โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สภาสังคายนาสากล

ดัชนี สภาสังคายนาสากล

ในศาสนาคริสต์ สภาสังคายนาสากล (Ecumenical council หรือ oecumenical council หรือ general council) คือการประชุมบรรดามุขนายกและนักเทววิทยาศาสนาคริสต์จากคริสตจักรทั่วโลก เพื่อสังคายนาหรือหาข้อตกลงร่วมกันในเรื่องหลักความเชื่อและการปฏิบัติที่ขัดแย้งกันอยู่ในขณะนั้น คำว่า “Οικουμένη” เป็นภาษากรีกแปลว่า “โลกที่อยู่อาศัย” หรือในความหมายแคบคือจักรวรรดิโรมันนั่นเอง เพราะการประชุมในสมัยแรก ๆ ริเริ่มโดยจักรพรรดิโรมัน แต่ต่อมาคำนี้ก็นำมาใช้กันโดยทั่วไปในความหมายที่หมายถึง “คริสตจักร” หรือประชาคมคริสต์ศาสนิกชน “ทั่วโลก” หรือในแต่ละนิกายในศาสนาคริสต์ สภาสังคายนาครั้งสุดท้ายที่เป็นที่ยอมรับจากทั้งฝ่ายโรมันคาทอลิกและออร์ทออดกซ์คือสังคายนาไนเซียครั้งที่สองปี..

58 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1096พ.ศ. 1223พ.ศ. 1224พ.ศ. 1235พ.ศ. 1330พ.ศ. 1412พ.ศ. 1413พ.ศ. 1422พ.ศ. 1423พ.ศ. 1666พ.ศ. 1682พ.ศ. 1722พ.ศ. 1758พ.ศ. 1788พ.ศ. 1817พ.ศ. 1854พ.ศ. 1855พ.ศ. 1884พ.ศ. 1894พ.ศ. 1952พ.ศ. 1957พ.ศ. 1961พ.ศ. 1966พ.ศ. 1967พ.ศ. 1974พ.ศ. 1988พ.ศ. 2055พ.ศ. 2057พ.ศ. 2088พ.ศ. 2106พ.ศ. 2215พ.ศ. 2505พ.ศ. 2508พ.ศ. 868พ.ศ. 924พ.ศ. 974พ.ศ. 992พ.ศ. 994กฎหมายศาสนจักรกิจการของอัครทูตมุขนายกศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์ยุคแรกสังคายนาลาเตรันครั้งที่หนึ่งสังคายนาวาติกันครั้งที่สองสังคายนาแห่งเทรนต์สังคายนาไนเซียครั้งที่หนึ่งอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์จักรพรรดิโรมันจักรวรรดิโรมัน...คริสตจักรคริสต์ศาสนิกชนนอกรีตนิกายในศาสนาคริสต์โรมันคาทอลิกโปรเตสแตนต์เทววิทยาศาสนาคริสต์เขตมิสซังกรุงเทพฯ ขยายดัชนี (8 มากกว่า) »

พ.ศ. 1096

ทธศักราช 1096 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1096 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1223

ทธศักราช 1223 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1223 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1224

ทธศักราช 1224 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1224 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1235

ทธศักราช 1235 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1235 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1330

ทธศักราช 1330 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1330 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1412

ทธศักราช 1412 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1412 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1413

ทธศักราช 1413 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1413 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1422

ทธศักราช 1422 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1422 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1423

ทธศักราช 1423 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1423 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1666

ทธศักราช 1666 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1666 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1682

ทธศักราช 1682 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1682 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1722

ทธศักราช 1722 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1722 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1758

ทธศักราช 1758 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1758 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1788

ทธศักราช 1788 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1788 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1817

ทธศักราช 1817 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1817 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1854

ทธศักราช 1854 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1854 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1855

ทธศักราช 1855 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1855 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1884

ทธศักราช 1884 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1884 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1894

ทธศักราช 1894 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1894 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1952

ทธศักราช 1952 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1957

ทธศักราช 1957 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1957 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1961

ทธศักราช 1961 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1961 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1966

ทธศักราช 1966 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1966 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1967

ทธศักราช 1967 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1967 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1974

ทธศักราช 1974 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1974 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1988

ทธศักราช 1988 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2055

ทธศักราช 2055 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 2055 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2057

ทธศักราช 2057 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 2057 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2088

ทธศักราช 2088 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 2088 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2106

ทธศักราช 2106 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 2106 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2215

ทธศักราช 2215 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 2215 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2508

ทธศักราช 2508 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1965 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 2508 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 868

ทธศักราช 868 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 868 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 924

ทธศักราช 924 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 381.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 924 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 974

ทธศักราช 974 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 431.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 974 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 992

ทธศักราช 992 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 449.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 992 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 994

ทธศักราช 994 ตรงกับปี คริสต์ศักราช 451.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและพ.ศ. 994 · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายศาสนจักร

กฎหมายศาสนจักร (Canon law, from Catholic Encyclopedia) เป็นคำที่หมายถึงกฎหมายทางการปกครองภายในองค์การคริสเตียนรวมถึงบรรดาสมาชิก โดยเฉพาะในคริสตจักรโรมันคาทอลิก อีสเติร์นออร์โธด็อกซ์ และแองกลิคัน กฎที่ใช้ในการปกครองเป็นกฎที่ได้รับการอนุมัติ หรือตีความหมายเมื่อมีข้อขัดแย้งซึ่งแต่ละคริสตจักรก็จะมองกันคนละแง่ ตามปกติแล้วการอนุมัติก็จะทำโดยสภาสังคายนาสากลก่อนที่จะนำไปปฏิบัติในคริสตจักรโดยทั่วไป.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและกฎหมายศาสนจักร · ดูเพิ่มเติม »

กิจการของอัครทูต

กิจการของอัครทูต (Acts of the Apostles) เป็นเอกสารฉบับที่ 5 ของคัมภีร์ไบเบิล ภาคพันธสัญญาใหม่ เรียกย่อว่า กิจการ (Acts) ชื่อมาจากภาษากรีก “Praxeis Apostolon” ใช้เป็นครั้งแรกโดยนักบุญอิเรเนียส (Irenaeus) เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 2 อาจมีนัยความหมายว่า “กิจการของพระจิต” หรือเป็น “กิจการของพระเยซู” ก็เป็นได้ เพราะ กิจการ เขียนขึ้นเพื่อบันทึกแนวทางปฏิบัติที่พระเยซูทรงสอน และทรงมีบทบาทหลัก แม้ว่าผู้เขียนจะไม่ได้บ่งบอกชื่อของตนเองไว้ แต่หลักฐานทั้งจากภายนอกและเนื้อหาในพระธรรมเอง เชื่อได้ว่าผู้เขียนน่าจะเป็น ลูกาผู้ประกาศข่าวประเสริฐ อย่างไรก็ตาม ผู้เชี่ยวชาญยังสรุปยืนยันไม่ได้ แต่มั่นใจว่าผู้ที่เขียนพระธรรม กิจการ และ พระวรสารนักบุญลูกา เป็นบุคคลเดียวกัน สังเกตได้จากบทเริ่มต้นของพระธรรมเล่มนี้ ซึ่งเป็นจดหมายเขียนถึงเธโอฟิลัส โดยอ้างถึงหนังสือเรื่องแรกที่ได้เขียนให้อ่านไปแล้วนั้น ตรงกันกับบทเริ่มต้นของพระวรสารนักบุญลูกา ดังนั้น พระธรรม กิจการ จึงเขียนขึ้นทีหลัง ซึ่งน่าจะอยู่ในช่วงปี..

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและกิจการของอัครทูต · ดูเพิ่มเติม »

มุขนายก

ันทบุรี เป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นมุขนายก บิชอป (Bishop) กรมการศาสนาและราชบัณฑิตยสถานบางครั้งให้เรียกว่ามุขนายก เป็นตำแหน่งการปกครองในคริสตจักรที่มีการจัดระเบียบองค์การแบบอิปิสโคปัล เช่น โรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ หรือแม้แต่ในนิกายโปรเตสแตนต์บางคณะ เช่น แองกลิคัน ลูเทอแรน เมทอดิสต.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและมุขนายก · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A. The fundamental Christian faith: the origin, history and interpretation of the Apostles' and Nicene creeds. C. Scribner's sons, 1913.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาคริสต์ยุคแรก

นาคริสต์ยุคแรก (Early Christianity) หมายถึงศาสนาคริสต์ช่วงก่อนการสังคายนาที่ไนเชียครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ. 325) แบ่งออกได้เป็นสองยุคย่อย คือ สมัยอัครทูตและสมัยก่อนไนเซีย ตามที่ระบุในบทแรกของหนังสือกิจการของอัครทูต คริสต์ศาสนิกชนยุคแรกเป็นชาวยิวทั้งหมด ไม่ว่าโดยกำเนิดหรือมาเข้ารีตภายหลัง จึงเรียกกลุ่มนี้ว่าคริสต์ศาสนิกชนชาวยิว การประกาศข่าวดีในสมัยนั้นเป็นแบบมุขปาฐะและใช้ภาษาแอราเมอิก หนังสือ "กิจการของอัครทูต" และ "จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวกาลาเทีย" ระบุว่าในสมัยนั้นกรุงเยรูซาเลมเป็นศูนย์กลางของคริตชน โดยมีซีโมนเปโตร ยากอบผู้ชอบธรรม และยอห์นอัครทูต เป็นผู้ปกครองชุมชนร่วมกัน ต่อมาเปาโลซึ่งเคยเป็นปฏิปักษ์กับคริสตชนได้กลับใจมารับเชื่อ และประกาศตนเป็น "อัครทูตมายังพวกต่างชาติ" และมีอิทธิพลอย่างมากต่อคริสตชนยิ่งกว่าผู้ปกครองท่านอื่น ๆ ที่ร่วมกันเขียนพันธสัญญาใหม่Oxford Dictionary of the Christian Church ed.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและศาสนาคริสต์ยุคแรก · ดูเพิ่มเติม »

สังคายนาลาเตรันครั้งที่หนึ่ง

กฎข้อที่ 2 4 และ 10 ยุติอำนาจของจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในการเสนอชื่อบิชอปและพระสันตะปาปา สังคายนาลาเตรันครั้งที่ 1 (First Council of the Lateran) เป็นสภาสังคายนาสากลในคริสตจักรโรมันคาทอลิกที่สมเด็จพระสันตะปาปาคาลิกซ์ตุสที่ 2 ทรงเรียกประชุมในเดือนธันวาคมปี..

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและสังคายนาลาเตรันครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สังคายนาวาติกันครั้งที่สอง

ังคายนาวาติกันครั้งที่สอง (Concilium Oecumenicum Vaticanum Secundum) เป็นสภาสังคายนาสากลครั้งที่ 21 ที่คริสตจักรโรมันคาทอลิกจัดขึ้น โดยมีจุดประสงค์เพื่อปรับตัวศาสนจักรให้เข้ากับโลกสมัยใหม่ สังคายนาครั้งนี้สันตะสำนักดำเนินการจัดขึ้นที่มหาวิหารนักบุญเปโตรในนครรัฐวาติกัน ตามรับสั่งของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์นที่ 23 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม..

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและสังคายนาวาติกันครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สังคายนาแห่งเทรนต์

การประชุมสภาที่โบสถ์ซันตามาเรียมัจโจเร เมืองเตรนโต สังคายนาแห่งเทรนต์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 149(Council of Trent) เป็นการประชุมสภาสังคายนาสากลของคริสตจักรโรมันคาทอลิก ถือเป็นการประชุมครั้งสำคัญที่สุดครั้งหนึ่งของฝ่ายโรมันคาทอลิกWetterau, Bruce.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและสังคายนาแห่งเทรนต์ · ดูเพิ่มเติม »

สังคายนาไนเซียครั้งที่หนึ่ง

ังคายนาไนเซียครั้งที่ 1 สังคายนาไนเซียครั้งที่หนึ่ง (First Council of Nicaea) เป็นสภาสังคายนาสากลครั้งแรกในศาสนาคริสต์ โดยจักรพรรดิคอนสแตนตินมหาราชทรงเรียกประชุมบรรดามุขนายกทั่วจักรวรรดิโรมันมาประชุมกันที่เมืองไนเซีย เพื่อหาข้อสรุปความเชื่อเกี่ยวกับสถานะของพระบุตร และความสัมพันธ์ระหว่างพระบุตรกับพระบิดา, pp.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและสังคายนาไนเซียครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์

อาสนวิหารพระโลหิตของพระผู้ช่วยให้รอด เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ประเทศรัสเซีย คริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ (Eastern Orthodox Church) เรียกโดยย่อว่าคริสตจักรออร์ทอดอกซ์ (The Orthodox Church) หรือคริสตจักรไบแซนไทน์ (The Byzantine Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่เป็นอันดับสองในโลก คริสตจักรนี้ปฏิบัติตามหลักการทางเทววิทยาอย่างไม่มีการเปลี่ยนแปลงมาตั้งแต่สมัยศาสนาคริสต์ยุคแรก ศาสนจักรนี้เชื่อว่าคริสตจักรออร์โธด็อกซ์เป็นคริสตจักรแท้จริงเพียงหนึ่งเดียวที่ก่อตั้งโดยพระผู้เป็นเจ้า โดยสืบเนื่องมาจากอัครทูตของพระเยซูคริสต์ ออร์ทอดอกซ์ (Orthodox) หมายความว่า หลักคำสอนที่ถูกต้อง ซึ่งมาจากภาษากรีกคือ orthos แปลว่าถูกต้อง และ doxa แปลว่าคำสอน เมื่อในช่วงศาสนาคริสต์ยุคแรก ได้มีการเผยแพร่หลักคำสอนที่ผิด ซึ่งจะทำให้เกิดความผิดเพี้ยนของศาสนาจักร ซึ่งทางศาสนจักรออร์ทอดอกซ์ จึงได้เรียกตนเองว่าออร์ทอดอกซ์ เพื่อความเป็นศาสนจักรดั้งเดิม และต่อต้านหลักคำสอนนอกรีต อาจจะทำให้เกิดความแตกแยก ชาวออร์โธดอกซ์ถือว่าศาสนจักรออร์โธดอกซ์เป็นคริสตจักรแท้จริง ดั้งเดิม ศักดิ์สิทธิ์ สากล มีหลักคำสอนที่แท้จริงและดั้งเดิม มาตั้งแต่ศาสนาคริสต์ยุคแรกโดยไม่เคยเปลี่ยนหลักคำสอนใดๆ คริสตจักรออร์ทอดอกซ์แบ่งเป็นคริสตจักรย่อย ๆ แต่ละคริสตจักรมีอัครบิดร (หรือชาวอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ในประเทศไทยเรียกว่า พระสังฆราช) เป็นประมุข ผู้มีหน้าที่เป็นผู้พิทักษ์ประเพณีของศาสนจักร และสามารถสืบสายกลับไปได้ถึงอัครทูตของพระเยซูโดยเฉพาะนักบุญอันดรูว์ คริสตจักรในกลุ่มอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์มักจะไม่เรียกตนเองว่า “อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์” แต่จะใช้ชื่อเฉพาะของกลุ่มที่บอกที่ตั้งของกลุ่มเช่น “คริสตจักรรัสเซียนออร์ทอดอกซ์” หรือ “คริสตจักรกรีกออร์ทอดอกซ์” "คริสตจักรเซอเบียร์ออร์ทอดอกซ์ หรือชาติอื่น ๆ คริสตจักรยุโรปตะวันออก เอเชียตะวันตก และทวีปแอฟริกาเหนือก็ใช้คำว่า “ออร์ทอดอกซ์” แต่ทางปฏิบัติจะแตกต่างกับ อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และจะเรียกตัวเองว่า ออเรียนทัลออร์ทอดอกซ.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโรมัน

จักรพรรดิโรมัน เป็นผู้ที่ปกครองจักรวรรดิโรมันตั้งแต่ 27 ปีก่อนคริสตกาล ถึง ค.ศ. 476 สำหรับ จักรวรรดิโรมันตะวันตก และปี ค.ศ. 1453 สำหรับ จักรวรรดิโรมันตะวันออก.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและจักรพรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักร

ริสตจักร (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ พระศาสนจักร (ศัพท์คาทอลิก) (Christian Church; The Church) คือประชาคมของผู้เชื่อและยอมรับว่าพระเยซูเป็นพระคริสต์ มาบังเกิดเป็นมนุษย์เพื่อช่วยไถ่มนุษย์จากบาปราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 152 ประชาคมนี้ถือเป็นหนึ่งเดียวกัน หากเปรียบเป็นร่างกาย พระเยซูคือศีรษะ และคริสตจักรคือร่างกายส่วนอื่น ๆ ทั้งหมด หรืออีกนัยหนึ่งคือคริสตชนทุกคนเปรียบเหมือนอวัยวะส่วนต่าง ๆ ในร่างกายเดียวกัน โดยมีพระเยซูทรงเป็นหลัก และคริสตชนทุกคนจะร่วมกันปฏิบัติพันธกิจคือการประกาศข่าวดีว่าพระเยซูสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนเพื่อไถ่บาป มนุษย์ทุกคนที่เชื่อจะพ้นจากบาป และเชื่อว่าจะได้รับความรอดและบำเหน็จจากพระเป็นเจ้าในการพิพากษาครั้งสุดท้.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและคริสตจักร · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ศาสนิกชน

ัญลักษณ์กางเขนและอิกธัส (Ichthys) ซึ่งคริสต์ศาสนิกชนมักใช้แทนศาสนาของตน คริสต์ศาสนิกชน หรือ คริสตชน หมายถึง บุคคลที่นับถือศาสนาคริสต์ ซึ่งเป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยมอันเกิดจากคำสอนของพระเยซูชาวนาซาเรธ คริสต์ศาสนิกชนเชื่อว่าพระองค์คือพระคริสต์หรือพระเมสสิยาห์ที่ถูกพยากรณ์ไว้ในคัมภีร์ฮีบรู และเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้าด้วย, BBC คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่เชื่อเรื่องพระตรีเอกภาพ คือ เชื่อว่าพระเป็นเจ้าพระองค์เดียวได้ปรากฏเป็น 3 พระบุคคล คือ พระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์ อย่างไรก็ตามมีคริสต์ศาสนิกชนบางกลุ่มไม่ยอมรับเรื่องพระตรีเอกภาพ จึงเรียกว่า "อตรีเอกภาพนิยม" เช่น พยานพระยะโฮวา ในประเทศไทยเรียกคริสต์ศาสนิกชนชาวโรมันคาทอลิกว่าคริสตัง และชาวโปรเตสแตนต์ว่าคริสเตียน.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและคริสต์ศาสนิกชน · ดูเพิ่มเติม »

นอกรีต

การสังหารหมู่ ณ Mérindol ใน ค.ศ. 1545 เป็นการลงโทษพวกนอกรีตทางศาสนาของฝรั่งเศส นอกรีต (heresy) หมายถึง ไม่ประพฤติตามจารีตประเพณี เป็นคำที่ใช้เรียกทรรศนะของผู้อื่นซึ่งขัดแย้งกับทรรศนะของตน ในโลกตะวันตกคริสตจักรโรมันคาทอลิกเริ่มใช้คำนี้เพื่อหมายถึงแนวความเชื่อใด ๆ ที่ขัดแย้งกับคำสอนต้องเชื่อที่คริสตจักรกำหนด ต่อมาคำนี้ถูกใช้ในความหมายที่กว้างขึ้น คือเป็นข้อกล่าวหาที่คนกลุ่มหนึ่งใช้เรียกคนอีกฝ่ายหนึ่งที่มีความเชื่อขัดกับผู้กล่าวหา มักใช้ในกรณีที่มีการละเมิดกฎศาสนาหรือแบบแผนประเพณี ในทางการเมืองนักการเมืองหัวรุนแรงก็อาจใช้คำนี้กล่าวหาฝ่ายตรงข้าม คำนี้ยังมีความหมายโดยนัยถึงพฤติกรรมหรือความเชื่อที่อาจบ่อนทำลายศีลธรรมที่สังคมยอมรับกันอยู่ การนอกรีตต่างจากการละทิ้งความเชื่อซึ่งเป็นการละทิ้งความเชื่อทางศาสนาหรือการเมืองเดิมของตน และต่างจากความผิดฐานเหยียดหยามศาสนา ซึ่งหมายถึงการแสดงออกว่าไม่เคารพพระเป็นเจ้าหรือศาสนา แต่การนอกรีตนั้นรวมถึงการเชื่อในศาสนาแต่ต่างจากรูปแบบที่คนส่วนใหญ่ยอมรั.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและนอกรีต · ดูเพิ่มเติม »

นิกายในศาสนาคริสต์

นิกายในศาสนาคริสต์ (Christian denominations) คือการแบ่งสาขาของศาสนาคริสต์ตามแนวปรัชญาและหลักการปฏิบัติ ในแต่ละนิกาย (denomination) ก็แบ่งย่อยเป็นคริสตจักร (church) รายการข้างล่างนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและนิกายในศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p. v (preface).

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและโรมันคาทอลิก · ดูเพิ่มเติม »

โปรเตสแตนต์

นิกายโปรเตสแตนต์ (Protestantism) เป็นนิกายหนึ่งในศาสนาคริสต์ ใช้หมายถึงคริสต์ศาสนิกชนใด ๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์เป็นขบวนการศาสนาที่มีจุดเริ่มต้นที่ประเทศเยอรมนีช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพื่อคัดค้านหลักความเชื่อและการปฏิบัติแบบโรมันคาทอลิก โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับความรอด การทำให้ชอบธรรม และคริสตจักรวิทยา โปรเตสแตนต์แบ่งออกเป็นหลายคริสตจักรย่อย ซึ่งยึดหลักความเชื่อแตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะยอมรับหลักการเหมือนกันว่ามนุษย์จะเป็นคนชอบธรรมได้ก็โดยอาศัยพระคุณจากพระเจ้าผ่านทางความเชื่อเท่านั้น (เรียกว่าหลักโซลากราเซียและโซลาฟีเด) เชื่อว่าผู้เชื่อทุกคนเป็นปุโรหิต และคัมภีร์ไบเบิลมีอำนาจสูงสุดในการกำหนดหลักความเชื่อและศีลธรรม (เรียกว่าหลักโซลาสกริปตูรา) ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ศิษย์ของมาร์ติน ลูเทอร์ ได้ตั้งคริสตจักรอิแวนเจลิคัลแห่งเยอรมนีและสแกนดิเนเวียขึ้น ส่วนคริสตจักรปฏิรูปในประเทศฮังการี สวิตเซอร์แลนด์ สกอตแลนด์ และฝรั่งเศส ตั้งขึ้นโดยฌ็อง กาลแว็ง และนักปฏิรูปศาสนาคนอื่น ๆ เช่น ฮุลดริช ซวิงลี นอกจากนี้ยังมีจอห์น น็อกซ์ ที่ตั้งคริสตจักรปฏิรูปในฮังการีขึ้น ในประเทศอังกฤษการปฏิรูปศาสนานำโดยคริสตจักรแห่งอังกฤษ และยังมีขบวนการปฏิรูปศาสนาอีกหลายกลุ่มเกิดขึ้นทั่วยุโรปภาคพื้นทวีป เช่น การปฏิรูปแบบรุนแรง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของกลุ่มอนาแบ๊บติสต์ โมราเวียน และขวนการไพเอทิสต์อื่น.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและโปรเตสแตนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เทววิทยาศาสนาคริสต์

ทววิทยาศาสนาคริสต์ (Christian theology) คริสต์เทววิทยา หรือศาสนศาสตร์ คือเทววิทยาที่เกี่ยวกับความเชื่อในศาสนาคริสต์ นักเทววิทยาศาสนาคริสต์ใช้เหตุผลทางการวิจัยและการถกเพื่อทำความเข้าใจ อธิบาย ทดสอบ วิจารณ์ประเด็น ป้องกันและเผยแพร่คริสต์ศาสนา เป็นการศึกษาเพื่อเพิ่มความเข้าใจต่อศาสนาคริสต์ เพื่อเปรียบเทียบคริสต์ศาสนากับประเพณีหรือความเชื่อถืออื่น ๆ และเพื่อป้องกัน กล่าวโต้ต่อนักวิจารณ์ ช่วยในการปฏิรูปศาสนา มีความเข้าใจในคริสต์ศาสนาพอที่จะสามารถนำเอาความเข้าใจนั้นมาทำความเข้าใจในสถานะการณ์ปัจจุบันตามความจำเป็น, เทววิทยาศาสนาคริสต์เผยแพร่เข้ามาในวัฒนธรรมตะวันตกโดยเฉพาะวัฒนธรรมยุโรปก่อนสมัยใหม่ ความเกี่ยวพันกันระหว่างปรัชญาสองอย่างนี้ทำให้ผู้ต้องการทำความความเข้าใจในเทววิทยาศาสนาคริสต์จำเป็นต้องเข้าใจในวัฒนธรรมตะวันตกด้วยในขณะเดียวกัน.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและเทววิทยาศาสนาคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตมิสซังกรุงเทพฯ

ื้นที่ในปกครองของมิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ เขตมิสซังกรุงเทพฯ คริสต์ศาสนิกชนชาวคาทอลิกในประเทศไทยเรียกว่าอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นอัครมุขมณฑลโรมันคาทอลิกในประเทศไทย ซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ ชัยนาท ฉะเชิงเทราบางส่วน อำเภอบ้านนา (นครนายก) นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สุพรรณบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร พระนครศรีอยุธยา และอ่างทอง สำนักมิสซังคาทอลิกกรุงเทพฯ ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ 51 ซอยโรงแรมแมนดารินโอเรียนเต็ล ซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500.

ใหม่!!: สภาสังคายนาสากลและเขตมิสซังกรุงเทพฯ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Ecumenical councilการประชุมสภาสงฆ์การประชุมสภาบาทหลวงสภาบาทหลวงสังคายนาสากลของศาสนาคริสต์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »