โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

อาหรับ

ดัชนี อาหรับ

กลุ่มประเทศอาหรับ อาหรับ (عربي, ʿarabi พหูพจน์ العرب al-ʿarab, Arab) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณคาบสมุทรอาหรับที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และแอฟริกาเหนือ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คำว่าอาหรับในตระกูลภาษาเซมิติกแปลว่าทะเลทรายหรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับชาวยิว จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่มุฮัมมัดจะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมูชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำญิฮาดหรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น ปัจจุบันประเทศที่จัดว่าเป็นประเทศอาหรับเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ ในปัจจุบันมีสมาชิก 21 ประเทศ ได้แก่ แอลจีเรีย จิบูตี บาห์เรน อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย มอริตาเนีย โมร็อกโก โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย โซมาเลีย ซูดาน ซีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ เยเมน ในปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในหมู่ชาวอาหรับอยู่ เช่น ปัญหาปาเลสไตน์ ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ในเลบานอน ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่และชีอะห์ เป็นต้น ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่เก่ากว่าวัฒนธรรมอาหรับที่เริ่มเผยแพร่ในตะวันออกกลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่ออาหรับคริสเตียนเช่นกาสนาวิยะห์ ลักห์มิยะห์ และ Banu Judham เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทะเลทรายซีเรียและในบริเวณลว้าน ภาษาอาหรับเพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของศาสนาอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของอัลกุรอาน และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับการขยายดินแดนของอิสลาม.

139 ความสัมพันธ์: ชองชายฝั่งมะละบาร์ชาวมัวร์ชาวยิวเซฟาร์ดีบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์บีอินสปอตส์บีเอ็มไอ (สายการบิน)ฟีนิกซ์ (เทพปกรณัม)พ.ศ. 1179พ.ศ. 2460พ.ศ. 2524พม่าเชื้อสายมลายูพระราชินีแห่งชีบาพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)พอร์ตซาอิดกบฏอาบูชีรีกบฏซีเรียกลุ่มชาวเติร์กกระจุกดาวลูกไก่การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 674–678)การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 717-718)การประชุมสันติภาพเจนีวาการแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิตการ์ตูนเน็ตเวิร์คกาแฟกีตาร์ภาษามาลายาลัมภาษาฮินดูสตานีภูมิศาสตร์เอเชียมรดกโลกมารี (เติร์กเมนิสถาน)มารี อัลกาตีรีมาสคารามุนตาเซอร์ อัล-ไซดีรัฐเกอดะฮ์ราชอาณาจักรเยรูซาเลมรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดรายชื่อแหล่งมรดกโลกในรัฐอาหรับรายพระนามสุลต่านคอโมโรสลอเรนซ์แห่งอาราเบียลิงบาบูนวัฒนธรรมวันแม่วาลคิรีวิทยาศาสตร์วงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยนสกุลกฤษณาสมัยการย้ายถิ่นสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านมีซัน ไซนัล อาบีดิน...สายฉีดชำระสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบียสี่ยอดสิ่งประดิษฐ์สงครามหกวันสงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามไบแซนไทน์-อาหรับสโตนทาวน์หญ้าฝรั่นหมวกกะปิเยาะหมู่เกาะโมลุกกะหุยหนังสืออิสยาห์อับราฮัมอับดุลละฮ์ อะฮ์มัด บาดาวีอัลกุรอานอัลอันดะลุสอันวัร อัสซาดาตอายไลเนอร์อาหารตะวันออกกลางอาณาจักรรีวกีวอิบน์ รุชด์อุมัรอูฐสองหนอกป่าอนิรุทธ์ กอมะฮะมาฮ์ฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียงจรวดจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1จักรวรรดิแซสซานิดจังหวัดสงขลาจิมมี คาร์เตอร์ธงปาเลสไตน์ในอาณัติทรงชัย รัตนสุบรรณท้าวสุรนารีขบวนการไซออนิสต์ดูไบครักเดเชอวาลีเยคลิฟฟ์ เคอร์ติสความผิดปกติทางบุคลิกภาพความทรงจำแห่งโลกคาลิฟา ซีเซคธูลูคีร์คูกตะวันออกกลางตำบลเกาะสองต้นสมัยกลางซามาร์คันด์ซามี เคดีราประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทยประวัติศาสตร์ทิเบตประเทศกาตาร์ประเทศมัลดีฟส์ประเทศอิหร่านประเทศอียิปต์ประเทศฮอนดูรัสประเทศตูนิเซียประเทศซาอุดีอาระเบียประเทศซูดานประเทศซีเรียประเทศแอลจีเรียประเทศโมร็อกโกประเทศโปรตุเกสปราสาทมาร์กัตนักอาหรับคดีนิทานเวตาลแก๊งป่วนก๊วนโดราเอมอนแอฟริกา (มณฑลของโรมัน)แผ่นยูเรเชียโมเช ดายันโรมโบราณโลกอิสลามโลกตะวันตกไอเอไอ คเฟอร์ไฮยีน่าเพลงลูกทุ่งเกาะสองเวฟวิงแฟลกเวสต์แบงก์เศรษฐศาสตร์เสียงเรียกของคธูลูเส้นทางการค้าเอมิล เคร็บส์เฮราคลีโอโพลิส19 พฤศจิกายน20 สิงหาคม6 กรกฎาคม ขยายดัชนี (89 มากกว่า) »

ชอง

วชอง เป็นชนเผ่าโบราณอีกเผ่าหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ ออสโตร-เอเชียติก ตระกูล มอญ- เขมร มีภาษาพูดของตนเองคือภาษาชอง แต่ไม่มีภาษาเขียน นับถือศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรมประเพณีเป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่า ซึ่งอาจมีมาแต่ก่อนสมัยสุโขทัยสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่น การใช้ต้นคลุ้ม มาจักสานสมุก ชนาง เสวียน มีประเพณีผีโรง ผีหิ้ง ทำมาหากินด้วยการหาของป่า ล่าสัตว์ ทำไร่ ทำนา และปลูกต้นกระวาน ซึ่งชาวอินเดียและอาหรับชอบมาก ชาวชองอยู่กันมากแถบเชิงเขารอยต่อกับกัมพูชา เช่นที่บริเวณเขาสอยดาวเหนือ บ้านคลองพลู บ้านกะทิง บ้านตะเคียนทอง บ้านคลองพลู บ้านคลองน้ำเป็น ใกล้น้ำตกกะทิง บ้านทุ่งสะพาน อำเภอเขาคิชฌกูฏ บ้านวังแซ้ม บ้านปึก อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี รวมไปถึงชาวชองที่บ้านคลองแสง บ้านด่านชุมพล และบ้านปะเดา อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราดด้วย บ้านทุ่งนา อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี มีจำนวนทั้งหมดประมาณ 6,000 คน ปัจจุบันชาวชองนี้ได้ปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมใหม่เหมือนกับคนทั่วไป ส่วนชาวชองที่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา จะถูกเรียกว่า ชาวไทยซอง เพราะออกเสียง.ช้าง ไม่ถนัด และมีภาษาใกล้เคียงกับภาษาชองคือภาษาป่า ซึ่งภาษาป่าของชาวชองในจังหวัดฉะเชิงเทราเมื่อทำการเปรียบเทียบกับภาษาชองในอำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี พบว่าเป็นภาษาเดียวกัน คือ ภาษาชอง และพบว่ามีการพูดภาษาชองในจังหวัดพระตะบอง (เรียกตัวเองว่า คนซำเร ซึ่งแปลว่า คนปอร์) และจังหวัดโพธิสัตว์ (เรียกตัวเองว่า คนปอร์) ของประเทศกัมพูชา ซึ่งเรียกชื่อภาษาต่างกันว่า ภาษาปอร์ มีความคล้ายคลึงกับภาษาชองในอำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี เพียงแต่น้ำเสียงที่ออกเสียงแตกต่างกันเล็กน้อย จึงสรุปได้ว่า คนชอง คนซำเร หรือคนปอร์ เป็นกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกัน (เจตน์จรรย์ อาจไธสง และคณะ, 2560) ที่มา: เจตน์จรรย์ อาจไธสง เฉิน  ผันผาย คำรณ  วังศรี Tun  Pheakdey, Chum Lay, Cherdchon  Khway, and Vann Sopheak.

ใหม่!!: อาหรับและชอง · ดูเพิ่มเติม »

ชายฝั่งมะละบาร์

หาดป้อมเบคัล (Bekal Fort) รัฐเกรละ ชายฝั่งมะละบาร์ (Malabar Coast) เป็นแนวชายฝั่งทะเลยาวและแคบทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย บริเวณที่ราบรัฐเกรละและรัฐกรณาฏกะ ระหว่างเทือกเขาฆาฏตะวันตก (Western Ghats) กับทะเลอาหรับ กินพื้นที่ตั้งแต่รัฐกัวถึงเมืองกันยากุมารี (Kanyakumari; เดิมเรียก เคปคอโมริน) ในขณะที่ชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดียเรียกว่า ชายฝั่งโคโรมันเดล (Coromandel Coast) บางครั้งชายฝั่งมะละบาร์ยังหมายถึงพื้นที่ชายฝั่งทั้งหมดของอินเดียตั้งแต่ชายฝั่งกงกัณ (Konkan) จนถึงเมืองกันยากุมารี มีความยาวมากกว่า 845 กิโลเมตร (525 ไมล์) ตั้งแต่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของรัฐมหาราษฏระ ผ่านรัฐกัวและชายฝั่งทั้งหมดของรัฐเกรละและรัฐกรณาฏกะถึงเมืองกันยากุมารี ชายฝั่งแห่งนี้ทิศตะวันตกจรดทะเลอาหรับ ทิศตะวันออกจรดเทือกเขาฆาฏตะวันตก และทางใต้มีป่าผลัดใบที่ชุ่มชื้นที่สุดในอินเดียใต้ ชายฝั่งมะละบาร์มีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นจุดทำการค้าหลักกับเมโสโปเตเมีย อียิปต์ กรีซ โรม เยรูซาเลม และอาหรับ และยังมีเมืองท่าหลายเมือง เช่น โกจจิ (Kochi), โคชิโคด (Kozhikode), กัณณูร์ (Kannur) ซึ่งเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญของมหาสมุทรอินเดียมานานนับศตวรรษ ในสมัยศตวรรษที่ 15 ราชวงศ์หมิงได้ให้เจิ้งเหอนำกองเรือออกเดินทางสำรวจดินแดนต่าง ๆ ชายฝั่งมะละบาร์เป็นจุดหนึ่งที่กองเรือจีนมักจะมาขึ้นฝั่ง หลังจากนั้นไม่นาน ในปี..

ใหม่!!: อาหรับและชายฝั่งมะละบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวมัวร์

ชาวมัวร์ (Moors) ในยุคกลาง คำว่า “มัวร์” เป็นคำที่หมายถึงชนมุสลิมที่อาศัยอยู่ที่คาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาเหนือซึ่งเดิมเป็นชนอาหรับ หรือ เบอร์เบอร์ คำนี้ใช้เฉพาะในการอ้างอิงทางประวัติศาสตร์ ปัจจุบันคำนี้ไม่ใช้แล้ว คำนี้จะใช้กล่าวถึงชนมุสลิมในประเทศสเปนแม้แต่ในปัจจุบันนี้ถึงแม้ว่าจะเป็นคำโบราณและไม่ถูกต้อง เพราะคำนี้รวมชนมุสลิมและชนที่ไม่ใช่มุสลิมที่เป็นชาวอาหรับ เบอร์เบอร์ และชาวอาฟริกาอื่นๆ หรือบางครั้งก็รวมชนมุสลิมในคาบสมุทรไอบีเรียด้วย ในภาษาสเปนคำนี้เป็นคำที่ถือผิว หมวดหมู่:ชาวอาหรับ.

ใหม่!!: อาหรับและชาวมัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวยิวเซฟาร์ดี

วยิวเซฟาร์ดี (Sephardi Jews; ספרדי; ฮิบรูมาตรฐาน: Səfardiไทบีเรีย Səp̄arədî; พหูพจน์ ספרדים, ฮิบรูใหม่: Səfaradim ไทบีเรีย: Səp̄arədîm; Sefardíes; Sefarditas, Σεφάρδοι, Sefarad, จูเดโอ-สเปน: Sefardies) เป็นชนกลุ่มย่อยของกลุ่มชนยิวที่มาจากคาบสมุทรไอบีเรีย และ แอฟริกาเหนือ ที่มักจะกล่าวว่าคู่กับชาวยิวอัชเคนาซิ (Ashkenazi Jews) หรือ ชาวยิวมิซราฮิ (Mizrahi Jews).

ใหม่!!: อาหรับและชาวยิวเซฟาร์ดี · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: อาหรับและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

บีอินสปอตส์

ีอิน สปอตส์ (beIN Sports) เป็นเครือข่ายช่องรายการกีฬาทางโทรทัศน์ ซึ่งมีอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยเป็นธุรกิจหนึ่งของกลุ่มเครือข่ายสื่ออัลญะซีเราะฮ์แห่งรัฐกาตาร์ สำหรับบริการภายในประเทศไทย สามารถรับชมช่องบีอินสปอตส์ 1-6 ผ่านการบอกรับเป็นสมาชิกของทรูวิชันส์ ในเวอร์ชันภาษาไทย โดยต้องสมัครแพ็กเกจเสริมดูบอล ทรู ซูเปอร์ ซอคเกอร์เพื่อรับชมช่องดังกล่าว และผ่านทางแอพ beIN Sports Connect โดยการสมัครสมาชิกเพื่อรับชมช่องในแอพลิเคชั่นดังกล่าว.

ใหม่!!: อาหรับและบีอินสปอตส์ · ดูเพิ่มเติม »

บีเอ็มไอ (สายการบิน)

ีเอ็มไอ (BMI British Midland Airways) คือสายการบินที่มีฐานอยู่ในสหราชอาณาจักร มีสำนักงานใหญ่อยู่ในโดนิงตัน ฮอลล์ ใกล้กับท่าอากาศยานอีสต์มิดแลนด์ มีจุดหมายปลายทางอยู่ในยุโรป สหรัฐอเมริกา แถบหมู่เกาะแคริบเบียน และประเทศซาอุดีอารเบีย ฐานปฏิบัติการของสายการบินอยู่ที่ท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์และท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ ซึ่งเป็นที่ที่มีการจราจรทางอากาศของสายการบินนี้เข้า-ออกคิดเป็น 11%ของเที่ยวบินทั้งหมดของท่าอากาศยานแห่งนี้โดยมากกว่า 2000 เที่ยวบินต่อสัปดาห์ โดยทั่วไปรู้จักกันในชื่อบริติช มิดแลนด์ ในเดือนมกราคม 2550 บีเอ็มไอได้ซื้อสายการบินบริติช เมดิเตอร์เรเนียน แอร์ไลน์ ทำให้บีเอ็มไอสามารถที่ให้บริการในแถบแอฟริกาและแถบอาหรับได้ บีเอ็มไอ เป็นสมาชิกในองค์การการบินแห่งสหราชอาณาจักรในใบอนุญาตประเภท A อนุญาตให้รับ-ส่งผู้โดยสาร สินค้าและจดหมายบนเครื่องบินมากกว่า 20 ที่นั่ง.

ใหม่!!: อาหรับและบีเอ็มไอ (สายการบิน) · ดูเพิ่มเติม »

ฟีนิกซ์ (เทพปกรณัม)

วาดฟีนิกซ์เผาตัวเอง ฟีนิกซ์ (อังกฤษ: Phoenix, Phenix) เป็นนกที่ปรากฏในปกรณัมของหลาย ๆ ชนชาติ ในลักษณะที่คล้ายกันแต่แตกต่างกันในบางรายละเอี.

ใหม่!!: อาหรับและฟีนิกซ์ (เทพปกรณัม) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1179

ทธศักราช 1179 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 636 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: อาหรับและพ.ศ. 1179 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2460

ทธศักราช 2460 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1917 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: อาหรับและพ.ศ. 2460 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2524

ทธศักราช 2524 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1981 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: อาหรับและพ.ศ. 2524 · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเชื้อสายมลายู

วพม่าเชื้อสายมลายู หรือ ปะซู กลุ่มชาติพันธุ์ที่สำคัญกลุ่มหนึ่งที่กระจายตัวลงมาตั้งแต่ตอนบนจนถึงตอนล่างของหมู่เกาะมะริดในเขตแดนของเขตตะนาวศรีทางตอนใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: อาหรับและพม่าเชื้อสายมลายู · ดูเพิ่มเติม »

พระราชินีแห่งชีบา

''พระราชินีแห่งชีบา'' ภาพช่วงศตวรรษที่ 15 พระราชินีแห่งชีบา (ملكة سبأ, กีเอซ: ንግሥተ ሳባ, 'מלכת שבא) เป็นพระราชินีนาถที่ปรากฏในพระคัมภีร์ไบเบิลที่ว่านางได้เสด็จไปเข้าเฝ้ากษัตริย์ซาโลมอน ซึ่งเรื่องดังกล่าวได้แพร่หลายในหมู่ชาวยิว, อาหรับ และเอธิโอเปีย และกลายเป็นตำนานที่แพร่หลายที่สุดเรื่องหนึ่งของโลกตะวันออก ตามคติชนยิวว่า พระราชินีแห่งชีบาปกครองอียิปต์และเอธิโอเปียสลับกัน บ้างก็ว่าเป็นกษัตริย์บุรุษเพศปกครองอาณาจักรชีบาแถบอาระเบียใต้ (ปัจจุบันคือบริเวณประเทศเยเมน) ในคติชนเอธิโอเปียว่า พระราชินีแห่งชีบาทรงมีสัมพันธ์สวาทกับกษัตริย์ซาโลมอน ดังปรากฏใน เกแบรแนแกสต์ (กีเอซ: ክብረ ነገሥት) อันเป็นวรรณกรรมของเอธิโอเปีย กล่าวถึงผลจากความสัมพันธ์ดังกล่าวทำให้นางตั้งพระหน่อประสูติกาลเป็นจักรพรรดิเมเนลิกที่ 1 จักรพรรดิพระองค์แรกแห่งเอธิโอเปี.

ใหม่!!: อาหรับและพระราชินีแห่งชีบา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)

ระเจ้าช้างเผือก (The King of the White Elephant) เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ในระบบ 35 มม.

ใหม่!!: อาหรับและพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พอร์ตซาอิด

อร์ตซาอิด (Port Said) หรือ บูรซะอีด (بورسعيد) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางเหนือ-ตะวันออกของประเทศอียิปต์ เป็นเมืองท่าชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ที่ปลายเหนือสุดของคลองสุเอซ มีประชากรราว 603,787 คน (ค.ศ. 2010) เมืองนี้ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: อาหรับและพอร์ตซาอิด · ดูเพิ่มเติม »

กบฏอาบูชีรี

แซนซิบาร์และเยอรมันแอฟริกาตะวันออก, ค.ศ. 1885-90 กบฏอาบูชีรีเป็นชื่อเรียกการจลาจลที่เกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: อาหรับและกบฏอาบูชีรี · ดูเพิ่มเติม »

กบฏซีเรียกลุ่มชาวเติร์ก

นักรบของสภาทหารอัลบ๊าบ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์กลางทางยุทธวิธีฮาวาร์คีลิสของกบฏซีเรียกลุ่มชาวเติร์ก ในช่วงยุทธการที่อัลบ๊าบ กบฏซีเรียกลุ่มชาวเติร์ก (Turkey-backed Free Syrian Army; อักษรย่อ: TFSA) บางส่วนจัดเป็นกองทัพแห่งชาติซีเรีย (الجيش الوطني السوري; Suriye Millî Ordusu) โดยตุรกีตั้งแต่วันที่ 30 พฤษภาคม..

ใหม่!!: อาหรับและกบฏซีเรียกลุ่มชาวเติร์ก · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวลูกไก่

กระจุกดาวลูกไก่ หรือ กระจุกดาวไพลยาดีส (Pleiades) หรือวัตถุเมสสิเยร์ M45 หรือ ดาวพี่น้องทั้งเจ็ด เป็นกระจุกดาวเปิดในกลุ่มดาววัว ประกอบด้วยดาวฤกษ์ระดับ B ที่มีประวัติการสังเกตมาตั้งแต่สมัยกลาง นับเป็นหนึ่งในกระจุกดาวที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด และอาจเป็นกระจุกดาวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดและสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่า กระจุกดาวนี้ประกอบด้วยดาวฤกษ์สีน้ำเงินที่มีอายุราว 100 ล้านปี แต่เดิมเคยเชื่อว่าเศษฝุ่นที่ทำให้เกิดการสะท้อนแสงจาง ๆ เรืองรองรอบดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดน่าจะเป็นเศษที่หลงเหลือจากการก่อตัวของกระจุกดาว (จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เนบิวลามายา ตามชื่อดาวมายา) แต่ปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าไม่มีความเกี่ยวข้องกัน เป็นเพียงฝุ่นเมฆในสสารระหว่างดาวที่ดาวฤกษ์กำลังเคลื่อนผ่านเท่านั้น นักดาราศาสตร์คาดการณ์ว่ากระจุกดาวนี้จะมีอายุต่อไปอีกอย่างน้อย 250 ล้านปี หลังจากนั้นก็จะกระจัดกระจายออกไปเนื่องจากปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงที่เกิดจากดาราจักรเพื่อนบ้านใกล้เคียง.

ใหม่!!: อาหรับและกระจุกดาวลูกไก่ · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล

การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล ในปี ค.ศ. 1453 (เขียนใน ค.ศ. 1499) การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (List of sieges of Constantinople) กรุงคอนสแตนติโนเปิลถูกล้อมหลายครั้งในประวัติศาสตร์ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ การล้อมสองครั้งมีผลทำให้ถูกยึดจากการปกครองของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1204 โดยนักรบครูเสด และครั้งที่สองในปี ค.ศ. 1453 โดยจักรวรรดิออตโตมันภายใต้การนำของสุลต่านเมเหม็ดที่ 2.

ใหม่!!: อาหรับและการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 674–678)

การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลระหว่าง (ค.ศ. 674-678) หรือ การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลโดยชาวอาหรับครั้งแรก (Siege of Constantinople) เป็นความขัดแย้งที่เป็นส่วนหนึ่งของสงครามไบแซนไทน์–อาหรับและเป็นการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลครั้งหนึ่งในหลายครั้งที่เกิดขึ้น การล้อมครั้งนี้เป็นการต่อสู้ระหว่างจักรวรรดิไบแซนไทน์และฝ่ายจักรวรรดิอุมัยยะฮ์ของอาหรับ มุอาวิยะห์ผู้เรืองอำนาจขึ้นมาเป็นผู้นำจักรวรรดิอาหรับหลังจากสงครามกลางเมืองสงครามฟิตนาครั้งที่ 1 (First Fitna) ส่งลูกชายยาซิดไปล้อมเมืองคอนสแตนติโนเปิลที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 4 ในล้อมเมืองครั้งนี้ฝ่ายอุมัยยะฮ์ไม่สามารถทำลายกำแพงธีโอโดเซียนที่เป็นกำแพงป้องกันเมืองทางฝั่งบอสฟอรัส เพื่อเข้าตีเมืองได้ เมื่อมาถึงฤดูหนาวฝ่ายอาหรับก็ต้องถอยทัพลึกเข้าไปบนแผ่นดินใหญ่ราว 80 ไมล์จากตัวเมือง ก่อนหน้าที่จะล้อมเมืองผู้ลี้ภัยคริสเตียนชาวซีเรียชื่อคาลลินคอสแห่งเฮลิโอโพลิสประดิษฐ์อาวุธใหม่ที่มีประสิทธิภาพให้แก่จักรวรรดิไบแซนไทน์ ที่มารู้จักกันว่า “ปืนไฟกรีก” (Greek fire) ในปี ค.ศ. 677 ราชนาวีของไบแซนไทน์ก็ใช้อาวุธนี้ในการทำลายกองเรือของฝ่ายอุมัยยะฮ์อย่างย่อยยับในทะเลมาร์มารา ที่เป็นผลทำให้ฝ่ายอุมัยยะฮ์ยุติการล้อมเมืองในปี..

ใหม่!!: อาหรับและการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 674–678) · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 717-718)

การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 717-718) หรือ การล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลโดยชาวอาหรับครั้งที่สอง (Siege of Constantinople) เป็นความขัดแย้งที่เป็นส่วนหนึ่งของสงครามไบแซนไทน์–อาหรับและเป็นการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลครั้งที่สองในหลายครั้งที่เกิดขึ้น การล้อมครั้งนี้เป็นการต่อสู้ระหว่างจักรวรรดิไบแซนไทน์และจักรวรรดิบัลแกเรียฝ่ายหนึ่งและจักรวรรดิอุมัยยะฮ์ของอาหรับอีกฝ่ายหนึ่ง การสงครามครั้งนี้เกิดขึ้นทางทางบกและทางทะเลโดยฝ่ายอาหรับในการพยายามยึดกรุงคอนสแตนติโนเปิลที่เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์ กองทหารราบของฝ่ายอาหรับนำโดยมาสลามา อิบุน อับดาล มาลิคได้รับความพ่ายแพ้ จากการพยายามตีกำแพงธีโอโดเซียนของคอนสแตนติโนเปิลของที่ไม่สามารถตีแตกได้ และจากการโจมตีของกองกำลังบัลแกเรีย ขณะเดียวกันทางด้านการรบทางทะเลกองเรือฝ่ายอาหรับก็ถูกทำลายโดย “ไฟกรีก” (Greek fire) ไปเป็นอันมาก กองเรือที่รอดหลงเหลือก็มาล่มในพายุระหว่างการเดินเรือกลับ การสงครามครั้งนี้มักจะเปรียบเทียบกับยุทธการตูร์เพราะเป็นยุทธการที่หยุดยั้งการขยายตัวของมุสลิมเข้ามายังยุโรปเป็นเวลาเกือบ 700 ปี.

ใหม่!!: อาหรับและการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ค.ศ. 717-718) · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสันติภาพเจนีวา

การประชุมสันติภาพเจนีวา จัดขึ้นเมื่อวันที่ 9 มกราคม..

ใหม่!!: อาหรับและการประชุมสันติภาพเจนีวา · ดูเพิ่มเติม »

การแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต

นายกรัฐมนตรีอิสราเอลต้อนรับชาลิตกลับสู่มาตุภูมิ วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2554 การแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต หลังความตกลงระหว่างอิสราเอลกับกลุ่มฮามาส ในการปล่อยตัวทหารอิสราเอล กิลัด ชาลิต แลกกับการปล่อยตัวนักโทษ 1,027 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นชาวปาเลสไตน์และอาหรับ-อิสราเอล แม้ในบรรดานักโทษที่ปล่อยตัวมานั้นจะมีนักโทษชาวยูเครน ชาวจอร์แดน และชาวซีเรีย อย่างละคนด้วยก็ตาม นักโทษจำนวนนี้ 280 คนถูกตัดสินจำคุกตลอดชีวิตในข้อหาวางแผนและเตรียมการก่อการร้ายต่อเป้าหมายอิสราเอล.

ใหม่!!: อาหรับและการแลกเปลี่ยนนักโทษกิลัด ชาลิต · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค เป็นช่องสถานีโทรทัศน์เคเบิลของสหรัฐอเมริกา ภายใต้การบริหารของเทิร์นเนอร์บรอดแคสติง ซึ่งแพร่ภาพการ์ตูนแอนิเมชันเป็นหลัก การ์ตูนเน็ตเวิร์คเริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: อาหรับและการ์ตูนเน็ตเวิร์ค · ดูเพิ่มเติม »

กาแฟ

กาแฟดำ ซึ่งบรรจุในถ้วย กาแฟ เป็นเครื่องดื่มที่ทำจากเมล็ดซึ่งได้จาก ต้นกาแฟ หรือมักเรียกว่า เมล็ดกาแฟ คั่ว มีการปลูกต้นกาแฟในมากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก กาแฟเขียว (กาแฟซึ่งยังไม่ผ่านการคั่ว) เป็นหนึ่งในสินค้าทางการเกษตรซึ่งมีการซื้อขายกันมากที่สุดในโลก กาแฟมีส่วนประกอบของคาเฟอีน ทำให้มีสรรพคุณชูกำลังในมนุษย์ ปัจจุบันกาแฟเป็นเครื่องดื่มซึ่งได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เป็นที่เชื่อกันว่าสรรพคุณชูกำลังจากเมล็ดของต้นกาแฟนั้นถูกพบเป็นครั้งแรกใน เยเมน แถบอาระเบีย และทางตะวันออกเฉียงเหนือของ เอธิโอเปีย และการปลูกต้นกาแฟในสมัยแรกได้แพร่ขยายในโลกอาหรับ หลักฐานบันทึกว่าการดื่มกาแฟได้ปรากฏขึ้นราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15 อันเป็นหลักฐานซึ่งเชื่อถือได้และเก่าแก่ที่สุด ถูกพบในวิหาร ซูฟี ในเยเมน แถบอาระเบีย จาก โลกมุสลิม กาแฟได้แพร่ขยายไปยังทวีปยุโรป อินโดนีเซีย และทวีปอเมริกา ในระหว่างที่กาแฟเริ่มเดินทางจากทวีปอเมริกาเหนือและตะวันออกกลางสู่ทวีปยุโรป กาแฟได้ถูกส่งผ่านไปยังซิซิลีและอิตาลีในตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากนั้นผ่านตุรกีไปยังกรีซ ฮังการี และออสเตรียในตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 จากอิตาลีและออสเตรีย กาแฟได้แพร่ขยายไปยังส่วนที่เหลือของทวีปยุโรป กาแฟได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในสังคมหลายแห่งตลอดประวัติศาสตร์ ในแอฟริกาและเยเมน มันถูกใช้ร่วมกับพิธีกรรมทางศาสนา ผลที่ตามมาคือ ศาสนจักรเอธิโอเปีย ได้สั่งห้ามการบริโภคกาแฟตลอดกาล จนกระทั่งถึงรัชสมัยของ จักรพรรดิเมเนลิกที่ 2 มันยังได้ถูกห้ามใน จักรวรรดิออตโตมันระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 เนื่องจากสาเหตุทางการเมือง และมีส่วนเกี่ยวพันกับกิจกรรมทางการเมืองหัวรุนแรงในทวีปยุโรป ผลกาแฟ ซึ่งบรรจุเมล็ดกาแฟ เป็นผลผลิตจากไม้พุ่มไม่ผลัดใบขนาดเล็กใน จีนัส Coffea หลายสปีชีส์ โดยสายพันธุ์ที่มีการปลูกโดยทั่วไปมากที่สุด ได้แก่ Coffea arabica และกาแฟ "โรบัสต้า" ที่ได้จากชนิด Coffea canephora ซึ่งมีรสเข้มกว่า สายพันธุ์ดังกล่าวมีความทนทานต่อราสนิมใบกาแฟ (Hemileia vastatrix) ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวง สายพันธุ์กาแฟทั้งคู่มีการปลูกในละตินอเมริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปแอฟริกา เมื่อสุกแล้ว ผลดังกล่าวจะถูกเก็บรวบรวม นำไปผ่านกรรมวิธีและทำให้แห้ง หลังจากนั้น เมล็ดจะถูกคั่วในอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับรสชาติที่ต้องการ และจะถูกบดและบ่มเพื่อผลิตกาแฟ กาแฟสามารถตระเตรียมและนำเสนอได้ในหลายวิธี กาแฟเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของโลก โดยในปี คริสต์ศักราช 2004 กาแฟเป็นสินค้าการเกษตรส่งออกที่ทำรายได้เป็นอันดับหนึ่งในจำนวน 12 ประเทศ และเป็นพืชที่มีการส่งออกอย่างถูกต้องตามกฎหมายซึ่งมีมูลค่าสูงที่สุดเป็นอันดับ 7 ของโลก ในปี คริสต์ศักราช 2005 กาแฟได้รับการโต้เถียงบางส่วนในด้านการเพาะปลูกต้นกาแฟและผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม และมีการศึกษาจำนวนมากที่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคกาแฟกับข้อจำกัดทางยาอย่างแน่นอน อย่างไรก็ตาม ก็ยังไม่มีข้อสรุปที่แน่ชัดว่ากาแฟให้คุณหรือให้โทษกันแน.

ใหม่!!: อาหรับและกาแฟ · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์

กีตาร์ (guitar) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์ เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทำให้เกิดกำทอน (resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์ ยอร์ช กีตาร์นั้น มีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่าง กีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกำทอน ซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตัน และมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสำหรับปรับเสียง กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์ นับเป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย กีตาร์สามารถเล่นในยามว่าง หรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี ปกติกีตาร์จะมี 6 สาย แต่แบบ 4- 7- 8- 10- 12- สายก็มีเช่นกัน ผู้ประดิษฐ์กีตาร์จะเรียกว่า Luthier.

ใหม่!!: อาหรับและกีตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาลายาลัม

ษามาลายาลัมเป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในภาษาตระกูลดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม ภาษามาลายาลัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว..

ใหม่!!: อาหรับและภาษามาลายาลัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฮินดูสตานี

ภาษาฮินดูสตานี (เทวนาครี: हिन्दुस्तानी; อาหรับ: ہندوستانی) เป็นคำที่เกิดในสมัยที่อังกฤษครอบครองอินเดียและปากีสถาน โดยอังกฤษนำภาษาฮินดีกับภาษาอูรดูมารวมกันแล้วให้ชื่อว่าฮินดูสตานี เขียนได้ทั้งอักษรไกถี อักษรเทวนาครี และอักษรอาหรับ แต่คำศัพท์และไวยากรณ์ของสองภาษานั้นแตกต่างกันมาก เนื่องจากภาษาฮินดีได้รับอิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤตและภาษาปรากฤต แต่ภาษาอูรดูได้รับอิทธิพลมาจากภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ในทางภาษาศาสตร์จึงไม่ถือว่าเป็นภาษาใหม่ ปัจจุบันยังคงแยกเป็นภาษาฮินดีซึ่งเป็นภาษาทางการของอินเดีย และภาษาอูรดูซึ่งเป็นภาษาทางการของปากีสถาน ฮินดูสตานี.

ใหม่!!: อาหรับและภาษาฮินดูสตานี · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์เอเชีย

แผนที่ภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชียในปี 1730 ของ Johan Christoph Homann โดยแบ่งภูมิภาคเอเชียเป็นสีต่างๆ ภาพรวมของทวีปเอเชีย ภาพทวีปเอเชีย ภูมิศาสตร์เอเชีย (Geography of Asia) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่างๆของทวีปเอเชียซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปของโลก ทวีปเอเชียเป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลกมีขนาด 44,579,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 8.7 ของผิวโลก (ร้อยละ 30 ของส่วนที่เป็นพื้นดิน) และมีประชากรราว 3,900 ล้านคน หรือร้อยละ 60 ของประชากรมนุษย์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: อาหรับและภูมิศาสตร์เอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

มรดกโลก

ตราสัญลักษณ์ แหล่งมรดกโลก หรือ มรดกโลก (World Heritage Site; Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต ในปัจจุบัน (กรกฎาคม 2560) มีมรดกโลกทั้งหมด 1073 แห่ง ใน 167 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 832 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 206 แห่ง และอีก 35 แห่งเป็นแบบผสมทั้งสองประเภท, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ใหม่!!: อาหรับและมรดกโลก · ดูเพิ่มเติม »

มารี (เติร์กเมนิสถาน)

มารี (Mary) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดมารี ประเทศเติร์กเมนิสถาน ตั้งอยู่ที่จุดพิกัด ตั้งอยู่ในโอเอซิส ในทะเลทรายการากุม บนฝั่งแม่น้ำมูร์กาบ ในปี..

ใหม่!!: อาหรับและมารี (เติร์กเมนิสถาน) · ดูเพิ่มเติม »

มารี อัลกาตีรี

มารี บิน อามุด อัลกาตีรี (مرعي بن عمودة الكثيري) (เกิด 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลของประเทศติมอร์-เลสเต เขาดำรงตำแหน่งตั้งแต่พฤษภาคม..

ใหม่!!: อาหรับและมารี อัลกาตีรี · ดูเพิ่มเติม »

มาสคารา

วดมาสคาราและแปรงปัด มาสคารา (mascara) เป็นเครื่องสำอางที่ใช้เสริมความเข้ม เพิ่มความหนาและความยาวแก่ขนตา มาสคารามาในสามรูปแบบได้แก่ แบบน้ำ เค้ก และ ครีม แล้วยังมาในอีกหลากหลายสูตร ทิ้นท์ และสี มาสคาราจะมีรูปแบบบรรจุในขวดหลอดและมีแปรงพร้อมในตัว ส่วนผสมในมาสคาราประกอบด้วยน้ำ ขี้ผึ้ง film-formers และ สารกันบูด แปรงปัดมาสคาราสามารถดัดตรงหรือโค้งงอเมื่อใช้ปัดขนตา และขนแปรงมีทั้งแบบบางและหนา มาสคาราบางตัวอาจมีส่วนผสมของเส้นใยสังเคราะห์หรือเส้นใยไนล่อนเพื่อเพิ่มความยาวของขนต.

ใหม่!!: อาหรับและมาสคารา · ดูเพิ่มเติม »

มุนตาเซอร์ อัล-ไซดี

มุนตาเซอร์ อัล-ไซดี (منتظر الزيدي; Muntadhar al-Zaidi) เป็นนักข่าวสถานีโทรทัศน์อัล-แบกแดดเดีย ชาวอิรัก เขามีชื่อเสียงไปทั่วโลกจากเหตุการณ์ขว้างรองเท้า เข้าใส่ จอร์จ ดับเบิลยู บุช อดีตประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ระหว่างการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน ที่กรุงแบกแดด พร้อมกับนายนูรี อัล มาลิกี นายกรัฐมนตรีอิรัก เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ในช่วงท้ายของการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของบุช ในวัฒนธรรมอาหรับและมุสลิม การขว้างรองเท้าใส่บุคคลอื่น ถือเป็นการแสดงความลบหลู่ โดยอัล-ไซดีได้ขว้างรองเท้าใส่บุช เพื่อแสดงความเกลียดชังเนื่องจากบุชเป็นผู้สั่งการให้กองทัพสหรัฐก่อสงครามรุกรานอิรัก ทำให้มีประชาชนจำนวนมากต้องเสียชีวิต และไร้ที่อยู่ ภายหลังเหตุการณ์ อัล-ไซดี ถูกจับกุมโดยเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย และถูกตั้งข้อหาก่อการประทุษร้ายต่อผู้นำต่างชาติ เขาได้รับการยกย่องในหมู่ชาวอิรักว่าเป็นวีรบุุรุษ และชุมนุมเรียกร้องให้ทางการอิรักปล่อยตัวอัล-ไซดี ทำให้เกิดพฤติกรรมเลียนแบบต่อมาอีกหลายครั้ง รวมทั้งเหตุการณ์ที่มีผู้ประท้วงขว้างรองเท้าเข้าใส่นายเหวิน เจียเป่า นายกรัฐมนตรีของจีน ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพัน..

ใหม่!!: อาหรับและมุนตาเซอร์ อัล-ไซดี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเกอดะฮ์

กอดะฮ์ (Kedah, قدح) หรือ ไทรบุรี มีชื่อเฉลิมเมืองเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลอามัน ("ถิ่นที่อยู่แห่งสันติภาพ") เป็นรัฐหนึ่งในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก ครอบคลุมขนาดเนื้อที่ 9,425 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่บนแผ่นดินใหญ่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบใช้สำหรับปลูกข้าว รวมทั้งเกาะลังกาวี พรมแดนของรัฐเกอดะฮ์ทางทิศเหนือติดต่อกับรัฐปะลิส และติดต่อกับจังหวัดสงขลาและจังหวัดยะลาของประเทศไทย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐเประก์ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับรัฐปีนัง เมืองหลวงของรัฐคือ อาโลร์เซอตาร์ และเมืองของเจ้าผู้ครองคือ อานักบูกิต เมืองหลักอื่น ๆ ได้แก่ ซูไงเปอตานี (Sungai Petani) และกูลิม (Kulim) บนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งกูวะห์ (Kuah) บนเกาะลังกาวี.

ใหม่!!: อาหรับและรัฐเกอดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเยรูซาเลม

ราชอาณาจักรเยรูซาเลม หรือ ราชอาณาจักรละตินแห่งเยรูซาเลม (Kingdom of Jerusalem หรือ Latin Kingdom of Jerusalem) เป็นอาณาจักรคริสเตียนที่ก่อตั้งในบริเวณลว้าน (Levant) ในปี ค.ศ. 1099 หลังสงครามครูเสดครั้งที่ 1 และยืนยงต่อมาร่วมสองร้อยปีจนถึงปี ค.ศ. 1291 เมื่อเอเคอร์ดินแดนสุดท้ายที่เป็นของอาณาจักรถูกทำลายโดยมามลุค (Mamluk) ในระยะแรกราชอาณาจักรเป็นเพียงกลุ่มเมืองใหญ่และเล็กที่รวมตัวกันอย่างหลวมๆ ระหว่างสงครามครูเสด ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดอาณาบริเวณที่ปัจจุบันคืออิสราเอล และอาณาดินแดนปาเลสไตน์ (Palestinian territory) ที่ครอบคลุมตั้งแต่บริเวณเลบานอนปัจจุบันไปจนถึงทางเหนือของทะเลทรายไซนายทางด้านไต้ ไปยังจอร์แดน และซีเรียทางด้านตะวันออก ระหว่างนั้นก็มีการพยายามที่จะขยายดินแดนไปยังฟาติมิยะห์ (Fatimid) อียิปต์ นอกจากนั้นพระมหากษัตริย์ของราชอาณาจักรเยรูซาเลมก็ยังมีอำนาจบางอย่างเหนืออาณาจักรครูเสดอื่นๆ, ตริโปลี, อันติโอค, และเอเดสสา ประเพณีและระบบต่างที่ใช้ในอาณาจักรนำมาจากยุโรปตะวันตกกับนักการสงครามครูเสด ระบบการปกครองและความเกี่ยวดองกับยุโรปเป็นไปตลอดอายุของอาณาจักร แต่เมื่อเทียบกับอาณาจักรในยุโรปแล้วราชอาณาจักรเยรูซาเลมก็เป็นเพียงอาณาจักรที่ค่อนข้างเล็กและมักจะขาดการหนุนหลังทางด้านการเงินและทางการทหารจากยุโรป ราชอาณาจักรเยรูซาเลมมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับราชอาณาจักรข้างเคียงมากกว่าเช่นราชอาณาจักรอาร์มิเนียแห่งซิลิเซีย (Armenian Kingdom of Cilicia) และจักรวรรดิไบแซนไทน์ ที่ได้รับอิทธิพลตะวันออกมา นอกจากนั้นก็ยังได้รับอิทธิพลจากระบบมุสลิม แต่ทางด้านสังคมแล้วผู้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรจากยุโรปตะวันตกแทบไม่มีการติดต่อกับมุสลิมหรือชนคริสเตียนท้องถิ่นที่ปกครองเลย ในระยะแรกฝ่ายมุสลิมไม่มีความสนใจกับราชอาณาจักรเยรูซาเลมเท่าใดนักจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมื่ออาณาจักรของมุสลิมเริ่มแข็งตัวขึ้นและเริ่มยึดดินแดนที่เสียไปคืนอย่างเป็นจริงเป็นจัง เยรูซาเลมเสียแก่ซาลาดินในปี ค.ศ. 1187 และเมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ดินแดนของราชอาณาจักรก็เหลือเพียงแถบตามแนวฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนพร้อมกับเมืองสำคัญๆ สองสามเมือง ในช่วงนี้ราชอาณาจักรที่บางครั้งก็เรียกว่า “ราชอาณาจักรเอเคอร์” ก็ปกครองโดยราชวงศ์ลูซิยัน (Lusignan) ของนักครูเสดจากราชอาณาจักรไซปรัส และมีความสัมพันธ์ดีกับทริโปลี, อันติออคและอาร์มีเนีย และได้รับอิทธิพลจากสาธารณรัฐเวนิส และสาธารณรัฐเจนัว และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ขณะเดียวกันอาณาจักรมุสลิมรอบข้างก็รวมตัวกันภายใต้ราชวงศ์อัยยูบิด (Ayyubid) และต่อมาราชวงศ์มามลุคของอียิปต์ ราชอาณาจักรเยรูซาเลมจึงกลายเป็นเบี้ยประกันของการสงครามและการเมืองในบริเวณนั้น ที่ตามมาโดยการโจมตีโดย คแวเรซเมียน (Khwarezmians) และจักรวรรดิโมกุลราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในที่สุดก็ถูกมามลุคสุลต่านไบบาร์ส (Baibars) และอัล-อัชราฟ คาลิล (al-Ashraf Khalil) ยึดดินแดนที่เหลืออยู่ทั้งหมดได้ รวมทั้งการทำลายเอเคอร์ในปี ค.ศ. 1291.

ใหม่!!: อาหรับและราชอาณาจักรเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: อาหรับและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด

นี่คือ รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งรวมถึงรัฐอธิปไตยและเขตการปกครอง เรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด โดยยึดตามมาตรฐานสากล ISO 3166-1 เพื่อจุดประสงค์ทางสถิติ เขตการปกครองจะถูกบรรจุในรายชื่อรวมกับรัฐอธิปไตยด้วย ตัวเลขที่ปรากฏจะแสดงขนาดพื้นที่ทั้งหมด รวมทั้งพื้นดินและพื้นที่น้ำภายในดินแดนนั้นด้วย (เช่น ทะเลสาบ เขื่อน และแม่น้ำ) ซึ่งบางส่วนอาจนับรวมไปถึงพื้นที่ของน้ำภาคพื้นสมุทร (น่านน้ำชายฝั่ง) แต่ไม่นับรวมน่านน้ำอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจำเพาะ สถิติดังกล่าวไม่นับรวมเขตการปกครองซึ่งไม่มีพลเมืองอาศัยอยู่ – รวมทั้งการอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือพื้นที่ของทวีปแอนตาร์กติกา (14,400,000 กม.²) – และการรวมกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป (4,324,782 กม.²) ซึ่งมีอำนาจอธิปไตย แต่ไม่สามารถพิจารณาว่าเป็นรัฐอธิปไตยหรือเขตการปกครองได้ พื้นที่ทั้งหมดของโลกคิดเป็น 148,940,000 กม.² (คิดเป็น 29.1% ของพื้นผิวโลกทั้งหมด).

ใหม่!!: อาหรับและรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในรัฐอาหรับ

มรดกโลก คือสถานที่ที่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) คัดเลือกเพื่อแสดงว่าสถานที่นั้นมีความสำคัญทางวัฒนธรรมหรือธรรมชาติ รายชื่อด้านล่างคือรายชื่อแหล่งมรดกที่ตั้งอยู่ในรัฐอาหรับ ชื่อทางการเป็นชื่อที่ใช้ในการจดทะเบียนในบัญชีมรดกโลก ชื่อภาษาไทยเป็นชื่อที่แปลชื่อทางการ โดยศูนย์ข้อมูลมรดกโลก กระทรวงวัฒนธรรม ปี คือปีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก.

ใหม่!!: อาหรับและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามสุลต่านคอโมโรส

หล่า สุลต่านแห่งคอโมโรส, หมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียพร้อมเชื้อชาติที่ผสมผสานได้รับการสถาปนาภายหลังการเข้ามาของ ศาสนาอิสลาม ณ พื้นที่นี้เมื่อศตวรรษที่ 15 สุลต่านขึ้นอยู่กับเกาะอาจถูกจัดฐานะ ฟานี, อึมฟาอุเม and อึนติเบ ไม่เหมือนกับสุลต่านฝั่งอาหรับ,สุลต่านเหล่านี้มีอำนาจจริงเพียงเล็กน้อย ครั้งเดียวบนเกาะเอ็นซวานี่ หนึง อึนซวานี (อองฌูอองในปัจจุบัน),ฟานี 40 พระองค์และเจ้าผู้ครองนครอื่น ๆ แบ่งอำนาจกันภายในเกาะ งาซิดจา (กรองด์ กอมอร์ในปัจจุบัน)ในอดีตถูกแบ่งเป็นรัฐสุลต่าน 11 รัฐ บทความนี้จะกล่าวถึงเฉพาะพระองค์ที่สำคัญ รัฐสุลต่านในประวัติศาสตร์มี 5 รัฐที่ได้รับการเสนอให้ UNESCOยกย่องเป็นมรดกโลก ดังนี้.

ใหม่!!: อาหรับและรายพระนามสุลต่านคอโมโรส · ดูเพิ่มเติม »

ลอเรนซ์แห่งอาราเบีย

ลอเรนซ์แห่งอาราเบีย (Lawrence of Arabia) เป็นภาพยนตร์มหากาพย์-สงครามที่ออกฉ..

ใหม่!!: อาหรับและลอเรนซ์แห่งอาราเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ลิงบาบูน

ลิงบาบูน (Baboons; بابون) เป็นสกุลของลิง ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) สกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Papio ลิงบาบูนเป็นลิงที่จัดได้ว่ามีขนาดใหญ่ แขนและขายาวเท่ากัน ทำให้สามารถเดินด้วยขาทั้ง 4 ข้างได้เป็นอย่างดี ขณะที่ส่วนหางที่สั้น และร่างกายที่กำยำแข็งแรง ทำให้วิ่งได้รวดเร็วพอ ๆ กับม้า ลิงบาบูนส่วนมากจะหากินและอาศัยบนพื้นดินมากกว่าขึ้นต้นไม้ ตามแถบที่โล่งกว้างมากกว่าที่รกชัฏ โดยจะขึ้นต้นไม้เฉพาะตอนนอนเท่านั้น หากินในเวลากลางวัน มีลักษณะเด่น คือ มีใบหน้ายาวเหมือนสุนัข และมีฟันเขี้ยวที่แข็งแรงและยาวโง้ง มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูง อาจถึง 200-300 ตัว มีตัวผู้ขนาดใหญ่เป็นจ่าฝูง หากินผลไม้ เมล็ดพืช ตลอดจนสัตว์ขนาดเล็กอย่างแมงป่องและแมงมุมโดยการพลิกก้อนหินหา หรือแม้กระทั่งล้มสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น ไก่ฟ้า หมูป่า หรือแอนทิโลปที่เป็นตัวลูกหรือตัวขนาดเล็กกินเป็นอาหารได้ ลิงบาบูนขึ้นชื่อว่าเป็นลิงที่มีอุปนิสัยดุร้าย ก้าวร้าว เนื่องจากเป็นลิงที่กินเนื้อเป็นอาหารหลัก โดยอาจโจมตีทำร้ายมนุษย์ได้ด้วย แต่กระนั้นก็ยังมีผู้นำมาฝึกให้เล่นละครลิงหรือละครสัตว์ได้ นอกจากนี้แล้ว ลิงบาบูนยังเป็นลิงที่สามารถออกเสียงได้เหมือนกับเสียงสระในภาษาอังกฤษได้อีกด้วย เนื่องจากมีกล้ามเนื้อลิ้นที่สร้างความแตกต่างในการออกเสียงแต่ละสระได้เหมือนกับมนุษย์ และถึงแม้ว่าจะมีกล่องเสียงสูง ซึ่งต่างจากมนุษย์ที่ออกเสียงด้วยการใช้กล่องเสียงต่ำ แต่ลิงบาบูนก็ไม่สามารถที่จะพูดได้จริง.

ใหม่!!: อาหรับและลิงบาบูน · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: อาหรับและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: อาหรับและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วาลคิรี

วาด "Valkyrie's Vigil" ในตำนานนอร์ส วาลคิรี (อังกฤษ: valkyrie, นอร์ส: valkyrja) เป็นเทพธิดาที่รับใช้ โอดินโดยมีหน้าที่นำนักรบที่ตายในสงครามไปที่ วัลฮัลลา (Valhalla) เพื่อพบกับโอดิน และมาเป็น Einherjar สู้ศึกในสงครามแร็กนาร็อก สงครามสิ้นโลกระหว่างเทพเจ้าและปีศาจ ในทางศิลปะ วาลคิรีมักจะถูกกล่าวถึงในสัญลักษณ์ของความสวยงาม โดยจะมีลักษณะนางฟ้าหญิง สวมหมวกนักรบถือหอกและขี่บนหลังม้าที่มีปีก วาลคิรีนั้นสามารถแปลงร่างเป็นหงส์ได้ วาลคิรีนั้นสามารถแต่งงานกับมนุษย์ได้ แต่นั่นจะทำให้เสียอำนาจวิเศษของเทพธิดาไป.

ใหม่!!: อาหรับและวาลคิรี · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ คำว่า "วิทยาศาสตร์" มักถูกใช้เพื่อแทนคำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษ แต่ถ้าจะกล่าวให้ตรงความหมายแล้ว เราใช้คำว่า "วิทยาศาสตร์" เพื่อหมายถึง "Exact science" ซึ่งไม่รวมสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์เอาไว้ แม้ว่าสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่นเดียวกัน การแบ่งแยกดังกล่าวมีขึ้นเนื่องจากความแตกต่างในด้านเนื้อหาและธรรมชาติของการศึกษา มิใช่เรื่องของความจริงหรือความถูกต้องแต่อย่างใด คำว่า "Science" ในภาษาอังกฤษจะมีความหมายเทียบเท่ากับคำว่า "ศาสตร์" หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งกระบวนการประมวลความรู้เชิงประจักษ์ ที่เรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกลุ่มขององค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการดังกล่าว การศึกษาในด้านวิทยาศาสตร์ยังถูกแบ่งย่อยออกเป็น วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คำว่า science ในภาษาอังกฤษ ซึ่งแปลว่า วิทยาศาสตร์นั้น มาจากภาษาลาติน คำว่า scientia ซึ่งหมายความว่า ความรู้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ฟรานซิส เบคอนได้พยายามคิดค้นวิธีมาตรฐานในการอุปนัย เพื่อนำมาใช้สร้างทฤษฎีหรือกฎต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์จากข้อมูลที่ทดลองหรือสังเกตได้จากธรรมชาติ เป็นผู้ถอนรื้อและปรับปรุงแนวความคิดเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สมัยเก่า ที่ยึดกับแนวความคิดของอริสโตเติลทิ้งไป.

ใหม่!!: อาหรับและวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยน

วงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยน (Chameleon) เป็นวงศ์ของสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่า ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว.

ใหม่!!: อาหรับและวงศ์กิ้งก่าคาเมเลี่ยน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกฤษณา

กุลกฤษณา (Aquilaria) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กฤษณา (Thymelaeaceae) มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ พบมากโดยเฉพาะในป่าดิบชื้นของอินโดนีเซีย, ไทย, กัมพูชา, ลาว, เวียดนาม, มาเลเซีย, อินเดียตอนเหนือ, ฟิลิปปินส์ และนิวกินี พรรณไม้ในสกุลนี้ปกติมีเนื้อไม้สีขาว เมื่อเกิดบาดแผล ต้นไม้จะหลั่งสารเคมีออกมาเพื่อรักษาบาดแผลนั้น แต่สารเคมีจะขยายวงกว้างออกไปอีก ก่อให้เกิดเนื้อไม้ซึ่งมีสีดำ กลิ่นหอม เรียกว่า "กฤษณา".

ใหม่!!: อาหรับและสกุลกฤษณา · ดูเพิ่มเติม »

สมัยการย้ายถิ่น

แผนที่แสดงการโยกย้ายถิ่นฐานระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 2 ถึงที่ 5 อย่างง่ายๆ สมัยการโยกย้ายถิ่นฐานในยุโรป หรือ สมัยการรุกรานของบาร์บาเรียน (Migration Period หรือ Barbarian Invasions, Völkerwanderung) เป็นสมัยของการอพยพของมนุษย์ (human migration) ที่เกิดขึ้นประมาณระหว่างปี..

ใหม่!!: อาหรับและสมัยการย้ายถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านมีซัน ไซนัล อาบีดิน

มเด็จพระราชาธิบดี สุลต่าน มีซาน ไซนัล อาบิดีน (พระนามเต็ม: อัล-วาตีกู บิลละฮ์ ตวนกู มีซัน ไซนัล อาบีดิน อิบนี อัลมาร์ฮุม ซุลตัน มะฮ์มุด อัล-มุกตาฟี บิลละฮ์ ชะฮ์) ทรงเป็นเป็นพระมหากษัตริย์มหารายาแห่งรัฐตรังกานู และเป็นพระราชโอรสในสุลต่าน มะห์หมุด อัลมักตาฟี บิลลาห์ ชาห์ พระมหากษัตริย์แห่งตรังกานูองค์ก่อน และพระองค์ทรงเป็นยังดีเปอร์ตวนอากงองค์ที่ 13 ทรงเป็นประมุขแห่งสหพันธรัฐมาเลเซีย ตั้งแต่วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2549 - 13 ธันวาคม พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: อาหรับและสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านมีซัน ไซนัล อาบีดิน · ดูเพิ่มเติม »

สายฉีดชำระ

ฉีดชำระ ภาษาปากว่า ที่ฉีดตูด (bidet shower, bidet spray, bidet sprayer, bum gun, or health faucet) เป็นหัวฉีดแบบลั่นไกด้วยมือ รูปลักษณะคล้ายกับหัวฉีดของอ่างล้าง ใช้พ่นละอองน้ำชำระล้างทวารหนักหรือทวารเบาของบุคคลหลังจากถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะแล้ว มักติดประจำอยู่กับฝาหรือกำแพงห้องทางขวามือของชักโครก โดยมีสายยางเชื่อมต่อท่อประปาและก๊อกน้ำซึ่งจะปล่อยน้ำมากักไว้ในถังพนักชักโครก จัดเป็นแหล่งจ่ายน้ำที่อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้นิยมใช้น้ำชำระล้างทวารหนักมากกว่าจะใช้วิธีอื่น สายฉีดชำระได้เข้ามาแทนแหล่งจ่ายน้ำแบบดั้งเดิม เช่น อ่างล้างก้น หม้อทองแดง ปี๊บกับเหยือก เพราะมีสุขอนามัยมากกว่าและใช้พื้นที่ติดตั้งน้อยกว่า ฝักบัวดังกล่าวนิยมใช้กันในประเทศฟินแลนด์ ประเทศซึ่งใช้ภาษาโรแมนซ์ ประเทศอาหรับ และประเทศอื่น ๆ ซึ่งมีพื้นเพเป็นมุสลิม ส่วนในประเทศอินเดียนั้นมักติดตั้งไว้กับส้วมแบบตะวันตก ขณะที่ในประเทศไทยติดตั้งไว้สำหรับส้วมทั้งแบบตะวันตกและแบบนั่งยอง ๆ มุ่งหมายให้ใช้สอยทำนองเดียวกับที่ปรากฏในส้วมวอชเลตของญี่ปุ่น ไฟล์:Bum_Gun_Installation.JPG|สายฉีดชำระชนิดทั่วไป ไฟล์:Bum_Gun_Detail.JPG|รายละเอียดสายฉีดชำระ ไฟล์:Bidee shower.jpg|สายฉีดชำระชนิดที่ใช้กันในประเทศฟินแลนด์ หมวดหมู่:ส้วม.

ใหม่!!: อาหรับและสายฉีดชำระ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย

รณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย (‏الجماهيرية العربية الليبية الشعبية الاشتراكية) เป็นรัฐที่ประกาศโดย มูอัมมาร์ กัดดาฟี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 1977 และประกาศ "ปฏิญญาการจัดตั้งอำนาจของประชาชน" อย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: อาหรับและสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

สี่ยอดสิ่งประดิษฐ์

ี่ยอดสิ่งประดิษฐ์ (Four Great Inventions, จีน: 四大发明, พินอิน: sì dà fāmíng) เป็นสิ่งประดิษฐ์สำคัญที่ปรากฏในประวัติศาสตร์ แสดงถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน ได้แก.

ใหม่!!: อาหรับและสี่ยอดสิ่งประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามหกวัน

งครามหกวัน (Six-Day War., מלחמת ששת הימים) เป็นสงครามระหว่างอิสราเอลกับอียิปต์ หลังจากวิกฤตการณ์สุเอซ ญะมาล อับดุนนาศิร ประธานาธิบดีของประเทศอียิปต์ได้ขอให้สหประชาชาติถอนกำลังออกไปจากอียิปต์แล้ว กองทัพของอียิปต์ได้เคลื่อนที่เข้ายึดฉนวนกาซาและปิดล้อมอ่าวอะกาบา และห้ามไม่ให้เรือสินค้าของอิสราเอลผ่าน อิสราเอลจึงได้โจมตีอียิปต์ก่อน ทำให้เกิดสงครามระหว่างยิวกับอาหรับขึ้นเป็นครั้งที่ 3 โดยสงครามนี้เริ่มขึ้นตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนายน ถึง 10 มิถุนายน..

ใหม่!!: อาหรับและสงครามหกวัน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์

งครามอังกฤษ-แซนซิบาร์ (Anglo-Zanzibar War) เป็นการสู้รบระหว่างสหราชอาณาจักรและรัฐสุลต่านแซนซิบาร์ในวันที่ 27 สิงหาคม..

ใหม่!!: อาหรับและสงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอ่าวเปอร์เซีย

งครามอ่าวเปอร์เซีย หรือ สงครามอ่าว (Gulf War, 2 สิงหาคม 2533 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ชื่อรหัสปฏิบัติการโล่ทะเลทราย (Operation Desert Shield, 2 สิงหาคม 2533 – 17 มกราคม 2534) เป็นปฏิบัติการนำสู่การสั่งสมกำลังและการป้องกันของซาอุดีอาระเบียและปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm, 17 มกราคม 2534 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ในระยะสู้รบ เป็นสงครามในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียระหว่างกำลังผสมจาก 34 ชาตินำโดยสหรัฐอเมริกาต่อประเทศอิรักหลังการบุกครองและผนวกคูเวตของอิรัก สงครามนี้มีชื่ออื่น เช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย, สงครามอ่าวครั้งที่หนึ่ง, สงครามคูเวต, สงครามอิรัก ซึ่งคำว่า "สงครามอิรัก" ต่อมาใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อปี 2546 แทน การยึดครองคูเวตของกองทัพอิรักซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2533 นั้นถูกนานาชาติประณาม และสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติพลันใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ประธานาธิบดี จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช วางกำลังสหรัฐเข้าสู่ซาอุดีอาระเบียและกระตุ้นให้ประเทศอื่นส่งกำลังของตนไปที่นั้นด้วย มีหลายชาติเข้าร่วมกำลังผสม ซึ่งเป็นพันธมิตรทางทหารที่ใหญ่ที่สุดนับแต่สงครามโลกครั้งที่สอง กำลังทหารของกำลังผสมส่วนใหญ่มาจากสหรัฐ โดยมีซาอุดีอาระเบีย สหราชอาณาจักรและอียิปต์เป็นผู้มีส่วนร่วมรายใหญ่ตามลำดับ ซาอุดีอาระเบียสมทบเงิน 36,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐจากค่าสงคราม 60,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สงครามนี้มีการริเริ่มการถ่ายทอดข่าวสดจากแนวหน้าของการสู้รบ หลัก ๆ โดยเครือข่ายซีเอ็นเอ็นของสหรัฐ สงครามนี้ยังได้ชื่อเล่นว่า สงครามวิดีโอเกม หลังการถ่ายทอดภาพรายวันจากกล้องบนเครื่องบินทิ้งระเบิดสหรัฐระหว่างปฏิบัติการพายุทะเลทราย ความขัดแย้งระยะแรกเพื่อขับกองทัพอิรักออกจากคูเวตเริ่มด้วยทางระดมทิ้งระเบิดทางอากาศและทางเรือเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2534 และดำเนินไปห้าสัปดาห์ ตามด้วยการโจมตีภาคพื้นดินเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ สงครามสิ้นสุดด้วยชัยชนะอย่างขาดลอยของกำลังผสม ซึ่งขับกองทัพอิรักออกจากคูเวตและรุกเข้าดินแดนอิรัก กำลังผสมยุติการบุกและประกาศหยุดยิงหลังการทัพภาคพื้นเริ่ม 100 ชั่วโมง การสู้รบทางอากาศและทางบกจำกัดอยู่ในประเทศอิรัก คูเวตและบางพื้นที่ตรงพรมแดนซาอุดีอาระเบีย ประเทศอิรักปล่อยขีปนาวุธสกั๊ดต่อเป้าหมายทางทหารของกำลังผสมและต่ออิสราเอล.

ใหม่!!: อาหรับและสงครามอ่าวเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามไบแซนไทน์-อาหรับ

งครามไบแซนไทน์-อาหรับ (Byzantine–Arab Wars) เป็นสงครามที่ต่อเนื่องกันระหว่างจักรวรรดิกาหลิป และจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึง คริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่เริ่มตั้งแต่การพิชิตดินแดนของมุสลิมภายใต้จักรวรรดิกาหลิปรอชิดีนและจักรวรรดิกาหลิปอุมัยยะห์ และต่อสู้ต่อเนื่องกันมาด้วยสาเหตุความขัดแย้งของพรมแดนจนถึงสงครามครูเสดเริ่มต้นขึ้น ผลของสงครามคือการเสียดินแดนของจักรวรรดิไบแซนไทน์ หรือชาวอาหรับเรียกว่า “รุม” ในบันทึกทางประวัติศาสตร์ ความขัดแย้งครั้งแรกยืนยาวตั้งแต่ ค.ศ. 634 จนถึง ค.ศ. 718 ที่จบลงด้วยการการล้อมกรุงคอนสแตนติโนเปิลครั้งที่สองที่หยุดยั้งการขยายตัวของจักรวรรดิอาหรับเข้ามายังอนาโตเลีย ความขัดแย้งครั้งเกิดขึ้นระหว่างราว ค.ศ. 800 จนถึง ค.ศ. 1169 เมื่อฝ่ายอิสลามยึดดินแดนทางตอนใต้ของอิตาลีโดยกองกำลังของอับบาซียะห์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 9 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 แตไม่ประสบกับความสำเร็จเท่าใดนักในซิซิลี เมื่อมาถึงสมัยการปกครองของราชวงศ์มาซีโดเนียไบแซนไทน์ก็ยึดบริเวณลว้านคืนมาได้ และบุกต่อไปเพื่อที่จะยึดเยรูซาเลมทางตอนใต้ อาณาจักรอีเมียร์แห่งอเล็พโพและอาณาจักรเพื่อนบ้านกลายเป็นอาณาจักรบริวารของไบแซนไทน์ทางตะวันออก ที่อันตรายส่วนใหญ่มาจากจักรวรรดิกาหลิปฟาติมียะห์ในอียิปต์ สถานะการณ์มาเปลี่ยนแปลงเมื่อราชวงศ์เซลจุครุ่งเรืองขึ้นและทำให้อับบาซียะห์ได้ดินแดนลึกเข้าไปในอนาโตเลีย ซึ่งเป็นผลให้จักรพรรดิไบแซนไทน์อเล็กซิออสที่ 1 โคมเนนอสต้องเขียนพระราชสาส์นไปขอความช่วยเหลือจากสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2ที่การประชุมสภาสงฆ์แห่งปิอาเชนซา ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของการเริ่มสงครามครูเสดครั้งที่ 1.

ใหม่!!: อาหรับและสงครามไบแซนไทน์-อาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สโตนทาวน์

ตนทาวน์ (Stone Town) หรือที่รู้จักกันในชื่อ Mji Mkongwe (ภาษาสวาฮีลี แปลว่า "เมืองเก่า") เป็นส่วนที่เก่าแก่ของแซนซิบาร์ซิติ้ (Zanzibar City) เมืองหลักของแซนซิบาร์, ในประเทศแทนซาเนีย, อยู่ตรงข้ามเงมโบ (Ng'ambo) (ภาษาสวาฮีลี แปลว่า 'ด้านอื่น') มันตั้งบนชายฝั่งตะวันตกของอุงกูจา (Unguja) เกาะหลักของหมู่เกาะแซนซิบาร์ อดีตเป็นเมืองหลวงของสุลต่านแซนซิบาร์และศูนย์กลางการค้าเครื่องเทศที่เฟื่องฟูเช่นเดียวกับการค้าทาสในศตวรรษที่ 19 มันก็ยังคงความสำคัญในฐานะเมืองหลักของแซนซิบาร์ในช่วงของการเป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษ เมื่อแทนกันยีกาและแซนซิบาร์เข้าร่วมจัดตั้งสหสาธารณรัฐแทนซาเนีย แซนซิบาร์ยังคงรักษารูปแบบกึ่งปกครองตนเอง ด้วยสโตนทาวน์เป็นที่ตั้งของรัฐบาลท้องถิ่น สโตนทาวน์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และศิลปะที่โดดเด่นในแอฟริกาตะวันออก สถาปัตยกรรมส่วนใหญ่ย้อนหลังไปถึงศตวรรษที่ 19 สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลบนพื้นฐานของวัฒนธรรมสวาฮิลีที่มีส่วนผสมที่เป็นเอกลักษณ์ของอาหรับ เปอร์เซีย อินเดีย และยุโรป ด้วยเหตุนี้ ยูเนสโกจึงกำหนดให้เมืองนี้เป็น มรดกโลกใน..

ใหม่!!: อาหรับและสโตนทาวน์ · ดูเพิ่มเติม »

หญ้าฝรั่น

หญ้าฝรั่น หรือ สรั่น บรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร.

ใหม่!!: อาหรับและหญ้าฝรั่น · ดูเพิ่มเติม »

หมวกกะปิเยาะ

หมวกกะปิเยาะ หมวกกะปิเยาะ (หรือสะกด กะปิเยาะห์) เดิมเป็นสัญลักษณ์แห่งวัฒนธรรมในการสวมใส่หมวกของชาวอาหรับ ซึ่งในประเทศแถบมลายูรวมถึงจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาสของประเทศไทยจะนิยมสวมใส่หมวกที่เรียกกันว่า "ซอเกาะ" มากกว่า หมวกกะปิเยาะเป็นหมวกที่ชาวชาวไทยมุสลิมสวมใส่ประกอบศาสนกิจ (การประกอบพิธีละหมาด) และสวมใส่ประจำวัน เกิดจากการนำผ้าหลายๆชนิดมาตัดเย็บซ้อนกัน 3 ชั้น เย็บด้วยผ้าหลายชนิดทับซ้อนกัน และจะมีลวดลายต่าง ๆ บนหมวก ฝีมือการผลิตประณีต มีลวดลายปักและฉลุหลายแ.

ใหม่!!: อาหรับและหมวกกะปิเยาะ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโมลุกกะ

หมู่เกาะโมลุกกะ (Moluccas) หรือ หมู่เกาะมาลูกู (Maluku Islands) เป็นหมู่เกาะในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู ตั้งอยู่บนแผ่นเปลือกโลกออสเตรเลีย ทางด้านตะวันออกของเกาะซูลาเวซี (เซเลบีส) ทางด้านตะวันตกของเกาะนิวกินี และทางเหนือของติมอร์ ในอดีตนั้น ชาวจีนและชาวยุโรปเรียกหมู่เกาะนี้ว่า หมู่เกาะเครื่องเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่ของเกาะเป็นภูเขา บางส่วนยังเป็นภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ และมีสภาพภูมิอากาศที่ชื้น พืชพรรณอุดมสมบูรณ์ แม้จะอยู่บนเกาะที่เล็ก แคบ และล้อมรอบด้วยทะเล อาทิ ป่าฝน สาคู ข้าว และเครื่องเทศต่าง ๆ (เช่น ลูกจันทน์เทศ กานพลู และดอกจันทน์เทศ) ถึงแม้ว่าชาวเมลานีเซียนจะเป็นประชากรส่วนใหญ่แต่เดิมโดยเฉพาะบนเกาะบันดา แต่ก็ถูกสังหารในช่วงศตวรรษที่ 17 การอพยพเข้ามาของชาวมลายูในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 ในช่วงที่ชาวดัตช์ปกครองอยู่ และต่อเนื่องมาจนถึงยุคที่เป็นประเทศอินโดนีเซียแล้ว ในทางการเมือง หมู่เกาะโมลุกกะเป็นจังหวัดหนึ่งในอินโดนีเซียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 ถึงปี พ.ศ. 2542 มาลูกูเหนือและฮัลมาเฮรากลางถูกแยกออกเป็นอีกจังหวัดหนึ่ง ดังนั้น หมู่เกาะนี้จึงถูกแบ่งออกเป็น 2 จังหวัด คือ มาลูกู (Maluku) และมาลูกูเหนือ (North Maluku) ระหว่างปี 2542 ถึง 2545 เป็นช่วงที่เกิดความขัดแย้งระหว่างชาวมุสลิมกับชาวคริสต์ แต่ก็เพิ่งกลับมาสงบสุขเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านม.

ใหม่!!: อาหรับและหมู่เกาะโมลุกกะ · ดูเพิ่มเติม »

หุย

วหุย (จีน:回族;พินอิน:Huízú, อาหรับ:هوي) เป็นมุสลิมกลุ่มหนึ่งในประเทศจีน มีประชากร 9.82 ล้านคน มีประชากรเพียงหนึ่งในสามของประชากรทั้งหมดในเขตปกครองตนเองหุยหนิงเซี่ย ชาวหุยก็คือชาวจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวหุยส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ทุรกันดารทางตอนใต้ของเขตปกครองตนเอง ถึงแม้ว่าชาวหุยจะเป็นมุสลิม นับถืออิสลาม แต่ในปัจจุบันการแยกความแตกต่างของชาวหุยกับชาวจีนฮั่นโดยใช้ศาสนาค่อนข้างจะยากอยู่ ชาวหุยที่เป็นผู้ชายจะสวมหมวกสีขาว ส่วนผู้หญิงชาวหุยบางคนในปัจจุบันยังคงใส่ม่านบังหน้า ชาวหุยหลายคนที่ไม่คิดว่าคำว่า "เมกกะ" มีความสำคัญแต่อย่างใด แต่ในประเทศไทยชาวจีนที่นับถืออิสลาม จะเรียกว่า "จีนฮ่อ" ในพม่าจะเรียกว่า "ปันทาย" (Panthay) และชาวจีนมุสลิมที่อยู่ในเอเชียกลางจะถูกเรียกว่า "ดันกัน" (Dungans;дунгане).

ใหม่!!: อาหรับและหุย · ดูเพิ่มเติม »

หนังสืออิสยาห์

หนังสืออิสยาห์ (Book of Isaiah, ספר ישעיה) เป็นหนังสือลำดับที่ 5 ในหมวดผู้เผยพระวจนะ (Nevi'im) ของคัมภีร์ทานัค (Tanakh) และเป็นหนังสือเล่มที่ 1 ในหมวดประกาศกใหญ่ของคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม หนังสืออิสยาห์เขียนด้วยภาษาฮีบรู เชื่อมาแต่โบราณตามคำกล่าวอ้างในหนังสือคัมภีร์ว่าเขียนโดย อิสยาห์ ผู้เผยพระวจนะชาวยูดาห์ เมื่อ 800 ปีก่อนคริสตกาล บทที่ 1 - 39 (39 บท) ทำนายเคราะห์กรรมและการลงโทษ แก่ชาวยูเดียและประชาชาติทั้งหมดของโลกที่มีใจบาปต่อต้านพระเจ้า บทที่ 40 - 66 (27 บท) เรียกกันว่า "คัมภีร์แห่งการปลอบประโลม" ทำนายการฟื้นฟูประชาชาติอิสราเอลโดยพระเจ้า (ชาวคริสต์เชื่อว่าบางบทมีนัยความหมายถึง การเสด็จมาไถ่บาปของพระเยซูคริสต์) ส่วนนี้ยังรวมถึง "บทเพลงของผู้รับใช้ที่ได้รับความทุกข์ทน".

ใหม่!!: อาหรับและหนังสืออิสยาห์ · ดูเพิ่มเติม »

อับราฮัม

ทูตสวรรค์ยับยั้งอับราฮัม ขณะกำลังจะถวายอิสอัคแด่พระยาห์เวห์ อับราฮัม(ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ อิบรอฮีม (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Abraham; אברהם; إبراهيم) เป็นบุคคลสำคัญในกลุ่มศาสนาอับราฮัม เรื่องราวของท่านถูกบันทึกไว้ในหนังสือปฐมกาล บทที่ 11 ถึง บทที่ 25 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายูดาห์ และคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลามก็ถืออับราฮัมเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ด้วย อับราฮัม เดิมชื่อ "อับราม" เป็นบุตรของ เทราห์ สืบเชื้อสายมาจาก เชม บุตรของโนอาห.

ใหม่!!: อาหรับและอับราฮัม · ดูเพิ่มเติม »

อับดุลละฮ์ อะฮ์มัด บาดาวี

ตุน ดาโตะก์ ซรี ฮาจี อับดุลละฮ์ บิน ฮาจี อะฮ์มัด บาดาวี (Tun Dato' Sri Haji Abdullah bin Haji Ahmad Badawi; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 -) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีประเทศมาเลเซีย รับตำแหน่งต่อจากมาฮาดีร์ บิน โมฮามัด เมื่อ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 เป็นผู้นำพรรคอัมโนคนที่ 6 และกลุ่มพรรคแนวร่วมแห่งชาติ Barison Nasional (BN) และชนะการเลือกตั้งเมื่อ 21 มีนาคม พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: อาหรับและอับดุลละฮ์ อะฮ์มัด บาดาวี · ดูเพิ่มเติม »

อัลกุรอาน

อัลกุรอาน บ้างเรียก โกหร่าน (الْقُرآن) เป็นคัมภีร์ในศาสนาอิสลาม ชาวมุสลิมเชื่อว่าเป็นพระวจนะของอัลลอฮ์ที่ประทานผ่านทางเทวทูตญิบรีล มาสู่นบีมุฮัมมัด คำว่า กุรอาน มาจากรากศัพท์ในภาษาอาหรับแปลว่า การอ่าน หรือ อาขยาน อัลลอฮ์ได้ประทานคัมภีร์อัลกรุอานแก่นบีมุฮัมมัดซึ่งชาวมุสลิมถือว่าเป็นศาสนทูตคนสุดท้าย และคัมภีร์นี้ก็เป็นคัมภีร์สุดท้ายที่อัลลอฮ์ได้ส่งมาให้แก่มวลมนุษยชาติ หลังจากนี้แล้วจะไม่มีคัมภีร์ใด ๆ จากพระเป็นเจ้าอีก คัมภีร์กรุอานนี้ได้ประทานมาเพื่อยกเลิกคัมภีร์เก่า ๆ ที่เคยได้ทรงประทานมาในอดีตนั่นคือคัมภีร์เตารอต ที่เคยทรงประทานมาแก่นบีมูซา คัมภีร์ซะบูร ที่เคยทรงประทานมาแก่นบีดาวูด (ดาวิด) และคัมภีร์อินญีลที่เคยทรงประทานมาแก่นบีอีซา (พระเยซู) เป็นคัมภีร์ที่บริบูรณ์ไม่มีการเพี้ยนเปลี่ยนแปลง ภาษาของคัมภีร์อัลกุรอานนั้นคือภาษาอาหรับ ที่ยังใช้อยู่ในปัจจุบัน การศรัทธาในคัมภีร์อัลกุรอานทั้งเล่มเป็นหลักการหนึ่งที่มุสลิมทุกคนต้องศรัทธา นั่นก็หมายความว่าหากไม่ศรัทธาในอัลกุรอาน หรือศรัทธาเพียงบางส่วนก็จะเป็นมุสลิมไม่ได้ เช่นเดียวกับที่ต้องศรัทธาว่าคัมภีร์อัลกุรอานนี้มีความบริบูรณ์ภายใต้การพิทักษ์ของพระผู้เป็นเจ้า ด้วยเหตุนี้จึง ตั้งแต่วันที่ท่านศาสดาเสียชีวิตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน โดยมีความเหมือนกันในทุกฉบับบนโลก และภาษาอาหรับในคัมภีร์จึงเป็นภาษาโบราณภาษาเดียว ที่มีใช้อย่างคงเดิมอยู่จนกระทั่งวันนี้ได้ และได้กลายเป็นภาษามาตรฐานของประเทศอาหรับทั้งหลาย เป็นภาษาวิชาการของอิสลาม และเป็นภาษาที่ใช้ในการปฏิบัติศาสนพิธีของมุสลิมทุกคนทั่วโลก.

ใหม่!!: อาหรับและอัลกุรอาน · ดูเพิ่มเติม »

อัลอันดะลุส

อัลอันดะลุส (الأندلس; Al-Andalus) เป็นชื่อภาษาอาหรับของบริเวณคาบสมุทรไอบีเรียและเซ็พติเมเนียที่ปกครองโดยอาหรับและชาวมุสลิมในแอฟริกาเหนือ (ที่เรียกโดยทั่วไปว่ามัวร์) ในช่วงเวลาต่าง ๆ กันระหว่าง..

ใหม่!!: อาหรับและอัลอันดะลุส · ดูเพิ่มเติม »

อันวัร อัสซาดาต

มุฮัมมัด อันวัร อัสซาดาต (محمد أنور السادات; Muhammad Anwar al-Sadat; 25 ธันวาคม พ.ศ. 2461 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2524) นักการทหาร นักการเมืองและประธานาธิบดีแห่งอียิปต์ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2513 - 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: อาหรับและอันวัร อัสซาดาต · ดูเพิ่มเติม »

อายไลเนอร์

แสดงการวาดอายไลเนอร์สีน้ำตาล บริเวณใต้คิ้ว อายไลเนอร์ เป็นเครื่องสำอางที่ใช้สำหรับเน้นดวงตา จะใช้เขียนบริเวณรอบรูปทรงของตาเพื่อสร้างความหลากหลายในมุมมองของดวงตาที่จะทำให้ดูโตขึ้น แม้ว่าวัตถุประสงค์หลักจะมุ่งให้ผู้หญิงใช้ แต่ก็มีการขยายไปสู่ตลาดของกลุ่มผู้ชาย เรียกว่า กายไลเนอร์ (guy liner).

ใหม่!!: อาหรับและอายไลเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาหารตะวันออกกลาง

''Ash-e anār'' ซุปแบบอิหร่าน ''Kabsa'' ของซาอุดีอาระเบีย อาหารตะวันออกกลาง เป็นอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากแหล่งอารยธรรมใหญ่สามแหล่งคือเปอร์เซีย, อาหรับ และออตโตมาน เมื่อศาสนาอิสลามแพร่กระจายไปทำให้วัฒนธรรมการปรุงอาหารของตะวันออกกลางแพร่กระจายไปสู่อินเดีย มลายู - ชวา รวมทั้งประเทศไทย ลักษณะเด่นของอาหารตะวันออกกลางได้แก.

ใหม่!!: อาหรับและอาหารตะวันออกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรีวกีว

อาณาจักรรีวกีว (琉球王国 Ryūkyū Ōkoku; รีวกีว: Ruuchuu-kuku;; ค.ศ. 1429 — 1879) เป็นรัฐเอกราช ครอบครองหมู่เกาะรีวกีว เกือบทั้งหมดตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 - 19 ชื่อของอาณาจักรรีวกีวปรากฏในเอกสารต้นกรุงรัตนโกสินทร์ว่า ลิชี่ว (ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์) หรือ ลิ่วขิ่ว (โคลงภาพคนต่างภาษา) กษัตริย์ของอาณาจักรรีวกีวได้รวบรวมเกาะโอะกินะวะ ให้เป็นปึกแผ่น และขยายอาณาเขตไปถึงหมู่เกาะอะมะมิ (ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดคะโงะชิมะ และหมู่เกาะซะกิชิมะ ใกล้กับเกาะไต้หวัน แม้ว่าจะเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ แต่ก็มีบทบาทสำคัญทางด้านการค้าทางทะเลในยุคกลางของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: อาหรับและอาณาจักรรีวกีว · ดูเพิ่มเติม »

อิบน์ รุชด์

เมืองกอร์โดบา ประเทศสเปน อบูวาลิด มูฮัมมัด บิน อะห์หมัด อิบนิ รุชด์ หรือ อิบนุ รุชด์ (أبو الوليد محمد بن احمد بن رشد‎ หรือ ابن رشد‎, Averroes; 14 เมษายน ค.ศ. 1126 — 10 ธันวาคม ค.ศ. 1198) หรือที่รู้จักกันในชื่อ อาเวร์โรเอส (Averroes) เป็นแพทย์และนักปรัชญาชาวอาหรับ หมวดหมู่:แพทย์ หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวอาหรับ.

ใหม่!!: อาหรับและอิบน์ รุชด์ · ดูเพิ่มเติม »

อุมัร

อุมัร อิบนุลคอฏฏอบ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ เกิดราวปี ค.ศ. 586http://www.islamhouse.com/340440/th/th/articles/บางส่วนจากประวัติของท่านอุมัร_บิน_อัล-ค็อฏฏอบ ที่มักกะหฺ ในอาราเบีย นับถือศาสนาอิสลามราวปี..

ใหม่!!: อาหรับและอุมัร · ดูเพิ่มเติม »

อูฐสองหนอกป่า

อูฐสองหนอกป่า หรือ อูฐแบคเตรียป่า (Wild bactrian camel) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกสัตว์กีบคู่ขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายคลึงกับอูฐสองหนอก (C. bactrianus) ซึ่งเป็นสัตว์เลี้ยงของมนุษย์ อูฐสองหนอกป่า เป็นอูฐสองหนอกที่เป็นสัตว์ป่า และถือเป็นต้นสายพันธุ์ของอูฐสองหนอกในปัจจุบัน มีสองหนอกเพื่อใช้ในการเก็บไขมันเป็นพลังงานสำรองเป็นอูฐทั่วไป โดยไม่ได้ใช้เก็บน้ำ ได้ชื่อว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ที่ทนทรหดมากที่สุดในโลก และเป็นหนึ่งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีสถานะใกล้สูญพันธุ์มากที่สุดแล้วชนิดหนึ่งของโลก เนื่องจากเป็นสัตว์ที่พบกระจายพันธุ์เฉพาะในทะเลทรายทางตอนเหนือของประเทศจีนและมองโกเลีย เช่น ทะเลทรายโกบี, ทะเลทรายทากลามากัน และบางส่วนในคาซัคสถาน (และพบได้ตลอดฝั่งแม่น้ำในไซบีเรีย โดยมีการอพยพข้ามน้ำ) ซึ่งเป็นสถานที่ ๆ มีอุณหภูมิต่างกันสุดขั้ว โดยในช่วงเวลากลางวันอาจมีอุณหภูมิสูงถึง 40-50 องศาเซลเซียส ในขณะที่ช่วงกลางคืนในฤดูหนาวอาจมีอุณหภูมิถึง -40 หรือ -50 องศาเซลเซียสได้ แต่อูฐสองหนอกป่าสามารถที่จะดำรงชีวิตอยู่ได้ โดยกินเพียง พืชขนาดเล็ก ๆ ตามพื้นดิน และกินน้ำจากแหล่งน้ำที่เป็นน้ำเค็มจนเป็นเกล็ดเกลือกลางทะเลทราย เช่น ทะเลสาบลอปนอร์ได้ มีขนตายาว 2 ชั้นเพื่อป้องกันดวงตาจากฝุ่นทราย กีบเท้ามี 2 กีบแยกกันชัดเจนเวลาเมื่อเดิน เพื่อใช้สำหรับรับน้ำหนักบนพื้นทราย อูฐสองหนอกป่าสามารถนอนหลับในชั้นหิมะหนา ๆ ได้ในฤดูหนาว จัดเป็นอูฐที่ทนทรหดกว่าอูฐหนอกเดียว ที่พบในภูมิภาคอาหรับมาก อูฐสองหนอกป่า เป็นสัตว์ที่หากินเพียงลำพังตัวเดียวหรือเป็นฝูงเล็ก ๆ เป็นสัตว์ที่หาได้ยากที่สุดชนิดหนึ่งในโลก จนได้ชื่อว่า "อูฐผี" โดยถือว่าหายากกว่าแพนด้ายักษ์ คาดว่ามีเพียงไม่เกิน 2,000 ตัวเท่านั้นในโลก โดยพบในจีนประมาณ 600 ตัว และในมองโกเลียราว 300-350 ตัวเท่านั้น ในฤดูผสมพันธุ์ คือ ฤดูใบไม้ร่วงจะมารวมตัวกันนับร้อยตัว แต่ในฤดูใบไม้ผลิจะแยกย้ายกันอยู่ โดยในพื้นที่หนึ่งตารางกิโลเมตรอาจได้เพียง 5 ตัวเท่านั้น อูฐสองหนอกป่าเป็นสัตว์ที่ขี้อายมาก วิ่งได้เร็ว 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สามารถมองเห็นสิ่งที่ปรากฏบนเส้นขอบฟ้าได้ไกลถึง 20 กิโลเมตร จากการศึกษาทางพันธุกรรม พบว่าทั่วทั้งทวีปเอเชีย มีอูฐสองหนอกซึ่งเป็นสายพันธุ์แท้ ๆ ของอูฐสองหนอกป่าเพียง 30 ตัวเท่านั้น โดยผลการศึกษาพบว่าอูฐสองหนอกในปัจจุบันนั้นมีสายพันธุกรรมที่แตกต่างจากอูฐสองหนอกป.

ใหม่!!: อาหรับและอูฐสองหนอกป่า · ดูเพิ่มเติม »

อนิรุทธ์ กอมะ

อนิรุทธ์ กอมะ หรือที่นิยมเรียกและรู้จักกันดีในชื่อ ครูฮิม เป็นอดีตนักฟุตบอลเยาวชนทีมชาติไทยตำแหน่งกองกลาง และเป็นอดีตหัวหน้าผู้ฝึกสอนทีมสโมสรฟุตบอลสตูล อ.อนิรุทธ์ เคยได้รับฉายาว่า ไอ้หนูโคตรทรหด จากนักข่าวสยามกีฬาในขณะร่วมทีมเยาวชนทีมชาติไทยเนื่องจากทำการฝึกซ้อมกับทีมขณะทำการถือศีลอดในเดือนรอมดอนอย่างแข็งกล้า จนเป็นที่ชื่มชมของบรรดานักข่าว ผู้ฝึกสอนและเพื่อนร่วมทีม นอกจากนั้นท่านยังเป็นนักเตะมุสลิมหนึ่งเดียวจากภาคใต้ในทีมชุดนั้นอีกด้วย ปัจจุบันท่านทำหน้าที่เป็นอาจารย์ที่โรงเรียนสตูลวิทยา และเป็นผู้ฝึกสอนฟุตบอลเยาวชนของโรงเรียนและของจังหวัดสตูล.

ใหม่!!: อาหรับและอนิรุทธ์ กอมะ · ดูเพิ่มเติม »

ฮะมาฮ์

มาฮ์ (حماة) เป็นเมืองในประเทศซีเรีย บนฝั่งแม่น้ำออรอนตีส ตอนกลางของประเทศ เป็นเมืองสำคัญด้านการค้า เป็นเมืองใหญ่อันดับ 4 ของประเทศ มีชื่อเสียงในเรื่องกังหันทดน้ำมาตั้งแต่สมัยกลาง มีการกล่าวถึงเมืองนี้บ่อยครั้งในคัมภีร์ไบเบิลในฐานะเมืองที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของอาณาจักรอิสราเอล เป็นที่ตั้งถิ่นฐานในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ต่อมาเปลี่ยนไปอยู่ใต้การปกครองของอะราเมีย อัสซีเรีย เปอร์เซีย มาซิโดเนีย โรมัน ไบแซนไทน์ อาหรับ และอียิปต์ ตามลำดับ จนในปี..

ใหม่!!: อาหรับและฮะมาฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง

็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง ฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง (Jean-François Champollion) หรือ ช็องปอลียง เลอ เฌิน (Champollion le Jeune) เกิดที่เมืองฟีฌัก (Figeac) เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1790 มีความสนใจเกี่ยวกับเรื่องอียิปต์โบราณมาตั้งแต่อายุน้อย เรียนภาษาตะวันออกอย่างภาษาฮีบรู อาหรับ และคอปติก และเป็นคนแรกที่เขียนและอ่านออกเสียงอักษรไฮโรกลิฟฟิกได้ในปี..

ใหม่!!: อาหรับและฌ็อง-ฟร็องซัว ช็องปอลียง · ดูเพิ่มเติม »

จรวด

รวดโซยุซ-ยู (Soyuz-U) ณ ฐานปล่อยที่ 1/5 ไบโคนูร์ ไซต์1/5 (Baikonur's Site 1/5) ในคาซัคสถาน (Kazakhstan) การปล่อยจรวดแซทเทิร์น 5 อะพอลโล 15: เวลาเริ่มปล่อย T - 30 วินาที เวลาเสร็จสิ้น T + 40 วินาที จรวด หมายถึงขีปนาวุธ, ยานอวกาศ, เครื่องบิน หรือพาหนะอื่นใดที่อาศัยแรงผลักดันของไอเสียที่มีต่อตัวจรวดในการพุ่งไปข้างหน้า โดยใช้การเผาผลาญเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์จรวด ในจรวดทุกชนิดไอเสียจะเกิดขึ้นทั้งหมดจากเชื้อเพลิงขับดันที่บรรทุกไปด้วยภายในจรวดก่อนที่จะถูกใช้งาน chapter 1 จรวดเคมีสร้างพลังงานจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงจรวด ผลจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงและตัวอ๊อกซิไดซ์ภายในห้องเผาไหม้จะทำให้เกิดก๊าซร้อนที่มีอุณหภูมิสูงมากและขยายตัวออกไปทางหัวฉีดทำให้ก๊าซเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในระดับไฮเปอร์โซนิก ซึ่งทำให้เกิดแรงผลักมหาศาลต่อตัวจรวดตามกฎข้อที่สามของนิวตัน (แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา)โดยในทางทหารและสันทนาการมีประวัติของการใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือในช่วงเวลานั้น จรวดได้ถูกใช้สำหรับงานทางทหารและสันทนาการ ย้อนกลับไปอย่างน้อยศตวรรษที่ 13 ในประเทศจีน (China) "Rockets in Ancient Times (100 B.C. to 17th Century)" ในทางทหาร, วิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมได้ใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือแต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายจนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 20, เมื่อวิทยาการที่เกี่ยวกับจรวดได้ถือกำเนิดขึ้น เป็นการเปิดประตูสู่ยุคอวกาศ,กับการที่มนุษย์กำลังจะไปเหยียบดวงจันทร์ จรวดได้ถูกใช้สำหรับทำดอกไม้ไฟและอาวุธ, เก้าอี้ดีดตัวสำหรับนักบินและพาหนะสำหรับนำส่งดาวเทียม, นักบินอวกาศ และการสำรวจดาวเคราะห์ต่าง ๆ ในขณะที่จรวดที่ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพนั้นจะใช้สำหรับการขับเคลื่อนด้วยอัตราเร็วที่ต่ำ ๆ, นักวิทยาศาสตร์จะเปรียบเทียบหาจรวดที่มีแรงขับเคลื่อนในระบบอื่น ๆ, ที่มีน้ำหนักเบากว่าและมีประสิทธิภาพสูงกว่า, ทำให้สามารถสร้างความเร่งในการเคลื่อนที่ของจรวดได้มากขึ้น และสามารถทำให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วที่สูงอย่างยิ่งด้วยประสิทธิภาพที่เหมาะสม จรวดเคมีเป็นชนิดของจรวดที่พบมากที่สุดและพวกมันมักจะสร้างไอเสียโดยการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจรวด จรวดเคมีต้องการที่เก็บพลังงานเชื้อเพลิงที่มีขนาดใหญ่โตมากในรูปแบบที่พร้อมจะปลดปล่อยตัวเองออกมาได้อย่างง่ายดาย และมีอันตรายมาก อย่างไรก็ตาม, จะต้องทำด้วยการออกแบบอย่างรอบคอบ, การทดสอบ, การก่อสร้าง, และใช้ความเสี่ยงอันตรายให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้.

ใหม่!!: อาหรับและจรวด · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1

ักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 (First Bulgarian Empire, Първo Българско царство, Părvo Bălgarsko Tsarstvo) เป็นอาณาจักรในยุคกลางของบัลแกเรียที่ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: อาหรับและจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิแซสซานิด

ักรวรรดิซาสซานิยะห์ (ساسانیان, Sassanid Empire) ที่เป็นหนึ่งในจักรวรรดิเปอร์เชียและที่เป็นจักวรรดิสุดท้ายก่อนที่ศาสนาอิสลามจะเริ่มขึ้นเป็นหนึ่งในสองมหาอำนาจของเอเชียตะวันตกเป็นเวลากว่าสี่ร้อยปี ราชวงศ์ซาสซานิยะห์ก่อตั้งโดยอาร์ดาเชอร์ที่ 1 (Ardashir I) หลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิพาร์เธียนองค์สุดท้ายอาร์ตาบานัสที่ 4 (Artabanus IV) และมาสิ้นสุดลงเมื่อยาซเดเกิร์ดที่ 3 (Yazdegerd III) มาพ่ายแพ้หลังจากที่ทรงใช้เวลาถึงสิบสี่ปีในการต่อต้านจักรวรรดิกาหลิปรอชิดีนซึ่งเป็นหนึ่งในจักรวรรดิกาหลิปอิสลามที่ตามกันมา จักรวรรดิซาสซานิยะห์หรือที่เรียกว่า “Eranshahr” (“จักรวรรดิอิหร่าน”) ตั้งอยู่ในบริเวณที่เป็นปัจจุบันคืออิหร่าน, อิรัก, อาร์มีเนีย, ทางตอนใต้ของคอเคซัส (รวมทั้งทางตอนใต้ของดาเกสถาน), ตะวันตกเฉียงใต้ของเอเชียกลาง, ตะวันตกของอัฟกานิสถาน, บางส่วนของตุรกี, บางส่วนของซีเรีย, บริเวณริมฝั่งทะเลของคาบสมุทรอาหรับ, บริเวณอ่าวเปอร์เซีย และบางส่วนของทางตะวันตกเฉียงใต้ของปากีสถาน สมัยการปกครองของซาสซานิยะห์เป็นสมัยอันยาวนานของปลายสมัยโบราณและถือกันว่าเป็นสมัยที่สำคัญที่สุดและมีอิทธิพลที่สุดทางประวัติศาสตร์สมัยหนึ่งของ เป็นสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของวัฒนธรรมของเปอร์เซียแ ละเป็นจักรวรรดิอันยิ่งใหญ่จักรวรรดิสุดท้ายก่อนที่จะเริ่มยุคการพิชิตของมุสลิมและการยอมรับนับถือศาสนาอิสลาม วัฒนธรรมของเปอร์เซียมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมของโรมันเป็นอันมากในยุคซาสซานิยะห์J.

ใหม่!!: อาหรับและจักรวรรดิแซสซานิด · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: อาหรับและจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จิมมี คาร์เตอร์

รือเอก เจมส์ เอิร์ล "จิมมี" คาร์เตอร์ จูเนียร์ (James Earl "Jimmy" Carter, Jr) เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 39 ของสหรัฐอเมริกาในช่วงปี..

ใหม่!!: อาหรับและจิมมี คาร์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงปาเลสไตน์ในอาณัติ

งสหภาพ ธงเรือของปาเลสไตน์ในอาณัติ ธงปาเลสไตน์ในอาณัติ ค.ศ. 1920 จนถึง ค.ศ. 1948 ในทางพฤตินัย ธงชาติสหราชอาณาจักร หรือ ธงสหภาพ สำหรับใช้ในหน่วยราชการอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: อาหรับและธงปาเลสไตน์ในอาณัติ · ดูเพิ่มเติม »

ทรงชัย รัตนสุบรรณ

ทรงชัย รัตนสุบรรณ เกิดวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2489 ที่อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นโปรโมเตอร์สำคัญของวงการมวยไทย ในการผลักดันมวยไทยให้เป็นที่รู้จักในระดับสากล รวมถึงเป็นเจ้าของสโลแกน "มวยไทย มรดกไทย มรดกโลก" และเป็นผู้สร้างปรากฏการณ์ในวงการมวยไทยด้วยการเก็บเงินได้เกินหนึ่งล้านบาทได้ถึงสองครั้งภายในช่วงระยะเวลาไม่เกินหนึ่งเดือน รวมถึงมีผลงานที่ได้รับการกล่าวขวัญจากผู้ชมทั่วประเทศ คือการจัดคู่ชกระหว่างแรมโบ้ กับไพโรจน์น้อย ส.สยามชัย ในวันที่ 4 พฤศจิกายน 2529 ที่สนามมวยเวทีลุมพินีศักดิ์อำนว.

ใหม่!!: อาหรับและทรงชัย รัตนสุบรรณ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสุรนารี

อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ท้าวสุรนารี หรือ คุณหญิงโม (ต้นฉบับว่า ท่านผู้หญิงโม้)ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพร.

ใหม่!!: อาหรับและท้าวสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการไซออนิสต์

ีโอดอร์ เฮิร์ซล์ ผู้นำลัทธิไซออน ขบวนการไซออนิสต์ (Zionism) เป็นชื่อเรียกขบวนการคืนสู่มาตุภูมิประวัติศาสตร์ในดินแดนปาเลสไตน์ดั้งเดิม (The Eretz Israel) ของชนชาติยิว หลังถูกชาวอียิปต์ขับกระจัดกระจายนานนับศควรรษ ชาวยิวเชื่อว่า เมื่อใดที่ชาวยิวย้ายกลับมาครอบครองถิ่นเดิม จะเกิดความเจริญรุ่งเรืองดังที่เกิดแล้วสมัยกษัตริย์เดวิด ความเชื่อนี้ทำให้เกิดการรณรงค์เผยแพร่ความคิดที่เรียก "ไซออนิสต์" ขบวนการไซออนิสต์ยุคใหม่เริ่มเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยธีโอดอร์ เฮิร์ซล์ (Theodore Herzl) ซึ่งเป็นผู้พัฒนาแผนการทางการเมืองเพื่อให้บรรลุถึงความเป็นรัฐอิสระเหนืออาณาเขตที่ชาวปาเลสไตน์ครอบครอง ความคิดนี้ได้รับการสนับสนุนเพิ่มขึ้นเป็นลำดับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง วัตถุประสงค์และเป้าหมายนี้ได้รับการสนับสนุนโดยปฏิญญาบอลโฟร์ (Balfour Declaration) ในปี..

ใหม่!!: อาหรับและขบวนการไซออนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ดูไบ

ูไบ (دبيّ, Dubayy; Dubai) เป็นนครใหญ่สุดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีพื้นที่ประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 2 ล้านคน เมืองดูไบถือได้ว่าเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งบนโลก และมีอัตราการเจริญเติบโตของเมืองสูงมาก.

ใหม่!!: อาหรับและดูไบ · ดูเพิ่มเติม »

ครักเดเชอวาลีเย

รักเดเชอวาลีเย (Krak des Chevaliers, Crac des Chevaliers) หรือ ก็อลอะฮ์อัลฮิศน์ (قلعة الحصن) เป็นปราสาทครูเสดที่ตั้งอยู่ในประเทศซีเรีย ครักเดเชอวาลีเยเป็นปราสาทที่มีความสำคัญในการเป็นปราสาททางการทหารจากยุคกลางที่อยู่ในสภาพที่ดีที่สุดในโลก คำว่า "Krak" ในชื่อมาจากภาษาซีรีแอก "karak" ที่แปลว่าป้อมปราการ ปราสาทอยู่ห่างจากเมืองฮอมส์ไปทางตะวันตกราว 65 ใกล้กับพรมแดนเลบานอน.

ใหม่!!: อาหรับและครักเดเชอวาลีเย · ดูเพิ่มเติม »

คลิฟฟ์ เคอร์ติส

ลิฟฟอร์ด วิเวียน เดวอง "คลิฟฟ์" เคอร์ติส (Clifford Vivian Devon Curtis)) เป็นนักแสดงชาวนิวซีแลนด์เชื้อสายชนพื้นเมืองมาวรี มีผลงานการแสดงภาพยนตร์ฮอลลีวูดที่รับบทบาทเป็นคนเชื้อสายต่างๆ หลากหลาย ทั้งชาวละตินอเมริกัน ชาวอาหรับ ชาวอินเดีย เคอร์ติสเกิดที่เมืองโรโตรัว อยู่ชายฝั่งทางตอนเหนือของเกาะเหนือ ประเทศนิวซีแลนด์ สืบเชื้อสายมาจากชาวมาวรีเผ่า เตอาราวา เริ่มงานแสดงจากการแสดงละครเวทีหลังจากจบมัธยมปลาย มีผลงานภาพยนตร์เรื่องแรกในปี 1993 จากบทเล็กๆ ในเรื่อง The Piano ผลงานกำกับของเจน แคมเปียน และเริ่มมีชื่อเสียงในระดับนานาชาติจากภาพยนตร์เรื่อง Whale Rider ในปี 2002 ผลงานกำกับของนิกี คาโร โดยรับบทเป็นพ่อของคีชา แคสเซิล-ฮิว.

ใหม่!!: อาหรับและคลิฟฟ์ เคอร์ติส · ดูเพิ่มเติม »

ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ

วามผิดปกติทางบุคลิกภาพ (personality disorders, ตัวย่อ PD) เป็นหมวดหมู่ของความผิดปกติทางจิตต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นรูปแบบพฤติกรรม รูปแบบทางประชาน และรูปแบบประสบการณ์ทางใจที่ปรับตัวอย่างไม่เหมาะสม (maladaptive) ที่ยั่งยืน โดยปรากฏในสถานการณ์ต่าง ๆ หลายอย่าง และออกนอกลู่นอกทางอย่างสำคัญจากที่ยอมรับได้ในสังคมและวัฒนธรรมของบุคคลนั้น รูปแบบเหล่านี้จะพัฒนาขึ้นตั้งแต่เบื้องต้นของชีวิต ยืดหยุ่นไม่ได้ และสัมพันธ์กับความทุกข์กับความพิการในระดับสำคัญ แต่ว่านิยามที่จำเพาะอาจจะต่างกันได้แล้วแต่ที่มา เกณฑ์วินิจฉัยความผิดปกติทางบุคลิกภาพอยู่ในคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (DSM) ที่จัดพิมพ์โดยสมาคมจิตเวชอเมริกัน (American Psychiatric Association ตัวย่อ APA) และในหัวข้อ "ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม (mental and behavioral disorders)" ในบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (ตัวย่อ ICD) ที่เผยแพร่โดยองค์การอนามัยโลก DSM-5 รุ่นที่พิมพ์ในปี 2556 กำหนดความผิดปกติทางบุคลิกภาพเช่นเดียวกับความผิดปกติทางจิต (mental disorders) อื่น ๆ แทนที่จะอยู่ใน "axis" ที่ต่างกันตามที่เคยทำมาก่อน ๆ บุคลิกภาพตามนิยามของจิตวิทยา เป็นเซตของลักษณะทางพฤติกรรมและทางจิตที่คงทน ที่ทำให้มนุษย์แต่ละคนต่างกัน ดังนั้น ความผิดปกติทางบุคลิกภาพจึงกำหนดโดยประสบการณ์ (ทางใจ) และพฤติกรรม ที่ต่างจากมาตรฐานและความคาดหวังของสังคม คนผิดปกติเช่นนี้ อาจประสบความยากลำบากทางประชาน (cognition) ความไวอารมณ์ (emotiveness) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (interpersonal functioning) และการควบคุมความหุนหันพลันแล่น (impulse control) โดยทั่วไปแล้ว คนไข้จิตเวชร้อยละ 40-60 จะได้รับวินิจฉัยว่ามีความผิดปกติเช่นนี้ จึงเป็นกลุ่มโรคที่วินิจฉัยบ่อยครั้งที่สุดในบรรดาโรคจิตเวช ความผิดปกติทางบุคลิกภาพกำหนดโดยรูปแบบพฤติกรรมที่คงทน บ่อยครั้งสัมพันธ์กับความขัดข้องในชีวิตส่วนตัว ชีวิตทางสังคม หรือทางอาชีพ นอกจากนั้นแล้ว ความผิดปกติเช่นนี้ยืดหยุ่นไม่ได้ และแพร่กระจายไปในสถานการณ์มากมาย ซึ่งส่วนใหญ่อาจจะมาจากเหตุที่ว่า พฤติกรรมเช่นนี้เข้ากับทัศนคติเกี่ยวกับตน (ego-syntonic) ของบุคคลนั้นได้ ดังนั้น บุคคลนั้นจึงพิจารณาว่าเป็นพฤติกรรมที่เหมาะสม แต่เป็นพฤติกรรมที่อาจมีผลเป็นทักษะจัดการปัญหาและความเครียด (coping skill) ที่ปรับตัวได้อย่างไม่เหมาะสม และนำไปสู่ปัญหาส่วนตัวที่สร้างความวิตกกังวล ความทุกข์ และความเศร้าซึมอย่างรุนแรง รูปแบบพฤติกรรมเช่นนี้จะกำหนดได้ตั้งแต่ช่วงวัยรุ่นและต้นวัยผู้ใหญ่ และในบางกรณีที่พิเศษ ในช่วงวัยเด็ก มีประเด็นปัญหาหลายอย่างในการจัดหมวดหมู่ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ คือมีนิยามต่าง ๆ หลายแบบ และเพราะว่าทฤษฎีและการวินิจฉัยเกี่ยวกับความผิดปกติจะต้องเกิดภายในความคาดหวังปกติของสังคม นักวิชาการบางท่านจึงคัดค้านความสมเหตุสมผลของทฤษฎีและการวินิจฉัย เพราะว่าเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องอาศัยมูลฐานบางอย่างที่เป็นอัตวิสัย (subjective) คือพวกเขาอ้างว่า ทฤษฎีและการวินิจฉัยมีมูลฐานอยู่ที่พิจารณาญาณทางสังคม หรือทางสังคม-การเมืองและทางเศรษฐกิจ (ดังนั้น จึงอาจจะไม่ใช่ปัญหาทางการแพทย์).

ใหม่!!: อาหรับและความผิดปกติทางบุคลิกภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ความทรงจำแห่งโลก

วามทรงจำแห่งโลก (Memory of the World, Mémoire du monde.) คือแผนงานที่องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโก กำหนดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) เพื่อมีวัตถุประสงค์เพื่อการอนุรักษ์ และการเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาของโลกที่บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ไม่ว่าจะเป็นการบันทึกไว้ในรูปแบบใดหรือของประเทศใดก็ตาม ถือว่าเป็นแหล่งรวมความคิด ความรู้ ประสบการณ์ ที่สามารถสะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทั้งในด้านของวัฒนธรรม จากสังคมในอดีตให้แก่สังคมปัจจุบัน และเพื่อที่จะสืบสานส่งต่อให้แก่สังคมในอนาคต.

ใหม่!!: อาหรับและความทรงจำแห่งโลก · ดูเพิ่มเติม »

คาลิฟา ซีเซ

ลิฟา ซีเซ (Kalifa Cissé; เกิดวันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 1984 ที่เดรอ,จังหวัดเออเรลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส) เป็นนักฟุตบอลตำแหน่งกองกลางตัวรับ ชาวมาลี โดยคาลิฟา ซีเซ เคยเป็นนักฟุตบอลระดับเยาวชน ของสโมสรฟุตบอลตูลูส ในประเทศฝรั่งเศส และเริ่มต้นเล่นฟุตบอลระดับอาชีพที่ประเทศโปรตุเกสในระดับปรีไมรา ลีกาซึ่งเป็นลีกสูงสุดกับสโมสรฟุตบอล เอสตูริล ปรายา และสโมสร เบาวิสต้า จากนั้นเขาย้ายไปเล่นในพรีเมียร์ลีกกับสโมสรเร้ดดิ้ง ก่อนจะย้ายมาเล่นในระดับลีก แชมเปียนชิพกับสโมสรฟุตบอลบริสตอล ซิตี และดาร์บี้ เคาน์ตี้ ในปี..

ใหม่!!: อาหรับและคาลิฟา ซีเซ · ดูเพิ่มเติม »

คธูลู

ูลูในนครรุลูเยห์ คธูลู (Cthulhu), คธุลฮู, คุลลูหรือธูลู (ชื่อจริงของคธูลูนั้นเป็นภาษาที่มนุษย์ไม่สามารถออกเสียงได้ถูกต้อง) เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เกรทโอลด์วัน ในงานประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ คธูลูปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น "เสียงเรียกของคธูลู" (The Call of Cthulhu) ซึ่งตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2471 และมีบทบาทเล็กๆในงานเขียนเรื่องอื่นๆของเลิฟคราฟท์ ออกัสต์ เดอเลธใช้ศัพท์คำว่า ตำนานคธูลู (Cthulhu Mythos) เพื่อจำแนกงานเขียนของเลิฟคราฟท์และตัวเขาเองที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกัน ซึ่งในเวลาต่อมาได้รวมถึงงานประพันธ์ของคนอื่นๆซึ่งใช้ตัวละครและเนื้อหาแบบเดียวกันทั้งหมด (เรียกได้อีกอย่างว่าเรื่องสยองขวัญแนวเลิฟคราฟท์ (Lovecraftian horror) ชื่อของคธูลูมักใช้เปรียบเทียบในความหมายของสิ่งที่น่าสะพรึงกลัว.

ใหม่!!: อาหรับและคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

คีร์คูก

ีร์คูก หรือ เคอร์คูก (เคอร์ดิช: Kerkûk/که‌رکووک, อราเมอิก:ܐܪܦܗܐ, Kerkük; Kirkuk หรือ Karkuk หรือ Kerkuk) เป็นเมืองในประเทศอิรัก เป็นเมืองหลวงของจังหวัดคีร์คูก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ เป็นศูนย์กลางการเกษตรและตลาด มีการเลี้ยงแกะและมีแหล่งน้ำมัน เป็นเมืองปลายทางของเส้นทางรถไฟจากกรุงแบกแดด เป็นดินแดนอาหรับแห่งแรก ๆ ที่พบน้ำมันในคริสต์ศตวรรษที่ 20 การผลิตน้ำมันหยุดชะงักไประหว่างทศวรรษ 1980 เนื่องจากสงครามระหว่างอิหร่านกับอิรัก.

ใหม่!!: อาหรับและคีร์คูก · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันออกกลาง

แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.

ใหม่!!: อาหรับและตะวันออกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลเกาะสอง

ตำบลเกาะสอง (ကော့သောင်မြို့နယ်; Kawthaung Township) หนึ่งในสองตำบลของเขตการปกครองเขตเกาะสอง เขตตะนาวศรี ประเทศพม่า โดยมีเมืองเอกคือ เมืองเกาะสอง.

ใหม่!!: อาหรับและตำบลเกาะสอง · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: อาหรับและต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ซามาร์คันด์

ซามาร์คันด์ (سمرقند; อุซเบก: Самарқанд) เป็นเมืองเก่าแก่ที่สุดเมืองหนึ่งในเอเชียกลาง ตั้งอยู่ในประเทศอุซเบกิสถาน เป็นโอเอซิสซึ่งได้รับน้ำมาจากคลองที่ขุดมาจากแม่น้ำซารัฟชาน ชื่อเดิมของเมืองซามาร์คันด์ คือ เมืองมาระกันดะ เมื่อปี 329 ก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซิโดเนียเสด็จผ่านเมืองนี้เพื่อที่จะเดินทางไปอินเดีย จึงได้ยึดเอาไว้ ต่อจากนั้น พวกเติร์ก พวกอาหรับ และพวกเปอร์เซียก็เข้าปกครองเมืองนี้ต่อ ๆ กันมา เมืองซามาร์คันด์แห่งนี้เจริญรุ่งเรืองสูงสุดในยุคกลาง และในปี พ.ศ. 1758 (ค.ศ. 1215) เจงกิสข่านแผ่อาณาจักรเข้าควบคุมเส้นทางสายไหม แล้วได้ยึดซามาร์คันด์ในปี พ.ศ. 1764 (ค.ศ. 1221) อีก 100 ปีต่อมา เมืองนี้ก็เหลือแต่ซาก ข่านติมูร์ เลงค์ เป็นผู้ทรงทำให้เมืองนี้เจริญขึ้น ติมุร์สถาปนาพระองค์เป็นกษัตริย์สืบสายวงศ์จากซากะไตข่าน ราวปี พ.ศ. 1910 (ค.ศ. 1367) จักรวรรดิมองโกลเสื่อมลง ติมุร์มุ่งมั่นจะเป็นผู้นำความรุ่งโรจน์คืนสู่จักรวรรดิดังเดิม จึงนำทัพเข้ายัดดินแดนตั้งแต่ทะเลดำไปจรดลุ่มน้ำสินธุ บุกทำลายบ้านเมืองจนสิ้นซาก ฆ่าฟันผู้คนจนสิ้นเมือง แล้วนำกะโหลกมากองสร้างเป็นพีระมิด ติมุร์ไว้ชีวิตแต่พวกช่างฝีมือ ทั้ง จากอาเซอร์ไบจาน อิสฟาฮาน ชิราซ เดลี และดามัสกัส ช่างเหล่านี้ได้ถูกส่งมาเนรมิตซามาร์คันด์ให้กลายเป็นนครที่สวยงามอีกครั้ง มีสิ่งก่อสร้างรูปโดม ประดับประดาไปด้วยลวดลายโมเสกที่สวยงาม และได้สร้างสุเหร่าที่ใหญ่ที่สุดในโลกอิสลาม สุเหร่าแห่งนี้ชื่อว่า บิบิ คะนุม เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 1942 (ค.ศ. 1399) ใช้เวลาก่อสร้างนาน 5 ปี ใช้ช่างฝีมือ 200 คน แรงงาน 500 คน ช้างอีก 95 เชือก ปัจจุบันยังคงโดดเด่นตระหง่านเหนือเมือง และที่หน้าสุเหร่ายังมีแท่นซึ่งเดิมวางคัมภีร์อัลกุรอานที่ใหญ่ถึง 2 เมตร พระเจ้าติมุร์สิ้นพระชนม์ในจีนเมื่อปี พ.ศ. 1948 (ค.ศ. 1405) พระศพฝังอยู่ที่สุสานในเมืองซามาร์คันด์ ต่อมาในรัชสมัยของพระเจ้าอุลุค เบก ซามาร์คันด์ได้กลายเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมและวิทยาการ พระองค์ทรงสร้างอาคารสองชั้นเพื่อใช้เป็นวิทยาลัยเทววิทยา ด้านหน้าอาคารประดับไปด้วยลวดลายที่งดงาม และยังทรงสร้างหอดูดาวที่มีเครื่องมือสังเกตการณ์ทันสมัยที่สุดในเวลานั้น และ ในปี พ.ศ. 1992 (ค.ศ. 1449) พระเจ้าอุลุค เบก ถูกลอบปลงพระชนม์ หลังจากนั้นนครนี้ก็ได้เสือมถอยลงอย่างรวดเร็วพร้อมกับเส้นทางสายไหมได้ถูกปิดลง และในปี พ.ศ. 2043 (ค.ศ. 1500) นครนี้ก็ได้ถูกพวกโกลเดน ฮอร์ด มองโกลผู้ครอบดินแดนเหนือทะเลสาบแคสเปี่ยนจนไปถึงรัสเซีย มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเคียฟ เข้ายึดครอบครอง และ ราวศตวรรติที่ 18 นครแห่งนี้จนเสื่อมและร้างผู้คนเป็นเวลา 50 ปี ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็ตกเป็นดินแดนของรัสเซีย ซามาร์คันด์มีฐานะเป็นเมืองหลวงของเขตปกครองนี้ มีการตัดเส้นทางรถไฟในปี พ.ศ. 2439 (ค.ศ. 1896) และกลายเป็นศูนย์กลางการส่งออกสินค้าเกษตร ภายหลังดินแดนนี้ได้ถูกแยกกลายเป็นส่วนหนึ่งประเทศอุซเบกิสถานปัจจุบันและก็ได้กลายเป็นเมืองมรดกโลก หมวดหมู่:เมืองในประเทศอุซเบกิสถาน หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศอุซเบกิสถาน หมวดหมู่:มรดกโลกทางวัฒนธรรม หมวดหมู่:ประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: อาหรับและซามาร์คันด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซามี เคดีรา

ซามี เคดีรา (Sami Khedira) (อาหรับ: سامي خضيرة ซามี เคาะดีเราะฮ์) เกิดเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1987 ที่เมืองชตุทท์การ์ท ประเทศเยอรมนีตะวันตก เป็นนักฟุตบอลชาวเยอรมันเชื้อสายตูนิเซีย ตำแหน่งกองกลาง ปัจจุบันอยู่สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในลาลีกา และได้ร่วมฟุตบอลทีมชาติเยอรมนีตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009.

ใหม่!!: อาหรับและซามี เคดีรา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์

วาดทางกายวิภาคแสดงหลอดเลือดดำในร่างกาย ในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ประวัติการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาตั้งแต่การผ่าร่างกายของเหยื่อจากการสังเวยในสมัยโบราณ ไปจนถึงการวิเคราะห์อย่างละเอียดซับซ้อนถึงการทำงานของร่างกายโดยนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาวิชานี้มีลักษณะเฉพาะมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนาถึงการทำความเข้าใจในหน้าที่และโครงสร้างของอวัยวะในร่างกายอย่างต่อเนื่อง การศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่มีเกียรติและนับว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความโดดเด่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 วิธีการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ก็มีการพัฒนาอย่างมากมายตั้งแต่การศึกษาในสัตว์ไปจนถึงการศึกษาในศพของมนุษย์ และการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: อาหรับและประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฟิสิกส์

''Table of Mechanicks'', 1728 ''Cyclopaedia''. ประวัติศาสตร์ของฟิสิกส์ คือ การศึกษาการเติบโตของฟิสิกส์ไม่ได้นำมาเพียงแค่การเปลี่ยนแปลงแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับโลกแห่งวัตถุ คณิตศาสตร์ และ ปรัชญา เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี และการเปลี่ยนรูปแบบของสังคม ฟิสิกส์ถูกพิจารณาในแง่ของทั้งตัวเนื้อความรู้และการปฏิบัติที่สร้างและส่งผ่านความรู้ดังกล่าว การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ซึ่งเริ่มต้นประมาณปี ค.ศ. 1600 เป็นขอบเขตง่าย ๆ ระหว่างแนวคิดโบราณกับฟิสิกส์คลาสสิก ในปี ค.ศ. 1900 จึงเป็นจุดเริ่มต้นของฟิสิกส์ยุคใหม่ ทุกวันนี้วิทยาศาสตร์ยังไม่มีอะไรแสดงถึงจุดสมบูรณ์ เพราะการค้นพบที่มากขึ้นนำมาซึ่งคำถามที่เกิดขึ้นจากอายุของเอกภพ ไปถึงธรรมชาติของสุญญากาศ และธรรมชาติในที่สุดของสมบัติของอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอม ทฤษฎีบางส่วนเป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่ฟิสิกส์ได้เสนอในปัจจุบันนี้ อย่างไรก็ตามรายนามของปัญหาที่ยังแก้ไม่ได้ของฟิสิกส์ ก็ยังคงมีมากอยู.

ใหม่!!: อาหรับและประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทย

วิวัฒนาการเงินตราไทยในอดีต วิวัฒนาการเงินตราไทย เริ่มตั้งแต่กลุ่มชนดั้งเดิมในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ได้อาศัยอยู่ในดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันตั้งแต่ราว 38,000 ปีมาแล้ว ก่อนจะได้รับวัฒนธรรมจากอินเดียนั้น กลุ่มชนเหล่านี้ติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้ากัน โดยใช้สิ่งของเป็นสื่อกลาง เมื่อวัฒนธรรมอินเดียแพร่เข้ามาจึงเริ่มผลิตเงินตราเป็นสื่อกลางค้าขาย ช่วงพุทธศตวรรษที่ 6-16 ในวัฒนธรรมแบบฟูนัน-ทวารวดี ได้ผลิตเหรียญกลมแบนจากโลหะเงิน ดีบุก ทองแดง โดยใช้แม่พิมพ์ตราสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น พระอาทิตย์ สังข์ แพะ ปูรณกลศ ตัวอักษร เป็นต้น ซึ่งสื่อถึงความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ อำนาจรัฐ กษัตริย์ และความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ ช่วงพุทธศตวรรษที่ 13-18 อาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งเป็นเมืองท่าค้าขายบริเวณคาบสมุทรภาคใต้ของไทยมีอำนาจควบคุมเส้นทางการค้าทางทะเล มีการผลิตเงินดอกจันทน์และเงินนโม เพื่อระบบเศรษฐกิจอย่างแพร่หลาย ราวพุทธศตวรรษที่ 19 ราชอาณาจักรสุโขทัยและล้านนาก็ถือกำเนิดขึ้นและได้ติดต่อค้าขายกับราชอาณาจักรในลุ่มเจ้าพระยา คือ กรุงศรีอยุธยา ตลอดจนดำเนินการค้าทางทะเลกับจีน อินเดีย ยุโรป และได้ติดต่อค้าขายกับกลุ่มชนทางตอนเหนือของไทย เช่น ล้านช้าง ยูนาน น่านเจ้า เป็นต้น และไปไกลถึงเปอร์เซีย อาหรับ ในดินแดนตะวันออกกลาง ราชอาณาจักรสุโขทัย ล้านนา กรุงศรีอยุธยา ได้ผลิตคิดค้นเงินตราขึ้นใช้ในระบบเศรษฐกิจ พร้อมกันนั้นก็ยอมรับเงินตราของต่างชาติด้วย เงินตราที่ใช้ในอาณาจักรล้านนา ได้แก่ เงินไซซี เงินกำไล เงินเจียง เงินท้อก เงินดอกไม้ ส่วนราชอาณาจักรสุโขทัยและอยุธยาได้ผลิตเงินพดด้วง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะของตนเองขึ้นใช้ และใช้เบี้ยหอยแทนเงินปลีกย่อย บางครั้งเบี้ยหอยขาดแคลนก็ได้ผลิตเบี้ยโลหะและประกับดินเผาขึ้นใช้ร่วมด้วย ภายหลังราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาสลายลง กรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ถือกำเนิดขึ้นตามลำดับ ก็ยังคงใช้เงินพดด้วงเช่นครั้งกรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งถึงรัชกาลที่ 4 การเปิดประเทศสยามสู่อารยประเทศ มีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบเงินตราให้เป็นสากล นำไปสู่การผลิตเงินตราในลักษณะเหรียญกลมแบนออกใช้เป็นครั้งแรก ต่อมารัชกาลที่ 5 จึงทรงประกาศยกเลิกการใช้เงินพดด้วง นับตั้งแต่นั้นเงินตราไทยจึงคงลักษณะเป็นเหรียญกลมแบนต่อเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: อาหรับและประวัติศาสตร์หน่วยเงินในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ทิเบต

ทิเบต ตั้งอยู่ในใจกลางของทวีปเอเชียระหว่างประเทศจีนกับอินเดีย ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในบริเวณที่มีภูเขาและที่ราบสูงที่สุดในโลก มีอากาศแห้งและหนาวเย็น รวมทั้งที่ราบกลางหุบเขาริมแม่น้ำอันกว้างใหญ่หลายสาย อันเป็นที่พำนักพิงของชาวธิเบต ผู้ซึ่งมีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง มาเป็นเวลาช้านาน และมีชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างจากผู้คนในประเทศเพื่อนบ้าน ชาวธิเบตได้มีการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ในตนเอง ทั้งยังมีการพัฒนาด้านสติปัญญาและจิตใจ ได้แก่ การมีภาษาที่โดดเด่น มีวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่ และมีผลงานศิลปะที่น่ามหัศจรรย์ นอกจากนี้ อารยธรรมของชาวธิเบต ซึ่งสืบเนื่องมาเป็นเวลาหลายพันปีนั้น ยังเป็นอารยธรรมที่สูงส่ง และมีคุณค่าสืบทอดต่อกันมา เป็นมรดกของมนุษยชาต.

ใหม่!!: อาหรับและประวัติศาสตร์ทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาตาร์

กาตาร์ (قطر‎) หรือชื่อทางการคือ รัฐกาตาร์ (دولة قطر) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรขนาดเล็กที่แตกมาจากคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และมีชายฝั่งริมอ่าวเปอร์เซี.

ใหม่!!: อาหรับและประเทศกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมัลดีฟส์

มัลดีฟส์ (Maldives; ދިވެހިރާއްޖެ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมัลดีฟส์ (Republic of Maldives; ހިވެދި ގުޖޭއްރާ ޔާއްރިހޫމްޖު) เป็นประเทศที่มีพื้นที่ประกอบด้วยหมู่เกาะปะการังจำนวนมากในมหาสมุทรอินเดีย และตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดียและประเทศศรีลังก.

ใหม่!!: อาหรับและประเทศมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: อาหรับและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: อาหรับและประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮอนดูรัส

อนดูรัส (อังกฤษและHonduras) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฮอนดูรัส (Republic of Honduras; República de Honduras) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคอเมริกากลาง (ลาตินอเมริกา) ครั้งหนึ่งเคยถูกเรียกว่า สแปนิช ฮอนดูรัส เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนกับ บริติช ฮอนดูรัส ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเบลิซ มีอาณาเขตติดต่อกันดังนี้คือ ทิศตะวันตกติดต่อกับกัวเตมาลา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับเอลซัลวาดอร์ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับนิการากัว ทิศใต้จรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจรดอ่าวฮอนดูรัสและทะเลแคริบเบียน และอยู่ห่างจากเบลีซ 75 กิโลเมตร (50 ไมล์) ตามชายฝั่งอ่าวฮอนดูรัส ฮอนดูรัสเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สำคัญหลายแห่ง ที่โด่งดังก็คือ มายา ถูกพิชิตโดยสเปนซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลซึ่งส่งผลถึงปัจจุบันทั้งทางด้านภาษาและขนบธรรมเนียมในหลายด้านตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ฮอนดูรัสประกาศเอกราชเมื่อปี 1821 และกลายเป็นสาธารณรัฐเมื่อหมดยุคของสเปน ประเทศมีขนาด 112,492 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อว่า เตกูซิกัลปา บางส่วนทางตอนเหนือเป็นส่วนหนึ่งของแคริบเบียนตะวันตก ฮอนดูรัสมีชื่อเสียงทางด้านการส่งออกแร่ กาแฟ ผลไม้เมืองร้อน อ้อย และล่าสุดกับการส่งออกเสื้อผ้าไปยังตลาดนานาชาติมากขึ้น.

ใหม่!!: อาหรับและประเทศฮอนดูรัส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตูนิเซีย

ตูนิเซีย (Tunisia; تونس‎) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตูนิเซีย (Tunisian Republic; الجمهورية التونسية) เป็นประเทศอาหรับมุสลิมที่ตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศทางตะวันออกสุดและเล็กที่สุดของ 3 ประเทศบนเทือกเขาแอตลาส (Atlas mountains) มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดประเทศแอลจีเรีย และทางใต้และตะวันตกจรดประเทศลิเบีย พื้นที่ร้อยละ 40 ของประเทศประกอบด้วยทะเลทรายสะฮารา ในขณะที่ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่ประกอบด้วยพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ และชายฝั่งที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ทั้งคู่มีบทบาทอย่างมากในสมัยโบราณ เริ่มต้นด้วยการก่อตั้งเมืองคาร์เทจ (Carthage) ที่มีชื่อของชาวฟีนีเชีย (Phoenicia) และในเวลาต่อมาได้กลายเป็นพื้นที่มณฑลแอฟริกา (Africa Province) เป็นพื้นที่อู่ข้าวอู่น้ำของอาณาจักรโรมัน สันนิษฐานว่า ชื่อ ตูนิส (Tunis) มาจากภาษาเบอร์เบอร์ (Berber) แปลว่าแหลมซึ่งสอดคล้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ที่เป็นแหลมยื้นเข้าไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน หรือ อีกความหมายหนึ่งนั้น แปลว่า "พักแรม".

ใหม่!!: อาหรับและประเทศตูนิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซาอุดีอาระเบีย

ซาอุดีอาระเบีย (Saudi Arabia; السعودية) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (المملكة العربية السعودية) เป็นรัฐอาหรับในเอเชียตะวันออกกลาง กินอาณาบริเวณกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่ประมาณ 2,149,690 ตารางกิโลเมตร ประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในโลกอาหรับรองจากประเทศแอลจีเรีย ประเทศซาอุดีอาระเบียมีพรมแดนติดประเทศจอร์แดนและอิรักทางเหนือ ประเทศคูเวตทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศกาตาร์ บาห์เรนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทางตะวันออก ประเทศโอมานทางตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศเยเมนทางใต้ เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งติดทั้งทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย และภูมิประเทศส่วนใหญ่ประกอบด้วยทะเลทรายแห้งแล้ง อยู่อาศัยไม่ได้ หรือธรณีสัณฐานไม่อุดม พื้นที่ประเทศซาอุดีอาระเบียสมัยใหม่ประกอบด้วยสี่ภูมิภาคสำคัญ ได้แก่ ฮิญาซ นัจญด์ และบางส่วนของอาระเบียตะวันออกและอาระเบียใต้ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียก่อตั้งในปี 2475 โดย พระเจ้าอิบนุ ซะอูด (King Ibnu Saud) พระองค์ทรงรวบรวมสี่ภูมิภาคเข้าเป็นรัฐเดี่ยวผ่านชุดการพิชิตเริ่มตั้งแต่ปี 2445 ด้วยการยึดรียาด บ้านบรรพบุรุษแห่งราชวงศ์ซะอูดของพระองค์ นับแต่นั้น ประเทศเป็นสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นเผด็จการสืบสายโลหิตที่ปกครองตามแบบอิสลาม ขบวนการศาสนาวะฮาบีย์ภายในนิกายซุนนีย์ถูกเรียกว่า "ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมซาอุดีอาระเบีย" บ้างเรียกประเทศซาอุดีอาระเบียว่า "ดินแดนสองมัสยิดศักดิ์สิทธิ์" โดยหมายถึง อัลมัสยิดอัลฮาราม (Al-Masjid al-Haram) ในมักกะฮ์ และอัลมัสยิดอันนาบาวี (Al-Masjid al-Nabawi) ในมะดีนะฮ์ ซึ่งเป็นสองมัสยิดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนาอิสลาม แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย มีประชากร 28.7 ล้านคน สัญชาติซาอุดีอาระเบีย 20 ล้านคน และ 8.7 ล้านคนเป็นชาวต่างประเทศ มีการค้นพบปิโตรเลียมในปี 2481 และประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้ผลิตและส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของโลกแต่ต่อไปน้ำมันคงไร้ความหมาย โดยควบคุมน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก ราชอาณาจักรจัดอยู่ในเศรษฐกิจรายได้สูงของธนาคารโลกโดยมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูง และเป็นประเทศอาหรับประเทศเดียวที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 ทว่า เศรษฐกิจซาอุดีอาระเบียมีความหลากหลายน้อยที่สุดในสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรเป็นอัตตาธิปไตยราชาธิปไตยและฟรีดอมเฮาส์จัดว่า "ไม่เสรี" ประเทศซาอุดีอาระเบียมีรายจ่ายทางทหารสูงสุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และในปี 2553–2557 SIPRI พบว่าประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของโลก ประเทศซาอุดีอาระเบียถือว่าเป็นอำนาจภูมิภาคและปานกลาง นอกเหนือจากสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรยังเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมืออิสลามและโอเปคและนอกจากนี้ยังเริ่มมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางทะเลอีกด้ว.

ใหม่!!: อาหรับและประเทศซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูดาน

ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.

ใหม่!!: อาหรับและประเทศซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซีเรีย

ประเทศซีเรีย (Syria; سورية ซูริยา) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย (Syrian Arab Republic; الجمهورية العربية السورية) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีพรมแดนทิศตะวันตกจดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทิศตะวันออกจดประเทศอิรัก ทิศใต้จดประเทศจอร์แดน และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศอิสราเอล กรุงดามัสกัส เมืองหลวง เป็นนครที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ประเทศซีเรียเป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ ภูเขาสูงและทะเลทราย มีประชากรกลุ่มชาติพันธุ์และศาสนาหลากหลาย ส่วนมากเป็นชาวอาหรับ ซึ่งรวมอลาวียะห์ ดรูซ มุสลิมซุนนีย์และคริสต์ศาสนิกชน กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ได้แก่ ชาวอาร์มีเนีย อัสซีเรีย เคิร์ดและเติร์ก ชาวอาหรับซุนนีย์เป็นกลุ่มประชากรใหญ่ที่สุดในประเทศซีเรีย ในภาษาอังกฤษ เดิมชื่อ "ซีเรีย" สมนัยกับเลแวนต์ (ภาษาอาหรับว่า al-Sham) ขณะที่รัฐสมัยใหม่ครอบคลุมที่ตั้งของราชอาณาจักรและจักรวรรดิโบราณหลายแห่ง รวมถึงอารยธรรมเอบลา (Ebla) ในสหัสวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ในสมัยอิสลาม ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ และเมืองเอกในรัฐสุลต่านมัมลุกในอียิปต์ รัฐซีเรียสมัยใหม่สถาปนาขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งโดยเป็นอาณาเขตในอาณัติของฝรั่งเศส และเป็นรัฐอาหรับใหญ่ที่สุดที่กำเนิดขึ้นจากเลแวนต์อาหรับที่เดิมออตโตมันปกครอง ประเทศซีเรียได้รับเอกราชในเดือนเมษายน 2489 เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา สมัยหลังได้รับเอกราชมีความวุ่นวาย และกลุ่มรัฐประหารและความพยายามรัฐประหารสะเทือนประเทศในสมัยปี 2492–2514 ระหว่างปี 2501 ถึง 2504 ประเทศซีเรียเข้าร่วมสหภาพช่วงสั้น ๆ กับอียิปต์ ซึ่งสิ้นสุดลงด้วยรัฐประหาร ประเทศซีเรียอยู่ภายใต้กฎหมายฉุกเฉินระหว่างปี 2506 ถึง 2554 ระงับการคุ้มครองพลเมืองส่วนใหญ่ของรัฐธรรมนูญอย่างชะงัด และระบบรัฐบาลถูกพิจารณาว่าไม่เป็นประชาธิปไตย บัชชาร อัลอะซัดเป็นประธานาธิบดีตั้งแต่ปี 2543 สืบทอดจากฮาเฟซ อัลอะซัด บิดา ซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2513 ถึง 2543 ประเทศซีเรียเป็นสมาชิกสหประชาชาติและขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ปัจจุบันถูกระงับสมาชิกภาพจากสันนิบาตอาหรับและองค์การความร่วมมืออิสลาม และระงับตนเองจากสหภาพเพื่อเมดิเตอร์เรเนียน นับแต่เดือนมีนาคม 2554 ประเทศซีเรียเกิดสงครามกลางเมืองในห้วงการก่อการกำเริบ (ถือว่าเป็นผลขยายของอาหรับสปริง) ต่ออะซัดและรัฐบาลพรรคบะอัธ กลุ่มต่อต้านตั้งรัฐบาลทางเลือกขึ้น คือ แนวร่วมแห่งชาติซีเรีย (Syrian National Coalition) ในเดือนมีนาคม 2555 ต่อมา ผู้แทนรัฐบาลนี้ได้รับเชิญให้แทนที่ประเทศซีเรียในสันนิบาตอาหรั.

ใหม่!!: อาหรับและประเทศซีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอลจีเรีย

แอลจีเรีย (Algeria; الجزائر) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (People's Democratic Republic of Algeria; الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 1ในทวีปแอฟริกา หลังจากประเทศซูดานใต้ แยกออกจากประเทศซูดานมีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ. 2068.

ใหม่!!: อาหรับและประเทศแอลจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมร็อกโก

มร็อกโก (ชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก, เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐเอกราชที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคมาเกร็บในแอฟริกาเหนือ เป็นหนึ่งในถิ่นกำเนินชนเบอร์เบอร์ ในทางภูมิศาสตร์โมร็อกโกมีเทือกเขาหินขรุขระตรงกลาง มีทะเลทรายขนาดใหญ่และมีชายฝั่งยาวมาตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกจนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียน โมร็อกโกมีพื้นที่ประมาณ 710,850 ตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า 33.8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อราบัตและมีเมืองใหญ่สุดชื่อกาซาบล็องกา นอกจากนี้ยังมีเมืองสำคัญอื่น ๆ อีกอาทิมาร์ราคิช แทงเจียร์ ซาเล่ห์ แฟ็ส แม็กแน็สและ วัจด้า ในทางประวัติศาสตร์โมร็อกโกเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคมีความเป็นอิสระและไม่ได้ถูกยุ่งเกียวหรือรุกรานโดยเพื่อนบ้านตั้งแต่สุลต่าน โมเลย์ อิดริส ที่ 1ก่อตั้งรัฐโมร็อกโกครั้งแรกใน พ.ศ. 1332 ประเทศถูกปกครองโดยระบบราชวงศ์และเจริญสุดขีดในช่วงราชวงศ์อัลโมราวิดและราชวงศ์อัลโลฮัดซึ่งครอบครองส่วนหนึ่งของคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ ราชวงศ์มารีนิดและราชวงศ์ซาดีได้ยืนหยัดต่อต้านการรุกร่านจากต่างประเทศ อีกทั้งโมร็อกโกเป็นประเทศในแอฟริกาเหนือประเทศเดียวที่เลี่ยงการยึดครองจากจักรวรรดิออตโตมันได้ ราชวงศ์อเลาอัวซึ่งปกครองประเทศอยู่ในปัจุบันนั้นขึ้นมามีอำนาจในโมร็อกโกตั้งแต่ พ.ศ. 2174 ใน พ.ศ. 2455 โมร็อกโกถูกแบ่งเป็นโมร็อกโกในอารักขาของฝรั่งเศส โมร็อกโกในอารักขาของสเปนกับเขตสากลในแทนเจียร์และกลับมาได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2499 วัฒนธรรมชาวโมร็อกโกจะเป็นแบบผสมผสานตามอิทธิพลของเบอร์เบอร์ อาหรับ แอฟริกาตะวันตกและยุโรป โมร็อกโกอ้างว่าเวสเทิร์นสะฮาราซึ่งเป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองซึ่งเคยเป็นสะฮาราของสเปนนั้นเป็นจังหวัดทางใต้ของโมร็อกโก หลังจากสเปนตกลงที่จะปลดปล่อยดินแดนนี้ให้โมร็อกโกและมอริเตเนียใน พ.ศ. 2518 ชาวซาห์ราวีได้ทำสงครามแบบกองโจร มอริเตเนียถอนตัวออกจากดินแดนที่มีสิทธิครอบครองใน พ.ศ. 2522 และสงครามอันยืดเยื้อก็ยุติจากการหยุดยิงใน พ.ศ. 2534 ปัจจุบันโมร็อกโกครอบครองดินแดนสองในสาม โมร็อกโกปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญกับรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง กษัตริย์โมร็อกโกมีอำนาจบริหารและอำนาจนิติบัญญัติอย่างมาก โดยเฉพาะการทหาร นโยบายต่างประเทศและศาสนา อำนาจบริหารออกใช้โดยรัฐบาล ขณะที่สภานิติบัญญัติเป็นของรัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎรโมร็อกโกและราชมนตรีสภาทั้งสองสภา กษัตริย์สามารถออกพระราชกฤษฎีกาที่เรียกว่าดาฮีร์ซึ่งมีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย นอกจากนี้กษัตริย์สามารถยุบสภาหลังจากปรึกษานายกรัฐมนตรีและประธานศาลรัฐธรรมนูญ ชาวโมร็อกโกส่วนมากนับถือศาสนาอิสลามมีภาษาราชการคือภาษาอาหรับและภาษาเบอร์เบอร์ ภาษาเบอร์เบอร์เป็นภาษาหลักของโมร็อกโกก่อนที่อาหรับจะมามีบทบาทในคริสศ์ศตวรรษที่ 600 ภาษาอาหรับในโมร็อกโกเรียกว่า Darija โมร็อกโกเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ สหภาพเมดิเตอร์เรเนียนและสหภาพแอฟริกา และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ห้าของแอฟริก.

ใหม่!!: อาหรับและประเทศโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: อาหรับและประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทมาร์กัต

ปราสาทมาร์กัต ('''Margat'''. หรือ Marqab, '''قلعة المرقب''' (Qalaat al-Marqab หรือ ปราสาทแห่งหอยาม).) เป็นซากปราสาทที่สร้างโดยทหารครูเสด ปัจจุบันตั้งอยู่ในประเทศซีเรีย ปราสาทมาร์กัตเป็นที่ตั้งมั่นสำคัญของอัศวินเซนต์จอห์น ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1062 ปราสาทมาร์กัตตั้งอยู่บนเนินสูงราว 500 เมตรจากระดับน้ำทะเลบนภูเขาไฟที่ดับแล้วริมถนนระหว่างทริโปลิและลาทาเคียราวสองกิโลเมตรจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนราว 6 กิโลเมตรจากทางใต้ของบันนิยาส เดิมคาดว่าเป็นป้อมโบราณแต่สิ่งก่อสร้างในทางการป้องกันทางการทหารเริ่มก่อสร้างเมื่อปี..

ใหม่!!: อาหรับและปราสาทมาร์กัต · ดูเพิ่มเติม »

นักอาหรับคดี

นักอาหรับคดี (arabist) คือบุคคลที่อาจไม่ได้เกิดหรือเติบโตในประเทศอาหรับ แต่ศึกษาภาษาและวรรณกรรมอาหรับจนเชี่ยวชาญ อีกทั้งยังเข้าใจในขนบธรรมเนียมประเพณีอาหรับอย่างลึกซึ้ง จนสามารถแปลหนังสือวรรณกรรมอาหรับได้ เช่นอัลกุรอาน และบทกวี บางคนเขียนพจนานุกรมอาหรับแปลเป็นภาษาของตน นักอาหรับคดีทุกคนเป็นนักบูรพคดี แต่ไม่ใช่ว่านักบูรพคดีทุกคนเป็นนักอาหรับคดี ผู้ที่เรียนรู้ภาษาอาหรับในระดับสูงยังเรียกว่านักอาหรับคดีไม่ได้ หากยังไม่ได้มีงานเขียนหรืองานแปล นักอาหรับคดีที่มีชื่อเสียงในอดีตได้แก่ Richard Francis Burton และ Hans Wehr หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ หมวดหมู่:อาชีพ.

ใหม่!!: อาหรับและนักอาหรับคดี · ดูเพิ่มเติม »

นิทานเวตาล

นิทานเวตาล (वेतालपञ्चविंशति เวตาลปัญจวิงศติ แปลว่า นิทานเวตาล 25 เรื่อง) เป็นวรรณกรรมสันสกฤตโบราณ ซึ่งเล่าขานโดยกวีชื่อ ศิวทาส และได้ถูกเล่าขานกันต่อมากว่า 2,500 ปีล่วงมาแล้ว โครงเรื่องหลักของนิทานเรื่องนี้เป็นเรื่องการโต้ตอบตอบปัญหาระหว่างพระวิกรมาทิตย์ กษัตริย์แห่งกรุงอุชชิยนี กับเวตาล ปีศาจที่มีร่างกายกึ่งมนุษย์กับค้างคาว ซึ่งจะนำเข้าไปสู่นิทานย่อยต่าง ๆ ที่แทรกอยู่ในเรื่องนี้รวม 25 เรื่อง ลักษณะดังกล่าวคล้ายกับนิทานอาหรับราตรี หรือ "พันหนึ่งราตรี" ซึ่งเป็นนิทานชุดในซีกโลกอาหรับที่ได้รับความนิยมอย่างมากอีกชุดหนึ่ง.

ใหม่!!: อาหรับและนิทานเวตาล · ดูเพิ่มเติม »

แก๊งป่วนก๊วนโดราเอมอน

แก๊งป่วนก๊วนโดราเอมอนเป็นการ์ตูนที่เป็นชุดแยกของการ์ตูนชื่อดังโดราเอมอน.

ใหม่!!: อาหรับและแก๊งป่วนก๊วนโดราเอมอน · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกา (มณฑลของโรมัน)

ักรวรรดิโรมันในรัชสมัยจักรพรรดิเฮเดรียน (ปกครอง ค.ศ. 117-ค.ศ. 138) แสดงที่ตั้งของจังหวัดแอฟริกาโพรคอนซูลาริส (แอลจีเรียตะวันออก ตูนิเซีย และตริโปลิเตเนีย) แอฟริกา หรือ อาฟรีกา (อังกฤษ, Africa) เป็นจังหวัดหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน ก่อตั้งขึ้นหลังจากที่ชาวโรมันสามารถเอาชนะคาร์เทจได้ในสงครามพิวนิกครั้งที่ 3 จังหวัดแอฟริกาประกอบด้วยดินแดนที่ในปัจจุบันคือทางตอนเหนือของตูนิเซีย ตะวันออกเฉียงเหนือของแอลจีเรีย และริมฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันตกของลิเบีย ในเวลาต่อมา ชาวอาหรับก็เรียกบริเวณที่เคยเป็นจังหวัดนี้ว่า "อิฟริกียะห์" ซึ่งมาจากคำว่าแอฟริกานั่นเอง.

ใหม่!!: อาหรับและแอฟริกา (มณฑลของโรมัน) · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นยูเรเชีย

แผ่นยูเรเชียแสดงในสีเขียว แผ่นยูเรเชีย (Euresian Plate) คือแผ่นเปลือกโลกที่รองรับพื้นที่เกือบทั้งหมดของทวีปยูเรเชียแต่ไม่ได้รองรับประเทศอินเดีย อนุภูมิภาคอาหรับและพื้นที่ทางตะวันออกของเทือกเขาเชอร์สกีทางตะวันออกของไซบีเรีย นอกจากนี้ยังมีส่วนที่รองรับมหาสมุทรแอตแลนติกทางตอนเหนือไปจนถึงเทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติกและเทือกเขาการ์กเกิลทางตอนเหนือและมีพื้นที่ประมาณ 67,800,000 ตารางกิโลเมตร การปะทุของภูเขาไฟทั้งหมดในไอซ์แลนด์อย่างเช่นการปะทุของภูเขาไฟแอลเฟจในปี 1973 การปะทุของภูเขาไฟลาไคปี 1783 และการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553ล้วนเกิดจากการแยกตัวออกจากกันของแผ่นอเมริกาเหนือกับแผ่นยูเรเชีย ธรณีพลศาสตร์ของเอเชียกลางมักเป็นผลมาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างแผ่นยูเรเชียและแผ่นอินเดี.

ใหม่!!: อาหรับและแผ่นยูเรเชีย · ดูเพิ่มเติม »

โมเช ดายัน

มเช ดายัน (משה דיין, Moshe Dayan; 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2458 – 16 ตุลาคม พ.ศ. 2524) คือผู้บัญชาการเหล่าทัพและนักการเมืองชาวอิสราเอล รู้จักกันดีในฐานะบุรุษตาเดียว.

ใหม่!!: อาหรับและโมเช ดายัน · ดูเพิ่มเติม »

โรมโบราณ

ตามตำนานโรมก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 753 ก่อนคริสต์ศักราชโดยรอมิวลุส และรีมุสที่ถูกเลี้ยงด้วยแม่หมาป่า โรมโบราณ (Ancient Rome) คือวัฒนธรรมที่วิวัฒนาการขึ้นมาจากชุมชนเกษตรกรบน คาบสมุทรอิตาลีที่เริ่มตั้งแต่ศตวรรษที่ 10 ก่อนคริสต์ศักราช ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียนโรมโบราณกลายมาเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โบราณ ในช่วงเวลาที่โรมโบราณเจริญรุ่งเรืองอยู่วัฒนธรรมโรมันเปลี่ยนจากการปกครองตั้งแต่เป็นแบบราชาธิปไตยไปเป็นระบอบสาธารณรัฐคณาธิปไตย และในที่สุดก็ไปเป็นระบบจักรวรรดิแบบอัตตาธิปไตย อารยธรรมโรมันมามีอำนาจอันมีอิทธิพลต่อทวีปยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ ทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้/คาบสมุทรบอลข่าน และในบริเวณทะเลเมดิเตอเรเนียนโดยการพิชิตและการการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมกับท้องถิ่นที่เข้าไปปกครอง จักรวรรดิโรมันทางด้านตะวันตกเสื่อมโทรมลงและสลายตัวไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งภายในและการถูกโจมตีโดยชนกลุ่มต่างๆ ในสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน จักรวรรดิโรมันตะวันตกที่รวมทั้งฮิสปาเนีย กอล บริทาเนีย และอิตาลี ได้แบ่งแยกออกเป็นอาณาจักรอิสระในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จักรวรรดิโรมันตะวันออก หรือที่เรียกว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่คอนสแตนติโนเปิล ประกอบด้วยกรีซ ส่วนที่พิชิตโดยจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 อานาโตเลีย ซีเรีย และอียิปต์รอดจากวิกฤติการณ์ที่จักรวรรดิทางด้านตะวันตกประสบ และแม้ว่าจะเสียซีเรียและอียิปต์แก่จักรวรรดิอิสลามของอาหรับจักรวรรดิก็รุ่งเรืองต่อมาอีกหนึ่งสหัสวรรษ จนกระทั่งมาเสียเมือง ให้กับจักรวรรดิออตโตมันของตุรกี นักประวัติศาสตร์มักจะเรียกจักรวรรดิโรมันตะวันออกมักจะเรียกว่าเป็น จักรวรรดิไบแซนไทน์ วัฒนธรรมโรมันมักจะจัดอยู่ใน “ยุคโบราณ” (classical antiquity) ร่วมกับกรีกโบราณซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่เป็นต้นตอและแรงบันดาลใจให้แก่วัฒนธรรมโรมโบราณ โรมโบราณมีบทบาทอย่างใหญ่หลวงในการวิวัฒนการทางด้านกฎหมาย การสงคราม ศิลปะ วรรณคดี สถาปัตยกรรม เทคโนโลยี และภาษาของโลกตะวันตก และประวัติศาสตร์โรมก็ยังคงเป็นประวัติที่ยังคงมีอิทธิพลต่อโลกจนทุกวันนี้.

ใหม่!!: อาหรับและโรมโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

โลกอิสลาม

ลกอิสลาม เป็นศัพท์เชิงวิชาการที่ใช้เรียกผืนแผ่นดินที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ผู้นับถือศาสนาอิสลามมีประมาณหนึ่งพันล้านคน ที่ปฏิบัติตามศาสนาของ มุฮัมหมัด บุตรของอับดุลลอฮ์ (ศาสดาของบรรดามุสลิม) เป็นชาวฮิญาซ และเป็นศาสนาที่มีมากว่า 1400 ปี (ปีจันทรคติ) บรรดามุสลิมมีความเชื่อเหมือนกันว่า ศาสดามุฮัมหมัด บุตรของอับดุลลอฮ์ คือศาสดาองค์สุดท้าย (คอตะมุลอันบิยา) เชื่อในกุรอาน (คัมภีร์อันศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาอิสลาม) กิบลัตและบทบัญญัติหลักปฏิบัติศาสนก.

ใหม่!!: อาหรับและโลกอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

โลกตะวันตก

ลกตะวันตก (Western world และอาจเรียก The West หรือ Occident) เป็นคำซึ่งใช้กล่าวถึงประเทศได้หลายประเทศ โดยประเทศที่หมายถึงอาจแตกต่างกันไปตามบริบทของการใช้คำศัพท์ นอกจากนี้เป็นคำซึ่งมีคำจำกัดความอยู่มากมาย, Our Tradition; James Kurth; accessed 30 August 2011 แนวคิดส่วนของโลกซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกมีรากฐานมาจากอารยธรรมกรีกโรมันในยุโรปและการกำเนิดของศาสนาคริสต์Cambridge University Historical Series, An Essay on Western Civilization in Its Economic Aspects, p.40: Hebraism, like Hellenism, has been an all-important factor in the development of Western Civilization; Judaism, as the precursor of Christianity, has indirectly had had much to do with shaping the ideals and morality of western nations since the christian era.

ใหม่!!: อาหรับและโลกตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ไอเอไอ คเฟอร์

right ไอเอไอ คเฟอร์ (IAI Kfir) คเฟอร์เป็นเครื่องบินขับไล่แบบแรกที่สร้างในอิสราเอล โดยต้นแบบของคเฟอร์ คือ มิราจ 5 ของฝรั่งเศส เมื่อในปี ค.ศ. 1969 ฝรั่งเศสงดขายเครื่องบินมิราจให้กับอิสราเอล ทำให้เกิดโครงการคเฟอร์ซึ่งเป็นงานแผนแบบเจ๊ตขับไล่และทิ้งระเบิดในระดับความเร็ว 2 มัคและเป็นความลับสุดยอดของอิสราเอล เครื่องต้นแบบคเฟอร์ก็สำเร็จในปี ค.ศ. 1972 ซึ่งตั้งชื่อว่าเนเชอร์ เนเชอร์ได้ทำการบินทดสอบและแก้ไขดัดแปลงหลายส่วนโดยเฉพาะส่วนท้ายที่สันดาปท้ายร้อนจัดจนละลาย และเมื่อทดสอบปรับปรุงใหม่เสร็จ เนเชอร์ก็เปลี่ยนชื่อเป็น บาราค การผลิตบาราคเริ่มในปี ค.ศ. 1972 และประสบความสำเร็จอย่างสูงในการต่อสู้กับเครื่องบินมิกของอาหรับ และนับจากนั้นบาราคจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นคเฟอร์ในปัจจุบัน คเฟอร์ได้รับการเปิดเผยต่อสาธารณชนอย่างเป็นทางการในวันที่ 14 เมษายน ปี ค.ศ. 1975 และในวันที่ 20 กันยายน ปี ค.ศ. 1976 บริษัท ไอเอไอก็ได้เปิดตัวรุ่นใหม่ชื่อว่า คเฟอร์ ซี 2 คเฟอร์ ซี 2 มีลักษณะแตกต่างจากรุ่นแรกคือ ติดตั้งคานาร์คหรือปีกเล็กๆด้านหน้า เหนือช่องรับอาก.

ใหม่!!: อาหรับและไอเอไอ คเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮยีน่า

ีนา (hyena; มาจากคำภาษากรีกโบราณว่า ὕαινα ออกเสียงว่า /ฮือไอนา/ หรือ /ฮือแอนา/) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กินเนื้อวงศ์หนึ่ง โดยใช้ชื่อวงศ์ว่า Hyaenidae ไฮยีนา มีลักษณะและรูปร่างโดยรวมคล้ายกับสุนัขหรือหมาป่า ซึ่งเป็นสัตว์กินเนื้อที่อยู่ในวงศ์ Canidae แต่ไฮยีนาก็ไม่ใช่สุนัข หากแต่เป็นสัตว์ที่อยู่ในวงศ์ของตนเองต่างหาก โดยอยู่ในอันดับย่อย Feliformia ซึ่งใกล้เคียงกับแมวและเสือ (Felidae) มากกว.

ใหม่!!: อาหรับและไฮยีน่า · ดูเพิ่มเติม »

เพลงลูกทุ่ง

ลงลูกทุ่ง คือเพลงที่สะท้อนวิถีชีวิต สภาพสังคมอุดมคติและวัฒนธรรมไทย โดยมีท่วงทำนอง คำร้อง สำเนียง และลีลาการร้องการบรรเลงที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะซึ่งให้บรรยากาศ ความเป็นลูกทุ่ง ขุนวิจิตรมาตราบันทึกไว้ในหนังสือเรื่องของละครและเพลง ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นวงดนตรีแบบสากลที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีหรือสองปี ลักษณะเพลงลูกทุ่งในระยะเริ่มแรก มาจากการร้องรำทำเพลงของไทยดั้งเดิม อาทิ แหล่เทศน์ สวดคฤหัสถ์ จำอวด ลิเก (ทรงเครื่อง) ลิเกลูกบท (ไม่แต่งเครื่อง) ลิเกบันตน ลำตัด เพลงขอทาน เพลงพื้นเมืองบางเพลง ฯลฯ โดยเพลงลูกทุ่งนำมาดัดแปลงแล้วใส่ดนตรีแบบสากล เป็นลักษณะเพลงแบบใหม่ ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์จำนง รังสิกุล คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507 คอลัมน์ รู้ไปโม้ด เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลงลูกกรุงโดยประกอบ ไชยพิพัฒน์ จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง" สุรพล สมบัติเจริญ ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี..

ใหม่!!: อาหรับและเพลงลูกทุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

เกาะสอง

กาะสอง (ก่อต้อง) หรือ ปูโลดัว (Pulodua, ڤولودوا) มีชื่อเดิมว่า วิกตอเรียพ็อยนต์ (Victoria Point) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตตะนาวศรี ประเทศพม.

ใหม่!!: อาหรับและเกาะสอง · ดูเพิ่มเติม »

เวฟวิงแฟลก

วฟวิงแฟลก (Wavin' Flag) เป็นเพลงที่ขับร้องโดยเคนาน ในอัลบั้ม ทิวบราเดอร์ และได้รับความนิยมติดอันดับสองของชาร์ตแคนาเดียนฮอท 100 และรีเมกเพลงขึ้นมาใหม่โดยกลุ่มศิลปินชาวแคนาดา เพื่อหารายได้การกุศลในโครงการยังอาร์ทติสฟอร์เฮติ กลายมาเป็นซิงเกิลการกุศลอันดับหนึ่งของชาร์จในแคนาดา นอกจากนี้ ในเวอร์ชันที่ วิล.ไอ.แอม กับเดวิด เก็ตต้า ร่วมปรากฏตัว ก็มีเป้าหมายที่จะวางจำหน่ายในหลายประเทศ และเพลงยังได้ถูกนำไปใช้เป็นซาวน์แทรคประกอบเกม NBA 2K10 ด้วยเช่นกัน ทางบริษัทโคคา-โคล่า ได้ตัดสินใจเลือกเพลงนี้ เพื่อใช้ในการโปรโมทเทศกาลฟุตบอลโลก 2010 ที่จะจัดขึ้นในประเทศแอฟริกาใต้ สำหรับเวอร์ชันภาษาอังกฤษจะถูกวางจำหน่ายโดยใช้ชื่อว่า "เวฟวิงแฟลก (เดอะเซเลเบรชั่นมิกซ์)" โดยเคนานเอง ร่วมกับเวอร์ชันภาษาอื่น ๆ ในการวางจำหน่าย เช่นเดียวกับประเทศไทย ที่ใช้ชื่อเพลงว่า "โอ๊ โอ่ โอ โอ๊ โอ่" ขับร้องโดยแทททู คัลเล่อร.

ใหม่!!: อาหรับและเวฟวิงแฟลก · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์แบงก์

แผนที่เขตเวสต์แบงก์ เวสต์แบงก์ (West Bank; الضفة الغربية; הגדה המערבית หรือ יהודה ושומרון ซึ่งแปลว่า "จูเดียและซาแมเรีย") เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์แห่งหนึ่งที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ เวสต์แบงก์มีพรมแดนทางทิศตะวันตก ทิศเหนือ และทิศใต้ร่วมกับรัฐอิสราเอล ส่วนทางทิศตะวันออกข้ามแม่น้ำจอร์แดนไปจะเป็นอาณาเขตของราชอาณาจักรฮัชไมต์จอร์แดน นอกจากนี้ เวสต์แบงก์ยังมีชายฝั่งทะเลตลอดแนวฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทะเลเดดซีอีกด้วย เขตเวสต์แบงก์ (รวมนครเยรูซาเลมส่วนตะวันออก) มีเนื้อที่บนบก 5,640 ตารางกิโลเมตร และมีเนื้อที่พื้นน้ำ 220 ตารางกิโลเมตรซึ่งได้แก่ส่วนตะวันตกเฉียงเหนือของทะเลเดดซี ประมาณการกันว่ามีจำนวนประชากร 2,622,544 คน ณ เดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: อาหรับและเวสต์แบงก์ · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐศาสตร์

รษฐศาสตร์ (economics) เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและการให้บริการ ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง เรย์มอนด์ บารร์ แล้ว "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด" คำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ่ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้านและ nomos แปลว่า จารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายศตวรรษที่ 19 การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สงคราม และวิทยาศาสตร์ ภาพแสดงผู้ซื้อและผู้ขายกำลังต่อรองราคาอยู่หน้าตลาดชิชิคาสเทนานโก ในประเทศกัวเตมาลา วิชาเศรษฐศาสตร์จัดเป็นวิชาเชิงปทัสฐาน (เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใช้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิสัย ในทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชาเชิงบรรทัดฐาน (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมติฐาน และชุดของข้อมูลสังเกตการณ์ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัมพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเดียวกัน เศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแปรที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ.

ใหม่!!: อาหรับและเศรษฐศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเรียกของคธูลู

"เสียงเรียกของคธูลู" (The Call of Cthulhu) เป็นเรื่องสั้นที่ประพันธ์โดยเอช. พี. เลิฟคราฟท์ในปีพ.ศ. 2469 และตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสาร Weird Tales ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471.

ใหม่!!: อาหรับและเสียงเรียกของคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางการค้า

้นทางการค้า (trade route) คือเส้นทางที่ในเครือข่ายที่บ่งว่าเป็นเส้นทางและจุดหยุดพักที่ใช้ในการขนส่งสินค้าไปยังตลาดที่อยู่ในดินแดนที่ไกลออกไปจากต้นแหล่งที่ผลิตสินค้ามาก เส้นทางการค้าแต่ละเส้นทางก็จะประกอบด้วยถนนสายหลัก (Arterial road) ที่อาจจะมีเครือข่ายย่อยๆ ที่ใช้เป็นเส้นทางการค้าและการคมนาคมมาบรรจบ ในประวัติศาสตร์ช่วงตั้งแต่ปี 1532 ก่อนคริสต์ศักราช จนถึง..

ใหม่!!: อาหรับและเส้นทางการค้า · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ใหม่!!: อาหรับและเอมิล เคร็บส์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮราคลีโอโพลิส

ราคลีโอโพลิส แมกนา (กรีก: Μεγάλη Ἡρακλέους πόλις, Megálē Herakléous pólis) หรือ เฮราคลีโอโพลิส (Ἡρακλεόπολις, Herakleópolis) เป็นเมืองหลวงของอาณาจักรอียิปต์โบราณ ซึ่งชื่อเมืองนั้นเป็นภาษาโรมัน ตั้งอยู่ประมาณ 15 กิโลเมตร (9.3 ไมล์) ทางตะวันตกของเมืองเบนิ ซูเอฟของอียิปต์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: อาหรับและเฮราคลีโอโพลิส · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤศจิกายน

วันที่ 19 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 323 ของปี (วันที่ 324 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 42 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อาหรับและ19 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อาหรับและ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: อาหรับและ6 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ArabArabsชนอาหรับประเทศอาหรับ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »