โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ออร์แกน

ดัชนี ออร์แกน

ออร์แกน (Organ, กรีก: ὄργανον ออร์กานอน) เป็นเครื่องดนตรีสากล ออร์แกนมีประวัติในการประดิษฐ์ที่ยาวนานมาตั้งแต่สมัยโรมัน และมีความสำคัญควบคู่มากับศาสนาคริสต์เลยทีเดียว คำว่า Organ นั้น ก็มาจากภาษาละติน Organum ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อว่า Hydraulis ต้นกำเนิดเสียงของออร์แกนมาจากลม ซึ่งมีแหล่งกำเนิดหลายวิธีซึ่งในสมัยโบราณก็ต้องใช้แรงคนในการผลิตลม เมื่อลมถูกบังคับให้ไหลผ่านท่อที่มีขนาดต่างๆกันก็จะเกิดเสียงที่มีความถี่แตกต่างกัน ท่อที่ใช้ในการสร้างออร์แกนนั้น อาจจะเป็นไม้ หรือโลหะ ก็ได้ ซึ่งจะส่งผลให้มีเสียงที่แตกต่างกัน และออร์แกนหนึ่งเครื่อง สามารถทำเสียงต่าง ๆ ได้เท่า ๆ กับเครื่องดนตรีหลายชิ้นมารวมกัน ดังนั้น ออร์แกนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแนวทำนอง และแนวเดินเบส โดยไม่ต้องพึ่งพาเครื่องดนตรีอื่นใด ดังนั้น ในสมัยก่อนนั้น ออร์แกนจึงถือเป็นเครื่องดนตรีที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในบรรดาเครื่องดนตรีทั้งปวง ออร์แกนได้รับฉายาว่าเป็นราชาแห่งเครื่องดนตรีตะวันตก เนื่องจากมีความซับซ้อนในการประดิษฐ์ และขนาดที่ใหญ่ ออร์แกนที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ที่ แอตแลนติกซิตีคอนเวนชันฮอล ที่เมืองแอตแลนติกซิตี รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา ซี่งมีจำนวนไปป์ถึง 33,000 ไปป์ หมวดหมู่:เครื่องลิ่มนิ้ว หมวดหมู่:เครื่องลม หมวดหมู่:ออร์แกน.

129 ความสัมพันธ์: บรรทัดห้าเส้นบริเวณร้องเพลงสวดบอสซาโนวาชาร์จ (เพลงเบิกโรง)บาโรกป็อปชิค คอเรียบทบรรเลงแห่งความตายชเตฟันสโดมฟร็องซิส ปูแล็งก์ฟ็อยค์เมเยอร์มหาวิหารบัมแบร์กมหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเรมหาวิหารแซ็ง-เดอนีมักซ์ พลังค์มาร์คัส มิลเลอร์ยามาฮ่ารักก้ารายชื่อสมาชิกของแบล็ค ซับบาธรายชื่อเครื่องดนตรีรายการสาขาวิชาริทึมแอนด์บลูส์ลัทธิทำลายรูปเคารพลิ่มนิ้วล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้าวังเบลนิมวงดนตรีศรายุทธ สุปัญโญสกา (แนวดนตรี)สถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษสถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตกสตีวี วันเดอร์หนังตะลุงออร์แกนอะไวเทอร์เฉดออฟเพลอารามวัลด์ซัสเซินอารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์อาสนวิหารอาสนวิหารบลัวอาสนวิหารบายอนอาสนวิหารชิชิสเตอร์อาสนวิหารกาวายงอาสนวิหารกูต็องส์อาสนวิหารมงเปอลีเยอาสนวิหารยอร์กอาสนวิหารรอแดซอาสนวิหารล็องอาสนวิหารล็องกร์อาสนวิหารวานอาสนวิหารวุร์สเตอร์อาสนวิหารอาลบี...อาสนวิหารอ๊อกซฟอร์ดอาสนวิหารดักซ์อาสนวิหารตูลูซอาสนวิหารแม็สอาสนวิหารแร็งส์อาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์อาสนวิหารแซ็งตอแมร์อาสนวิหารแปร์ปีญ็องอาสนวิหารเอ็กซิเตอร์อีนิกมาแวริเอชันส์ฮาร์ปซิคอร์ดฌอร์ฌ บีแซผังอาสนวิหารจอร์จ ฟริดริก แฮนเดิลจอน ลอร์ดจาโกโม ปุชชีนีทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์ (BWV 565)ท้าวทองกีบม้า (มารี กีมาร์)ดั๊บ (แนวดนตรี)ดิอิมพอสซิเบิ้ลดนตรียุคบาโรกดนตรีคลาสสิกดนตรีไทยคริสเตียนร็อกคริทิคัลอักเคลมคันทรีป็อปคันทวยคู่นกคีย์บอร์ดคีย์บอร์ดไฟฟ้าฉากกางเขนฉากแท่นบูชาเกนต์ซับบาธบลัดดีซับบาธซันลุยจีเดย์ฟรันเชซีปาแลเดอชาโยนิวเอจนีโอโซลแกรนด์เอ็กซ์แวนเจลิสแจ็ค จอห์นสันโบสถ์วีสโบสถ์นักบุญโธมัส (ไลพ์ซิก)โพรคัล ฮารัมโยฮันน์ พาเคลเบลโยฮันน์ เซบาสเตียน บาคโยเซฟ อันทอน ฟอยช์ทมาเยอร์โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ทโฮเทลแคลิฟอร์เนีย (อัลบั้ม)โจวันนี ปีแอร์ลุยจี ดา ปาเลสตรีนาโนบูโอะ อูเอมัตสึไบรดัลคอรัสไมล์ส เดวิสไมค์ ชิโนะดะไรอัน เท็ดเดอร์ไลฟ์อินดิแอลบีซีแอนด์ไดมอนส์อินเดอะรัฟไครสต์เชิร์ชไซโลโฟนเพอร์รี โคโมเพนท์อิท, แบล็กเกวันด์เฮาส์เร็กเกเล็งกา (อัลบั้ม)เว็ดดิงมาร์ชเสียงทุ้มแหลมผสมเสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มีเอลฟรีเดอ เยลิเนคเอ็ม. แชโดวส์เทกแดตเทรซี แชปแมนเทะสึยะ โคะมุโระเดอะวินเนอร์สเดอะเวลล์-เทมเพิร์ดคลาเวียร์เครื่องกระทบเคาท์ เบซีเซเว่นโกสต์เปียโนเป็นไปไม่ได้ (อัลบั้ม)เปเรซ ปราโด25 (อัลบั้มอะเดล) ขยายดัชนี (79 มากกว่า) »

บรรทัดห้าเส้น

Musical staffMusical staffMusical staffMusical staff บรรทัดห้าเส้น (อังกฤษอเมริกัน: staff; อังกฤษบริเตน: stave) คือกลุ่มของเส้นตรงตามแนวนอน 5 เส้น และอยู่ห่างเป็นระยะเท่ากันเป็นจำนวน 4 ช่อง ใช้สำหรับบันทึกตัวโน้ตตามระดับเสียง ซึ่งสามารถแสดงได้ด้วยความสูงต่ำของตัวโน้ตที่ปรากฏบนบรรทัดห้าเส้น การนับเริ่มต้นเส้นที่หนึ่งจากล่างสุด แล้วนับขึ้นมาตามลำดับจนถึงเส้นที่ห้า การนับช่องก็นับจากล่างขึ้นบนเช่นกัน ตัวโน้ตสามารถบันทึกให้คาบเกี่ยวกับเส้น หรือเขียนลงในช่องระหว่างเส้น เหนือหรือใต้บรรทัด ดังนั้นบรรทัดห้าเส้นจึงสามารถบันทึกระดับเสียงของตัวโน้ตได้ 11 ระดับ สำหรับเสียงที่สูงกว่าหรือต่ำกว่านี้ จะใช้เส้นน้อย (ledger line) เข้ามาช่วย การที่จะบ่งบอกว่าตัวโน้ตที่บันทึกอยู่เป็นเสียงอะไร สามารถดูได้จากกุญแจประจำหลักที่กำกับอยู่ เช่นกุญแจซอลที่คาบอยู่บนเส้นที่สองโดยพื้นฐาน จะทำให้ทราบว่าโน้ตที่คาบอยู่บนเส้นที่สองเป็นเสียง ซอล หากไม่มีกุญแจประจำหลักบนบรรทัดห้าเส้น ก็จะไม่สามารถอ่านโน้ตได้ ปกติแล้วการอ่านโน้ตจะอ่านจากซ้ายไปขวา หมายความว่าตัวโน้ตที่อยู่ถัดจากตัวก่อนหน้าต้องเล่นทีหลัง และบรรทัดห้าเส้นมักจะแบ่งเป็นห้องเพลงด้วยเส้นกั้นห้อง เปรียบเหมือนกราฟของระดับเสียงเทียบกับเวลา ด้านล่างนี้คือตำแหน่งของตัวโน้ต 11 ระดับเสียง ที่สามารถบันทึกบนบรรทัดห้าเส้น ไฟล์:Music Staff.svgไฟล์:Music 1d1.svgไฟล์:Music Staff.svgไฟล์:Music 1e1.svgไฟล์:Music Staff.svgไฟล์:Music 1f1.svgไฟล์:Music Staff.svgไฟล์:Music 1g1.svgไฟล์:Music Staff.svgไฟล์:Music 1a1.svgไฟล์:Music Staff.svgไฟล์:Music 1b1.svgไฟล์:Music Staff.svgไฟล์:Music 1c2.svgไฟล์:Music Staff.svgไฟล์:Music 1d2.svgไฟล์:Music Staff.svgไฟล์:Music 1e2.svgไฟล์:Music Staff.svgไฟล์:Music 1f2.svgไฟล์:Music Staff.svgไฟล์:Music 1g2.svgไฟล์:Music Staff.svg.

ใหม่!!: ออร์แกนและบรรทัดห้าเส้น · ดูเพิ่มเติม »

บริเวณร้องเพลงสวด

“บริเวณร้องเพลงสวด” ของมหาวิหารปาเล็นเซียในประเทศสเปน ภาพแสดงให้เห็นที่นั่งของนักบวชสองข้างหน้าแท่นบูชาเอกที่ทำด้วยไม้ที่สลักเสลาอย่างงดงามที่วัดในเมืองบาดชูสเซนรีด ที่เดิมเป็นสำนักสงฆ์ในประเทศเยอรมนี บริเวณร้องเพลงสวด (Choir หรือ quire) ในทางสถาปัตยกรรม “บริเวณร้องเพลงสวด” เป็นบริเวณภายใน คริสต์ศาสนสถาน หรือมหาวิหารที่มักจะตั้งอยู่ทางด้านตะวันตกของบริเวณพิธี (chancel) ระหว่างทางเดินกลาง (nave) และบริเวณศักดิ์สิทธิ์ (sanctuary) (ที่เป็นที่ตั้งแท่นบูชา) แต่บางครั้ง “บริเวณร้องเพลงสวด” ก็อาจจะตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกของทางเดินกลาง ในวัดของสำนักสงฆ์บางแห่งบริเวณนี้ก็จะตั้งอยู่ทางตะวันตกของทางเดินกลางซึ่งเป็นการสมดุลกับบริเวณพิธีและบริเวณศักดิ์สิท.

ใหม่!!: ออร์แกนและบริเวณร้องเพลงสวด · ดูเพิ่มเติม »

บอสซาโนวา

อสซาโนวา (bossa nova, บอซานอวา) เป็นชื่อของแนวเพลงที่กำเนิดในประเทศบราซิล ในปี ค.ศ. 1958 โดยอังโตนีอู การ์ลูช โชบิง, วีนีซีอุช จี โมไรช์ และชูเอา ชิลเบร์ตู โดยมาจากการผสมผสานดนตรีแจ๊สของแอฟริกัน-อเมริกันกับดนตรีแซมบา ดนตรีพื้นบ้านของบราซิล เครื่องดนตรีที่ใช้กับดนตรีบอสซาโนวาประกอบด้วยเครื่องดนตรีหลัก 2 ชิ้น คือ กีตาร์และเปียโน โดยมีเครื่องดนตรีอื่น ๆ ได้แก่ออร์แกนไฟฟ้า ดับเบิลเบส กลอง และเครื่องเคาะ กีตาร์ที่ใช้จะต้องเป็นกีตาร์คลาสสิก สายไนลอน และเล่นโดยใช้นิ้ว ไม่ใช้ปิ๊ก ดนตรีบอสซาโนวา เป็นที่นิยมอยู่ในบราซิล สหรัฐอเมริกา ยุโรปตะวันตก ญี่ปุ่น และฟิลิปปินส์ ปัจจุบันอาจเรียกสั้น ๆ ว่า บอสซา ผลงานดนตรีที่ทำให้บอสซาโนวาเป็นที่นิยม คืออัลบัมเพลงประกอบภาพยนตร์ Black Orpheus (Orfeu Negro, 1959) โดยชูเอา ชิลเบร์ตู และเป็นที่นิยมในสหรัฐอเมริกาจากอัลบัม Jazz Samba (1962) ของสแตน เก็ตซ์และชาร์ลี เบิร์ด และโด่งดังไปทั่วโลกกับอัลบัม Getz/Gilberto (1963) ของสแตน เก็ตซ์และชูเอา ชิลเบร์ตู โดยเพลงที่มีชื่อเสียงที่สุดคือเพลง The Girl from Ipanema (Garota de Ipanema) ซึ่งขับร้องโดยอัสตรุด ชิลเบร์ตู ภรรยาของชูเอา เพลงนี้ได้รับรางวัลแกรมมีเมื่อปี ค.ศ. 1965.

ใหม่!!: ออร์แกนและบอสซาโนวา · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์จ (เพลงเบิกโรง)

ร์จ (Charge) เป็นชื่อเพลงเบิกโรง (fanfare) ที่นิยมบรรเลงในระหว่างการแข่งขันกีฬาในสหรัฐอเมริกา แต่งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและชาร์จ (เพลงเบิกโรง) · ดูเพิ่มเติม »

บาโรกป็อป

รกป็อป, บาโรกร็อก,B.

ใหม่!!: ออร์แกนและบาโรกป็อป · ดูเพิ่มเติม »

ชิค คอเรีย

อาร์มันโด แอนโทนี "ชิค" คอเรีย (Armando Anthony "Chick" Corea) นักแต่งเพลง และนักเปียโนแจ๊สชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงในฐานะหนึ่งในผู้บุกเบิกดนตรีแนวฟิวชันแจ๊ส โดยเป็นสมาชิกร่วมวงดนตรีของไมล์ส เดวิส ช่วงทศวรรษ 1960 และตั้งวงดนตรีชื่อ Return to Forever ช่วงปี 1972-1977 ชิค คอเรียเคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแกรมมีทั้งสิ้น 51 รางวัล ได้รับ 15 รางวัล อัลบัมชื่อ Now He Sings, Now He Sobs ในปี 1968 ของเขาได้รับการบรรจุไว้ในหอเกียรติยศของรางวัลแกรมมีในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและชิค คอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

บทบรรเลงแห่งความตาย

ทบรรเลงแห่งความตาย; (Full Score of Fear) เป็นตอนพิเศษของภาพยนตร์การ์ตูน ยอดนักสืบจิ๋วโคนัน ตอนที่ 12 โดยภาคนี้ออกฉายในประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2551 และออกฉายในประเทศไทยในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 และออกอากาศทางฟรีทีวีทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ในช่วงหนังรอบเช้า วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2555 เวลา 08.15-10.14 น., CH7 (เรียกข้อมูลวันที่ 10 มิ.ย. 2555).

ใหม่!!: ออร์แกนและบทบรรเลงแห่งความตาย · ดูเพิ่มเติม »

ชเตฟันสโดม

การขยายอาสนวิหารนักบุญสเทเฟน: The '''หอโรมันและประตูยักษ์''' จากซากไหม้ของโบสถ์แรกใช้เป็นส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้างแบบโรมาเนสก์'''โบสถ์ที่สอง''' สร้างแทนโบสถ์เดิม สี่สิบปีต่อมา ก็เริ่มก่อสร้าง '''Albertine Choir''' แบบกอธิค; ห้าสิบห้าปีหลังจากนั้นก็สร้าง '''ส่วนต่อเติมดยุกรูดอล์ฟที่ 4''' รอบบริเวณ '''โบสถ์ที่สอง''' ที่ต่อมาถูกรื้อทิ้ง เหลือโบสถ์ที่สามให้เป็นสิ่งก่อสร้างที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน อาสนวิหารนักบุญสเทเฟน หรือ ชเตฟันสโดม (Stephansdom, St.) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกในอัครมุขมณฑลเวียนนา และเป็นที่ตั้งอาสนะของอาร์ชบิชอปแห่งเวียนนา ตัวอาสนวิหารตั้งอยู่ใจกลางกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ และ กอทิก ริเริ่มโดยรูดอล์ฟที่ 4 ดยุกแห่งออสเตรีย โบสถ์ปัจจุบันตั้งอยู่บนซากโบสถ์เดิมที่สร้างก่อนหน้านั้นสองโบสถ์ โบสถ์แรกเป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชที่ได้รับการเสกในปี ค.ศ. 1147 อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนเป็นสิ่งก่อสร้างที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในกรุงเวียนนาที่เห็นได้อย่างเด่นชัดจากหลังคากระเบื้องหลากสี.

ใหม่!!: ออร์แกนและชเตฟันสโดม · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซิส ปูแล็งก์

ฟร็องซิส ฌ็อง มาร์แซล ปูแล็งก์ (Francis Jean Marcel Poulenc, สัทอักษร) เกิด 7 มกราคม พ.ศ. 2441 (ค.ศ. 1899) เสียชึวิต 30 มกราคม พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963) เป็นคีตกวีชาวฝรั่งเศส เขาเป็นหนึ่งในสมาชิกของกลุ่มคีตกวีทั้งหก (ดาร์ยีส มีโย, ชอร์ช ออรีก, อาร์ตูร์ โอเนแกร์, ลุย ดูเรย์ และแชร์แมน ตายแฟร์) ปูแล็งก์เกิดที่กรุงปารีสเมื่อ พ.ศ. 2441 และเสียชีวิตเนื่องจากอาการหัวใจล้มเหลวเมื่อ พ.ศ. 2506 ในกรุงปารีสเช่นกัน ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานแปร์ลาแชส ในกรุงปารี.

ใหม่!!: ออร์แกนและฟร็องซิส ปูแล็งก์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟ็อยค์เมเยอร์

แท่นบูชาและธรรมาสน์โดย ฟรานซ์ โจเซฟ ฟ็อยค์เมเยอร์ ภายในวัดเซนต์มาเรีย (St. Maria) - ไซเต็นชเต็ทเต็น (Seitenstetten) ประเทศออสเตรีย ฟ็อยค์เมเยอร์ (ภาษาเยอรมนี: Feuchtmayer หรือ Feuchtmayr หรือ Feichtmair หรือ Feichtmayr) เป็นครอบครัว ปฏิมากร ช่างปูนปั้น และช่างปูน (plastering|plasterer)แบบโรโคโคเวสโซบรุน (Wessobrunn) ที่มีชื่อเสียงของประเทศเยอรมนี สมาชิกที่มีชื่อเสียงของตระกูลนี้ก็มีพี่น้อง ฟรานซ์ โจเซฟ, โยฮันน์ มืเคล (ผู้พ่อ) และ มิเคล กับลูกและหลาน.

ใหม่!!: ออร์แกนและฟ็อยค์เมเยอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารบัมแบร์ก

มหาวิหารบัมแบร์ก (Bamberger Dom) มีชื่อเป็นทางการว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรและนักบุญจอร์จ (Bamberger Dom St. Peter und St. Georg) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำอัครมุขมณฑลบัมแบร์ก ตั้งอยู่ที่เมืองบัมแบร์ก ในประเทศเยอรมนี สถาปัตยกรรมของมหาวิหารที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์ตอนปลายโดยมีหอสี่หอ มหาวิหารแรกก่อสร้างเมื่อปี ค.ศ. 1004 โดยจักรพรรดิไฮน์ริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ที่สร้างเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 1012 และได้รับการเสกเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1012 ต่อมาถูกเพลิงไหม้ไปบางส่วนในปี ค.ศ. 1081 มหาวิหารใหม่สร้างโดยออทโทแห่งบัมแบร์ก และได้รับการเสกอีกครั้งในปี ค.ศ. 1111 ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 มหาวิหารก็ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์และต่อเติมใหม่จนเป็นรูปทรงเป็นแบบปลายสมัยโรมานเนสก์ที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ออร์แกนและมหาวิหารบัมแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร

มหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร (Basilica di Santa Maria Maggiore) ในภาษาอังกฤษมักเรียกว่า St.

ใหม่!!: ออร์แกนและมหาวิหารซันตามาเรียมัจโจเร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี

มหาวิหารแซ็ง-เดอนี (Basilique Saint-Denis) เดิมเป็นแอบบีย์ชื่อ อารามแซ็ง-เดอนี ที่ตั้งอยู่ที่แซ็ง-เดอนีที่ปัจจุบันอยู่ทางเหนือของปารีส ต่อมาถูกยกสถานะขึ้นเป็นอาสนวิหารประจำมุขมณฑลแซ็ง-เดอนีในปี ค.ศ. 1966 มหาวิหารแซ็ง-เดอนีมีความสำคัญทั้งทางสถาปัตยกรรมและทางประวัติศาสตร์ต่อประเทศฝรั่งเศส มหาวิหารแซ็ง-เดอนีก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 7 โดยพระเจ้าดาโกแบร์ที่ 1 บนที่ตั้งของที่ฝังศพของนักบุญเดนิสผู้เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์ประเทศฝรั่งเศสองค์หนึ่งในสามองค์ มหาวิหารกลายเป็นสถานที่สำหรับการแสวงบุญและใช้เป็นที่บรรจุพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสเกือบทุกพระองค์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 และบางพระองค์จากก่อนหน้านั้น (แต่ไม่ใช่สถานที่สำหรับพระราชพิธีราชาภิเษกที่ทำกันที่มหาวิหารแร็งส์ แต่พระราชพิธีราชาภิเษกพระราชินีมักทำกันที่นี่) มหาวิหารจึงกลายเป็นสิ่งก่อสร้างกลุ่มที่ซับซ้อน ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 อธิการซูว์เฌสร้างบางส่วนของมหาวิหารใหม่โดยใช้วิธีการก่อสร้างที่ล้ำสมัยสำหรับยุคนั้น และใช้การตกแต่งที่นำมาจากสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ การก่อสร้างครั้งนี้ถือกันว่าเป็นก่อสร้างสิ่งก่อสร้างตามสถาปัตยกรรมกอทิกที่แท้จริงเป็นครั้งแรก นอกจากนั้นมหาวิหารก็ยังเป็นตัวอย่างของสถาปัตยกรรมแรยอน็อง และกลายมาเป็นแบบการก่อสร้างของมหาวิหารและแอบบีย์อื่น ๆ ทางตอนเหนือของฝรั่งเศส อังกฤษ และประเทศอื่น ๆ ต่อม.

ใหม่!!: ออร์แกนและมหาวิหารแซ็ง-เดอนี · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ พลังค์

มักซ์ คาร์ล แอนสท์ ลุดวิจ พลังค์ เป็นนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้บุกเบิกการศึกษาทฤษฎีควอนตัม อันเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาฟิสิกส์สมัยใหม่ แม้ในชีวิตตอนแรกของเขาจะดูราบรื่น โดยเขามีความสามารถทั้งทางดนตรีและฟิสิกส์ แต่เขากลับเดินไปในเส้นทางแห่งนักฟิสิกส์ทฤษฎี จนเขาได้ตั้งทฤษฎีทางฟิสิกส์ที่สำคัญต่อฟิสิกส์สมัยใหม่ นั่นคือ กฎการแผ่รังสีของวัตถุดำของพลังค์ รวมถึงค่าคงตัวของพลังค์ ซึ่งนับว่าขาดไม่ได้เลยสำหรับการศึกษากลศาสตร์ควอนตัม ทว่าบั้นปลายกลับเต็มไปด้วยความสิ้นหวังจากภัยสงคราม เขาต้องสูญเสียภรรยาคนแรก และบุตรที่เกิดกับภรรยาคนแรกไปทั้งหมด จนเหลือเพียงตัวเขา ภรรยาคนที่สอง และบุตรชายที่เกิดกับภรรยาคนที่สองเพียงคนเดียว ถึงกระนั้น พลังค์ก็ยังไม่ออกจากประเทศเยอรมนีอันเป็นบ้านเกิดของเขาไปยังดินแดนอื่น พลังค์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ประจำปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและมักซ์ พลังค์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์คัส มิลเลอร์

มาร์คัส มิลเลอร์ เจ้าของรางวัลแกรมมี่ นักดนตรีแจ๊ส นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ และ นักดนตรีผู้มีความสามารถในการเล่นเครื่องดนตรีหลายชนิด มิลเลอร์ เป็นที่รู้จักในฐานะนักเล่นเบส ทั้งเดี่ยว และร่วมงานกับนักดนตรีอื่นๆ Miles Davis (trumpet) Luther Van dross (ร้องนำ) David Sanborn (saxophone) เขาเริ่มต้นฝึกฝนจากclarinet และยังมีความสามารถในการเล่น bass clarinet keyboard saxophone guitar ร่วมถึงร้องอีกด้ว.

ใหม่!!: ออร์แกนและมาร์คัส มิลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยามาฮ่า

มาฮ่า สำนักงานใหญ่ ยามาฮ่า คอร์ปอร์เรชั่น' เป็นบริษัทจากญี่ปุ่น สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่จังหวัดชิซุโอะกะ ผลิตสินค้าหลายอย่าง ได้แก่เครื่องดนตรี เช่น กีต้าร์ เบส คีย์บอร์ด เครื่องเสียง เครื่องจักร เช่น มอเตอร์ไซค์ และเครื่องยนต์เรือ ยามาฮ่าก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและยามาฮ่า · ดูเพิ่มเติม »

รักก้า

ดนตรีรักก้ามัฟฟิน (Raggamuffin music) หรือย่อว่า รักก้า (Ragga) เป็นแนวเพลงย่อยของแดนซ์ฮอลหรือเร้กเก้ ที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีหลักอย่าง ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ และเช่นเดียวกับดนตรีฮิปฮอป คือมักใช้แซมพลิง รักก้า ในปัจจุบันมักมีความหมายเดียวกับแดนซ์ฮอล เร้กเก้ ที่ดีเจจะทำหน้าที่พูดคุย มากกว่าการเลือกเพลง ถูแผ่น หรือร้องในต้นเพลงริดดิม หมวดหมู่:แนวดนตรี.

ใหม่!!: ออร์แกนและรักก้า · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสมาชิกของแบล็ค ซับบาธ

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อของนักดนตรีที่เป็นสมาชิกของวงเฮฟวี่เมทัล วง แบล็ค ซับบาธ ตั้งแต่การก่อตั้งในเบอร์มิงแฮมในปี 1969 จนถึงในปัจจุบันประกอบด้วยสามในสี่ของสมาชิกดั้งเดิมของวงดนตรี นักร้องนำของวงออซซี ออสบอร์น มือกีต้าร์โทนี อิออมมีและมือเบส กีเซอร์ บัตเลอร.

ใหม่!!: ออร์แกนและรายชื่อสมาชิกของแบล็ค ซับบาธ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องดนตรี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ออร์แกนและรายชื่อเครื่องดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

รายการสาขาวิชา

รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2440) โดยได้เพิ่มวิชาภาษาศาสตร์ที่ไม่ใช่คลาสสิก วรรณคดี และวิชาสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาและวิศวกรรมศาสตร์เสริมเข้าไปในหลักสูตรแบบประเพณีโบราณ ในต้นคริสต์ศตวรรษ ที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2440 - พ.ศ. 2475) ได้มีการเพิ่มสาขาวิชาใหม่ๆ เช่น การศึกษา สังคมวิทยา และจิตวิทยา ในมหาวิทยาลัยต่างๆ และในช่วงประมาณ พ.ศ. 2513 - พ.ศ. 2523) ได้เกิดปรากฏการณ์ "การระเบิด" ของสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เน้นเนื้อหาเฉพาะเจาะจง เช่น สื่อศึกษา สตรีศึกษา และชนผิวดำศึกษา สาขาใหม่ๆ เหล่านี้จัดขึ้นในมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับอาชีพและวิชาชีพต่างๆ เช่น การพยาบาล การจัดการโรงพยาบาล การราชทัณฑ์ และหลังสุดก็ได้เห็นสาขาวิชาที่เป็นลักษณะ "สหสาขาวิชา" เช่น ชีวเคมี และ ธรณีฟิสิกส์เกิดเพิ่มขึ้นและได้รับการยอมรับว่าสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ได้ช่วยเพิ่มพูนความรู้ให้กว้างขวางขึ้น เครื่องหมายดอกจัน * แสดงเป็นหมายเหตุว่าสาขาวิชานั้นยังเป็นที่ถกเถียงถึงสถานภาพว่าควรนับไว้ในสายวิชาใด เช่น วิชามานุษยวิทยา และวิชาภาษาศาสตร์ควรจัดไว้ในกลุ่มสังคมศาสตร์ หรือ มนุษยศาสตร์ เป็นที่สังเกตได้ว่าบางท่าน โดยเฉพาะนักทฤษฎีวิจารณ์มักให้ความสำคัญในการบ่งชี้การจัดกลุ่มที่เข้มงวดในทุกสายวิชา รวมทั้งความชัดเจนของโครงสร้างของแนวคิดโดยรวมของแต่ละวิชาซึ่งยังเป็นถกเถียงได้มากสำหรับบางคน.

ใหม่!!: ออร์แกนและรายการสาขาวิชา · ดูเพิ่มเติม »

ริทึมแอนด์บลูส์

ริทึมแอนด์บลูส์ (rhythm and blues หรือรู้จักกันในชื่อ R&B หรือ RnB) เป็นแนวเพลงที่ได้รับความนิยม โดยผสมผสานระหว่างเพลงแนว แจ๊ส กอสเปล และบลูส์ โดยเริ่มแรกจะเล่นโดยศิลปินแอฟริกัน-อเมริกัน.

ใหม่!!: ออร์แกนและริทึมแอนด์บลูส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิทำลายรูปเคารพ

การปฏิรูปศาสนาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มหาวิหารนักบุญมาร์ติน เมืองยูเทรกต์ (Cathedral of Saint Martin, Utrecht)http://www.domkerk.nl/domchurch/history.html The birth and growth of Utrecht (ที่มาและความเจริญเติบโตของอูเทรชท์) ลัทธิทำลายรูปเคารพ (Iconoclasm) เป็นแนวคิดและการปฏิบัติเพื่อไม่ให้มีการใช้รูปเคารพ การทำลายศิลปะหรือรูปสัญลักษณ์ทางศาสนา การทำลายสัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางศาสนา หรือ การทำลายอนุสาวรีย์โดยจงใจภายในสังคมใดสังคมหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นผลจากการกระทำเพื่อศาสนาหรือการเมือง การกระทำเช่นนี้มักจะเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาหรือทางการเมืองภายในสังคมเดียวกัน ลัทธิทำลายรูปเคารพตรงกันข้ามกับ "ลัทธิบูชารูปเคารพ" (Iconodule).

ใหม่!!: ออร์แกนและลัทธิทำลายรูปเคารพ · ดูเพิ่มเติม »

ลิ่มนิ้ว

ผังลิ่มนิ้วทั่วไป (แสดง 3 อ็อกเทฟ) ลิ่มนิ้วที่อยู่บนแกรนด์เปียโน ลิ่มนิ้ว หรือ คีย์บอร์ด คือชุดของก้านเสียงหรือคีย์ที่อยู่ติดกันซึ่งสามารถกดด้วยนิ้วได้ เป็นส่วนประกอบของเครื่องดนตรีหลายชนิด ปกติลิ่มนิ้วมักจะมีคีย์ในการเล่นชุดละ 12 ก้านเสียงสำหรับบันไดเสียงแบบตะวันตก มีทั้งอันสั้นและอันยาวประกอบกันและวนซ้ำกันไปเรื่อยในช่วงอ็อกเทฟ การกดคีย์บนลิ่มนิ้วจะทำให้เครื่องดนตรีนั้นส่งเสียงออกมา ไม่ว่าจะด้วยวิธีการเคาะสายสตริงหรือเดือยแหลม (สำหรับเปียโน เปียโนไฟฟ้า แคลฟวิคอร์ด) การดีดสายสตริง (ฮาร์ปซิคอร์ด) การทำให้อากาศไหลผ่านท่อ (ออร์แกน) หรือการตีระฆัง (แคริลลอน) ส่วนในเครื่องดนตรีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ การกดคีย์จะทำให้เกิดการเชื่อมต่อในแผงวงจร (แฮมมอนด์ออร์แกน เปียโนดิจิทัล ซินทีไซเซอร์) และเนื่องจากเครื่องดนตรีประเภทลิ่มนิ้วที่เป็นแบบสามัญที่สุดคือเปียโน ผังลิ่มนิ้วจึงอาจเรียกว่าเป็น คีย์บอร์ดเปียโน ปกติแล้วลิ่มนิ้วอันยาวจะเป็นสีขาว มี 7 อันในหนึ่งอ็อกเทฟ ไล่เรียงไปตามบันไดเสียง C เมเจอร์ (C D E F G A B) ส่วนลิ่มนิ้วอันสั้นเป็นสีดำ มี 5 อันในหนึ่งอ็อกเทฟ จะอยู่ระหว่างลิ่มนิ้วสีขาว เป็นครึ่งขั้นเสียงของ C เมเจอร์ (C/D D/E F/G G/A A/B) ในเครื่องดนตรีบางชนิด เช่นไพป์ออร์แกนและฮาร์ปซิคอร์ด อาจใช้สีสลับกัน จากขาวเป็นดำและจากดำเป็นขาว แต่ก็มีผังลิ่มนิ้วที่เหมือนกัน หมวดหมู่:เครื่องดนตรีสากล หมวดหมู่:เครื่องลิ่มนิ้ว.

ใหม่!!: ออร์แกนและลิ่มนิ้ว · ดูเพิ่มเติม »

ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า

ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า (보물찾기; Treasure Hunting) เป็นหนังสือการ์ตูนความรู้จากประเทศเกาหลีใต้ ที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับอารยธรรมและวัฒนธรรมนานาชาติ จัดพิมพ์ฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดย สำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ และ ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า เป็นการ์ตูนที่สร้างแรงดลบันดาลใจให้กับหนังสือการ์ตูนความรู้ชุด ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง.

ใหม่!!: ออร์แกนและล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

วังเบลนิม

วังเบลนิม (Blenheim Palace) หรือ คฤหาสน์เบลนิม เป็นคฤหาสน์ที่สร้างอย่างวังตั้งอยู่ที่เมืองเล็กๆ ชื่อวู้ดสต็อคในมลฑลอ๊อกซฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ สร้างโดยซาราห์ เชอร์ชิลผู้เป็นภรรยาของจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเป็นพระสหายสนิทของสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ระหว่างปี ค.ศ. 1705 ถึง ค.ศ. 1722 วังเบลนิมเป็นสถาปัตยกรรมแบบวัง โดยมี เซอร์จอห์น แวนบรูห์เป็นสถาปนิก วังเบลนิมเป็นคฤหาสน์ที่มิได้เป็นของราชวงศ์ แต่ก็ใช้คำนำหน้าว่า “วัง” ซึ่งเป็นแห่งเดียวในอังกฤษเพราะความยิ่งใหญ่ของสิ่งก่อสร้าง จุดประสงค์ของการก่อสร้างเมื่อเริ่มแรกเพื่อเป็นของขวัญสำหรับจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระเพื่อเป็นการตอบแทนในการนำกองทัพอังกฤษรบชนะฝรั่งเศสและบาวาเรีย แต่ต่อมาเบลนิมกลายเป็นปัญหาในการต่อสู้ทางการเมือง ซึ่งเป็นผลทำให้ดยุกและดัชเชสแห่งมาร์ลบะระสิ้นอำนาจ รวมทั้งการเสียชื่อเสียงของสถาปนิกจอห์น แวนบรูห์ ตัววังสร้างเป็นแบบบาโรก ปฏิกิริยาหรือคุณค่าของสิ่งก่อสร้างจนบัดนี้ก็ยังไม่เป็นที่เห็นพ้องกันได้ เช่นเดียวกับในสมัยเมื่อเริ่มสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1720 ตัวสิ่งก่อสร้างเป็นลักษณะที่ผสมระหว่างที่อยู่อาศัย, ที่เก็บศพ และ อนุสาวรีย์ นอกจากนั้นสิ่งที่น่าสนใจคือเป็นที่เกิดของวินสตัน เชอร์ชิลอดีตนายกรัฐมนตรีคนสำคัญของอังกฤษ คำจารึกเหนือประตูใหญ่ทางตะวันออกบอกประวัติของสิ่งก่อสร้าง: แต่ตามความเป็นจริงแล้วความสำเร็จของการสร้างเบลนิมเป็นผลจากความทะเยอทะยานของซาราห์ เชอร์ชิลเป็นส่วนใหญ่ หลังจากสร้างเสร็จเบลนิมก็กลายเป็นที่พำนักของตระกูลเชอร์ชิลมาจนถึงปัจจุบัน เป็นเวลาได้ราว 300 ปี ในระหว่างนั้นตัววังและอุทยานก็ได้รับการเปลื่ยนแปลงมาโดยตลอด เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตระกูลมาร์ลบะระก็ประสบปัญหาทางการเงินจนต้องขายทรัพย์สมบัติสำคัญๆ ไปบ้าง แต่การแต่งงานกับสตรีชาวอเมริกันก็ช่วยนำเงินมาบำรุงรักษาเบลนิมให้ยังอยู่ในสภาพดังเช่นเมื่อเริ่มสร้าง.

ใหม่!!: ออร์แกนและวังเบลนิม · ดูเพิ่มเติม »

วงดนตรี

วงดนตรี หรือ กลุ่มดนตรี (musical ensemble, music group) เป็นกลุ่มคนที่เล่นเครื่องดนตรีหรือใช้เสียงร้อง โดยมีชื่อแต่ละวงเป็นที่รู้จักต่างกันไป ในดนตรีคลาสสิก มีกลุ่มคนที่ประกอบด้วย 3 หรือ 4 คน ที่ใช้กลุ่มเครื่องดนตรีต่างกันเล่นเพื่อผสานเสียงกัน (เช่น เปียโน เครื่องสาย และ เครื่องเป่า) หรือกลุ่มคนที่ใช้เครื่องดนตรีเหมือนกันเพื่อเล่นพร้อมกันก็เรียกว่า กลุ่มดนตรีเครื่องสาย หรือ กลุ่มดนตรีเครื่องเป่า ในกลุ่มดนตรีแจ๊ส มักจะใช้เครื่องเป่า (เช่น แซกโซโฟน ทรัมเป็ต ฯลฯ) เครื่องดนตรีที่มีการจับ 1 หรือ 2 คอร์ด (กีตาร์ไฟฟ้า, เปียโน, หรือ ออร์แกน) เครื่องดนตรีเบส (กีตาร์เบส หรือ ดับเบิลเบส) พร้อมกับคนตีกลอง หรือ คนเล่นเครื่องกระทบ ในกลุ่มดนตรีร็อก หรือ วงดนตรีร็อก มักจะใช้กีตาร์และคีย์บอร์ด (เปียโน เปียโนไฟฟ้า แฮมมอนด์ออร์แกน เครื่องสังเคราะห์เสียง ฯลฯ) และมีท่อนจังหวะจากกีตาร์เบสและกลองชุด หมวดหมู่:กลุ่มดนตรี.

ใหม่!!: ออร์แกนและวงดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ศรายุทธ สุปัญโญ

รายุทธ สุปัญโญ (ชื่อเล่น:อ็อด,เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2493) เป็นนักดนตรี, นักแต่งเพลง และโปรดิวเซอร์เพลง อดีตสมาชิกวงดนตรีโอเรียลเต็ล ฟังก์ และเป็นสมาชิกวงแกรนด์เอ็กซ์ ในตำแหน่งคีย์บอร์ด, เปียโน รวมถึงเป็นผู้ก่อตั้งวงอินฟินิตี้ ศรายุทธ ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในด้านการเรียบเรียงเสียงประสาน การแต่งเพลง และเป็นผู้อยู่เบื้องหลังการทำดนตรีให้กับศิลปินหลายคน รวมทั้งเป็นบุคคลสำคัญในวงการเพลงแจ๊สของประเทศไทยโดยเคยได้รับรางวัลสีสันอวอร์ด,คมชัดลึก อวอร์ด และ รางวัลพระพิฆเนศทองคำพระราชทาน ร่วมกับวงอินฟินิตี้ อีกทั้งยังได้รางวัล Life Time Achivement Award ในฐานะผู้มีคุโณปการต่อวงการดนตรีแจ๊สของประเทศไท.

ใหม่!!: ออร์แกนและศรายุทธ สุปัญโญ · ดูเพิ่มเติม »

สกา (แนวดนตรี)

กา เป็นแนวเพลงที่เกิดในประเทศจาไมก้า ช่วงปลายทศวรรษที่ 50 ซึ่งต่อมามีการพัฒนาเป็น rocksteady และ เร้กเก้ เพลงสกา เป็นการรวมองค์ประกอบเพลงแถบคาริบเบียนอย่าง เม็นโต และ คาลิปโซ เข้ากับ แจ๊ซทางฝั่งอเมริกา กับอาร์แอนด์บี มีลักษณะพิเศษตรงไลน์เบส สำเนียงกีตาร์ และจังหวะเปียโนที่ดูแตกต่างไป สิ่งที่โดดเด่นอีกอย่างคือมีการใช้เครื่องเป่า (อย่างแจ๊ส) เช่น แซกโซโฟน, ทรัมเป็ต, ทรอมโบน เป็นต้น และทศวรรษที่ 60 สกาถูกหมายถึงแนวดนตรีของ Rudeboy ในสหราชอาณาจักร สกาได้รับความนิยมในกลุ่ม ม็อดและพวกสกินเฮด มีวงอย่าง Symarip, Laurel Aitken, Desmond Dekker, และ The Pioneers เป็นต้น.

ใหม่!!: ออร์แกนและสกา (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ

มหาวิหารเดอรัมเหนือแม่น้ำเวียร์ ด้านหน้ามหาวิหารเซนต์อัลบัน ปุ่มหินกลางหอประชุมนักบวชในมหาวิหารยอร์ก สถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ (Architecture of the medieval cathedrals of England) เป็นช่วงระยะเวลาการก่อสร้างมหาวิหารที่เกิดขึ้นในอังกฤษระหว่าง ค.ศ. 1040 ถึงปี ค.ศ. 1540 กลุ่มสิ่งก่อสร้างยี่สิบห้าปีหลังที่ถือว่ามีเอกลักษณ์ของการก่อสร้างที่เป็นของอังกฤษแท้ แม้ว่าสิ่งก่อสร้างจะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป แต่สิ่งก่อสร้างทั้งหมดต่างก็มีจุดประสงค์ร่วมกันเพียงจุดประสงค์เดียว ในการเป็นมหาวิหารอันเป็นสิ่งก่อสร้างที่เป็นศูนย์กลางของการบริหารมุขมณฑลและเป็นที่ตั้งของคาเทดราJohn Harvey, English Cathedrals แม้ว่าลักษณะของสิ่งก่อสร้างแต่ละสิ่งจะเป็นลักษณะอังกฤษแต่ก็เป็นลักษณะที่ต่าง ๆ กันออกไปทั้งความแตกต่างจากกันและกัน และความแตกต่างภายในมหาวิหารเดียวกัน ซึ่งเป็นลักษณะที่ต่างจากมหาวิหารสมัยกลางอื่น ๆ เช่นทางตอนเหนือของฝรั่งเศสที่มหาวิหารและแอบบีย์ใหญ่ ๆ เป็นสิ่งก่อสร้างสำหรับกลุ่มชนเดียวกัน และการสืบประวัติของลักษณะสถาปัตยกรรมก็สามารถทำได้โดยศึกษาจากสิ่งก่อสร้างหนึ่งไปยังสิ่งก่อสร้างถัดไปภายในกลุ่มสิ่งก่อสร้างที่เป็นของอารามเดียวกันAlec Clifton-Taylor, ‘’The Cathedrals of England’’ สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจของมหาวิหารอังกฤษก็คือประวัติของสถาปัตยกรรมสมัยกลางทั้งสมัยสามารถที่จะบรรยายได้จากสิ่งก่อสร้างสิ่งเดียว ที่มักจะประกอบด้วยลักษณะสถาปัตยกรรมเด่น ๆ ของแต่ละยุคโดยไม่มีการพยายามแต่อย่างใดในการพยายามผสานลักษณะที่แตกต่างกันของแต่ละสมัยที่สร้างขึ้นมาก่อนหน้านั้น ฉะนั้นลำดับเหตุการณ์ของการก่อสร้างจากสมัยหนึ่งไปอีกสมัยหนึ่งในมหาวิหารเดียวกันจึงอาจจะย้อนกลับไปกลับมาภายในบริเวณต่างๆ ของสิ่งก่อสร้าง จะมีข้อยกเว้นอยู่ก็แต่มหาวิหารซอลสบรีที่เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมตระกูลเดียวที่กลมกลืนกันไปทั้งตัวสิ่งก่อสร้าง เพราะเป็นการสร้างรวดเดียวเสร็จBanister Fletcher, ‘’History of Architecture on the Comparative Method.’’.

ใหม่!!: ออร์แกนและสถาปัตยกรรมมหาวิหารสมัยกลางในอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก

อาสนวิหารโคโลญ, ประเทศเยอรมนี มีหอสูงที่สุดในโลก อาสนวิหารซอลสบรี (1220-1380) จากมุมตะวันออก มีหอสูงที่สุดในอังกฤษ อาสนวิหารเบอร์มิงแฮม (Birmingham Cathedral) อังกฤษ อาสนวิหารเกิร์ค (Gurk Dom) ออสเตรีย สถาปัตยกรรมการก่อสร้างอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก เป็นบทความที่บรรยายถึงลักษณะสิ่งก่อสร้างของอาสนวิหารทางคริสต์ศาสนา ที่รวมทั้งสิ่งก่อสร้างที่มีลักษณะใกล้เคียงกับอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก อาสนวิหาร คือโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลมุขนายกตามที่กำหนดไว้ อาสนวิหารเป็นที่เป็นที่ตั้งของ “คาเทดรา” (bishop's cathedra) และเป็นสถานที่ทางคริสต์ศาสนาที่ใช้ในการนมัสการ (โดยเฉพาะสำหรับนิกายที่มีระบบฐานันดรการปกครองเช่น โรมันคาทอลิก ออร์ทอดอกซ์ หรือแองกลิคัน) ขนาดของสิ่งก่อสร้างที่เป็นอาสนวิหารไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่โตเสมอไป อาจจะมีขนาดเล็กอย่างเช่นอาสนวิหารอ๊อกซฟอร์ด หรือ อาสนวิหารเชอร์ที่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ แต่โดยทั่วไปแล้วอาสนวิหารมักจะเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่ที่สุดและเด่นที่สุดในท้องถิ่นที่ตั้งอยู.

ใหม่!!: ออร์แกนและสถาปัตยกรรมอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

สตีวี วันเดอร์

ตีวี วันเดอร์ (Stevie Wonder มีชื่อตามเกิด Stevland Hardaway Judkins ภายหลังเปลี่ยนเป็น Stevland Hardaway Morris) เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1950 เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักประพันธ์เพลง และโปรดิวเซอร์ดนตรี สตีวี วันเดอร์มีเพลงติดท็อปเท็น มากกว่า 30 เพลงในอเมริกา ได้รับรางวัลแกรมมี่ 22 ครั้ง ยังได้รับรางวัลออสการ์สาขาเพลงยอดเยี่ยม สตีวี วันเดอร์ตาบอดมาตั้งแต่เด็ก เขาเซ็นสัญญากับโมทาวน์ตั้งแต่อายุ 11 ปี และเริ่มแสดงและบันทึกเสียงกับค่ายเพลง โดยมีเพลงอันดับ 1 เพลงแรก Fingertips (Pt. 2) ตั้งแต่อายุ 13 ปี และมีเพลงอันดับ 1 ในอเมริการวม 9 เพลง มียอดขายอัลบั้มมากกว่า 100 ล้านชุด นอกจากนั้นเขายังเป็นนักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ให้กับศิลปินดังหลายๆ คน ตัวเขาสามารถเล่นดนตรีได้หลายชนิดเช่น กลอง,เบสกีตาร์,ออร์แกน,ฮาร์โมนิกา,เปียโน,เครื่องสังเคราะห์เสียง และอื่นๆ โดยเฉพาะเสียงฮาร์โมนิกาของเขาที่เป็นเอกลักษณ.

ใหม่!!: ออร์แกนและสตีวี วันเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

หนังตะลุง

หนังตะลุง หนังตะลุง คือ ศิลปะการแสดงประจำท้องถิ่นอย่างหนึ่งของภาคใต้ เป็นการเล่าเรื่องราวที่ผูกร้อยเป็นนิยาย ดำเนินเรื่องด้วยบทร้อยกรองที่ขับร้องเป็นสำเนียงท้องถิ่น หรือที่เรียกกันว่าการ "ว่าบท" มีบทสนทนาแทรกเป็นระยะ และใช้การแสดงเงาบนจอผ้าเป็นสิ่งดึงดูดสายตาของผู้ชม ซึ่งการว่าบท การสนทนา และการแสดงเงานี้ นายหนังตะลุงเป็นคนแสดงเองทั้งหมด หนังตะลุงเป็นมหรสพที่นิยมแพร่หลายอย่างยิ่งมาเป็นเวลานาน โดยเฉพาะในยุคสมัยก่อนที่จะมีไฟฟ้าใช้กันทั่วถึงทุกหมู่บ้านอย่างในปัจจุบัน หนังตะลุงแสดงได้ทั้งในงานบุญและงานศพ ดังนั้นงานวัด งานศพ หรืองานเฉลิมฉลองที่สำคัญจึงมักมีหนังตะลุงมาแสดงให้ชมด้วยเสมอ แต่เมื่อเวลาผ่านไป หนังตะลุงกลับกลายเป็นความบันเทิงที่ต้องจัดหามาในราคาที่ "แพงและยุ่งยากกว่า" เมื่อเทียบกับภาพยนตร์ เพราะการจ้างหนังตะลุงมาแสดง เจ้าภาพต้องจัดทำโรงหนังเตรียมไว้ให้ และเพราะหนังตะลุงต้องใช้แรงงานคน (และฝีมือ) มากกว่าการฉายภาพยนตร์ ค่าจ้างต่อคืนจึงแพงกว่า ยุคที่การฉายภาพยนตร์เฟื่องฟู หนังตะลุงและการแสดงท้องถิ่นอื่น ๆ เช่น มโนราห์ รองแง็ง ฯลฯ ก็ซบเซาลง ยิ่งเมื่อเข้าสู่ยุคที่ทุกบ้านมีโทรทัศน์ดู ละครโทรทัศน์จึงเป็นความบันเทิงราคาถูกและสะดวกสบาย ที่มาแย่งความสนใจไปจากศิลปะพื้นบ้านเสียเกือบหมด ปัจจุบัน โครงการศิลปินแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์และสืบทอดศิลปะการแสดงหนังตะลุงให้แก่อนุชนรุ่นหลัง เพื่อรักษามรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่านี้ให้คงอยู่สืบไป.

ใหม่!!: ออร์แกนและหนังตะลุง · ดูเพิ่มเติม »

ออร์แกน

ออร์แกน (Organ, กรีก: ὄργανον ออร์กานอน) เป็นเครื่องดนตรีสากล ออร์แกนมีประวัติในการประดิษฐ์ที่ยาวนานมาตั้งแต่สมัยโรมัน และมีความสำคัญควบคู่มากับศาสนาคริสต์เลยทีเดียว คำว่า Organ นั้น ก็มาจากภาษาละติน Organum ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีชื่อว่า Hydraulis ต้นกำเนิดเสียงของออร์แกนมาจากลม ซึ่งมีแหล่งกำเนิดหลายวิธีซึ่งในสมัยโบราณก็ต้องใช้แรงคนในการผลิตลม เมื่อลมถูกบังคับให้ไหลผ่านท่อที่มีขนาดต่างๆกันก็จะเกิดเสียงที่มีความถี่แตกต่างกัน ท่อที่ใช้ในการสร้างออร์แกนนั้น อาจจะเป็นไม้ หรือโลหะ ก็ได้ ซึ่งจะส่งผลให้มีเสียงที่แตกต่างกัน และออร์แกนหนึ่งเครื่อง สามารถทำเสียงต่าง ๆ ได้เท่า ๆ กับเครื่องดนตรีหลายชิ้นมารวมกัน ดังนั้น ออร์แกนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแนวทำนอง และแนวเดินเบส โดยไม่ต้องพึ่งพาเครื่องดนตรีอื่นใด ดังนั้น ในสมัยก่อนนั้น ออร์แกนจึงถือเป็นเครื่องดนตรีที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดในบรรดาเครื่องดนตรีทั้งปวง ออร์แกนได้รับฉายาว่าเป็นราชาแห่งเครื่องดนตรีตะวันตก เนื่องจากมีความซับซ้อนในการประดิษฐ์ และขนาดที่ใหญ่ ออร์แกนที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ที่ แอตแลนติกซิตีคอนเวนชันฮอล ที่เมืองแอตแลนติกซิตี รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา ซี่งมีจำนวนไปป์ถึง 33,000 ไปป์ หมวดหมู่:เครื่องลิ่มนิ้ว หมวดหมู่:เครื่องลม หมวดหมู่:ออร์แกน.

ใหม่!!: ออร์แกนและออร์แกน · ดูเพิ่มเติม »

อะไวเทอร์เฉดออฟเพล

อะไวเทอร์เฉดออฟเพล (A Whiter Shade of Pale) เป็นเพลงจากอัลบัมชุดแรกของวงร็อกอังกฤษ โพรคัล ฮารัม ที่วางจำหน่ายในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและอะไวเทอร์เฉดออฟเพล · ดูเพิ่มเติม »

อารามวัลด์ซัสเซิน

อารามวัลด์ซัสเซิน (Kloster Waldsassen) เป็นอารามนักพรตหญิงของคณะซิสเตอร์เชียน เดิมเป็นแอบบีย์ของนักพรตชาย ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น้ำวอนเดร็บที่วัลด์ซัสเซินในรัฐบาวาเรียไม่ไกลจากพรมแดนเยอรมนีที่ติดกับสาธารณรัฐเชก.

ใหม่!!: ออร์แกนและอารามวัลด์ซัสเซิน · ดูเพิ่มเติม »

อารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์

อารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์ (Abbaye de Saint-Benoît-sur-Loire) หรือ อารามเฟลอรี (Abbaye de Fleury) เป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกติน ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์ จังหวัดลัวแร ประเทศฝรั่งเศส เป็นหนึ่งในแอบบีย์ที่มีฐานะดีที่สุดและมีอำนาจมากที่สุดในบรรดาแอบบีย์ของคณะเบเนดิกตินในทวีปยุโรปตะวันตก ชื่อปัจจุบันของแอบบีย์คือ “เฟลอรี-แซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์” ที่มาจากการอ้างว่าพบเรลิกของนักบุญเบเนดิกต์แห่งเนอร์เซียที่นั่น ตำแหน่งที่ตั้งอยู่บนแม่น้ำลัวร์ทำให้ง่ายต่อการติดต่อกับออร์เลอ็องซึ่งเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่ต่อเนื่องกันมาอย่างไม่ขาดสายตั้งแต่สมัยโรมัน.

ใหม่!!: ออร์แกนและอารามแซ็ง-เบอนัว-ซูร์-ลัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหาร

อาสนวิหาร อาสนวิหารเซ็นต์บาร์บารา (St Barbara's church) เมือง Kutná Hora สาธารณรัฐเช็ก อาสนะบิชอปที่อาสนวิหารโวลเทอร์รา (Volterra Cathedral) ประเทศอิตาลี อาสนวิหาร (Cathedral; Cathédrale; Kathedrale/Dom; Cattedrale/Duomo) คือคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่คริสต์ศาสนิกชนใช้ทำการนมัสการพระเจ้า (โดยเฉพาะในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ แองกลิคัน และลูเทอแรน อาสนวิหารจะเป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งของมุขนายก ที่ใช้เป็นศูนย์กลางของมุขมณฑลซึ่งเป็นเขตปกครองของบิชอป คำว่าอาสนวิหารใช้ได้หลายความหมาย บางอาสนวิหารของคริสตจักรปฏิรูปที่สกอตแลนด์ซึ่งปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของคริสตจักรแห่งสกอตแลนด์ยังใช้คำว่าเรียกตัวเองว่าอาสนวิหารอยู่ทั้งที่โบสถ์นั้นไม่มีตำแหน่งมุขนายกประจำ ฉะนั้นในบางกรณีคำว่าอาสนวิหารจึงใช้เรียกโบสถ์ที่ไม่ได้เป็นที่ตั้งอาสนะของบิชอปแต่มีลักษณะใหญ่โตน่าประทับใจ นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จะไม่ใช้คำว่าอาสนวิหารแต่จะใช้คำว่าโบสถ์ใหญ่ (the great church) แต่เมื่อแปลเป็นภาษาอังกฤษก็จะใช้คำว่า “cathedral” เมื่อพูดถึงโบสถ์ใหญ่ นิกายออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์จะไม่มีอาสนวิหารอย่างที่ว่าแต่จะมีโบสถ์หลักเช่นโบสถ์เซนต์มาร์กที่ไคโรซึ่งก็เรียกกันว่า “cathedral” เช่นกัน อาสนวิหารหลายแห่งในทวีปยุโรปไม่เรียกตัวเองว่าอาสนวิหารแต่จะเรียกตัวเองว่า Minster หรือ Münster เช่น ที่เมืองยอร์ก หรือ ลิงคอล์น ในประเทศอังกฤษ แต่คนทั่วไปก็ยังเรียกทั้งสองแห่งนี้ว่า “อาสนวิหาร” ในประเทศเยอรมนี ทั้งสองคำนี้มีรากมาจากคำว่า monasterium ใน ภาษาละติน เพราะแต่เดิมอาสนวิหารเหล่านี้เคยอยู่ภายใต้การปกครองของแคนัน (canon) ที่อยู่ในชุมชนนั้นหรืออาจจะเคยเป็นแอบบีย์มาก่อนการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารบลัว

อาสนวิหารบลัว (Cathédrale de Blois) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญหลุยส์แห่งบลัว (Cathédrale Saint-Louis de Blois) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลบลัว ตั้งอยู่ในเขตเมืองบลัว จังหวัดลัวเรแชร์ ในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญหลุยส์ อาสนวิหารแรนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารบลัว · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารบายอน

อาสนวิหารบายอน (Cathédrale de Bayonne) มีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญมารีย์แห่งบายอน (Cathédrale Sainte-Marie de Bayonne) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลบายอน แล็สการ์ และออลอรง ตั้งอยู่ที่เมืองบายอน จังหวัดปีเรเน-อัตล็องติก แคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี อาสนวิหารเป็นอาคารแบบสถาปัตยกรรมกอทิก สันนิษฐานว่าเริ่มก่อสร้างราว ค.ศ. 1213 มีจุดเด่นที่หอระฆังคู่ความสูง 85 เมตร ภายในยังเป็นสถานที่บรรจุเรลิกของนักบุญเลอง เดอ การ็องต็อง อดีตมุขนายกแห่งบายอนในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 และยังมีระเบียงคดซึ่งสร้างราว..

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารบายอน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารชิชิสเตอร์

อาสนวิหารชิชิสเตอร์ (Chichester Cathedral หรือ Cathedral Church of the Holy Trinity Diocese of Chichester) เป็นอาสนวิหารนิกายอังกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองชิชิสเตอร์ในสหราชอาณาจักร สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบโรมานเนสก์และกอธิคสมัยต้น นักประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมนิโคลัส เพฟเนอร์ (Nikolaus Pevsner) กล่าวถึงอาสนวิหารชิชิสเตอร์ว่าเป็นอาสนวิหารที่มีลักษณะแบบอังกฤษแท้ ทางเดินกลางแปลกกว่าที่อื่นที่ทำเป็นทางเดินกลางคู่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13 สิ่งที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งคือเป็นอาสนวิหารเดียวในอังกฤษที่มีหอระฆังที่แยกจากตัวอาสนวิหารแบบอิตาลีและสามารถมองเห็นจากทะเล อาสนวิหารชิชิสเตอร์เริ่มสร้างเป็นครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารชิชิสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารกาวายง

อาสนวิหารกาวายง (Cathédrale de Cavaillon) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระและนักบุญเวร็องแห่งกาวายง (Cathédrale Notre-Dame-et-Saint-Véran de Cavaillon) เป็นโบสถ์ประจำเขตแพริชและอดีตอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลกาวายงตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 4 จนกระทั่งถูกยุบรวมเข้ากับอัครมุขมณฑลอาวีญงตั้งแต่ ค.ศ. 1801 จนปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่เมืองกาวายง จังหวัดโวกลูซ ในแคว้นพรอว็องซาลป์โกตดาซูร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้นักบุญเวร็องแห่งกาวายง (Saint Véran de Cavaillon) อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารกาวายง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารกูต็องส์

อาสนวิหารกูต็องส์ (Cathédrale de Coutances) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งกูต็องส์ (Cathédrale Notre-Dame de Coutances) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายก ประจำมุขมณฑลกูต็องส์และอาวร็องช์ ตั้งอยู่ในเมืองกูต็องส์ จังหวัดม็องช์ ในแคว้นนอร์ม็องดี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระแม่มารี อาสนวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเลประมาณ 90 เมตร ซึ่งเป็นจุดสนใจที่สำคัญของตัวเมืองกูต็องส์ อีกทั้งยังสามารถมองเห็นได้จากทะเลอีกด้วย ตามตำนานกล่าวว่าสามารถมองเห็นได้จากเกาะเจอร์ซีย์ ที่อยู่ห่างไปถึง 40 กิโลเมตร เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของอาคารที่อยู่ในระหว่างการเปลี่ยนผ่านทางสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์กับองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ใหม่กว่าตามแบบกอทิก จะพบว่าด้านข้างของบริเวณกลางโบสถ์และหอสูงซึ่งขนาบทั้งสองข้างของหน้าบันหลักนั้นยังเป็นโครงสร้างแบบโรมาเนสก์ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 11 ซึ่งยังเห็นได้ชัดเจนจากบริเวณชั้นบนของวิหารในเวลาเยี่ยมชม นอกจากนี้ยังประกอบด้วยยอดสูงถึงสองยอดบริเวณหน้าบันด้านหน้าวิหาร และหอรับแสง (tour-lanterne) ตรงกลางระหว่างหอสูงทั้งสอง และยังถือเป็นตัวอย่างที่สำคัญของสถาปัตยกรรมกอทิกนอร์มัน (gothique normand) ซึ่งโดดเด่นด้วยเส้นสายที่ตรงและสูงชะลูด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแนวดิ่ง อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารกูต็องส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารมงเปอลีเย

อาสนวิหารมงเปอลีเย (Cathédrale de Montpellier) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งมงเปอลีเย (Cathédrale Saint-Pierre de Montpellier) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่วิหารประจำอัครมุขนายกแห่งอัครมุขมณฑลมงเปอลีเย ตั้งอยู่ในเขตเมืองเก่าของเมืองมงเปอลีเย จังหวัดเอโร แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่อัครทูตสำคัญคือนักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็นสถานที่ในแบบสถาปัตยกรรมกอทิกที่ใหญ่โตที่สุดในเมืองมงเปอลีเย และเป็นอาสนวิหารที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคล็องก์ด็อก-รูซียงอีกด้วย อาสนวิหารมงเปอลีเยได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารมงเปอลีเย · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารยอร์ก

อาสนวิหารยอร์ก (York Cathedral) มีชื่อเป็นทางการว่า "อาสนวิหารและคริสตจักรมหานครแห่งนักบุญเปโตรในกรุงยอร์ก" (The Cathedral and Metropolitical Church of St Peter in York) เป็นคริสต์ศาสนสถานประเภทอาสนวิหารที่สร้างเป็นแบบกอธิคที่ใหญ่ที่เป็นที่สองรองจากอาสนวิหารโคโลญในประเทศเยอรมนี ทางตอนเหนือของทวีปยุโรป อาสนวิหารยอร์กตั้งอยู่ที่เมืองยอร์กในยอร์กเชอร์ ทางตอนเหนือของ สหราชอาณาจักร เป็นโบสถ์ประจำตำแหน่งของของอาร์ชบิชอปแห่งยอร์กซึ่งเป็นตำแหน่งสูงสุดในคริสตจักรแห่งอังกฤษรองจากอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรี อาสนวิหารยอร์กถือกันว่าเป็น “high church” ของนิกายแองโกล-คาทอลิก (Anglo-Catholicism) ของคริสตจักรแองกลิคัน อาสนวิหารมีทางเดินกลางที่สร้างแบบกอธิควิจิตร (Decorated Gothic) และหอประชุมนักบวช บริเวณร้องเพลงสวดและทางด้านหลังเป็นแบบกอธิคแบบ กอธิคสูง (Perpendicular Gothic) ทางด้านเหนือของแขนกางเขนเป็นแบบกอธิคอังกฤษตอนต้น ทางเดินกลางมีหน้าต่างเหนือบานประตูที่สร้างเมื่อ..

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารรอแดซ

อาสนวิหารรอแดซ (Cathédrale de Rodez) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งรอแดซ (Cathédrale Notre-Dame de Rodez) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก ของมุขมณฑลรอแดซ ตั้งอยู่ที่เมืองรอแดซในประเทศฝรั่งเศส ด้านหน้าที่มีลักษณะตันเป็นส่วนหนึ่งของกำแพงเมืองรอแดซ.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารรอแดซ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารล็อง

อาสนวิหารล็อง (Cathédrale de Laon) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งล็อง (Cathédrale Notre-Dame de Laon) สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี ปัจจุบันมีฐานะเป็นโบสถ์ประจำแพริชในนิกายโรมันคาทอลิก ซึ่งในอดีตเคยมีฐานะเป็นอาสนวิหารของอดีตมุขมณฑลล็องซึ่งในปัจจุบันอยู่ในการปกครองของมุขนายกประจำมุขมณฑลซัวซง อันเป็นผลจากการควบรวมตามความตกลง ค.ศ. 1801 อาสนวิหารตั้งอยู่ที่เมืองล็อง จังหวัดแอน แคว้นโอดฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็นหนึ่งในสถานที่แห่งแรกในแบบสถาปัตยกรรมกอทิกในประเทศฝรั่งเศส โดยสร้างหลังจากอาสนวิหารแซ็ง-เดอนีและอาสนวิหารนัวยง และยังสร้างก่อนอาสนวิหารแม่พระแห่งปารีสอีกด้วย อาสนวิหารล็องได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารล็อง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารล็องกร์

อาสนวิหารล็องกร์ (Cathédrale de Langres) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารนักบุญแมมมิสแห่งล็องกร์ (Cathédrale Saint-Mammès de Langres) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกอันเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลล็องกร์ ตั้งอยู่ที่เมืองล็องกร์ในจังหวัดโอต-มาร์น แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญแมมมิสแห่งไกซาเรอา มรณสักขีในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 3 ลักษณะเด่นของอาสนวิหารแห่งนี้อยู่ที่ความผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบบูร์กอญกับสถาปัตยกรรมกอทิก อาทิ เพดานแบบโค้งสัน หน้าบันหลักทิศตะวันตกซึ่งสร้างขึ้นใหม่ในแบบสถาปัตยกรรมคลาสสิก อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารล็องกร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารวาน

อาสนวิหารวาน (Cathédrale de Vannes) หรือเรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งวาน (Cathédrale Saint-Pierre de Vannes) เป็นอาสนวิหารนิกายโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลวาน และยังมีฐานะเป็นมหาวิหารด้วย ตั้งอยู่ที่เมืองวาน จังหวัดมอร์บีอ็อง แคว้นเบรอตาญ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารวานสร้างในแบบสถาปัตยกรรมกอทิก โดยตั้งอยู่บนสถานที่ของอาสนวิหารเดิมซึ่งเป็นแบบโรมาเนสก์ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 การก่อสร้างกินเวลายาวนานถึง 500 ปี ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และถ้ายังนับรวมกับอายุของหอระฆังเก่าแบบโรมาเนสก์แล้วจะรวมเป็นระยะเวลาทั้งสิ้นถึงกว่า 700 ปีด้วยกัน อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1903.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารวาน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารวุร์สเตอร์

อาสนวิหารวุร์สเตอร์ (ภาษาอังกฤษ: Worcester cathedral) เป็นอาสนวิหารนิกายอังกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองวูสเตอร์ บนฝั่งแม่น้ำเซเวิร์น (Severn) ใน สหราชอาณาจักร ชื่อทางการของอาสนวิหารวูสเตอร์ คือ “The Cathedral Church of Christ and the Blessed Virgin Mary” อาสนวิหารวุร์สเตอร์เดิมก่อตั้งเป็นสำนักสงฆ์เมื่อ..

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารวุร์สเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอาลบี

อาสนวิหารอาลบี ((Cathédrale d'Albi) หรือชื่อทางการคือ อาสนวิหารนักบุญเซซีลีอาแห่งอาลบี (Cathédrale Sainte-Cécile d'Albi) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ประจำตำแหน่งอัครมุขนายกแห่งอาลบี ตั้งอยู่ที่เมืองอาลบีในประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบกอทิก ปัจจุบัน อาสนวิหารอาลบีร่วมกับเมืองเก่าอาลบีในนาม นครมุขนายกแห่งอาลบี ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโกเมื่อปี ค.ศ. 2010.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารอาลบี · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอ๊อกซฟอร์ด

อาสนวิหารไครสต์เชิร์ช (Christ Church Cathedral) เป็นอาสนวิหารแองกลิคันประจำมุขมณฑลอ๊อกซฟอร์ด ตั้งอยู่ที่เมืองอ็อกฟอร์ด ในประเทศอังกฤษ และมีเขตการปกครองเลยไปถึงเบนเบอรี (Banbury) อาสนวิหารเดิมเป็นไพรออรีเซนต์ไฟรด์สไวด์ เพราะเชื่อกันว่าเป็นที่ตั้งของอารามและเรลิกของนักบุญ Frideswide องค์อุปถัมภ์เมืองอ๊อกซฟอร์ด แต่ก็ยังเป็นข้อที่ถกเถึยงกันอยู่ เมื่อปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารดักซ์

อาสนวิหารดักซ์ (Cathédrale de Dax) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งดักซ์ (Cathédrale Notre-Dame de Dax) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลแอร์และดักซ์ ตั้งอยู่ที่เมืองดักซ์ จังหวัดล็องด์ ในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารี ในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของอดีตมุขมณฑลดักซ์ แต่ได้ถูกยุบลงภายหลังการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งรวมถึงอดีตมุขมณฑลแอร์ซึ่งประสบชะตากรรมเดียวกันด้วย โดยทั้งสองได้ถูกยุบผนวกกับมุขมณฑลบายอนตามความตกลง ค.ศ. 1801 และต่อมาในปี ค.ศ. 1817 ได้มีการแยกออกมาอีกครั้งหนึ่งโดยรวมเป็นหนึ่งมุขมณฑล มีชื่อเรียกว่า มุขมณฑลแอร์และดักซ์ โดยมีที่ตั้งของมุขนายกที่อาสนวิหารแอร์ ต่อมาในปี ค.ศ. 1833 ได้มีการย้ายที่ตั้งของมุขนายกมาอยู่ที่อาสนวิหารแห่งดักซ์ อนึ่ง อาสนวิหารแอร์ยังคงเป็นอาสนวิหารร่วม (co-cathedral) อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1884 ในบริเวณซุ้มประตูอัครทูต (Portail des Apôtres) และอาคารส่วนที่เหลือ ค.ศ. 1946.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารดักซ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารตูลูซ

อาสนวิหารตูลูซ (Cathédrale de Toulouse) มีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งตูลูซ (Cathédrale Saint-Étienne de Toulouse) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของอัครมุขนายกประจำอัครมุขมณฑลตูลูซ ตั้งอยู่ที่กร็อง-รง (Grand-Rond) ในเขตเมืองตูลูซ จังหวัดโอต-การอน ในแคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสเทเฟน ปีที่ก่อสร้างนั้นยังไม่พบหลักฐานที่ชัดเจน จากหลักฐานพบการกล่าวถึงโบสถ์แห่งหนึ่งในที่ตั้งเดียวกันในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารตูลูซ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแม็ส

อาสนวิหารแม็ส (Cathédrale de Metz) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญสเทเฟนแห่งแม็ส (Cathédrale Saint Étienne de Metz) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกและที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลแม็ส ตั้งอยู่ที่เมืองแม็ส จังหวัดมอแซล แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญสำคัญคือนักบุญสเทเฟน ห้องเก็บสมบัติของอาสนวิหารได้สะสมของมีค่ามานานนับพันปี โดยเป็นของสะสมของมุขมณฑลแม็สที่รวมถึงผ้าคลุมแท่นบูชาและสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่ใช้ในพิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์ อาสนวิหารแม็สถือเป็นหนึ่งในอาสนวิหารที่มีโถงทางเดินโบสถ์ที่สูงที่สุดแห่งหนี่งของโลก และยังมีชื่อเล่นว่า "โคมไฟแห่งพระผู้เป็นเจ้า" (La Lanterne du Bon Dieu) อันเนื่องมาจากมีโครงสร้างหน้าต่างที่เป็นงานกระจกสีมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลกJolin J.L. (2001) La lanterne du Bon Dieu.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารแม็ส · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแร็งส์

อาสนวิหารแร็งส์ (Cathédrale de Reims) หรือชื่อทางการว่า อาสนวิหารแม่พระแห่งแร็งส์ (Cathédrale Notre-Dame de Reims) เป็นอาสนวิหารสำคัญของเมืองแร็งส์ จังหวัดมาร์น ประเทศฝรั่งเศส ที่เคยใช้ในพิธีสวมมงกุฎกษัตริย์ของประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารที่เห็นในปัจจุบันสร้างบนฐานของวิหารเดิมที่ถูกเพลิงไหม้ไปเมื่อ..

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารแร็งส์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์

อาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์ (Cathédrale de Saint-Flour) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งแซ็ง-ฟลูร์ (Cathédrale Saint-Pierre de Saint-Flour) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลมุขมณฑลแซ็ง-ฟลูร์ ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็ง-ฟลูร์ จังหวัดก็องตาล ในแคว้นโอแวร์ญ-โรนาลป์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้เป็นหนึ่งในอาสนวิหารทั้งหมดสี่แห่งของภูมิภาคโอแวร์ญ ตั้งอยู่กลางใจเมืองเก่าของแซ็ง-ฟลูร์ และเป็นอาสนวิหารที่สร้างในรูปแบบสถาปัตยกรรมกอทิกสร้างเสร็จในคริสต์ศตวรรษที่ 15 บนที่ตั้งของบาซิลิกาแบบโรมาเนสก์เดิม หินที่ใช้สร้างมีลักษณะคล้ายคลึงกันกับสิ่งก่อสร้างทางคริสต์ศาสนาในแถบนี้ ซึ่งเป็นหินภูเขาไฟมีสีดำสนิทอันเป็นเอกลักษณ์สำคัญของอาสนวิหาร ต่อมาภายหลังอาสนวิหารได้ถูกปล่อยให้ชำรุดทรุดโทรมลงมากในช่วงของการปฏิวัติฝรั่งเศส อาสนวิหารแห่งนี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารแซ็ง-ฟลูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็งตอแมร์

อาสนวิหารแซ็งตอแมร์ (Cathédrale de Saint-Omer) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารแม่พระแห่งแซ็งตอแมร์ (Cathédrale Notre-Dame de Saint-Omer) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิกที่มีฐานะเป็นอาสนวิหาร ตั้งอยู่ที่เมืองแซ็งตอแมร์ในแคว้นโอดฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส เดิมเป็นตั้งอาสนะของบิชอปแห่งแซ็งตอแมร์ แต่มุขมณฑลแซ็งตอแมร์ก็ไม่ได้รับการฟื้นฟูหลังสงครามปฏิวัติฝรั่งเศสตามการตกลง ค.ศ. 1801 ซึ่งเป็นการตกลงระหว่างจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 และสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 ในการยืนยันและฟื้นฟูฐานะของคริสตจักรโรมันคาทอลิกในฝรั่งเศส แต่กลับถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของมุขมณฑลอารัส สถาปัตยกรรมที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแบบสถาปัตยกรรมกอทิก อาสนวิหารแซ็งตอแมร์ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารแซ็งตอแมร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแปร์ปีญ็อง

อาสนวิหารแปร์ปีญ็อง (Cathédrale de Perpignan) หรือมีชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมาแห่งแปร์ปีญ็อง (Cathédrale Saint-Jean-Baptiste de Perpignan; Catedral de Sant Joan Baptista de Perpinyà) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งอาสนะของมุขนายกประจำมุขมณฑลแปร์ปีญ็อง-แอลน์ ตั้งอยู่ในเขตเมืองแปร์ปีญ็อง จังหวัดปีเรเน-ออรีย็องตาล แคว้นอ็อกซีตานี ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้นักบุญยอห์นผู้ให้บัพติศมา ได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นอาสนวิหารจากการย้ายอาสนะของมุขนายกจากมุขมณฑลแอลน์ (เดิมอาสนะตั้งอยู่ที่อาสนวิหารแอลน์) มารวมอยู่ที่มุขมณฑลแปร์ปีญ็องเมื่อปี ค.ศ. 1602 ตามพระบัญชาของสมเด็จพระสันตะปาปาเคลเมนต์ที่ 8 อาสนวิหารแปร์ปีญ็องได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารแปร์ปีญ็อง · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารเอ็กซิเตอร์

อาสนวิหารเซนต์ปีเตอร์ที่เอ็กซิเตอร์ (Cathedral Church of Saint Peter at Exeter) หรือ อาสนวิหารเอ็กซิเตอร์ (Exeter Cathedral) เป็นอาสนวิหารแองกลิคันตั้งอยู่ที่เมืองเอ็กซีเตอร์ เทศมณฑลเดวอน ประเทศอังกฤษ เป็นที่ตั้งอาสนะของบิชอปแห่งเอ็กซิเตอร์ สิ่งก่อสร้างปัจจุบันสร้างเสร็จ เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและอาสนวิหารเอ็กซิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อีนิกมาแวริเอชันส์

Variations on an Original Theme for orchestra, Op.

ใหม่!!: ออร์แกนและอีนิกมาแวริเอชันส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ปซิคอร์ด

Clavecin fait par Dumont ฮาร์ปซิคอร์ด เป็นเครื่องดนตรีตะวันตก ในยุคบาโรค ประเภทเครื่องดีด โดยมีการพัฒนามาจากเครื่องดนตรีประเภทพิณ และกีตาร์ กลไกการเกิดเสียงจะใช้การเกี่ยวดึงสายโลหะซึ่งมีขนาด และความยาวแตกต่างกันเพื่อให้ได้เสียงความถี่ต่างๆ การเล่นเครื่องดนตรีนี้จะใช้ คีย์บอร์ด (Keyboard) ในการสร้างกลไกในการดึงสาย โดยผู้เล่นสามารถเลือกกดบนแป้นคีย์บอร์ด ซึ่งจะคล้ายคลึงกับการเล่น เปียโน (Piano) แต่จะมีคีย์บอร์ดสองชั้น เหมือน ออร์แกน (Organ) ผู้เล่นไม่สามารถปรับความดังของเสียงได้ด้วยน้ำหนักของการกดคีย์บอร์ด แต่สามารถใช้กลไกอื่นช่วยในการสร้างความแตกต่างของคุณภาพเสียง (Acrustic Quality) ในยุคบาโรคมีการเล่นเครื่องดนตรีนี้อย่างแพร่หลายในบทเพลงประเภทเดี่ยว และวง สำหรับประเภทเดี่ยวได้มีผู้ประพันธ์เพลงที่มีบทบาทสำคัญได้แก่ บาค แฮนเดล สกาลัตตี คูโน แต่งเพลงไว้มากมาย โดยเฉพาะสกาลัตตีได้แต่เพลงประเภท โซนาตา ไว้เป็นจำนวนมาก และเป็นบทเพลงที่มีความซับซ้อนในด้านเทคนิคการเล่นอย่างสูง สำหรับประเภทวง เครื่องดนตรีนี้สามารถเล่นร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นๆได้ วงออเครสตราในยุคนั้นได้กำหนดให้มีการเล่นดนตรีประเภท บาสโซคอนทินิวโอ (Basso Continuo) ไม่ได้เฉพาะเครื่องดนตรีเบสอย่างเดียว แต่ได้มีการใส่สัญลักษณ์เป็นตัวเลขเอาไว้เพื่อให้ฮาร์ปซิคอร์ดเล่นประกอบด้วย ถ้าจะเปรียบเทียบกับการเล่นดนตรีในปัจจุบันแล้ว ฮาร์ปซิคอร์ดเป็นเหมือนกับกลองชุด ซึ่งเป็นตัวกำหนดจังหวะของผู้เล่นเครื่องดนตรีอื่น และที่สำคัญที่สุด ผู้อำนวยเพลง (Conductor) ในสมัยบาโรค ก็มักจะประจำที่ฮาร์ปซิคอร์ดด้วย ตัวอย่างเพลงที่สำคัญของเครื่องดนตรีนี้ได้แก่ บทเพลงประเภท ออเครสตราสวิท (Orchestra Suite) ของบาค และ เฮนเดล บราเดนบวกคอนแซโต (Brandenburg Concerto) โดยเฉพาะหมายเลขห้า มีความพิเศษที่บาคนำฮาร์ปซิคอร์ดมาเป็นเครื่องดนตรีโซโลเพื่อฉลองให้กับฮาร์ปซิคอร์ดตัวใหม่ของเขาด้วย ในปัจจุบันก็ยังมีการเล่นฮาร์ปซิคอร์ดกันอยู่เมื่อมีการเล่นดนตรีบาโรคเพราะเสียงที่เป็นเอกลักษณ์ และเทคนิคการเล่นที่ไม่สามารถหาเครื่องดนตรีอื่นมาทดแทนได้.

ใหม่!!: ออร์แกนและฮาร์ปซิคอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ฌอร์ฌ บีแซ

อร์ฌ บีแซ ฌอร์ฌ บีแซ (Georges Bizet,; 25 ตุลาคม พ.ศ. 2381 – 3 มิถุนายน พ.ศ. 2418) คีตกวีชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ออร์แกนและฌอร์ฌ บีแซ · ดูเพิ่มเติม »

ผังอาสนวิหาร

ผังของอาสนวิหารอาเมียง ที่ประเทศฝรั่งเศส แสดงให้เห็นเสาใหญ่รับน้ำหนักหอด้านหน้าวัด; แขนกางเขนสั้น; ชาเปล 7 ชาเปล ที่เรียกว่า “chevet” รอบมุขโค้งด้านสกัดออกมาจากจรมุข ผังอาสนวิหาร (Cathedral diagram, Cathedral plan, Cathedral floorplan) แสดงให้เห็นลักษณะโครงสร้างและองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของอาสนวิหารในยุโรปตะวันตก แผนผังจะแสดงกำแพง แนวเสาทำให้เห็นโครงสร้าง เส้นสองเส้นบนกำแพงด้านนอกคือหน้าต่างกระจก เส้น x เป็นสัญลักษณ์สำหรับเพดานโค้ง ตามปกติผังของวัดทางคริสต์ศาสนาจะวางเหมือนการวางแผนที่ ด้านเหนืออยู่บน ด้านตะวันตกถือกันว่าเป็นด้านหน้าของวัด ด้านตะวันออกที่เป็นบริเวณที่ทำคริสต์ศาสนพิธีอยู่ทางขว.

ใหม่!!: ออร์แกนและผังอาสนวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล

อร์จ ฟริเดอริก แฮนเดิล ค.ศ. 1733 จอร์จ ฟริดริก (หรือฟริเดอริก) แฮนเดิล (George Frideric/Frederick Handel) เกิดเมื่อวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ออร์แกนและจอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล · ดูเพิ่มเติม »

จอน ลอร์ด

นาทาน ดักลาส "จอน" ลอร์ด (Jonathan Douglas "Jon" Lord) นักแต่งเพลง นักเปียโนและออร์แกน มีชื่อเสียงในฐานะนักดนตรีผู้บุกเบิกดนตรีแนวผสมผสานระหว่างร็อก คลาสสิก บาโรก เป็นผู้นำดนตรีเฮฟวีเมทัลและฮาร์ดร็อก โดยเป็นอดีตหัวหน้าวงและผู้ก่อตั้งดีพ เพอร์เพิลมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและจอน ลอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

จาโกโม ปุชชีนี

กโม ปุชชีนี จาโกโม อันโตนีโอ โดเมนีโก มีเกเล เซกอนโด มารีอา ปุชชีนี (Giacomo Puccini 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467) เป็นคีตกวีชาวอิตาเลียน เกิดที่เมืองลูคคา ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 (ค.ศ. 1858) เขาเป็นที่รู้จักในนามของ ปุชชินี และได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในคีตกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 อุปรากรที่โด่งดังของเขาได้แก่เรื่อง มาดามบัตเตอร์ฟลาย และ ทอสก้า ปุชชินีเสียชีวิตที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924).

ใหม่!!: ออร์แกนและจาโกโม ปุชชีนี · ดูเพิ่มเติม »

ทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์ (BWV 565)

หน้าแรกของสำเนาโน้ตดนตรีโดยโยฮันน์ ริงค์ ทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์, BWV 565 (Toccata and Fugue in D minor, BWV 565) เป็นบทประพันธ์สำหรับบรรเลงด้วยออร์แกน ที่สันนิษฐานว่าแต่งโดยโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค ในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: ออร์แกนและทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ ในบันไดเสียง ดี ไมเนอร์ (BWV 565) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวทองกีบม้า (มารี กีมาร์)

ท้าวทองกีบม้า มีชื่อตัวว่า มารีอา กูโยมาร์ เด ปิญญา (Maria Guyomar de Pinha) แต่มักเป็นที่รู้จักในชื่อ มารี กีมาร์ (Marie Guimarชื่อของเธอมีการสะกดได้หลายทาง ได้แก.

ใหม่!!: ออร์แกนและท้าวทองกีบม้า (มารี กีมาร์) · ดูเพิ่มเติม »

ดั๊บ (แนวดนตรี)

นตรีดั๊บ (dub music) เป็นแนวเพลงที่แยกออกจากเร้กเก้ในทศวรรษที่ 1960 และถูกจัดเป็นแนวเพลงย่อย แม้ว่าจะได้มีการพัฒนาจนต่างไกลจากดนตรีเร้กเก้ ส่วนใหญ่เพลงในแนวดนตรีนี้ประกอบด้วยเพลงบรรเลงที่ถูกริมิกซ์ให้ยาวขึ้นในการบันทึกเสียง ซึ่งมีความสำคัญในการจัดการ การก่อร่างบันทึกเสียง ปกติจะการเอาเสียงร้องที่มีอยู่ออกจากชิ้นงานเพลงและเน้นส่วนกลองและเบส และเทคนิคอื่น ๆ ได้แก่การเพิ่มเสียงไดนามิก และเอฟเฟกต์อื่น ๆ เช่น เอ็กโค รีเวิร์บ พาโนรามิกดีเลย์ (การใช้ดีเลย์ในระหว่างสองช่องเสียง) มีการนำเสียงร้องหรือเพลงบรรเลงเวอร์ชันเก่าและงานเพลงอื่นบางส่วนมาอัดเสียงทับใหม่เป็นบางครั้ง.

ใหม่!!: ออร์แกนและดั๊บ (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

ดิอิมพอสซิเบิ้ล

อิมพอสซิเบิ้ล หรือชื่อเรียกสั้นๆ ว่า ดิอิม เป็นวงดนตรีสตริงคอมโบวงแรกๆ ของไทย มีชื่อเสียงในยุค 70 ก่อนจะยุบวงในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและดิอิมพอสซิเบิ้ล · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรียุคบาโรก

นตรียุคบาโรก หรือบางแห่งเรียกว่า ดนตรีบาโรก (Baroque music) เป็นลักษณะดนตรียุโรปคลาสสิก ราว..

ใหม่!!: ออร์แกนและดนตรียุคบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีคลาสสิก

วงซิมโฟนีออเคสตรา ดนตรีคลาสสิก (Classical music) เป็นรูปแบบหนึ่งของดนตรี ซึ่งมักจะหมายถึงดนตรีที่เป็นศิลปะของตะวันตก การแสดงดนตรีคลาสสิกจะใช้เครื่องดนตรี 4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอลา เชลโล และดับเบิลเบส กลุ่มที่สอง คือ เครื่องลมไม้ (Woodwind) เช่น ฟลูต คลาริเน็ต โอโบ บาสซูน ปิคโคโล กลุ่มที่สาม คือ เครื่องลมทองเหลือง (Brass) เช่น ทรัมเป็ต ทรอมโบน ทูบา เฟรนช์ฮอร์น กลุ่มที่สี่ คือ เครื่องกระทบ (Percussion) เช่น กลองทิมปานี ฉาบ กลองใหญ่ (Bass Drum) กิ๋ง (Triangle) เมื่อเล่นรวมกันเป็นวงเรียกว่าวงดุริยางค์หรือ ออร์เคสตรา (Orchestra) ซึ่งมีผู้อำนวยเพลง (conductor) เป็นผู้ควบคุมวง.

ใหม่!!: ออร์แกนและดนตรีคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีไทย

วงมโหรีโบราณเครื่องหก ดนตรีไทย เป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย, จีน, อินโดนีเซีย และอื่น ๆ เครื่องดนตรีมี 4 ประเภท ดีด สี ตี เป.

ใหม่!!: ออร์แกนและดนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

คริสเตียนร็อก

คริสเตียนร็อก (Christian rock) คือเพลงร็อกประเภทหนึ่งที่เล่นโดยสมาชิกที่นับถือคริสเตียน ที่มักจะเน้นเนื้อเพลง สาระสำคัญในเรื่องความเชื่อในคริสต์ศาสนา วงคริสเตียนร็อกส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้อกับเพลงแนวคอนเทมโพแรรีคริสเตียน (CCM) ดนตรีคริสเตียนร็อกได้รับความนิยมอย่างมากในสหรัฐอเมริกา ในขณะที่วงคริสเตียนบางวงก็โด่งดังไปทั่วโลก หมวดหมู่:ดนตรีร็อก หมวดหมู่:ประเภทดนตรีร็อก หมวดหมู่:ประเภทดนตรีคริสเตียน.

ใหม่!!: ออร์แกนและคริสเตียนร็อก · ดูเพิ่มเติม »

คริทิคัลอักเคลม

"คริทิคัลอักเคลม" เป็นเพลงของวงดนตรีเฮฟวีเมทัลชาวอเมริกัน อะเว็นจด์เซเวนโฟลด์ เป็นซิงเกิลแรกจากสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 4 ของวง อะเว็นจด์เซเวนโฟลด์ อะเว็นจด์เซเวนโฟลด์ได้โพสต์ทีเซอร์ของเพลงความยาว 2 นาที และ 15 วินาที ลงในมายสเปซของวง ก่อนที่จะถึงวันออกจำหน่ายในไอทูนส์ แต่ในวันที่ 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: ออร์แกนและคริทิคัลอักเคลม · ดูเพิ่มเติม »

คันทรีป็อป

ันทรีป็อป มีรากฐานดนตรีมาจากทั้งคันทรีพอลิทัน และโฟล์กร็อก เป็นแนวเพลงประเภทย่อยของดนตรีคันทรี และป็อป ที่ปรากฏออกมาครั้งแรกในยุคปี 1970.

ใหม่!!: ออร์แกนและคันทรีป็อป · ดูเพิ่มเติม »

คันทวย

ผังคันทวยไม้ที่ Yingzao Fashi จากตำราการก่อสร้าง คันทวย หรือ ทวย (corbel) คือส่วนหนึ่งของสถาปัตยกรรมทำหน้าที่ค้ำยันชายคา ระเบียง หรือ หลังคาของสิ่งก่อสร้าง.

ใหม่!!: ออร์แกนและคันทวย · ดูเพิ่มเติม »

คู่นก

"คู่นก" เป็นซิงเกิลเพลงไทยชุดแรกของวงแกรนด์เอ็กซ์ มีจำนวน 4 เพลง เผยแพร่ในรูปแบบแผ่นเสียง ในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและคู่นก · ดูเพิ่มเติม »

คีย์บอร์ด

ีย์บอร์ด (keyboard) เป็นของหมักดอง มีรสและกลิ่นเปรี้ยว เนื่องจากถูกหมักบ่ม และ เก็บมานานภายใต้สภาพอากาศปิด ยิ่งนานยิ่งมีกลิ่นที่เปรี้ยวรุนแรง อาจรวมถึง Mouse ด้วย เช่นกัน; ในการพิม.

ใหม่!!: ออร์แกนและคีย์บอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

คีย์บอร์ดไฟฟ้า

ีย์บอร์ดไฟฟ้า คีย์บอร์ดไฟฟ้า (Electronic keyboard) หรือ คีย์บอร์ด (Keyboard) เป็นเครื่องดนตรีประเภทลิ่มนิ้ว (Keyboard instrument) มีแป้นกดเสียงโน้ตที่มีรูปร่างคล้ายกับแป้นกดเสียงโน้ตของเปียโน และเป็นเครื่องดนตรีที่ต้องอาศัยพลังงานไฟฟ้าสำหรับระบบการทำงานเสมอ คีย์บอร์ดไฟฟ้าจะสร้างเสียงขึ้นมาทันทีเมื่อแป้นกดเสียงโน้ตของมันถูกกด โดยจะมีการผลิตเสียงผ่านระบบคอมพิวเตอร์ภายในตัวเครื่อง โดยทั่วไปแล้ว คีย์บอร์ดไฟฟ้าจะมีปุ่มตัวเลขเล็กๆ หรือ จานหมุนเล็กๆ สำหรับใช้เปลี่ยนแปลงรูปแบบเสียง เพื่อการร่วมบรรเลงให้กับแนวเพลงที่แตกต่างกันออกไป รูปแบบเสียงภายในคีย์บอร์ดไฟฟ้านั้น จะมีให้ผู้ใช้ได้เลือก โดยมักจะมีตั้งแต่เสียง เปียโน, ฮาร์ปซิคอร์ด, แคลฟวิคอร์ด, ออร์แกน, กีต้าร์, กีตาร์เบส, ทรัมเป็ต, ทรอมโบน, แซกโซโฟน, หีบเพลงชัก รวมไปถึงเสียงกลุ่มเครื่องสายภายในวงออร์เคสตรา, เสียงกลุ่มเครื่องเป่าภายในวงโยธวาทิต, เสียงสังเคราะห์ชนิดต่างๆจากเครื่องสังเคราะห์เสียง รวมไปถึงเสียงเครื่องเคาะประกอบจังหวะ เช่น คองกา, บองโก, ไทรแองเกิล, แทมบูรีน, มาราคัส, และกลองชุด เป็นต้น โดยทั่วไปแล้ว คีย์บอร์ดไฟฟ้ามักถูกใช้ร่วมบรรเลงกับดนตรีสากลหลากหลายแนว เช่น ป็อป, ร็อค, แจ๊ส, อาร์แอนด์บีร่วมสมัย, และดนตรีอีเลกโทรนิก เป็นต้น คีย์บอร์ดไฟฟ้ายังได้รับความนิยมมากในช่วงทศวรรษที่ 80 ในการบรรเลงดนตรีแนว นิวเวฟ, โปรเกรสซีฟร็อค, นิวเอจ, แจ๊สฟิวชัน, ยูโรแดนซ์, และซินธ์ป็อป นอกจากดนตรีสมัยใหม่แล้ว คีย์บอร์ดไฟฟ้ายังใช้ร่วมบรรเลงกับดนตรีพื้นบ้านบางแนวได้เช่นกัน เช่น ดนตรีลูกทุ่ง เป็นต้น ด้วยขนาดที่กะทัดรัดและความสามารถในการจำลองเสียงเครื่องดนตรีสากลหลากหลายประเภท ทำให้คีย์บอร์ดไฟฟ้ายังคงได้รับความนิยมจากเหล่านักดนตรีมาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ออร์แกนและคีย์บอร์ดไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

ฉากกางเขน

กางเขนบนฉากกางเขนจากคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่วัดซังเอเทืยงดูมองท์ ที่ปารีส ฉากกางเขน (Rood screen หรือ Choir screen หรือ Chancel screen) คือฉากที่แยกระหว่างบริเวณสำหรับผู้เข้าร่วมในคริสต์ศาสนพิธีหรือทางเดินกลางและบริเวณสำหรับสงฆ์หรือบริเวณที่พระใช้ทำพิธีที่แกะตกแต่งอย่างสวยงามที่นิยมสร้างกันในสมัยกลาง วัสดุที่สร้างอาจจะเป็นไม้หรือหินแกะสลักหรือฉลุทาสีหรือเหล็กดัด ฉากกางเขน ปรากฏทั่วไปในโบสถ์คริสต์ในยุโรป ภาษาเยอรมันใช้คำว่า “Lettner”, ภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า “jubé”, ภาษาดัทช์ใช้คำว่า “doksaal” ฉากกางเขนทางตะวันออกจะตกแต่งหรูหรากว่าทางตะวันตก.

ใหม่!!: ออร์แกนและฉากกางเขน · ดูเพิ่มเติม »

ฉากแท่นบูชาเกนต์

วิวเมื่อเปิดบานพับภาพ วิวเมื่อปิดบานพับภาพ ฉากประดับแท่นบูชาเกนต์ (Gents altaarstuk; Ghent Altarpiece) หรือ ลูกแกะของพระเจ้า (Het Lam Gods; Adoration of the Mystic Lamb) เป็นบานพับภาพเขียนเสร็จเมื่อ..

ใหม่!!: ออร์แกนและฉากแท่นบูชาเกนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ซับบาธบลัดดีซับบาธ

ซับบาธบลัดดีซับบาธ (Sabbath Bloody Sabbath) เป็นสตูดิโออัลบั้มที่ห้าของวงเฮฟวีเมทัลของอังกฤษ วงแบล็ก ซับบาธ ออกวางขายช่วง ธันวาคม 1973 อัลบั้มนี้มีการเพิ่มเคื่องสังเคราะห์เสียง และคีย์บอร์ดในการบันทึกเพลงด้ว.

ใหม่!!: ออร์แกนและซับบาธบลัดดีซับบาธ · ดูเพิ่มเติม »

ซันลุยจีเดย์ฟรันเชซี

ซันลุยจีเดย์ฟรันเชซี (Chiesa di San Luigi dei francesi; Church of Saint Louis of France) เป็นนักบุญหลุยส์ผู้เป็นพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสมาก่อนเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 ลักษณะแบบฝรั่งเศสเห็นได้ชัดในการออกแบบด้านหน้าของวัดที่เป็นที่ตั้งของประติมากรรมหลายรูปที่ทำให้รำลึกถึงประวัติศาสตร์ที่รวมทั้งชาร์เลอมาญ พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 นักบุญโคลทิลด์, นักบุญเดนีส์ และ นักบุญฌานแห่งวาลัว ภายในตกแต่งด้วยจิตรกรรมฝาผนังบรรยายเรื่องราวของนักบุญหลุยส์ (โดยชาร์ลส์-โจเซฟ นาตัวร์ (Charles-Joseph Natoire)), นักบุญเดนีส์ และพระเจ้าโคลวิสที่ 1 (Clovis I) โบสถ์ซันลุยจีเดย์ฟรันเชซีได้รับเลือกให้เป็นที่บรรจุศพของนักบวชคนสำคัญ ๆ และบุคคลที่เป็นสมาชิกของชุมชนฝรั่งเศสที่อยู่ในกรุงโรมที่รวมทั้วพอลลีน เดอ โบมองต์ที่เสียชีวิตด้วยวัณโรคในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและซันลุยจีเดย์ฟรันเชซี · ดูเพิ่มเติม »

ปาแลเดอชาโย

ปาแลเดอชาโย (Palais de Chaillot) ตั้งอยู่ฝั่งตรงข้ามหอไอเฟลคนละฝั่งของแม่น้ำแซน ในเขตที่ 16 ของปารีส ตั้งอยู่บนที่ตั้งเดิมของ ปาแลดูว์ทรอกาเดโร (Palais du Trocadéro) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเรียกสั้นของสถานที่นี้ว่า ทรอกาเดโร (Trocadéro) อาคารขนาดใหญ่แห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อใช้จัดงานนิทรรศการ Exposition Internationale des Arts et Techniques dans la Vie Moderne ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงปารีส ในระหว่างวันที่ 25 พฤษภาคม - 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1937 สร้างในสถาปัตยกรรมแบบฟื้นฟูคลาสสิก (Neo-Classic) อาคารแห่งนี้ได้ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1980.

ใหม่!!: ออร์แกนและปาแลเดอชาโย · ดูเพิ่มเติม »

นิวเอจ

นตรีนิวเอจ หากแปลตามตัวก็หมายถึง ดนตรียุคใหม่ เป็นแนวดนตรีชนิดหนึ่งมีจุดเริ่มต้นจากงานความหลากหลายของนักดนตรียุโรปและอเมริกันในทศวรรษที่ 60 ที่ทำเพลงอีเลกโทรนิกและอคูสติก โดยทั่วไปมีลักษณะการใช้เครื่องดนตรีพื้นฐานและความซ้ำของเมโลดี้ในธรรมชาติ การบันทึกเสียงจากธรรมชาติก็มีการนำมาใช้ในเพลง ดนตรีนิวเอจมีดนตรีที่ให้ความผ่อนคลาย แรงบันดาลใจ และมักใช้กับกิจกรรมต่างๆ อย่างเช่น โยคะ การนวด การทำสมาธิ การอ่านหนังสือ และการบริหารความเครียด ที่จะสร้างบรรยากาศไม่ว่าจะที่บ้านหรือสถานที่ต่าง ๆ ลักษณะของดนตรีนิวเอจมักผสมระหว่างเสียงเอฟเฟกหรือเสียงจากธรรมชาติ รวมกับเพลงอีเลกโทรนิกและเครื่องดนตรี อาศัยโครงของดนตรีหนุนไว้ อย่างเช่น ฟลุต เปียโน อคูสติกกีตาร์ และอาจรวมถึงเครื่องดนตรีตะวันออก ซึ่งในบางเพลงอาจมีการร้องลำนำในภาษาสันสกฤต ทิเบต หรือการสวดของคนพื้นถิ่นในทวีปอเมริกาเหนือ เป็นต้น หรือในบางคร้งก็มีการเขียนเนื้อร้องที่อิงมาจากเทพนิยายอย่างตำนานเคลติก เป็นต้น สำหรับเพลงที่มีความยาวมากกว่า 20 นาทีในเพลงประเภทนี้ไม่ใช่สิ่งที่แปลกอะไร และในบางครั้งลักษณะของเพลงแบบนี้ก็มีการเปรียบได้ว่าดนตรีแอมเบียนต์ (ambient music) ในช่วงทศวรรษที่ 80 ดนตรีนิวเอจได้รับความนิยมทางสถานีวิทยุทั่วไป.

ใหม่!!: ออร์แกนและนิวเอจ · ดูเพิ่มเติม »

นีโอโซล

นีโอโซล หรือบางครั้งเรียก นูโซล (nu soul) เป็นแนวเพลงย่อยของแนวเพลงอาร์แอนด์บีร่วมสมัย ดนตรีมักผสมผสามดนตรีโซลในยุค 70 และได้รับอิทธิพลจากแนวเพลงแจ๊ซ ฟังก์ ละติน แอฟริกัน ฮิปฮอป และดนตรีเฮาส์ คำว่านีโอโซลมีที่มาจากเคดาร์ มาสเซนเบิร์ก จากค่ายโมทาวน์ในช่วงปลายยุค 1990 โดยกลุ่มคนฟังแนวเพลงนี้มักจะสนใจเพลงใต้ดิน ไร้สังกัด และความเป็นโซลมากกว่าแนวเพลงกระแสหลัก หมวดหมู่:แนวดนตรี.

ใหม่!!: ออร์แกนและนีโอโซล · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์เอ็กซ์

แกรนด์เอ็กซ์ (GRAND EX’) เป็นวงดนตรีที่มีชื่อเสียงและประวัติยาวนาน ก่อตั้งโดย นคร เวชสุภาพร ชักชวนเพื่อนๆ ที่ วิทยาลัยบพิตรพิมุข ตั้งวงดนตรีชื่อว่า “Extreme” ต่อมาประกวดสตริงคอมโบครั้งที่ 3 โดยใช้ชื่อ แกรนด์เอ็กซ.

ใหม่!!: ออร์แกนและแกรนด์เอ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แวนเจลิส

อีแวนเจลอส โอดิซซีซ์ พาพาธานาซโซ (Evangelos Odysseas Papathanassiou กรีก: Ευάγγελος Οδυσσέας Παπαθανασίου) (เกิด 29 มีนาคม ค.ศ. 1943 -) นักดนตรีและนักแต่งเพลงชาวกรีก มีผลงานในแนวดนตรีอีเลกโทรนิก นิวเอจ โพรเกรสซีฟร็อก แอมเบียนต์ โดยใช้ชื่อในการแสดงว่า แวนเจลิส (Vangelis กร่อนมาจากชื่อ Evangelos; อ่านว่า /vænˈgɛlɨs/) ผลงานของแวนเจลิสที่มีชื่อเสียง คือดนตรีประกอบภาพยนตร์เรื่อง Chariots of Fire (ชื่อไทย: เกียรติยศแห่งชัยชนะ) ในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและแวนเจลิส · ดูเพิ่มเติม »

แจ็ค จอห์นสัน

แจ็ค จอห์นสัน (Jack Johnson) เกิด 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1975 เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง เกิดและโตในฮาว.

ใหม่!!: ออร์แกนและแจ็ค จอห์นสัน · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์วีส

วีส (Wies church; Wieskirche) หรือ โบสถ์การจาริกแสวงบุญแห่งวีส (Pilgrimage Church of Wies; Wallfahrtskirche auf der Wies) ตั้งอยู่ในเมืองโชนเกา อยู่บริเวณเชิงเทือกเขาแอลป์ ใกล้เมืองชไตน์กาเดิน (Steingaden) ในรัฐไบเอิร์น ทางใต้ของประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: ออร์แกนและโบสถ์วีส · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์นักบุญโธมัส (ไลพ์ซิก)

นักบุญโธมัส (Thomaskirche) เป็นโบสถ์เก่าแก่ของเมืองไลพ์ซิก มีหลักฐานการสร้างโบถส์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1212 ปัจจุบันมีความสำคัญเนื่องจากเป็นโบสถ์ที่ โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค คีตกวีชื่อดังชาวเยอรมัน เคยทำงานเพลง และยังเป็นสถานที่ฝังศพของเขาอีกด้วย โบสถ์นักบุญโธมัส เมืองไลพ์ซิก โบสถ์นักบุญโธมัส เมืองไลพ์ซิกทางด้านทิศเหนือ.

ใหม่!!: ออร์แกนและโบสถ์นักบุญโธมัส (ไลพ์ซิก) · ดูเพิ่มเติม »

โพรคัล ฮารัม

รคัล ฮารัม (Procol Harum) เป็นกลุ่มดนตรีร็อกสัญชาติอังกฤษ ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1967 สร้างงานดนตรีในแนวโปรเกรสซีฟร็อก และซิมโฟนิกร็อก โดยได้อิทธิพลมาจากดนตรีคลาสสิก และดนตรีบาโรก ผลงานที่มีชื่อเสียงของวงเป็นซิงเกิลจากอัลบัมแรก ชื่อ A Whiter Shade of Pale ในปี 1967 สมาชิกวงรุ่นแรกประกอบด้วย แกรี บรุคเคอร์ นักร้องนำ, โรบิน ทราวเวอร์ นักกีตาร์, คีธ รีด นักแต่งเพลง, แมททิว ฟิชเชอร์ นักออร์แกน, เรย์ รอยเออร์ นักกีตาร์ และเดวิด ไนทส์ นักกีตาร์เบส ชื่อวงตั้งขึ้นโดย กาย สตีเวนส์ ผู้จัดการวง ตามชื่อแมวเบอร์มีสของเพื่อน โดยเข้าใจว่าเป็นภาษาละตินมีความหมายว่า "beyond these things" ที่ถูกต้องแล้ว Procol Harum มีความหมายว่า "of these far off things" (โดยที่คำว่า "Procol" นั้นสะกดผิด ที่ถูกต้องเป็น "Procul") แต่หากต้องการให้มีความหมายว่า "beyond these things" ตามที่ตั้งใจไว้ วงจะต้องใช้ชื่อ Procul His นอกจากนี้แล้ว คนทั่วไปมักสะกดผิดชื่อวงผิดเป็น Procol Harem วงมีผลงานอัลบัมทั้งสิ้น 9 ชุด ก่อนจะยุบวงในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและโพรคัล ฮารัม · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ พาเคลเบล

ันน์ พาเคลเบล (Johann Pachelbel 1 กันยายน พ.ศ. 2196 – 3 มีนาคม พ.ศ. 2249) เป็นหนึ่งในผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นคีตกวีและนักเล่นออร์แกนที่สำคัญคนหนึ่งในช่วงกลางของยุคบารอค ชาวเยอรมัน ผลงานที่เป็นที่มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีคือ Canon in D.

ใหม่!!: ออร์แกนและโยฮันน์ พาเคลเบล · ดูเพิ่มเติม »

โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค

ันน์ เซบาสเตียน บาค, ปี พ.ศ. 2291 วาดโดย อีลิอาส ก็อตลอบ เฮาส์มันน์ (Elias Gottlob Haussmann) โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค (Johann Sebastian Bach) เป็นคีตกวีและนักออร์แกนชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2228 (ค.ศ. 1685) ในครอบครัวนักดนตรี ที่เมืองไอเซนัค บาคแต่งเพลงไว้มากมายโดยดั้งเดิมเป็นเพลงสำหรับใช้ในโบสถ์ เช่น "แพชชั่น" บาคถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2293 ที่เมืองไลพ์ซิก บาคเป็นนักประพันธ์ดนตรีสมัยบาโรค เขาสร้างดนตรีของเขาจนกลายเป็นเอกลักษณ์ของยุคสมัย บาคมีอิทธิพลอย่างสูงและยืนยาวต่อการพัฒนาดนตรีตะวันตก แม้แต่นักประพันธ์เพลงผู้ยิ่งใหญ่เช่น โมซาร์ท และเบโธเฟน ยังยอมรับบาคในฐานะปรมาจารย์ งานของบาคโดดเด่นในทุกแง่มุม ด้วยความพิถีพิถันของบทเพลงที่เต็มไปด้วย ท่วงทำนอง เสียงประสาน หรือ เทคนิคการสอดประสานกันของท่วงทำนองต่าง ๆ รูปแบบที่สมบูรณ์แบบ เทคนิคที่ฝึกฝนมาเป็นอย่างดี การศึกษาค้นคว้า แรงบันดาลใจอันเต็มเปี่ยม รวมทั้งปริมาณของบทเพลงที่แต่ง ทำให้งานของบาคหลุดจากวงจรทั่วไปของงานสร้างสรรค์ที่ปกติแล้วจะเริ่มต้น เจริญเติบโตถึงขีดสุด แล้วเสื่อมสลาย นั่นคือไม่ว่าจะเป็นเพลงที่บาคได้ประพันธ์ไว้ตั้งแต่วัยเยาว์ หรือเพลงที่ประพันธ์ในช่วงหลังของชีวิตนั้นจะมีคุณภาพทัดเทียมกัน.

ใหม่!!: ออร์แกนและโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค · ดูเพิ่มเติม »

โยเซฟ อันทอน ฟอยช์ทมาเยอร์

"Honigschlecker" putto ภายในวัดเบอร์เนา (Birnau) ที่อือเบอร์ลิงเก็น (Überlingen) ประเทศเยอรมนี เซ็นต์แอนนา (ค.ศ. 1750) ปัจจุบันอยู่ในพิพิธภัณฑ์ ที่อือเบอร์ลิงเก็น แท่นบูชาภายในวัดฟรานซิสกัน (Franziskanerkirche) ที่อือเบอร์ลิงเก็น โจเซฟ อันทวน ฟ็อยค์เมเยอร์ (ภาษาเยอรมนี: Joseph Anton Feuchtmayer) ทำพิธีศีลจุ่มเมื่อวันที่ 6 มีนาคม..

ใหม่!!: ออร์แกนและโยเซฟ อันทอน ฟอยช์ทมาเยอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท

วล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) 27 มกราคม พ.ศ. 2299 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2334 (ค.ศ. 1756 - 1791) เป็นนักประพันธ์ดนตรีคลาสสิกชาวออสเตรียที่มีชื่อเสียงก้องโลก โมซาร์ทเกิดที่เมืองซาลซ์บูร์ก เขามีงานประพันธ์เพลง 700 ชิ้นรวมทั้งอุปรากร (ดนตรีซึ่งมีเนื้อเรื่อง) ชื่อ ดอน โจวันนี (Don Giovanni) และ ขลุ่ยวิเศษ (Die Zauberflöte) ปัจจุบันผลงานต่าง ๆ ของเขาได้ถูกนำมาจัดจำหน่ายเป็นสื่อต่าง ๆ มากม.

ใหม่!!: ออร์แกนและโวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมซาร์ท · ดูเพิ่มเติม »

โฮเทลแคลิฟอร์เนีย (อัลบั้ม)

ทลแคลิฟอร์เนีย (Hotel California) เป็นสตูดิโออัลบั้มลำดับที่ 5 ของวงคันทรีร็อกสัญชาติอเมริกัน อีเกิลส์ โฮเทลแคลิฟอร์เนียนับเป็นอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดอัลบั้มหนึ่งของอีเกิลส์เช่นเดียวกับอัลบั้มรวมเพลง แดร์เกรตเทสต์ฮิตส์ (1971-1975) ด้วยการเป็นหนึ่งในอัลบั้มที่มียอดจำหน่ายสูงสุดตลอดกาล โดยมี 3 ซิงเกิลจากอัลบั้ม ที่ไต่อันดับดีบนบิลบอร์ดชาร์ท ได้แก่ "New Kid in Town" (No. 1) "Hotel California" (No. 1) และ "Life in the Fast Lane" (No. 11) โฮเทลแคลิฟอร์เนียได้จำหน่ายออกสู่ตลาดมากกว่า 32 ล้านชุดทั่วโลก โดยกว่า 17 ล้านชุดในสหรัฐประเทศเดียว ทำให้กลายเป็นอัลบั้มที่มียอดจำหน่ายสูงที่สุดของวง ในเวลาต่อมาอัลบั้มก็ยังได้รับการจัดอันดับที่ 37 บนหัวข้อ "500 อัลบั้มที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล" จากนิตยสารโรลลิงสโตนส์ อีกด้วย อัลบั้มได้โปรดิวเซอร์ บิล ซิมซิค (Bill Szymczyk) มาช่วยในการบันทึกเสียงที่คริเทอเรียสตูดิโอ (Criteria) และที่เรคเคิร์ดแพลนท์สตูดิโอ (Record Plant) ในช่วงระหว่างเดือนมีนาคมและตุลาคม 1976 และต่อมาก็ย้ายไปที่อะไซลัมเรเคิร์ด (Asylum) ในเดือนธันวาคม อัลบั้มนี้ยังเป็นอัลบั้มแรกของวงที่ได้มือกีตาร์ โจ วอล์ช ซึ่งมาแทนที่เบอร์นี่ ลีดอน และยังเป็นอัลบั้มสุดท้ายที่มือเบส แรนดี ไมส์เนอร์ได้ร่วมบันทึกเสียง หน้าปกหน้าของโฮเทลแคริฟอร์เนียคือ โรงแรมเดอะเบเวอร์ลีฮิลส์ (The Beverly Hills Hotel) ซึ่งถ่ายโดยเดวิด อเล็กซานเดอร์ (David Alexander) อัลบั้มได้ขึ้นท็อปชาร์ทในหลายประเทศ รวมถึงอันดับ 1 บนบิลบอร์ด 200.

ใหม่!!: ออร์แกนและโฮเทลแคลิฟอร์เนีย (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

โจวันนี ปีแอร์ลุยจี ดา ปาเลสตรีนา

thumb โจวานนี เปียร์ลุยจี ปาเลสตรินา (Giovanni Pierluigi da Palestrina; 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1525 หรือ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1526 – 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1594) คีตกวีชาวอิตาเลียนในช่วงปลายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ ปาเลสตรินาเกิดที่เมืองปาเลสตรินา เป็นเมืองเล็กๆ ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากโรม และอยู่ในอาณาจักรพระสันตะปาปา เริ่มงานจากการเป็นนักร้องเสียงประสานในโบสถ์ และได้เริ่มฝึกหัดออร์แกนและเรียบเรียงดนตรีสวด ผลงานประพันธ์ของปาเลสตรินาเป็นที่ประทับใจสมเด็จพระสันตะปาปาจูเลียสที่ 3 ที่ทรงเคยเป็นบิชอปแห่งปาเลสตรินา จึงทรงแต่งตั้งให้เขาเป็นผู้อำนวยการดนตรี เขาได้ผลิตผลงานเพลงด้านศาสนาออกมาเป็นจำนวนหลายร้อยชิ้น ปาเลสตรินาเสียชีวิตในวันที่ 2 กุมภาพัน..1594 ด้วยอาการเยื่อหุ้มปอดอักเสบ ที่กรุงโรม.

ใหม่!!: ออร์แกนและโจวันนี ปีแอร์ลุยจี ดา ปาเลสตรีนา · ดูเพิ่มเติม »

โนบูโอะ อูเอมัตสึ

นบูโอะ อูเอมัตสึ เกิดวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: ออร์แกนและโนบูโอะ อูเอมัตสึ · ดูเพิ่มเติม »

ไบรดัลคอรัส

รดัลคอรัส (bridal chorus) หรือ ไบรดัลมาร์ช (bridal march) หรือ Treulich geführt เป็นเพลงมาร์ชที่นิยมใช้บรรเลงขณะเจ้าสาวเดินทางเข้าสู่พิธีในงานแต่งงานแบบตะวันตก นำมาจากท่อนร้องประสานเสียง จากองก์ที่ 3 ของอุปรากรเรื่อง โลเฮ็นกริน ผลงานประพันธ์ของริชาร์ด วากเนอร์ ในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและไบรดัลคอรัส · ดูเพิ่มเติม »

ไมล์ส เดวิส

มล์ส เดวีย์ เดวิส ที่ 3 (Miles Dewey Davis III) หรือ ไมล์ส เดวิส นักทรัมเปต นักแต่งเพลง และหัวหน้าวงดนตรีแจ๊สชาวอเมริกัน ที่ได้ชื่อว่าเป็นนักดนตรีที่มีอิทธิพลต่อวงการดนตรีที่สุดคนหนึ่งในศตวรรษที่ 20 เป็นผู้ที่พัฒนาการเล่นดนตรีแจ๊สแนวทางใหม่หลายแนว โดยเป็นแถวหน้าในการทดลองดนตรีแนวคูลแจ๊ส ฮาร์ดบ็อพ ฟรีแจ๊สและฟิวชันแจ๊ส มีนักดนตรีแจ๊สคนสำคัญหลายคนได้ร่วมงานกับวงดนตรีของเขา เช่น จอห์น โคลเทรน เฮอร์บี แฮนค็อก บิล อีแวนส์ ชิค โคเรีย จอห์น แมคลาฟลิน จูเลียน แอดเดอร์ลีย์ คีธ จาร์เรต ไมล์ส เดวิส ได้รับการบรรจุชื่อไว้ในหอเกียรติยศร็อกแอนด์โรล เมื่อปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและไมล์ส เดวิส · ดูเพิ่มเติม »

ไมค์ ชิโนะดะ

มเคิล เคนจิ ชิโนะดะ เกิดเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1977 เป็นนักดนตรีชาวอเมริกัน-ญี่ปุ่น จากเมืองอากูราฮิลส์ รัฐแคลิฟอร์เนีย นับว่าเป็นหนึ่งในสองคนของวงลิงคินพาร์กที่มีเชื้อสายเอเชีย (อีกคนหนึ่งชื่อ โจ ฮาห์น) เขามีชื่อเสียงในฐานะแร็ปเปอร์ นักแต่งเพลงในเพลงต่างๆ ของลิงคินพาร์ก เป็นมือคีย์บอร์ด/เปียโน นักร้องเสียงประสาน มือจังหวะกีตาร์ และเป็นโปรดิวเซอร์เพลงของลิงคินพาร์คอีกด้วย และเขายังมีโปรเจกต์อื่นอย่างออกผลงานแนวฮิปฮอปในนาม ฟอร์ตไมเนอร์ นอกจากนี้เขายังมีผลงานศิลปะเป็นของตัวเองอีกด้วย เขาติดอันดับที่ 72 ในรายการของ "Top 100 Heavy Metal Vocalists" โดย Hit Parader เสียงของไมค์อยู่ในโทนเสียงแบริโทน.

ใหม่!!: ออร์แกนและไมค์ ชิโนะดะ · ดูเพิ่มเติม »

ไรอัน เท็ดเดอร์

รอัน เบนจามิน เท็ดเดอร์ (Ryan Benjamin Tedder) (เกิด 26 มิถุนายน ค.ศ. 1979) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์, และนักแสดงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักดีในฐานะนักร้องนำของวงดนตรีแนวป็อปร็อก วันรีพับบลิก แม้ว่าเขาตัวคนเดียวจะเป็นนักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์ให้กับนักร้องมากมาย เช่น อะเดล, บียอนเซ่, เบอร์ดี, มารูนไฟฟ์, เดมี โลวาโต, เอลลี โกลดิง, บี.โอ.บี, เคลลี คลาร์กสัน, เค'นาน, แคร์รี อันเดอร์วูด, เจนนิเฟอร์ โลเปซ, จอร์ดิน สปาร์กส, เลโอนา ลูวิส, เกวิน เดอกรอว์, เซบาสเตียน อินกรอสโซ, จิม คลาส ฮีโรส์, วันไดเรกชัน, เจมส์ บลันต์, ฟาร์อีสต์มูฟเมนต์, พอล โอกเคนโฟลด์ และเอลลา เฮนเดอร์สัน งานการผลิตเพลงและเขียนเพลงของเท็ดเดอร์ประสบความสำเร็จอย่างดี เพลง อะพอโลไจซ์ บลีดดิงเลิฟ เฮโล และเคาน์ติงสตาส์ ล้วนแล้วแต่เป็นหนึ่งในซิงเกิลที่ขายดีที่สุดในโลกตลอดกาล เมื่อต้นปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและไรอัน เท็ดเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไลฟ์อินดิแอลบีซีแอนด์ไดมอนส์อินเดอะรัฟ

ลฟ์อินดิแอลบีซีแอนด์ไดมอนส์อินเดอะรัฟ เป็นอัลบั้มบันทึกการแสดงสดชุดแรก ดีวีดี และอัลบั้มรวมเพลงโดยวงดนตรีเฮฟวีเมทัลชาวอเมริกัน อะเว็นจด์เซเวนโฟลด์ ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 16 กันยายน..

ใหม่!!: ออร์แกนและไลฟ์อินดิแอลบีซีแอนด์ไดมอนส์อินเดอะรัฟ · ดูเพิ่มเติม »

ไครสต์เชิร์ช

center ไครสต์เชิร์ช เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเกาะใต้ ประเทศนิวซีแลนด์ และเป็นชุมชนเมืองที่เป็นที่นิยมเป็นอันดับ 3 ของนิวซีแลนด์ ไครสต์เชิร์ชเป็นหนึ่งในสามเมืองที่อยู่ตั้งอยู่ชายฝั่งตะวันออกของเกาะใต้ ทางเหนือฝั่งน่านน้ำเพนนินซูล่า ตั้งแต่ปี 2006 บริเวณเขตนี้อยู่ใต้เขตการปกครองของเมืองไครสต์เชิร์ช จากการสำรวจสำมะโนประชากรเมืองไครสต์เชิร์ช ณ วันที่ 5 มีนาคม ปี 2013 มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 341,469 คน ชื่อเมืองไครสต์เชิร์ช ถูกตั้งขึ้นโดยสมาคมแคนเทอเบอรี่ (ตั้งอยู่บริเวณรอบเมืองแคนเทอเบอรี่) ชื่อเมืองนี้เป็นที่ยอมรับจากการประชุมสมาคมครั้งแรกในวันที่ 27 มีนาคม 1848 โดยการแนะนำจาก นายจอห์น โรเบิร์ต ก๊อตเร่ ผู้ที่เคยเข้าโบสถ์คริสต์ เมืองออกซ์ฟอร์ด ช่วงแรกนักเขียนบางท่าน เรียกเมืองนี้ว่า เมืองโบสต์คริสต์(Christ Church) แต่หลังจากมีการประชุมกรรมการสมาคมได้กำหนดให้เมืองนี้ ชื่อว่า เมืองไครสต์เชิร์ช(Christchurch) และเมืองไครสต์เชิร์ชได้ตั้งเป็นเมืองโดยมีพระราชกำหนด กำหนดตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 1856 อย่างเป็นทางการซึ่งถือว่าเมืองนี้เป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในนิวซีแลนด์ แม่น้ำที่ไหลผ่านใจกลางเมือง(แหล่งน้ำขนาดใหญ่จากสวนสาธารณะในเมือง) ชื่อว่า เอวอน ตั้งชื่อตามพี่น้องคณบดีผู้บุกเบิกเพื่อระลึกถึงสก็อตติส เอวอน ผู้ที่ทำให้เกิดทางน้ำไหลผ่านภูเขาแอร์ไชร์ใกล้กับฟาร์มของบรรพบุรุษของเขา และทางน้ำไหลผ่านสู่เครส์(The Clyde แม่น้ำทางฝั่งตะวันออกของสก็อตแลนด์) ชื่อ เมารี สำหรับเมืองไครสต์เชิร์ช คือ โอเท๊าทาหิ - Ōtautahi ("สถานที่ของเท๊าทาหิ - Tautahi") จุดกำเนิดของชื่อสถานที่นี้มาจากแม่น้ำเอวอน ใกล้ถนนคิลมอลล์ และ สถานีดับเพลิงไครสต์เชิร์ช สถานที่นี้เป็นที่อยู่อาศัยของ Ngāi Tahu หัวหน้า Te Potiki Tautahi เจ้าของบ้านท่าน้ำเลฝวี่(Port Levy) ฝั่งน้ำเพนซิลซูล่า โอเท๊าทาหิ - Ōtautahi เป็นชื่อที่นำมาใช้ในปี 1930 ก่อนที่ Ngāi Tahu จะเรียกดินแดนไครสต์เชิร์สว่า คารายเทียน่า (Karaitiana) คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษของชาวคริสเตียน ชื่อย่อของเมืองที่ชาวนิวซีแลนด์มักเรียก คือ เชิร์ช (Chch) สำหรับสัญลักษณ์ทางภาษาของนิวซีแลนด์* ชื่อเมืองจะแสดงสัญลักษณ์มือ เป็นรูปตัวซี (C) สองครั้ง โดยการแสดงสัญลักษณ์ครั้งที่สองนับจากทางขวาของตัวแรก และในขณะเดียวกัน ก็สื่อสารด้วยการขยับปากว่า "ไครสต์เชิร์ช" *สัญลักษณ์ทางภาษาของนิวซีแลนด์ (New Zealand Sign Language หรือ NZSL) คือ ภาษาหลักที่ใช้ในสังคมคนพิการทางหู ของประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: ออร์แกนและไครสต์เชิร์ช · ดูเพิ่มเติม »

ไซโลโฟน

ซโลโฟน (Xylophone) เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบ(Percussion Instruments) ชนิดที่มีระดับเสียงแน่นอน (Definite Pitch) เป็นระนาดไม้ขนาดเล็กของดนตรีตะวันตก ลักษณะทั่วไปจะคล้ายกับมาริมบา หรือไวบราโฟน แต่ไวบราโฟนทำจากโลหะ และมีขนาดใหญ่กว่าไซโลโฟน ลูกระนาดของไซโลโฟนทำด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น โร้สวูด เป็นต้น จัดเรียงลำดับเสียงตามบันไดเสียงโครมาติก (Chromatic) เช่นเดียวกับเปียโนหรือออร์แกน ใต้ลูกระนาดมีท่อโลหะติดอยู่เพื่อเป็นตัวขยายเสียง คาดว่ามีต้นกำเนิดมาจากแอฟริกา และเอเชีย ไม้ 2 อันที่ใช้ตีเรียกว่า ลูกค้อน ลักษณะตรงปลายเป็นหัวกลม ความกว้างของช่วงเสียงขึ้นอยู่กับขนาดของไซโลโฟน ซึ่งมีด้วยกัน 3 ลักษณะคือ เล็ก กลาง ใหญ่ เสียงของไซโลโฟน คล้ายเสียงระนาดของบ้านเรา คือ แกร่ง คม สั้นห้วน และชัดเจน ใช้เล่นไล่เสียง และเล่น “กลิสซานโต” ได้ดีเป็นพิเศษ และเหมาะที่จะใช้เป็นเครื่องดนตรีเล่นเดี่ยวทำนองเพลงหรือเพิ่มสีสันของวงดุริยางค์ให้งดงามขึ้น แซงท์-ซองส์ได้นำมาใช้ในวงดุริยางค์เป็นครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: ออร์แกนและไซโลโฟน · ดูเพิ่มเติม »

เพอร์รี โคโม

ียริโน "เพอร์รี" โคโม (Pierino "Perry" Como) นักร้องชาวอเมริกันเชื้อสายอิตาลี และเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ มีผลงานอยู่ในวงการเพลง และการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ของสหรัฐเป็นเวลานานกว่า 50 ปี เป็นที่รู้จักด้วยฉายา "มิสเตอร์ ซี" (Mr. C) โคโมเกิดที่เมืองแคนนอนสเบิร์ก ใกล้พิตสเบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย เป็นบุตรคนที่ 7 ในจำนวน 13 คนของเปโตร โคโม และลูเชีย ทราวากลินี ชาวอิตาเลียนที่อพยพมาจากเมืองพาลีนา แคว้นอาบรุซโซ ทางตะวันออกของอิตาลี บิดาของเขาเป็นนักร้อง และสนับสนุนให้ลูกๆ ได้รับการฝึกฝนการร้องเพลง ช่วงวัยรุ่น โคโมเป็นนักทรอมโบนและออร์แกน เล่นให้กับโบสต์และวงดุริยางค์ของเมือง และเปิดกิจการร้านตัดผม เขาแต่งงานเมื่ออายุ 20 ปี กับโรเซล เบนลีน คู่รักที่รู้จักกันตั้งแต่อายุ 17 ปี และใช้ชีวิตคู่กันตลอดมาจนกระทั่งเธอเสียชึวิตด้วยวัย 84 ปี เมื่อ..

ใหม่!!: ออร์แกนและเพอร์รี โคโม · ดูเพิ่มเติม »

เพนท์อิท, แบล็ก

นท์อิท, แบล็ก (Paint It, Black) เป็นเพลงจากอัลบัมที่สี่ ชุด Aftermath ของวงเดอะโรลลิงสโตนส์ วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ออร์แกนและเพนท์อิท, แบล็ก · ดูเพิ่มเติม »

เกวันด์เฮาส์

กวันด์เฮาส์ (Gewandhaus) เมืองไลพ์ซิจ เป็นห้องจัดแสดงคอนเสิร์ตที่มีความสำคัญแห่งหนึ่งของเมือง นอกจากนี้ ยังเป็นสถานที่จัดแสดงคอนเสิร์ตของวงออร์เคสตราเกวันด์เฮาส์อีกด้วย ปัจจุบันเกวันด์เฮาส์เมืองไลพ์ซิจ ตั้งอยู่ ณ ลานจัตุรัสเอากุสตุส อาคารเกวันด์เฮาส์หลังปัจจุบันถูกสร้างเพื่อทดแทนหลังเก่าที่ถูกทำลายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เกวันด์เฮาส์ หลังแรก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1781 เกวันด์เฮาส์ หลังที่สอง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1884 เกวันด์เฮาส์ หลังปัจจุบัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981.

ใหม่!!: ออร์แกนและเกวันด์เฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

เร็กเก

Bob Marley ศิลปินเร็กเกที่มีชื่อเสียง เร็กเก (reggae) เป็นแนวดนตรีแอฟริกา-แคริบเบียนซึ่งพัฒนาขึ้นบนเกาะจาเมกา และมีความชิดใกล้เชื่อมต่อกับลัทธิรัสตาฟาเรียน (Rastafarianism) รากดั้งเดิมของเร็กเกสามารถค้นหาได้จากดนตรีประเพณีนิยมของแอฟริกา-แคริบเบียนที่มีพอ ๆ กับดนตรีริธึ่มแอนด์บลูส์ของอเมริกัน เร็กเก้ เป็นดนตรีที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะที่เดียวในโลกของประเทศจาเมกา ซึ่งอิทธิพลทางดนตรีมาจากนิวออร์ลีนส์ ริธึ่มแอนด์บลูส์ มาจากการฟังวิทยุทรานซิสเตอร์ที่รับคลื่นสั้นจากสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 รากเหง้าของดนตรีคนแอฟริกา-แคริบเบียน คือเพลงโฟล์กของจาเมกาที่เรียกว่า เมนโต (Mento) มีท่วงทำนองเพลงไปในทางแนวดนตรีคาลิปโซ เนื้อหาของบทเพลงจะพูดถึงการเรียกร้องสิทธิของตัวเองและปัญหาความยากจนต่อประเทศเจ้าอาณานิคมในหมู่เกาะอินดีสตะวันตกในทะเลแคริบเบียน สำหรับจาเมกาตกอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ พลเมืองตกเป็นทาสของคนผิวขาว ก็มีการพัฒนาดนตรีเมนโตนำมาผสมกับอาร์แอนด์บีทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา พัฒนาเปลี่ยนแปลงจังหวะเพิ่มขึ้นจนกลายเป็นดนตรีสกา (Ska) โดยเปลี่ยนแปลงจังหวะให้เพิ่มขึ้น กีตาร์เล่นจังหวะยก และมีการเล่นลัดจังหวะ ถือว่าเป็นการแปลความหมายของดนตรีอาร์แอนด์บีอีกรูปแบบหนึ่ง และเป็นที่นิยมกันอย่างมากในช่วงต้นยุคทศวรรษที่ 60 และได้มีการพัฒนาขึ้นอีกขั้น บีทของดนตรีจึงถูกดึงให้ช้าลงใช้เปียโนและเบสที่มีอิทธิพลดนตรีร็อกเข้ามาจึงเรียกว่า ร็อกสเตดี้ (Rocksteady) จนมาถึงปี 1968 ก็ได้มีการพัฒนาจนถึงขีดสุด ดนตรีเร็กเก้จึงถือกำเนิดขึ้น ภายใต้แนวความคิดของลัทธิรัสตาฟาเรียน ทรงผมฟั่นเชือกหรือเดรด ล็อก และอุดมคติทางการเมืองและสังคม ในการพาชาวแอฟริกา-แคริบเบียน กลับสู่แผ่นดินในทวีปแอฟริกา สกา (Ska) และร็อกสเตดี (Rocksteady) คือพื้นฐานทางแนวดนตรีผู้มาก่อนเร็กเก้ในยุคทศวรรษที่ 60 ก่อนที่ บ็อบ มาร์เลย์ จะทำให้ดนตรีเร็กเก้เป็นที่นิยมไปทั่วโลก ก็เคยบันทึกเสียงในแนวดนตรีร็อกสเตดี้ในช่วงแรกในอาชีพของเขา สไตล์ดนตรีเร็กเก้ที่ทำให้เขามีชื่อเสียงมากเรียกกันว่า รูทส์ เร็กเก้ (roots reggae) หรือ รูทส์ ร็อก เร็กเก้ (roots rock reggae) และใช้กับศิลปินอีกมากมายที่ทำงานในแบบเดียวกันอย่าง Black Uhuru, Burning Spear, Culture, Israel Vibrations, The Skatalites and Toots และ The Maytals ซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมาถึงวง UB40 ในสหราชอาณาจักร ในจาเมกานั้น ดนตรีแนวใหม่ได้ทวีความนิยมมากว่า โดยมีการพัฒนาไปสู่แนวเลิฟเวอร์ส ร็อก (Lovers Rock), แดนซ์ฮอลล์ (Dancehall) และแร็กกามัฟฟิน (Raggamuffin).

ใหม่!!: ออร์แกนและเร็กเก · ดูเพิ่มเติม »

เล็งกา (อัลบั้ม)

ล็งกา (Lenka) เป็นอัลบั้มเปิดตัวของศิลปิน เล็งกา ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2551 ในสังกัตอีพิกเรเคิดส์ ถือเป็นอัลบั้มเดียวแรกของเล็งกาหลังจากแยกวงกับดีคอเดอร์ ริง โดยมีเพลงที่เป็นที่รู้จักและทำให้เธอมีชื่อเสียงโด่งดัง คือ เดอะโชว์ และ ทรับเบิลอิสอะเฟรนด์ นอกจากนี้อัลบั้มนี้ยังประสบความสำเร็จในบิลบอร์ด 200 ในอันดับ 142 และซิงเกิลเดอะโชว์ยังอยู่ในอันดับที่ 25 ของบิลบอร์ด Adult Pop Songs.

ใหม่!!: ออร์แกนและเล็งกา (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

เว็ดดิงมาร์ช

thumb เว็ดดิงมาร์ช (Wedding march) ของเฟลิกซ์ เมนเดลโซห์น ในบันไดเสียงซี เมเจอร์ แต่งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและเว็ดดิงมาร์ช · ดูเพิ่มเติม »

เสียงทุ้มแหลมผสม

Play เล่นทั้ง 3 แถว เสียงทุ้มแหลมผสม หรือ เสียงทุ้มแหลมรวม (combination tone, resultant tone, subjective tone) เป็นปรากฏการณ์ทางเสียง-จิต ที่ได้ยินเสียงทุ้มแหลมเพิ่มขึ้นที่ไม่มีจริง พร้อมกับได้ยินเสียงทุ้มแหลมสองเสียงที่มีจริง ๆ นักไวโอลิน จูเซปเป ตาร์ตีนี (Giuseppe Tartini) ได้เครดิตว่าค้นพบปรากฏการณ์นี้ถึงจะไม่ใช่คนแรก ดังนั้น เสียงที่ไม่มีจริงนี้จึงเรียกเป็นภาษาอังกฤษ/ภาษาตะวันตกอีกอย่างหนึ่งว่า Tartini tones (เสียงทุ้มแหลมตาร์ตีนี) มีเสียงทุ้มแหลมรวมสองแบบ คือ เสียงทุ้มแหลมเป็นผลบวก (sum tone) ที่สามารถหาความถี่โดยรวมความถี่ของเสียงที่มีจริง ๆ และเสียงทุ้มแหลมเป็นผลลบ (difference tone) โดยเป็นความต่างระหว่างเสียงที่มีจริง ๆ "เสียงทุ้มแหลมรวมจะได้ยินก็เมื่อเล่นเสียงทุ้มแหลมบริสุทธิ์ (คือเสียงทุ้มแหลมที่เกิดจากคลื่นเสียงฮาร์มอนิกธรรมดาที่ไม่มีเสียงแบบ overtones) สองระดับที่ต่างกันโดยความถี่ประมาณ 50 คาบ/นาที (เฮิรตซ์) หรือยิ่งกว่านั้น และเล่นด้วยกันให้ดังพอ" เสียงทุ้มแหลมรวมยังสามารถสร้างทางอิเล็กทรอนิกส์โดยรวมสัญญาณเสียงในวงจรที่มีความเพี้ยนแบบไม่ใช่เชิงเส้น (นอนลินเนียร์) เช่น เครื่องขยายเสียงที่ขริบยอดสัญญาณหรือกล้ำสัญญาณแบบ Ring modulation.

ใหม่!!: ออร์แกนและเสียงทุ้มแหลมผสม · ดูเพิ่มเติม »

เสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มี

ลื่นเสียงด้านล่างไม่มีความถี่มูลฐานที่ 100 เฮิรตซ์ และไม่มีฮาร์มอนิกที่สองคือ 200 เฮิรตซ์ แต่ภาวะเป็นคาบก็ยังเหมือนกับคลื่นด้านบนที่มีฮาร์มอนิกครบสมบูรณ์ เสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มี (missing fundamental, suppressed fundamental, phantom fundamental) เป็นเสียงฮาร์มอนิกที่ไม่มีจริง ๆ แต่จะได้ยินเมื่อเสียง overtone คือเสียงฮาร์มอนิกที่มีความถี่สูงกว่าความถี่มูลฐานนั้น แสดงนัยว่า มีเสียง เพราะสมองไม่ได้รับรู้เสียงว่าสูงต่ำเท่าไรโดยขึ้นกับความถี่มูลฐานของมันเท่านั้น แต่จะขึ้นกับภาวะเป็นคาบที่เสียงฮาร์มอนิกระดับที่สูงกว่าแสดงนัยด้วย เราจึงอาจได้ยินเสียงที่ความถี่มูลฐาน (โดยอาจมีน้ำเสียงต่างจากเสียงจริง) แม้เสียงที่ความถี่นั้นจะไม่มีจริง ๆ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเสียงโน้ตดนตรีที่ไม่ใช้เสียงทุ้มแหลมบริสุทธิ์มีเสียงสูงต่ำที่ 100 เฮิรตซ์ มันก็จะมีองค์ประกอบความถี่ซึ่งเป็นพหุคูณของเสียงสูงต่ำนั้น ๆ เช่น 100, 200, 300, 400, 500....

ใหม่!!: ออร์แกนและเสียงความถี่มูลฐานที่ไม่มี · ดูเพิ่มเติม »

เอลฟรีเดอ เยลิเนค

อลฟรีเดอ เยลิเนค เอลฟรีเดอ เยลิเนค (Elfriede Jelinek) (20 ตุลาคม พ.ศ. 2489 -) นักเขียนชาวออสเตรีย ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี พ.ศ. 2547 เอลฟรีเดอ เยลิเนค เกิดเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2489 ในประเทศออสเตรีย บิดามีเชื่อสายเชค-ยิว มารดาเป็นชาวเวียนนา ในวัยเยาว์เธอได้รับการศึกษาด้านดนตรีหลายอย่าง เช่นเปียโน ออร์แกน และรีคอร์เดอร์ และได้ศึกษาต่อด้านการเรียบเรียงเสียงประสานในสถานบัน Vienna Conservatory หลังจบการศึกษาจาก Albertsgymnasium ในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและเอลฟรีเดอ เยลิเนค · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ม. แชโดวส์

แมทธิว ชาลส์ แซนเดอส์ หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ เอ็ม.

ใหม่!!: ออร์แกนและเอ็ม. แชโดวส์ · ดูเพิ่มเติม »

เทกแดต

ทกแดต (Take That) คือกลุ่มศิลปินแนวป๊อปจากอังกฤษ สมาชิกวงประกอบไปด้วยมาร์ก โอเวน, ฮาวเวิร์ด ดอนัลด์, แกรี บาร์โลว์ และอดีตสมาชิกวง ร็อบบี้ วิลเลียมส์ และ เจสัน ออเรนจ์ ภายหลังที่พวกเขาประสบความสำเร็จอย่างมากในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1990 จึงแยกย้ายกันไป แล้วกลับมารวมตัวกันอีกครั้งในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษที่ 2000 เทกแดตรวมวงที่เมืองแมนเชสเตอร์ในปี 1990 พวกเขามียอดขายอัลบั้มและซิงเกิลรวมกว่า 30 ล้านก๊อปปี๊ระหว่างปี 1991 - 1996 ในระหว่างปี 1991 อันเป็นปีที่ซิงเกิลแรกของพวกเขาได้เผยแพร่สู่สาธารณชน จนกระทั่งถึงปี 1996 ที่พวกเขาแยกย้ายกันไปนั้น บีบีซีกล่าวถึงเทกแดตว่า "เป็นวงดนตรีบริติชที่ประสบความสำเร็จสูงสุดในสหราชอาณาจักรนับตั้งแต่วงเดอะบีทเทิลส์ อันเป็นที่รักของทั้งผู้สูงอายุ และวัยรุ่นโดยทั่วไป" เพลงแนวแดนซ์ป๊อป และโซลของเทกแดตขึ้นชาร์ตมากมายในสหราชอาณาจักรในช่วงครึ่งทศวรรษแรกของคริสต์ทศวรรษที่ 1990 อัลบั้ม 2 ชุดที่ขายที่ที่ส่วนของพวกเขาคือ Everything Changes ซึ่งได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลเมอร์คิวรีในปี 1994 และอัลบั้ม Greatest Hits ซึ่งออกจำหน่ายในปี 1996 โดยออลมิวสิกได้กล่าวไว้ว่า "ณ เวลานี้พวกเขาคือซูเปอร์สตาร์ในยุโรป คำถามหลักๆไม่ใช่ต้องมุ่งประเด็นที่ทำอย่างไรถึงมีซิงเกิลยอดนิยม แต่ควรถามว่ามีซิงเกิลขึ้นสู่อันดับหนึ่งเท่าไหร่" ปัจจุบันวงนี้ได้มีเพลงที่เผยแพร่แล้ว 119 เพลง จาก 7 สตูดิโออัลบั้ม 1 อัลบั้มพิเศษ 2 อัลบั้มรวมเพลง และ 40 ซิงเกิล วงนี้มียอดขายมากกว่า 45 ล้านก๊อปปี๊ โดยมี 28 ซิงเกิ้ลที่ทำอันดับถึง 40 อันดับแรกในชาร์ตของอังกฤษ 17 ซิงเกิ้ลที่ขึ้นถึง 5 อันดับแรก และ 12 ซิงเกิ้ลที่ขึ้นถึงอันดับ 1 โดยมียอดขายอัลบั้มกว่า 20 ล้านก๊อบปี้ นอกจากนี้แล้วทุกอัลบั้มของพวกเขา (ยกเว้นอัลบั้มแรก Take That & Party) นั้นสามารถขึ้นไปถึงอันดับ 1 ในชาร์ตของอังกฤษได้ทั้งหมด โดยในปี 2011 พวกเขาได้รางวัลบริทอะวอร์ดสในสาขาศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม.

ใหม่!!: ออร์แกนและเทกแดต · ดูเพิ่มเติม »

เทรซี แชปแมน

ทรซี แชปแมน (Tracy Chapman) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 1964 เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในผลงานซิงเกิล "Fast Car", "Talkin' 'bout a Revolution", "Baby Can I Hold You", "Give Me One Reason", "The Promise" และ "Telling Stories" ผลงานของเธอได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำขาวมาแล้วหลายชุดและยังได้รับรางวัลแกรมมี่มาแล้ว 4 ครั้ง.

ใหม่!!: ออร์แกนและเทรซี แชปแมน · ดูเพิ่มเติม »

เทะสึยะ โคะมุโระ

ท็ตซึยะ โคมุโระ (Tetsuya Komuro) เกิดเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ออร์แกนและเทะสึยะ โคะมุโระ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะวินเนอร์ส

อะวินเนอร์ส (The Wynners, จีนตัวเต็ม: 溫拿, จีนตัวย่อ: 温拿, พินอิน: wēn nā) เป็นวงดนตรีที่มีชื่อเสียงและประสบความสำเร็จอย่างยิ่งของฮ่องกงในช่วงทศวรรษที่ 70 และต้นทศวรรษที่ 80 เดอะวินเนอร์ส เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของเด็กหนุ่มวัยรุ่นในโรงเรียนระดับชั้นมัธยมทั้งหมด 5 คน ที่ประสบความสำเร็จจากการประกวดร้องเพลงในรายการโทรทัศน์ โดยนำเพลงที่ได้รับความนิยมในแบบป็อปภาษาอังกฤษมาร้องใหม่ โดยมีสมาชิกทั้งหมด 5 คน คือ.

ใหม่!!: ออร์แกนและเดอะวินเนอร์ส · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเวลล์-เทมเพิร์ดคลาเวียร์

หน้าปก Das Wohltemperierte Klavier ปี 1722 เดอะเวลล์-เทมเพิร์ดคลาเวียร์ (The Well-Tempered Clavier; Das Wohltemperierte Klavier), BWV 846–893 เป็นหนังสือรวมผลงานประพันธ์สำหรับบรรเลงเดี่ยวด้วยเครื่องลิ่มนิ้วของโยฮันน์ เซบาสเตียน บาค ประกอบด้วยเพรลูดและฟิวก์ใน 24 บันไดเสียงหลักทั้งไมเนอร์และเมเจอร์ บาคได้ระบุไว้ในหนังสือฉบับเผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและเดอะเวลล์-เทมเพิร์ดคลาเวียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องกระทบ

รื่องกระทบ (percussion instruments) เป็นการจัดประเภทเครื่องดนตรีสากล เครื่องดนตรีประเภทเครื่องกระทบนั้นหมายถึง เครื่องดนตรีที่เกิดเสียงดังขึ้นจากการตี กระทบการสั่น การเขย่า หรือ การเคาะ การตีอาจใช้ไม้ตีหรือใช้สิ่งหนึ่งกระทบเข้ากับอีกสิ่งหนึ่งเพื่อทำให้เกิดเสียง เครื่องประเภทนี้มักประกอบขึ้นด้วยวัสดุของแข็งหลายชนิด เช่น โลหะ ไม้ หรือ แผ่นหนังขึงตึง เครื่องประกอบจังหวะอาจมีชื่อเรียกเป็นคำอื่น เช่น เครื่องตี เครื่องประกอบจังหวะ เป็นต้น.

ใหม่!!: ออร์แกนและเครื่องกระทบ · ดูเพิ่มเติม »

เคาท์ เบซี

วิลเลียม เจมส์ "เคาท์" เบซี่ (21 สิงหาคม พ.ศ. 2447 - 26 เมษายน พ.ศ. 2527) นักเปียโน นักออร์แกน หัวหน้าวงดนตรี และนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน ในแนวดนตรีแจ๊ซ และบิ๊กแบนด์ เริ่มก่อตั้งวงดนตรีของตัวเองตั้งแต่ พ.ศ. 2477 และมีชื่อเสียงควบคู่ไปกับวงดนตรีของดุค เอลลิงตัน ฉายา เคาท์ ของเบซี่ ตั้งขึ้นล้อกันไปกับฉายา ดุค ของเอลลิงตัน และ เอิร์ล ของเอิร์ล ไฮน์ส เบซี่มีผลงานดนตรีร่วมกับนักดนตรีมากมาย เช่น แฟรงค์ ซินาตรา เอลลา ฟิทซ์เจอรัลด์ เดอะ มิลส์ บราเธอร์ส แจ็กกี วิลสัน ควินซี โจนส์ และทำดนตรีประกอบภาพยนตร์เพลง รวมทั้งแสดงในภาพยนตร์ด้วยหลายเรื่อง เบซี่ ได้รับรางวัลแกรมมี่ 9 ครั้ง ช่วงบั้นปลายชีวิตป่วยด้วยโรคหัวใจจนต้องเข้าโรงพยาบาล แต่ก็ยังออกตระเวนแสดงดนตรี โดยนั่งรถเข็นขึ้นบนเวที เบซี่ เสียชีวิตที่ฟลอริดา เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2527 ด้วยโรคมะเร็งตับอ่อน ถึงแม้เบซี่จะเสียชีวิตไปแล้ว วงดนตรีเคาท์ เบซี่ ก็ยังรวมวงกันอยู่จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ออร์แกนและเคาท์ เบซี · ดูเพิ่มเติม »

เซเว่นโกสต์

ซเว่นโกสต์(07-Ghost)เป็นผลงานการ์ตูนญี่ปุ่นโดยยูกิ อะเมมิยะและยูกิโนะ อิชิฮาระโดยเป็นการ์ตูนญี่ปุ่นแนวโชโจะที่ลงในนิตยสารคอมิคซีโร่ซัมรายเดือนในประเทศญี่ปุ่น ส่วนในประเทศไทยได้ถือลิขสิทธิ์โดยสำนักพิมพ์บงกช พับลิชชิ่ง และได้สร้างเป็นอะนิเมะโดยสตูดิโอดีนและฉายในประเทศไทยทางช่องแอนิแมกซ์เอเชี.

ใหม่!!: ออร์แกนและเซเว่นโกสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เปียโน

ปียโน (ย่อมาจาก เปียโนฟอร์เต) เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงโดยการกดลิ่มนิ้ว (คีย์บอร์ด) มักใช้นิยมบรรเลงเพลงแนว คลาสสิก และ แจ๊ส แม้ว่าเปียโนจะมีขนาดใหญ่และหนักทำให้ไม่สามารถพกพาได้ และมีราคาค่อนข้างแพง แต่เปียโนก็เป็นเครื่องดนตรีที่ได้เปรียบเครื่องดนตรีมากมาย เสียงของเปียโนสามารถเข้ากับเครื่องดนตรีเกือบทุกชนิด ดังนั้นเปียโนจึงสามารถเล่นได้ทั้งแบบบรรเลงเดี่ยว, แชมเบอร์, คลอเสียง หรือแม้กระทั่งร่วมกับวง ออร์เคสตรา ฝาครอบและแผ่นครอบของเปียโนอะคูสติกจะทำมาจากไม้ ในขณะที่กระดานเสียง (soundboard) จะถูกทำจากเหล็กกล้า และขึงด้วยสายโลหะ ลิ่มนิ้วของเปียโนมาตรฐานมีอยู่ทั้งหมด 88 คีย์ (คีย์ขาว 52, คีย์ดำ 36) ช่วงคีย์ปกติจะมีสายโลหะอยู่ 3 เส้นในหนึ่งคีย์ และคีย์เบสจะมีสายโลหะเส้นใหญ่อยู่ 1–2 เส้นในหนึ่งคีย์ เมื่อกดคีย์ จะเกิดเป็นเสียงโน้ตดนตรีที่มีความถี่การสั่นพ้องแตกต่างกันออกไป และเมื่อปล่อยคีย์ เสียงก็จะถูกตัด หากต้องการให้เสียงกังวานและลากยาวก็สามารถทำให้ โดยการเหยียบเพดัลขวา (คันเหยียบ) ที่อยู่บริเวณด้านล่างของเปียโนค้างไว้ กลไกการเกิดเสียงในเปียโนอะคูสติกนั้น เริ่มจากแรงจากการกดคีย์จะถูกส่งผ่านโดยกลไกที่ซับซ้อนไปยังหัวค้อน และหัวค้อนจะตีกระทบกับสายโลหะที่ขึงอยู่บนกระดานเสียงเกิดเป็นเสียงดนตรี ในระหว่างที่คีย์ถูกกดอยู่นั้น กลไกที่เรียกว่า แดมเปอร์ (damper) ของแต่ละคีย์ ซึ่งเดิมจะคอยดันสายโลหะไว้จะถูกยกออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องได้ เมื่อใดก็ตามที่ปล่อยคีย์ แดมเปอร์จะกลับมาดันสายโลหะ ทำให้เสียงถูกตัดไป ดังนั้นการเหยียบเพดัลขวา จะเป็นการยกเพดัลของทุกคีย์ออก ทำให้สายโลหะเกิดการสั่นพ้องและกังวานมากขึ้นซึ่งทำให้เพลงมีความไพเราะ อย่างไรก็ตาม การเหยียบเพดัลขวาแช่ไว้ จะทำให้เสียงโน้ตดนตรีกังวานจนตีกับโน้ตดนตรีที่ตามมาทีหลัง ดังนั้นผู้บรรเลงจึงต้องทำการยกเท้าจากเพดัลเป็นจังหวะ ๆ เพื่อเป็นการตัดโน้ตดนตรีไม่ให้ข้ามห้องหรือตีกัน คำว่า เปียโน นั้น เป็นคำย่อจากคำว่า เปียโนฟอร์เต, ซึ่งเป็นภาษาอิตาลี ซึ่งเป็นการประสมคำระหว่างคำว่า เปียโน ที่แปลว่า "นุ่มนวล" กับ ฟอร์เต ที่แปลว่า "แข็งแกร่ง" ซึ่งมีที่มาจากการที่เป็ยโนนั้นมีคุณภาพเสียงที่หลากหลาย คีย์เบสที่ให้เสียงกังวานและทรงพลัง คีย์ปกติที่ให้เสียงนุ่มนวล และคีย์สูงที่ให้เสียงเล็กแหลม.

ใหม่!!: ออร์แกนและเปียโน · ดูเพิ่มเติม »

เป็นไปไม่ได้ (อัลบั้ม)

ป็นไปไม่ได้ คือสตูดิโออัลบั้ม ชุดแรกของวงดิ อิมพอสซิเบิ้ล วางจำหน่ายในรูปแบบแผ่นเสียงลองเพลย์ (L.P.) ในปี..

ใหม่!!: ออร์แกนและเป็นไปไม่ได้ (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

เปเรซ ปราโด

มาโซ เปเรซ ปราโด นักแต่งเพลง นักเปียโน และหัวหน้าวงดนตรีชาวคิวบา/เม็กซิกัน เป็นผู้นำดนตรีในแนวซัลซามาพัฒนาให้เป็น มามโบจนเกิดความนิยม จนได้รับฉายาว่า "ราชาแห่งมามโบ" (Mambo King) เปเรซ ปราโดเกิดที่คิวบา เริ่มหัดเล่นเปียโนคลาสสิกและออร์แกนมาตั้งแต่เด็ก และเริ่มทำงานเป็นนักดนตรีให้กับวงออร์เคสตราที่เล่นในคาสิโนในฮาวานา ที่ซึ่งเขาเริ่มนำดนตรีแมมโบมาเล่นในคลับ เมื่อเปเรซ ปราโด ย้ายไปอยู่ที่เม็กซิโกในปี ค.ศ. 1948 เขาเริ่มบันทึกแผ่นเสียงในสังกัด อาร์ซีเอวิกเตอร์ และทำให้ดนตรีแมมโบเป็นที่นิยมในวงกว้าง และข้ามฝั่งไปในสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1951 ลักษณะเด่นของดนตรีมามโบของปราโด คือ ใช้แซกโซโฟนให้จังหวะ และใช้เครื่องเป่าทองเหลือง (ทรอมโบนและทรัมเปต)ให้ทำนอง มีเปียโน กลอง และเครื่องเคาะเป็นส่วนประกอบ ตอนกลางเพลง เปเรซ ปราโด จะเปล่งเสียงว่า ugh เป็นภาษาละตินซึ่งแปลเป็นภาษาอังกฤษว่า say it โดยเพลงที่มีชื่อเสียงของเขา ได้แก่เพลง Mambo No.5, เพลง Mambo No.8, เพลง Patricia และเพลง Cherry Pink (and Apple Blossom White) ซึ่งขึ้นถึงอันดับหนึ่งจากการจัดอันดับของนิตยสารบิลบอร์ด ประเทศอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1955 นอกจากนี้ยังมีเพลง "Qué rico el mambo" ที่ปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันในชื่อ "Mambo Jambo" เปเรซ ปราโดเสียชีวิตจากอาการหัวใจวายที่บ้านพักในเม็กซิโกซิตี ด้วยวัย 72 ปี.

ใหม่!!: ออร์แกนและเปเรซ ปราโด · ดูเพิ่มเติม »

25 (อัลบั้มอะเดล)

25 เป็นสตูดิโออัลบั้มที่สามของนักร้องและนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ อะเดล อัลบั้มออกจำหน่ายวันที่ 20 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ออร์แกนและ25 (อัลบั้มอะเดล) · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

OrganPipe organออแกน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »