โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ดัชนี สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

169 ความสัมพันธ์: บรรหาร ศิลปอาชาบัญญัติ จันทน์เสนะชาญชัย ลิขิตจิตถะบุญรอด สมทัศน์บุญเลิศ แก้วประสิทธิ์ชนาพัทธ์ ณ นครบ้านมนังคศิลาพ.ศ. 2486พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551พรรคประชาธิปัตย์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550พลเดช ปิ่นประทีปพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพิจิตร กุลละวณิชย์พงษ์เทพ เทศประทีปพโยม จุลานนท์กรณีตากใบกองทัพภาคที่ 2การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดินการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทยการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตรการตรวจพิจารณาในประเทศไทยการประชุมผู้บัญชาการทหารบก กลุ่มประเทศอาเซียนการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550มรกต กรเกษมมหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีมหาวิทยาลัยนเรศวรมงคล ณ สงขลายงยุทธ มัยลาภยงยุทธ ยุทธวงศ์ยงยุทธ ติยะไพรัชรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557รายชื่อรางวัลที่สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้วได้รับรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทยรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่...รายนามบุคคลสำคัญจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทยรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทยรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรายนามแม่ทัพภาคที่ 2รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทยรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทยรุ่งเรือง อิศรางกูร ณ อยุธยารถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549วรากรณ์ สามโกเศศวัลลภ ไทยเหนือวัดคุ้งตะเภาวันตำรวจวันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย)วาสนา นาน่วมวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553วิจิตร ศรีสอ้านวุฒิสภาไทย ชุดที่ 7สมบัติ บุญงามอนงค์สมหมาย ภาษีสมัคร สุนทรเวชสมทัต อัตตะนันทน์สมคิด จาตุศรีพิทักษ์สรรเสริญ วงศ์ชะอุ่มสวนิต คงสิริสะพานมิตรภาพ (ไทย–มาเลเซีย)สิทธิชัย โภไคยอุดมสิทธิบัตรยาสุรพล นิติไกรพจน์สุวิทย์ ยอดมณีสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวีสถานีโทรทัศน์ไอทีวีสนธิ บุญยรัตกลินหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุลหวยในประเทศไทยอภัย จันทนจุลกะอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะอมรวิชช์ นาครทรรพอรนุช โอสถานนท์อารีย์ วงศ์อารยะอาเซียนพาราเกมส์ 2008องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยผู้แทนการค้าไทยจักรภพ เพ็ญแขจังหวัดเพชรบุรีจิตรวดี จุลานนท์ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ธีรวุฒิ บุตรศรีภูมิธีระ สูตะบุตรธีระ ห้าวเจริญทักษิณ ชินวัตรทิพาวดี เมฆสวรรค์ท่าอากาศยานดอนเมืองณรงค์ ยุทธวงศ์ณัฐ อินทรปาณณัฐวุฒิ ใสยเกื้อดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยคณะรัฐมนตรีไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59คณะองคมนตรีไทยคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549ตุลาคม พ.ศ. 2549ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ซีเกมส์ 2007ปฐมจุลจอมเกล้าประยุทธ์ จันทร์โอชาประวัติพรรคประชาธิปัตย์ประสิทธิ์ โฆวิไลกูลประเทศไทยใน พ.ศ. 2549ประเทศไทยใน พ.ศ. 2550ประเทศไทยใน พ.ศ. 2551ปลอดประสพ สุรัสวดีปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ปิยะบุตร ชลวิจารณ์ปณิธาน วัฒนายากรนายกรัฐมนตรีไทยนิตย์ พิบูลสงครามแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติโชติศรี ท่าราบโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรีโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวันโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยโรงเรียนเตรียมทหารโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์โรงเรียนเซนต์คาเบรียลโสภณ พรโชคชัยโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ไชยา ยิ้มวิไลไพบูลย์ วัฒนศิริธรรมไพโรจน์ รัตตกุลไกรศักดิ์ ชุณหะวัณไขศรี ศรีอรุณเชษฐา ฐานะจาโรเกริกไกร จีระแพทย์เกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยาเมืองไทยรายสัปดาห์เหรียญพิทักษ์เสรีชนเหรียญราชการชายแดนเหรียญจักรมาลาเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549เหตุจลาจลในพนมเปญ พ.ศ. 2546เหตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน พ.ศ. 2554เอเชียนบีชเกมส์ 2014เขายายเที่ยงเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีเฉลิม อยู่บำรุงเปรม ติณสูลานนท์เปรียว อวอร์ด ขยายดัชนี (119 มากกว่า) »

บรรหาร ศิลปอาชา

รรหาร ศิลปอาชา (19 สิงหาคม พ.ศ. 2475 – 23 เมษายน พ.ศ. 2559) เป็นนักการเมืองชาวไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 21 ประธานกรรมการมูลนิธิบรรหาร-แจ่มใส ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติไทยพัฒนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุพรรณบุรี 11 สมัย อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตนายกสภาสถาบันการพลศึกษา อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท สหศรีชัยก่อสร้าง จำกัด และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย ทั้งเป็นพี่ชายของชุมพล ศิลปอาชา อดีตรองนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และบรรหาร ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

บัญญัติ จันทน์เสนะ

นายกองเอกบัญญัติ จันทน์เสนะ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รองประธานกรรมการคณะกรรมการที่ปรึกษาการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานมูลนิธิสวนประวัติศาสตร์ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และผู้แทนคณะรัฐมนตรี ในคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตผู้อำนวยการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.).

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และบัญญัติ จันทน์เสนะ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญชัย ลิขิตจิตถะ

นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ (25 เมษายน พ.ศ. 2489 - 18 มกราคม พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี อดีตประธานศาลฎีกา และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตผู้พิพากษาอาวุโส ชาญชัย เป็นผู้มีบทบาทในการแก้ไขวิกฤตการเมือง อันเนื่องจากการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 และกรณีคณะกรรมการการเลือกตั้ง ชุดที่ 2 ที่มี พล.ต.อ.วาสนา เพิ่มลาภเป็นประธานก่อนที่จะเกิดการรัฐประหาร หลังจากที่เกษียณอายุราชแล้วได้รับแต่งตั้งเป็น ผู้พิพากษาอาวุโสศาลแพ่งธนบุรี แต่ทำงานได้เพียง 2 วันจึงได้ลาออกจากตำแหน่ง ภายหลังจากเหตุการณ์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 เคยถูกทาบทามจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี แต่ในที่สุดทาง คป.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และชาญชัย ลิขิตจิตถะ · ดูเพิ่มเติม »

บุญรอด สมทัศน์

ลเอกบุญรอด สมทัศน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และบุญรอด สมทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเลิศ แก้วประสิทธิ์

ล.อ.บุญเลิศ แก้วประสิทธิ์ พลเอก บุญเลิศ แก้วประสิทธิ์ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ.อ้าย อดีตประธานมูลนิธิศิษย์เก่าโรงเรียนเตรียมทหาร อดีตประธานคณะที่ปรึกษากองทัพบก อดีตตุลาการศาลทหารสูงสุด และประธานองค์การพิทักษ์สยาม (อพส.) เกิดเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 ที่จังหวัดลพบุรี เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 1 (ตท.1)..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และบุญเลิศ แก้วประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชนาพัทธ์ ณ นคร

นาพัทธ์ ณ นคร นายชนาพัทธ์ ณ นคร หรือ "เตมูจิน" อดีตที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม สมัยรัฐบาล พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ นายชนาพัทธ์ เกิดเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2514 ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช มีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นผู้ที่ตอบกระทู้ต่าง ๆ ในเว็บไซต์พันทิปดอตคอม โดยเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวกับการเมือง โดยใช้นามแฝงว่า เตมูจิน ต่อมานายชนาพัทธ์ เป็นผู้นำของขบวนการภาคประชาชนที่ใช้ชื่อว่า กลุ่มประชาชนผู้รักประชาธิปไตย ที่มีการเคลื่อนไหวในลักษณะที่สนับสนุน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และพรรคไทยรักไทย และต่อต้านผู้ที่ต่อต้าน.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ภายหลังการรัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 นายชนาพัทธ์เริ่มมีท่าทีที่เปลี่ยนไป โดยเริ่มเป็นผู้เปิดประเด็นเปิดโปงขบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของฝ่ายรัฐบาล.ต.ท.ทักษิณ ที่ต่อต้านฝ่ายที่กระทำการรัฐประหาร เช่น เป็นผู้ออกมาเปิดโปงว่า นายเนวิน ชิดชอบ เป็นผู้จ้างวานให้มีการชุมนุมเพื่อต่อต้านรัฐบาลหลังการรัฐประหารและคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) หรือกล่าวหากลุ่มเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร เป็นต้น วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 ศาลอาญาพิพากษาคดีที่นายชนาพัทธ์ ให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน เมื่อวันที่ 1..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และชนาพัทธ์ ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

บ้านมนังคศิลา

้านมนังคศิลา บ้านมนังคศิลา ตั้งอยู่เลขที่ 514 ถนนหลานหลวง แขวงสี่แยกมหานาค เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นบ้านที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชทานแก่พระยาอุดมราชภักดี (โถ สุจริตกุล) อดีตอธิบดีกรมชาวที่ ผู้มีหน้าที่ดูแลพระราชฐานที่ประทับทั้งหมด และพระราชทานชื่อบ้านนี้ว่า "มนังคศิลา" อันหมายถึงที่ประทั.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และบ้านมนังคศิลา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปัตย์

รรคประชาธิปัตย์ (Democrat Party - DP, ย่อ: ปชป.) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2489 เป็นพรรคการเมืองจดทะเบียนที่เก่าแก่ที่สุดของไทยที่ยังดำเนินการอยู่ พรรคมีสมาชิกที่ได้แจ้งต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองไว้ จำนวน 2,895,933 คน นับเป็นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกมากที่สุดในประเทศไทย และมีสาขาพรรคจำนวน 175.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 — 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จสู่พระราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร)

ระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) (2 มกราคม พ.ศ. 2462 - 29 มกราคม พ.ศ. 2557) พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพระพุทธวรญาณ (ทอง สุวณฺณสาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ)

ันเอก พระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) อดีตนายทหารบก ผู้เป็นแกนหลักในเหตุการณ์กบฏบวรเดชเมื่อปี พ.ศ. 2476 พระยาศรีสิทธิสงคราม มีชื่อเดิมว่า ดิ่น ท่าราบ เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2434 ในครอบครัวคหบดีชาวสวน ที่ตำบลท่าราบ อำเภอคลองกระแชง (ปัจจุบัน คือ อำเภอเมืองเพชรบุรี) จังหวัดเพชรบุรี จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก ด้วยการสอบได้ที่ 1 จึงได้ทุนการศึกษาไปศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกเยอรมัน ร่วมรุ่นเดียวกับ พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) และพระยาทรงสุรเดช (เทพ พันธุมเสน) โดยทั้ง 3 สนิทสนมกันมาก จนได้รับฉายาจากพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ว่าเป็น "สามทหารเสือ" เช่นเดียวกับ สามทหารเสือ ในนวนิยายชื่อเดียวกันของอเล็กซังเดรอ ดูมาส์ นักเขียนชาวฝรั่งเศส พระยาศรีสิทธิสงคราม ได้ศึกษาที่ประเทศเยอรมันนานถึง 10 ปี ก่อนจะเดินทางกลับมายังประเทศไทย มีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่ราชการอย่างรวดเร็ว โดยได้รับยศเป็น พันเอก (.อ.) ตั้งแต่อายุ 37 ปี และได้รับบรรดาศักดิ์เป็น พระยา เมื่ออายุได้ 40 ปี ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 นั้น พระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกชักชวนให้เข้าร่วมด้วย แต่พระยาศรีสิทธิสงครามไม่ขอเข้าร่วม เนื่องจากยึดมั่นในคำถวายสัตย์ แต่ก็ไม่ต่อต้าน โดยในวันที่ 24 มิถุนายน ปีเดียวกันนั้นที่เกิดเหตุการณ์ ตัวของพระยาศรีสิทธิสงครามก็ได้ซ่อนตัวอยู่ในบ้านพักของพระยาพหลพลหยุหเสนาทั้งวัน จากนั้น พระยาศรีสิทธิสงคราม จึงถูกย้ายไปรับราชการในกระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการในปัจจุบัน) ต่อมาเมื่อเกิดความขัดแย้งกันในหมู่คณะราษฎร เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ได้ใช้อำนาจนายกรัฐมนตรี ปิดรัฐสภา และงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตรา ซึ่งเป็นชนวนเหตุให้พระยาทรงสุรเดช, พระยาฤทธิอัคเนย์ และพระประศาสน์พิทยายุทธ ลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี (ลอย) ก็เป็นพระยาศรีสิทธิสงครามที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน และได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้ากรมยุทธการทหารบก แต่ก็อยู่ในตำแหน่งได้เพียง 2 วันเท่านั้น ก็เกิดการรัฐประหารเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 โดยกลุ่มของ พระยาพหลพลพยุหเสนา และหลวงพิบูลสงคราม พระยาศรีสิทธิสงครามจึงถูกย้ายไปรับราชการที่กระทรวงธรรมการอีกครั้ง ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นเหตุให้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เกิดความขุ่นข้องหมองพระทัย และได้ก่อเหตุการณ์กบฏบวรเดชขึ้นในเดือนตุลาคม ปีเดียวกันนั้น โดยพระยาศรีสิทธิสงครามเข้าร่วมด้วย มีฐานะเป็นแม่ทัพ รับหน้าที่เป็นกองระวังหลัง จนเมื่อทางฝ่ายกบฏเพลี่ยงพล้ำต่อรัฐบาล ในเวลาพลบค่ำของวันที่ 23 ตุลาคม ปีเดียวกัน พระยาศรีสิทธิสงครามได้เป็นผู้เดินไปเจรจากับทหารฝ่ายรัฐบาล เพื่อขอให้หยุดยิง แต่ปรากฏว่า พระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกยิงเสียชีวิต ที่สถานีรถไฟหินลับ จังหวัดสระบุรี โดยร้อยโท ตุ๊ จารุเสถียร (ประภาส จารุเสถียร) จากนั้นร่างของพระยาศรีสิทธิสงครามได้ถูกส่งกลับกรุงเทพมหานคร โดยทำการฌาปนกิจอย่างเร่งด่วนที่วัดอภัยทายาราม หรือวัดมะกอก โดยที่ทางครอบครัวไม่ได้รับรู้มาก่อนเลย และกว่าจะได้อัฐิกลับคืนก็เป็นเวลาล่วงไป 3-4 ปีแล้ว อีกทั้งยังถูกคุกคามต่าง ๆ นานา ตลอดสมัยรัฐบาลหลวงพิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี จนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ชีวิตครอบครัวของพระยาศรีสิทธิสงคราม สมรสกับคุณหญิงศรีสิทธิสงคราม (ตลับ ท่าราบ - นามสกุลเดิม อ่ำสำราญ) มีบุตรธิดาทั้งหมด 4 คน ได้แก่ นางอัมโภช จุลานนท์ (มารดาของพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์), แพทย์หญิงโชติศรี ท่าราบ, นางอารีพันธ์ ประยูรโภคราช และนายชัยสิทธิ์ ท่าร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

ระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550

ระวังสับสนกับ พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 12 สิงหาคม 2555 พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 (Celebrations on the Auspicious Occasion of His Majesty the King’s 80th Birthday Anniversary) เป็นงานฉลองที่ประกอบด้วยรัฐพิธี ราชพิธี และราษฎรพิธี เนื่องในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมายุครบ 80 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 · ดูเพิ่มเติม »

พลเดช ปิ่นประทีป

ลเดช ปิ่นประทีป เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เลขาธิการสถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา และสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตกรรมการนโยบายองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย และอดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานกรรมการนโยบายองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ชั่วคราว).

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพลเดช ปิ่นประทีป · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ. 2548-2552 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กรทั่วประเทศ และได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ภายใต้จุดประสงค์ในการขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และแสดงความต้องการให้อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนอย่างเปิดเผยBloomberg,, 19 December 2008 กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยมีแกนนำคนสำคัญ ได้แก่ สนธิ ลิ้มทองกุล และพลตรีจำลอง ศรีเมือง สัญลักษณ์หลักของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย มีการใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์หลัก และมีการใส่เสื้อสีเหลืองพร้อมผ้าโพกศีรษะที่มีข้อความว่า "กู้ชาติ" และผ้าพันคอสีฟ้า และมีมือตบเป็นเครื่องมือสัญลักษณ์ ในปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

พิจิตร กุลละวณิชย์

ลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2475 —) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 นายกสภาวิทยาลัยสันตพล, อดีตผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบกและรองผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพิจิตร กุลละวณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์เทพ เทศประทีป

ลเอก พงษ์เทพ เทศประทีป อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์) และอดีตเสนาธิการทหารบก.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพงษ์เทพ เทศประทีป · ดูเพิ่มเติม »

พโยม จุลานนท์

ม จุลานนท์ ในปี พ.ศ. 2491 พันโท พโยม จุลานนท์ เป็นทหาร, นักการเมือง, หัวหน้าพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย สมรสกับสมโภช ท่าราบ มีบุตร 3 คน คือ นางอัมพร ทีขะระ, พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตนายกรัฐมนตรี และนภาวดี ศิริภักดี พโยมเป็นบุตรของพระยาวิเศษสิงหนาถ (ยิ่ง จุลานนท์) แห่งเมืองเพชรบุรี ต้นตระกูลจุลานนท์ ซึ่งเป็นบุตรเขยของพระยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) พโยมกลายเป็นพันธมิตรของจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ในคราวรัฐประหารพลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์และปรีดี พนมยงค์ ในปี 2490 หลังจากนั้นพโยมก็ไม่เห็นด้วยกับหัวหน้าคณะรัฐประหารและเริ่มปฎิวัติล้มเหลว พโยมจึงต้องลี้ภัยไปยังประเทศจีน ผ่านทางอำเภอแม่สาย และประเทศพม่า พโยมกลับมาประเทศไทยอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และพโยม จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

กรณีตากใบ

กรณีตากใบ เป็นเหตุการณ์ความรุนแรงที่อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2547 มีผู้เสียชีวิตรวมยอดสูงถึง 107 ศพ บาดเจ็บ 6 คน ถูกจับกุม 17 คน ขณะที่เจ้าหน้าที่เสียชีวิต 5 นาย บาดเจ็บ 15 นาย และวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกรณีตากใบ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพภาคที่ 2

กองทัพภาคที่ 2 (ทภ.2) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายสุรนารี ตำบลหนองไผ่ล้อม อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และกองทัพภาคที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน

ตราสัญลักษณ์รายการความจริงวันนี้ การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน เป็นการชุมนุมทางการเมือง ที่ผู้บริหารและผู้จัดรายการทางสถานีประชาธิปไตยร่วมกันจัดขึ้น โดยพัฒนามาจากงานครอบครัวความจริงวันนี้สัญจร ที่จัดโดยกลุ่มผู้ดำเนินรายการ ความจริงวันนี้ เพื่อพบปะกับผู้ชมรายการ รวมถึงย้อนรำลึกถึงบรรยากาศ ในการชุมนุมต่อต้านเผด็จการทหาร ในนามของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.).

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ แดงทั้งแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย เป็นกระบวนการของรัฐสภาไทยในการเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ส่วนใหญ่สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี แต่ในบางกรณีที่ไม่มีสภาผู้แทนราษฎร ก็จะใช้มติของสภาที่ทำหน้าที่รัฐสภาใน ณ ขณะนั้น ทำหน้าที่ลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี อาทิเช่น คณะรัฐประหาร สภาร่างรัฐธรรมนูญ หรือสภานิติบัญญัติแห่งชาต.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551

นายสมัคร สุนทรเวช และนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2551 หลังจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรี หลังจากที่ พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรีจากการรัฐประหารโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ดำรงตำแหน่งครบวาระตามรัฐธรรมนูญ โดยนายยงยุทธ ติยะไพรัช ประธานสภาผู้แทนราษฎร เปิดสภาเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนใหม่ โดยจะเปิดโอกาสให้..เสนอชื่อบุคคลมี่เหมาะสมเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยต้องมี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย มกราคม พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550

ร้อยละของผู้เห็นชอบต่อร่างรัฐธรรมนูญ แบ่งตามจังหวัด การลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รับสนองพระบรมราชโองการเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย ที่พรรคประชาธิปัตย์ นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในหัวข้อ การศึกษาไร้พรมแดน เพื่อพลเมืองและผู้นำโลกในอนาคต พร้อมฟังการอภิปราย และถามคำถาม ในงานนิทรรศการศึกษาต่อสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2552 ในวันพุธที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตรเป็นนายกรัฐมนตรีไทย คนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544–2549 ระหว่างดำรงตำแหน่ง ทักษิณริเริ่มหลายนโยบายซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สาธารณสุข การศึกษา พลังงาน ยาเสพติดและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาชนะการเลือกตั้งถล่มทลายถึงสองสมัยProtesters Jam Bangkok, but Rural Thais Love the Leader.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

การตรวจพิจารณาในประเทศไทย

การตรวจพิจารณาในประเทศไทยมีประวัติอย่างยาวนาน การก่อกวน การชักใยและการควบคุมข่าวการเมืองอย่างเข้มงวดเป็นเรื่องปกติในรัฐบาลทุกสมัย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ประกันเสรีภาพในการพูด และการประกันเสรีภาพดังกล่าวดำเนินต่อมาในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กลไกในการตรวจพิจารณารวมถึงกฎหมายหมิ่นพระบรมเดชานุภาพที่เข้มงวด การควบคุมโดยตรงของรัฐบาลหรือทหารต่อสื่อแพร่สัญญาณ และการใช้แรงกดดันทางเศรษฐกิจและการเมือง การวิพากษ์วิจารณ์พระมหากษัตริย์ถูกห้ามตามรัฐธรรมนูญ แม้คดีความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยส่วนใหญ่มุ่งไปยังคนต่างด้าว หรือคู่แข่งของผู้นำการเมือง สังคมและพาณิชย์ที่เป็นชาวไทย ในการสำรวจดัชนีเสรีภาพสื่อทั่วโลก จัดโดยผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 59 จาก 167 ประเทศในปี 2547 แล้วร่วงลงเป็นอันดับที่ 107 ในปี 2548 และไปอยู่อันดับที่ 153 จาก 178 ประเทศในปี 2554 แล้วค่อยขึ้นมาอยู่อันดับที่ 137 จาก 179 ประเทศในปี 2555.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และการตรวจพิจารณาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมผู้บัญชาการทหารบก กลุ่มประเทศอาเซียน

การประชุมผู้บัญชาการทหารบก กลุ่มประเทศอาเซียน (Asean Chief of Armies Multi Lateral Meeting หรือ ACAMM) เป็นกิจกรรมทางทหารของประเทศสมาชิกอาเซียน ที่จัดควบคู่ไปกับการทดสอบยิงปืนทางยุทธวิธีกองทัพบก กลุ่มประเทศอาเซียน เริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และการประชุมผู้บัญชาการทหารบก กลุ่มประเทศอาเซียน · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

มรกต กรเกษม

นายแพทย์ มรกต กรเกษม อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพลเอกสุรุยทธ์ จุลานนท์ หลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 และอดีตเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย.).

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และมรกต กรเกษม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และมหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (Phetchaburi Rajabhat University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบุรี เดิมตั้งอยู่ที่จังหวัดราชบุรี มีชื่อว่า "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรม" ต่อมาในปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 1 กันยายน 2549 และได้รับการจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 605 ของโลก อันดับที่ 15 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอนครอบคลุมครบทุกสาขาวิชาทั้งสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทุกระดับการศึกษาทั้งสิ้น 184 หลักสูตร มีจำนวนนิสิตประมาณ 22,200 คน และมีอาจารย์ประจำกว่า 1,400 คน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดือนธันวาคม โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ในกิจการของมหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

มงคล ณ สงขลา

นายแพทย์ มงคล ณ สงขลา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตปลัดกระทรวงสาธารณ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และมงคล ณ สงขลา · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ มัยลาภ

ร้อยเอก นายแพทย์ ยงยุทธ มัยลาภ เป็น กรรมการมูลนิธิสุรเกียรติ์ - ท่านผู้หญิงสุธาวัลย์ เสถียรไทย อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และ รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตคณะโฆษกคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) และผู้ประกาศข่าวช่อง 5.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และยงยุทธ มัยลาภ · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ยุทธวงศ์

ตราจารย์ ยงยุทธ ยุทธวงศ์ (เกิด 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 ที่จังหวัดลพบุรี) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ นักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นสาขาเคมี อดีตรองนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาและอดีตรัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นบุคคลหนึ่งที่มีบทบาทในการศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย ปัจจุบันเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและประธานกรรมการในคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการสนับสนุนการวิจั.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และยงยุทธ ยุทธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ติยะไพรัช

ร.ยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และยงยุทธ ติยะไพรัช · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นกฎหมายสูงสุดว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองประเทศไทยที่เป็นลายลักษณ์อักษร ฉบับที่ 16 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงแล้ว ด้วยการรัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ได้ออกประกาศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549 ทั้งนี้คณะปฏิรูปฯได้ออกประกาศคงบทบัญญัติบางหมวดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2549 ไว้ภายหลัง รัฐธรรมนูญฉบั..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557

รัฐประหารในประเทศไท..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลที่สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้วได้รับ

รายชื่อรางวัลที่สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้ว นักร้องและนักแสดงชาวไทย สังกัดเอ็กแซ็กท์ ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ได้รับ มีดังนี้.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายชื่อรางวัลที่สุกฤษฎิ์ วิเศษแก้วได้รับ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย

ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นชื่อตำแหน่งผู้บัญคับบัญชาระดับบนสุดของกองทัพไทยและกองบัญชาการกองทัพไทย ตั้งแต..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

150px รายชื่อศิษย์เก่า คณาจารย์ ที่มีชื่อเสียงจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลสำคัญจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามบุคคลสำคัญจากโรงเรียนวัดบวรนิเวศ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย

รองนายกรัฐมนตรี หมวดหมู่:รายนามบุคคล.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามรองนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

้านล่างนี้เป็นรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามองคมนตรีในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย

รายนามคู่สมรสของนายกรัฐมนตรีไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามคู่สมรสนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามแม่ทัพภาคที่ 2

กองทัพภาคที่ 2 (ทภ.2) ของกองทัพบกไทย รับผิดชอบพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งหมด ตั้งกองบัญชาการที่ค่ายสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา หน่วยรบที่สำคัญ คือ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามแม่ทัพภาคที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนสาตดสอ ตรีไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย

รายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย

ลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง สังกัดสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เริ่มแต่งตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รุ่งเรือง อิศรางกูร ณ อยุธยา

รุ่งเรือง อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ หลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรุ่งเรือง อิศรางกูร ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

ลำดับเวลาของ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

วรากรณ์ สามโกเศศ

รองศาสตราจารย์ วรากรณ์ สามโกเศศ กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ อธิการบดีกิตติคุณมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพอดีตประธานกรรมการ ในคณะกรรมการบริหารสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์อดีตประธานกรรมการในคณะกรรมการบริหารสำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน)กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านการบริหารธุรกิจ ในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการความลับทางการค้า ได้รับเลือกเป็นคณะกรรมการสรรหาเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และวรากรณ์ สามโกเศศ · ดูเพิ่มเติม »

วัลลภ ไทยเหนือ

นายแพทย์วัลลภ ไทยเหนือ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ หลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 และอดีตปลัดกระทรวงสาธารณ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และวัลลภ ไทยเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วัดคุ้งตะเภา

วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณในเขตการปกครองของคณะสงฆ์มหานิกาย และเป็น 1 ใน 9 วัดศักดิ์สิทธิ์สำคัญของจังหวัดอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่บ้านคุ้งตะเภา ตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ ใกล้กับจุดตัดสี่แยกคุ้งตะเภา บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 (ถนนสายเอเชีย) วัดคุ้งตะเภา เป็นวัดโบราณมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี และได้รับสถาปนาขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เมื่อปีขาล โทศก จุลศักราช 1132 อันเป็นปีที่พระองค์เสด็จขึ้นมาปราบปรามชุมนุมเจ้าพระฝางเมืองสวางคบุรี และประทับชำระคณะสงฆ์ จัดการหัวเมืองฝ่ายเหนือใหม่ตลอดฤดูน้ำ ดังปรากฏหลักฐานในพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งวัดคุ้งตะเภา เป็นเพียงวัดแห่งเดียวในปริมณฑลเมืองพิชัยและสวางคบุรี ที่ปรากฏหลักฐานการสถาปนาวัดในปีนั้น ตำนานวัดเล่าสืบกันมานับร้อยปีว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้คนย้ายกลับมาตั้งครัวเรือน สร้างวัดและศาลาการเปรียญขึ้นใหม่ ณ ริมคุ้งสำเภา พร้อมทั้งตรัสเรียกชื่อวัดที่ตั้งขึ้นใหม่นี้ว่า "วัดคุ้งตะเภา" ปัจจุบันทางราชการได้นำชื่อคุ้งตะเภาไปใช้ตั้งเป็นชื่อหมู่บ้านและชื่อตำบลคุ้งตะเภาสืบมาจนปัจจุบัน วัดแห่งนี้เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภา เคยเป็นวัดที่สถิตย์ของพระครูสวางคมุนี เจ้าคณะใหญ่เมืองฝางมาตั้งแต่โบราณ โดยเป็นวัดที่เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และสองพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นที่เคารพศรัทธายิ่งของชาวตำบลคุ้งตะเภา ซึ่งพระพุทธรูปทั้งสององค์นั้นจัดได้ว่าเป็น 2 ใน 9 พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์สำคัญคู่บ้านคู่เมืองอุตรดิตถ์ คือ พระพุทธสุวรรณเภตรา และ พระพุทธสุโขสัมฤทธิ์อุตรดิตถ์มุนี ปัจจุบันวัดคุ้งตะเภาเป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง เป็นสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ 3 (สำนักปฏิบัติธรรมภายใต้การกำกับของมหาเถรสมาคม)หนังสือสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ที่ พศ ๐๐๐๙/๐๕๓๖๕ เรื่อง แจ้งมติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ วัดคุ้งตะเภา ลงวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๕๙มติมหาเถรสมาคม ครั้งที่ ๑๒/๒๕๕๙ วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคม มติที่ ๓๓๘/๒๕๕๙ เรื่อง ขออนุมัติจัดตั้งสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ แห่งที่ ๓ และเป็นวัดประจำตำบลที่มีสถิติพระภิกษุสามเณรจำพรรษามากที่สุดในตำบลคุ้งตะเภา เป็นศูนย์กลางทางด้านศาสนศึกษาของคณะสงฆ์และคฤหัสถ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตำบลคุ้งตะเภาโดยพฤตินัย โดยเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่มูลนิธิ ๒๕๐ ปี วัดคุ้งตะเภา ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ สำนักเลขานุการรองเจ้าคณะอำเภอเมืองอุตรดิตถ์ฝ่ายการศึกษาคณะสงฆ์ สำนักศาสนศึกษาประจำตำบล และหน่วยอบรมประชาชนประจำตำบลคุ้งตะเภา (อปต.) ซึ่งเป็นหน่วยอบรมฯ ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมี พระสมุห์สมชาย จีรปุญฺโญ (แสงสิน) เป็นเจ้าอาวาสวัดคุ้งตะเภา (จร.).

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และวัดคุ้งตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

วันตำรวจ

วันตำรวจของไทย ตรงกับวันที่ 13 ตุลาคม ของทุกปี เนื่องจากวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2458 เป็นวันประกาศรวม "กรมพลตระเวน" กับ "กรมตำรวจภูธร" เป็นกรมเดียวกัน เรียกว่า "กรมตำรวจ" (ในภายหลังได้เปลี่ยนเป็น "สำนักงานตำรวจแห่งชาติ") กรมตำรวจจึงถือเอาวันที่ 13 ตุลาคมของทุกปี เป็น "วันตำรวจ" โดยมีการประกอบพิธีในวันตำรวจอย่างเป็นทางการครั้งแรก เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2492 ซึ่งขณะนั้น พล.ต.อ. หลวงชาติตระการโกศล เป็นอธิบดีกรมตำรวจ ในปี พ.ศ. 2494 พล.ต.อ. เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตำรวจในขณะนั้นได้จัดให้มีพิธีเดินสวนสนาม และปฏิบัติต่อเนื่องมาจนถึง พ.ศ. 2500 หลังจากนั้นได้ระงับการจัดพิธีเดินสวนสนามที่เป็นการรวมหน่วยทุกหน่วยของตำรวจ ประกอบแต่พิธีทางศาสนาและกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์เพียงอย่างเดียว ในวันจันทร์ที่ 13 ตุลาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และวันตำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

วันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย)

วันเด็กแห่งชาติ ในไทย ตรงกับวันเสาร์ที่สองของเดือนมกราคมของทุกปี เป็นวันหยุดราชการที่ไม่ได้ชดเชยในวันทำงานถัดไป มีการให้คำขวัญวันเด็กทุกปีโดยนายกรัฐมนตรีไทย เริ่มต้นจัดงานวันเด็กครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และวันเด็กแห่งชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

วาสนา นาน่วม

วาสนา นาน่วม กำลังถือหนังสือ ''ลับ ลวง พราง''ที่เธอเขียน วาสนา นาน่วม (ชื่อเล่น: เล็ก) ผู้สื่อข่าวสายทหารหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ และ โพสต์ทูเดย์ ผู้เขียนหนังสือชุดลับ ลวง พราง และผู้ดำเนินรายการวิทยุ “ลับ ลวง พราง” ทางโมเดิร์นเรดิโอ เอฟเอ็ม 100.5 เมกะเฮิร์ตซ์ ในหมู่ของผู้ที่ศึกษาด้านการทหาร ชื่อของ วาสนา นาน่วม นั้นเป็นที่รู้จักกันดี เพราะเป็นผู้ที่มีข่าวคราวจากการสอบถามไปยังนายทหารระดับสูงหลายครั้ง.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และวาสนา นาน่วม · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553 · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร ศรีสอ้าน

ตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน (22 ธันวาคม พ.ศ. 2477 —) เกิดที่ตำบลสนามจันทร์ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตปลัดทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตรองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ปัจจุบันศาสตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และที่ปรึกษาสำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.).

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และวิจิตร ศรีสอ้าน · ดูเพิ่มเติม »

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7

วุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 (22 มีนาคม พ.ศ. 2539 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2543) เป็นวุฒิสมาชิกชุดที่มาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พุทธศักราช 2538 ซึ่งกำหนดให้รัฐสภาไทยประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภาไทย และสภาผู้แทนราษฎรไทย วุฒิสภาชุดนี้มีสมาชิกจำนวน 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร คือ มีจำนวน 260 คน อยู่ในวาระ 4 ปี ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และวุฒิสภาไทย ชุดที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

สมบัติ บุญงามอนงค์

มบัติ บุญงามอนงค์ (ถือโทรโข่ง) ขณะร่วมประท้วงต่อต้านการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ตในในประเทศไทย หน้าศูนย์การค้าพันธุ์ทิพย์พลาซ่า 9 มิถุนายน พ.ศ. 2552 สมบัติ บุญงามอนงค์ (ชื่อเล่น: หนูหริ่ง) หรือนามแฝงบนอินเทอร์เน็ตว.ก.ลายจุด เป็นแกนนำกลุ่มวันอาทิตย์สีแดง เว็บมาสเตอร์ของเว็บไซต์เพื่อสังคมหลายแห่ง และอดีตประธานกรรมการมูลนิธิกระจกเงา ที่มาของนามแฝง.ก.ลายจุดมาจากภาพยนตร์เรื่อง 101 ดัมเมเชี่ยน เมื่อวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสมบัติ บุญงามอนงค์ · ดูเพิ่มเติม »

สมหมาย ภาษี

มหมาย ภาษี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตรองปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสมหมาย ภาษี · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมทัต อัตตะนันทน์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สมทัต อัตตะนันทน์ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 —) อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก และแม่ทัพภาคที่ 1.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสมทัต อัตตะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์

รองศาสตราจารย์ สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ปัจจุบันเป็นรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ รองประธานกรรมการในคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เฉพาะกิจ) กรรมการในคณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏิรูปประเทศยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง อดีตรองนายกรัฐมนตรี ดูแลด้านเศรษฐกิจ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหลายสมัย และยังเป็นที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติและอดีตสมาชิกคณะรักษาความสงบแห่งชาติตามประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 122/2557.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

สรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม

รรสริญ วงศ์ชะอุ่ม (29 มกราคม พ.ศ. 2491 —) เป็น กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐนักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย อดีตเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม · ดูเพิ่มเติม »

สวนิต คงสิริ

นายสวนิต คงสิริ นักการทูตชาวไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสวนิต คงสิริ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมิตรภาพ (ไทย–มาเลเซีย)

นบ้านบูเก๊ะตา (Jambatan Bukit Tal) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำโก-ลกแห่งที่ 2 เชื่อมระหว่างบ้านบูเก๊ะตา ตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส กับบ้านบูกิตบูงา รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เป็นสะพานคอนกรีต 2 ช่องจราจร ยาว 120 เมตร กว้าง 16.9 เมตร ดำเนินการสร้างโดยกรมทางหลวงของไทย และกรมโยธาธิการ มาเลเซีย ใช้เวลาสร้าง 1 ปี งบประมาณ 90 ล้านบาท โดยออกค่าใช้จ่ายฝ่ายละครึ่ง เปิดให้บริการ 08.00-17.00 น. ในฐานะจุดผ่อนปรนชั่วคราว โดยเป็นหนึ่งในแผนงานพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย และยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสำหรับพื้นที่ชายแดนไทย-มาเลเซีย ร่วมลงนามโครงการเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2547 สะพานแห่งนี้ยังสร้างในโอกาสครบรอบ 50 ปีความสัมพันธ์ทางการทูตไทยและมาเลเซีย หลังจากที่สะพานข้ามแม่น้ำโก-ลกแห่งแรก เชื่อมสุไหงโก-ลกกับเขตรันเตาปันยัง ได้สร้างมาแล้วถึง 34 ปี พิธีเปิดมีขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยพล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี และภริยา เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยนายนิตย์ พิบูลสงคราม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ พล.ร.อ. ธีระ ห้าวเจริญ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม พล.ร.อ. บุญรอด สมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และนายพระนาย สุวรรณรัตน์ ผอ.ศอ.บต.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสะพานมิตรภาพ (ไทย–มาเลเซีย) · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิชัย โภไคยอุดม

ตราจารย์ สิทธิชัย โภไคยอุดม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ซึ่งเข้ารับตำแหน่งโดยการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร ตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2550.ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดมก่อนหน้าที่จะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีฯ ได้รับตำแหน่งอธิการบดีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสิทธิชัย โภไคยอุดม · ดูเพิ่มเติม »

สิทธิบัตรยา

ตัวอย่างโครงสร้างของมาร์คุช สิทธิบัตรยา (drug patent หรือ chemical patent) เป็นการคุ้มครองโดยกฎหมายให้แก่ ผู้ประดิษฐ์หรือคิดค้นทางด้านเวชภัณฑ์ หรือ เคมีภัณฑ์ ทั้งนี้หมายรวมถึง สูตรใหม่ ส่วนผสมใหม่ วิธีการใช้ใหม่ เนื่องจากยาหรือผลิตภัณฑ์ทางเคมีสามารถลอกเลียนแบบได้ง่ายโดยการวิเคราะห์ทางเคมี.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสิทธิบัตรยา · ดูเพิ่มเติม »

สุรพล นิติไกรพจน์

ตราจารย์ สุรพล นิติไกรพจน์ นายกสภามหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชกรรมการในคณะกรรมการควบคุมมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ประธานกรรมการ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด วิสาหกิจกรุงเทพมหานคร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการสามัญองค์กรอิสระ อดีตรองประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญปฏิรูปการเมือง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549 อดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ และ อดีตประธานคณะกรรมการบริษัท อสมท. จำกัด (มหาชน).

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสุรพล นิติไกรพจน์ · ดูเพิ่มเติม »

สุวิทย์ ยอดมณี

ร้อยโท สุวิทย์ ยอดมณี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลของพลเอสุรยุทธ์ จุลานนท์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสุวิทย์ ยอดมณี · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ

ันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ (national university) หรือที่เรียกว่า มหาวิทยาลัยนอกระบบ คือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มีการบริหารการจัดการอิสระแยกจากระบบราชการ (autonomous university) แต่ยังได้รับเงินอุดหนุนทั่วไป (block grant) ที่รัฐจัดสรรให้เป็นรายปีโดยตรง เพื่อใช้จ่ายตามความจำเป็นในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย และเพื่อประกันคุณภาพการศึกษ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี

นีโทรทัศน์ทีไอทีวี (Thailand Independent Television ชื่อย่อ: TITV) เป็นสถานีโทรทัศน์ระบบยูเอชเอฟที่อยู่ในการกำกับดูแลโดย กรมประชาสัมพันธ์ ผู้ได้รับมอบอำนาจการออกอากาศจากสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ในสถานะหน่วยงานรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit - SDU) ตั้งแต่เวลา 00.00 น. วันที่ 8 มีนาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสถานีโทรทัศน์ทีไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์ไอทีวี

นีโทรทัศน์ไอทีวี (Independent Television ชื่อย่อ: itv) เริ่มต้นออกอากาศอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 เวลา 19.00 น. โดยเริ่มต้นจากการนำเสนอ ข่าวภาคค่ำประจำวัน เพื่อตอกย้ำภาพลักษณ์ การเป็น สถานีโทรทัศน์เพื่อข่าวสาร และสาระความรู้ โดยผู้ประกาศข่าวคู่แรกของสถานี คือ กิตติ สิงหาปัด และ เทพชัย หย่อง ออกอากาศทางช่อง 26และช่อง 29 โดยมี สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) เป็นเจ้าของคลื่นความถี่ และผู้กำกับสัมปทาน เป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 6 ที่ให้บริการแบบไม่ต้องเสียค่าบริการ แห่งประเทศไทย จนกระทั่งต้องยุติการออกอากาศ ตั้งแต่เวลา 24.00 น. ของวันพุธที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2550 เนื่องจากไม่สามารถจ่ายค่าสัมปทานส่วนต่างๆ และค่าปรับแก่ สปน.ได้ตามเวลาที่กำหน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสถานีโทรทัศน์ไอทีวี · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล

หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล (15 กรกฎาคม 2490 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตประธานกรรมการนโยบายการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐอดีตประธานกรรมการนโยบายอวกาศแห่งชาติ และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และหม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หวยในประเทศไทย

หวย เป็นการพนันโดยผู้เสี่ยงทายต้องเลือกหรือซื้อหมายเลข แล้วรอการออกรางวัล ถ้ารางวัลที่ออกตรงกับหมายเลขก็รับเงินรางวัลตามจำนวนที่ตกลง ในประเทศไทยมีหวยทั้งแบบถูกกฎหมายและผิดกฎหม.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และหวยในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อภัย จันทนจุลกะ

นายอภัย จันทนจุลกะ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และอภัย จันทนจุลกะ · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

อมรวิชช์ นาครทรรพ

ร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และอมรวิชช์ นาครทรรพ · ดูเพิ่มเติม »

อรนุช โอสถานนท์

นางอรนุช โอสถานนท์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาล รัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และอรนุช โอสถานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ วงศ์อารยะ

อารีย์ วงศ์อารยะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล สระบุรี ปราจีนบุรี สุพรรณบุรี.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และอารีย์ วงศ์อารยะ · ดูเพิ่มเติม »

อาเซียนพาราเกมส์ 2008

อาเซียนพาราเกมส์ 2008 เป็นการแข่งขันกีฬาคนพิการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้งที่ 4 โดยเจ้าภาพคือจังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ในระหว่างวันที่ 20 มกราคม ถึง 26 มกราคม พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และอาเซียนพาราเกมส์ 2008 · ดูเพิ่มเติม »

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย

องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (Thai Public Broadcasting Service) หรือเรียกโดยย่อว่า "..ท." (TPBS) เป็นหน่วยงานของรัฐ มีสถานะเป็นนิติบุคคลมหาชน ซึ่งไม่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไท..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ผู้แทนการค้าไทย

ผู้แทนการค้าไทย (Thailand Trade Representative: TTR) เป็นผู้แทนพิเศษของนายกรัฐมนตรี ด้านการค้า การลงทุนระหว่างประเทศ ตามแนวนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเชิงรุก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยมุ่งขยายตลาดการค้า การลงทุนของไทยในต่างประเทศ และแสวงหาความร่วมมือในด้านต่างๆ ที่จำเป็นในการพัฒนาประเทศและการเพิ่มขีดความสามารถในเวทีโลก.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และผู้แทนการค้าไทย · ดูเพิ่มเติม »

จักรภพ เพ็ญแข

ักรภพ เพ็ญแข อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลสมัคร สุนทรเวช โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร อดีตผู้บริหารสถานีโทรทัศน์พีทีวี อดีตผู้ดำเนินรายการโทรทัศน์ อดีตนักวิเคราะห์ข่าวต่างประเทศที่มีชื่อเสียง และเป็นผู้เปลี่ยนแปลงการบริหารงานสถานีโทรทัศน์แห่งชาติของสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จากเดิมคือ Television of Thailand (Channel 11) ไปสู่ National Broadcasting Services of Thailand.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และจักรภพ เพ็ญแข · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเพชรบุรี

ังหวัดเพชรบุรี (/เพ็ดชะบุรี/; เดิมสะกดว่า เพ็ชร์บุรี) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันตก (บ้างก็จัดอยู่ในภาคกลางตอนล่าง ด้านของการพยากรณ์อากาศจัดอยู่ภาคใต้ตอนบน) มีภูมิประเทศทั้งเป็นที่สูงติดเทือกเขาและที่ราบชายฝั่งทะเล มักเรียกชื่อสั้น ๆ ว่า เมืองเพชร เดิมเรียก พริบพรี และจากหลักฐานในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ปรากฏชื่อว่า ศรีชัยวัชรปุระ จังหวัดเพชรบุรีมีชื่อเสียงในฐานะแหล่งผลิตน้ำตาล เนื่องจากมีต้นตาลหนาแน่น เป็นเมืองเก่าแก่ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญของไทยในกลุ่มหัวเมืองฝ่ายตะวันตก ปัจจุบันมีวัดเก่าแก่และบ้านเรือนทรงไทยจำนวนมาก นอกจากนี้ยังมีคำพูดติดปากว่า นักเลงเมืองเพชร ปัจจุบันเพชรบุรีเป็นเมืองด่านสำคัญระหว่างภาคกลางและภาคใต้ และยังเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญ เช่น หาดชะอำ หาดปึกเตียน หาดเจ้าสำราญ แหลมหลวง แหลมเหลว และเขื่อนแก่งกระจาน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และจังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จิตรวดี จุลานนท์

ันเอกหญิง ท่านผู้หญิง จิตรวดี จุลานนท์ เป็นคู่สมรสของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรีคนที่ 24 ของประเทศไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และจิตรวดี จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์

ตราจารย์ ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการเมือง ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานท์ ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ ประจำสาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประธานสภาพัฒนาการเมือง กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีและกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาผู้ทรงคุณว.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ธีรวุฒิ บุตรศรีภูมิ

ลตำรวจเอกธีรวุฒิ บุตรศรีภูมิ อดีตผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 9 และ 7 ผู้ช่วยผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ กรรมการตุลาการศาลปกครองผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการข้าราชการตำรวจผู้ทรงคุณวุฒิ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ หลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และธีรวุฒิ บุตรศรีภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ สูตะบุตร

ตราจารย์ ธีระ สูตะบุตร อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นเจ้าของกิจการโรงเรียนพิชญศึกษา เกิดวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2484 สมรสกับ นางสุนงนาท สูตะบุตร มีบุตรชื่อ ธีร์ภัทร สูตะบุตร โดยบุตรชายเสียชีวิตในวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และธีระ สูตะบุตร · ดูเพิ่มเติม »

ธีระ ห้าวเจริญ

ลเรือเอกธีระ ห้าวเจริญ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สมัย พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ และเป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภา และอดีตผู้บัญชาการทหารเรือ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และธีระ ห้าวเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

ทักษิณ ชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร (เกิด 26 กรกฎาคม 2492) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจโทรคมนาคมและการสื่อสาร ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อดีตข้าราชการตำรวจ (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธานสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี อดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา และ ศาสตราจารย์อาคันตุกะแห่งมหาวิทยาลัยทากุโชกุ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติมอนเตเนโกร ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัดพรรคพลังธรรม โดยการชักนำของพลตรี จำลอง ศรีเมือง ต่อมาก่อตั้งพรรคไทยรักไทย ในปี 2541 หลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศได้ก่อนกำหนดเดิม และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549 รวมทั้งระดับการฉ้อราษฎร์บังหลวงลดลง โดยดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชันขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549 ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจากผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ อย่างไรก็ดี มีผู้กล่าวหารัฐบาลทักษิณหลายประการเช่น ละเมิดสิทธิมนุษยชน ฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นเผด็จการรัฐสภา มีผลประโยชน์ทับซ้อน และควบคุมสื่อ ส่วนข้อกล่าวหาของตัวทักษิณเอง ก็มีว่าหลีกเลี่ยงภาษี หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ ตลอดจนขายทรัพย์สินของบริษัทไทยให้นักลงทุนต่างชาติThe Star,, 2 April 2006The Nation,, 23 March 2006 องค์การนิรโทษกรรมสากลวิจารณ์ทักษิณว่า มีประวัติเชิงสิทธิมนุษยชนไม่สู้ดี และเขายังถูกกล่าวหาว่าปกปิดทรัพย์สินระหว่างดำรงตำแหน่งการเมือง ฟอรีนพอลิซี ยกตัวอย่างว่า เขาเป็นอดีตผู้นำของโลกที่ประพฤติไม่ดี เกิดการประท้วงของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในปี 2549 และวันที่ 19 กันยายน ปีเดียวกัน คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) รัฐประหารล้มรัฐบาลทักษิณ ศาลที่ คม.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และทักษิณ ชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

ทิพาวดี เมฆสวรรค์

ณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์ (1 มกราคม พ.ศ. 2489 - ปัจจุบัน) กรรมการในคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตปลัดกระทรวงวัฒนธรรม, อดีตปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และอดีตเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญร่วมกับกระทรวงการคลังและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาและผลักดันให้เกิดกองทุนบำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ (กบข.) การให้ความสำคัญต่อความเสมอภาคของบทบาทชายหญิง ทั้งในสถานที่ทำงานและภายนอก รวมทั้งเป็นผู้ที่มีความโดดเด่นยิ่งด้านการต่างประเทศ สามารถระดมความช่วยเหลือจากองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ มาสู่สำนักงาน ก..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และทิพาวดี เมฆสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานดอนเมือง

แผนผังท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานนานาชาติดอนเมือง (ชื่อเดิมคือ ท่าอากาศยานกรุงเทพ) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สนามบินดอนเมือง ตั้งอยู่บนถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง ช่วงกิโลเมตรที่ 24 ทางตอนเหนือของกรุงเทพมหานคร เป็นจุดศูนย์กลางทางการบินในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สามารถเชื่อมโยงการคมนาคมทางอากาศไปยังจุดต่างๆ ของโลกได้อย่างเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการบินภายในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน หรือระหว่างทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ซึ่งสามารถใช้เป็นจุดแวะลงและเชื่อมต่อในการเดินทางของผู้โดยสารตลอดจนพัสดุไปรษณียภัณฑ์ไปยังจุดอื่นๆ ได้อย่างดี เปิดดำเนินการครั้งแรกเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2457 โดยปิดตัวลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549 วันเดียวกับที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเปิดใช้งาน โดยสนามบินดอนเมืองถูกเปลี่ยนเป็นสถานที่ซ่อมเครื่องบิน ฝึกบิน และสำหรับจอดเครื่องบินส่วนตัวของบุคคลสำคัญ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่วันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาให้บริการเที่ยวบินแบบประจำ (scheduled flight) เที่ยวบินในประเทศอีกครั้งโดยมี สายการบินไทย นกแอร์ วันทูโก และพีบีแอร์มาเปิดให้บริการในลำดับแรก หลังจากพบปัญหาหลายอย่างที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ท่าอากาศยานดอนเมืองได้กลับมาเปิดให้บริการในฐานะสนามบินนานาชาติแห่งที่สองอีกครั้ง เนื่องด้วยนโยบายรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตรต้องการลดความแออัดของท่าอากาศยานสุวรรณภูมิลง ปัจจุบัน ท่าอากาศยานดอนเมือง รับเที่ยวบิน จาก ประเทศจีน ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสิงคโปร์ ประเทศกัมพูชา ประเทศมาเลเซีย ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม ประเทศไต้หวัน ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอินเดีย ประเทศมัลดีฟส์ ฮ่องกง ประเทศฟิลิปปินส์ มาเก๊า และล่าสุด ประเทศเนปาล รวม 14 ประเทศ ส่วนเที่ยวบินภายในประเทศสำหรับท่าอากาศยานดอนเมืองมีเที่ยวบินภายในประเทศบริการบินไปกลับ จาก ท่าอากาศยานแพร่ ท่าอากาศยานตรัง ท่าอากาศยานร้อยเอ็ด ท่าอากาศยานนครพนม ท่าอากาศยานนครศรีธรรมราช ท่าอากาศยานระนอง ท่าอากาศยานสกลนคร ท่าอากาศยานพิษณุโลก ท่าอากาศยานบุรีรัมย์ ท่าอากาศยานน่านนคร ท่าอากาศยานแม่ฮ่องสอน ท่าอากาศยานแม่สอด และ ท่าอากาศยานเพชรบูรณ์ ซึ่ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไม่มีบริการใน 13 จังหวัดดังกล่าว ใน 13 จังหวัดดังกล่าวมีเที่ยวบินให้บริการที่ ท่าอากาศยานดอนเมืองเท่านั้น.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และท่าอากาศยานดอนเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ณรงค์ ยุทธวงศ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ณรงค์ ยุทธวงศ์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ต.ค.44 - ก.ย.45) เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2484 ที่จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของพันเอกสรรค์ และนางระเบียบ ยุทธวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนเซนต์คาเบียล และโรงเรียนนายเรือ เข้ารับราชการครั้งแรกเป็นนายทหารประจำเรือและใช้ชีวิตรับราชการในตำ แหน่งต่างๆในเรือร่วม 20 ปี ซี่งได้รับการเลื่อนชั้นยศและตำแหน่งตามลำดับ ตำแหน่งสำคัญของการรับราชการ อาทิ ผู้บังคับการเรือหลวงภูเก็ต(ลำเก่า), ผู้บังคับการเรือหลวงประแส, ผู้บังคับการเรือหลวงมกุฎราชกุมาร, ผู้บัญชาการกองเรือฟริเกตที่ 2, ผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ, รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการทหารสูงสุด โดยได้รับพระราชทานยศในอัตราจอมพล ชั้นยศ พลเอก พลเรือเอก และพลอากาศเอก นอกจากนี้ยังได้รับพระมหากรุณาธิกุลโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เป็นองครักษ์เวร และตุลาการศาลทหารสูงสุด ปัจจุบันเกษียณอายุราชการแล้ว ตำแหน่งสำคัญที่เคยดำรงตำแหน่งหลังเกษียณอายุราชการ คือ ประธานกรรมการ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)และสมาชิกวุฒิสภา ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และณรงค์ ยุทธวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐ อินทรปาณ

ร.ณัฐ อินทรปาณ กรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตประธานสหพันธ์ยิงเป้าบินแห่งเอเชี.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และณัฐ อินทรปาณ · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ

ณัฐวุฒิ (คนขวา) บนรถปราศรัยของ นปก. ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย, แกนนำแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.), อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลสมชาย วงศ์สวัสดิ์, อดีตผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์พีทีวี, อดีตผู้ดำเนินรายการความจริงวันนี้, อดีตรองโฆษกพรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ · ดูเพิ่มเติม »

ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน

ัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน (Corruption Perceptions Index: CPI) หรือดัชนีการรับรู้การทุจริตจัดอันดับโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: TI) ซึ่งเป็นองค์การนานาชาติ ก่อตั้งในประเทศเยอรมนี ได้เริ่มมีการจัดทำดัชนีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 โดยค่าสูงหมายถึงมีการคอร์รัปชันต่ำ และค่าต่ำหมายถึงมีการคอร์รัปชันสูง โดยในปี 2550 ได้มีการจัดอันดับทั้งหมด 180 ประเทศ เพิ่มจากปี 2546 ที่มี 133 ประเท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน · ดูเพิ่มเติม »

ความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552

วามไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และความไม่สงบทางการเมืองในประเทศไทย เมษายน พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย

นการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย หรือ ไฟใต้ เป็นความขัดแย้งที่กำลังดำเนินอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ความขัดแย้งนี้กำเนิดในปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย

ณะรัฐมนตรีไทยเป็นคณะบุคคลที่ทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินในราชอาณาจักรไทย คณะรัฐมนตรีเป็นกลุ่มบุคคลหลักที่ขับเคลื่อนส่วนราชการต่างๆของรัฐบาลไทย สมาชิกของคณะรัฐมนตรีนั้นจะได้รับการเสนอชื่อโดยนายกรัฐมนตรีและได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการโดยพระมหากษัตริย์ไทยซึ่งประกอบไปด้วย รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่างๆ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ คณะรัฐมนตรีไทยนั้นมีขึ้นครั้งแรกหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิบไตยตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 ซึ่งในขณะนั้นเรียกว่าคณะกรรมการราษฎร และหลังจากมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช พ.ศ. 2475 จึงเปลี่ยนมาเรียกว่าคณะรัฐมนตรี และได้ใช้ชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน จำนวนรัฐมนตรีในคณะนั้นเป็นไปตามรัฐธรรมนูญที่บังคับใช้อยู่ขณะนั้น ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้คณะรัฐมนตรีมีรัฐมนตรีได้ไม่เกิน 35 คน, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 3 พฤษภาคม 2560 ปัจจุบันคณะรัฐมนตรี คณะที่ 61เป็นคณะรัฐมนตรีชุดล่าสุดจัดตั้งเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และคณะรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56

รัฐบาลพลเรือน ที่ตั้งขึ้นภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 56 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ คณะรัฐมนตรีไทย คณะนี้ เป็นคณะที่ ประกาศใช้ พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 · ดูเพิ่มเติม »

คณะองคมนตรีไทย

ณะองคมนตรีในประเทศไทย คือกลุ่มบุคคลที่ให้คำปรึกษาแก่พระมหากษัตริย์ โดยในอดีตเคยใช้ชื่อ ปรีวีเคาน์ซิล (สภาที่ปฤกษาในพระองค์), องคมนตรีสภา, และ สภากรรมการองคมนตรี ตามลำดับ ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นชื่อปัจจุบัน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และคณะองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549

ียุบพรรคการเมืองเนื่องจากการเลือกตั้ง 2 เมษายน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ตุลาคม พ.ศ. 2549

ตุลาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และตุลาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์

ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีเกมส์ 2007

กีฬาซีเกมส์ 2007 เป็นการแข่งขันกีฬา ซีเกมส์ ครั้งที่ 24 ซึ่งจัดขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมา ระหว่างวันที่ 6 ถึง 15 ธันวาคม พ.ศ. 2550 การจัดการแข่งขันครั้งนี้ ถือเป็นหนึ่งในการเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช กีฬาซีเกมส์ครั้งที่ 24 ถือเป็นการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันครั้งที่ 6 ของประเทศไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และซีเกมส์ 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า มีอักษรย่อว่า ป..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

ประยุทธ์ จันทร์โอชา

ลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ชื่อเล่น: ตู่, เกิด 21 มีนาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายทหารเกษียณอายุราชการชาวไทย ปัจจุบันเป็นหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ คณะทหารผู้ยึดอำนาจการปกครองในรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557 และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 29 ตั้งแต่ปีนั้น ประยุทธ์เป็นนักเรียนเตรียมทหารรุ่นที่ 12 นักเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 23 และเป็นศิษย์เก่าวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร เข้ารับราชการครั้งแรกที่กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ จากนั้นได้รับราชการในสังกัดกองพลทหารราบที่ 2 รักษาพระองค์ตามลำดับ นอกจากนั้นเขายังอยู่ในกลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์และทหารเสือราชินี เขาเป็นอดีตผู้บัญชาการทหารบกซึ่งดำรงตำแหน่งระหว่างเดือนตุลาคม 2553 ถึงตุลาคม 2557 ระหว่างวิกฤตการณ์การเมืองซึ่งเริ่มในเดือนพฤศจิกายน 2556 และเกี่ยวข้องกับการประท้วงต่อรัฐบาลรักษาการยิ่งลักษณ์ พลเอกประยุทธ์อ้างว่ากองทัพเป็นกลาง และจะไม่รัฐประหาร ทว่า เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 พลเอกประยุทธ์รัฐประหารต่อรัฐบาลและควบคุมประเทศในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาตินับแต่นั้น และในวันที่ 21 สิงหาคม 2557 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีมติเอกฉันท์เลือกพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นนายกรัฐมนตรี ซึ่งสมาชิกสภานั้นถูกเลือกมา และส่วนใหญ่เป็นนายทหาร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และประยุทธ์ จันทร์โอชา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติพรรคประชาธิปัตย์

รุปประวัติการทำงานของ พรรคประชาธิปัตย์ ตั้งแต่ก่อตั้งพรรคจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และประวัติพรรคประชาธิปัตย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล

ตราจารย์พิเศษ ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล กรรมการมูลนิธิสุรเกียรติ์ - ท่านผู้หญิงสุธาวัลย์ เสถียรไทย อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ หลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และประสิทธิ์ โฆวิไลกูล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2549

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2549 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2550

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2550 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2550 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2551

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2551 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และประเทศไทยใน พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

ปลอดประสพ สุรัสวดี

ปลอดประสพ สุรัสวดี (เกิด: 3 มีนาคม พ.ศ. 2488) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตที่ปรึกษาศูนย์รักษาความสงบ ในรัฐบาลของ ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และรองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย อดีตอธิบดีกรมประมง อดีตอธิบดีกรมป่าไม้ อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อดีตปลัดกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อดีตผู้อำนวยการเชียงใหม่ไนท์ซาฟารี และศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาต.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และปลอดประสพ สุรัสวดี · ดูเพิ่มเติม »

ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์

ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 -) ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษัท พฤกษา โฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) กรรมการธนาคารกสิกรไทย อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เป็นนักวิชาการด้านพลังงาน เคยดำรงตำแหน่งทางการเมืองเกี่ยวกับพลังงานมามากมาย ทั้งยังได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ในรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

ปิยะบุตร ชลวิจารณ์

ปิยะบุตร ชลวิจารณ์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และนายกสมาคมอัสสัมชัญ (สมาคมศิษย์เก่า) คนปัจจุบัน ประธานกรรมการสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประธานอำนวยการและรองประธานกรรมการสถาบันคีนันแห่งเอเซี.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และปิยะบุตร ชลวิจารณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ปณิธาน วัฒนายากร

รองศาสตราจารย์ ปณิธาน วัฒนายากร เกิดเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2503 เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการเตรียมการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ) ที่ปรึกษาและกรรมการคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา กรรมการในคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง อาจารย์จากคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยดำรงตำแหน่ง รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ปฏิบัติหน้าที่โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ร.ปณิธาน เป็นนักวิชาการทางด้านรัฐศาสตร์ เชี่ยวชาญการเมืองเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และความมั่นคงศึกษา เป็นที่ปรึกษาด้านความมั่นคงแก่รัฐบาลหลายสมัย ตั้งแต่สมัย รัฐบาลนายชวน หลีกภัย พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ดร.ปณะธาน เป็นหนึ่งในผู้มีส่วนร่วมในการร่างพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และปณิธาน วัฒนายากร · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีไทย

นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

นิตย์ พิบูลสงคราม

นิตย์ พิบูลสงคราม (30 มิถุนายน พ.ศ. 2484 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2557) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ กรรมการมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์ บุตรชายคนสุดท้องของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม อดีตนายกรัฐมนตรี กับท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และนิตย์ พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ

แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (ชื่อย่อ: นปช.; United Front of Democracy Against Dictatorship; UDD) มีชื่อเดิมว่า แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ (ชื่อย่อ: นปก.; Democratic Alliance Against Dictatorship: DAAD) เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ดร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

โชติศรี ท่าราบ

แพทย์หญิง โชติศรี ท่าราบ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2462 - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักเขียนเรื่องสั้น นักวิจารณ์ดนตรีคลาสสิก นักวิจารณ์ภาพยนตร์ และละครโทรทัศน์ มีผลงานเขียนวิจารณ์ดนตรีในนิตยสาร "ชาวกรุง" ติดต่อกัน 14 ปี ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป ประจำปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโชติศรี ท่าราบ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

รงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร โรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เป็นโรงเรียนสาธิตในระดับมัธยมศึกษา ในกำกับของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ก่อตั้งเมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 โดยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ข้อมูลจำเพาะ: คู่มือนักเรียน ปีการศึกษา 2550 หน้า12-13 โรงเรียนก่อตั้งขึ้นตามดำริของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ภายหลังจากการสร้างวัดประชาธิปไตย (ปัจจุบันคือ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร) เพื่อให้เป็นอนุสรณ์แก่การปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ดำเนินมาแล้วสิบสองปี ตามแนวคิดในการสร้างโรงเรียนคู่กับวัด เพื่อพัฒนาองค์กรชุมชนตามหลัก "บ-ว-ร" (บ้าน - วัด - โรงเรียน) โดยใช้ที่ดินของวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหารส่วนหนึ่ง เป็นที่ตั้งสถานศึกษาจนถึงปัจจุบัน อยู่ในพื้นที่เดียวกันกับวิทยาลัยการฝึกหัดครู ภายในพื้นที่โรงเรียนมีอาคารเรียนหลัก 3 อาคาร โดยอาคารแรก (อาคารสาธิต 1) สร้างขึ้นพร้อมโรงเรียนในปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนมัธยมสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (อักษรย่อ: ส.ก./S.K.) เป็นโรงเรียนชายล้วนในระดับชั้น มัธยมศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 88 ถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 11 ไร่ 2 งาน 23 ตารางวา ประกอบด้วยอาคารเรียน 7 หลัง ห้องเรียนทั้งหมด 78 ห้อง นอกจากนี้โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยยังโดดเด่นในเรื่องคุณภาพมาตรฐานของศิษย์เก่าที่จบไปโดยเฉพาะด้านวิชาการ ภาษา และความเป็นผู้นำ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็น 1 ในกลุ่มโรงเรียนจตุรมิตรสามัคคี ซึ่งประกอบด้วย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างทีมของทั้ง 4 โรงเรียน โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้าภาพในทุกๆ 2 ปี นอกจากการแข่งขันฟุตบอล ยังมี การแปรอักษร ของทั้ง 4 โรงเรียน ซึ่งเป็นอีกสัญลักษณ์สำคัญของงาน โดยกีฬาจตุรมิตรสามัคคีจะจัดขึ้นในทุกๆ 4 ปี ที่ สนามศุภชลาศัย นอกจากนี้ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ยังมีงานกรีฑาสวนกุหลาบสัมพันธ์ และงานชุมนุมลูกเสือสวนกุหลาบสัมพันธ์ ซึ่งจัดขึ้นร่วมกับโรงเรียนใน เครือสวนกุหลาบวิทยาลัย เป็นประจำทุกปี โดยแต่ละโรงเรียนจะผลัดกันเป็นเจ้.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี

รงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี (ส.ก.ช.) (อังกฤษ: Suankularb Wittayalai Chon Buri School) S.K.C. ตั้งอยู่ที่เลขที่ 8 หมู่ 3 ตำบลบ่อวิน อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ในกลุ่มโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยลำดับที่ 6 ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2542.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน

รงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน มีฐานะเป็นภาควิชาโรงเรียนสาธิต มศว ปทุมวัน สังกัด คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนอังรีดูนังต์ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 บนพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีประวัติการก่อตั้งโรงเรียนสืบเนื่องมาจาก "โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย" ซึ่งเป็นโรงเรียนสาธิตสังกัดแผนกวิชาครุศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อการฝึกหัดครู ชั้นประโยคครูมัธยม ครั้นต่อมาโรงเรียนมัธยมหอวังฯ ได้เปลี่ยนรูปงานเป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แผนกวิชาครุศาสตร์จึงไม่มีโรงเรียนสำหรับฝึกหัดครูเป็นระยะเวลานานประมาณ 15 ปี เมื่อแผนกวิชาครุศาสตร์ขยายงานเป็น คณะครุศาสตร์ โดยมีศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา เป็นคณบดีคนแรก ท่านได้เล็งเห็นความจำเป็นในการจัดตั้งโรงเรียนสาธิต เพื่อการฝึกหัดครูขั้นปริญญาขึ้นแทนโรงเรียนมัธยมหอวังฯ จึงได้ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นโดยให้ชื่อว่า "โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" และทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2501 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายประถม และ ฝ่ายมัธยม.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเตรียมทหาร

รงเรียนเตรียมทหาร (Armed Forces Academies Preparatory School.) เป็นสถาบันการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย และเป็นสถาบันการศึกษาแห่งเดียวในประเทศไทย ที่เป็นศูนย์รวมเบื้องต้นสำหรับผู้ที่จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ ผู้ที่ศึกษาในโรงเรียนเตรียมทหาร เรียกว่า นักเรียนเตรียมทหาร (นตท.) การรับสมัครบุคคลพลเรือนเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารนั้น โรงเรียนเตรียมทหารมิได้เป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือกนักเรียนเตรียมทหารด้วยตนเอง หากแต่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนนายเรืออากาศ และโรงเรียนนายร้อยตำรวจ จะเป็นผู้ดำเนินการสอบคัดเลือก โดยในแต่ละปีจะมีการกำหนดจำนวนรับนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จากนั้นแต่ละเหล่าทัพจะส่งผู้ผ่านการสอบคัดเลือกมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนเตรียมทหาร เป็นเวลา 2 ปี ภายหลังจากที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของโรงเรียนเตรียมทหารแล้ว นักเรียนเตรียมทหารเหล่านี้จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนเหล่าทัพ ตามที่นักเรียนได้สมัครและผ่านการสอบคัดเลือก เมื่อสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเหล่าทัพ หรือโรงเรียนนายร้อยตำรวจแล้ว นักเรียนนายร้อยเหล่านี้ จะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นนายทหาร และนายตำรวจชั้นสัญญาบัตร พร้อมทั้งเข้ารับพระราชทานกระบี่จากสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนเตรียมทหาร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์

รงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเซนต์คาเบรียล

รงเรียนเซนต์คาเบรียล (St.) เป็นโรงเรียนเอกชนโรงเรียนชายล้วนขนาดใหญ่ ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิก ตั้งอยู่บนถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เปิดสอนนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 คำว่า "เซนต์คาเบรียล" ในชื่อโรงเรียนนั้น จึงมาจากชื่อคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ผู้ก่อตั้งโรงเรียน โรงเรียนเซนต์คาเบรียลเป็นโรงเรียนที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในประเทศ เป็นที่ยอมรับในด้านคุณภาพการศีกษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และคุณภาพของนักเรียนและศิษย์เก่าที่จบไป โรงเรียนเซนต์คาเบรียล เป็นหนึ่งในสองของโรงเรียนในเครือฯที่ใช้สีประจำสถาบันคือ น้ำเงินขาว (อีกโรงเรียนหนึ่งที่ใช้สีน้ำเงินขาวคือโรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง) และมีเพียงวิทยาเขตเดียว เช่นเดียวกับ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยและโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ที่ไม่ได้ชื่อโรงเรียนว่า "อัสสัมชัญ" นำหน้า ปัจจุบันโรงเรียนเซนต์คาเบรียลมีอายุได้ ปี เป็นหนึ่งในโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดในย่านดุสิต.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโรงเรียนเซนต์คาเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

โสภณ พรโชคชัย

ณ พรโชคชัย (เกิด 6 ตุลาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักวิชาการด้านอสังหาริมทรัพย์ การประเมินค่าทรัพย์สิน การพัฒนาการเมือง ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เคยลงสมัครรับการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ในหมายเลข 4.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโสภณ พรโชคชัย · ดูเพิ่มเติม »

โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์

นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และรักษาการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกสุจินดา คราประยูร) อดีตรัฐมนตรีอีกหลายสมัย และอดีตประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา ยิ้มวิไล

ตราจารย์ ไชยา ยิ้มวิไล กรรมการผู้ช่วยรองนายกรัฐมนตรี (ศาสตราจารย์ ดร.วิษณุ เครืองาม) ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ สังกัดวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้อำนวยการ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบันฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ด้านครอบครัวสมรส กับ นางทิพย์สุดา ยิ้มวิไล มีบุตรชื่อ เอกลักษณ์ ยิ้มวิไล ผู้อำนวยการฝ่ายการตลาดและพัฒนาธุรกิจ บริษัท แบงคอก เมโทร เน็ทเวิร์คส์ จำกั.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และไชยา ยิ้มวิไล · ดูเพิ่มเติม »

ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม

ูลย์ วัฒนศิริธรรม (24 มีนาคม พ.ศ. 2484 — 9 เมษายน พ.ศ. 2555) อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ใน รัฐบาลของพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตผู้อำนวยการธนาคารออมสิน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ รัตตกุล

ร้อยตรี ไพโรจน์ รัตตกุล อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว อดีตนายกสมาคมมวยสากลสมัครเล่นแห่งประเทศไทย และเป็นน้องชายนายพิชัย รัตตกุล (อดีตประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์) ปัจจุบันเป็นกรรมการผู้จัดการ แล.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และไพโรจน์ รัตตกุล · ดูเพิ่มเติม »

ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ

นายไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ เป็นอดีตรองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดนครราชสีมา และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบสัดส่วน.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ไขศรี ศรีอรุณ

ตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิง ไขศรี ศรีอรุณ (29 มกราคม 2480 -ปัจจุบัน) นายกสภามหาวิทยาลัยพะเยา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และอีกทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร และนายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และไขศรี ศรีอรุณ · ดูเพิ่มเติม »

เชษฐา ฐานะจาโร

ลเอกเชษฐา ฐานะจาโร (23 สิงหาคม พ.ศ. 2481 —) ประธานที่ปรึกษาพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรครวมใจไทยชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการทหารบก และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเชษฐา ฐานะจาโร · ดูเพิ่มเติม »

เกริกไกร จีระแพทย์

นายเกริกไกร จีระแพทย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเกริกไกร จีระแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

เกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา

กษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ และอดีตปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเกษม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

เมืองไทยรายสัปดาห์

ื้อเหลืองของ เมืองไทยรายสัปดาห์ รายการเมืองไทยรายสัปดาห์ เมื่อครั้งออกอากาศทางช่อง 9 เมืองไทยรายสัปดาห์ เป็นรายการวิเคราะห์ประเด็นข่าวรอบสัปดาห์ ดำเนินรายการโดยนายสนธิ ลิ้มทองกุล และนางสาวสโรชา พรอุดมศักดิ์ เริ่มออกอากาศเมื่อปี พ.ศ. 2546 ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ ทีวี ต่อมา กลางเดือนกันยายน พ.ศ. 2548 ได้ถูกระงับจากทางโมเดิร์นไนน์ทีวี ด้วยเหตุผลที่ว่า ผู้ดำเนินรายการได้วิจารณ์รัฐบาล โดยโยงไปถึงสถาบันเบื้องสูง โดยผู้ผลิตได้เปลี่ยนชื่อรายการเป็น เมืองไทยรายสัปดาห์สัญจร และได้เปลี่ยนชื่อรายการอีกครั้ง เป็น เมืองไทยรายสัปดาห์ คอนเสิร์ตการเมือง ซึ่งเป็นการจัดรายการนอกสถานที่ มีการถ่ายทอดสดทางสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม ASTV NEWS1 และผ่านทางอินเทอร์เน็ต.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเมืองไทยรายสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญพิทักษ์เสรีชน

หรียญพิทักษ์เสรีชน สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 9 ใช้อักษรย่อว..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเหรียญพิทักษ์เสรีชน · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญราชการชายแดน

หรียญราชการชายแดน ด้านหน้า เหรียญราชการชายแดน (The Border Service Medal) ใช้อักษรย่อว..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเหรียญราชการชายแดน · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญจักรมาลา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเหรียญจักรมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549

หตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเหตุระเบิดในกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุจลาจลในพนมเปญ พ.ศ. 2546

หตุจลาจลในพนมเปญ..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเหตุจลาจลในพนมเปญ พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน พ.ศ. 2554

หตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเหตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่อำเภอแก่งกระจาน พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนบีชเกมส์ 2014

อเชียนบีชเกมส์ 2014 (2014 Asian Beach Games) เป็นการแข่งขัน เอเชียนบีชเกมส์ ครั้งที่ 4 จะมีการจัดขึ้นที่เกาะภูเก็ต ประเทศไทย ซึ่งการแข่งขันได้กำหนดไว้ที่เกาะโบราไค จังหวัดอักลัน ประเทศฟิลิปปินส์ แต่ได้รับผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงเจ้าภาพจากทาง OCA ซึ่งไปซ้อนในปีเดียวกันกับเอเชียนเกมส์ 2014 การแข่งขันในครั้งนี้จะเป็นครั้งที่เจ็ดสำหรับประเทศไทยในการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันระดับเอเชีย ภายหลังจากที่กรุงเทพ ได้จัดมหกรรมกีฬาเอเชียนเกมส์ไปแล้วสี่ครั้ง (ค.ศ. 1966, 1970, 1978 และ 1998), เอเชียนอินดอร์เกมส์หนึ่งครั้ง (ค.ศ. 2005) และเอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์หนึ่งครั้ง (ค.ศ. 2009) อย่างไรก็ตาม มหกรรมกีฬานี้จะถือเป็นรายการแรกที่ไม่ได้จัดขึ้นที่กรุงเทพฯ.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเอเชียนบีชเกมส์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

เขายายเที่ยง

ที่ยง เขายายเที่ยง เป็นภูเขาในเขตตำบลคลองไผ่ อ.สีคิ้ว จ.นครราชสีมา มีอาณาเขตแนวป่าติดต่อกับ ป่าเขาเตียน ป่าเขาเขื่อนลั่น ป่าปากช่อง ป่าหมูสี และเขื่อนลำตะคอง ซึ่งเป็นเขตป่าสงวนตามแผนที่-อาคารของกรมแผนที่ทหาร เมื่อปี 2545 ชาวบ้านขึ้นมาทำกินบนเขาตั้งแต่ปี 2517 โดยถางป่าทำไร่ข้าวโพด จนเป็นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ต่อมาในปี 2524 กรมป่าไม้จึงมาจัดสรรให้คนละ 14 ไร่ 2 งาน โดย 14 ไร่ให้เป็นที่ทำกิน ส่วน 2 งานให้เป็นที่อยู่อาศัย แต่เนื่องจากพื้นที่บริเวณนี้ส่วนหนึ่งเป็นหิน ไม่เหมาะสำหรับทำการเกษตร ชาวบ้านจึงขายที่ต่อให้กับคนต่างถิ่น โดยมีข้าราชการจำนวนหนึ่งมาซื้อต่อเป็นทอดๆ เพราะบนเขามีทิวทัศน์สวยงาม มีอากาศดี เหมาะจะนำมาสร้างเป็นบ้านพักตากอากาศ รวมทั้งพล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ทั้งนี้พื้นที่บริเวณนี้ยังไม่มีการออกเอกสารสิทธิ มีเพียงหลักฐานการเสียภาษีบำรุงท้องที่ (ภ.ท.บ.5) ที่ที่ว่าการอำเภอเป็นผู้ออกให้.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเขายายเที่ยง · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (The Honourable Order of Rama) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบำเหน็จความดีความชอบแก่ผู้ทำความชอบพิเศษเป็นประโยชน์ยิ่งแก่ราชการทหาร ไม่ว่ายามสงบหรือยามสงคราม ตามที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๒๒ กรกฎาคม..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

เปรม ติณสูลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเปรม ติณสูลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เปรียว อวอร์ด

ปรียว อวอร์ด (Priew Awards) เป็นรางวัลที่นิตยสารเปรียว มอบให้แก่ 10 บุคคลคุณภาพแห่งปี ที่ประสบความสำเร็จสมควรได้รับยกย่อง เป็นแบบอย่างของสังคม โดยมีเกณฑ์พิจารณาต่างๆ เช่น เป็นผู้มีบุคลิกดี และมีความสามารถ มีจิตใจดี ภาพพจน์ในสังคมดี มนุษยสัมพันธ์ดี มีส่วนช่วยเหลือสังคม และประสบความสำเร็จอย่างโดดเด่นในแต่ละสาขาวิชาชีพ โดยเริ่มต้นมอบรางวัลครั้งแรกใน ปี..

ใหม่!!: สุรยุทธ์ จุลานนท์และเปรียว อวอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สุรยุทธ จุลานนท์สุรยุทธ์พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »