทั้งยังถูกคุกคามต่าง ๆ นานา ตลอดสมัยรัฐบาลหลวงพิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี จนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ชีวิตครอบครัวของพระยาศรีสิทธิสงคราม สมรสกับคุณหญิงศรีสิทธิสงคราม (ตลับ ท่าราบ - นามสกุลเดิม อ่ำสำราญ) มีบุตรธิดาทั้งหมด 4 คน ได้แก่ นางอัมโภช จุลานนท์ (มารดาของพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์), แพทย์หญิงโชติศรี ท่าราบ, นางอารีพันธ์ ประยูรโภคราช และนายชัยสิทธิ์ ท่าร.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) · ดูเพิ่มเติม »

พระรามอินทรา (ดวง จุลัยยานนท์)

ลตำรวจโท พระรามอินทรา (ดวง จุลัยยานนท์) (27 มีนาคม พ.ศ. 2432 - ???) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 6 และอดีตปลัดกระทรวงมหาดไทยคนที่ 11.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและพระรามอินทรา (ดวง จุลัยยานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)

ระศาสนโศภน นามเดิม แจ่ม ฉายา จตฺตสลฺโล เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองคณะธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม รองประธานสังฆสภา และแม่กองธรรมสนามหลวงรูปแรก.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและพระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระสุนทรโวหาร (ภู่)

ระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 - พ.ศ. 2398) เป็นอาลักษณ์ชาวไทยที่มีชื่อเสียงเชิงกวี ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย เกิดหลังจากตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ 4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็นอาลักษณ์ราชสำนักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสิ้นรัชกาลได้ออกบวชเป็นเวลาร่วม 20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีกครั้งในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นอาลักษณ์ในสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็น พระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวังบวร ซึ่งเป็นตำแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิต สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชำนาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยมอย่างกว้างขวางสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมายหลายเรื่อง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพาะเรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของวรรณคดีประเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนนับแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชยสุริยา นิราศพระบาท และอีกหลาย ๆ เรื่อง ปี..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและพระสุนทรโวหาร (ภู่) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวัชรโพธิคุณ (หริ่ง มโหสโถ)

thumbnail พระครูวัชรโพธิคุณ (หริ่ง มโหสโถ) เป็นพระเถระในจังหวัดเพชรบุรี หลวงพ่อหลิ่งเป็นพระภิกษุชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีชื่อเสียงด้านการแพทย์แผนไทยเป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและพระครูวัชรโพธิคุณ (หริ่ง มโหสโถ) · ดูเพิ่มเติม »

พระปรางค์วัดมหาธาตุ

ระปรางค์วัดมหาธาตุ ตั้งอยู่ที่ตำบลคลองกระแซง อำเภอเมืองเพชรบุรี (อำเภอคลองกระแชง) สร้างมามากกว่า 1,900 ปี มีพระปรางค์ห้ายอด ล้อมรอบด้วยพระระเบียงคด ที่หน้าบันพระวิหารหลวงประดับลวดลายปูนปั้นศิลปะสมัยอยุธยา ใบเสมาคู่สมัยอยุธยาตอนปลาย ทำด้วยหินทรายแดง จำหลักลวดลายทั้งใบ ความสูงถึงยอดนภศูลประมาณ 55 เมตร รอบฐานยาว 120 เมตร.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและพระปรางค์วัดมหาธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

พระเทพวัชรกิริณีฯ

ระเทพวัชรกิริณีฯ พระเทพวัชรกิริณีฯ ช้างสำคัญในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นช้างเผือกตระกูลวิษณุพงศ์ จำพวกอัฏฐคช ชื่อ ดามพหัสดินทร์ โดยจมื่นศิริ วังรัตน์ เป็นผู้ตรวจคชลักษณ์ พระเทพวัชรกิริณีฯ เป็นช้างพังลูกเถื่อน เกิดจากแม่ช้างป่าในป่ายางชุม ตำบลสองพี่น้อง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี นายสนิท ศิริวานิช กำนันตำบลเขาน้อย อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้นำมามอบให้พระครูโสภณพัฒนกิจ (พระปลัดบุญส่ง ธัมมปาโล) เจ้าอาวาสวัดเขาบันไดอิฐ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ตั้งชื่อว่า พังขวัญตา และเลี้ยงไว้ที่วัดเขาบันไดอิฐ คู่กับ พลายดาวรุ่ง (พระบรมนขทัศฯ) นายศุภโยค พาณิชย์วิทย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรีเป็นผู้น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ประกอบพระราชพิธีสมโภช และขึ้นระวางเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและพระเทพวัชรกิริณีฯ · ดูเพิ่มเติม »

พลับพลาชัย

ลับพลาชัย หรือ พลับพลาไชย สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและพลับพลาชัย · ดูเพิ่มเติม »

พานิช สัมภวคุปต์

นายพานิช สัมภวคุปต์ (1 เมษายน พ.ศ. 2458 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2535) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี 5 สมั.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและพานิช สัมภวคุปต์ · ดูเพิ่มเติม »

กังวาลไพร ลูกเพชร

กังวาลไพร ลูกเพชร (28 มกราคม พ.ศ. 2487 -) หรือชื่อจริง ปัญญา ชูไพฑูรย์ เป็นคนตำบลท่าทราย อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 คิดจะเรียนต่อทางด้านศิลปะที่โรงเรียนเพาะช่างในสมัยนั้น แต่โชคไม่ดีสอบไม่ติดในระหว่างเรียนชอบร้องรำทำเพลงแม้จะไม่จริงจังนัก กังวาลไพรมักจะถ่อมตัวว่าเสียงไม่ดีร้องเพลงไม่ค่อยเก่ง เพื่อนร่วมชั้นเรียนที่ร้องเพลงเก่ง ๆ มีหลายคนเช่น รุ่งเพชร แหลมสิงห์ เป็นต้น แต่เขาก็ยังได้เป็นนักร้องประจำวงดนตรีของโรงเรียน กังวาลไพร ลูกเพชร อยู่กับครูสุรพล สมบัติเจริญจนถึงวินาทีสุดท้ายที่ครูเสียชีวิตและยังอยู่กับวงต่อมาระยะหนึ่งก่อนจะแยกตัวมาก่อตั้งวงศิษย์สุรพล ช่วงนี้เขาอัดแผ่นเองหลายเพลง เช่น วอนผีพ่อ, เสียแล้วเสียไป ฯลฯ ทำให้พอมีชื่อเสียงและมาได้เพลงของชาตรี ศรีชล ได้มอบให้เช่น อยากกินลม, ลมว่าว, ใจจะขาด เป็นต้น อยากดัง เป็นเพลงที่สร้างชื่อเสียงอีกเพลงหนึ่ง แต่งโดยครูสมาน เมืองราช กังวาลไพรเคยตั้งวงเป็นหัวหน้าวงเดินสายทั่วประเทศมาแล้ว และแสดงภาพยนตร์เป็นตัวเอกอีกหลายเรื่อง เช่น ฝนใต้, มนต์ปาริชาติ เป็นต้น.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและกังวาลไพร ลูกเพชร · ดูเพิ่มเติม »

ก้องไพร ลูกเพชร

ก้องไพร ลูกเพชร มีชื่อจริงว่า บัญญัติ มีมาก (18 ธันวาคม พ.ศ. 2485 - 18 เมษายน พ.ศ. 2554) เป็นชาวตำบลบางจาก อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นบุตรของสอนและพิน มีมาก เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวน 5 คน ก้องไพรชอบการร้องเพลงและฟังเพลงมาตั้งแต่สมัยเด็ก ๆ ว่ากันว่าถึงขนาดหิ้ววิทยุติดตัวไปด้วยเวลาไปช่วยคุณแม่คุณแม่ทำนา เมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่นความใฝ่ฝันที่อยากจะเป็นนักร้องจึงไปสมัครกับคณะของ ศักดิ์ โกศล, ผาสุข - อารีวรรณ วัฒนารมย์ โดยใช้ชื่อในครั้งนั้นว่า "ตาล อ้อยเพชร" อยู่มาระยะหนึ่งครูศักดิ์ โกศล และ ผาสุข วัฒนารมณ์ เห็นว่ามีสุ่มเสียงดีจึงพาไปฝากกับ ครูสุรพล สมบัติเจริญ ครูสุรพลรับไว้เป็นศิษย์ฝ่ายชายรุ่นท้ายๆ ในช่วงนั้นประมาณปี 2508 ก้องไพรเคยเล่าให้ฟังในรายการของ “พี่สัมพันธ์ พัทลุง” ว่า “ครูสุรพลท่านก็ไม่ได้บอกว่ารับแบบตรงๆหรอก แต่ท่านจะดูพฤติกรรมของนักร้องแต่ละคนด้วยว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร มีนิสัยใจคอเป็นอย่างไร หลายๆครั้งที่ได้ป้อนน้ำป้อนข้าวและเล่นกับลูกๆของครูสุรพล (คุณสุรชาติ / สุรเดช สมบัติเจริญ) จนครูสุรพลมองเห็นว่าเป็นคนที่อัธยาศัยใช้ได้ ครูจึงได้นัดให้ไปงานที่วงจะทำการแสดงคือที่ อ.หัวรอ และให้ไปขึ้นรถแถวๆบ่อนไก่ คุณก้องไพรเล่าต่ออีกว่า ท่านไม่รู้จักหรอกว่าบ่อนไก่อยู่ตรงไหนเพราะเพิ่งมาจากต่างจังหวัดต้องถามจากคนรู้จักเอา ไปถึงที่วัดแล้วไม่ทราบว่าเขาต้องทำอย่างไรกันบ้าง จนมาถึงคิวที่ต้องออกไปร้อง ครูสุรพล ประกาศหน้าเวทีเลยว่าพบกับนักร้องเสียงดีคนใหม่ของวง “ก้องไพร ลูกเพชร” ซึ่งก้องไพรเองก็ยังไม่รู้ว่าคือตัวของก้องไพรเอง เพราะครูสุรพลไม่ได้บอกไว้ จนครูบุญเกตุ เสงี่ยมงาม บอกว่าครูเรียกนักร้องใหม่ไปร้องแล้วแต่ก็ผ่านไปได้ด้วยดี โดยเพลงที่ร้องในครั้งนั้นคือเพลง "เปลี่ยวทรวง" ของไพรวัลย์ ลูกเพชร โดยระยะแรกที่ยังไม่ได้มีเพลงเป็นของตัวเองก็จะร้องเพลงของไพรวัลย์ ในแนวลิเก เป็นหลักไม่ว่าจะเป็นเพลง "สะกิดใจดาว" "เปลี่ยวทรวง" เป็นต้น จนกระทั่งเช้าวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2554 ก้องไพร ลูกเพชร ก็จากวงการเพลงลูกทุ่งไปด้วยอาการหัวใจวาย ศิริอายุ 69 ปี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและก้องไพร ลูกเพชร · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลทหารบก

มณฑลทหารบก เป็นการจัดแบ่งเขตการปกครองทางทหารบก เพื่อความสะดวกในการปฏิบัติกิจการทางทหาร เช่น การเรียกพล การระดมพล การเกณฑ์ทหาร เป็นต้น แต่เดิมมีการจัดแบ่งเขตการปกครองออกเป็น จังหวัดทหารบก ขึ้นตรงต่อมณฑลทหารบกด้วย แต่ต่อมาในปี..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและมณฑลทหารบก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบุรี

รายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและรายชื่อวัดในจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ คือขนาดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่กำหนดขึ้นโดยกรมสามัญศึกษาเดิม (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.) โดยกำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่า 2,501 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและโรงเรียนประจำจังหวัด ทั้งนี้ ไม่รวมโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ เช่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล), สังกัดมหาวิทยาลัย (โรงเรียนสาธิต), โรงเรียนเอกชน เป็นต้น ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแบ่งตามภาค ตามจำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่นับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบุรี

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทย

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำบลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและรายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย

รงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย (Thailand High-speed Rail Project) เป็นโครงการเมกะโปรเจกต์ของประเทศไทยในการก่อสร้างระบบรถไฟความเร็วสูง มีเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเชื่อมโยงตลาดการค้า ระหว่างกลุ่มประเทศแถบลุ่มแม่น้ำโขง เนื่องจากประเทศไทยถือเป็นศูนย์กลางของอินโดจีน มีเป้าหมายในการก่อสร้าง 4 สาย ได้แก่ สายเหนือ, สายตะวันออก, สายตะวันออกเฉียงเหนือ และสายใต้.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัดกำแพงแลง

วัดกำแพงแลง หรือ วัดเทพปราสาทศิลาแลง ตั้งอยู่ในเขตตำบลท่าราบ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี อยู่ห่างแม่น้ำเพชรบุรีมาทางตะวันออกประมาณ 1 กิโลเมตร ชื่อดั้งเดิมไม่มีผู้ใดทราบแน่ชัด สำหรับชื่อที่เรียกกันว่า “กำแพงแลง” นั้นคงเป็นชื่อที่ผู้คนในสมัยหลังเรียกกันตามลักษณะที่พบเห็น เนื่องจากภายในวัดมีปราสาทเขมรก่อด้วยศิลาแลงและมีกำแพงศิลาแลงล้อมรอบ จากลักษณะดังกล่าวจึงเป็นที่มาของชื่อวัดนี้ว่า "กำแพงแลง" หมายถึงกำแพงวัดที่ก่อด้วยศิลาแลงนั่นเอง ลักษณะทางกายภาพวัดแห่งนี้แบ่งออกเป็น 2 พื้นที่ คือ พื้นที่สำหรับการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน และพื้นที่สำหรับการทำสังฆกรรมโดยทั่วไป ส่วนของโบราณสถานจะอยู่ในพื้นที่สำหรับการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน โดยมีเขตของกำแพงศิลาแลงกั้น ส่วนพื้นที่ทำสังฆกรรมอยู่นอกเขตกำแพงศิลาแลง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและวัดกำแพงแลง · ดูเพิ่มเติม »

วัดมหาธาตุวรวิหาร

วัดมหาธาตุวรวิหาร อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและวัดมหาธาตุวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดทองนพคุณ

วัดทองนพคุณ อาจเป็นไปได้คือ.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและวัดทองนพคุณ · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าเลไลย์ (แก้ความกำกวม)

วัดป่าเลไลย์, วัดป่าลิไลย์, วัดไลย์ หลวงพ่อป่าเลไลย์ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและวัดป่าเลไลย์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

วัดนาค

วัดนาค ตั้งอยู่ในเขตตำบลช่องสะแก อำเภอเมืองเพชรบุรี วัดนาคเป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งตั้งอยู่ประชิดรางรถไฟสายใต้ ปรากฏหลักฐานว่าใบเสมาของพระอุโบสถหลังเก่าเป็นศิลปะสมัยอู่ทอง ทำด้วยหินทรายแดง ยอดเสมาเป็นรูปดอกจันทร์ กลางฐานเสมา จำหลักเป็นลายดอกไม้กลีบซ้อนเป็นชั้น ๆ สันนิษฐานว่าน่า คาดว่าวัดที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาแล้ว ปัจจุบันมี พระมหาคำรณ รตนนาโถ เป็นเจ้าอาว.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและวัดนาค · ดูเพิ่มเติม »

วัดไผ่ล้อม

วัดไผ่ล้อม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและวัดไผ่ล้อม · ดูเพิ่มเติม »

วัดไผ่ล้อม (จังหวัดเพชรบุรี)

วัดไผ่ล้อม ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรี ตำบลท่าราบ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและวัดไผ่ล้อม (จังหวัดเพชรบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี มี 3 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 3 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติาโณ) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะใหญ่หนใต้ กรรมการมหาเถรสมาคม และอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆร.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเพชรบุรี

นีรถไฟเพชรบุรียามค่ำคืน มองจากด้านถนน สถานีรถไฟเพชรบุรี ตั้งอยู่ถนนรถไฟ ตำบลคลองกระแชง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและสถานีรถไฟเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟเขาทโมน

นีรถไฟเขาทโมน ตั้งอยู่ตำบลดอนยาง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นสถานีรถไฟชั้น 4 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและสถานีรถไฟเขาทโมน · ดูเพิ่มเติม »

สถานีเอื้อน อนามัย

นีเอื้อนอนามัย สถานี "เอื้อน อนามัย" จังหวัดเพชรบุรี เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของจังหวัดเพชรบุรี สังกัดสภากาชาดไทย ตั้งอยู่ที่ถนนอนามัย-มาตยาวงษ์ ตำบลท่าราบ อำเภอเมืองเพชรบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและสถานีเอื้อน อนามัย · ดูเพิ่มเติม »

ส่ง เทภาสิต

รองอำมาตย์เอก ส่ง เทภาสิต (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2442 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2470) นักเขียนเรื่องสั้นชาวไทย ที่มีผลงานออกมาในช่วงเวลาสั้นๆ และได้รับการยอมรับว่าเป็นผลงานสร้างสรรค์แนวใหม่ ได้รับความชื่นชม และเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักเขียนหลายคน เช่น เลียว ศรีเสวก บุญยืน โกมลบุตร ซึ่งถึงกับยอมรับว่าได้รับอิทธิพลมาจากงานเขียนของ ส่ง เทภาสิต ส่ง เทภาสิต เกิดเมื่อวันอาทิตย์ ปีกุน ตรงกับวันที่ 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและส่ง เทภาสิต · ดูเพิ่มเติม »

หาดชะอำ

หาดชะอำ เป็นหาดที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวต่างประเทศ มีร้านค้าและบริกามากมายอยู่บริเวณชายหาดชะอำ เช่น ร้านขายอาหารแต่ละชนิด บริการเช่าเตียงผ้าใบ บริการขี่ม้า บริการเรือสกี เป็นต้น รัฐสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดปรานเมืองเพชรบุรีมาก จนได้ให้มีการสร้างค่ายหลวงบางทะลุ ที่หาดเจ้าสำราญ อำเภอเมืองเพชรบุรี แต่ที่ตำบลบางทะลุแมลงวันชุกชุม พระองค์จึงได้รับสั่งให้ย้ายการก่อสร้างมาทางทิศใต้ของชายฝั่งเพชรบุรี ณ หาดชะอำ เพื่อก่อสร้างพระราชวังฤดูร้อน ที่ก่อสร้างด้วยไม้สักทั้งองค์พระตำหนัก และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามพระราชวังแห่งนี้ว่า "พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน" โดยพระราชวังแห่งนี้จะยื่นออกไปยังทะเล กระนั้นมาชายหาดชะอำก็ได้เป็นชายหาดที่มีชื่อเสียงลำดับต้นๆของสถานที่ท่องเที่ยวของประเทศไทย ตลอดม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและหาดชะอำ · ดูเพิ่มเติม »

หาดสำราญ (แก้ความกำกวม)

หาดสำราญ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและหาดสำราญ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยการเรียนทางไกล สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

หน่วยการเรียนทางไกล สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (Education Center Panyapiwat Institute of Management) เป็นหน่วยการศึกษาสังกัด สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ สำหรับนักศึกษาที่ต้องการเรียนใกล้ภูมิลำเนา สถาบันฯ ยังเปิดการเรียนการสอนในหน่วยการเรียนทางไกล เป็นการเรียนผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนจ์ โดยรับส่งสัญญาณแบบเรียวไทม์ จากห้องเรียนในกรุงเทพมหานคร โดยมีการสื่อสารแบบสองทาง คือ นักเรียนและอาจารย์สามารถ ถามตอบกันได้เสมือนการเรียนในห้องเรียนปกต.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและหน่วยการเรียนทางไกล สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านลาด

อำเภอบ้านลาด เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี ในอดีตเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอเมืองเพชรบุรี ภายหลังได้แยกท้องที่ตั่งเป็นอำเภอ ชื่อ อำเภอท่าช้าง ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบ้านล.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและอำเภอบ้านลาด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านแหลม

ระวังสับสนกับด่านบ้านแหลม ที่โป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ซึ่งอยู่ติดกับชายแดนไทย-เขมร อำเภอบ้านแหลม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามอำเภอว่า "อำเภอบ้านแหลม" จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 (ร.ศ. 123) หลังจากที่เคยได้รับการจัดตั้งแล้วถูกยุบรวมกับอำเภอเมืองเพชรบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและอำเภอบ้านแหลม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอท่ายาง

ท่ายาง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี ประชากรประมาณร้อยละ 80 เป็นเกษตรกร มีอาชีพปลูกพืช ผลผลิตหลักได้แก่ ข้าว กล้วยหอมทอง กล้วยไข่ กล้วยน้ำว้า มะนาว ชมพู่ อ้อย มะม่วง ถั่ว และมะพร้าว.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและอำเภอท่ายาง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเขาย้อย

อำเภอเขาย้อย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและอำเภอเขาย้อย · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี เป็นพระราชวังฤดูร้อนที่สร้างขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและอุทยานประวัติศาสตร์พระนครคีรี · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลบางจาก

องค์การบริหารส่วนตำบลบางจาก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและองค์การบริหารส่วนตำบลบางจาก · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว (อำเภอบ้านแหลม)

องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งของประเทศไทยที่ตั้งอยู่ในตำบลบางแก้ว อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรีที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 โดยเริ่มแรกมีจำนวน 6 หมู่บ้าน ภายหลังได้มีการแยกหมู่ที่ 1 ออกเป็นหมู่ที่ 8 และแยกหมู่ที่ 3 ออกเป็นหมู่ที่ 7 องค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้วดูแลพื้นที่ตำบลบางแก้ว อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ทั้งตำบล รวม 8 หมู่บ้าน ปัจจุบันเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลขนาดกลาง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและองค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้ว (อำเภอบ้านแหลม) · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลปากทะเล

องค์การบริหารส่วนตำบลปากทะเล เป็นตำบลหนึ่งในจำนวนสิบตำบลที่ตั้งอยู่ในเขต อำเภอบ้านแหลมจังหวัดเพชรบุรี ได้รับการยกฐานะจากสภาตำบลขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอบ้านแหลม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 12 กิโลเมตร.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและองค์การบริหารส่วนตำบลปากทะเล · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมผักเบี้ย

องค์การบริหารส่วนตำบลแหลมผักเบี้ย เป็นองค์กรส่วนปกครองท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่ตั้งอยู่ในตำบลแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยรับผิดชอบพื้นทั้งหมดในตำบลแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งมีทั้งหมด 4 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 หมู่บ้านพะเนิน หมู่ที่ 2 หมู่บ้านดอนใน หมู่ที่ 3 หมู่บ้านดอนกลาง หมู่ที่ 4 หมู่บ้านดอนคดี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมผักเบี้ย · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารส่วนตำบลโพพระ

ื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลโพพระ มีเนื้อที่ในเขตรับผิดชอบจำนวน 8,068 ไร่ หรือประมาณ 12.89571 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตเป็น 11 หมู่บ้าน ประกอบด้ว.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและองค์การบริหารส่วนตำบลโพพระ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดของประเทศไทย

ังหวัด เป็นเขตบริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 76 จังหวัด (ทั้งนี้ กรุงเทพมหานครไม่เป็นจังหวัด) จังหวัดถือเป็นระดับการปกครองของรัฐบาลลำดับแรก โดยเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคที่รวมท้องที่หลาย ๆ อำเภอเข้าด้วยกันและมีฐานะเป็นนิติบุคคล ในแต่ละจังหวัดปกครองด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด การจัดแบ่งกลุ่มจังหวัดออกเป็นภาคต่าง ๆ มีการใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกัน โดยมีทั้งการแบ่งอย่างเป็นทางการโดยราชบัณฑิตยสถานสำหรับใช้ในแบบเรียน และการแบ่งขององค์กรต่าง ๆ ตามแต่การใช้ประโยชน์ ชื่อของจังหวัดนั้นจะเป็นชื่อเดียวกับชื่ออำเภอที่เป็นที่ตั้งของศูนย์กลางจังหวัด เช่น ศูนย์กลางการปกครองของจังหวัดเพชรบุรีอยู่ที่อำเภอเมืองเพชรบุรี เป็นต้น แต่ชื่ออำเภอเหล่านี้มักเรียกย่อแต่เพียงว่า "อำเภอเมือง" ยกเว้นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ใช้ชื่อจังหวัดเป็นชื่ออำเภอที่ตั้งศูนย์กลางการปกครองโดยตรง (อำเภอพระนครศรีอยุธยา) หน่วยการปกครองย่อยรองไปจากจังหวัดคือ "อำเภอ" ซึ่งมีทั้งสิ้น 878 อำเภอ ซึ่งจำนวนอำเภอนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละจังหวัด ส่วนเขตการปกครองย่อยของกรุงเทพมหานครมีทั้งหมด 50 เขต.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและจังหวัดของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนพระรามที่ 2

นนพระรามที่ 2 (Thanon Rama II) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 สายธนบุรี–ปากท่อ เป็นถนนที่ตัดผ่านกรุงเทพมหานคร จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดราชบุรี เป็นเส้นทางหลักที่มุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย และยังเป็นหนึ่งในถนนพระรามทั้ง 7 สาย ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ยกเว้นถนนพระรามที่ 2 ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ถนนพระรามที่ 2 มีระยะทางรวม 84.041 กิโลเมตร.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและถนนพระรามที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม)

นนราชดำเนิน อาจหมายถึง ในประเทศไท.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเพชรเกษม

นนเพชรเกษม (Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1277.512 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ตั้งอยู่บนเส้นแบ่งการปกครองระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกดะห์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและถนนเพชรเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ

| ทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ หรือ รถไฟรางเล็กสายเพชรบุรี-บางทะลุ เป็นทางรถไฟที่สร้างขึ้นในการเดินทางของเจ้านายและขนส่งเสบียงในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวยามเสด็จแปรพระราชฐานประทับ ณ พระตำหนักหาดเจ้าสำราญในจังหวัดเพชรบุรี มีระยะทางราว 15 กิโลเมตร ถือเป็นหนึ่งในเส้นทางคมนาคมหลักของข้าราชบริพารที่ตามเสด็จมาหาดเจ้าสำราญในขณะนั้น เดินรถครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและทางรถไฟสายหาดเจ้าสำราญ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 8

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 8 หรือที่นิยมเรียกว่า "มอเตอร์เวย์สายใต้" เป็นโครงการทางหลวงพิเศษเชื่อมระหว่างเมือง เริ่มต้นจากจังหวัดนครปฐม ลงสู่ภาคใต้ ไปสิ้นสุดที่จังหวัดสงขลา เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายเส้นทางในแผนแม่บทระบบทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เมื่อวันที่ 22 เมษายน..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและทางหลวงพิเศษหมายเลข 8 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3349

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3349 สายหนองควง-หนองหญ้าปล้อง เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจรสวนทาง ยกเว้นในเขตชุมชนจะเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจรไป-กลับ แยกจากถนนเพชรเกษม กิโลเมตรที่ 147 ตำบลต้นมะพร้าว อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ไปสิ้นสุดที่สถานีตำรวจภูธรหนองหญ้าปล้อง ตำบลหนองหญ้าปล้อง อำเภอหนองหญ้าปล้อง ระยะทางรวม 23.516 กิโลเมตร ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของหมวดการทางเขาย้อย แขวงการทางเพชรบุรี 3349 4-3349 3349.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3349 · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ มหานนท์

ล.ต.อ.ณรงค์ มหานนท์ เป็นอดีตอธิบดีกรมตำรวจ 2525-2530 อดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานที่ปรึกษาบริษัท ช.การช่าง จำกั.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและณรงค์ มหานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบางแก้ว (อำเภอบ้านแหลม)

ตำบลบางแก้ว เป็นตำบลตั้งอยู่ในเขตการปกครองส่วนภูมิภาคของอำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ห่างจากที่ทำการอำเภอบ้านแหลม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณ 20 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 24.760 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 15,475 ไร่ มีองค์การบริหารส่วนตำบลบางแก้วรับผิดชอบอยู่ ในพื้นที่ 39,616 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย 8 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านบางแก้ว, บ้านนาแค, บ้านทำเนียบ, บ้านบนดอน, บ้านหนองแห้ว, บ้านนาบัว, บ้านร่องใหญ่ และบ้านเหมืองกลาง สืบค้นวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและตำบลบางแก้ว (อำเภอบ้านแหลม) · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะ อังกินันทน์

นายปิยะ อังกินันทน์ (เกิด 5 ตุลาคม พ.ศ. 2476) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบุรี 6 สมั.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและปิยะ อังกินันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

นิราศเมืองเพชร

นิราศเมืองเพชร เป็นผลงานกวีนิพนธ์แบบกลอนประพันธ์โดยสุนทรภู่ ไม่ปรากฏว่าแต่งเรื่องนี้ขึ้นเมื่อใด แต่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า น่าจะแต่งเมื่อครั้งกลับเข้ารับราชการอยู่ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ และน่าจะเดินทางไปในราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง ประมาณปี พ.ศ. 2388 ดังปรากฏตอนหนึ่งในนิราศว่า นิราศเรื่องนี้มีการค้นพบฉบับลายมือเขียนเพิ่มเติมในปี..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและนิราศเมืองเพชร · ดูเพิ่มเติม »

แดนอรัญ แสงทอง

แดนอรัญ แสงทอง นักเขียนและนักแปลชาวไทยที่มีชื่อเสียงในระดับโลก เจ้าของฉายา "ขบถวรรรณกรรม" แดนอรัญมีชื่อจริงว่า เสน่ห์ สังข์สุข เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและแดนอรัญ แสงทอง · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลพระจอมเกล้า

รงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี (ภาษาอังกฤษ: King Mongkut Memorial Hospital, Phetchaburi Province) เป็นโรงพยาบาลประจำจังหวัดเพชรบุรี มีขนาดความจุเตียงไข้ใน 365 เตียง แต่มีเตียงบริการ 418 เตียง ซึ่งยังไม่นับรวมถึงเตียงเสริม (เตียงผ้าใบ) ที่ทางโรงพยาบาลนำมาจัดให้บริการอยู่นอกห้องและในห้อง ได้แก่ หอผู้ป่วยอายุรกรรม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและโรงพยาบาลพระจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี

รงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี (Prommanusorn Phetchaburi School) (อักษรย่อ พ.บ. / P.B.) ตั้งอยู่เลขที่ 278 ถนนบันไดอิฐ ตำบลคลองกระแชง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นโรงเรียนสหศึกษาทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย อีกทั้งยังเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดจันทราวาส(ศุขประสารราษฎร์)

รงเรียนวัดจันทราวาส (ศุขประสารราษฎร์) (อังกฤษ:Watjuntrawart School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาและเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 6 ไร่ 32 ตารางวา ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 10 ถนนบริพัตร ตำบลท่าราบ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและโรงเรียนวัดจันทราวาส(ศุขประสารราษฎร์) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

รงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (ภาษาอังกฤษ: Laboratory School of Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University) เป็นโรงเรียนสาธิตสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เป็นโรงเรียนประเภทสหศึกษาขนาดกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 96 ถนนปรีดีพนมยงค์ ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวัฒน์ ทับทิมเจือ ดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนคนปัจจุบัน.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและโรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอรุณประดิษฐ

รงเรียนอรุณประดิษฐ เป็นโรงเรียนราษฎร์สตรีแห่งแรกของประเทศไทย สังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและโรงเรียนอรุณประดิษฐ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนคงคาราม

รงเรียนคงคาราม (อังกฤษ: Kongkaram School) (อักษรย่อ:ค.ร.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาและเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ  ตั้งอยู่ที่ ตำบลบ้านหม้อ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและโรงเรียนคงคาราม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชูทิศ

อกสารการพระราชทานชื่อ "เบญจมราชูทิศ" ของมณฑลนครศรีธรรมราช โรงเรียนเบญจมราชูทิศ เป็นชื่อโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษา ซึ่งจัดตั้งตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) โดยชื่อโรงเรียนเป็นนามที่ได้รับพระราชทานมาจาก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) โดยชื่อ "เบญจมราชูทิศ" มีความหมายว่า สร้างอุทิศแก่พระมหากษัตริย์องค์ที่ 5 ซึ่งก็คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว กระทรวงธรรมการได้รับพระบรมราชานุญาตให้จัดการเรี่ยไรเงินจัดสร้างโรงเรียน มณฑลต่างๆ จึงได้จัดให้มีการเรี่ยไรเงินจัดสร้างโรงเรียนถวายเป็นพระราชกุศล และได้มีการจัดสร้างขึ้น 6 แห่ง ใน 6 มณฑล ได้รับพระราชทานนามว่า "เบญจมราชูทิศ" ทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2456 คือ.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและโรงเรียนเบญจมราชูทิศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี

รงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประจำจังหวัดเพชรบุรี รับนักเรียนแบบสหศึกษา เปิดทำการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 ชื่อเดิม โรงเรียนสตรีเพชรบุรีเบ็ญจมเทพอุท.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและโรงเรียนเบญจมเทพอุทิศจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โฮมโปร

มโปร (HomePro) ชื่อเต็ม บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและโฮมโปร · ดูเพิ่มเติม »

เพชรบุรี (แก้ความกำกวม)

รบุรี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเพชรบุรี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

เย็น แก้วมะณี

"ปู่เย็น" (เย็น แก้วมะณี) เฒ่าทระนงแห่งลุ่มน้ำเพชรบุรี นายเย็น แก้วมะณี หรือ "ปู่เย็น" (พ.ศ. 2443 - 12 ตุลาคม พ.ศ. 2551) เจ้าของสมญานาม "เฒ่าทระนง" แห่งลุ่มน้ำเพชรบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเย็น แก้วมะณี · ดูเพิ่มเติม »

เทพฤทธิ์ สิงห์วังชา

ทพฤทธิ์ สิงห์วังชา เป็นนักมวยสากลอาชีพชาวไทย เป็นอดีตแชมเปี้ยนโลกในรุ่นซูเปอร์ฟลายเวท (115 ปอนด์) ของสมาคมมวยโลก (WBA).

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเทพฤทธิ์ สิงห์วังชา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลบางตะบูน

ฝูงวาฬบรูด้าในอ่าวบางตะบูน การละเล่นพื้นบ้าน เทศบาลตำบลบางตะบูน เป็นองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ได้รับการยกฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตำบลบางตะบูน เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเทศบาลตำบลบางตะบูน · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลบ้านลาด

ทศบาลตำบลบ้านลาด เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งหนึ่งในเขตอำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี ได้เปลี่ยนแปลงฐานะจากสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตำบล ตามพระราชกฤษฎีกา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเทศบาลตำบลบ้านลาด · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลหัวสะพาน

ทศบาลตำบลหัวสะพาน เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ได้เปลี่ยนแปลงฐานะจากสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตำบล ตามพระราชกฤษฎีกา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542 ต่อมาได้มีประกาศกระทรวงมหาดไทย ให้ยุบสภาตำบลเข้ารวมกับเทศบาลตำบล 19 แห่ง ใน 7 จังหวัด ซึ่งอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล ตามมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติเทศบาล ทั้งนี้มีผลให้สภาตำบลวังตะโกเข้ารวมกับเทศบาลตำบลหัวสะพาน ตั้งแต่ 24 ก.ย. พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเทศบาลตำบลหัวสะพาน · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลหาดเจ้าสำราญ

หลวงบางทะลุ (พระตำหนักหาดเจ้าสำราญ) เทศบาลตำบลหาดเจ้าสำราญ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ได้รับการยกฐานะจากสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชกฤษฎีกา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเทศบาลตำบลหาดเจ้าสำราญ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลหนองจอก

แผนที่เทศบาลตำบลหนองจอก จังหวัดเพชรบุรี เทศบาลตำบลหนองจอก เป็นเทศบาลขนาดเล็กในอำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี เดิมเป็นสุขาภิบาลหนองจอก ต่อมาได้รับการยกฐานะจากสุขาภิบาลหนองจอก เป็นเทศบาลตำบลหนองจอก ตามพระราชกฤษฎีกา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเทศบาลตำบลหนองจอก · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองเพชรบุรี

การค้าขายในแม่น้ำเพชรบุรี สะพานจอมเกล้าในอดีต แม่น้ำเพชรในอดีต เทศบาลเมืองเพชรบุรี ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรีอันเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนล่างของประเทศ โดยอยู่ห่างจากกรุงเทพ เมืองหลวงของประเทศไปทางทิศใต้เป็นระยะทางประมาณ 120 กิโลเมตร โดยใจกลางจะมีแม่น้ำเพชรบุรีไหลผ่าน.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเทศบาลเมืองเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตพื้นที่การศึกษา

ตพื้นที่การศึกษา (Educational Service Area) เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาการปกครองที่จัดแบ่งโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดระบบและกระจายอำนาจการจัดการศึกษาในประเทศไทยให้ครอบคลุมมากขึ้น เดิมมีสำนักงานประจำแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ใช้ชื่อว่า "สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษ..." (สพท.) และต่อมาได้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้.

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเขตพื้นที่การศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ บนเวทีเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง อย่างเป็นทางการครั้งแรก ที่ลานคนเมือง ใกล้กับเสาชิงช้า และศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง เป็นกิจกรรมการปราศรัยของพรรคประชาธิปัตย์ (ปชป.) ในวันสุดสัปดาห์ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2555 จนถึงปี พ.ศ. 2556 ที่จัดขึ้นในระหว่างที่รัฐสภาปิดสมัยการประชุม โดยเนื้อหาที่ปราศรัยเป็นการเชิญชวนให้ประชาชนต่อต้านกฎหมายนิรโทษกรรมและการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ ปี พ.ศ. 2550 โดยทางฝ่ายพรรคเพื่อไทย (พท.) และรัฐบาล ที่ทางพรรคประชาธิปัตย์เชื่อว่าเป็นการออกกฎหมายเพื่อนิรโทษกรรมให้แก่ผู้ที่กระทำผิดในช่วงเหตุการณ์วิกฤตทางการเมืองที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านั้น โดยกิจกรรมนี้ ผู้ริเริ่ม คือ นายสุเทพ เทือกสุบรรณ อดีตเลขาธิการพรรคเป็นผู้จัดการและออกค่าใช้จ่ายเองทั้งหมด โดยที่มิได้ใช้งบประมาณของพรรคแต่ประการใด โดยผู้ปราศรัย ส่วนใหญ่จะเป็นสมาชิกพรรคที่สำคัญ อาทิ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ, นายชวน หลีกภัย, นายสุเทพ เทือกสุบรรณ, นายกรณ์ จาติกวณิช และเสริมด้วยบุคคลอื่น ๆ เช่น นักวิชาการ เช่น นายแก้วสรร อติโพธิ, นักศึกษา และผู้จัดรายการสายล่อฟ้า เป็นต้น โดยมีการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ผ่านสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ได้แก่ บลูสกายแชนแนล, ทีนิวส์ และไทยทีวีดี โดยถ่ายทอดสดทุกวันเสาร์ เวลา 16.30 - 21.00 น. หรือจนกว่าจนจบเวทีการปราศรัยเวทีเดินผ่าความจริง โดยก่อนหน้าที่จะเป็นเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง นั้น กิจกรรมนี้ใช้ชื่อว่า "สานเสวนาเวทีประชาชน" มาก่อน โดยการจัดเวทีปราศรัยได้เริ่มต้นในพื้นที่ภาคใต้ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเดินหน้าผ่าความจริง หยุดล้างผิดคนโกง · ดูเพิ่มเติม »

เนื่อง แฝงสีคำ

นื่อง แฝงสีคำ (สกุลเดิม: ชูบดินทร์; 8 กันยายน พ.ศ. 2457 — 15 เมษายน พ.ศ. 2558) เป็นช่างทองจากจังหวัดเพชรบุรี ได้รับรางวัลศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ประเภทประณีตศิลป..

ใหม่!!: อำเภอเมืองเพชรบุรีและเนื่อง แฝงสีคำ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อ.เมืองเพชรบุรีอำเภอคลองกระแชง

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »