โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

องค์การอนามัยโลก

ดัชนี องค์การอนามัยโลก

องค์การอนามัยโลก (World Health Organization ตัวย่อ WHO) เป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งรับผิดชอบการประสานงานด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ก่อตั้งเมื่อ 7 เมษายน..

265 ความสัมพันธ์: บริการสุขภาพบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องชื่อยาที่รับอนุญาตแบบอเมริกาชื่อยาที่ได้รับอนุญาตของอังกฤษชื่อระหว่างประเทศที่ไม่มีเจ้าของบูโพรพิออนบทบาททางเพศฟลูอ็อกเซทีนพ.ศ. 2531พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพาโรโมมัยซินกรดโฟลิกกฤษณา ไกรสินธุ์กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดการฝังเข็มการระบาดของอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบในแอฟริกาตะวันตก พ.ศ. 2552-2553การระบาดของไวรัสอีโบลาในแอฟริกาตะวันตกการระบาดของไวรัสซิกาการระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2012 พ.ศ. 2556การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้าการร่วมเพศการร่วมเพศอย่างปลอดภัยการผ่าท้องทำคลอดการทารุณเด็กทางเพศการข่มขืนกระทำชำเราการคืนน้ำการค้าประเวณีในประเทศไทยการตั้งครรภ์การตายปริกำเนิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะการประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36การประปาส่วนภูมิภาคการประปานครหลวงการแพทย์ทางเลือกการแท้งการให้วัคซีนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่กาฬโรคภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิภาวะเพศกำกวมภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็กภาวิช ทองโรจน์ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ...ภิรมย์ กมลรัตนกุลมลพิษทางอากาศมลพิษทางดินมหาวิบัติสงคราม Zมะเร็งมาลาเรียมาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่เกี่ยวข้องกับสุกรมิดาโซแลมมูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์มีนาคม พ.ศ. 2549ยาระงับปวดยาสูบยาปฏิชีวนะระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์ระยะฟักระดับการระบาดของเชื้อโรครังสีโทรศัพท์เคลื่อนที่กับสุขภาพรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถรายชื่อคณะผู้แทนทางการทูตในสิงคโปร์รายชื่อประเทศเรียงตามการสูบบุหรี่ต่อหัวรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรูธ เนกกาลอราเซแพมลามิวูดีนลินเดน (ยาฆ่าแมลง)วรชาติ สิรวราภรณ์วัณโรควัคซีนอหิวาตกโรควัคซีนตับอักเสบเอวัคซีนป้องกันเชื้อฮีโมฟิลุส อินฟลูเอนซา ชนิดบีวัคซีนโรคหัดวัคซีนโรคอีสุกอีใสวัคซีนโรคโปลิโอวัคซีนไข้กาฬหลังแอ่นวัคซีนไข้สมองอักเสบจากเห็บวัคซีนไข้หวัดใหญ่วัคซีนไข้เหลืองวัคซีนเอชพีวีวันวัณโรคโลกวันงดสูบบุหรี่โลกวันตับอักเสบโลกวันป้องกันการฆ่าตัวตายโลกวันเบาหวานโลกวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวิทิต มันตาภรณ์ศูนย์วิจัยและติดตามความเป็นธรรมทางสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรสหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศสหพันธ์คนหูหนวกโลกสหรัฐสหราชอาณาจักรสหประชาชาติสันนิบาตชาติสารหนูสารฆ่าเชื้ออสุจิสาธารณสุขสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทยสุขภาพสุขภาพจิตสุขศาสตร์สู่นรกภูมิสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลสถานะเพศสแตตินหมอเท้าเปล่าหนังหุ้มปลายหน่วยสากลหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติอหิวาตกโรคอะลูมิเนียม คลอไฟเบรตอาการท้องร่วงอาการใคร่ไม่รู้อิ่มอาหารอาหารกับโรคมะเร็งอิปเซนอุทกภัยในประเทศปากีสถาน พ.ศ. 2553อู๋ อี๋องค์การระหว่างประเทศฮาโลเทนผลิตภัณฑ์ประมงผลต่อสุขภาพจากเสียงจรัส สุวรรณเวลาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจูน โรส เบลลามีธีระวัฒน์ เหมะจุฑาธนาคารโลกถุงยางอนามัยสตรีทฤษฎีความผูกพันทักษะชีวิตทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริกา พ.ศ. 2554ทุพโภชนาการทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดีข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรมดอกซีไซคลีนดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลตดิช็อกซินคลอไฟเบรตคลอไตรมาโซลความภูมิใจแห่งตนความรุนแรงความสัมพันธ์เกาหลีเหนือ–ไทยความอดอยากความผิดปกติทางบุคลิกภาพความผิดปกติทางจิตความดันโลหิตสูงความตายความซึมเศร้า (อารมณ์)ความเจ็บปวดที่เกิดจากจิตใจความเป็นชายคาร์บามาเซพีนคณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตับอักเสบ บีซิฟิลิสซิสพลาตินประเสริฐ ทองเจริญประเทศพม่าประเทศซิมบับเวประเทศนาอูรูประเทศไทยปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยาปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศจีนนาล็อกโซนนิกร ดุสิตสินน้ำอสุจิแบคทีเรียดื้อยาแกล็กโซสมิธไคลน์แล็กทูโลสแวนโคมัยซินแอมโลดิพีนแดพโซนแนวคิดปฏิเสธเอดส์โมโนโซเดียมกลูตาเมตโรคพยาธิตาบอดโรคพยาธิใบไม้ในเลือดโรคพิษสุราโรคพิษสุนัขบ้าโรคกามวิปริตโรคระบาดทั่วโรคลมชักโรควิตกกังวลไปทั่วโรคอัลไซเมอร์โรคอ้วนโรคจอตามีสารสีโรคติดเชื้อลิชมาเนียโรคซึมเศร้าโรคใคร่เด็กโรคโปลิโอโรคไวรัสอีโบลาโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์โรตารีสากลโลกันตนรกโลเพราไมด์โทรศัพท์เคลื่อนที่โซดิสไพริดอกซีนไมเคิล บลูมเบอร์กไรบอสตามัยซินไลนิโซลิดไอเซปามัยซินไข้หวัดนกไข้ซิกาไข้เหลืองไข้เด็งกีไดแอซิแพมไครสต์เชิร์ชเบวะซิซิวแมบเบาหวานเฟอเลชิโอเพรดนิโซโลนเพศกับกฎหมายเกลือเรื่องอื้อฉาวนมในจีน พ.ศ. 2551เรื้อนเวชศาสตร์ป้องกันเสม พริ้งพวงแก้วเส้นเวลาของยุคใหม่เหรียญ 16000 บาทเหรียญ 800 บาทเอชไอวีเอนโดซัลแฟนเจนตามัยซินเดอะแลนซิตเด็กซาเมทาโซนเครื่องดื่มชูกำลังเคตามีนHaemophilus influenzaeICD-10ICD-10 บทที่ 10: โรคของระบบหายใจICD-10 บทที่ 11: โรคของระบบย่อยอาหารICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังICD-10 บทที่ 13: โรคของระบบกล้ามเนื้อโครงร่าง และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันICD-10 บทที่ 14: โรคของระบบสืบพันธุ์และระบบปัสสาวะICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิดICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซมICD-10 บทที่ 18: อาการ อาการแสดง และความผิดปกติที่พบจากการตรวจทางคลินิกและทางห้องปฏิบัติการICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอกICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรคICD-10 บทที่ 20: สาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตายICD-10 บทที่ 21: ปัจจัยที่มีผลต่อสถานะสุขภาพและการรับบริการสุขภาพICD-10 บทที่ 22: รหัสเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษICD-10 บทที่ 2: เนื้องอกICD-10 บทที่ 3: โรคของเลือดและอวัยวะสร้างเลือดและความผิดปกติบางอย่างของกลไกภูมิคุ้มกันICD-10 บทที่ 4: โรคของต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึมICD-10 บทที่ 5: ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมICD-10 บทที่ 6: โรคของระบบประสาทICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตาICD-10 บทที่ 8: โรคของหูและปุ่มกระดูกกกหูICD-10 บทที่ 9: โรคของระบบไหลเวียนโลหิต12 มีนาคม7 เมษายน9 ธันวาคม ขยายดัชนี (215 มากกว่า) »

บริการสุขภาพ

ริการสุขภาพเป็นการบำรุงรักษาหรือพัฒนาสุขภาพโดยการป้องกัน วินิจฉัยและรักษาโรค ความเจ็บป่วย การบาดเจ็บและภาวะบกพร่องทางกายหรือจิตใจอย่างอื่นในมนุษย์ วิชาชีพสุขภาพ (ผู้ให้บริการหรือผู้ประกอบเวชกิจ) เป็นผู้ให้บริการสุขภาพในสาขาสุขภาพต่าง ๆ แพทย์และอาชีพเกี่ยวข้องเป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีพสุขภาพเหล่านี้ วิชาชีพทันตแพทย์ พยาบาลผดุงครรภ์ พยาบาล แพทย์ นักทัศนมาตร โสตสัมผัสวิทยา เภสัชวิทยา จิตวิทยาและวิชาชีพสุขภาพอื่นล้วนเป็นส่วนหนึ่งของบริการสุขภาพ บริการสุขภาพรวมงานที่ให้บริบาลปฐมภูมิ บริบาลทุติยภูมิและบริบาลตติยภูมิ ตลอดจนในสาธารณสุข การเข้าถึงบริการสุขภาพอาจแตกต่างกันตามประเทศ ชุมชนและปัจเจกบุคคล ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากภาวะสังคมและเศรษฐกิจ ตลอดจนนโยบายสุขภาพในที่นั้น ๆ ประเทศและเขตอำนาจมีนโยบายและแผนต่างกันในด้านเป้าหมายบริการสุขภาพส่วนบุคคลและยึดประชากรในสังคมของพวกตน ระบบบริการสุขภาพเป็นองค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อบรรลุความต้องการสุขภาพของประชากรเป้าหมาย โครงแบบที่แน่ชัดของบริการสุขภาพแตกต่างกันในระดับชาติและต่ำกว่าชาติ ในบางประเทศและเขตอำนาจ การวางแผนบริการสุขภาพแบ่งระหว่างผู้เข้าร่วมตลาด ส่วนในบางประเทศและเขตอำนาจ การวางแผนเกิดขึ้นในส่วนกลางระหว่างรัฐบาลหรือองค์กรประสานงานอื่น ๆ ในทุกกรณี องค์การอนามัยโลก ระบุว่า ระบบบริการสุขภาพที่ทำงานได้ดีต้องการกลไกจัดหาเงินทนทาน กำลังแรงงานที่ได้รับการฝึกอย่างดีและได้รับค่าตอบแทนเพียงพอ สารสนเทศน่าเชื่อถือเพื่อใช้ตัดสินใจและออกนโยบาย และสถาบันสุขภาพและลอจิสติกส์ที่มีการบำรุงรักษาดีเพื่อส่งยาและเทคโนโลยีคุณภาพ บริการสุขภาพอาจเป็นส่วนสำคัญของเศรษฐกิจของประเทศหนึ่ง ในปี 2554 อุตสาหกรรมบริการสุขภาพคิดเป็นเฉลี่ยร้อยละ 9.3 ของจีดีพี หรือ 3,322 ดอลลาร์สหรัฐต่อหัว (ปรับภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อ) ในประเทศโออีซีดี 34 ประเทศ สหรัฐ เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี แคนาดาและสวิสเซอร์แลนด์เป็นผู้มีรายจ่ายบริการสุขภาพสูงสุด ทุกประเทศโออีซีดีมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (หรือเกือบถ้วนหน้า) ยกเว้นสหรัฐและเม็กซิโก ปกติถือว่าบริการสุขภาพเป็นปัจจัยกำหนดสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตทั่วไปและความเป็นอยู่ดีของประชากรทั่วโลก ตัวอย่างเช่น การขจัดโรคฝีดาษทั่วโลกในปี 2523 ซึ่งองค์การอนามัยโลกประกาศว่าเป็นโรคแรกในประวัติศาสตร์มนุษย์ที่ถูกขจัดเบ็ดเสร็จด้วยการแทรกแซงของบริการสุขภาพโดยเจตน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและบริการสุขภาพ · ดูเพิ่มเติม »

บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง

ัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (International Statistical Classification of Diseases and Related Health Problems มีชื่อย่อว่า ICD) เป็นรายละเอียดของโรคและการบาดเจ็บต่าง ๆ จัดพิมพ์เผยแผ่โดย องค์การอนามัยโลก และใช้ข้อมูลเป็นสถิติพยาธิภาวะและอัตราตาย จากทั่วโลก มีการแก้ไขปรับปรุงเป็นช่วง ๆ ปัจจุบันได้ทำการจัดพิมพ์ครั้งที่ 11 แล้ว โรคหรือกลุ่มของโรคที่มีความสัมพันธ์กันจะอธิบายด้วยการวินิจฉัยและมีรหัสกำหนดให้เป็นการเฉพาะตั้งแต่ 4-6 หลัก โดยหลักแรกในหมวดที่ 1-9 จะใช้ตัวเลข 1-9 เมื่อเข้าสู่หมวดที่ 10-26 จะใช้เป็นอักษร A-S นอกจากนี้ หมวด V คือSupplementary section for functioning assessment และหมวด X คือ External Cause แล้วจากนั้นจะแยกออกเป็นหมวดหมู่ในหลักถัดไป.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อยาที่รับอนุญาตแบบอเมริกา

ื่อยาที่รับอนุญาตแบบอเมริกา (United States Approved Name หรือ USAN) เป็นชื่อทางการหรือชื่อสามัญที่ใช้เรียก สารประกอบเคมี ที่ใช้ทางเภสัชกรรม ที่มีอยู่ใน ตำรับยา ของ สหรัฐอเมริกา (USP).

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและชื่อยาที่รับอนุญาตแบบอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อยาที่ได้รับอนุญาตของอังกฤษ

ื่อยาที่รับอนุญาตของอังกฤษ (British Approved Name หรือ BAN) เป็นชื่อเรียกหมวดเภสัชภัณฑ์ซึ่งได้รับอนุญาตจากทางการอังกฤษแล้วตามที่ประกาศกำหนดในตำรับยาแห่งอังกฤษ (British Pharmacopoeia) ทั้งนี้ ชื่อนี้มิได้ใช้แต่เฉพาะในประเทศอังกฤษเท่านั้น แต่ยังทั่วสากลโลกโดยเฉพาะในประเทศสมาชิกเครือจักร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและชื่อยาที่ได้รับอนุญาตของอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อระหว่างประเทศที่ไม่มีเจ้าของ

ื่อระหว่างประเทศที่ไม่มีเจ้าของ (International Nonproprietary Name หรือ INN หรือเรียกอีกอย่างว่า rINN ย่อจาก recommended International Nonproprietary Name) ชื่อเป็นทางการที่ไม่มีเจ้าของ หรือชื่อสามัญทั่วไปที่ใช้เรียก สารประกอบเคมี ทาง เภสัชกรรม ที่กำหนดโดย องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) เนื่องจากชื่อตำรับยาที่มีเจ้าของมีจำนวนมากมายแต่มีตัวยาสำคัญตัวเดียวกันซึ่งอาจทำให้เกิดความสับสนได้ง่าย INN เป็นชื่อที่ทำให้ง่ายและสะดวกในการสื่อสารโดยการกำหนดชื่อมาตรฐานสำหรับสารแต่ละตัว คล้ายกับชื่อชื่อ IUPAC ในวิชา เคมี อย่างไรก็ดีบางครั้งชื่อเหล่านี้อาจยาวและไม่สะดวกที่จะใช้ องค์การอนามัยโลก ได้ตั้งชื่อ INN ไว้ในภาษาต่างๆ คือ อังกฤษ ลาติน ฝรั่งเศส รัสเซีย และสเปน ส่วนภาษาอาหรับและจีนจะเป็นอีกเล่มหนึ่ง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและชื่อระหว่างประเทศที่ไม่มีเจ้าของ · ดูเพิ่มเติม »

บูโพรพิออน

ูโพรพิออนรสำหรับรับประทานในรูปแบบยาออกฤทธิ์นาน ความแรง 300 มิลลิกรัม/เม็ด ชื่อการค้า Wellbutrin XL ซึ่งถูกผลิตขึ้นเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 2003 โดยแวเลียนต์ฟาร์มาซูติคอลส์ (Valeant Pharmaceuticals) บูโพรพิออน (Bupropion) เป็นยาที่มีข้อข่งใช้หลักสำหรับต้านซึมเศร้าและช่วยเลิกบุหรี่ มีจำหน่ายในตลาดยาสหรัฐอเมริกาภายใต้ชื่อการค้า Wellbutrin, Zyban และอื่นๆ ในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา แพทย์มักสั่งจ่ายบูโพรพิออนเพื่อจุดประสงค์ในการรักษาโรคซึมเศร้าเป็นหลัก ในขณะที่ประเทศอื่นๆนอกเหนือจากนี้นั้น การใช้บูโพรพิออนสำหรับข้อบ่งใช้ดังกล่าวถือเป็นการใช้ยานอกเหนือจากข้อบ่งใช้ (off-label use) ถึงแม้ว่ายานี้จะมีผลในการต้านซึมเศร้าที่มีประสิทธิภาพค่อนข้างดีอยู่แล้ว แต่ส่วนใหญ่มักนิยมใช้ยานี้เป็นยาเสริมในกรณีที่ผู้ป่วยตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาทางเลือกแรกอย่างยากลุ่มที่ทำหน้าที่ยับยั้งการเก็บกลับเซโรโทนินได้ไม่เต็มที่ ปัจจุบัน บูโพรพิออนมีจำหน่ายในรูปแบบยาเม็ด โดยส่วนใหญ่แล้วต้องได้รับการสั่งจ่ายจากแพทย์หรือซื้อได้โดยใช้ใบสั่งยาจากแพทย์ แต่ในประเทศไทย เนื่องจากสถานะทางกฎหมายปัจจุบันของบูโพรพิออนนั้นจัดเป็นยาอันตราย ประชาชนจึงสามารถเข้าถึงได้จากร้านยาที่มีเภสัชกรปฏิบัติการได้โดยไม่ต้องใช้ใบสั่งยาจากแพทย์ ถึงกระนั้นก็ตาม ผู้ที่ใช้ยานี้ควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์หรือเภสัชกร เพื่อติดตามประเมินผลและเฝ้าระวังการเกิดอาการไม่พึงประสงค์อย่างใกล้ชิด บูโพรพิออนเป็นยาที่ออกฤทธิ์ในระบบประสาทส่วนกลางด้วยการยับยั้งการเก็บกลับนอร์เอพิเนฟรินและโดพามีน (NDRI) โดยจัดเป็นยาต้านซึมเศร้ากลุ่มอะทิพิคอล ซึ่งมีกลไกการออกฤทธิ์ที่แตกต่างจากยาต้านซึมเศร้าชนิดอื่นที่เป็นที่นิยมสั่งจ่ายโดยแพทย์ซึ่งมักเป็นยากลุ่มที่ทำหน้าที่ยับยั้งการเก็บกลับเซโรโทนินแบบจำเพาะ อย่างไรก็ตาม การได้รับการรักษาด้วยบูโพรพิออนอาจทำให้ความเสี่ยงในการเกิดอาการชักหรือโรคลมชักเพิ่มมากขึ้นได้ โดยความผิดปกติข้างต้นถือว่าเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของบูโพรพิออน และเป็นสาเหตุที่ทำให้ยานี้ถูกเพิกถอนออกจากตลาดยาไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง แต่ก็ได้รับการรับรองให้นำกลับมาใช้ใหม่ภายใต้ขนาดยาแนะนำในการรักษาที่ลดต่ำลงจากเดิม ทั้งนี้ เมื่อเปรียบเทียบบูโพรพิออนกับยาต้านซึมเศร้าชนิดอื่นๆแล้วพบว่า บูโพรพิออนไม่ก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัว, ภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ, หรือการนอนไม่หลับ เหมือนที่เกิดขึ้นในผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านซึมเศร้าอื่น เป็นที่ทราบกันดีโดยทั่วไปว่าบูโพรพิออนนั้นส่งผลต่อเป้าหมายทางชีวภาพหลากหลายตำแหน่งในร่างกาย แต่ในกรณีที่ใช้ยานี้เพื่อเป็นยาต้านซึมเศร้าและช่วยเลิกบุหรี่นั้นเป็นผลมาจากการที่ยานี้ออกฤทธิ์เป็นสารยับยั้งการเก็บกลับนอร์เอพิเนฟรินและโดพามีนและปิดกั้นตัวรับนิโคทินิคในร่างกาย ซึ่งจะช่วยให้อาการซึมเศร้าบรรเทาลง และเลิกบุหรี่ได้ในที่สุด ตามลำดับ ทั้งนี้ บูโพรพิออนจัดเป็นสารเคมีที่อยู่ในกลุ่มอะมิโนตีโตน ซึ่งมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกับสารกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางอย่างคาทิโนน, แอมฟีพราโมน และฟีนีไทลามีน บูโพรพิออนถูกสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรกโดยนาริแมน เมห์ต้า (Nariman Mehta) เมื่อปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและบูโพรพิออน · ดูเพิ่มเติม »

บทบาททางเพศ

ทบาททางเพศ (gender role หรือ sex role) คือบทบาททางสังคม ครอบคลุมทั้งพฤติกรรมและทัศนคติของแต่ละคนที่เชื่อว่าเหมาะสม เป็นที่ยอมรับและน่าชื่นชมโดยใช้เพศสภาพเป็นตัวกำหนด บทบาททางเพศนั้นเน้นแนวคิดของความเป็นผู้หญิงและความเป็นผู้ชาย แม้ว่าจะมีข้อยกเว้นและรูปแบบหลากหลาย ซึ่งอาจแตกต่างไปแล้วแต่วัฒนธรรม หลายกลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มเคลื่อนไหวสิทธิสตรีพยายามเปลี่ยนแปลงบทบาททางเพศนี้ที่พวกเขาเชื่อว่าเป็นการกดขี่หรือไม่ถูกต้อง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและบทบาททางเพศ · ดูเพิ่มเติม »

ฟลูอ็อกเซทีน

ฟลูอ็อกเซทีน (Fluoxetine) หรือชื่อทางการค้าคือ โปรแซ็ค (Prozac) และ ซาราเฟ็ม (Sarafem) เป็นยาแก้ซึมเศร้าแบบรับประทานประเภท selective serotonin reuptake inhibitor (SSRI) ใช้รักษาโรคซึมเศร้า (MDD) โรคย้ำคิดย้ำทำ (OCD) โรคหิวไม่หายแบบทานแล้วอาเจียน (bulimia nervosa) โรคตื่นตระหนก (panic disorder) และความละเหี่ยก่อนระดู (premenstrual dysphoric disorder ตัวย่อ PMDD) เป็นยาที่อาจลดความเสี่ยงการฆ่าตัวตายในคนไข้อายุเกิน 65 ปี และเป็นยาที่ใช้รักษาการหลั่งน้ำอสุจิเร็ว (premature ejaculation) ได้ด้วย ผลข้างเคียงที่สามัญก็คือนอนไม่หลับ ไม่อยากอาหาร ปากแห้ง เป็นผื่น และฝันผิดปกติ ผลข้างเคียงที่รุนแรงรวมทั้งเซโรโทนินเป็นพิษ (serotonin syndrome) อาการฟุ้งพล่าน การชัก โอกาสเสี่ยงฆ่าตัวตายสูงขึ้นสำหรับคนอายุต่ำกว่า 25 ปี และความเสี่ยงการเลือดออกสูงขึ้น --> ถ้าหยุดแบบฉับพลัน อาจมีอาการหยุดยา ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกับความวิตกกังวล ความเวียนหัวคลื่นไส้ และการรับรู้สัมผัสที่เปลี่ยนไป ยังไม่ชัดเจนว่า ยาปลอดภัยสำหรับหญิงมีครรภ์หรือไม่ --> แต่ว่าถ้าทานยาอยู่แล้ว ก็ยังเหมาะสมที่จะทานต่อไปเมื่อให้นมลูก กลไกการทำงานของยายังไม่ชัดเจน แต่เชื่อว่ายาเพิ่มการทำงานของระบบเซโรโทนินในสมอง บริษัท Eli Lilly and Company ค้นพบยาในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและฟลูอ็อกเซทีน · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พาโรโมมัยซิน

รโมมัยซิน (Paromomycin) เป็นยาปฏิชีวนะที่ถูกใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อต่างๆ หลายชนิด เช่นโรคบิดมีตัว, โรคไกอาร์ดิเอสิส (giardiasis), โรคติดเชื้อลิชมาเนีย, และ โรคติดเชื้อพยาธฺตัวตืด (Tapeworm infection) โดยพาโรโมมัยซินจัดเป็นยาทางเลือกแรกสำหรับการรักษาโรคบิดมีตัว หรือโรคไกอาร์ดิเอสิสในหญิงตั้งครรภ์ และเป็นยาทางเลือกรองในข้อบ่งใช้อื่นที่เหลือตามที่กล่าวข้างต้น โดยพาโรมัยซินสามารถตั้งตำรับให้อยู่ได้ทั้งรูปแบบยาสำหรับรับประทาน, ยาใช้ภายนอก, หรือยาสำหรับการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ อาการไม่พึงประสงค์ที่พบได้บ่อยเมื่อได้รับยาพาโรโมมัยซินโดยการรับประทาน ได้แก่เบื่ออาหาร,คลื่นไส้,อาเจียน,ปวดท้อง,และท้องเสีย เมื่อใช้ยาในรูปแบบยาทาผิวหนัง อาจทำให้เกิดอาการคัน,แดง,และตุ่มพองได้ ส่วนการได้รับยาในรูปแบบฉีดเข้ากล้ามเนื้อ อาจทำให้มีไข้,ตับทำงานผิดปกติ,หรือหูหนวกได้ การใช้ยานี้ในค่อนข้างปลอดภัยในหญิงที่อยู่ระหว่างการให้นมบุตร ทั้งนี้ พาโรมัยซินจัดเป็นยาปฏิชีวนะอีกชนิดหนึ่งในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ซึ่งออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียโดยการยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย พาโรโมมัยซินเป็นสารที่คัดแยกได้จากเชื้อแบคทีเรียStreptomyces krestomuceticusถูกค้นพบเป็นครั้งแรกในทศวรรษที่1950 และได้รับการพัฒนาเรื่อยมาจนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นยาใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและพาโรโมมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

กรดโฟลิก

ฟเลต หรืออีกรูปแบบหนึ่งที่รู้จักคือ กรดโฟลิก และ วิตามินบี9 (folate, folic acid, vitamin B9) เป็นวิตามินบีชนิดหนึ่ง มีปริมาณที่แนะนำต่อวันอยู่ที่ 400 ไมโครกรัม และมักใช้เป็นอาหารเสริมในช่วงตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารก (ซึ่งรวมการไม่มีสมองใหญ่ สมองโป่ง กระดูกสันหลังโหว่) --> และยังใช้รักษาภาวะเลือดจางจากการขาดกรดโฟลิก กว่า 50 ประเทศเสริมกรดโฟลิกในอาหารเพื่อเป็นมาตรการลดอัตรา NTDs ในประชากร การเสริมกรดโฟลิกในอาหารเป็นประจำสัมพันธ์กับการลดความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจเล็กน้อย เป็นวิตามินที่สามารถใช้ทานหรือฉีดก็ได้ ยาไม่มีผลข้างเคียงที่สามัญ ยังไม่ชัดเจนว่าการทานในขนาดสูงเป็นระยะเวลายาวนานมีปัญหาหรือไม่ แต่การใช้ขนาดสูงสามารถอำพรางการขาดวิตามินบี12ได้ --> โฟเลตเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย เพื่อผลิต DNA RNA และกระบวนการสร้างและย่อยสลายกรดอะมิโนซึ่งจำเป็นต่อการแบ่งเซลล์ เนื่องจากมนุษย์ไม่สามารถสร้างกรดโฟลิก ดังนั้นจำต้องได้จากอาหาร การไม่ได้โฟเลตเพียงพอก็จะทำให้เกิดภาวะขาดโฟเลต --> ซึ่งอาจมีผลเป็นภาวะเลือดจางที่มีเม็ดเลือดขนาดใหญ่ (megaloblastic) เป็นจำนวนน้อย --> อาการอาจรวมความล้า หัวใจเต้นเร็ว หายใจไม่ทัน แผลบนลิ้นไม่หาย สีผิวหรือผมเปลี่ยน --> การขาดในช่วงตั้งครรภ์เบื้องต้นเชื่อว่าเป็นเหตุของภาวะหลอดประสาทไม่ปิด (NTDs) ในทารกเกินครึ่ง การขาดในเด็กอาจเกิดภายในเดือนเดียวที่ทานอาหารไม่ดี ในผู้ใหญ่ระดับโฟเลตทั้งหมดในร่างกายอยู่ที่ระหว่าง 10,000-30,000 ไมโครกรัม (µg) โดยมีระดับในเลือดเกิน 7 nmol/L (3 ng/mL) กรดนี้ค้นพบในระหว่างปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและกรดโฟลิก · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณา ไกรสินธุ์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 เป็นเภสัชกรชาวไทยที่อุทิศตนช่วยเหลือผู้ป่วยในการผลิตยาในทวีปแอฟริกาและเอเชีย กฤษณาเป็นชาวเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี บิดาและมารดาเป็นบุคลากรทางสาธารณสุขทั้งคู่ จึงเป็นแรงบันดาลใจให้เธอประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุขเช่นกัน ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังจากนั้นได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาเภสัชวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์ และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ สหราชอาณาจักร หลังจากจบการศึกษาแล้ว กฤษณาได้กลับมาดำรงตำแหน่งอาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมี ในปี พ.ศ. 2524 ต่อมาได้ทำงานในองค์การเภสัชกรรมและเป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านเอดส์จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อ "ยาเอดส์" ได้เป็นครั้งแรกในประเทศกำลังพัฒนา เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและกฤษณา ไกรสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง

กลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือรู้จักกันในชื่อ โรคซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome; SARS) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัส ทำให้มี ไข้สูง ไอแห้ง หอบ หรือหายใจลำบาก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและกลุ่มอาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง · ดูเพิ่มเติม »

กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด

กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (Myocardial infarction; MI) หรือรู้จักกันว่า อาการหัวใจล้ม (heart attack) เกิดเมื่อเลือดไหลสู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของหัวใจลดลงหรือหยุดไหล ทำให้เกิดความเสียหายต่อกล้ามเนื้อหัวใจ อาการที่พบมากที่สุด คือ เจ็บอกหรือแน่นหน้าอกซึ่งอาจร้าวไปไหล่ แขน หลัง คอหรือกราม บ่อยครั้งเจ็บบริเวณกลางอกหรืออกด้านซ้ายและกินเวลาไม่ใช่เพียงไม่กี่นาที อาการแน่นหน้าอกบางทีอาจรู้สึกคล้ายอาการแสบร้อนกลางอก อาการอื่น ได้แก่ การหายใจลำบาก คลื่นไส้ รู้สึกหมดสติ เหงื่อแตก หรือรู้สึกล้า ผู้ป่วยประมาณ 30% มีอาการไม่ตรงแบบ หญิงมักมีอาการไม่ตรงแบบมากกว่าชาย ในผู้ป่วยอายุกว่า 75 ปีขึ้นไป ประมาณ 5% เคยมี MI โดยไม่มีหรือมีประวัติอาการเพียงเล็กน้อย MI ครั้งหนึ่งอาจทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว ภาวะหัวใจเสียจังหวะ ช็อกเหตุหัวใจ หรือหัวใจหยุด MI ส่วนใหญ่เกิดจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ เบาหวาน ไม่ออกกำลังกาย โรคอ้วน ภาวะคอเลสเทอรอลสูงในเลือด กินอาหารเลวและบริโภคแอลกอฮอล์มากเกินเป็นต้น กลไกพื้นเดิมของ MI ปกติเกิดจากการแตกของแผ่นโรคท่อเลือดแดงและหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerotic plaque) ทำให้เกิดการอุดกั้นสมบูรณ์หลอดเลือดหัวใจ MI ที่เกิดจากการบีบเกร็งของหลอดเลือดหัวใจซึ่งอาจเกิดได้จากโคเคน ความเครียดทางอารมณ์อย่างสำคัญ และความเย็นจัด เป็นต้น นั้นพบน้อย มีการทดสอบจำนวนหนึ่งเป็นประโยชน์ช่วยวินิจฉัยรวมทั้งภาพคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การทดสอบเลือด และการบันทึกภาพรังสีหลอดเลือดหัวใจ ECG ซึ่งเป็นบันทึกกัมมันตภาพไฟฟ้าของหัวใจ อาจยืนยัน MI ชนิด ST ยก (STEMI) หากมีการยกของ ST การทดสอบที่ใช้ทั่วไปมีทั้งโทรโปนินและครีเอตีนไคเนสเอ็มบีที่ใช้น้อยกว่า การรักษา MI นั้นสำคัญที่เวลา แอสไพรินเป็นการรักษาทันทีี่เหมาะสมสำหรับผู้ที่สงสัยเป็น MI อาจใช้ไนโตรกลีเซอรีนหรือโอปิออยด์เพื่อช่วยระงับอาการเจ็บอก ทว่า ยาทั้งสองไม่ได้เพิ่มผลลัพธ์โดยรวมของการรักษา การให้ออกซิเจนเสริมอาจให้ในผู้ป่วยระดับออกซิเจนต่ำหรือหายใจกระชั้น ในผู้ป่วย STEMI การรักษาเป็นไปเพื่อพยายามฟื้นฟูการไหลเวียนโลหิตสู่หัวใจ และอาจรวมถึงการถ่างขยายหลอดเลือดหัวใจ (percutaneous coronary intervention, PCI) ซึ่งมีการผลักหลอดเลือดแดงให้เปิดออกและอาจถ่ายขยาย หรือการสลายลิ่มเลือด ซึ่งมีการใช้ยาเพื่อขจัดบริเวณที่เกิดการอุดกั้น ผู้มีกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดแบบไม่มี ST ยก (NSTEMI) มักรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดเฮปาริน และการใช้ PCI อีกครั้งในผู้ป่วยความเสี่ยงสูง ในผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นของหลอดเลือดหัวใจหลายเส้นและโรคเบาหวาน อาจแนะนำการผ่าตัดทางเลี่ยงหลอดเลือดหัวใจแทนศัลยกรรมตกแต่งหลอดเลือด หลังเป็น MI ตรงแบบแนะนำการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ร่วมกับการรักษาระยะยาวด้วยแอสไพริน เบตาบล็อกเกอร์ และสแตติน เกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดทั่วโลกประมาณ 15.9 ล้านครั้งในปี 2558 กว่า 3 ล้านคนมี MI ชนิด ST ยก และกว่า 4 ล้านคนเป็น NSTEMI สำหรับ STEMI เกิดในชายมากกว่าหญิงสองเท่า มีผู้ป่วย MI ประมาณหนึ่งล้านคนทุกปีในสหรัฐ ในประเทศพัฒนาแล้ว โอกาสเสียชีวิตในผู้ป่วย STEMI อยู่ี่ประมาณ 10% อัตรา MI สำหรับอายุต่าง ๆ ลดลงทั่วโลกระหว่างปี 2533 ถึง 2553 ในปี 2554 MI เป็นภาวะที่มีราคาแพงที่สุดห้าอันดับแรกระหว่างการให้เข้าโรงพยาบาลผู้ป่วยในในสหรัฐ โดยมีมูลค่าประมาณ 11,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐสำหรับการรักษาในโรงพยาบาล 612,000 ครั้ง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด · ดูเพิ่มเติม »

การฝังเข็ม

การฝังเข็ม (針灸; Acupuncture) เป็นการแพทย์ทางเลือกแขนงหนึ่ง โดยการฝังเข็มเข้าไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย การฝังเข็มสามารถระงับอาการเจ็บปวด ช่วยเรื่องภาวะมีบุตรยาก ป้องกันโรคบางชนิด รวมถึงเสริมสุขภาพ การฝังเข็มเป็นแขนงหนึ่งของการแพทย์แผนจีน ซึ่งสามารถสืบย้อนประวัติได้ยาวนานหลายพันปี และยังมีรูปแบบที่แตกต่างกันมากมาย การฝังเข็มเป็นการใช้เข็มปักลงไปตามจุดต่างๆบนร่างกายของทั้งมนุษย์และสัตว์ ตามจุดสำคัญๆที่มีการบันทึกไว้ตั้งแต่โบราณมาแล้วว่า มีความสำคัญและสัมพันธ์กับอวัยวะต่างๆในร่างกาย จุดฝังเข็มบนร่างกายมนุษย์มีอยู่หลายร้อยจุด แต่จุดที่มีการบันทึกไว้อย่างชัดเจน ในเอกสารตำราแพทย์จีนโบราณและในเอกสารอ้างอิง ขององค์การอนามัยโลก (WHO) จะมีอยู่จำนวน 349 จุด บนเส้นลมปราณ (meridian) หลักๆ 12 เส้นหลักและอีก 2 เส้นรอง จำนวนเส้นลมปราณในร่างกายแต่ละข้าง (ขวา-ซ้าย) มี 12 เส้น โดยแบ่งเป็นส่วนของแขน 6 เส้น และส่วนของขาอีก 6 เส้น (ส่วนอีก 2 เส้นรองจะอยู่ตรงกลางหลังและตรงกลางหน้าท้อง) ในส่วนของแขน 6 เส้น ก็จะจับคู่กันเองเป็น 3 คู่ เช่นเดียวกับขาก็จะจับคู่กันเองเป็น 3 คู่ แต่ละเส้นจะมีชื่อเรียกและหน้าที่ของมันอย่างชัดเจน ขอยกตัวอย่าง 2 เส้นใน 6 เส้นบนแขน เส้นของปอดและ ลำไส้ใหญ่ โดยเส้นของปอดจะสิ้นสุดที่ข้างหัวนิ้วโป้ง ส่วนเส้นของลำไส้ใหญ่ จะเริ่มบริเวณด้านข้างปลายนิ้วชี้ทั้ง2เส้น นี้คือเส้นของปอดและลำไส้ใหญ่จะ สัมพันธ์กันแบบภายนอกและภายใน เป็นแบบ External & Internal relationship เส้นของปอดมีชื่อเรียกว่า เส้นไท่อินปอด (Taiyin lung meridian) เส้นของลำไส้ใหญ่มีชื่อเรียกว่า เส้นหยางหมิงลำไส้ใหญ่ (Yangming large intestine meridian) ในเส้นลมปราณแต่ละเส้น จะมีจุดฝังเข็ม (Acupunture points) หลายจุดจำนวนแตกต่างกันไปมากบ้าง น้อยบ้าง เช่น บนเส้นไท่อินปอดจะมีอยู่ 11 จุด บนเส้นหยางหมิงลำไส้ใหญ่จะ มีอยู่ 20 จุด แต่ละจุดก็จะมีชื่อเรียกของตัวเองทุกจุดชื่อของจุดจะแตกต่าง กันออกไป และทุกชื่อก็จะมีความหมายของตัวเอง ชื่อทั้งหมดเป็นชื่อในภาษาจีนกลาง เช่นจุดที่บริเวณด้านข้าง ปลายนิ้วโป้งของเส้นไท่อินปอด มี ชื่อเรียกว่า จุดเซ่าซาง (Shao Shang) หรือจุดแรกของเส้นหยางหมิงลำไส้ใหญ่ ที่ปลายนิ้วชี้ด้านข้างมีชื่อว่าจุดซางหยาง (Shang Yang) สำหรับคนต่างชาติการจะไปจำชื่อจุด ฝังเข็มนับร้อยจุดเป็นชื่อจีนกลางเป็นเรื่องยาก ทางองค์การอนามัยโลกจึงกำหนดรหัสขึ้นมาแทนชื่อจุดเหล่านั้น เช่นจุดเซ่าซางมีรหัสเป็น LU-11 จุดซางหยางมีรหัสเป็น LI-1 เป็นต้น "การเตรีมตัวก่อนการรักษา" 1.สวมใส่เสื้อผ้าที่แยกเสื้อส่วนบน กับกางเกงหรือกระโปรงส่วนล่าง เพื่อความสะดวกในการฝังเข็ม 2.หากฝังเข็มบริเวณต้นคอ ต้องรวบผมขึ้นให้เรียบร้อย เพราะการฝังเข็มบริเวณต้นคอ ต้องใช้ความแม่นยำให้การฝังเป็นอย่างมาก 3.ทำจิตใจให้สบาย ไม่ต้องเครียด เพราะความเครียดจะทำให้โลหิตหมุนเวียนไม่ดี 4.ชำระร่างกายให้สะอ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการฝังเข็ม · ดูเพิ่มเติม »

การระบาดของอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบในแอฟริกาตะวันตก พ.ศ. 2552-2553

นจีเรีย พบการระบาดนาน ๆ ครั้ง การระบาดของอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบในแอฟริกาตะวันตก..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการระบาดของอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบในแอฟริกาตะวันตก พ.ศ. 2552-2553 · ดูเพิ่มเติม »

การระบาดของไวรัสอีโบลาในแอฟริกาตะวันตก

การระบาดกว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ของโรคไวรัสอีโบลา เริ่มในประเทศกินีในเดือนธันวาคม 2556 และยังมีการเสียชีวิตอย่างสำคัญเรื่อยมาเป็นเวลาสองปี จนกำลังมีการประกาศว่ายุติในเดือนมกราคม 2559 โรคระบาดกระจุกอยู่ในหลายประเทศแอฟริกาตะวันตก ได้แก่ ประเทศไลบีเรีย กินีและเซียร์ราลีโอน โดยมีการระบาดขนาดเล็กที่อื่น โรคมีอัตราตายสำคัญ โดยอัตราป่วยตายที่รายงานถึง 70% และโดยเฉพาะ 57–59% ของผู้ป่วยที่เข้ารักษาในโรงพยาบาล มีการอธิบายโรคไวรัสอีโบลาครั้งแรกในปี 2519 ในการระบาดพร้อมกันสองครั้งในเซาท์ซูดานและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก แต่ครั้งนี้เป็นการระบาดของอีโบลาครั้งแรกในอนุทวีปแอฟริกาตะวันตก การระบาดเริ่มในกินีในเดือนธันวาคม 2556 แล้วลามไปไลบีเรียและเซียร์ราลีโอน เกิดการระบาดเล็กในประเทศไนจีเรียและมาลี และมีผู้ป่วยเดี่ยวในประเทศเซเนกัล สหราชอาณาจักรและซาร์ดีเนีย ผู้ป่วยจากนอกประเทศในสหรัฐอเมริกาและสเปนนำสู่การติดเชื้อทุติยภูมิของบุคลากรทางการแพทย์ แต่มิได้แพร่ไปอีก วันที่ 14 มกราคม 2559 องค์การอนามัยโลก (WHO) และรัฐบาลที่เกี่ยวข้องรายงานผู้ป่วยต้องสงสัยรวม 28,638 คน และเสียชีวิต 11,315 คน แม้ WHO เชื่อว่าตัวเลขนี้ประเมินขนาดของการระบาดครั้งนี้ต่ำกว่าจริงมากพอควร WHO ยังเตือนว่าอาจเกิดการระบาดเล็กอีกในอนาคต และควรระมัดระวังต่อไป ครั้งนี้เป็นการระบาดของอีโบลาครั้งแรกที่แตะสัดส่วนโรคระบาด การระบาดครั้งก่อน ๆ สามารถควบคุมได้ในไม่กี่สัปดาห์ ความยากจนสุดขั้ว ระบบสาธารณสุขที่ทำหน้าที่บกพร่อง ข้าราชการที่ไม่ไว้วางใจหลังการขัดกันด้วยอาวุธนานหลายปี และความล่าช้าในการสนองตอบการระบาดเป็นเวลาหลายเดือนทั้งหมดล้วนส่งเสริมให้การควบคุมโรคระบาดล้มเหลว ปัจจัยอื่นมีขนบธรรมเนียมฝังศพของท้องถิ่นที่ชำระศพหลังเสียชีวิตและการแพร่ไปนครที่มีประชากรอยู่หนาแน่น เมื่อโรคระบาดแพร่กระจาย หลายโรงพยาบาลซึ่งขาดแคลนเจ้าหน้าที่และเวชภัณฑ์ ไม่สามารถแบกรับภาระไหวและปิด ทำให้ผู้เชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขบางคนแถลงว่า ความไร้สามารถรักษาความต้องการทางการแพทย์อื่นอาจทำให้ "ยอดผู้เสียชีวิตเพิ่มเป็นไปได้ว่าอาจสูงกว่าโรคระบาดเอง" เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลซึ่งทำงานใกล้ชิดกับสารคัดหลั่งที่ติดต่อทางสัมผัสของผู้เป็นโรค เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงเป็นพิเศษต่อการรับเชื้อ ในเดือนสิงหาคม 2557 WHO รายงานว่า ร้อยละ 10 ของผู้เสียชีวิตเป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในเดือนกันยายน 2557 มีการประมาณว่า ขีดความสามารถของประเทศสำหรับการรักษาผู้ป่วยอีโบลานั้นขาดเทียบเท่า 2,122 เตียง ในเดือนธันวาคม มีจำนวนเตียงเพียงพอรักษาและแยกผู้ป่วยอีโบลาที่มีรายงานทั้งหมด แม้การกระจายของผู้ป่วยที่ไม่สม่ำเสมอส่งผลให้มีการขาดแคลนอย่างรุนแรงในบางพื้นที่ วันที่ 28 มกราคม 2558 WHO รายงานว่า เป็นครั้งแรกนับแต่สัปดาห์ที่ 29 มิถุนายน 2557 ซึ่งมีรายงานผู้ป่วยยืนยันใหม่น้อยกว่า 100 คนในสามประเทศที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด จากนั้นการสนองตอบโรคระบาดเคลื่อนไประยะที่สอง เมื่อความสนใจเปลี่ยนจากการชะลอการแพร่เชื้อเป็นการหยุดโรคระบาด วันที่ 8 เมษายน 2558 WHO รายงานว่ามีผู้ป่วยยืนยันรวมเพียง 30 คน และการปรับรายสัปดาห์ของวันที่ 29 กรกฎาคมรายงานผู้ป่วยเพียง 7 คน วันที่ 7 ตุลาคม 2558 ประเทศที่ได้รับผลกระทบร้ายแรงที่สุดทั้งสามประเทศบันทึกว่าไม่มีผู้ป่วยใหม่ในสัปดาห์นั้นเป็นครั้งแรก ทว่า เมื่อปลายปี 2558 แม้การระบาดขนาดใหญ่จะยุติลงแล้ว แต่ยังมีผู้ป่วยใหม่เกิดห่าง ๆ เกิดอยู่ ซึ่งขัดขวางความหวังที่จะสามารถประกาศว่าโรคระบาดสิ้นสุดลงแล้ว วันที่ 8 สิงหาคม 2557 องค์การอนามัยโลกประกาศให้การระบาดนี้เป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่เป็นปัญหาระหว่างประเทศ WHO ถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าลงมือปฏิบัติล่าช้าเพื่อจัดการกับโรคระบาดนี้ เดือนกันยายน 2557 แพทย์ไร้พรมแดน องค์การนอกภาครัฐซึ่งมีเจ้าหน้าที่มากที่สุดที่ทำงานในประเทศที่ได้รับผลกระทบ วิจารณ์การสนองระหว่างประเทศเพิ่มขึ้น เมื่อวันที่ 3 กันยายน ประธานแพทย์ไร้พรมแดนกล่าวถึงการขาดความช่วยเหลือจากประเทศสมาชิกสหประชาชาติ ว่า "หกเดือนกับโรคระบาดอีโบลาที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ โลกกำลังพ่ายการต่อสู้เพื่อจำกัดมัน" ในถ้อยแถลงเมื่อวันที่ 26 กันยายน องค์การอนามัยโลกแถลงว่า "โรคระบาดอีโบลาซึ่งกำลังผลาญแอฟริกาตะวันตกบางส่วนเป็นภาวะฉุกเฉินสาธารณสุขเฉียบพลันที่รุนแรงที่สุดที่พบในสมัยใหม่" และผู้อำนวยการองค์การอนามัยโลก มาร์กาเรต ชาน เรียกโรคระบาดนี้ว่า "ใหญ่สุด ซับซ้อนที่สุด และรุนแรงที่สุดเท่าที่เราเคยเห็น" ในเดือนมีนาคม 2558 กลุ่มพัฒนาสหประชาชาติรายงานว่า เนื่องจากการลดการค้า การปิดพรมแดน การยกเลิกเที่ยวบินและการลงทุนต่างชาติและกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เกิดจากความเสื่อมเสีย โรคระบาดนี้ได้ส่งผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจใหญ่หลวงทั้งในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบในแอฟริกาตะวันตกและแม้แต่ในชาติแอฟริกาอื่นที่ไม่มีผู้ป่วยอีโบลา วันที่ 31 กรกฎาคม 2558 WHO ประกาศ "การพัฒนาที่มีความหวังอย่างยิ่ง" ในการแสวงวัคซีนที่มีประสิทธิภาพสำหรับโรคอีโบลา ขณะที่วัคซีนนี้แสดงประสิทธิพลัง 100% ในปัจเจกบุคคล แต่จำเป็นต้องมีหลักฐานที่สรุปได้มากกว่านี้ถึงขีดความสามารถในการป้องกันประชากรผ่านภูมิคุ้มกันหมู่ก่อน ในเดือนสิงหาคม 2558 หลังมีความคืบหน้าพอควรในการลดขนาดของโรคระบาด WHO จัดการประชุมเพื่อดำเนิน "แผนการดูแลครอบคลุมสำหรับผู้รอดชีวิตอีโบลา" และระบุการวิจัยที่ต้องการทำให้การดูแลเชิงคลินิกและความเป็นอยู่ดีทางสังคมให้เหมาะที่สุด ปัญหาพิเศษ คือ การวิจัยล่าสุดที่แสดงว่าผู้รอดชีวิตจากอีโบลาบางคนประสบสิ่งที่เรียก กลุ่มอาการหลังอีโบลา ซึ่งมีอาการรุนแรงจนผู้นั้นอาจต้องดูแลรรักษาทางการแพทย์เป็นเวลาหลายเดือนถึงหลายปี เมื่อโรคระบาดใกล้สิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2558 สหประชาชาติประกาศว่า มีเด็กกำพร้า 22,000 คนจากการเสียบิดาหรือมารดาหรือทั้งสองเนื่องจากอีโบล.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการระบาดของไวรัสอีโบลาในแอฟริกาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การระบาดของไวรัสซิกา

ต้นปี 2559 กำลังมีการระบาดครั้งกว้างขวางที่สุดของไวรัสซิกาในประวัติศาสตร์ในทวีปอเมริกา การระบาดเริ่มในเดือนเมษายน 2558 ในประเทศบราซิล แล้วลามไปประเทศอื่นในอเมริกาใต้ อเมริกากลาง และแคริบเบียน ในเดือนมกราคม 2559 องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่า ไวรัสน่าจะลามไปทั่วทวีปอเมริกาส่วนใหญ่เมื่อสิ้นปี ต่อมา ในเดือนกุมภาพันธ์ 2559 องค์การอนามัยโลกแถลงว่า การระบาดของไวรัสเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่เป็นปัญหาระหว่างประเทศ (public health emergency of international concern) ส่วนใหญ่ไวรัสแพร่โดยยุง Aedes aegypti (ยุงลายบ้าน) ที่พบทั่วไปตลอดเขตร้อนและทวีปอเมริกากึ่งเขตร้อน แต่ยังแพร่โดย Aedes albopictus (ยุงลายสวน) ที่ปัจจุบันมีอาศัยอยู่ถึงพื้นที่เกรตเลกส์ของสหรัฐ การติดเชื้อไวรัสซิกาส่วนใหญ่ไม่มีอาการ ทำให้ประมาณจำนวนการติดเชื้อไวรัสซิกาได้ยาก ผู้ป่วยประมาณหนึ่งในห้าจะมีการเจ็บป่วยเล็กน้อยเรียก ไข้ซิกา ซึ่งทำให้เกิดอาการอย่างไข้และผื่น ทว่า การติดเชื้อไวรัสซิกาในหญิงตั้งครรภ์มีความเชื่อมโยงที่สงสัยกับภาวะหัวเล็กเกินในทารกแรกเกิดจากการส่งผ่านมารดาสู่เด็ก และในผู้ป่วยน้อยราย ทำให้เกิดกลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร หลายประเทศออกคำเตือนท่องเที่ยว.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการระบาดของไวรัสซิกา · ดูเพิ่มเติม »

การระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2012 พ.ศ. 2556

การระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์กลุ่มอาการโรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง ปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2012 พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009

การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 เป็นการระบาดทั่วโลกของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น 1 สายพันธุ์ใหม่ หรือโดยทั่วไปมักเรียกว่า "ไข้หวัดหมู" เริ่มพบการระบาดตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า

การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy; ย่อ: ECT) เดิมเรียก การช็อกไฟฟ้า เป็นการรักษามาตรฐานทางจิตเวชศาสตร์ซึ่งเหนี่ยวนำให้ผู้ป่วยชักด้วยไฟฟ้าเพื่อการแก้การเจ็บป่วยทางจิตเวช ปกติ ECT ใช้เป็นการรักษาวิธีสุดท้ายสำหรับโรคซึมเศร้า จิตเภท อาการฟุ้งพล่านและอาการเคลื่อนไหวน้อยหรือมากเกิน แนวปฏิบัติปกติของ ECT เกี่ยวข้องกับการบริหารหลายครั้ง ตรงแบบให้สองหรือสามครั้งต่อสัปดาห์กระทั่งผู้ป่วยไม่มีอาการทรมานอีก จิตประสาทแพทย์ชาวอิตาลี อูโก แชร์เลตติและลูซิโอ บีนี เป็นผู้ริเริ่มใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

การร่วมเพศ

'''Coition of a Hemisected Man and Woman''' (ประมาณ ค.ศ. 1492) วาดโดย เลโอนาร์โด ดา วินชี แสดงให้เห็นสิ่งที่เกิดขึ้นภายในร่างกายในการร่วมเพศระหว่างชาย-หญิง quote.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการร่วมเพศ · ดูเพิ่มเติม »

การร่วมเพศอย่างปลอดภัย

งยาง สามารถถูกใช้โดยผู้ชายเพื่อเซ็กส์ที่ปลอดภัย เขื่อนทันตกรรม (dental dam) สามารถใช้โดยบุคคลที่มีส่วนร่วมใน cunnilingus และ หรือ เอนิลิงกัส สำหรับการร่วมเพศที่ปลอดภัย การร่วมเพศอย่างปลอดภัย หรือ เซ็กส์ที่ปลอดภัย (safe sex) คือกิจกรรมทางเพศซึ่งผู้ร่วมมีความระมัดระวังในการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น เอชไอวี อาจถูกเรียกว่า เซ็กส์ที่ปลอดภัยกว่า หรือ เซ็กส์ที่มีการป้องกัน ขณะที่ เซ็กส์ไม่ปลอดภัย หรือ เซ็กส์ที่ไม่มีการป้องกัน หมายถึงกิจกรรมทางเพศกระทำอย่างไม่ระมัดระวังหรือไม่มีการป้องกัน โดยเฉพาะการร่วมเพศโดยไม่ใช่ถุงยางอนามัย แหล่งข้อมูลบางแห่งอาจใช้คำว่า เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยกว่า (safer sex) เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความจริงที่การปฏิบัติเหล่านี้จะช่วยลด แต่อาจไม่ได้กำจัดความเสี่ยงในการติดโรค การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ (STIs) ได้กลายเป็นคำที่ใช้บ่อยกว่าโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (STDs) ในทางการแพทย์เนื่องจากมีความหมายกว้างขึ้น คนอาจติดเชื้อและอาจส่งต่อเชื้อให้แก่คนอื่น ๆ โดยไม่แสดงอาการของโรค การร่วมเพศอย่างปลอดภัยแพร่หลายมากขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 1980 เนื่องจากการระบาดของโรคเอดส์ การส่งเสริมเรื่องเพศที่ปลอดภัยขึ้นเป็นหนึ่งในจุดมุ่งหมายของการศึกษาเรื่องเพศ การร่วมเพศอย่างปลอดภัยถือเป็นกลยุทธ์การลดอันตรายที่มุ่งลดความเสี่ยง การร่วมเพศอย่างปลอดภัยอาจไม่ได้กำจัดความเสี่ยงทั้งหมด ตัวอย่างเช่น มีการประมาณว่าถุงยางอนามัยสามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อเอชไอวีจากคู่นอนที่มีเลือดบวกได้ 4-5 เท.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการร่วมเพศอย่างปลอดภัย · ดูเพิ่มเติม »

การผ่าท้องทำคลอด

การผ่าท้องทำคลอด (Caesarean section) หรือ ซี-เซกชัน (C-section) หรือ ซีซาร์ (Caesar) เป็นหัตถการทางศัลยศาสตร์กระทำโดยการผ่าที่บริเวณส่วนท้องของมารดา (ผ่าท้องและผ่ามดลูก) เพื่อให้ทารกในครรภ์คลอด มักทำเมื่อการคลอดทางช่องคลอดอาจเสี่ยงอันตรายต่อสุขภาพหรือชีวิตของมารดาหรือเด็ก แม้ในปัจจุบันจะมีการผ่าท้องทำคลอดตามความประสงค์ของมารดามากขึ้น องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าอัตราการผ่าท้องทำคลอดควรทำต่อเมื่อมีความจำเป็นทางการแพทย์เท่านั้น โดยปกติแล้วการผ่าท้องทำคลอดจะใช้เวลาประมาณ 45 นาทีถึงหนึ่งชั่วโมง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการผ่าท้องทำคลอด · ดูเพิ่มเติม »

การทารุณเด็กทางเพศ

การทารุณเด็กทางเพศ (Child sexual abuse ตัวย่อ CSA, child molestation) หรือ การกระทำทารุณต่อเด็กทางเพศ หรือ การทำร้ายเด็กทางเพศ เป็นรูปแบบการกระทำทารุณต่อเด็กที่ผู้ใหญ่, หรือเยาวชนหรือวัยรุ่นที่มีอายุมากกว่าและต่างระดับพัฒนา ใช้เด็กกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ มีรูปแบบตั้งแต่การขอหรือบังคับให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางเพศ (ไม่ว่าจะได้ผลตามที่ต้องการหรือไม่), การแสดงสิ่งลามกอนาจารไม่ว่าจะเป็นอวัยวะเพศ หัวนมหญิง เป็นต้น เพื่อสนองความต้องการทางเพศของตน เพื่อขู่ขวัญเด็ก หรือเพื่อปะเหลาะประเล้าประโลมเตรียมเด็กเพื่อทารุณกรรม, การสัมผัสเด็กทางเพศ, หรือการใช้เด็กเพื่อผลิตสื่อลามกอนาจาร ทารุณกรรมสามารถเกิดขึ้นได้ในหลายที่หลายสถาน รวมทั้งที่บ้าน ที่โรงเรียน หรือสำนักงานที่มีเด็กทำงานเป็นปกติ การจับเด็กแต่งงานเป็นรูปแบบการทารุณหลักอย่างหนึ่ง ที่กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ได้กล่าวไว้ว่า "อาจเป็นรูปแบบการทารุณและฉวยผลประโยชน์จากเด็กหญิงทางเพศที่แพร่หลายที่สุด" ทารุณกรรมต่อเด็กส่งผลทางจิตใจ ให้เกิดความซึมเศร้า ความวิตกกังวล ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจ ความผิดปกติที่เกิดหลังความเครียดที่สะเทือนใจแบบซับซ้อน (complex post-traumatic stress disorder) ความโน้มเอียงที่จะตกเป็นเหยื่อทารุณกรรมอีกในวัยผู้ใหญ่ รวมทั้งการบาดเจ็บทางกาย และเหล่านี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของปัญหาทั้งหมด ทารุณกรรมโดยสมาชิกครอบครัวซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการร่วมประเวณีกับญาติสนิท จะก่อให้เกิดปัญหาร้ายแรงยิ่งกว่าต่อเด็ก ส่งผลกระทบต่อจิตใจในระยะยาว โดยเฉพาะในกรณีที่ทำโดยผู้ปกครอง ไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ พ่อเลี้ยง แม่เลี้ยง พ่อบุญธรรม แม่บุญธรรม ความแพร่หลายทั่วโลกของทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กประเมินอยู่ที่ 19.7% ในหญิง และ 7.9% ในชาย ผู้กระทำผิดส่วนมากรู้จักเหยื่อ ราว 30% เป็นญาติ บ่อยที่สุดเป็นพี่ชาย พ่อ ลุง หรือลูกพี่ลูกน้อง ราว 60% เป็นคนรู้จักอื่นอย่างเช่น "เพื่อน"ของคนในครอบครัว พี่เลี้ยงเด็ก หรือเพื่อนบ้าน และราว 10% เป็นคนแปลกหน้า ผู้กระทำผิดส่วนใหญ่เป็นชาย จากการศึกษาพบว่า หญิงทำผิดต่อ 14-40% ของเหยื่อเด็กชาย และ 6% ของเหยื่อเด็กหญิง(โดยที่เหลือของเหยื่อทำโดยผู้ทำผิดเพศชาย) ส่วนคำภาษาอังกฤษว่า pedophile (คนใคร่เด็ก) มักจะใช้อย่างไม่เลือกกับทุก ๆ คนที่ทารุณเด็กทางเพศ แต่ผู้ทำผิดต่อเด็กทุกคนไม่ใช่คนใคร่เด็ก ยกเว้นถ้ามีความรู้สึกทางเพศที่รุนแรงกับเด็กที่อยู่ในวัยก่อนหนุ่มสาว และคนใคร่เด็กทุกคนก็ไม่ใช่ผู้ทำผิดต่อเด็ก ในกฎหมายบางประเทศ คำว่า child sexual abuse (การทารุณเด็กทางเพศ) ใช้เป็นคำคลุมทั้งการละเมิดกฎหมายอาญาและแพ่ง ที่ผู้ใหญ่ทำกิจทางเพศร่วมกับผู้เยาว์ หรือฉวยประโยชน์จากผู้เยาว์เพื่อสนองความรู้สึกทางเพศ สมาคมจิตวิทยาอเมริกัน (American Psychological Association) ยืนยันว่า "เด็กไม่สามารถยินยอมมีกิจกรรมทางเพศร่วมกับผู้ใหญ่" และประณามการทำเช่นนั้นของผู้ใหญ่ คือ "ผู้ใหญ่ที่มีกิจกรรมทางเพศร่วมกับเด็ก กำลังละเมิดทั้งกฎหมายและจริยธรรม ที่ไม่มีทางพิจารณาได้ว่าเป็นพฤติกรรมที่ปกติหรือที่ยอมรับได้ในสังคม".

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการทารุณเด็กทางเพศ · ดูเพิ่มเติม »

การข่มขืนกระทำชำเรา

การข่มขืนกระทำชำเรา (rape) เป็นการทำร้ายร่างกายทางเพศซึ่งปกติเกี่ยวข้องกับเพศสัมพันธ์หรือการใช้การล่วงล้ำทางเพศแบบอื่นต่อบุคคลโดยปราศจากความยินยอมของบุคคลเหล่านั้น การกระทำดังกล่าวอาจโดยใช้กำลังทางกาย การบีบบังคับ การละเมิดอำนาจหรือต่อบุคคลที่ไม่สามารถให้ความยินยอมสมบูรณ์ได้ เช่น ผู้ที่หมดสติ ไร้ความสามารถหรืออายุต่ำกว่าอายุที่ยอมให้มีการร่วมประเวณีได้ตามกฎหมาย คำว่า "ข่มขืนกระทำชำเรา" บางครั้งใช้แทนคำว่า "การทำร้ายร่างกายทางเพศ" ได้ อุบัติการณ์การข่มขืนกระทำชำเราที่ตำรวจบันทึกทั่วโลกในปี 2553 แปรผันระหว่าง 0.2 ต่อ 100,000 คนในประเทศอาเซอร์ไบจาน ถึง 92.9 ต่อ 100,000 คนในประเทศบอตสวานา โดยมีค่า 6.3 ต่อ 100,000 คนในประเทศลิทัวเนียเป็นมัธยฐาน United Nations.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการข่มขืนกระทำชำเรา · ดูเพิ่มเติม »

การคืนน้ำ

การคืนน้ำ (rehydration) เป็นการรักษาภาวะขาดน้ำ ปกติใช้สารละลายน้ำเกลือแร่ (ORS) สารละลายสามัญประจำบ้าน ได้แก่ น้ำเกลือ เครื่องดื่มโยเกิร์ตผสมเกลือ ซุปผักและซุปไก่ใส่เกลือ ก็สามารถให้ได้เช่นกัน ส่วนสารละลายตามครัวเรือน เช่น น้ำที่ใช้เตรียมธัญพืช ซุปไม่ใส่เกลือ น้ำมะพร้าวอ่อน ชาอ่อน (ไม่ใส่สารให้ความหวาน) และน้ำผลไม้สดที่ไม่ใส่สารให้ความหวานสามารถเติมเกลือครึ่งถึงหนึ่งช้อนชา (1.5 ถึง 3 กรัม) ต่อลิตร น้ำจืดสะอาดยังสามารถเป็นของเหลวที่ให้ได้ชนิดหนึ่ง, World Health Organization, 2005.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการคืนน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

การค้าประเวณีในประเทศไทย

การค้าประเวณีเป็นสิ่งผิดกฎหมายในประเทศไทย แต่ในทางปฏิบัติพบว่ามีการค้าประเวณีอยู่และถูกควบคุมในบางส่วน การค้าประเวณีพบได้ทั่วประเทศ เจ้าพนักงานในท้องถิ่นที่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้องมักจะปกป้องการค้าประเวณี จำนวนของผู้ค้าบริการทางเพศประมาณให้แน่นอนได้ยาก แต่ละสำนักมีตัวเลขและนิยามที่ต่างกันไป และเป็นที่ถกเถียงกันทั้งในระดับชาติและนานาชาติ, Bureau of Democracy, Human Rights, and Labor; February 25, 2009, U.S. State Department ตั้งแต่สงครามเวียดนามเป็นต้นมาประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในประเทศจุดหมายปลายทางสำหรับเซ็กซ์ทัวร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการค้าประเวณีในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งครรภ์

การตั้งครรภ์ คือ การเจริญของลูกตั้งแต่หนึ่ง ที่เรียก เอ็มบริโอหรือทารกในครรภ์ ในมดลูกของหญิง เป็นชื่อสามัญของการตั้งครรภ์ในมนุษย์ การตั้งครรภ์แฝดเกี่ยวข้องกับการมีเอ็มบริโอหรือตัวอ่อนมากกว่าหนึ่งในการตั้งครรภ์ครั้งเดียว เช่น ฝาแฝด การคลอดปกติเกิดราว 38 สัปดาห์หลังการเริ่มตั้งท้อง หรือ 40 สัปดาห์หลังเริ่มระยะมีประจำเดือนปกติครั้งสุดท้ายในหญิงซึ่งมีความยาวรอบประจำเดือนสี่สัปดาห์ การร่วมเพศหรือเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์ทำให้เกิดการเริ่มตั้งท้อง เอ็มบริโอเป็นลูกที่กำลังเจริญในช่วง 8 สัปดาห์แรกหลังเริ่มตั้งท้อง จากนั้นใช้คำว่า ทารกในครรภ์ จนกระทั่งคลอด นิยามทางการแพทย์หรือกฎหมายของหลายสังคมมีว่า การตั้งครรภ์ของมนุษย์แบ่งเป็น 3 ไตรมาสเพื่อง่ายต่อการอ้างอิงช่วงการเจริญก่อนเกิด ไตรมาสแรกมีความเสี่ยงการแท้งเอง (การตายธรรมชาติของตัวอ่อนหรือทารกในครรภ์) สูงสุด ในไตรมาสที่สองเริ่มเฝ้าสังเกตและวินิจฉัยการเจริญของทารกในครรภ์ได้ง่ายขึ้น ไตรมาสที่สามมีการเจริญของทารกในครรภ์เพิ่มและการเจริญของแหล่งสะสมไขมันของทารกในครรภ์ จุดความอยู่รอดได้ของทารกในครรภ์ (point of fetal viability) หรือจุดเวลาที่ทารกในครรภ์สามารถดำรงชีวิตได้นอกมดลูก ปกติตรงกับปลายไตรมาสที่ 2 หรือต้นไตรมาสที่ 3 ทารกที่คลอดก่อนจุดนี้มีความเสี่ยงสูงต่อภาวะทางการแพทย์หรือตาย ในสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร 40% ของการตั้งครรภ์เป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจ และระหว่าง 25% ถึง 50% ของการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้ตั้งใจเหล่านี้เป็นการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่เกิดในสหรัฐอเมริกา หญิง 60% ใช้การคุมกำเนิดระหว่างเดือนที่เกิดการตั้งครร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการตั้งครรภ์ · ดูเพิ่มเติม »

การตายปริกำเนิด

การตายปริกำเนิดหรือภาวะการตายปริชาตะ (perinatal mortality) คือการเสียชีวิตของตัวอ่อนหรือทารกแรกเกิดในช่วงของการคลอด ก่อนการคลอด และหลังการคลอด เป็นข้อมูลสำคัญที่นำไปคำนวณเป็นอัตราภาวะการตายปริกำเนิด (-ปริชาตะ) (perinatal mortality rate) คำนี้มีนิยามหลากหลายขึ้นอยู่กับว่าจะนับรวมถึงการเสียชีวิตก่อนคลอดนานเท่าใดหรือหลังคลอดนานเท่าใด องค์การอนามัยโลกได้ให้คำนิยามของการตายปริกำเนิดเอาไว้ว่าเป็น "จำนวนของทารกตายคลอด และการตายของทารกภายในสัปดาห์แรกหลังคลอด ต่อจำนวน 1,000 การเกิดมีชีพ" แต่ก็มีนิยามอื่นๆ ที่ใช้อยู่เช่นกัน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการตายปริกำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ

การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ (UTI) เป็น การติดเชื้อ จากแบคทีเรีย ซึ่งส่งผลกระทบต่อส่วนของ ทางเดินปัสสาวะ หากติดเชื้อที่บริเวณทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง จะถือว่าเป็น โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (การติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ) ทั่วๆ ไป ในขณะที่หากติดเชื้อที่บริเวณทางเดินปัสสาวะส่วนบน จะถือว่าเป็น โรคกรวยไตอักเสบ (การติดเชื้อที่ไต) --> อาการของการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะส่วนล่างคือ รู้สึกเจ็บปวดขณะที่ ปัสสาวะ และถ่ายปัสสาวะบ่อยครั้งหรือจำเป็นต้องปัสสาวะทันที (หรือทั้งคู่) ในขณะที่อาการที่เกิดจากโรคกรวยไตอักเสบนั้น นอกจากจะเหมือนกับที่พบในทางเดินปัสสาวะส่วนล่างแล้ว ผู้ป่วยยัง มีไข้ และ เจ็บที่บริเวณข้างลำตัว เพิ่มเติมอีกด้วย ในกลุ่มผู้สูงอายุและผู้เยาว์ อาการอาจไม่ชัดเจนและเจาะจงประเภทไม่ได้ แบคทีเรียที่เป็นสาเหตุหลักของการติดเชื้อทั้งสองประเภทคือ Escherichia coli แต่แบคทีเรีย ไวรัสหรือ เชื้อรา อื่นอาจเป็นสาเหตุได้เช่นกัน แม้ไม่บ่อยก็ตาม การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะมักจะเกิดในกลุ่มประชากรหญิงมากกว่าประชากรชาย ครึ่งหนึ่งของจำนวนผู้หญิงทั้งหมดมักจะติดเชื้ออย่างน้อยหนึ่งครั้งในชีวิต และมักจะมีอาการซ้ำอีก ปัจจัยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้แก่ สรีระของสตรี การมีเพศสัมพันธ์ และประวัติการติดเชื้อภายในครอบครัว ปกติแล้ว โรคกรวยไตอักเสบมักจะเกิดขึ้นหลังจากการติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ แต่อาจมีสาเหตุมาจาก การติดเชื้อทางเลือด ได้เช่นกัน การวินิจฉัยโรคในกลุ่มหญิงสาวสุขภาพแข็งแรงสามารถใช้อาการป่วยเป็นข้อมูลอ้างอิงเดียวได้ แต่หากผู้ป่วยมีอาการไม่ชัดเจน การวินิจฉัยโรคอาจเป็นไปได้ยาก เพราะแบคทีเรียที่พบอาจไม่ก่อให้เกิดการติดเชื้อ ในกรณีที่ซับซ้อนหรือบำบัดรักษาได้ไม่สำเร็จ การเพาะเชื้อจากปัสสาวะ อาจเป็นทางเลือกที่เป็นประโยขน์ สำหรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อบ่อย การบำบัดด้วย ยาปฏิชีวนะ ในปริมาณต่ำอาจใช้เป็นวิธีการป้องกันอย่างหนึ่งได้ ในกรณีที่ไม่ซับซ้อน การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะอาจรักษาได้ง่ายด้วยการใช้ยาปฏิชีวนะเป็นระยะเวลาสั้นๆ ถึงแม้ว่าอัตราอาการดื้อยา ต่อยาหลากชนิดที่ใช้รักษาอาการเจ็บป่วยนี้จะเพิ่มขึ้นก็ตาม ในกรณีซับซ้อน ผู้ป่วยอาจต้องใช้ยาปฏิชีวนะเป็นเวลานานขึ้นหรือต้องฉีดยาเข้าเส้นเลือด และถ้าหากอาการไม่ทุเลาขึ้นภายในเวลา 2-3 วัน อาจต้องมีการทดสอบวินิจฉัยเพิ่มเติม ในหมู่ประชากรหญิง การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะถือเป็นการติดเชื้อจากแบคทีเรียที่เกิดขึ้นบ่อยที่สุด โดยมีอัตราอยู่ที่ 10% ต่อปี.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36

การประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36 จัดขึ้นในฮันท์วิลล์ รัฐออนแทริโอAndreatta, David.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการประชุมสุดยอดจี 8 ครั้งที่ 36 · ดูเพิ่มเติม »

การประปาส่วนภูมิภาค

การประปาส่วนภูมิภาค หรือ กป.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการประปาส่วนภูมิภาค · ดูเพิ่มเติม »

การประปานครหลวง

การประปานครหลวง เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่ผลิตและให้บริการเกี่ยวกับน้ำประปาในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลขององค์การอนามัยโลก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการประปานครหลวง · ดูเพิ่มเติม »

การแพทย์ทางเลือก

การฝังเข็ม การแพทย์ทางเลือก (alternative medicine) เป็นศาสตร์เพื่อการวินิจฉัย การรักษาและการป้องกันโรคที่นอกเหนือจากศาสตร์การแพทย์แผนปัจจุบัน เป็นการปฏิบัติใดๆที่ถูกหยิบยกว่ามีผลในการรักษาโรคอะไรก็ตามที่ไม่ได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ"หลักฐาน"ที่มีการเก็บรวบรวมโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ มันประกอบไปด้วยความหลากหลายของการดูแลสุขภาพ ผลิตภัณฑ์และการบำบัดรักษาต่างๆ ตัวอย่างเช่นการปฏิบัติทางการแพทย์แบบใหม่และดั้งเดิมเช่น การรักษาโรคด้วยโรคเดียวกัน (homeopathy) ธรรมชาติบำบัด (naturopathy) การจัดกระดูก (chiropractic) การแพทย์พลังงาน (energy medicine) รูปแบบต่างๆของการฝังเข็ม แพทย์แผน​​จีน อายุรเวท และการรักษาตามความเชื่อของคริสเตียน และการรักษาโดยวิธีการที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของระบบการดูแลสุขภาพแผนปัจจุบันบนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ และไม่ได้รับการสนับสนุนจากหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ การแพทย์ผสมผสาน (complementary medicine) เป็นการแพทย์ทางเลือกที่ใช้ร่วมกับการรักษาพยาบาลแผนปัจจุบันตาม"ความเชื่อ"ที่ไม่ได้รับการพิสูจน์โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ มันช่วย"เสริม"การรักษ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการแพทย์ทางเลือก · ดูเพิ่มเติม »

การแท้ง

การแท้ง (abortion) คือการยุติการตั้งครรภ์โดยการนำทารกในครรภ์หรือเอ็มบริโอออกจากมดลูกก่อนให้กำเนิด เมื่อเกิดโดยไม่เจตนามักเรียกว่า การแท้งเอง และเรียกว่า การทำแท้ง เมื่อทำโดยเจตนา เมื่อไม่มีกฎหมายห้าม การทำแท้งในประเทศพัฒนาแล้วเป็นหนึ่งในกระบวนการทางการแพทย์ที่ปลอดภัยที่สุด แพทย์แผนปัจจุบันทำแท้งด้วยยาหรือศัลยกรรม การใช้ยาไมฟีพริสโตน (mifepristone) ร่วมกับโพรสตาแกลนดินเป็นวิธีทำแท้งแบบใช้ยาที่ปลอดภัยและให้ประสิทธิผลดีระหว่างไตรมาสแรกกับไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ หลังการแท้งสามารถใช้การคุมกำเนิด เช่น ยาคุมกำเนิด หรือ ห่วงอนามัยคุมกำเนิด ได้ทันที การทำแท้งไม่เพิ่มโอกาสเสี่ยงการเกิดโรคทั้งทางจิตและทางกายภาพเมื่อทำอย่างปลอดภัยและถูกกฎหมาย ในทางตรงข้าม การทำแท้งอย่างไม่ปลอดภัย เช่น การทำแท้งโดยผู้ไม่มีทักษะ การทำแท้งด้วยอุปกรณ์ไม่ปลอดภัย หรือการทำแท้งในสถานที่ไม่สะอาด นำไปสู่การเสียชีวิตของคนกว่า 47,000 คน และทำให้คนกว่า 5 ล้านคนต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลในแต่ละปี องค์การอนามัยโลกสนับสนุนให้ผู้หญิงทุกคนมีทางเลือกที่จะทำแท้งอย่างปลอดภัยและถูกกฎหมาย ในแต่ละปีมีการทำแท้งเกิดขึ้นประมาณ 56 ล้านครั้งทั่วโลก โดยมีประมาณ 45% ที่ทำอย่างไม่ปลอดภัย อัตราการทำแท้งแทบไม่เปลี่ยนแปลงระหว่าง..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการแท้ง · ดูเพิ่มเติม »

การให้วัคซีน

การให้วัคซีน (vaccination) เป็นการรักษาทางการแพทย์อย่างหนึ่ง หมายถึงการให้สารที่เป็นแอนติเจน (วัคซีน) เข้าไปในร่างกาย เพื่อกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายให้สร้างภูมิคุ้มกันชนิดรับมา (adaptive immunity) เป็นแอนติบอดีที่มีความจำเพาะต่อเชื้อก่อโรคหนึ่งๆ ซึ่งจะสามารถป้องกันหรือลดความรุนแรงของโรคติดเชื้อได้ เมื่อมีสัดส่วนของประชากรที่ได้รับวัคซีนมากถึงระดับหนึ่งก็จะเกิดภูมิคุ้มกันหมู่ขึ้น ทำให้คนอื่นๆ ที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือรับวัคซีนไม่ได้ ได้รับประโยชน์ในการป้องกันโรคจากผู้ที่มีภูมิคุ้มกันเหล่านี้ไปด้วย ประสิทธิผลของการให้วัคซีนนั้นได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวางและเป็นที่ยืนยันแล้ว โดยพบว่าการให้วัคซีนเป็นวิธีการในการป้องกันโรคติดเชื้อที่ได้ผลดีที่สุด การมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อก่อโรคเป็นวงกว้างจากการให้วัคซีนนี้เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้มนุษยชาติสามารถกำจัดเชื้อโรคบางอย่างให้หมดไปได้ เช่น ฝีดาษ และอีกหลายเชื้อที่กำลังจะหมดไป เช่น โปลิโอ หัด และบาดทะยัก เป็นต้น การปลูกฝีเพื่อป้องกันโรคฝีดาษเป็นความพยายามครั้งแรกๆ ในการป้องกันโรคติดเชื้อโดยมนุษย์ และวัคซีนโรคฝีดาษก็เป็นวัคซีนชนิดแรกของโลกที่ถูกผลิตตามมา โดยถูกผลิตขึ้นใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการให้วัคซีน · ดูเพิ่มเติม »

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

การให้ทารกกินนมจากอกแม่ สัญลักษณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สากล (Matt Daigle, ผู้ชนะการประกวดของนิตยสาร Mothering ปี ค.ศ. 2006) การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (breastfeeding, nursing) คือการป้อนนมให้กับทารกหรือเด็กด้วยน้ำนมจากหน้าอกของผู้หญิง ทารกจะมีกลไกอัตโนมัติในการดูดที่จะทำให้เขาสามารถดูดและกลืนน้ำนมได้ มีหลักฐานจากการทดลองชี้ให้เห็นว่า น้ำนมคนเป็นแหล่งสารอาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารก แต่ผู้เชี่ยวชาญยังมีความเห็นไม่ตรงกันว่าควรให้ทารกกินนมแม่นานเท่าไรจึงจะได้ประโยชน์สูงสุด และจะมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นเท่าไรจากการให้สารทดแทนน้ำนมคนแก่ทารก ทารกอาจจะกินน้ำนมจากอกของแม่ของตัวเองหรือผู้หญิงอื่นที่ร่างกายสามารถผลิตน้ำนมได้ (ซึ่งอาจจะเรียกว่า แม่นม) น้ำนมอาจจะถูกบีบออกมา (เช่น ใช้เครื่องปั๊มนม) และป้อนให้ทารกโดยใช้ขวด และอาจเป็นน้ำนมที่รับบริจาคมาก็ได้ สำหรับแม่หรือครอบครัวที่ไม่สามารถหรือไม่ต้องการให้ลูกกินนมแม่ก็อาจให้สารทดแทนนมแม่แทน การศึกษาวิจัยยังมีความขัดแย้งกันเกี่ยวกับคุณค่าสารอาหารในสารทดแทนนมแม่ เป็นที่รับรู้กันทั่วไปว่าการให้ทารกกินนมผสมที่มีขายในท้องตลาดจะไปรบกวนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ทั้งในทารกที่คลอดตามกำหนดและคลอดก่อนกำหนด ในหลายๆ ประเทศการให้ลูกกินสารทดแทนนมแม่ส่งผลให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคท้องร่วงในทารกเพิ่มขึ้น แต่ในพื้นที่ที่มีน้ำสะอาดมีเพียงพอ การให้ลูกกินสารทดแทนนมแม่ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ มีนโยบายของรัฐบาลและความพยายามจากหน่วยงานนานาชาติในการส่งเสริมและสนับสนุนให้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการเลี้ยงทารกในช่วงปีแรกและนานกว่านั้น องค์การอนามัยโลกและสถาบันกุมารแพทย์ของอเมริกา (American Academy of Pediatrics) ก็มีนโยบายสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ · ดูเพิ่มเติม »

กาฬโรค

กาฬโรค (plague) เป็นโรคติดเชื้อถึงตายที่เกิดจากเอ็นเทอโรแบคทีเรีย Yersinia pestis ซึ่งตั้งตามชื่อนักวิทยาแบคทีเรียชาวฝรั่งเศส-สวิส อเล็กซานเดอร์ เยอร์ซิน กาฬโรคเป็นโรคที่อยู่ในสัตว์ฟันแทะ และหมัดเป็นตัวแพร่สู่มนุษย์ โรคดังกล่าวรู้จักกันตลอดประวัติศาสตร์ เนื่องจากขอบเขตการเสียชีวิตและการทำลายล้างที่โรคอื่นเทียบไม่ได้ กาฬโรคเป็นโรคระบาดหนึ่งในสามโรคที่ต้องรายงานต่อองค์การอนามัยโลก (อีกสองโรค คือ อหิวาตกโรคและไข้เหลือง) กระทั่งเดือนมิถุนายน 2550 กาฬโรคสามารถแพร่ในอากาศ ผ่านการสัมผัสโดยตรง หรือโดยอาหารหรือวัสดุที่ปนเปื้อน ขึ้นอยู่กับการติดเชื้อที่ปอดหรือสภาพสุขาภิบาล อาการของกาฬโรคขึ้นอยู่กับบริเวณที่มีเชื้อมากในแต่ละบุคคล เช่น กาฬโรคที่ต่อมน้ำเหลือง (bubonic plague) กาฬโรคแบบโลหิตเป็นพิษ (septicemic plague) ในหลอดเลือด กาฬโรคแบบมีปอดบวม (pneumonic plague) ในปอด ฯลฯ กาฬโรครักษาได้หากตรวจพบเร็ว และยังระบาดอยู่ในบางส่วนของโลก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและกาฬโรค · ดูเพิ่มเติม »

ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

ัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ (Fukushima Daiichi nuclear disaster) เป็นอุบัติเหตุด้านพลังงานที่เกิดขึ้นที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ หมายเลข I ที่เป็นผลเบื้องต้นมาจากคลื่นสึนามิจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554 ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม ค.ศ. 2011Phillip Lipscy, Kenji Kushida, and Trevor Incerti.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเพศกำกวม

ตัวอย่างอวัยวะเพศกำกวมแบบหนึ่งของมนุษย์ ภาวะเพศกำกวม (intersexuality) เป็นภาวะของสิ่งที่มีชีวิตในสปีชีส์ gonochoristic ที่โครโมโซมเพศ, อวัยวะเพศ และ/หรือ ลักษณะเฉพาะทางเพศเมื่อเติบโตขึ้น ไม่ได้ถูกกำหนดให้เป็นหญิงหรือชายอย่างชัดเจน สิ่งมีชีวิตที่มีเพศกำกวมอาจมีลักษณะทางชีวภาพของทั้งเพศหญิงและเพศชาย คนที่อยู่ในภาวะเพศกำกวม อาจเผชิญกับปัญหาการเป็นตราบาปและการแบ่งแยกตั้งแต่เกิดหรือเมื่อค้นพบว่ามีลักษณะภาวะเพศกำกวม มีการบันทึกไว้ในในบางประเทศเช่น แอฟริกาและเอเชียว่าอาจมีการฆ่าทารก การละทิ้งและถูกมองว่าเป็นตราบาปของครอบครัว ทั่วโลก ทารกและเด็กที่มีภาวะเพศกำกวม เช่นผู้ที่มีอวัยวะเพศภายนอกคลุมเครือ มันถูกเปลี่ยนแปลงทางการผ่าตัดหรือฮอร์โมนเพื่อสร้างลักษณะทางเพศที่เป็นที่ยอมรับทางสังคมมากขึ้น อย่างไรก็ตามนี่ถือเป็นข้อโต้แย้งโดยไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่ามีผลลัพธ์ที่ดี, Australasian Paediatric Endocrine Group (APEG), 27 June 2013 การรักษาดังกล่าวอาจเกี่ยวข้องกับการทำหมัน ผู้ใหญ่รวมทั้งนักกีฬาหญิงแนวหน้าต่างได้รับการรักษาแบบนี้ด้วยเช่นกัน ประเด็นเหล่านี้ได้รับการพิจารณาว่าเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนในต่างประเทศ, Office of the UN High Commissioner for Human Rights, February 2013.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและภาวะเพศกำกวม · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็ก

วะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็ก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและภาวะเลือดจางเหตุขาดธาตุเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ภาวิช ทองโรจน์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกร ภาวิช ทองโรจน์ ศาสตราภิชานเกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เคยดำรงตำแหน่งอาทิ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อธิการบดีผู้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยนครพนม, มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ รักษาการอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ และนายกสภาเภสัชกรรม ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยนครพนม และภาคีสมาชิกแห่งราชบัณฑิตยสถาน สาขาเภสัชศาสตร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและภาวิช ทองโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ

ลโท ศาสตราจารย์คลินิก ภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ (ชื่อเล่น: ตุ้ย) อดีตเจ้ากรมแพทย์ทหารบก/ผู้บัญชาการโรงเรียนเสนารักษ์ กรมแพทย์ทหารบก ท่านที่ 37 (1 ตุลาคม 2555 - 30 กันยายน 2556), อดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า (1 ต.ค.54 - 30 ก.ย.55), อดีตผู้อำนวยการโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า/ผู้อำนวยการวิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า (28 เม.ย.49 - 31 มี.ค.50).

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและภานุวิชญ์ พุ่มหิรัญ · ดูเพิ่มเติม »

ภิรมย์ กมลรัตนกุล

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล นายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการอิสระ บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำกัด (มหาชน) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพท..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและภิรมย์ กมลรัตนกุล · ดูเพิ่มเติม »

มลพิษทางอากาศ

มลพิษทางอากาศจากโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์แห่งหนึ่ง มลพิษทางอากาศ (Air pollution) คือการเกิดฝุ่นละออง โมเลกุลชีวภาพ หรือวัตถุอันตรายชนิดอื่น ๆ ในชั้นบรรยากาศของโลก เป็นสาเหตุของโรค การเสียชีวิตในมนุษย์ และทำลายสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เช่น พืชพันธุ์ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ หรือสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง ชั้นบรรยากาศเป็นระบบแก๊สธรรมชาติที่ซับซ้อนที่จำเป็นต่อชีวิตบนโลก การลดลงของโอโซนในชั้นสตราโทสเฟียร์เนื่องจากมลพิษทางอากาศถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของมนุษย์ รวมถึงระบบนิเวศของโลกด้วย มลพิษทางอากาศภายในอาคาร และคุณภาพของอากาศในเมืองจัดเป็นปัญหามลพิษโลก 2 ปัญหาที่เลวร้ายที่สุด จากรายงานชื่อ สถานที่ที่ประสบมลพิษมากที่สุดในโลก (World's Worst Polluted Places) ของสถาบันแบล็กสมิธ (Blacksmith Institute) ในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและมลพิษทางอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

มลพิษทางดิน

ลหะหนักเป็นสาเหตุให้เกิดการปนเปื้อนในดิน มลพิษทางดิน หรือการปนเปื้อนดิน (soil pollution) เกิดจากการมีสารเคมีที่มนุษย์สร้างหรือการเปลี่ยนแปลงอื่นในสิ่งแวดล้อมดินธรรมชาติ ตรงแบบเกิดจากกิจกรรมอุตสาหกรรม สารเคมีเกษตรกรรมหรือการกำจัดของเสียอย่างไม่เหมาะสม สารเคมีที่เกี่ยวข้องมากที่สุด คือ ไฮโดรคาร์บอนปิโตรเลียม พอลินิวเคลียร์อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (เช่น แนฟทาลีนและเบนโซไพโรซีน) ตัวทำละลาย ยาฆ่าแมลง ตะกั่วและโลหะหนักอื่น การปนเปื้อนสัมพันธ์กับระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมและระดับการใช้สารเคมี.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและมลพิษทางดิน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิบัติสงคราม Z

มหาวิบัติสงคราม Z (World War Z) เป็นภาพยนตร์แนวบันเทิงคดีพยากรณ์และสยองขวัญ กำกับโดย มาร์ก ฟอร์สเตอร์ เขียนบทโดย แมททิว ไมเคิล คาร์นาแฮน โดยอิงจากนวนิยายชื่อเดียวกัน ที่เขียนโดย แม็กซ์ บรูกส์ นำแสดงโดยแบรด พิตต์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เข้าฉายในประเทศไทย วันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและมหาวิบัติสงคราม Z · ดูเพิ่มเติม »

มะเร็ง

มะเร็ง หรือทางการแพทย์ว่า เนื้องอกร้าย (malignant tumor) เป็นกลุ่มของโรคที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของเซลล์ที่ผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัวและเจริญอย่างควบคุมไม่ได้ ก่อเป็นเนื้องอกร้าย และมีศักยภาพในการรุกรานร่างกายส่วนข้างเคียง มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังร่างกายส่วนที่อยู่ห่างไกลได้ผ่านระบบน้ำเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง เพราะเนื้องอกไม่ร้ายจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะข้างเคียงและไม่กระจายไปทั่วร่างกาย อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็งที่เป็นไปได้รวมถึง:..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและมะเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

มาลาเรีย

มาลาเรีย (malaria) หรือไข้จับสั่น ไข้ป่า ไข้ป้าง ไข้ร้อนเย็นหรือไข้ดอกสัก เป็นโรคติดเชื้อของมนุษย์และสัตว์อื่นที่มียุงเป็นพาหะ มีสาเหตุจากปรสิตโปรโตซัว (จุลินทรีย์เซลล์เดียวประเภทหนึ่ง) ในสกุล Plasmodium (พลาสโมเดียม) อาการทั่วไปคือ มีไข้ อ่อนเพลีย อาเจียนและปวดศีรษะ ในรายที่รุนแรงอาจทำให้ตัวเหลือง ชัก โคม่าหรือเสียชีวิตได้ โรคมาลาเรียส่งผ่านโดยการกัดของยุงเพศเมียในสกุล Anopheles (ยุงก้นปล่อง) และปกติอาการเริ่ม 10 ถึง 15 วันหลังถูกกัด หากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม บุคคลอาจมีอาการของโรคในอีกหลายเดือนให้หลัง ในผู้ที่เพิ่งรอดจากการติดเชื้อ การติดเชื้อซ้ำมักมีอาการเบากว่า การต้านทานบางส่วนนี้จะหายไปในเวลาเป็นเดือนหรือปีหากบุคคลไม่ได้สัมผัสมาลาเรียอย่างต่อเนื่อง เมื่อถูกยุง Anopheles เพศเมียกัดจะนำเชื้อปรสิตจากน้ำลายของยุงเข้าสู่เลือดของบุคคล ปรสิตจะไปตับซึ่งจะเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ มนุษย์สามารถติดเชื้อและส่งต่อ Plasmodium ห้าสปีชีส์ ผู้เสียชีวิตส่วนมากเกิดจากเชื้อ P. falciparum เพราะ P. vivax, P. ovale และ P. malariae โดยทั่วไปก่อให้เกิดมาลาเรียแบบที่รุนแรงน้อยกว่า สปีชีส์รับจากสัตว์ P. knowlesi พบมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การวินิจฉัยมาลาเรียตรงแบบทำโดยการตรวจเลือดด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้ฟิล์มเลือดหรือการวินิจฉัยชนิดรวดเร็ว (rapid diagnostic test) ที่อาศัยแอนติเจน มีการพัฒนาวิธีซึ่งใช้ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสเพื่อตรวจจับดีเอ็นเอของปรสิต แต่ยังไม่มีใช้แพร่หลายในพื้นที่ซึ่งมีโรคมาลาเรียทั่วไปเนื่องจากราคาแพงและซับซ้อน ความเสี่ยงของโรคลดได้โดยการป้องกันไม่ให้ถูกยุงกัด โดยใช้มุ้งหรือสารขับไล่แมลง หรือด้วยมาตรการควบคุมยุง เช่น การฉีดพ่นยาฆ่าแมลงหรือการระบายน้ำนิ่ง มียารักษาโรคหลายชนิดที่ป้องกันมาลาเรียในผู้ที่เดินทางไปยังบริเวณที่พบโรคมาลาเรียทั่วไป แนะนำให้ใช้ยารักษาโรคซัลฟาด็อกซีน/ไพริเมธามีนบางครั้งในทารกและหลังไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ในบริเวณซึ่งมีโรคมาลาเรียอัตราสูง โรคมาลาเรียยังไม่มีวัคซีน แต่กำลังพัฒนา การรักษาโรคมาลาเรียที่แนะนำ คือ การใช้ยาต้านมาลาเรียหลายชนิดร่วมกันซึ่งรวมอาร์ตีมิซินิน ยาชนิดที่สองอาจเป็นเมโฟลควิน ลูมีแฟนทรีนหรือซัลฟาด็อกซีน/ไพริเมธามีน อาจใช้ควินินร่วมกับด็อกซีไซคลินได้หากไม่มีอาร์ติมิซินิน แนะนำว่าในพื้นที่ซึ่งมีโรคมาลาเรียทั่วไป ให้ยืนยันโรคมาลาเรียหากเป็นไปได้ก่อนเริ่มการรักษาเนื่องจากความกังวลว่ามีการดื้อยาเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาการดื้อยาในปรสิตต่อยาต้านมาลาเรียหลายชนิด เช่น P. falciparum ซึ่งดื้อต่อคลอโรควินได้แพร่ไปยังพื้นที่ซึ่งมีการระบาดมากที่สุด และการดื้อยาอาร์ทีมิซินินเป็นปัญหาในบางพื้นที่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โรคนี้แพร่หลายในเขตร้อนและอบอุ่นซึ่งอยู่เป็นแถบกว้างรอบเส้นศูนย์สูตร ซึ่งรวมพื้นที่แอฟริกาใต้สะฮารา ทวีปเอเชียและละตินอเมริกาบริเวณกว้าง โรคมาลาเรียมักสัมพันธ์กับความยากจนและยังอาจเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ในทวีปแอฟริกา มีการประเมินว่ามีการสูญเสีย 12,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปีเนื่องจากค่าใช้จ่ายสาธารณสุขเพิ่มขึ้น เสียความสามารถการทำงาน และผลเสียต่อการท่องเที่ยว องค์การอนามัยโลกประเมินว่ามีผู้ป่วย 198 ล้านคน ใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและมาลาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

มาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่เกี่ยวข้องกับสุกร

รัฐบาลของประเทศทั่วโลกมีมาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 โดยที่บางประเทศออกมาตรการซึ่งอาจผิดธรรมดาอย่างมากต่อสุกร ซึ่งได้รวมไปถึงการกำจัดสุกรภายในประเทศทั้งหมดในอียิปต์ และการลดจำนวนหมูป่าในสวนสัตว์แบกแดดในอิรัก การฆ่าหมูจำนวนมากเหล่านี้เกิดขึ้นในประเทศมุสลิม และมีการกล่าวอ้างว่าการจำกัดทางศาสนาต่อการบริโภคสุกรเป็นอิทธิพลต่อการตัดสินใจดำเนินการดังกล่าว ประเทศอื่นหลายประเทศได้สั่งห้ามการค้าสุกรและผลิตภัณฑ์สุกรระหว่างประเทศ องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวว่า ไม่มีเหตุผลที่จะเชื่อได้ว่าสุกรเป็นพาหะนำไวรัสไข้หวัดใหญ่มาสู่มนุษย์ เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม เหตุการณ์การค้นพบการเป็นพาหะไข้หวัดใหญ่จากมนุษย์สู่สุกรถูกค้นพในไร่ในอัลเบอร์ตา ที่ซึ่งมีการค้นพบสุกรที่ติดเชื้อ เป็นที่น่าสงสัยว่าคนงานรับจ้างในไร่ดังกล่าวติดโรคซึ่งเพิ่งจะกลับมาจากเม็กซิโก ได้ส่งไวรัสไข้หวัดใหญ่ไปสู่สัตว.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและมาตรการรับมือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ที่เกี่ยวข้องกับสุกร · ดูเพิ่มเติม »

มิดาโซแลม

มิดาโซแลม (Midazolam) หรือชื่อทางการค้าคือ เวอร์เซด (Versed) เป็นยาในกลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีนออกฤทธิผ่านกรดแกมมาอะมิโนบิวทีริก ใช้สำหรับทำให้สลบ, ใช้เป็นยาระงับประสาท, รักษาอาการนอนไม่หลับ และรักษาภาวะกายใจไม่สงบ ผู้คนมักใช้ยานี้เป็นยานอนหลับและลดความวิตกกังวล การใช้ยานี้ส่งผลให้ความสามารถในการจำแย่ลง ยานี้ยังเป็นประโยชน์อย่างมากในการระงับอาการชัก สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีรับประทาน, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, สูดดม หรือรับเป็นสายละลายผ่านท่อน้ำเกลือ หากใช้วิธีฉีดเข้าหลอดเลือดจะออกฤทธิภายในห้านาที หากเป็นการฉีดเข้ากล้ามเนื้อจะออกฤทธิในสิบห้านาที และจะออกฤทธิเป็นเวลาหนึ่งถึงหกชั่วโมง ผลข้างเคียงจากการใช้ยามิดาโซแลม ได้แก่ หายใจลำบาก, ความดันโลหิตต่ำ และง่วงนอน หากใช้ยานี้ในระยะยาวอาจเกิดภาวะดื้อยาและการเสพติด สตรีมีครรภ์ควรงดใช้ยานี้ สตรีให้นมบุตรสามารถใช้ได้ในปริมาณจำกัด มีดาโซแลมเป็นยาที่ถูกขึ้นทะเบียนเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและมิดาโซแลม · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์

มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ หรือ มูลนิธิเกตส์ (Bill & Melinda Gates Foundation, Gates Foundation ตัวย่อ BMGF) เป็นมูลนิธิเอกชนหรือส่วนบุคคลที่ใหญ่ที่สุดในโลก จัดตั้งโดยบิล เกตส์ และเมลินดา เกตส์ ในปี 2543 และกล่าวกันว่าเป็นมูลนิธิส่วนบุคคลที่ดำเนินการอย่างโปร่งใสที่ใหญ่ที่สุดในโลก จุดมุ่งหมายหลักของมูลนิธิก็คือ เพื่อปรับปรุงการบริหารสุขภาพและลดความยากจนทั่วโลก และในสหรัฐอเมริกา เพื่อขยายโอกาสการศึกษาและการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ มูลนิธิมีสำนักงานใหญ่ที่เมืองซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน และควบคุมโดยผู้จัดการดูแลทรัพย์สิน 3 ท่านคือ บิลกับเมลินดาเกตส์ และวอร์เรน บัฟเฟตต์ เจ้าหน้าที่หลักอื่น ๆ รวมทั้ง ประธานกรรมการร่วม วิลเลียม เอ็ช เกตส์ ซีเนียร์ (บิดาของนายเกตส์) และประธานบริหาร พญ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและมูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ · ดูเพิ่มเติม »

มีนาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและมีนาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ยาระงับปวด

ระงับปวด ยาบรรเทาปวด หรือ ยาแก้ปวด (analgesic หรือ painkiller) เป็นกลุ่มของยาที่ใช้บรรเทาความเจ็บปวด มีผลหลายทางทั้งระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system) และระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system) ประกอบด้ว.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและยาระงับปวด · ดูเพิ่มเติม »

ยาสูบ

ูบ เป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่ผลิตจากใบของต้นยาสูบ ยาสูบสามารถรับประทานได้ ใช้ในสารกำจัดศัตรูพืชชีวภาพ และเป็นส่วนประกอบของยาบางชนิดในรูปของนิโคตินตาร์เตรด แต่ส่วนใหญ่แล้วยาสูบจะถูกใช้เป็นสารที่สร้างความสนุกสนาน และเป็นผลผลิตที่สร้างรายได้มากต่อประเทศ อย่างเช่น คิวบา จีน และสหรัฐอเมริกา การได้รับยาสูบมักพบในรูปของการสูบ การเคี้ยว การสูดกลิ่นหรือยาเส้นชนิดชื้อนหรือสนูส ยาสูบได้มีประวัติการใช้เป็นเอ็นโธรเจนมาอย่างยาวนานในทวีปอเมริกา อย่างไรก็ตาม การมาถึงของชาวยุโรปในทวีปอเมริกาเหนือ ได้ทำให้ยาสูบกลายมาเป็นสินค้าที่ได้รับความนิยมและถูกใช้เป็นสารสร้างความสนุกสนานอย่างรวดเร็ว ความเป็นที่นิยมดังกล่าวทำให้ยาสูบเป็นสินค้าหลักในพัฒนาการทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาตอนใต้ ก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นฝ้ายในเวลาต่อมา หลังจากสงครามกลางเมืองอเมริกา ความเปลี่ยนแปลงในอุปทานและกำลังแรงงานทำให้ยาสูบสามารถผลิตเป็นบุหรี่ได้ ผลิตภัณฑ์ใหม่นี้ได้นำไปสู่การเติบโตของบริษัทบุหรี่หลายบริษัทอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งการค้นพบผลเสียของยาสูบที่เป็นข้อถกเถียงทางวิทยาศาตร์ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1900 เนื่องจากยาสูบมีส่วนประกอบที่ทำให้เกิดการเสพติด ได้แก่ นิโคติน ทำให้เกิดความชินยาและโรคติดสารเสพติด ปริมาณนิโคตินที่ร่างกายได้รับ ตลอดจนความถี่และความเร็วของการบริโภคยาสูบเชื่อกันว่ามีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับความต้านทานทางชีวภาพของการติดและความชินยา คาดการณ์ว่าประชากรราว 1,100 ล้านคนทั่วโลกมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาสูบ ซึ่งคิดเป็นกว่าหนึ่งในสามของประชากรผู้ใหญ่ของโลก องค์การอนามัยโลกรายงานว่า การใช้ยาสูบอาจนำไปสู่สาเหตุการเสียชีวิตที่สามารถป้องกันได้ทั่วโลก และประมาณการว่ามีประชากรโลก 5.4 ล้านคนเสียชีวิตทุกปี อัตราการสูบพบว่ามีน้อยลงในประเทศพัฒนาแล้ว แต่กลับพบว่ายังมีสูงในประเทศกำลังพัฒน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและยาสูบ · ดูเพิ่มเติม »

ยาปฏิชีวนะ

การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและยาปฏิชีวนะ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์

ระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์ (Anatomical Therapeutic Chemical Classification System; ATC) เป็นระบบการจัดกลุ่มยา ซึ่งควบคุมโดย องค์การอนามัยโลก Collaborating Centre for Drug Statistics Methodology พิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1976 ระบบจำแนกนี้แบ่งยาออกเป็นกลุ่มต่างๆ ตามอวัยวะหรือระบบอวัยวะที่ยาออกฤทธิ์ และ/หรือตามลักษณะเฉพาะทางการรักษาหรือทางเคมี.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและระบบจำแนกประเภทยาตามการรักษาทางกายวิภาคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ระยะฟัก

ระยะฟักตัวคือช่วงเวลาระหว่างการสัมผัสสิ่งที่ทำให้เกิดโรค (เช่น เชื้อก่อโรค สารเคมี หรือรังสี เป็นต้น) กับการปรากฏอาการของโรค ในกรณีโรคติดเชื้อ ระยะฟักตัวคือระยะเวลาที่เชื้อเพิ่มจำนวนจนถึงจุดที่จะทำให้เกิดอาการในผู้ป่วยได้.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและระยะฟัก · ดูเพิ่มเติม »

ระดับการระบาดของเชื้อโรค

ต้นฉบับการบ่งบอกระดับการระบาดของเชื้อโรค โดย องค์การอนามัยโลก ระดับการระบาดของเชื้อโรค เป็นตัวเลขระดับการระบาดของเชื้อโรคสายพันธุ์ต่างๆที่มีขึ้นและเกิดการระบาดขึ้นบนโลก เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในประเทศไทยจากเหตุการณ์การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ซึ่งในปัจจุบันอยู่ในระดับที่ 4 การแบ่งจะมีอยู่ทั้งหมด 6 ระดับ โดย องค์การอนามัยโลก ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและระดับการระบาดของเชื้อโรค · ดูเพิ่มเติม »

รังสีโทรศัพท์เคลื่อนที่กับสุขภาพ

ผลกระทบของรังสีโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีต่อสุขภาพมนุษย์นั้นยังเป็นหัวข้อที่ได้รับความสนใจและการศึกษาอยู่ในปัจจุบัน อันเป็นผลมาจากการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลทั่วโลก (เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2552 มีตัวเลขผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ถึง 4.3 พันล้านคน) โทรศัพท์เคลื่อนที่ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงคลื่นไมโครเวฟ ซึ่งบางคนเชื่อว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพมนุษย์ ส่วนระบบดิจิตอลไร้สายอื่น ๆ อย่างเช่น เครือข่ายการสื่อสารข้อมูล สร้างรังสีแบบที่คล้ายกัน องค์การอนามัยโลกออกรายงานเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและรังสีโทรศัพท์เคลื่อนที่กับสุขภาพ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

งประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

งประจำพระองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์ รางวัล และพระเกียรติยศมากมาย ดังรายการต่อไปนี้.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะผู้แทนทางการทูตในสิงคโปร์

แผนทีแสดงคณะผู้แทนทางการทูตในสิงคโปร์ ด้านล่างนี้คือรายชื่อคณะผู้แทนทางการทูตในสิงคโปร์ ปัจจุบันในสิงคโปร์มีเอกอัครราชทูตมีถิ่นพำนักและข้าหลวงใหญ่รวม 60 ประเทศ กงสุล 39 ประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ 7 องค์กร นอกจากนี้ยังมีเอกอัครราชทูตไม่มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ จากกว่า 60 ประเทศ ถูกส่งมาประจำที่สิงคโปร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและรายชื่อคณะผู้แทนทางการทูตในสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามการสูบบุหรี่ต่อหัว

แผนที่แสดงถึงรายชื่อประเทศเรียงตามการสูบบุหรี่ต่อปี (2007) ด้านล่างนี้เป็นรายชื่อของประเทศจากการบริโภคบุหรี่ยาสูบต่อหัว ผู้คนทั่วโลกสูบบุหรี่มากกว่า 1 พันล้านคน ซึ่งประมาณ 800 ล้านคนนั้น เป็นผู้ชายที่สูบบุหรี่ ในขณะที่อัตราการสูบบุหรี่ได้พุ่งสูงขึ้นไปเรื่อยๆ และลดลงในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มในประเทศกำลังพัฒนา การบริโภคยาสูบยังคนเพิ่มขึ้น มากกว่า 80% ของผู้สูบบุหรี่ทั้งหมดอาศัยอยู่ในประเทศที่มีรายได้ต่ำหรือกลาง .

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและรายชื่อประเทศเรียงตามการสูบบุหรี่ต่อหัว · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รูธ เนกกา

รูธ เนกกา (Ruth Negga; เกิด 7 มกราคม ปี ค.ศ. 1982) เป็นชาวไอริช เกิดที่เอธิโอเปีย เธอเป็นนักแสดงในภาพยนตร์ Capital Letters (2004) (มีขื่อเรื่องTrafficked ในบางประเทศ), Isolation (2005), Breakfast on Pluto (2005) และ  Warcraft (2016) เธอมีบทบาทการแสดงทางโทรทัศน์ รวมถึง BBC มินิซีรีส์ Criminal Justice, RTÉ Love/Hate, E4 Misfits และ ABC Marvel's Agents of S.H.I.E.L.D. ในปี 2016 เธอเริ่มรับบทแสนอเป็น Tulip O'Hare ในซีรีส์ AMC Preacher ผลงานภาพยนตร์ที่โดดเด่นของเธอ คือ บทบาทของ Mildred Loving ในภาพยนตร์ Loving (2016) เนกกาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม, รางวัลลูกโลกทองคำ นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม สาขาโมขั่นพกเจอร์ประเภทดราม่า, ผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม โดย Independent Spirit Award และนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม โดย Critics' Choice Movie Award นอกจากนี้เธอยังได้รับรางวัลนักแสดงดาวรุ่งจาก BAFTA โดยสถาบันศิลปะภาพยนตร์และโทรทัศนแห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและรูธ เนกกา · ดูเพิ่มเติม »

ลอราเซแพม

ลอราเซแพม (Lorazepam) หรือชื่อทางการค้าคือ อะทีแวน (Ativan) เป็นยากลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีน ใช้เพื่อรักษาโรควิตกกังวล, การนอนไม่หลับ ตลอดจนกลุ่มอาการชักอย่าง ภาวะชักต่อเนื่อง, โรคสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา และอาการคลื่นไส้-อาเจียนจากการให้เคมีบำบัด ยาลอราเซแพมอาจถูกใช้กับผู้ป่วยที่มีภาวะเสียความจำ และใช้เป็นยานอนหลับสำหรับผู้ป่วยที่เครื่องช่วยหายใจ อาจมีการยานี้เพื่อรักษาผู้ป่วยโรคซึมเศร้า แต่ส่วนใหญ่แล้วมักนิยมใช้ยามิดาโซแลมมากกว่า นอกจากนี้ อาจมีการใช้ลอราเซแพมเป็นยาควบคู่ในการรักษากลุ่มภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันจากการเสพโคเคน สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีรับประทาน, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ การฉีดหนึ่งครั้งสามารถออกฤทธิได้ทั้งวัน ผู้รับยาโดยวิธีฉีดควรอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิด ผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้แก่อาการอ่อนแรง, ง่วงนอน, ความดันเลือดต่ำ และลดอัตราการหายใจ การใช้ยาในผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอาจเพิ่มความเสี่ยงการฆ่าตัวตาย การใช้ยาในระยะยาวอาจก่อให้เกิดการเสพติด การหยุดการใช้ยาอย่างกะทันหันในผู้ที่ใช้ยาระยะยาวอาจก่อให้เกิดอาการกระวนกระวาย, สั่นเพ้อ, สับสน, อาเจียน อาการข้างเคียงที่แสดงในผู้สูงอายุมักแย่กว่าที่แสดงในคนหนุ่ม นอกจากนี้ การใช้ลอราเซแพมยังอาจเป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้สูงอายุล้มจนกระดูกสะโพกหัก ด้วยเหตุเหล่านี้ แพทย์จึงมักแนะนำให้ผู้ป่วยใช้ยานี้เป็นเวลาราว 2 สัปดาห์ และเต็มที่ไม่เกิน 4 สัปดาห์ ลอราเซแพมได้รับการจดสิทธิบัตรใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและลอราเซแพม · ดูเพิ่มเติม »

ลามิวูดีน

ลามิวูดีน (Lamivudine) หรือมักเรียกว่า 3TC เป็นยาต้านรีโทรไวรัสชนิดหนึ่ง ใช้เพื่อต่อต้านเชื้อ HIV และรักษาโรคเอดส์ และยังเป็นยาทางเลือกหนึ่งเพื่อรักษาโรคตับอักเสบ บี ชนิดเรื้อรัง ยานี้มีประสิทธิภาพในการต่อต้านเชื้อทั้ง HIV-1 และ HIV-2 โดยทั่วไปมักใช้ยานี้ประกอบยาต้านรีโทรไวรัสตัวอื่นๆอาทิ ซิโดวูดีน หรืออะบาคาเวียร์ สามารถรับยานี้ได้โดยการรับประทานทั้งแบบเม็ดและเหลว ผลข้างเคียงทั่วไปจากการใช้ลามิวูดีนได้แก่ คลื่นไส้, ท้องร่วง, ปวดหัว, อ่อนเพลีย และไอ ผลข้างเคียงระดับรุนแรงได้แก่ เป็นโรคตับ, ภาวะเลือดเป็นกรดแล็กติก และทำให้อาการแย่ลงสำหรับผู้ที่เป็นโรคตับอักเสบ สตรีมีครรภ์สามารถใช้ยานี้ได้ ทารกที่มีอายุตั้งแต่สามเดือนขึ้นไปก็สามารถใช้ยานี้ได้เช่นกัน สามารถทานยานี้พร้อมเวลาอาหารหรือนอกเวลาอาหารก็ได้ ลามิวูดีนได้รับการอนุมัติให้ใช้เป็นยาครั้งแรกในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและลามิวูดีน · ดูเพิ่มเติม »

ลินเดน (ยาฆ่าแมลง)

ทความนี้เกี่ยวกับยาฆ่าแมลง สำหรับความหมายอื่นของลินเดน ดูที่ ลินเดน (แก้ความกำกวม) ลินเดน (Lindane หรือ gamma-hexachlorocyclohexane;γ-HCH บางครั้งเรียก benzene hexachloride) เป็นยาฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนคลอรีนที่เป็นอนุพันธ์ของ hexachlorocyclohexane ซึ่งนำมาใช้ในทางการเกษตรและใช้ในทางการแพทย์ ลินเดนเป็นสารที่เป็นพิษต่อระบบประสาทโดยรบกวนการทำงานของสารสื่อประสาท GABA โดยรบกวนการทำงานของตัวรับ GABAA ในมนุษย์ ลินเดนมีผลต่อระบบประสาท ตับ ไต และอาจจะเป็นสารก่อมะเร็งและสารรบกวนระบบต่อมไร้ท่อAgency for Toxic Substances and Disease Registry, U.S. Department of Health and Human Services.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและลินเดน (ยาฆ่าแมลง) · ดูเพิ่มเติม »

วรชาติ สิรวราภรณ์

ตราจารย์ ดร. วรชาติ สิรวราภรณ์ ศาสตราจารย์ วรชาติ สิรวราภรณ์ เกิดวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2498 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีความเชี่ยวชาญการวิจัยทางด้านชีวเคมีและอณูชีววิทยาของเชื้อมาลาเรีย โดยศึกษากลไกการเกิดโรค กลไกการทำงานของยาต้านมาลาเรีย และกลไกการดื้อยาในระดับยีน เป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย สาขาชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) ของประเทศไทย โดยเป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งศูนย์ชีวสารสนเทศและจีโนมประยุกต์ (Center for Bioinformatics and Applied Genomics - CBAG) ซึ่งเป็นหน่วยฝึกอบรมด้านชีวสารสนเทศศาสตร์ ประจำภูมิภาคเอเซีย ที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์การอนามัยโลก.ดร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวรชาติ สิรวราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัณโรค

วัณโรค (Tuberculosis) หรือ MTB หรือ TB (ย่อจาก tubercle bacillus) เป็นโรคติดเชื้อที่พบบ่อย และถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วยในหลายกรณี ที่เกิดจากไมโคแบคทีเรียหลายสายพันธุ์ ตามปกติคือ Mycobacterium tuberculosis วัณโรคโดยปกติก่อให้เกิดอาการป่วยที่ปอด แต่ยังสามารถส่งผลกระทบต่อส่วนอื่นของร่างกายได้ วัณโรคแพร่ผ่านอากาศเมื่อผู้ที่มีการติดเชื้อ MTB มีฤทธิ์ไอ จาม หรือส่งผ่านน้ำลายผ่านอากาศ การติดเชื้อในมนุษย์ส่วนมากส่งผลให้เกิดไร้อาการโรค การติดเชื้อแฝง และราวหนึ่งในสิบของการติดเชื้อแฝงท้ายที่สุดพัฒนาไปเป็นโรคมีฤทธิ์ ซึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา ทำให้ผู้ติดเชื้อเสียชีวิตมากกว่า 50% อาการตรงต้นแบบมีไอเรื้อรังร่วมกับเสมหะมีเลือดปน ไข้ เหงื่อออกกลางคืน และน้ำหนักลด การติดเชื้อในอวัยวะอื่นก่อให้เกิดอาการอีกมากมาย การวินิจฉัยต้องอาศัยรังสีวิทยา (โดยมากคือ การเอ็กซ์เรย์อก) การทดสอบโรคบนผิวหนัง การตรวจเลือด เช่นเดียวกับการตรวจโดยทางกล้องจุลทรรศน์และการเพาะเชื้อจุลชีววิทยาต่อของเหลวในร่างกาย การรักษานั้นยากและต้องอาศัยการปฏิชีวนะยาวหลายคอร์ส คาดกันว่าหนึ่งในสามของประชากรโลกติดเชื้อ M. tuberculosis และมีการติดเชื้อใหม่เกิดขึ้นในอัตราหนึ่งคนต่อวินาที ใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัณโรค · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีนอหิวาตกโรค

วัคซีนป้องกันอหิวาตกโรค (Cholera) เป็นวัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันอหิวาตกโรค ในช่วงหกเดือนแรกวัคซีนจะให้ผลในการป้องกันโรคประมาณ 85% และในช่วงปีแรกจะให้ผลในการป้องกันโรคประมาณ 50–60% หลังจากเวลาสองปีความมีประสิทธิภาพจะลดลงเหลือไม่ถึง 50% แต่ทั้งนี้หากกลุ่มประชากรใดก็ตามมีสัดส่วนของผู้ที่มีภูมิคุ้มกันโรคจำนวนสูง ประชากรในกลุ่มดังกล่าวที่ไม่มีภูมิคุ้มกันโรคก็จะได้รับประโยชน์จากภูมิคุ้มกันหมู่ สำหรับกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงในการติดโรคสูง องค์การอนามัยโลกได้แนะนำให้ใช้มาตรการขององค์การฯ ร่วมกับมาตรการอื่นๆ โดยทั่วไปแนะนำให้ใช้วัคซีนชนิดรับประทานตามขนาดที่กำหนดจำนวนสองหรือสามครั้ง วัคซีนแบบฉีดซึ่งมีจำนวนน้อยกว่านั้นมีอยู่ในพื้นที่บางแห่งของโลกเท่านั้น โดยทั่วไปวัคซีนชนิดรับประทานทั้งสองประเภทนั้นมีความปลอดภัย แต่อาจมีอาการปวดท้องหรือการการท้องร่วงเกิดขึ้นได้ วัคซีนนี้ปลอดภัยสำหรับผู้ที่อยู่ในระหว่างการตั้งครรภ์ และผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง วัคซีนเหล่านี้ได้รับได้รับอนุมัติให้ใช้ป้องกันโรคในกว่า 60 ประเทศ และมีการใช้ในประเทศที่มักเกิดโรคเป็นประจำ ซึ่งมีความคุ้มค่าของค่ารักษา วัคซีนตัวแรกที่ใช้ในการป้องกันอหิวาตกโรคนั้นถูกผลิตขึ้นเมื่อปลายศตวรรษที่ 18 และเป็นวัคซีนที่มีการใช้อย่างแพร่หลายตัวแรกที่ถูกผลิตขึ้นในห้องทดลอง ในช่วงศตวรรษที่ 19 ได้มีการเปิดตัววัคซีนชนิดรับประทานเป็นครั้งแรก วัคซีนนี้อยู่ในทะเบียนยาที่จำเป็นขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization's List of Essential Medicines) โดยเป็นยารักษาโรคที่มีความสำคัญมากที่สุดในระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน ค่าใช้จ่ายในการสร้างภูมิคุ้มกันอหิวาตกโรคนั้นอยู่ที่ระหว่าง 0.1 และ 4.0 เหรียญสหรัฐฯ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัคซีนอหิวาตกโรค · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีนตับอักเสบเอ

วัคซีนไวรัสตับอักเสบเอเป็นวัคซีนที่สามารถป้องกันเชื้อไวรัสตับอักเสบเอ ความมีประสิทธิภาพของวัคซีนนี้อยู่ที่ประมาณ 95% และคงประสิทธิภาพเป็นเวลาอย่างน้อยสิบห้าปีและอาจยืนยาวไปตลอดชีวิต จำนวนการให้วัคซีนที่แนะนำคือสองเข็ม โดยให้เข็มแรกเมื่อเด็กอายุครบหนึ่งขวบ การให้วัคซีนสามารถทำได้โดยการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนำให้ประเทศที่พบโรคนี้ในระดับปานกลาง ใช้วัคซีนนี้ในฐานะวัคซีนมาตรฐานสากล แต่ทั้งนี้ไม่แนะนำให้ใช้ในพื้นที่ที่พบการแพร่กระจายของโรคได้บ่อย เนื่องจากโดยทั่วไปคนทุกคนสามารถสร้างภูมิคุ้มกันโรคเองได้เมื่อได้รับเชื้อในวัยเด็ก ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อ (CDC) แนะนำการฉีดวัคซีนให้กับผู้ใหญ่ที่มีความเสี่ยงสูงและเด็กทุกคน ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงนั้นพบได้น้อยมาก ความเจ็บปวดที่ตำแหน่งการฉีดวัคซีนในเด็กพบได้ประมาณ 15% และในผู้ใหญ่จำนวนครึ่งหนึ่ง วัคซีนไวรัสตับอักเสบเอส่วนใหญ่จะมีส่วนประกอบของเชื้อไวรัสที่ไม่มีฤทธิ์ และมีเพียงส่วนน้อยที่เป็นเชื้ออ่อนฤทธิ์ ทั้งนี้ไม่แนะนำให้ใช้วัคซีนชนิดเชื้ออ่อนฤทธิ์กับผู้ที่อยู่ระหว่างการตั้งครรภ์หรือผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ วัคซีนสูตรผสมต่างๆ ของวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบเอนั้นมีทั้งการผสมร่วมกับวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีหรือไทฟอยด์ ประเทศในยุโรปได้อนุมัติการใช้วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบเอเป็นครั้งแรกเมื่อปี 2534 และในสหรัฐอเมริกาในปี 2538 วัคซีนนี้อยู่ในทะเบียนยาที่จำเป็นขององค์การอนามัยโลก โดยเป็นยารักษาโรคที่มีความสำคัญมากที่สุดซึ่งจำเป็นต่อระบบสุขภาพระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน ราคาของวัคซีนนี้ในสหรัฐอเมริกาอยู่ที่ระหว่าง 50 ถึง 100 เหรียญสหรัฐฯ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัคซีนตับอักเสบเอ · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีนป้องกันเชื้อฮีโมฟิลุส อินฟลูเอนซา ชนิดบี

วัคซีนป้องกันเชื้อฮีโมฟิลุส อินฟลูเอนซา (Haemophilus influenzae) ชนิดบี เป็นวัคซีนที่ใช้เพื่อป้องกันการติดเชื้อฮีโมฟิลุส อินฟลูเอนซา ชนิดบี (ฮิบ) ในประเทศที่ได้กำหนดให้วัคซีนนี้เป็นวัคซีนพื้นฐาน อัตราการติดเชื้อฮิบขั้นรุนแรงนั้นได้ลดลงมากกว่า 90% ดังนั้นจึงส่งผลให้อัตราของภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ปอดบวมและฝากล่องเสียงอักเสบลดลงตามไปด้วย ทั้งองค์การอนามัยโลกและศูนย์ควบคุมโรคติดต่อได้แนะนำให้มีการใช้วัคซีนนี้ ทั้งนี้ควรให้วัคซีนจำนวนสองหรือสามเข็มก่อนที่เด็กจะอายุครบหกเดือน อายุที่แนะนำสำหรับการให้วัคซีนเข็มแรกคือประมาณหกสัปดาห์และระยะห่างระหว่างการให้วัคซีนแต่ละครั้งคือสี่สัปดาห์ ถ้ามีการให้วัคซีนเพียงสองครั้ง ก็แนะนำว่าควรให้วัคซีนอีกหนึ่งเข็มในภายหลัง การให้วัคซีนสามารถทำได้โดยการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงนั้นพบได้น้อยมาก การเกิดความเจ็บปวดที่ตำแหน่งการฉีดวัคซีนพบได้ประมาณ 20 ถึง 25% ส่วนการมีไข้มีเพียง 2% ทั้งนี้ไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนของการเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ขั้นรุนแรง วัคซีนฮิบมีทั้งแบบวัคซีนเดี่ยวและวัคซีนรวมที่ให้ร่วมกับวัคซีนตัวอื่น ซึ่งได้แก่ วัคซีนโรคคอตีบ/บาดทะยัก/ไอกรน และการให้ร่วมกับวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีและวัคซีนตัวอื่นๆ ปัจจุบันการให้วัคซีนฮิบทั้งหมดเป็นการให้ในฐานะวัคซีนควบคู่ การผลิตวัคซีนฮิบเกิดขึ้นครั้งเมื่อปี 2520 และหลังจากปี 2533 ก็ได้มีการเปลี่ยนไปใช้วัคซีนซึ่งมีสูตรผสมที่มีประสิทธิภาพมากกว่าแทน นับตั้งแต่ปี 2556 ประเทศต่างๆ จำนวน 184 ประเทศได้กำหนดให้วัคซีนนี้เป็นวัคซีนพื้นฐานสำหรับประเทศของตน วัคซีนนี้อยู่ในทะเบียนยาที่จำเป็นขององค์การอนามัยโลก โดยเป็นยารักษาโรคที่มีความสำคัญมากที่สุดซึ่งจำเป็นต่อระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน นับตั้งแต่ปี 2557 ราคาขายส่งของวัคซีนสำหรับห้าโรคสำคัญ (pentavalent vaccine) ซึ่งมีฮิบรวมอยู่ด้วยคือ 15.40 เหรียญสหรัฐฯ ต่อหนึ่งเข็ม ในสหรัฐอเมริการาคาจะอยู่ที่ประมาณ 25 ถึง 50 เหรียญสหรัฐฯ ต่อหนึ่งเข็ม.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัคซีนป้องกันเชื้อฮีโมฟิลุส อินฟลูเอนซา ชนิดบี · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีนโรคหัด

วัคซีนโรคหัด เป็นวัคซีนที่มีประสิทธิภาพมากในการป้องกันโรคหัด การสร้างภูมิคุ้มกันหลังจากได้รับวัคซีนหนึ่งเข็มของเด็กอายุเก้าเดือนคือ 85% และของเด็กอายุมากกว่าสิบสองเดือนคือ 95% คนเกือบทั้งหมดที่ไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้หลังจากได้รับวัคซีนเข็มแรก ก็มักจะสร้างภูมิคุ้มกันได้หลังจากได้รับวัคซีนเข็มที่สอง เมื่อกลุ่มประชากรมีอัตราของผู้ที่ได้รับวัคซีนจำนวนมากกว่า 93% การแพร่ระบาดของโรคหัดก็มักจะไม่เกิดขึ้น อย่างไรก็ตามการแพร่ระบาดของโรคอาจเกิดขึ้นได้อีกเมื่ออัตราการได้รับวัคซีนมีจำนวนลดลง ประสิทธิภาพของวัคซีนนี้จะคงอยู่เป็นเวลานานหลายปี แต่ทั้งนี้ไม่มีข้อมูลที่ชัดเจนว่าประสิทธิภาพของวัคซีนนี้จะลดลงเมื่อเวลาผ่านไปมากน้อยเพียงใด นอกจากนั้นแล้วเมื่อให้วัคซีนนี้หลังจากการติดเชื้อเพียงไม่กี่วันวัคซีนนี้ก็ยังสามารถหยุดยั้งโรคนี้ได้ด้วย โดยทั่วไปการใช้กับกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีนั้นมีความปลอดภัย และผลข้างเคียงของวัคซีนนี้พบเพียงเล็กน้อยและเกิดขึ้นเพียงระยะสั้นๆ ซึ่งอาจได้แก่ความเจ็บปวดที่ตำแหน่งการฉีดวัคซีนหรือมีไข้เล็กน้อย ทั้งนี้มีบันทึกของการเกิดภาวะแอนาฟิแล็กซิสที่ประมาณหนึ่งรายในหนึ่งแสนราย และดูเหมือนว่ากลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร, โรคออทิซึม และโรคลำไส้อักเสบนั้นไม่มีอัตราเพิ่มขึ้นแต่อย่างใด วัคซีนนี้มีทั้งแบบวัคซีนเดี่ยวและแบบผสมร่วมกับวัคซีนตัวอื่น ซึ่งได้แก่ วัคซีนโรคหัดเยอรมัน วัคซีนโรคคางทูม และวัคซีนโรคอีสุกอีใส (วัคซีนเอ็มเอ็มอาร์และวัคซีนเอ็มเอ็มอาร์วี) วัคซีนทุกสูตรเหล่านี้ให้ผลดีเท่าเทียมกัน องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าในพื้นที่ที่พบโรคนี้ได้บ่อยควรมีการให้วัคซีนเมื่อเด็กอายุครบเก้าเดือน ส่วนในพื้นที่แทบไม่พบโรคนี้เลยนั้นก็สามารถอนุโลมการให้วัคซีนเมื่อเด็กอายุครบสิบสองเดือนได้ตามเหตุผล วัคซีนนี้เป็นวัคซีนชนิดตัวเป็น ซึ่งอยู่ในรูปผงแห้งและจำเป็นต้องทำการผสมก่อนการฉีด ทั้งการฉีดเข้าใต้ผิวหนังหรือกล้ามเนื้อ การยืนยันความมีประสิทธิภาพของวัคซีนนั้นสามารถพิสูจน์ได้โดยการทดสอบเลือด นับตั้งแต่เมื่อปี 2556 มีเด็กประมาณ 85% ทั่วโลกได้รับวัคซีนนี้ ในปี 2551 ประเทศจำนวนไม่ต่ำกว่า 192 ประเทศได้เสนอการให้วัคซีนจำนวนสองเข็ม วัคซีนนี้นำมาใช้เป็นครั้งแรกเมื่อปี 2506 การใช้วัคซีนร่วมระหว่างวัคซีนโรคหัด-โรคคางทูม-โรคหัดเยอรมัน (เอ็มเอ็มอาร์) ครั้งแรกนั้นมีขึ้นเมื่อปี 2514 การเพิ่มวัคซีนโรคอีสุกอีใสลงในวัคซีนสามตัวนี้ซึ่งก็ได้กลายเป็นวัคซีนเอ็มเอ็มอาร์วีนั้นมีขึ้นครั้งแรกเมื่อปี 2548 วัคซีนนี้อยู่ในทะเบียนยาที่จำเป็นขององค์การอนามัยโลก โดยเป็นยารักษาโรคที่มีความสำคัญมากที่สุดในระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน วัคซีนนี้มีราคาไม่แพงมาก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัคซีนโรคหัด · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีนโรคอีสุกอีใส

วัคซีนโรคอีสุกอีใส เป็นวัคซีนที่ใช้ป้องกันอีสุกอีใส วัคซีนหนึ่งเข็มสามารถป้องกันโรคขนาดปานกลางได้ 95% และโรคขั้นรุนแรงได้ 100% การให้วัคซีนสองเข็มจะให้ผลที่มีประสิทธิภาพมากกว่าเพียงหนึ่งเข็ม ถ้าให้แก่ผู้ที่ไม่มีภูมิคุ้มกันโรคภายในห้าวันหลังจากที่ได้รับเชื้ออีสุกอีใส วัคซีนจะสามารถป้องกันเชื้อโรคในผู้ติดเชื้อได้เกือบทุกราย ทั้งนี้การให้วัคซีนแก่ประชากรกลุ่มใหญ่จะสามารถป้องกันผู้ที่ไม่ได้รับวัคซีนได้อีกด้วย วิธีการให้วัคซีนคือการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนำการให้วัคซีนตามกำหนดการให้วัคซีนเท่านั้นถ้าประชากรที่ได้รับวัคซีนของประเทศดังกล่าวมีจำนวนมากกว่า 80% แต่ถ้าประชากรที่ได้รับวัคซีนมีจำนวนเพียง 20 ถึง 80% ก็เป็นไปได้ว่าประชากรที่จะติดเชื้อโรคเมื่ออายุมากขึ้นก็จะมีจำนวนมากขึ้นและผลโดยรวมก็อาจแย่ลงตามไปด้วย ดังนั้นจึงแนะนำว่าควรที่จะให้วัคซีนไม่ว่าจะเพียงเข็มเดียวหรือสองเข็มก็ตาม ข้อแนะนำสำหรับการให้วัคซีนในประเทศสหรัฐอเมริกาสองเข็ม โดยเริ่มเข็มแรกเมื่อเด็กอายุสิบสองถึงสิบห้าเดือน นับตั้งแต่ปี 2555 ประเทศส่วนใหญ่ในสหภาพยุโรปได้แนะแนะนำให้มีการฉีดวัคซีนแก่เด็กทุกคนหรือกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง แต่ทั้งนี้ไม่ใช่ทุกประเทศที่มีการจัดหาวัคซีนเนื่องจากราคาของวัคซีน วัคซีนนี้มีความปลอดภัยสูง ผลข้างเคียงเล็กน้อยอาจได้แก่ อาการปวดบริเวณที่ฉีดวัคซีน มีไข้ และผื่นผิวหนัง ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงนั้นพบได้น้อยมากและส่วนใหญ่มักเกิดในกลุ่มของผู้ที่มีการกดการทำงานของภูมิคุ้มกัน ควรต้องใช้ความระมัดระวังในการใช้วัคซีนนี้ในผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่อยู่ในระหว่างการตั้งครรภ์ อย่างไรก็ตาม มีบางกรณีที่มีให้การวัคซีนในระหว่างการตั้งครภ์และไม่พบผลลัพธ์เชิงลบใดๆ การให้วัคซีนนี้อาจทำโดยการให้เพียงตัวเดียวหรือร่วมกับวัคซีนเอ็มเอ็มอาร์ วัคซีนนี้ผลิตจากเชื้อไวรัสที่อ่อนฤทธิ์ การจำหน่ายวัคซีนอีสุกอีใสครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อปี 2527 วัคซีนนี้อยู่ในทะเบียนยาที่จำเป็นขององค์การอนามัยโลก โดยเป็นยารักษาโรคที่มีความสำคัญมากที่สุดซึ่งจำเป็นต่อระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน ในสหรัฐอเมริการาคาของวัคซีนนี้อยู่ที่ระหว่าง 100 ถึง 200 เหรียญสหรัฐฯ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัคซีนโรคอีสุกอีใส · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีนโรคโปลิโอ

วัคซีนโรคโปลิโอเป็นวัคซีนที่ใช้ป้องกันโรคโปลิโอ ชนิดหนึ่งใช้เชื้อไวรัสโปลิโอตายและให้โดยการฉีด (IPV) ส่วนอีกชนิดหนึ่งใช้เชื้อไวรัสโปลิโอเป็นและให้ทางปาก (OPV) องค์การอนามัยโลกแนะนำให้เด็กทุกคนได้รับวัคซีนต้านโรคโปลิโอ วัคซีนทั้งสองชนิดกำจัดโรคโปลิโอไปจากส่วนใหญ่ของโลก และลดจำนวนผู้ป่วยต่อปีจากประมาณ 350,000 คนใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัคซีนโรคโปลิโอ · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีนไข้กาฬหลังแอ่น

วัคซีนไข้กาฬหลังแอ่น หรือวัคซีนเมนิงโกค็อกคัส หมายถึงวัคซีนทั้งหมดที่ใช้เพื่อป้องกันการติดเชื้อ Neisseria meningitidis โดยมีประสิทธิภาพในการต่อต้านเชื้อเมนิงโกค็อกคัสทั้งบางประเภทหรือทุกประเภท วัคซีนนี้มีอยู่หลายรุ่นด้วยกันคือ เอ, ซี ดับเบิลยู135 และวาย ความมีประสิทธิภาพของวัคซีนนี้อยู่ที่ระหว่าง 85 ถึง 100% สำหรับเวลาอย่างน้อยสองปี วัคซีนเหล่านี้ได้แสดงให้เห็นถึงการลดจำนวนเชื้อเมนิงโกค็อกคัสที่เป็นสาเหตุของโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ และ ภาวะเหตุติดเชื้อ ในกลุ่มประชากรที่ใช้วัคซีนเหล่านี้อย่างแพร่หลาย การให้วัคซีนเหล่านี้สามารถทำได้โดยการฉีดเข้าสู่กล้ามเนื้อหรือการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ประเทศที่มีอัตราการเกิดโรคระดับปานกลางถึงสูงหรือมีการแพร่ระบาดของโรคบ่อยครั้งควรจะมีการให้วัคซีนเป็นประจำ ส่วนประเทศที่มีอัตราการระบาดของโรคต่ำ ก็แนะนำว่าควรมีการให้วัคซีนแก่กลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรค ประเทศภายในทวีปแอฟริกาที่เป็นแนวเข็มขัดเยื่อหุ้มสมองอักเสบ หรือ African meningitis belt ขณะนี้อยู่ในระหว่างการดำเนินการเพื่อให้วัคซีนเมนิงโกค็อกคัส เอเพื่อสร้างภูมิคุมกันโรคแก่ประชากรทุกคนที่มีอายุระหว่างหนึ่งถึงสามสิบปี โดยให้เป็นวัคซีนควบคู่ ในประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ได้แนะนำให้มีการให้วัคซีนที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันเชื้อทั้งสี่ประเภทนี้แก่กลุ่มวัยรุ่นและกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง นอกจากนี้ยังเป็นวัคซีนที่จำเป็นสำหรับผู้ที่เดินทางไปยังกรุงเมกกะเพื่อการแสวงบุญ ความปลอดภัยโดยทั่วไปนั้นอยู่ในระดับดี แต่ทั้งนี้สำหรับบางคนอาจเจ็บปวดและมีรอยแดงช้ำที่ตำแหน่งการฉีดวัคซีน และก็ดูเหมือนว่าจะมีความปลอดภัยการใช้ในผู้ตั้งครรภ์ การเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ขั้นรุนแรงนั้นเกิดขึ้นน้อยกว่าหนึ่งในล้านเข็ม การให้วัคซีนเมนิงโกค็อกคัสครั้งแรกมีขึ้นเมื่อราวปี 2513-2523 วัคซีนนี้อยู่ในทะเบียนยาที่จำเป็นขององค์การอนามัยโลก โดยเป็นยารักษาโรคที่มีความสำคัญมากที่สุดในระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน ต้นทุนสำหรับราคาขายส่งต่อหนึ่งเข็มอยู่ระหว่าง 3.23 และ 10.77 เหรียญสหรัฐฯ นับตั้งแต่ปี 2557 ต้นทุนในสหรัฐอเมริกา 100 ถึง 200 เหรียญสหรัฐฯ สำหรับวัคซีนหนึ่งแบบแผน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัคซีนไข้กาฬหลังแอ่น · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีนไข้สมองอักเสบจากเห็บ

วัคซีนไข้สมองอักเสบจากเห็บ (Tick-borne encephalitis) เป็นวัคซีนที่ใช้เพื่อป้องกันโรคไข้สมองอักเสบที่มีเห็บเป็นพาหะ (TBE) โรคนี้เป็นโรคที่พบได้ทั่วไปในยุโรปตอนกลางและยุโรปตะวันออก และตอนเหนือของเอเชีย ผู้ที่ได้รับวัคซีนจำนวนมากกว่า 87% สามารถสร้างภูมิคุ้มกันโรคได้Demicheli V, Debalini MG, Rivetti A (2009).

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัคซีนไข้สมองอักเสบจากเห็บ · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีนไข้หวัดใหญ่

วัคซีนไข้หวัดใหญ่ หรือ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ประจำปี เป็นวัคซีนชนิดหนึ่งมีฤทธิ์สร้างภูมิคุ้มกันต่อไวรัสไข้หวัดใหญ่ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงสายพันธุ์ได้ง่ายและบ่อย โดยทั่วไปแล้ววัคซีนไข้หวัดใหญ่ประจำปีแต่ละชุดจะประกอบด้วยสารวัคซีนต่อไวรัสไข้หวัดใหญ่ 3 ชนิด คือ ชนิด A (H3N2) ตัวหนึ่ง ชนิด A (H1N1) ซึ่งพบบ่อยตามฤดูกาล ตัวหนึ่ง (ซึ่งตั้งแต่ พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา ได้ถูกแทนที่ด้วยวัคซีนไข้หวัดใหญ่ "สายพันธุ์ใหม่" A H1N1 2009) และชนิด B ตัวหนึ่ง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัคซีนไข้หวัดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีนไข้เหลือง

วัคซีนโรคไข้เหลือง เป็นวัคซีนสำหรับป้องกันไข้เหลือง ไข้เหลืองเกิดจากการติดเชื้อไวรัสที่พบในทวีปแอฟริกาและอเมริกาใต้ ประมาณ 99% ของผู้ที่ได้รับวัคซีนจะสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ภายในหนึ่งเดือนและดูเหมือนว่าภูมิค้มกันนี้จะมีผลไปตลอดชีวิต วัคซีนนี้สามารถใช้เพื่อควบคุมการระบาดของโรคได้ วิธีการให้วัคซีนคือการฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนำให้มีการให้วัคซีนตามกำหนดการให้วัคซีนในทุกประเทศที่พบโรคนี้ได้ทั่วไป โดยทั่วไปคือเมื่อทารกอายุระหว่างเก้าถึงสิบสองเดือน ผู้ที่เดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดของโรคก็ควรจะเข้ารับการฉีดวัคซีนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันเช่นกัน ซึ่งโดยมากไม่จำเป็นต้องให้วัคซีนเพิ่มอีกหลังจากการได้รับวัคซีนครั้งแรก โดยทั่วไปวัคซีนป้องกันโรคไข้เหลืองเป็นวัคซีนที่ปลอดภัย ซึ่งรวมถึงสำหรับผู้ที่ติดเชื้อ HIV แต่ไม่มีอาการของโรค ผลข้างเคียงเล็กน้อยอาจได้แก่ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดบริเวณที่ฉีดวัคซีน มีไข้ และเกิดผื่นผิวหนัง การแพ้ขั้นรุนแรงจากการฉีดวัคซีนพบได้เพียงแปดรายจากหนึ่งล้านรายเท่านั้น อาการทางประสาทขั้นรุนแรงนั้นเกิดขึ้นในสี่รายจากหนึ่งล้านราย และอาการอวัยวะล้มเหลวเกิดขึ้นในสามรายจากหนึ่งล้านราย และมีแนวโน้มว่ามีความปลอดภัยสำหรับผู้ที่อยู่ในระหว่างการตั้งครรภ์ และดังนั้นจึงแนะนำให้ใช้ในกลุ่มผู้ที่อาจติดเชื้อ แต่ไม่ควรให้วัคซีนแก่ผู้ที่มีการกดการทำงานของภูมิคุ้มกัน วัคซีนโรคไข้เหลืองมีการใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2526 วัคซีนนี้อยู่ในทะเบียนยาที่จำเป็นขององค์การอนามัยโลก โดยเป็นยารักษาโรคที่มีความสำคัญมากที่สุดซึ่งจำเป็นต่อระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน นับตั้งแต่ปี 2557 ราคาขายส่งของวัคซีนนี้อยู่ที่ระหว่าง 4.30 ถึง 21.30 เหรียญสหรัฐฯ ราคาในสหรัฐอเมริกาคือตั้งแต่ 50 ถึง 100 เหรียญสหรัฐฯ วัคซีนนี้ผลิตจากเชื้อไวรัสของโรคไข้เหลืองซึ่งถูกทำให้อ่อนฤทธิ์ลง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัคซีนไข้เหลือง · ดูเพิ่มเติม »

วัคซีนเอชพีวี

วัคซีนเอชพีวี (HPV ย่อมาจาก Human Papilloma Virus) หรือวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก เป็นวัคซีนที่ป้องกันการติดเชื้อไวรัสกลุ่มเอชพีวีบางสายพันธุ์  ขณะนี้วัคซีนที่มีอยู่หลายชนิด สามารถป้องกันการติดเชื้อ ได้ 2 สายพันธุ์, 4 สายพันธุ์ หรือ 9 สายพันธุ์แล้วแต่ชนิดของวัคซีน อย่างไรก็ดีวัคซีนเอชพีวี ทุกชนิดอย่างน้อยจะสามารถป้องกันการติดเชื้อเอชพีวีสายพันธุ์ 16 และ 18 ที่เป็นสาเหตุหลักของการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก  มีการประมาณการว่าวัคซีนต่อไวรัส 2 ชนิดนี้จะช่วยป้องกันมะเร็งปากมดลูกได้ร้อยละ 70,  ป้องกันมะเร็งทวารหนักได้ร้อยละ 80, ป้องกันมะเร็งช่องคลอดได้ร้อยละ 60, ป้องกันมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของเพศหญิง(Vulva)ได้ร้อยละ 40 และอาจจะช่วยป้องกันมะเร็งช่องปากได้บางส่วน   ส่วนวัคซีนเอชพีวีที่มี 4 หรือ 9 สายพันธุ์นั้นได้มีการเพิ่มการป้องกันต่อไวรัสกลุ่มเอชพีวีสายพันธุ์อื่นๆที่ก่อให้เกิดโรคหูดของอวัยวะสืบพันธุ์ร่วมด้วย องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนำให้วัคซีนเอชพีวีเป็นส่วนหนึ่งของวัคซีนพื้นฐาน สำหรับประเทศที่มีงบประมาณเพียงพอ ควบคู่กับมาตรการป้องกันมะเร็งปากมดลูกวิธีอื่นๆ  จำนวนครั้งของการให้วัคซีนจะมีความแตกต่างกันตามแต่ละช่วงอายุ สำหรับเด็กหญิง แนะนำให้ให้วัคซีนในช่วงอายุ 9-13 ปี จากข้อมูลที่มีตอนนี้วัคซีนสามารถให้การคุ้มกันได้อย่างน้อย 8 ปี ดังนั้นการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกยังคงมีความจำเป็นถึงแม้ว่าจะได้รับวัคซีนเอชพีวีแล้วก็ตาม นอกจากการที่วัคซีนจะมีประโยชน์ต่อตัวผู้ฉีดเองแล้ว หากประชากรส่วนใหญ่ได้รับวัคซีน จะส่งผลดีกับประชากรอื่นๆผู้ที่ไม่ได้รับวัคซีนด้วย อย่างไรก็ดีวัคซีนไม่มีประโยชน์สำหรับผู้ที่มีการติดเชื้อแล้ว วัคซีนเอชพีวีมีความปลอดภัยสูง อาการไม่พึงประสงค์ในผู้ที่ได้รับวัคซีน ได้แก่ รู้สึกเจ็บปวดบริเวณที่ฉีด (ร้อยละ 80) โดยอาจมีอาการแดงบวมหรือมีไข้ร่วมด้วย  ไม่พบความเชื่อมโยงกับการเกิดโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดกีแลงบาเร่ (Guillain-Barre syndrome) วัคซีนเอชพีวีชนิดแรกเริ่มใช้ในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวัคซีนเอชพีวี · ดูเพิ่มเติม »

วันวัณโรคโลก

วันวัณโรคโลก (World Tuberculosis Day) ตรงกับวันที่ 24 มีนาคม ของทุกปี ตั้งขึ้นเพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหาวัณโรคที่ยังคงระบาดอยู่ในหลายส่วนของโลก ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนราว 1.6 ล้านคนต่อปีโดยเฉพาะในประเทศโลกที่สาม สาเหตุที่ตรงกับวันที่ 24 มีนาคมเนื่องจากในวันนี้เมื่อปี ค.ศ. 1882 (พ.ศ. 2425) ดร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวันวัณโรคโลก · ดูเพิ่มเติม »

วันงดสูบบุหรี่โลก

อกไม้สดในที่เขี่ยบุหรี่ เป็นสัญลักษณ์สามัญของวันงดสูบบุหรี่โลก วันงดสูบบุหรี่โลก ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี เริ่มจัดครั้งแรกเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 โดยองค์การอนามัยโลก เพื่อให้เห็นอันตรายของบุหรี่ต่อสุขภาพและโทษของบุหรี่ การจัดงานวันงดสูบบุหรี่โลกก็เพื่อกระตุ้นให้ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบ และให้รัฐบาลชุมชนและประชากรโลก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวันงดสูบบุหรี่โลก · ดูเพิ่มเติม »

วันตับอักเสบโลก

วันตับอักเสบโลก ตรงกับวันที่ 28 กรกฎาคมของทุกปี มีความมุ่งหมายเพื่อเพิ่มความตระหนักถึงตับอักเสบ บี และตับอักเสบ ซี ตลอดจนสนับสนุนการป้องกัน การวินิจฉัยและการรักษาทั่วโลก มีประชากรโลกประมาณ 500 ล้านคนป่วยเป็นตับอักเสบ บี หรือตับอักเสบ ซี หรือคิดเป็น 1 ใน 12 ของประชากรโลก หากไม่ได้รับการรักษา ตับอักเสบ บีหรือซีอาจนำไปสู่โรคตับแข็งหรือภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ได้ รวมทั้งมะเร็งตับหรือตับล้มเหลว ขณะที่คนจำนวนมากกังวลว่า ตนจะติดโรคเอดส์มากกว่าตับอักเสบ แต่ในความเป็นจริง ทุกปีมีผู้เสียชีวิตจากตับอักเสบ บีหรือซี 1.5 ล้านคน ซึ่งมากกว่าเสียชีวิตจากเอชไอวี/เอดส์ ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวันตับอักเสบโลก · ดูเพิ่มเติม »

วันป้องกันการฆ่าตัวตายโลก

วันป้องกันการฆ่าตัวตายโลก ตรงกับวันที่ 10 กันยายน ของทุกปี องค์การอนามัยโลกกำหนดให้วันดังกล่าวเป็นวันสำคัญคือ วันป้องกันการฆ่าตัวตายโลก (World Suicide Prevention Day) โดยประกาศเป็นครั้งแรกเมื่อ ปี พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003)   ทางองค์การอนามัยโลกคาดว่าในปีหนึ่งจะมีผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จเป็นจำนวนมากกว่า 1 ล้านคน เมื่อคิดเฉลี่ยต่อเวลาจะพบว่ามีผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จ 1 คน ทุก 40 วินาที และการฆ่าตัวตายยังส่งผลกระทบต่อจิตใจของพ่อแม่พี่น้องสามีภรรยาและเพื่อนๆ ของผู้ตายอีกประมาณ 5-10 ล้านคน ตลอดจนมีผลมูลค่าทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล ทางองค์การอนามัยโลกพบว่า การฆ่าตัวตายติด 10 อันดับแรกของสาเหตุการตายของประชากรโลก และติดอันดับที่ 3 ของสาเหตุการตายสำหรับประชากรวัย 15-35 ปี ผู้ชายฆ่าตัวตายสำเร็จมากกว่าผู้หญิงถึง 3 เท่า (ยกเว้นในประเทศจีน)          องค์การอนามัยโลกประมาณว่า ผู้ทำร้ายตนเองมีจำนวนมากกว่าผู้ฆ่าตัวตายสำเร็จประมาณ 10-20 เท่า จากการศึกษาพบว่าผู้ทำร้ายตนเองจะมีโอกาสทำซ้ำและประสบความสำเร็จได้ โดยมีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายสำเร็จในระยะหนึ่งปีหลังการทำร้ายตนเองครั้งแรกเพิ่มขึ้นเป็น 100 เท่าเมื่อเทียบกับประชากรทั่วไป และร้อยละ 10 ของผู้ทำร้ายตนเอง จะจบชีวิตลงด้วยการฆ่าตัวตายในเวลาต่อมา          การฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตาย ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย แต่ละปีจะมีผู้เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายประมาณ 4,500-5,000 คน ซึ่งมากกว่าการฆ่ากันตาย ที่มีประมาณ ปีละ 3,000-3,800 ราย (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์, 2546) และถ้านับจำนวนผู้ที่ทำร้านตนเองทั้งหมด ทั้งที่เสียชีวิตและไม่เสียชีวิตจะพบว่ามีจำนวนรวมสูงถึง 25,000-27,000 รายต่อปี (อภิชัย มงคล และคณะ, 2546) ก่อให้เกิดความสูญเสียต่อครอบครัว สังคม และประเทศชาติอย่างมาก ดอกสะมาเรีย สัญลักษณ์การป้องกันการฆ่าตัวตายของประเทศไทย หน่วงานที่ให้คำช่วยเหลือในการป้องกันการฆ่าตัวตาย - สายด่วนสุขภาพจิต 1667   - กรมสุขภาพจิต - โครงการป้องกันผู้มีภาวะซึมเศร้า - โครงการช่วยเหลือผู้ที่ เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย - สมาคมสะมาริตันส์   ป้องกันการฆ่าตัวตาย หมวดหมู่:วันสำคัญ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวันป้องกันการฆ่าตัวตายโลก · ดูเพิ่มเติม »

วันเบาหวานโลก

ลโก้ของวันเบาหวานโลก วันเบาหวานโลก เป็นการรณรงค์หลักสร้างความตื่นรู้ในระดับโลกถึงโรคเบาหวาน และจัดขึ้นทุกวันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปี ริเริ่มขึ้นครั้งแรกใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวันเบาหวานโลก · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาคารสถาบัน 3 ที่ตั้งของวิทยาลัย วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานประเภทวิทยาลัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดสอนเฉพาะหลักสูตรนานาชาติเท่านั้น มุ่งเน้นในงานวิชาการและการบริการทางวิชาการด้านสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สาธารณสุข เป็นส่วนงานของมหาวิทยาลัยที่มีความร่วมมือกับองค์กรนานาชาติหลายแห่ง เช่น องค์การอนามัยโลกตั้งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงกับคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริเวณด้านหลังสยามสแควร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วิทิต มันตาภรณ์

ตราจารย์กิตติคุณ วิทิต มันตาภรณ์ (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2495 - ปัจจุบัน) เป็นนักกฎหมายชาวไทย ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายระหว่างประเทศโดยเฉพาะเรื่องสิทธิมนุษยชน ศาสตราจารย์กิตติคุณคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศาสตราภิชานของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและวิทิต มันตาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์วิจัยและติดตามความเป็นธรรมทางสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ูนย์วิจัยและติดตามความเป็นธรรมทางสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นศูนย์วิจัยด้านดัชนีความเป็นธรรมทางการแพทย์และการสาธารณสุข โดยเป็นหน่วยงานอิสระในคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร สำนักงานตั้งอยู่ ณ อาคารคณะแพทยศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ปัจจุบันได้รับการจดทะเบียนเป็นมูลนิธิศูนย์วิจัยและติดตามความเป็นธรรมทางสุขภาพ(มศธส.) สำนักงานตั้งอยู่ที่ 173/113 หมู่ที่ 7 ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและศูนย์วิจัยและติดตามความเป็นธรรมทางสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ

หพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ (Fédération Internationale de l'Automobile หรือ FIA; International Automobile Federation) เป็นสมาคมที่จัดตั้งขึ้นตามที่สหพันธ์นานาชาติของการยอมรับรถยนต์คลับ (AIACR) ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2447 โดยทำหน้าที่สำคัญขององค์กรเกี่ยวกับการแข่งความเร็ว.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์คนหูหนวกโลก

หพันธ์คนหูหนวกโลก (World Federation of the Deaf; อักษรย่อ: WFD) เป็นองค์การนอกภาครัฐระหว่างประเทศซึ่งทำหน้าที่เป็นองค์การสูงสุดสำหรับสมาคมแห่งชาติของคนหูหนวก โดยมุ่งเน้นที่คนหูหนวกที่ใช้ภาษามือและครอบครัวรวมถึงเพื่อนของพวกเขา สหพันธ์คนหูหนวกโลกมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสิทธิมนุษยชนของคนหูหนวกทั่วโลก โดยทำงานอย่างใกล้ชิดกับสหประชาชาติ (ซึ่งมีสถานะเป็นที่ปรึกษา) และหน่วยงานต่าง ๆ ของสหประชาชาติ เช่น องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) และองค์การอนามัยโลก (WHO) นอกจากนี้ สหพันธ์คนหูหนวกโลกยังเป็นสมาชิกของพันธมิตรความพิการระหว่างประเทศ (IDA) คณะกรรมการ 11 คนในปัจจุบันเป็นคนหูหนวกทั้งหมด ซึ่งมีสำนักงานตั้งอยู่ที่เมืองเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสหพันธ์คนหูหนวกโลก · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สันนิบาตชาติ

ันนิบาตชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสันนิบาตชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สารหนู

รหนู (arsenic) เป็นชื่อธาตุลำดับที่ 33 สัญลักษณ์ As ลักษณะเป็นของแข็ง มีสามอัญรูป คือ สารหนูสีเทา สารหนูสีดำ และสารหนูสีเหลือง หลายคนเข้าใจว่าสารหนูเป็นธาตุที่เป็นพิษ แต่ความจริงแล้วสารหนูบริสุทธิ์ไม่เป็นพิษแต่ประการใด มันจะเกิดพิษก็ต่อเมื่อ ไปรวมตัวกับธาตุอื่นเช่น Arsenic trioxide.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสารหนู · ดูเพิ่มเติม »

สารฆ่าเชื้ออสุจิ

รฆ่าเชื้ออสุจิ (spermicide) เป็นสารคุมกำเนิดที่ทำลายตัวอสุจิ ใช้โดยการใส่เข้าไปในช่องคลอดก่อนการร่วมเพศเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ การใช้สารฆ่าเชื้ออสุจิอย่างเดียวสามารถใช้คุมกำเนิดได้ อย่างไรก็ตามคู่รักที่ใช้สารฆ่าเชื้ออสุจิอย่างเดียวมีอัตราการตั้งครรภ์สูงกว่าคู่ที่ใช้การคุมกำเนิดแบบอื่น โดยปกติ สารฆ่าเชื้ออสุจิมักถูกใช้คู่กับวิธีอื่น เช่น วิธีใช้สิ่งกีดขวางอย่าง ถุงยางอนามัย ฝาครอบปากมดลูก หมวกครอบปากมดลูก และฟองน้ำคุมกำเนิด การใช้ร่วมกันให้ผลดีกว่าการใช้วิธีคุมกำเนิดแบบใดแบบหนึ่งอย่างเดียว สารฆ่าเชื้ออสุจิไม่มีกลิ่น ไม่มีสี ไม่มีรส ไม่ทิ้งคราบ และยังช่วยหล่อลื่น.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสารฆ่าเชื้ออสุจิ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณสุข

รณสุข คือศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและจัดการสุขภาพทั้งปวงของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ด้านสุขภาพของประชากร คำว่าสุขภาพนั้นมีนิยามและจัดการในลักษณะต่างๆ กันจากหน่วยงานต่างๆ สำหรับองค์การอนามัยโลก แห่งสหประชาชาติ ซึ่งได้กำหนดมาตรฐานและเฝ้าระวังโรคทั่วโลก ได้นิยามคำว่า สุขภาพ ไว้ว่า "สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้เพียงไม่มีโรคภัยหรือความแข็งแรงทางกายเท่านั้น" ประชากรที่กล่าวไว้ข้างต้นอาจมีเพียงน้อยนิด หรือปริมาณมหาศาลในระดับทวีปก็ได้ สาธารณสุขมีด้วยกันหลายสาขาย่อย แต่โดยทั่วไปจะแบ่งเป็นหมวดต่างๆ ได้แก่ ระบาดวิทยา (epidemiology), ชีวสถิติ (biostatistics) และบริการสุขภาพ (health services) นอกจากนี้แล้ว สุขภาพเชิงสิ่งแวดล้อม เชิงสังคม และเชิงพฤติกรรม รวมทั้งสุขภาพเชิงอาชีพ ก็เป็นสาขาที่สำคัญของสาธารณสุขด้ว.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสาธารณสุข · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (ชื่อย่อ: สสส.) เป็นองค์การมหาชน อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของนายกรัฐมนตรี จัดตั้งขึ้นโดย พระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ. 2544 เพื่อเป็นองค์กรหลัก ซึ่งทำหน้าที่ผลักดัน กระตุ้น สนับสนุน และร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ โดยมุ่งหมายให้คนไทย มีสุขภาพกาย จิต ปัญญา และสังคมที่ดี ด้วยการกระตุ้นให้เกิด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ความเชื่อ และสภาพแวดล้อม ให้เอื้ออำนวยต่อคุณภาพชีวิต อันจะช่วยลดภาระทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ โดยมีเป้าหมายในการลดอัตราการเจ็บป่วย และเสียชีวิตก่อนวัยอันควรของคนไทย ทั้งนี้ ทุนอุดหนุนของ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย

ประเทศไทยขึ้นชื่อว่าเป็นประเทศที่อดกลั้นและเป็นมิตรต่อกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศมากที่สุดประเทศหนึ่งในทวีปเอเชีย โดยที่กิจกรรมทางเพศของเพศเดียวกันนั้นชอบด้วยกฎหมายมาตั้งแต..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สุขภาพ

หมายถึงระดับของประสิทธิภาพเชิงการทำงานหรือเชิงเมตาบอลิกของสิ่งมีชีวิตทั่วๆไป องค์การอนามัยโลกให้คำนิยาม "สุขภาพ" ไว้อย่างกว้างๆในธรรมนูญปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสุขภาพ · ดูเพิ่มเติม »

สุขภาพจิต

ตเป็นระดับความเป็นอยู่ดีทางจิตใจ หรือการปลอดโรคทางจิต เป็น "สถานะทางจิตของบุคคลที่ทำหน้าที่ได้ในระดับการปรับตัวได้ทางอารมณ์และพฤติกรรมที่น่าพอใจ" จากทัศนะจิตวิทยาเชิงบวกหรือสัมพฤตินิยม (holism) สุขภาพจิตอาจรวมความสามารถของบุคคลในการมีความสุขกับชีวิต และสร้างสมดุลระหว่างกิจกรรมชีวิตและความพยายามบรรลุความยืดหยุ่นทางจิตวิทยา องค์การอนามัยโลกระบุว่า สุขภาพจิตรวม "ความเป็นอยู่ดีอัตวิสัย การก่อผลตนเองที่รับรู้ อัตตาณัติ ความสามารถ การพึ่งระหว่างรุ่นและความตระหนักในศักยภาพตนในด้านปัญญาและอารมณ์ เป็นต้น" องค์การอนามัยโลกยังกล่าวอีกว่า ความเป็นอยู่ดีของปัจเจกบุคคลรวมอยู่ในการตระหนักถึงความสามารถของตน การจัดการกับความเครียดปกติของชีวิต การทำงานและการเข้ามีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ต่อชุมชนของพวกเขา ความแตกต่างทางวัฒนธรรม การประเมินอัตวิสัย และทฤษฎีของมืออาชีพที่ขัดกันล้วนมีผลต่อการนิยาม "สุขภาพจิต" ทั้งสิ้น.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสุขภาพจิต · ดูเพิ่มเติม »

สุขศาสตร์

ตร์ (hygiene) เป็นชุดการปฏิบัติซึ่งกระทำเพื่อรักษาสุขภาพ องค์การอนามัยโลกนิยามว่า "สุขศาสตร์หมายถึงภาวะและการปฏิบัติที่ช่วยรักษาสุขภาพและป้องกันการแพร่โรค" อนามัยส่วนบุคคลหมายถึงการรักษาความสะอาดของร่างกาย สุขศาสตร์มีความหมายกว้างกว่าความสะอาด โดยรวมทางเลือกนิสัยส่วนบุคคลว่าอาบน้ำ ล้างมือ ตัดเล็บและเปลี่ยนเสื้อผ้าบ่อยเพียงใด นอกจากนี้ ยังให้ความสนใจกับการรักษาพื้นผิวของบ้านและที่ทำงานให้สะอาดและปลอดเชื้อโรค บางสังคมอาจถือว่าการปฏิบัติสุขศาสตร์บางอย่างเป็นประจำเป็นนิสัยที่ดี ขณะที่การละเลยสุขศาสตร์อาจถือว่าน่ารังเกียจ ไม่เคารพหรือคุกคาม.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสุขศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สู่นรกภูมิ

ู่นรกภูมิ (Inferno) เป็นนวนิยายแนวลึกลับ/ระทึกขวัญ เขียนโดยแดน บราวน์ โดยอยู่ในลำดับที่ 4 ในชุด โรเบิร์ต แลงดอน ศาสตราจารย์ด้านสัญลักษณ์วิทยาแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ฉบับภาษาอังกฤษวางจำหน่ายเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสู่นรกภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

ันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหน่วยงานที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

สถานะเพศ

นะเพศ (gender) หรือ เพศสภาพ คือลักษณะต่างๆ ที่บ่งบอกความเป็นชาย (masculinity) และความเป็นหญิง (femininity) ซึ่งอาจหมายถึง เพศทางชีววิทยา (เช่น เพศชาย เพศหญิง เพศกำกวม) โครงสร้างทางสังคมที่อาศัยความเป็นเพศ (เช่น บทบาทประจำเพศ และบทบาททางสังคมด้านอื่นๆ) หรือ อัตลักษณ์ทางเพศ (หรือ เพศเอกลักษณ์, gender identity) แล้วแต่บริบท ผู้ที่ไม่มองว่าตนเองเป็นเพศชายหรือเพศหญิงมักเรียกรวมๆ ว่าเป็นเพศทางเลือก มีคำเรียกหลายอย่าง เช่น non-binary, genderqueer บางวัฒนธรรมจะมีบทบาทโดยเฉพาะของเพศที่สาม เช่น กลุ่มฮิจรา ในเอเชียใต้ เป็นต้น องค์การอนามัยโลก ให้ความหมายของสถานะเพศ เอาไว้ว่า ไว้ว่า "คุณลักษณะของผู้หญิงและผู้ชายในบทบาทประกอบสร้างทางสังคม พฤติกรรม กิจกรรมและคุณลักษณะที่ให้สังคมพิจารณาว่าเป็นผู้ชายหรือผู้หญิง" ในขณะที่คำว่า เพศ (Sex) มีความหมายในลักษณะทางชีววิทยาของบุคคล ที่แบ่งเป็นเพศหญิง และเพศชาย เพศภาวะมิใช่เป็นเพียงการแบ่งเพศชาย เพศหญิง ทางกายวิภาคและสรีรวิทยาเพียงอย่างเดียว แต่รวมถึงการถูกกำหนดโดยสังคมและวัฒนธรรมที่กำหนดความเป็นหญิง-ชาย ความความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทหญิงชาย ลักษณะเฉพาะประจำเพศ (gender stereotype) และความเป็นตัวตนของหญิงชายที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ส่วนภาษาไทย อาจมีคนแปลความหมายของคำว่า gender ว่า “เพศภาวะ” “ความเป็นชาย ความ เป็นหญิง” “บทบาทหญิงชาย” “มิติหญิงชาย” หรือ “เพศทางสังคม”.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสถานะเพศ · ดูเพิ่มเติม »

สแตติน

pmid.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

หมอเท้าเปล่า

หมอเท้าเปล่ากำลังฝังเข็มชายผู้หนึ่ง หมอเท้าเปล่า (barefoot doctor) คือ เกษตรกรที่ได้รับการฝึกการแพทย์และผู้ช่วยแพทย์พื้นฐานขั้นต่ำและทำงานในหมู่บ้านชนบทในประเทศจีน ความมุ่งหมายเพื่อนำสาธารณสุขสู่พื้นที่ชนบทซึ่งหมอที่ฝึกในเมืองจะไม่มาตั้งถิ่นฐาน พวกเขาส่งเสริมการสุขาภิบาลเบื้องต้น สาธารณสุขป้องกันและการวางแผนครอบครัว ตลอดจนรักษาความเจ็บป่วยสามัญ ชื่อนี้ได้มาจากเกษตรกรภาคใต้ ซึ่งมักทำงานเท้าเปล่าในนาข้าว ในคริสต์ทศวรรษ 1930 ขบวนการบูรณะชนบทได้บุกเบิกผู้ใช้แรงงานสาธารณสุขหมู่บ้านที่ได้รับการฝึกสาธารณสุขพื้นฐานเป็นส่วนหนึ่งของระบบประสานงาน และมีการทดลองมณฑลหลัง..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและหมอเท้าเปล่า · ดูเพิ่มเติม »

หนังหุ้มปลาย

ในกายวิภาคศาสตร์มนุษย์เพศชาย หนังหุ้มปลาย คือส่วนทบแบบสองขั้นของกล้ามเนื้อเรียบ หลอดเลือด เซลล์ประสาท ผิวหนัง และ เยื่อเมือก ที่เป็นส่วนหนึ่งของขององคชาต ทำหน้าที่ปกคลุมและปกป้องส่วนหัวองคชาตและรูปัสสาวะ มันยังสามารถอธิบายว่าเป็นหนังหุ้มปลายองคชาตได้อีกด้วย ในทางกว้างขึ้นทางศัพท์เทคนิคนั้นจะหมายรวมไปถึงหมวกปุ่มกระสัน (Clitoral hood) ในผู้หญิงด้วยด้วย ซึ่งหนังหุ้มปลายนั้นเป็นตัวอ่อนที่ต้นกำเนิดเหมือนกัน เป็นบริเวณเขตเยื่อบุทวารหนักกับผิวหนังที่ปกคลุมไปเส้นประสาทอย่างมากขององคชาต ซึ่งเกิดขึ้นใกล้กับส่วนปลายของหนังหุ้มปลาย หนังหุ้มปลายนั้นสามารถเคลื่อนที่ได้ง่าย ยืดออกได้พอสมควร และทำหน้าที่เป็นสารหล่อลื่นตามธรรมชาติ โดยปกติ หนังหุ้มปลายของผู้ใหญ่จะสามารถดึงรั้งลงมา (retractable) จากส่วนหัวองคชาตได้ ซึ่งครอบคลุมส่วนหัวทั้งในสถานะอ่อนตัวและแข็งตัว ขึ้นอยู่กับความยาวของหนังหุ้มปลาย เมื่อแรกเกิดหนังหุ้มปลายจะยึดอยู่กับส่วนหัวองคชาต และโดยทั่วไปจะยังไม่สามารถดึงรั้งลงได้ในวัยทารก เมื่อโตขึ้นในวัยเด็กสามารถจึงสามารถดึงรั้งลงมาได้ แต่จากผลสำรวจพบว่า 95% ของผู้ชายสามารถดึงรั้งหนังหุ้มปลายลงมาได้อย่างเต็มที่ขณะโตเป็นผู้ใหญ่แล้ว การไม่สามารถดึงรั้งหนังหุ้มปลายลงมาได้ในวัยเด็กนั้นไม่ควรถือว่าเป็นปัญหาเว้นแต่มีอาการอย่างอื่น องค์การอนามัยโลกมีการอภิปรายถึงหน้าที่อย่างแน่นอนของหนังหุ้มปลาย ซึ่งรวมถึง "ทำหน้าที่รักษาความชุ่มชื้นของส่วนหัวขององคชาต ปกป้องการพัฒนาขององคชาตในวัยแรก หรือเพิ่มความความสุขทางเพศเนื่องจากมีตัวรับความรู้สึก" หนังหุ้มปลายอาจตกอยู่ภายใต้สภาวะทางพยาธิวิทยาจำนวนมาก ส่วนมากเงื่อนไขนั้นเกิดยาก และสามารถรักษาได้ง่าย ในบางกรณี โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับภาวะเรื้อรัง การรักษาอาจทำได้วิธีการการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ ซึ่งเป็นการนำหนังหุ้มปลายองคชาตบางส่วนหรือทั้งหมดออกไป.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและหนังหุ้มปลาย · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยสากล

หน่วยสากล (International unit) เป็นหน่วยวัดการออกฤทธิ์ของสสารซึ่งกำหนดโดยองค์การอนามัยโลก เพื่อวัดค่ามาตรฐานประสิทธิภาพของยาหรือวิตามิน เมื่อยาหรือวิตามินเหล่านั้นเข้าสู่ร่างกายและเกิดการแตกตัวขึ้นภายในร่างกาย ทั้งนี้ยาและวิตามินแต่ละตัวจะมีประสิทธิภาพการออกฤทธิ์ที่แตกต่างกัน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและหน่วยสากล · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

อหิวาตกโรค

อหิวาตกโรค หรือ โรคห่า (cholera) คือ โรคระบาดชนิดหนึ่ง เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Vibrio cholerae ที่ลำไส้เล็ก ผู้ป่วยจะมีอาการท้องร่วงเป็นน้ำและอาเจียนเป็นหลัก เรียกว่า "ลงราก" จึงเรียกโรคนี้ว่า "โรคลงราก" ก็มี และถ้าเกิดแก่สัตว์เลี้ยง เช่น เป็ด ไก่ วัว ควาย เรียก "กลี" ร่างกายจะขับน้ำออกมาเป็นจำนวนมาก ในผู้ป่วยรุนแรงอาจทำให้มีผิวสีออกเทา-น้ำเงินได้ การแพร่เชื้อเกิดขึ้นจากการดื่มน้ำหรือกินอาหารที่ปนเปื้อนอุจจาระของผู้ติดเชื้อเป็นหลัก ซึ่งผู้นั้นแม้ไม่มีอาการก็สามารถแพร่เชื้อได้ ความรุนแรงของอาการท้องร่วงและอาเจียนสามารถนำไปสู่ภาวะขาดน้ำและเสียสมดุลเกลือแร่อย่างรวดเร็ว กระทั่งเสียชีวิตในบางราย การรักษาหลักคือการชดเชยสารน้ำโดยการกิน ซึ่งมักทำโดยให้ดื่มสารละลายชดเชยการขาดน้ำและเกลือแร่ ถ้าไม่ได้ผลหรือได้ผลเร็วไม่เพียงพอหรือดื่มไม่ได้ ผู้ป่วยบางรายอาจจำเป็นต้องได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ สำหรับผู้ป่วยบางรายที่เป็นรุนแรงอาจใช้ยาปฏิชีวนะช่วยเพื่อลดระยะเวลาและความรุนแรงของการป่ว..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและอหิวาตกโรค · ดูเพิ่มเติม »

อะลูมิเนียม คลอไฟเบรต

อะลูมิเนียม คลอไฟเบรต หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า อัลไฟเบรต (Aluminium clofibrate หรือ alfibrate) เป็นยาลดระดับไขมันในกระแสเลือดกลุ่มไฟเบรต (Fibrate dericatives) อะลูมิเนียม คลอไฟเบรตหรืออัลไฟเบรตเป็นสารประกอบอะลูมิเนียมของคลอไฟเบรต มีข้อบ่งใช้สำหรับรักษาภาวะไขมันในกระแสเลือดสูง โดยอาจพิจารณาใช้เป็นยาเดี่ยวหรือให้ร่วมกับยาลดไขมันในกระแสเลือดกลุ่มอื่นได้ .

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและอะลูมิเนียม คลอไฟเบรต · ดูเพิ่มเติม »

อาการท้องร่วง

อาการท้องร่วง (diarrhea หรือ diarrhoea) เป็นภาวะมีการถ่ายอุจจาระเหลวหรือเป็นน้ำอย่างน้อยสามครั้งต่อวัน มักกินเวลาไม่กี่วันและอาจทำให้เกิดภาวะขาดน้ำจากการเสียสารน้ำ อาการแสดงของภาวะขาดน้ำมักเริ่มด้วยการเสียความตึงตัวของผิวหนังและบุคลิกภาพเปลี่ยน ซึ่งสามารถลุกลามเป็นการถ่ายปัสสาวะลดลง สีผิวหนังซีด อัตราหัวใจเต้นเร็ว และการตอบสนองลดลงเมื่อภาวะขาดน้ำรุนแรง อย่างไรก็ดี อุจจาระเหลวแต่ไม่เป็นน้ำในทารกที่กินนมแม่อาจเป็นปกติ สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ การติดเชื้อของลำไส้อาจเนื่องจากไวรัส แบคทีเรียหรือปรสิต เป็นภาวะที่เรียก กระเพาะและลำไส้เล็กอักเสบ (gastroenteritis) การติดเชื้อเหล่านี้มักได้รับจากอาหารหรือน้ำที่มีการปนเปื้อนอุจจาระ หรือโดยตรงจากบุคคลอื่นที่ติดเชื้อ อาการท้องร่วงอารจแบ่งได้เป็นสามประเภท คือ อาการท้องร่วงเป็นน้ำระยะสั้น อาการท้องร่วงเป็นเลือดระยะสั้น และหากกินเวลานานกว่าสองสัปดาห์จะเป็นอาการท้องร่วงเรื้อรัง อาการท้องร่วงเป็นน้ำระยะสั้นอาจเนื่องจากการติดเชื้ออหิวาตกโรคซึ่งพบยากในประเทศพัฒนาแล้ว หากมีเลือดอยู่ด้วยจะเรียก โรคบิด อาการท้องร่วงมีบางสาเหตุที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อซึ่งมีภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน ภาวะไม่ทนต่อแล็กโทส (แพ้นม) โรคลำไส้อักเสบ ยาจำนวนหนึ่ง และกลุ่มอาการลำไส้ไวเกินต่อการกระตุ้น ในผู้ป่วยส่วนมาก ไม่จำเป็นต้องเพาะเชื้ออุจจาระเพื่อยืนยันสาเหตุแน่ชัด การป้องกันอาการท้องร่วงจากการติดเชื้อทำได้โดยปรับปรุงการสุขาภิบาล มีน้ำดื่มสะอาดและล้างมือด้วยสบู่ แนะนำให้เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อยหกเดือนเช่นเดียวกับการรับวัคซีนโรตาไวรัส สารน้ำเกลือแร่ (ORS) ซึ่งเป็นน้ำสะอาดที่มีเกลือและน้ำตาลปริมาณหนึ่ง เป็นการรักษาอันดับแรก นอกจากนี้ยังแนะนำยาเม็ดสังกะสี มีการประเมินว่าการรักษาเหล่านี้ช่วยชีวิตเด็ก 50 ล้านคนใน 25 ปีที่ผ่านมา เมื่อบุคคลมีอาการท้องร่วง แนะนำให้กินอาหารเพื่อสุขภาพและทารกกินนมแม่ต่อไป หากหา ORS พาณิชย์ไม่ได้ อาจใช้สารละลายทำเองก็ได้ ในผู้ที่มีภาวะขาดน้ำรุนแรง อาจจำเป็นต้องให้สารน้ำเข้าหลอดเลือดดำ ทว่า ผู้ป่วยส่วนมากสามารถรักษาได้ดีด้วยสารน้ำทางปาก แม้ว่ามีการใช้ยาปฏิชีวนะน้อย แต่อาจแนะนำให้ผู้ป่วยซึ่งมีอาการท้องร่วงเป็นเลือดและไข้สูง ผู้ที่มีอาการท้องร่วงรุนแรงหลังท่องเที่ยว และผู้ที่เพาะแบคทีเรียหรือปรสิตบางชนิดขึ้นในอุจจาระ โลเพอราไมด์อาจช่วยลดจำนวนการถ่ายอุจจาระ แต่ไม่แนะนำในผู้ป่วยรุนแรง มีผู้ป่วยอาการท้องร่วงประมาณ 1,700 ถึง 5,000 ล้านคนต่อปี พบมากที่สุดในประเทศกำลังพัฒนาซึ่งเด็กเล็กมีอาการท้องร่วงโดยเฉลี่ย 3 ครั้งต่อปี มีการประเมินยอดผู้เสียชีวิตจากอาการท้องร่วง 1.26 ล้านคนในปี 2556 ลดลงจาก 2.58 ล้านคนในปี 2533 ในปี 2555 อาการท้องร่วงเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่พบมากที่สุดอันดับสองในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี (0.76 ล้านคนหรือ 11%) คราวอาการท้องร่วงบ่อยยังเป็นสาเหตุทุพโภชนาการที่พบมากและเป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดในเด็กอายุน้อยกว่าห้าปี ปัญหาระยะยาวอื่นซึ่งอาจเกิดได้มีการเติบโตช้าและพัฒนาการทางสติปัญญาไม่ดี.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและอาการท้องร่วง · ดูเพิ่มเติม »

อาการใคร่ไม่รู้อิ่ม

อาการใคร่ไม่รู้อิ่ม (hypersexuality) คือ การมีแรงขับทางเพศหรือกิจกรรมทางเพศเพิ่มขึ้นบ่อยหรือเฉียบพลันสุดโต่ง แม้อาการใคร่ไม่รู้อิ่มเกิดได้จากภาวะทางการแพทย์หรือยารักษาโรคบางอย่าง แต่สำหรับผู้ป่วยส่วนมากไม่ทราบสาเหตุ ปัญหาสุขภาพจิตอย่างความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่งสามารถก่อให้เกิดอาการใคร่ไม่รู้อิ่มได้ และแอลกอฮอล์และยาบางชนิดยังสามารถมีผลต่อการยับยั้งทางสังคมและเพศในบางคน มีการใช้แบบจำลองทฤษฎีจำนวนหนึ่งเพื่ออธิบายหรือรักษาอาการใคร่ไม่รู้อิ่ม แบบจำลองที่ใช้มากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสื่อซึ่งเป็นที่นิยม คือ การเข้าสู่การติดทางเพศ แต่นักเพศวิทยายังไม่บรรลุการเห็นพ้องต้องกัน คำอธิบายทางเลือกสำหรับภาวะดังกล่าวมีแบบจำลองพฤติกรรมตามแรงกดดัน (compulsive) และหุนหัน (impulsive) บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ (ICD-10) ขององค์การอนามัยโลก รวม "ความต้องการทางเพศมากผิดปกติ" (รหัส F52.7) ซึ่งแบ่งเป็นอาการใคร่ไม่รู้อิ่มของชาย (satyriasis) และอาการใคร่ไม่รู้อิ่มของหญิง (nymphomania) และ "การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเองมากเกินไป" (รหัส F98.8) กำลังมีการพิจารณาเพื่อรวมข้อเสนอให้รวมการวินิจฉัยที่เรียก ความผิดปกติอาการใคร่ไม่รู้อิ่ม โดยอธิบายอาการง่าย ๆ โดยไม่ส่อความทฤษฎีใดโดยเฉพาะ ในภาคผนวกของ DSM แต่ไม่อยู่ในรายการหลักของการวินิจฉัยอย่างเป็นทางการ สมาคมจิตเวชอเมริกา (APA) ปฏิเสธข้อเสนอเพิ่มการติดทางเพศเข้ารายการความผิดปกติทางจิตเวช คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (DSM) ผู้ประพันธ์บางคนตั้งคำถามว่า การอภิปรายอาการใคร่ไม่รู้อิ่มสมเหตุสมผลหรือไม่ โดยแย้งว่าการตีตราแรงขับทางเพศ "สุดโต่ง" เป็นเพียงการประทับมลทินแก่บุคคลซึ่งไม่ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของวัฒนธรรมหรือกลุ่มระดับเดียวกัน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและอาการใคร่ไม่รู้อิ่ม · ดูเพิ่มเติม »

อาหาร

อาหาร หมายถึงสิ่งที่รับประทานเข้าไป ซึ่งบริโภคเพื่อเสริมโภชนาการให้แก่ร่างกาย อาหารมักมาจากพืชหรือสัตว์ และมีสารอาหารสำคัญ เช่น คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน วิตามิน หรือแร่ธาตุ สิ่งมีชีวิตย่อยและดูดซึมสสารที่เป็นอาหารเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปสร้างพลังงาน คงชีวิต และ/หรือ กระตุ้นการเจริญเติบโต ในอดีต มนุษย์ได้มาซึ่งอาหารด้วยสองวิธีการ คือ การล่าสัตว์และเก็บเกี่ยว (hunting and gathering) และเกษตรกรรม ปัจจุบัน พลังงานจากอาหารส่วนใหญ่ที่ประชากรโลกบริโภคนั้นผลิตจากอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งดำเนินการโดยบริษัทข้ามชาติซึ่งใช้เกษตรประณีต และอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อเพิ่มผลผลิตของระบบให้ได้มากที่สุด สมาคมระหว่างประเทศเพื่อคุ้มครองอาหาร สถาบันทรัพยากรโลก โครงการอาหารโลก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ และสภาข้อมูลอาหารระหว่างประเทศเป็นหน่วยงานเฝ้าสังเกตความปลอดภัยของอาหารและความมั่นคงทางอาหาร องค์การทั้งหลายนี้จัดการกับประเด็นปัญหาอย่างความยั่งยืน ความหลากหลายทางชีวภาพ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เศรษฐศาสตร์สารอาหาร การเติบโตของประชากร ทรัพยากรน้ำ และการเข้าถึงอาหาร สิทธิในการได้รับอาหารเป็นสิทธิมนุษยชนซึ่งกำหนดขึ้นจากกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) โดยตระหนักถึง "สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพอย่างพอเพียง รวมทั้งอาหารที่เพียงพอ" เช่นเดียวกับ "สิทธิขั้นพื้นฐานที่จะปลอดจากความหิวโหย".

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

อาหารกับโรคมะเร็ง

ษณานี้เสนอว่า อาหารที่ถูกสุขภาพจะช่วยป้องกันโรคมะเร็ง อาหารมีผลสำคัญต่อความเสี่ยงโรคมะเร็ง โดยอาหารบางอย่างอาจเพิ่มและบางอย่างอาจลดความเสี่ยง และโดยรวม ๆ แล้ว ปัจจัยต่าง ๆ รวมทั้งอาหาร การไม่ออกกำลังกาย และโรคอ้วนอาจจะสัมพันธ์กับความตายจากมะเร็งในอัตราถึง 30-35% แต่ก็มีงานทบทวนวรรณกรรมปี 2554 ที่เสนอว่า พลังงานจากอาหารที่บริโภคมีอิทธิพลต่ออุบัติการณ์ของมะเร็ง และอาจมีผลต่อการเติบโตของมะเร็งด้วย ไม่ใช่อาหารชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ แม้ว่าจะมีคำแนะนำมากมายหลายอย่างเกี่ยวกับอาหารเพื่อลดความเสี่ยงต่อมะเร็ง แต่มีน้อยอย่างที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ดี แต่ทั้งโรคอ้วนและการดื่มเหล้า มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นเหตุของมะเร็ง ดังนั้น รายงานปี 2557 ขององค์การอนามัยโลก จึงแนะนำให้ลดการบริโภคเครื่องดื่มหวาน ๆ เพื่อแก้ปัญหาโรคอ้วน แม้ว่าอาหารที่มีผักผลไม้น้อยและมีเนื้อแดงมากอาจเป็นปัจจัยเสี่ยง แต่ก็ยังไม่มีการยืนยันที่ชัดเจน และอาจมีผลน้อยต่อบุคคลที่ทานอาหารสมบูรณ์และมีน้ำหนักที่เหมาะสม แต่ก็มีอาหารบางประเภทโดยเฉพาะ ที่สัมพันธ์กับมะเร็งบางอย่าง คือ มีงานศึกษาที่สัมพันธ์การบริโภคเนื้อแดง หรือเนื้อที่ผ่านกรรมวิธีการผลิตเพื่อเพิ่มรสชาติหรือเพื่อให้เก็บได้นาน (processed meat) กับการเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็งตับอ่อน ซึ่งอธิบายเป็นบางส่วนได้ว่าเป็นเพราะมีสารก่อมะเร็งที่เกิดขึ้นเพราะผ่านความร้อนสูง และเพราะมีอะฟลาทอกซินที่เป็นสารปนเปื้อนสามัญและทำให้เกิดมะเร็งตับ ส่วนการดื่มกาแฟสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งตับที่ต่ำกว่า การเคี้ยวหมากก่อให้เกิดมะเร็งปาก และการบริโภคอาหารที่ต่าง ๆ กันอาจอธิบายอุบัติการณ์ของมะเร็งที่ต่าง ๆ กันในประเทศต่าง ๆ ได้โดยบางส่วน ยกตัวอย่างเช่น มะเร็งกระเพาะอาหารเป็นเรื่องสามัญกว่าในประเทศญี่ปุ่นเพราะทานอาหารที่เค็มกว่า และมะเร็งลำไส้ใหญ่เกิดขึ้นอย่างสามัญกว่าในสหรัฐอเมริกา ผู้ที่อพยพย้ายถิ่นฐานมักจะเกิดความเสี่ยงต่อโรคมะเร็งเหมือนกับคนพื้นเมือง บางครั้งแม้ภายในชั่วยุคคนเดียว ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ที่สำคัญระหว่างอาหารกับมะเร็ง คำแนะนำทางอาหารเพื่อป้องกันโรคมะเร็งปกติจะรวมการรักษาน้ำหนักตัว การรับประทานพืชผักผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ขัดสี และปลา เป็นหลัก และการลดการบริโภคเนื้อแดง ไขมันสัตว์ และน้ำตาล.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและอาหารกับโรคมะเร็ง · ดูเพิ่มเติม »

อิปเซน

อิปเซน (Ipsen) เป็นบริษัทยาในกรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและอิปเซน · ดูเพิ่มเติม »

อุทกภัยในประเทศปากีสถาน พ.ศ. 2553

อุทกภัยในประเทศปากีสถาน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและอุทกภัยในประเทศปากีสถาน พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

อู๋ อี๋

มาดามอู๋ อี๋ มาดามอู๋ อี๋ (ภาษาจีน: 吴仪,พินอิน: Wú Yí) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2481 ในมณฑลหวู่ฮั่น ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นหนึ่งในสี่รองนายกรัฐมนตรีของจีน นอกจากนี้ นิตยสารฟอบส์ (Forbes) จัดให้เป็นสตรีที่ทรงอำนาจอันดับสองของโลก ทั้งในปี พ.ศ. 2547 และ พ.ศ. 2548 (รองจากกอนโดลีซซา ไรซ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา) เมื่อเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและอู๋ อี๋ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การระหว่างประเทศ

องค์การระหว่างประเทศ (international organisation) หมายถึง องค์การที่ประเทศหรือรัฐตั้งแต่สองรัฐขึ้นไปรวมกัน จัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นกลไกอย่างหนึ่งในการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งสนับสนุนความร่วมมือและพัฒนากิจกรรมต่างๆเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมของรัฐสมาชิกและมวลมนุษยชาต.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและองค์การระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาโลเทน

ลเทน (Halothane) หรือชื่อทางการค้าคือ ฟลูโอเทน (Fluothane) เป็นยาสลบประเภททั่วไป รับโดยการสูดดมใช้เพื่อทำให้เกิดภาวะไร้ความรู้สึก ยาสงบชนิดนี้มีข้อดีกว่าชนิดอื่นตรงที่ไม่เพิ่มปริมาณน้ำลายซึ่งเป็นอุปสรรคในผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ อาการข้างเคียงของการใช้ฮาโลเทน ได้แก่ อัตราชีพจรผิดปกติ, หายใจลำบาก และโรคตับ ยาชนิดนี้สามารถใช้กับผู้ป่วยที่มีอาการตัวร้อนหรือมีประวัติตัวร้อนสูงขั้นรุนแรงได้ ยังไม่เป็นที่สรุปว่ายาประเภทนี้ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่ อย่างไรก็ตาม ยาชนิดนี้ไม่ถูกแนะนำให้ใช้ในการผ่าท้องทำคลอด ฮาโลเทนถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและฮาโลเทน · ดูเพิ่มเติม »

ผลิตภัณฑ์ประมง

ปลาหลังเขียวในน้ำมันบรรจุกระป๋อง หนึ่งในผลิตภัณฑ์ประมงประเภทอาหาร ผลิตภัณฑ์ประมง (Fishery Products) หมายถึง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและผลิตภัณฑ์ประมง · ดูเพิ่มเติม »

ผลต่อสุขภาพจากเสียง

การจราจรเป็นแหล่งมลภาวะทางเสียงหลักในเมือง ผลต่อสุขภาพจากเสียง (Noise health effects) เป็นผลต่าง ๆ จากการได้รับเสียงดังจากที่ทำงานหรือที่อื่น ๆ ซึ่งอาจทำให้การได้ยินพิการ เกิดความดันสูง โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ ความรำคาญ และปัญหาในการนอน นอกจากนั้น ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน และความพิการของทารกแรกเกิด อาจมีเหตุจากเสียงดัง แม้ว่า หูตึงเหตุสูงอายุ (presbycusis) ก็อาจเกิดตามธรรมชาติได้เหมือนกัน แต่ว่าในประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศ ปัญหาสะสมจากเสียงก็พอสร้างความเสียหายต่อประชากรเป็นจำนวนมากภายในชั่วชีวิตแล้ว การได้รับเสียงดังยังก่ออาการเสียงในหู (tinnitus) ความดันสูง การตีบของหลอดเลือด (vasoconstriction) และปัญหาทางหัวใจหลอดเลือดอื่น ๆ นอกจากผลเหล่านี้ เสียงดังยังสามารถทำให้เครียด เพิ่มอัตราอุบัติเหตุในที่ทำงาน และก่อความก้าวร้าวและพฤติกรรมต้านสังคมอื่น ๆ แหล่งเสียงที่สำคัญที่สุดคือจากรถยนต์กับเครื่องบิน การฟังเสียงดนตรีดัง ๆ บ่อย ๆ และเสียงจากอุตสาหกรรม ในประเทศนอร์เวย์ เสียงจราจรพบว่า เป็นเหตุต่อความรำคาญเสียงถึง 88% ที่รายงาน เสียงอาจจะมีผลให้เกิดโรคจิตอีกด้วย เช่น เสียงประทัดอาจทำทั้งสัตว์เลี้ยงสัตว์ป่า หรือบุคคลที่ได้รับความบอบช้ำทางจิตใจให้แตกตื่น (คนที่บอบช้ำทางจิตใจรวมทั้งคนที่ผ่านสงครามมา) แต่เพียงแค่กลุ่มคนเสียงดังก็อาจจะก่อการร้องทุกข์หรือปัญหาพฤติกรรมอื่น ๆ แล้ว แม้ทารกก็ตื่นเสียงได้ง่ายอีกด้วย ค่าเสียหายทางสังคมเนื่องจากเสียงจราจรในประเทศยุโรป 22 ประเทศอาจมีค่าถึง 4 หมื่นล้านยูโรต่อปีโดยปี 2550 (ประมาณ 1.5 ล้านล้านบาท) โดยรถโดยสารและรถบรรทุกเป็นเหตุหลักของปัญหา เสียงจราจรอย่างเดียวทำให้สุขภาพของคนเกือบ 1/3 ในเขตยุโรปเสียหาย โดยประชากรยุโรป 1 ใน 5 จะได้รับเสียงตอนกลางคืนเป็นปกติในระดับที่อาจทำให้สุขภาพเสียหายอย่างสำคัญ เสียงยังเป็นอัตรายต่อระบบนิเวศทั้งทางบกและทางน้ำอีกด้ว.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและผลต่อสุขภาพจากเสียง · ดูเพิ่มเติม »

จรัส สุวรรณเวลา

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ จรัส สุวรรณเวลา เป็นข้าราชการชาวไทย ประธานกรรมการคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอดีตนายกสภาและอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและจรัส สุวรรณเวลา · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

จูน โรส เบลลามี

ูน โรส เบลลามี (June Rose Bellamy) หรือชื่อพม่า ยะดะหน่า นะ-เม (ရတနာနတ်မယ် "เทพีแห่งนพรัตน์"; 1 มิถุนายน ค.ศ. 1931) เป็นภริยาคนที่สี่ของนายพลเน วิน ผู้นำเผด็จการทหารชาวพม.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและจูน โรส เบลลามี · ดูเพิ่มเติม »

ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา

ตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ศาสตราจารย์สาขาประสาทวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการโรคทางสมอง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผู้อำนวยการศูนย์โรคติดเชื้อ โรคอุบัติใหม่ สภากาชาดไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและธีระวัฒน์ เหมะจุฑา · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารโลก

นาคารโลก (World Bank) หรือเรียกว่า ธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและวิวัฒนาการ (International Bank for Reconstruction and Development; IBRD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ได้จัดตั้งขึ้นมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยประเทศมหาอำนาจในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยให้ประเทศสมาชิกได้ทำการฟื้นฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยมุ่งเน้นการลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและเร่งรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นองค์กรอยู่ในสังกัดขององค์การสหประชาชาติ มีสำนักงานใหญ่ตั้งที่กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 188 ประเทศ เงินทุนของธนาคารโลกได้มาจากการจำหน่ายพันธบัตรในตลาดการเงินสำคัญของโลก ค่าบำรุงจากประเทศสมาชิก และเงินค่าหุ้นของประเทศสมาชิก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและธนาคารโลก · ดูเพิ่มเติม »

ถุงยางอนามัยสตรี

งยางอนามัยสตรีหรือถุงยางอนามัยผู้หญิง (female condom, femidom, internal condom) เป็นอุปกรณ์คุมกำเนิดแบบสิ่งขีดขวางที่ใช้ระหว่างการมีเพศสัมพันธ์ เพื่อลดความเสี่ยงของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น หนองในแท้ โรคซิฟิลิส และเอชไอวี ถึงแม้ประสิทธิภาพในการป้องกันโรคและป้องกันการตั้งครรภ์จะน้อยกว่าถุงยางอนามัยชาย ถุงยางอนามัยสำหรับสตรีคิดค้นโดยแพทย์ชาวเดนมาร์ก Lasse Hessel ใช้โดยการใส่ภายในร่างกายผู้หญิงเพื่อเป็นอุปกรณ์ป้องกันทางกายภาพจากน้ำอสุจิหรือของเหลวอื่น และยังสามารถส่วมใสโดยผู้รับการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก ถุงยางอนามัยสำหรับสตรีบาง นิ่ม หลวมและมีวงแหวนที่ยืดได้ทั้งสองฝั่ง และมีหลายขนาด สำหรับพวกเขาจะเข้ามาในหลากหลายขนาดนี้ สำหรับช่องคลอดส่วนใหญ่จะใช้ถุงยางอนามัยที่มีขนาดปานกลาง แต่ผู้หญิงที่เพิ่งคลอดควรลองขนาดใหญ่ก่อน ควงแหวนด้านในที่ด้านท้ายสุดของปลอกใช้ใส่ถุงยางอนามัยภายในช่องคลอดและยึดไว้ในตำแหน่งระหว่างการมีเพศสัมพันธ์ วงแหวนนอกที่ปลายเปิดของปลอกยังคงอยู่นอกช่องคลอดและครอบคลุมส่วนของอวัยวะเพศภายนอก ถุงยางอนามัยหญิงได้รับการพัฒนาขึ้นในปลายศตวรรษที่ 20 (ถุงยางอนามัยชายถูกใช้มานานหลายศตวรรษแล้ว) เแรงจูงใจหลักของการสร้างคือการปฏิเสธของผู้ชายบางคนในการใช้ถุงยางอนามัยเนื่องจากการสูญเสียความรู้สึกและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับการแข็งตัวขององคชาติและโดยนัยที่ชายสามารถส่งต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพัน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและถุงยางอนามัยสตรี · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีความผูกพัน

ำหรับทั้งทารกและเด็กหัดเดิน "เป้าหมาย" ของระบบความผูกพันโดยพฤติกรรมก็เพื่ออยู่ใกล้ ๆ กับคนที่ผูกพัน ปกติเป็นพ่อแม่ ทฤษฎีความผูกพัน (Attachment theory) หรือ ทฤษฎีความผูกพันทางอารมณ์ เป็นแบบจำลองทางจิตวิทยาเพื่อกำหนดพลศาสตร์ของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ทั้งในระยะยาวระยะสั้น แต่ว่า "ทฤษฎีความผูกพันไม่ได้ตั้งเป็นทฤษฎีทั่วไปของความสัมพันธ์ (แต่) ใช้กล่าวถึงด้าน ๆ หนึ่งเพียงเท่านั้น" คือ การตอบสนองของมนุษย์ภายในสัมพันธภาพเมื่อเจ็บ ถูกพรากจากคนรัก หรือว่ารู้สึกอันตราย โดยพื้นฐานแล้ว ทารกอาจผูกพันกับคนเลี้ยงคนไหนก็ได้ แต่ว่า คุณลักษณะของความสัมพันธ์กับ/ของแต่ละคนจะแตกต่างกัน ในทารก ความผูกพันโดยเป็นส่วนของระบบแรงจูงใจและพฤติกรรมจะสั่งการให้เด็กเข้าไปอยู่ใกล้ชิดกับคนดูแลที่คุ้นเคยเมื่อตกใจ โดยคาดหวังว่าจะได้การคุ้มครองและการปลอบใจ บิดาของทฤษฎีผู้เป็นนักจิตวิทยาทรงอิทธิพลชาวอังกฤษจอห์น โบลบี้ เชื่อว่า ความโน้มเอียงของทารกวานร (รวมทั้งมนุษย์) ที่จะผูกพันกับคนเลี้ยงที่คุ้นเคย เป็นผลของความกดดันทางวิวัฒนาการ เพราะว่าพฤติกรรมผูกพันอำนวยให้รอดชีวิตเมื่อเผชิญกับอันตรายเช่นการถูกล่าหรือต้องเผชิญกับสิ่งแวดล้อม หลักสำคัญที่สุดของทฤษฎีก็คือว่า ทารกจำเป็นต้องสร้างความสัมพันธ์กับคนเลี้ยงหลักอย่างน้อยหนึ่งคนเพื่อให้เกิดพัฒนาการทางสังคมและทางอารมณ์ได้อย่างสำเร็จ โดยเฉพาะการเรียนรู้เพื่อควบคุมอารมณ์ตนเองอย่างมีประสิทธิผล พ่อหรือคนอื่น ๆ มีโอกาสกลายเป็นผู้ผูกพันหลักถ้าให้การดูแลเด็กและปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่สมควรโดยมากที่สุด เมื่อมีคนดูแลที่ไวความรู้สึกและตอบสนองต่อเด็ก ทารกจะอาศัยคนดูแลเป็น "เสาหลัก" เมื่อสำรวจสิ่งแวดล้อม ควรจะเข้าใจว่า "แม้คนดูแลที่ไวความรู้สึกจะรู้ใจถูกก็ประมาณแค่ 50% เพราะการสื่อสารอาจจะไม่ลงรอยกัน ไม่สมกัน บางครั้งพ่อแม่ก็อาจรู้สึกเหนื่อยหรือสนใจเรื่องอื่นอยู่ มีโทรศัพท์ที่ต้องรับหรืออาหารเช้าที่จะต้องทำ กล่าวอีกอย่างก็คือ ปฏิสัมพันธ์ที่เข้ากันอย่างดีอาจเสียไปได้อย่างบ่อยครั้ง แต่ลักษณะของคนดูแลที่ไวความรู้สึกคนแท้ก็คือ ความเสียหายนั้นจะได้การบริหารหรือซ่อมแซม" ความผูกพันระหว่างทารกกับผู้ดูแลเกิดขึ้นแม้เมื่อคนดูแลไม่ไวความรู้สึกและไม่ตอบสนองต่อเด็ก ซึ่งทำให้มีผลตามมาหลายอย่าง คือ ทารกจะไม่สามารถออกจากความสัมพันธ์กับคนดูแลที่ไว้ใจไม่ได้หรือไม่ไวความรู้สึก ทารกจะต้องบริหารเองเท่าที่ทำได้ภายในความสัมพันธ์เช่นนี้ โดยอาศัยเกณฑ์วิธีสถานการณ์แปลก (Strange situation) งานวิจัยของนักจิตวิทยาพัฒนาการชาวอังกฤษ ดร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและทฤษฎีความผูกพัน · ดูเพิ่มเติม »

ทักษะชีวิต

ทักษะชีวิต (Life skills) เป็นสมรรถภาพในการมีพฤติกรรมที่เป็นการปรับตัวที่ดี ซึ่งช่วยให้มนุษย์รับมือกับความจำเป็น/ความต้องการและปัญหาของชีวิต หรือกล่าวอีกอย่างก็คือ เป็นสามัตถิยะทางจิต-สังคม (psychosocial competency) มีทักษะจำนวนหนึ่งที่จะได้จากการสอนหรือการปฏิบัติโดยตรงเพื่อใช้ไขปัญหาและคำถามที่มีอยู่ทั่วไปในชีวิตประจำวัน ทักษะที่ว่าจะต่างกันไปขึ้นอยู่กับค่านิยมและความคาดหวังของสังคม แต่ทักษะที่ช่วยให้อยู่เป็นสุข (well-being) และช่วยให้พัฒนาเป็นสมาชิกทางสังคมที่มีส่วนและก่อประโยชน์ จะพิจารณาว่าเป็นทักษะชีวิต.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและทักษะชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

ทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริกา พ.ศ. 2554

ทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริก..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและทุพภิกขภัยในจะงอยแอฟริกา พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

ทุพโภชนาการ

ทุพโภชนาการ (malnutrition) เป็นภาวะซึ่งเกิดขึ้นจากการรับประทานอาหารไม่สมดุลกัน โดยอาจมีสารอาหารบางอย่างได้รับไม่เพียงพอ เกิน หรือผิดสัดส่วน ผลอาจทำให้เกิดความผิดปกติทางโภชนาการต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับว่าสารอาหารที่ได้รับนั้นขาดหรือเกิน องค์การอนามัยโลกกล่าวถึงทุพโภชนาการว่าเป็นภัยคุกคามร้ายแรงที่สุดต่อสาธารณสุขของโลก การปรับปรุงสารอาหารถูกมองอย่างกว้างขวางว่าเป็นรูปแบบการช่วยเหลือที่มีประสิทธิภาพสูงสุด มาตรการฉุกเฉินมีทั้งการจัดสารอาหารรองที่ขาดโดยใช้ผงกระแจะ (sachet powder) เสริมอาหาร เช่น เนยถั่ว หรือผ่านผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโดยตรง แบบจำลองการบรรเทาทุพภิกขภัยได้มีการใช้เพิ่มขึ้นโดยกลุ่มช่วยเหลือ ที่เรียกร้องให้ส่งเงินหรือคูปองเงินสดแก่ผู้หิวโหยเพื่อจ่ายชาวนาท้องถิ่น แทนที่จะซื้ออาหารจากประเทศผู้บริจาค ซึ่งมักกำหนดโดยกฎหมาย เพราะจะเสียเงินไปกับค่าขนส่ง มาตรการระยะยาวรวมถึงการลงทุนในเกษตรกรรมสมัยใหม่ในที่ซึ่งขาดแคลน เช่น ปุ๋ยและชลประทาน ซึ่งกำจัดความหิวโหยได้อย่างใหญ่หลวงในประเทศพัฒนาแล้ว อย่างไรก็ดี ธนาคารโลกตำหนิหน่วยงานของรัฐที่จำกัดชาวนาอย่างรุนแรง และการขยายการใช้ปุ๋ยถูกขัดขวางโดยกลุ่มสิ่งแวดล้อมบางกลุ่ม.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและทุพโภชนาการ · ดูเพิ่มเติม »

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี

ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดิม สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี; ประสูติ: 5 เมษายน 2494) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระเชษฐภคินีพระองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร หลังจากทรงสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ณ สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว ทรงประกาศลาออกจากฐานันดรศักดิ์เป็นสามัญชน เพื่อเข้าพระพิธีเสกสมรสกับปีเตอร์ แลดด์ เจนเซนในพระบรมหาราชวังตามพระราชประเพณี แล้วเสด็จไปประทับด้วยพระสวามี ณ สหรัฐอเมริกาเมื่อ..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี · ดูเพิ่มเติม »

ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม

้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม (Genetically modified food controversies) เป็นความขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์อย่างอื่น ๆ ที่ทำมาจากพืชดัดแปรพันธุกรรม ไม่ใช่จากพืชปลูกโดยวิธีตามที่เคยทำมาก่อน (คือแบบธรรมดา) และในเรื่องการใช้พันธุวิศวกรรมแบบอื่น ๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร เป็นความขัดแย้งกันระหว่างผู้บริโภค เกษตรกร บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ องค์กรควบคุมของรัฐ องค์การนอกภาครัฐ และนักวิทยาศาสตร์ ข้อโต้เถียงสำคัญรวมทั้ง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ดอกซีไซคลีน

อกซีไซคลีน (Doxycycline) เป็นยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งที่มีข้อบ่งใช้สำหรับรักษาโรคติดเชื้อหลายชนิดที่มีสาเหตุมาจากแบคทีเรียและโปรโตซัว ยานี้มีประโยชน์เป็นอย่างมากในการรักษาโรคปอดอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย, สิว, การติดเชื้อคลามัยเดีย, ระยะเริ่มต้นของโรคไลม์, อหิวาตกโรค และซิฟิลิส นอกจากนี้ยังมีการใช้ดอกซีไซคลีนในการรักษามาลาเรีย ซึ่งเป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อจำพวกโปรโตซัว โดยให้ยานี้ร่วมกับควินิน และอาจใช้ดอกซีไซคลีนเพื่อเป็นการป้องกันมาลาเรียสำหรับผู้ที่มีความจำเป็นต้องเดินทางเข้าพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคได้ ดอกซีไซคลีนเป็นยาปฏิชีวนะอีกชนิดหนึ่งที่มีการใช้อย่างแพร่หลายเนื่องจากมีราคาถูกและสามารถบริหารยาโดยการรับประทานได้ ในรายที่มีอาการของโรครุนแรงอาจจำเป็นต้องได้รับการบริหารยาโดยการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ดอกซีไซคลีนเป็นยาปฏิชีวนะอีกชนิดหนึ่งที่มีขอบเขตการออกฤทธิ์กว้าง (Broad-spectrum antibiotic) โดยยานี้จะฆ่าแบคทีเรียและโปรโตซัวที่ไวต่อยานี้ด้วยการยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการขยายพันธุ์ของเซลล์ ทำให้เซลล์จุลชีพเป้าหมายตายไปในที่สุด อย่างไรก็ตาม การใช้ดอกซีไซคลีนในการรักษานี้อาจก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ขึ้นได้เช่นเดียวกันกับยาชนิดอื่นๆ โดยอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นได้บ่อยจากการใช้ยานี้ ได้แก่ ท้องเสีย, คลื่นไส้, อาเจียน, ผื่นแดง, และผิวไวต่อแสงมากขึ้น ทำให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดผิวไหม้จากแสงแดด (sunburn) เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ การใช้ดอกซีไซคลีนในหญิงตั้งครรภ์หรือในเด็กอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนสีของฟันทารกหรือเด็กเป็นสีเทาหรือน้ำตาลอย่างถาวรได้ ส่วนการใช้ยานี้ในหญิงที่กำลังให้นมบุตรนั้นค่อนข้างมีความปลอดภัย เนื่องจากดอกซีไซคลีนถูกขับออกทางน้ำนมได้น้อยมาก ดอกซีไซคลีนได้รับการจดสิทธิบัตรในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและดอกซีไซคลีน · ดูเพิ่มเติม »

ดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต

ัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต (ultraviolet index) หรือ ดัชนียูวี (UV Index) เป็นการวัดมาตรฐานระดับสากลในเรื่องของการเผาของแดดโดยการแผ่รังสี ของรังสีอัลตราไวโอเลต ในพื้นที่หรือเวลานั้น ๆ หน่วยวัดได้รับการพัฒนาโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวแคนาดาในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและดัชนีรังสีอัลตราไวโอเลต · ดูเพิ่มเติม »

ดิช็อกซิน

็อกซิน (Digoxin) หรือชื่อทางการค้าคือ ลาน็อกซิน (Lanoxin) เป็นยาในกลุ่มคาร์ดิแอกไกลโคไซด์ ใช้สำหรับโรคระบบหัวใจหลอดเลือด อาทิ หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ, หัวใจสั่นระรัว และภาวะหัวใจวาย สามารถรับยานี้ได้โดยการรับประทานหรือฉีดเข้าหลอดเลือดดำ การใช้ยาเกินขนาดจะส่งผลให้เกิดอาการเต้านมโต และอาจมีอาหารอื่นร่วมด้วยอาทิ ไม่อยากอาหาร, คลื่นไส้, มองไม่ชัด, จิตสับสน และหัวใจเต้นผิดจังหวะ ผู้ที่ไตมีปัญหาและผู้สูงอายุควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษ ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่ายานี้ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่ ดิช็อกซินถูกคิดค้นขึ้นในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและดิช็อกซิน · ดูเพิ่มเติม »

คลอไฟเบรต

ลอไฟเบรต (Clofibrate) เป็นสารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีฤทธิ์ลดระดับไขมันในกระแสเลือด ด้วยคุณสมบัตินี้จึงมีการนำเอาคลอไฟเบรตมาใช้ในทางการแพทย์เพื่อควบคุมระดับคอเลสเตอรอล (cholesterol) และไตรเอซิลกลีเซอไรด์ (triacylglyceride) ในกระแสเลือด โดยสารประกอบอินทรีย์ชนิดนี้จะออกฤทธิ์เพิ่มการทำงานของเอนไซม์ไลโปโปรตีนไลเปส (lipoprotein lipase) ทำให้มีการเปลี่ยนคอเลสเตอรอลไลโปโปรตีนชนิดความหนาแน่นต่ำมาก (VLDL) ไปเป็นคอเลสเตอรอลไลโปโปรตีนชนิดความหนาแน่นต่ำ (LDL) มากขึ้น ทำให้ระดับ VLDL ในกระแสเลือดลดลงได้ในที่สุด นอกจากนี้คลอไฟเบรตยังมีคุณสมบัติในการเพิ่มระดับคอเลสเตอรอลไลโปโปรตีนชนิดความหนาแน่นสูง (HDL) อีกด้วย ในปัจจุบันคลอไฟเบรตมีจำหน่ายในชื่อการค้า Atromid-S.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและคลอไฟเบรต · ดูเพิ่มเติม »

คลอไตรมาโซล

ลอไตรมาโซล (Clotrimazole) หรือชื่อทางการค้าคือ คาเนสเท็น (Canesten) เป็นยาต้านเชื้อรา ใช้รักษาช่องคลอดอักเสบจากเชื้อรา, เชื้อราแคนดิดิเอสิสในช่องปาก, ผื่นผ้าอ้อมในทารก, โรคเกลื้อน และโรคจำพวกกลาก (อาทิโรคน้ำกัดเท้า) สามารถรับยานี้โดยวิธีการอมหรือโดยการทาที่ผิวหนังหรือทาในช่องคลอด อาการทั่วไปจากการใช้ยาแบบยาอมได้แก่คลื่นไส้หรือรู้สึกคัน ส่วนยาแบบทาอาจมีปรากฎรอยแดงหรือรอยไหม้ สตรีมีครรภ์สามารถใช้ยานี้แบบรับประทานได้ แต่ยังไม่มีผลศึกษาอย่างจริงจังว่าแบบยาอมจะมีผลต่อทารกหรือไม่ ผู้ที่ตับมีปัญหาควรใช้ยานี้อย่างรอบคอบ คลอไตรมาโซนถูกคิดค้นในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและคลอไตรมาโซล · ดูเพิ่มเติม »

ความภูมิใจแห่งตน

ในสังคมวิทยาและจิตวิทยา ความภูมิใจในตน หรือ ความภูมิใจแห่งตน หรือ การเคารพตนเอง หรือ การเห็นคุณค่าในตัวเอง (self-esteem) เป็นการประเมินคุณค่าตนเองโดยทั่วไปที่เป็นอัตวิสัยและอยู่ในใจ เป็นทั้งการตัดสินและทัศนคติต่อตนเอง ความภูมิใจในตนอาจรวมความเชื่อ (เช่น ฉันเก่ง ฉันมีคุณค่า) และอารมณ์ความรู้สึก เช่น การได้ชัยชนะ ความซึมเศร้า ความภูมิใจ และความอับอาย หนังสือปี 2550 ให้คำนิยามว่า "ความภูมิใจในตนเป็นการประเมินในเชิงบวกหรือเชิงลบเกี่ยวกับตัวเอง คือ เรารู้สึกกับตัวเองอย่างไร" เป็นแนวคิดทางจิตวิทยา (psychological construct) ที่น่าสนใจเพราะว่านักวิจัยเชื่อว่ามันเป็นตัวพยากรณ์ที่ทรงอิทธิพลต่อผลบางอย่าง เช่น การเรียนเก่งS.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและความภูมิใจแห่งตน · ดูเพิ่มเติม »

ความรุนแรง

วามรุนแรง (violence) นิยามโดยองค์การอนามัยโลกว่าเป็น การใช้กำลังหรือพลังทางกายโดยเจตนาต่อตนเอง ผู้อื่น หรือต่อกลุ่มหรือชุมชนอื่น โดยข่มขู่หรือแท้จริง เพื่อให้เกิดหรือมีความเป็นไปได้สูงว่าจะเกิดการบาดเจ็บ การเสียชีวิต การทำร้ายจิตใจ การพัฒนาไม่เพียงพอหรือการริดรอน นิยามนี้เกี่ยวข้องกับเจตนาของการก่อพฤติกรรมนั้น โดยไม่คำนึงถึงผลที่ตามมา ความรุนแรงพรากชีวิตผู้คนทั่วโลกไปมากกว่า 1.5 ล้านคนทุกปี สูงกว่า 50% เป็นเพราะอัตวินิบาตกรรม อีก 35% มาจากฆาตกรรม และอีก 12% เป็นผลโดยตรงมาจากสงครามหรือความขัดแย้งรูปแบบอื่น สำหรับผู้เสียชีวิตหนึ่งคนจากเหตุความรุนแรง ต้องมีการเข้าโรงพยาบาลหลายสิบครั้ง การเยี่ยมแผนกฉุกเฉินหลายร้อยครั้ง และการนัดของแพทย์หลายพันครั้ง ยิ่งไปกว่านั้น ความรุนแรงมักมีผลตลอดชีวิตต่อสุขภาพกายและจิตของเหยื่อ ตลอดจนหน้าที่ทางสังคม และชะลอการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและความรุนแรง · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์เกาหลีเหนือ–ไทย

ทความนี้เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี กับ ราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและความสัมพันธ์เกาหลีเหนือ–ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ความอดอยาก

วามอดอยาก (Starvation) คือภาวะการลดการบริโภคไวตามิน, สารอาหาร และ พลังงานอย่างต่ำลงอย่างผิดปกติ ความอดอยากเป็นรูปแบบที่รุนแรงที่สุดของทุพโภชนาการ ความอดอยากเป็นระยะเวลานานของมนุษย์อาจจะเป็นสร้างความเสียหายให้แก่อวัยวะภายในร่างกายอย่างเป็นการถาวร และผลสุดท้ายก็จะเสียชีวิต องค์การอนามัยโลกว่า ความหิวเป็นศัตรูสำคัญที่สุดของสาธารณสุขของโลก The Starvelings นอกจากนั้นก็ยังกล่าวว่า ทุพโภชนาการเป็นสาเหตุที่ทำให้เด็กเสียชีวิตมากที่สุด คิดเป็นราวครึ่งหนึ่งของจำนวนการเสียชีวิตทั้งหมด ส่วนองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ กล่าวว่าความอดอยากมีผลต่อประชากรกว่า 1,000 ล้านคนทั่วโลกในขณะนี้.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและความอดอยาก · ดูเพิ่มเติม »

ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ

วามผิดปกติทางบุคลิกภาพ (personality disorders, ตัวย่อ PD) เป็นหมวดหมู่ของความผิดปกติทางจิตต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นรูปแบบพฤติกรรม รูปแบบทางประชาน และรูปแบบประสบการณ์ทางใจที่ปรับตัวอย่างไม่เหมาะสม (maladaptive) ที่ยั่งยืน โดยปรากฏในสถานการณ์ต่าง ๆ หลายอย่าง และออกนอกลู่นอกทางอย่างสำคัญจากที่ยอมรับได้ในสังคมและวัฒนธรรมของบุคคลนั้น รูปแบบเหล่านี้จะพัฒนาขึ้นตั้งแต่เบื้องต้นของชีวิต ยืดหยุ่นไม่ได้ และสัมพันธ์กับความทุกข์กับความพิการในระดับสำคัญ แต่ว่านิยามที่จำเพาะอาจจะต่างกันได้แล้วแต่ที่มา เกณฑ์วินิจฉัยความผิดปกติทางบุคลิกภาพอยู่ในคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (DSM) ที่จัดพิมพ์โดยสมาคมจิตเวชอเมริกัน (American Psychiatric Association ตัวย่อ APA) และในหัวข้อ "ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม (mental and behavioral disorders)" ในบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (ตัวย่อ ICD) ที่เผยแพร่โดยองค์การอนามัยโลก DSM-5 รุ่นที่พิมพ์ในปี 2556 กำหนดความผิดปกติทางบุคลิกภาพเช่นเดียวกับความผิดปกติทางจิต (mental disorders) อื่น ๆ แทนที่จะอยู่ใน "axis" ที่ต่างกันตามที่เคยทำมาก่อน ๆ บุคลิกภาพตามนิยามของจิตวิทยา เป็นเซตของลักษณะทางพฤติกรรมและทางจิตที่คงทน ที่ทำให้มนุษย์แต่ละคนต่างกัน ดังนั้น ความผิดปกติทางบุคลิกภาพจึงกำหนดโดยประสบการณ์ (ทางใจ) และพฤติกรรม ที่ต่างจากมาตรฐานและความคาดหวังของสังคม คนผิดปกติเช่นนี้ อาจประสบความยากลำบากทางประชาน (cognition) ความไวอารมณ์ (emotiveness) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (interpersonal functioning) และการควบคุมความหุนหันพลันแล่น (impulse control) โดยทั่วไปแล้ว คนไข้จิตเวชร้อยละ 40-60 จะได้รับวินิจฉัยว่ามีความผิดปกติเช่นนี้ จึงเป็นกลุ่มโรคที่วินิจฉัยบ่อยครั้งที่สุดในบรรดาโรคจิตเวช ความผิดปกติทางบุคลิกภาพกำหนดโดยรูปแบบพฤติกรรมที่คงทน บ่อยครั้งสัมพันธ์กับความขัดข้องในชีวิตส่วนตัว ชีวิตทางสังคม หรือทางอาชีพ นอกจากนั้นแล้ว ความผิดปกติเช่นนี้ยืดหยุ่นไม่ได้ และแพร่กระจายไปในสถานการณ์มากมาย ซึ่งส่วนใหญ่อาจจะมาจากเหตุที่ว่า พฤติกรรมเช่นนี้เข้ากับทัศนคติเกี่ยวกับตน (ego-syntonic) ของบุคคลนั้นได้ ดังนั้น บุคคลนั้นจึงพิจารณาว่าเป็นพฤติกรรมที่เหมาะสม แต่เป็นพฤติกรรมที่อาจมีผลเป็นทักษะจัดการปัญหาและความเครียด (coping skill) ที่ปรับตัวได้อย่างไม่เหมาะสม และนำไปสู่ปัญหาส่วนตัวที่สร้างความวิตกกังวล ความทุกข์ และความเศร้าซึมอย่างรุนแรง รูปแบบพฤติกรรมเช่นนี้จะกำหนดได้ตั้งแต่ช่วงวัยรุ่นและต้นวัยผู้ใหญ่ และในบางกรณีที่พิเศษ ในช่วงวัยเด็ก มีประเด็นปัญหาหลายอย่างในการจัดหมวดหมู่ความผิดปกติทางบุคลิกภาพ คือมีนิยามต่าง ๆ หลายแบบ และเพราะว่าทฤษฎีและการวินิจฉัยเกี่ยวกับความผิดปกติจะต้องเกิดภายในความคาดหวังปกติของสังคม นักวิชาการบางท่านจึงคัดค้านความสมเหตุสมผลของทฤษฎีและการวินิจฉัย เพราะว่าเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องอาศัยมูลฐานบางอย่างที่เป็นอัตวิสัย (subjective) คือพวกเขาอ้างว่า ทฤษฎีและการวินิจฉัยมีมูลฐานอยู่ที่พิจารณาญาณทางสังคม หรือทางสังคม-การเมืองและทางเศรษฐกิจ (ดังนั้น จึงอาจจะไม่ใช่ปัญหาทางการแพทย์).

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและความผิดปกติทางบุคลิกภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ความผิดปกติทางจิต

วามผิดปกติทางจิต หรือ การป่วยทางจิต เป็นรูปแบบทางจิตวิทยาหรือวิกลภาพ ซึ่งอาจสะท้อนออกมาทางพฤติกรรม ที่โดยทั่วไปเกี่ยวข้องกับความทุกข์ทรมาน (distress) หรือความพิการ และไม่ถูกมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของพัฒนาการปกติของวัฒนธรรมของบุคคล ความผิดปกติทางจิตโดยทั่วไปนิยามโดยการรวมว่าบุคคลรู้สึก กระทำ คิดหรือรับรู้อย่างไร ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับบริเวณใดบริเวณหนึ่งหรือการทำหน้าที่ของสมองหรือระบบประสาทส่วนที่เหลือ มักในบริบททางสังคม การยอมรับและการเข้าใจภาวะสุขภาพจิตเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและวัฒนธรรม และยังมีข้อแตกต่างในการนิยาม ประเมินและจำแนกอยู่บ้าง แม้เกณฑ์แนวปฏิบัติมาตรฐานจะใช้กันอย่างกว้างขวางก็ตาม ในหลายกรณี ดูเหมือนจะมีความต่อเนื่องระหว่างสุขภาพจิตและการป่วยทางจิต ทำให้การวินิจฉัยซับซ้อน ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลก ประชาชนกว่าหนึ่งในสามในประเทศส่วนใหญ่รายงานปัญหาที่เกิดขึ้นช่วงใดช่วงหนึ่งในชีวิตของเขา ซึ่งเข้าเกณฑ์การวินิจฉัยประเภทความผิดปกติทางจิตที่พบทั่วไปหนึ่งชนิดหรือมากกว่าWHO International Consortium in Psychiatric Epidemiology (2000), Bulletin of the World Health Organization v.78 n.4 สาเหตุของความผิดปกติทางจิตมีหลากหลายและไม่ชัดเจนในบางกรณี และหลายทฤษฎีอาจรวมเอาการค้นพบจากหลายสาขาเข้าด้วยกัน มีการบริหารอยู่ในโรงพยาบาลจิตเวชหรือในชุมชน และการประเมินกระทำโดยจิตแพทย์ นักจิตวิทยาคลินิก และนักสังคมสงเคราะห์คลินิก โดยใช้หลายวิธี แต่มักอาศัยการสังเกตและการถาม ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตจำนวนมากเป็นผู้ให้การรักษาทางคลินิก จิตบำบัดและการเยียวยาจิตเวชเป็นสองทางเลือกหลักในการรักษา เช่นเดียวกับการแทรกแซงทางสังคม การสนับสนุนจากเพื่อนและการช่วยเหลือตนเอง ในกรณีส่วนน้อยอาจมีการกักขังโดยไม่สมัครใจหรือการรักษาโดยไม่สมัครใจ ตามที่กฎหมายอนุญาต การประทับตราทางสังคม (social stigma) และการเลือกปฏิบัติเพราะสภาพจิต (mentalism หรือ sanism) สามารถซ้ำเติมความทุกข์ทรมานและความพิการที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางจิต (หรือที่ถูกวินิจฉัยหรือตัดสินว่ามีความผิดปกติทางจิต) นำไปสู่ขบวนการทางสังคมจำนวนมากที่พยายามเพิ่มความเข้าใจและคัดค้านการกีดกันทางสังคม ปัจจุบันการป้องกันปรากฏในยุทธศาสตร์สุขภาพจิตบ้างแล้ว.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและความผิดปกติทางจิต · ดูเพิ่มเติม »

ความดันโลหิตสูง

รคความดันโลหิตสูง (hypertension) เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่ผู้ป่วยมีความดันเลือดในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา ความดันเลือดประกอบด้วยสองค่า ได้แก่ ความดันช่วงหัวใจบีบและความดันช่วงหัวใจคลาย ซึ่งเป็นความดันสูงสุดและต่ำสุดในระบบหลอดเลือดแดงตามลำดับ ความดันช่วงหัวใจบีบเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวมากที่สุด ความดันช่วงหัวใจคลายเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวมากที่สุดก่อนการบีบตัวครั้งถัดไป ความดันเลือดปกติขณะพักอยู่ในช่วง 100–140 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจบีบ และ 60–90 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจคลาย ความดันโลหิตสูงหมายถึง ความดันเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอทตลอดเวลา ส่วนในเด็กจะใช้ตัวเลขต่างไป ปกติความดันโลหิตสูงไม่ก่อให้เกิดอาการในทีแรก แต่ความดันโลหิตสูงต่อเนื่องเมื่อผ่านไปเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคหัวใจเหตุความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ท่อเลือดแดงโป่งพอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และโรคไตเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ (ไม่ทราบสาเหตุ) และความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ราวร้อยละ 90–95 จัดเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ หมายถึงมีความดันโลหิตสูงโดยไม่มีเหตุพื้นเดิมชัดเจน ที่เหลืออีกร้อยละ 5–10 จัดเป็นความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิมักมีสาเหตุที่สามารถบอกได้ เช่น โรคไตเรื้อรัง ท่อเลือดแดงหรือหลอดเลือดแดงไตตีบแคบ หรือโรคของต่อมไร้ท่อ เช่น แอลโดสเตอโรน คอร์ติซอลหรือแคทิโคลามีนเกิน อาหารและการเปลี่ยนวิถีชีวิตสามารถช่วยควบคุมความดันเลือดและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนต่อสุขภาพ แม้การรักษาด้วยยายังมักจำเป็นในผู้ที่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตยังไม่พอหรือไม่ได้ผล การรักษาความดันในหลอดเลือดแดงสูงปานกลาง (นิยามเป็น >160/100 มิลลิเมตรปรอท) ด้วยยาสัมพันธ์กับการคาดหมายคงชีพที่เพิ่มขึ้น ประโยชน์ของการรักษาความดันเลือดระหว่าง 140/90 ถึง 160/100 มิลลิเมตรปรอทไม่ค่อยชัดเจน บางบทปริทัศน์ว่าไม่มีประโยชน์ แต่บ้างก็ว่ามี.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและความดันโลหิตสูง · ดูเพิ่มเติม »

ความตาย

กะโหลกศีรษะมนุษย์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งความตาย ความตาย หรือ การเสียชีวิต เป็นการสิ้นสุดการทำหน้าที่ทางชีวภาพอันคงไว้ซึ่งสิ่งมีชีวิต ปรากฏการณ์สามัญที่นำมาซึ่งความตาย ได้แก่ โรคชรา การถูกล่า ทุพโภชนาการ โรคภัย อัตวินิบาตกรรม (การฆ่าตัวตาย) ฆาตกรรม ความอดอยาก การขาดน้ำ และอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บภายในร่างกาย ร่างกายหรือศพของสิ่งมีชีวิตจะเริ่มเน่าสลายไม่นานหลังเสียชีวิต ความตายถือว่าเป็นโอกาสที่เศร้าหรือไม่น่ายินดีโอกาสหนึ่ง สาเหตุมาจากความผูกพันหรือความรักที่มีต่อบุคคลผู้เสียชีวิตนั้น หรือการกลัวความตาย โรคกลัวศพ ความกังวลใจ ความเศร้าโศก ความเจ็บปวดทางจิต ภาวะซึมเศร้า ความเห็นอกเห็นใจ ความสงสาร หรือความโดดเดี่ยว สาเหตุการตายที่พบบ่อยที่สุดคือโรคหัวใจ ตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมอง และโรคเกี่ยวกับเส้นเลือดในสมอง และลำดับที่สามคือภาวะติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจตอนล่าง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและความตาย · ดูเพิ่มเติม »

ความซึมเศร้า (อารมณ์)

วามซึมเศร้า หรือ อารมณ์ซึมเศร้า (Depression) เป็นสภาวะอารมณ์หดหู่และไม่ชอบทำอะไร ๆ ที่อาจมีผลต่อความคิด พฤติกรรม ความรู้สึก และความเป็นอยู่ที่ดีของบุคคล คนซึมเศร้าอาจรู้สึกเศร้า วิตกกังวล ไร้ความหมาย สิ้นหวัง ไม่มีที่พึ่ง ไม่ภูมิใจในตนเอง/ไม่มีค่า รู้สึกผิด หงุดหงิด โกรธ อับอาย หรือกระวนกระวาย อาจจะสูญความสนใจในกิจกรรมที่เคยชอบ ไม่อยากอาหารหรือทานมากเกินไป ไม่มีสมาธิ คอยระลึกถึงรายละเอียดในการตัดสินใจอะไรบางอย่าง มีปัญหาทางความสัมพันธ์ และอาจคิด พยายาม และทำการฆ่าตัวตาย การนอนไม่หลับ การนอนมากเกินไป อ่อนเปลี้ย เจ็บปวด มีปัญหาย่อยอาหาร และมีกำลังน้อยลง ก็อาจเป็นอาการร่วมด้วย อารมณ์ซึมเศร้าเป็นลักษณะอาการทางจิตเวชบางอย่าง เช่น โรคซึมเศร้า (major depressive disorder) แต่ก็อาจะเป็นปฏิกิริยาปกติต่อเหตุการณ์ในชีวิต เช่น สูญเสียคนรัก ถ้าไม่คงยืนเป็นระยะยาว และอาจเป็นอาการเจ็บป่วยทางกาย หรือเป็นผลข้างเคียงของยาหรือการรักษาทางแพทย์บางอย่าง ''Melencolia I'' (ราว พ.ศ. 2057), โดยจิตรกรชาวเยอรมัน อัลเบรชท์ ดือเรอร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและความซึมเศร้า (อารมณ์) · ดูเพิ่มเติม »

ความเจ็บปวดที่เกิดจากจิตใจ

วามเจ็บปวดที่เกิดจากจิตใจ หรือ อาการปวดเหตุจิตใจ (Psychogenic pain, psychalgia) เป็นความเจ็บปวดทางกายที่ปัจจัยทางจิตใจ ทางอารมณ์ และทางพฤติกรรม อาจเป็นเหตุ เป็นตัวเพิ่ม หรือเป็นตัวเกื้อกูลให้คงยืน การปวดศีรษะ ปวดหลัง และปวดท้อง เป็นรูปแบบซึ่งสามัญที่สุดของอาการปวดเหตุจิตใจ และอาจเกิดกับบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตแม้จะน้อย แต่เกิดบ่อยกว่ากับบุคคลที่สังคมไม่ยอมรับ อกหัก เศร้าเสียใจ หรือที่ผ่านเหตุการณ์ซึ่งสร้างความทุกข์อื่น ๆ คนไข้มักมีมลทินทางสังคม เพราะทั้งแพทย์พยาบาลและบุคคลทั่วไป มักคิดว่าความเจ็บปวดแบบนี้ไม่จริง แต่ผู้ชำนาญการจะพิจารณาว่า มันไม่ได้จริงหรือเจ็บน้อยกว่าความเจ็บปวดที่มีเหตุอื่น ๆ องค์กรสากล International Association for the Study of Pain (IASP) นิยามความเจ็บปวดว่า "เป็นประสบการณ์ทางประสาทสัมผัสและทางอารมณ์ ที่สัมพันธ์กับโอกาสหรือการเกิดขึ้นจริง ๆ ของความเสียหายในเนื้อเยื่อ หรือที่บอกโดยใช้คำซึ่งกล่าวถึงความเสียหายเช่นนั้น" Derived from (เพิ่มการเน้น) โดยมีหมายเหตุดังต่อไปนี้ แพทยศาสตร์จัด psychogenic pain หรือ psychalgia ว่าเป็นรูปแบบหนึ่งของความเจ็บปวดเรื้อรัง (chronic pain) ในชื่อว่า "persistent somatoform pain disorder" (โรคเจ็บปวดคงยืนที่มีอาการทางกาย) หรือ functional pain syndrome (อาการเจ็บปวดที่มีผลต่อสรีรภาพหรือจิตใจ) เหตุอาจสัมพันธ์กับความเครียด ความขัดแย้งทางจิตใจที่ไม่ได้ระบาย ปัญหาจิตใจ-สังคม และความผิดปกติทางจิตต่าง ๆ ผู้ชำนาญการบางพวกเชื่อว่า ความเจ็บปวดเรื้อรังชนิดนี้ มีเพื่อเป็นเครื่องล่อใจเพื่อกันอารมณ์ที่เป็นอันตราย เช่นความโกรธและความเดือดดาล ไม่ให้ปรากฏ แต่ก็เป็นเรื่องขัดแย้งกันถ้าจะสรุปว่า ความเจ็บปวดเรื้องรังล้วนเกิดจากเหตุทางจิตใจ การรักษาอาจรวมจิตบำบัด ยาแก้ซึมเศร้า ยาระงับปวด และวิธีการรักษาอื่น ๆ ที่ช่วยการเจ็บปวดเรื้อรังโดยทั่ว ๆ ไป.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและความเจ็บปวดที่เกิดจากจิตใจ · ดูเพิ่มเติม »

ความเป็นชาย

ราคลีส ผู้แสดงถึงความเป็นชายของชาวอพอลโล ความเป็นชาย (masculinity) คือ คุณสมบัติ พฤติกรรมและบทบาทที่เกี่ยวข้องกับเด็กผู้ชายและผู้ชาย โดยสังคมเป็นผู้กำหนดต่างจากความหมายของเพศชายFerrante, Joan (2008), "", in มาตร่ฐานต่างกันไปตามวัฒนธรรมและยุคสมัย ทั้งเพศชายและเพศหญิงสามารถแสดงออกลักษณะและพฤติกรรมของผู้ชายได้ ลัษณะที่แสดงถึงความเป็นชายในสังคมตะวันตกได้แก่ ความกล้าหาญ พึงพาตนเอง ความรุนแรง และการกล้าแสดงออกThomas, R. Murray (2001), "", in ความเป็นลูกผู้ชาย(Machismo)เป็นรูปแบบหนึ่งของความเป็นชายที่เน้นพลังอำนาจและความเป็นชายโดยไม่คำนึงถึงผลกระทบและหน้าที.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและความเป็นชาย · ดูเพิ่มเติม »

คาร์บามาเซพีน

ร์บามาเซพีน (Carbamazepine) หรือชื่อทางการค้าคือ เทเกรทอล (Tegretol) เป็นยาสามัญใช้สำหรับรักษาโรคลมชักและอาการปวดเส้นประสาท แต่ไม่เหมาะสำหรับใช้รักษาโรคชักเหม่อและกล้ามเนื้อกระตุกรัว นอกจากนี้ ยังถูกใช้ควบคู่กับยาอื่นๆในการรักษาโรคจิตเภทและเป็นยารองในการรักษาโรคอารมณ์สองขั้ว ยาคาร์บามาเซพีนมีการทำงานเหมือนกับยาเฟนิโทอินและวาลโปรเอท ผลข้างเคียงจากการใช้ยาคาร์บามาเซพีนได้แก่คลื่นไส้และง่วง ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงได้แก่ เป็นผื่นคัน, ไขกระดูกลดลง, คิดฆ่าตัวตาย หรือเกิดภาวะสับสน ยาชนิดนี้ไม่เหมาะที่จะใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติโรคเกี่ยวกับไขสันหลัง สตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตรควรหลีกเลี่ยงยาชนิดนี้ อย่างไรก็ตาม สตรีมีครรภ์ที่เป็นโรคชักเหม่อไม่ควรหยุดใช้ยาชนิดนี้โดยทันที ผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับไตหรือตับควรใช้อย่างระมัดระวังภายใต้คำแนะนำของแพทย์ ยาชนิดนี้ยังทำให้การได้ยินเสียงผิดเพี้ยนไปจากเดิมได้ด้วย คาร์บามาเซพีนถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและคาร์บามาเซพีน · ดูเพิ่มเติม »

คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดตั้งขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม 2531 เป็นคณะที่ 16 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปัจจุบันทำการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาเท่านั้น.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและคณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นคณะสาธารณสุขแห่งแรกของไทย และมีบทบาทในการวางรากฐานด้านการศึกษาทางสาธารณสุขของประเทศมาโดยตลอ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานระดับคณะวิชาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีพระราชกฤษฎีกาประกาศตั้งเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 มีผลบังคับใช้ในวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2490 ภายใต้มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ จนกระทั่งถูกโอนมาสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ของประเทศไทย ถือกำเนิดจากพระราชปรารภในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 การดำเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์แห่งนี้เริ่มขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลงเพียงแปดเดือนเท่านั้น ถือเป็นช่วงเวลาที่ประเทศไทย ประสบความยากลำบากทางการเมืองและเศรษฐกิจเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งจำเป็นต้องมีการบูรณะบ้านเมืองที่เสียหายจากการทิ้งระเบิด คณะแพทยศาสตร์แห่งนี้จึงมีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการสาธารณสุขของประเทศ ในช่วงเวลาที่ประเทศกำลังอยู่ในภาวะวิกฤต ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานแพทยศาสตรศึกษา ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์ความร่วมมือขององค์การอนามัยโลก 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์ความร่วมมือด้านแพทยศาสตรศึกษา ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยการสืบพันธุ์ของมนุษย์ ศูนย์ความร่วมมือด้านการวิจัยและฝึกอบรมด้านไวรัสและโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดำเนินงานร่วมกับโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทยสภากาชาดไท.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเป็นคณะลำดับที่ 12 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ตับอักเสบ บี

ตับอักเสบ บี (hepatitis B) เป็นโรคตับชนิดหนึ่งที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ซึ่งอาจทำให้เกิดการติดเชื้อได้ทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ผู้ป่วยที่ติดเชื้อครั้งแรกส่วนใหญ่ไม่มีอาการ บางรายจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ตัวเหลือง อ่อนเพลีย ปัสสาวะเข้ม และปวดท้องได้ ส่วนใหญ่อาการเหล่านี้จะเป็นอยู่ประมาณ 2-3 สัปดาห์ และมีเพียงส่วนน้อยที่อาการดำเนินไปอย่างรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตในการติดเชื้อครั้งแรกนี้ ระยะฟักตัวอาจยาวนานได้ถึง 30-180 วัน ผู้ป่วยที่ติดเชื้อนี้ตั้งแต่แรกเกิดจะเกิดตับอักเสบเรื้อรังได้ถึง 90% ในขณะที่ผู้ป่วยที่ติดเชื้อในภายหลังที่อายุมากกว่า 5 ปี จะเกิดตับอักเสบเรื้อรังเพียง 10% ผู้ป่วยตับอักเสบเรื้อรังจากไวรัสตับอักเสบบีส่วนใหญ่จะไม่มีอาการอยู่เป็นเวลานาน แต่ในระยะท้ายๆ อาจเกิดตับแข็งหรือมะเร็งตับขึ้นได้ ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้เป็นสาเหตุการเสียชีวิตถึง 15-25% ของผู้ป่วยตับอักเสบเรื้อรังจากไวรัสบี เชื้อไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคนี้ติดต่อผ่านการสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่ง ในพื้นที่ที่มีความชุกสูง มักพบว่าผู้ป่วยที่พบบ่อยที่สุดคือทารกที่ติดเชื้อจากแม่ในขณะคลอด หรือเด็กที่ได้สัมผัสเลือดของผู้ที่มีเชื้อ ส่วนในพื้นที่ที่มีความชุกต่ำ ผู้ป่วยที่พบบ่อยได้แก่ผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดและผู้ป่วยที่รับเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ได้แก่ การเป็นผู้ให้บริการด้านสุขภาพ (เช่น ทำงานในโรงพยาบาล) การรับเลือด การฟอกเลือด การใช้ชีวิตอยู่กับผู้ติดเชื้อ การเดินทางไปยังประเทศที่มีความชุกของโรคสูง และการเป็นผู้อาศัยในสถานบำบัด ในสมัยคริสตทศวรรษ 1980 มีผู้ป่วยจำนวนมากได้รับเชื้อผ่านการสักและการฝังเข็ม แต่ปัจจุบันเมื่อเทคโนโลยีปลอดเชื้อเจริญรุดหน้ามากขึ้นก็พบผู้ติดเชื้อผ่านช่องทางเหล่านี้น้อยลง เชื้อไวรัสตับอักเสบบีไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการจับมือ ใช้อุปกรณ์ในการกินอาหารร่วมกัน การจูบ การกอด การไอ จาม หรือการให้นมบุตร ปัจจุบันสามารถตรวจพบเชื้อได้เร็วที่สุดประมาณ 30-60 วันหลังได้รับเชื้อ การวินิจฉัยส่วนใหญ่ทำได้โดยการตรวจเลือดหาชิ้นส่วนของไวรัส (แอนติเจน) และการตรวจหาสารภูมิคุ้มกันต่อไวรัสซึ่งสร้างโดยร่างกายของผู้ติดเชื้อ (แอนติบอดี) ไวรัสนี้เป็นไวรัสตับอักเสบชนิดหนึ่งจากทั้งหมด 5 ชนิด ได้แก่ไวรัสตับอักเสบเอ บี ซี ดี และอี ตั้งแต..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและตับอักเสบ บี · ดูเพิ่มเติม »

ซิฟิลิส

ซิฟิลิส (syphilis) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคหนึ่ง มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรีย Treponema pallidum ผู้ป่วยอาจมีอาการได้หลายอย่างขึ้นกับระยะที่เป็น (ระยะแรก ระยะที่สอง ระยะแฝง และระยะที่สาม) ระยะแรกผู้ป่วยมักมีแผลริมแข็ง ซึ่งจะไม่เจ็บ แต่อาจมีแผลเจ็บขึ้นต่างหากได้ ระยะที่สองมักมีผื่นขึ้นทั่วตัว มักพบที่ฝ่ามือและฝ่าเท้า อาจมีแผลเจ็บในปากหรือในช่องคลอดได้ บางครั้งอาจเรียกว่า "ระยะออกดอก"สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ / เล่มที่ 10 / เรื่องที่ 2 โรคติดต่อและโรคเขตร้อน / โรคติดต่อทางเพศสัมพัน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและซิฟิลิส · ดูเพิ่มเติม »

ซิสพลาติน

ซิสพลาติน (Cisplatin) หรือชื่อในอดีตคือ เกลือเปรอน (Peyrone's salt) เป็นยาเคมีบำบัด ออกฤทธิโดยไปยับยั้งการจำลองตัวเองของดีเอ็นเอ ใช้ในการรักษาโรงมะเร็งต่างๆ คือ มะเร็งอัณฑะ, มะเร็งรังไข่, มะเร็งเต้านม, มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ, มะเร็งศีรษะและคอ, มะเร็งปากมดลูก, มะเร็งปอด, มีโซธีลิโอมา, มะเร็งหลอดอาหาร, เนื้องอกที่สมอง และ นิวโรบลาสโตมา สามารถรับยานี้ได้โดยการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ อาการข้างเคียงจากการใช้ยาซิสพลาตินได้แก่ เกิดการกดไขกระดูก, ได้ยินไม่ชัด, ปัญหาเกี่ยวกับไต และ อาเจียน อาหารข้างเคียงระดับรุนแรงได้แก่ อาการชา, เดินลำบาก, ภูมิแพ้ และเป็นโรคระบบหัวใจหลอดเลือด สตรีมีครรภ์ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ ซิสพลาตินถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและซิสพลาติน · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ทองเจริญ

.น.ประเสริฐ ทองเจริญ (เกิด 2 มกราคม พ.ศ. 2476) เป็นผู้ชำนาญไข้หวัดนกและโรคซารส์ (SARS) ผู้เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคทั้งสองนี้เป็นรายแรก ๆ ในเมืองไทย ต่อมาได้เข้ารับรางวัล Public Health Recognition Award จากสมาพันธ์การศึกษาด้านสาธารณสุขแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ในที่ประชุมวิชาการนานาชาติด้านสาธารณสุขภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (38th APACPH Conference) ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 3 - 6..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและประเสริฐ ทองเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซิมบับเว

ซิมบับเว (Zimbabwe) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซิมบับเว (Republic of Zimbabwe) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ทวีปแอฟริกา อยู่ระหว่างแม่น้ำซัมเบซีและแม่น้ำลิมโปโป มีอาณาเขตทิศเหนือติดกับประเทศแซมเบีย ทิศตะวันออกติดกับประเทศโมซัมบิก ทิศตะวันตกติดกับประเทศบอตสวานา และทิศใต้ติดกับประเทศแอฟริกาใต้ มีพื้นที่ประเทศ 390,580 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงคือ กรุงฮาราเร.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและประเทศซิมบับเว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนาอูรู

นาอูรู หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สาธารณรัฐนาอูรู (Republic of Nauru; Ripublik Naoero) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในภูมิภาคไมโครนีเซีย ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก ประเทศนาอูรูตั้งอยู่ใกล้กับเกาะบานาบาของประเทศคิริบาสมากที่สุด โดยอยู่ห่างกัน 300 กิโลเมตร ไปทางตะวันออก ประเทศนาอูรูเป็นประเทศที่มีขนาดเล็กที่สุดในมหาสมุทรแปซิฟิกและเล็กเป็นอันดับ 3 ของโลกรองจากประเทศโมนาโกและนครรัฐวาติกัน โดยมีพื้นที่ และมีประชากรอาศัยอยู่ทั้งสิ้น 9,488 คนcvv ดินแดนที่เป็นประเทศนาอูรูในปัจจุบันมีชาวไมโครนีเซียและโพลินีเซียเข้ามาอยู่อาศัย ในระยะเวลาต่อมาจักรวรรดิเยอรมนีได้ผนวกดินแดนนาอูรูเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติโดยมีออสเตรเลีย นิวซีแลนด์และสหราชอาณาจักรเป็นผู้บริหารกิจการต่าง ๆ ในเกาะแห่งนี้ร่วมกัน ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้ามายึดครองนาอูรู เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุด นาอูรูกลายเป็นดินแดนในภาวะทรัสตีและได้รับเอกราชในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและประเทศนาอูรู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา

ัชกรหญิง ท่านผู้หญิง ปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา เกิดเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 เป็นเภสัชกรชาวไทย เป็นบุตรีของพระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์) และคุณหญิงจำรัส วิทุรธรรมพิเนตุ (จำรัส ยอดมณี) จบการศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2499 เป็นผู้เชี่ยวชาญองค์การอนามัยโลกด้านเภสัชตำรับสากลและการเตรียมการทางเภสัชกรรม (WHO Expert Advisory Panel on the International Pharmacopoeia and Pharmaceutical) เคยดำรงตำแหน่งสำคัญทางการแพทย์ได้แก่ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา นอกจากนี้ ยังมีบทบาทดำรงตำแหน่งสำคัญทางการเมือง โดยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 และคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ด้านชีวิตส่วนตัว เภสัชกรหญิง ท่านผู้หญิงปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา สมรสกับนายแพทย์ หม่อมราชวงศ์อุดมพร เกษมสันต.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศจีน

มลพิษทางอากาศที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม ประเทศจีนมีปัญหาสิ่งแวดล้อมอยู่หลายด้าน ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมทางชีวกายภาพอย่างรุนแรงเช่นเดียวกับสุขภาพของมนุษย์ การทำให้เป็นอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วตลอดจนการกำกับดูแลด้านสิ่งแวดล้อมที่หละหลวมได้ส่งผลให้เกิดปัญหา โดยโธมัส วี ฮาร์วูด ที่สาม ได้กล่าวว่า มี 16 เมืองที่มีมลพิษเป็นอย่างมาก จากที่มีอยู่ทั้งหมด 20 เมืองในประเทศจีน รัฐบาลจีนรับทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและทำการตอบสนองต่าง ๆ ส่งผลให้มีการปรับปรุงในบางส่วน แต่การตอบสนองดังกล่าวได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ว่าทำได้ไม่เพียงพอ ส่วนปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและปัญหาสิ่งแวดล้อมในประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

นาล็อกโซน

นาล็อกโซน (Naloxone) หรือชื่อทางการค้าคือ นาร์คัน (Narcan) เป็นยาต้านโอปิออยด์ ใช้รักษาอาการที่เกิดจากการรับสารโอปิออยด์เกินขนาด ทั้งนี้ อาจมีการใส่นาล็อกโซนในเม็ดเดียวกันกับยาประเภทโอปิออยด์ เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดการเสพติดโอปิออยด์ การใช้นาล็อกโซนโดยการฉีดเข้าหลอดเลือดดำจะออกฤทธิภายใน 2 นาที, การฉีดเข้ากล้ามเนื้อจะออกฤทธิใน 5 นาที นอกจากนี้ยังสามารถรับยาได้โดยการสูดดมละออง เมื่อรับนาล็อกโซนแล้วจะออกฤทธิไปราวครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมง โดยส่วนมากแล้ว ผู้ป่วยจำเป็นต้องรับนาล็อกโซนหลายครั้งเนื่องจากโอปิออยด์มีฤทธิที่แรงกว่า การใช้นาล็อกโซนในผู้ที่เสพติดโอปิออยด์ อาจทำให้เกิดอาการจากการขาดยา ซึ่งรวมถึง กระสับกระส่าย, อยู่ไม่สุข, คลื่นไส้, อาเจียน, ชีพจรเต้นเร็ว และเหงื่อออก เพื่อป้องกันอาการข้างเคียงเหล่านี้ จึงจำเป็นต้องให้รับนาล็อกโซนในปริมาณที่น้อยๆแต่บ่อยๆแทน ยานี้ควรใช้อย่างระมัดระวังในผู้ป่วยโรคหัวใจ ยานี้ปลอดภัยสำหรับสตรีมีครรภ์ นาล็อกโซนได้รับการจดสิทธิบัตรในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและนาล็อกโซน · ดูเพิ่มเติม »

นิกร ดุสิตสิน

ตราจารย์กิตติคุณ นายแพทย์ นิกร ดุสิตสิน เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2474 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและนิกร ดุสิตสิน · ดูเพิ่มเติม »

น้ำอสุจิ

น้ำอสุจิ น้ำอสุจิ (Semen, seminal fluid) เป็นสารประกอบอินทรีย์เหลวที่อาจมีตัวอสุจิอยู่ ในภาษาบาลี อะ แปลว่าไม่ สุจิ หรือสุจี แปลว่าสะอาด น้ำอสุจิ จึงแปลว่า น้ำที่ไม่สะอาด เป็นน้ำที่หลั่งออกจากอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์และจากอวัยวะทางเพศอื่น ๆ ของสัตว์เพศชาย และสามารถทำการผสมพันธุ์กับไข่ของเพศหญิงได้ ในมนุษย์ น้ำอสุจิมีองค์ประกอบอื่น ๆ นอกจากตัวอสุจิ คือมีเอนไซม์ต่าง ๆ และน้ำตาลประเภทฟรุกโทส ที่ช่วยเลี้ยงตัวอสุจิให้ดำรงรอดอยู่ได้ และเป็นสื่อเพื่อที่ตัวอสุจิจะเคลื่อนที่ หรือ "ว่ายน้ำ" ไปได้ น้ำอสุจิโดยมากเกิดจากต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ"ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ seminal vesicle ว่า "ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ" (หรือมีชื่ออื่นว่า ถุงน้ำอสุจิ, ถุงพักน้ำอสุจิ) ซึ่งเป็นอวัยวะอยู่ที่เชิงกราน แต่ว่าตัวอสุจิเองสร้างจากอัณฑะ ส่วนกระบวนการที่นำไปสู่การปล่อยน้ำอสุจิเรียกว่า การหลั่งน้ำอสุจิ ในมนุษย์ น้ำอสุจิเป็นของเหลวสีขาวข้นที่หลั่งออกโดยผู้ชาย เมื่อถึงจุดสุดยอด เมื่อมีเพศสัมพันธ์ เมื่อมีการสำเร็จความใคร่ หรือเมื่อขับออกตามธรรมชาติที่เรียกว่าฝันเปียก โดยจะมีการหลั่งน้ำอสุจิแต่ละครั้งประมาณ 3-4 ซีซี มีจำนวนตัวอสุจิเฉลี่ยประมาณ 300-500 ล้านตัว.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและน้ำอสุจิ · ดูเพิ่มเติม »

แบคทีเรียดื้อยา

date.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและแบคทีเรียดื้อยา · ดูเพิ่มเติม »

แกล็กโซสมิธไคลน์

แกล็กโซสมิธไคลน์ พีแอลซี (GlaxoSmithKline plc) หรือ GSK เป็นบริษัทยาจากสหราชอาณาจักร มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เบรนต์ฟอร์ด ลอนดอน ในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและแกล็กโซสมิธไคลน์ · ดูเพิ่มเติม »

แล็กทูโลส

แล็กทูโลส (Lactulose) เป็นน้ำตาลที่ดูดซึมไม่ได้และใช้รักษาอาการท้องผูกและโรคสมองเหตุตับ (hepatic encephalopathy) โดยใช้ทานสำหรับท้องผูก และใช้ทานหรือใส่ในไส้ตรงสำหรับโรคสมอง ปกติจะออกฤทธิ์ภายใน 8-12 ชม.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและแล็กทูโลส · ดูเพิ่มเติม »

แวนโคมัยซิน

แวนโคมัยซิน (Vancomycin) เป็นยาปฏิชีวนะ สำหรับรักษาการติดเชื้อจากแบคทีเรีย อาทิ การติดเชื้อบนผิวหนัง, ในกระแสเลือด, ในกระดูก, ในข้อต่อ ตลอดจนเยื่อบุหัวใจอักเสบ และเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากแบคทีเรีย จำเป็นต้องวัดความดันโลหิตก่อนเพื่อคำนวณปริมาณยาที่จะจ่าย สามารถรับยานี้ได้โดยทั้งวิธีฉีดเข้าหลอดเลือดดำและวิธีรับประทาน แต่แบบรับประทานออกฤทธิช้าทำไม่เป็นที่นิยมมากนัก ผลข้างเคียงทั่วไปได้แก่ ปวดในบริเวณที่ติดเชื้อและมีอาการภูมิแพ้ ในบางครั้งอาจมีอาการได้ยินไม่ชัด, ความดันโลหิตต่ำ หรือการกดตัวในไขกระดูก ไม่เป็นที่แน่ชัดว่ายาชนิดนี้เหมาะสมต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่ แต่ยังไม่มีประวัติการส่งทางลบต่อทารก สตรีให้นมบุตรสามารถใช้ยาชนิดนี้ได้อย่างปลอดภัย ยาแวนโคมัยซินเป็นยาปฏิชีวนะประเภทไกลโคเปปไทด์ ทำงานโดยไปขัดขวางการสร้างตัวของผนังเซลล์ แวนโคมัยซินถูกจำหน่ายครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและแวนโคมัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

แอมโลดิพีน

แอมโลดิพีน (Amlodipine) หรือชื่อทางการค้าคือ นอร์วาสค์ (Norvasc) เป็นยาสามัญสำหรับแก้ความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ ทำงานโดยการไปขยายหลอดเลือดแดง ยานี้ถูกใช้แทนยาในกลุ่มแคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์ที่อาจก่อให้เกิดภาวะหัวใจวาย และจะถูกใช้ก็ต่อเมื่อยาชนิดอื่นไม่สามารถแก้ความดันโลหิตสูงและอาการปวดเค้นหัวใจได้แล้ว สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีการรับประทานและจะออกฤทธิได้อย่างน้อยที่สุดยาวถึงหนึ่งวัน ผลข้างเคียงของการใช้แอมโลดิพีนได้แก่ อาการบวมน้ำ, รู้สึกล้า, ปวดท้อง และคลื่นไส้ ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงได้แก่ ใจสั่น, ความดันโลหิตต่ำ หรือกล้ามเนื้อหัวใจตาย ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่ายานี้ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตรหรือไม่ สำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับตับควรใช้ยานี้ในปริมาณแต่น้อย แอมโลดิพีนได้รับการจดสิทธิบัตรในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและแอมโลดิพีน · ดูเพิ่มเติม »

แดพโซน

แดพโซน (Dapsone) หรือ ไดอามิโนไดเฟนิล ซัลโฟน (Diaminodiphenyl sulfone) หรือย่อว่า DDS เป็นยาปฏิชีวนะใช้ร่วมกับยาไรแฟมพิซินและClofazimineเพื่อรักษาโรคเรื้อน และเป็นยารองสำหรับใช้รักษาและป้องกันโรคปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมซิสติส จิโรเวซิไอ และใช้ป้องกันโรคท็อกโซพลาสโมซิสในผู้ป่วยที่เป็นภูมิคุ้มกันบกพร่อง นอกจากนี้ ยังถูกใช้สำหรับรักษาสิว, ผิวหนังอักเสบจากเริม ตลอดจนโรคผิวหนังอื่นๆ สามารถรับยานี้ได้โดยการรับประทาน ผลข้างเคียงทั่วไปอาทิ คลื่นไส้, ไม่อยากอาหาร ผลข้างเคียงขั้นรุนแรงอาทิ เซลล์เม็ดเลือดลดลง หรือ เซลล์เม็ดเลือดแดงแตกตัวในผู้ป่วยที่เป็นโรคพร่องเอนไซม์ G-6-PDหรือโรคภูมิไวเกิน ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับตับควรหลีกเลี่ยงใช้ยานี้ ยังไม่มีการศึกษาในมนุษย์ว่ายาชนิดนี้ปลอดภัยต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่ แดพโซนถูกศึกษาและระบุว่ามีฤทธิเป็นยาปฏิชีวนะใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและแดพโซน · ดูเพิ่มเติม »

แนวคิดปฏิเสธเอดส์

กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแสดงให้เห็นเชื้อเอชไอวี แนวคิดปฏิเสธเอดส์ไม่ยอมรับการมีอยู่ของเชื้อนี้และ/หรือบทบาทของเชื้อนี้กับการเกิดโรคเอดส์ แนวคิดปฏิเสธเอดส์ (AIDS denialism) เป็นมุมมองของกลุ่มคนและองค์กรบางกลุ่มที่ปฏิเสธว่าเชื้อเอชไอวีเป็นสาเหตุของกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมหรือเอดส์Kalichman, 2009, p..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและแนวคิดปฏิเสธเอดส์ · ดูเพิ่มเติม »

โมโนโซเดียมกลูตาเมต

มโนโซเดียมกลูตาเมต (monosodium glutamate) มักเรียกกันว่า ผงชูรส วัตถุเจือปนอาหารประเภทวัตถุปรุงแต่งรสอาหารที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย โมโนโซเดียมกลูตาเมตมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีคุณสมบัติในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น เนื่องจากเมื่อโมโนโซเดียมกลูตาเมตละลายน้ำ จะแตกตัวได้โซเดียมและกลูตาเมตอิสระที่มีสมบัติในการเพิ่มรสชาติอาหาร โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 โมโนโซเดียมกลูตาเมตเป็นสารประกอบประเภทกลูตาเมตซึ่งเป็นเกลือของ กรดกลูตามิก (Glutamic acid) อันเป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่งที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของโปรตีนทั่วไป เช่น โปรตีนในเนื้อสัตว์ โปรตีนในนม และโปรตีนในพืช โดยกลูตาเมตจะจับอยู่กับกรดอะมิโนตัวอื่นๆ เกิดเป็นโครงสร้างของโปรตีน กลูตาเมตที่อยู่ในรูปของโปรตีนจะไม่มีกลิ่นรสและไม่มีคุณสมบัติทำให้เกิดรสอูมามิในอาหาร แต่เมื่อเกิดการย่อยสลายของโปรตีน เช่น เกิดกระบวนการหมัก การบ่ม การสุกงอมของผักและผลไม้ การทำให้สุกด้วยความร้อน จะทำให้กลูตาเมตในโปรตีนเกิดการสลายแยกตัวออกมาเป็นกลูตาเมตอิสระ ซึ่งเป็นตัวที่ทำให้เกิดรสอูมามิในอาหาร นอกจากนี้ ยังได้มีการค้นพบว่าสารที่เกิดจากการย่อยสลายไรโบนิวคลีโอไทด์ในนิวเคลียสของเซลล์สิ่งมีชีวิตซึ่งได้แก่ ไอโนซิเนต(Inosinate) และกัวไนเลต(Guanylate)ก็มีคุณสมบัติให้รสอูมามิเช่นเดียวกับกลูตาเมตอิสระ ยิ่งไปกว่านั้นยังพบว่าไอโนซิเนตและกัวไนเลตมีคุณสมบัติในการเสริมรสอูมามิให้เด่นชัดมากขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับกลูตาเมต โดยผลการเสริมกันนี้มีลักษณะแบบ Synergistic Effect.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโมโนโซเดียมกลูตาเมต · ดูเพิ่มเติม »

โรคพยาธิตาบอด

รคพยาธิตาบอด (Onchocerciasis) ที่รู้จักเช่นกันว่า โรคตาบอดแถบแม่น้ำ (river blindness) และ โรคโรเบิ้ลส์ (Robles disease) เป็นโรคที่มีสาเหตุการติดเชื้อจาก พยาธิปรสิต ที่เรียกว่าOnchocerca volvulus อาการ ได้แก่ อาการคันอย่างรุนแรง ตุ่มใต้ผิวหนังและ ตาบอด โดยเป็นสาเหตุที่พบมากเป็นอันดับสองที่ทำให้เกิดตาบอดจากการติดเชื้อ รองมาจาก ริดสีดวงต.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคพยาธิตาบอด · ดูเพิ่มเติม »

โรคพยาธิใบไม้ในเลือด

รคพยาธิใบไม้ในเลือด (Schistosomiasis) (โรคพยาธิใบไม้ชิสโตโซมา, รู้จักกันในชื่ออื่นๆ ว่า บิลฮาร์เซีย (Bilharzia), ไข้หอยทาก (Snail fever) และ ไข้กาตายามา (Katayama fever)) เป็นโรคที่มีสาเหตุมาจาก หนอนพยาธิ ชนิด ชิสโตโซมา --> เป็นตัวที่อาจทำให้เกิดการติดเชื้อได้ใน ทางเดินปัสสาวะ หรือ ลำไส้ --> อาการที่อาจจะมี ได้แก่ ปวดท้อง ท้องร่วง อุจจาระเป็นเลือดหรือมีเลือดปนใน ปัสสาวะ --> สำหรับผู้ที่ได้ติดเชื้อมาเป็นเวลานาน อาจเกิดภาวะตับเสีย ไตวาย ภาวะเป็นหมัน หรือ มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ได้ --> สำหรับเด็ก โรคดังกล่าวอาจเป็นสาเหตุให้เกิดการเจริญเติบโตช้าและความลำบากในการเรียนรู้ โรคดังกล่าวแพร่กระจายโดยทางการติดต่อสัมผัสกับแหล่งน้ำที่มีพยาธินั้น --> พยาธิเล่านี้จะถูกปล่อยออกมาจาก หอยทากน้ำจืดซึ่งติดเชื้อมาแล้ว --> โรคดังกล่าวมักพบทั่วไปโดยเฉพาะในเด็กที่อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา เนื่องจากมีความเป็นไปได้มากที่พวกเขาจะลงเล่นในแหล่งน้ำที่มีการติดเชื้อ --> กลุ่มความเสี่ยงสูงอื่นๆ ได้แก่ ชาวไร่ชาวนา ชาวประมง รวมทั้งผู้ที่อาศัยแหล่งน้ำทำภาระกิจประจำวันซึ่งเป็นแหล่งน้ำที่มีการติดเชื้อแล้ว โรคดังกล่าวจัดอยู่ในกลุ่ม โรคติดเชื้อหนอนพยาธิ การวินิจฉัยโรคกระทำได้โดยการหาไข่ของพยาธิในปัสสาวะหรืออุจจาระ --> นอกจากนั้นยังสามารถยืนยันโรคได้โดยการหา แอนติบอดี ในเลือดที่ต่อต้านโรคดังกล่าว วิธีการป้องกันโรค ได้แก่ การปรับปรุงแหล่งน้ำสะอาดและลดจำนวนหอยทากลง --> ในบริเวณที่มักพบโรค อาจต้องมีการรักษาทั้งกลุ่มภายในครั้งเดียวกันและทำเป็นประจำทุกปีโดยการให้ยา พราซิควอนเทล --> ทั้งนี้เพื่อลดจำนวนผู้ที่ติดเชื้อ จึงเป็นการลดการแพร่กระจายของโรคไปด้วย --> นอกจากนั้นยาพราซิควอนเทลยังเป็นวิธีการรักษาที่แนะนำโดย องค์การอนามัยโลก สำหรับผู้ที่ทราบชัดว่าติดเชื้อดังกล่าว โรคพยาธิใบไม้ในเลือดส่งผลให้กับคนทั่วโลกเป็นจำนวนเกือบ 210 ล้านคน และประมาณการณ์ว่าในแต่ละปีราว 12,000 ถึง 200,000 คนที่เสียชีวิตด้วยโรคดังกล่าว โรคดังกล่าวพบทั่วไปมากที่สุดใน แอฟริกา เช่นเดียวกับใน เอเชีย และ อเมริกาใต้ มีประมาณ 700 ล้านคนตามประเทศต่างๆ มากกว่า 70 ประเทศที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่โรคดังกล่าวเป็นที่พบทั่วไป โรคพยาธิใบไม้ในเลือดเป็นเพียงที่สองรองจาก โรคมาเลเรีย ในฐานะเป็นโรคทางพยาธิที่มีผลกระทบอย่างใหญ่หลวงที่สุดต่อเศรษฐกิจ ตั้งแต่ครั้งโบราณกาลจนถึงต้นศตวรรษที่ ๒๐ อาการของโรคพยาธิใบไม้ในเลือดคือ เลือดปนในปัสสาวะ ในประเทศ อียิปต์ ถูกมองว่าเป็น ประจำเดือนแบบของเพศชาย จึงได้รับการพิจารณาให้เป็น พิธีผ่านเข้าสู่วงจรชีวิตช่วงต่อไป สำหรับเด็กผู้ชาย มีการจำแนกประเภทโรคดังกล่าวให้เป็น โรคเขตร้อนที่ถูกละเล.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคพยาธิใบไม้ในเลือด · ดูเพิ่มเติม »

โรคพิษสุรา

รคพิษสุรา (alcoholism) เป็นคำกว้าง ๆ หมายถึงการดื่มแอลกอฮอล์แล้วส่งผลต่อปัญหาสุขภาพกายหรือจิต เดิมโรคนี้แบ่งเป็นสองชนิด คือ การดื่มแอลกอฮอล์ในทางที่ผิด (alcohol abuse) และการติดแอลกอฮอล์ (alcohol dependence) ในบริบทการแพทย์ ถือว่าโรคพิษสุรามีเกณฑ์เหล่านี้ตั้งแต่สองข้อขึ้นไป ได้แก่ บุคคลดื่มสุราปริมาณมากเป็นเวลานาน ลดปริมาณการดื่มได้ยาก ใช้เวลานานมากกับการหาและดื่มแอลกอฮอล์ มีความต้องการดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนัก การดื่มทำให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่รับผิดชอบได้ การดื่มทำให้เกิดปัญหาสังคม การดื่มทำให้เกิดปัญหาสุขภาพ การดื่มทำให้เกิดสถานการณ์เสี่ยง มีอาการถอนเมื่อหยุดดื่ม และเกิดความชินแอลกอฮอล์หลังดื่ม สถานการณ์เสี่ยงได้แก่ การดื่มและการขับยานพานหะ หรือมีการร่วมประเวณีที่ไม่ปลอดภัย เป็นต้น การดื่มแอลกอฮอล์มีผลต่อร่างกายทุกส่วน แต่มีผลกระทบต่อสมอง หัวใจ ตับ ตับอ่อนและระบบภูมิคุ้มกันมากเป็นพิเศษ ซึ่งสามารถทำให้เกิดการป่วยทางจิต กลุ่มอาการเวอร์นิกเก–คอร์ซาคอฟ ภาวะหัวใจเสียจังหวะ โรคตับแข็ง และเพิ่มความเสี่ยงของมะเร็งกับโรคกลุ่มอื่น การดื่มแอลกอฮอล์ระหว่างตั้งครรภ์สามารถเป็นอันตรายต่อทารกทำให้เกิดโรคสเปกตรัมทารกพิษสุราในครรภ์ โดยทั่วไปหญิงมีความไวต่อผลต่อกายและจิตท่ี่เป็นอันตรายของแอลกอฮอล์กว่าชาย ปัจจัยสิ่งแวดล้อมและกรรมพันธุ์เป็นสององค์ประกอบที่สัมพันธ์กับโรคพิษสุรา โดยทั้งสององค์ประกอบมีผลอย่างละครึ่ง บุคคลที่มีบิดามารดาหรือพี่น้องที่มีโรคพิษสุรามีความเสี่ยงเป็นโรคพิษสุราเสียเองสูงกว่าบุคคลทั่วไปสามถึงสี่เท่า ปัจจัยสิ่งแวดล้อมได้แก่ อิทธิพลสังคม วัฒนธรรมและพฤติกรรม ระดับความเครียดสูง ความวิตกกังวล ร่วมกับราคาที่ไม่แพงและความหาได้ง่ายยังเพิ่มความเสี่ยงของโรคพิษสุรา บุคคลอาจดื่มต่อไปส่วนหนึ่งเพื่อป้องกันหรือบรรเทาอาการถอน หลังบุคคลหยุดดื่มแอลกอฮอล์ อาจมีอาการถอนระดับต่ำได้นานหลายเดือน ในทางการแพทย์ โรคพิษสุราถือว่าเป็นทั้งโรคทางกายและจิต แบบสำรวจและการทดสอบเลือดบางอย่างอาจตรวจพบบุคคลที่อาจเป็นโรคพิษสุรา มีการเก็บสารสนเทศเพิ่มเติมเพื่อยืนยันการวินิจฉัย มาตรการป้องกันโรคพิษสุราอาจใช้การวางระเบียบและจำกัดการขายแอลกอฮอล์ การจัดเก็บภาษีแอลกอฮอล์เพื่อเพิ่มราคา และการจัดหาการรักษาที่ไม่แพง เนื่องจากปัญหาการแพทย์ที่เกิดได้ระหว่างอาการถอน การถอนพิษแอลกอฮอล์จึงควรมีการควบคุมอย่างระมัดระวัง วิธีที่ใช้กันบ่อยวิธีหนึ่งคือการใช้ยากลุ่มเบนไซไดอะซีพีน เช่น ไดอะซีแพม ซึ่งสามารุให้ระหว่างรับการรักษาในสถานพยาบาล หรือบางครั้งระหว่างที่บุคคลอยู่ในชุมชนโดยมีการควบคุมดูแลใกล้ชิด การป่วยทางจิตหรือการติดสารเสพติดอย่างอื่นอาจทำให้การรักษายุ่งยากขึ้น มีการใช้การสนับสนุนหลังถอนพิษ เช่น การบำบัดกลุ่มหรือกลุ่มสนับสนุนเพื่อป้องกันมิให้บุคคลกลับไปดื่มอีก อาจใช้ยาอะแคมโพรเสต (acamprosate) ไดซัลฟิแรม (disulfiram) หรือนัลเทร็กโซน (naltrexone) เพื่อช่วยป้องกันการดื่มอีก องค์การอนามัยโลกประมาณว่าในปี 2553 มีผู้ป่วยโรคพิษสุรา 208 ล้านคนทั่วไป (ร้อยละ 4.1 ของประชากรอายุมากกว่า 15 ปี) พบบ่อยในชายและผู้ใหญ่ตอนต้น พบน้อยกว่าในวัยกลางคนและวัยสูงอายุ พบน้อยสุดในทวีปแอฟริกา (ร้อยละ 1.1) และสูงสุดในยุโรปตะวันออก (ร้อยละ 11) โรคพิษสุราส่งผลโดยตรงให้เกิดการเสียชีวิต 139,000 คนในปี 2556 เพิ่มขึ้นจาก 112,000 คนในปี 2533 เชื่อว่าการเสียชีวิตรวม 3.3 ล้านคน (ร้อยละ 5.9 ของการเสียชีวิตทั้งหมด) เกิดจากแอลกอฮอล์ มักลดความคาดหมายการคงชีพของบุคคลลงประมาณสิบปี หมวดหมู่:การติดสารเสพติด หมวดหมู่:การวินิจฉัยจิตเวช หมวดหมู่:วัฒนธรรมการดื่มแอลกอฮอล์ หมวดหมู่:การใช้แอลกอฮอล์ในทางที่ผิด.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคพิษสุรา · ดูเพิ่มเติม »

โรคพิษสุนัขบ้า

รคพิษสุนัขบ้า หรือโรคกลัวน้ำ (rabies, hydrophobia) เป็นโรคไวรัสที่ทำให้เกิดการอักเสบเฉียบพลันของสมองในมนุษย์และสัตว์เลือดอุ่นชนิดอื่น อาการเริ่มต้นมีไข้และอาการเป็นเหน็บ ณ ตำแหน่งสัมผัส อาการเหล่านี้ตามด้วยอาการต่อไปนี้อย่างหนึ่งหรือมากกว่า ได้แก่ การเคลื่อนไหวรุนแรง ความตื่นเต้นควบคุมไม่ได้ กลัวน้ำ ไม่สามารถขยับร่างกายบางส่วน สับสนและไม่รู้สึกตัว เมื่อเกิดอาการแล้ว จะลงเอยด้วยถึงแก่ชีวิตแทบทั้งสิ้น ช่วงเวลาระหว่างการติดต่อโรคและการเริ่มแสดงอาการนั้นปกติระหว่างหนึ่งถึงสามเดือน ทว่า ช่วงเวลานี้มีได้ตั้งแต่น้อยกว่าหนึ่งสัปดาห์จนถึงกว่าหนึ่งปี เวลานี้ขึ้นอยู่กับระยะทางที่ไวรัสเข้าระบบประสาทส่วนกลาง โรคพิษสุนัขบ้าเกิดจากลิสซาไวรัส (lyssavirus) ได้แก่ ไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า (rabies virus) และลิสซาไวรัสค้างคาวออสเตรเลีย (Australian bat lyssavirus) โรคพิษสุนัขบ้าแพร่เมื่อสัตว์ที่ติดเชื้อข่วนหรือกัดสัตว์อื่นหรือมนุษย์ น้ำลายจากสัตว์ที่ติดเชื้อยังสามารถส่งผ่านโรคพิษสุนัขบ้าได้หากสัมผัสกับตา ปากหรือจมูก ทั่วโลก หมาเป็นสัตว์ที่เกี่ยวข้องมากที่สุด ผู้ป่วยโรคพิษสุนัขบ้ากว่า 99% ในประเทศที่หมามีโรคเป็นปกติเกิดจากหมากัด ในทวีปอเมริกา ค้างคาวกัดเป็นแหล่งที่พบมากที่สุดของการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในมนุษย์ และผู้ป่วยน้อยกว่า 5% มาจากหมา สัตว์ฟันแทะติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าน้อยมาก ไวรัสโรคพิษสุนัขบ้าเดินทางไปสมองโดยตามประสาทส่วนปลาย โรคนี้สามารถวินิจฉัยได้หลังเริ่มแสดงอาการแล้วเท่านั้น โครงการควบคุมสัตว์และให้วัคซีนลดความเสี่ยงของโรคพิษสุนัขบ้าจากหมาในหลายภูมิภาคของโลก มีการแนะนำให้การสร้างภูมิคุ้มกันแก่บุคคลก่อนสัมผัสสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงสูง กลุ่มเสี่ยงสูงมีผู้ที่ทำงานกับค้างคาวหรือผู้ที่ใช้เวลานานในพื้นที่ของโลกที่มีโรคพิษสุนัขบ้าเป็นปกติ ในผู้ที่สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า วัคซีนโรคพิษสุนัขบ้าและบ้างทีอิมมูโนโกลบูลินโรคพิษสุนัขบ้ามีผลป้องกันโรคหากบุคคลได้รับการรักษาก่อนเริ่มมีอาการโรคพิษสุนัขบ้า การล้างแผลถูกกัดและข่วนด้วยน้ำสบู่ โพวิโดนไอโอดีนหรือสารชะล้างเป็นเวลา 15 นาทีอาจลดจำนวนอนุภาคไวรัสและอาจมีผลบ้างในการป้องกันการแพร่เชื้อ มีเพียงไม่กี่คนที่รอดชีวิตจากการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าหลังแสดงอาการ และได้รับการรักษาใหญ่ที่เรียก มิลวอกีโพรโทคอล (Milwaukee protocol) โรคพิษสุนัขบ้าเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 26,000 ถึง 55,000 คนต่อปี การเสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้ากว่า 95% เกิดในทวีปแอฟริกาและเอเชีย โรคพิษสุนัขบ้าพบในกว่า 150 ประเทศและทุกทวีปยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา กว่า 3 พันล้านคนอาศัยอยู่ในบริเวณของโลกที่พบโรคพิษสุนัขบ้า หลายประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุ่น สหรัฐและยุโรปตะวันตก ไม่มีโรคพิษสุนัขบ้าในหมา หลายประเทศเกาะขนาดเล็กไม่มีโรคพิษสุนัขบ้าเล.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคพิษสุนัขบ้า · ดูเพิ่มเติม »

โรคกามวิปริต

รคกามวิปริต (paraphilia, sexual perversion, sexual deviation) หรือ กามวิปริต เป็นประสบการณ์ความตื่นตัวทางเพศระดับสูงต่อวัตถุ สถานการณ์ หรือบุคคลที่ไม่ทั่วไป แต่ก็ไม่มีมติส่วนใหญ่ของนักวิชาการว่าเส้นแบ่งระหว่างความสนใจทางเพศที่แปลก กับโรคกามวิปริตอยู่ที่ไหน มีข้อโต้แย้งที่ยังไม่ยุติว่า กามวิปริตแบบไหน ควรจะมีรายชื่ออยู่ในคู่มือวินิจฉัยทางแพทย์เช่น คู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิต (DSM) หรือ บัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง (ICD) หรือถ้าจะต้องมีโดยประการทั้งปวง จำนวนประเภทและอนุกรมวิธาน (taxonomy) ของกามวิปริตก็ยังโต้เถียงยังไม่ยุติอีกด้วย มีหนังสือเล่มหนึ่งที่มีรายการถึง 549 ประเภท ส่วน DSM-5 มีรายการความผิดปกติทางกามวิปริต (paraphilic disorder) 8 ประเภท นักวิชาการได้เสนอการจัดหมวดหมู่ย่อยแบบต่าง ๆ โดยอ้างว่า วิธีการจัดหมวดหมู่แบบอื่น ๆ เช่นวิธีการที่รวมมิติทั้งหมด วิธีกำหนดอาการเป็นพิสัย หรือวิธีกำหนดตามคำให้การของคนไข้ (complaint-oriented) จะเข้ากับหลักฐานได้ดีกว.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคกามวิปริต · ดูเพิ่มเติม »

โรคระบาดทั่ว

รคระบาดทั่ว (อังกฤษ: pandemic; มาจากรากศัพท์ภาษากรีก παν pan ทั้งหมด + δήμος demos ประชาชน) เป็นการระบาดของโรคติดเชื้อที่แพร่กระจายในประชากรมนุษย์ในบริเวณกว้าง (เช่น กระจายไปทั่วทวีป) หรือทั่วโลก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคระบาดทั่ว · ดูเพิ่มเติม »

โรคลมชัก

รคลมชัก หรือ โรคลมบ้าหมู (epilepsy มีรากศัพท์จากἐπιλαμβάνειν หมายถึง ยึด ครอบครอง หรือ ทำให้เจ็บป่วย) เป็นกลุ่มโรคทางประสาทวิทยาซึ่งถูกจำกัดความโดยอาการชักอันมีต้นเหตุจากการทำงานอย่างสอดคล้องกันมากเกินไปของเซลล์ประสาท ระยะเวลาและความรุนแรงของโรคลมชักสามารถมีได้ตั้งแต่แบบสั้นๆและแทบไม่มีอาการ ไปจนถึงอาการสั่นอย่างรุนแรงเป็นเวลานานๆ อาการชักดังกล่าวสามารถทำให้เกิดการบาดเจ็บทางร่างกายเช่น กระดูกหัก ลักษณะสำคัญของโรคลมชักคืออาการชักจะเกิดขึ้นซ้ำๆโดยไม่มีสิ่งเร้าหรือกระตุ้น อาการชักซึ่งเกิดจากสิ่งเร้าอย่างใดหนึ่งอย่างชัดเจน (เช่น ภาวะขาดเหล้า) จะไม่ถือว่าเป็นโรคลมชัก ผู้ป่วยโรคลมชักในบางประเทศมักถูกตีตราจากสังคมเนื่องจากอาการที่แสดงออกมา โรคลมชักในผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังไม่มีสาเหตุที่แน่ชัด อย่างไรก็ดีโรคลมชักสามารถเกิดขึ้นหากผู้ป่วยได้รับการบาดเจ็บทางสมอง เป็นโรคหลอดเลือดสมอง มีเนื้องอกในสมอง หรือ ได้รับการติดเชื้อทางสมอง ผ่านกระบวนการที่เรียกว่า อิพิเลปโตเจเนซิส ความผิดปกติของพันธุกรรมมีส่วนเชื่อมโยงกับโรคลมชักในสัดส่วนเพียงเล็กน้อย การชักจากโรคลมชักเป็นผลจากการทำงานที่ผิดปกติหรือมากเกินไปของเซลล์เปลือกสมอง การวินิจฉัยมักจะทำโดยการตัดภาวะอื่นๆซึ่งอาจทำให้เกิดอาการที่คล้ายคลึงกันออกไปก่อน เช่น เป็นลม นอกจากนี้การวินิจฉัยยังรวมไปถึงการพิจารณาว่ามีสาเหตุอื่นๆของการชักหรือไม่ เช่น การขาดแอลกอฮอล์ หรือ ความผิดปกติของปริมาณอิเล็กโตรไลต์ในเลือด ซึ่งอาจทำได้โดยการตรวจสมองผ่านการสร้างภาพด้วยเรโซแนนซ์แม่เหล็ก และ การตรวจเลือด บ่อยครั้งโรคลมชักสามารถได้รับการยืนยันด้วยการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง แต่ผลการตรวจที่ปกติก็ไม่ได้ทำให้แพทย์สามารถตัดโรคดังกล่าวออกไปได้ ประมาณ 70% ของผู้ป่วยโรคลมชักสามารถควบคุมอาการของโรคได้ด้วยยา ซึ่งบ่อยครั้งตัวเลือกที่ให้ผลการควบคุมอาการดีมีราคาถูก ในกรณีที่อาการชักของผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยา อาจพิจารณาการผ่าตัด การกระตุ้นระบบประสาท และ การเปลี่ยนอาหารได้เป็นกรณีไป โรคลมชักมิได้คงอยู่ตลอดไปในผู้ป่วยทุกราย มีผุ้ป่วยหลายรายที่อาการดีขึ้นจนถึงขั้นไม่ต้องใช้ยา ข้อมูลในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคลมชัก · ดูเพิ่มเติม »

โรควิตกกังวลไปทั่ว

รควิตกกังวลไปทั่ว (Generalized anxiety disorder ตัวย่อ GAD) หรือโรควิตกกังวลทั่วไปเป็นโรควิตกกังวลอย่างหนึ่ง กำหนดโดยความกังวลที่เกินควร ควบคุมไม่ได้ และบ่อยครั้งไม่สมเหตุผล เป็นความกังวลเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งมักจะขวางชีวิตประจำวัน เพราะคนไข้มักคิดว่าจะมีเหตุการณ์ร้าย หรือกังวลมากเกินไปเกี่ยวกับเรื่องทั่ว ๆ ไป เช่น สุขภาพ การเงิน ความตาย ปัญหาครอบครัว ปัญหากับเพื่อน ปัญหากับคนอื่น หรือปัญหาการงาน คนไข้มักจะมีอาการทางกายต่าง ๆ รวมทั้ง ความล้า อยู่ไม่สุข ปวดหัว คลื่นไส้ มือเท้าชา กล้ามเนื้อเกร็ง ปวดกล้ามเนื้อ กลืนไม่ลง มีกรดในกระเพาะมาก ปวดท้อง อาเจียน ท้องเสีย หายใจไม่ออก ไม่มีสมาธิ สั่น กล้ามเนื้อกระตุก หงุดหงิด กายใจไม่สงบ นอนไม่หลับ หน้าหรือตัวร้อน (hot flashes) เป็นผื่น และไม่สามารถควบคุมความกังวลได้International Classification of Diseases ICD-10.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรควิตกกังวลไปทั่ว · ดูเพิ่มเติม »

โรคอัลไซเมอร์

รคอัลซไฮเมอร์ หรือ โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer's disease หรือ AD) เป็นภาวะสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด โรคนี้ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) โดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อว่า อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์ (Alois Alzheimer) และถูกตั้งชื่อตามท่าน โรคนี้จัดเป็นโรคความเสื่อมที่รักษาไม่หายและจัดเป็นอาการป่วยระยะสุดท้าย โดยทั่วไปแล้วสามารถวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ได้ในผู้ป่วยอายุมากกว่า 65 ปี แต่ก็พบโรคอัลไซเมอร์ชนิดหนึ่งคือ โรคอัลไซเมอร์ชนิดเกิดเร็ว (early-onset Alzheimer's) ซึ่งเกิดในคนอายุน้อยแต่มีความชุกของโรคน้อยกว่า ประมาณการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2549 มีประชากรราว 26.6 ล้านคนทั่วโลกที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ และจะเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่าใน พ.ศ. 2593ประมาณการณ์ความชุกใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคอัลไซเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคอ้วน

รคอ้วนเป็นสภาวะทางการแพทย์ที่มีการสะสมไขมันร่างกายมากถึงขนาดที่อาจมีผลเสียต่อสุขภาพ ทำให้มีการคาดหมายคงชีพลดลง และมีปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้น หรืออย่างใดอย่างหนึ่งWHO 2000 p.6 การพิจารณาว่าบุคคลใดอ้วนนั้นพิจารณาจากดัชนีมวลกาย (BMI) ซึ่งเป็นการวัด มีค่าเท่ากับน้ำหนัก (หน่วยเป็นกิโลกรัม) หารด้วยส่วนสูง (หน่วยเป็นเมตร) ยกกำลังสอง บุคคลที่มีดัชนีมวลกายเกิน 30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรถือว่าเป็นโรคอ้วน โดยในช่วง 25-30 กิโลกรัมต่อตารางเมตรนิยามเป็นน้ำหนักเกิน โรคอ้วนเพิ่มโอกาสการป่วยเป็นโรคหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคหัวใจ เบาหวานชนิดที่ 2 ภาวะหยุดหายใจขณะหลับชนิดอุดกั้น มะเร็งบางชนิด และโรคข้อเสื่อม โรคอ้วนมีสาเหตุมาจากการรับพลังงานจากอาหารมากเกิน การขาดกิจกรรมทางกาย และความเสี่ยงทางพันธุกรรมร่วมกันมากที่สุด แม้ว่าผู้ป่วยน้อยรายจะเกิดจากยีน ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ ยาหรือการป่วยจิตเวชเป็นหลัก สำหรับมุมมองที่ว่าคนอ้วนบางรายกินน้อยแต่น้ำหนักเพิ่มเพราะเมแทบอลิซึมช้านั้นมีหลักฐานสนับสนุนจำกัด โดยเฉลี่ยแล้ว คนอ้วนมีการเสียพลังงานมากกว่าคนผอมเนื่องจากต้องใช้พลังงานมากกว่าในการรักษามวลร่างกายที่เพิ่มขึ้น การจำกัดอาหารและการออกกำลังกายเป็นหลักของการรักษาโรคอ้วน สามารถปรับปรุงคุณภาพอาหารได้โดยการลดการบริโภคอาหารพลังงานสูง เช่น อาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง และโดยการเพิ่มการรับใยอาหาร อาจบริโภคยาลดวามอ้วนเพื่อลดความอยากอาหารหรือลดการดูดซึมไขมันเมื่อใช้ร่วมกันกับอาหารที่เหมาะสม หากอาหาร การออกกำลังกายและยาไม่ได้ผล การทำบอลลูนกระเพาะอาหาร (gastric ballon) อาจช่วยให้น้ำหนักลดได้ หรืออาจมีการผ่าตัดเพื่อลดปริมาตรกระเพาะอาหารและความยาวลำไส้ หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งทำให้รู้สึกอิ่มเร็วขึ้นและลดความสามารถในการดูดซึมสารอาหาร โรคอ้วนเป็นสาเหตุการตายอันดับต้น ๆ ทั่วโลกที่สามารถป้องกันได้ โดยมีอัตราเพิ่มขึ้นทั้งในผู้ใหญ่และเด็ก ทางการมองว่าโรคอ้วนเป็นหนึ่งในปัญหาสาธารณสุขที่ร้ายแรงที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 21 โรคอ้วนถูกระบุว่าเป็นปัญหาในโลกสมัยใหม่อย่างมาก (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกตะวันตก) ทว่าในอดีต ความอ้วนถูกมองอย่างกว้างขวางว่าเป็นสัญลักษณ์แห่งความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณ์ และกระทั่งปัจจุบันก็ยังมีความเชื่อดังกล่าวในบางบริเวณของโลก ใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคอ้วน · ดูเพิ่มเติม »

โรคจอตามีสารสี

Retinitis pigmentosaหรือว่า โรคอาร์พี (ตัวย่อ RP) เป็นโรคจอตาเสื่อมที่สามารถสืบทอดทางกรรมพันธุ์ที่เป็นเหตุแห่งความเสียหายต่อการเห็นอย่างรุนแรงบ่อยครั้งถึงขั้นตาบอด แต่ว่าการเสื่อมของ RP มีความต่าง ๆ กัน บางคนแสดงอาการตั้งแต่เป็นทารก บางคนอาจจะไม่เห็นอาการอะไรจนกระทั่งเลยวัยกลางคนไป โดยทั่วไป ยิ่งปรากฏอาการสายเท่าไร ความเสื่อมก็ยิ่งเป็นไปเร็วเท่านั้น บุคคลผู้ไม่มีอาร์พีสามารถเห็นได้ 90 องศาโดยรอบ (จากตรงกลางของลานสายตา) แต่บางคนที่มีอาร์พีเห็นได้น้อยกว่า 90 องศา โดยเป็นประเภทหนึ่งของโรคจอตาเสื่อม (retinopathy) อาร์พีเกิดจากความผิดปกติของเซลล์รับแสง (คือเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย) หรือของเซลล์ retinal pigment epithelium (ในชั้น pigmented layer) ในเรตินาที่มีผลเป็นเป็นการสูญเสียการเห็นไปตามลำดับ ผู้ที่มีโรคนี้อาจประสบความผิดปกติในการปรับตัวจากที่สว่างไปที่มืด หรือจากที่มืดไปที่สว่าง เป็นอาการที่ใชเรียกว่า ตาบอดแสง (nyctalopia หรือ night blindness) ซึ่งเป็นผลจากความเสื่อมลานสายตาส่วนรอบ ๆ แต่บางครั้ง จะมีการสูญเสียการเห็นในส่วนตรงกลางก่อน ทำให้บุคคลนั้นต้องแลดูวัตถุต่าง ๆ ทางข้างตา ผลของการมีอาร์พีเห็นได้ง่ายถ้าเปรียบเทียบกับทีวีหรือจอคอมพิวเตอร์ คือ แสงจากพิกเซลที่สร้างภาพบนจอเหมือนกับเซลล์รับแสงเป็นล้าน ๆ ตัวในเรตินา ยิ่งมีพิกเซลน้อยลงเท่าไร ภาพที่เห็นก็ชัดน้อยลงเท่านั้น มีเซลล์รับแสงจำนวนน้อยกว่า 10% ที่สามารถรับภาพสี โดยเป็นแสงมีความเข้มสูงเหมือนกับที่มีในช่วงกลางวัน เซลล์เหล่านี้อยู่ตรงกลางของเรตินาที่มีรูปเป็นวงกลม เซลล์รับแสงกว่า 90% ที่เหลือรับแสงมีความเข้มต่ำ เป็นภาพขาวดำ ซึ่งใช้ในที่สลัวและในตอนกลางคืน เป็นเซลล์ซึ่งอยู่รอบ ๆ เรตินา RP ทำลายเซลล์รับแสงจากนอกเข้ามาส่วนตรงกลาง หรือจากส่วนตรงกลางออกไปด้านนอก หรือทำลายเป็นย่อม ๆ ที่ทำให้เซลล์ส่วนตรงนั้นมีประสิทธิภาพในการตรวจจับแสงได้น้อยลง ความเสื่อมจากโรคนี้จะมีการลุกลาม และยังไม่มีวิธีรักษ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคจอตามีสารสี · ดูเพิ่มเติม »

โรคติดเชื้อลิชมาเนีย

รคติดเชื้อลิชมาเนีย หรือ ลิชมาเนียซิส (Leishmaniasis) เป็นโรคติดต่อจากปรสิตชนิดโปรโตซัวในจีนัส Leishmania โดยมี "ริ้นฝอยทราย" บางชนิด เป็นตัวพาหะนำโรค โดยริ้นฝอยทรายดูดเลือดสัตว์เป็นอาหาร ไปกัดสัตว์ที่มีเชื้อแต่ไม่แสดงอาการ จากนั้นนำเชื้อไปสู่คน โรคนี้อาจแสดงอาการได้สามแบบ คือแบบผิวหนัง (cutaneous leishmaniasis), แบบผิวหนังและเยื่อบุ (mucocutaneous leishmaniasis), และแบบอวัยวะภายใน (visceral leishmaniasis) แบบผิวหนังจะทำให้มีแผลที่ผิวหนัง ในขณะที่แบบผิวหนังและเยื่อบุจะทำให้มีแผลที่ผิวหนัง ปาก และจมูก และแบบอวัยวะภายในในช่วงแรกจะมีแผลที่ผิวหนัง จากนั้นจึงมีไข้ เลือดจาง และตับม้ามโต เชื้อ Leishmania ที่ก่อโรคในมนุษย์มีอยู่มากกว่า 20 สปีชีส์ ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้แก่ ความยากจน การขาดสารอาหาร การทำลายป่า และการทำให้เป็นเมือง โรคนี้ทั้งสามรูปแบบสามารถวินิจฉัยได้จากการตรวจพบเชื้อจากการตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ นอกจากนี้ชนิดที่ติดเชื้อที่อวัยวะภายในยังอาจตรวจพบได้จากการตรวจเลือด ปกติพบโรคชนิดนี้พบในแถบประเทศตะวันออกกลาง อินเดีย ปากีสถาน ปัจจุบันมีผู้ป่วยโรคติดเชื้อลิชมาเนียประมาณ 12 ล้านคน ใน 98 ประเทศ แต่ละปีจะมีผู้ติดเชื้อรายใหม่ประมาณ 2 ล้านคน มีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้ประมาณ 20,000-50,000 ราย และมีจำนวนผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ระบาด (เอเชีย แอฟริกา อเมริกากลาง และอเมริกาใต้) ประมาณ 200 ล้านคน องค์การอนามัยโลกได้ขอลดราคายาบางชนิดที่ใช้รักษาโรคนี้จากบริษัทยา นอกจากมนุษย์แล้วยังอาจพบโรคนี้ได้ในสัตว์อื่น เช่น สุนัข และหนู เป็นต้น.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคติดเชื้อลิชมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

โรคซึมเศร้า

รคซึมเศร้า (major depressive disorder ตัวย่อ MDD) เป็นความผิดปกติทางจิตซึ่งทำให้ผู้ป่วยเกิดอารมณ์ซึมเศร้าอย่างน้อย 2 สัปดาห์ในแทบทุกสถานการณ์ มักเกิดร่วมกับการขาดความภูมิใจแห่งตน การเสียความสนใจในกิจกรรมที่ปกติทำให้เพลิดเพลินใจ อาการไร้เรี่ยวแรง และอาการปวดซึ่งไม่มีสาเหตุชัดเจน ผู้ป่วยอาจมีอาการหลงผิดหรือมีอาการประสาทหลอน ผู้ป่วยบางรายมีช่วงเวลาที่มีอารมณ์ซึมเศร้าห่างกันเป็นปี ๆ ส่วนบางรายอาจมีอาการตลอดเวลา โรคซึมเศร้าสามารถส่งผลกระทบในแง่ลบให้แก่ผู้ป่วยในหลาย ๆ เรื่อง เช่น ชีวิตส่วนตัว ชีวิตในที่ทำงานหรือโรงเรียน ตลอดจนการหลับ อุปนิสัยการกิน และสุขภาพโดยทั่วไป ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าผู้ใหญ่ประมาณ 2–7% เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตาย และประมาณ 60% ของผู้ฆ่าตัวตายกลุ่มนี้มีโรคซึมเศร้าร่วมกับความผิดปกติทางอารมณ์ชนิดอื่น คำว่า ความซึมเศร้า สามารถใช้ได้หลายทาง คือ มักใช้เพื่อหมายถึงกลุ่มอาการนี้ แต่อาจหมายถึงความผิดปกติทางจิตอื่นหรือหมายถึงเพียงภาวะซึมเศร้าก็ได้ โรคซึมเศร้าเป็นภาวะทำให้พิการ (disabling) ซึ่งมีผลเสียต่อครอบครัว งานหรือชีวิตโรงเรียน นิสัยการหลับและกิน และสุขภาพโดยรวมของบุคคล ในสหรัฐอเมริกา ราว 3.4% ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าฆ่าตัวตาย และมากถึง 60% ของผู้ที่ฆ่าตัวตายนั้นมีภาวะซึมเศร้าหรือความผิดปกติทางอารมณ์อย่างอื่น ในประเทศไทย โรคซึมเศร้าเป็นความผิดปกติทางจิตที่พบมากที่สุด (3.7% ที่เข้าถึงบริการ) เป็นโรคที่สร้างภาระโรค (DALY) สูงสุด 10 อันดับแรกโดยเป็นอันดับ 1 ในหญิง และอันดับ 4 ในชาย การวินิจฉัยโรคซึมเศร้าอาศัยประสบการณ์ที่รายงานของบุคคลและการทดสอบสภาพจิต ไม่มีการทดสอบทางห้องปฏิบัติการสำหรับโรคซึมเศร้า ทว่า แพทย์อาจส่งตรวจเพื่อแยกภาวะทางกายซึ่งสามารถก่อให้เกิดอาการคล้ายกันออก ควรแยกโรคซึมเศร้าจากความเศร้าซึ่งเป็นธรรมดาของชีวิตและไม่รุนแรงเท่า มีการตั้งชื่อ อธิบาย และจัดกลุ่มอาการซึมเศร้าว่าเป็นความผิดปกติทางอารมณ์ (mood disorder) ในคู่มือการวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตปี 2523 ของสมาคมจิตแพทย์อเมริกัน คณะทำงานบริการป้องกันสหรัฐ (USPSTF) แนะนำให้คัดกรองโรคซึมเศร้าในบุคคลอายุมากกว่า 12 ปี แต่บทปฏิทัศน์คอเครนก่อนหน้านี้ไม่พบหลักฐานเพียงพอสำหรับการคัดกรองโรค โดยทั่วไป โรคซึมเศร้ารักษาได้ด้วยจิตบำบัดและยาแก้ซึมเศร้า ดูเหมือนยาจะมีประสิทธิภาพ แต่ฤทธิ์อาจสำคัญเฉพาะในผู้ที่ซึมเศร้ารุนแรงมาก ๆ เท่านั้น ไม่ชัดเจนว่ายาส่งผลต่อความเสี่ยงการฆ่าตัวตายหรือไม่ ชนิดของจิตบำบัดที่ใช้มีการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม (cognitive behavioral therapy) และการบำบัดระหว่างบุคคล หากมาตรการอื่นไม่เป็นผล อาจทดลองให้การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า (ECT) อาจจำเป็นต้องให้ผู้ป่วยที่มีควมเสี่ยงทำร้ายตนเองเข้าโรงพยาบาลแม้บางทีอาจขัดต่อความประสงค์ของบุคคล ความเข้าใจถึงธรรมชาติและสาเหตุของความซึมเศร้าได้พัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ แม้ว่าจะยังไม่สมบูรณ์และยังมีประเด็นมากมายที่ยังต้องวิจัย เหตุที่เสนอรวมทั้งเป็นปัญหาทางจิต ทางจิต-สังคม ทางกรรมพันธุ์ ทางวิวัฒนาการ และปัจจัยอื่น ๆ ทางชีวภาพ การใช้สารเสพติดเป็นเวลานานอาจเป็นเหตุหรือทำอาการเศร้าซึมให้แย่ลง การบำบัดทางจิตอาศัยทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับบุคลิกภาพ การสื่อสารระหว่างบุคคล และการเรียนรู้ ทฤษฎีทางชีววิทยามักจะพุ่งความสนใจไปที่สารสื่อประสาทแบบโมโนอะมีน คือ เซโรโทนิน นอร์เอพิเนฟริน และโดพามีน ซึ่งมีอยู่ตามธรรมชาติในสมองและช่วยการสื่อสารระหว่างเซลล์ประสาท.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคซึมเศร้า · ดูเพิ่มเติม »

โรคใคร่เด็ก

รคใคร่เด็ก หรือ ความใคร่เด็ก (Pedophilia, paedophilia) เป็นความผิดปกติทางจิตที่ผู้ใหญ่หรือวัยรุ่นตอนปลายมีความต้องการทางเพศเป็นหลักหรืออย่างจำกัดเฉพาะ ต่อเด็กก่อนวัยเริ่มเจริญพัน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคใคร่เด็ก · ดูเพิ่มเติม »

โรคโปลิโอ

รคโปลิโอ (poliomyelitis, polio, infantile paralysis) เป็นโรคติดเชื้อไวรัสเฉียบพลันซึ่งติดต่อจากคนสู่คนทางอุจจาระ-ปาก ชื่อนี้มาจากภาษากรีกว่า (πολιός) หมายถึง สีเทา, (µυελός) หมายถึงไขสันหลัง และคำอุปสรรค -itis หมายถึงการอักเสบ การติดเชื้อโปลิโอกว่า 90% จะไม่ทำให้เกิดอาการใด ๆ โดยผู้ติดเชื้ออาจมีอาการได้หลายอย่างหากได้รับไวรัสเข้ากระแสเลือด ผู้ป่วย 1% จะมีการติดเชื้อไวรัสเข้าสู่ระบบประสาทกลาง ทำให้เซลล์ประสาทสั่งการถูกทำลาย ทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรงและอัมพาตอ่อนเปียก ผู้ป่วยอาจมีอาการอ่อนแรงได้หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับเส้นประสาทที่ถูกทำลาย รูปแบบที่พบบ่อยที่สุดคือโปลิโอไขสันหลัง ซึ่งทำให้มีอาการอ่อนแรงแบบไม่สมมาตรมักเป็นที่ขา โปลิโอก้านสมองส่วนท้ายทำให้เกิดการอัมพาตของกล้ามเนื้อที่เลี้ยงโดยเส้นประสาทสมอง โปลิโอไขสันหลังและก้านสมองส่วนท้ายจะทำให้มีอาการร่วมกันทั้งการอัมพาตก้านสมองส่วนท้ายและไขสันหลัง โรคโปลิโอค้นพบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคโปลิโอ · ดูเพิ่มเติม »

โรคไวรัสอีโบลา

รคไวรัสอีโบลา หรือไข้เลือดออกอีโบลา เป็นโรคของมนุษย์ที่เกิดจากไวรัสอีโบลา ตรงแบบเริ่มมีอาการสองวันถึงสามสัปดาห์หลังสัมผัสไวรัส โดยมีไข้ เจ็บคอ ปวดกล้ามเนื้อและปวดศีรษะ จากนั้นมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนและท้องร่วงร่วมกับการทำหน้าที่ของตับและไตลดลงตามมา เมื่อถึงจุดนี้ บางคนเริ่มมีปัญหาเลือดออก บุคคลรับโรคนี้ครั้งแรกเมื่อสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำในร่างกายจากสัตว์ที่ติดเชื้อ เช่น ลิงหรือค้างคาวผลไม้ เชื่อว่าค้างคาวผลไม้เป็นตัวพาและแพร่โรคโดยไม่ได้รับผลกระทบจากไวรัส เมื่อติดเชื้อแล้ว โรคอาจแพร่จากคนสู่คนได้ ผู้ที่รอดชีวิตอาจสามารถส่งผ่านโรคทางน้ำอสุจิได้เป็นเวลาเกือบสองเดือน ในการวินิจฉัย ต้องแยกโรคอื่นที่มีอาการคล้ายกันออกก่อน เช่น มาลาเรีย อหิวาตกโรคและไข้เลือดออกจากไวรัสอื่น ๆ อาจทดสอบเลือดหาแอนติบอดีต่อไวรัส ดีเอ็นเอของไวรัส หรือตัวไวรัสเองเพื่อยืนยันการวินิจฉัย การป้องกันรวมถึงการลดการระบาดของโรคจากลิงและหมูที่ติดเชื้อสู่คน ซึ่งอาจทำได้โดยการตรวจสอบหาการติดเชื้อในสัตว์เหล่านี้ และฆ่าและจัดการกับซากอย่างเหมาะสมหากพบโรค การปรุงเนื้อสัตว์และสวมเสื้อผ้าป้องกันอย่างเหมาะสมเมื่อจัดการกับเนื้อสัตว์อาจช่วยได้ เช่นเดียวกับสวมเสื้อผ้าป้องกันและล้างมือเมื่ออยู่ใกล้ผู้ที่ป่วยเป็นโรคดังกล่าว ตัวอย่างสารน้ำร่างกายจากผู้ป่วยควรจัดการด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ ไม่มีการรักษาไวรัสอย่างจำเพาะ ความพยายามช่วยเหลือผู้ป่วยมีการบำบัดคืนน้ำ (rehydration therapy) ทางปากหรือหลอดเลือดดำ โรคนี้มีอัตราตายสูงระหว่าง 50% ถึง 90% ของผู้ติดเชื้อไวรัส มีการระบุโรคนี้ครั้งแรกในประเทศซูดานและสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ตรงแบบเกิดในการระบาดในเขตร้อนแอฟริกาใต้สะฮารา ระหว่างปี 2519 ซึ่งมีการระบุโรคครั้งแรก และปี 2555 มีผู้ติดเชื้อน้อยกว่า 1,000 คนต่อปี การระบาดครั้งใหญ่ที่สุดจนถึงปัจจุบัน คือ การระบาดของอีโบลาในแอฟริกาตะวันตก พ.ศ. 2557 ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ โดยระบาดในประเทศกินี เซียร์ราลีโอนและไลบีเรีย จนถึงเดือนกรกฎาคม 2557 มีผู้ป่วยยืนยันแล้วกว่า 1,320 คน แม้จะมีความพยายามพัฒนาวัคซีนอยู่ แต่จนถึงบัดนี้ยังไม่มีวัคซีน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรคไวรัสอีโบลา · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

รงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นโรงพยาบาลสังกัดสภากาชาดไทย ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2457 ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นที่ตั้งและที่ดำเนินการเรียนการสอนให้กับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือเป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์แห่งที่สองของประเทศไทย นอกจากนี้คณาจารย์สังกัดคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ยังปฏิบัติหน้าที่เป็นแพทย์ประจำโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ด้ว.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรตารีสากล

รตารีสากล (Rotary International) เป็นองค์กรของนักธุรกิจและผู้นำด้านวิชาชีพจากทั่วโลก ผู้ซึ่งให้บริการเพื่อมนุษยชาติ สนับสนุนมาตรฐานจริยธรรมในทุกวิชาชีพ และช่วยส่งเสริมไมตรีจิตและสันติภาพในโลก โรตารี เป็นสโมสรบริการแห่งแรกของโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 1905 ขึ้นที่นครชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ สหรัฐอเมริกา ปัจจุบัน มีสมาชิกทั่วโลกกว่า 1,211,723 คน มีสโมสรกว่า 31,603 สโมสร มี 529 ภาค ครอบคลุม 166 ประเทศทั่วโลก โรแทเรียน มีการประชุมทุกสัปดาห์ เพื่อมิตรภาพและโปรแกรมที่น่าสนใจที่ให้ความรู้ในหัวข้อเกี่ยวกับท้องถิ่นและของโลก สมาชิกภาพสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นตัวแทนของกลุ่มชนทุก ๆ กลุ่มในชุมชน โรตารี ซึ่งแต่ละปีจะจัดสรรเงินประมาณ 90 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อเป็นทุนการศึกษาระหว่างประเทศ ทุนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและโครงการเพื่อมนุษยชาติทั้งน้อยใหญ่ เพื่อเป็นการปรับคุณภาพชีวิตของผู้มีโอกาสน้อยนับล้าน ๆ คนทั่วโลก ให้ดียิ่งขึ้น โรตารีเป็นที่ยอมรับกันกว้างขวางว่า เป็นองค์กรเอกชนที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่ให้ทุนการศึกษาระหว่างประเทศ โรตารี คือ โปลิโอพลัสที่โรตารีสากลได้ให้คำมั่นสัญญาที่จะดำเนินงานร่วมกับนานาชาติ และองค์การอนามัยโลก โดยตั้งเป้าที่จะกำจัดโรคโปลิโอให้สิ้นไปจากโลก โดยตั้งเป้าที..2005 ซึ่งเป็นปีโรตารีมีอายุครบ 100 ปี เด็ก ๆ มากกว่าหนึ่งพันล้านในประเทศที่กำลังพัฒนาได้รับวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอผ่านทางสนับสนุนโปลิโอพลัสของโรตารีสากล.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโรตารีสากล · ดูเพิ่มเติม »

โลกันตนรก

ลกันตนรก (Inferno) เป็นภาพยนตร์ลึกลับ/ระทึกขวัญ กำกับโดยรอน ฮาวเวิร์ด เขียนบทโดยเดวิด เคปป์ โดยอิงจากนวนิยายเรื่อง สู่นรกภูมิ ของแดน บราวน์ ภาพยนตร์เรื่องนี้เป็นภาคต่อจาก รหัสลับระทึกโลก (ค.ศ. 2006) และ เทวากับซาตาน (ค.ศ. 2009) ทอม แฮงส์กลับมารับบทเป็นศาสตราจารย์โรเบิร์ต แลงดอน สมทบด้วยเฟลิซิตี โจนส์, โอมาร์ ซี, เบน ฟอสเตอร์, อีร์ฟาน ข่านและซิดเซ บาเบตต์ คนุดเซน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโลกันตนรก · ดูเพิ่มเติม »

โลเพราไมด์

ลเพราไมด์ (Loperamide) หรือชื่อทางการค้าคือ อีโมเดียม (Imodium) เป็นยาลดอาการท้องร่วง มักใช้ในการรักษากระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ, ลำไส้อักเสบเรื้อรัง และกลุ่มอาการลำไส้สั้น เนื่องจากยานี้ทำงานโดยการชะลอการบีบตัวของทางเดินอาหาร จึงไม่เหมาะสมสำหรับผู้ที่ถ่ายเป็นเลือด สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีรับประทาน ผลข้างเคียงทั่วไปได้แก่ เจ็บตรงช่องท้อง, ท้องผูก, ง่วงนอน, อาเจียน และปากแห้ง ผลข้างเคียงร้ายแรงได้แก่ลำไส้ใหญ่พองตัวและเน่า สตรีให้นมบุตรสามารถใช้ยาชนิดนี้ได้ อย่างไรก็คาม ยังไม่เป็นที่แน่ชัดว่ายานี้เหมาะสมต่อสตรีมีครรภ์หรือไม่ แต่ที่ผ่านมายังไม่เคยมีประวัติในเชิงลบ โลเพราไมด์ถูกค้าพบในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโลเพราไมด์ · ดูเพิ่มเติม »

โทรศัพท์เคลื่อนที่

ตัวอย่างโทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์มือถือ หรือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ (บ้างเรียก วิทยุโทรศัพท์) คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายของโทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการอื่น โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าวถึงในชื่อสมาร์ทโฟน โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันนอกจากจากความสามารถพื้นฐานของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติพื้นฐานของโทรศัพท์มือถือที่เพิ่มขึ้นมา เช่น การส่งข้อความสั้นเอสเอ็มเอส ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกม การใช้งานอินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้องถ่ายภาพ เอ็มเอ็มเอส วิทยุ เครื่องเล่นเพลง และ จีพีเอส โทรศัพท์เคลื่อนที่เครื่องแรกถูกผลิตและออกแสดงใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโทรศัพท์เคลื่อนที่ · ดูเพิ่มเติม »

โซดิส

กระประยุกต์ใช้ SODIS ในประเทศอินโดนีเซีย โซดิส (solar water disinfection, SODIS) เป็นวิธีการฆ่าเชื้อโรคในน้ำโดยใช้แสงแดดและขวดพลาสติกโพลีเอทิลีนเทอพาทาเลท (PET) โซดิสเป็นวิธีการที่ไม่มีค่าใช้จ่ายในการบำบัดน้ำ สามารถกระทำได้ในระดับครัวเรือน และองค์การอนามัยโลกได้แนะนำให้ใช้วิธีนี้ในการบำบัดน้ำเสียในครัวเรือน โซดิสเป็นวิธีที่ใช้กันในประเทศกำลังพัฒนาหลายๆประเทศ และได้รับการแปลเป็นหนังสือในหลายๆภาษ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและโซดิส · ดูเพิ่มเติม »

ไพริดอกซีน

ริดอกซีน (Pyridoxine) หรือ วิตามิน B6 หรือ ไพริดอซอล (Pyridoxol) เป็นวิตามินบี6ประเภทหนึ่ง มักพบในอาหารและอาหารเสริม ใช้เพื่อป้องกันภาวะขาดแคลนวิตามินบี6, โรคเลือดจางชนิดซิเดโรบลาส, โรคลมชักจากการขาดวิตามินบี6, ความผิดปกติของเมตาโบลิซึม และ การรับประทานเห็ดพิษ ไพริดอกซีนถูกใช้โดยการรับประทานหรือฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ผลข้างเคียงบางครั้งคราวของการใช้ยานี้ ได้แก่ ปวดหัว, มีอาการชา และ ง่วงนอน ยาชนิดนี้สามารถใช้ในสตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตรได้ ไพริดอกซีนถือว่าเป็นวิตามินบี6ประเภทหนึ่ง ซึ่งรางกายจำเป็นต้องใช้เพื่อผลิตกรดอะมิโน, คาร์โบไฮเดรต และ ไขมัน ไพริดอกซีนถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและไพริดอกซีน · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล บลูมเบอร์ก

มเคิล รูเบนส์ บลูมเบอร์ก (Michael Rubens Bloomberg) (เกิด 14 กุมภาพันธ์ 2485) เป็นนักธุรกิจ นักเขียน นักการเมือง และนักการกุศลชาวอเมริกัน เขามีทรัพย์สินสุทธิประเมินที่ 47,800 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1.6 ล้านล้านบาท) โดยเดือนตุลาคม 2560 จึงทำให้เขาเป็นคนรวยที่สุดอันดับ 8 ในสหรัฐอเมริกา และอันดับ 10 ของโลก เขาได้ลงนามร่วมกับองค์กรสัญญาว่าจะให้ ที่มหาเศรษฐีสัญญาว่าจะมอบทรัพย์สินของตนเพื่อสาธารณประโยชน์อย่างน้อยครึ่งหนึ่ง บลูมเบอร์กเป็นผู้ก่อตั้ง ประธานบริหาร และเจ้าของบริษัท Bloomberg L.P. ซึ่งเป็นบริษัทให้บริการทางการเงิน สื่อมวลชน และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งรู้จักกันดีว่าผลิตโปรแกรม Bloomberg Terminal ซึ่งให้ข้อมูลทางการเงินที่ใช้อย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมบริการทางการเงินทั่วโลก เขาเริ่มทำงานที่บริษัทนายหน้าขายหลักทรัพย์ Salomon Brothers ก่อนตั้งบริษัทของตนเองในปี 2524 และใช้เวลาอีก 20 ปีต่อมาโดยเป็นประธานและประธานบริหารของบริษัท บลูมเบอร์กยังเคยเป็นประธานกรรมการของมหาวิทยาลัยที่เขาเป็นศิษย์เก่า คือ มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ ระหว่างปี 2539-2545 บลูมเบอร์กเคยเป็นผู้ว่าการนครนิวยอร์กถึง 3 สมัย เริ่มตั้งแต่ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2544 แม้จะเคยลงทะเบียนว่าเป็นคนสนับสนุนพรรคเดโมแครตก่อนจะเริ่มหาเสียง เขาก็ได้เปลี่ยนทะเบียนของเขาในปี 2544 เพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งในนามของพรรคริพับลิกัน เขาชนะฝ่ายตรงข้ามอย่างเฉียดฉิวในการเลือกตั้งที่ทำไม่กี่อาทิตย์หลังเหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 เขาชนะการเลือกตั้งสมัยที่สองในปี 2548 และลาออกจากพรรคริพับลิกันสองปีหลังจากนั้น บลูมเบอร์กได้รณรงค์เพื่อเปลี่ยนกฎหมายซึ่งจำกัดสมัยที่สามารถเป็นผู้ว่าการ แล้วได้รับเลือกตั้งเป็นสมัยที่สามในปี 2552 โดยไม่สังกัดพรรค สื่อมักจะลือว่า เขาจะลงสมัครับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีสหรัฐทั้งในปี 2551 และ 2555 ตลอดทั้งผู้ว่าการรัฐนิวยอร์กในปี 2553 แต่เขาก็ปฏิเสธไม่สมัคร โดยเลือกทำหน้าที่เป็นผู้ว่าการของนครนิวยอร์กต่อไปในเวลานั้น ในปี 2557 Bill de Blasio ก็ได้แทนที่บลูมเบอร์กเป็นผู้ว่าการนครนิวยอร์ก หลังจากที่ทำงานการกุศลอย่างเต็มเวลาในระยะสั้น ๆ บลูมเบอร์กก็กลับไปทำหน้าที่เป็นประธานบริหารของบริษัท Bloomberg L.P. โดยท้ายปี 2557 ในวันที่ 7 มีนาคม 2559 เขาได้ประกาศว่าจะไม่สมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีสหรัฐจากพรรคที่ 3 สำหรับการเลือกตั้งปี 2559 แม้จะมีข่าวลือที่กระจายไปทั่ว และภายหลังได้ให้การสนับสนุนแก่ฮิลลารี คลินตัน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและไมเคิล บลูมเบอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไรบอสตามัยซิน

รบอสตามัยซิน (Ribostamycin) เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ – อะมิโนไซคลิตอล (aminoglycoside-aminocyclitol) ที่แยกได้จากเชื้อแบคทีเรียสกุลสเตรปโตมัยซิสที่มีชื่อว่า Streptomyces ribosidificus ซึ่งการค้นแรกจากตัวอย่างดินที่มาจากเมืองสึ, จังหวัดมิเอะ, ประเทศญีปุ่น มีโครงสร้างที่ประกอบด้วยหน่วยย่อย 3 หน่วย คือ 2-deoxystreptamine (DOS), neosamine C, และน้ำตาลไรโบสSubba, B.; Kharel, M.K.; Lee, H.C.; Liou, K.; Kim, B.G; Sohng, J.K.; The Ribostamycin Biosynthetic Gene Cluster in Streptomyces ribosidificus: Comparison With Butirosin Biosynthesis.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและไรบอสตามัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

ไลนิโซลิด

ลนิโซลิด (Linezolid) เป็นยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งที่ใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อที่มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรียกรัมบวกที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะชนิดอื่น ไลนิโซลิดสามารถออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียกรัมบวกได้เกือบทุกสายพันธ์ุ รวมถึงเชื้อแบคทีเรียในสกุลสเตรปโตคอกคัส (Streptococcus), สกุลเอนเทอโรคอคคัสที่ดื้อต่อยาแวนโคมัยซิน (Vancomycin-resistant Enterococcus; VRE), และเชื้อสแตปฟิโลคอคคัส ออเรียสที่ดื้อต่อยาเมทิซิลลิน (Methicillin-resistant Staphylococcus aureus; MRSA) ส่วนมากแล้วมักใช้ยานี้ในการรักษาโรคติดเชื้อดังข้างต้นบริเวณผิวหนังและในปอด อย่างไรก็ตาม ยานี้อาจถูกใช้ในโรคติดเชื้อแบคทีเรียอื่นได้เช่นกัน เช่น วัณโรคที่ดื้อต่อยารักษาวัณโรคสูตรปกติ โดยยานี้สามารถบริหารยาได้ทั้งการฉีดเข้าหลอดเลือดดำ (intravenous) และการรับประทาน การใช้ยาไลนิโซลิดในระยะเวลาสั้นนั้นมีความปลอดภัยค่อนข้างสูง ทั้งในกลุ่มผู้ป่วยปกติ และผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง หรือโรคตับอักเสบ อาการไม่พึงประสงค์ทั่วไปที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ได้รับยานี้ในช่วงสั้น ได้แก่ ปวดศีรษะ, ท้องเสีย, ผื่น, และอาเจียน ส่วนอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยบางราย ได้แก่ กลุ่มอาการเซโรโทนิน (Serotonin syndrome), การกดไขกระดูก (Bone marrow suppression) และภาวะเลือดเป็นกรดแล็กติก (lactic acidosis) โดยความเสี่ยงต่อการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงจะเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยยะเมื่อใช้ยาไลนิโซลิดต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลานานมากกว่า 2 สัปดาห์ ในบางครั้งการใช้ยานี้ต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานอาจทำให้เกิดการทำลายเส้นประสาทส่วนปลายจนไม่สามารถฟื้นฟูกลับคืนสภาพเดิมได้ ซึ่งรวมถึงการทำลายเส้นประสาทที่ควบคุมการทำงานของการมองเห็นด้วย ไลนิโซลิดเป็นยาปฏิชีวนะอีกชนิดหนึ่งในยากลุ่มออกซาโซลิโดน (Oxazolidone) เนื่องจากยาดังกล่าวมีคุณสมบัติในการยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย ทำให้ยาดังกล่าวสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตและฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าในปัจจุบันจะมีนาปฏิชีวนะหลายชนิดที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้างโปรตีนของเชื้อแบคทีเรียได้เหมือนกับไลนิโซลิด แต่โดยแท้จริงแล้ว ไลนิโซลิดนั้นมีกลไกการออกฤทธิ์ที่แตกต่างไปจากยาปฏิชีวนะชนิดอื่น กล่าวคือ ยาดังกล่าวจะไปออกฤทธิ์ยับยั้งขั้นตอนแรกในการสร้างโปรตีน ในขณะที่ยาปฏิชีวนะอื่นนั้นจะออกฤทธิ์ในขั้นตอนที่เป็นลำดับถัดมา ด้วยกลไกการออกฤทธิ์ที่แตกต่างจากยาปฏิชีวนะชนิดอื่นนี้ ทำให้อุบัติการณ์การดื้อต่อยาไลนิโซลิดของเชื้อแบคทีเรียในปัจจุบันยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างต่ำ (ข้อมูล ปี ค.ศ. 2014) ไลนิโซลิดถูกค้นพบในช่วงกลางทศวรรต 1990 และได้รับการรับรองให้มีการผลิตเชิงการค้าในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและไลนิโซลิด · ดูเพิ่มเติม »

ไอเซปามัยซิน

อเซปามัยซิน (Isepamicin หรือ Isepamycin) เป็นยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ โดยมีข้อบ่งใช้สำหรับรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ทั้งนี้ ไอเซปามัยซินได้รับการจัดลำดับความสำคัญของยาจากองค์การอนามัยโลก (World Health Organisation) ว่าเป็นยาปฏิชีวนะที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการบำบัดรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียในมนุษย์ โดยยานี้จัดเป็นยาปฏิชีวนะชนิดออกฤทธิ์กว้าง มีโครงสร้างที่มีความคล้ายคลึงกันกับเจนตามัยซินและอะมิกาซินมีกลไกการออกฤทธิ์ที่คล้ายคลึงกันกับสมาชิกอื่นในกลุ่มกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ อย่างไรก็ตาม ไอเซปามัยซินมีข้อเหนือกว่ายาอื่นในกลุ่มนี้ คือ สามารถออกฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อยาได้ดี เช่น แบคทีเรียสายพันธุ์ที่ผลิตเอนไซม์ 6'-N-aminoglycoside acetyltransferase เป็นต้น ยานี้ถูกเปลี่ยนแปลงและขับออกทางไต นอกจากนี้ ไอเซปามัยซินยังมีผลหลังการใช้ยาปฏิชีวนะ (post-antibiotic effect) ซึ่งหมายความว่าการเติบโตของแบคทีเรียได้รับการกดไว้ชั่วคราวแม้จะหยุดใช้ยาดังกล่าวแล้วก็ตาม ทำให้ยานี้สามารถบริหารให้ผู้ป่วยได้เพียงวันละ 1 ครั้ง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและไอเซปามัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

ไข้หวัดนก

'''ภาพจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ของไวรัสที่ทำให้เกิดไข้หวัดนก''' (''ที่มา: Dr. Erskine Palmer, CDC''). ไข้หวัดนก (Avian influenza หรือชื่อสามัญ bird flu) เป็นโรคที่เกิดจากไวรัสไข้หวัดใหญ่ชื่อ H5N1 ซึ่งพบได้ในสัตว์ปีก ค้นพบครั้งแรกในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในประเทศอิตาลี เรียกกันว่าไข้หวัดสเปน โรคนี้ระบาดอย่างหนักทั่วโลก ไข้วก ไข้หวัดนก เอาอีก เริ่มระบาดครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและไข้หวัดนก · ดูเพิ่มเติม »

ไข้ซิกา

้ซิกา หรือโรคไวรัสซิกา เป็นโรคติดเชื้ออย่างหนึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสซิกา ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่มีอาการ หรือมีอาการเล็กน้อยคล้ายกับไข้เดงกี อาการมักคงอยู่ไม่เกินเจ็ดวัน โดยอาการเหล่านี้เช่น ไข้ ตาแดง ปวดข้อ ปวดหัว ผื่นแดง เป็นต้น ยังไม่มีรายงานว่ามีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคนี้ ภาวะนี้สัมพันธ์กับการเกิดกลุ่มอาการกิลแลงบาร์เรอีกด้วย ไข้ซิกาติดต่อผ่านทางการถูกยุง Aedes เช่น ยุงลาย กัด เป็นส่วนใหญ่ และยังอาจติดต่อผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์และการถ่ายเลือดได้ด้วย เชื้ออาจติดต่อผ่านทางมารดาไปยังทารกและทำให้ทารกมีศีรษะเล็กได้ การวินิจฉัยทำได้โดยการตรวจหา RNA ของไวรัสในเลือด ปัสสาวะ หรือน้ำลายจากผู้ป่วย การป้องกันทำได้โดยการลดโอกาสการถูกยุงกัดในพื้นที่ที่มีการระบาด ทำได้โดยการใช้สารไล่แมลง การปกคลุมร่างกาย การใช้มุ้ง และการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงเช่นในน้ำนิ่ง ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนที่ได้ผลดี บุคลากรทางสาธารณสุขเริ่มให้คำแนะนำแก่คู่สามีภรรยาในพื้นที่ระบาดว่าให้ชะลอการมีบุตรออกไปก่อน และแนะนำให้สตรีมีครรภ์งดการเดินทางไปยังพื้นที่ระบาด การรักษาทำได้ด้วยวิธีรักษาประคับประคอง ยังไม่มีการรักษาจำเพาะที่มีประโยชน์ ส่วนใหญ่ใช้ยาแก้ปวดลดไข้เข่นพาราเซตามอลเพื่อบรรเทาอาการ ส่วนใหญ่ไม่มีความจำเป็นต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล ไวรัสนี้ถูกแยกได้สำเร็จครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1947 การระบาดในมนุษย์มีบันทึกไว้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 2007 ในสหพันธรัฐไมโครนีเซีย จนถึงมกราคม ค.ศ. 2016 มีการพบโรคนี้ในกว่า 20 พื้นที่ของสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังพบได้ในแอฟริกา เอเชีย และในเขตแปซิฟิก องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคนี้เป็นหัวข้อฉุกเฉินนานาชาติทางสุขภาพเมื่อกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 หลังจากมีการระบาดของโรคนี้ในประเทสบราซิลเมื่อ ค.ศ. 2015.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและไข้ซิกา · ดูเพิ่มเติม »

ไข้เหลือง

ไข้เหลืองเป็นโรคชนิดหนึ่งในกลุ่มโรคไข้เลือดออกจากไวรัส ไวรัสไข้เหลืองมีขนาด 40-50 นาโนเมตร เป็นไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอไวรัสเซนส์บวก มีปลอกหุ้ม อยู่ในแฟมิลีฟลาวิไวริดี ติดต่อผ่านทางการถูกยุงตัวเมียที่มีเชื้อกัด อาจเป็นยุงไข้เหลือง ยุงลาย หรือยุงอื่นๆ บางชนิด พบในพื้นที่เขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้และทวีปแอฟริกาและพื้นที่ข้างเคียง แต่ไม่พบในทวีปเอเชีย โฮสต์ของไวรัสไข้เหลืองคือลิงไพรเมทรวมถึงมนุษย์และยุงบางชนิด เชื่อว่าโรคนี้มีถิ่นกำเนิดอยู่ที่แอฟริกา ระบาดมายังอเมริกาใต้พร้อมกับการค้าทาสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ต่อมาในศตวรรษที่ 17 เริ่มมีบันทึกการระบาดครั้งใหญ่หลายครั้งในอเมริกา แอฟริกา และยุโรป จนในศตวรรษที่ 19 ไข้เหลืองก็ถูกยกระดับเป็นโรคติดต่อที่อันตรายที่สุดโรคหนึ่ง ผู้ป่วยไข้เหลืองส่วนใหญ่มีอาการไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้ เบื่ออาหาร ปวดกล้ามเนื้อ (โดยเฉพาะหลัง) และปวดศีรษะ ส่วนใหญ่หายได้เองในเวลาหลายวัน ผู้ป่วยบางคนจะมีระยะพิษตามหลังจากระยะไข้ เซลล์ตับเสียหายจนมีดีซ่าน (เป็นที่มาของชื่อโรค) และอาจเป็นมากจนเสียชีวิตได้ ไข้เหลืองอาจทำให้ผู้ป่วยมีเลือดออกง่าย จึงจัดอยูในกลุ่มโรคไข้เลือดออก องค์การอนามัยโลกประมาณไว้ว่ามีคนที่ไม่ได้รับวัคซีนไข้เหลืองป่วยเป็นไข้เหลือง 200,000 รายต่อปี และเสียชีวิต 30,000 รายต่อปี ปัจจุบันผู้ป่วยโรคไข้เหลืองกว่า 90% อยู่ในแอฟริกา วัคซีนไข้เหลืองที่ปลอดภัยและใช้ได้ผลนั้นผลิตสำเร็จตั้งแต่กลางศตวรรษที่ 20 บางประเทศยังกำหนดให้นักท่องเที่ยวต้องได้รับวัคซีนนี้ก่อนเข้าประเทศ เนื่องจากเป็นโรคที่ยังไม่มีวิธีการรักษาจำเพาะจึงมีความจำเป็นต้องจัดให้ผู้ที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงได้มีโอกาสเข้าถึงวัคซีนอย่างทั่วถึง พร้อมๆ กับลดจำนวนยุงและลดโอกาสถูกยุงกัด ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา จำนวนผู้ป่วยไข้เหลืองเริ่มเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้ง จึงจัดอยู่ในกลุ่มโรคอุบัติซ้ำ (re-emerging disease) เชื่อว่าเป็นผลจากสภาพสังคมและสงครามในหลายๆ ประเทศในแอฟริกา หมวดหมู่:ไข้จากไวรัสที่มีแมลงเป็นพาหะและไข้เลือดออกที่เกิดจากไวรัส หมวดหมู่:ฟลาวิไวรัส หมวดหมู่:โรคเขตร้อน หมวดหมู่:วิทยาตับ หมวดหมู่:โรคติดเชื้อจากแมลง หมวดหมู่:โรคที่ไม่ได้รับการรักษา หมวดหมู่:อาวุธชีวภาพ.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและไข้เหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ไข้เด็งกี

้เด็งกี (Dengue fever) หรือในประเทศไทยนิยมเรียกว่า ไข้เลือดออก เป็นโรคติดเชื้อซึ่งระบาดในเขตร้อน เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเด็งกี ผู้ป่วยจะมีอาการไข้ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และมีผื่นลักษณะเฉพาะซึ่งคล้ายกับผื่นของโรคหัด ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีอาการรุนแรง จนกลายเป็นไข้เลือดออกเด็งกี (Dengue hemorrhagic fever) ที่เป็นอันตรายถึงชีวิต ซึ่งทำให้มีเลือดออกง่าย มีเกล็ดเลือดต่ำ และมีการรั่วของพลาสมา หรือรุนแรงมากขึ้นเป็นกลุ่มอาการไข้เลือดออกช็อก (Dengue shock syndrome) ซึ่งมีความดันโลหิตต่ำอย่างเป็นอันตรายได้ ไข้เลือดออกติดต่อผ่านทางพาหะคือยุงหลายสปีชีส์ในจีนัส Aedes โดยเฉพาะ A. aegypti หรือยุงลายบ้าน ไวรัสเด็งกีมีชนิดย่อยอยู่สี่ชนิด การติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งมักทำให้ผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสชนิดนั้น ๆ ไปตลอดชีวิต แต่มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสเด็งกีชนิดอื่น ๆ ในเวลาสั้น ๆ การติดเชื้อไวรัสเด็งกีชนิดอื่นในภายหลังเพิ่มความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนรุนแรง การป้องกันโรคทำโดยลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์และจำนวนของยุง และป้องกันมิให้ยุงลายกัด เพราะยังไม่มีวัคซีนในทางพาณิชย์ ยังไม่มีวิธีจำเพาะในการรักษาไข้เลือดออก การรักษาหลัก ๆ เป็นการรักษาประคับประคอง สำหรับผู้ป่วยที่อาการไม่รุนแรงรักษาโดยการคืนน้ำ อาจใช้การกินทางปากหรือการให้ทางหลอดเลือดดำ และสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงรักษาโดยให้สารน้ำหรือเลือดหรือองค์ประกอบของเลือดทางหลอดเลือดดำ อุบัติการณ์ของไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นมากตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีผู้ป่วยติดเชื้อ 50-100 ล้านคนต่อปี โรคนี้มีการอธิบายเอาไว้ครั้งแรกตั้งแต..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและไข้เด็งกี · ดูเพิ่มเติม »

ไดแอซิแพม

แอซิแพม (Diazepam) หรือชื่อทางการค้าคือ แวเลียม (Valium) เป็นยาในกลุ่มเบ็นโซไดอาเซพีน มีฤทธิส่งผลให้สงบจิตใจลง ใช้ในการรักษาโรควิตกกังวล, โรคสั่นเพ้อเหตุขาดสุรา, โรคสั่นเพ้อเหตุขาดเบ็นโซไดอาเซพีน, อาการกล้ามเนื้อกระตุก, อาการชัก, โรคนอนไม่หลับ และกลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุข การใช้ยาชนิดนี้อย่างต่อเนื่องอาจส่งผลให้เกิดอาการหลง ๆ ลืม ๆ สามารถรับยานี้ได้โดยวิธีรับประทาน, สอดใส่เข้าสู่ไส้ตรง, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ หรือฉีดเข้าสู่หลอดเลือดดำ หากใช้วิธีฉีดเข้าหลอดเลือดจะออกฤทธิ์ใน 1 ถึง 5 นาที หากใช้วิธีรับประทาน จะออกฤทธิ์ภายใน 40 นาที อาการข้างเคียงทั่วไปของการใช้ยาไดแอซิแพมได้แก่ ง่วงนอน, มองไม่ชัด ส่วนอาการข้างเคียงระดับรุนแรงซึ่งมีโอกาสเกิดขึ้นได้ยากนั้น ได้แก่ การฆ่าตัวตาย, หายใจลำบาก หากผู้ป่วยโรคลมชักใช้ยานี้บ่อยเกินไปจะเพิ่มความเสี่ยงจากอาการชัก การใช้ยานี้ในระยะยาวอาจก่อให้เกิดภาวะดื้อยาและเกิดอาการเสพติดยา การเลิกยาในทันทีเป็นอันตรายอย่างมากในผู้ป่วยที่ใช้ยาระยะยาว โดยจะส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการรู้คิดไปเป็นเวลากว่าครึ่งปี ไดแอซิแพมเป็นหนึ่งในยาที่ถูกสั่งจ่ายมากที่สุดตั้งแต่เริ่มการจ่ายในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและไดแอซิแพม · ดูเพิ่มเติม »

ไครสต์เชิร์ช

center ไครสต์เชิร์ช เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเกาะใต้ ประเทศนิวซีแลนด์ และเป็นชุมชนเมืองที่เป็นที่นิยมเป็นอันดับ 3 ของนิวซีแลนด์ ไครสต์เชิร์ชเป็นหนึ่งในสามเมืองที่อยู่ตั้งอยู่ชายฝั่งตะวันออกของเกาะใต้ ทางเหนือฝั่งน่านน้ำเพนนินซูล่า ตั้งแต่ปี 2006 บริเวณเขตนี้อยู่ใต้เขตการปกครองของเมืองไครสต์เชิร์ช จากการสำรวจสำมะโนประชากรเมืองไครสต์เชิร์ช ณ วันที่ 5 มีนาคม ปี 2013 มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 341,469 คน ชื่อเมืองไครสต์เชิร์ช ถูกตั้งขึ้นโดยสมาคมแคนเทอเบอรี่ (ตั้งอยู่บริเวณรอบเมืองแคนเทอเบอรี่) ชื่อเมืองนี้เป็นที่ยอมรับจากการประชุมสมาคมครั้งแรกในวันที่ 27 มีนาคม 1848 โดยการแนะนำจาก นายจอห์น โรเบิร์ต ก๊อตเร่ ผู้ที่เคยเข้าโบสถ์คริสต์ เมืองออกซ์ฟอร์ด ช่วงแรกนักเขียนบางท่าน เรียกเมืองนี้ว่า เมืองโบสต์คริสต์(Christ Church) แต่หลังจากมีการประชุมกรรมการสมาคมได้กำหนดให้เมืองนี้ ชื่อว่า เมืองไครสต์เชิร์ช(Christchurch) และเมืองไครสต์เชิร์ชได้ตั้งเป็นเมืองโดยมีพระราชกำหนด กำหนดตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 1856 อย่างเป็นทางการซึ่งถือว่าเมืองนี้เป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในนิวซีแลนด์ แม่น้ำที่ไหลผ่านใจกลางเมือง(แหล่งน้ำขนาดใหญ่จากสวนสาธารณะในเมือง) ชื่อว่า เอวอน ตั้งชื่อตามพี่น้องคณบดีผู้บุกเบิกเพื่อระลึกถึงสก็อตติส เอวอน ผู้ที่ทำให้เกิดทางน้ำไหลผ่านภูเขาแอร์ไชร์ใกล้กับฟาร์มของบรรพบุรุษของเขา และทางน้ำไหลผ่านสู่เครส์(The Clyde แม่น้ำทางฝั่งตะวันออกของสก็อตแลนด์) ชื่อ เมารี สำหรับเมืองไครสต์เชิร์ช คือ โอเท๊าทาหิ - Ōtautahi ("สถานที่ของเท๊าทาหิ - Tautahi") จุดกำเนิดของชื่อสถานที่นี้มาจากแม่น้ำเอวอน ใกล้ถนนคิลมอลล์ และ สถานีดับเพลิงไครสต์เชิร์ช สถานที่นี้เป็นที่อยู่อาศัยของ Ngāi Tahu หัวหน้า Te Potiki Tautahi เจ้าของบ้านท่าน้ำเลฝวี่(Port Levy) ฝั่งน้ำเพนซิลซูล่า โอเท๊าทาหิ - Ōtautahi เป็นชื่อที่นำมาใช้ในปี 1930 ก่อนที่ Ngāi Tahu จะเรียกดินแดนไครสต์เชิร์สว่า คารายเทียน่า (Karaitiana) คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษของชาวคริสเตียน ชื่อย่อของเมืองที่ชาวนิวซีแลนด์มักเรียก คือ เชิร์ช (Chch) สำหรับสัญลักษณ์ทางภาษาของนิวซีแลนด์* ชื่อเมืองจะแสดงสัญลักษณ์มือ เป็นรูปตัวซี (C) สองครั้ง โดยการแสดงสัญลักษณ์ครั้งที่สองนับจากทางขวาของตัวแรก และในขณะเดียวกัน ก็สื่อสารด้วยการขยับปากว่า "ไครสต์เชิร์ช" *สัญลักษณ์ทางภาษาของนิวซีแลนด์ (New Zealand Sign Language หรือ NZSL) คือ ภาษาหลักที่ใช้ในสังคมคนพิการทางหู ของประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและไครสต์เชิร์ช · ดูเพิ่มเติม »

เบวะซิซิวแมบ

วะซิซิวแมบ (Bevacizumab) ที่วางตลาดในชื่อการค้า Avastin เป็นยาที่ใช้รักษาโรคมะเร็งบางอย่างและโรคตาอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ สำหรับมะเร็ง มันปล่อยเข้าเส้นเลือดดำอย่างช้า ๆ เพื่อรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งปอด, มะเร็งสมอง (glioblastoma), และมะเร็งเซลล์ไต (renal cell carcinoma) สำหรับรักษาจุดภาพชัดเสื่อมเนื่องกับอายุ (AMD) มันใช้ฉีดเข้าในตา ผลข้างเคียงสามัญเมื่อใช้รักษามะเร็งรวมทั้งเลือดกำเดาไหล ปวดหัว ความดันโลหิตสูง และผื่น ผลข้างเคียงรุนแรงรวมทั้งทางเดินอาหารทะลุ (gastrointestinal perforation) เลือดออก แพ้ ลิ่มเลือด และความเสี่ยงติดเชื้อสูงขึ้น เมื่อใช้รักษาตา ผลข้างเคียงรวมทั้งการเสียการเห็นและจอตาลอก bevacizumab อยู่ในหมู่ยายับยั้งกำเนิดหลอดเลือด (angiogenesis inhibitor) และสารภูมิต้านทานโมโนโคลน (monoclonal antibody) มันทำงานโดยชะลอการเกิด/การเติบโตของเส้นเลือด bevacizumab อนุมัติให้ใช้รักษาในสหรัฐอเมริกาปี 2004 เป็นยาอย่างหนึ่งในรายการยาจำเป็นขององค์การอนามัยโลก คือเป็นยาที่มีประสิทธิผลและปลอดภัยที่สุดและจำเป็นในระบบสาธารณสุข โดยติดรายการเพราะใช้รักษาโรคตา ในประเทศกำลังพัฒนา ราคาขายส่งของมันอยู่ที่ 638.54 เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 20,741 บาท) ต่อขวดในปี 2014 เพื่อขวดขนาดเดียวกันองค์การอนามัยสหราชอาณาจักร (NHS) ต้องจ่าย 242.66 ปอนด์สเตอร์ลิง (ประมาณ 12,700 บาท).

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเบวะซิซิวแมบ · ดูเพิ่มเติม »

เบาหวาน

รคเบาหวาน (Diabetes mellitus (DM) หรือทั่วไปว่า Diabetes) เป็นกลุ่มโรคเกี่ยวกับการเผาผลาญอาหารซึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน น้ำตาลในเลือดสูงก่อให้เกิดอาการปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำและความหิวเพิ่มขึ้น หากไม่ได้รับการรักษา เบาหวานอาจก่อให้เกิดอาการแทรกซ้อนจำนวนมาก ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน ได้แก่ ภาวะเลือดเป็นกรดจากคีโตนจากเบาหวาน (diabetic ketoacidosis) และโคม่าเนื่องจากออสโมลาร์สูงที่ไม่ได้เกิดจากคีโตน (nonketotic hyperosmolar coma) ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวที่ร้ายแรงรวมถึงโรคหัวใจ, โรคหลอดเลือดสมอง, ไตวาย, แผลที่เท้าและความเสียหายต่อตา เบาหวานเกิดจากตับอ่อนผลิตอินซูลินไม่เพียงพอหรือเซลล์ร่างกายไม่ตอบสนองอย่างเหมาะสมต่ออินซูลินที่ผลิตอย่างใดอย่างหนึ่ง น้ำตาลที่ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายจะถูกนำไปเปลี่ยนเป็นพลังงานโดยการควบคุมของอินซูลิน ในเมื่ออินซูลินมีปัญหา ทำให้ไม่สามารถดึงน้ำตาลไปใช้ได้ จึงมีน้ำตาลตกค้างในกระแสเลือดมาก ไตจึงขับของเสียออกมาทางปัสสาวะ อันเป็นเหตุให้ปัสสาวะหวานนั้นเอง เบาหวานมีสามชนิดหลัก ได้แก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเบาหวาน · ดูเพิ่มเติม »

เฟอเลชิโอ

หญิงกระทำเฟอเลชิโอให้ชาย เฟอเลชิโอ (df, blowjob, BJ, giving head, sucking off) คือ กิจกรรมทางเพศซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่งใช้ปากหรือลำคอของตนกระทำต่ออวัยวะเพศชายของตนเองหรือของบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อเร้ากามารมณ์ เพื่อเป็นอารัมภบทไปสู่กิจกรรมทางเพศอย่างอื่น หรือเพื่อให้ถึงความเสียวสุดยอด ในภาษาอังกฤษ คำ fellatio มาจากคำภาษาละตินว่า fellātus ซึ่งเป็นรูปอดีตของกริยา fellāre แปลว่า ดูด ภาษาปากมักเรียก blowjob, BJ, give head หรือ suck off เฟอเลชิโอที่กระทำต่อตนเองมีศัพท์เฉพาะ คือ การใช้ปากกับอวัยวะเพศชายของตัวเอง (autofellatio) เฟอเลชิโออาจก่อให้เกิดโรคส่งผ่านทางเพศสัมพันธ์เช่นเดียวกับกิจกรรมทางเพศรูปแบบอื่น แต่มีความเป็นไปได้ที่จะส่งผ่านเชื้อเอชไอวีน้อยกว่าเพศสัมพันธ์ทางทวารหนักหรือช่องคลอด บางวัฒนธรรมห้ามกระทำเฟอเลชิโอ กระนั้น ประเทศส่วนใหญ่ในโลกนี้ก็ไม่มีกฎหมายห้ามเฟอเลชิโอ และผู้คนทั่วไปไม่นับว่า เฟอเลชิโอมีผลต่อพรหมจรรย์ แต่ก็มีผู้เห็นต่างSee and for male virginity, how gay and lesbian individuals define virginity loss, and for how the majority of researchers and heterosexuals define virginity loss/"technical virginity" by whether or not a person has engaged in vaginal sex.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเฟอเลชิโอ · ดูเพิ่มเติม »

เพรดนิโซโลน

รดนิโซโลน (Prednisolone) เป็นยาสเตอรอยด์สำหรับรักษาภูมิแพ้, การอักเสบ, โรคภูมิต้านตนเอง และโรคมะเร็ง นอกจากนี้ บางครั้งมีการนำยานี้ไปใช้ในการรักษาต่อมหมวกไตทำงานไม่เพียงพอ, แคลเซียมในเลือดสูง, ข้ออักเสบรูมาตอยด์, ผิวหนังอักเสบ, ดวงตาอักเสบ, โรคหืด, โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง สามารถรับยานี้ได้โดยการรับประทาน, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, ครีมทาผิวหนัง หรือโดยการหยอดตา อาการข้างเคียงทั่วไปจากการใช้ยาในระยะสั้นได้แก่คลื่นไส้และอ่อนเพลีย ส่วนในระดับรุนแรงได้แก่การเป็นโรคทางจิตเวชซึ่งเกิดขึ้นกับผู้ป่วยราว 5% อาการข้างเคียงทั่วไปจากการใช้ยาในระยะยาวได้แก่โรคกระดูกพรุน, อ่อนล้า, การอักเสบจากเชื้อราแคนดิดา ตลอดจนผิวหนังเป็นรอยง่าย ยานี้ปลอดภัยสำหรับสตรีมีครรภ์หากใช้ในระยะสั้น การใช้ยาในระยะยาวอาจส่งผลต่อทารกในครรภ์ เพรดนิโซโลนถูกค้นพบและได้รับการอนุมัติให้ใช้ในการแพทย์ในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเพรดนิโซโลน · ดูเพิ่มเติม »

เพศกับกฎหมาย

ทความเพศกับกฎหมายนี้ ว่าด้วยเพศสภาพและกิจกรรมทางเพศของมนุษย์มีผลต่อหรือถูกควบคุมโดยกฎหมายของมนุษย์อย่างไร โดยทั่วไป กฎหมายห้ามการกระทำที่ถูกมองว่าเป็นการกระทำทารุณทางเพศ (sexual abuse) หรือพฤติกรรมที่สังคมมองว่าไม่เหมาะสมและขัดต่อจารีต นอกเหนือจากนี้ กิจกรรมบางหมวดหมู่อาจถูกมองว่าเป็นอาชญากรรมแม้จะได้รับความยินยอมเสรี กฎหมายทางเพศแตกต่างกันตามกาลเทศะ การกระทำทางเพศที่ถูกกฎหมายห้ามในเขตอำนาจหนึ่ง ๆ เรียกว่า อาชญากรรมทาง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเพศกับกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

เกลือ

กลือ เกลือ เป็นแร่ธาตุส่วนใหญ่ประกอบด้วยโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) สารประกอบในระดับสูงกว่าเกลือชนิดต่าง ๆ เกลือในธรรมชาติก่อตัวเป็นแร่ผลึกรู้จักกันว่า เกลือหิน หรือแฮไลต์ เกลือพบได้ในปริมาณมหาศาลในทะเลซึ่งเป็นองค์ประกอบของแร่ที่สำคัญ ในมหาสมุทรมีแร่ธาตุ 35 กรัมต่อลิตร ความเค็ม 3.5% เกลือเป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิตสัตว์ ความเค็มเป็นรสชาติพื้นฐานของมนุษย์ เนื้อเยื่อสัตว์บรรจุเกลือปริมาณมากกว่าเนื้อเยื่อพืช ดังนั้นอาหารของชนเผ่าเร่ร่อนที่ดำรงชีวิตในฝูงต้องการเกลือเพียงเล็กน้อย หรือไม่ต้องการเกลือเลย ขณะอาหารประเภทซีเรียลจำเป็นต้องเพิ่มเกลือ เกลือเป็นหนึ่งในเครื่องปรุงรสที่เก่าแก่ที่สุดและหาได้ง่ายที่สุด และการดองเค็มก็เป็นวิธีการถนอมอาหารที่สำคัญวิธีหนึ่ง หลักฐานการทำเกลือยุคแรกที่สุดย้อนไปถึง 6,000 ปีที่แล้ว เมื่อคนที่อาศัยในประเทศโรมาเนียต้มน้ำเพื่อสกัดเกลือ การทำนาเกลือในจีนก็เกิดขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกัน เกลือถูกชาวฮีบรู กรีก โรมัน ไบแซนไทน์ ฮิไทต์ และอียิปต์ ตีราคาสูง เกลือกลายเป็นวัตถุสำคัญและขนส่งทางเรือผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ผ่านทางทางเกลือที่สร้างขึ้นเฉพาะ และผ่านทะเลทรายซาฮาราในคาราวานอูฐ ความขาดแคลนและความต้องการเกลือทั่วโลกนำไปสู่สงครามชิงเกลือ และใช้เกลือเพื่อเพิ่มภาษีเงินได้ เกลือยังถูกใช้ในพิธีทางศาสนา และวัฒนธรรมต่าง ๆ ด้วย เกลือผลิตจากเหมืองเกลือ หรือจากการระเหยน้ำทะเล หรือน้ำซับที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุในบ่อตื้น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหลักของเกลือคือโซดาไฟ และคลอรีน และใช้ในกระบวนการทางอุตสาหกรรมและในการผลิตโพลีไวนิลคลอไรด์ พลาสติก เยื่อกระดาษ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ จากการผลิตเกลือปริมาณสองล้านตันต่อปี มีเพียง 6% ที่ให้มนุษย์บริโภค ส่วนอื่น ๆ ใช้ในการปรับสภาวะของน้ำ กำจัดน้ำแข็งบนถนน และใช้ในการเกษตร เกลือที่กินได้มีขายในหลายรูปแบบ เช่น เกลือสมุทรและเกลือโต๊ะปกติจะบรรจุสารป้องกันการรวมตัวเป็นก้อน และอาจเสริมไอโอดีนเพื่อป้องกันภาวะพร่องไอโอดีน นอกจากจะใช้ปรุงอาหารและวางบนโต๊ะแล้ว เกลือยังพบได้ในอาหารแปรรูปจำนวนมาก อาหารที่มีโซเดียมมากเกินไปทำให้ความดันโลหิตสูง และอาจเพิ่มความเสี่ยงของกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมอง องค์การอนามัยโลกแนะนำว่าผู้ใหญ่ควรบริโภคโซเดียมน้อยกว่า 2,000 มิลลิกรัม หรือเทียบเท่ากับเกลือ 5 กรัมต่อวัน.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเกลือ · ดูเพิ่มเติม »

เรื่องอื้อฉาวนมในจีน พ.ศ. 2551

กรณีอื้อฉาวเรื่องนมในจีน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเรื่องอื้อฉาวนมในจีน พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

เรื้อน

รคเรื้อน (Leprosy) หรือ โรคแฮนเซน (Hansen's disease, ย่อ: HD) เป็นโรคเรื้อรังอันเกิดจากแบคทีเรีย Mycobacterium leprae และ Mycobacterium lepromatosis ตั้งตามชื่อแพทย์เจอร์ราด แฮนเซน (Gerhard Hansen) ชาวนอร์เวย์ โรคเรื้อนหลัก ๆ เป็นโรคผิวหนังเส้นประสาทส่วนปลายและเยื่อเมือกระบบทางเดินหายใจส่วนบน รอยโรคที่ผิวหนังเป็นสัญญาณภายนอกหลักอย่างหนึ่ง หากไม่ได้รับการรักษา โรคเรื้อนอาจลุกลาม และสร้างความเสียหายถาวรต่อผิวหนัง เส้นประสาท แขนขาและตาได้ คติชาวบ้านมักเชื่อว่าโรคเรื้อนทำให้ส่วนของร่างกายหลุดออกมา แต่คตินี้ไม่เป็นความจริง แม้ส่วนนั้นอาจชาหรือเป็นโรคจากการติดเชื้อทุติยภูมิ ซึ่งเกิดขึ้นหลังภูมิคุ้มกันของร่างกายต่อสู้กับการติดเชื้อปฐมภูมิ การติดเชื้อทุติยภูมิสามารถส่งผลให้สูญเสียเนื้อเยื่อตามลำดับ ทำให้นิ้วมือและนิ้วเท้าสั้นลงและผิดรูปร่าง เพราะกระดูกอ่อนถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย แม้วิธีการส่งผ่านโรคเรื้อนจะยังไม่ทราบแน่ชัด ผู้ทำการศึกษาส่วนใหญ่คิดว่า M. leprae ติดต่อจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งโดยฝอยละออง การศึกษาได้แสดงว่า โรคเรื้อนสามารถส่งผ่านไปยังมนุษย์ได้โดยอาร์มาดิลโล ปัจจุบันนี้ โรคเรื้อนทราบกันว่า ไม่ส่งผ่านทางเพศสัมพันธ์และการติดเชื้ออย่างรุนแรงหลังได้รับการรักษาแล้ว มนุษย์กว่า 95% มีภูมิคุ้มกันตามธรรมชาติ และผู้ป่วยจะไม่แพร่เชื้อหลังรักษาแล้วเพียง 2 สัปดาห์ ระยะฟักตัวน้อยสุดมีรายงานว่าสั้นเพียงไม่กี่สัปดาห์ ตามการเกิดโรคเรื้อนขึ้นอย่างน้อยครั้งมากในทารก ระยะฟักตัวมากสุดมีรายงานว่านานถึง 30 ปีหรือมากกว่า ดังที่สังเกตหมู่ทหารผ่านศึกที่เคยไปอยู่ในพื้นที่การระบาดช่วงสั้น ๆ แต่ปัจจุบันได้อยู่ในพื้นที่ไม่มีการระบาด เป็นที่ตกลงกันทั่วไปว่าระยะฟักตัวเฉลี่ยอยู่ระหว่างสามถึงห้าปี โรคเรื้อนเป็นโรคที่มนุษย์เป็นมานานกว่า 4,000 ปีแล้ว และเป็นที่รู้จักกันดีในอารยธรรมจีน อียิปต์และอินเดียโบราณ..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเรื้อน · ดูเพิ่มเติม »

เวชศาสตร์ป้องกัน

วชศาสตร์ป้องกัน (preventive medicine) หรือมาตรการป้องกันโรค (prophylaxis) ประกอบด้วยมาตรการทีี่ใช้สำหรับป้องกันโรค ซึ่งตรงข้ามกับการรักษาโรคHugh R. Leavell and E. Gurney Clark as "the science and art of preventing disease, prolonging life, and promoting physical and mental health and efficiency.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเวชศาสตร์ป้องกัน · ดูเพิ่มเติม »

เสม พริ้งพวงแก้ว

ตราจารย์ นายแพทย์ เสม พริ้งพวงแก้ว (31 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณ..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเสม พริ้งพวงแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ 16000 บาท

หรียญ 16000 บาท เป็นเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกเนื่องในโอก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเหรียญ 16000 บาท · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญ 800 บาท

หรียญ 800 บาท เป็นเหรียญกษาปณ์ที่ระลึกเนื่องในโอก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเหรียญ 800 บาท · ดูเพิ่มเติม »

เอชไอวี

วามหมายอื่น: อัลบั้มเพลงของ ไฮ-ร็อก ดูที่ HIV เอชไอวี (Human immunodeficiency virus, HIV) ไวรัสตระกูล Retrovirus เป็นสาเหตุของภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ในกรณีของมนุษย์ จะทำให้ระบบภูมิต้านทานล้มเหลว และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ชื่อเดิมของไวรัสนี้ ได้แก่ human T-lymphotropic virus-III (HTLV-III), lymphadenopathy-associated virus (LAV), และ AIDS-associated retrovirus (ARV). เชื้อเอชไอวีสามารถติดต่อได้ทาง เลือด อสุจิ สารคัดหลั่งในช่องคลอด หรือน้ำนม ซึ่งภายในของเหลวที่ร่างกายสร้างขึ้นนี้ เชื้อเอชไอวีสามารถอยู่ได้ทั้งในสภาพอิสระในตัว และอยู่ในเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ติดเชื้อ สาเหตุใหญ่ของการแพร่กระจายเชื้อ คือ การมีเพศสัมพันธ์โดยทีไม่ได้ป้องกัน เข็มฉีดยาที่ปนเปิ้อน การติดเชิ้อจากแม่สู่ลูกผ่านทางการให้น้ำนม เลือดที่ปนเปิ้อนเชื้อไวรัสเอชไอวีจากการบริจาคให้ธนาคารเลือด ในขณะนี้การติดเชื้อเอชไอวี ในมนุษย์จัดได้ว่าเป็นโรคระบาดร้ายแรง ซึ่งเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 2006 องค์กรความร่วมมือเกี่ยวกับ HIV/AIDS (UNAIDS) และองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประมาณการไว้ว่ามีผู้เสียชีวิตจากเอดส์มากกว่า 25 ล้านคนจากการตรวจพบในวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1981 ทำให้เชื้อ HIV เป็นหนึ่งในการแพร่ระบาดที่เป็นสาเหตุการตายของมนุษย์ ที่ร้ายแรงที่สุดในหน้าประวัติศาสตร์อีกเหตุการหนึ่ง นับจากภายหลังแบล็กเดธที่คร่าชีวิตประชากรยุโรปในสมัยกลางไปถึง 1 ใน 3 เชื้อ HIV ยังเป็นสาเหตุของการตายของมนุษย์ที่มีความเสียหายมากที่สุดในปี ค.ศ. 2005 มีการคาดการว่า มีผู้ติดเชื้อประมาณ 2.4 และ 3.3 ล้านคนที่ยังมีชีวิตอยู่ และจำนวนมากกว่า 570,000 คนเป็นเด็ก.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเอชไอวี · ดูเพิ่มเติม »

เอนโดซัลแฟน

อนโดซัลแฟน (Endosulfan) เป็นยาฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนคลอรีน เป็นของแข็ง ไม่มีสี เป็นสารที่มีความเป็นพิษสูง สะสมในสิ่งมีชีวิตได้ดี และรบกวนระบบการทำงานของต่อมไร้ท่อ ถูกห้ามใช้แล้วใน 50 ประเทศ แต่ยังคงใช้อยู่ในอินเดีย บราซิล และออสเตรเลี.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเอนโดซัลแฟน · ดูเพิ่มเติม »

เจนตามัยซิน

นตามัยซิย (Gentamicin) เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ มีข้อบ่งใช้สำหรับรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ปัจจุบันมีจำหน่ายในตลาดยาภายใต้ชอื่การค้า Garamycin และอื่นๆ ยานี้ถูกนำมาใช้วนการรักษาการติดเชื้อแบคทีเรียของกระดูก (osteomyelitis), เยื่อบุหัวใจอักเสบ, ภาวะอักเสบในอุ้งเชิงกราน (Pelvic inflammatory disease;PID), เยื่อหุ้มสมองอักเสบ, ปอดบวม, การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และ ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ รวมไปถึงโรคติดเชื้ออื่นๆอีกมากมาย แต่ไม่มีประสิทธิภาพในการรักษาหนองใน หรือการติดเชื้อคลามัยเดีย โดยสามารถบริหารยาได้หลายช่องทาง ได้แก่ การฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, การฉีดเข้าหล้ามเนื้อ หรือยาใช้ภายนอกในรูปแบบยาทา ยาทาสำหรับใช้ภายนอกนั้นมีข้อบ่งใช้สำหรับการรักษาการติดเชื้อของแผลไฟไหม้ หรืออาจมีในรูปแบบยาหยอดยาสำหรับการติดเชื้อในดวงตา ในประเทศพัฒนาแล้ว ยานี้มักถูกนำมาใช้รักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียในช่วง 2 วันแรกระหว่างรอผลการตรวจเพาะเชื้อสาเหตุและตรวจความไวของเชื้อนั้นๆต่อยาปฏิชีวนะต่างๆ จากนั้นจะมีการปรับเปลี่ยนการรักษาตามผลการตรวจดังกล่าว นอกจากนี้ การใช้ยานี้อาจจำเป็นต้องติดตามระดับยาในกระแสเลือดโดยการตรวจเลือดด้วย เพื่อเฝ้าติดตามการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่ร้ายแรงจากยานี้ เจนตามัยซินเป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ จึงมีกลไกการออกฤทธิ์ที่คล้ายคลึงกับยาปฏิชีวนะชนิดอื่นในกลุ่มเดียวกันนี้ โดยจะออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย ส่งผลให้เซลล์ของแบคทีเรียนั้นๆขาดโปรตีนที่จำเป็นในการดำรงชีวิตและขยายพันธุ์ และตายไปในที่สุด จึงอาจกล่าวได้ว่า เจนตามัยซินเป็นยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ในการฆ่าแบคทีเรีย (bactericidal antibiotic) ซึ่งแตกต่างจากยาปฏิชีวนะกลุ่มอื่นที่ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้างโปรตีนเช่นกัน แต่มีคุณสมบัติเพียงแค่ต้านการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (bacteriostatic antibiotic) เช่นเดียวกันกับยาชนิดอื่นๆ การใช้เจนตามัยซินในการรักษา อาจก่อให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ได้หลายประการ โดยเฉพาะการเกิดพิษต่อหู และการเกิดพิษต่อไต ซึ่งถือเป็นอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงของเจนตามัยซินและยาปฏิชีวนะอื่นในกลุ่มนี้ โดยการเกิดพิษต่อหูจากยานี้จะส่งผลให้เกิดความผิดปกติได้ทั้งระบบการได้ยินและระบบการทรงตัวของร่างกาย ซึ่งอาจพัฒนาเป็นความผิดปกติแบบถาวรได้ นอกจากนี้ การใช้เจนตามัยซินในระหว่างตั้งครรภ์อาจก่อให้เกิดความผิดปกติต่อทารกในครรภ์ได้ จึงควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ในกลุ่มประชากรดังกล่าว ในทางตรงกันข้าม ยานี้ไม่ถูกขับออกทางน้ำนม ทำให้สามารถใช้ยานี้ได้อย่างปลอดภัยในหญิงที่กำลังให้นมบุตร เจนตามัยซินถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเจนตามัยซิน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะแลนซิต

อะแลนซิต (The Lancet) เป็นวารสารการแพทย์ทั่วไปรายสัปดาห์ที่ทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน ที่เก่าแก่ที่สุดและรู้จักกันดีที่สุดวารสารหนึ่ง โดยมีการกล่าวว่า เป็นวารสารการแพทย์ที่มีเกียรติมากที่สุดวารสารหนึ่งของโลก ในปี 2557 เดอะแลนซิต จัดว่ามีอิทธิพลเป็นที่สองในบรรดาวารสารการแพทย์ทั่วไป โดยมีปัจจัยกระทบที่ 45 ต่อจากวารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์ ที่มีปัจจัยกระทบที่ 56 หน้าต่างแบบแลนซิตที่โบสถ์แห่งหนึ่งในสหราชอาณาจักร น.ทอมัส เวคลีย์ ศัลยแพทย์ชาวอังกฤษ ได้จัดตั้งวารสารขึ้นในปี 2366 (ค.ศ. 1823) โดยตั้งชื่อวารสารตามเครื่องมือผ่าตัดที่เรียกว่า "lancet" (มีดปลายแหลมสองคมขนาดเล็กสำหรับผ่าตัด) และตามชื่อส่วนของสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษที่เป็นช่องหน้าต่างโค้งยอดแหลม ซึ่งหมายถึง "แสงสว่างแห่งปัญญา" หรือ "เพื่อให้แสงสว่างเข้ามา" เดอะแลนซิต พิมพ์บทความงานวิจัยดั้งเดิม บทความปริทัศน์ บทความบรรณาธิการ งานปฏิทัศน์หนังสือ การติดต่อทางจดหมาย ข่าว และรายงานเค้ส และมีสำนักพิมพ์แอ็ลเซอเฟียร์เป็นเจ้าของตั้งแต่ปี 2534 หัวหน้าบรรณาธิการคือนายริชาร์ด ฮอร์ตัน ตั้งแต่ปี 2538 วารสารมีสำนักงานบรรณาธิการในนครลอนดอน นิวยอร์ก และปักกิ่ง.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเดอะแลนซิต · ดูเพิ่มเติม »

เด็กซาเมทาโซน

็กซาเมทาโซน (Dexamethasone) เป็นยาสเตอรอยด์ชนิดหนึ่ง มีฤทธิในการแก้อักเสบและลดภูมิคุ้มกัน ใช้ในการรักษาอาการจำพวกวิทยารูมาติก, โรคผิวหนัง, ภูมิแพ้, โรคหืด, โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง, กล่องเสียงอักเสบอุดกั้น, สมองบวม และจะใช้ควบคู่กับยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยวัณโรค และจะใช้ควบคู่กับยาสเตอรอยด์ชนิดอื่นอย่างฟลูดอร์คอร์ทิโซน (Fludrocortisone) ในผู้ป่วยภาวะต่อมหมวกไตทำงานไม่เพียงพอ นอกจากนี้ ยาชนิดนี้ยังอาจถูกใช้ในการคลอดก่อนกำหนด ยาชนิดนี้สามารถรับยาได้หลายวิธี ทั้งโดยการรับประทาน, ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ, ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง หรือฉีดเข้าโพรงกระดูก ยาเด็กซาเมทาโซนจะออกฤทธิภายในหนึ่งวัน และคงฤทธิไปประมาณสามวัน การใช้เด็กซาเมทาโซนในระยะยาวอาจส่งผลให้เกิดโรคต่างๆ ได้แก่ โรคปากอักเสบจากเชื้อรา, โรคกระดูกพรุน, ต้อกระจก, ฟกช้ำง่าย หรือกล้ามเนื้ออ่อนแรง สตรีมีครรภ์สามารถใช้ยานี้ได้ แต่สตรีให้นมบุตรควรงดใช้ยานี้ เนื่องจากจะไปกดฮอร์โมนการเจริญเติบโตของทารก เด็กซาเมทาโซนถูกคิดค้นขึ้นใน..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเด็กซาเมทาโซน · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องดื่มชูกำลัง

รื่องดื่มชูกำลัง (Energy Drink) เป็นเครื่องดื่มชนิดหนึ่งที่มีส่วนผสมของสารคาเฟอีนในปริมาณไม่เกิน 50 มิลลิกรัม ต่อ 1 ขวด (100 - 150 มิลลิลิตร) เครื่องดื่มชนิดนี้ส่วนใหญ่เน้นไปทางด้านพลังงาน นักวิทยาศาสตร์ได้ให้พื้นฐานกับเครื่องดื่มชนิดนี้ว่า เครื่องดื่มชนิดนี้มีความใกล้เคียงกันกับเครื่องดื่มที่ไม่มีส่วนผสมของคาเฟอีนโดยส่วนใหญ่แล้วเครื่องดื่มชนิดนี้จะนิยมดื่มในหมู่ผู้ใช้แรงงาน และคนที่ทำงานหนักเนื่องจากเมื่อทำงานเสร็จร่างกายจะอ่อนเพลีย จึงต้องการพลังงานชดเชยกลับม.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเครื่องดื่มชูกำลัง · ดูเพิ่มเติม »

เคตามีน

ตามีน (Ketamine) หรือชื่อทางการค้าคือ เคตาลาร์ (Ketalar) หรือภาษาปากคือ ยาเค เป็นยาในกลุ่มยาสลบ ผู้รับยานี้จะไม่สลบแต่จะมีอาการไร้ความรู้สึกและอยู่ในภวังค์ มีฤทธิระงับปวด, ระงับประสาท และทำให้สูญเสียความทรงจำ ยานี้สามารถใช้รักษาอาการปวดเรื้อรังและยังอาจถูกใช้เป็นยาระงับประสาทในผู้ป่วยหนัก ยานี้ยังช่วยให้ระบบหายใจและหัวใจทำงานอย่างคล่องตัวขึ้น สามารถรับยานี้ได้โดยรับประทาน, สูดดม, ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ หรือฉีดเข้าหลอดเลือดดำ หากฉีดเข้าหลอดเลือดจะออกฤทธิใน 5 นาทีและจะคงฤทธิไปราว 25 นาที ผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้แก่ ปฏิกิริยาทางจิตเมื่อยาหมดฤทธิ ปฏิกิริยาเหล่านี้ได้แก่ ภาวะอยู่ไม่สุข, สับสน หรืออาการประสาทหลอน นอกจากนี้ยังส่งผลให้ความดันโลหิตเปลี่ยนแปลง(โดยมากจะความดันเพิ่มขึ้น)และกล้ามเนื้อสั่น และยังอาจก่อให้เกิดอาการหลอดลมหดตัวเฉียบพลัน ยานี้อาจก่อให้เกิดการเสพติด หากใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน อาจทำให้ผู้รับยาเป็นโรคจิตเภท เคตามีนถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและเคตามีน · ดูเพิ่มเติม »

Haemophilus influenzae

Haemophilus influenzae, หรือมีชื่อเดิมว่า Pfeiffer's bacillus หรือ Bacillus influenzae เป็นแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างเป็นท่อน ค้นพบครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและHaemophilus influenzae · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10

ัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) เป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลก รหัสได้ถูกจัดทำขึ้นแตกต่างกันถึง 155,000 รหัสและสามารถติดตามการวินิจฉัยและหัตถการใหม่ๆ ดังจะเห็นจากรหัสที่เพิ่มขึ้นจากฉบับก่อนหน้า ICD-9 ที่มีอยู่เพียง 17,000 รหัส งานจัดทำ ICD-10 เริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. 2526 และแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 10: โรคของระบบหายใจ

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 10: โรคของระบบหายใจ · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 11: โรคของระบบย่อยอาหาร

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 11: โรคของระบบย่อยอาหาร · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 12: โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 13: โรคของระบบกล้ามเนื้อโครงร่าง และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 13: โรคของระบบกล้ามเนื้อโครงร่าง และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 14: โรคของระบบสืบพันธุ์และระบบปัสสาวะ

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 14: โรคของระบบสืบพันธุ์และระบบปัสสาวะ · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิด

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 16: ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 17: รูปผิดปกติแต่กำเนิด รูปพิการ และความผิดปกติของโครโมโซม · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 18: อาการ อาการแสดง และความผิดปกติที่พบจากการตรวจทางคลินิกและทางห้องปฏิบัติการ

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 18: อาการ อาการแสดง และความผิดปกติที่พบจากการตรวจทางคลินิกและทางห้องปฏิบัติการ · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 19: การบาดเจ็บ การเป็นพิษ และผลสืบเนื่องบางอย่างจากสาเหตุภายนอก · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 1: โรคติดเชื้อและโรคปรสิตบางโรค · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 20: สาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตาย

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 20: สาเหตุภายนอกของการเจ็บป่วยและการตาย · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 21: ปัจจัยที่มีผลต่อสถานะสุขภาพและการรับบริการสุขภาพ

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 21: ปัจจัยที่มีผลต่อสถานะสุขภาพและการรับบริการสุขภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 22: รหัสเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 22: รหัสเพื่อวัตถุประสงค์พิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 2: เนื้องอก

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 2: เนื้องอก · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 3: โรคของเลือดและอวัยวะสร้างเลือดและความผิดปกติบางอย่างของกลไกภูมิคุ้มกัน

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 3: โรคของเลือดและอวัยวะสร้างเลือดและความผิดปกติบางอย่างของกลไกภูมิคุ้มกัน · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 4: โรคของต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึม

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 4: โรคของต่อมไร้ท่อ โภชนาการ และเมตะบอลิซึม · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 5: ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 5: ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 6: โรคของระบบประสาท

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 6: โรคของระบบประสาท · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 7: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 8: โรคของหูและปุ่มกระดูกกกหู

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 8: โรคของหูและปุ่มกระดูกกกหู · ดูเพิ่มเติม »

ICD-10 บทที่ 9: โรคของระบบไหลเวียนโลหิต

ป็นบัญชีโรคย่อยหนึ่งจากบัญชีจำแนกทางสถิติระหว่างประเทศของโรคและปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้อง ฉบับทบทวนครั้งที่ 10 (ICD-10) ซึ่งเป็นรหัสของโรคและอาการ อาการแสดง ความผิดปกติที่ตรวจพบ อาการนำ สภาพสังคม หรือสาเหตุภายนอกของการบาดเจ็บหรือโรค จัดทำขึ้นโดยองค์การอนามัยโลกโดยแล้วเสร็จในปี..

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและICD-10 บทที่ 9: โรคของระบบไหลเวียนโลหิต · ดูเพิ่มเติม »

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและ12 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 เมษายน

วันที่ 7 เมษายน เป็นวันที่ 97 ของปี (วันที่ 98 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 268 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและ7 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 ธันวาคม

วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: องค์การอนามัยโลกและ9 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

W.H.O.WHOWorld Health Organization

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »