โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อำเภอเมืองนครปฐม

ดัชนี อำเภอเมืองนครปฐม

อำเภอเมืองนครปฐม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม เดิมชื่อ อำเภอพระปฐมเจดีย์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2456 จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นอำเภอเมืองนครปฐม.

72 ความสัมพันธ์: ชาญชัย ปทุมารักษ์พระราชวังสนามจันทร์พระราชวังปฐมนครพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณพิธีสำเร็จการศึกษากรณีการเผยแพร่วีดิทัศน์บันทึกภาพโฟร์-มดขณะอาบน้ำมหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยคริสเตียนรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อวัดในจังหวัดนครปฐมรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครปฐมรายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทยรายการรหัสไปรษณีย์ไทยรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทยวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหารวัดพระเมรุ (จังหวัดนครปฐม)วัดพะเนียงแตกวัดไผ่ล้อมศูนย์กีฬาเทศบาลนครนครปฐมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐมสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๔สถาปัตยกรรมไทยสถานีรถไฟนครปฐมสนามจันทร์ (แก้ความกำกวม)หลวงพ่อแช่มหลวงพ่อเงินอำเภอบางแพอำเภอบ้านโป่งอำเภอกำแพงแสนอำเภอสามพรานอำเภอดอนตูมอำเภอนครชัยศรีอำเภอโพธารามจังหวัดราชบุรีจังหวัดนครปฐมจังหวัดนครปฐมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554ถนนบรมราชชนนีถนนมาลัยแมนถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม)ทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอารามทะเลสาบทางหลวงพิเศษหมายเลข 8ทางหลวงพิเศษหมายเลข 81ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375ที่สุดในประเทศไทยที่หยุดรถไฟพระราชวังสนามจันทร์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรตะกร้อไทยแลนด์ลีกตะกร้อไทยแลนด์ลีก 2549...ตะกร้อไทยแลนด์ลีก 2552ตะกร้อไทยแลนด์ลีก 2554ตำบลบ้านยางซีอุยนครปฐม (แก้ความกำกวม)โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัยโรงเรียนวัดวังตะกู (เสรีเริงฤทธิ์อุปภัมถ์)โรงเรียนวัดห้วยจระเข้วิทยาคมโรงเรียนวัดทัพหลวง (หลวงพ่อเกิดอุปถัมภ์)โรงเรียนศรีวิชัยวิทยาโรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย ในพระราชูปถัมภ์ นครปฐมโรงเรียนโพรงมะเดื่อวิทยาคมไชยา สะสมทรัพย์เจดีย์จุลประโทนเทศบาลนครนครปฐมเทศบาลเมืองเทศบาลเมืองนครปฐมเขตพื้นที่การศึกษาเขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐมเฉลิมศักดิ์ แก้วสุขแท้ ขยายดัชนี (22 มากกว่า) »

ชาญชัย ปทุมารักษ์

นายชาญชัย ปทุมารักษ์ (11 เมษายน พ.ศ. 2479 - 6 เมษายน พ.ศ. 2555) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม 9 สมั.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและชาญชัย ปทุมารักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังสนามจันทร์

ระราชวังสนามจันทร์ ตั้งอยู่ในตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ห่างจากพระปฐมเจดีย์ประมาณ 2 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 888 ไร่ 3 งาน 24 ตารางวา สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากพระองค์สวรรคต พระราชวังสนามจันทร์ใช้เป็นที่ทำการของส่วนราชการต่าง ๆ ของจังหวัดนครปฐม รวมทั้งเป็นวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบัน พระราชวังสนามจันทร์อยู่ภายใต้การดูแลของสำนักพระราชวัง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและพระราชวังสนามจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังปฐมนคร

ระราชวังปฐมนครในปัจจุบัน พระราชวังปฐมนคร ตั้งอยู่ที่บริเวณพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม สันนิษฐานว่าสร้างราว..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและพระราชวังปฐมนคร · ดูเพิ่มเติม »

พระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ

หลวงพ่อจ้อย จนฺทสุวณฺโณ (8 เมษายน พ.ศ. 2456 — 16 เมษายน พ.ศ. 2550) เทพเจ้าแห่งเมืองปากน้ำโพ อดีตเจ้าอาวาส วัดศรีอุทุมพร เป็นพระผู้เปี่ยมไปด้วยเมตตากรุณา เป็นพระนักพัฒนา ที่ชาวจังหวัดนครสวรรค์ และเขตติดต่อ ให้ความเคารพนับถือ ผู้บุกเบิกสร้างวัดและหมู่บ้าน แต่เดิมโยมท่านและตัวท่านมีภูมิลำเนาถิ่นฐานอยู่บ้านดอนหวาย ตำบลพรวงสองนาง อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี โยมชายหญิงของท่านเห็นว่าที่ทำกินมันชักจะแคบเข้าทุกที ทำนาไม่เพียงพอลูกที่มีเพิ่มขึ้นชีวิตในโลกนี้คือการดิ้นรน คนส่วนมากของประเทศโดยเฉพาะชาวไร่ชาวนาดิ้นรนเพียงเพื่อมีชีวิตอยู่ทุ่มเทชีวิตเรี่ยวแรงหยาดเหงื่อทุกหยด เพื่อความมีชีวิตของตน สมัยนั้นมีดินป่าไม้ยังรกร้างว่างเปล่า ไม่ต้องยื้อแย่งกรรมสิทธิ์อะไรกัน ผู้คนพลเมืองยังมีน้อย “ดินดีเพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง” มีอยู่มากมายใครมีกำลังเรี่ยวแรงเท่าไรก็มาหักล้างถางพงให้เป็นไร่เป็นนาเอาตามความสามารถของตน พอทำกินเลี้ยงลูกเมียแล้วก็พอใจ มิได้กำเริบใจจะเป็นนายทุนเจ้าของที่ดินเป็นหมื่นเป็นพันไร่อย่างในปัจจุบันนี้เมื่อทราบว่าทางบ้านวังเดื่อ ตำบลหนองกรด จังหวัดนครสวรรค์ ยังมีที่ดินว่างเปล่าอยู่มาก จึงไปปรึกษาชักชวนกันอพยพจากถิ่นเดิม เอาพริก เอาเกลือ เอาข้าวใส่โคเทียมเกวียนมา จอบเสียมเครื่องมือทำกินก็เอามาพร้อมเดินทางรอนแรม ค่ำไหนนอนนั่นมาหลายวันหลายคืนผ่านมาทางหนองขุย ห้วยอีด่าง ลักเข้าหนองกล้ำเข้าดอนเพชร โนนแดง ข้ามแม่น้ำแควตากแดด ขึ้นบ้านวังหินดาร หนองกระทุ่ม เรื่อยมา ทางรถเรียบรถยนต์วิ่งได้สบายบรื๋อ อย่างเดียวนี้หามีไม่ เกวียนมีสิทธิ์ที่จะใช้ทางเกวียนอย่างเต็มที่ ก็ทางเกวียนนี่แหละ ที่เป็นเครื่องวัดนิสัยใจคอของคนไทยแต่ไรมา เมืองไทยอากาศมันร้อน จะเดินทางไปไหนก็ลดเลี้ยวเลี่ยงไปเดินตามร่มเงา หรือที่ไหนรกทึบด้วยแมกไม้ ยากเกินไปที่จะบุกป่าฝ่าหนาม ก็เลี่ยงเดินเสียที่มันเตียนไม่ต้องออกแรง ทางที่เริ่มขึ้นเป็นทางเดินเท้าต่อมาก็ขยายกว้างเป็นทางเกวียน โคกระบือเทียมเกวียนจึงพาเกวียนเลี้ยวลดไปตามทางที่มีอยู่ ที่จะลัดตัดตรงนั้นไม่มี โบราณว่าเกวียนหนีทางไม่ได้ กว่าจะพาครอบครัวอพยพถึงวังเดื่อได้ก็หลายวันเต็มที ครอบครัวของหลวงพ่อจ้อย นับว่าเป็นผู้บุกเบิกดินแดนถิ่นนี้เป็นครั้งแรก ตั้งหน้าหักร้างถางป่า อีกหลายปีจึงมีที่ดินทำไร่ไถนาได้พอเลี้ยงกัน จากนั้นก็ไปชักชวนเพื่อนพวกพี่น้องในถิ่นเดิม ให้มาบุกเบิกทำกินกันตามกำลัง “ดินดีเพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง” เหลืออยู่อีกมากมาย ไม่หวงแหนกีดกันเอาเป็นของตนแต่ผู้เดียวเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันตามประสาไทย ใครมีแรงมากเอาให้มาก มีแรงน้อยก็เอาแต่พอแรงของตน บ้านวังเดื่อที่เคยเป็นป่า บักนี้ก็ค่อยๆกลายเป็นแหล่งชุมชนของหมู่บ้านและที่เราเรียกกันว่า “บ้านวังเดื่อ” เพราะว่าได้มีต้นมะเดื่อขนาดสูงใหญ่ขึ้นอยู่ที่ริมคลองหลังวัด และในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเหลือเพียงแต่ตอของต้นมะเดื่อที่จมอยู่ในคลองของด้านหลังวัด และเราจะสามารถเห็นตอนี้ได้ก็ต่อเมื่อน้ำในคลองได้ลดลง ต่อมาโยมพ่อโยมแม่และญาติโยมชาวบ้านวังเดื่อได้พร้อมใจกันยกที่ให้หลวงพ่อได้ทำการสร้างเป็นที่พักสงค์ เพื่อจะเอาไว้เป็น ที่สาธารณประโยชน์ในการบำเพ็ญกุศล แล้วจึงได้นิมนต์พระภิกษุสงค์มาจำพรรษาอยู่ที่สำนักสงค์แห่งนี้ ต่อมาทางคณะสงค์ได้จัด ตั้งวัดขึ้นให้เป็นวัดที่สมบูรณ์แบบถูกต้องตามกฎหมาย ชื่อว่า “วัดศรีอุทุมพร” เพราะว่าตามหลักภาษาบาลี “ไม้มะเดื่อ” นั้นแปลว่า “ไม้อุทุมพร” พอเติมคำว่า “ศรี” เข้าไปก็เป็น “วัดศรีอุทุมพร” คือวัดที่เป็นสิริงดงาม จึงเป็นมงคลนาม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีสำเร็จการศึกษา

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานปริญญาบัตร แก่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีประจำปีการศึกษา 2520 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีสำเร็จการศึกษา (graduation ceremony) เป็นพิธีการพิเศษซึ่งสถาบันอุดมศึกษาจัดขึ้นเพื่อมอบปริญญาบัตรแก่บัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษาประจำปีอย่างเป็นทางการ โดยเริ่มจัดให้มีขึ้นในต่างประเทศมาก่อน เช่นสหรัฐอเมริกาหรือหลายประเทศในทวีปยุโรป ต่อมาประเทศไทยจึงเริ่มรับเอาประเพณีดังกล่าวเข้ามา โดยกราบบังคมทูลเชิญพระมหากษัตริย์ เพื่อเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน จึงบัญญัติศัพท์ให้เรียกว่า พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ทั้งนี้ตั้งแต..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและพิธีสำเร็จการศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

กรณีการเผยแพร่วีดิทัศน์บันทึกภาพโฟร์-มดขณะอาบน้ำ

การเผยแพร่วีดิทัศน์บันทึกภาพโฟร์-มดขณะอาบน้ำ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2551 โดยการเผยแพร่วีดิทัศน์บันทึกภาพนักแสดงชาวไทย ขณะอาบน้ำ.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและกรณีการเผยแพร่วีดิทัศน์บันทึกภาพโฟร์-มดขณะอาบน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและมหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยคริสเตียน

มหาวิทยาลัยคริสเตียน (Christian University of Thailand) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ก่อตั้งเมื่อ 7 กันยายน พ.ศ. 2526 ตั้งอยู่ที่จังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและมหาวิทยาลัยคริสเตียน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดนครปฐม

รายชื่อวัดในจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและรายชื่อวัดในจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ

รงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ คือขนาดโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐที่กำหนดขึ้นโดยกรมสามัญศึกษาเดิม (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.) โดยกำหนดโรงเรียนมัธยมศึกษาที่มีจำนวนนักเรียนมากกว่า 2,501 คนขึ้นไป ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานคร ปริมณฑลและโรงเรียนประจำจังหวัด ทั้งนี้ ไม่รวมโรงเรียนในสังกัดอื่น ๆ เช่น สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (โรงเรียนเทศบาล), สังกัดมหาวิทยาลัย (โรงเรียนสาธิต), โรงเรียนเอกชน เป็นต้น ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษแบ่งตามภาค ตามจำนวนนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ไม่นับ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ จังหวัดนครปฐม โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดสกลนคร ซึ่งมีเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและรายชื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครปฐม

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทย

ทศบาลตำบล เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสำหรับเมืองขนาดเล็ก โดยทั่วไปเทศบาลตำบลมีฐานะเดิมเป็นสุขาภิบาลหรือองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) การจัดตั้งเทศบาลตำบลกระทำโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 เทศบาลตำบลมีนายกเทศมนตรีคนหนึ่งทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 12 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรเขตเทศบาล ปัจจุบัน ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและรายชื่อเทศบาลตำบลในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย

นี่คือรายชื่อรหัสไปรษณีย์ไทยเรียงตามจังหวั.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและรายการรหัสไปรษณีย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย

รงการรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย (Thailand High-speed Rail Project) เป็นโครงการเมกะโปรเจกต์ของประเทศไทยในการก่อสร้างระบบรถไฟความเร็วสูง มีเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ และเชื่อมโยงตลาดการค้า ระหว่างกลุ่มประเทศแถบลุ่มแม่น้ำโขง เนื่องจากประเทศไทยถือเป็นศูนย์กลางของอินโดจีน มีเป้าหมายในการก่อสร้าง 4 สาย ได้แก่ สายเหนือ, สายตะวันออก, สายตะวันออกเฉียงเหนือ และสายใต้.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร

วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ที่ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีจุดเด่นที่สำคัญคือ องค์พระปฐมเจดีย์ หรือ พระธมเจดีย์ ซึ่งเป็นเจดีย์ที่ใหญ่และสูงที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย องค์พระปฐมเจดีย์ปัจจุบันนี้ เป็นพระเจดีย์ทรงลังกา แบบสุโขทัย สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งสร้างครอบเจดีย์เดิมถึงสององค์ ได้แก่ เจดีย์ทรงสถูปสาญจีตามแบบอินเดียยุคพระเจ้าอโศกมหาราช และเจดีย์ทรงขอมโบราณ นอกจากองค์พระปฐมเจดีย์แล้ว ในลานชั้นลดด้านทิศใต้องค์พระปฐมเจดีย์และพระอุโบสถมีพระประธาน พระพุทธรูปศิลาขาว ซึ่งเป็นสองในสี่พระพุทธรูปประทับนั่งห้อยพระบาท ปางแสดงธรรม ที่สร้างขึ้นในยุคทราวดี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระเมรุ (จังหวัดนครปฐม)

วัดพระเมรุ ตั้งอยู่ริมถนนเพชรเกษม บริเวณสวนนันทอุทยาน ตำบลห้วยจรเข้ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ห่างจากองค์พระปฐมเจดีย์ไปทางทิศใต้ 3 กิโลเมตร อยู่ติดกับตลาดปฐมมงคล.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและวัดพระเมรุ (จังหวัดนครปฐม) · ดูเพิ่มเติม »

วัดพะเนียงแตก

วัดพะเนียงแตก ตำบลมาบแค อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ตั้งอยู่เลขที่ 96 หมู่ที่ 4 พื้นที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 44 ไร่ 40 ตารางวาสร้างขึ้นมาราวประมาณ..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและวัดพะเนียงแตก · ดูเพิ่มเติม »

วัดไผ่ล้อม

วัดไผ่ล้อม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและวัดไผ่ล้อม · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์กีฬาเทศบาลนครนครปฐม

ูนย์กีฬาเทศบาลนครนครปฐม (Nakhon Pathom Sports Center Gymnasium) เป็นสนามกีฬาในร่ม สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการแข่งขันกีฬาต่าง ๆ เช่น วอลเลย์บอล และใช้เป็นสนามสำหรับการแข่งขันวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2011 กลุ่ม B รอบแรก ที่ ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ ตั้งอยู่ที่ เทศบาลนครนครปฐม ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและศูนย์กีฬาเทศบาลนครนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม มี 5 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 5 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๔

ันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๔ (อังกฤษ: Institute of Vocational education: Central Region 4) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง ๔ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมไทย

ระตำหนักทับขวัญ ใน พระราชวังสนามจันทร์ มีลักษณะสถาปัตยกรรมแบบเรือนไทยภาคกลาง สถาปัตยกรรมไทย หมายถึงศิลปะการก่อสร้างของไทย อันได้แก่ อาคาร บ้านเรือน โบสถ์ วิหาร วัง สถูป และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ มีลักษณะแตกต่างกันไปตามภูมิศาสตร์ และคตินิยม สถาปัตยกรรมไทย มีมานานตั้งแต่ที่คนไทยเริ่มตั้งถิ่นฐาน เป็นเวลาร่วม 4000 ปี บรรพบุรุษไทยได้พัฒนาและปรับปรุงรูปแบบสถาปัตยกรรมอันเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศ โดยเพิ่มเติมใส่เอกลักษณ์ความเป็นไทยเข้าไป ซึ่งนับเป็นการแสดงออกความสามารถของบรรพบุรุษไทย สามารถแบ่งยุคได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ สถาปัตยกรรมไทยสมัยประวัติศาสตร์ และ สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและสถาปัตยกรรมไทย · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟนครปฐม

นีรถไฟนครปฐม ตั้งอยู่ ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและสถานีรถไฟนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

สนามจันทร์ (แก้ความกำกวม)

นามจันทร์ อาจหมายถึงสถานที่ต่อไปนี้.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและสนามจันทร์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพ่อแช่ม

หลวงพ่อแช่ม สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและหลวงพ่อแช่ม · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพ่อเงิน

หลวงพ่อเงิน สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและหลวงพ่อเงิน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบางแพ

งแพ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและอำเภอบางแพ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านโป่ง

อำเภอบ้านโป่ง เป็นอำเภอสำคัญอำเภอหนึ่งในจังหวัดราชบุรี เดิมชื่อ อำเภอท่าผา ต่อมาได้ย้ายที่ว่าการอำเภอไปยังตำบลบ้านโป่งเพื่อให้ใกล้สถานีรถไฟบ้านโป่งมากขึ้น จึงเปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบ้านโป่ง ปัจจุบัน บ้านโป่งเป็นอำเภอเป็นศูนย์กลางความเจริญและการคมนาคมทางภาคตะวันตกของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการผลิตรถยนต์โดยสารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการผลิตปลาสวยงามที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และมีสถานีชุมทางรถไฟที่แยกไปได้ถึงสามเส้นทาง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและอำเภอบ้านโป่ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกำแพงแสน

กำแพงแสน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและอำเภอกำแพงแสน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสามพราน

อำเภอสามพราน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม มีแม่น้ำนครชัยศรีไหลผ่าน.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและอำเภอสามพราน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอดอนตูม

อนตูม เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและอำเภอดอนตูม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอนครชัยศรี

วามหมายอื่น ดูที่ มณฑลนครชัยศรี นครชัยศรี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ มีเรื่องราวบันทึกไว้ตั้งแต่สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี นอกจากนี้ยังมีการค้นพบโบราณวัตถุจำนวนหนึ่งในบริเวณอำเภอนครชัยศรี ปัจจุบันนครชัยศรีนับเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดนครปฐม และอยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและอำเภอนครชัยศรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโพธาราม

ราม เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและอำเภอโพธาราม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐม

ังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและจังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครปฐมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

ังหวัดนครปฐมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและจังหวัดนครปฐมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนบรมราชชนนี

นนบรมราชชนนี (Thanon Borommaratchachonnani) เป็นเส้นทางคมนาคมในพื้นที่ฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร ระหว่างเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ระยะทางรวม 33.984 กิโลเมตร เฉพาะส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงมีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 สายอรุณอมรินทร์–นครชัยศรี และมีระยะทาง 31.265 กิโลเมตร.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและถนนบรมราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนมาลัยแมน

นนมาลัยแมน หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 321 สายนครปฐม–สุพรรณบุรี เป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร ไป-กลับ มีจุดเริ่มต้นจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 บริเวณสามแยกมาลัยแมน อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ผ่านอำเภอกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน เข้าสู่เขตจังหวัดสุพรรณบุรี ผ่านอำเภอสองพี่น้อง อำเภออู่ทอง สิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ในเขตอำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางรวม 106.273 กิโลเมตร ถนนมาลัยแมนเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายนครปฐม-สุพรรณบุรี" - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและถนนมาลัยแมน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม)

นนราชดำเนิน อาจหมายถึง ในประเทศไท.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและถนนราชดำเนิน (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอาราม

ทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอาราม หรือวัตรทรงธรรมกัลยาณี เป็นอารามภิกษุณีในประเทศไทย ตั้งอยู่บริเวณถนนเพชรเกษม ตำบลพระประโทน อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้บวชเป็นภิกษุณีหลายรูป โดยบวชมาจากคณะภิกษุณีสงฆ์ศรีลังกา มีสำนักภิกษุณีเป็นเอกเทศคือทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอาราม วัตรทรงธรรมกัลยาณี ก่อตั้งขึ้นโดยพระภิกษุณีโพธิสัตต์ วรมัย กบิลสิงห์ โดยในปี พ.ศ. 2505 สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (จวน อุฏฺฐายี) (ต่อมาเป็นสมเด็จพระสังฆราช) ได้มีพระกรุณามาวางศิลาฤกษ์สร้างโบสถ์ของวัตรทรงธรรมกัลยาณี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอาราม · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบ

ทะเลสาบกลางสวนเบญจกิตติ ขนาด 200x800 เมตร เมืองชิคาโก และทะเลสาบมิชิแกน 1 ในทะเลสาบทั้ง 5 ทางตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา ทะเลสาบ หรือ บึง เป็นแหล่งน้ำขนาดใหญ่ ที่ล้อมรอบด้วยผืนดิน โดยทั่วไปทะเลสาบจะไม่มีทางไหลออกสู่ทะเล และมีน้ำจืด เรียกกันว่า "ทะเลสาบน้ำจืด" แต่ทะเลสาบบางแห่งอาจไหลออกสู่ทะเลได้ และมีน้ำเค็ม จึงเรียกกันว่า "ทะเลสาบน้ำเค็ม" คำว่า "ทะเลสาบ" ยังครอบคลุมถึงแหล่งน้ำที่เกิดขึ้นจากการกระทำของมนุษย์ เช่น ทะเลสาบขนาดเล็กในสนามกอล์ฟ หรือ ทะเลสาบขนาดเล็กในสวนสาธารณะขนาดใหญ่ หรือ แอ่งเก็บน้ำเหนือเขื่อน และ อ่างเก็บน้ำ ซึ่งนับเป็นทะเลสาบขนาดใหญ.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและทะเลสาบ · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 8

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 8 หรือที่นิยมเรียกว่า "มอเตอร์เวย์สายใต้" เป็นโครงการทางหลวงพิเศษเชื่อมระหว่างเมือง เริ่มต้นจากจังหวัดนครปฐม ลงสู่ภาคใต้ ไปสิ้นสุดที่จังหวัดสงขลา เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายเส้นทางในแผนแม่บทระบบทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เมื่อวันที่ 22 เมษายน..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและทางหลวงพิเศษหมายเลข 8 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 81

ทางหลวงพิเศษหมายเลข 81 เป็นโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่กำลังก่อสร้าง มีเส้นทางเชื่อมต่อกรุงเทพมหานครกับจังหวัดทางภาคตะวันตก โครงการนี้เริ่มก่อสร้างช่วงตั้งแต่อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี จนถึงอำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ระยะทางประมาณ 100 กิโลเมตร นอกจากนี้ยังมีโครงการต่อขยายเส้นทางไปจนถึงชายแดนประเทศพม่า บริเวณด่านบ้านพุน้ำร้อน.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและทางหลวงพิเศษหมายเลข 81 · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375 สายบ้านบ่อ–ลำลูกบัว ช่วงแรกเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจรมีเกาะกลาง ส่วนในเขตชุมชนจะเป็นถนนขนาด 6-8 ช่องจราจร แยกจากถนนพระรามที่ 2 กิโลเมตรที่ 38 ตำบลชัยมงคล อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผ่านเข้าไปในตัวอำเภอบ้านแพ้ว ผ่านบ้านดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม ผ่านมหาวิทยาลัยคริสเตียน ไปสิ้นสุดที่ถนนเพชรเกษม บริเวณสามแยกพระประโทน ตำบลพระประโทน อำเภอเมืองนครปฐม จากนั้นจะเริ่มเส้นทางอีกครั้งที่ตำบลบ่อพลับ อำเภอเมืองนครปฐม ขึ้นไปทางทิศเหนือผ่านอำเภอดอนตูม ตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3297, 3233 และ 3296 ไปสุดที่ตำบลลำลูกบัว อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม เส้นทางในช่วงนี้เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจรตลอดสายยกเว้นในเขตชุมชน เดิมทางหลวงสายนี้ประกอบด้วยทางหลวงสองสาย มีชื่อเรียกตามบัญชีสายทางของกรมทางหลวงว่า "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3097 สายแยกทางหลวงหมายเลข 4 (พระประโทน) - บรรจบทางหลวงหมายเลข 35 (บ้านบ่อ)" ระยะทางรวม 37.521 กิโลเมตร และ "ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3036 สายแยกทางหลวงหมายเลข 3095 (นครปฐม) - บรรจบทางหลวงหมายเลข 346 (บางเลน)" จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 375 · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ที่หยุดรถไฟพระราชวังสนามจันทร์

อาคารเดิมของสถานีรถไฟหลวงพระราชวังสนามจันทร์ สร้างราว พ.ศ. 2453 ตั้งอยู่ใกล้เคียงกับอาคารที่พักผู้โดยสารในปัจจุบัน ห่างออกไปประมาณ 360 เมตร http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและที่หยุดรถไฟพระราชวังสนามจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (Faculty of Pharmacy, Silpakorn University) ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

ตะกร้อไทยแลนด์ลีก

ตะกร้อ ไทยแลนด์ ลีก เป็นการแข่งขันตะกร้อลีกอาชีพซึ่งจัดโดยสมาคมตะกร้อแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ การกีฬาแห่งประเทศไทย โดยเป็นลีกระดับสูงสุดของระบบลีกตะกร้อไทย มีทีมเข้าร่วมการแข่งขัน 10 ทีม (ฤดูกาล 2554).

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและตะกร้อไทยแลนด์ลีก · ดูเพิ่มเติม »

ตะกร้อไทยแลนด์ลีก 2549

ตะกร้อ ไทยแลนด์ ลีก 2549 เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีกครั้งที่ 10 ได้เพิ่มจำนวนสโมสรเข้าแข่งจากเดิม 8 สโมสร เป็น 10 สโมสร โดยมีสโมสร ไออาร์พีซี ถิรไทย-ระยอง กับสโมสรกาฬสินธุ์ เป็นสโมสรน้องใหม่การแข่งขันครั้ง รูปการแข่งขันเดิม มีทีมเข้าร่วมการแขง่ขันตะกร้อ ไทยแลนด์ ลีกทั้งหมด 8 ทีม โดยเริ่มแข่งขันครึ่งฤดูกาลแรกระหว่างวันที่ 29 เมษายน ถึง 10 มิถุนายน 2549 และครึ่งฤดูกาลหลังระหว่างวันที่ 17 มิถุนายน ถึง 29 กรกฎาคม 2549 โดยแข่งในระบบเหย้าเยือนพบกันหมดเป็นจำนวนทีมละ 14 นัดระบบการแข่งขันตะกร้อ ไทยลีก ดิวิชั่น 1 แต่ละสโมสรสามารถส่งชื่อผู้เล่นตลอดฤดูกาลแข่งขันได้ไม่เกิน 18 คน ในการทำการแข่งขันแต่ละครั้ง จะส่งทีมลงทำการแข่งขันได้ 2 ทีม คือทีม ก. กับ ทีม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและตะกร้อไทยแลนด์ลีก 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ตะกร้อไทยแลนด์ลีก 2552

ตะกร้อ ไทยแลนด์ ลีก 2552 เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีกครั้งที่ 8 รูปการแข่งขันเดิม มีทีมเข้าร่วมการแขง่ขันตะกร้อ ไทยแลนด์ ลีกทั้งหมด 8 ทีม โดยจะทำการแข่งขันในช่วงเดือกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม โดยแข่งในระบบเหย้าเยือนพบกันหมดเป็นจำนวนทีมละ 14 นัด ซึ่งการแข่งขันแตละนัดทำการแข่งกัน 2 ทีม คือ ทีม ก. และ ทีม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและตะกร้อไทยแลนด์ลีก 2552 · ดูเพิ่มเติม »

ตะกร้อไทยแลนด์ลีก 2554

ตะกร้อ ไทยแลนด์ ลีก 2554 เป็นการแข่งขันฟุตบอลไทยลีกครั้งที่ 10 ได้เพิ่มจำนวนสโมสรเข้าแข่งจากเดิม 8 สโมสร เป็น 10 สโมสร โดยมีสโมสร ไออาร์พีซี ถิรไทย-ระยอง กับสโมสรกาฬสินธุ์ เป็นสโมสรน้องใหม่การแข่งขันครั้ง โดยเริ่มแข่งขันครึ่งฤดูกาลแรกระหว่างวันที่ 21 พฤษภาคม ถึง 13 กรกฎาคม 2554 และครึ่งฤดูกาลหลังระหว่างวันที่ 30 กรกฎาคม ถึง 1 ตุลาคม 2554 โดยแข่งในระบบเหย้าเยือนพบกันหมดเป็นจำนวนทีมละ 18 นัด แต่ละสโมสรสามารถส่งชื่อผู้เล่นตลอดฤดูกาลแข่งขันได้ไม่เกิน 18 คน ในการทำการแข่งขันแต่ละครั้ง จะส่งทีมลงทำการแข่งขันได้ 2 ทีม คือทีม ก. กับ ทีม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและตะกร้อไทยแลนด์ลีก 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบ้านยาง

ตำบลบ้านยาง สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและตำบลบ้านยาง · ดูเพิ่มเติม »

ซีอุย

ซีอุย (พ.ศ. 2470 — 16 กันยายน พ.ศ. 2502) เป็นชื่อของชาวจีน ที่สันนิษฐานว่าเป็นฆาตกรที่ฆ่าเด็กและนำตับมาต้มกินในช่วงปี..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและซีอุย · ดูเพิ่มเติม »

นครปฐม (แก้ความกำกวม)

นครปฐม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและนครปฐม (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย

รงเรียนพระปฐมวิทยาลัย (Phrapathom Witthayalai School; อักษรย่อ: พ.ป., P.T.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 23 มกราคม..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดวังตะกู (เสรีเริงฤทธิ์อุปภัมถ์)

รงเรียนวัดวังตะกู (เสรีเริงฤทธิ์อุปภัมถ์) (อังกฤษ: Watwangtaku School) เป็นโรงเรียนประถมศึกษาแบบสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ 53/7 หมู่ที่ 2 ถนนมาลัยแมน ตำบลวังตะกู อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและโรงเรียนวัดวังตะกู (เสรีเริงฤทธิ์อุปภัมถ์) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดห้วยจระเข้วิทยาคม

รงเรียนวัดห้วยจระเข้วิทยาคม (อักษรย่อ:ว.จ.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาและเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ ถนนพิพิธประสาท ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและโรงเรียนวัดห้วยจระเข้วิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดทัพหลวง (หลวงพ่อเกิดอุปถัมภ์)

รงเรียนวัดทัพหลวง (หลวงพ่อเกิดอุปถัมภ์) เป็นโรงเรียนประถมศึกษาแบบสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ 74 หมู่ 4 ตำบลทัพหลวง อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและโรงเรียนวัดทัพหลวง (หลวงพ่อเกิดอุปถัมภ์) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศรีวิชัยวิทยา

รงเรียนศรีวิชัยวิทยา (อังกฤษ: Sriwichaiwithaya School) (อักษรย่อ:ศ.ว.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาและเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดยพล.อ.ท.มนตรี หาญวิชัย มีเนื้อที่ 42 ไร่ ประกอบด้วยอาคารเรียน 5 หลัง ตั้งอยู่ที่ ถนนมาลัยแมน ตำบลวังตะกู อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและโรงเรียนศรีวิชัยวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

รงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา (ภาษาอังกฤษ: Laboratory School of Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University) เป็นโรงเรียนสาธิตสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เป็นโรงเรียนประเภทสหศึกษาขนาดกลาง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 96 ถนนปรีดีพนมยงค์ ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000 โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์สุวัฒน์ ทับทิมเจือ ดำรงตำแหน่งเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนคนปัจจุบัน.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและโรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย

รงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย (Princess Sirindhorn's College) จังหวัดนครปฐม จัดตั้งขึ้นโดยกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุ 3 รอบ ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2534 ชื่อโรงเรียนเป็นชื่อที่ได้รับพระราชทาน โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับโรงเรียนไว้ในพระราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2537 และเสด็จพระราชดำเนินเปิดโรงเรียนและกิจกรรมธนาคารนักเรียน เมื่อวันที่ 31 มกราคม ปีเดียวกัน ทางโรงเรียนจึงกำหนดให้วันที่ 31 มกราคม ของทุกปี เป็น "วันพระบารมีปกเกล้า" ของโรงเรียน.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย ในพระราชูปถัมภ์ นครปฐม

รงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาและเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 6/8 หมู่ 5 ต.สนามจันทร์ อ.เมือง จังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย ในพระราชูปถัมภ์ นครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนโพรงมะเดื่อวิทยาคม

รงเรียนโพรงมะเดื่อวิทยาคม (Prongmaduawittayakhom School) (อักษรย่อ:พ.ด.) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาแบบสหศึกษาและเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดยพระครูอุทุมพรวิหารวัฒน์ อดีตเจ้าอาวาสวัดโพรงมะเดื่อ ตั้งอยู่ที่ ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและโรงเรียนโพรงมะเดื่อวิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา สะสมทรัพย์

มทรัพย์ (18 กันยายน พ.ศ. 2495 -) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครปฐม อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกที่ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและไชยา สะสมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์จุลประโทน

ีย์จุลประโทน ตั้งอยู่ที่ตำบลพระประโทน ซอยวัดสามกระบือเผือก อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม หรือทางด้านทิศตะวันออกของพระปฐมเจดีย์ ซึ่งอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับวัดพระประโทนเจดีย์วรวิหาร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 500เมตร และอยู่ด้านข้าง วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม ติดกับถนนเพชรเกษม เส้นทางระหว่างกรุงเทพ - นครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและเจดีย์จุลประโทน · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครนครปฐม

ทศบาลนครนครปฐม เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลนคร ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีประชากรในปี..

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและเทศบาลนครนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมือง

ทศบาลเมือง เป็นการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบเทศบาลสำหรับเมืองขนาดกลาง จัดตั้งโดยประกาศกระทรวงมหาดไทยตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ท้องถิ่นที่จะได้รับการจัดตั้งเป็นเทศบาลเมืองนั้น คือ ท้องถิ่นอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด เช่น เทศบาลเมืองเพชรบุรี (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดเพชรบุรี) เทศบาลเมืองสระแก้ว (ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสระแก้ว) หรือท้องถิ่นที่มีจำนวนราษฎรมากกว่า 10,000 คน และมีรายได้เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ของเทศบาลเมืองตามที่กฎหมายกำหนดไว้ แต่ก็มีท้องถิ่นบางแห่งที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดและมีจำนวนประชากรไม่ถึง 10,000 คน แต่ก็มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง เนื่องจากได้รับการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเทศบาลสมัยแรก ๆ ซึ่งวางเกณฑ์ต่างจากปัจจุบัน เช่น เทศบาลเมืองเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เทศบาลเมืองหลายแห่งมีฐานะเดิมเป็นเทศบาลตำบล เช่น เทศบาลตำบลหัวหิน เทศบาลตำบลชะอำ ที่ต่อมาได้ยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองหัวหินและเทศบาลเมืองชะอำตามลำดับ แต่ก็มีบางแห่งที่ได้รับการยกฐานะข้ามขั้นจากองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นมาโดยไม่เป็นเทศบาลตำบลมาก่อน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองปรกฟ้า, องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา ที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ทั้งนี้ หากท้องถิ่นใดได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองไปแล้วเป็นเวลา 1 ปี ตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจำตำบล และสารวัตรกำนันในท้องถิ่นนั้น ๆ จะถูกยกเลิกไปด้วย นอกจากเทศบาลเมืองอันเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดจะมีชื่อเรียกตามชื่อจังหวัดแล้ว (ยกเว้นตัวจังหวัดที่เป็นเทศบาลนครแล้วจำนวน 22 จังหวัด และตัวจังหวัดสุโขทัยซึ่งมีชื่อว่า เทศบาลเมืองสุโขทัยธานี) เทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในตัวอำเภอโดยทั่วไปมักมีชื่อตามชื่ออำเภอหรือตำบลที่เทศบาลตั้งอยู่ เช่น เขตเทศบาลเมืองสวรรคโลก ครอบคลุมเขตตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย แต่ก็มีบางแห่งที่ไม่ใช้ชื่ออำเภอหรือตำบลเป็นชื่อ เช่น เขตเทศบาลเมืองลัดหลวง ครอบคลุมเขตตำบลบางพึ่ง ตำบลบางจาก และตำบลบางครุ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เทศบาลเมืองมีนายกเทศมนตรีทำหน้าที่หัวหน้าฝ่ายบริหารและมีสภาเทศบาลซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 18 คนที่ราษฎรในเขตเทศบาลเลือกตั้งมาทำหน้าที่ฝ่ายนิติบัญญัติ นายกเทศมนตรีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของราษฎรในเขตเทศบาล โดยเทศบาลเมืองมีหน้าที่รักษาความสงบเรียบร้อยและความสะอาด สร้างและบำรุงถนนและท่าเรือ ดับเพลิงและกู้ภัย จัดการศึกษา ให้บริการสาธารณสุข สังคมสงเคราะห์ และรักษาวัฒนธรรมอันดีในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังอาจจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอื่น ๆ ได้ตามสมควร.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและเทศบาลเมือง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองนครปฐม

ทศบาลเมืองนครปฐม เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม และมีเขตเทศบาลครอบคลุมพื้นที่ตำบลนครปฐม เฉพาะส่วนที่อยู่นอกเขตเทศบาลนครนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและเทศบาลเมืองนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

เขตพื้นที่การศึกษา

ตพื้นที่การศึกษา (Educational Service Area) เป็นระบบการจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาการปกครองที่จัดแบ่งโดยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อจัดระบบและกระจายอำนาจการจัดการศึกษาในประเทศไทยให้ครอบคลุมมากขึ้น เดิมมีสำนักงานประจำแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ใช้ชื่อว่า "สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษ..." (สพท.) และต่อมาได้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาออกเป็น 2 ระดับ คือ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา โดยจัดแบ่งเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและเขตพื้นที่การศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐม

ตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐม เป็นเขตการปกครองของคณะสงฆ์ในระดับจังหวัด ที่เกิดขึ้นจากการจัดแบ่งตาม พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2505 ฉบับแก้ไข พุทธศักราช 2535 ที่จัดให้มีการปกครองในระดับต่าง ๆ ตั้งแต่มหาเถรสมาคมเป็นองค์กรปกครองสูงสุด มีเจ้าคณะใหญ่ เจ้าคณะภาค เจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำเภอ เจ้าคณะตำบล และเจ้าอาวาสเป็นลำดับสุดท้าย ในปัจจุบันในฝ่ายคณะสงฆ์มหานิกายมี พระเทพมหาเจติยาจารย์ (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ ป.ธ.9) วัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เป็น เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและเขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดนครปฐม · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิมศักดิ์ แก้วสุขแท้

ฉลิมศักดิ์ แก้วสุขแท้หรือเอ็ม (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 —) ชาวนครปฐม เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวไทย ปัจจุบันเล่นให้ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ใน ไทยพรีเมียร์ลีก ตำแหน่งแบ็คซ้.

ใหม่!!: อำเภอเมืองนครปฐมและเฉลิมศักดิ์ แก้วสุขแท้ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

อ.เมืองนครปฐม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »