โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สยาม

ดัชนี สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

256 ความสัมพันธ์: บาทหลวงพ.ศ. 2398พ.ศ. 2400พ.ศ. 2403พ.ศ. 2404พ.ศ. 2405พ.ศ. 2410พ.ศ. 2411พ.ศ. 2436พ.ศ. 2444พ.ศ. 2445พ.ศ. 2446พ.ศ. 2452พ.ศ. 2482พญาละแวกพระบรมราชา (มัง)พระบวรราชวังสีทาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์พระบำรุงราษฎร์ (จูมมณี)พระยาชัยสุนทร (โสมพะมิตร)พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์)พระยาภักดีชุมพล (แล)พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา)พระยาวิชิตภักดี (เต็งกูอับดุลกอเดร์ กามารุดดีน)พระยาประจันตประเทศธานี ( โง่นคำ พรหมสาขา ณ สกลนคร)พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขาพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสุดสวาดิพระสุรินทรบริรักษ์พระอภัยมณีพระอนุวัฒน์ราชนิยม (ฮง เตชะวณิช)พระตะบอง (เมือง)พระปทุมเทวาภิบาล (บุญมา ณ หนองคาย)พระนางเธอลักษมีลาวัณพระเจ้ามังกะยอดินพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉมพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดชพระเจ้าจันทรเทพประภาคุณพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวายพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวายพิพิธบางลำพูพูนศุข พนมยงค์กบฏผู้มีบุญกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญกรมแพทย์ทหารบกกระดาษกรุงเทพกษัตรีองค์มีการสำรวจ...การปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2231การแผลงเป็นไทยการเมืองไทยการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองกิมฮ้อ นิมมานเหมินท์ภูมิศาสตร์ไทยมกรมกร (แก้ความกำกวม)มังมหานรธามิวเซียมสยามมูลนิธินวราชดำริอนุรักษ์ฝ่ายเหนือมณฑลเทศาภิบาลยุคมืดของกัมพูชายูลิสซีส เอส. แกรนต์รัฐชาติรัฐมาลัยรัฐปะลิสรัฐนิยมรัฐเกอดะฮ์ราชวงศ์เทพวงศ์รากนครารายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชารายพระนามพระมหากษัตริย์ลาวริสก์วรันดับ ฉัตรกุล ณ อยุธยาวัดพระพุทธวัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112วิกฤตการณ์ปากน้ำวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทยศิลาจารึกศิลป์ พีระศรีส. ธรรมยศสภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองสภากาชาดไทยสมรภูมิบ้านร่มเกล้าสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดีสมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)สยาม (แก้ความกำกวม)สยามปาร์คสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 2สงครามพม่าตีเมืองถลางสงครามอะแซหวุ่นกี้สงครามจีน–พม่าสงครามปราบฮ่อสนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452หมุดคณะราษฎรหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)หลวงสันธานวิทยาสิทธิ์ (กำจาย พลางกูร)หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)หลัก 6 ประการของคณะราษฎรหอพระแก้วหัวเมืองลาวอีสานหนังสือเดินทางไทยออกขุนชำนาญใจจงอะห์มูอัดซัมชาห์ อาหมัดอัศวินแห่งโบเรอการ์อาณาจักรมอญอาณาจักรรีวกีวอาณาจักรล้านช้างอาณาจักรหอคำเชียงรุ่งอาณาจักรหงสาวดีใหม่อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรจามปาอาณาจักรปัตตานีอำเภอพิบูลมังสาหารอำเภอวาริชภูมิอำเภอเชียงแสนอำเภอเคียนซาอิน-จันอินโดจีนของฝรั่งเศสอุทยานราชภักดิ์อีริกเซ็นต์ เย ลอสันอ็องรี มูโอจอห์น ทอมสัน (ช่างภาพ)จังหวัดพระตะบองจังหวัดสุรินทร์จังหวัดสงขลาจังหวัดสตึงแตรงจังหวัดจันทบุรีจังหวัดปัจจันตคิรีเขตรจังหวัดไพรแวงจำอวดหน้าจอธรรมยุติกนิกายธานินทร์ กรัยวิเชียรธงชัย วินิจจะกูลธงชาติไทยธนบุรีทำเนียบหัวเมืองท่าแขกท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)ขอมดอกประดู่ (เพลง)ดิเกร์ ฮูลูดูวาร์ตือ ฟือร์นังดึชความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติคุ้มเจ้าหลวง (นครแพร่)คณะกรรมการราษฎรคณะราษฎรตราแผ่นดินของไทยตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)ตำบลยมต้นไม้เงินต้นไม้ทองซุน ยัตเซ็นประวัติศาสตร์สิงคโปร์ประวัติศาสตร์ไทยประเทศลาวประเทศสิงคโปร์ประเทศไทยประเทศไทยใน พ.ศ. 2398ประเทศไทยใน พ.ศ. 2400ประเทศไทยใน พ.ศ. 2403ประเทศไทยใน พ.ศ. 2404ประเทศไทยใน พ.ศ. 2405ประเทศไทยใน พ.ศ. 2410ประเทศไทยใน พ.ศ. 2411ประเทศไทยใน พ.ศ. 2436ประเทศไทยใน พ.ศ. 2445ประเทศไทยใน พ.ศ. 2446ประเทศไทยใน พ.ศ. 2482ประเทศเวียดนามประเดิม ดำรงเจริญปลาแปบสยามปืน ร.ศ. 121ปีแยร์ รอซีเยนายพลเดฟาร์ฌนิราศลอนดอนนิคมช่องแคบนครรัฐแพร่นครวัดนครเชียงใหม่แพน เรืองนนท์แขวงจำปาศักดิ์แคว้นเชียงใหม่แตง (ภาพยนตร์)แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)ไอราวัณไอศกรีมไทยเชื้อสายจีนเชียงตุงเพลงชาติไทยเมืองยองเมืองฉอดเมงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอูเยเรเมียส ฟาน ฟลีตเรือลาดตระเวนเบาลาม็อต-ปีเกเรืองฤทธิ์ ศิริพานิชเรียม เพศยนาวินเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์เอมิล เคร็บส์เอดมันด์ โรเบิตส์เฮนรี เบอร์นีเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (หนู)เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล)เจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์)เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์เจ้าอุปราช (บุญทวงษ์)เจ้าอนุวงศ์เจ้าจอมมารดาจีนเจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1เจ้าจอมมารดานุ้ยเล็ก ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทเจ้าจอมทับทิม (แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม)เจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1เจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5เจ้าดารารัศมี พระราชชายาเทศบาลนครสงขลาเทศบาลเมืองชลบุรีเดอะเควสต์ (ภาพยนตร์)เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกเนื่อง นนทนาครFilopaludina martensi1 มิถุนายน12 กรกฎาคม12 ธันวาคม13 กุมภาพันธ์15 มกราคม16 กันยายน17 กรกฎาคม21 พฤษภาคม21 สิงหาคม22 กันยายน22 ธันวาคม24 มิถุนายน27 มิถุนายน29 มิถุนายน3 กันยายน3 ตุลาคม6 สิงหาคม7 กันยายน8 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (206 มากกว่า) »

บาทหลวง

ทหลวงดนัย วรรณะ (อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์) และ ขวา-บาทหลวงสมเกียรติ บุญอนันตบุตร (โรมันคาทอลิก) บาทหลวง (priest)ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 387-8 หมายถึง นักบวชในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์ ส่วนนิกายโปรเตสแตนต์เรียก priest ว่า ปุโรหิต.

ใหม่!!: สยามและบาทหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2398

ทธศักราช 2398 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1855.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2398 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2400

ทธศักราช 2400 ตรงกั.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2400 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2403 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2404

ทธศักราช 2404 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1861.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2404 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2405

ทธศักราช 2405 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1862.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2405 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2410

ทธศักราช 2410 ตรงกั.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2410 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2436

ทธศักราช 2436 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1893 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2444

ทธศักราช 2444 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1901 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2444 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2445

ทธศักราช 2445 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1902 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2445 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2446

ทธศักราช 2446 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1903 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2446 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2452

ื พุทธศักราช 2452 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1909 เป็ๆนปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: สยามและพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พญาละแวก

ญาละแวก หรือ พระยาละแวก เป็นคำศัพท์ในพงศาวดารไทย ใช้เรียกกษัตริย์เขมรหลังจากอาณาจักรเขมรถูกสยามตีแตก และย้ายเมืองหลวงจากเมืองพระนครมาอยู่ที่พนมเปญ (พ.ศ. 1974) และต่อมาย้ายไปอยู่ที่ละแวก ระหว่าง พ.ศ. 2059 - พ.ศ. 2136 สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สยามและพญาละแวก · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมราชา (มัง)

ระบรมราชา (มัง) (พ.ศ. 2348 - 2369) ทรงมีพระนามเต็มว่า พระบรมราชากิตติศัพท์เทพฤๅยศ ทศบุรีศรีโคตรบูรหลวง ทรงเป็นเจ้าผู้ปกครองเมืองนครบุรีราชธานีศรีโคตรบูรหลวง หรือเมืองนครพนมในอดีต และทรงเป็นเจ้าผู้ปกครองเมืองนครราชสีมาอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง แต่เมื่อครั้งนครพนมยังเป็นเมืองเจ้าหัวเศิกหรือนครประเทศราชของราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ในสมัยของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์ (พ.ศ. 2348 - 2371) แห่งเวียงจันทน์ ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2367 - 2394) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และทรงเป็นผู้สร้างเวียงท่าแขกหรือเมืองท่าแขกของแขวงคำม่วนในประเทศลาวปัจจุบัน เมื่อครั้งสงครามสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์ พระบรมราชา (มัง) ทรงเป็นแม่ทัพองค์สำคัญของฝ่ายนครเวียงจันทน์เช่นเดียวกันกับพระยานรินทร์สงคราม (ทองคำ) อนึ่ง พระบรมราชา (มัง) ทรงเป็นต้นสกุลพระราชทาน มังคลคีรี แห่งจังหวัดนครพนมในภาคอีสานของประเทศไทย อีกทั้งทรงเป็นเจ้าประเทศราชแห่งเมืองนครพนมองค์สุดท้ายที่ขึ้นกับนครเวียงจันทน์และได้รับพระราชทานพระนามเป็นที่ พระบรมราชา เป็นองค์สุดท้ายก่อนที่นครพนมจะตกเป็นประเทศราชของสยาม จากนั้นสยามจึงเปลี่ยนราชทินนามของเจ้าเมืองนครพนมเป็น พระยาพนมนครนุรักษ์ แทน.

ใหม่!!: สยามและพระบรมราชา (มัง) · ดูเพิ่มเติม »

พระบวรราชวังสีทา

ระบวรราชวังสีทา ตั้งอยู่ที่ตำบลสองคอน อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ประวัติพระราชวังแห่งนี้พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างที่ริมแม่น้ำป่าสักฝั่งตะวันตก ณ ตำบลบ้านสีทา ในแขวงจังหวัดสระบุรีสร้างคราวเดียวกับเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ทรงสร้างพระนารายณ์ราชนิเวศน์ ที่เมืองลพบุรี มูลเหตุเกิดแต่คราวหาที่สร้างราชธานีสำหรับเวลาสงครามดังกล่าวมานั้น ได้โปรดให้พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ เสด็จไปตรวจเมืองนครราชสีมา ทรงเห็นภูมิลำเนากันดารไม่เหมาะ มาโปรดที่เขาคอก ในแขวงจังหวัดสระบุรี ว่าเหมือนเป็นป้อมอยู่โดยธรรมชาติจึงสร้างที่ประทับขึ้น ณ ตำบลบ้านสีทา อันอาจไม่มาถึงเขาคอกได้สะดวก แล้วเสด็จประทับ ณ ที่นั่น เพื่อตกแต่งเขาคอกไว้เป็นป้อมปราการสำหรับต่อสู้ข้าศึกแห่งหนึ่ง.

ใหม่!!: สยามและพระบวรราชวังสีทา · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ. 2352) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 1 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ เดือน 4 แรม 5 ค่ำ ปีมะโรงอัฐศก เวลา 3 ยาม ตรงกับวันที่ 20 มีนาคม..

ใหม่!!: สยามและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថ; พระบาทสีสุวัตถิ์, ในเอกสารไทยเรียกว่า "สมเด็จพระศรีสวัสดิ์") พระมหากษัตริย์ผู้ปกครองพระราชอาณาจักรกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2470 พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระหริรักษ์รามาธิบดี (นักองค์ด้วง) และเป็นพระอนุชาต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร (นักองค์ราชาวดี).

ใหม่!!: สยามและพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบำรุงราษฎร์ (จูมมณี)

ระบำรุงราษฎร์ (จูมมณี) เป็นเจ้าเมืองพิบูลมังสาหารคนแรก ชาวอำเภอพิบูลมังสาหารให้ความเคารพนับถือและนิยมยกย่องเรียกขานนามท่านว่า พระจูมมณี.

ใหม่!!: สยามและพระบำรุงราษฎร์ (จูมมณี) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาชัยสุนทร (โสมพะมิตร)

อนุสาวรีย์พระยาชัยสุนทร (ท้าวโสมพะมิต) อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ พระยาชัยสุนทร (โสมพะมิตร) หรือพระยาไชยสุนทร เดิมพระนามว่า เจ้าโสมพะมิตร หรือ ท้าวโสมพะมิตร ในเอกสารพื้นเมืองเวียงจันทน์ออกพระนามว่า ท้าวโสมบพิตร ส่วนพงศาวดารเมืองกาฬสินธุ์และเมืองกมลาสัยออกพระนามว่า พระยาสมพมิษ ทรงเป็นเจ้าผู้ปกครองเมืองกาฬสินธุ์ (กาละสินธ์ หรือ กาลสิน) พระองค์แรกและทรงเป็นเจ้าผู้สร้างเมืองกาฬสินธุ์ ปัจจุบันคือจังหวัดกาฬสินธุ์ในภาคอีสานของประเทศไทย เดิมรับราชการในราชสำนักนครเวียงจันทน์เป็นที่พญาโสมพะมิตร ภายหลังได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ ๑) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ของสยามให้เป็นเจ้าเมืองกาฬสินธุ์พระองค์แรกในฐานะเมืองประเทศราช พระยาชัยสุนทร (โสมพะมิตร) ทรงเป็นต้นสกุล วงศ์กาฬสินธุ์ ศรีกาฬสินธุ์ พิมพะนิตย์ พูลวัฒน์ อักขราสา และสกุล วงศ์กมลาไสย หรือ วงศ์กาไสย อีกทั้งทรงเป็นพระราชเชษฐาในเจ้าเมืองแสนฆองโปง ต้นสกุลพระราชทาน ณ กาฬสินธุ์ แห่งจังหวัดกาฬสินธุ์อีกด้ว.

ใหม่!!: สยามและพระยาชัยสุนทร (โสมพะมิตร) · ดูเพิ่มเติม »

พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์)

ระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์) (Francis Bowes Sayre; 30 เมษายน พ.ศ. 2428 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2515) เป็นอาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด และเป็นบุตรเขยของวูดโรว์ วิลสัน อดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ฟรานซิสเป็นนิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ต่อมา เดินทางมายังประเทศสยาม (ต่อมาคือประเทศไทย) ในฐานะเอกอัครราชทูตสหรัฐประจำสยาม เมื่อ..

ใหม่!!: สยามและพระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บี. แซร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาภักดีชุมพล (แล)

ระยาภักดีชุมพล (แล) เป็นเจ้าเมืองชัยภูมิคนแรก ชาวเมืองชัยภูมินิยมเรียกขานท่านด้วยความยกย่องนับถือว่า เจ้าพ่อพญาแล.

ใหม่!!: สยามและพระยาภักดีชุมพล (แล) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา)

ลตรี พระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา) (Gustave Schau; พ.ศ. 2402-พ.ศ. 2462) เป็นอธิบดีกรมตำรวจภูธรคนที่ 5.

ใหม่!!: สยามและพระยาวาสุเทพ (กุสตาฟ เชา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวิชิตภักดี (เต็งกูอับดุลกอเดร์ กามารุดดีน)

ต็งกูอับดุลกอเดร์ กามารุดดีน (Tengku Abdul Kadir Kamaruddin) เป็นพระยาเมืองปัตตานีในช่วงปี พ.ศ. 2442 - 2445 ถือเป็นรายาปัตตานีองค์ที่ 5 และเป็นองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์กลันตันที่ปกครองปัตตานี.

ใหม่!!: สยามและพระยาวิชิตภักดี (เต็งกูอับดุลกอเดร์ กามารุดดีน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาประจันตประเทศธานี ( โง่นคำ พรหมสาขา ณ สกลนคร)

อำมาตย์โท พระยาประจันตประเทศธานี (โง่นคำ พรหมสาขา ณ สกลนคร) (ต.ช., ต.ม., ร.ป.ช., ร.ม.ฮ., ฯลฯ) เจ้าเมืองสกลนครองค์สุดท้าย ผู้ว่าราชการเมืองสกลนครคนแรก (ปัจจุบันคือจังหวัดสกลนคร ในภาคอีสานของประเทศไทย) เดิมเป็นที่ราชวงศ์แล้วเลื่อนเป็นที่พระอุปฮาด ตำแหน่งเจ้านายในคณะอาญาสี่เมืองสกลนคร ผู้ช่วยราชการเมืองสกลนคร และอดีตนายกองสักเลกเมืองสกลนคร อำมาตย์โท พระยาประจันตประเทศธานี (โง่นคำ พรหมสาขา ณ สกลนคร) เป็นผู้ได้รับพระราชทานนามสกุล พรมหมสาขา และเป็นต้นตระกูล พรหมสาขา ณ สกลนคร แห่งจังหวัดสกลนคร.

ใหม่!!: สยามและพระยาประจันตประเทศธานี ( โง่นคำ พรหมสาขา ณ สกลนคร) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

นตร์ข่าวเรื่อง "พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว" เป็นภาพยนตร์ข่าวซึ่งผลิตโดยกองภาพยนตร์เผยแผ่ข่าว กรมรถไฟหลวง จัดทำขึ้นโดยได้รับพระบรมราชานุญาตเพื่อจำหน่ายแก่ผู้สนใจเก็บไว้เป็นที่ระลึก รายละเอียดของภาพยนตร์ชุดนี้เป็นการบันทึกเหตุการณ์ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อปลายปี พ.ศ. 2468 นับเป็นครั้งแรกที่มีการบันทึกภาพยนตร์พระราชพิธีสำคัญตามโบราณราชประเพณีของไทย ทั้งนี้ วันที่มีการบันทึกภาพยนตร์ข่าวพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในครั้งนั้นมีทั้งหมด 4 วัน ได้แก.

ใหม่!!: สยามและพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา

ระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เป็นพงศาวดารสยาม ต้นฉบับเป็นสมุดไทยจำนวน 22 เล่ม เนื้อหาเริ่มตั้งแต่การสถาปนากรุงศรีอยุธยาจนถึง..

ใหม่!!: สยามและพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสุดสวาดิ

ระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสุดสวาดิ (พ.ศ. 2427 — พ.ศ. 2489) เป็นพระราชธิดาลำดับที่ 29 ในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ที่ประสูติแต่จอมมารดาแข พระองค์ประสูติเมื่อวันศุกร์ เดือน 11 ขึ้น 14 ค่ำ ปีวอกฉสก..

ใหม่!!: สยามและพระราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสุดสวาดิ · ดูเพิ่มเติม »

พระสุรินทรบริรักษ์

รองอำมาตย์เอกพระสุรินทร์บริรักษ์ เป็นผู้ก่อตั้งและเจ้าเมืองวาริชภูมิ เป็นชาวภูไท เดิมชื่อ ท้าวสุพรม เกิดที่เมืองกะป๋อง (เมืองเซโปน สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว) เมื่อปี..

ใหม่!!: สยามและพระสุรินทรบริรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระอภัยมณี

ระอภัยมณี เป็นวรรณคดีชิ้นเยี่ยมเรื่องหนึ่งของไทย ผลงานชิ้นเอกของพระสุนทรโวหาร หรือสุนทรภู่ กวีเอกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประพันธ์ขึ้นเป็นนิทานคำกลอนที่มีความยาวมากถึง 94 เล่มสมุดไทย เมื่อพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ จะมีความยาวกว่าหนึ่งพันสองร้อยหน้า ระยะเวลาในการประพันธ์ไม่มีการระบุไว้อย่างแน่ชัด แต่คาดว่าสุนทรภู่เริ่มประพันธ์ราวปี..

ใหม่!!: สยามและพระอภัยมณี · ดูเพิ่มเติม »

พระอนุวัฒน์ราชนิยม (ฮง เตชะวณิช)

รองหัวหมื่นพระอนุวัฒน์ราชนิยม (ฮง เตชะวณิช) มีชื่อจีนว่า "ยี่กอฮง" หรือ "ตี้ยัง แซ่แต้" เกิดเมื่อวันอังคาร ขึ้น 10 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ..

ใหม่!!: สยามและพระอนุวัฒน์ราชนิยม (ฮง เตชะวณิช) · ดูเพิ่มเติม »

พระตะบอง (เมือง)

ระตะบอง หรือ บัตฎ็อมบอง (បាត់ដំបង) เป็นเมืองหลักของจังหวัดพระตะบอง ทางตะวันตกเฉียงเหนือของกัมพูชา ก่อตั้งขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 11 โดยกษัตริย์เขมร รู้จักกันในฐานะแหล่งปลูกข้าวชั้นนำของประเทศ สมัยก่อนเคยเป็นเมืองสยาม แต่ต่อมาก็ได้เป็นเมืองของกัมพูชา เมืองนี้ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสังแก.

ใหม่!!: สยามและพระตะบอง (เมือง) · ดูเพิ่มเติม »

พระปทุมเทวาภิบาล (บุญมา ณ หนองคาย)

ระปทุมเทวาภิบาล (บุญมา) เจ้าเมืองหนองคายคนแรก อดีตบรรดาศักดิ์ที่ ท้าวสุวอธรรมา กรมการเมืองยโสธร (เมืองยศสุนทร) ต่อมาเลื่อนยศในตำแหน่งคณะอาญาสี่เมืองยโสธรเป็นที่ พระอุปฮาต เป็นต้นสกุลพระราชทาน ณ หนอง.

ใหม่!!: สยามและพระปทุมเทวาภิบาล (บุญมา ณ หนองคาย) · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเธอลักษมีลาวัณ

ระนางเธอลักษมีลาวัณ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 – 29 สิงหาคม พ.ศ. 2504) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าวรรณพิมล วรวรรณ เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ กับหม่อมหลวงตาด วรวรรณ (สกุลเดิม มนตรีกุล) ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะพระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระขนิษฐาต่างชนนีของอดีตพระวรกัญญาปทาน พระองค์เจ้าวัลลภาเทวี พระองค์เป็นผู้ริเริ่มรื้อฟื้น คณะละครปรีดาลัย ของพระบิดาขึ้นมาอีกครั้ง ทรงปลีกพระองค์ประทับอยู่เพียงลำพัง ทรงใช้เวลาที่มีอยู่ในการประพันธ์นวนิยาย ร้อยกรอง และบทละครจำนวนมาก โดยใช้นามปากกาว่า ปัทมะ, วรรณพิมล และพระนางเธอลักษมีลาวัณ พระนางเธอลักษมีลาวัณ ถูกลอบปลงพระชนม์เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

ใหม่!!: สยามและพระนางเธอลักษมีลาวัณ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามังกะยอดิน

ระเจ้ามังกะยอดิน (မင်းရဲကျော်ထင်) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์ตองอูของพม่า ตั้งแต..

ใหม่!!: สยามและพระเจ้ามังกะยอดิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม

ระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม (12 เมษายน พ.ศ. 2399 — 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489) พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาสี.

ใหม่!!: สยามและพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉิดโฉม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช

นายร้อยตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช ประสูติเมื่อวันศุกร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2432 ปีฉลู พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติเป็นหม่อมเจ้า เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมแม้น บุนนาค สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2452 ขณะศึกษาวิชาทหารที่ประเทศเยอรมัน พระชันษา 20 ปี มีพระเชษฐาและพระกนิษฐาร่วมพระมารดา คือ.

ใหม่!!: สยามและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศิริวงศ์วัฒนเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจันทรเทพประภาคุณ

ระเจ้าจันทรเทพประภาคุณ มีพระนามเดิมว่า เจ้าจันทราช เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 10 แห่งราชอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ทรงพระราชสมภพ ณ กรุงเทพมหานคร ราชอาณาจักรสยาม เมื่อปี พ.ศ. 2383 เป็นพระราชโอรสในเจ้ามันธาตุราชกษัตริย์ล้านช้างหลวงพระบางพระองค์ที่ 8 กับเจ้านางคำมูน พระองค์ทรงเป็นพระอนุชาในเจ้าสุกเสริมกษัตริย์ล้านช้างหลวงพระบางพระองค์ก่อน พระองค์ทรงครองราชย์ต่อจากพระเชษฐาตั้งแต่วันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2395 จนกระทั่งถึงแก่พิราลัยเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2414 พระเจ้ามหินทรเทพนิภาธร หรือ "เจ้าอุ่นคำ" พระอนุชาของพระองค์สืบราชสมบัติต่อจากพระองค์ รัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงที่ลาวอยู่ภายใต้การปกครองของสยาม พระราชกรณียกิจสำคัญ อาทิ ปี..

ใหม่!!: สยามและพระเจ้าจันทรเทพประภาคุณ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย

ระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย (Kalākaua) หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีเดวิด ลาอาเมอา คามานาคาปูอู มาฮีนูลานี นาไลอาเอฮูโอกาลานี ลูมีอาลานี คาลาคาอัว (David Laamea Kamanakapuu Mahinulani Nalaiaehuokalani Lumialani Kalākaua) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 7 แห่งราชอาณาจักรฮาวาย ต่อจากพระเจ้าลูนาลิโลแห่งฮาวาย พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์คาลาคาอัวและถือได้ว่าพระองค์เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีพระองค์สุดท้ายของฮาวาย เนื่องจากรัชกาลต่อจากพระองค์ซึ่งเป็นรัชกาลสุดท้ายดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ พระเจ้าคาลาคาอัวทรงครองราชย์ระหว่างวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 1874 จนถึง 20 มกราคม 1891 โดยในระหว่างครองราชย์พระองค์ทรงได้รับฉายาว่า The Merrie Monarch.

ใหม่!!: สยามและพระเจ้าคาลาคาอัวแห่งฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวาย

มฮาเมฮา ที่ 1 (Kamehameha I) หรือเป็นที่รู้จักกันในพระนาม คาเมฮาเมฮามหาราช เป็นผู้พิชิตเกาะฮาวาย และก่อตั้งราชอาณาจักรฮาวาย (The Kingdom of Hawaii) ในปี ค.ศ. 1810 หมู่เกาะฮาวายเกิดจากแนวภูเขาไฟโผล่ขึ้นกลางมหาสมุทรแปซิฟิกทอดยาวต่อเนื่องกันเป็นลูกโซ่ ประกอบด้วยเกาะขนาดใหญ่ที่ปรากฏให้เห็นตามแผนที่ทางภูมิศาสตร์ 8 เกาะและเกาะเล็กเกาะน้อยอีก 124 เกาะ แรกเริ่มเดิมทีเป็นถิ่นอาศัยของชาวพื้นเมืองโปลินีเชียนที่อพยพถ่ายเทข้ามไปมาระหว่างเกาะแก่งต่างๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิก หมู่เกาะฮาวายแต่เก่าก่อนแยกกันปกครอง ต่อมาภายหลังพระเจ้าคาเมฮาเมฮามหาราช (King Kamehameha the Great) ได้รวบรวมหมู่เกาะเหล่านี้เข้าเป็นอาณาจักรเดียวกันเรียกว่าราชอาณาจักรฮาวาย ปกครองต่อเนื่องสืบมาจนสิ้นรัชกาลในปี..

ใหม่!!: สยามและพระเจ้าคาเมฮาเมฮาที่ 1 แห่งฮาวาย · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธบางลำพู

งลำพู เป็นทั้งพิพิธภัณฑ์ ศูนย์การเรียนรู้ และห้องสมุดชุมชนของย่านบางลำพู อยู่ใกล้กับป้อมพระสุเมรุ บนถนนพระสุเมรุ ปัจจุบันอยู่ในความดูแลของสำนักทรัพย์สินมีค่าของแผ่นดิน กรมธนารักษ์ จัดสร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาชุมชนบางลำพูให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ และเป็นศูนย์การเรียนรู้เชิงการศึกษาวัฒนธรรมชุมชน.

ใหม่!!: สยามและพิพิธบางลำพู · ดูเพิ่มเติม »

พูนศุข พนมยงค์

ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ (สกุลเดิม: ณ ป้อมเพชร; เกิด: 2 มกราคม พ.ศ. 2455 - อนิจกรรม: 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เป็นภริยาของศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสและอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) เคยกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ไว้ว.

ใหม่!!: สยามและพูนศุข พนมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏผู้มีบุญ

กบฏผู้มีบุญ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างมีนาคม 2444 ถึงมกราคม 2479 มีจุดเริ่มจากที่ผู้สนับสนุนของขบวนการทางศาสนาของ "ผู้มีบุญ" ทำการกบฏติดอาวุธสู้กับอินโดจีนของฝรั่งเศสและสยาม โดยมีจุดประสงค์สถาปนาผู้นำ "องค์แก้ว" เป็นผู้นำของโลก ในปี 2445 การกระด้างกระเดื่องก็ถูกทำให้สงบลงในสยาม แต่ยังคงดำเนินต่อไปในอินโดจีนของฝรั่งเศสจนกระทั่งปี 2479 จึงถูกกำราบสิ้นซาก.

ใหม่!!: สยามและกบฏผู้มีบุญ · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ

กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (6 กันยายน พ.ศ. 2381 — 28 สิงหาคม พ.ศ. 2428) เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สุดท้ายในสมัยกรุงรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: สยามและกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ · ดูเพิ่มเติม »

กรมแพทย์ทหารบก

กรมแพทย์ทหารบก เป็นหน่วยงานในประเทศไทย ที่ศึกษาวิจัย ฝึกอบรมบุคลากรเหล่าทหารแพทย์ ในการให้บริการแก่ กำลังพลของกองทัพบก และครอบครัว รวมถึงประชาชน โดยให้บริการในโรงพยาบาลสังกัดกองทัพบก จำนวน 37 แห่ง เริ่มก่อตั้งเป็นกองกรมกลาง กรมยุทธนาธิการ และโรงพยาบาลกลางกรมทหารบก บริเวณฝั่งทิศเหนือปากคลองหลอด ในปี พ.ศ. 2443 และเปลี่ยนชื่อมาเป็นกรมแพทย์ทหารบก ในปี..

ใหม่!!: สยามและกรมแพทย์ทหารบก · ดูเพิ่มเติม »

กระดาษ

กระดาษ กระดาษ เป็นวัสดุที่ผลิตขึ้นมาสำหรับการจดบันทึก มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เชื่อกันว่ามีการใช้กระดาษครั้งแรกๆ โดยชาวอียิปต์และชาวจีนโบราณ แต่กระดาษในยุคแรกๆ ล้วนผลิตขึ้นเพื่อการจดบันทึกด้วยกันทั้งสิ้น จึงกล่าวได้ว่าระบบการเขียนคือแรงผลักดันให้เกิดการผลิตกระดาษขึ้นในโลก ปัจจุบันกระดาษไม่ได้มีประโยชน์ในการใช้จดบันทึกตัวหนังสือ หรือข้อความ เท่านั้น ยังใช้ประโยชน์อื่นๆ ได้มากมาย เช่น กระดาษชำระ กระดาษห่อของขวัญ กระดาษลูกฟูกสำหรับทำกล่อง เป็นต้น.

ใหม่!!: สยามและกระดาษ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพ

กรุงเทพ อาจหมายถึง; ดินแดนและการปกครอง.

ใหม่!!: สยามและกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

กษัตรีองค์มี

กษัตรีองค์มี หรือ พระองค์เจ้าหญิงมี หรือ นักองค์เม็ญศานติ ภักดีคำ ผ. ดร.

ใหม่!!: สยามและกษัตรีองค์มี · ดูเพิ่มเติม »

การสำรวจ

นักสำรวจ คาซิเมียร์ โนวัก การสำรวจ (Exploration) คือการค้นหาเพื่อบรรลุเป้าหมายของการค้นพบหรือทรัพยากร การสำรวจเกิดขึ้นในทุกสิ่งมีชีวิตที่มีการเคลื่อนไหวรวมถึงมนุษย์ ในประวัติศาสตรของมนุษย์การสำรวจที่มีอิทธิพลมากที่สุดอยู่ในช่วงยุคแห่งการค้นพบเมื่อนักสำรวจชาวยุโรปแล่นเรือและเขียนแผนที่ในพื้นที่ส่วนที่เหลือของโลกด้วยเหตุผลหลายประการ ตั้งแต่นั้นมาการสำรวจครั้งใหญ่หลังยุคแห่งการสำรวจเกิดขึ้นจากการค้นพบข้อมูลสำคัญเป็นเหตุผลส่วนใหญ่ ในระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจเป็นหนึ่งในสามวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประจักษ์ (อีกสองอย่างคือการพรรณาและการอธิบาย).

ใหม่!!: สยามและการสำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพ

การปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพ เป็นการปฏิรูปนครเชียงใหม่ในฐานะประเทศราชของสยาม เป็นมณฑลพายัพในกำกับของสยามโดยพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อันเป็นผลมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมที่เข้ามาสู่ภูมิภาคอินโดจีน ซึ่งขณะนั้น เชียงใหม่และประเทศราชล้านนาเป็นดินแดนทางภาคเหนือของสยามที่อังกฤษกำลังหมายปอง.

ใหม่!!: สยามและการปฏิรูปนครเชียงใหม่สู่มณฑลพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2231

การปฏิวัติสยาม..

ใหม่!!: สยามและการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2231 · ดูเพิ่มเติม »

การแผลงเป็นไทย

การแผลงเป็นไทย เป็นกระบวนการซึ่งประชากรที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและเชื้อชาติกำเนิดที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยถูกผสมกลมกลืนเข้ากับวัฒนธรรมไทย หรือกล่าวโดยเฉพาะเจาะจงยิ่งไปกว่านั้น เข้ากับวัฒนธรรมไทยภาคกลาง การแผลงเป็นไทยเป็นขั้นตอนในการสร้างรัฐชาติไทยในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งชาวไทยมีความโดดเด่น จากราชอาณาจักรสยามเดิมที่ยังคงความหลากหลายทางวัฒนธรรมไว้อยู.

ใหม่!!: สยามและการแผลงเป็นไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองไทย

การเมืองไทยปัจจุบันอยู่ในระบอบเผด็จการทหารในพฤตินัย ซึ่งสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ และพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เป็นผู้ใช้อำนาจบริหารและเป็นนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สยามและการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: สยามและการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

กิมฮ้อ นิมมานเหมินท์

กิมฮ้อ นิมมานเหมินท์ (สกุลเดิม: ชุติมา) หรือเป็นที่รู้จักในนาม แม่กิมฮ้อ เป็นคหบดีชาวเชียงใหม่ซึ่งผู้คนในเชียงใหม่ยกย่องและเคารพนับถือมากคนหนึ่งในยุคนั้น จากการเป็นผู้ริเริ่มการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รวมไปถึงการอนุเคราะห์และสงเคราะห์ประชาชน, องค์กรการกุศล, การศึกษา และศาสนสถานต่างๆในเชียงใหม่มากม.

ใหม่!!: สยามและกิมฮ้อ นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ไทย

แผนที่ประเทศไทย ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตำแหน่งที่ตั้งของประเทศได้มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ประเทศไทยยังเป็นเส้นทางทางบกเพียงทางเดียวจากทวีปเอเชียไปยังประเทศมาเลเซียและประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: สยามและภูมิศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มกร

ระแม่คงคาทรงมกรเป็นพาหนะ มกร (/มะ-กอน/ หรือ /มะ-กะ-ระ/) หรือ เบญจลักษณ์ เป็นสัตว์ตามความเชื่อของพม่า ล้านนา สยาม และเขมร เรียกอีกอย่างว่า ตัวสำรอก เนื่องจากในงานศิลปะ มกรมักจะคายหรือสำรอกเอาวัตถุใด ๆ ออกมาทุกครั้ง เช่น มกรคายนาค (พญานาค) ในเทววิทยาฮินดู มกร (मकर) จัดเป็นสัตว์ประหลาดในทะเลชนิดหนึ่ง ปกติมักแสดงอยู่ในรูปของสัตว์ผสม ครึ่งหน้าอาจเป็นสัตว์บกอย่างรูปช้าง, จระเข้ หรือกวาง ครึ่งหลังเป็นรูปสัตว์น้ำ (มักเป็นส่วนหาง) เช่น หางเป็นปลา หรือท่อนหลังเป็นแมวน้ำ บางครั้งอาจปรากฏส่วนหางเป็นรูปนกยูงก็มี มกรจัดเป็นเทพพาหนะสำหรับพระแม่คงคา เทพเจ้าแห่งแม่น้ำคงคา และพระวรุณ เทพแห่งทะเลและสายฝน ทางความเชื่อของล้านนาจะใช้มกรในพิธีขอฝน นอกจากนี้ยังเป็นสัญลักษณ์ที่ปรากฏในธงของพระกามเทพอันมีชื่อว่า "การกะธวัช" อีกด้วย อนึ่ง มกรถูกใช้เป็นสัญลักษณ์ของราศีมกร ซึ่งเป็น 1 ใน 12 ราศีทางโหราศาสตร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันเรียกเป็นมังกรด้วย ตามทางเข้าเทวสถานในศาสนาฮินดูและศาสนาสถานในพุทธศาสนามักทำรูปมกรไว้เป็นอารักษ์ประจำปากทางนั้น ๆ ในภาษาไทย มีการแผลงคำ "มกร" เป็น "มังกร" เพื่อใช้เรียกสัตว์สมมติอันตรงกับคำว่า "Dragon" ในภาษาอังกฤษ หรือ "หลง" (อักษรจีนตัวเต็ม: 龍; อักษรจีนตัวย่อ: 龙; พินอิน: lóng; ฮกเกี้ยน: และแต้จิ๋ว: เล้ง) ในภาษาจีนกลาง.

ใหม่!!: สยามและมกร · ดูเพิ่มเติม »

มกร (แก้ความกำกวม)

มกร สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สยามและมกร (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

มังมหานรธา

มังมหานรธา (မဟာနော်ရထာ, Maha Nawrahta) เป็นหนึ่งในขุนพลเอกของพระเจ้ามังระที่พระองค์ทรงไว้ใจเป็นอย่างมาก มังมหานรธามักจะเป็นตัวเลือกแรกๆที่พระเจ้ามังระทรงเลือกใช้งานโดยไม่คำนึงถึงอายุที่มากของเขาไม่ว่าผู้ใดจะทัดทาน ในปี..

ใหม่!!: สยามและมังมหานรธา · ดูเพิ่มเติม »

มิวเซียมสยาม

มิวเซียมสยาม หรือ พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ (Museum Siam, Discovery Museum) เป็นพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่บนถนนสนามไชย แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการเมื่อ 2 เมษายน พ.ศ. 2551 เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ใช้เทคนิคการเล่าเรื่องแบบโต้ตอบโดยใช้ตัวละคร 7 ตัวเป็นตัวกลาง มิวเซียมสยามดูแลโดยสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้นี้ ถือเป็นแหล่งการเรียนรู้หนึ่งที่เน้นจุดมุ่งหมายในการแสดงตัวตนของชนในชาติ ซึ่งจะทำให้ผู้เข้าชม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เข้าชมที่อยู่ในวัยเด็กและเยาวชน ได้เรียนรู้รากเหง้าของชาวไทย โดยเน้นไปที่กลุ่มชนในเขตเมืองบางกอก หรือที่เรียกในปัจจุบันว่า กรุงเทพมหานคร เป็นสำคัญ เนื่องจากตัวมิวเซียมสยามแห่งนี้ได้ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร แต่มิได้หมายความว่าถ้าเป็นคนไทยต่างจังหวัด จะไม่สามารถมาเรียนรู้จากพิพิธภัณฑ์นี้ได้ ด้วยเพราะสิ่งที่จัดแสดงในมิวเซียมสยามนี้ แสดงถึงความเป็นมาของชนชาติไทย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ผ่านการนำเสนอด้วยสื่อผสมหลายรูปแบบ ทำให้มีความน่าสนใจ และดึงดูดใจผู้เข้าชมได้เป็นอย่างยิ่ง ทั้งยังตั้งอยู่ในสถานที่สวยงาม ปัจจุบัน ได้ทำการปรับปรุงนิทรรศการชุด เรียงความปะรเทศไทย เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2559 ต่อมาได้มีการจัดทำนิทรรศการชุดใหม่โดยมีจุดประสงค์ให้มีเนื้อหาเท่าทันสมัย และตอบโจทย์ความต้องการของผู้เข้าชม มีชื่อชุดว่า นิทรรศการ "ถอดรหัสไทย" นำเสนอภายใน 14 ห้องนิทรรศการ ที่จะพาไปเรียนรู้ทุกมุมมองความเป็นไทย และพัฒนาการความเป็นไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน อาทิ เรื่องราวด้านประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม วัฒนธรรมประเพณี อาหารการกิน การแต่งกาย สำหรับ นิทรรศการ "เรียงความประเทศไทย" ได้ทำการจัดแสดงกับ Muse Mobile มิวเซียมติดล้อ เป็นการจัดนิทรรศการในตู้คอนเทนเนอร์เคลื่อนที่ไปจัดแสดง ในสถานที่ต่างๆ โดยเล่าถึงประวัติศาสตร์ของประเทศและคนไทย ผ่านรูปแบบนิทรรศการที่ทันสมัยในตู้คอนเทนเนอร์ขนาดใหญ.

ใหม่!!: สยามและมิวเซียมสยาม · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธินวราชดำริอนุรักษ์ฝ่ายเหนือ

มูลนิธินวราชดำริอนุรักษ์ฝ่ายเหนือ เป็นมูลนิธิในประเทศไทย ที่ได้รับอนุญาตให้จดทะเบียนจัดตั้งเป็นมูลนิธิ ลำดับที่ ชม 4 ตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2535 โดยนายชนะศักดิ์ ยุวบูรณ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ในขณะนั้น เป็นประธานกรรมการคนแรกและท่านผู้หญิงฉัตรสุดา วงศ์ทองศรี เป็นองค์ประธานที่ปรึกษ.

ใหม่!!: สยามและมูลนิธินวราชดำริอนุรักษ์ฝ่ายเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลเทศาภิบาล

มณฑลเทศาภิบาลคือระบบแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาคในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่มีการใช้มาจนถึงสมัยช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สองประมาณ 7 ปี เป็นการเลียนแบบการปกครองของอังกฤษในพม่าและมาเลเซีย เริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2440 โดยพระราชดำริของสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มณฑลมีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครอง เจ้าเมืองไม่มีอำนาจที่จะปกครอง หน่วยการปกครองเรียงจากใหญ่ไปเล็กได้ดังนี้ ในปี พ.ศ. 2458 ดินแดนสยามมีมณฑลอยู่ 19 แห่งครอบคลุมพื้นที่ 72 เมือง (เปลี่ยนเป็น จังหวัด ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจตกต่ำจึงทำให้หลายมณฑลถูกยุบรวมกันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2468 (มณฑลเพชรบูรณ์ถูกยุบลงไปก่อนหน้านั้นแล้ว) ภายหลังจึงคงเหลืออยู่เพียง 14 มณฑล ได้แก่ กรุงเทพพระมหานคร มณฑลจันทบุรี มณฑลนครชัยศรี มณฑลนครสวรรค์ มณฑลนครศรีธรรมราช มณฑลนครราชสีมา มณฑลปราจีนบุรี มณฑลปัตตานี มณฑลพายัพ มณฑลพิษณุโลก มณฑลภูเก็ต มณฑลราชบุรี มณฑลอยุธยา และมณฑลอุดรธานี ทั้งหมดถูกล้มเลิกไปในปี พ.ศ. 2476 ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติการบริหารราชการส่วนภูมิภาค พุทธศักราช 2476 ขึ้น และนับจากนั้น จังหวัดก็ได้กลายเป็นเขตการปกครองย่อยของประเทศไทยที่มีระดับสูงที.

ใหม่!!: สยามและมณฑลเทศาภิบาล · ดูเพิ่มเติม »

ยุคมืดของกัมพูชา

มืดของกัมพูชา เริ่มขึ้นหลังจากอาณาจักรเขมรเริ่มอ่อนแอลง ประเทศราชประกาศตัวเป็นอิสระ เกิดความวุ่นวายในราชอาณาจักร จนในที่สุดการล่มสลายของอาณาจักรเขมร.

ใหม่!!: สยามและยุคมืดของกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ยูลิสซีส เอส. แกรนต์

ูลิสซีส ซิมป์สัน แกรนต์ (Ulysses Simpson Grant) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 18 ของสหรัฐอเมริกา เขาเกิดเมื่อวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 1822 เดิมแกรนต์มีชื่อว่า ไฮรัม ยูลิสซีส แกรนต์ แกรนต์มียศเป็นจอมพล และผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพฝ่ายสหภาพ ในสงครามกลางเมืองอเมริกา รองจากประธานาธิบดีลินคอล์น และนำกองทัพฝ่ายสหภาพจนมีชัยชนะเหนือฝ่ายสมาพันธรัฐ รวมประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นหนึ่งเดียวได้สำเร็จ ใน ปี..

ใหม่!!: สยามและยูลิสซีส เอส. แกรนต์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชาติ

การทำสัตยาบันในสนธิสัญญามึนสเตอร์ นำไปสู่สนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของมโนทัศน์ "รัฐชาติ" รัฐชาติ (nation state) หรือเดิมเรียก รัฐประชาชาติ (national state) เป็นรูปแบบหนึ่งอันแน่นอนของหน่วยการปกครองระดับประเทศในปัจจุบัน เป็นมโนทัศน์ทางรัฐศาสตร์ที่กำหนดว่าประเทศนั้นมีองค์ประกอบสามประการ คือ มีประชากรแน่นอน มีดินแดนแน่นอน และมีรัฐบาลหรือมีอำนาจอธิปัตย์แน่นอนเป็นของตนเอง ซึ่งเป็นมโนทัศน์ที่จำแนกประเทศในอดีตออกจากประเทศในปัจจุบัน เนื่องจากในอดีตนั้นมโนทัศน์เช่นนี้หามีความแน่นอนไม่ อาทิ สยามเดิมมิได้มีอาณาเขตแน่นอน ขยายออกหรือหดเข้าได้ตามอำนาจของพระมหากษัตริย์แต่ละรัชกาล กับทั้งประชากรก็ไม่แน่นอน ในยามชนะสงครามมักมีการอพยพเทครัวชนชาติอื่นเข้ามาในแว่นแคว้นของตัว เป็นต้น เนื่องจากความหลากความหมายของคำ "รัฐ" เช่น รัฐในสหรัฐอเมริกาที่มีระดับเป็นหน่วยการปกครองย่อย ๆ จึงมีการประดิษฐ์คำ "รัฐชาติ" ขึ้นให้หมายถึงประเทศที่เป็นหน่วยการปกครองใหญ่ดังมีองค์ประกอบข้างต้นเท่านั้น หมวดหมู่:รัฐศาสตร์ หมวดหมู่:รัฐ.

ใหม่!!: สยามและรัฐชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมาลัย

รัฐมาลัย คือดินแดนส่วนหนึ่งในประเทศมาเลยเซียปัจจุบันที่เคยเป็นของสยาม ก่อนจะถูกอังกฤษยึดโดยการล่าอาณานิคม ซึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากที่ไทยเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายอักษะ และญี่ปุ่นครอบครองดินแดนมาเลเซียได้แล้ว ญี่ปุ่นได้มอบดินแดนส่วนนี้ให้เป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทย โดยภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด ไทยต้องคืนดินแดนส่วนนี้ให้กับอังกฤษ;รัฐมาลัย ประกอบด้วย 4 รัฐ ได้แก.

ใหม่!!: สยามและรัฐมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปะลิส

ปะลิส หรือเดิมสะกดว่า ปลิศ หรือ เปอร์ลิศ (Perlis, ยาวี: فرليس) มีชื่อเต็มคือ เปอร์ลิซอินเดอรากายางัน (Perlis Indera Kayangan; ยาวี: ڤرليس ايندرا كايڠن) เป็นรัฐที่เล็กที่สุดในมาเลเซีย อยู่ทางตอนเหนือสุดของมาเลเซียตะวันตก และติดชายแดนประเทศไทย ประชากรของรัฐมีจำนวน 198,335 คน ในปี 2543 ในจำนวนนี้เป็นชาวมลายูประมาณ 166,200 คนหรือร้อยละ 78, ชาวจีน 24,000 คนหรือร้อยละ 17, ชาวอินเดีย 3,700 คน และอื่น ๆ 5,400 คน) เมืองหลวงของรัฐปะลิสคือ กังการ์ เมืองที่เป็นที่ประทับของเจ้าผู้ครองนครคืออาเรา นอกจากนี้เมืองการค้าสำคัญบริเวณชายไทย-มาเลเซียคือปาดังเบซาร์ ส่วนเมืองท่าของรัฐซึ่งเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของรัฐคือกัวลาปะล.

ใหม่!!: สยามและรัฐปะลิส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนิยม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สยามและรัฐนิยม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเกอดะฮ์

กอดะฮ์ (Kedah, قدح) หรือ ไทรบุรี มีชื่อเฉลิมเมืองเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลอามัน ("ถิ่นที่อยู่แห่งสันติภาพ") เป็นรัฐหนึ่งในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก ครอบคลุมขนาดเนื้อที่ 9,425 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่บนแผ่นดินใหญ่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบใช้สำหรับปลูกข้าว รวมทั้งเกาะลังกาวี พรมแดนของรัฐเกอดะฮ์ทางทิศเหนือติดต่อกับรัฐปะลิส และติดต่อกับจังหวัดสงขลาและจังหวัดยะลาของประเทศไทย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐเประก์ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับรัฐปีนัง เมืองหลวงของรัฐคือ อาโลร์เซอตาร์ และเมืองของเจ้าผู้ครองคือ อานักบูกิต เมืองหลักอื่น ๆ ได้แก่ ซูไงเปอตานี (Sungai Petani) และกูลิม (Kulim) บนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งกูวะห์ (Kuah) บนเกาะลังกาวี.

ใหม่!!: สยามและรัฐเกอดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เทพวงศ์

ราชวงศ์เทพวงศ์ หรือ ราชวงศ์แพร่ เป็นราชวงศ์ที่สืบเชื้อสายมาจากพระยาเทพวงศ์ ที่ปกครองนครแพร่มาตั้งแต..

ใหม่!!: สยามและราชวงศ์เทพวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

รากนครา

รากนครา เป็นนวนิยายที่แต่งโดย ปิยะพร ศักดิ์เกษม เริ่มลงพิมพ์เป็นตอน ๆ ในนิตยสารสกุลไทย พิมพ์รวมเล่มครั้งแรก พ.ศ. 2540 เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ดินแดนล้านนา หัวเมืองเหนือของสยามในสมัยรัชกาลที่ 5 และถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์หลายครั้ง รากนครา เป็นเรื่องราวของ เจ้าศุขวงศ์ แห่งเมืองเชียงพระคำ เกิดตกหลุมรัก เจ้าแม้นเมือง หญิงสาวผู้ยึดมั่นรักแผ่นดินและแน่วแน่ในอุดมการณ์ของบรรพบุรุษ ที่ต้องการให้เชียงเงินได้เป็นเอกราชจากสยาม ซึ่งมีน้องสาวต่างแม่คือ เจ้ามิ่งหล้า หญิงสาวผู้เอาแต่ใจและอิจฉาริษยาที่พี่สาวมีชายหนุ่มมาตกหลุมรัก เจ้ามิ่งหล้าจึงวางอุบายดึงเจ้าศุขวงศ์มาใกล้ชิดตัวและวางแผนทำให้เจ้าแม้นเมืองเข้าใจผิด จนเกิดเป็นรักสามเส้า โศกนาฏกรรมทางความรักจึงอุบัติขึ้น โดยมีแผ่นดินเกิดเป็นเดิมพัน.

ใหม่!!: สยามและรากนครา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: สยามและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: สยามและรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ลาว

ระเจ้ามหินทรเทพนิภาธร (เจ้าอุ่นคำ) กษัตริย์อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ประทับบนพระราชบัลลังก์ ในพระราชวังหลวงเมืองหลวงพระบาง ลำดับกษัตริย์ลาว อ้างอิงตามพงศาวดารหลวงพระบาง ชินกาลมาลีปกรณ์ และ ตำนานพระแก้วมรกต กรณีศักราชไม่ตรงกัน จะยึดตามตำนานพระแก้วมรกตเป็นหลัก ขุนบรมราชาธิราช (พ.ศ. 1240 - พ.ศ. 1293) ได้ย้ายจากหนองแส (เมืองหลวงของอาณาจักรน่านเจ้า) มาอยู่ที่ใหม่เรียกว่า นาน้อยอ้อยหนู (เมืองแถนหรือเมืองกาหลง) ปัจจุบันเรียกว่าเชียงรุ่งเขตสิบสองพันนา พร้อมทั้งขยายอาณาเขตออกไปโดยส่งโอรส 7 องค์ไปครองเมืองต่าง ๆ คือ.

ใหม่!!: สยามและรายพระนามพระมหากษัตริย์ลาว · ดูเพิ่มเติม »

ริสก์

ริสก์ (Risk) เกมกระดานลักษณะการวางแผนในการรบ คิดค้นในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1950 โดย Albert Lamorisse ชาวฝรั่งเศส จัดจำหน่ายโดยบริษัทพาร์เกอร์บราเธอรส์บริษัทลูกของบริษัทแฮสโบร ลักษณะเกมของริสก์เป็นการวางแผนในการวางทหารในเขตประเทศต่างๆ และทำการบุกยึดดินแดนข้างเคียง โดยผู้เล่นแต่ละคนจะได้ภารกิจมา เมื่อทำภารกิจสำเร็จ จะเป็นผู้ชนะของเกม ภารกิจจะมีหลายรูปแบบ เช่น ยึดครอง 2 ทวีป หรือปราบผู้เล่นสีใดสีหนึ่ง ลักษณะการเล่นเกมจะใช้ลูกเต๋าสู้กันในการโจมตีและการป้องกันดินแดน เกมได้มีการทำออกมาหลายรุ่นนอกจากแผนที่โลก ยังได้มีการทำแผนที่และตัวละครอื่นเช่น ริสก์รุ่นเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ นาร์เนียและรุ่นสตาร์วอร.

ใหม่!!: สยามและริสก์ · ดูเพิ่มเติม »

วรันดับ ฉัตรกุล ณ อยุธยา

วรันดับ ฉัตรกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม บุนนาค, พ.ศ. 2454 — พ.ศ. 2536) ภรรยาของหม่อมหลวงสฤษดิ์ ฉัตรกุล และเป็นอดีตนางกำนัลในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7.

ใหม่!!: สยามและวรันดับ ฉัตรกุล ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระพุทธ

วัดพระพุทธ นราธิวาส วัดพระพุทธ นราธิวาส วัดพระพุทธ นราธิวาส วัดพระพุทธ ตั้งอยู่ที่ บ้านใหญ่ หมู่ที่ 3 ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ภายในวัดมีศาลาการเปรียญ พระพุทธรูปทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ ชื่อ พ่อท่านพระพุทธ พระพุทธไสยาสน.

ใหม่!!: สยามและวัดพระพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ

วัดพระฝาง หรือชื่อเต็มว่า วัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ ตั้งอยู่ที่บ้านฝาง หมู่ที่ 3 ต.ผาจุก อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ เป็นวัดเก่าแก่ที่สร้างมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ตามทะเบียนวัดระบุว่า ประมาณปี พ.ศ. 1700 (ก่อนสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช) วัดพระฝางนับว่าเป็นกลุ่มโบราณสถานของศูนย์กลางเมืองฝางสวางคบุรี เพียงแห่งเดียวที่ยังหลงเหลืออยู่ วัดนี้เป็นวัดพระมหาธาตุประจำเมืองสวางคบุรี ซึ่งในอดีตได้รับการนับถือเทียบเท่ากับพระธาตุเจดีย์หริภุญชัย และพระพุทธบาทสระบุรี นอกจากนี้ วัดพระฝางนั้น ยังเคยเป็นวัดที่จำพรรษาของ “เจ้าพระฝาง” เมืองสวางคบุรี ผู้นำชุมนุมเจ้าพระฝางในคราวเสียสมัยกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 อีกด้วย วัดพระฝาง มีปูชนียสถานที่สำคัญที่สุดคือพระธาตุเจดีย์ บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ตั้งอยู่กลางกลุ่มโบราณสถานวัดพระฝาง สันนิษฐานว่าพระเจดีย์องค์นี้สร้างในสมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี มีหลักฐานยืนยันว่าเป็นพระบรมธาตุศักดิ์สิทธิ์สำคัญของอาณาจักรมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ในสมัยกรุงศรีอยุธยา มองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์ ราชทูตจากราชสำนักฝรั่งเศสซึ่งเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้บันทึกไว้ในหนังสือของท่านว่า พระมหาธาตุองค์นี้ได้รับการเคารพนับถือว่าเป็นพุทธปูชนียสถานสำคัญของอาณาจักรคู่กับรอยพระพุทธบาทสระบุรี ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์ได้เสด็จขึ้นทำศึกชนะเจ้าพระฝางและตั้งงานสมโภชพระมหาธาตุเมืองพระฝางถึง 3 วัน เทียบเท่างานนมัสการพระพุทธชินราช แต่ความศรัทธาในพระมหาธาตุเมืองฝางคงได้เสื่อมถอยลงในช่วงหลัง จากความเสื่อมของเมืองสวางคบุรี หลังชุมนุมเจ้าพระฝางถูกตีแตกในสมัยธนบุรี จนในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ พระเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์องค์เดิมได้ปรักหักพังไปมาก ทำให้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้มีการบูรณะพระมหาธาตุเมืองพระฝางใหม่ แปลงเป็นแบบเจดีย์ทรงลังกาดังที่เห็นในปัจจุบัน นอกจากนี้ วัดพระฝางยังมีอุโบสถมหาอุด (มีประตูทางเข้าบานเดียว) อยู่ด้านทิศตะวันตกของกลุ่มโบราณสถาน ตัวอุโบสถมีสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งเดิมภายในอุโบสถเคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปพระฝาง ซึ่งปัจจุบันตัวอุโบสถยังคงมีบานประตูไม้และหน้าบันแกะสลักศิลปะสมัยอยุธยาอันสวยงามอยู่ (บานปัจจุบันเป็นบานจำลอง) และด้านทิศตะวันออกของกลุ่มโบราณสถานมีพระวิหารหลวง เดิมเป็นที่ประดิษฐานของพระพุทธรูปเชียงแสน ปัจจุบันในพระวิหารหลวงมีบานประตูไม้แกะสลักวัดพระฝาง (เป็นบานประตูบานจำลอง สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2551 เพื่อนำมาติดตั้งแทนที่บานประตูเดิมที่ได้นำไปเก็บรักษาที่วัดธรรมาธิปไตยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494) ปัจจุบัน วัดพระฝางมีพระมหาณรงค์ กิตติสาโร เป็นเจ้าอาวาส พระลูกวัดทั้งสิ้น 15 รูป วัดแห่งนี้ ได้รับขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 52 ลงวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 มีพื้นที่ได้รับประกาศเป็นโบราณสถานประมาณ 32 ไร่ 3 งาน 90 ตารางว.

ใหม่!!: สยามและวัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112

วิกฤตการณ์ ร..

ใหม่!!: สยามและวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ปากน้ำ

วิกฤตการณ์ปากน้ำ เป็นจุดแตกหักของความตึงเครียดในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 การปะทะกันเกิดขึ้นในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: สยามและวิกฤตการณ์ปากน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย ถือกำเนิดขึ้นระยะแรก ราวปี พ.ศ. 2470-2472 โดยพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ซึ่งทรงริเริ่มทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง เป็นครั้งแรกในประเทศสยาม โดยทรงตั้งชื่อว่า “สถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท” เนื่องจากส่งกระจายเสียงจากพระราชวังพญาไท และยังทรงมอบหมายให้กรมไปรษณีย์โทรเลข โดยกองช่างวิทยุ ดำเนินการทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง เป็นการคู่ขนานกับสถานีส่วนพระองค์ โดยผู้ฟังนิยมเรียกว่า “สถานีวิทยุศาลาแดง” เนื่องจากสถานีส่งกระจายเสียง ตั้งอยู่ในบริเวณย่านที่เรียกว่าศาลาแดง และต่อมาสถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท เปิดกระจายเสียงอย่างเป็นทางการ เริ่มด้วยการถ่ายทอดเสียงสด กระแสพระราชดำรัส เนื่องในการพระราชพิธีฉัตรมงคล ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อวันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 จากพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 กองช่างวิทยุต้องดำเนินการขนย้าย เครื่องส่งวิทยุกระจายเสียง ของสถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท เข้าไปไว้รวมกันที่สถานีวิทยุศาลาแดง เนื่องจากทางกองทัพบกต้องการนำที่ดิน บริเวณพระราชวังพญาไท เพื่อไปใช้สอยในราชการ (ก่อตั้งเป็นโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า) และเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2482 คณะรัฐมนตรีซึ่งนำโดยนายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ลงมติให้โอนกิจการวิทยุกระจายเสียง ซึ่งกรมไปรษณีย์โทรเลขดำเนินการอยู่นั้น ไปขึ้นตรงกับกรมโฆษณาการ สำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือกรมประชาสัมพันธ์) โดยให้ชื่อใหม่ว่า “สถานีวิทยุกรุงเทพฯ” ซึ่งใช้อยู่เพียงเวลาสั้นๆ ก่อนจะเปลี่ยนอีกครั้งเป็น “สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย” หลังจากมีประกาศรัฐนิยมฉบับที่ 1 เปลี่ยนชื่อประเทศจากสยามเป็นไทย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 สืบเนื่องจากในช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2488 ระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา เครื่องบินต่างชาติทิ้งระเบิดลงมา ยังโรงไฟฟ้าทั้งสองแห่งของจังหวัดพระนคร จนเกิดความเสียหายเป็นอย่างมาก กรมโฆษณาการจึงไม่มีกระแสไฟฟ้า สำหรับส่งกระจายเสียงวิทยุ เป็นเวลาหลายวัน ดังนั้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2489 กองช่างวิทยุ กรมไปรษณีย์โทรเลข จึงดำเนินการก่อตั้ง “สถานีวิทยุ 1 ป.ณ.” ที่อาคารกรมไปรษณีย์โทรเลขหลังเก่า บริเวณเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ฝั่งพระนคร ช่วงหน้าวัดราชบุรณราชวรวิหาร (วัดเลียบ) เพื่อส่งกระจายเสียงโดยคู่ขนาน กับสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ตามคำสั่งของกระทรวงคมนาคม ที่ให้รื้อฟื้นการส่งวิทยุกระจายเสียงขึ้นใหม่ เพื่อสำรองใช้ในราชการ หากสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ของกรมโฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์) ไม่สามารถส่งกระจายเสียงได้.

ใหม่!!: สยามและวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลาจารึก

ลาจารึกของอียิปต์โบราณ ศิลาจารึก เป็นวรรณกรรมชนิดลายลักษณ์อักษรอย่างหนึ่ง อาศัยการบันทึกบนเนื้อศิลา ทั้งชนิดเป็นแผ่น และเป็นแท่ง โดยใช้โลหะแหลมขูดเนื้อศิลาให้เป็นตัวอักษร เรียกว่า จาร หรือ การจารึก ศิลาจารึกมีคุณค่าในเชิงบันทึกทางประวัติศาสตร์ ผู้จารึกหรือผู้สั่งให้มีศิลาจารึกมักจะเป็นผู้มีอำนาจ มิใช่บุคคลทั่วไป เนื้อหาที่จารึกมีความหลากหลายตามความประสงค์ของผู้จารึก เช่น บันทึกเหตุการณ์ บันทึกเรื่องราวในศาสนา บันทึกตำรับตำราการแพทย์และวรรณคดี เป็นต้น จารึกบนแท่งศิลานั้นมีความคงทน คงสภาพอยู่ได้นับพันๆ ปี ด้วยเหตุนี้ นักประวัติศาสตร์และนักภาษาศาสตร์จึงสามารถสืบสานความรู้ย้อนไปได้นับพันๆ ปี โดยเฉพาะความรู้ด้านอักษร และภาษา ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมา จารึกที่มีชื่อเสียงในประวัติศาสตร์ ได้แก.

ใหม่!!: สยามและศิลาจารึก · ดูเพิ่มเติม »

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ใหม่!!: สยามและศิลป์ พีระศรี · ดูเพิ่มเติม »

ส. ธรรมยศ

. ธรรมยศ (11 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2495) ครู นักเขียน นักปรัชญาและนักเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ นามจริง แสน ธรรมยศ เกิดที่ตำบลปงพระเนตช้าง ลำปาง ในตระกูล ณ ลำปาง มีพี่สาวชื่อจันทร์สม เริ่มต้นการศึกษาที่โรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย เมืองลำปาง ต่อมาย้ายมาอยู่ที่เทพศิรินทร์ และสอบชิงทุนไปเรียนปรัชญาที่ประเทศเวียดนาม แต่ถูกปฏิเสธเพราะมีการกำหนดตัวผู้สอบได้แล้ว พระสารสานส์พลขันธ์ และอาจารย์ฝรั่งคนหนึ่งสละเงินส่วนตัวส่งไปเรียนหนึ่งปี จากนั้นต้องใช้เงินส่วนตัวและญาติ ๆ ช่วยอุดหนุนกันไป เนื่องจากเป็นคนเก่งภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส จึงเป็นล่ามตั้งแต่อายุ 14 ปี ไปเมืองญวนก็ไปสอนภาษาอังกฤษให้นักเรียนที่นั่นด้วย เมื่อเรียนจบทำงานเป็นบรรณาธิการผู้ช่วยหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส La Lute (การต่อสู้) นอกจากนั้นยังเป็นผู้แทนหนังสือพิมพ์ ประชาธิปไตย จากประเทศไทย กลับมาเมืองไทยเมื่อปี พ.ศ. 2478 เคยบวชพระแต่ไม่ได้แต่งงาน หลังกลับมาอยู่เมืองไทย เริ่มต้นอาชีพครูที่โรงเรียนสตรีจุลนาคของเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี.ธรรมยศ เริ่มต่อสู้เพื่อให้เปิดการสอนวิชาปรัชญาขึ้นในประเทศไทยด้วยถือว่าเป็นมารดาของวิชาทั้งปวง จนเกิดเป็นข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ เขาได้เขียนบทความและหนังสือวิชาปรัชญามากมายตลอดจนปาฐกถาในสาขาวิชานี้ เคยเป็นบรรณาธิการนิตยสารโยนก ของสมาคมชาวเหนือ เขียนเรื่องสั้นไว้ประมาณ 40 เล่ม สารคดี และวิชาปรัชญาอีกหลายเล่ม เขียน บทนำแห่งปรัชญาศาสตร์ หนา 289 หน้า เมื่ออายุได้ 26 ปี เขียน พระเจ้ากรุงสยาม หนาร่วม 800 หน้า ขณะที่ป่วย นอนอยู่ในโรงพยาบาล.

ใหม่!!: สยามและส. ธรรมยศ · ดูเพิ่มเติม »

สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

ลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นการอธิบายถึงความแตกแยกระหว่างกลุ่มการเมืองน้อยใหญ่ในอาณาจักรอยุธยาเดิม ภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ในปี พ.ศ. 2310 โดยในทัศนะของนิธิ เอียวศรีวงศ์ สภาวะดังกล่าวแทบจะทำให้รัฐไทยล่มสลายลงไปตามเจตนาของพม่าในการรุกรานอาณาจักรอยุธยาเลยทีเดียว สภาวะดังกล่าวยังคงดำเนินอยู่ในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ก่อนที่บ้านเมืองอันเป็นปึกแผ่นอย่างแท้จริงจะถูกสถาปนาขึ้นอีกครั้งหลังจากการปราบดาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก.

ใหม่!!: สยามและสภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สภากาชาดไทย

กาชาดไทย เป็นสภากาชาดประจำประเทศไทย มีภารกิจปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน ร..

ใหม่!!: สยามและสภากาชาดไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมรภูมิบ้านร่มเกล้า

มรภูมิบ้านร่มเกล้า หรือ ยุทธการบ้านร่มเกล้า เป็นการรบระหว่างประเทศไทยและประเทศลาว ณ บริเวณบ้านร่มเกล้า ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 จากการสู้รบอย่างหนักต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ทำให้เกิดการสูญเสียอย่างมากทั้งฝ่ายไทยและลาว และนับเป็นการสูญเสียชีวิตทหารมากที่สุดในการรบของไทยเท่าที่เคยมีมา การรบสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 19 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สยามและสมรภูมิบ้านร่มเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: สยามและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9

มเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 หรือ สมเด็จพระที่นั่งท้ายสระพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), หน้า 347 หรือ พระเจ้าท้ายสระนามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย, หน้า 165 หรือ พระเจ้าภูมินทราชา หรือ พระเจ้าบรรยงก์รัตนาสน์ เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 30 แห่งอาณาจักรอยุธยา และเป็นพระองค์ที่สามแห่งราชวงศ์บ้านพลูหลวง ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา ทรงครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: สยามและสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี

มเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี หรือ นักองด้วง หรือ พระองค์ด้วง (ព្រះបាទ អង្គ ឌួង; พระบาทองค์ด้วง) เสด็จพระราชสมภพเมี่อ พ.ศ. 2339 และสวรรคตเมี่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2403 ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาสมัยใหม่เป็นพระมหากษัตริย์ผู้กอบกู้เอกราชของกัมพูชา ซึ่งท่ามกลางการต่อสู้ระหว่างราชอาณาจักรสยาม และญวน.

ใหม่!!: สยามและสมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

มเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (พ.ศ. 2174/2175 - 2231; ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 27 ในสมัยกรุงศรีอ.

ใหม่!!: สยามและสมเด็จพระนารายณ์มหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ นามเดิม ช่วง บุนนาค (พ.ศ. 2351 – พ.ศ. 2425) เป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่ของสยามในสมัยรัตนโกสินทร์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเมืองการปกครองของสยาม โดยเริ่มเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งนับเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่ง "สมเด็จเจ้าพระยา" เป็นคนสุดท้าย นอกจากนี้ ท่านยังมีบทบาทในการอัญเชิญพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นครองสิริราชสมบัติและได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2416 ด้วย นอกจากด้านการปกครองแล้ว ท่านยังมีบทบาทสำคัญในด้านวรรณกรรม การละคร และดนตรี รวมถึงเป็นแม่กองในการก่อสร้าง บูรณะ ซ่อมแซม สถานที่ต่าง ๆ มากมาย เช่น พระนครคีรี พระอภิเนาว์นิเวศน์ คลองผดุงกรุงเกษม เป็นต้น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์มีชีวิตยืนยาวถึง 5 รัชกาล ตั้งแต่เกิดในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และถึงแก่พิราลัยด้วยโรคลมขณะที่กำลังเดินทางกลับจากราชบุรี เมื่อ พ.ศ. 2425 ในสมัยต้นรัชกาลที่ 5 โดยมีอายุยืนยาวถึง 74 ปี.

ใหม่!!: สยามและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) · ดูเพิ่มเติม »

สยาม (แก้ความกำกวม)

ม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สยามและสยาม (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

สยามปาร์ค

มปาร์ค สยามปาร์ค (Siam Park) เป็นสวนน้ำของลอโรปาร์เก ในเกาะเตเนรีเฟ ที่หมู่เกาะคานารี ประเทศสเปน ตั้งอยู่บนถนน TF1 ในกอชตาอเดเค เนื้อที่ 18.5 เฮกตาร์ (46 เอเคอร์) สยามปาร์คเป็นสวนน้ำที่จัดรูปแบบในธีมของความเป็นสยาม และได้รับการอ้างว่าเป็นสถานที่เล่นทางน้ำที่น่าสนใจที่สุดของยุโรป สวนน้ำแห่งนี้ได้มีประธานเปิดพิธีคือ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ใหม่!!: สยามและสยามปาร์ค · ดูเพิ่มเติม »

สะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

นสมเด็จพระนเรศวรมหาราช สร้างข้ามแม่น้ำป่าสัก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขนาบข้างสะพานปรีดี-ธำรง โดยเชื่อมระหว่างถนนโรจนะ(ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3053)และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309 กรมทางหลวงได้ตั้งชื่อสะพานนี้ว่า สะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อเชิดชูเกียรติประวัติ และเกียรติคุณของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกอบกู้อิสรภาพให้ชาวสยามจากหงสาวดี ให้ปรากฏแก่อนุชนรุ่นหลัง คณะรัฐมนตรียกร่างการตั้งชื่อตามระเบียบของกรมทางหลวง ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: สยามและสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 2

ลต่านฮะมัด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 2 เป็นสุลต่านองค์ที่ 21 แห่งรัฐเกอดะฮ์ พระองค์ครองราชย์ระหว่าง1791-1843 ครองราชย์ได้ 26 ปี ในสมัยพระองค์สยามได้บุกยึดรัฐเกอดะฮ์ ชาวอาหรับเองก็จะช่วยสุลต่านเจรจากับสยาม..

ใหม่!!: สยามและสุลต่านฮะมัด ทาจุดดิน ฮาลิม ชาห์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามพม่าตีเมืองถลาง

งครามพม่าตีเมืองถลาง (Burmese–Siamese (1809–12)) สงครามความขัดแย้งระหว่าง พม่า ภายใต้การนำของ พระเจ้าปดุง แห่ง ราชวงศ์คองบอง และ สยาม ภายใต้การนำของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย แห่ง ราชวงศ์จักรี ระหว่างเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: สยามและสงครามพม่าตีเมืองถลาง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอะแซหวุ่นกี้

้นทางการเดินทัพของพม่าทั้ง3ทาง สงครามอะแซหวุ่นกี้ เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรธนบุรีและพม่าครั้งสำคัญที่สุด ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2318 - กันยายน พ.ศ. 2319 โดยทางฝั่งพม่ามี อะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพใหญ่วัย 72 ปีเป็นผู้นำทัพ ส่วนทางฝั่งกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงนำทัพด้วยพระองค์เอง Phayre, pp.

ใหม่!!: สยามและสงครามอะแซหวุ่นกี้ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–พม่า

งครามจีน–พม่า (တရုတ်-မြန်မာ စစ်, 中緬戰爭, 清緬戰爭) หรือ การบุกพม่าของราชวงศ์ชิง หรือ การทัพพม่าแห่งราชวงศ์ชิง (Qing invasions of Burma, Myanmar campaign of the Qing Dynasty) เป็นการสงครามระหว่างราชวงศ์ชิงของจีน กับราชวงศ์โกนบองของพม่า กินเวลา 4 ปี ระหว่าง..

ใหม่!!: สยามและสงครามจีน–พม่า · ดูเพิ่มเติม »

สงครามปราบฮ่อ

งครามปราบฮ่อ เกิดขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปีรัตนโกสินทร์ศก 84 ถึง 109.

ใหม่!!: สยามและสงครามปราบฮ่อ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452

นธิสัญญาอังกฤษ–สยาม..

ใหม่!!: สยามและสนธิสัญญาอังกฤษ–สยาม พ.ศ. 2452 · ดูเพิ่มเติม »

หมุดคณะราษฎร

หมุดคณะราษฎร ภาพแสดงที่ตั้งของหมุดคณะราษฎร (วงกลมสีเหลือง) หมุดก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญ หรือเรียกโดยทั่วไปว่า หมุดคณะราษฎร เป็นหมุดทองเหลืองฝังอยู่กับพื้นถนนบนลานพระบรมรูปทรงม้าด้านสนามเสือป่า ณ ตำแหน่งที่พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) อ่านประกาศคณะราษฎร มีข้อความว่า "ณ ที่นี้ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ เวลาย่ำรุ่ง คณะราษฎรได้ก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญเพื่อความเจริญของชาติ" จัดทำขึ้นโดยกระทรวงมหาดไทย มีพิธีฝังหมุดเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2479 โดยมีพระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นและหัวหน้าคณะราษฎรเป็นผู้ฝังหมุด ในช่วงปีหลังนี้หมุดคณะราษฎรเป็นสถานที่จัดงานรำลึกเหตุการณ์การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในวันที่ 24 มิถุนายน ร่วมกับมีการเคลื่อนไหวทางการเมืองในบริเวณนั้น.

ใหม่!!: สยามและหมุดคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์

หม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ (ราชสกุลเดิม: กุญชร; 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2448 — 17 มกราคม พ.ศ. 2506) เป็นนักเขียนหญิงชาวไทย เจ้าของนามปากกา ดอกไม้สด ภริยาของสุกิจ นิมมานเหมินท์ ราชบัณฑิตและนักการเมืองชาวไทย และเธอยังเป็นพี่สาวของหม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ หรือนามปากกาว่า บุญเหลือ ซึ่งเป็นนักเขียนเช่นกัน.

ใหม่!!: สยามและหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินท์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร)

หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) เป็นอดีตข้าราชการในกระทรวงมหาดไทยสมัยรัชกาลที่ 5 และเป็นผู้แต่งหนังสือพงศาวดารหัวเมืองมณฑลอีสาน ซึ่งเป็นเอกสารสำคัญในการศึกษาเรื่องราวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน.

ใหม่!!: สยามและหม่อมอมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสันธานวิทยาสิทธิ์ (กำจาย พลางกูร)

หลวงสันธานวิทยาสิทธิ์ เป็นผู้แปลและเรียบเรียงจดหมายรายวันของท่านบาทหลวงเดอ ชวาสี ได้ให้เหตุผลไว้ว่า บางกอกคือจังหวัดธนบุรี บางแปลว่า "บึง" กอกแปลว่าน้ำ (กลายเป็นแข็ง) หรือน้ำกลับเป็นดินหรือที่ลุ่มกลายเป็นดอน แต่ไม่ได้บอกว่ากอกนั้นเป็นภาษาอะไร นอกจากนี้ยังมีบางท่านกล่าวว่าน่าจะมาจากคำว่า Benkok ซึ่งเป็นภาษามลายู แปลตามตัวว่า คดโค้ง หรืองอ อ้างว่าแม่น้ำในบางกอกสมัยก่อนโน้นคดโค้งอ้อมมาก พวกมลายูที่มาพบเห็นจึงพากันเรียกเช่นนั้น อย่างไรก็ตาม ดังได้กล่าวไว้ว่า ความเห็นเหล่านี้คงเป็น "ความเห็น" เท่านั้น.

ใหม่!!: สยามและหลวงสันธานวิทยาสิทธิ์ (กำจาย พลางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)

ันเอก หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์) (24 สิงหาคม พ.ศ. 2439 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497) นักเขียน นักประพันธ์ บรรณาธิการหนังสือ สารานุกูล เป็นผู้แต่งเพลงชาติไทย เป็นนายกสมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 4 เมื่อปี..

ใหม่!!: สยามและหลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์) · ดูเพิ่มเติม »

หลัก 6 ประการของคณะราษฎร

ลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถาปัตยกรรมแบบคณะราษฎร มีเสาใหญ่หกเสาด้านหน้า ซึ่งอ้างอิงถึงหลักหกประการของคณะราษฎร หลัก 6 ประการของคณะราษฎร หรือที่นิยมเรียกอย่างสั้นว่า หลัก 6 ประการ เป็นเนื้อหาส่วนหนึ่งในประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1คณะราษฎร, ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ ๑, วิกิซอร์ซ และถือเป็นนโยบายของคณะกรรมการราษฎรชุดแรก ในระบอบประชาธิปไตยของประเทศสยาม ซึ่งนำโดยพระยามโนปกรณ์นิติธาดา คณะกรรมการราษฎรนี้ ไม่มีการแถลงนโยบาย การบริหารราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทนราษฎร แต่ถือเอาหลัก 6 ประการของคณะราษฎร ที่กำหนดให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ใช้ปฏิญาณตนต่อที่ประชุมก่อนเข้ารับหน้าที่นั้น เป็นนโยบายของรัฐบาล หลัก 6 ประการของคณะราษฎรซึ่งสรุปคำใจความหลักได้ว่า "เอกราช ปลอดภัย เศรษฐกิจ เสมอภาค เสรีภาพ การศึกษา"เด็กชายก้อง,, มติชน, 4 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สยามและหลัก 6 ประการของคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

หอพระแก้ว

หอพระแก้ว (ຫໍພຣະແກ້ວ) คือสถานที่เคยประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) ตั้งอยู่ที่นครหลวงเวียงจันทน์ ประเทศลาว ปัจจุบันเหลือเพียงพระแท่นที่ประดิษฐาน เพราะพระแก้วมรกตองค์ปัจจุบันได้รับการอัญเชิญลงมาประทับที่กรุงธนบุรีในสมัยของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี โดยสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกเป็นผู้อัญเชิญ.

ใหม่!!: สยามและหอพระแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

หัวเมืองลาวอีสาน

หัวเมืองลาวอีสาน หมายถึงบรรดาหัวเมืองเดิมทั้งหลายที่เคยตกอยู่ภายใต้การปกครองของสยามในอดีต และบรรดาหัวเมืองเก่าแก่ทั้งหลายที่เคยตกอยู่ภายใต้การปกครองของราชอาณาจักรล้านช้างโบราณ มาแต่ตั้งสมัยพระเจ้าฟ้างุ้มแหล่งหล้าธรณีมหาราช ซึ่งหัวเมืองลาวอีสานเหล่านี้ตั้งอยู่สองฟากฝั่งแม่น้ำโขงทั้งฝั่งซ้ายและฝั่งขวา กินอาณาเขตตั้งแต่ภาคอีสานของประเทศไทยไม่ทั้งหมด และอาณาเขตของประเทศลาว หัวเมืองเหล่านี้ประกอบด้วยประชาชนจากหลากหลายชาติพันธุ์ ซึ่งส่วนมากมักเป็นชาติพันธุ์ลาว หรือกลุ่มชาติพันธุ์ที่ได้รับอิทธิพลทางความคิด ความเชื่อ และวัฒนธรรมลาว พร้อมทั้งอยู่ภายใต้การปกครองของเจ้านายจากราชวงศ์ลาวเป็นส่วนใหญ่ ชาติพันธุ์อื่นๆ เหล่านี้ประกอบด้วย ลาวไทอีสาน ลาวลุ่ม ลาวเทิง ลาวสูง ซึ่งแตกออกไปเป็นหลายพวก อาทิ ขะมุ (ขมุ) ข่าแจะ กระโซ่ (โซ่) กะเลิง กะตัง กะตู กะแสง (กะเสง) กะตาง กายัก ไทส่งดำ (ไททรงดำ) ไทดำ ไทแดง ไทเหนือ ไทขาว ไทภู (ผู้ไท หรือภูไท) ไทพวน ไทลื้อ บรู ลั๊วะ (ละว้า) ย้อ (ญ้อ) โย้ย โยน (ยวน) เย้า (ย้าว) แสก ข่า มอย ม้ง งวน บิด ดำ หอก ฮ้อ แซ ออง แงะ ก่อ กุ่ย เจง อิน (โอย) ละแว ละแนด ละเม็ด ละเวน ละแง แลนแตน ตะโอย ตาเลียง (ตาเหลียง) สีดา บ่าแวะ มะกอง มูเซอ สามหาง ผู้น้อย ผู้เทิงไฟ เขลา ปันลุ อาลัก เทิงน้ำ เทิงบก เทิงโคก อินทรี ยาเหียน ชะนุ ม้งลาย ม้งขาว ม้งดำ โซโล รุนี ลาวส่วย ยาเหิน ขะแมลาว แกนปานา เป็นต้น นอกจากนี้ยังประกอบไปด้วยชาติพันธุ์เขมร ส่วย กูย ไทยโคราช (ไทเดิ้ง) ไทยสยาม ไทยอยุธยาเดิม ญวน (เวียดนามหรือแกว) หรือแกวลาว และประกอบไปด้วย ไทมลายู ที่อพยบ มาจากภาคใต้ของไทย อาจมีเชื้อสายอินเดียและคนมลายูปะปนอยู่บางส่วนใน นครศรีธรรมราช ด้วยบางส่วน บรรดาหัวเมืองเหล่านี้ มีลักษณะทางพัฒนาการที่ยาวนาน หลากหลาย เต็มไปด้วยเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ เต็มไปด้วยสีสันทางการเมือง พหุลักษณ์ทางวัฒนธรรม ความเชื่อ ประเพณี ศาสนา ลัทธิพิธีกรรม กระบวนการทางความคิดเชิงอำนาจของนักปกครอง ระบบการปกครอง และความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ หัวเมืองเหล่านี้ไม่เพียงแต่สร้างมหคุณูปการในการวางรากฐานของความเป็นรัฐชาติให้แก่สยาม แต่ยังสร้างความน่าตื่นเต้นและความวุ่นวายทางการเมืองการปกครองให้แก่สยามอีกด้วย เนื่องจากเจ้านายที่ปกครองบรรดาหัวเมืองเหล่านี้ มากกว่าร้อยละ ๘๐ ไม่ใช่เจ้านายในราชวงศ์ไทยสยาม และช่วงเวลาหนึ่งในประวัติศาสตร์ประเทศมหาอำนาจตะวันตกอย่างฝรั่งเศส ได้มีความพยายามเข้ามาแทรกแซงกิจการทางการเมืองการปกครองในดินแดนหัวเมืองเหล่านี้นั่นเอง แต่ไม่ประสบผลสำเร็.

ใหม่!!: สยามและหัวเมืองลาวอีสาน · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือเดินทางไทย

หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ประเภทธรรมดา หนังสือเดินทางไทย เป็นหนังสือเดินทางที่ออกให้เฉพาะประชาชนไทยเท่านั้นราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: สยามและหนังสือเดินทางไทย · ดูเพิ่มเติม »

ออกขุนชำนาญใจจง

ออกขุนชำนาญใจจงในปี ค.ศ. 1689 วาดโดย คาร์โล มารัตตา ออกขุนชำนาญใจจง เป็นนักการทูตสยามที่เดินทางเยือนประเทศฝรั่งเศสและโรมในฐานะคณะทูตในปี..

ใหม่!!: สยามและออกขุนชำนาญใจจง · ดูเพิ่มเติม »

อะห์มูอัดซัมชาห์ อาหมัด

อะห์มูอัดซัมชาห์ อาหมัด (Ahmuadzam Shah Ahmad) หรือที่ในพงศาวดารไทยเรียกพระองค์ว่าหวันอาหมัด เป็นสุลต่านพระองค์แรกของรัฐปะหัง ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: สยามและอะห์มูอัดซัมชาห์ อาหมัด · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินแห่งโบเรอการ์

อัศวินแห่งโบเรอการ์ (Chevalier de Beauregard, ประมาณ ค.ศ. 1665 — ประมาณ ค.ศ. 1692) เป็นขุนนางชาวฝรั่งเศสในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่รับราชการใน สยาม (ประเทศไทยในปัจจุบัน) เขาเป็นเจ้าเมืองบางกอกและมะริด แต่ถูกกองทัพสยามจับกุมระหว่างเกิดการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2231 อัศวินแห่งโบเรอการ์เดินทางมายังสยามใน..

ใหม่!!: สยามและอัศวินแห่งโบเรอการ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรมอญ

อาณาจักรมอญ หรือ รามัญประเทศ เป็นอาณาจักรของชนชาติมอญซึ่ง อาจแบ่งได้เป็น 3 ยุค ยุคแรกคือยุคราชวงศ์สะเทิม อาณาจักรสุธรรมวดี มีกษัตริย์ปกครอง 59 พระองค์ เริ่มจากสมัยพระเจ้าสีหราชา มาจนถึงสมัยพระเจ้ามนูหา เชื่อว่ายุคนี้ครอบครองพื้นที่ได้ ทั้งทวารวดีและสะเทิม ยุคแรกสิ้นสุดลงเมื่อพระเจ้าอโนรธาแห่งอาณาจักรพุกาม ยกทัพมาตีเมืองสะเทิมในสมัยพระเจ้ามนูหาHtin Aung 1967: 32–33 ซึ่งนักประวัติศาสตร์ไทยบางท่านเชื่อว่าพระเจ้าอโนรธาน่าจะยกมาตีถึงนครปฐม ยุคที่สองคือยุคราชวงศ์เมาะตะมะ-หงสาวดี หรือยุคอาณาจักรหงสาวดี‎ เริ่มจากสมัยที่พม่าซึ่งอ่อนแอจากการรุกรานของมองโกล พระเจ้าวาเรรูหรือพระเจ้าฟ้ารั่ว (มะกะโท) ได้ทรงกอบกู้เอกราชมอญจากพม่าและสถาปนาอาณาจักรหงสาวดี พระองค์มีมเหสีเป็นราชธิดาของพ่อขุนรามคำแหง กษัตริย์ของไทย มีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมาะตะมะ ต่อมาในสมัยพญาอู่ ได้ย้ายราชธานีมาอยู่ ณ เมืองพะโคหรือหงสาวดี ราชบุตรของพระองค์คือพญาน้อย ซึ่งต่อมาก็คือพระเจ้าราชาธิราช ผู้ทำสงครามยาวนานกับกษัตริย์พม่าอาณาจักรอังวะ ในสมัยพระเจ้าฝรั่งมังศรีชวา กับสมัย พระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง ขุนพลสำคัญของพระเจ้าราชาธิราช คือ สมิงพระราม สมิงนครอินทร์ และแอมูน-ทยา ในสมัยของพระเจ้าราชาธิราชนั้นหงสาวดีกลายเป็นอาณาจักรที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ ครอบคลุมตั้งแต่ชายฝั่งทะเลอ่าวเบงกอลจากแม่น้ำอิรวดีขยายลงไปทางตะวันออกถึงแม่น้ำสาละวิน และเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่ใหญ่โต มีเมืองท่าที่สำคัญหลายแห่งในหลายลุ่มน้ำ เช่น เมาะตะมะ สะโตง พะโค พะสิมHtin Aung 1967: 78–80 อาณาจักรมอญยุคนี้เจริญสูงสุดในสมัยพระนางเชงสอบูและสมัยพระเจ้าธรรมเจดีย์Myint-U 2006: 64–65 หลังจากนั้นในสมัยพระเจ้าสการะวุตพี หงสาวดีก็เสียแก่พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ในปี..

ใหม่!!: สยามและอาณาจักรมอญ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรรีวกีว

อาณาจักรรีวกีว (琉球王国 Ryūkyū Ōkoku; รีวกีว: Ruuchuu-kuku;; ค.ศ. 1429 — 1879) เป็นรัฐเอกราช ครอบครองหมู่เกาะรีวกีว เกือบทั้งหมดตั้งแต่ศตวรรษที่ 15 - 19 ชื่อของอาณาจักรรีวกีวปรากฏในเอกสารต้นกรุงรัตนโกสินทร์ว่า ลิชี่ว (ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์) หรือ ลิ่วขิ่ว (โคลงภาพคนต่างภาษา) กษัตริย์ของอาณาจักรรีวกีวได้รวบรวมเกาะโอะกินะวะ ให้เป็นปึกแผ่น และขยายอาณาเขตไปถึงหมู่เกาะอะมะมิ (ปัจจุบันอยู่ในเขตจังหวัดคะโงะชิมะ และหมู่เกาะซะกิชิมะ ใกล้กับเกาะไต้หวัน แม้ว่าจะเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ แต่ก็มีบทบาทสำคัญทางด้านการค้าทางทะเลในยุคกลางของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

ใหม่!!: สยามและอาณาจักรรีวกีว · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรล้านช้าง

อาณาจักรล้านช้าง (ອານາຈັກລ້ານຊ້າງ) เป็นอาณาจักรของชนชาติลาวซึ่งตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง มีอาณาเขตอยู่ในบริเวณประเทศลาวทั้งหมด ตลอดจนพื้นที่บางส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย โดยมีความเจริญรุ่งเรืองทั้งการเมืองการปกครอง ด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนพระพุทธศาสนา ที่มีพัฒนาการเคียงคู่มาพร้อมกันอาณาจักรอื่น ๆ ใกล้เคียง ทั้งล้านนา สยาม พม่า และเขมร อาณาจักรแห่งนี้ได้สถาปนาขึ้นอย่างเป็นปึกแผ่นมั่งคงอย่างแท้จริงในปี พ.ศ. 1896 สมัยพระเจ้าฟ้างุ้ม มีความรุ่งเรืองสลับกับความร่วงโรยต่อมาหลายสมัย ซึ่งยุคที่นับได้ว่าเป็นยุคทองของอาณาจักรล้านช้างคือรัชสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (พ.ศ. 2091- พ.ศ. 2114 และรัชสมัยพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181- พ.ศ. 2238) หลังจากนั้นอาณาจักรลาวก็เสื่อมอำนาจลงและแตกแยกเป็น 3 ราชอาณาจักร และในปี พ.ศ. 2321 ทั้ง 3 อาณาจักรก็ได้สูญเสียเอกราชแก่ราชอาณาจักรสยามในที.

ใหม่!!: สยามและอาณาจักรล้านช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง

อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง คือ อาณาจักรที่เคยตั้งอยู่ในเขตสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน แต่ไม่ค่อยจะมีข้อมูลในประวัติศาสตร.

ใหม่!!: สยามและอาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหงสาวดีใหม่

อาณาจักรหงสาวดีใหม่ (ဟံသာဝတီ နေပြည်တော်) เป็นอาณาจักรที่ปกครองพม่าตอนล่าง และบางส่วนของพม่าตอนบน ระหว่าง..

ใหม่!!: สยามและอาณาจักรหงสาวดีใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สยามและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรจามปา

นสถานศิลปะจามปา อาณาจักรจามปา เป็นอาณาจักรโบราณตั้งเมื่อพุทธศตวรรษที่ 7 อยู่ทางใต้ของจีน อยู่ทางตะวันออกของฟูนัน ปัจจุบันคือบริเวณเมืองเว้, ตามกี่, ฟานซาง-ท้าปจ่าม และญาจาง เนื่องจากสมัยก่อนพื้นที่นี้เป็นเขตทุรกันดาร จีนจึงไม่สามารถครอบครองพื้นที่นี้ได้ ชนชาติจามสืบเชื้อสายจากชาว มาลาโยโพลินีเชียน พวกจามเป็นชาวทะเลมีความสามารถทางการเดินเรือ ต่อมาราว..

ใหม่!!: สยามและอาณาจักรจามปา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรปัตตานี

อาณาจักรปัตตานี (كراجأن ڤتاني; Kerajaan Patani) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส (เมืองสะโตย) (เมืองสตูล) และสงขลาบางส่วนในปัจจุบัน อาณาจักรปัตตานีถือกำเนิดขึ้นก่อนอาณาจักรสยาม 500 ปี เริ่มจากเป็นเผ่าเล็ก ๆ รวมตัวกัน มีประชากรอาศัย 200-250 คน มีชื่อว่า ปีสัง โดยแต่ละปีจะมีตูวอลา (หัวหน้าเผ่าในสมัยนั้น) มาปกครอง และจะสลับทุก ๆ 1 ปี ต่อมามีชนกลุ่มใหญ่เข้ามามีบทบาทในแถบนี้มากขึ้น จนในที่สุด ก็ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรลังกาสุกะ และเปลี่ยนจากชื่อ ปีสัง มาเป็น บาลูกา ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 9 หลังจากนั้นราว 100 ปี ลูกชายกษัตย์ลังกาสุกะได้เดินทางมาถึงที่นี้และรู้สึกประทับใจ เลยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น ปาตาอีนิง แล้วก่อตั้งเป็นรัฐใหม่ ชื่อ รัฐปาตาอีนิง จนมีพ่อค้ามากมายเข้ามาติดต่อค้าขายทั้งจีน อาหรับ แต่ชาวอาหรับเรียกที่นี้ว่า ฟาตอนี เลยมีคนเรียกดินแดนแห่งนี้แตกต่างกันออกไป เดิมอาณาจักรปัตตานีนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน แต่ในราวพุทธศตวรรษที่ 21 ได้เริ่มเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม โดยบางช่วงอาณาจักรแผ่ขยายครอบคลุมถึงรัฐกลันตันและรัฐตรังกานู ตอนกลางของประเทศมาเลเซียอ้างอิงจาก"สี่กษัตริยาปตานี: บัลลังก์เลือด และตำนานรักเพื่อแผ่นดิน" ศิลปวัฒนธรรม ฉบับวันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: สยามและอาณาจักรปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพิบูลมังสาหาร

ูลมังสาหาร เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจากอำเภอเมืองอุบลราชธานี ประมาณ 45 กิโลเมตร เดินทางไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 217.

ใหม่!!: สยามและอำเภอพิบูลมังสาหาร · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวาริชภูมิ

วาริชภูมิ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสกลนคร โรงเรียนประจำอำเภอคือโรงเรียนมัธยมวาริชภูม.

ใหม่!!: สยามและอำเภอวาริชภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเชียงแสน

อำเภอเชียงแสน (60px) เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงราย ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ มีซากโบราณสถานของเมืองเชียงแสนเก่าอยู่ในบริเวณตัวอำเภอ ปัจจุบันเป็นแหล่งท่องเที่ยวและท่าเรือขนส่งสินค้าที่สำคัญในภาคเหนือ นอกจากนี้เชียงแสนมีพื้นที่ซึ่งเรียกว่า สามเหลี่ยมทองคำ ในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านสบรวก ตำบลเวียง อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย อันเป็นบริเวณที่บรรจบกันของชายแดนสามประเทศ คือ ไทย ลาว และพม.

ใหม่!!: สยามและอำเภอเชียงแสน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเคียนซา

อำเภอเคียนซา ตั้งอยู่ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.

ใหม่!!: สยามและอำเภอเคียนซา · ดูเพิ่มเติม »

อิน-จัน

อิน-จัน และลูก ๆ ของทั้งคู่ อิน-จัน (11 พฤษภาคม พ.ศ. 2354 — 17 มกราคม พ.ศ. 2417) เป็นชื่อของฝาแฝดสยาม ที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก โดยเป็นที่มาของคำว่า "แฝดสยาม" เนื่องจากเกิดที่ประเทศสยาม (ประเทศไทย) ฝาแฝดที่มีหน้าอกติดกันและใช้ตับร่วมกัน เป็นฝาแฝดคู่แรกของโลกที่สามารถดำรงชีพเหมือนคนธรรมดาได้ตลอดชีวิต อิน-จันได้สัญชาติอเมริกันเมื่อปี พ.ศ. 2382 และใช้นามสกุลว่า บังเกอร์ (Bunker) มีลูกหลานสืบตระกูลมาจนถึงทุกวันนี้ ชื่อเสียงของอิน-จัน ทำให้เกิดคำเรียกแฝดตัวติดกันว่า แฝดสยาม (Siamese twins) ตามชื่อเรียกประเทศไทยในเวลานั้น ฝาแฝดอิน-จัน เป็นฝาแฝดที่มีตัวติดกันทางส่วนหน้าอก (บันทึกของชาวตะวันตกบอกว่า เนื้อที่เชื่อมกันระหว่างอกนี้สามารถยืดได้จนทั้งคู่สามารถหันหลังชนกันได้).

ใหม่!!: สยามและอิน-จัน · ดูเพิ่มเติม »

อินโดจีนของฝรั่งเศส

อินโดจีนของฝรั่งเศส (Indochine française, French Indochina) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สหภาพอินโดจีน (Union Indochinoise) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2430 โดยประกอบด้วยตังเกี๋ย อันนัม โคชินไชนา (ทั้งสามแห่งรวมกันเป็นประเทศเวียดนามในปัจจุบัน) และกัมพูชา ต่อมาในปี พ.ศ. 2436 จึงได้รวมเอาลาวเข้ามา อินโดจีนมีไซ่ง่อนเป็นเมืองหลวงจนถึงปี พ.ศ. 2445 จึงได้ย้ายเมืองหลวงมาที่ฮานอย ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง อินโดจีนถูกปกครองโดยฝรั่งเศสเขตวีชีและยังถูกญี่ปุ่นรุกรานด้วย ในต้นปี พ.ศ. 2489 เวียดมินห์ได้เริ่มต่อต้านการปกครองของฝรั่งเศส ซึ่งในภายหลังเรียกว่าสงครามอินโดจีน ส่วนทางใต้ได้มีการก่อตั้งรัฐเวียดนามซึ่งนำโดยจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม และได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2492 แต่ต่อมาในปี พ.ศ. 2498 เวียดมินห์ก็ได้กลายเป็นรัฐบาลของเวียดนามเหนือตามอนุสัญญาเจนีวา โดยที่รัฐบาลของจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ยังคงปกครองเวียดนามใต้อยู.

ใหม่!!: สยามและอินโดจีนของฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานราชภักดิ์

อุทยานราชภักดิ์ อุทยานราชภักดิ์ เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ที่ตำบลหนองแก อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่ตั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ของพระมหากษัตริย์ไทยในอดีต 7 พระองค์ โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานชื่อว่า “อุทยานราชภักดิ์" ซึ่งเป็นอุทยานที่สร้างขึ้นด้วยความจงรักภักดีและเพื่อเป็นการเทิดทูนและประกาศเกียรติคุณพระมหากษัตริย์แห่งสยาม โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ขณะดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงเปิดอุทยาน เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: สยามและอุทยานราชภักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน

มหาอำมาตย์โท อีริกเซ็นต์ เย ลอสัน (Eric St.J.Lawson) เป็นอธิบดีกรมกองตระเวนคนที่ 4.

ใหม่!!: สยามและอีริกเซ็นต์ เย ลอสัน · ดูเพิ่มเติม »

อ็องรี มูโอ

อ็องรี มูโอ (Henri Mouhot; 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1826 - 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1861) เป็นนักสำรวจและนักธรรมชาติวิทยาชาวฝรั่งเศส มีชื่อเสียงในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 ในฐานะผู้ทำให้โลกตะวันตกรู้จักเมืองพระนคร จากหนังสือชื่อ Voyage dans les royaumes de Siam, de Cambodge, de Laos et autres parties centrales de l'Indochine (Travels in the Central Parts of Indo-China (Siam), Cambodia, and Laos During the Years 1858, 1859, and 1860; ตีพิมพ์ ค.ศ. 1863) มูโอเกิดที่มงเบลียาร์ ใกล้ชายแดนสวิตเซอร์แลนด์ ในวัยเด็กเขาใช้ชีวิตในรัสเซีย ใช้เวลากว่าสิบปีศึกษาและเป็นครูสอนภาษารัสเซีย จากนั้นได้เดินทางท่องเที่ยวในยุโรปและเอเชียพร้อมกับพี่ชาย และได้ศึกษาวิทยาการด้านการถ่ายภาพของหลุยส์ ดาแกร์ ในปี..

ใหม่!!: สยามและอ็องรี มูโอ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ทอมสัน (ช่างภาพ)

ตัวเองกับทหารแมนจู ภาพถ่ายพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จอห์น ทอมสัน (John Thomson; 14 มิถุนายน ค.ศ. 1837 – 29 กันยายน ค.ศ. 1921) เป็นช่างภาพบุกเบิกชาวสกอต นักภูมิศาสตร์ เขาเป็นช่างภาพคนแรกที่เดินทางมายังตะวันออกไกล เพื่อบันทึกภาพผู้คน ทัศนียภาพและสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ในวัฒนธรรมตะวันออก เขาเดินทางมายังเอเชียในเดือนเมษายน..

ใหม่!!: สยามและจอห์น ทอมสัน (ช่างภาพ) · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระตะบอง

ระตะบอง หรือ บัตฎ็อมบอง (បាត់ដំបង แปลว่า "ตะบองหาย") เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศกัมพูชา อยู่ทางภาคตะวันตกของประเทศ มีเขตติดต่อกับจังหวัดสระแก้ว และจันทบุรี ประเทศไทย พื้นที่นี้อดีตเคยเป็นจังหวัดพระตะบองในมณฑลบูรพาของสยาม.

ใหม่!!: สยามและจังหวัดพระตะบอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ใหม่!!: สยามและจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสงขลา

งขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: สยามและจังหวัดสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสตึงแตรง

ตึงแตรง (ស្ទឹងត្រែង, "แม่น้ำต้นกก") เป็น 1 ใน 2 จังหวัดที่อยู่ทางตอนเหนือสุดของประเทศกัมพูชา ชาวลาวเรียกชื่อที่แห่งนี้ว่า เซียงแตง (ຊຽງແຕງ) ส่วนในภาษาไทยเดิมเรียกตามภาษาลาวว่า เชียงแตง บ้างก็ทับศัพท์เป็น สตึงเตรง หรือ สะตึงแตรง พื้นที่ส่วนนี้เคยเป็นเขตแดนของอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ (ภายหลังเป็นประเทศราชของสยาม) ในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 23–25 ก่อนจะตกมาเป็นของกัมพูชาใน พ.ศ. 2447 จากการที่ฝรั่งเศสได้พื้นที่ฝั่งขวาของแม่น้ำโขงในบังคับสยามมาเป็นส่วนหนึ่งของอาณานิคมอินโดจีนฝรั่ง.

ใหม่!!: สยามและจังหวัดสตึงแตรง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจันทบุรี

ังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 238 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุท.

ใหม่!!: สยามและจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปัจจันตคิรีเขตร

ังหวัดปัจจันตคิรีเขตร หรือบางเอกสารจะเรียกว่า ปัตจันตคีรีเขตร์ บ้าง ประจันต์คิรีเขตต์บ้าง เป็นเมืองเดิมของราชอาณาจักรขอม (เขมร) ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นเมืองหน้าด่านทางชายฝั่งทะเลตะวันออกที่มีความสำคัญเทียบเท่าจังหวัดจันทบุรีและจังหวัดตราด ในอดีต มีที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เกาะกง เขตจังหวัดเกาะกงในประเทศกัมพูชาปัจจุบัน ดินแดนจังหวัดนี้ตกเป็นของฝรั่งเศสพร้อมกับหัวเมืองฝั่งขวาแม่น้ำโขง คือ แขวงไชยบุรีและแขวงจำปาศักดิ์ เมื่อ..

ใหม่!!: สยามและจังหวัดปัจจันตคิรีเขตร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดไพรแวง

รแวงสำนักงานราชบัณฑิต.

ใหม่!!: สยามและจังหวัดไพรแวง · ดูเพิ่มเติม »

จำอวดหน้าจอ

ำอวดหน้าจอ เป็นรายการวาไรตี้ที่ส่งเสริมวัฒนธรรมไทย ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ผ่านเพลงฉ่อย ผลิตโดยบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งแยกออกมาจากรายการ คุณพระช่วย ช่วง จำอวดหน้าม่าน ดำเนินรายการโดย พิเชษฐ์ เอี่ยมชาวนา จำนงค์ ปิยะโชติ และ พวง แก้วประเสริฐ (ปัจจุบันมี ส้มเช้ง สามช่า เป็นพิธีกรรับเชิญ) ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท์ ทุกวันอาทิตย์ 20.50 - 21.50 (20 พฤศจิกายน 2559-28 พฤษภาคม 2560) และทุกวันอาทิตย์ 16.00 - 17.00 น.(ตั้งแต่ 4-25 มิถุนายน 2560 และ 7 มกราคม 2561 - ปัจจุบัน) ทุกวันอาทิตย์ เวลา 17:00-18:00 น. (2 กรกฎาคม - 31 ธันวาคม 2560).

ใหม่!!: สยามและจำอวดหน้าจอ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 มีสาระสำคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ธรรมยุติกนิกาย ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปและฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ให้มีความถูกต้องและเข้มงวดตามพุทธบัญญัติ ให้พระภิกษุสงฆ์มีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง เป็นการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นความพยายามของพระวชิรญาณเถระเพื่อช่วยปฏิรูปการคณะสงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย การก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เถรวาทอื่นซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ได้มีการประชุมและมีมติให้เรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ว่า "มหานิกาย".

ใหม่!!: สยามและธรรมยุติกนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ กรัยวิเชียร

ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.

ใหม่!!: สยามและธานินทร์ กรัยวิเชียร · ดูเพิ่มเติม »

ธงชัย วินิจจะกูล

ตราจารย์ ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ชาวไทย เกิดและโตที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย อดีตเป็นผู้นำนักศึกษาซึ่งถูกจับกุมในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ต่อมาย้ายไปสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประวัติศาสตร์ไทย ที่มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน สหรัฐอเมริกา เขามีความเชี่ยวชาญเป็นพิเศษในด้านประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและวิทยาการของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยุคต้นสมัยใหม่และสมัยใหม่ (คริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20) โดยเฉพาะประเด็นเกี่ยวกับการปะทะกันทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กับอารยธรรมตะวันตก ประวัติศาสตร์ความคิดและการเมืองวัฒนธรรมของสยาม/ไทย ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงปัจจุบัน ประวัติศาสตร์ชาตินิยม ประวัติศาสตร์ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ความทรงจำ ประวัติศาสตร์บาดแผล และวิธีที่สังคมจัดการกับอดีตที่เป็นปัญหาเหล่านั้นDepartment of History,, University of Wisconsin-Madison, เรียกดู 6 กันยายน..

ใหม่!!: สยามและธงชัย วินิจจะกูล · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ใหม่!!: สยามและธงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธนบุรี

นบุรี อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สยามและธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบหัวเมือง

ทำเนียบหัวเมือง คือเขตการปกครองในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเทศสยามมีหัวเมืองขึ้นอยู่ 474 หัวเมือง หลักฐานที่ได้จากจารึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ที่ได้จารึกไว้ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยได้จารึกไว้ที่คอสอง เฉลียงพระเบียงล้อมพระอุโบสถทั้งสี่ด้าน หรืออีกอย่างหนึ่งก็คือระเบียงคด ได้เขียนภาพหัวเมืองขึ้นกรุงเทพมหานคร 474 หัวเมือง แต่ในปัจจุบันภาพดังกล่าวได้หายไปหมดแล้ว คงเหลือแต่จารึกที่บอกชื่อหัวเมืองเหล่านั้น กับเจ้าเมืองบางเมืองอยู่ราวครึ่งหนึ่ง ตรวจได้ศิลาจารึก 77 แผ่น ทำเนียบเมือง 194 เมือง แบ่งออกได้ดังนี้.

ใหม่!!: สยามและทำเนียบหัวเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ท่าแขก

ท่าแขก (ທ່າແຂກ) เป็นเมืองเอกในแขวงคำม่วน ประเทศลาว ตัวเมืองตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขง ตรงข้ามอำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนมImage.

ใหม่!!: สยามและท่าแขก · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา)

ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) มีนามเดิมว่า แก้ว อภัยวงศ์ (เกิด: 5 มกราคม พ.ศ. 2396 — ถึงแก่อนิจกรรม: 15 กันยายน พ.ศ. 2473) บุตรีของพระสุพรรณพิศาล (กอง อภัยวงศ์) บุตรชายของเจ้าพระยาอภัยภูเบศร์ (แบน อภัยวงศ์) ผู้ว่าราชการจังหวัดพระตะบองคนแรก อนึ่งท้าวศรีสุนทรนาฏเป็นน้องสาวของเจ้าจอมมารดาเอี่ยมบุษบา พระชายาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร (ซึ่งเจ้าจอมมารดาเอี่ยมบุษบาเป็นทวดในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ) ทั้งนี้ท้าวศรีสุนทรนาฏยังเป็นพระอัยยิกาฝ่ายพระชนนีของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6.

ใหม่!!: สยามและท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล)

ท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล) ท้าวอินทรสุริยา นามเดิม เนื่อง จินตดุล (10 ธันวาคม พ.ศ. 2428 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2517) เป็นพระพี่เลี้ยงผู้ถวายการอภิบาลสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี.

ใหม่!!: สยามและท้าวอินทรสุริยา (เนื่อง จินตดุล) · ดูเพิ่มเติม »

ขอม

อม เป็นชื่อทางวัฒนธรรม ไม่ใช่ชื่อชนชาติ หมายถึงคนกลุ่มหนึ่งที่อยู่บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา นับถือฮินดูหรือพุทธมหายาน ทางใต้ของแคว้นสุโขทัย อาจจะหมายถึงพวก ละโว้ (หรือ ลพบุรี) เอกสารทางล้านนา เช่น จารึกและตำนานต่างๆ ล้วนระบุสอดคล้องกันว่าขอมคือพวกที่อยู่ทางใต้ของล้านนา(ในสมัยอาณาจักรสุโขทัย) เนื่องจากคำว่า ขอม สัญนิษฐานว่ามาจากคำว่า “เขมร”+”กรอม” (ที่แปลว่าใต้) พูดเร็วๆ กลายเป็น “ขอม” พวกนี้ตัดผมเกรียน และนุ่งโจงกระเบน กินข้าวเจ้า ฯลฯ แคว้นละโว้มีชื่อในตำนาน และพงศาวดารว่า กัมโพช เลียนอย่างชื่อ กัมพูชา ของเขมร นับถือทั้งฮินดูและพุทธมหายาน อาจารย์ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เคยเขียนอธิบายไว้ว่า ขอมเป็นพวกนับถือฮินดูหรือพุทธมหายาน ใครเข้ารีตเป็นฮินดู หรือพุทธมหายาน เป็นได้ชื่อว่า ขอม ทั้งหมด ขอมไม่ใช่ชื่อชนชาติ เพราะไม่มีชนชาติขอม แต่เป็นชื่อทางวัฒนธรรม เช่นเดียวกับ สยาม.

ใหม่!!: สยามและขอม · ดูเพิ่มเติม »

ดอกประดู่ (เพลง)

งราชนาวีไทย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เพลง ดอกประดู่ หรือที่นิยมเรียกกันอีกอย่างว่าเพลง "หะเบสสมอพลัน" เป็นบทเพลงพระนิพนธ์ใน พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เดิมเรียกชื่อว่า "Comin Thro' the Rye" ตามชื่อทำนองเพลงเดิมในภาษาอังกฤษ (เพลงนี้เป็นเพลงสก็อต เข้าใจกันว่าดัดแปลงทำนองมาจากเพลง Auld Lang Syne อีกทีหนึ่ง) แรงบันดาลใจสำคัญในการทรงนิพนธ์เพลงนี้คือเหตุการณ์วิกฤตการณ์ปากน้ำ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) ซึ่งเป็นที่จดจำกันได้ดีทุกคนสำหรับคนไทยในยุคนั้น สันนิษฐานว่าทรงนิพนธ์เพลงดอกประดู่เมื่อ พ.ศ. 2448 เพลงนี้ถือเป็นเพลงสัญลักษณ์ของกองทัพเรือไทยที่คนไทยรู้จักกันดี และเป็นที่มาของการเปรียบเทียบตนเองของทหารเรือไทยว่า เป็น "ลูกประดู่" มาจนถึงทุกวันนี้.

ใหม่!!: สยามและดอกประดู่ (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

ดิเกร์ ฮูลู

กร์ ฮูลู (Dikir Hulu) เป็นการละเล่นพื้นบ้านของชาวไทยมุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ดิเกร์มาจากภาษาอาหรับว่า ดิเกร์อาวัล หรือดิเกร์อาวา ซึ่งหมายถึงการสวดหรือการร้องเพลง คำว่าฮูลู เป็นภาษามลายู หมายถึง ยุคก่อนหรือจุดเริ่มต้นพัฒนามาจากพิธีกรรมประกอบดนตรีเพื่อรักษาผู้ป่วยที่เชื่อว่าเกิดจากการกระทำของภูตผี ตั้งแต่สมัยที่ผู้คนในบริเวณนี้ยังนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายานหรือศาสนาฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจากชวา ภายหลังเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลามจึงได้นำการกล่าวสรรเสริญพระเจ้าในศาสนาอิสลามแทน.

ใหม่!!: สยามและดิเกร์ ฮูลู · ดูเพิ่มเติม »

ดูวาร์ตือ ฟือร์นังดึช

ูวาร์ตือ ฟือร์นังดึช (Duarte Fernandes, ศตวรรษที่ 16) นักการทูต, นักสำรวจชาวโปรตุเกสและเป็นชาวยุโรปคนแรกที่เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีใน สยาม เมื่อ..

ใหม่!!: สยามและดูวาร์ตือ ฟือร์นังดึช · ดูเพิ่มเติม »

ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ

วามเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ เป็นงานชิ้นสุดท้ายของ จิตร ภูมิศักดิ์ งานค้นคว้านี้สันนิษฐานที่มาของคำต่างๆ โดยชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของลักษณะเชื้อชาติ ลักษณะทางสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในแถบสุวรรณภูมิ ที่ปรากฏขึ้นในรูปภาษา ถือเป็นงานทางนิรุกติศาสตร์และภาษาศาสตร์สังคมที่มีความโดดเด่นอย่างมาก งานค้นคว้าที่ยังเขียนไม่เสร็จนี้ จิตรใช้เวลาเขียนอยู่ประมาณ 7 ปี ในขณะที่ถูกจองจำอยู่ในคุกลาดยาว ช่วง พ.ศ. 2501-2507 เขาได้มอบต้นฉบับให้แก่ สุภา ศิริมานนท์ รักษาต้นฉบับไว้โดยใส่กล่องฝังดินไว้ในสวนฝั่งธนบุรี หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: สยามและความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คุ้มเจ้าหลวง (นครแพร่)

้มเจ้าหลวง หรือ คุ้มหลวงนครแพร่ เป็นที่ประทับของเจ้าพิริยเทพวงษ์ เจ้าผู้ครองนครแพร่ องค์ที่ 22 และเป็นคุ้มเจ้าหลวงเพียงไม่กี่แห่งในแผ่นดินล้านนาที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน ตั้งอยู่ที่ในเขตกำแพงเมืองเก่าแพร่ ตำบลในเวียง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร.

ใหม่!!: สยามและคุ้มเจ้าหลวง (นครแพร่) · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการราษฎร

ณะกรรมการราษฎร (28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475) นับเป็นคณะรัฐมนตรีคณะแรกของประเทศสยาม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้ทรงพระราชทานพระบรมราชานุมัติ ให้ใช้พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 สภาผู้แทนราษฎรอันประกอบด้วย สมาชิกซึ่งคณะผู้รักษาพระนครฝ่ายทหารได้ตั้งขึ้น จำนวน 70 นาย ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม โดยที่ธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน มาตรา 33 บัญญัติว่า "ให้สภาเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้หนึ่งเป็นประธานกรรมการ และให้ผู้เป็นประธานนั้นเลือกสมาชิกในสภาอีก 14 นาย เพื่อเป็นกรรมการ การเลือกนี้เมื่อได้รับความเห็นชอบของสภาแล้ว ให้ถือว่าผู้ได้รับเลือกเป็นกรรมการของสภา" ในการนี้ ได้มีสมาชิกเสนอให้มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) เป็นประธานคณะกรรมการราษฎร โดยสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้เลือก เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ประธานคณะกรรมการราษฎรได้เสนอชื่อคณะกรรมการราษฎรและสภาได้อนุมัติ เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ดังมีรายชื่อต่อไปนี้.

ใหม่!!: สยามและคณะกรรมการราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

คณะราษฎร

ณะราษฎร (อ่านว่า "คะ-นะ-ราด-สะ-ดอน"; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) คือ กลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อาจได้ชื่อว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไท.

ใหม่!!: สยามและคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของไทย

ตราแผ่นดินของไทย คือตราพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ เทพพาหนะของพระนารายณ์ ใช้เป็นสัญลักษณ์ของพระราชอำนาจแห่งพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของชาติและเป็นองค์อวตารของพระนารายณ์ตามแนวคิดสมมุติเทพ โดยเริ่มใช้มาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่หลัง พ.ศ. 2436 เป็นต้นมา แต่มาใช้อย่างเต็มที่แทนตราแผ่นดินเดิมทั้งหมดเมื่อ พ.ศ. 2453 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้ใช้ตราอาร์มเป็นตราแผ่นดินใน พ.ศ. 2416 ต่อมาพระองค์มีพระราชดำริว่า ตราอาร์มที่ใช้เป็นตราแผ่นดินในเวลานั้นเป็นอย่างฝรั่งเกินไป และทรงระลึกได้ว่า พระเจ้าแผ่นดินสมัยกรุงศรีอยุธยาเคยใช้ตราพระครุฑพ่าห์มาก่อน (ตราที่กล่าวถึงคือตราพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์องค์เดิม) จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงเขียนพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ขึ้นเป็นตราแผ่นดินเพื่อใช้แทนตราอาร์ม โดยครั้งแรกทรงเขียนเป็นรูปตราพระนารายณ์ทรงครุฑจับนาค ตรานี้ได้ใช้อยู่ระยะหนึ่งก็โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงเขียนตราครุฑขึ้นใหม่อีกครั้งเป็นตราวงกลม โดยยกรูปพระนารายณ์และนาคออกเสีย คงเหลือแต่รูปครุฑ ซึ่งเขียนเป็นรูปครุฑรำตามแบบครุฑขอม พื้นเป็นลายเปลวไฟ เมื่อนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายก็ชอบพระราชหฤทัย และมีพระราชประสงค์ที่จะให้ใช้ตรานี้เป็นตราแผ่นดินถาวรสืบไป จะได้ไม่ต้องสร้างขึ้นใหม่เมื่อเปลี่ยนรัชกาล ไฟล์:Emblem_of_Thailand_(ancient).png|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์องค์เดิม ไฟล์:Emblem_of_Thailand_(1893).png|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์องค์กลาง ฝีพระหัตถ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ไฟล์:Garuda Seal of Thailand.svg|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ ฝีพระหัตถ์สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไฟล์:Seal garuda thailand rama9.jpg|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ รัชกาลที่ 9 จำลองจากพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ รัชกาลที่ 5 ไฟล์:Royal Garuda Seal for HM King Vajiralongkorn.jpg|พระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ รัชกาลที่ 10 อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเทวาภินิมมิต (ฉาย เทียมศิลปชัย) เป็นผู้เขียนตราครุฑถวายใหม่ โดยยังคงใช้ตราครุฑเดิมแบบสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพียงแต่เพิ่มพระปรมาภิไธยตามขอบพระราชลัญจกร และเปลี่ยนพระปรมาภิไธยที่ขอบพระราชลัญจกรให้ตรงตามรัชกาล และให้ยึดถือเป็นแบบอย่างต่อมาจนถึงปัจจุบัน โดยพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ประจำรัชกาลจะสร้างขึ้นใหม่เมื่อพระมหากษัตริย์ได้รับการบรมราชาภิเษกแล้วเท่านั้น ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล จึงไม่มีการสร้างพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ประจำรัชกาลขึ้น เนื่องจากพระองค์มิได้กระทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษก คงมีแต่พระราชลัญจกรประจำรัชกาลเท่านั้น และเชิญพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์สมัยรัชกาลที่ 5 ออกประทับแทน แต่ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ปรากฏว่าได้มีการสร้างพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ตั้งแต่ยังไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก โดยมีพระปรมาภิไธยที่ขอบพระราชลัญจกรตามพระปรมาภิไธยของพระองค์ นับเป็นครั้งแรกที่มีการสร้างพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ก่อนการบรมราชาภิเษก.

ใหม่!!: สยามและตราแผ่นดินของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย)

ตำบลบ้านสวน อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่มีประวัติความเป็นมานับแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี สืบความจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานโดยมีวัดเป็นศูนย์ในอดีต พร้อมกับหลักฐานวัดร้างที่ขึ้นทะเบียนโดยกรมศิลปากรที่มีประวัติเนื่องต่อกับชุมชนในอดีตล่วงมาจนถึงปัจจุบัน ตำบลบ้านสวนเป็นศูนย์การการเพราะปลูกข้าว "คุณภาพ" ที่สำคัญอีกแหล่งหนึ่งของจังหวัดสุโขทัย อันเนื่องเป็นที่ลุ่มที่เหมาะแก่การทำเกษตร.

ใหม่!!: สยามและตำบลบ้านสวน (อำเภอเมืองสุโขทัย) · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลยม

ตำบลยม เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของตัวอำเภอ.

ใหม่!!: สยามและตำบลยม · ดูเพิ่มเติม »

ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง

''ต้นไม้ทอง'' ที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกัวลาลัมเปอร์ ต้นไม้เงินต้นไม้ทอง หรือ ต้นไม้ทองเงิน (bunga mas dan perak "ดอกไม้ทองและเงิน") หรือบุหงามาศ (bunga mas "ดอกไม้ทอง") เป็นเครื่องราชบรรณาการที่ประเทศราชของสยามต้องส่งมาถวายพระเจ้าแผ่นดินทุก ๆ สามปี เพื่อแสดงความสวามิภักดิ์ นอกจากนี้ยังใช้เป็นสิ่งของคารวะของเจ้านายหรือขุนนางถวายต่อพระมหากษัตริย์ที่พระราชทานพระอิสริยยศหรือบรรดาศักดิ์ให้สูงขึ้น เรียกว่า "พุ่มไม้เงินพุ่มไม้ทอง" บ้างก็พบว่ามีการใช้ต้นไม้เงินต้นไม้ทองเป็นเครื่องสักการะถวายเป็นพุทธบูชาในวัด ใน..

ใหม่!!: สยามและต้นไม้เงินต้นไม้ทอง · ดูเพิ่มเติม »

ซุน ยัตเซ็น

นายแพทย์ ซุน ยัตเซ็น (12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1866 - 12 มีนาคม ค.ศ. 1925) เป็นนักปฏิวัติ และ ได้รับการกล่าวขานว่าเป็น "บิดาของชาติ" ในสาธารณรัฐจีน และ "ผู้บุกเบิกการปฏิวัติประชาธิปไตย" ในสาธารณรัฐประชาชนจีน ด้วยความเป็นผู้ริเริ่มจีนชาตินิยมคนสำคัญ ซุนมีบทบาทสำคัญในจุดประกายการโค่นล้มราชวงศ์ชิงที่ปกครองแผ่นดินจีนเป็นราชวงศ์สุดท้ายและเกือบนำประเทศไปสู่ความหายนะ ซุนได้ปลุกกระแสให้ชาวจีนหันมาตระหนักถึงความล้มเหลวของราชวงศ์ชิง กระทั่งกลายเป็นกระแสต่อต้านราชวงศ์และนำไปสู่การปฏิวัติซินไฮ่ ซึ่งเปลี่ยนประเทศจีนเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ซุนเป็นประธานาธิบดีเฉพาะกาลคนแรกเมื่อสาธารณรัฐจีนก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: สยามและซุน ยัตเซ็น · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สิงคโปร์

มื่อสิงคโปร์เห็นมาเลเซียได้รับเอกราชจากอังกฤษ สิงคโปร์จึงรีบขอรวมชาติเข้ากับมลายูกลายเป็นสหภาพมลายาทันที เพื่อจะได้ไม่เป็นเมืองขึ้นของอังกฤษอีก แต่สิงคโปร์ก็ไม่พอใจกับมาเลเซียมากนักเพราะมีการเหยียดชนชาติกัน ทำให้พรรคกิจประชาชนของสิงคโปร์ประกาศให้สิงคโปร์เป็นเอกราชตั้งแต่วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1965 ตั้งแต่บัดนั้นมาในชื่อ สาธารณรัฐสิงคโปร์ เมื่อแยกตัวออกมาแล้วพรรคกิจประชาชนก็ครองประเทศมาตลอดจนถึงทุกวันนี้ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 สิงคโปร์ถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นเอาชนะและยึดพื้นที่ตั้งแต..

ใหม่!!: สยามและประวัติศาสตร์สิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไทย

การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี ตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมร และมลายูปกครองมาก่อน ต่อมา คนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น อาณาจักรสุโขทัย ไล่เลี่ยกันกับอาณาจักรล้านนา อาณาจักรเชียงแสน และอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ 200 ปี ก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่ง เป็นศูนย์กลางการค้าระดับนานาชาติ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครอง ซึ่งบางส่วนใช้สืบมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังทรงตราพระราชกำหนดศักดินา ทำให้อยุธยาเป็นสังคมศักดินา อยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตกเมื่อ..

ใหม่!!: สยามและประวัติศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลาว

ลาว (ລາວ) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ສາທາລະນະລັດ ປະຊາທິປະໄຕ ປະຊາຊົນລາວ, อักษรย่อ: ປປ.ລາວ) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนติดต่อกับจีน ทางทิศเหนือ ติดต่อกับพม่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดต่อกับเวียดนามทางทิศตะวันออก ติดต่อกับกัมพูชาทางทิศใต้ และติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันตก กั้นด้วยแม่น้ำโขงเป็นบางช่วง.

ใหม่!!: สยามและประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: สยามและประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2398

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2398 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2398 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2400

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2400 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2400 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2403

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2403 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2403 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2404

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2404 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2404 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2405

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2405 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2405 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2410

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2410 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2410 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2411

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2411 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2436

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2436 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2436 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2445

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2445 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2445 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2446

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2446 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2446 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2482

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2482 ในประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: สยามและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเดิม ดำรงเจริญ

thumb ประเดิม ดำรงเจริญ (Pradoem Damrongcharoen) เป็นอดีตหัวหน้าพรรคเครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทยคนแรก.

ใหม่!!: สยามและประเดิม ดำรงเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแปบสยาม

ปลาแปบสยาม หรือ ปลาแปบบาง (Siamese glass fish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) เป็นปลาแปบชนิดหนึ่ง มีครีบหลังอยู่หลังครีบก้นเล็กน้อย เส้นข้างลำตัวยาวถึงฐานด้านหลังของครีบก้นเท่านั้น ครีบอกยาวแต่เลยครีบท้อง สีลำตัวเป็นสีขาวเงินสะท้อนแสง ด้านหลังสีเหลืองจาง ๆ ครีบหางมีลักษณะเป็นสีเขม่าจาง ๆ ครีบอิ่นใสไม่มีสี มีความยาวเฉลี่ย 8-12 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ มีการอพยพย้ายถิ่นในฤดูน้ำหลากเพิ่อเข้าสู่แหล่งน้ำท่วม กินแมลงและแพลงก์ตอนสัตว์ต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ทั่วประเทศ รวมถึงบึงบอระเพ็ด และป่าพรุโต๊ะแดง ในพื้นที่จังหวัดนราธิวาสด้วย เหตุที่ได้ชื่อว่า siamensis อันหมายถึง "อาศัยอยู่ที่ประเทศสยาม" เนื่องจากพิพิธภัณฑ์สยามได้ส่งตัวอย่างปลาจำนวน 3 ตัวอย่างที่จับได้จากแม่น้ำบางปะกง ไปพิพิธภัณฑ์อังกฤษ เพื่อทำการอนุกรมวิธาน ในภาคอีสานมีชื่อเรียกว่า "ปลาแตบเกล็ดบาง".

ใหม่!!: สยามและปลาแปบสยาม · ดูเพิ่มเติม »

ปืน ร.ศ. 121

ปืนเล็กยาว ร..

ใหม่!!: สยามและปืน ร.ศ. 121 · ดูเพิ่มเติม »

ปีแยร์ รอซีเย

รื่องหมายสตูดิโอถ่ายภาพของรอซีเยในฟรีบูร์ ปีแยร์ โฌแซ็ฟ รอซีเย (Pierre Joseph Rossier; 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1829 – 22 ตุลาคม ค.ศ. 1886) เป็นช่างภาพยุคบุกเบิกชาวสวิส ถ่ายภาพโดยวิธีแอลบูเมน รวมถึงการภาพถ่ายสามมิติ และภาพการ์ตเดอวีซิตที่เป็นภาพถ่ายบุคคล ภาพทิวทัศน์ของเมือง และภาพภูมิทัศน์ เขาได้รับว่าจ้างจากบริษัท เนเกรตตีและแซมบรา (Negretti and Zambra) ในกรุงลอนดอนให้เดินทางมาทวีปเอเชียเพื่อบันทึกภาพกองทัพอังกฤษ-ฝรั่งเศสในสงครามฝิ่นครั้งที่สอง แม้ไม่ได้ร่วมคณะทหารไปด้วย แต่เขายังคงอยู่ในทวีปเอเชียหลายปี โดยผลิตผลงานเพื่อการค้าเป็นครั้งแรกให้กับประเทศจีน ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น และสยาม เขาถือเป็นช่างภาพอาชีพคนแรกของประเทศญี่ปุ่น ที่นั่นเขาได้สอนฟุรุกะวะ ชุมเป, คะวะโนะ เทโซ, อุเอะโนะ ฮิโกะมะ, มะเอะดะ เก็นโซ, โฮะริเอะ คุวะจิโร และช่างภาพรุ่นแรกคนอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงลดหลั่นไปของญี่ปุ่น ส่วนในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เขาก่อตั้งสตูดิโอถ่ายภาพในเมืองฟรีบูร์และไอน์ซีเดิล์น และยังคงผลิตภาพถ่ายในสถานที่อื่น ๆ ของประเทศ รอซีเยถือเป็นบุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรกของการถ่ายภาพ ไม่เพียงเพราะผลงานภาพถ่ายของเขาเท่านั้น แต่ยังเป็นเพราะการสอนของเขาได้ส่งผลกระทบสำคัญแก่วงการถ่ายภาพญี่ปุ่นในยุคบุกเบิกด้ว.

ใหม่!!: สยามและปีแยร์ รอซีเย · ดูเพิ่มเติม »

นายพลเดฟาร์ฌ

นายพลเดส์ฟาร์จ (General Desfarges, ถึงแก่กรรม 1690) นายพลชาวฝรั่งเศสช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 17 มีบทบาทสำคัญในช่วง การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2231 ตรงกับปลายรัชสมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช นายพลเดส์ฟาร์จนำกองทหาร 2 กองพัน (636 นาย) และเรือรบอีก 5 ลำมาพร้อมกับคณะทูตฝรั่งเศสคณะที่ 2 มายัง สยาม ซึ่งคณะทูตได้เข้าเฝ้า สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ภายใต้การนำของราชทูต ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ และ โกลด เซเบอแร ดูว์ บูแล ที่ออกเดินทางจากฝรั่งเศสมายังสยามเมื่อเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: สยามและนายพลเดฟาร์ฌ · ดูเพิ่มเติม »

นิราศลอนดอน

นิราศลอนดอน เป็นนิราศที่แต่งโดย หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์กระต่าย อิศรางกูร).

ใหม่!!: สยามและนิราศลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

นิคมช่องแคบ

นิคมช่องแคบ (Straits Settlements; 海峡殖民地 Hǎixiá zhímíndì) คืออาณานิคมของจักรวรรดิบริติชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยดินแดนที่เป็นรัฐปีนัง ดินดิง (ส่วนหนึ่งของรัฐเปรัก) รัฐมะละกา สิงคโปร์ และลาบวนในปัจจุบัน อาณานิคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2369 โดยในตอนแรกเป็นเพียงส่วนหนึ่งของดินแดนที่อยู่ในความควบคุมของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ต่อมาในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2410 ได้กลายเป็นอาณานิคมอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลสหราชอาณาจักรอย่างเต็มตัว และได้รับเอกราชภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: สยามและนิคมช่องแคบ · ดูเพิ่มเติม »

นครรัฐแพร่

นครรัฐแพร่ หรือ นครแพร่ เป็นนครรัฐอิสระขนาดเล็กในอดีตรัฐหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม เดิมเรียกว่า “เมืองพล” นครพล, หรือพลนคร, “เวียงโกศัย” หรือโกศัยนคร, “เมืองแพล” มีชื่อเต็มว่า โกเสยุยธชุชพลวิชยแพร่แก้วเมืองมุร จนกระทั่ง..

ใหม่!!: สยามและนครรัฐแพร่ · ดูเพิ่มเติม »

นครวัด

นครวัด (អង្គរវត្ត) เป็นหมู่ปราสาทในประเทศกัมพูชาและเป็นศาสนสถานที่ใหญ่ที่สุดในโลก ด้วยพื้นที่รวมกว่า 162.6 เฮกเตอร์ (1.6 ล้านตารางเมตร ซึ่งเท่ากับ 402 เอเคอร์) แรกเริ่มนั้นสร้างขึ้นเป็นเทวลัยในศาสนาฮินดูเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุ ก่อนจะค่อยๆเปลี่ยนแปลงกลายเป็นวัดในศาสนาพุทธในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 นครวัดสร้างขึ้นในช่วงต้นของคริสศตวรรษที่ 12 โดยพระเจ้าสูรยวรรมันที่ 2 แห่งเมืองยโสธรปุระ (ในปัจจุบันคือเมืองพระนคร) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิเขมร สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นเทวลัยประจำรัฐและเป็นสุสานฝังพระศพ ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงการนับถือในลัทธิไศวนิกายของกษัตริย์องค์ก่อนๆ เหตุเพราะนครวัดนั้นสร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระวิษณุแทนที่จะเป็นพระศิวะ และเนื่องจากเป็นปราสาทที่ได้รับการอนุรักษ์ดีที่สุดในบริเวณที่ตั้งโดยรอบ นครวัดจึงเป็นปราสาทเพียงแห่งเดียวที่ยังคงความเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่มีความสำคัญมาตั้งแต่เริ่มก่อสร้าง โดยนครวัดถือจุดสูงสุดของรูปแบบการสร้างสถาปัตยกรรมเขมรแบบดั้งเดิม และได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของประเทศกัมพูชา มีการปรากฏอยู่บนธงชาติ และได้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวของประเทศกัมพูชาที่มีความสำคัญที่สุดในหมู่นักท่องเที่ยว นครวัดได้รวมเอาการวางผังพื้นฐานในสถาปัตยกรรมเขมรสองแบบมาใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ซึ่งก็ได้แก่ ผังการสร้างปราสาทให้เสมือนภูเขา (ปราสาทบนฐานชั้น) และการสร้างปราสาทแบบมีระเบียงคดที่มีภาพสลัก การสร้างปราสาทรูปแบบนี้ได้สื่อถึงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นสถานที่ที่สถิตของเทพเทวัญในปกรณัมของศาสนาฮินดู ด้านนอกมีคูน้ำและกำแพงล้อม ความยาวรวมกว่า 3.6 กิโลเมตร โดยตัวปราสาทประกอบด้วยระเบียงคดสี่เหลี่ยมที่มีภาพสลักทั้งหมดสามชั้น แต่ละชั้นตั้งอยู่สูงกว่าชั้นล่าง ตรงกลางของปราสาทคือพระปรางค์ที่มีทั้งหมด 5 ยอด นครวัดมีความแตกต่างจากปราสาทในพระนครปราสาทอื่นๆ เนื่องจากมีการหันหน้าไปทางทิศตะวันตก ซึ่งนักวิชาการต่างก็มีความเห็นที่แตกต่างออกไปในเรื่องนัยยะของการสร้างในลักษณะนี้ นครวัดยังได้รับการยกย่องในด้านความงามและความกลมกลืนของตัวสถาปัตยกรรม อาทิ ภาพสลักนูนต่ำที่ใหญ่โต รวมถึงภาพเทวดาที่มีการตกแต่งตามผนังเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: สยามและนครวัด · ดูเพิ่มเติม »

นครเชียงใหม่

รัตนติงสาอภินวปุรีสรีคุรุรัฎฐพระนครเชียงใหม่ (200px) หรือ นครเชียงใหม่ เป็นประเทศราชในหัวเมืองเหนือของสยามตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สยามและนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

แพน เรืองนนท์

แพน เรืองนนท์ (พ.ศ. 2457—2522) เป็นนางละครชาวไทย ซึ่งมีชื่อเสียงจากการเป็นนักแสดงละครชาตรีในห้วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และโด่งดังจากการเข้ารับราชการเป็นเจ้าจอมสีสุวัตถิ์ อำไพพงศ์ พระสนมในพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ โดยมีข่าวลือว่าเธอเป็น "ว่าที่พระราชินีกัมพูชา" จนได้รับการเรียกขานว่าเป็น "ซินเดอเรลลาสยาม" แต่ท้ายที่สุดเธอก็ถูกส่งกลับประเทศไทยและมิได้รับราชการฝ่ายในของกัมพูชาอีกเล.

ใหม่!!: สยามและแพน เรืองนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงจำปาศักดิ์

ำปาศักดิ์ (ຈໍາປາສັກ) เป็นแขวงหนึ่งของประเทศลาว ตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของประเทศ ติดชายแดนประเทศไทยและกัมพูชา มีเมืองปากเซเป็นเมืองหลักของแขวง และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของลาว (รองจากเวียงจันทน์และเมืองไกสอน พมวิหาน) ถือเป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงการท่องเที่ยวของลาวตอนใต้ เป็นบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีแม่น้ำโขงไหลผ่านกลางและเกิดเกาะแก่งเป็นจำนวนมากจนได้ชื่อว่า "ดินแดนสี่พันดอน" แขวงจำปาศักดิ์เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มาตั้งแต่สมัยโบราณ เนื่องจากเป็นพื้นที่ภายใต้อิทธิพลของอาณาจักรขอมโบราณ และเป็นที่ตั้งของอาณาจักรจำปาศักดิ์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้างในเวลาต่อมา แขวงจำปาศักดิ์จึงมีมรดกทางวัฒนธรรมหลงเหลืออยู่มากมาย ถือเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศลาว โดยเฉพาะมรดกโลกปราสาทหินวัดพู นอกจากนี้ แขวงจำปาศักดิ์ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก เช่น น้ำตกคอนพะเพ็ง น้ำตกหลี่ผี น้ำตกผาส้วม เป็นต้น.

ใหม่!!: สยามและแขวงจำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นเชียงใหม่

แคว้นเชียงใหม่ เป็นอาณาจักรอันเป็นหัวเมืองประเทศราชของราชวงศ์ตองอู ตั้งแต..

ใหม่!!: สยามและแคว้นเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

แตง (ภาพยนตร์)

แตง เป็นภาพยนตร์สั้น ที่กำกับโดยรัตน์ เปสตันยี เมื่อ..

ใหม่!!: สยามและแตง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันตก (Western Front) คือเขตสงครามหลักในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งตั้งแต่เดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: สยามและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง) · ดูเพิ่มเติม »

ไอราวัณ

อราวัณ (아이라완; Irawan) เป็นตัวละครที่มีบทบาทสำคัญในกรานาโด้ เอสปาด้า ซึ่งเป็นเกมออนไลน์จากประเทศเกาหลี โดยไอราวัณเป็นผู้ใช้วิชามวยไทยในการต่อสู้กับศัตรู และถือเป็นตัวละครเกมออนไลน์ที่นักเล่นเกมออนไลน์ชาวไทยรู้จักกันมากที่สุดในปัจจุบันในฐานะของนักมวยไทย ซึ่งไอราวัณเป็นตัวละครที่ได้รับการเปิดตัวในประเทศไทยครั้งแรกวันที่ 20 สิงหาคม..

ใหม่!!: สยามและไอราวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ไอศกรีม

อศกรีมแบล็กวอลนัต ไอศกรีม (ice cream) หรือภาษาปากว่า ไอติม เป็นของหวานแช่แข็งชนิดหนึ่ง ได้จากการผสมส่วนผสม นำไปผ่านการฆ่าเชื้อ แล้วนั้นนำไปปั่นในที่เย็นจัด เพื่อเติมอากาศเข้าไปพร้อม ๆ กับการลดอุณหภูมิ โดยอาศัยเครื่องปั่นไอศกรีม ไอศกรีมตักโดยทั่วไปจะต้องผ่านขั้นตอนการแช่เยือกแข็งอีกครั้งก่อนนำมาขายหรือรับประทาน ไอศกรีม (อ่านว่า ไอ-สะ-กฺรีม) มาจากคำภาษาอังกฤษว่า ice-cream   พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานให้เขียนเป็นภาษาไทยว่า ไอศกรีม ซึ่งเป็นคำที่เขียนกันมาแต่เดิม.

ใหม่!!: สยามและไอศกรีม · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายจีน

วไทยเชื้อสายจีน คือ ชาวจีนที่เกิดในประเทศไทยและเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล คนไทยเชื้อสายจีน มีประมาณ 9.4 ล้านคนในประเทศไทย หรือร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจำนวนมากไม่สามารถนับได้ เพราะที่กลมกลืนกับคนไทยไปแล้วโดยการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากบรรพบุรษจะมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว ในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน พูดภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นภาษากลุ่มหมิ่นหนาน รองลงมาคือมาจาก แคะ ฮกเกี้ยน และไหหลำ.

ใหม่!!: สยามและไทยเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

เชียงตุง

ียงตุง (ภาษาไทเขิน: ᨩ᩠ᨿᨦᨲᩩᨦ ไทใหญ่:; ကျိုင်းတုံမြို့; 60px; Keng Tung) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐฉานของประเทศพม่า เป็นเมืองของชาวไทเขิน และชาวไทใหญ่ ถือได้ว่าเป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองเทียบเท่า เมืองเชียงใหม่แห่งล้านนาไทย และเมืองเชียงรุ่งแห่งสิบสองปันนา โดยชาวไทใหญ่เรียกชื่อเมืองนี้ว่า เก็งตุ๋ง (Keng Tung) ในอดีตเชียงตุงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางการค้าเชื่อมต่อระหว่างสิบสองปันนากับล้านนา โดยมีพ่อค้าชาวจีนฮ่อเดินทางไปมาค้าขายในเส้นทางนี้.

ใหม่!!: สยามและเชียงตุง · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติไทย

ลงชาติไทย เป็นชื่อเพลงชาติของสยามและประเทศไทย ประพันธ์ทำนองโดย พระเจนดุริยางค์ ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 คำร้องฉบับแรกสุดโดยขุนวิจิตรมาตรา ซึ่งแต่งขึ้นภายหลังในปีเดียวกัน ต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อร้องอีกหลายครั้งและได้เปลี่ยนมาใช้เนื้อร้องฉบับปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2482.

ใหม่!!: สยามและเพลงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

เมืองยอง

มืองยอง เป็นเมืองหรืออำเภอหนึ่งใน รัฐฉาน ประเทศพม่าขึ้นกับแขวงเมืองพะยาค เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ทั้งเกี่ยวข้องกับ พม่า ล้านนา สยาม ลาว และ เขตสิบสองปันนา ของจีน ผู้ที่อยู่อาศัยในเมือง จะถูกเรียกว่า ชาวลื้อ คนเมืองยองสืบเชื้อสายมาจากผู้คนที่อพยพมาจากเมืองเชียงรุ่งและเมืองอื่น ๆ ในสิบสองพันนา ซึ่งเป็นคนลื้อหรือไทลื้อ และเมื่ออพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานครั้งใหญ่ในเมืองลำพูนในปี..

ใหม่!!: สยามและเมืองยอง · ดูเพิ่มเติม »

เมืองฉอด

มืองฉอด เป็นชื่อเมืองในอดีตปรากฏในเอกสารของกองทัพในสมัยโบราณ ซึ่งปัจจุบันสันนิษฐานว่า คือ เมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเมย ซึ่งคืออำเภอแม่สอดอยู่ในจังหวัดตาก จากจารึกประวัติศาสตร์ที่สลักไว้เพียงไม่กี่บรรทัดบนแท่งศิลา สามารถบรรยายความเป็นเมืองได้อย่างถ่องแท้ของดินแดนสุดสยามปัจจิมริมแม่น้ำเมย เมืองเกิดขึ้นในสังคมไทยตั้งแต่ก่อนยุคประวัติศาสตร์ที่มีการจารึกเรื่องราวเป็นหลักฐาน แม้ว่าเมืองจะมีความหมายแตกต่างกันไปตามบริบทของสังคมและสิ่งแวดล้อม และความเป็นเมืองดำรงอยู่ในสังคมไทยมานานหลายศตวรรษแล้วก็ตาม.

ใหม่!!: สยามและเมืองฉอด · ดูเพิ่มเติม »

เมงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอู

มงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอู (မင်းရဲ သီဟသူ,; ประมาณ 6 สิงหาคม 1550 – 11 สิงหาคม 1609) เป็นพระเจ้าตองอูในฐานะประเทศราชของหงสาวดีในรัชสมัยพระเจ้านันทบุเรงพระญาติของพระองค์ ระหว่าง..

ใหม่!!: สยามและเมงเยสีหตูที่ 2 แห่งตองอู · ดูเพิ่มเติม »

เยเรเมียส ฟาน ฟลีต

รเมียส ฟาน ฟลีต (Jeremias van Vliet; เกิด: ค.ศ. 1602 - ค.ศ. 1663) หรือที่คนไทยเรียกกันว่า วัน วลิต พ่อค้าชาวเนเธอร์แลนด์ ของบริษัทดัตช์อีสต์อินเดีย เป็นผู้อำนวยการการค้าของอีสต์อินเดียในกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ระหว่าง พ.ศ. 2176 ถึง พ.ศ. 2185 และได้เขียนบันทึกเกี่ยวกับประเทศไทยไว้ 3 เล่ม เป็นภาษาดัตช์ ต่อมาได้มีผู้แปลเป็นภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: สยามและเยเรเมียส ฟาน ฟลีต · ดูเพิ่มเติม »

เรือลาดตระเวนเบาลาม็อต-ปีเก

รือลาดตระเวนเบาลาม็อต-ปีเก (La Motte-Picquet) เป็นเรือลาดตระเวนเบาชั้นดูว์กวาย-ทรูแอ็ง (Duguay-Trouin class) ของกองทัพเรือฝรั่งเศส ที่ได้ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่พลเรือเอกเคานต์ตูแซ็ง-กีโยม ปีเก เดอ ลา ม็อต (Toussaint-Guillaume Picquet de la Motte) นายทหารเรือฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และได้ทำพิธีปล่อยเรือลงน้ำในปี พ.ศ. 2467 เรือลาม็อต-ปีเกได้จัดเป็นเรือธงในสังกัดหมวดเรือเบาที่ 3 (3rd Light Division) ประจำการอยู่ที่ฐานทัพเรือเมืองแบรสต์ ประเทศฝรั่งเศส จนถึง พ.ศ. 2476 ต่อมาจึงได้ถูกส่งมาประจำการที่อินโดจีนฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2478 เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในซีกยุโรปขึ้นใน พ.ศ. 2482 เรือลำนี้ก็ได้ใช้ออกลาดตระเวนตามชายฝั่งอินโดจีนฝรั่งเศส และหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของดัตช์ (Dutch East Indies) ภายหลังฝรั่งเศสยอมแพ้แก่เยอรมนีแล้ว ความขัดแย้งตามแนวชายแดนสยาม-ฝรั่งเศสได้ทวีความรุนแรงจนปะทุเป็นกรณีพิพาทไทย-อินโดจีนฝรั่งเศสขึ้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2483 เมื่อถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2484 เรือลาม็อต-ปีเกจึงได้ถูกจัดให้เป็นเรือธงของกองเรือเฉพาะกิจที่ 7 ซึ่งได้ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2483 ที่อ่าวคามแรงห์ ใกล้เมืองไซ่ง่อน ภายใต้การบังคับบัญชาของนาวาเอกเรอฌี เบร็องเฌ กองเรือดังกล่าวนี้ยังประกอบด้วยเรือสลุปอีก 4 ลำ คือ เรืออามีราลชาร์เน เรือดูว์มงดูร์วีล เรือมาร์น และเรือตาอูร์ และได้ทำการรบในยุทธนาวีเกาะช้าง จนทำลายกองเรือของไทยได้ 3 ลำ แต่เรือลาม็อต-ปีเกก็ได้รับความเสียหายอย่างหนักเช่นกัน เรือลาม็อต-ปีเกเดินทางไปซ่อมบำรุงที่ไซ่ง่อน 8 เดือนให้หลังยุทธนาวีที่เกาะช้าง กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่นเข้ายึดอินโดจีนจากฝรั่งเศส ญี่ปุ่นนำเรือลาม็อต-ปีเกเดินทางไปยังโอซะกะเพื่อซ่อมบำรุงเรือ เรือลาม็อต-ปีเกก็ถูกจำกัดบทบาทลงและถูกปลดอาวุธเป็นเรือฝึกของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น (อยู่กับที่) เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2484 ต่อมาจึงถูกจมโดยคิระยามาโตะ ของญี่ปุ่น ในวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2245.

ใหม่!!: สยามและเรือลาดตระเวนเบาลาม็อต-ปีเก · ดูเพิ่มเติม »

เรืองฤทธิ์ ศิริพานิช

นายแพทย์ เรืองฤทธิ์ ศิริพานิช (ชื่อเล่น:ริท) เป็นแพทย์ นักร้อง นักแสดง และนายแบบไทยซึ่งเป็นที่รู้จักจากการได้รับตำแหน่งรองชนะเลิศการแข่งขันรายการเดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาว ปี 6.

ใหม่!!: สยามและเรืองฤทธิ์ ศิริพานิช · ดูเพิ่มเติม »

เรียม เพศยนาวิน

ปูวันมาเรียม บินตีอับดุลละห์ (Che’ Puan Mariam Binti Abdullah) หรือพระนามเดิมคือ เรียม เพศยนาวิน (20 เมษายน พ.ศ. 2465 – 29 กันยายน พ.ศ. 2529) เป็นสุภาพสตรีชาวไทยที่ดำรงตำแหน่งนางสาวไทยประจำปี..

ใหม่!!: สยามและเรียม เพศยนาวิน · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์

ทหลวงเอมิล โอกุสต์ โกลงเบต์ (Émile August Colombet เอมีล โอกุสต์ กอลงแบ; 26 พฤษภาคม 1849 - 23 สิงหาคม 1933) บาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวฝรั่งเศส ผู้ก่อตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญ.

ใหม่!!: สยามและเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ใหม่!!: สยามและเอมิล เคร็บส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอดมันด์ โรเบิตส์

อดมันด์ โรเบิตส์ (Edmund Roberts; 1784-1836) หรือเรียกตามสำเนียงไทยว่า เอมินราบัด เป็นนักการทูตชาวอเมริกันที่ได้เข้ามาทำสนธิสัญญากับ สยาม ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: สยามและเอดมันด์ โรเบิตส์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรี เบอร์นี

นรี เบอร์นี (Henry Burney; 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1792 — 4 มีนาคม ค.ศ. 1845) หรือ หันตรีบารนี เป็นพ่อค้าและทูตชาวอังกฤษของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ บิดาชื่อ ริชาร์ด ทอมัส เบอร์นี (1768-1808) ครูใหญ่โรงเรียนสอนเด็กกำพร้าที่คิดเดอร์พอร์ มารดาชื่อ เจน เบอร์นี (1772-1842) เขาเป็นหลานชายของนักเขียน ฟรานซิส เบอร์นี (1752-1840) เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: สยามและเฮนรี เบอร์นี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์

้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ (ເຈົ້າບຸນອຸ້ມ ນະ ຈຳປາສັກ; ประสูติ: 12 ธันวาคม พ.ศ. 2454 – สิ้นพระชนม์: 17 มีนาคม พ.ศ. 2523) หรือ เสด็จเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาสัก เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์พระองค์ที่ 13 (พระองค์สุดท้าย) ทรงประสูติในราชวงศ์จำปาศักดิ์และสืบพระราชสันตติวงศ์มาจากสมเด็จพระเจ้าสร้อยศรีสมุทรพุทธางกูร (เจ้าหน่อกษัตริย์) พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสถาปนาราชอาณาจักรจำปาศักดิ์และพระมหากษัตริย์แห่งนครจำปาศักดิ์พระองค์แรกของลาว เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งรัฐบาลพระราชอาณาจักรลาว 2 สมัย อดีตผู้ตรวจการแผ่นดินต่างพระเนตรพระกรรณพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตแห่งราชอาณาจักรลาว และประมุขแห่งราชสกุล ณ จำปาศักดิ์ และสกุล จำปา ทรงเป็นผู้มีบทบาทสำคัญทางการเมืองลาวในฐานะลาวฝ่ายขวาหลังได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส จนกระทั่งสิ้นสุดสมัยพระราชอาณาจักรลาวในปี พ.ศ. 2518 ทรงได้รับการยกย่องจากประชาชนชาวลาวในฐานะที่เป็นผู้ยอมสละราชบัลลังก์พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรจำปาศักดิ์ เพื่อให้ประเทศลาวรวมเป็นแผ่นดินเดียวกัน และทรงดำรงพระอิสริยยศแห่งราชวงศ์สูงเป็นลำดับที่ 3 ของพระราชอาณาจักร รองจากพระบาทสมเด็จพระเจ้ามหาชีวิตและสมเด็จเจ้าฟ้าองค์มกุฎราชกุมาร.

ใหม่!!: สยามและเจ้าบุญอุ้ม ณ จำปาศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

อนุสาวรีย์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (13 มกราคม พ.ศ. 2318 - 24 มิถุนายน พ.ศ. 2392) อัครมหาเสนาบดีสมุหนายก และแม่ทัพใหญ่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 "เจ้าพระยาบดินทรเดชา" เป็นราชทินนามพิเศษ ที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานราชทินนามนี้มีแต่ท่านเพียงผู้เดียวเท่านั้น.

ใหม่!!: สยามและเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล)

ลาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี ภายในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีจัดทำหลักสูตรการสอน ตามพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี นามเดิม หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล (16 เมษายน พ.ศ. 2410 - 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2459) อดีตเสนาบดีกระทรวงธรรมการ.

ใหม่!!: สยามและเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (นามเดิม: หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์; 20/21 สิงหาคม พ.ศ. 2386 - 19 เมษายน พ.ศ. 2456) อดีตปลัดทูลฉลอง และเสนาบดีกระทรวงธรรมการ.

ใหม่!!: สยามและเจ้าพระยาวิชิตวงศ์วุฒิไกร (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (หนู)

ระเจ้าขัตติยราชนิคม สมมติมไหสวรรค์ พระเจ้านครศรีธรรมราช เจ้าขัณฑสีมา พระนามเดิม หนู เป็นพระมหากษัตริย์นครศรีธรรมราช ภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง และเป็นพระเจ้าประเทศราชนครศรีธรรมราช ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี.

ใหม่!!: สยามและเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (หนู) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร)

ระอาชญาเจ้าขุนรามราชรามางกูร (ลาว: ພຣະອາດຊະຢາເຈົ້າຂຸນຣາມມະຣາຊຣາມາງກູຣ, ราว พ.ศ. ๒๓๐๐-๒๔๐๐) ทรงเป็นเจ้าเมืองพนม (เมืองธาตุพนม) อันเป็นเมืองกัลปนาหรือเมืองพุทธศาสนานครพระองค์แรกจากราชวงศ์เวียงจันทน์ เมื่อครั้งธาตุพนมยังเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรศรีสัตนาคนหุตล้านช้างเวียงจันทน์ ก่อนตกเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม และทรงเป็นเจ้าขุนโอกาส (ขุนโอกลาษ) ผู้รักษากองข้าอุปัฏฐากพระบรมมหาธาตุเจ้าเจดีย์พระนม (พระธาตุพนม วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร) พระองค์แรกแห่งราชวงศ์เวียงจันทน์ ระหว่างราวปี..

ใหม่!!: สยามและเจ้าพระรามราชรามางกูรขุนโอกาส (ราม รามางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล)

อนุสาวรีย์พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ ที่ทุ่งศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) หรือ พระปทุมวรราชสุริยวงษ ในจารึกพระเจ้าอินแปงออกนามว่า เจ้าพระปทุม ชาวเมืองอุบลราชธานีในสมัยโบราณนิยมออกนามว่า อาชญาหลวงเฒ่า ดำรงตำแหน่งเจ้าประเทศราชครองเมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัยประเทศราชคนแรก (ปัจจุบันคือจังหวัดอุบลราชธานีในภาคอีสานของประเทศไทย) นามเดิมว่า เจ้าคำผง หรือ ท้าวคำผง เป็นโอรสในเจ้าพระตา (เจ้าพระวรราชปิตา) เจ้าผู้ครองนครเขื่อนขันธ์กาบแก้วบัวบาน (หนองบัวลุ่มภู) กับเจ้านางบุศดี สมภพเมื่อ พ.ศ. 2252 ณ นครเวียงจันทน์ สืบเชื้อสายเจ้านายลาวจากราชวงศ์ล้านช้างเวียงจันทน์อันเก่าแก่ อันเนื่องมาจากพระอัยยิกา (ย่า) ของพระองค์ซึ่งเป็นพระมเหสีของเจ้าปางคำ (ปู่) มีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ จึงเป็นเหตุให้มีสร้อยราชทินนาม (รวมทั้งของเจ้าฝ่ายหน้า-ผู้อนุชา) มีคำว่า สุริยวงศ์ ต่อท้ายนาม อีกทั้งยังสืบเชื้อสายมาจากพระอัยกา (ปู่) คือเจ้าปางคำ เจ้านายเชื้อสายลื้อแห่งราชวงศ์เชียงรุ่งจากอาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง (เมืองเชียงรุ้งแสวนหวีฟ้า) ผู้สร้างเมืองหนองบัวลุ่มภู (จังหวัดหนองบัวลำภูในปัจจุบัน) อนึ่ง พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) เป็นต้นสกุลพระราชทาน ณ อุบล แห่งจังหวัดอุบลราชธานี ในภาคอีสานของประเทศไท.

ใหม่!!: สยามและเจ้าพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง ณ อุบล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์)

้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์) หรือ เสด็จเจ้าย่ำขะหม่อมยุติธรรมธร ดำรงพระยศเดิมเป็นที่ เจ้าราชดนัยแห่งนครจำปาศักดิ์ (พ.ศ. 2440 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2489) เจ้าผู้ครองนครจำปาศักดิ์พระองค์ที่ 12 และผู้ว่าราชการเมืองจำปาศักดิ์ในสมัยที่ลาวตกเป็นอาณานิคมของฝรั่ง.

ใหม่!!: สยามและเจ้ายุติธรรมธร (หยุย ณ จำปาศักดิ์) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์

มหาอำมาตย์โท นายพันเอก เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2402 - 5 มกราคม พ.ศ. 2453) เป็นเจ้านครเชียงใหม่ องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ทิพย์จักร หรือ ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน.

ใหม่!!: สยามและเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอุปราช (บุญทวงษ์)

้าอุปราช (บุญทวงษ์) หรือ เจ้าอุปราช (บุญทวงษ์ ณ เชียงใหม่) เป็นเจ้าอุปราชนครเชียงใหม่ในรัชสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ 7 เขาเป็นเจ้าอุปราชที่มีบทบาทสูงเทียบเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เพราะสามารถยกเลิกคำสั่งของเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ได้ จนมีการกล่าวว่าหากเจ้าอุปราช (บุญทวงษ์) ยังมีพระชนม์อยู่ การแทรกแซงจากสยามจะกระทำได้ยากยิ่ง.

ใหม่!!: สยามและเจ้าอุปราช (บุญทวงษ์) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอนุวงศ์

้าอนุวงศ์ หรือ เจ้าอนุ (ສົມເດັຈພຣະເຈົ້າ​ອະນຸວົງສ໌) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์พระองค์ที่ ๕ หรือพระองค์สุดท้าย ทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นพระมหาวีรกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างและประเทศลาว นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องจากประชาชนชาวลาวว่า เป็นพระมหากษัตริย์ผู้พยายามกอบกู้เอกราชชาติลาวจากการเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม ทรงปกครองราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ราว..

ใหม่!!: สยามและเจ้าอนุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาจีน

้าจอมมารดาจีน เป็นหม่อมห้ามในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าลดาวัลย์ กรมหมื่นภูมินทรภักดี เจ้าจอมมารดาจีน มีธิดา 3 พระองค์ ซึ่งในภายหลังได้ถวายพระองค์เป็นพระอรรคชายาเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้ง 3 พระอง.

ใหม่!!: สยามและเจ้าจอมมารดาจีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1

้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ เป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเป็นพระชนนีในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ กรมพระราชวังบวรสถานมงคลในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: สยามและเจ้าจอมมารดานุ้ยใหญ่ ในรัชกาลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดานุ้ยเล็ก ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท

้าจอมมารดานุ้ยเล็ก เป็นพระสนมเอกในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท และเป็นพระชนนีในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปัทมร.

ใหม่!!: สยามและเจ้าจอมมารดานุ้ยเล็ก ในสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมทับทิม (แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม)

ทับทิม รับบทโดย ลินดา ดาร์เนล ในภาพยนตร์ฉบับปี พ.ศ. 2489 แอนนากับทับทิม รับบทโดยเดบอราห์ เคอร์ และริตา มอเรโนในภาพยนตร์ฉบับปี พ.ศ. 2499 เจ้าจอมทับทิม ในเรื่อง แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม เป็นบุคคลที่แอนนา ลีโอโนเวนส์ กล่าวถึงในหนังสือเล่มที่สองชื่อ "นิยายรักในราชสำนักฝ่ายใน" (Romance of the Harem) และถูกนำมาขยายความในบทประพันธ์ของมาร์กาเรต แลนดอน เรื่อง "แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม" (Anna and the King of Siam) ในปี..

ใหม่!!: สยามและเจ้าจอมทับทิม (แอนนากับพระเจ้ากรุงสยาม) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5

้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5 ต..

ใหม่!!: สยามและเจ้าจอมประคอง ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1

้าจอมแว่น หรือ เจ้าคุณจอมแว่น พระนามเดิมว่า เจ้านางคำแว่น หรือ อาชญานางคำแว่น บ้างออกพระนามว่า เจ้านางบัวตอง ชาวลาวและชาวอีสานนิยมออกคำลำลองพระนามว่า เจ้านางเขียวค้อม เป็นพระบรมวงศานุวงศ์จากนครเวียงจันทน์ อดีตนางพระกำนัลในพระอัครมเหสีของสมเด็จพระเจ้าสิริบุญสารแห่งเวียงจันทน์ ต่อมาได้รับการสถาปนาเป็นพระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ผู้รับใช้เบื้องพระยุคลบาทอย่างใกล้ชิด ตั้งแต่เมื่อครั้งรัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนผลัดราชวงศ์ใหม่ เจ้าจอมแว่นเป็นพระสนมเอกที่มีอิทธิพลต่อราชสำนักสยามฝ่ายในอย่างสูง จนชาววังได้ยกย่องให้เป็น เจ้าคุณข้างใน และถือเป็นเจ้าคุณองค์แรกในพระราชวงศ์จักรี อีกทั้งยังเป็นเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ที่คอยอภิบาลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอที่ยังทรงพระเยาว์อย่างเข้มงวด จนได้รับฉายาว่า คุณเสือ.

ใหม่!!: สยามและเจ้าจอมแว่น ในรัชกาลที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5

้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5 เกิดเมื่อวันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2424 เป็นบุตรีคนที่ 4 ในเจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) กับ ท่านผู้หญิงตลับ (สกุลเดิม โอสถานนท์) ท่านมีพี่น้องร่วมมารดา ดังนี้.

ใหม่!!: สยามและเจ้าจอมเลียม ในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าดารารัศมี พระราชชายา

้าดารารัศมี พระราชชายา (150px) (26 สิงหาคม พ.ศ. 2416 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2476) เจ้าหญิงในราชวงศ์ทิพย์จักรจากนครเชียงใหม่ ผู้มีบทบาทสำคัญต่อการรวมล้านนาเข้ากับสยาม โดยการถวายตัวเป็นสนมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมลานน.

ใหม่!!: สยามและเจ้าดารารัศมี พระราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครสงขลา

นครสงขลา หรือ เทศบาลนครสงขลา เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสงขลา การที่นครสงขลาตั้งอยู่ติดกับชายฝั่งทะเลอ่าวไทย จึงทำให้มีการค้าขายทางพานิชย์นาวีป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: สยามและเทศบาลนครสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองชลบุรี

ทศบาลเมืองชลบุรี หรือ เมืองชลบุรี ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี และมีสำนักงานตั้งอยู่ที่ เป็นเทศบาลขนาดใหญ่ จัดตั้งขึ้นโดยยกฐานะจากสุขาภิบาลเมืองชลบุรี เป็นเทศบาลเมืองชลบุรี เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2478 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 52 หน้าที่ 1651 มีพื้นที่ 0.56 ตารางกิโลเมตร ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลงขยายเขตเทศบาลครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2480 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 45 หน้า 1760 มีพื้นที่เพิ่มจากเดิมอีก 4.01 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันมีพื้นที่รวม 4.57 ตารางกิโลเมตร โดยในจำนวนนี้เป็นพื้นที่บนบกประมาณ 3.5 ตารางกิโลเมตร ที่เหลืออีกประมาณ 1.07 ตารางกิโลเมตรเป็นพื้นที่น้ำ.

ใหม่!!: สยามและเทศบาลเมืองชลบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เดอะเควสต์ (ภาพยนตร์)

อะ เควสต์ เป็นภาพยนตร์ปี 1996 ออกฉายเมื่อ 26 เมษายน..

ใหม่!!: สยามและเดอะเควสต์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (The Honourable Order of Rama) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบำเหน็จความดีความชอบแก่ผู้ทำความชอบพิเศษเป็นประโยชน์ยิ่งแก่ราชการทหาร ไม่ว่ายามสงบหรือยามสงคราม ตามที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๒๒ กรกฎาคม..

ใหม่!!: สยามและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (The Most Noble Order of the Crown of Thailand) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูง แก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้น เมื่อ..

ใหม่!!: สยามและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก (The Most Exalted Order of the White Elephant) เป็นตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์ หนึ่งใน 8 ตระกูลที่สำหรับพระราชทานแด่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดี ทั้งบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้สำหรับพระราชทานแก่ผู้กระทำความดีความชอบเป็นประโยชน์แก่ราชการหรือสาธารณชน โดยการพิจารณาเสนอขอพระราชทานของรัฐบาล เพื่อเป็นบำเหน็จความชอบและเครื่องหมายเชิดชูเกียรติยศอย่างสูงแก่ผู้ได้รับพระราชทาน พระราชทานทั้งบุรุษและสตรี หากทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แล้ว ให้ประกาศรายนามในราชกิจจานุเบกษา ปรกติแล้วจะประกาศในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ของทุกปี แยกเป็น 2 ฉบับ คือชั้นต่ำกว่าสายสะพาย และชั้นสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาให้สร้างขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สยามและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

เนื่อง นนทนาคร

ก์ เมินเจอราลา (Cik Menjelara) เป็นที่รู้จักในนาม หม่อมเนื่อง (สกุลเดิม: นนทนาคร; พ.ศ. 2392–2482) หรือเดิมคือ คุณหญิงเนื่อง ฤทธิสงครามรามภักดี เป็นหนึ่งในหม่อมชาวไทยของสุลต่านอับดุล ฮามิด ฮาลิมแห่งเกอดะฮ์ (เดิมคือเจ้าพระยาฤทธิสงครามรามภักดี) เจ้าพระยาไทรบุรีคนสุดท้ายภายใต้การปกครองของสยาม และเป็นพระชนนีของตนกู อับดุล ระห์มัน นายกรัฐมนตรีคนแรกของมาเลเซีย ซึ่งได้รับสมญาว่า "บิดาแห่งมาเลเซีย".

ใหม่!!: สยามและเนื่อง นนทนาคร · ดูเพิ่มเติม »

Filopaludina martensi

Filopaludina martensi เป็นมอลลัสคาประเภทหอยฝาเดี่ยว จำพวกหอยขม (Viviparidae) ชนิดหนึ่ง พบในน้ำจืดมีขนาดเล็ก เปลือกเป็นเกลียวกลมยอดแหลม เปลือกหนาและแข็ง ผิวชั้นนอกเป็นสีเขียวแก่ ฝาปิดเปลือกเป็นแผ่นกลม ตีนใหญ่ จะงอยปากสั้นทู่ ตามีสีดำอยู่ตรงกลางระหว่างโคนหนวด ตัวผู้มีหนวดเส้นข้างขวาพองโตกว่าเส้นข้างซ้าย ลักษณะพิเศษของหอยชนิดนี้ จะมีอวัยวะเพศทั้งเพศผู้และเพศเมียอยู่ในตัวเดียวกัน ออกลูกเป็นตัว และผสมพันธุ์ได้ด้วยตัวเองเมื่ออายุได้ 60 วัน ออกลูกเป็นตัวครั้งละประมาณ 40-50 ตัว หอยที่ออกมาใหม่ ๆ มีวุ้นหุ้มอยู่ แม่หอยจะใช้หนวดแทงวุ้นจนแตก เพื่อให้ลูกหอยหลุดออกจากวุ้น หอยขมสามารถเคลื่อนไหวได้ทันทีเมื่อออกจากตัวแม่ จะพบเห็นชุกชุมอยู่ในช่วงเดือนธันวาคม-พฤษภาคม มักอาศัยในแหล่งน้ำจืด เช่น คู, คลอง, หนอง, บึง ที่น้ำไม่ไหลแรงและเป็นน้ำนิ่ง มีระดับความลึกตั้งแต่ 10 เซนติเมตร ถึง 2 เมตร มักเกาะอยู่กับพันธุ์ไม้น้ำ, เสาหลัก, ตอไม้ หรือตามพื้น กินอาหารจำพวกสาหร่าย และอินทรีย์สาร หรือเศษใบไม้ใบหญ้าผุ ๆ ในน้ำ รวมทั้งซากอินทรีย์ที่เน่าเปื่อยและผงตะกอนที่จมอยู่ตามผิวดิน นับเป็นหอยขมชนิดที่พบได้แพร่หลายมากที่สุดในประเทศไทย และยังพบได้ในภูมิภาคใกล้เคียง เช่น ลาว, กัมพูชา, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย และเวียดนาม โดยชนิดต้นแบบพบในประเทศไทย ขณะที่ยังใช้ชื่อประเทศว่า "สยาม" อยู่ นิยมนำมาปรุงเป็นอาหารต่าง ๆ ในตำรับอาหารไทย เช่น แกงคั่วหอยขม มีการส่งเสริมให้มีการเพาะเลี้ยงกันเป็นสัตว์เศรษฐกิจ และยังมีความเชื่อด้วยว่า หากใครได้ปล่อยหอยชนิดนี้ลงกลับสู่ธรรมชาติ จะนำความขมขื่นให้หมดไป.

ใหม่!!: สยามและFilopaludina martensi · ดูเพิ่มเติม »

1 มิถุนายน

วันที่ 1 มิถุนายน เป็นวันที่ 152 ของปี (วันที่ 153 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 213 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ1 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

12 กรกฎาคม

วันที่ 12 กรกฎาคม เป็นวันที่ 193 ของปี (วันที่ 194 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 172 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ12 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 ธันวาคม

วันที่ 12 ธันวาคม เป็นวันที่ 346 ของปี (วันที่ 347 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 19 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ12 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 กุมภาพันธ์

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 44 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 321 วันในปีนั้น (322 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สยามและ13 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สยามและ15 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

16 กันยายน

วันที่ 16 กันยายน เป็นวันที่ 259 ของปี (วันที่ 260 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 106 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ16 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ17 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤษภาคม

วันที่ 21 พฤษภาคม เป็นวันที่ 141 ของปี (วันที่ 142 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 224 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ21 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 สิงหาคม

วันที่ 21 สิงหาคม เป็นวันที่ 233 ของปี (วันที่ 234 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 132 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ21 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 กันยายน

วันที่ 22 กันยายน เป็นวันที่ 265 ของปี (วันที่ป 266 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 100 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ22 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

22 ธันวาคม

วันที่ 22 ธันวาคม เป็นวันที่ 356 ของปี (วันที่ 357 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 9 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ22 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มิถุนายน

วันที่ 24 มิถุนายน เป็นวันที่ 175 ของปี (วันที่ 176 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 190 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ24 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

27 มิถุนายน

วันที่ 27 มิถุนายน เป็นวันที่ 178 ของปี (วันที่ 179 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 187 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ27 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

29 มิถุนายน

วันที่ 29 มิถุนายน เป็นวันที่ 180 ของปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ (วันที่ 181 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 185 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ29 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

3 กันยายน

วันที่ 3 กันยายน เป็นวันที่ 246 ของปี (วันที่ 247 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 119 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ3 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ6 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 กันยายน

วันที่ 7 กันยายน เป็นวันที่ 250 ของปี (วันที่ 251 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 115 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สยามและ7 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

8 กุมภาพันธ์

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 39 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 326 วันในปีนั้น (327 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สยามและ8 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

SiamSiameseอาณาจักรสยามจักรวรรดิสยามประเทศสยาม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »