โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

ดัชนี สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

435 ความสัมพันธ์: บรรพบุรุษของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรบริจิตต์ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีบริเทนส์กอตแทเลินต์บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ดบัตเตอร์สกอตช์ชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับบิกเบนบิล เกตส์บิลล์ อิงกลิชบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์บ้านเลขที่ 10 ถนนดาวนิงพ.ศ. 2464พ.ศ. 2469พ.ศ. 2473พ.ศ. 2490พ.ศ. 2491พ.ศ. 2493พ.ศ. 2495พ.ศ. 2496พ.ศ. 2503พ.ศ. 2504พ.ศ. 2507พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2539พ.ศ. 2555พ.ศ. 2561พระราชบัญญัติการครองคู่แบบครอบครัว ค.ศ. 2018พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)พระราชพิธีพัชราภิเษกพระราชพิธีพัชราภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตันพระราชวังบางปะอินพระราชวังวินด์เซอร์พระราชวังฮอลีรูดพระราชวังเค็นซิงตันพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรพระที่นั่งสรรเพชญปราสาทพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพอล มาร์ตินพอล แม็กคาร์ตนีย์พาราลิมปิกฤดูร้อน 2012พาราไดซ์เพเพอส์พิธีราชาภิเษกในโอเชียเนีย...พิธีปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012พิงก์กวาเม อึนกรูมากอร์ดอน บราวน์กองทัพบกสหราชอาณาจักรกองทัพสหราชอาณาจักรการเลิกล้มราชาธิปไตยการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ก็อดเซฟเดอะควีนฐานันดรศักดิ์ยุโรปมหาวิทยาลัยนอตทิงแฮมมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์มหาวิทยาลัยเลสเตอร์มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มหาวิทยาลัยเคนต์มหาวิทยาลัยเซาแทมป์ตันมอนต์เซอร์รัตมาร์กาเรต แทตเชอร์มาเรียแห่งเท็คมินเนียนมงกุฎพระราชินีแมรีมงกุฎพระราชินีเอลิซาเบธมงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 1มงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 4มงกุฎอิมพีเรียลสเตตมงกุฎแห่งสกอตแลนด์มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดยอดเขาเอเวอเรสต์ยิบรอลตาร์ยิตซัก เพิร์ลแมนยูกันดา (ราชอาณาจักรเครือจักรภพ)ยูโรสตาร์รัชทายาทที่ได้รับสมมุติรัฐบาลสหราชอาณาจักรรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (สหราชอาณาจักร)รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (สหราชอาณาจักร)รัฐสภาสหราชอาณาจักรรัฐประหารในฟีจี พ.ศ. 2530รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียราชกุมารีราชวงศ์วินด์เซอร์ราชวงศ์สหราชอาณาจักรราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียราชสำนักเซนต์เจมส์ราชอาณาจักรเครือจักรภพราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักรราชนาวีรายชื่อบุคคลในแสตมป์สวาซิแลนด์รายชื่อบุคคลในแสตมป์เอเดนรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรรายชื่อผู้รับเครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2530รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2552รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2554รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2555รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2556รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2557รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2558รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2559รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2560รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561รายชื่อธงในสหราชอาณาจักรรายชื่อธงในประเทศบาร์เบโดสรายชื่อธงในประเทศบาฮามาสรายชื่อธงในประเทศมอลตารายชื่อธงในประเทศสกอตแลนด์รายชื่อธงในประเทศออสเตรเลียรายชื่อธงในประเทศจาเมการายชื่อธงในประเทศนิวซีแลนด์รายชื่อธงในประเทศแคนาดารายชื่อธงในประเทศไอร์แลนด์เหนือรายชื่อธงในประเทศเวลส์รายพระนามพระมหากษัตริย์ฟีจีรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรปรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริการายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปแอฟริการายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนียรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาลรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลกรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษรายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักรรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐมาลาวีรายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐยูกันดารายพระนามและนามประมุขแห่งรัฐเคนยารายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบันรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรรายนามนายกรัฐมนตรีออสเตรเลียรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักรวันชัยในทวีปยุโรปวิลเลียม โกลดิงวิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอนวินสตัน เชอร์ชิลสมาคมฟุตบอลอังกฤษสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีอึนตอมบี พระราชชนนีสมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรสหพันธรัฐอินเดียตะวันตกสหพันธรัฐไนจีเรียสหภาพแอฟริกาใต้สหราชอาณาจักรสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1947สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1977สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 2013สถาบันภาพยนตร์อังกฤษสตีเฟน ฮาร์เปอร์สตีเวน เจอร์ราร์ดสนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดสเตอร์ลิงหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ดหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ดหมู่เกาะบริติชเวอร์จินหมู่เกาะฟอล์กแลนด์หมู่เกาะพิตแคร์นหมู่เกาะคุกหมู่เกาะโคโคส (คีลิง)หมู่เกาะโซโลมอนหมู่เกาะเคย์แมนหมู่เกาะเติกส์และเคคอสหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยหินแห่งสโคนออลเดอร์นีย์ออทัมน์ ฟิลลิปส์อัลเฟรด ฮิตช์ค็อกอัสเซนชันอัครศาสนูปถัมภกอันดับความร่ำรวยของประมุขทั่วโลก ปี 2007อาณานิคมสิงคโปร์อาณานิคมเอเดนอาณานิคมเคนยาอาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิชอิสลาห์ ฟิลลิปส์อินเพลนตีแอนด์อินไทม์ออฟนีดอุทยานแห่งชาติควีนเอลิซาเบธอุทยานโอลิมปิกลอนดอนอธิบดีศาลสูงสุดอเล็กซ์ เฟอร์กูสันฮาร์ดี อมีสฮาโรลด์ วิลสันฮ่องกงของบริเตนผู้สำเร็จราชการแคนาดาผู้สำเร็จราชการเครือรัฐออสเตรเลียจอห์น คีย์จอห์น โฮเวิร์ดจอห์น เมเจอร์จอห์นนี เดปป์จักรพรรดิโชวะจักรวรรดิบริติชจัสติน ทรูโดจุลมงกุฎเจ้าชายชาลส์แห่งเวลส์จูเลีย กิลลาร์ดธงชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรีธงชาติออสเตรเลียธงชาติอัลเดิร์นนีย์ธงพระอิสริยยศธงตริสตันดากูนยาทาวเวอร์บริดจ์ทิม เบอร์เนิร์ส-ลีดยุกแห่งคอร์นวอลล์ดยุกแห่งซัสเซกซ์ดยุกแห่งแลงแคสเตอร์ดยุกแห่งเอดินบะระดยุกแห่งเคมบริดจ์ดยุกแห่งเคนต์ดัชชีดัชชีนอร์ม็องดีดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์ดินแดนแทนกันยีกาคริสตจักรแองลิกันในประเทศไทยคริสต์สหัสวรรษที่ 3ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐคอนราด อเดเนาร์คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอลคิงส์คอลเลจ ลอนดอนคู สตาร์กคณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่สองคณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่หนึ่งคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปนตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักรตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จินตราแผ่นดินของหมู่เกาะพิตแคร์นตราแผ่นดินของหมู่เกาะเคย์แมนตราแผ่นดินของดอมินีกาตราแผ่นดินของตรินิแดดและโตเบโกตราแผ่นดินของปาปัวนิวกินีตราแผ่นดินของนิวซีแลนด์ตราแผ่นดินของแองกวิลลาตราแผ่นดินของเบลีซตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชตราแผ่นดินของเวลส์ตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ตริสตันดากูนยาตรินิแดดและโตเบโก (ราชอาณาจักรเครือจักรภพ)ตำหนักซานดริงแฮมตูอี มะลิลาฉันท์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซารา ฟิลลิปส์ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์กซาวันนาห์ ฟิลลิปส์ซาแมนธา แคเมอรอนซิดนีย์ พอยเทียร์ซีบิล (แมว)ซีตี นูร์ฮาลีซาซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธาปฏิบัติการสะพานลอนดอนปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชประกาศพระราชเสาวนีย์แห่งสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2546ประกาศก้องจอมราชาประมุขแห่งรัฐประวัติการบินไทยประเทศบาร์เบโดสประเทศบาฮามาสประเทศสกอตแลนด์ประเทศออสเตรเลียประเทศอังกฤษประเทศจาเมกาประเทศตูวาลูประเทศซีลอนในเครือจักรภพประเทศปากีสถานในเครือจักรภพประเทศปาปัวนิวกินีประเทศนิวซีแลนด์ประเทศแอนติกาและบาร์บูดาประเทศแคนาดาประเทศโรดีเชียประเทศเบลีซประเทศเกรเนดาประเทศเวลส์ประเทศเซนต์ลูเชียประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสปราสาทคายร์นาร์วอนปราสาทแบลมอรัลปีเตอร์ ฟิลลิปส์ปีเตอร์ เบนเน็ต บารอนเบนเน็ตแห่งเอ็ดจ์บาสตันที่ 1นิโคไล เชาเชสกูนีวเวแฟรงค์ บรูโนแฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟนแมลคัม เทิร์นบุลล์แลร์รี (แมว)แสตมป์ทั่วไปแองกวิลลาแอนโทนี อีเดนแอนเดรีย คอรร์แอโครเทียรีและดิเคเลียแฮร์รี่ พอตเตอร์แทนกันยีกาโรลส์-รอยซ์ แฟนทอมโรงเรียนนายร้อยทหารบกแซนด์เฮิสต์โอลิมปิกฤดูร้อน 1976โอลิมปิกฤดูร้อน 2012โอลิเวีย โคลแมนโทนี แบลร์โทนี แอบบ็อตต์โทเคอเลาโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์ไมค์ ทินดัลล์ไวเคานต์ไอร์แลนด์เหนือไอล์ออฟแมนไดอานา (แก้ความกำกวม)ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์เบอร์มิวดาเชอร์ล็อก โฮมส์เบียทริซแห่งโพรว็องซ์เฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซเพชรโคอินัวร์เพลงชาติมัลดีฟส์เกาะคริสต์มาสเกาะนอร์ฟอล์กเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชเกิร์นซีย์เมษายน พ.ศ. 2548เรย์ คอร์เดโรเลดีกากาเลดีลูอีส วินด์เซอร์เลดีอเล็กซานดรา อีเธอริงตันเวิลด์เกมส์ 1985เหตุยิงกันในออโรรา ค.ศ. 2012เหตุระเบิดที่แมนเชสเตอร์อะรีนา พ.ศ. 2560เอริก แคลปตันเอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์เอ็มมา วอตสันเฮเลน เมียร์เรนเจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจมส์ คัลลาฮานเจมส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ์เจมส์ โอกิลวีเจมส์ ไวเคานต์เซเวิร์นเจอร์ซีย์เจน กูดดอลล์เจ้าเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระเจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์เจ้าชายหลุยส์แห่งเคมบริดจ์เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีเจ้าชายจอร์จ วัลเดมาร์แห่งเดนมาร์กเจ้าชายจอร์จแห่งฮาโนเวอร์เจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์เจ้าชายคริสโตเฟอร์แห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กเจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์เจ้าชายเว็ลฟ์ แอนสท์ แห่งฮันโนเฟอร์เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเคมบริดจ์เจ้าหญิงฟรีเดอริกแห่งฮาโนเวอร์เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาลเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์เจ้าหญิงมาร์การีตาแห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าหญิงมาร์กาเรต (แก้ความกำกวม)เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอนเจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์กเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์เจ้าหญิงอลิซ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์เจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลนเจ้าหญิงอลิซแห่งบัทเทนแบร์กเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวีเจ้าหญิงธีโอโดราแห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อตเจ้าหญิงแห่งเวลส์เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีเจ้าหญิงแอนน์แห่งเดนมาร์กเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าหญิงโซฟีแห่งกรีซและเดนมาร์กเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์กเจ้าหญิงเฮเลนา วิกตอเรียแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์เจ้าหญิงเซซีลีแห่งกรีซและเดนมาร์กเทเรซา เมย์เดวิด อาร์มสตรอง-โจนส์, เอิร์ลที่ 2 แห่งสโนว์ดอนเดวิด คาร์เนกี ดยุกที่ 4 แห่งไฟฟ์เดวิด แคเมอรอนเดวิด เบคแคมเดอะบีเทิลส์เดอะมอลล์ (ถนน)เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์เดอะคอส์เครือจักรภพแห่งประชาชาติเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสกอตแลนด์เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งจักรวรรดิบริติชเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์เควิน รัดด์เคนยา (ราชอาณาจักรเครือจักรภพ)เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลาเซนต์เฮเลนาเซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยาเนลสัน แมนเดลาเนวิสFalkirk Wheel10 มิถุนายน19 พฤษภาคม19 กุมภาพันธ์2 มิถุนายน20 ตุลาคม21 เมษายน28 ตุลาคม4 สิงหาคม6 กุมภาพันธ์9 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (385 มากกว่า) »

บรรพบุรุษของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

1.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบรรพบุรุษของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

บริจิตต์ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์

ริจิตต์ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์ (Birgitte, Duchess of Gloucester) เป็นพระชายาในเจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ ซึ่งเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ประสูติเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบริจิตต์ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

ทางอากาศมองเห็นดีเอโกการ์ซีอา บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี (British Indian Ocean Territory) หรือ หมู่เกาะชาโกส เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งอยู่ครึ่งทางระหว่างแอฟริกากับอินโดนีเซีย อาณาเขตครอบคลุมอะทอลล์ทั้ง 6 แห่งที่เชื่อมต่อถึงกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะชาโกส มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 60 ตารางกิโลเมตร เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือเกาะดีเอโกการ์ซีอา ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งของกองกำลังผสมสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี · ดูเพิ่มเติม »

บริเทนส์กอตแทเลินต์

ริเทนส์กอตทาเลนต์ (Britain's Got Talent) เป็นรายการโทรทัศน์ในสหราชอาณาจักร ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไอทีวีและเป็นส่วนหนึ่งของรายการโทรทัศน์ชุดกอตแทเลินต์ที่จะค้นหาผู้ที่มีความสามารถทางด้านการแสดง ร้องเพลง ตลก รวมทั้งความสามารถอื่นๆ โดยไม่จำกัดอายุ นำเสนอรายการโดย แอนต์ แอนด์ เดค ซึ่งเป็นพิธีกรที่มีชื่อเสียงในอังกฤษ ซึ่งผู้ชนะจากการลงคะแนนโดยผู้ชมจะได้รับรางวัล 100,000 ปอนด์สเตอร์ลิง และได้รับโอกาสแสดงต่อหน้าพระพักตร์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และพระบรมวงศานุวงศ์ ในส่วนคณะกรรมการตัดสิน ประกอบด้วย ไซมอน โคเวลล์, อแมนดา โฮลเดน, ปิแอร์ส มอร์แกน (ได้เปลี่ยนคณะกรรมการใหม่ 2 คนคือ เดวิดแฮดเซอร์ฮอฟและไมเคิล แมคอินไตย์ มาแทนปีแอร์ส ที่จะต้องไปรับงานของซีเอ็นเอ็นที่สหรัฐอเมริกาและไซมอน โคเวลล์ ที่จะมาเป็นกรรมการเฉพาะช่วงถ่ายทอดสดเท่านั้น นับตั้งแต่ซีรีส์ที่ 5 เป็นต้นไป ซีรีส์ชุดแรกของรายการนี้เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน - 17 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ซึ่งมีผู้ชนะคือ พอล พอตส์ ส่วนผู้ชนะของซีรีส์ที่สองซึ่งออกอากาศเมื่อวันที่ 12 เมษายน - 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งมีผู้ชนะคือ จอร์จ แซมป์สัน และซีรีส์ที่สามเริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 11 เมษายน - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 มีผู้ชนะคือ กลุ่มนักเต้น ไดเวอร์ซิตี ซึ่งในซีรีส์ที่สามนี้เอง ที่ทำให้ทั่วโลกให้ความสนใจ จากหนึ่งในผู้เข้าประกวดชื่อ ซูเซิน บอยล์ ที่ในช่วงแรกก่อนการแสดงความสามารถ ทั้งผู้ชมในโรงประกวดและคณะกรรมการตัดสิน แสดงความกังขาเชิงลบต่อเธอว่า ไม่น่าจะสามารถผ่านเข้ารอบได้ แต่เมื่อเธอเปล่งเสียงร้องในเพลง ไอดรีมด์อะดรีม (I dreamed a dream) เพลงจากละครเวทีเรื่องเลมีเซราบล์ (Les Misérables) เสียงร้องของเธอและเรื่องราวชีวิตของเธอทำให้เธอโด่งดังเพียงข้ามคืน แม้จะได้เพียงตำแหน่งรองชนะเลิศก็ตามและท้ายที่สุดถึงแม้จะได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ เธอก็ยังได้แสดงต่อหน้าพระพักตร์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบริเทนส์กอตแทเลินต์ · ดูเพิ่มเติม »

บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ด

หินแห่งสโคนภายไต้บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ดที่แอบบีเวสต์มินสเตอร์ ค.ศ. 1855 บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ดที่ไม่มีหินแห่งสโคนในปัจจุบัน บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ด หรือ บัลลังก์พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด หรือ บัลลังก์ราชาภิเษก (St Edward's Chair หรือ King Edward's Chair หรือ The Coronation Chair) บัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ดเป็นพระราชบัลลังก์ที่ใช้ประทับโดยพระมหากษัตริย์อังกฤษในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ที่สร้างตามพระราชโองการของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 โดยให้มีที่ใส่หินแห่งสโคน (Stone of Scone) ซึ่งเป็นหินสำหรับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ที่เดิมเก็บไว้แอบบีสโคน (Scone Abbey) ที่พระองค์ทรงยึดมา พระราชบัลลังก์มาได้รับชื่อภายหลังตามพระนามของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพผู้เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์เดียวที่ได้รับการสถาปนาให้เป็นนักบุญ ตัวบัลลังก์เก็บไว้ที่ชาเปลเซนต์เอ็ดเวิร์ดในแอบบีเวสต์มินสเตอร์ พระมหากษัตริย์อังกฤษและพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรทุกพระองค์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบัลลังก์เซนต์เอ็ดเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

บัตเตอร์สกอตช์

ัตเตอร์สกอตช์ (butterscotch) เป็นขนมหวานที่มีส่วนผสมหลักคือน้ำตาลแดงและเนย บางครั้งอาจผสมน้ำเชื่อมข้าวโพด, ครีม, วานิลลาและเกลือ สูตรแรก ๆ ที่พบในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 ใช้กากน้ำตาลแทนน้ำตาล บัตเตอร์สกอตช์คล้ายกับทอฟฟี แต่ต่างกันที่ระดับความเดือดของน้ำตาล โดยบัตเตอร์สกอตช์จะเป็นระดับ soft crack ส่วนทอฟฟีจะเป็นระดับ hard crack บัตเตอร์สกอตช์ใช้เป็นส่วนผสมในลูกกวาดและพุดดิง ใส่ในคุกกี้แบบเดียวกับช็อกโกแลตชิป หรือแต่งรสชาติของเหล้าหวาน ซอสบัตเตอร์สกอตช์ใช้เป็นซอสของหวาน โดยเตรียมได้จากการเคี่ยวน้ำตาลแดงที่อุณหภูมิ 116 °C กับเนยและครีม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบัตเตอร์สกอตช์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ

ันเดรดเกรตเตสต์บริทันส์ หรือ ชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ (100 Greatest Britons) คือรายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและชาวบริติชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ · ดูเพิ่มเติม »

บิกเบน

หอนาฬิกาพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ซึ่งส่วนใหญ่มักถูกเรียกว่าบิ๊กเบน ซึ่งแท้จริงแล้วเป็นชื่อเล่นของระฆังใบใหญ่ที่สุดที่แขวนไว้บริเวณช่องลมเหนือหน้าปัดนาฬิกา หอเอลิซาเบธ (Elizabeth Tower) (ก่อนหน้านี้เรียกว่า หอนาฬิกาพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ (Clock Tower, Palace of Westminster)) หรือรู้จักดีในชื่อ บิกเบน (Big Ben) เป็นหอนาฬิกาประจำพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ ซึ่งในปัจจุบันใช้เป็นรัฐสภาอังกฤษ ตั้งอยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระราชวัง หอนาฬิกานี้ถูกสร้างหลังจากไฟไหม้พระราชวังเวสต์มินสเตอร์เดิม เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2377 โดยชาลส์ แบร์รี เป็นผู้ออกแบบ หอนาฬิกามีความสูง 96.3 เมตร โดยที่ตัวนาฬิกาอยู่สูงจากพื้น 55 เมตร ตัวอาคารสร้างด้วยสถาปัตยกรรมสมัยสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (victorian gothic) ชื่อหอเอลิซาเบธตั้งขึ้นเพื่อฉลองพระราชพิธีพัชราภิเษก หรือพระราชพิธีมหามงคลฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สอง หลายคนเข้าใจว่าบิ๊กเบนเป็นชื่อหอนาฬิกาประจำรัฐสภาอังกฤษ แต่แท้ที่จริงแล้ว บิ๊กเบนเป็นชื่อเล่นของระฆังใบใหญ่ที่สุด หนักถึง 13,760 กิโลกรัม ซึ่งแขวนไว้บริเวณช่องลมเหนือหน้าปัดนาฬิกา ทั้งนี้มีระฆังรวมทั้งสิ้น 5 ใบ โดย 4 ใบจะถูกตีเป็นทำนอง ส่วนบิ๊กเบนจะถูกตีบอกชั่วโมงตามตัวเลขที่เข็มสั้นชี้บนหน้าปัดนาฬิกา ทว่าคนส่วนใหญ่กลับใช้ชื่อบิ๊กเบนเรียกตัวหอทั้งหมด บางทีมักเรียกหอนาฬิกานี้ว่า หอเซนต์สตีเฟน (St Stephen's Tower) หรือหอบิกเบน (Tower of Big Ben) ซึ่งที่จริงแล้วชื่อหอเซนต์สตีเฟนคือชื่อของหอในพระราชวังอีกหอหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นทางเข้าไปอภิปรายในสภา ในเวลาต่อมา รัฐสภาอังกฤษได้มีมติให้ตั้งชื่อหอนาฬิกานี้ว่า หอเอลิซาเบธ เมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2555 ปัจจุบันภายในหอนาฬิกาไม่เปิดให้สาธารณชนเข้าชม เว้นแต่สำหรับผู้ที่อาศัยในประเทศอังกฤษ จะต้องทำเรื่องขอเข้าชมผ่านสมาชิกรัฐสภาอังกฤษประจำท้องถิ่นของตน ถ้าเป็นเด็กต้องมีอายุเกิน 11 ปี จึงจะเข้าชมหอได้ สำหรับชาวต่างประเทศนั้นไม่อนุญาตให้ขึ้นไป ทั้งนี้ผู้ชมต้องเดินบันได 334 ขั้นขึ้นไปเพราะไม่มีลิฟต.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบิกเบน · ดูเพิ่มเติม »

บิล เกตส์

วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สาม (เกิด 28 ตุลาคม ค.ศ. 1955) หรือที่มักเป็นที่รู้จักในชื่อ บิล เกตส์ เป็นนักธุรกิจชาวSomalia และหนึ่งในผู้ก่อตั้งบริษัทไมโครซอฟท์ เขากับผู้บุกเบิกด้านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคนอื่น ๆ ได้ร่วมกันเขียนต้นแบบของภาษาอัลแตร์เบสิก ซึ่งเป็นอินเตอร์เพรเตอร์สำหรับเครื่องอัลแตร์ 8800 (เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในยุคแรกๆ) เขาได้ร่วมกับพอล แอลเลน ก่อตั้งไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชันขึ้น ซึ่งในขณะนี้เขาดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาเรื่องเทคโนโลยี นิตยสารฟอบส์ได้จัดอันดับให้ บิล เกตส์ เป็นบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกหลายปีติดต่อกัน วิลเลียม เฮนรี เกตส์ ที่สามได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการอัศวินแห่งจักรวรรดิบริเตน (KBE) จากสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบิล เกตส์ · ดูเพิ่มเติม »

บิลล์ อิงกลิช

ซมอน วิลเลียม "บิลล์" อิงกลิช (Simon William "Bill" English; 30 ธันวาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 39 ของนิวซีแลนด์และเป็นหัวหน้าพรรคชาติ ดำรงตำแหน่งระหว่างวันที่ 12 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบิลล์ อิงกลิช · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

บ้านเลขที่ 10 ถนนดาวนิง

้านเลขที่ 10 ถนนดาวนิง (10 Downing Street) ในลอนดอน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในสหราชอาณาจักรว่า บ้านเลขที่ 10 เป็นที่พำนักและสำนักงานอย่างเป็นทางการของขุนคลังเอก (First Lord of the Treasury) ตั้งอยู่บนถนนดาวนิงในนครเวสต์มินสเตอร์ และยังเป็นสำนักงานใหญ่ของรัฐบาลในสมเด็จพระบรมราชินีนาถ อีกทั้งยังเป็นที่พำนักของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร ผู้ซึ่งปัจจุบันได้ถือว่าดำรงตำแหน่งขุนคลังเอกแห่งราชสมบัติไปด้วย บ้านเลขที่ 10 ถนนดาวนิงถือว่าเป็นสถานที่ที่โด่งดังทั้งในสหราชอาณาจักรเองและในโลก ตัวอาคารมีอายุเกือบ 300 ปี ภายในมีห้องประมาณ 100 ห้องชั้นสามเป็นที่พักอาศัยส่วนตัวและมีห้องครัวอยู่ชั้นแรกของอาคาร ชั้นอื่น ๆ เป็นทั้งสำนักงาน, ห้องประชุม, ห้องรับแขก, ห้องนั่งเล่นและห้องทานอาหาร ที่ซึ่งนายกรัฐมนตรีได้พบปะและสังสรรค์กับบรรดาแขกผู้มีเกียรติและเหล่ารัฐมนตรีในคณะรัฐบาล ซึ่งบางครั้งรวมถึงผู้นำต่างประเทศและพระราชวงศ์ นอกจากนี้ยังมีสนามภายในอาคารและมีสวนขนาดครึ่งเอเคอร์อยู่ด้านหลัง บ้านเลขที่ 10 ตั้งอยู่ติดกับสวนสาธารณะเซนต์เจมส์ ใกล้กับพระราชวังเวสต์มินสเตอร์, อาคารรัฐสภาและพระราชวังบักกิงแฮม ซึ่งเป็นที่ประทับของสมเด็จพระราชินีนาถและเชื้อพระวงศ์พระองค์อื่น ๆ แต่เดิมบ้านเลขที่ 10 มีอาคาร 3 หลัง ในปี พ.ศ. 2275 สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 พระราชทานอาคารหลังนี้ให้แก่ โรเบิร์ต วอลโพล สำหรับเป็นสำนักของขุนคลังเอก ไม่ใช่ของตัววอลโพลเอง ซึ่งต่อมาวอลโพลได้มอบหมายให้เจ้าพนักงานวิลเลียม เคนต์ เชื่อมอาคารทั้งสามหลังเข้าด้วยกัน จึงทำให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและกลายมาเป็น บ้านเลขที่ 10 ถนนดาวนิง ในปัจจุบัน อย่างไรก็ดี จุดประสงค์ให้อาคารหลังนี้เป็นที่พำนักอย่างเป็นทางการของนายกรัฐมนตรีก็มิได้ลุล่วงในทันที ทั้ง ๆ ที่ขนาดอันใหญ่โตและความสะดวกสบายใกล้กับรัฐสภา นายกรัฐมนนตรีคนแรก ๆ จำนวนน้อยเท่านั้นที่เคยพำนักอยู่ที่นี่ ต่อมาจากค่าดูแลรักษาที่สูงลิบ, ความเพิกเฉยต่ออาคารและการเสื่อมโทรมลงตามกาลเวลา ทำให้อาคารหลังนี้ถูกรื้อถอนหลายต่อหลายครั้ง อย่างไรก็ดีบ้านเลขที่ 10 ก็ยังคงรอดผ่านเหตุการณ์สำคัญ ๆ ในประวัติศาสตร์อังกฤษมาได้ ในปี พ.ศ. 2528 มาร์กาเรต แทตเชอร์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นได้กล่าวไว้ว่าJones, in letter from Margaret Thatcher used as a preface to the book.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและบ้านเลขที่ 10 ถนนดาวนิง · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2464

ทธศักราช 2464 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1921 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2464 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2469 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2490

ทธศักราช 2490 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1947.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2490 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2491 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2495

ทธศักราช 2495 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1952.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2495 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2496

ทธศักราช 2496 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1953 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2496 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2503

ทธศักราช 2503 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1960 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2504

ทธศักราช 2504 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1961 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2504 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2507

ทธศักราช 2507 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1964 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2507 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2518

ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2518 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชบัญญัติการครองคู่แบบครอบครัว ค.ศ. 2018

ระราชบัญญัติการครองคู่แบบครอบครัว..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชบัญญัติการครองคู่แบบครอบครัว ค.ศ. 2018 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร

วสต์มินสเตอร์แอบบีย์สถานที่ประกอบพระราชพิธีราชาภิเษก พระราชพิธีราชาภิเษกพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร เป็นพระราชพิธีซึ่งพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ ตลอดจนรัฐในเครือจักรภพ รวมทั้งคู่อภิเษกสมรสของพระองค์ จะทรงประกอบเพื่อแสดงถึงพระราชอำนาจสูงสุดเหนือประเทศเหล่านั้น พระราชพิธีราชาภิเษกนี้มีจัดขึ้นในทุกประเทศที่ปกครองโดยมีระบบกษัตริย์เป็นประมุข แม้แต่พระสันตะปาปาแห่งนครรัฐวาติกันก็ทรงประกอบพิธีนี้เช่นกัน พระราชพิธีนี้โดยมากมักจะจัดขึ้นหลังจากพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อนเสด็จสวรรคตไปแล้วพอสมควร เพื่อที่จะได้มีเวลาพอสำหรับพระราชพิธีพระบรมศพสำหรับกษัตริย์พระองค์ก่อน และมีการเตรียมความพร้อมสำหรับกษัตริย์พระองค์ใหม่ด้วย ดังเช่นสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 แต่ทรงประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2496, พระราชพิธีนี้มีอาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีเป็นประธาน ในฐานะศาสนาจารย์อาวุโสสูงสุดของคริสตจักรแห่งอังกฤษ พระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีของทุกประเทศจะเข้าร่วมในพระราชพิธีนี้ รวมทั้งอาจมีแขกของรัฐบาลอีกเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)

ต่อไปนี้คือรายละเอียดวันที่ และสถานที่ที่จัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตรีย์ และสมเด็จพระราชินีอัครมเหสี แห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ รวมทั้งสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1609 พระราชพิธีบรมราชาภิเษกนี้จะจัดขึ้นที่มหาวิหารเวสท์มินสเตอร์เสมอ เว้นแต่กรณีนอกเหนือจากนั้นจะหมายเหตุไว้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพัชราภิเษก

ระราชพิธีพัชราภิเษก หรือ พัชราภิเษกสมโภช (Diamond Jubilee) เป็นการเฉลิมฉลองเพื่อแสดงการครบรอบ 60 ปี ซึ่งเกี่ยวกับบุคคล (เช่น การครอบรอบแต่งงาน ระยะเวลาการครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์) หรือครบรอบ 75 ปี ซึ่งเกี่ยวกับเหตุการณ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชพิธีพัชราภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพัชราภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2

ระราชพิธีพัชราภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Diamond Jubilee of Queen Elizabeth II) เป็นการเฉลิมฉลองระหว่างประเทศตลอ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชพิธีพัชราภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตัน

ระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์กับแคเธอริน มิดเดิลตัน มีขึ้น ณ วันศุกร์ที่ 29 เมษายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชพิธีเสกสมรสระหว่างเจ้าชายวิลเลียมกับแคเธอริน มิดเดิลตัน · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังบางปะอิน

ระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับแรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนครนั่นเอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้รกร้างมาระยะหนึ่ง แต่กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งโดยสุนทรภู่ซึ่งได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้างพระที่นั่ง พระตำหนัก และตำหนักต่าง ๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่าง ๆ ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง และยังใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชวังบางปะอิน · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังวินด์เซอร์

ระราชวังวินด์เซอร์ (ภาษาอังกฤษ: Windsor Castle) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่วินด์เซอร์, มลฑลบาร์คเชอร์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยสมเด็จพระเจ้าวิลเลียมที่ 1 แห่งอังกฤษเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชวังวินด์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังฮอลีรูด

ระราชวังฮอลีรูด (Holyrood Palace หรือ Palace of Holyroodhouse) ชื่อ "Holyrood" เป็นคำที่แปลงเป็นภาษาอังกฤษจากคำว่า "Haly Ruid" ของภาษาสกอตที่แปลว่า "กางเขนศักดิ์สิทธิ์" (Holy Cross) พระราชวังฮอลีรูดเป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ที่เอดินบะระในสกอตแลนด์ในสหราชอาณาจักร ฮอลีรูดเป็นพระราชวังที่เป็นสมบัติส่วนพระองค์ของพระราชวงศ์อังกฤษที่ยังทรงใช้ในสถานที่ประทับหลักในสกอตแลนด์ ฮอลีรูดเดิมเป็นสำนักสงฆ์ที่ก่อตั้งโดยพระเจ้าเดวิดที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ ในปี ค.ศ. 1128 ต่อมามาใช้เป็นที่ประทับหลักของพระมหากษัตริย์และพระราชินีของสกอตแลนด์มาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ตัวพระราชวังตั้งอยู่ทางใต้ของรอยัลไมล์ (Royal Mile) ในเอดินบะระ ตรงกันข้ามกับปราสาทเอดินบะระทางอีกด้านหนึ่งของรอยัลไมล์ ในปัจจุบันเป็นที่ประทับอย่างเป็นทางการในสกอตแลนด์ของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ผู้ทรงประทับเป็นเวลาหนึ่งอาทิตย์ในต้นฤดูร้อนของทุกปีและทรงเป็นเจ้าภาพงานเลี้ยงในสวนและการเลี้ยงรับรองอย่างเป็นทางการต่าง ๆ เมื่อประทับอยู่ที่นั่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชวังฮอลีรูด · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังเค็นซิงตัน

ระราชวังเค็นซิงตัน (ภาษาอังกฤษ: Kensington Palace) เป็นพระราชวังตั้งอยู่ที่โบโรเค็นซิงตันและเชลเซีย ลอนดอน ในสหราชอาณาจักร เป็นวังที่เดิมสร้างสำหรับดยุคแห่งนอตติงแฮม เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17 พระราชวังเค็นซิงตันใช้เป็นที่ประทับของราชวงศ์อังกฤษมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ในปัจจุบันเป็นที่ประทับของเจ้าฟ้าชายริชาร์ด ดยุคแห่งกลอสเตอร์ และเบอร์จีต ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์; เจ้าฟ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุคแห่งเค้นทและแคทเธอริน ดัชเชสแห่งเค้นท; และเจ้าชายและเจ้าหญิงไมเคิลแห่งเค้นท และเจ้าหญิงไดอานาประทับจนกระทั่งปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชวังเค็นซิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ผู้ปกครองราชทั่วราชอาณาจักรและหมู่เกาะออสเตรเลีย สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร (ประสูติ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) พระราชธิดาพระองค์แรกในเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต ดยุคแห่งยอร์คและเอลิซาเบธ โบวส์-ลีออน ทรงเข้าอภิเษกสมรสกับเจ้าชายฟิลิปแห่งกรีซและเดนมาร์กเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท

ระที่นั่งสรรเพชญปราสาท (จำลอง) ภายในเมืองโบราณ พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท หรือ พระที่นั่งสรรเพชญมหาปราสาท คือพระที่นั่งองค์หนึ่งในเขตพระราชวังโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยพระราชดำริของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองมาก เป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจของราชอาณาจักรอยุธยา พระที่นั่งสรรเพชญปราสาท เคยใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีสำคัญของราชสำนักและเป็นที่รับแขกบ้านแขกเมืองของพระมหากษัตริย์ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รับราชทูต ฯลฯ แต่พระที่นั่งองค์นี้เสียหายทั้งองค์เมื่อเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ จนในปัจจุบันเหลือแต่ฐาน และกำแพงบางส่วนเท่านั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระที่นั่งสรรเพชญปราสาท · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร

ระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์ปัจจุบัน บริเวณด้านข้างของพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์ปัจจุบัน พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร องค์ที่สอง พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียรองค์แรก พระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นใน ตรงข้ามกับสระทางด้านตะวันออก ของพระราชวังบางปะอิน พระที่นั่งองค์นี้สร้างด้วยไม้ สไตล์ยุโรป แบบสวิสชาเล่ต์ 2 ชั้น มีกำแพงแก้ว จดหมายเหตุได้กล่าวไว้ว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานเงิน 90 ชั่งเพื่อสร้างพระที่นั่งองค์นี้ และรั้วพระราชวังบางปะอิน เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2420สำนักพระราชวัง, พระราชวังบางปะอิน, พิมพ์ครั้งที่ 1,..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระที่นั่งอุทยานภูมิเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี

ระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี (15 เมษายน พ.ศ. 2448 — 10 ตุลาคม พ.ศ. 2528) เป็นพระวรราชเทวีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า เครือแก้ว อภัยวงศ์ บุตรีของพระยาอภัยภูเบศร (เลื่อม อภัยวงศ์) กับคุณเล็ก บุนนาค ต่อมาได้รับพระราชทานนามจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า สุวัทนา ได้เข้ารับราชการฝ่ายใน ในตำแหน่งเจ้าจอมสุวัทนา และได้รับการสถาปนาเป็น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ตามลำดับ พระองค์ได้ให้ประสูติการแก่พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลคือ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี แต่หลังจากประสูติพระเจ้าลูกเธอได้เพียงหนึ่งวัน พระราชสวามีได้สวรรคตลง พระองค์และพระธิดาจึงได้เสด็จไปประทับยังสหราชอาณาจักรกว่า 20 ปี ภายหลังจึงได้เสด็จนิวัตประเทศไทยโดยพำนักในวังรื่นฤดี เป็นการถาวรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์

ลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ หรือ พระองค์จุล (28 มีนาคม พ.ศ. 2451 – 30 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระโอรสพระองค์เดียวในจอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ กับ หม่อมคัทริน ณ พิศณุโลก ชาวรัสเซีย ทรงสมรสกับหม่อมเอลิสะเบธ จักรพงษ์ ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 30 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พอล มาร์ติน

อล เอ็ดการ์ ฟีลิป มาร์ติน (Paul Edgar Philippe Martin) เกิดเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2481 เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งแคนาดาและอดีตหัวหน้าพรรคเสรีนิยมแห่งแคนาดา เขานำพรรคเสรีนิยมชนะการเลือกตั้งในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพอล มาร์ติน · ดูเพิ่มเติม »

พอล แม็กคาร์ตนีย์

ซอร์ เจมส์ พอล แม็กคาร์ตนีย์ เกิดเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1942 เป็นนักร้องเพลงร็อกชาวอังกฤษ มือกีตาร์เบส นักประพันธ์เพลง โปรดิวเซอร์เพลง ผู้สร้างภาพยนตร์ นักลงทุน นักกิจกรรมต่อสู้ด้านสิทธิสัตว์ นักมังสวิรัติ เขามีชื่อเสียงอย่างมากในการเป็นสมาชิกวงเดอะบีทเทิลส์ ร่วมกับ จอห์น เลนนอน,จอร์จ แฮร์ริสัน และ ริงโก สตาร์ เขาเกิดในครอบครัวชนชั้นแรงงานที่เมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ บิดาเป็นนักทรัมเป็ตและเปียโนในวงแจ๊สซึ่งสนับสนุนการเล่นดนตรีมาแต่เล็ก โดยเล่นทูบา เป็นเครื่องดนตรีชิ้นแรกต่อมาเปลี่ยนเป็นทรัมเป็ต ต่อมาในยุคความนิยมดนตรีสกิฟเฟิล (Skiffle) พอลจึงหันมาเล่นกีตาร์ จนในยุคที่ร็อกแอนด์โรลโด่งดัง เพื่อนของเขา จอห์น เลนนอนจึงชวนมาตั้งวงที่ชื่อ "แควร์รี่ เมน" (Quarry Men) ต่อมาเปลี่ยนเป็นชื่อ เดอะบีทเทิลส์ จนโด่งดังไปทั่วโลก ซึ่งเขาและจอห์นก็ร่วมแต่งเพลงฮิตมากมายหลายเพลง เช่น Lady Madonna, Here Today, Wanderlust, Yesterday จนในปี 1970 วงเดอะบีทเทิลส์ก็แตกวงไป พอแยกมาทำอัลบั้มร่วมกับภรรยา ลินดา แม็กคาร์ตนีย์ ในชื่อ "วิงส์" (Wings) พอลได้รับการจดบันทึกในกินเนสบุ๊กว่า เป็นนักดนตรีและนักแต่งเพลงที่ประสบความสำเร็จที่สุดในประวัติศาสตร์ดนตรีป๊อป เขาได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำ 60 ครั้ง ขายได้กว่า 100 ล้านซิงเกิล และเพลง Yesterday ที่เขาร่วมแต่งกับจอห์นก็เป็นเพลงที่ถูกนำมาคัฟเวอร์มากที่สุดในโลก ถูกแพร่ภาพและเสียงในอเมริกากว่าเจ็ดล้านครั้ง เขาได้รับตำแหน่ง "เซอร์" จากสมเด็จพระราชินีอังกฤษเมื่อปี 11 มีนาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพอล แม็กคาร์ตนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พาราลิมปิกฤดูร้อน 2012

ราลิมปิกฤดูร้อน 2012 (Paralympic 2012) หรือการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 14 เป็นการแข่งขันกีฬาคนพิการระดับโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่ลอนดอน สหราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 29 สิงหาคม ถึง 9 กันยายน พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพาราลิมปิกฤดูร้อน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

พาราไดซ์เพเพอส์

ประเทศที่มีผู้ถูกกล่าวถึงในการรั่วไหลนี้ พาราไดซ์เพเพอร์ส์ (Paradise Papers) เป็นชุดเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ลับ 13.4 ล้านฉบับ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนนอกฝั่งซึ่งรั่วไหลสู่หนังสือพิมพ์เยอรมัน ซึดดอยท์เชอไซทุง หนังสือพิมพ์ดังกล่าวแบ่งปันข้อมูลกับกลุ่มนักหนังสือพิมพ์สืบสวนระหว่างประเทศ (International Consortium of Investigative Journalists) และรายละเอียดบางส่วนต่อสาธารณะในวันที่ 5 พฤศจิกายน 2560 เอกสารดังกล่าวมาจากบริษัทกฎหมายนอกฝั่ง แอปเปิลบาย ผู้จัดหาบริการบริษัท เอสเตราและเอเชียซิตีทรัสต์ และสำนักทะเบียนธุรกิจในเขตอำนาจภาษี 19 เขต เอกสารเหล่านี้มีชื่อบุคคลและบริษัทกว่า 120,000 คน และบริษัท ในบรรดาผู้ที่ถูกเปิดเผยชื่อได้แก่ พระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2, ควน มานูเอล ซานโตส ประธานาธิบดีโคลัมเบีย และวิลเบอร์ รอส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์สหรั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพาราไดซ์เพเพอส์ · ดูเพิ่มเติม »

พิธีราชาภิเษกในโอเชียเนีย

ระราชพิธีราชาภิเษกของสมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงาและวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี พระราชสวามี ในรูปแบบพิธีตามอย่างวัฒนธรรมยุโรป แวดล้อมด้วยข้าราชการที่แต่งตัวแบบยุโรป วันที่ 11 ตุลาคม ค.ศ. 1918 พิธีราชาภิเษกในโอเชียเนีย เป็นพิธีที่มีความเกี่ยวเนื่องในประวัติศาสตร์ของประเทศในโอเชียเนีย ที่เคยมีระบอบราชาธิปไตยโดยถูกยกเลิกไปแล้ว และประเทศที่ยังคงมีสถาบันกษัตริย์อยู๋ พิธีราชาภิเษกแบบดั้งเดิมของพระมหากษัตริย์ในโอเชียเนียยังคงมีลักษณะในรูปแบบชนเผ่า ตามประเพณีของชนเผ่าพื้นเมืองดั้งเดิม ก่อนที่พิธีราชาภิเษกในบางประเทศจะถูกแปรเปลี่ยนไปตามอิทธิพลของวัฒนธรรมยุโรป และการเผยแพร่ของคริสต์ศาสนา ที่เข้ามาแทนที่ศาสนาและประเพณีของชนเผ่าพื้นเมือง เช่น ในกรณีของราชอาณาจักรตองงาและราชอาณาจักรฮาวาย พิธีราชาภิเษกของภูมิภาคโอเชียเนียสามารถแบ่งตามประเทศได้ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพิธีราชาภิเษกในโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พิธีปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

"เพลงซิมโฟนีของชาวบริติช" (A Symphony of British Music) คือแนวคิดหลักของพิธีปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 พิธีปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ของกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน หรือทราบกันดีในชื่อ "เพลงซิมโฟนีของชาวบริติช" (A Symphony of British Music) ถูกจัดขึ้นในวันที่ 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพิธีปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

พิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จฯ ทรงเป็นประธานในพิธีเปิด "เกาะมหัศจรรย์" (The Isle of Wonder) คือแนวคิดหลักของพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 พิธีเปิดการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 จัดขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

พิงก์

อลีเซีย เบธ มัวร์ (เกิดวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1979) เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ พิงก์ (Pink แต่มักเขียนเป็น P!nk) เป็นนักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน ได้รับรางวัลแกรมมี่ถึง 2 ครั้ง พิงก์มีผลงานอัลบั้มแรกชื่อ คานท์ เทค มี โฮม เป็นอัลบั้มเพลงอาร์แอนด์บี ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและพิงก์ · ดูเพิ่มเติม »

กวาเม อึนกรูมา

อึนกรูมา (ซ้าย) และมาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์ (ขวา) กวาเม อึนกรูมา (Kwame Nkrumah 21 กันยายน พ.ศ. 2452-27 เมษายน พ.ศ. 2515) เป็นผู้ก่อตั้งและประธานาธิบดีคนแรกของประเทศกานา และเป็นที่รู้จักกันในนามผู้มีอิทธิพลของ แพน-อัฟริกานิซึม ใน ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและกวาเม อึนกรูมา · ดูเพิ่มเติม »

กอร์ดอน บราวน์

มส์ กอร์ดอน บราวน์ (James Gordon Brown; 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2494) เป็นชาวสกอตแลนด์ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรและควบตำแหน่งลอร์ดแห่งสภาการคลัง, รัฐมนตรีการสวัสดิการสังคม และหัวหน้าพรรคแรงงาน ซึ่งเข้ารับตำแหน่งในฐานะหัวหน้าพรรคแรงงานเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2550 โดยก่อนหน้านั้นเขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงการคลังในรัฐบาลของนายโทนี แบลร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและกอร์ดอน บราวน์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกสหราชอาณาจักร

กองทัพบกสหราชอาณาจักร (British Army) เป็นกองกำลังภาคพื้นดินที่สำคัญของสหราชอาณาจักรซึ่งดูแลและควบคุมโดยกองทัพสหราชอาณาจักร ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและกองทัพบกสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสหราชอาณาจักร

กองทัพบริเตน (British Armed Forces) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า กองทัพในสมเด็จฯ (Her Majesty's Armed Forces) และ บ้างเรียกว่า กองทัพในพระองค์ (Armed Forces of the Crown) เป็นกองทัพของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ กองทัพนี้ประกอบด้วยหน่วยที่แต่งเครื่องแบบอาชีพสามเหล่า ได้แก่ 1.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและกองทัพสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการเลิกล้มราชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553

การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ก็อดเซฟเดอะควีน

ลงก็อดเซฟเดอะควีน หรือ ก็อดเซฟเดอะคิง เป็นเพลงปลุกใจ เพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมีของสหราชอาณาจักร เพลงนี้ใช้เป็นหนึ่งในสองเพลงชาติของนิวซีแลนด์ เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของประเทศแคนาดา ออสเตรเลีย และประเทศอื่น ๆ ในเครือจักรภพ ทั้งยังใช้เป็นเพลงคำนับสำหรับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์อังกฤษด้วย หากประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะคิง แต่ถ้าพระราชินีทรงเป็นประมุขก็จะใช้ชื่อเพลงว่า ก็อดเซฟเดอะควีน ในภาษาไทยไม่นิยมแปลชื่อเพลงนี้ออกมาโดยตรง แต่มักเรียกทับศัพท์ว่า ก็อดเซฟเดอะคิง หรือ ก็อดเซฟเดอะควีน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เพลงสรรเสริญพระบารมีอังกฤษ ตามลักษณะของเพลง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและก็อดเซฟเดอะควีน · ดูเพิ่มเติม »

ฐานันดรศักดิ์ยุโรป

รรดาศักดิ์ยุโรป หมายถึงระบบชั้นและชั้นยศของขุนนางในทวีปยุโรป ปัจจุบันยังปรากฏมากอยู่ในสหราชอาณาจักรและยังปรากฏในประเทศอื่นๆ ที่ปกครองด้วยระบอบราชาธิบไตยด้วย เช่นเดนมาร์ก และ สวีเดน เป็นต้น ระบบขุนนางในยุโรปนี้เป็นระบบขุนนางสืบตระกูล ทายาทที่อาวุโสที่สุดจะได้ขึ้นสืบบรรดาศักดิ์ มีสิทธิและเกียรติฐานะเทียบเท่ากับเจ้าบรรดาศักดิ์เดิม ซึ่งแตกต่างกับระบบขุนนางในประเทศในเอเชีย ที่บรรดาศักดิ์ขุนนางจะเป็นสิทธิเฉพาะบุคคลเท่านั้น ไม่มีการสืบทอดไปยังรุ่นลูกหลาน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและฐานันดรศักดิ์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนอตทิงแฮม

มหาวิทยาลัยนอตทิงแฮม (University of Nottingham) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดใหญ่มากในสหราชอาณาจักร มีชื่อเสียงด้านแพทยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ตั้งที่เมืองนอตทิงแฮม มณฑลนอตทิงแฮมเชอร์ นอกจากที่ตั้งในเมืองนอตทิงแฮมแล้ว มหาวิทยาลัยยังขยายการสอนไปยังประเทศมาเลเซียและประเทศจีนอีกด้วย มหาวิทยาลัยนอตทิงแฮมก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยนอตทิงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์

มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ (University of Manchester) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดใหญ่มาก มีชื่อเสียงด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และแพทยศาสตร์ ตั้งที่เมืองแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร โดยการรวมกันระหว่างมหาวิทยาลัยวิกตอเรียแมนเชสเตอร์ และมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแมนเชสเตอร์ ปัจจุบันมหาวิทยาลัยมีนักศึกษาจำนวนมากที่สุดในสหราชอาณาจักรทั้งจำนวนรวมทุกระดับ ระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา (ไม่นับมหาวิทยาลัยเปิด (Open University)) นอกจากนี้ยังเป็นที่นิยมอย่างมากในบรรดานักศึกษานอกสหภาพยุโรปอีกด้วย มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ และบูรพสถาบันทั้งสอง เป็นสถานที่ทำงานของนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลจำนวนหลายท่าน อาทิ เออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด โจเซฟ จอห์น ทอมสัน นีลส์ บอร์ เจมส์ แชดวิก ฯลฯ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเลสเตอร์

มหาวิทยาลัยเลสเตอร์ (University of Leicester) เป็นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่เน้นวิจัยในเมืองเลสเตอร์ แคว้นเลสเตอร์เชอร์ สถาปนาเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อ พ.ศ. 2500 โดยยกฐานะจากวิทยาลัยอุดมศึกษาเลสเตอร์ เลสเตอร์เชอร์ และรัตแลนด์ซึ่งตั้งเมื่อ พ.ศ. 2464 มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงในฐานะผู้คิดค้นการพิมพ์ลายนิ้วมือพันธุกรรมจนนำไปสู่การค้นพบโครงพระบรมอัฐิของสมเด็จพระราชาธิบดีริชาร์ดที่ 3 ซึ่งสิ้นพระชนม์ในที่ร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยเลสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์

มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ (University of Exeter) เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร ปัจจุบันมีพื้นที่ทำการเรียนการสอน และทำการวิจัยรวมทั้งสิ้น 3 วิทยาเขต ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองเอ็กซิเตอร์ มณฑลเดวอน จำนวน 2 วิทยาเขต และในมณฑลคอร์นวอลล์ 1 วิทยาเขต มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ ได้รับตำแหน่ง มหาวิทยาลัยแห่งปี จากไทมส์ไฮเออร์เอ็ดดูเคชัน ในปีค.ศ. 2007 และ เดอะซันเดย์ไทมส์ ในปีค.ศ. 2013 และได้รับการจัดอันดับมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรอยู่ในอันดับที่ 7 จาก เดอะไทมส์ และ เดอะซันเดย์ไทมส์ (2015) และอันดับที่ 10 โดย เดอะการ์ดเดียน (2013) และ เดอะคอมพลีทยูนิเวอร์ซิตีไกด์ (2014) อีกทั้งยังได้รับการจัดอันดับให้อยู่ภายในสิบอันดับแรกมาตลอด ของการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาระดับชาติ ตั้งแต่มีการเริ่มทำการสำรวจในปี ค.ศ. 2005 มหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์เป็นสมาชิกของกลุ่มรัสเซล ซึ่งเป็นกลุ่มของมหาวิทยาลัยวิจัยขนาดใหญ่ชั้นนำของสหราชอาณาจักร รวมถึงกลุ่ม Universities UK สมาคมมหาวิทยาลัยแห่งยุโรป(EUA) สมาคมมหาวิทยาลัยแห่งเครือจักรภพ(ACU) และเป็นสถาบันการศึกษาที่ได้รับการรับรองจากสมาคม MBAs(AMBA).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์

มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (University of Cambridge)ใช้ชื่อทางการว่า นายกสภา อนุสาสก และคณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ (The Chancellor, Masters, and Scholars of the University of Cambridge) เป็นสถาบันอุดมศึกษาขนาดกลางค่อนข้างใหญ่ในสหราชอาณาจักร มีความเก่าแก่เป็นอันดับที่สองของสหราชอาณาจักร ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 1752 โดยมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งก่อนหน้านั้นคือ มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่เป็นอันดับที่สี่ของโลกและยังเปิดดำเนินการอยู่อีกด้วย มหาวิทยาลัยก่อกำเนิดจากคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยซึ่งขัดแย้งกับชาวบ้านที่เมืองอ๊อกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยเคมบริจด์และมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมักได้รับการจัดอันดับต้น ๆ ของการจัดอันดับโดยสำนักต่าง ๆ จนมีการเรียกรวมกันว่า อ๊อกซบริดจ์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์เป็นมหาวิทยาลัยที่มีผู้ได้รางวัลโนเบลสูงที่สุด ในบรรดามหาวิทยาลัยทั้งหลายในโลก กล่าวคือ 81 รางวัล นิสิตและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดให้สังกัดแต่ละวิทยาลัยแบบคณะอาศัย (College)หมายถึง คณะที่เป็นที่อยู่ของนักศึกษาจากหลายสาขาวิชา นักศึกษาจะพักอาศัยกินอยู่และทบทวนวิชาเรียนในคณะอาศัย แต่การเรียนการทำวิจัยต้องทำในคณะวิชา จำนวนทั้งสิ้น 31 แห่ง โดยคละกันมาจากคณะวิชา (School) 6 คณะ โดยวิทยาลัยแต่ละแห่งอาศัยบริหารงานอย่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน ลักษณะการบริหารเช่นนี้มีให้เห็นในมหาวิทยาลัยเคนต์ และมหาวิทยาลัยเดอแรม อาคารต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเป็นอาคารแทรกตัวตามร้านรวงในเมือง แทนที่จะเป็นกลุ่มอาคารในพื้นที่ของตนเองเช่นมหาวิทยาลัยยุคใหม่ อาคารเหล่านั้นบางหลังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างมาก มหาวิทยาลัยจัดให้มีสำนักพิมพ์เป็นของตนเอง ซึ่งถือเป็นสำนักพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองของโลกที่สังกัดมหาวิทยาลัย นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีห้องสมุดขนาดใหญ่อีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเคนต์

มหาวิทยาลัยเคนต์ (University of Kent) (เดิมชื่อ มหาวิทยาลัยเคนต์ ณ แคนเทอเบอรี) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดกลาง ตั้งที่นอกเมืองแคนเทอร์เบอรี จังหวัดเคนต์ เปิดสอนด้านการจัดการ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และกฎหมาย มหาวิทยาลัยเคนต์ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2508 จึงถือเป็นมหาวิทยาลัยใหม่ (new universities) หรือมหาวิทยาลัยกระจก (plate glass universities) ร่วมกับมหาวิทยาลัยอื่นอีกหลายแห่ง มหาวิทยาลัยเป็นสมาชิกเครือข่ายแซนแทนเดอร์, สมาคมมหาวิทยาลัยเครือจักรภพ และยูนิเวอร์ซิตียูเค (Universities UK) และถูกจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยใหม่ 100 อันดับแรก รวมถึงมีคะแนนความพอใจของนักศึกษาเกินกว่า 90% จากแบบสำรวจนักศึกษาแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเซาแทมป์ตัน

มหาวิทยาลัยเซาท์แฮมป์ตัน (University of Southampton, ชื่อย่อ UoS หรือ Soton) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยในสหราชอาณาจักร มีที่ตั้งในเมืองเซาท์แฮมป์ตัน และเมืองวินเชสเตอร์ จังหวัดแฮมป์เชอร์ มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในสมาชิกก่อตั้งของกลุ่มรัสเซล ซึ่งเป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยวิจัยอันดับต้นของสหราชอาณาจักร มหาวิทยาลัยเซาท์แฮมป์ตันถือกำเนิดจากสถาบันฮาร์ตเลย์ (Hartley Institute) ซึ่งตั้งในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยเซาแทมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

มอนต์เซอร์รัต

มอนต์เซอร์รัต เป็นดินแดนโพ้นทะเลอังกฤษในทะเลแคริบเบียน ตั้งอยู่ในแนวหมู่เกาะแอนทิลลิสน้อย (Lesser Antilles Islands) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะลีวาร์ด ยาว 16 กิโลเมตร กว้าง 11 กิโลเมตร มีพื้นที่ 40 ตารางกิโลเมตร ชื่อของเกาะมอนเซอร์รัตนี้ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เป็นผู้ตั้งขึ้นในคราวเดินทางแสวงหาโลกใหม่ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2036.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมอนต์เซอร์รัต · ดูเพิ่มเติม »

มาร์กาเรต แทตเชอร์

มาร์กาเรต ฮิลดา แทตเชอร์ (Margaret Thatcher) หรือยศขุนนางอังกฤษคือ บารอเนสแทตเชอร์ (ชื่อเดิม มาร์กาเรต ฮิลดา โรเบิตส์; 13 ตุลาคม พ.ศ. 24688 เมษายน พ.ศ. 2556) นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ พ.ศ. 2522 ถึง พ.ศ. 2533 และเป็นผู้นำพรรคอนุรักษนิยมตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึงปี พ.ศ. 2533 โดยเป็นผู้หญิงคนแรก ที่ดำรงทั้งสองตำแหน่งพร้อมกันในประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร บารอนเนสแทตเชอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรเป็นเวลายาวนานที่สุดนับตั้งแต่สมัยของลอร์ดซอลส์เบอรี และอยู่ในตำแหน่งติดต่อกันยาวนานที่สุดนับตั้งแต่สมัยของลอร์ดลิเวอร์พูล นายกรัฐมนตรีในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นสตรีคนแรกที่นำพรรคการเมืองเสียงข้างมากของสหราชอาณาจักร และเป็นสตรีคนแรกของเพียงสามคนที่ได้ดำรงหนึ่งในสี่ตำแหน่งสำคัญของประเทศ หลังจากการเกษียณตัวเองจากการเมืองในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมาร์กาเรต แทตเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มินเนียน

มินเนียน (Minions) เป็นภาพยนตร์แนวตลกของ อิลลูมิเนชั่น เอ็นเตอร์เทนเมนต์ โดยเป็นภาพยนตร์ปฐมบท/สปินออฟ ของภาพยนตร์เรื่อง มิสเตอร์แสบร้ายเกินพิกัด (2011) และ มิสเตอร์แสบร้ายเกินพิกัด 2 (2013) เขียนเรื่องโดย ไบรอัน ลินช์ กำกับโดยปิแอร์ คอฟฟินและไคล์ บัลดา และ อำนวยการสร้างโดย คริส เมเลแดนดรีและเจเน็ต เฮย์เล่ย์ นำพากย์โดย ซานดรา บุลล็อก ในบท สการ์เล็ต โอเวอร์คิลล์ และ จอน แฮมม์ ในบทสามีของสการ์เล็ต เฮิร์บ โอเวอร์คิลล์ มีกำหนดฉายในสหรัฐอเมริกาวันที่ 10 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมินเนียน · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎพระราชินีแมรี

มงกุฎพระราชินีแมรี (Crown of Queen Mary) เป็นมงกุฎพระอัครมเหสีของสมเด็จพระราชินีแมรีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 มงกุฎองค์นี้ถูกสร้างขึ้นสำหรับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในปีค.ศ. 1911.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎพระราชินีแมรี · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎพระราชินีเอลิซาเบธ

มงกุฎพระราชินีเอลิซาเบธ (Crown of the Queen Elizabeth) เป็นมงกุฎตัวเรือนทำจากแพลตินัมของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี ซึ่งเป็นพระอัครมเหสีของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 และเป็นพระราชมารดาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 มงกุฎองค์นี้สร้างขึ้นเพื่อใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระราชสวามีที่เวสต์มินสเตอร์แอบบี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎพระราชินีเอลิซาเบธ · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 1

มงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 1 (State Crown of George I) เป็นมงกุฎแห่งรัฐ (state crown) ที่จัดทำสำหรับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระเจ้าจอร์จที่ 1 เมื่อคราที่พระเจ้าจอร์จที่ 1 เสวยราชย์ขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งบริเตนใหญ่และ พระมหากษัตริย์แห่งไอร์แลนด์ในปีค.ศ. 1714 ได้มีความคิดที่จะจัดถวายมงกุฎองค์ใหม่สำหรับใช้ในรัฐพิธีต่างๆ (เช่น รัฐพิธีเปิดประชุมรัฐสภา) เพื่อใช้แทนมงกุฎองค์เก่าที่สร้างในสมัยสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 2 ในปีค.ศ. 1661 ซึ่งอยู่ในสภาพทรุดโทรมและเกินกว่าการบูรณะซ่อมแซมคืนสภาพเดิมได้ โดยรัตนชาติและแก้วต่างๆที่ประดับนั้นได้ถูกย้ายมาอยู่บนมงกุฎองค์ใหม่แทน มงกุฎองค์นี้ในปัจจุบันเหลือแต่โครงเปล่าที่ทำจากทองคำ และลูกโลกประดับบนยอดที่ทำจากอะความารีน ทั้งสองอย่างนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร '''สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 1 แห่งบริเตนใหญ่''' และมงกุฎองค์นี้อยู่บริเวณเบื้องขวาของพระอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 4

มงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 4 (George IV State Diadem) เป็นมงกุฎเพชรที่ไม่มีส่วนโค้งด้านบน เรียกว่า "เดียเด็ม" (Diadem) ซึ่งจัดเป็นประเภทหนึ่งของมงกุฎ สร้างขึ้นในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร ในปีค.ศ. 1820 เพื่อใช้เป็นหนึ่งในมงกุฎสำคัญของพระองค์ซึ่งตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน ในปัจจุบันสามารถพบเห็นได้ทั้งในธนบัตร เหรียญกษาปน์ และแสตมป์ต่างๆ ในประเทศเครือจักรภพอังกฤษ ซึ่งนอกจากความสวยงามของมันแล้ว ยังมีความสำคัญเชิงสัญลักษณ์ของอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลน์อีกด้วย ดังนั้นมงกุฎองค์นี้จะเป็นองค์ที่สมเด็จพระราชินีนาถฯ จะทรงค่อนข้างบ่อย และพบเห็นได้บ่อยที่สุดองค์หนึ่ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎอิมพีเรียลสเตต

มงกุฎอิมพีเรียลสเตต (Imperial State Crown) เป็นหนึ่งในเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของสถาบันพระมหากษัตริย์ในสหราชอาณาจักร มงกุฎอิมพิเรียลสเตตนี้มีการสร้างทดแทนขึ้นหลายยุคสมัยตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ซึ่งรุ่นล่าสุดนี้มีลักษณะคล้ายมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดอยู่ไม่น้อย ตัวมงกุฎนั้นมีฐานประกอบด้วยกางเขนแพตตี (cross pattée) จำนวนสี่กางเขน สลับกับเฟลอ-เดอ-ลีส์ (fleur-de-lis) หรือดอกลิลลี่จำนวนสี่ดอก ส่วนเหนือจากฐานขึ้นไปเป็นโค้งจำนวนสี่โค้งตัดกันที่มียอดเป็นด้านบนจุดตัดเป็นกางเขนอีกหนึ่ง ภายในตรงกลางมงกุฎเป็นหมวกกำมะหยี่ที่มีขอบเป็นขนเออร์มิน มงกุฎฝังด้วยอัญมณีหลายชนิดที่รวมทั้ง: เพชร 2,868 เม็ด, ไข่มุก 273 เม็ด, แซฟไฟร์ 17 เม็ด, มรกต 11 เม็ด, และทับทิม 5 เม็ด มงกุฎอิมพิเรียลสเตตประกอบด้วยอัญมณีที่มีชื่อเสียงหลายชิ้น กางเขนบนมงกุฎฝังอัญมณีที่เรียกว่าแซฟไฟร์เซนต์เอ็ดเวิร์ดที่นำมาจากแหวน (หรือ จุลมงกุฎ) ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ, ทับทิมเจ้าชายดำ (Black Prince's Ruby) (ความจริงแล้วคือสปิเนล ที่ฝังอยู่บริเวณกางเขนด้านหน้าของมงกุฎ และเพชรคัลลินันที่ฝังด้านหน้ามงกุฎบริเวณฐาน ด้านหลังฝังด้วยแซฟไฟร์สจวตหนัก 104 กะรัต (20.8 กรัม) บนขอบ นอกจากนี้ยังมีไข่มุกของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบ็ธประดับอีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎอิมพีเรียลสเตต · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎแห่งสกอตแลนด์

มงกุฎแห่งสกอตแลนด์ (The Crown of Scotland) เป็นมงกุฎที่ใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์สกอตแลนด์ โดยได้ทำการจัดสร้างขึ้นใหม่เลียนแบบของเดิมที่ทรงโดยพระเจ้าเจมส์ที่ 5 แห่งสกอตแลนด์เมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎแห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด

มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด (St.) เป็นหนึ่งในเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักรและเป็นกกุธภัณฑ์ที่สำคัญที่สุดชิ้นหนึ่ง และเป็นมงกุฎที่ใช้เป็นมงกุฎราชาภิเษก (Coronation crown) อย่างเป็นทางการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์องค์ใหม่ของสหราชอาณาจักร มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดมีลักษณะคล้ายกับมงกุฎองค์เดิม ซึ่งสร้างในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ยอดเขาเอเวอเรสต์

อดเขาเอเวอเรสต์ (Mount Everest) เป็นยอดเขาหนึ่งในเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งเกิดจากการชนกันของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซียนและแผ่นเปลือกโลกอินเดีย ในทางภูมิรัฐศาสตร์ ยอดเขาเอเวอเรสต์ถือเป็นจุดแบ่งพรมแดนระหว่างประเทศเนปาลและทิเบต โดยชาวเนปาลเรียกยอดเขาเอเวอเรสต์ว่า สครมาตา (ภาษาสันสกฤต: सगरमाथा หมายถึง มารดาแห่งท้องสมุทร) ส่วนชาวทิเบตขนานนามยอดเขาแห่งนี้ว่า โชโมลังมา (จากภาษาทิเบต: จูมู่หลั่งหม่า (珠穆朗玛) หมายถึง มารดาแห่งสวรรค์) ชื่อยอดเขาเอเวอเรสต์นั้น ตั้งโดย เซอร์แอนดรูว์ วอ นักสำรวจประเทศอินเดียชาวอังกฤษ เพื่อเป็นเกียรติแก่ เซอร์จอร์จ อีฟเรสต์ นักสำรวจประเทศอินเดียรุ่นก่อนหน้า (คำว่า Everest นี้ คนส่วนมากอ่านออกเสียงเป็น เอเวอเรสต์ ขณะที่เซอร์จอร์จอ่านออกเสียงชื่อสกุลของตัวเองว่า อีฟเรสต์) ซึ่งก่อนหน้านั้นนักสำรวจเรียกยอดเขาแห่งนี้เพียงว่า ยอดที่สิบห้า (Peak XV) คนทั่วไปจดจำชื่อเอเวอเรสต์ได้ในฐานะยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก แต่สำหรับชาวเชอร์ปา (Sherpa) และนักปีนเขา (climber) บางคนแล้ว ยอดเขาเอเวอเรสต์ไม่ได้เป็นเพียงแค่จุดที่สูงที่สุดบนพื้นโลกเท่านั้น หากยังเป็นจุดหมายสูงสุดในชีวิตพวกเขาด้วย การไปให้ถึงยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นเรื่องที่ยากลำบาก แต่เมื่อยอดเขาเอเวอเรสต์ถูกพิชิตได้ นั่นหมายความว่าขีดจำกัดของมนุษยชาติได้เพิ่มขึ้นอีกขั้นหนึ่งแล้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและยอดเขาเอเวอเรสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ยิบรอลตาร์

รอลตาร์ (Gibraltar) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ใกล้กับจุดใต้สุดของคาบสมุทรไอบีเรีย ในบริเวณช่องแคบยิบรอลตาร์ มีเนื้อที่โดยรวมประมาณ 6.5 ตารางกิโลเมตร ทางทิศเหนือมีพรมแดนติดต่อกับประเทศสเปน และมีประชากรประมาณ 32,000 คน สถานที่ที่มีชื่อเสียงของยิบรอลตาร์คือ โขดหินยิบรอลตาร์ (Rock of Gibraltar) ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีความสำคัญทางธรณีวิทยาแห่งหนึ่งของโลก เดิมทียิบรอลตาร์เคยเป็นดินแดนหนึ่งของราชอาณาจักรสเปน จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและยิบรอลตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยิตซัก เพิร์ลแมน

ตซัก เพิร์ลแมน (יצחק פרלמן‎) นักไวโอลิน ผู้อำนวยเพลง และครูสอนดนตรีชาวอเมริกันเชื้อสายอิสราเอลที่มีชื่อเสียงในระดับโลก เพิร์ลแมนเกิดที่เมืองเทลอาวีฟ ดินแดนปาเลสไตน์ของอังกฤษ (ปัจจุบันคือประเทศอิสราเอล) เคยป่วยเป็นโปลิโอตั้งแต่อายุ 4 ขวบ แต่ได้รับการรักษาจนหายดี และเข้าเรียนไวโอลินที่สถาบันการดนตรีที่เทลอาวีฟ และได้รับทุนเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนจูลเลียร์ด เพิร์ลแมนออกแสดงในที่สาธารณะเป็นครั้งแรกเมื่ออายุ 18 ปี ที่คาร์เนกีฮอลล์ นิวยอร์ก และชนะเลิศการแข่งขัน Leventritt Competition ในปีถัดมา ปัจจุบันเขามีผลงานร่วมกับวง เซนต์หลุยส์ซิมโฟนี และนิวยอร์กฟิลฮาร์โมนิก ผลงานแสดงของเพิร์ลแมนที่มีชื่อเสียง คือการเล่นในพิธีสาบานตนเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐ ของบารัค โอบามา เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2551 เป็นการเล่นควอร์เทท ร่วมกับโย-โย มา (เชลโล) กาเบรียลา มอนเทอโร (เปียโน) และแอนโทนี แม็กกิล (คลาริเนต) และการบรรเลงที่ทำเนียบขาว ในงานเลี้ยงอาหารค่ำ เพื่อเป็นเกียรติแก่สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2550.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและยิตซัก เพิร์ลแมน · ดูเพิ่มเติม »

ยูกันดา (ราชอาณาจักรเครือจักรภพ)

ราชอาณาจักรเครือจักรภพแห่งยูกันดา (The Commonwealth realm of Kenya หรือ "ยูกันดา" คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐยูกันดา, ระหว่าง ค.ศ. 1962 ถึง ค.ศ. 1963. ภายหลังจากที่สิ้นสุดการปกครองของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1962, the พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกาศอิสรภาพยูกันดา ค.ศ. 1963 ส่งผลให้ยูกันดาในอารักขาที่มีสถานะเป็นอาณาจักรในเครือจักรภพ ปกครองภายใต้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีพระมหากษัตริย์ (สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระประมุข เป็นไปตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701. ตำแหน่งพระนามสมเด็จพระราชินีแห่งยูกันดา นั้นแยกออกจากพระประมุขในประเทศอื่น ๆ ของเครือจักรภพ. พระนามสมเด็จพระราชินีนาถในฐานะ'พระราชินีแห่งยูกันดา': Her Majesty Elizabeth the Second, by the Grace of God, Queen of Uganda and of Her other Realms and Territories, Head of the Commonwealth. โดยมี ข้าหลวงต่างพระองค์. เป็นผู้สำเร็จราชการแทน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและยูกันดา (ราชอาณาจักรเครือจักรภพ) · ดูเพิ่มเติม »

ยูโรสตาร์

รถไฟยูโรสตาร์ในสถานีวอเทอร์ลู ยูโรสตาร์ (Eurostar) เป็นรถไฟความเร็วสูงที่ให้บริการในยุโรปตะวันตก เชื่อมต่อระหว่างลอนดอนและเคนต์ ในสหราชอาณาจักร กับปารีสและลีลในฝรั่งเศส และบรัสเซลส์ในเบลเยียม นอกจากนั้นยังให้บริการจากลอนดอนไปยังดิสนีย์แลนด์รีสอร์ตในปารีส และอีกหลายจุดหมายปลายทางตามแต่ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว โดยวิ่งผ่านอุโมงค์รถไฟลอดใต้พื้นทะเลช่องแคบอังกฤษ และฝรั่งเศส รถไฟยูโรสตาร์เป็นขบวนรถไฟจำนวน 18 โบกี้ วิ่งด้วยความเร็วสูงสุด 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (186 ไมล์ต่อชั่วโมง) สร้างโดยบริษัทอัลสธอม ประเทศฝรั่งเศส โดยใช้เทคโนโลยีของรถไฟเตเฌเว (TGV) ในการพัฒนา ให้บริการครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและยูโรสตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลสหราชอาณาจักร

รัฐบาลในสมเด็จฯ (Her Majesty's Government, ย่อ: HMG) มักเรียก รัฐบาลบริติช เป็นรัฐบาลกลางของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐบาลสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (สหราชอาณาจักร)

นาบดีในสมเด็จฯฝ่ายกระทรวงมหาดไทย (Her Majesty's Principal Secretary of State for the Home Department) หรืออีกชื่อหนึ่งที่รู้จักคือ รัฐมนตรีมหาดไทย เป็นตำแหน่งหลักที่สำคัญใน รัฐบาลสหราชอาณาจักร และเป็นหัวหน้าผู้บริหารระดับสูงของ กระทรวงมหาดไทยแห่งสหราชอาณาจักร โดยที่ตำแหน่งนี้ เทียบได้กับตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงบุติธรรม (ในบางหน้าที่) ของแต่ละประเทศ และเป็น หนึ่งในสี่ตำแหน่งแห่ง อำมาตย์นายก โดยตำแหน่งนี้มีอำนาจการบังคับใช้กฎหมายใน อังกฤษ และ เวลส์ รวมไปถึง การตรวจคนเข้าเมืองและการยืนยันพลเมือง ของสหราชอาณาจักร โดยมีอำนาจบังคับบัญชา ตำรวจ ใน อังกฤษ และ เวลส์ รวมไปถึงการป้องกันและรักษาความสงบในประเทศและบังคับบัญชาหน่วยงานอย่าง MI5 โดยก่อนหน้านี้รัฐมนตรีฯ ยังมีหน้าที่ในการราชทัณฑ์และคุมประพฤติ ต่อมาในปี 2005 ได้โอนย้ายหน้าที่เหล่านี้ไปยัง กระทรวงยุติธรรมแห่งสหราชอาณาจักร ภายใต้การดูแลของ อธิบดีศาลสูงสุด โดยรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งนี้คือ แอมเบอร์ รัดด์ โดยได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจาก สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 จากการเสนอชื่อของ นายกรัฐมนตรี เทเรซา เมย์ เมื่อ เดีอนมิถุนายน 2016.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (สหราชอาณาจักร) · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (สหราชอาณาจักร)

นาบดีใหญ่ในสมเด็จฯฝ่ายยุติธรรม หรืออีกชื่อหนึ่งที่รู้จักคือ รัฐมนตรียุติธรรม เป็นตำแหน่งหลักที่อยู่ใน รัฐบาลสหราชอาณาจักร และเป็นหัวหน้าผู้บริหารระดับสูงของ กระทรวงยุติธรรมแห่งสหราชอาณาจักร และดำรงตำแหน่ง อธิบดีศาลสูงสุด ไปพร้อมกันด้วย (โดยตำแหน่งนี้จะไม่มีเงือนประจำตำแหน่งให้ แต่จะได้เงินประจำตำแหน่งในตำแหน่งอธิบดีศาลสูงสุด) ตั้งแต่ปี 2007 โดยรับผิดชอบแทน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญ ได้รับโอนย้ายหน้าที่จาก กระทรวงมหาดไทยแห่งสหราชอาณาจักร โดยรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งนี้คือ เดวิด ลิดลิงตัน โดยได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจาก สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 จากการเสนอชื่อของ นายกรัฐมนตรี เทเรซา เมย์ เมื่อ เดีอนมิถุนายน 2017.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (สหราชอาณาจักร) · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสภาสหราชอาณาจักร

รัฐสภาสหราชอาณาจักร หรือ รัฐสภาแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (Parliament of the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland หรือ Parliament of the United Kingdom) เป็นสถาบันฝ่ายนิติบัญญัติสูงสุดในสหราชอาณาจักรและดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร โดยมีประมุขเป็นพระมหากษัตริย์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษเป็นระบบสองสภา (Bicameralism) ซึ่งประกอบไปด้วย “สภาสูง” หรือ สภาขุนนาง (House of Lords) และ “สภาล่าง” หรือ สภาสามัญชน (House of Commons) พระมหากษัตริย์เป็นองค์ประกอบที่สามของรัฐสภา สภาทั้งสองสภาประชุมแยกกันในห้องประชุมรัฐสภาภายในพระราชวังเวสต์มินสเตอร์ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “ตึกรัฐสภา” ที่นครเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอน ตามปกติแล้วรัฐมนตรีของรัฐบาลทั้งหมดรวมทั้งนายกรัฐมนตรีเป็นสมาชิกสภาสามัญชน แต่ก็มีข้อยกเว้นในบางกรณีที่เป็นสมาชิกของสภาขุนนาง ที่ประชุมรัฐสภา ณ พระราชวังเวสมินเตอร์ รัฐสภาสหราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งเป็นครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐสภาสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในฟีจี พ.ศ. 2530

รัฐประหารในฟีจี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐประหารในฟีจี พ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย

รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย (Western Australia) หรือเรียกอย่างภาษาไทยเดิมว่า รัฐออสเตรเลียตะวันตก เป็นรัฐในประเทศออสเตรเลีย ถือเป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุดของออสเตรเลีย และเป็นเขตการปกครองที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากสาธารณรัฐซาฮา มีประชากร 2.1 ล้านคน (10% ของประเทศ) มี 85% ของคนที่อาศัยทางมุมใต้-ตะวันตกของรัฐ มีเมืองหลวงคือนคร เพิร์ท.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชกุมารี

ราชกุมารี (The Princess Royal) เป็นพระอิสริยยศตามราชประเพณี (แต่ไม่เป็นแบบอัตโนมัติ) ซึ่งพระมหากษัตริย์พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ที่สุด พระอิสริยยศนี้ดำรงอยู่ตลอดพระชนม์ชีพของเจ้าหญิงพระองค์นั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถที่จะสถาปนาเจ้าหญิงพระองค์อื่นให้เป็นราชกุมารีอีกพระองค์ได้ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ไม่เคยทรงดำรงตำแหน่งราชกุมารีเลย) จวบจนถึงปัจจุบันนี้ได้มีราชกุมารีมาแล้วทั้งสิ้น 7 พระองค์ โดยพระองค์ล่าสุดคือ เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี พระอิสริยยศนี้เกิดขึ้นเมื่อสมเด็จพระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย (พ.ศ. 2252 - 2312) พระราชธิดาในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส และพระมเหสีในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ มีพระประสงค์จะเลียนแบบการสถาปนาพระอิสริยยศ "Madame Royale" ให้กับพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ของกษัตริย์ฝรั่งเศส พระอิสริยยศนี้จะต้องได้รับพระบรมราชานุญาต (Royal Warrant) ไม่ใช่สถาปนาจากพระราชสัญญาบัตร (Letters Patent) และไม่ได้พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่โดยอัติโนมัติ หากแต่จะเป็นการแต่งตั้งจากพระราชวินิจฉัยของพระมหากษัตริย์ เจ้าหญิงแมรี (หรือ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2) (พ.ศ. 2208 - 2237) พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าเจมส์ที่ 2 และสมเด็จพระราชินีมเหสีในพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2193 - 2245) และเจ้าหญิงโซฟี โดโรเทอา พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าจอร์จที่ 1 และต่อมาเป็นพระราชินีมเหสีในพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทั้งสองทรงเหมาะสมกับพระอิสริยยศนี้ หากแต่ไม่ทรงได้รับพระราชทาน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์วินด์เซอร์

ราชวงศ์วินด์เซอร์ เป็นราชวงศ์ที่เป็นสาขาของ ราชวงศ์แซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์เวททิน ของเยอรมนี เป็นราชวงศ์ปัจจุบันที่ปกครอง สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และ เครือจักรภพ ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่ 1 ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชวงศ์วินด์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จออกสีหบัญชร ณ พระราชวังบักกิงแฮม เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ราชวงศ์สหราชอาณาจักร ประกอบด้วยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรและพระประยูรญาติใกล้ชิด บางครั้งจึงแตกต่างจากคำเรียกทางการในประเทศสำหรับราชวงศ์ สมาชิกในราชวงศ์อยู่ใน หรืออภิเษกสมรสเข้ามาในราชวงศ์วินด์เซอร์ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ทรงเปลี่ยนชื่อมาจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา เมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชวงศ์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชสำนักเซนต์เจมส์

พระราชวังเซนต์เจมส์ในอดีตที่ถูกใช้เป็นที่ตั้งของราชสำนักอังกฤษ ราชสำนักเซนต์เจมส์ คือราชสำนักของพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งถูกตั้งชื่อตามพระราชวังเซนต์เจมส์ พระราชวังหลวงที่เก่าแก่ที่สุดของระบอบราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร ราชสำนักเซนต์เจมส์ถือกำเนิดขึ้นมาตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรอังกฤษ (ก่อนปี พ.ศ. 2250) และสมัยราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (พ.ศ. 2250 - 2343) ราชสำนักเซนต์เจมส์ยังถูกใช้เป็นสถานที่ต้อนรับเอกอัครราชทูตและข้าหลวงใหญ่ประจำสหราชอาณาจักรทุกคนอย่างเป็นทางการ ส่วนพระราชวังเซนต์เจมส์ยังคงเป็นสถานที่ประจำสำหรับการรับรองการแต่งตั้งเอกอัครราชทูตต่างชาติ และยังถูกใช้เป็นสำนักงานประจำของผู้แทนพระองค์พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในการรับมอบอักษรสารตราตั้งจากเอกอัคราชทูตต่างชาติอีกด้วย นอกจากนี้ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชสำนักเซนต์เจมส์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเครือจักรภพ

อาณาจักรในเครือจักรภพ (สีน้ำเงิน) และอาณาจักรในเครือจักรภพในอดีต (สีแดง) ราชอาณาจักรเครือจักรภพ คือรัฐเอกราชภายในเครือจักรภพแห่งประชาชาติที่มีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรทรงเป็นประมุขและใช้ลำดับการสืบราชบัลลังก์แบบเดียวกับรัฐสมาชิกอื่น ๆ ในเครือจักรภพ ซึ่งมีด้วยกันทั้งหมด 16 รัฐ รวมพื้นที่ทั้งหมด (ไม่นับรวมการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนแอนตาร์กติก) 18.8 ล้านตารางกิโลเมตร (7.3 ล้านตารางไมลส์) และมีประชากรรวมกันกว่า 137 ล้านคน โดยรัฐที่มีประชากรมากที่สุดหกลำดับแรก ได้แก่ สหราชอาณาจักร, แคนาดา, ออสเตรเลีย, ปาปัวนิวกินี, นิวซีแลนด์ และจาเมกา อาณาจักรในเครือจักรภพทั้งหมดล้วนแล้วแต่เคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรด้วยกันทั้งสิ้น ยกเว้นเพียงแต่สหราชอาณาจักรและปาปัวนิวกินี (ก่อนได้รับเอกราชเคยเป็นเพียงดินแดนสองแห่งที่ถูกปกครองโดยอาณานิคมออสเตรเลีย) พระราชบัญญัติเวสต์มินสเตอร์มีผลบังคับใช้ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์

ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ (Monarchy of Ireland).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร

ระบอบราชาธิปไตยของสหราชอาณาจักร เป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรผู้เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ราชนาวี

กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและราชนาวี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในแสตมป์สวาซิแลนด์

้านล่างนี้เป็นรายชื่อบุคคลในแสตมป์สวาซิแลน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อบุคคลในแสตมป์สวาซิแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อบุคคลในแสตมป์เอเดน

้านล่างนี้เป็นรายชื่อบุคคลในแสตมป์เอเดน สหพันธรัฐอาระเบียใต้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อบุคคลในแสตมป์เอเดน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรทรงมีพระอิสริยศและพระเกียรติยศทั้งก่อนและในระหว่างครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ของเครือจักร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อพระอิสริยยศและพระเกียรติยศในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้รับเครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

้านล่างนี้เป็นรายชื่อผู้รับเครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อผู้รับเครื่องอิสริยาภรณ์คุณธรรมแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2530

้านล่างนี้คือรายชื่อผู้นำของประเทศต่างๆในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2552

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2554

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2554 (ค.ศ. 2011).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2555

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2556

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2557

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2558

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2559

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2560

นี่คือ รายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561

นี่คือ รายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในสหราชอาณาจักร

ทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่าง ๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในสหราชอาณาจักร และในดินแดนภายใต้อาณัติ สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช้ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศบาร์เบโดส

ื้องล่างต่อไปนี้แสดงภาพธงที่มีการใช้ใช้อยู่ในประเทศบาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศบาร์เบโดส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศบาฮามาส

้านล่างนี้เป็นภาพธงที่ใช้กันอยู่ในประเทศบาฮาม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศบาฮามาส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศมอลตา

นื้อหาเบื้องล่างนี้แสดงภาพธงชนิดต่างๆ ไที่ใช้ในสาธารณรัฐมอลต.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศมอลตา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศสกอตแลนด์

ทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในสกอตแลน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศออสเตรเลีย

งในหน้านี้ เป็นธงที่มีการใช้และเคยใช้ในประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศจาเมกา

นื้อหาต่อไปนี้แสดงภาพธงต่างๆ ที่ใช้ในประเทศจาเมก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศจาเมกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศนิวซีแลนด์

ตารางข้างล่างนี้แสดงรายชื่อธงชนิดต่างๆ ที่ใช้ในประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศแคนาดา

นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงต่างๆ ที่มีการใช้ในประเทศแคน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศไอร์แลนด์เหนือ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศไอร์แลนด์เหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเวลส์

ทความหน้านี้คือรายการเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่เคยใช้และยังใช้อยู่ในเวล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ฟีจี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์ฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรป

นี่คือรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรป.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริกา

รายพระนามพระมหากษัตริย์และกษัตรีพระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปแอฟริกา

นี่คือรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนีย

นี่คือ รายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งทวีปเอเชียและโอเชียเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีประมุขมาแล้ว 12 พระองค์ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล

นี่คือรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล ซึ่งเรียงลำดับพระมหากษัตริยที่ทรงครองราชย์ 60 ปีขึ้นไปตามรัชกาล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก

รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดทั่วโลก โดยไม่นับรวมทรัพย์สินอันเป็นของรัฐหรือรัฐบาล เรียงตามลำดับจำนวนพระราชทรั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่มีพระราชทรัพย์มากที่สุดในโลก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักร

นี่คือรายนามบุคคลในเวลาต่างๆ ที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (ค.ศ. 1707 - 1800), สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (ค.ศ. 1801 - 1922), และสหราชอาณาจักร (ค.ศ. 1922 - ปัจจุบัน) ซึ่งจะได้สืบบัลลังก์เมื่อพระมหากษัตริย์สวรรคตหรือสละราชบัลลังก์ บรรดาผู้ที่ได้สืบราชบัลลังก์จริงๆจะเป็นตัวอักษรหนา รายนามนี้เริ่มต้นในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

้าชายอัลเบิร์ตทรงเป็นคู่อภิเษกสมรสที่เป็นบุรุษพระองค์เดียวที่เคยได้รับพระอิสริยยศ ''เจ้าชายพระราชสวามี'' แทนที่ธรรมเนียมการเลื่อนลำดับพระอิสริยยศขึ้นในชั้น ''เพียเรจ'' ตามปกติ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ คือคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์บริเตนองค์ปัจจุบัน คู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร ไม่ใช่พระสถานะหรือพระอำนาจตามรัฐธรรมนูญ แต่หลายพระองค์ทรงมีอิทธิพลอย่างมากต่อพระมหากษัตริย์บางพระองค์ เช่น พระองค์ปัจจุบัน เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ที่ทรงช่วยเสริมสร้างพระบารมีขององค์พระประมุขด้วย ตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ มีคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรแล้วทั้งสิ้น 9 พระองค์ สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรในช่วงปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐมาลาวี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐมาลาวี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐยูกันดา

นี่คือรายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐยูกันดาตั้งแต่ได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐยูกันดา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและนามประมุขแห่งรัฐเคนยา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามและนามประมุขแห่งรัฐเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน

ตารางต่อไปนี้เป็นรายนามของประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลทั่วโลกในปัจจุบัน แสดงประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลซึ่งมีลักษณะต่างกันออกไปตามรูปแบบการปกครอง โดยส่วนใหญ่เป็นระบบรัฐสภา ในขณะที่บางรัฐนั้นประมุขจะอยู่ในระบบประธานาธิบดีหรือเผด็จการ และบางรัฐใช้การปกครองในระบบกึ่งประธานาธิบดี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย

ในประเทศออสเตรเลีย ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีทำหน้าที่เป็นหัวหน้ารัฐบาลของประเทศ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นประมุขแห่งรัฐ ทั้งนี้เครือรัฐออสเตรเลียมีนายกรัฐมนตรีคนแรกชื่อเอ็ดมันด์ บาร์ตัน เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรายนามนายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์เพื่อมอบให้กับนักแสดงหญิงผู้มีการแสดงที่โดดเด่นในการทำงานกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ในอดีตจนถึงงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 49 (ปีค.ศ. 1977) รางวัลนี้ใช้ชื่อว่า รางวัลออสการ์ สาขาการแสดงโดยนักแสดงหญิง (Academy Award of Merit for Performance by an Actress) หลังจากนั้นจึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น รางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (Academy Award for Best Actress) เหล่านักแสดงหญิงจะได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงในสาขารางวัลนี้โดยสมาชิกออสการ์ผู้ซึ่งเป็นนักแสดงด้วยกันเอง และผู้ที่ได้รับรางวัลจะถูกเลือกจากสมาชิกทุกคน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร

ลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร คือ ลำดับความสูงต่ำแห่งฐานันดรของสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ ไม่ว่าพระราชาหรือพระราชินีจะอยู่ในลำดับที่ 1 แห่งโปเจียมเสมอ ถ้าสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นพระเจ้าแผ่นดิน พระมเหสีของพระองค์ (คือสมเด็จพระราชินีในรัชกาล) จะเป็นลำดับที่ 1 แห่งฝ่ายใน ในทางตรงกันข้ามไม่มีหลักเกณฑ์ใดๆ สำหรับเจ้าชายพระราชสวามี ดังนั้นพระองค์จะทรงพระดำเนินในลำดับที่เท่าใดนั้น ขึ้นอยู่กับพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและลำดับโปเจียมแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

วันชัยในทวีปยุโรป

วันชัยในทวีปยุโรป (Victory in Europe Day หรือ VE Day) หมายถึง วันที่ 7 ถึงวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 คือ วันที่ฝ่ายสัมพันธมิตรยอมรับการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของนาซีเยอรมนี ในวันที่ 30 เมษายน หลังจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ฆ่าตัวตายที่หลุมหลบภัยในกรุงเบอร์ลิน ตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีตกเป็นของ คาร์ล เดอนิทซ์ เขาได้ลงนามในสนธิสัญญายอมจำนนในวันที่ 7 พฤษภาคม ในเมืองแรมส์ ฝรั่งเศส นอกจากนั้นวิลเฮล์ม ไคเทล ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพเวร์มัคได้ลงนามในสนธิสัญญายอมจำนนต่อสหภาพโซเวียตในวันที่ 8 พฤษภาคม ในกรุงเบอร์ลิน เยอรมนี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและวันชัยในทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม โกลดิง

ซอร์ วิลเลียม โกลดิง (William Golding; 19 กันยายน ค.ศ. 1911 - 19 มิถุนายน ค.ศ. 1993) เป็นกวีและนักเขียนชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและวิลเลียม โกลดิง · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและวิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

วินสตัน เชอร์ชิล

ซอร์วินสตัน ลีโอนาร์ด สเปนเซอร์-เชอร์ชิล (Winston Leonard Spencer-Churchill) เป็นรัฐบุรุษชาวอังกฤษผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย ระหว่างปี 1940 ถึง 1945 และปี 1951 ถึง 1955 ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคสงครามของศตวรรษที่ 20 นอกจากนี้ วินสตันยังเป็นทหารในกองทัพอังกฤษ, นักประวัติศาสตร์, นักเขียน, ตลอดจนศิลปิน เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาอักษรศาสตร์ และยังเป็นบุคคลแรกที่ได้เป็น พลเมืองเกียรติยศแห่งสหรัฐอเมริกา ผู้คนมักนิยมเรียกเขาด้วยชื่อ "วินสตัน" แทนที่จะเรียกด้วยนามสกุล วินสตันเกิดในตระกูลชนชั้นสูงที่สืบเชื้อสายมาจากดยุกแห่งมาร์ลบะระ สาขาหนึ่งของตระกูลสเปนเซอร์ บิดาของเขาคือ ลอร์ดรันดอล์ฟ เชอร์ชิล นักการเมืองผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีคลัง ส่วนมารดาของเขาคือ เจนนี จีโรม นักสังคมสงเคราะห์ชาวอเมริกัน ในขณะที่ยังเป็นทหารหนุ่ม เขาได้ปฏิบัติภารกิจในบริติชอินเดีย และซูดาน และในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการเป็นนักข่าวสงครามและเขียนหนังสือเกี่ยวกับปฏิบัติการของเขา เขาเป็นผู้มีบทบาททางการเมืองแถวหน้ามาตลอดห้าสิบปี ได้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีมากมาย ก่อนสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเขาเป็นหัวหน้ากรรมการการค้า, รัฐมนตรีปิตุภูมิ, และรัฐมนตรียุติธรรม ระหว่างสงคราม เขายังคงดำรงตำแหน่งรัฐมนตรียุติธรรม จนกระทั่งความพ่ายแพ้ของอังกฤษในการทัพกัลลิโพลี ทำให้เขาต้องออกจากคณะรัฐบาลและไปประจำการราชการทหารอยู่ที่แนวหน้าภาคตะวันตกในตำแหน่งผู้บัญชาการกองพันลูกเสือที่ 6 จนกระทั่งเขาได้กลับคืนคณะรัฐบาลในตำแหน่งรัฐมนตรียุทธภัณฑ์ รัฐมนตรีว่าการสงคราม และ รัฐมนตรีน่านฟ้า และในปี 1921-1922 เป็นรัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และต่อมาในปี 1924-1929 เป็นรัฐมนตรีคลังหลวง โดยเขาได้กำหนดให้สกุลเงินปอนด์กลับไปอิงค่าทองคำเหมือนกับยุคก่อนสงคราม ซึ่งทำให้เกิดภาวะเงินฝืดแพร่ไปทั้งเศรษฐกิจของสหราชอาณาจักร ภายหลังห่างหายจากงานการเมืองไปในทศวรรษที่ 1930 วินสตันก็ได้กลับมาทำงานการเมืองอีกครั้งเมื่อนาซีเยอรมนีเริ่มที่จะสั่งสมกำลังทหารและดูจะเป็นภัยคุกคามต่ออังกฤษ และแล้วการอุบัติขึ้นอย่างฉับพลันของสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ทำให้เขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรียุติธรรมอีกครั้ง และภายหลังการลาออกของนายกรัฐมนตรี เนวิล เชมเบอร์ลิน ในวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 วินสตันก็กลายเป็นนายกรัฐมนตรี คำประกาศหนักแน่นของเขาที่จะไม่เป็นผู้ยอมแพ้ได้ช่วยกระตุ้นให้ชาวอังกฤษหันมาต่อต้านนาซีเยอรมนี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงต้นสงครามซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยากเย็นเมื่อสหราชอาณาจักรและอาณานิคมอังกฤษเป็นเพียงฝ่ายเดียวที่ลุกขึ้นอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ วินสตันได้กล่าวสุนทรพจน์ของเขาผ่านวิทยุกระจายเสียงปลุกขวัญกำลังใจชาวอังกฤษ เขาเป็นผู้นำของอังกฤษไปจนกระทั่งสามารถมีชัยเหนือนาซีเยอรมนีได้ แต่ทว่าการได้รับชัยชนะมาต้องแลกกับการสูญเสียการเป็นอภิมหาอำนาจของโลกให้กับสหรัฐอเมริกาไป เหล่าประเทศอาณานิคมที่ยึดครองได้แก่ อินเดีย มาเลเซีย พม่า เป็นต้นต่างก็ได้เรียกร้องเอกราชจนจำใจต้องยอมเป็นเหตุทำให้จักรวรรดิอังกฤษล่มสลายและกลายเป็นเครือจักรภพแห่งชาติแทน ภายหลังพรรคอนุรักษนิยมพ่ายการเลือกตั้งในปี 1945 เขาก็ทำหน้าที่เป็นผู้นำฝ่ายค้านต่อรัฐบาลพรรคแรงงาน เขาได้ออกมาเตือนอย่างเปิดเผยถึงอิทธิพลของโซเวียตในยุโรปผ่านมาตรการ "ม่านเหล็ก" และยังส่งเสริมความเป็นหนึ่งเดียวของยุโรป ภายหลังชนะเลือกตั้งในปี 1951 วินสตันก็กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งครั้งที่สองนี้ รัฐบาลของเขาเต็มไปด้วยข้อราชการต่างประเทศ ทั้งวิกฤตการณ์มาลายา, กบฎมาอูมาอูในเคนยา, สงครามเกาหลี ตลอดจนสนับสนุนการรัฐประหารในอิหร่าน ในปี 1953 เขาเริ่มเจ็บป่วยจากภาวะขาดเลือดในสมอง และลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 1955 แต่เขายังคงเป็นสมาชิกสภาสามัญชนไปจนถึงปี 1964 วินสตันถึงแก่อสัญกรรมด้วยวัย 90 ปีในปี 1965 โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานรัฐพิธีศพให้เป็นเกียรติ เขายังคงได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มคนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติอังกฤษ ชื่อของเขาอยู่ในลำดับที่ 1 ของทำเนียบชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาลจากการจัดอันดับในปี 2002.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและวินสตัน เชอร์ชิล · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมฟุตบอลอังกฤษ

สมาคมฟุตบอล (The Football Association) หรือ เอฟเอ เป็นสมาคมฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดในโลกโดยก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1863 ในปัจจุบันมีเจ้าชายวิลเลียมทรงเป็นประธาน และอยู่ภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 มีทีมชาติอังกฤษ อยู่ในสังกัด และมีรายการฟุตบอลสำคัญ เช่น พรีเมียร์ลีก ฟุตบอลลีก เอฟเอคัพ โดยผู้ร่วมก่อตั้งบางส่วน ซึ่งสนับสนุนให้ใช้มือเล่น ได้แยกออกไปตั้งสมาคมรักบี้อังกฤษ ในเวลาต่อมา เนื่องจากขัดแย้งกับผู้ร่วมก่อตั้งที่ให้ใช้เท้าเล่น หมวดหมู่:ฟุตบอลในประเทศอังกฤษ หมวดหมู่:สมาชิกยูฟ่า.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมาคมฟุตบอลอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง (queen mother สำหรับพระราชินี และ empress mother สำหรับพระจักรพรรดินี) คือ พระมเหสีม่ายของพระมหากษัตริย์รัชกาลก่อน และเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบัน คำนี้เกิดขึ้นในภาษาอังกฤษเมื่อราว..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย (โรมาเนีย: Mihai I al României, Michael I al României) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโรมาเนียระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชินีแอนน์แห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงแอนน์ แอนโตแนต ฟรองซัวส์ ชาร์ล็อตต์ ซีต้า มาร์เกอริต แห่งบูร์บง-ปาร์มา (18 กันยายน พ.ศ. 2466 - 1 สิงหาคม พ.ศ. 2559) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย อดีตพระมหากษัตริย์แห่งโรมาเนีย พระองค์เป็นพระนัดดาใน เจ้าชายวัลเดมาร์แห่งเดนมาร์ก เป็นพระราชปนัดดาใน พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก ผ่านทางสายพระราชมาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอึนตอมบี พระราชชนนี

มเด็จพระราชินีอึนตอมบี พระราชชนนี หรือพระนามาภิไธยเดิมว่า อึนตอมบี ตวาลา (Ntfombi Tfwala; ราว พ.ศ. 2493) เป็นพระราชชนนีหรือตามธรรมเนียมสวาซีจะเรียกว่า นางพญาช้าง (Ndlovukati) ในสมเด็จพระราชาธิบดีอึมสวาตีที่ 3 แห่งเอสวาตินี เป็นผู้ปกครองร่วมของเอสวาตินีมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีอึนตอมบี พระราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี

มเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี (Queen Elizabeth, The Queen Mother), เอลิซาเบธ แองเจลา มาร์เกอริต โบวส์-ลีออน (Elizabeth Angela Marguerite Bowes-Lyon; 4 สิงหาคม พ.ศ. 2443 - 30 มีนาคม พ.ศ. 2545) เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร ตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI of the United Kingdom; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1895 — 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ และเครือจักรภพอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐอินเดียตะวันตก

หพันธรัฐอินเดียตะวันตก หรือ สหพันธรัฐเวสต์อินดีส (West Indies Federation) เป็นสหพันธรัฐที่เกิดจากการรวมกลุ่มกันของอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในแถบแคริบเบียน ตั้งแต่ 3 มกราคม พ.ศ. 2501 ถึง 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งคือเพื่อสร้างกลุ่มการเมืองที่มีรูปแบบการปกครองแบบสหพันธรัฐเมื่อได้รับเอกราชสมบูรณ์จากสหราชอาณาจักร ดังเช่นรูปแบบการเมืองการปกครองของประเทศแคนาดาและเครือรัฐออสเตรเลีย อย่างไรก็ตาม สหพันธรัฐดังกล่าวนี้กลับต้องยุบตัวลงเพราะความขัดแย้งทางการเมืองภายใน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสหพันธรัฐอินเดียตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐไนจีเรีย

หพันธรัฐไนจีเรีย (Federation of Nigeria หรือ "ไนจีเรีย" คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย. ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1960 จนถึง 1 ตุลาคม ค.ศ. 1963 ปกครองภายใต้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นพระประมุข. ภายหลังจากที่สิ้นสุดการปกครองของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1960, พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกาศอิสรภาพไนจีเรีย ค.ศ. 1960 ก็มีผลบังคับใช้ ทำให้ดินแดนอาณานิคมที่มีสถานะเป็นอาณาจักรในเครือจักรภพ. ซึ่งเป็นรัฐเอกราชที่มี พระมหากษัตริย์ (สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2) เป็นประมุขแห่งรัฐเป็นไปตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701. และมี ข้าหลวงต่างพระองค์. เป็นผู้สำเร็จราชการแทน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสหพันธรัฐไนจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพแอฟริกาใต้

Union of South Africa Red Ensign (1912–1928) Union of South Africa Blue Ensign (1912–1928) สหภาพแอฟริกาใต้ คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ในยุคของการถือผิว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสหภาพแอฟริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1947

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1947 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1977

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1977 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 2013

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 2013 · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันภาพยนตร์อังกฤษ

ันภาพยนตร์อังกฤษ (The British Film Institute (BFI); คำย่อ: บีเอฟไอ) เป็นองค์กรการกุศลและภาพยนตร์ ตามกฎหมายของสหราชอาณาจักร ทำหน้าที่ส่งเสริมและรักษาผลงานภาพยนตร์และโทรทัศน์ของสหราชอาณาจักร  ก่อตั้งขึ้นโดยได้รับพระบรมราชานุญาต (Royal Charter) .

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสถาบันภาพยนตร์อังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สตีเฟน ฮาร์เปอร์

ตีเฟน โจเซฟ ฮาร์เปอร์ (Stephen Joseph Harper) เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2502 เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีแห่งแคนาดาคนที่ 22 และอดีตหัวหน้าพรรคอนุรักษนิยมแห่งแคนาดา เขานำพรรคอนุรักษนิยมชนะการเลือกตั้งในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสตีเฟน ฮาร์เปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สตีเวน เจอร์ราร์ด

ตีเวน จอร์จ เจอร์ราร์ด เอ็มบีอี (Steven George Gerrard; เกิดวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1980) เป็นอดีตนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวอังกฤษ ปัจจุบันเป็นผู้จัดการทีมเรนเจอส์ สโมสรฟุตบอลในสกอตติชพรีเมียร์ชิป เจอร์ราร์ดอยู่กับสโมสรลิเวอร์พูล 17 ฤดูกาล ประเดิมสนามนัดแรกให้กับลิเวอร์พูลในปี 1998 และได้โอกาสเล่นทีมชุดใหญ่ของลิเวอร์พูลอย่างเต็มตัวในปี 2000 ก่อนจะได้รับแต่งตั้งให้เป็นกัปตันทีมสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลแทน ซามี ฮูเปีย แต่งตั้งโดย เฌราร์ อูลีเย ผู้จัดการทีมชาวฝรั่งเศส ในปี 2003 เจอร์ราร์ดใส่เสื้อหมายเลข 8 เจอร์ราร์ดได้รับการอวยยศเป็นสมาชิกแห่งจักรวรรดิบริเตน โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 2007.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสตีเวน เจอร์ราร์ด · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์

นามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์ (City of Manchester Stadium) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ สนามกีฬาอัลติฮัด (Etihad Stadium) ด้วยเหตุผลตามชื่อผู้สนับสนุน หรือในบางครั้งอาจเรียกว่า คอมส์ (CoMS) หรือ อีสต์แลนส์ (Eastlands) เป็นสนามกีฬาในเมืองแมนเชสเตอร์ เป็นสนามกีฬาเหย้าของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี เป็นสนามกีฬาใหญ่เป็นอันดับ 5 ของทีมพรีเมียร์ลีก และใหญ่เป็นอันดับ 12 ในสหราชอาณาจักร มีจำนวนที่นั่ง 47,805 ที่ เดิมทีสนามกีฬามีวัตถุประสงค์สำหรับเป็นสนามแข่งกีฬาหลักในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2000 ที่สหราชอาณาจักรพลาดการประมูลไป จนได้ชนะการประมูลในการแข่งขันกีฬาเครือจักรภพ 2002 หลังจบการแข่งขันได้ลดความจุสนามจาก 80,000 คน ไปเป็น 50,000 คน สนามแห่งนี้ก่อสร้างโดยเลียงคอนสตรักชัน ด้วยงบประมาณ 112 ล้านปอนด์ โดยออกแบบโดยอารัปสปอร์ต เพื่อแน่ใจว่าจะไม่ใช่โครงการที่เสี่ยง แมนเชสเตอร์ซิตีจึงตัดสินใจรับสนามกีฬาแห่งนี้แทนที่สนามกีฬาเก่า เมนโรด ทันทีที่การแข่งขันจบลง ก็ได้มีการเพิ่มที่นั่งลดหลั่นเจาะลงไปในลู่วิ่งเดิม การปรับปรุงนี้ทางสภาเทศบาลเมืองแมนเชสเตอร์จ่ายไป 22 ล้านปอนด์ และแมนเชสเตอร์ซิตีจ่ายเพิ่มอีก 20 ล้านปอนด์ และเพิ่มที่จำหน่ายเครื่องดื่ม ร้านอาหาร และพื้นที่สันทนาการอื่น สโมสรย้ายเข้ามาใช้สนามแห่งใหม่ระหว่างช่วงฤดูร้อน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเตด (Manchester United Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลที่มีชื่อเสียงของอังกฤษ มีสนามเหย้าคือโอลด์แทรฟฟอร์ดในเมืองแมนเชสเตอร์ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นสโมสรที่ประสบความสำเร็จสูงสโมสรหนึ่ง โดยชนะเลิศแชมป์ลีก 20 ครั้ง (เอฟเอ พรีเมียร์ลีก/ดิวิชัน 1) ชนะเอฟเอคัพ 12 ครั้ง ฟุตบอลลีกคัพ 5 ครั้ง ชนะยูโรเปียนคัพ/ยูฟ่า แชมเปียนส์ลีก 3 ครั้ง ชนะเอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ 21 ครั้ง และชนะยูฟ่า คัพ วินเนอร์สคัพ อินเตอร์เนชันแนลคัพ ยูโรเปียนซูเปอร์คัพ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก และ ยูฟ่ายูโรปาลีก อย่างละ 1 ครั้ง แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นสโมสรกีฬาที่ได้รับความนิยม โดยแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดมีสถิติผู้เข้าชมในสนามมากที่สุดในฟุตบอลอังกฤษตลอด 34 ฤดูกาล ยกเว้นในฤดูกาล 1987–89 ที่มีการปรับปรุงสนามโอลด์แทรฟฟอร์ด แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นสโมสรหนึ่งในกลุ่มจี-14 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 สโมสรปรับปรุงรูปแบบดำเนินกิจการเป็นบริษัทมหาชน อย่างไรก็ตาม ต่อมานักธุรกิจชาวอเมริกัน มัลคอล์ม เกลเซอร์ เข้าครอบครองแบบไม่เป็นมิตร เป็นผลสำเร็จ และนำสโมสรออกจากตลาดหลักทรัพย์ลอนดอน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

สเตอร์ลิง

ตอร์ลิง (ภาษาอังกฤษ: Stirling; ภาษาเคลลิคสกอตแลนด์: Sruighlea; ภาษาสกอตแลนด์: Stirlin) เป็นบะระห์โบราณ ที่ตั้งอยู่ในแขวงการปกครองสเตอร์ลิงและปริมณฑลในมณฑลผู้บริหารแทนพระองค์สเตอร์ลิงและฟอล์คเคิร์คในสกอตแลนด์ ตัวสเตอร์ลิงตั้งอยู่รอบปราสาทสเตอร์ลิงและเมืองโบราณจากยุคกลาง จากการสำรวจสำมโนประขากรใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและสเตอร์ลิง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด

หมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด เป็นดินแดนอาณานิคมของสหราชอาณาจักรในทะเลแคริบเบียนระหว่าง พ.ศ. 2376 ถึง พ.ศ. 2503 ซึ่งประกอบด้วยดินแดนต่างๆ ได้แก่ แอนติกา บาร์บูดา หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน มอนเซอร์รัต เซนต์คิตส์ เนวิส แองกวิลลา และดอมินีกา เฉพาะดอมินีกานั้นเป็นดินแดนของหมู่เกาะแห่งนี้จนถึง พ.ศ. 2483.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด

หมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด (British Windward Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในภูมิภาคแคริบเบียนระหว่าง ค.ศ. 1833 - ค.ศ. 1960 ประกอบด้วยเกาะเกรเนดา เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์ เกรนาดีนส์ บาร์เบโดส (ต่อมาเป็นที่ตั้งที่ว่าการอาณานิคมในปี ค.ศ. 1885 เมื่อแยกการปกครองออกมาเป็นอาณานิคมเอกเทศ) โตเบโก (ภายหลังรวมเข้ากับตรินิแดดในปี ค.ศ. 1889) และดอมินีกา (โอนการปกครองมาจากหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ดในปี ค.ศ. 1940) ชื่ออย่างเป็นทางการของอาณานิคมตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน

หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หรือ หมู่เกาะเวอร์จินของอังกฤษ (British Virgin Islands) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่กว่า 50 เกาะ มีที่ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางตะวันออกของประเทศจาเมกา เดิมนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิดัตช์ (Dutch Empire) ภายหลังอังกฤษเข้ามาครอบครอง เมื่อ พ.ศ. 2215 ผู้ตั้งชื่อหมู่เกาะนี้คือ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส โดยตั้งชื่อนามนักบุญ Ursula ซึ่งตามตำนานกล่าวว่าท่านมีสาวกเป็นหญิงสาวพรหมจารีถึง 11,000 คน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะฟอล์กแลนด์

หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ (Falkland Islands) หรือ หมู่เกาะมัลบีนัส (Islas Malvinas) เป็นกลุ่มเกาะตั้งอยู่ในหมู่เกาะแอตแลนติกใต้บนไหล่ทวีปปาตาโกเนีย หมู่เกาะหลักอยู่ห่างจากชายฝั่งปาตาโกเนียที่ละติจูดราว 52° ใต้ ไปทางตะวันออกราว 500 กิโลเมตร กลุ่มเกาะมีพื้นที่ 12,173 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยเกาะฟอล์กแลนด์ตะวันออก ฟอล์กแลนด์ตะวันตก และเกาะที่เล็กกว่าอื่นอีก 776 เกาะ หมู่เกาะดังกล่าวเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร มีระดับการปกครองตนเองภายในสูง โดยมีสหราชอาณาจักรรับประกันรัฐบาลที่ดีและรับผิดชอบด้านการป้องกันภัยและการต่างประเทศ เมืองหลวง คือ สแตนลีย์บนเกาะฟอล์กแลนด์ตะวันออก มีการถกเถียงว่าด้วยการค้นพบหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ครั้งแรกและการล่าอาณานิคมโดยชาวยุโรปในกาลต่อมา หลายช่วง หมู่เกาะมีนิคมฝรั่งเศส อังกฤษ สเปนและอาร์เจนตินา อังกฤษสถาปนาการปกครองอีกครั้งใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะพิตแคร์น

หมู่เกาะพิตแคร์น (Pitcairn Islands; พิตแคร์น: Pitkern Ailen) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า พิตแคร์น (Pitcairn) เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร อยู่ในเขตมหาสมุทรแปซิฟิก ประกอบไปด้วยกลุ่มเกาะ 4 กลุ่ม คือ เกาะพิตแคร์น เกาะแฮนเดอร์สัน เกาะดูซี และเกาะโอเอโน เกาะเหล่านี้ล้วนเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรทั้งสิ้น ซึ่งเขตนี้เป็นอาณานิคมสุดท้ายที่ยังหลงเหลืออยู่ของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะพิตแคร์น · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะคุก

หมู่เกาะคุก เป็นเขตปกครองตนเองของนิวซีแลนด์ ประกอบไปด้วยเกาะเล็ก ๆ 15 เกาะ ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มีพื้นที่ทั้งหมด 240 ตาราง กิโลเมตร รายได้สำคัญของหมู่เกาะคุกมาจากการท่องเที่ยว ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมอันดับหนึ่งของประเทศ เนื่องด้วยความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งยังมีการส่งผลไม้ขายออกนอกประเทศอีกด้วย หมวดหมู่:ประเทศนิวซีแลนด์ หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:ประเทศที่เป็นเกาะ หมวดหมู่:ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของอังกฤษ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2508 หมวดหมู่:พอลินีเซีย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะคุก · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโคโคส (คีลิง)

หมู่เกาะโคโคส (คีลิง) (Cocos (Keeling) Islands) เป็นดินแดนภายใต้การปกครองของออสเตรเลีย ประกอบไปด้วยอะทอลล์ 2 อะทอลล์ และ 27 เกาะปะการัง ดินแดนนี้ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย อยู่ระหว่างครึ่งทางจากประเทศออสเตรเลียกับประเทศศรีลังกา ที่ 12°07′S 96°54′E.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะโคโคส (คีลิง) · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโซโลมอน

หมู่เกาะโซโลมอน (Solomon Islands) เป็นประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางตะวันออกของประเทศปาปัวนิวกินี และเป็นส่วนหนึ่งของเครือจักรภพ ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ กว่า 990 เกาะ ซึ่งมีพื้นที่รวมกัน 28,000 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะโซโลมอน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเคย์แมน

หมู่เกาะเคย์แมน (Cayman Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรซึ่งตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนฝั่งตะวันตก ประกอบด้วยเกาะแกรนด์เคย์แมน (Grand Cayman) เกาะเคย์แมนแบร็ก (Cayman Brac) และเกาะลิตเทิลเคย์แมน (Little Cayman) ดินแดนแห่งนี้ถือเป็นศูนย์กลางทางการเงินในภูมิภาคแคริบเบียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะเคย์แมน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส (Turks and Caicos Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรประกอบไปด้วยหมู่เกาะย่อยในเขตร้อน 2 หมู่เกาะ ได้แก่ หมู่เกาะเคคอสและหมู่เกาะเติกส์ อาณานิคมนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน และมีชื่อเสียงในด้านสถานที่ท่องเที่ยวและเป็นแหล่งหลบเลี่ยงภาษีของบริษัทต่างชาติ หมู่เกาะนี้อยู่ห่างจากเมืองไมแอมี รัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกาไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 970 กม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหมู่เกาะเติกส์และเคคอส · ดูเพิ่มเติม »

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า หอประชุมจุฬาฯ เป็นหอประชุมใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเป็นมาคู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เกิดขึ้นที่อาคารแห่งนี้หลายเหตุการณ์ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอประชุมจุฬาฯ เป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิทัศน์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เกิดการปรับภูมิทัศน์โดยรอบ เช่น การขุดสระน้ำด้านหน้าประตูใหญ่ ตัดถนนรอบสนามรักบี้และสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2545 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ได้มอบรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่นให้แก่หอประชุมจุฬาฯ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีพระราชทานแก่นิสิตที่หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นแห่งแรกก่อนที่กิจกรรมนี้จะมีขึ้นในอีกหลายมหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา เป็นที่มาของวันทรงดนตรี หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสัญลักษณ์ที่โดดเด่นคู่มหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ก่อสร้างแล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2482 นิสิตและบุคลากรของจุฬาฯ ล้วนผูกพันและมีโอกาส ได้เข้าร่วมพิธีกรรมและกิจกรรมอันหลากหลายที่อาคารหลังนี้ นับตั้งแต่กิจกรรมแรกของการเป็นนิสิต คือพิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่ พิธีปฐมนิเทศนิสิตหอพักของหอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีไหว้ครู เปิดเทศกาลงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ จนกระทั่งเมื่อสำเร็จการศึกษา อาคารหลังนี้ก็เป็นสถานที่ประกอบพิธีพระราชทานปริญญาบัตร นอกจากนี้ยังใช้เป็นที่จัดกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมในวาระสำคัญต่าง ๆ ทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและระดับชาต.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

หินแห่งสโคน

แบบจำลองหินแห่งสโคน หินแห่งสโคน (Stone of Scone Stane o Scone) หรือเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า หินแห่งชะตา (Stone of Destiny) และมักเรียกกันในประเทศอังกฤษว่า "หินราชาภิเษก" ซึ่งเป็นหินทรายสีแดงทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งใช้ในพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์แห่งสก็อตแลนด์มาเป็นเวลานับร้อยๆปี และในภายหลังรวมถึงพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษ บริเตนใหญ่ และสหราชอาณาจักรด้วย ตามประวัติศาสตร์แล้ว หินแห่งสโคนถูกเก็บรักษาไว้ที่แอบบีย์สโคน (Scone Abbey) ในเมืองสโคน ใกล้ๆกับเมืองเพิร์ธ ในประเทศสก็อตแลนด์ หินแห่งสโคนมีขนาดประมาณ x x และมีน้ำหนักประมาณ ด้านบนของหินจะมีห่วงเหล็กซึ่งใช้สำหรับการเคลื่อนย้ายได้สะดวก ซึ่งหินแห่งสโคนได้ถูกใช้งานครั้งล่าสุดในปีค.ศ. 1953 ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและหินแห่งสโคน · ดูเพิ่มเติม »

ออลเดอร์นีย์

ออลเดอร์นีย์ (Alderney) เป็นเกาะในเขตเกิร์นซีย์ ในหมู่เกาะแชนแนล ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบอังกฤษ ห่างจากฝรั่งเศส 32 กิโลเมตร มีประชากร 2,400 คน หมู่เกาะนี้ได้รับการกล่าวว่าเป็นสวรรค์ของผู้หนีภาษี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและออลเดอร์นีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ออทัมน์ ฟิลลิปส์

ออทัมน์ แพทริเซีย ฟิลลิปส์ (Autumn Patricia Phillips) (สกุลเดิม เคลลี, 3 พฤษภาคม 1978) เป็นชายาในปีเตอร์ ฟิลลิปส์ โอรสในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีกับมาร์ก ฟิลลิปส์ พระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรกับเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ หลังจากจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยแม็คกิล ในปี 2002 ออทัมน์ได้พบกับปีเตอร์ ฟิลลิปส์ที่บ้านของเธอที่มอนทรีออล ควิเบก พิธีหมั้นของพวกเขาถูกประกาศในเดือนกรกฎาคม 2007 และพวกเขาก็สมรสกันในโบสถ์เซนต์จอร์จที่พระราชวังวินด์เซอร์ ในวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 2008 พวกเขามีลูกสาวสองคนชื่อซาวันนาห์ ฟิลลิปส์และอิสลาห์ ฟิลลิปส์ ปัจจุบันครอบครัวที่อาศัยอยู่ในลอนดอน หมวดหมู่:ชาวแคนาดา หมวดหมู่:บุคคลฝาแฝด.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและออทัมน์ ฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรด ฮิตช์ค็อก

อัลเฟร็ด ฮิตช์ค็อก (Alfred Hitchcock; 13 สิงหาคม 1899 — 29 เมษายน 1980) ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียงมากในแนวระทึกขวัญหรือ ทริลเลอร์ ฮิตช์ค็อกได้เริ่มต้นกำกับภาพยนตร์ในอังกฤษ ก่อนที่จะไปกำกับที่อเมริกาในปี 1939 ฮิตช์ค็อกถือเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ที่เป็นตำนานบนแผ่นฟิล์มของฮอลลีวู้ดและของโลก ในด้านการทำภาพยนตร์แนวทริลเลอร์ และผู้กำกับภาพยนตร์รุ่นหลัง ๆ ต่อมา ก็มีหลายคน ที่ยกย่องฮิตช์ค็อกซ์ และเอาสไตล์ของฮิตช์ค็อกเป็นต้นแบบในการทำหนัง ถึงแม้ภายในช่วงชีวิตของฮิตช์ค็อกเมื่ออยู่ในอเมริกานั้นเขาจะโด่งดังและมีชื่อเสียงมาก แต่กลับไม่ได้รับคำวิจารณ์ที่ดีนักจากนักวิจารณ์ในสมัยนั้น ภาพยนตร์ของเขาส่วนใหญ่ที่สร้างขึ้น จะเน้นทางด้านความแฟนตาซี และความหวาดกลัวของมนุษย์ในรูปแบบต่าง ๆ และชอบใช้เหตุการณ์ที่มีตัวละครที่ไม่รู้ประสีประสา ให้ตกอยู่ในสถานการณ์ที่อยู่เหนือการควบคุมของตัวละครนั้น ๆ ซึ่งนักวิจารณ์หลายคนกล่าวว่า ฮิตช์ค็อกนั้นไม่ได้กำกับภาพยนตร์แต่กำกับอารมณ์ของคนดูมากกว่า และตัวฮิตช์ค็อกเองก็เคยกล่าวว่า เขาสนุกกับการได้เล่นกับความรู้สึกของคนดู ฮิตช์ค็อกเปิดเผยว่า เมื่อตอนอายุได้ 5 ขวบ เขาจำได้ว่าเคยถูกพ่อส่งตัวไปให้ตำรวจจับเข้าคุกเป็นเวลา 10 นาที เป็นการลงโทษเนื่องจากความซุกซน นั่นทำให้เขาหวาดกลัวมาก และเป็นอิทธิพลส่งผลให้ผลงานภาพยนตร์แต่ละเรื่องของเขา เจ้าหน้าที่ตำรวจหรือนักสืบผู้เชี่ยวชาญจะไม่ใช่ตัวละครสำคัญหรือเป็นเงื่อนไขในการคลี่คลายปมลับเลย ซ้ำในบางเรื่องยังทำให้สถานการณ์เลวร้ายลงกว่าเดิมหรือยุ่งยากยิ่งขึ้นไปอีก นอกจากนี้แล้ว อัลเฟร็ด ฮิตช์ค็อก ยังมีรูปแบบการมีส่วนร่วมในภาพยนตร์ของตัวเองที่ไม่เหมือนใคร ไม่เพียงแต่กำกับเท่านั้น เขายังมักปรากฏตัวในหนังแต่ละเรื่องด้วย โดย การเดินผ่านไปมาหน้ากล้อง หรือโผล่มาเป็นตัวประกอบในฉากต่าง ๆ ซึ่งทางภาษาภาพยนตร์เรียกว่า cameo.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอัลเฟรด ฮิตช์ค็อก · ดูเพิ่มเติม »

อัสเซนชัน

อัสเซนชัน (Ascension) เป็นเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติก และเป็นดินแดนของสหราชอาณาจักร อัสเซนชันเป็นส่วนหนึ่งของเซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา มีพื้นที่ 88 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 880 คน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอัสเซนชัน · ดูเพิ่มเติม »

อัครศาสนูปถัมภก

อัครศาสนูปถัมภก (Upholder of religions) หมายถึง พระมหากษัตริย์ผู้ทะนุบำรุงศาสนาต่าง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอัครศาสนูปถัมภก · ดูเพิ่มเติม »

อันดับความร่ำรวยของประมุขทั่วโลก ปี 2007

อันดับการถือครองทรัพย์สินทั้งทรัพย์สินส่วนตัว และทรัพย์สินประจำตำแหน่งในนามประมุขของประเทศได้แก่ตำแหน่งพระมหากษัตริย์ หรือประธานาธิบดี รวมทั้งมูลค่าทรัพย์สินรวมขององค์กรทางธุรกิจที่อยู่ในนามของประมุขเหล่านั้น ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอันดับความร่ำรวยของประมุขทั่วโลก ปี 2007 · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมสิงคโปร์

อาณานิคมสิงคโปร์ หมายถึง ประวัติศาสตร์สิงคโปร์หลังปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอาณานิคมสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมเอเดน

อาณานิคมเอเดน (Colony of Aden مستعمرة عدن) เป็นดินแดนอาณานิคมของสหราชอาณาจักร ตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอาณานิคมเอเดน · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมเคนยา

อาณานิคม และ รัฐในอารักขาเคนยา เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษ ในแอฟริกาตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอาณานิคมเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

อาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิช

อาเล็กซานดาร์ คาราจอร์เจวิช ทรงเป็นที่รู้จักในนาม เจ้าฟ้าชายอาเล็กซานดาร์ มกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวีย (Александар Карађорђевић, Aleksandar Karađorđević, พระราชสมภพ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2488) ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์เซอร์เบีย เมื่อครั้งพระราชสมภพพระราชบิดาของพระองค์คือพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ทรงทำให้พระองค์เป็นมกุฎราชกุมารแห่งยูโกสลาเวียซึ่งเป็นพระองค์สุดท้าย ด้วยการสร้างรัฐบาลคอมมิวนิสต์และการตามมาซึ่งการล่มสลายแห่งยูโกสลาเวีย ทำให้ปัจจุบันทรงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์เซอร์เบีย โดยมีพระราชอิสริยยศเป็น เจ้าฟ้าชายอเล็กซานเดอร์ที่ 2 มกุฎราชกุมารแห่งเซอร์เบีย แต่ปัจจุบันเป็นสาธารณรัฐเซอร์เบีย เจ้าชายอเล็กซานเดอร์เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย พระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งยูโกสลาเวีย ราชวงศ์คาราจอร์เจวิช กับอเล็กซานดราแห่งกรีซ สมเด็จพระราชินีแห่งยูโกสลาเวีย พระองค์มีพระราชอิสริยยศเป็น "มกุฎราชกุมารอเล็กซานเดอร์" ซึ่งได้มาตั้งแต่พระราชสมภพและพระราชบิดายังคงเป็นพระมหากษัตริย์อยู่ ซึ่งเป็นการแตกแยกในเซอร์เบียด้วยผู้คนจำนวนมากที่สนับสนุนระบอบกษัตริย์อันส่งผลต่อกับความมั่นคงของประเท.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอาเลกซานดาร์ คาราจอร์เจวิช · ดูเพิ่มเติม »

อิสลาห์ ฟิลลิปส์

อิสลาห์ เอลิซาเบธ ฟิลลิปส์ (Isla Elizabeth Phillips) เป็นพระนัดดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี และเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 อิสลาห์เป็นธิดาของปีเตอร์ ฟิลลิปส์กับออทูมน์ ฟิลลิปส์ บิดาของอิสลาห์เป็นโอรสในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีกับมาร์ก ฟิลลิปส์ อิสลาห์เป็นพระราชปนัดดาคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 อิสลาห์มีพี่สาวอีกคนหนึ่งชื่อว่า ซาวันนาห์ ฟิลลิปส์ หมวดหมู่:ราชวงศ์วินด์เซอร์ หมวดหมู่:สมาชิกของราชวงศ์ที่ยังทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอิสลาห์ ฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

อินเพลนตีแอนด์อินไทม์ออฟนีด

อินเพลนตีแอนด์อินไทม์ออฟนีด เป็นชื่อเพลงชาติของบาร์เบโดส ประพันธ์คำร้องโดย Irving Burgie เรียบเรียงเสียงประสานโดย C. Van Roland Edwards (ค.ศ. 1912 – 1985) ทำนองมีความคล้ายคลึงกับเพลงชาติของสหพันธรัฐเวสต์อิน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอินเพลนตีแอนด์อินไทม์ออฟนีด · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติควีนเอลิซาเบธ

ทะเลสาบในอุทยานแห่งชาติควีนเอลิซาเบธ อุทยานแห่งชาติควีนเอลิซาเบธ (Queen Elizabeth National Park; ชื่อย่อ: QENP) เป็นอุทยานแห่งชาติในประเทศยูกันดา ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศ มีพื้นที่เกือบ 2,000 ตารางกิโลเมตร สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2497 โดยตั้งชื่อตามพระนามของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นอีกแห่งหนึ่งที่มีความหลากหลายของสัตว์ป่าจำนวนมาก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอุทยานแห่งชาติควีนเอลิซาเบธ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานโอลิมปิกลอนดอน

อุทยานโอลิมปิกลอนดอน (London Olympic Park) เป็นศูนย์กีฬาและสวนสาธารณะซึ่งจัดสร้างขึ้น สำหรับกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 และการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูร้อน 2012 ตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันออกของลอนดอน ประเทศอังกฤษ ติดกับพื้นที่ขยายของย่านสแตรตเฟิร์ด (Stratford) ภายในมีหมู่บ้านนักกีฬาโอลิมปิก และสนามกีฬานานาชนิด รวมทั้งสนามกีฬาโอลิมปิกและศูนย์กีฬาทางน้ำ หลังจากโอลิมปิกผ่านไป อุทยานแห่งนี้จะเปลี่ยนชื่อเป็น “อุทยานโอลิมปิกราชินีเอลิซาเบธ” (Queen Elizabeth Olympic Park) เพื่อเป็นอนุสรณ์ในวโรกาส พระราชพิธีพัชราภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรStaff (7 October 2010).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอุทยานโอลิมปิกลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

อธิบดีศาลสูงสุด

อธิบดีศาลสูงสุดแห่งสหราชอาณาจักร หรืออีกชื่อหนึ่งที่รู้จักคือ อธิบดีศาลสูงสุด เป็นตำแหน่งหลักที่อยู่ใน รัฐบาลสหราชอาณาจักร โดยได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจาก พระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร จากการเสนอชื่อของ นายกรัฐมนตรี โดยตำแหน่งนี้ มีศักดิ์ความสำคัญเป็นรองแค่ ลอร์ดไฮท์สจ๊วด และและดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมแห่งสหราชอาณาจักร ไปพร้อมกันด้วย (โดยตำแหน่งนี้จะไม่มีเงือนประจำตำแหน่งให้ แต่จะได้เงินประจำตำแหน่งในตำแหน่งอธิบดีศาลสูงสุด) โดยในสมัยก่อน ตำแหน่งนี้สงวนไว้สำหรับสมาชิก สภาขุนนาง ซึ่งในตำแหน่งนี้เป็นประมุขของตุลาการในสหราชอาณาจักร โดยรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งนี้คือ เดวิด ลิดลิงตัน โดยได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจาก สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 จากการเสนอชื่อของ นายกรัฐมนตรี เทเรซา เมย์ เมื่อ เดีอนมิถุนายน 2017 สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ ในปี 1937.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอธิบดีศาลสูงสุด · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน

ซอร์ อเล็กซานเดอร์ “อเล็กซ์” แชปแมน เฟอร์กูสัน (Sir Alexander “Alex” Chapman Ferguson) เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) ที่เมืองกลาสโกว์ ประเทศสกอตแลนด์ เคยเป็นผู้จัดการทีมสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ซึ่งปฏิบัติหน้าที่มายาวนานที่สุด และนำทีมชนะเลิศรายการแข่งขันมาก ที่สุด ในประวัติศาสตร์ยุคใหม่ของสโมสร เฟอร์กูสันเข้ารับตำแหน่งผู้จัดการทีมแมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด ต่อจากรอน แอตกินสัน เมื่อ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 (ค.ศ. 1986) และพาทีมชนะเลิศเอฟเอคัพ เมื่อปี พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) เป็นรายการแรก และหลังจากนั้นก็ชนะเลิศอีก 4 สมัย (รวมเป็น 5 สมัย) รวมทั้งการชนะเลิศเอฟเอพรีเมียร์ลีก 13 สมัย และชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2 สมัย โดยเมื่อปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) หลังจากชนะเลิศรายการแชมเปียนส์ลีก (ต่อจากปี พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) ในยุคของเซอร์แมตต์ บัสบี) สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่สอง แห่งสหราชอาณาจักร ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เขาเป็นอัศวินแห่งอังกฤษ นับเป็นชาวสกอตเพียงไม่กี่คน ที่ได้รับเกียรติอย่างสูงเช่นนี้ ต่อมาในวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013) เซอร์อเล็กซ์ประกาศยุติการทำหน้าที่ผู้จัดการทีม หลังจบฤดูกาล 2012-13 โดยนัดสุดท้ายจะเป็นการแข่งขันพรีเมียร์ลีก นัดที่ไปเยือนเวสต์บรอมมิชอัลเบียน ในวันอาทิตย์ที่ 19 พฤษภาคม ปีเดียวกัน หลังจากนั้น เขาจะขึ้นรับตำแหน่งผู้อำนวยการฟุตบอล และเป็นทูตประจำสโมสรเดิมต่อไป.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและอเล็กซ์ เฟอร์กูสัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ดี อมีส

ซอร์ เอ็ดวิน ฮาร์ดี อมีส (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2546) นักออกแบบเสื้อผ้าชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักในนามของนักออกแบบและตัดชุดให้สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและฮาร์ดี อมีส · ดูเพิ่มเติม »

ฮาโรลด์ วิลสัน

มส์ ฮาโรลด์ วิลสัน บารอนวิลสันแห่งรีโว (James Harold Wilson, Baron Wilson of Rievaulx) (11 มีนาคม พ.ศ. 2459 - 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นนักการเมืองพรรคลาเบอร์ชาวอังกฤษ เขาเคยเป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร ในช่วง..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและฮาโรลด์ วิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกงของบริเตน

องกงของบริเตน (British Hong Kong; 英屬香港) หรือเรียกอย่างง่ายว่า ฮ่องกง เป็นช่วงสมัยที่ฮ่องกงอยู่ภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและฮ่องกงของบริเตน · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแคนาดา

ผู้สำเร็จราชการแคนาดา (Governor General of Canada;: Gouverneur général du Canada หรือ: Gouverneure générale du Canada) คืออุปราชแห่งสหพันธ์รัฐแคนาดา ผู้สำเร็จราชการแทนสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์แคนาดาพระองค์ปัจจุบัน ทั้งนี้เนื่องจากแคนาดามีประมุขแห่งรัฐร่วมกับประเทศเครือจักรภพอีก 15 ประเทศ ซึ่งก็คือพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรผู้ทรงมีถิ่นพำนักหลักอยู่ในสหราชอาณาจักร ดังนั้นพระมหากษัตริย์แคนาดาจึงทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนตามคำกราบบังคมทูลของนายกรัฐมนตรีแห่งแคนาดา ขึ้นมารับผิดชอบพระราชกรณียกิจตามรัฐธรรมนูญและพระราชกรณียกิจเชิงพิธีการส่วนมากแทนพระองค์ โดยระยะเวลาการดำรงตำแหน่งไม่ได้จำกัดไว้อย่างชัดเจนหรือเรียกได้ว่าเป็นระยะเวลา ตามแต่พระราชอัธยาศัย (at Her Majesty's pleasure) ซึ่งตามธรรมเนียมที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาแล้ว ผู้ดำรงตำแหน่งมักจะมีวาระอยู่ประมาณ 5 ปี นอกจากนี้ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและผู้สำเร็จราชการแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการเครือรัฐออสเตรเลีย

ผู้สำเร็จราชการเครือรัฐออสเตรเลีย (Governor-General of the Commonwealth of Australia) เป็นผู้สำเร็จราชการในประเทศออสเตรเลียแทนพระมหากษัตริย์ออสเตรเลีย ซึ่งปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 Retrieved 1 January 2015.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและผู้สำเร็จราชการเครือรัฐออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น คีย์

อห์น ฟิลลิป คีย์ (John Phillip Key; 9 สิงหาคม พ.ศ. 2504 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 38 ของนิวซีแลนด์ เขาได้ดำรงตำแหน่งมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจอห์น คีย์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น โฮเวิร์ด

อห์น วินสตัน โฮเวิร์ด (John Winston Howard; 26 มิถุนายน พ.ศ. 2482-) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของออสเตรเลีย โดยดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจอห์น โฮเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เมเจอร์

ซอร์ จอห์น เมเจอร์ (Sir John Major)(29 มีนาคม พ.ศ. 2486 -) นักการเมืองชาวอังกฤษและนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรจากพรรคอนุรักษนิยม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจอห์น เมเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์นนี เดปป์

อห์นนี คริสโตเฟอร์ เดปป์ ที่ 2 (John Christopher Depp II; เกิด 9 มิถุนายน ค.ศ. 1963) เป็นนักแสดงชายชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในบทแจ็ก สแปร์โรว์ในภาพยนตร์ซีรีส์เรื่อง Pirates of the Caribbean, แมด แฮทเทอร์ในภาพยนตร์เรื่อง Alice in Wonderland และวิลลี่ วองก้า ในภาพยนตร์เรื่อง Charlie and the Chocolate Factory นอกจากนั้น เขายังได้เข้าชิงรางวัลออสการ์ถึง 3 ครั้ง และนิตยสารพีเพิลยังคัดเลือกให้เขาเป็น "ผู้ชายที่เซ็กซี่ที่สุดที่ยังมีชีวิตอยู่" ประจำปี 2003 และ 2009 อีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจอห์นนี เดปป์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2532 (63 ปี) ในตอนต้นรัชสมัยของพระองค์ จักรวรรดิญี่ปุ่นในขณะนั้น ได้กลายเป็นชาติมหาอำนาจของโลกแล้ว ด้วยขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก จักรพรรดิฮิโระฮิโตะทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น ในรัชสมัยของพระองค์ ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งทำให้ในห้วงเวลานั้น จักรวรรดิญี่ปุ่นแผ่อำนาจและดินแดนไปทั่วเอเชียบูรพาโดยที่ไม่มีชาติใด ๆ จะสามารถต้านทาน ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงบนความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น พระองค์ไม่ได้ถูกดำเนินคดีในข้อหาอาชญากรสงครามดังเช่นผู้นำคนอื่น ๆ ของชาติฝ่ายอักษะ และภายหลังสงคราม พระองค์ทรงเป็นสัญลักษณ์ของรัฐใหม่ในการกอบกู้ประเทศชาติที่ได้รับความเสียหายจากสงคราม ในตอนปลายรัชกาล ประเทศญี่ปุ่นก็สามารถกลับมายืนหยัดในฐานะชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจักรพรรดิโชวะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

จัสติน ทรูโด

ัสติน พีเอร์ เจมส์ ทรูโด (Justin Pierre James Trudeau, เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2514) เป็นนักการเมืองชาวแคนาดา นายกรัฐมนตรีแคนาดาคนที่ 23 และคนปัจจุบัน ตลอดจนเป็นหัวหน้าพรรคเสรีนิยม เขาเป็นนายกรัฐมนตรีแคนาดาที่อายุน้อยที่สุดเป็นอันดับสองรองจากโจ คลาร์ก (Joe Clark) และบุตรคนโตของอดีตนายกรัฐมนตรี พีเอร์ ทรูโด เป็นบุตรคนแรกของอดีตนายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่ง ทรูโดเกิดในออตตาวาและเข้าศึกษาที่ Collège Jean-de-Brébeuf เขาสำเร็จปริญญาตรีในสาขาวรรณคดีภาษาอังกฤษจากมหาวิทยาลัยแม็กกิลในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจัสติน ทรูโด · ดูเพิ่มเติม »

จุลมงกุฎเจ้าชายชาลส์แห่งเวลส์

ลมงกุฎเจ้าชายชาลส์แห่งเวลส์ (Coronet of Charles, Prince of Wales) เป็นจุลมงกุฎที่เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งเวลส์ และเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งจุลมงกุฎองค์นี้สร้างขึ้นเพื่อใช้ในพระราชพิธีเฉลิมพระอิสริยยศของเจ้าชายชาลส์ เป็นเจ้าชายแห่งเวลส์ในปีค.ศ. 1969 แม้ว่าเป็นทางการแล้วจะถือเป็น “จุลมงกุฎ” แต่ก็มักจะใช้คำว่า มงกุฎ ในการกล่าวถึง “จุลมงกุฎเจ้าชายชาลส์แห่งเวลส์”.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจุลมงกุฎเจ้าชายชาลส์แห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

จูเลีย กิลลาร์ด

ูเลีย ไอลีน กิลลาร์ด (Julia Eileen Gillard) เกิดเมื่อวันที่ 29 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและจูเลีย กิลลาร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี

งชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี ซึ่งเป็นดินแดนอาณานิคมของสหราชอาณาจักร มีลักษณะทำนองเดียวกันกับธงของบรรดาอาณานิคมต่างๆ ของสหราชอาณาจักร ซึ่งใช้ธงบลูเอนไซน์หรือธงเรือรัฐบาลสหราชอาณาจักรเป็นพื้นฐานในการออกแบบ ลักษณะของธงนี้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงเป็นรูปธงชาติสหราชอาณาจักร พื้นธงเป็นลายระลอกคลื่นสีขาวสลับสีฟ้ารวมกับ 12 แถบ แถบสีละ 6 แถบ หมายถึงมหาสมุทรอินเดีย บนพื้นธงทางด้านปลายธงนั้นมีรูปต้นปาล์มอันเป็นพืชเขตร้อนที่ปรากฏในท้องถิ่น ซ้อนทับด้วยมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด (พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพแห่งอังกฤษ) สัญลักษณ์ทั้ง 2 อย่างนี้เป็นสิ่งที่ปรากฏอยู่ในภาพตราแผ่นดินประจำอาณานิคม เฉพาะรูปมงกุฎนั้น เมื่อแรกใช้ธงปรากฏว่ารูปมงกุฎมีเพียงสีเหลืองสีเดียว ต่อมาจึงได้เปลี่ยนรูปมงกุฎสีเหลืองพื้นแดงในปี ค.ศ. 2003 ธงดังกล่าวนี้สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้เริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990 เนื่องในโอกาสครบรอบ 25 ปีแห่งการสถาปนาอาณานิคมแห่งนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและธงชาติบริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติออสเตรเลีย

งชาติออสเตรเลีย มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปธงชาติสหราชอาณาจักร ใต้ธงชาติสหราชอาณาจักรนั้นเป็นรูปดาวเจ็ดแฉกสีขาวดวงหนึ่ง มีชื่อเรียกว่า ดาราสหพันธรัฐ (The Commonwelth Star) ถัดจากรูปดังกล่าวมาทางด้านปลายธงนั้น เป็นรูปดาวเจ็ดแฉก 4 ดวง และดาวห้าแฉกอีก 1 ดวง เรียงกันเป็นรูปกลุ่มดาวกางเขนใต้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและธงชาติออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอัลเดิร์นนีย์

งชาติอัลเดิร์นนีย ธงชาติอัลเดิร์นนีย์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีขาว ภายในมีกางเขนสีแดงสมมาตรปลายจดขอบธงทุกด้าน (ธงเซนต์จอร์จ) กลางธงนั้มีรูปสิงโตสีทองถือกิ่งไม้ขนาดเล็กยืนหันหน้าเข้าเสาธงในกรอบวางกลมสีเขียวขอบสีเหลือง ธงนี้ได้มีพระราชเสาวนีย์จากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ให้ใช้ได้เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและธงชาติอัลเดิร์นนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงพระอิสริยยศ

งพระอิสริยยศ หมายถึง ธงที่ใช้หมายพระอิสริยยศของพระมหากษัตริย์และบรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ตามลำดับชั้นต่างๆ ใช้ในการเสด็จพระราชดำเนินหรือเสด็จในพิธีการต่างๆ อย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและธงพระอิสริยยศ · ดูเพิ่มเติม »

ธงตริสตันดากูนยา

งชาติตริสตันดากูนยา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมบนด้านคันธงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักร ที่ตอนปลายธงมีตราราชการของตริสตันดากูนยา เริ่มใช้เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ตามประกาศของผู้ว่าการแห่งเซนต์เฮเลนาภายใต้พระปรมาภิไธยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 สิ่งสำคัญที่ควรกล่าวถึงก็คือรายละเอียดของตราราชการที่ปรากฏในธงนี้ ตราดังกล่าวเป็นตราโล่ ภายในมีรูปนกอัลบาทรอสสีขาว 2 ตัวบนพื้นครึ่งบนสีฟ้า และนกอย่างเดียวกันอีก 2 ตัวสีฟ้าบนพื้ขาวครึ่งล่าง กลางโล่มีรูปคล้ายสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนแบ่งครึ่งตอนบนเป็นสีขาว ตอนล่างเป็นสีฟ้า เบื้องบนของโล่มีรูปชุดเกราะส่วนศีรษะมีริ้วสะบัดประดับมงกุฎนาวีรูปเรือทริสตัน ซ้ายขวาของโล่ขนาบด้วยรูปกุ้งมังกรข้างละ 1 ตัว ตอนล่างสุดเป็นม้วนแพรแถบสีขาว จารึกคำขวัญประจำดินแดนของตนเองไว้ว่า "Our faith is our strength" แปลว่า "ความศรัทธาคือกำลังแห่งเรา" ธงนี้ออกแบบโดย เกรแฮม บาร์แทรม (Graham Bartram) นักธัชวิทยาชาวสกอต อนึ่ง ก่อนหน้านี้ตริสตันดากูนยาใช้ธงชาติเซนต์เฮเลนาประจำดินแดนของตน เพราะเป็นดินแดนภายใต้การปกครองของเซนต์เฮเลน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและธงตริสตันดากูนยา · ดูเพิ่มเติม »

ทาวเวอร์บริดจ์

วิดีโอทาวเวอร์บริดจ์ ภาพถ่ายทางอากาศ ทาวเวอร์บริดจ์ ทาวเวอร์บริดจ์ในช่วงจัดการแข่งขันโอลิมปิก 2012 ทาวเวอร์บริดจ์ (Tower Bridge) คือ สะพานที่มีรูปแบบของสะพานยกและสะพานแขวนอยู่รวมกัน ตั้งอยู่ใจกลางกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ สร้างขึ้นในระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและทาวเวอร์บริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี

ซอร์ทิม เบอร์เนิร์ส-ลี ผู้คิดค้นและประดิษฐ์เวิลด์ไวด์เว็บ เซอร์ทิโมที จอห์น เบอร์เนิร์ส-ลี (Sir Timothy John Berners-Lee, OM, KBE, FRS, FREng, FRSA) (8 มิถุนายน พ.ศ. 2498) ผู้คิดค้นและประดิษฐ์ เวิลด์ไวด์เว็บ ผู้อำนวยการWorld Wide Web Consortium (ทำหน้าที่ดูแลการพัฒนาต่อเนื่องใหม่ ๆ เกี่ยวกับเว็บ) นักวิจัยอาวุโสและผู้นั่งในตำแหน่ง ทรีคอมฟาวน์เดอร์สแชร์ (3Com Founders Chair) ที่หอทดลองวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์แห่งเอ็มไอที (CSAIL).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและทิม เบอร์เนิร์ส-ลี · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งคอร์นวอลล์

กแห่งคอร์นวอลล์ (Duke of Cornwall) เป็นบรรดาศักดิ์ดยุกบรรดาศักดิ์แรกที่ได้มีการสถาปนาในอังกฤษ โดยตามธรรมเนียมแล้วจะสงวนไว้เพื่อเป็นบรรดาศักดิ์เฉพาะสำหรับมกุฎราชกุมารของอังกฤษในอดีตจนกระทั่งปัจจุบัน ดัชชีแห่งคอร์นวอลล์ (Duchy of Cornwall) ถือเป็นดัชชีแห่งแรกในอังกฤษ โดยสถาปนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งคอร์นวอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งซัสเซกซ์

กแห่งซัสเซกซ์ (Duke of Sussex) เป็นบรรดาศักดิ์หนึ่งของสหราชอาณาจักร ที่พระราชทานในรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จที่ 3 ให้แก่เจ้าชายออกัสตัส เฟรเดอริก พระราชโอรสลำดับที่ 6 โดยพระองค์ยังได้รับพระราชทานอิสริยยศเป็นบารอนอาร์กโลว์ และเอิร์ลแห่งอินเวอร์เนสส์อีกสองบรรดาศักดิ์ในเวลาเดียวกัน เจ้าชายออกัสตัส เฟรเดอริกทรงเสกสมรสสองครั้ง โดยครั้งแรกกับเลดีออกัสตา เมอร์เรย์ ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งซัสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งแลงแคสเตอร์

นรี เจ้าชายแห่งเวลส์ บุคคลสุดท้ายที่ดำรงตำแหน่งนี้ก่อนที่จะรวมเข้ากับส่วนพระมหากษัตริย์ ภายหลังขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 5 แห่งอังกฤษ ดยุกแห่งแลงคาสเตอร์ (Duke of Lancaster) เป็นบรรดาศักดิ์ดยุกที่ใช้ออกพระนามถึงสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระเจ้าแผ่นดินอังกฤษอย่างลำลอง และผู้ครอบครองดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์ โดยถือเป็นดัชชีที่แยกออกมาจากสำนักทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (Crown Property) ซึ่งมีส่วนในการสร้างรายได้ให้กับพระมหากษัตริย์ ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ได้มีการสถาปนาบรรดาศักดิ์ดยุกแห่งแลงคาสเตอร์ถึง 3 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่แรกเมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1351 สำหรับ เฮนรีแห่งกรอสมอนท์ เอิร์ลแห่งแลงคาสเตอร์ที่ 4 เหลนของพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ รวมทั้งยังเป็นเอิร์ลแห่งเลย์เชสเตอร์ที่ 4, เอิร์ลแห่งดาร์บีที่ 1 และเอิร์ลแห่งลินโคล์นที่ 1 การสถาปนาครั้งแรกนี้สิ้นสุดลงเมื่อดยุกที่ 1 เสียชีวิตลงในปี ค.ศ. 1361 ครั้งที่สองเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1362 สำหรับ จอห์นแห่งกอนท์ เอิร์ลแห่งริชมอนด์ที่ 1 พระราชโอรสในพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษและพระราชินีฟิลลิปปาแห่งเอโนลต์ ได้อภิเษกสมรสกับธิดาของเฮนรีแห่งกรอสมอนท์ ดยุกแห่งแลงคาสเตอร์ที่ 1 หลังจากเสียชีวิตในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1399 ตำแหน่งดยุกจึงถูกส่งผ่านไปยังเฮนรี โบลิงโบรค พระโอรส ต่อมาเมื่อพระโอรสขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ ตำแหน่งจึงเข้ารวมกับส่วนพระมหากษัตริย์ ครั้งที่สามเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1399 สำหรับเฮนรีแห่งมอนมอธ เจ้าชายแห่งเวลส์ พระราชโอรสองค์โตของพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ ต่อมาในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งแลงแคสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งเอดินบะระ

กแห่งเอดินบะระ (Duke of Edinburgh) เป็นบรรดาศักดิ์ชั้นดยุกในบรรดาศักดิ์แห่งสหราชอาณาจักร (ตั้งตามชื่อเมืองเอดินบะระของสกอตแลนด์) โดยได้มีการพระราชทานบรรดาศักดิ์นี้ทั้งสิ้น 4 สมัย โดยในสมัยปัจจุบันผู้ดำรงตำแหน่งนี้คือเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ในอนาคตบรรดาศักดิ์นี้จะเป็นของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ถ้าเจ้าชายชาลส์ยังไม่ได้สืบทอดราชบัลลังก์ ถ้าทรงสืบราชบัลลังก์เรียบร้อยแล้ว ตำแหน่งจะเป็นของเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็ก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งเคมบริดจ์

กแห่งเคมบริดจ์ (Duke of Cambridge) เป็นพระอิสริยยศ (ตั้งชื่อตามเมื่องเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ) ที่ก่อนหน้าที่เคยสถาปนาให้กับสมาชิกชั้นรองในพระราชวงศ์อังกฤษ มีการพระราชทานพระอิสริยยศนี้ครั้งแรกให้กับเจ้าชายชาลส์ สจ๊วร์ต (พ.ศ. 2203-2204) พระโอรสพระองค์ใหญ่ในเจ้าฟ้าชายเจมส์ ดยุกแห่งยอร์ก (ต่อมาคือ พระเจ้าเจมส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ) แต่กระนั้นพระองค์มิได้ทรงเคยได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศดยุกแห่งเคมบริดจ์อย่างเป็นทางการเลย บรรดาศักดิ์ "ดยุกแห่งเคมบริดจ์" ได้มีการพระราชทานครั้งล่าสุดวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2554 สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระอิสริยยศดังกล่าวแก่เจ้าชายวิลเลียม ก่อนเข้าพระราชพิธีเสกสมรสกับแคเธอรีน มิดเดิลตัน โดยมีพระอิสริยยศเต็มว่า "ดยุกแห่งเคมบริดจ์ (Duke of Cambridge) เอิร์ลแห่งสแตรธเอิร์น (Earl of Strathearn) และบารอนคาร์ริคเฟอร์กัส (Baron Carrickfergus)".

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งเคนต์

กแห่งเคนต์ (Duke of Kent) เป็นบรรดาศักดิ์ชั้นดยุกมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรบริเตนใหญ่ และสหราชอาณาจักร โดยครั้งล่าสุดมีการพระราชทานบรรดาศักดิ์นี้ให้แก่พระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ของพระเจ้าจอร์ที่ 5 และตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชี

ัชชี (duchy) เป็นอาณาเขตการปกครองหรือบริเวณที่ปกครองโดยดยุกหรือดัชเชส ดัชชีที่สำคัญบางแห่งในสมัยก่อนจะมีอธิปไตยปกครองบริเวณหนึ่ง ๆ ต่อมารวมกันเป็นที่มาของรัฐสมัยใหม่ในปัจจุบัน เช่น ประเทศเยอรมนี ประเทศอิตาลี ในทางตรงกันข้ามดัชชีอื่น ๆ ก็อาจจะเป็นเขตปกครองภายในราชอาณาจักรมาตั้งแต่สมัยกลาง เช่น ในประเทศอังกฤษ ประเทศฝรั่งเศส และประเทศสเปน ประวัติของแต่ละดัชชีแต่ละอาณาจักรก็จะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับความแข็งแกร่งและประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องของแต่ละรั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดัชชี · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีนอร์ม็องดี

แผนที่นอร์ม็องดี ดัชชีนอร์ม็องดี (Duchy of Normandy) มีที่มามาจากการรุกรานของชนหลายชาติที่รวมทั้งชนเดนส์, ไฮเบอร์โน-นอร์ส, ไวกิงจากออร์กนีย์ และแองโกล-เดนส์ (จากบริเวณเดนลอว์) ในฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ประมุขที่อาจจะเป็นอาณาจักรเคานต์ก่อตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญาแซ็ง-แกลร์-ซูว์แร็ปต์ ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดัชชีนอร์ม็องดี · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์

ตราประจำราชวงศ์แลงคาสเตอร์ ดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์ (Duchy of Lancaster) เป็นหนึ่งในสองราชดัชชีในอังกฤษ อีกราชอาณาจักรคือดัชชีแห่งคอร์นวอลล์และมีฐานะเป็นอาณาจักรที่เป็นทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ แม้ว่าจะมีชื่อว่าเป็น “ดัชชี” แต่อันที่จริงแล้วก็คือ “อสังหาริมทรัพย์” (property company) แต่ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล (United Kingdom corporation tax) ในปัจจุบันดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์มีเนื้อที่ทั้งหมด 46,200 เอเคอร์ (18,700 เฮ็คตาร์) ที่รวมทั้งบริเวณชุมชนสำคัญ, สิ่งก่อสร้างทางประวัติศาสตร์, และที่ดินทางเกษตรกรรมในหลายบริเวณในอังกฤษและส่วนใหญ่ในแลงคาสเชอร์ ในปีงบประมาณ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดัชชีแห่งแลงคาสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนแทนกันยีกา

นแดนในอาณัติสันนิบาตชาติในตะวันออกกลางและแอฟริกา หมายเลข 11 คือดินแดนแทนกันยีกา อาณาจักรแทนกันยีกา (Tanganyika Territory เป็นดินแดนในอาณัติสันนิบาตชาติของสหราชอาณาจักร ระหว่าง ค.ศ. 1922 ถึง 1946 และ ดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ระหว่าง ค.ศ. 1946 ถึง ค.ศ. 1961.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและดินแดนแทนกันยีกา · ดูเพิ่มเติม »

คริสตจักรแองลิกันในประเทศไทย

ริสตจักรแองลิกันในประเทศไทย คือ คริสตจักรของนิกายแองกลิคันในประเทศไทย ปัจจุบันสังกัดสหกิจคริสเตียนแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคริสตจักรแองลิกันในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คอนราด อเดเนาร์

อนราด อเดนาวร์ (5 มกราคม พ.ศ. 2419 - 19 เมษายน พ.ศ. 2510) มีชื่อเต็มว่า คอนราด แฮร์มันน์ โยเซฟ อเดนาวร์ (Konrad Hermann Josef Adenauer) เป็นรัฐบุรุษชาวเยอรมัน อัครมหาเสนาบดีหรือนายกรัฐมนตรีแห่งเยอรมนี คนแรกของเยอรมนีตะวันตก (First Chancellor) ผู้สร้างชาติเยอรมนีตะวันตกภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง พรรคการเมืองที่มีชื่อว่า “พรรคสหภาพคริสเตียน - เดโมแครต” (CDU) อีกทั้งยังเป็นนายกรัฐมนตรีที่อายุยืนที่สุดในโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคอนราด อเดเนาร์ · ดูเพิ่มเติม »

คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล

มิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล หรือพระนามเดิม คามิลลา โรสแมรี หรือที่รู้จักกันในพระนาม คามิลลา พาร์กเกอร์ โบลส์ (Camilla, Duchess of Cornwall; ประสูติเมื่อ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นพระวรชายาพระองค์ที่สองของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ องค์รัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร คามิลลาประสูติเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 ทรงเป็นธิดาของนายบรูซ ชานด์และนางโรซาลินด์ ชานด์ (สกุลเดิม คิวบิต) พระชนนีของพระองค์เป็นธิดาของโรแลนด์ คิวบิตที่ 3 บารอนแห่งอาซท์คอมบี้ พระองค์ประสูติในอีสต์ซัสเซ็กซ์ และทรงเติบโตขึ้นมาในชนชั้นสูงของอังกฤษ ในปี 1973 พระองค์สมรสกับทหารในกองทัพอังกฤษ ชื่อว่าอันดริว พาร์กเกอร์-โบลส์ และทั้งคู่มีบุตรสองคน ทั้งสองหย่ากันในปี 1995 ความสัมพันธ์ของคามิลลาและเจ้าชายชาลส์นั้นตกเป็นข่าวดังขึ้น ในที่สุดคลาเรนซ์เฮ้าส์ประกาศเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ว่าเจ้าชายชาลส์และคามิลลา ปากเกอร์ โบลส์ จะอภิเษกสมรสในวันที่ 8 เมษายน ปีเดียวกันนั้น อย่างไรก็ตามเนื่องจากการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 การอภิเษกสมรสต้องเลื่อนไปเป็นวันที่ 9 เมษายน แทนเพราะเจ้าชายชาลส์ต้องเสด็จพระราชดำเนิน ไปในการพระศพ รวมทั้งได้มีการประกาศเพิ่มเติมด้วยว่าหลังจากอภิเษกสมรสแล้ว คามิลลาจะดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงดัชเชสแห่งคอร์นวอล (Her Royal Highness the Duchess of Cornwall) และหลังจากเจ้าชายชาลส์เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์จะทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงพระราชชายา (Her Royal Highness the Princess Consort) เชื่อกันว่าเนื่องจากอ้างอิงตามพระอิสริยยศของเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียที่ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เจ้าชายพระราชสวามี (His Royal Highness the Prince Consort) และหลังจากเสกสมรสแล้ว คามิลลาได้กลายเป็นพระมารดาเลี้ยงใน เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ และ เจ้าชายเฮนรี แห่งเวลส์ พระโอรสทั้ง 2 พระองค์ของพระราชสวามีกับพระวรชายาพระองค์เก่า ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอล · ดูเพิ่มเติม »

คิงส์คอลเลจ ลอนดอน

งส์คอลเลจ ลอนดอน (King's College London; King's; KCL) หรือในชื่อย่อว่า KCL เป็นวิทยาลัยแห่งหนึ่งในมหาวิทยาลัยลอนดอน King's จัดเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยของรัฐ ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร ปัจจุบัน อธิการบดีของราชวิทยาลัยลอนดอน คือ เจ้าฟ้าหญิงแอนน์ พระวรราชกุมารี (The Princess Royal) พระราชธิดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 กล่าวคือ พระองค์ทรงมีฐานะเป็นอธิการบดีของมหาวิทยาลัยลอนดอน (Chancellor of the University of London) โดยมีศาสตราจารย์ เอ็ดเวิร์ด เบิร์น (Edward Byrne) ดำรงตำแหน่งเป็นอธิการบดีและอาจารย์ใหญ่ (President and Principal) ตั้งแต่เดือนกันยายน..2014 เป็นต้นมา คิงส์คอลเลจ ลอนดอน ก่อตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม..1829 โดยสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 (King George IV) และดยุคแห่งเวลลิงตัน (the Duke of Wellington) กล่าวได้ว่า คิงส์คอลเลจ ลอนดอนเป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเก่าแก่มากที่สุดเป็นลำดับที่ 4 ของประเทศอังกฤษ King's ถือเป็นหนึ่งในสองวิทยาลัย - อีกหนึ่งคือ มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน (UCL) ที่ร่วมกันก่อตั้งและสถาปนามหาวิทยาลัยลอนดอนในวันที่ 28 พฤศจิกายน..1836 King's ได้ดำเนินการรวมวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์หลายแห่งในกรุงลอนดอนเข้าด้วยกัน ได้แก่ Queen Elizabeth College (ค.ศ.1985) Chelsea College of Science and Technology (ค.ศ.1985) the Institute of Psychiatry (ค.ศ.1997) และ the United Medical and Dental Schools of Guy's (ค.ศ.1998) and St Thomas' Hospitals (ค.ศ.1998) และ Florence Nightingale School of Nursing and Midwifery (ค.ศ.1998) กล่าวได้ว่า คิงส์คอลเลจ ลอนดอนเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอนและการวิจัยด้านการแพทย์ที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป นอกเหนือจากความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์และการแพทย์แล้ว King's ยังได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของโลกที่มีผลงานการค้นคว้าและการวิจัยที่ได้รับการยอมรับมาอย่างต่อเนื่องในอีกหลายสาขาวิชา เช่น มนุษยศาสตร์ กฎหมาย การระหว่างประเทศ และสังคมศาสตร์ ปัจจุบัน (ค.ศ.2017) การการเรียนการสอนและการวิจัยของมหาวิทยาลัยได้ดำเนินการและแบ่งการจัดการออกเป็นจำนวน 9 คณะ (academic faculties) ได้แก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคิงส์คอลเลจ ลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

คู สตาร์ก

แคทลีน ดี-แอนน์ สตาร์ก (เกิด 26 เมษายน ค.ศ. 1956) เป็นนักแสดง นางแบบ และช่างภาพชาวอเมริกัน รู้จักกันในชื่อ คู สตาร์ก (Koo Stark) สตาร์กมีชื่อเสียงจากการรับบทเปลือยในภาพยนตร์อีโรติกของอังกฤษ เรื่อง The Awakening of Emily หรือ Emily ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคู สตาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่สอง

ณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่สอง จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2017 หลังจากที่ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานพระราชวโรกาสให้ เทเรซา เมย์ เข้าเฝ้าในฐานะหัวหน้าพรรคที่มีคะแนนเสียเป็นอันดับที่หนึ่งใน การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2560 จัดตั้งรัฐบาล โดยผลการเลือกตั้งครั้ง ไม่มีพรรคใดได้คะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่ง (326 ที่นั่ง) ได้ ทำให้เกิดวิกฤตสภาแขวน (Hung Parliment) โดยในวันที่ 9 มิถุนายน 2017 เมย์ประกาศที่จะจัดตั้งรัฐบาล โดยเป็นรัฐบาลเสียงข้างน้อย โดยมีเสียงสนับสนุนจาก พรรคสหภาพประชาธิปไตย โดยได้มีการหารือนอกรอบซึ่งทั้งสองพรรคเห็นด้วยในหลักการต่าง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่หนึ่ง

ณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่หนึ่ง จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2016 หลังจากที่ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระราชทานพระราชวโรกาสให้ เทเรซา เมย์ เข้าเฝ้าในฐานะหัวหน้าพรรคอนุรักษ์นิยมคนใหม่ เพื่อจัดตั้งรัฐบาล หลังจากที่ เดวิด แคเมอรอน ประกาศลาออกจากตำแหน่ง เพื่อรับผิดชอบ จาก ผลประชามติของสหราชอาณาจักรที่ต้องการแยกตัวจากสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคณะรัฐมนตรีเมย์ ชุดที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน

ประเทศที่มีคณะผู้แทนทางการทูตสเปน ประเทศสเปนเป็นประเทศหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกว้างขวางเกือบทั่วโลก รายชื่อข้างล่างนี้คือสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ของสเปนในต่างประเทศ (ไม่รวมสถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์

ตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์ ในศตวรรษที่15 ตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์ เป็นตราแผ่นดินของดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร มี 2 แบบคือ แบบแรกของอังกฤษ แบบที่ 2 รูปโล่แบบพื้นเมือง โดยมีตราแผ่นดินของตัวเองมีความเป็นมาในศตวรรษที่15 คือ เป็นตราแผ่นดินที่ประกาศใช้เป็นทางการ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2005 (ค.ศ. 1502) โดยกษัตริย์เฟอดินาน และ สมเด็จพระราชินีอิสเบลล่า รูปแบบที่1คือ มีรูปป้อมปราการสีเหลือง3ป้อม มีกุญแจสีเหลืองห้อยลงมาจากป้อมหลังกลาง รูปแบบที่2คือ มีรูปป้อมปราการสีแดง 3 ป้อม มีกุญแจสีเหลืองห้อยลงมาจากป้อมหลังกลาง ตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์มี 2 แบบมีความหมายไปในทางเดี่ยวกันที่สำคัญคือสำคัญถึงยุทธศาสตร์ของยิบรอลตาร์ อันเป็นประตูไปสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของยิบรอลตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร

ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร (Royal coat of arms of the United Kingdom) เป็นตราอาร์มของพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรที่ในปัจจุบันคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ตรานี้ใช้โดยสมเด็จพระราชินีนาถในโอกาสทางราชการในฐานะพระมหากษัตรีย์แห่งสหราชอาณาจักร และ รู้จักอย่างเป็นทางการว่า “ตราอาร์มแห่งราชอาณาจักร” (Arms of Dominion) ตราอาร์มที่แปลงจากตรานี้ใช้โดยสมาชิกอื่นๆ ในพระราชวงศ์อังกฤษ และ โดยรัฐบาลบริเตนในกิจการที่เกี่ยวกับการบริหารและการปกครองประเทศ ในสกอตแลนด์สมเด็จพระราชินีนาถทรงมีตราที่แปลงจากตรานี้ ซึ่งเป็นตราเดียวกับที่ใช้โดยรัฐบาลสกอตแลนด์ (Scotland Office) โล่ในตราแบ่งสี่ ในช่องที่หนึ่งหรือช่องบนซ้าย และช่องที่สี่หรือล่างขวาเป็นตราสิงห์สามตัวที่เป็นสัญลักษณ์ของอังกฤษ ในช่องที่สองหรือบนขวาเป็นสิงห์ยืนในกรอบล้อมด้วยสัญลักษณ์ดอกลิลลี ที่เป็นสัญลักษณ์ของสกอตแลนด์ และในช่องที่สามหรือช่องล่างซ้ายเป็นฮาร์พเกลลิค (Clàrsach) ที่เป็นสัญลักษณ์ของไอร์แลนด์เหนือ (การบรรยายเป็นไปตามหลักการให้คำนิยามของตรา) เครื่องยอด (crest) เป็นสิงห์ยืนหันหน้าหน้าสวมมงกุฎอิมพีเรียลสเตทบนหัวและยืนบนสัญลักษณ์ของมงกุฎเดียวกัน ประคองข้าง (Supporters) ด้านซ้ายเป็นสิงห์ยืนผงาดสวมมงกุฎ ประคองข้างด้านขวาเป็นยูนิคอร์นเงินแห่งสกอตแลนด์ ตามตำนานยูนิคอร์นที่เป็นอิสระเป็นสัตว์ที่อันตราย ฉะนั้นยูนิคอร์นที่ใช้ในอิสริยาภรณ์จึงเป็นยูนิคอร์นที่ล่ามโซ่ เช่นเดียวกับยูนิคอร์นสองตัวที่ประคองข้างตราแผ่นดินของสกอตแลนด์ ตรามีคำขวัญของทั้งพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (Dieu et Mon Droit) “พระเจ้าและสิทธิแห่งข้า” และ คำขวัญของเครื่องราชอิสริยาภรณ์การ์เตอร์ “ความละอายจงมาสู่ผู้คิดร้าย” (Honi soit qui mal y pense) บนแถบอยู่รอบโล่หลังตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน เป็นตราอาร์มประจำหมู่เกาะบริติชเวอร์จินซึ่งประกาศใช้โดยพระบรมราชานุญาตของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) มีลักษณะเป็นตราโล่อาร์มพื้นสีเขียว ภายในเป็นรูปหญิงพรหมจารีย์นุ่งผ้าสีขาวยืนถือตะเกียง 1 ดวง ล้อมรอบด้วยตะเกียงอื่นอีก 11 ดวง เบื้องล่างของโล่มีแพรแถบสีเหลืองจารึกคำขวัญเป็นภาษาละตินใจความ "VIGILATE" แปลว่า "จงตื่นตัวเสมอ" รูปหญิงพรหมจารีย์ถือตะเกียงและและตะเกียงทั้ง 11 ดวง หมายถึงนักบุญอูร์ซุลลา (Saint Ursula) ซึ่งเป็นนักบุญหญิงในคริสต์ศาสนา ซึ่งกล่าวกันว่าได้นำหญิงพรหมจารี 11,000 คน จาริกแสวงบุญไปทั่วทวีปยุโรป กล่าวกันว่าเมื่อคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ได้พบหมู่เกาะแห่งนี้ในปี ค.ศ. 1493 ทำให้โคลัมบัสนึกถึงตำนานของนักบุญอูร์ซุลลาข้างต้น และกลายเป็นต้นเหตุแห่งนามหมู่เกาะนี้ในปัจจุบัน จากเรื่องราวดังกล่าว ทางการสหราชอาณาจักรจึงได้เลือกเอารูปดังกล่าวมาใช้เป็นตราแผ่นดินประจำอาณานิคม ดังที่ปรากฏอยู่ในเวลานี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะพิตแคร์น

ตราแผ่นดินหมู่เกาะพิตแคร์น เป็นภาพตราโล่อาร์มพื้นสีฟ้า ส่วนท้องโล่แบ่งมีสีเขียว ซึ่งถูกแบ่งด้วยแนวเส้นทแยงสีเหลือง 2 เส้นที่บรรจบกับส่วนบนสุดของโล่ มีลักษณะคล้ายหัวลูกศรที่เอาปลายขึ้นทางด้านบน ภายในพื้นสีเขียวมีภาพคัมภีร์ไบเบิลสีขาวเหนือสมอสีเหลือง ซึ่งหมายถึงเรือรบหลวงบาว์นตี (เอชเอ็มเอส บาวน์ตี - HMS Bounty) ตอนบนของโล่ประดับด้วยชุดเกราะนักรบส่วนศีรษะ ประดับด้วยช่อใบมิโล (ชื่อพื้นในท้องถิ่น) มีริ้วสะบัด และรูปรถเข็นล้อเดียว สัญลักษณ์ดังกล่าวนี้บอกเล่าถึงความเป็นมาของชาวหมู่เกาะพิตแคร์นว่า เป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากกะลาสีที่ก่อการจลาจลบนเรือรบหลวงบาวน์ตีในปี พ.ศ. 2332 ตรานี้ประกาศใช้เป็นตราประจำหมู่เกาะพิตต์แคร์นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2512 และใช้ประดับเป็นสัญลักษณ์ในธงชาติปละธงประจำตำแหน่งผู้ว่าการด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะพิตแคร์น · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะเคย์แมน

ตราแผ่นดินหมู่เกาะเคย์แมน เป็น ตราแผ่นดินประจำหมู่เกาะเคย์แมน ซึ่งอนุญาตให้ใช้ได้ในปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) อยู่ภายในวงกลมสีขาว มีรูปตราโล่ซึ่งแถบสีแดงด้านบนของตรามีรูปสิงโตอังกฤษโบราณอยู่ภายในแถบสีแดง มีคลื่นสี นำเงินและขาวเรียงแถบสลับกันอยู่ด้านล่างมีความหมายถึงเป็นคลื่นทะเล และรูปดาวสีเขียวขอบเหลือง3ดวงทาบอยู่บนคลื่น หมายถึงหมู่เกาะของเคย์แมนมี3แห่ง ได้แก่ หมู่เกาะเคย์แมนใหญ่ หมู่เกาะเคย์แมนเล็ก หมู่เกาะเคย์แมนปราช เหนือตราโล่คือสับปะรด เพื่อแสดงถึงความสัมพันธ์อันดีกับประเทศจาเมกา ส่วนรูปเต่าคือ สัตว์ที่มีมากในหมู๋เกาะนี้ ด้านล่างโล่มีอักษรเขียนจารึกว่า"เขาได้พบมันอยู่เหนือทะเล".

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะเคย์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของดอมินีกา

ตราแผ่นดินของดอมินีกา ในสมัยอาณานิคมอังกฤษ ใช้ตราอาร์มแผ่นดินในยุคเมืองขึ้นมี 2 แบบ ดังนี้คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของดอมินีกา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของตรินิแดดและโตเบโก

ตราแผ่นดินของตรินิแดดและโตเบโก เป็นตราอาร์มที่สืบทอดรูปแบบมาจากดวงตราสหพันธรัฐอินดีสตะวันตก ออกแบบโดยคณะกรรมการที่ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของตรินิแดดและโตเบโก · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของปาปัวนิวกินี

ตราแผ่นดินของประเทศปาปัวนิวกินีเป็นสัญลักษณ์รูปนก วงศ์นกปักษาสวรรค์  ฐานรองข้างเป็นทวน และกลองคันดู (Kundu) ประกาศใช้ในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2518.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของปาปัวนิวกินี · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของนิวซีแลนด์

ตราแผ่นดินของนิวซีแลนด์ (เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตราแผ่นดินแห่งอาณาจักร) ใช้โดยรัฐบาลแห่งนิวซีแลน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของแองกวิลลา

ตราแผ่นดินของแองกวิลลา เป็นรูปโลมาสีส้ม 3 ตัว ขดกันเป็นวงกลม หมายถึงความแข็งแกร่ง การร่วมมือร่วมใจเป็นนำหนึ่งใจเดียวกัน อยู่บนพื้นท้องฟ้าสีขาวในสัญลักษณ์และพื้นธง หมายถึงความสงบและสันติภาพ ส่วนแถบสีฟ้าแทนท้องน้ำทะเล หมายถึงความเยาว์วัยและความหวัง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของแองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเบลีซ

ตราแผ่นดินของเบลีซ ประกอบด้วยรูปโล่ซึ่งภายในแบ่งเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วยภาพขวานและไม้พายไขว้ในพื้นสีขาวที่ช่องซ้ายบน รูปขวานกับเลื่อยไขว้กันในพื้นสีเหลืองที่ช่องขวาบน และภาพเรือใบแล่นในทะเลบนพื้นสีฟ้าช่องล่างกลาง เบื้องหลังโล่นี้มีภาพต้นมะฮอกกานี เบื้องซ้ายของโล่เป็นภาพคนงานผิวเหลืองแบกขวาน เบื้องขวาเป็นรูปคนงานผิวดำแบกพาย ทั้งสองคนนี้ยืนประคองรูปโล่ เบื้องล่างของภาพทั้งหมดมีคำขวัญประจำชาติในแพรแถบสีขาว เป็นข้อความภาษาละตินใจความว่า "Sub Umbra Floreo" (อันอาจแปลได้ว่า "เราเจริญขึ้นภายใต้ร่มเงา") ภาพทั้งหมดมีความหมายถึงอุตสาหกรรมไม้มะฮอกกานี ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมสำคัญของชาติ ตรานี้เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2450.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเบลีซ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช

ตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2528 ก่อนหน้านี้เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิชขึ้นอยู่กับหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ และใช้ตราแผ่นดินเดียวกัน ก่อนหน้..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเวลส์

ตราแผ่นดินของเวลส์ มีต้นกำเนิดในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

ตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ เป็นตราอาร์มที่สืบทอดรูปแบบมาจากดวงตราประจำอาณานิคมเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ของสหราชอาณาจักรตั้งแต่พ.ศ. 2420 ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ลักษณะของที่ปรากฏในปัจจุบันนี้เป็นรูปหญิงพรหมจารีย์ 2 คน นุ่งผ้าแบบโบราณ หันหน้าเข้าหากัน ระหว่างรูปหญิงทั้งสองนั้นมีแท่นขนาดเล็กสีทอง คนหนึ่งทางซ้ายยืนถือช่อมะกอก ส่วนอีกคนหนึ่งทางขวานั่งคุกเข่า มือถือจานชั่งอยู่เหนือแท่นทอง รูปดังกล่าวอยู่ในกรอบโล่พื้นขาว ตอนล่างเป็นสีเขียว เหนือโล่นั้นเป็นผ้าโพกสีน้ำเงิน-เหลือง-เขียว (สีธงชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์) ประดับด้วยช่อดอกฝ้ายเป็นเครื่องยอด เบื้องล่างของตราเป็นแพรแถบสีขาว ด้านหลังเป็นสีแดง จารึกคำขวัญประจำชาติเป็นภาษาละตินว่า "Pax et justitia" หมายถึง "สันติภาพและความยุติธรรม".

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตริสตันดากูนยา

ตริสตันดากูนยา (Tristan da Cunha) หรือ ทริสตันดาคูนา เป็นเกาะภูเขาไฟที่ห่างไกลจากแผ่นดินใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ แผ่นดินใหญ่ที่ใกล้ที่สุดคือประเทศแอฟริกาใต้ซึ่งอยู่ห่างออกไป 2,816 กิโลเมตร และห่างจากทวีปอเมริกาใต้ถึง 3,360 กิโลเมตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตริสตันดากูนยา · ดูเพิ่มเติม »

ตรินิแดดและโตเบโก (ราชอาณาจักรเครือจักรภพ)

ราชอาณาจักรเครือจักรภพแห่งตรินิแดดและโตเบโก (the Commonwealth realm of Trinidad and Tobago) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ตรินิแดดและโตเบโก คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก ระหว่างวันที่ 31 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตรินิแดดและโตเบโก (ราชอาณาจักรเครือจักรภพ) · ดูเพิ่มเติม »

ตำหนักซานดริงแฮม

ตำหนักซานดริงแฮม (ภาษาอังกฤษ: Sandringham House) เป็นคฤหาสน์ชนบทตั้งอยู่ที่หมู่บ้านซานดริงแฮม, นอร์โฟล์คในสหราชอาณาจักร เป็นตำหนักที่เป็นสมบัติส่วนพระองค์ของพระราชวงศ์อังกฤษ บริเวณที่ตั้งของตำหนักมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัยเอลิซาเบธ ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตำหนักซานดริงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

ตูอี มะลิลา

ตูอี มะลิลา (Tu'i Malila; ค.ศ. 1777 — 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1965) เป็นเต่าบกที่กัปตันเจมส์ คุก กล่าวว่าได้นำมาถวายแก่พระราชวงศ์ของประเทศตองงาตามจารีตประเพณี โดยเป็นเต่ารัศมีดาราเพศเมีย (Geochelone radiata) จากประเทศมาดากัสการ์ และเป็นเต่าบกที่มีอายุยืนยาวที่สุดที่อายุได้รับการยืนยันแล้ว ชื่อของมันหมายถึงกษัตริย์มะลิลาในภาษาตองงา ซึ่งตูอี มะลิลา ฟักออกจากไข่เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและตูอี มะลิลา · ดูเพิ่มเติม »

ฉันท์

ฉันท์ เป็นลักษณ์หนึ่งของการประพันธ์ประเภทร้อยกรองในวรรณคดีไทยที่บังคับเสียงหนัก - เบาของพยางค์ ที่เรียกว่า ครุ - ลหุ ฉันท์ในภาษาไทยรับแบบมาจากประเทศอินเดีย ตำราฉันท์ที่เก่าแก่ที่สุดของอินเดียเป็นภาษาสันสกฤต คือ ปิงคลฉันทศาสตร์ แต่งโดยปิงคลาจารย์ ส่วนตำราฉันท์ภาษาบาลีเล่มสำคัญที่สุดได้แก่ คัมภีร์วุตโตทัยปกรณ์ ผู้แต่งคือ พระสังฆรักขิตมหาสามี เถระชาวลังกา แต่งเมื่อ พ.ศ. 1703 เป็นที่มาของ คัมภีร์วุตโตทัย ซึ่งเป็นต้นตำหรับการแต่งฉันท์ของไทยกวีนิพนธ์ไทย ๑ - ๒, สุภาพร มากแจ้ง, กรุงเทพฯ, โอเดียนสโตร์, 2539.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและฉันท์ · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ. 2369 ถึงปี พ.ศ. 2461 ชื่อ ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา อาจหมายถึงตระกูลหรือราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ซึ่งมีบทบาทสำคัญมากมายและหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์การเมืองและราชสำนักยุโรปสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

ซารา ฟิลลิปส์

ซารา ฟิลลิปส์ (สกุลเดิม: Phillips; เกิด 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2524) พระธิดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี กับกัปตันมาร์ก ฟิลิปส์ รัชทายาทลำดับที่ 11 ของอังกฤษ ราชวงศ์วินด์เซอร์ สหราชอาณาจักร และเครือจักรภพ มีพี่ชายคือ ปีเตอร์ ฟิลลิปส์ ซารา ฟิลลิปส์สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเอ็กซิเตอร์ และได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับ 3 ของบรรดาราชนิกุลรุ่นเยาว์ที่เซ็กซี่มากสุดในโลก ของเว็บไซต์ฟอร์บส์ดอตคอม ต่อจากเจ้าชายวิลเลียม เจ้าชายแห่งเวลส์ และเจ้าชายเฮนรีแห่งเวลส์ ซึ่งเป็นพระประยูรญาติร่วมราชวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซารา ฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก

ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก หรือเดิมชื่อ ซาราห์ มากาเร็ต เฟอร์กูสัน ประสูติเมื่อ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2502 อดีตพระชายาในเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก เคยทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมาชิกแห่งพระบรมราชวงศ์แห่งสหราชอาณาจักร พระมารดาในเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก และเจ้าหญิงยูจีนีแห่งยอร์ก รัชทายาทสืบราชบัลลังก์ลำดับที่ 6 และ 7 หรือเป็นที่รู้จักกันดีในพระสมัญญา เฟอร์กี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ซาวันนาห์ ฟิลลิปส์

ซาวันนาห์ แอนน์ แคทลีน ฟิลลิปส์ (Savannah Anne Kathleen Phillips) เป็นพระนัดดาในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี และเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ซาวันนาห์เป็นธิดาของปีเตอร์ ฟิลลิปส์กับออทูมน์ ฟิลลิปส์ บิดาของซาวันนาห์เป็นโอรสในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารีกับมาร์ก ฟิลลิปส์ ซาวันนาห์เป็นพระราชปนัดดาคนแรกของสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ซาวันนาห์มีน้องสาวอีกคนหนึ่งชื่อว่า อิสลาห์ ฟิลลิปส์ หมวดหมู่:ราชวงศ์วินด์เซอร์ หมวดหมู่:สมาชิกของราชวงศ์ที่ยังทรงพระเยาว์.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซาวันนาห์ ฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซาแมนธา แคเมอรอน

ซาแมนธา แคเมอรอน (Samantha Cameron) เป็นภรรยาของนายกรัฐมนตรีคนที่ 53 แห่งสหราชอาณาจักร คือ เดวิด แคเมอรอน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซาแมนธา แคเมอรอน · ดูเพิ่มเติม »

ซิดนีย์ พอยเทียร์

ซอร์ ซิดนีย์ พอยเทียร์, KBE (20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1927 -) (Sidney Poitier) นักแสดงชาวอเมริกันเชื้อสายบาฮามาส เจ้าของรางวัลออสการ์ รางวัลบาฟต้า รางวัลลูกโลกทองคำ และรางวัลแกรมมี ได้ชื่อว่าเป็นนักแสดงแอฟริกันอเมริกันคนแรกที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในสาขานักแสดงนำ ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซิดนีย์ พอยเทียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซีบิล (แมว)

ซีบิล (พ.ศ. 2549 – 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2552) เป็นแมวที่อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 11 และ 10 ถนนดาวนิง ทำหน้าที่เป็นผู้จับหนูประจำสำนักงานคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซีบิล (แมว) · ดูเพิ่มเติม »

ซีตี นูร์ฮาลีซา

ต๊ะ หรือดาตินซรี ซีตี นูร์ฮาลีซา บินตี ตารูดิน DIMP, JSM, SAP, PMP, AAP (Siti Nurhaliza binti Tarudin, سيتي نورهاليزا بنت تارودين; เกิด 11 มกราคม ค.ศ. 1979) เป็นนักร้องชาวมาเลเซีย ตั้งแต่เธอเป็นนักร้อง เธอได้รับรางวัลการแข่งขันประกวดร้องเพลงระดับนานาชาติหลายครั้ง เธอได้รับฉายาว่าเป็นเสียงแห่งเอเชีย หลังจากชนะตำแหน่งกรังปรีแชมเปียนจากเทศกาล Voice of Asia รายการประกวดร้องเพลงที่จัดขึ้นที่เมืองอัลมาตี ประเทศคาซัคสถาน โดยก่อนหน้านั้นในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซีตี นูร์ฮาลีซา · ดูเพิ่มเติม »

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา

ซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา (Симеон Борисов Сакскобургготски, ซีโมน บอรีซอฟ ซักสโกบูร์กกอตสกี; Simeon von Sachsen-Coburg und Gotha or Simeon von Wettin) หรือ พระเจ้าซาร์ซีเมออนที่ 2 แห่งบัลแกเรีย (ประสูติ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2480) ทรงเป็นบุคคลสำคัญในสังคมการเมืองและราชวงศ์บัลแกเรีย พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรียตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและซีโมน แซ็กซ์-โคบูร์ก-ก็อตธา · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการสะพานลอนดอน

ปฏิบัติการสะพานลอนดอน (Operation London Bridge) เป็นรหัสลับเรียกแผนดำเนินการต่าง ๆ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 สวรรคตลง เดิมทีแผนนี้วางขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และปรับปรุงเรื่อยมาทุกปี ในการวางแผนมีความร่วมมือจากกระทรวงทบวงกรมต่าง ๆ เป็นต้นว่า หน่วยตำรวจนครบาล กองทัพบริติช ราชอุทยานลอนดอน ตลอดจน คริสตจักรอังกฤษ และสื่อมวลชน นอกจากนี้ การตัดสินใจสำคัญบางประการยังเป็นพระวินิจฉัยของสมเด็จพระราชินีนาถโดยตรง แต่บางเรื่องที่ต้องอาศัยการวินิจฉัยของผู้สืบบัลลังก์ต่อก็มี แผนนี้กำหนดให้ใช้ข้อความว่า "สะพานลอนดอนพังแล้ว" (London Bridge is down) เป็นรหัสสำหรับบอกคนวงใน เช่น นายกรัฐมนตรี และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ให้ทราบว่า สมเด็จพระราชินีนาถสวรรคตแล้ว จะได้เริ่มปฏิบัติตามแผน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและปฏิบัติการสะพานลอนดอน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.52 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช หลังการสวรรคต มีประเทศต่างๆและองค์การระดับนานาชาติส่งสาส์นแสดงความเสียใจเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

ประกาศพระราชเสาวนีย์แห่งสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2546

การอ่านประกาศพระราชโองการให้ขับไล่ชาวอคาเดียเมื่อ พ.ศ. 2298 ประกาศพระราชเสาวนีย์แห่งสหราชอาณาจักร..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประกาศพระราชเสาวนีย์แห่งสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2546 · ดูเพิ่มเติม »

ประกาศก้องจอมราชา

ประกาศก้องจอมราชา (The King's Speech) เป็นเรื่องราวของบุรุษผู้ต่อมาขึ้นครองบัลลังก์เป็นสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 พระบิดาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ภายหลังพระเชษฐาของพระองค์สละราชสมบัติ จอร์จต้องขึ้นครองราชย์แทนอย่างไม่ได้เตรียมใจนัก แต่ด้วยปัญหาอาการพูดติดอ่างซึ่งนำมาสู่ความกังวลว่าจะไม่เหมาะสมที่จะเป็น กษัตริย์ที่ดี จอร์จได้รับความช่วยเหลือจากไลโอเนล ลอจ นักบำบัดอาการบกพร่องทางการพูด จนเกิดเป็นมิตรภาพ และทำให้จอร์จเป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ต่อมา ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าจอร์จที่ 5 (ไมเคิล แกมบอน) ผู้เป็นพระบิดา พร้อมกับการสละโอกาสครองราชย์บัลลังก์ของเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด (กาย เพียร์ซ) ส่งผลให้เบอร์ตี (โคลิน เฟริร์ธ) ผู้มีปัญหาทางการพูด ต้องขึ้นครองราชย์แทนในนามพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งอังกฤษ ด้วยเหตุที่ประเทศตกอยู่ในสถานการณ์จวนเจียนเข้าสู่สงครามและจำเป็นต้องมี ผู้นำที่เข้มแข็ง เอลิซาเบธ (เฮเลนน่า บอนแฮม คาร์เตอร์) ภรรยาของเบอร์ตี และอนาคตราชินี จึงจัดแจงให้สามีของเธอได้พบกับไลโอเนล ล็อก (เจฟฟรีย์ รัช) ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษาโรคผิดปกติทางการพูด จากการเริ่มต้นที่แสนลำบาก ผู้รักษาและผู้รับการรักษาต่างร่วมกันแสวงหาวิธีบำบัดใหม่ ๆ ซึ่งก่อกำเนิดมิตรภาพอันลึกซึ้งระหว่างชายทั้งคู่ ด้วยความช่วยเหลือของล็อก รวมทั้งครอบครัว, รัฐบาล และวินสตัน เชอร์ชิลล์ (ทิโมธี สปอลล์) กษัตริย์จอร์จที่ 6 จะต้องเอาชนะอาการพูดติดอ่างให้ได้ เพื่อกล่าวปลุกปลอบพสกนิกรของพระองค์ให้ลุกขึ้นยืนหยัดเคียงข้างประเทศชาติ ในภาวะสงคราม ภาพยนตร์เรื่องนี้ ชนะเลิศรางวัลจากสถาบันทางภาพยนตร์ต่างๆ รวมทั้งสิ้น 75 รางวัล โดยมีรางวัลที่สำคัญ คือการชนะเลิศรางวัลออสการ์ ใน 4 รางวัล ได้แก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประกาศก้องจอมราชา · ดูเพิ่มเติม »

ประมุขแห่งรัฐ

ประมุขแห่งรัฐ (head of state) เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์และพิธีการทูตเมื่อหมายถึงข้าราชการ (official) ที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในรัฐเอกราชหนึ่ง ๆ และมีอำนาจเด็ดขาดหรือจำกัดที่จะปฏิบัติเป็นผู้แทนสาธารณะสูงสุด (chief public representative) ของรัฐ ประมุขแห่งรัฐในประเทศส่วนใหญ่เป็นบุคคลธรรมดาที่ดำรงตำแหน่ง หากในบางประเทศ คณะบุคคลอยู่ในตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ เช่น สภาสหพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และผู้ครองนครร่วม (Captains Regent) ซานมารีโน คำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" มักใช้เพื่อแยกความแตกต่างจากคำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" ยกตัวอย่าง ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 เช่น ระบบรัฐสภาอย่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระมหากษัตริย์และประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นประมุขแห่งรัฐในสองประเทศนี้ตามลำดับ ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับการยอมรับเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ดี ในสาธารณรัฐที่มีระบบประธานาธิบดี เช่น สหรัฐอเมริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งบุคคลที่เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลยังอาจเกิดได้ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและบางครั้งเช่นเดียวกับระบอบเผด็จการอื่น ๆ บทบาทของประมุขแห่งรัฐโดยทั่วไป รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมือง และหน้าที่ ถูกกำหนดในรัฐธรรมนูญและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูตปฏิบัติภายใต้ข้อสันนิษฐานว่า หัวหน้าคณะทูต (คือ เอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต) ของประเทศผู้ส่งถูกถือว่าเป็นของประมุขแห่งรัฐรัฐผู้รับ มักคิดกันว่าประมุขแห่งรัฐเป็น "ผู้นำ" อย่างเป็นทางการของรัฐชาติหนึ่ง ๆ ปัจจุบัน หลายประเทศคาดหวังให้ประมุขแห่งรัฐของตนรวมค่านิยมของชาติในแบบนิยมที่คล้ายกัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประมุขแห่งรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติการบินไทย

ำนักงานการบินไทย สาขาท่าอากาศยานดอนเมือง ประวัติบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กำเนิดจากที่รัฐบาลไทยให้ บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียน ทำสัญญาร่วมทุนระหว่างกัน เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2502 จากนั้นในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 บริษัท การบินไทย จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นด้วยทุนประเดิม 2 ล้านบาท เพื่อดำเนินธุรกิจสายการบินระหว่างประเทศ โดยมีเที่ยวบินปฐมฤกษ์ไปยังฮ่องกง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ปีเดียวกัน ต่อมาในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2520 เอสเอเอสคืนหุ้นให้เดินอากาศไทย หลังจากครบระยะเวลาตามสัญญาร่วมทุน แล้วโอนให้แก่กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ตามมติคณะรัฐมนตรี และในที่สุดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2531 เดินอากาศไทย ซึ่งดำเนินธุรกิจสายการบินภายในประเทศ ก็รวมกิจการเข้ากับการบินไทย เพื่อให้สายการบินแห่งชาติเป็นหนึ่งเดียว ตามมติคณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจ จากนั้นในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 การบินไทยเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี และจดทะเบียนแปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประวัติการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาร์เบโดส

ร์เบโดส (Barbados) เป็นประเทศที่เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก ทางตะวันออกของทะเลแคริบเบียนเล็กน้อย ที่ 13 องศาเหนือและ 59 องศาตะวันตก ตั้งอยู่ค่อนข้างใกล้กับอเมริกาใต้โดยตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเวเนซุเอลาประมาณ 434.5 กิโลเมตร (270 ไมล์) เกาะที่อยู่ใกล้บาร์เบโดสมากที่สุดคือเซนต์ลูเซีย และเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซึ่งทั้ง 2 ประเทศตั้งอยู่ทางตะวันตก และเมื่อรวมกับบาร์เบโดสแล้ว เกาะเหล่านี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) ในภูมิภาคแคริบเบียน บาร์เบโดสเป็นหนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานชีวิตและความสามารถในการอ่านออกเขียนได้สูงที่สุดในโลกที่กำลังพัฒนา และจาก UNDP (United Nations Development Programme) บาร์เบโดสเป็นประเทศที่พัฒนาเป็นอันดับ 4 ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา นอกจากนี้ บาร์เบโดสยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศบาร์เบโดส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาฮามาส

ประเทศบาฮามาส (The Bahamas) หรือชื่อทางการว่า เครือรัฐบาฮามาส (Commonwealth of the Bahamas) เป็นประเทศตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อยู่ทางตอนเหนือของประเทศคิวบาและทะเลแคริบเบียน ชื่อของประเทศมาจากคำนภาษาสเปนว่า "บาคามาร์" (baja mar) มีความหมายว่า "ทะเลน้ำตื้น" เศรษฐกิจของประเทศมากกว่าร้อยละ 60 ของจีดีพี มาจากธุรกิจการท่องเที่ยว ส่วนที่เหลือมาจากอุตสาหกรรมการเกษตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศบาฮามาส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสกอตแลนด์

กอตแลนด์ (Scotland; Alba อาละเปอะ) เป็นชาติของชนชาวสก็อตและเป็นส่วนหนึ่งของประเทศสหราชอาณาจักร โดยครอบคลุมพื้นที่หนึ่งในสามทางตอนเหนือของเกาะบริเตนใหญ่ มีพรมแดนร่วมกับประเทศอังกฤษทางทิศใต้ ส่วนที่เหลือล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเป็นทะเลเหนือ และทิศตะวันตกเฉียงใต้จดช่องแคบเหนือและทะเลไอร์แลนด์ นอกเหนือจากแผ่นดินใหญ่แล้ว ประเทศสกอตแลนด์ยังมีเกาะอีกกว่า 790 เกาะ เอดินบะระ เมืองหลวงและนครใหญ่ที่สุดอันดับสองของประเทศ เป็นศูนย์กลางยุคเรืองปัญญาของชาวสกอตในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซึ่งเปลี่ยนสกอตแลนด์มาเป็นมหาอำนาจทางพาณิชย์ ทางการศึกษา และทางอุตสาหกรรมเมืองหนึ่งของทวีปยุโรป ฯ กลาสโกว์ นครใหญ่สุดของสกอตแลนด์ เคยเป็นนครอุตสาหกรรมชั้นนำของโลกและปัจจุบันเป็นศูนย์กลางของเขตเมืองขยายเกรตเตอร์กลาสโกว์ น่านน้ำสกอตแลนด์ประกอบด้วยทะเลแอตแลนติกเหนือและทะเลเหนือ ซึ่งมีปริมาณน้ำมันสำรองใหญ่สุดในสหภาพยุโรป ทำให้เมืองแอเบอร์ดีน นครใหญ่สุดอันดับสามในสกอตแลนด์ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองหลวงน้ำมันของทวีปยุโรป เดิมราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นประเทศอิสระที่ไม่ขึ้นกับประเทศอังกฤษจนถึง..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจาเมกา

มกา (Jamaica) เป็นประเทศที่อยู่บนเกาะในภูมิภาคหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่ เกาะจาเมกาเป็นเกาะที่มีความยาว 240 กม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศจาเมกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตูวาลู

ตูวาลู (ตูวาลูและTuvalu) หรือเดิมเป็นที่รู้จักกันในชื่อ หมู่เกาะเอลลิซ (Ellice Islands) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ชื่อประเทศแปลว่า "แปดยืนยง" (Eight Standing Together) ในภาษาตูวาลู นอกจากนครรัฐวาติกันแล้ว ตูวาลูเป็นประเทศอิสระที่มีประชากรน้อยที่สุดในโลก เนื่องจากมีความสูงต่ำ (สูงสุดคือ 5 เมตร) เกาะที่ประกอบเป็นประเทศนี้ อาจจะเกิดปัญหาถ้าระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต ในช่วงหลายทศวรรษข้างหน้า ประชากรอาจจะอพยพไปที่ประเทศนิวซีแลนด์หรือเกาะนีอูเอซึ่งเป็นเกาะเล็ก ๆ ที่เป็นปกครองตนเองแต่ขึ้นกับนิวซีแลนด์ที่ไม่มีปัญหาจากการเพิ่มของระดับน้ำทะเล แต่มีประชากรน้อยลง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศตูวาลู · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซีลอนในเครือจักรภพ

ประเทศซีลอนในเครือจักรภพThe Sri Lanka Independence Act 1947 uses the name "Ceylon" for the new dominion; nowhere does that Act use the term "Dominion of Ceylon", which although sometimes used was not the official name) หรือ "ซีลอน" คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ปกครองภายใต้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นพระประม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศซีลอนในเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถานในเครือจักรภพ

ประเทศปากีสถาน (পাকিস্তান অধিরাজ্য อูรดู: مملکتِ پاکستان) ระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศปากีสถานในเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปาปัวนิวกินี

ปาปัวนิวกินี (Papua New Guinea; Papua Niugini) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐเอกราชปาปัวนิวกินี (Independent State of Papua New Guinea; Independen Stet bilong Papua Niugini) เป็นประเทศในแถบโอเชียเนีย เป็นพื้นที่ทางตะวันออกของเกาะนิวกินี (พื้นที่ทางตะวันตกเป็นของจังหวัดปาปัวของประเทศอินโดนีเซีย) ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก อยู่ทางเหนือของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ทางตะวันตกของหมู่เกาะโซโลมอน ปัจจุบันปาปัวนิวกินีเป็นประเทศสังเกตการณ์ในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศปาปัวนิวกินี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์

นิวซีแลนด์ (New Zealand; มาวรี: Aotearoa หมายถึง "ดินแดนแห่งเมฆยาวสีขาว" หรือ Niu Tirenio ซึ่งเป็นการทับศัพท์จากภาษาอังกฤษ) เป็นประเทศที่ประกอบด้วยเกาะใหญ่ 2 เกาะ รวมถึงเกาะเล็ก ๆ จำนวนหนึ่ง ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนตะวันตกเฉียงใต้ - นิวซีแลนด์มีเมืองหลวงชื่อเวลลิงตัน นิวซีแลนด์เป็นประเทศที่ห่างไกลจากประเทศอื่น ๆ มากที่สุด ประเทศที่อยู่ใกล้ที่สุดคือประเทศออสเตรเลีย ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะใหญ่ 2,000 กิโลเมตร โดยที่มี ทะเลแทสมันกั้นกลาง ดินแดนเดียวที่อยู่ทางใต้คือทวีปแอนตาร์กติกา และทางเหนือคือนิวแคลิโดเนีย ฟิจิ และตองกา นิวซีแลนด์ได้กลายเป็นอาณานิคมของอังกฤษด้วยสนธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi) เมื่อปี พ.ศ. 2383 ซึ่งได้สัญญาไว้ว่าจะให้สิทธิในการเป็นผู้นำชนเผ่าอย่างเต็มรูปแบบ "complete chieftainship" (tino rangatiratanga) แก่ชาวมาวรีพื้นเมืองของนิวซีแลนด์ ในปัจจุบันความหมายที่แน่นอนของสนธิสัญญานี้ยังคงเป็นข้อพิพาท และยังคงเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดการแบ่งแยกและความไม่พอใจกันอยู่เนื่องจากมีการแปลสนธิสัญญาทั้งสองฉบับไม่ตรงกัน โดยในฉบับภาษาอังกฤษมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะปกครองประเทศและประชาชนของประเทศ ในขณะที่ในฉบับภาษามาวรีมีใจความว่าสหราชอาณาจักรจะเป็นฝ่ายสนับสนุนการปกครองของผู้นำที่ชาวมาวรีพึงใจให้ปกครอง ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศนิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา

แอนติกาและบาร์บูดา (Antigua and Barbuda) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนตะวันออก บริเวณรอยต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะหลักสองเกาะ คือ เกาะแอนติกาและเกาะบาร์บูดา ทั้งสองเกาะตั้งอยู่ในตอนกลางของหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) ในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออก ประมาณ 17 องศาเหนือเส้นศูนย์สูตร แอนติกาและบาร์บูดายังเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส โดยมีหมู่เกาะกัวเดอลุป ดอมินีกา มาร์ตีนิก เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ บาร์เบโดส เกรเนดา ตรินิแดดและโตเบโกอยู่ทางทิศใต้ เกาะมอนต์เซอร์รัตทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ หมู่เกาะเซนต์คิตส์และเนวิสทางทิศตะวันตก และมีเกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี เกาะเซนต์มาร์ติน และมีเกาะแองกวิลลาอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศแอนติกาและบาร์บูดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดา

แคนาดา (-enCanada) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ ติดกับสหรัฐ เป็นประเทศที่มีที่ตั้งอยู่ทางเหนือมากที่สุดของโลกและมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ปัจจุบันแคนาดาใช้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยถือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเป็นพระมหากษัตริย์ (หมายเหตุ: พระองค์เดียวกับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร แต่โดยรัฐธรรมนูญแล้วถือว่าเป็นคนละตำแหน่ง) ดินแดนที่เป็นประเทศแคนาดาในปัจจุบันในอดีตมีผู้อยู่อาศัยอยู่แล้วเป็นชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่ม เมื่อตอนต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักสำรวจเดินทางชาวอังกฤษและฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจ และต่อมาจึงมีการตั้งรกรากขึ้นบนแถบชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ในปี..1763 ฝรั่งเศสได้ยอมสูญเสียอาณานิคมเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือหลังจากสงครามเจ็ดปี ในปี..1867 มีการรวมตัวของอาณานิคมของอังกฤษ 3 แห่งขึ้น และประเทศแคนาดาก็ถือกำเนิดขึ้นในรูปแบบของเขตปกครองสหพันธรัฐ ประกอบด้วย 4 รัฐ และนี่กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการเพิ่มจำนวนขึ้นของรัฐและดินแดนต่างๆ และกระบวนการได้รับอำนาจปกครองตนเองจากสหราชอาณาจักร รัฐบัญญัติแห่งเวสต์มินสเตอร์ในปี..1931 ได้เพิ่มอำนาจปกครองตนเองและเป็นผลให้เกิดพระราชบัญญัติแคนาดาในปี..1982 ซึ่งมีผลให้แคนาดาตัดขาดจากการขึ้นตรงต่ออำนาจของรัฐสภาอังกฤษ ประเทศแคนาดา ประกอบด้วยรัฐ 10 รัฐ และดินแดน 3 แห่ง และปกครองในระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เป็นพระประมุขสูงสุด แคนาดาเป็นประเทศที่ใช้ภาษาทางการ 2 ภาษาทั้งในระดับประเทศและในรัฐนิวบรันสวิก ภาษาทางการ 2 ภาษานั้นคือ ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส และมีความหลากหลายทางวัฒนธรรม แคนาดาเป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและเป็นประเทศอุตสาหกรรม มีเศรษฐกิจที่หลากหลาย ซึ่งพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ และพึ่งพาการค้าขาย โดยเฉพาะกับสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นประเทศที่แคนาดามีความสัมพันธ์อันยาวนานและสลับซับซ้อน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรดีเชีย

ประเทศโรดีเชีย (Rhodesia) ได้ชื่อตามเซซิล โรดส์ และตั้งแต่ปี 2513 เป็นต้นไปรู้จักกันทั่วไปว่า สาธารณรัฐโรดีเชีย เป็นรัฐที่ไม่ได้รับการรับรองในแอฟริกาใต้ตั้งแต่ปี 2508 ถึง 2522 ด้านอาณาเขตเทียบเท่ากับประเทศซิมบับเวสมัยใหม่ มีเมืองหลวง คือ ซอลส์บรี (ปัจจุบันคือ ฮาราเร) ถือเป็นรัฐสืบทอดโดยพฤตินัยของอดีตอาณานิคมเซาเทิร์นโรดีเชียของบริติช (ซึ่งได้รัฐบาลที่รับผิดชอบในปี 2466) ระหว่างความพยายามชะลอการเปลี่ยนผ่านทันทีสู่การปกครองฝ่ายข้างมากผิวดำ รัฐบาลผิวขาวที่เหนือกว่าของโรดีเชียออกคำประกาศอิสรภาพฝ่ายเดียว (UDI) จากสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2508 เดิมรัฐบาล UDI แสวงการรับรองเป็นราชอาณาจักรปกครองตนเองในเครือจักรภพแห่งชาติ แต่มีการกำหนดใหม่เป็นสาธารณรัฐในปี 2513 ให้หลังสงครามกองโจรอันป่าเถื่อนที่สู้รบกับองค์การชาตินิยมแอฟริกาที่คอมมิวนิสต์ให้ท้ายสององค์การ นายกรัฐมนตรีโรดีเชีย เอียน สมิธ ยอมให้ประชาธิปไตยสองเชื้อชาติในปี 2521 ทว่า ต่อมารัฐบาลชั่วคราวที่มีสมิธและเพื่อนร่วมงานสายกลางของเขา อะเบล มูโซเรวา (Abel Muzorewa) เป็นหัวหน้าไม่สามารถได้ความเห็นชอบจากนักวิจารณ์ต่างประเทศหรือหยุดการนองเลือดได้ ในเดือนธันวาคม 2522 มูโซเรวาเป็นนายกรัฐมนตรีแทนสมิธและทำความตกลงกับนักชาตินิยม ทำให้โรดีเชียเปลี่ยนกลับเป็นสถานภาพอาณานิคมชั่วคราวโดยรอการเลือกตั้งที่มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป สุดท้ายโรดีเชียได้รับการรับรองเอกราชในระดับนานาชาติในเดือนเมษายน 2523 พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็นสาธารณรัฐซิมบับเว หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปแอฟริกา หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2508 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2522 หมวดหมู่:จักรวรรดิบริติช หมวดหมู่:ความสูงสุดของคนขาวในทวีปแอฟริกา.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศโรดีเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลีซ

ลีซ (Belize) เป็นชาติขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของอเมริกากลาง ริมทะเลแคริบเบียน มีอาณาเขตจรดประเทศเม็กซิโกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดประเทศกัวเตมาลาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ มีประเทศฮอนดูรัสเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ห่างออกไปเพียง 75 กิโลเมตร (47 ไมล์) ตามอ่าวฮอนดูรัสทางด้านตะวันออก ชื่อประเทศมีต้นกำเนิดมาจากชื่อแม่น้ำเบลีซ ซึ่งเมืองเบลีซซิตี (เมืองหลวงเก่า) ก็ได้ชื่อมาจากแม่น้ำนี้ด้วยเช่นกัน ในภาษาสเปนมักจะเรียกว่า Belice เบลีซเป็นสมาชิกของประชาคมแคริบเบียน (CARICOM) และ the Sistema de Integracion Centro Americana (SICA) และจัดว่าตนเองอยู่ทั้งในกลุ่มประเทศแคริบเบียนและอเมริกากลาง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเบลีซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกรเนดา

กรเนดา (Grenada) เป็นประเทศบนเกาะในทะเลแคริบเบียนตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงหมู่เกาะเกรนาดีนส์ (Grenadines) ทางใต้ เป็นประเทศอิสระที่มีขนาดเล็กเป็นอันดับ 2 ใน ซีกโลกตะวันตก (ประเทศที่เล็กที่สุดคือ ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส) ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศตรินิแดดและโตเบโก และทางใต้ของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเกรเนดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวลส์

วลส์ (Wales; Cymru, ออกเสียง คัมรึ) เป็น 1 ใน 4 ประเทศที่ประกอบเป็นสหราชอาณาจักร (ได้แก่ อังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ) เวลส์อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ โดยทิศตะวันออกติดกับประเทศอังกฤษ ทิศใต้ติดกับช่องแคบบริสตอล (Bristol Channel) ทิศตะวันตกติดกับช่องแคบจอร์เจส (George's Channel) และทางเหนือติดกับทะเลไอริช คำว่า ราชรัฐเวลส์ ยังคงเป็นที่นิยมใช้ ถึงแม้ว่าเจ้าชายแห่งเวลส์จะไม่มีบทบาททางการเมืองตั้งแต่ปี พ.ศ. 1825 (ค.ศ. 1282) โดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2 แห่งอังกฤษทรงเข้ายึดครอง ต่อมาเมืองหลวงของเวลส์ถูกย้ายจากคายร์นาร์วอน (ซึ่งเป็นเมืองของเจ้าชายเวลส์) มาที่คาร์ดิฟฟ์ในปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซนต์ลูเชีย

ซนต์ลูเชีย (Saint Lucia) เป็นประเทศที่เป็นเกาะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของทะเลแคริบเบียน และติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เซนต์ลูเชียเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) โดยอยู่ทางทิศเหนือของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศบาร์เบโดส และทางทิศใต้ของเกาะมาร์ตินีกของฝรั่งเศส ประเทศเซนต์ลูเชียรู้จักในนาม "Helen of the West".

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเซนต์ลูเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

ซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ (Saint Vincent and the Grenadines) เป็นประเทศในภูมิภาคแคริบเบียน มีลักษณะเป็นหมู่เกาะ มีทางออกสู่ทะเลและเป็นสมาชิกของเครือจักร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส

ซนต์คิตส์และเนวิส (Saint Kitts and Nevis) หรือชื่อทางการคือ สหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิส (Federation of Saint Kitts and Nevis) ตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) เป็นประเทศเกาะในทะเลแคริบเบียนและเป็นประเทศที่เล็กที่สุดในซีกโลกตะวันตก เมืองหลวงและหน่วยงานรัฐบาลของสหพันธรัฐส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนเกาะเซนต์คิตส์ (หรือเซนต์คริสโตเฟอร์) ที่มีขนาดใหญ่กว่า ส่วนรัฐที่เล็กกว่าคือ เนวิส (Nevis) ตั้งอยู่ห่างจากเกาะเซนต์คิตส์ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 3 กิโลเมตร ตามประวัติศาสตร์แล้ว แองกวิลลาซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐด้วย เรียกว่า เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา แม้ว่าทั้งเกาะเซนต์คิตส์และเกาะเนวิสตั้งอยู่ภายในหมู่เกาะลีเวิร์ด แต่ทั้ง 2 เกาะก็ตั้งอยู่ใกล้กับเกาะอื่น ๆ อีกมากมายด้วย ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือมีเกาะซินต์เอิสตาซียึส เกาะซาบา เกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี และเกาะเซนต์มาร์ติน ทางตะวันออกเฉียงเหนือมีเกาะแอนติกาและบาร์บูดา และทางตะวันออกเฉียงใต้มีเกาะมอนต์เซอร์รัต ทั้งชื่อ Saint Christopher และ Saint Kitts ปรากฏอยู่ใน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทคายร์นาร์วอน

ปราสาทคายร์นาร์วอน (Castell Caernarfon) หรือ ปราสาทคาร์นาร์วอน (Caernarfon Castle) เป็นปราสาทที่ตั้งอยู่ที่เมืองคายร์นาร์วอน ภาคกุยเน็ดด์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเวลส์ในสหราชอาณาจักร สร้างโดยพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ หลังจากที่ทรงได้รับชัยชนะต่อกุยเน็ดด์ในปี ค.ศ. 1283.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและปราสาทคายร์นาร์วอน · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทแบลมอรัล

ปราสาทแบลมอรัล (Balmoral Castle) เป็นปราสาทที่ตั้งอยู่ที่ในอะเบอร์ดีนเชอร์ใน สกอตแลนด์ในสหราชอาณาจักร ปราสาทแบลมอรัลรู้จักกันว่า “Royal Deeside” เจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ตพระสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรทรงซื้อปราสาท และยังใช้เป็นที่ประทับในฤดูร้อนของพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรมาจนถึงทุกวันนี้ ปราสาทผ่านมือกันมาหลายชั่วคนและได้รับการขยายต่อเติมจนมีเนื้อที่กว่า 260 ตารางกิโลเมตร (65,000 เอเคอร์) ในปัจจุบันปราสาทยังเป็นสถานที่ที่ใช้ในการพำนักอาศัยที่มีผู้ทำงานเต็มเวลาทั้งหมด 50 คนและอีก 100 คนครึ่งเวล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและปราสาทแบลมอรัล · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ ฟิลลิปส์

ปีเตอร์ ฟิลลิปส์ เป็นโอรสคนโตในเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี กับนายมาร์ก ฟิลลิปส์ เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและปีเตอร์ ฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ เบนเน็ต บารอนเบนเน็ตแห่งเอ็ดจ์บาสตันที่ 1

ปีเตอร์ เฟรเดอริก บลักเกอร์ เบนเน็ต บารอนเบนเน็ตแห่งเอ็ดจ์บาสตันที่ 1 (Peter Frederick Blaker Bennett, 1st Baron Bennett of Edgbaston) (16 เมษายน พ.ศ. 2423 - 27 กันยายน พ.ศ. 2500) รู้จักกันในชื่อ เซอร์ปีเตอร์ เบนเน็ต ระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและปีเตอร์ เบนเน็ต บารอนเบนเน็ตแห่งเอ็ดจ์บาสตันที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

นิโคไล เชาเชสกู

นิโคไล เชาเชสกู (อังกฤษ - Nicolae Ceausescu; โรมาเนีย: Nicolae Ceauşescu) (26 มกราคม พ.ศ. 2462 - 25 ธันวาคมพ.ศ. 2532) เขาเป็นชาวโรเมเนีย (ชาวโรมาเนีย) และนักการเมืองในสายคอมมิวนิสต์ เขาเป็นผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์โรเมเนียในช่วงปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและนิโคไล เชาเชสกู · ดูเพิ่มเติม »

นีวเว

นีวเว (Niue; นีวเว: Niuē) เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มักเรียกว่า "Rock of Polynesia" นีวเวปกครองตนเอง แต่นอกจากนี้ นีวเวยังอยู่ในความสัมพันธ์เสรี (free association) กับประเทศนิวซีแลนด์ด้วย นั่นหมายความว่าประมุขโดยชอบธรรมของนิวซีแลนด์เป็นประมุขรัฐของนีวเวด้วย และความสัมพันธ์ทางการทูตส่วนใหญ่จะจัดโดยนิวซีแลนด์ นีวเวตั้งอยู่ห่างจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของนิวซีแลนด์ 2,400 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในบริเวณสามเหลี่ยมระหว่างประเทศตองงา ประเทศซามัว และหมู่เกาะคุก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและนีวเว · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงค์ บรูโน

รูโนเมื่อครั้งแพ้น็อกยก 3 แก่ ไมค์ ไทสัน ในปี ค.ศ. 1996 แฟรงค์ บรูโน (Frank Bruno) อดีตแชมป์โลกเฮฟวี่เวทผิวดำชาวอังกฤษ มีชื่อจริงว่า แฟรงกลิน รอย บรูโน (Franklin Roy Bruno) เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1961 ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ บรูโนชกมวยสากลอาชีพครั้งแรกในปี ค.ศ. 1982 ทำสถิติชนะน็อกและชนะที.เค.โอ. 21 ครั้งรวด ก่อนจะแพ้ที..โอ.ยก 10 กับ เจมส์ สมิธ นักมวยชาวอเมริกัน ที่สนามเวมบลีย์ ถิ่นของบรูโนเอง จากนั้นบรูโนกลับมาทำฟอร์มชนะรวดอีก 7 ครั้ง และเป็นการชนะน็อกอีก 6 ครั้ง ก่อนจะมาแพ้ที..โอ.ในยกทื่ 11 ต่อ ทิม วิทเธอร์สปูน นักมวยชาวอเมริกัน ที่สนามเวมบลีย์ และบรูโนก็กลับมาชนะน็อกอีก 5 ครั้ง ก่อนที่จะขึ้นแชมป์โลกเฮฟวี่เวท 3 สถาบันหลัก กับนักมวยอันตรายแห่งยุค ไมค์ ไทสัน ถึงลาสเวกัส ผลการชกบรูโนเป็นฝ่ายแพ้ที..โอ.เพียงยกที่ 5 แก่ไทสันเท่านั้นเอง เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989 หลังจากนั้นบรูโนก็กลับมาทำฟอร์มชนะน็อกรวดอีก 5 ครั้ง ก่อนที่จะชิงแชมป์โลกอีกครั้งเฉพาะของสถาบันสภามวยโลก (WBC) กับ เลนน็อก ลูอิส นักมวยชาวอังกฤษด้วยกัน ผลการชกบรูโนไม่อาจจะทนทานลูอิสไหว จึงเป็นฝ่ายแพ้น็อกไปในยกที่ 7 เท่านั้น จากนั้นบรูโนก็ยังเคลื่อนไหวชกอีกเรื่อย ๆ แต่ก็ทิ้งระยะห่างออกไปในแต่ละปี จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1995 ที่ลูอิสเสียแชมป์โลก WBC ให้แก่ โอลิเวอร์ แมคคอลล์ นักมวยชาวอเมริกันอย่างไม่น่าเชื่อ บรูโนก็ได้โอกาสชิงแชมป์โลกเป็นครั้งที่ 3 กับ แมคคอลล์ ที่สนามเวมบลีย์ เมื่อวันที่ 2 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแฟรงค์ บรูโน · ดูเพิ่มเติม »

แฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน

แฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน (Fan Pan Tae Superfan) รายการเกมโชว์ของไทยจากเวิร์คพอยท์ ดำเนินรายการโดยกันต์ กันตถาวร ออกอากาศทุกวันศุกร์ เวลา 21.00 - 22.00 น. ทางช่องเวิร์คพอยท์ออกอากาศเทปแรกเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2559 – 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแฟนพันธุ์แท้ ซูเปอร์แฟน · ดูเพิ่มเติม »

แมลคัม เทิร์นบุลล์

แมลคัม เทิร์นบุลล์ (Malcolm Turnbull; เกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2497) เป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคนที่ 29 ของออสเตรเลีย เขาได้ดำรงตำแหน่งหลังจากชนะการเลือกตั้งหัวหน้าพรรคในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแมลคัม เทิร์นบุลล์ · ดูเพิ่มเติม »

แลร์รี (แมว)

แลร์รี (Larry) เป็นแมวที่เป็นที่รู้จักในหมู่ชาวอังกฤษ ในฐานะผู้จับหนูประจำสำนักงานคณะรัฐมนตรี บ้านเลขที่ 10 ถนนดาวนิง มีขนสีน้ำตาลและลายสีขาว เชื่อว่ามันเกิดในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแลร์รี (แมว) · ดูเพิ่มเติม »

แสตมป์ทั่วไป

แสตมป์ทั่วไปของสหรัฐอเมริกา มีภาพจอร์จ วอชิงตัน ออกใช้เมื่อปี พ.ศ. 2510 แสตมป์ทั่วไป (อังกฤษ definitive stamp) เป็นแสตมป์ที่วัตถุประสงค์ในการพิมพ์เพื่อใช้งาน แทนที่จะพิมพ์ขึ้นเพื่อการสะสมเหมือนแสตมป์ที่ระลึก ลักษณะของแสตมป์ทั่วไป มักมีหลายราคาครอบคลุมอัตราค่าไปรษณีย์ต่าง ๆ กัน มักทยอยพิมพ์และนำออกจำหน่ายต่อเนื่องกันหลายปี และมีการพิมพ์เพิ่มเติมเมื่อแสตมป์ที่มีอยู่ถูกใช้งานจนเหลือน้อย คำว่า definitive stamp เริ่มแพร่หลายช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เพื่อใช้แยกความแตกต่างจากแสตมป์ที่ระลึก สำหรับประเทศไทยแสตมป์ทั่วไปส่วนใหญ่เป็นพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในสมัยนั้น เรียกว่า แสตมป์พระบรมฉายาลักษณ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแสตมป์ทั่วไป · ดูเพิ่มเติม »

แองกวิลลา

แองกวิลลา (Anguilla) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในทะเลแคริบเบียน หนึ่งในกลุ่มเกาะที่อยู่ทางเหนือสุดของหมู่เกาะลีเวิร์ดในภูมิภาคเลสเซอร์แอนทิลลิส แองกวิลลาประกอบด้วยเกาะหลักแองกวิลลายาว 26 กิโลเมตร (16 ไมล์) กว้าง 5 กิโลเมตร (3 ไมล์) และกลุ่มเกาะเล็ก ๆ ซึ่งไม่มีคนอาศัยอย่างถาวร เมืองหลักของดินแดนแห่งนี้คือเดอะแวลลีย์ (The Valley) มีเนื้อที่รวมทั้งหมด 102 ตารางกิโลเมตร (39.4 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 13,500 คน (พ.ศ. 2549).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

แอนโทนี อีเดน

แอนโทนี อีเดน เอิร์ลแห่งเอวอง (Anthony Eden, 1st Earl of Avon) เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษจากพรรคอนุรักษนิยม เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศสามสมัย รัฐมนตรีว่าการสงคราม รัฐมนตรีว่าการอาณานิคม และนายกรัฐมนตรี เขาได้เข้าเป็นสมาชิกรัฐสภาตั้งแต่อายุยังน้อย โดยได้เป็นรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศขณะมีอายุเพียง 38 ปี ก่อนที่จะลาออกเพื่อเป็นการประท้วงนายกรัฐมนตรีเนวิล เชมเบอร์ลิน จากนโยบายโอนอ่อนผ่อนปรณต่อมุสโสลินี ผู้นำอิตาลีขณะนั้น ต่อมาเขาได้กลับมารับตำแหน่งนี้อีกครั้งในรัฐบาลของวินสตัน เชอร์ชิล และอยู่ในตำแหน่งนี้ตลอดช่วงเวลาของสงครามโลกครั้งที่สอง เขายังเป็นผู้นำอันดับสองในรัฐบาลของเชอร์ชิลยาวนานกว่า 15 ปี ก่อนที่เขาจะได้สืบต่อตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากเชอร์ชิลในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแอนโทนี อีเดน · ดูเพิ่มเติม »

แอนเดรีย คอรร์

แอนเดรีย คอรร์ (Andrea Corr) หรือในชื่อจริงว่า แอนเดรีย เจน คอรร์ (Andrea Jane Corr MBE) (17 พฤษภาคม ค.ศ. 1974) เป็นนักร้องนำของวง เดอะ คอรร์ส และนักแสดงชาวไอริช ซึ่งนอกจากร้องนำแล้ว ยังเล่น tin whistle ให้กับทางวงอีกด้วย ในปี 2005 แอนเดรีย และ เดอะ คอรร์ส ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (MBE) จากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เนื่องจากความสามารถทางดนตรี รวมถึงการทำงานการกุศลเพื่อหาเงินช่วยเหลือโรงพยาบาลฟรีแมนในนิวคาสเซิล เหยื่อจากเหตุการณ์ระเบิดในเมืองโอมากห์ ไอร์แลนด์เหนือ และงานการกุศลอื่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแอนเดรีย คอรร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอโครเทียรีและดิเคเลีย

แอโครเทียรีและดิเคเลีย (Akrotiri and Dhekelia) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร แอโครเทียรีและดิเคเลียเป็นพื้นที่ฐานอำนาจอธิปไตยตั้งอยู่บนเกาะไซปรัส ซึ่งบริหารจัดการโดยกองทัพสหราชอาณาจักร หน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลที่นี่คือกระทรวงกลาโหม ดินแดนนี้มีพื้นที่ทั้งหมด 254 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 7,500 คน ดินแดนนี้เป็นดินแดนที่มีข้อพิพาทกับประเทศไซปรัสต้องการที่จะปกครองดินแดนนี้แทนสหราชอาณาจักร อาณาเขตของดินแดนครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 3% ของเกาะไซปรัส ดินแดนนี้มีพื้นที่สองส่วนแยกกัน คือแอโครเทียรีมีพื้นที่ 123 ตารางกิโลเมตร และดิเคเลียมีพื้นที่ 131 ตารางกิโลเมตร แอโครเทียรีตั้งอยู่ทางใต้ของเกาะไซปรัส ส่วนดิเคเลียตั้งอยู่ทางตะวันออก ซึ่งอยู่ในเขตของไซปรัสเหนือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแอโครเทียรีและดิเคเลีย · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี่ พอตเตอร์

แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นชุดนวนิยายแฟนตาซีจำนวนเจ็ดเล่ม ประพันธ์โดยนักเขียนชาวอังกฤษ เจ. เค. โรว์ลิง เป็นเรื่องราวการผจญภัยของพ่อมดวัยรุ่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ กับเพื่อนสองคน รอน วีสลีย์ และเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ซึ่งทั้งหมดเป็นนักเรียนโรงเรียนคาถาพ่อมดแม่มดและเวทมนตร์ศาสตร์ฮอกวอตส์ โครงเรื่องหลักเกี่ยวกับภารกิจของแฮร์รี่ในการเอาชนะพ่อมดศาสตร์มืดที่ชั่วร้าย ลอร์ดโวลเดอมอร์ ผู้ที่ต้องการจะมีชีวิตอมตะ มีเป้าหมายเพื่อพิชิตมักเกิ้ล หรือประชากรที่ไม่มีอำนาจวิเศษ พิชิตโลกพ่อมดและทำลายทุกคนที่ขัดขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฮร์รี่ พอตเตอร์ หนังสือเล่มแรกในชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์กับศิลาอาถรรพ์ วางจำหน่ายในฉบับภาษาอังกฤษครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแฮร์รี่ พอตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แทนกันยีกา

แทนกันยีกา (Tanganyika) หรือชื่ออย่างเป็นทางการในภายหลัง สาธารณรัฐแทนกันยีกา เป็นรัฐเอกราชในแอฟริกาตะวันออกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและแทนกันยีกา · ดูเพิ่มเติม »

โรลส์-รอยซ์ แฟนทอม

รลส์-รอยซ์ แฟนท่อม (Rolls-Royce Phantom) มีชื่อเสียงในฐานะรถพรีเมียมของค่ายรถยนต์ โรลส์-รอยซ์ (ซึ่งเป็นค่ายรถยนต์ที่ผลิตรถหรูหราระดับ Luxury Car) เริ่มการผลิตรุ่นแรกใน พ.ศ. 2468 โดยเป็นรุ่นที่ออกมาทดแทนรถรุ่น โรลส์-รอยซ์ ซิลเวอร์ โกสต์ (Rolls-Royce Silver Ghost) มีการผลิตตั้งแต่รุ่นแรกถึงปัจจุบันที่ใช้ชื่อแฟนท่อม มี 7 รุ่น (แฟนท่อม ไม่ใช่การพัฒนาแบบ Generation เหมือนรถญี่ปุ่น แต่จะเป็นการใช้ชื่อรุ่นใหม่ เช่น แฟนท่อม I, II, III เป็นต้น ถือเป็นคนละโมเดล แต่มีชื่อคล้ายกัน และมีพัฒนาการจากโมเดลที่ออกมาก่อนโมเดลนั้นๆ) ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโรลส์-รอยซ์ แฟนทอม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนายร้อยทหารบกแซนด์เฮิสต์

รงเรียนนายร้อยทหารบกแซนด์เฮิสต์ (Royal Military Academy Sandhurst) หรือชื่อในอดีตคือ ราชวิทยาลัยการทหารแซนด์เฮิสต์ (Royal Military College, Sandhurst) เป็นสถาบันฝึกสอนทางการทหารของกองทัพสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ใกล้กับเมืองแซนด์เฮิสต์ในเทศมณฑลบาร์กเชอร์ สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโรงเรียนนายร้อยทหารบกแซนด์เฮิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1976

บีเวอร์ ''Amik'' เป็นมาสคอตประจำโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 18 ประจำปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 1976 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 2012

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 27 ประจำปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิเวีย โคลแมน

ซาราห์ แคโรไลน์ โอลิเวีย โคลแมน (เกิด 30 มกราคม ปี ค.ศ. 1974) (อังกฤษ: Sarah Caroline Olivia Colman)  หรือที่รู้จักในชื่อ โอลิเวีย โคลแมน นักแสดงชาวอังกฤษ เธอได้รับสามรางวัลจาก BAFTA สามรางวัลจาก BIFA และหนึ่งรางวัลลูกโลกทองคำ ทั้งยังได้รับการเสนอชื่อเข้ารับรางวัลเอ็มมี สองครั้ง สำหรับการแสดง โอลิเวีย โคลแมน เริ่มโดดเด่นในบทบาทของ โซเฟีย แชปแมน ในภาพยนตร์ซีรีส์แนวตลก Peep Show (2003-2015) ซึ่งออกอากาศทาง ช่อง 4 (สหราชอาณาจักร)  บทบาทของเธอในทีวีซีรีส์แนวตลก ยังมี Green Wing (2004–2006), Beautiful People (2008–2009), Rev. (2010–2014) และ Twenty Twelve (2011–2012)  โอลิเวียยังมีบทบาทหลากหลาย ทั้งภาพยนตร์โทรทัศน์  ภาพยนตร์ใหญ่ และละครเธียร์เตอร์ รวมถึง ภาพยนตร์ดราม่า ที่เธอได้รับการตอบรับอย่างมากจากผู้ชม คือ Tyrannosaur (2011) บทบาทการแสดงของเธอในบทบาทตำรวจ Doris Thatcher ในเรื่อง Hot Fuzz (2007), แครอล แทตเชอร์ ในเรื่อง หญิงเหล็กพลิกแผ่นดิน (The Iron Lady, 2011), บทบาท สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี  ในภาพยนตร์ Hyde Park on Hudson (2012), บทบาท Bethan Maguire ใน Locke (2013), Margaret Lea ในเรื่อง The Thirteenth Tale (2013) และบทบาทผู้จัดการโรงแรมใน ล็อบสเตอร์  (2015) ในปี 2018 โอลิเวีย โคลแมน จะสวมบทบาทของสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธที่ 2 ในซีซันที่ 3 และ 4 ในซีรีส์ต้นฉบับแนวละครประวัติศาสตร์ เดอะ คราวน์ (2017-) สร้างโดยปีเตอร์ มอร์แกน และเผยแพร่โดย Netflix.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโอลิเวีย โคลแมน · ดูเพิ่มเติม »

โทนี แบลร์

แอนโธนี ชาลส์ ลินตัน "โทนี" แบลร์ (Anthony Charles Lynton "Tony" Blair) เกิดเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร และเป็นอดีตหัวหน้าพรรคแรงงาน แบลร์สืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพรรคแรงงานหลังจากการเสียชีวิตของหัวหน้าพรรคคนก่อนคือ นายจอห์น สมิท (John Smith) ใน พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) และเอาชนะนายจอห์น เมเจอร์ (John Major) ของพรรคอนุรักษนิยม และเป็นหัวหน้าพรรคแรงงานคนเดียวที่สามารถชนะการเลือกตั้งได้ 3 สมัยติดต่อกัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโทนี แบลร์ · ดูเพิ่มเติม »

โทนี แอบบ็อตต์

แอนโทนี จอห์น "โทนี" แอบบ็อตต์ (Anthony John "Tony" Abbott; 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 28 ของออสเตรเลีย เขาได้ดำรงตำแหน่งหลังจากชนะการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2556 และเป็นผู้นำของพรรคเสรีนิยมมาตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโทนี แอบบ็อตต์ · ดูเพิ่มเติม »

โทเคอเลา

ทเคอเลา (Tokelau) เป็นเขตการปกครองตนเองกึ่งอาณานิคมของนิวซีแลนด์ โดยประกอบไปด้วยอะทอลล์ทั้งหมด 3 แห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ โทเคอเลาเคยมีชื่อเดิมว่า หมู่เกาะยูเนียน (Union Islands) จนกระทั่งปี พ.ศ. 2519 จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็นชื่อปัจจุบัน สหประชาชาติได้จัดให้โทเคอเลาอยู่ในรายชื่อประเทศที่ไม่ได้ปกครองตนเอง โทเคอเลาเป็นประเทศและดินแดนที่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจและค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่น้อยที่สุดในโลก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโทเคอเลา · ดูเพิ่มเติม »

โซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์

ซฟี เคานท์เตสแห่งเวสเซ็กส์ หรือพระนามเต็ม โซฟี เฮเลน สกุลเดิม ไรส์-โจนส์ (The Countess of Wessex; ประสูติ 20 มกราคม พ.ศ. 2508) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระชายาในเจ้าฟ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ พระราชโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และ เจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระองค์ทรงปฏิบัติงานเป็นประชาสัมพันธ์จนกระทั่งปี พ.ศ. 2545.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมค์ ทินดัลล์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและไมค์ ทินดัลล์ · ดูเพิ่มเติม »

ไวเคานต์

วเคานต์ (Viscount สำหรับบุรุษ) หรือ ไวเคาน์เตส (Viscountess สำหรับสตรี) ("ไว" ไม่ออกเสียง s) ในปัจจุบันเป็นฐานันดรศักดิ์ยุโรปสำหรับชนชั้นขุนนาง แต่ในอดีตอาจสื่อถึงชนชั้นระดับรองลงมาด้วย ตั้งแต่อดีตเป็นต้นมา จนถึงปัจจุบัน ตำแหน่งไวเคานต์นั้นไม่ถือเป็นตำแหน่งในระบบขุนนางสืบตระกูล เป็นเพียงตำแหน่งที่ใช้สื่อถึงการเป็นชนชั้นสูง ผู้ที่มีฐานันดรนี้ในสหราชอาณาจักร อาทิ เจมส์ ไวเคานต์เซเวิร์น พระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 คำๆนี้มาจากภาษาฝรั่งเศสสมัยเก่า visconte ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษาละตินสมัยกลาง vicecomitem กลายเป็นคำว่า vicecomes (vice- หมายถึง "รอง" และ -comes หมายถึง "มิตร") ก่อนที่สุดท้ายจะหันไปใช้การเขียนตามแบบจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ count แทน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและไวเคานต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไอร์แลนด์เหนือ

อร์แลนด์เหนือ (Northern Ireland; Tuaisceart Éireann ทวฌเชอรท์ เอรัน) คือ 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของสหราชอาณาจักรซึ่งประกอบด้วยอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือตั้งอยู่บนเกาะไอร์แลนด์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกและใต้ติดประเทศไอร์แลนด์ ทิศเหนือติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับช่องแคบเหนือ และทิศตะวันออกติดกับทะเลไอริช เมืองหลวงมีชื่อว่า เบลฟาสต์ ซึ่งมีประชากรประมาณ 333,000 คน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์เหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ไอล์ออฟแมน

อล์ออฟแมน (Isle of Man,; Ellan Vannin) เป็นดินแดนอาณานิคมปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร ตั้งอยู่ในเขตทะเลไอริช (Irish Sea) ในบริเวณศูนย์กลางของหมู่เกาะบริเตน (British Isles) ประมุขแห่งรัฐคือสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ในฐานะเจ้าครองนครแห่งแมนน์ (ลอร์ดออฟแมนน์ - Lord of Mann) โดยมีข้าหลวงทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ไอล์ออฟแมนนี้ไม่ได้เป็นดินแดนส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ แต่กิจการด้านการต่างประเทศ การป้องกันดินแดน และการบริหารระบบธรรมาภิบาลระดับสูงสุด (ultimate good-governance) ของไอล์ออฟแมนอยู่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและไอล์ออฟแมน · ดูเพิ่มเติม »

ไดอานา (แก้ความกำกวม)

อานา อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและไดอานา (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์

อานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ มีพระนามเต็มว่า ไดอานา ฟรานเซส (อังกฤษ: Diana Frances) สกุลเดิม สเปนเซอร์ (อังกฤษ: Spencer) ประสูติ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 — สิ้นพระชนม์ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2540 เป็นพระชายาองค์แรกของเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ มกุฎราชกุมารอังกฤษ ไดอานาถือกำเนิดในตระกูลขุนนางที่สืบทอดเชื้อสายจากราชวงศ์อังกฤษโบราณ  เป็นบุตรีคนที่ 3 ของ จอห์น สเปนเซอร์ ไวเคานต์อัลธอร์พ และฟรานเซส โรช ในวัยเด็กไดอานาพักอาศัยที่คฤหาสน์พาร์กเฮาส์ ซึ่งตั้งอยู่ภายในพื้นที่ตำหนักซานดริงแฮม ไดอานาเข้ารับการศึกษาในโรงเรียนที่ประเทศอังกฤษและได้เข้าศึกษาต่อเป็นเวลาสั้นๆ ในโรงเรียนการเรือนที่ประเทศสวิสเซอร์แลนด์  เมื่ออายุได้ 14 ปี ไดอานาได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เลดี้ เมื่อบิดาสืบทอดฐานันดรศักดิ์ขึ้นเป็น เอิร์ลแห่งสเปนเซอร์ ไดอานาเริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกเมื่อเป็นเข้าพิธีหมั้นหมายกับเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์มิวดา

อร์มิวดา เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกาห่างจากรัฐนอร์ทแคโรไลนาไปทางตะวันออก 580 ไมล์ เบอร์มิวดาเป็นดินแดนโพ้นทะเลที่เก่าแก่ที่สุดของสหราชอาณาจักร ที่ยังคงเหลืออยู่ โดยมีชาวอังกฤษมาตั้งรกรากก่อนการรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรถึงสองศตวรรษ โดยค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2152 (ค.ศ. 1609).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์ล็อก โฮมส์

อร์ล็อก โฮมส์ เป็นนวนิยายสืบสวนหรือรหัสคดี ประพันธ์โดยเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ นักเขียนและนายแพทย์ชาวสกอต ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตัวละคร เชอร์ล็อก โฮมส์ เป็นนักสืบชาวลอนดอนผู้ปราดเปรื่องที่มีชื่อเสียงโด่งดังด้านทักษะการประมวลเหตุและผล ทักษะด้านนิติวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยหลักฐานและการสังเกตอันคาดไม่ถึงเพื่อคลี่คลายคดี โคนัน ดอยล์ แต่งเรื่อง เชอร์ล็อก โฮมส์ ไว้ทั้งสิ้นเป็นเรื่องยาว 4 เรื่อง และเรื่องสั้น 56 เรื่อง เกือบทุกเรื่องเป็นการบรรยายโดยเพื่อนคู่หูของโฮมส์ คือ นายแพทย์จอห์น เอช. วอตสัน หรือ หมอวอตสัน ในจำนวนนี้ มี 2 เรื่องที่โฮมส์เป็นผู้เล่าเรื่องเอง และอีก 2 เรื่องเล่าโดยบุคคลอื่น เรื่องสั้นสองเรื่องแรกตีพิมพ์ใน Beeton's Christmas Annual ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเชอร์ล็อก โฮมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เบียทริซแห่งโพรว็องซ์

ียทริซแห่งโพรว็องซ์ (Beatrice of Provence; ค.ศ. 1229 – 23 กันยายน ค.ศ. 1267) เป็นเคานเตสผู้ปกครองโพรว็องซ์และฟอร์แกลคิเยร์ตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเบียทริซแห่งโพรว็องซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ

้าหญิงเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ (พระนามเต็ม: เฟรเดอริกา หลุยส์ ไธรา วิกตอเรีย โอลกา ซิซิลี อิสซาเบล คริสตินา; กรีก: Φρειδερίκη,18 เมษายน พ.ศ. 2460 - 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีพอลที่ 1 แห่งกรีซ พระนางจึงมีพระยศเป็นสมเด็จพระราชินีเฟรเดอริกาแห่งกรีซ (กรีก: Βασίλισσα Φρειδερίκη των Ελλήνων).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเฟรเดอริกาแห่งฮาโนเวอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

เพชรโคอินัวร์

ห์อินัวร์ (Koh-i-Noor, کوہ نور อ่านออกเสียง: koh iː nuːɾ|pron, "ภูเขาแห่งแสง"; บางครั้งสะกดเป็น Kuh-e Nur หรือ Koh-i-Nur) คือเพชรที่มีขนาด 105.6 กะรัต มีน้ำหนัก 21.6 กรัม ในสภาพที่เจียระไนครั้งล่าสุด (ก่อนหน้านี้มีขนาด 186.6 กะรัต หนัก 37.21 กรัม) และยังเคยเป็นเพชรที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ตามหลักฐานนั้นค้นพบในรัฐอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย พร้อมกันกับเพชรคู่แฝดที่มีชื่อว่า ดารยา-เย-นัวร์ (แปลว่า​ "ทะเลแห่งแสง") โคห์อินัวร์นั้นมีประวัติอันยาวนาน โดยตกเป็นเพชรของหลายราชวงศ์ในอดีต รวมถึง ราชปุตแห่งอินเดีย, ราชวงศ์โมกุล, ราชวงศ์อัฟชาริด, ราชวงศ์ดูร์รานี, ราชวงศ์ซิกข์ และล่าสุดนั้นตกเป็นของจักรวรรดิอังกฤษ โคห์อินัวร์ได้ถูกริบจากผู้ครอบครองคือ ดูลิป สิงห์ ในปีค.ศ. 1850 โดยบริษัทอินเดียตะวันออก และต่อมาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักรเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งอินเดียในปีค.ศ. 1877 โคห์อินัวร์เคยถูกเรียกว่า "ศิยมันทกามณี" และต่อมา "มณยัก" หรือ "ราชาแห่งอัญมณี" ก่อนจะถูกเรียกเป็น "โคห์อินัวร์" ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยชาห์นาเดอร์ ภายหลังจากการยึดครองอินเดียของพระองค์ ในปัจจุบันโคห์อินัวร์ถูกเก็บรักษาและจัดแสดงที่หอคอยแห่งลอนดอน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเพชรโคอินัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติมัลดีฟส์

ลงชาติสาธารณรัฐมัลดีฟส์ เรียกชื่อในภาษาท้องถิ่นว่า "กวามี ซาลาม" (ޤައުމީ ސަލާމް, อักษรโรมัน: Qaumee Salaam, แปลตามตัวว่า เพลงคารวะชาติ) ประพันธ์เนื้อร้องโดย มูฮัมหมัด จาเมเอล ดีดี (Muhammad Jameel Didi) เมื่อ พ.ศ. 2491 ทำนองประพันธ์ขึ้นในปี พ.ศ. 2515 โดย บัณฑิต วัณณกุวัตตาวาดูเก ดอน อมระเทวา (Pandit Wannakuwattawaduge Don Amaradeva) มาเอสโตรชาวศรีลังกา เนื้อหาของเพลงนี้ กล่าวถึงการประกาศด้วยความภาคภูมิของชาวมัลดีฟส์ต่อเอกภาพของชาติ ความศรัทธาต่อศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจำชาติ ชัยชนะจากการต่อสู้ในอดีต และแสดงความคารวะต่อบรรดาวีรบุรุษของชาติ ในตอนท้ายเพลงเป็นการกล่าวอวยพรต่อความเจริญรุ่งเรืองของชาติและเหล่าผู้นำที่คอยรับใช้มาตุภูม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเพลงชาติมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคริสต์มาส

กาะคริสต์มาส (Christmas Island) เป็นเกาะเล็ก ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย เป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองของประเทศออสเตรเลีย อยู่ห่างจากเพิร์ท รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 2,600 กิโลเมตร และห่างจากกรุงจาการ์ตาของประเทศอินโดนีเซียไปทางใต้ 500 กิโลเมตร เกาะนี้มีประชากรทั้งสิ้น 1,493 คน ถูกจัดให้อาศัยอยู่ทางตอนเหนือ โดยอาศัยอยู่ในฟลายอิงฟิชโคฟ (หรือรู้จักกันในนาม "เดอะเซตเทิลเมนต์") ซิลเวอร์ซิตี กัมปง พูนซาน และดรัมไซต์ ส่วนใหญ่ของประชากรจะเป็นชาวจีน ร้อยละ 70 ชาวมลายู ร้อยละ 20 และชาวยุโรป อีกร้อยละ 10 และส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 36 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 25 ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 18 และลัทธิเต๋า ร้อยละ 15 ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ แต่ก็ใช้ภาษาจีน และภาษามลายู สื่อสารกัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเกาะคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

เกาะนอร์ฟอล์ก

เกาะนอร์ฟอล์ก เป็นดินแดนของออสเตรเลีย เป็นเกาะเล็ก ๆ ที่มีประชากรอาศัยอยู่ ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มีอาณาเขตตั้งอยู่ระหว่าง ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนิวแคลิโดเนีย โดยมีเพื่อนบ้านคือ 2 เกาะที่เป็นเขตเกาะของประเทศออสเตรเลีย อยู่ใกล้ ๆ กัน เกาะนอร์ฟอล์กมีเมืองหลวงชื่อคิงส์ตัน แต่ว่าเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเกาะคือเบินต์ไพน์ น หมวดหมู่:ประเทศในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:เกาะในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเกาะนอร์ฟอล์ก · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช

เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนวิช (South Georgia and the South Sandwich Islands, SGSSI) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ โดยตกเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2528 จากการทำสงครามกรณีพิพาทหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ระหว่างอังกฤษกับอาร์เจนตินา ดินแดนนี้ถูกปกครองโดยตรงจากหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ หมวดหมู่:สหราชอาณาจักร หมวดหมู่:ประเทศในทวีปอเมริกาใต้ หมวดหมู่:ประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาทางการ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2528 หมวดหมู่:เกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเกาะเซาท์จอร์เจียและหมู่เกาะเซาท์แซนด์วิช · ดูเพิ่มเติม »

เกิร์นซีย์

กิร์นซีย์ (Guernsey) หรือ เขตเจ้าพนักงานศาลเกิร์นซีย์ (Bailiwick of Guernsey; Bailliage de Guernesey) เป็นดินแดนปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร เป็นเกาะหนึ่งในหมู่เกาะแชนเนลในช่องแคบอังกฤษ มีเมืองหลวงชื่อเซนต์ปีเตอร์พอร์ต.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเกิร์นซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เมษายน พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเมษายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

เรย์ คอร์เดโร

รย์ คอร์เดโร หรือ อังเคิลเรย์ เกิดเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2467 ชาวฮ่องกง เป็นผู้ประกาศและนักจัดรายการวิทยุ ของสถานีโทรทัศน์และวิทยุแห่งฮ่องกง ที่ได้รับการจัดลำดับโดย กินเนสบุ๊คเวิลด์เรคคอร์ด ให้เป็นนักจัดรายการวิทยุที่จัดรายการติดต่อกันยาวนานที่สุดในโลก ครอบครัวของ อังเคิลเรย์ เป็นชาวโปรตุเกส ที่ย้ายมาจากมาเก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเรย์ คอร์เดโร · ดูเพิ่มเติม »

เลดีกากา

ตฟานี โจแอนน์ แอนเจลินา เจอร์มาน็อตตา(accessdate) หรือที่รู้จักในนาม เลดี้ กาก้า (Lady Gaga) เป็นศิลปินเพลงป็อบชาวอเมริกันเชื้อสายอิตาลี เกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1986 เริ่มแสดงดนตรีครั้งแรกกับวงร็อกในนิวยอร์ก ในปี ค.ศ. 2003 เธอเข้าเรียนที่โรงเรียนศิลปะทิสช์ แห่งมหาวิทยาลัยนิวยอร์ก ต่อมาได้อยู่ในสังกัดอินเตอร์สโคป และต่อสัญญากับค่ายสตรีมไลน์ ในเครืออินเตอร์สโคปในปี ค.ศ. 2007 เธอเคยเขียนเพลงให้กับศิลปินร่วมสังกัด ทำให้ความสามารถด้านการร้องเพลงของเธอได้รับความสนใจจาก Akon และได้เซ็นสัญญากับ คอนไลฟ์ดิสทริบิวชัน The Fame อัลบั้มแรกของเธอ ได้วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 2008 สามารถขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งในสหราชอาณาจักร แคนาดา ออสเตรีย เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ และไอร์แลนด์ และสามารถติดชาร์ต 1 ใน 10 อันดับแรกในอีกหลายประเทศ รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา ที่สามารถทำสถิติขึ้นชาร์ตบิลบอร์ด 200 ในอันดับที่ 2 และขึ้นอันดับหนึ่งในชาร์ตอัลบั้มเพลงแดนซ์/อิเล็กทรอนิกส์ ของบิลบอร์ด และอีกสองเพลงเปิดตัว คือ Just Dance และ Poker face ที่กาก้าร่วมแต่งและผลิตกับเรดวัน ก็เป็นที่นิยมและติดอันดับหนึ่งในหลายประเทศ รวมถึงอันดับต้น ๆ ของบิลบอร์ดฮอต 100 ในสหรัฐอเมริกา อัลบั้ม The Fame ได้รับการเสนอชื่อให้เข้าชิงรางวัลแกรมมี่มากถึง 6 สาขารางวัล และได้รับรางวัลในสาขาอัลบั้มเพลงอิเล็กทรอนิกส์/เพลงแดนซ์ยอดเยี่ยม และรางวัลเพลงแดนซ์ยอดเยี่ยมจากเพลง Poker Face ต้น ค.ศ. 2009 เธอออกทัวร์คอนเสิร์ตครั้งแรกในชื่อ The Fame Ball Tour และในปลายปีเดียวกัน เธอได้ประกาศวางจำหน่ายอัลบั้มเสริม The Fame Monster เป็นอัลบั้มต่อจากอัลบั้มเปิดตัว The Fame อัลบั้มนี้ทำให้เธอได้เข้าชิงรางวัลแกรมมี่ 6 สาขารางวัล สามารถขึ้นชาร์ตอันดับหนึ่งด้วยซิงเกิลเปิดตัวอัลบั้ม คือ Bad Romance และได้ออกทัวร์คอนเสิร์ตครั้งที่สอง The Monster Ball Tour ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน กาก้าได้รับแรงบันดาลใจจากเพลงแนวแกลมร็อก โดยมีศิลปินอย่างเดวิด โบวี และวงควีน รวมทั้งนักร้องเพลงป็อป เช่น มาดอนนา และไมเคิล แจ็กสัน อีกทั้งแฟชั่น ก็เป็นอีกหนึ่งแรงบันดาลใจในการเขียนเพลงและการแสดงของเธอ กาก้าอยู่ในอันดับที่ 73 ของศิลปินยุคคริสต์ทศวรรษที่ 2000 โดยการจัดลำดับของบิลบอร์ด ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2010 ยอดขายอัลบั้มของเธอทะลุ 15 ล้านสำเนา และ 51 ล้านซิงเกิลทั่วโลก นิตยสารไทม์ส จัดลำดับให้เลดี้ กาก้า อยู่ในรายชื่อไทม์ส 100 ที่รวบรวมบุคคลทรงอิทธิพลต่อโลกประจำ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเลดีกากา · ดูเพิ่มเติม »

เลดีลูอีส วินด์เซอร์

ลดีลูอิส วินด์เซอร์ (Lady Louise Windsor พระนามเต็ม หลุยส์ อลิซ เอลิซาเบธ แมรี เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์วินด์เซอร์ โดยเป็นธิดาในเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ และโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซ็กส์ และอยู่ในอันดับที่สิบสองของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ ภายหลังจากการประสูติของเจมส์ วินด์เซอร์ ไวเคาน์เซเวิร์น พระอนุชาเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเลดีลูอีส วินด์เซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เลดีอเล็กซานดรา อีเธอริงตัน

ลดีอเล็กซานดรา อีเธอริงตัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเลดีอเล็กซานดรา อีเธอริงตัน · ดูเพิ่มเติม »

เวิลด์เกมส์ 1985

วิลด์เกมส์ 1985 (1985 World Games) การแข่งขันนี้จัดขึ้นที่ลอนดอน สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเวิลด์เกมส์ 1985 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุยิงกันในออโรรา ค.ศ. 2012

หตุยิงกันในออโรร..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเหตุยิงกันในออโรรา ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดที่แมนเชสเตอร์อะรีนา พ.ศ. 2560

มื่อเวลา 22.33 น. ตามเวลาออมแสงบริติช (UTC+01:00) ของวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเหตุระเบิดที่แมนเชสเตอร์อะรีนา พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

เอริก แคลปตัน

อริก แคลปตัน (Eric Clapton; เกิด 30 มีนาคม พ.ศ. 2488) เจ้าของฉายา "Slowhand" เป็นนักกีตาร์ นักร้อง นักแต่งเพลง ชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเอริก แคลปตัน · ดูเพิ่มเติม »

เอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์

อิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์ (Earl of Wessex) เป็นบรรดาศักดิ์อังกฤษที่เคยพระราชทานให้สองครั้งในประวัติศาสตร์ของอังกฤษ ครั้งหนึ่งในช่วงก่อนการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน และอีกช่วงหนึ่งคือในสมัยที่เป็นสหราชอาณาจักรแล้ว โดยเวสเซ็กซ์ นั้นมาจาก "West Saxons" ในบริเวณภาคใต้และตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษ ซึ่งครั้งหนึ่งนั้นเคยเป็นอาณาจักรของชาวแองโกล-แซกซันในช่วงเจ็ดอาณาจักร ซึ่งต่อมาได้มีการขยายอาณาเขตในช่วงศตวรรษถัดมาอันเป็นต้นกำเนิดของราชอาณาจักรอังกฤษในยุคต่อม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเอิร์ลแห่งเวสเซ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มมา วอตสัน

อ็มมา ชาร์ล็อต ดูแอร์ วอตสัน (Emma Charlotte Duerre Watson; เกิด 15 เมษายน พ.ศ. 2533) เป็นนักแสดงหญิง นางแบบ และนักกิจกรรมหญิงชาวบริติช เกิดในปารีสและเติบโตในอ๊อกซฟอร์ดไชร์ วอตสันเข้าเรียนโรงเรียนดรากอนสกูลขณะเป็นเด็ก และเรียนการแสดงที่โรงเรียนสเตจโคชเธียเตอร์อาตส์ สาขาอ๊อกซฟอร์ด เธอเป็นที่จดจำจากบทบาทการแสดงในบทเฮอร์ไมโอนี เกรนเจอร์ ในภาพยนตร์ชุด''แฮร์รี พอตเตอร์'' ปรากฏตัวในภาพยนตร์แฮร์รี พอตเตอร์แปดภาคตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเอ็มมา วอตสัน · ดูเพิ่มเติม »

เฮเลน เมียร์เรน

คุณหญิง เฮเลน เมียร์เรน, ดีบีอี (Dame Helen Mirren, DBE) เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 เป็นนักแสดงชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักจากบทบาทสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร จากภาพยนตร์เรื่อง The Queen เคยได้รับรางวัลออสการ์ 1 ครั้ง รางวัลแซกอวอร์ด 4 ครั้ง รางวัลบาฟต้า 4 ครั้ง รางวัลลูกโลกทองคำ 3 ครั้ง และรางวัลเอมมี 4 ครั้ง หมวดหมู่:นักแสดงอังกฤษ หมวดหมู่:นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม รางวัลออสการ์ หมวดหมู่:ผู้ที่ได้รับรางวัลเอมมี หมวดหมู่:บุคคลจากลอนดอน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเฮเลน เมียร์เรน · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ คัลลาฮาน

ลโอนาร์ด เจมส์ คัลลาฮาน บารอนคัลลาฮานแห่งคาร์ดิฟฟ์ (Leonard James Callaghan, Baron Callaghan of Cardiff) เป็นนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจมส์ คัลลาฮาน · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ์

มส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจมส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ โอกิลวี

มส์ โอกิลวี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจมส์ โอกิลวี · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ ไวเคานต์เซเวิร์น

มส์ วินด์เซอร์ ไวส์เคานท์เซเวิร์น (James Windsor, Viscount Severn ชื่อเต็ม เจมส์ อเล็กซานเดอร์ ฟิลิป ธีโอ; เกิด 17 ธันวาคม พ.ศ. 2550) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์วินด์เซอร์ โดยเป็นพระโอรสพระองค์ที่สองและพระองค์เดียวในเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ กับโซฟี เคาน์เตสแห่งเวสเซ็กส์ และอยู่ในอันดับที่สิบเอ็ดของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจมส์ ไวเคานต์เซเวิร์น · ดูเพิ่มเติม »

เจอร์ซีย์

เจอร์ซีย์ (Jersey) เป็นดินแดนอาณานิคมปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร เป็นเกาะหนึ่งในหมู่เกาะแชนเนลในช่องแคบอังกฤษ มีเมืองหลวงชื่อ เซนต์เฮลเยอร์ หมวดหมู่:ดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร หมวดหมู่:เกาะในทวีปยุโรป จ หมวดหมู่:เจอร์ซีย์.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจอร์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจน กูดดอลล์

น กูดดอลล์ ที่ฮ่องกง ในปี พ.ศ. 2547 เจน กูดดอลล์ (Jane Goodall; (3 เมษายน ค.ศ. 1934 -) นักสัตววิทยา มานุษยวิทยาและวานรวิทยาชาวอังกฤษ มีชื่อเสียงจากโครงการศึกษาพฤติกรรมทางสังคมและครอบครัวของชิมแปนซี ที่อุทยานแห่งชาติกอมเบ สตรีม ประเทศแทนซาเนีย โดยเริ่มจากการเป็นผู้ช่วยของ ดร.หลุยส์ ลีกคี นักบรรพชีวินวิทยาชื่อดังชาวเคนยา ตั้งแต่ พ.ศ. 2503 เป็นเวลากว่า 45 ปี เจน กูดดอลล์ เป็นผู้ก่อตั้งสถาบันเจน กูดดอลล์ (Jane Goodall Institute - JGI) ตั้งแต่ พ.ศ. 2520 เพื่อสนับสนุนการวิจัย ปกป้องถิ่นที่อยู่อาศัย และป้องกันชิมแปนซีจากการถูกล่า กูดดอลล์ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ "Dame Commander of the British Empire" จากสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2547 และได้รับจากการแต่งตั้งจากองค์การสหประชาชาติโดยนายโคฟี อันนัน ให้เป็นทูตสันติภาพ ตั้งแต่ พ.ศ. 2545.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจน กูดดอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้า

้า ในพระยศเจ้านายไทย หมายถึง พระมหากษัตริย์หรือเชื้อสายของพระมหากษัตริย์นับตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ในระบบบรรดาศักดิ์ยุโรป เจ้า (ทั้งเจ้าชายและเจ้าหญิง) ถือเป็นฐานันดรศักดิ์สืบตระกูลในราชวงศ์สำหรับพระราชโอรสธิดาและพระราชนัดดาในพระมหากษัตริย์ เช่น เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ พระราชโอรสในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ “เจ้า” ยังอาจหมายถึงประมุขของรัฐขนาดเล็กที่เรียกว่า เจ้าผู้ครองนคร ด้วย เช่น เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ในยุโรป เจ้าชาย ยังหมายถึงเจ้าผู้ครองราชรัฐชั้นพรินซิพาลิตี หากเป็นสตรีก็เรียกว่าเจ้าหญิง เช่น เจ้าชายอัลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก ในปัจจุบันมีราชรัฐชั้นพรินซิพาลิตีเหลือเพียง 3 แห่งในโลก คือ ราชรัฐอันดอร์รา ราชรัฐโมนาโก และราชรัฐลิกเตนสไตน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ (HRH the Prince Charles, The Prince of Wales) พระนามเต็ม ชาลส์ ฟิลิป อาร์เธอร์ จอร์จ; พระราชสมภพ 14 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ

้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ (พระนามเดิม เจ้าชายฟิลิปปอสแห่งกรีซและเดนมาร์ก; พระราชสมภพ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2464) เป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นชาวกรีก โดยกำเนิด มีตำแหน่งเจ้าชายแห่งกรีซและแห่งเดนมาร์ก ปัจจุบันมียศเป็นดยุกแห่งเอดินบะระ มีพระนามเดิมว่า เรือเอก ฟิลิป เมาท์แบตเตน เข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเอลิซาเบธ เมื่อปี พ.ศ. 2490.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์

้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ (ริชาร์ด อเล็กซานเดอร์ วอลเตอร์ จอร์จ; ประสูติ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2487) ทรงเป็นสมาชิกองค์หนึ่งในราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุกแห่งกลอสเตอร์ตั้งแต่พระบิดาสิ้นพระชนม์เมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์

้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ หรือ วิลเลียม อาร์เธอร์ ฟิลิป หลุยส์ (His Royal Highness Prince William Duke of Cambridge; William Arthur Philip Louis; ประสูติ: 21 มิถุนายน พ.ศ. 2525) เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์และเลดีไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ทรงอยู่อันดับที่สองของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษและประเทศต่าง ๆ ในเครือจักรภพอังกฤษอีก 16 ประเทศ แม้พระองค์จะประทับอยู่ในสหราชอาณาจักรเป็นส่วนใหญ่ก็ตาม ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายหลุยส์แห่งเคมบริดจ์

้าชายหลุยส์แห่งเคมบริดจ์ (Prince Louis of Cambridge; "หลุยส์ อาเธอร์ ชาลส์"; ประสูติ 23 เมษายน พ.ศ. 2561) เป็นพระโอรสพระองค์ที่สองในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ กับแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ และเป็นพระปนัดดาพระองค์ที่ 6 ในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ทรงอยู่ในลำดับที่ 5 ของการสืบสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายหลุยส์แห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี

้าชาย ฟรันซ์ อัลแบร์ท เอากุสตุส คาร์ล เอ็มมานูเอล แห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (Franz Albert August Karl Emanuel von Sachsen-Coburg-Saalfeld) หรือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี (Albert, Prince Consort) เป็นเจ้าชายเยอรมันซึ่งสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ ทรงเป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร จึงทำให้พระองค์ดำรงพระยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" อย่างเป็นทางการเพียงพระองค์เดียว ภายหลังจากการสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจอร์จ วัลเดมาร์แห่งเดนมาร์ก

้าชายจอร์จ วัลเดมาร์แห่งเดนมาร์ก ทรงเป็นพระโอรสพระองค์แรกใน เจ้าชายแอกเซิลแห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายจอร์จ วัลเดมาร์แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจอร์จแห่งฮาโนเวอร์

้าชายจอร์จแห่งฮาโนเวอร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายจอร์จแห่งฮาโนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์

้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์ (Prince George of Cambridge; ประสูติ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556) หรือพระนามเต็มว่า จอร์จ อเล็กซานเดอร์ หลุยส์ (George Alexander Louis) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ กับแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ เป็นพระนัดดาของเจ้าชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ กับไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ผู้ล่วงลับ ทั้งเป็นพระปนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 กับเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ จึงอยู่ในลำดับที่สามของการสืบสันตติวงศ์อังกฤษ ก่อนประสูติสื่อมวลชนพรรณนาพระโอรสองค์นี้ว่าเป็น "พระกุมารผู้ทรงมีชื่อเสียงที่สุดในโลก".

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายจอร์จแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายคริสโตเฟอร์แห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าชายคริสโตเฟอร์แห่งกรีซและเดนมาร์ก พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 1 แห่งกรีซ และ โอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย ทรงเข้าอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงฟรานคอซิสแห่งออร์ลีนส์ มีพระโอรสเพียงพระองค์เดียวคือ เจ้าชายไมเคิลแห่งกรีซและเดนมาร์ก ทั้งนี้ พระองค์ยังทรงเป็นพระปิตุลา(อา) ใน เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ พระราชสวามีใน สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายคริสโตเฟอร์แห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales; Tywysog Cymru) เป็นพระอิสริยยศขององค์รัชทายาทแห่งพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษหรือสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ราชประเพณีที่มกุฏราชกุมารของราชบัลลังก์อังกฤษจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 อย่างไรก็ดีการไม่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงอิสริยยศนี้ไม่มีผลใดๆต่อสิทธิของผู้ที่จะสืบทอดราชบัลลังก์ บุคคลแรกที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์คือ พระเจ้าละเวลินมหาราช (Llywelyn the Great) ผู้ดำรงพระอิสริยยศนี้ในปัจจุบันคือ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก

รอยัลไฮเนส เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก (HRH The Prince Andrew, Duke of York) (แอนดรูว์ อัลเบิร์ต คริสเตียน เอ็ดเวิร์ด เมานต์แบ็ตเต็น-วินด์เซอร์ ประสูติ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่สองในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุกแห่งยอร์กมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 และทรงอยู่ในอันดับที่เจ็ดของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าชายแอนดรูว์ แห่งกรีซและเดนมาร์ก (20 มกราคม พ.ศ. 2425 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2487) พระราชโอรสพระองค์ที่สี่ในสมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จที่ 1 แห่งกรีซ และ สมเด็จพระราชินีโอลก้าแห่งกรีซ ทรงเป็นสมาชิกของราชวงศ์ชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึกซ์เต็นบูร์ก เป็นพระชนกในเจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์

ตราประจำเจ้าฟ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์ เจ้าฟ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์ (ไมเคิล จอร์จ ชาร์ลส์ แฟรงกลิน; ประสูติ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2485) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ พระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ สมเด็จพระราชินีแมรี่ เจ้าชายไมเคิล ไม่ดำเนินการอย่างเป็นทางการดีเลิศหน้าที่เพื่อประโยชน์ของลูกพี่ลูกน้อง สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ถึงแม้ว่าพระองค์ได้แสดงสมเด็จพระราชินีนาถในฟังก์ชันจำนวนหนึ่งแพร่หลายพระองค์จัดการธุรกิจด้วยตัวพระองค์เองและเข้าทำงานธุรกิจต่างๆรอบโลก พระองค์ได้แสดงโทรทัศน์จำนวนหนึ่งบนพระบรมราชวงศ์ยุโรป พระองค์ตั้งชื่อเดียวกันกับแกรนด์ดยุกไมเคิล อเล็กซานดรอฟวิชแห่งรัสเซีย พระอัยกาของพระอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายไมเคิลแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเว็ลฟ์ แอนสท์ แห่งฮันโนเฟอร์

ว็ลฟ์ แอนสท์ เจ้าชายแห่งฮันโนเฟอร์ (เป็นพระโอรสใน เจ้าชายเกออร์ก วิลเฮล์ม แห่งฮันโนเฟอร์ และ เจ้าหญิงโซฟีแห่งกรีซและเดนมาร์ก ประสูติ ณ พระราชวังเว็ลฟ์ในมิวนิก โดยพระองค์ทรงเป็นพระภาคิไนยใน เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ หลังจากพระองค์ทรงเจริญพระชันษามากแล้ว จึงได้เสด็จไปประทับ ณ ประเทศอินเดีย เป็นการถาวร เจ้าชายเว็ลฟ์ แอนสท์ แห่งฮันโนเฟอร์ ได้เสกสมรสกับ ทูรียา ฮันโนเฟอร์ อย่างไรก็ดี ด้วยพระนางเป็นชาวอินเดีย ทำให้ไม่สามารภดำรงพระอิสริยยศชั้นเจ้าหญิงได้ มีแต่เพียงนามลำลองว่า ทูรียา ฮันโนเฟอร์ เพียงเท่านั้น โดยทั้ง 2 ได้มีพระธิดาร่วมกันเพียงพระองค์เดียวคือ เจ้าหญิงซาสเกียแห่งฮันโนเฟอร์ (พระบุตรที่เกิดมาสามารถดำรงพระอิสริยยศได้) พระองค์สิ้นพระชนม์ขณะมีพระชันษา 33 ปี จากภาวะเลือดออกในสมอง หลังจากที่ทรงล้มขณะเล่นคาราเต้ และทรงเป็นอัมพาตได้ 2 เดือน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเว็ลฟ์ แอนสท์ แห่งฮันโนเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์

อมพล เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุคแห่งเคนต์ (His Royal Highness Prince Edward, Duke of Kent) (เอ็ดเวิร์ด จอร์จ นิโคลัส พอล แพทริค; ประสูติ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2478) ทรงเป็นสมาชิกองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระองค์ทรงดำรงฐานันดรศักดิ์เป็น ดยุกแห่งเคนต์ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2485 ดยุคแห่งเคนต์ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจแทนสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระญาติชั้นที่หนึ่ง บางครั้งทรงเป็นที่รู้จักอย่างดีที่สุดในฐานะประธานสโมสรคร็อกเก็ตและเทนนิสแห่งอังกฤษ (All England Lawn Tennis and Croquet Club) โดยทรงมอบรางวัลเป็นโล่เกียรติยศแก่ผู้ชนะเลิศการแข่งขันเทนนิสวิมเบิลดันชาย อีกทั้งยังทรงเป็นผู้แทนพิเศษด้านการค้าและการลงทุนแห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งทรงเกษียณในปี พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์

้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ หรือพระนามเต็ม เอ็ดเวิร์ด แอนโทนี ริชาร์ด หลุยส์ (HRH Prince Edward, Earl of Wessex; ประสูติ 10 มีนาคม พ.ศ. 2507) ทรงเป็นพระบรมวงศ์ในราชวงศ์อังกฤษ โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์ (Earl of Wessex) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 และในปัจจุบันทรงอยู่ในอันดับที่สิบของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์

้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์ (Prince Harry, Duke of Sussex) หรือ เจ้าชายเฮนรี ชาลส์ อัลเบิร์ต เดวิด (Prince Henry Charles Albert David; ประสูติ 15 กันยายน พ.ศ. 2527) ทรงเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า เจ้าชายแฮร์รี (Prince Harry) เป็นพระโอรสพระองค์เล็กในเจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์และไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวลส์ พระองค์ทรงอยู่ในอันดับที่ 6 ของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษและดินแดนในเครือจักรภพอังกฤษ ในฐานะพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระองค์ทรงดำรงยศทหารชั้นร้อยตรี (ซึ่งรู้จักกันในกองพันว่า Cornet) ในกองพันทหาร Blues and Royals ของกรมทหารม้ารักษาวังแห่งกองทัพบกอังกฤษ พระองค์ทรงเป็นผู้บัญชาการรถถัง ซึ่งได้รับการฝึกมาให้นำกลุ่มทหาร 12 นายในหน่วยยานพาหนะลาดตระเวนหุ้มเกราะ พระอิสริยยศเดิมในแบบเต็มของเจ้าชายแฮร์รีคือ เจ้าชายเฮนรีแห่งเวลส์ (His Royal Highness Prince Henry of Wales) แม้ว่ามีพระนามเรียกโดยทั่วไปว่า เจ้าชายแฮร์รี พระองค์ทรงใช้นามสกุล "เวลส์" เช่นเดียวกับพระเชษฐา เมื่อทรงเข้ารับการฝึกอบรมทางทหาร ราชสกุลแบบทางการของพระองค์คือ "วินด์เซอร์" ตามพระบรมราชโองการของพระอัยยิกาในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งซัสเซกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเคมบริดจ์

้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเคมบริดจ์ (Princess Charlotte of Cambridge; "ชาร์ลอตต์ เอลิซาเบธ ไดอานา" accessdate; ประสูติ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นพระธิดาพระองค์แรกในเจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งเคมบริดจ์ กับแคเธอริน ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ และเป็นพระปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ทรงอยู่ในลำดับที่สี่ของการสืบสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟรีเดอริกแห่งฮาโนเวอร์

้าหญิงฟรีเดอริกแห่งฮาโนเวอร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงฟรีเดอริกแห่งฮาโนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล

้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล เป็นบุตรของนาย แฮรี ซาเลม กับ นางราจิรา อารีบา ประสูติ ณ ประเทศเลบานอน ต่อมาได้เสกสมรสกับ เจ้าชายเฏาะลาล บิน มูฮัมหมัด พระโอรสใน เจ้าชายมูฮัมหมัด บิน เฏาะลาล รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล เจ้าหญิงแห่งฮัชไมต์จอร์แดน มีพระบุตร 3 พระอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงกีดา อัล เฏาะลาล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์

้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์เมื่อมีพระชนมายุ 19 ปี เจ้าหญิงมารี หลุยส์ หรือพระนามเต็ม ฟรันซิสกา โยเซฟา หลุยส์ ออกัสตา มารี คริสตินา เฮเลนา (พระอิสริยยศแบบเดิม เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ (Princess Marie Louise of Schleswig-Holstein, VA, CI, GCVO, GBE, RRC; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2415 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2499) ทรงเป็นสมาชิกในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์

้าหญิงมารีนาแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Marina of Greece and Denmark, CI, GCVO, GBE; 13 ธันวาคม พ.ศ. 2449 - 27 สิงหาคม พ.ศ. 2511) ต่อมาทรงเป็น เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ (Princess Marina, Duchess of Kent) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษและเป็นพระวรชายาในเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ พระราชโอรสองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระองค์ทรงเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ต่างประเทศองค์สุดท้ายที่อภิเษกสมรสเข้ามาในพระราชวงศ์อังกฤษ หลังจากนั้นมาเจ้าสาวทุกคนเป็นเพียงแค่สามัญชนทั้งหม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์การีตาแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงมาร์การีตาทรงเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับ เจ้าชายฟริเฟนแห่งโอเฮนโล-เลนเดอร์เบิร์ก เมื่อวันที่ 20 เมษายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมาร์การีตาแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรต (แก้ความกำกวม)

้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน (ซ้าย) เจ้าหญิงมาร์กาเรต เป็นพระนามของเจ้าหญิงหลายพระองค์ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมาร์กาเรต (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน

้าหญิงมาร์กาเรตโยงมาที่หน้านี้ สำหรับผู้ที่ใช้พระนามว่า "เจ้าหญิงมาร์กาเรต" อื่นๆ ดู เจ้าหญิงมาร์กาเรต (แก้ความกำกวม) เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน (มาร์กาเรต โรส; ประสูติ: 21 สิงหาคม พ.ศ. 2473 - สิ้นพระชนม์: 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545) พระราชธิดาพระองค์เล็กในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 กับสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ และพระขนิษฐาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระประมุขแห่งอังกฤษองค์ปัจจุบัน พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเคาน์เตสแห่งสโนว์ดอนจากการอภิเษกสมร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์ก

้าหญิงยูเจนีแห่งยอร์ก หรือ ยูเจนี วิกตอเรีย เฮเลนาในฐานะเชื้อพระวงศ์ที่ทรงมีฐานันดรศักดิ์ เจ้าหญิงยูเจนีจึงไม่ทรงมีราชสกุล แต่เมื่อมีการใช้ราชสกุล จะเป็น เมานท์แบ็ตเต็น-วินด์เซอร์ (หรือชื่อทางดินแดนของพระชนก คือ "ยอร์ก") (Princess Eugenie of York; ประสูติ 23 มีนาคม พ.ศ. 2533) ทรงเป็นสมาชิกในพระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระองค์ทรงอยู่ในอันดับที่เก้าของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ และได้ทรงดำรงอยู่ในอันดับนี้มานับตั้งแต่การประสูติของพระองค์ในปี พ.ศ. 2533.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงยูเชนีแห่งยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน

้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน (Her Royal Highness Crown Princess Victoria of Sweden; Hennes Kungliga Höghet Kronprinsessan Victoria, Sveriges kronprinsessa; พระนามเต็ม วิกตอเรีย อิงกริด อลิซ เดซิเร; 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 —) เป็นรัชทายาทอันดับหนึ่งในราชบัลลังก์สวีเดน หากเมื่อเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ พระองค์จะทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถลำดับที่สี่ของประเทศ (ต่อจาก สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 1 สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินา และสมเด็จพระราชินีนาถอุลริคา เอเลโอนอรา) ทั้งนี้พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติใน เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ นอกจากนี้พระองค์ยังทรงถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 7 ของราชนิกุลรุ่นเยาว์ที่เซ็กซี่มากสุดในโลก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์

้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์ (Princess Victoria of Hesse and by Rhine) หรือพระนามหลังการสมรสคือ วิกตอเรีย เมานต์แบ็ทแตน มาร์เชเนสแห่งมิลด์ฟอร์ดเฮเวน (Victoria Mountbatten, Marchioness of Milford Haven) เป็นเจ้าหญิงอังกฤษเชื้อสายเยอรมัน เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ของแกรนด์ดยุกลุดวิกที่ 4 แห่งเฮสส์และไรน์กับเจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักร ทำให้ทรงมีศักดิ์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร พระชนนีของพระองค์สิ้นพระชนม์ขณะที่พระขนิษฐาและพระอนุชายังทรงพระเยาว์ จึงทำให้ทรงมีภาระความรับผิดชอบต่อทุกพระองค์ก่อนเวลาอันควร พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายหลุยส์แห่งแบ็ตเต็นเบิร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งทรงรับราชการอยู่ในราชนาวีแห่งอังกฤษด้วยความรักและทรงมีชีวิตสมรสในสถานที่ต่างๆ ของทวีปยุโรป อันเป็นสถานที่ปฏิบัติราชการในราชนาวีของพระสวามี และได้เสด็จเยี่ยมพระประยูรญาติด้วย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เจ้าหญิงและพระสวามีทรงสละพระอิสริยยศเยอรมันและใช้ราชสกุลที่ฟังดูเป็นอังกฤษว่า เมานท์แบ็ตเต็น พระขนิษฐาสองพระองค์ซึ่งได้อภิเษกสมรสเข้าไปยังพระราชวงศ์รัสเซียทรงถูกปลงพระชนม์โดยกลุ่มปฏิวัติคอมมิวนิสต์ พระองค์ทรงมีทัศนคติแบบเสรีนิยม เปิดเผย ชอบปฏิบัติ และฉลาด นอกจากนี้พระองค์ยังได้เป็นพระอัยยิกาของเจ้าฟ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งเอดินเบอระ พระราชสวามีในสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 อีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเฮสส์และไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอลิซ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์

ลดี้ อลิซ คริสตาเบล มอนเตกู-ดักลาส-สก็อต (อังกฤษ: Lady Alice Christabel Montagu-Douglas-Scott) หรือ เจ้าหญิงอลิซ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์ (Princess Alice, Duchess of Gloucester, GCB, CI, GCVO, GBE; 25 ธันวาคม พ.ศ. 2444 - 29 ตุลาคม พ.ศ. 2547) เป็นพระชายาในเจ้าฟ้าชายเฮนรี ดยุกแห่งกลอสเตอร์ พระราชโอรสพระองค์ที่สามของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ สมเด็จพระราชินีแมรี จึงทำให้เป็นพระกนิษฐาภาดาในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 และ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 และเป็นพระชนนีในดยุกแห่งกลอสเตอร์คนปัจจุบัน นอกจากนั้นก็ยังเป็นพระปิตุจฉาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธี่ 2 โดยผ่านทางการอภิเษกกับพระปิตุลาของพระองค์ด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอลิซ ดัชเชสแห่งกลอสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน

้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน หรือ อลิซ แมรี่ วิกตอเรีย ออกัสตา พอลีน หรือพระอิสริยยศแรกเดิม เจ้าหญิงอลิซแห่งออลบานี (Princess Alice, Countess of Athlone, VA, GCVO, GBE; พระอิสริยยศแรกเดิม Princess Alice of Albany; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2426 - 3 มกราคม พ.ศ. 2524) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระองค์ทรงมีจุดเด่นที่ยังคงเป็นเจ้าหญิงในเชื้อพระวงศ์ที่มีพระชนม์ชีพยืนยาวที่สุดของพระราชวงศ์อังกฤษและพระราชนัดดาที่ทรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย อีกทั้งยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี พร้อมกับทั้งเจ้าหญิงแห่งเท็คจากการอภิเษกสมรสจนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2460 เมื่อพระองค์ต้องทรงสละฐานันดรศักดิ์ทั้งหมดตามพระบรมราชโองการของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอลิซแห่งบัทเทนแบร์ก

้าหญิงอลิซแห่งบัทเทนแบร์ก เจ้าหญิงอลิซแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Alice of Battenberg; วิกตอเรีย อลิซ เอลิซาเบธ จูลี มารี; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2428 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2512) ต่อมาทรงดำรงพระอิสสริยยศเป็น เจ้าหญิงแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Andrew of Greece and Denmark) เป็นพระมารดาในเจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ (พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอลิซแห่งบัทเทนแบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์

้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ: 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 ณ วิลลาซูลบักเคิน กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชธิดาองค์รองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงมาร์ธา มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ และเป็นพระขนิษฐาในเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ พระองค์ถือเป็นเหลนในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร พระองค์จึงอยู่ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้พระองค์ยังเป็นพระญาติชั้นที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร และเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมในสายพระมารดาของพระอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวี

้าหญิงอเล็กซานดรา เดอะฮอนอเรเบิล เลดีโอกิลวี (อเล็กซานดรา เฮเลน เอลิซาเบธ โอลกา คริสตาเบล; ประสูติ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2479) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับเซอร์ แองกุส โอกิลวี โดยก่อนการอภิเษกสมรส พระองค์มีพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเคนต์ และมีพระนามเรียกเล่นในหมู่พระประยูรญาติว่า "อเล็กซ์" เจ้าหญิงอเล็กซานดราได้ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจมากมายในนามสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 พระญาติชั้นที่หนึ่ง พระองค์ทรงอยู่ในอันดับที่สามสิบสามของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษและเมื่อตอนประสูติในปี พ.ศ. 2479 ทรงอยู่ในอันดับที่หก เมื่อพระองค์เสด็จเยือนประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2502 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์เพลงระหว่างรอรับเสด็จ เพื่อเป็นการต้อนรับ ซึ่งเพลงนี้มีชื่อว่า Alexandra ซึ่งต่อมานำมาใส่คำร้องภาษาไทย เป็นเพลง แผ่นดินของเร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอเล็กซานดรา เลดีโอกิลวี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงธีโอโดราแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงธีโอโดราทรงอภิเษกสมรส กับ เบิร์ดฮูดมาร์เกรฟแห่งบาเดิน เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2474 ณ บาเดิน-เวือร์ทเทมแบร์ก เยอรมนี โดยได้รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น มาร์เกรฟแห่งบาเดิน โดยทรงมีพระบุตรดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงธีโอโดราแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต

้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต เจ้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต หรือพระนามเต็ม วิกตอเรีย แพทริเซีย เฮเลนา เอลิซาเบธ (Princess Patricia of Connaught; ภายหลังจากการอภิเษกสมรสคือ เลดี้ แพทริเซีย แรมเซย์ (Lady Patricia Ramsay); 17 มีนาคม พ.ศ. 2429 - 12 มกราคม พ.ศ. 2517) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระองค์ทรงเป็นเชื้อพระวงศ์พระองค์แรกที่สละฐานันดรศักดิ์เจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรและพระอิสริยยศชั้นเจ้าฟ้าอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแห่งเวลส์

้าหญิงแห่งเวลส์ (Princess of Wales) เป็นพระอิสริยยศกิตติมศักดิ์ (courtesy title) สำหรับพระชายาของเจ้าชายแห่งเวลส์ นับตั้งแต่เจ้าชายแห่งเวลส์ชาวอังกฤษพระองค์แรกเมื่อปี พ.ศ. 1845 ด้วยหลักศีลธรรมและข้อเท็จจริงที่ว่า เจ้าชายแห่งเวลส์บางพระองค์ไม่ได้เสกสมรสก่อนการเสวยราชสมบ้ติ จึงทำให้แท้จริงแล้วมีเจ้าหญิงแห่งเวลส์เพียงแค่สิบพระองค์ เจ้าหญิงแห่งเวลส์องค์ปัจจุบันนั้นคือ คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอลล์ (พระนามเดิม พาร์กเกอร์ โบลส์) ซึ่งทรงเลือกที่จะไม่ใช้พระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งเวลส์ อันเนื่องมาจากบางคนยังคงรู้สึกผูกพันกับผู้ที่ใช้บรรดาศักดิ์นี้มาก่อนคือ ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวล.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี

้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี (The Princess Anne, Princess Royal; แอนน์ เอลิซาเบธ อลิซ หลุยส์ ประสูติ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2493) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์อังกฤษ และเป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงดำรงพระอิสริยยศ ราชกุมารี เป็นพระองค์ที่เจ็ด และปัจจุบันทรงอยู่อันดับที่สิบสามของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ เมื่อแรกประสูติ พระองค์ทรงอยู่อันดับที่สาม และขึ้นเป็นอันดับที่สองในการเสวยราชสมบัติของพระชนนี จนกระทั่งถึงการประสูติของเจ้าชายแอนดรูว์ ในปี พ.ศ. 2503 พระราชกุมารีทรงเป็นที่รู้จักเป็นอย่างดีจากการบำเพ็ญพระราชกรณียกิจการกุศลนานาประการ และทรงเป็นสมาชิกของพระราชวงศ์พระองค์เดียวที่ได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแอนน์แห่งเดนมาร์ก

้าหญิงแอนน์แห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแอนน์แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Katherine of Greece and Denmark) หรือว่า เลดี้ แคทเธอรีน แบรนด์แรม (Lady Katherine Brandram; 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2456 - 2 ตุลาคม พ.ศ. 2550) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามและองค์เล็กในสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2466) และ เจ้าหญิงโซฟีแห่งปรัสเซีย (พ.ศ. 2413 - พ.ศ. 2475) และเป็นพระราชปนัดดาหญิงซึ่งทรงพระชนม์ชีพอยู่พระองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (โดยพระราชปนัดดาชายพระองค์สุดท้ายที่ยังทรงพระชนม์ชีพอยู่ขณะนี้คือ เค้านท์ คาร์ล โยฮัน เบอร์นาด็อต (พระชนมายุ 91 ชันษา).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโซฟีแห่งกรีซและเดนมาร์ก

ระองค์สมรสครั้งแรกกับ เจ้าชายคริสตอฟแห่งเฮสส์ เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2473 ณ เบอร์ลิน ขณะพระองค์ทรงมีพระชันษาเพียง 16 ปี ทรงได้รับพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงแห่งเฮสส์ โดยมีพระบุตรร่วมกันดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงโซฟีแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก

้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก (Princess Beatrice of York หรือ เบียทริซ เอลิซาเบท แมรี (Beatrice Elizabeth Mary (ประสูติ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2531) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ เป็นพระธิดาพระองค์แรกใน เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์กกับ ซาราห์ ดัชเชสแห่งยอร์ก อดีตพระชายาเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 และ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ เจ้าหญิงทรงอยู่ในอันดับที่แปดของลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ และทรงเป็นเจ้าหญิงพระองค์แรกที่ประสูติในพระราชวงศ์นับตั้งแต่การประสูติของเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี ในปี พ.ศ. 2493.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงเบียทริซแห่งยอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฮเลนา วิกตอเรียแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์

้าหญิงเฮเลนา วิกตอเรียแห่งชเลสวิก เจ้าหญิงเฮเลนา วิกตอเรีย หรือพระนามเต็ม วิกตอเรีย หลุยส์ โซเฟีย ออกัสตา อาเมเลีย เฮเลนา หรือพระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงเฮเลนา วิกตอเรียแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ (Princess Helena Victoria, พระอิสริยยศเดิม Princess Helena Victoria of Schleswig-Holstein; 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2413 - 13 มีนาคม พ.ศ. 2491) ทรงเป็นสมาชิกของพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงเฮเลนา วิกตอเรียแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเซซีลีแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงเซซีลีแห่งกรีซและเดนมาร์ก (เป็นพระธิดาลำดับที่ 3 ใน เจ้าชายแอนดรูว์แห่งกรีซและเดนมาร์ก และ เจ้าหญิงอลิซแห่งบัทเทนแบร์ก พระองค์ประสูติ ณ พระตำหนักโทโตะ ซึ่งห่างาก กรุงเอเธนส์ ไป 15 กิโลเมตร ทรงเป็นพระเชษฐภคินีใน เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ พระราชสวามีใน สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระองค์ได้เข้ารับการล้างบาป เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม โดยมีพระบิดามารดาทูลหัวดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงเซซีลีแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เทเรซา เมย์

ทะรีซา แมรี เมย์ (Theresa Mary May, เกิด 1 ตุลาคม ค.ศ. 1956) คือนักการเมืองชาวบริติช ผู้ดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร และหัวหน้าพรรคอนุรักษนิยมในสหราชอาณาจักรตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเทเรซา เมย์ · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด อาร์มสตรอง-โจนส์, เอิร์ลที่ 2 แห่งสโนว์ดอน

วิด อัลเบิร์ต ชาร์ลส์ อาร์มสตรอง-โจนส์, เอิร์ลที่ 2 แห่งสโนว์ดอน (David Albert Charles Armstrong-Jones, 2nd Earl of Snowdon) พระโอรสในเจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน กับอันโทนี อาร์มสตรอง-โจนส์, เอิร์ลที่ 1 แห่งสโนว์ดอน เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดวิด อาร์มสตรอง-โจนส์, เอิร์ลที่ 2 แห่งสโนว์ดอน · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด คาร์เนกี ดยุกที่ 4 แห่งไฟฟ์

วิด คาร์เนกี ดยุกที่ 4 แห่งไฟฟ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดวิด คาร์เนกี ดยุกที่ 4 แห่งไฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด แคเมอรอน

วิด วิลเลียม ดอนัลด์ แคเมอรอน (David William Donald Cameron) เกิดเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1966 เป็นนักการเมืองชาวอังกฤษ อีกทั้งเดวิดยังดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 53 คนปัจจุบันแห่งสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดวิด แคเมอรอน · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด เบคแคม

วิด รอเบิร์ต โจเซฟ เบคแคมชื่อ Beckham ในภาษาอังกฤษ ตัวอักษร h ไม่ออกเสียง (IPA) (David Robert Joseph Beckham) OBE เกิดวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 1975 เป็นอดีตนักฟุตบอลชายชาวอังกฤษ เขาเคยเล่นให้กับแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด, เพรสตันนอร์ทเอนด์, เรอัลมาดริด, เอซี มิลาน, แอลเอ กาแล็กซี่ และปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง และเคยเล่นให้กับฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ ในปี 1996 จนถึง ปี 2009 และเคยเป็นกัปตันทีมของทีมชาติอังกฤษด้วย เบคแคมเป็นนักเตะหนึ่งในสี่คนที่เล่นในยูฟ่า แชมเปี้ยนส์ลีก มากกว่า 100 นัด เขายังเป็นนักเตะที่เล่นให้ทีมชาติอังกฤษ 113 ครั้ง มากที่สุดเป็นอันดับ 2 และเป็นคนอังกฤษเพียงคนเดียวที่ทำประตูได้ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 3 ครั้ง ใน ฟุตบอลโลก 1998, 2002 และ 2006 โดยยิงประตูให้ทีมชาติรวมทั้งหมด 17 ประตู เบคแคมได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็นนายทหารแห่งจักรวรรดิบริเตน (Officer of the Order of the British Empire) จากสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 ซึ่งชื่อเสียงของเบคแคมนั้นคนทั่วโลกรู้จักเขาเป็นอย่างดีทั้งรุ่นต่อรุ่นโดยผลงานของเขาสามารถสร้างชื่อเสียงไว้มากมายทั้งใน ฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ และการค้าแข้งให้กับ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ในวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 2013 (พ.ศ. 2556) เดวิด เบคแคม ประกาศที่จะเลิกเล่นฟุตบอลอาชีพหลังจากที่การแข่งขันลีก 1 ของฝรั่งเศส (Ligue 1) ฤดูกาล 2012-13 ภายใต้สโมสร ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง สิ้นสุดลง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดวิด เบคแคม · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบีเทิลส์

อะบีเทิลส์ (The Beatles) เป็นวงร็อกแอนด์โรลจากเมืองลิเวอร์พูล ประเทศอังกฤษ ในปี 1960 ประกอบด้วยสมาชิก ร้องนำและมือกีตาร์ จอห์น เลนนอน ร้องนำและมือเบสพอล แม็กคาร์ตนีย์ มือกีตาร์ จอร์จ แฮร์ริสัน และมือกลอง ริงโก สตาร์ บีเทิลส์ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางให้เป็นวงร็อกที่มีอิทธิพลที่สุดแห่งยุคและเป็นหนึ่งในวงที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด ในตอนเริ่มต้นแนวดนตรีของพวกเขาจะเป็นแบบสกิฟเฟิลและร็อกแอนด์โรล แต่ในเวลาต่อมาบีเทิลส์ก็ได้สรรค์สร้างแนวเพลงอีกหลากหลาย นับแต่ไปจนถึงไซเคเดลิก บางครั้งก็ผสมแนวดนตรีคลาสสิกหรือเครื่องดนตรีแบบอื่นๆ ด้วยกระแสนิยมของบีเทิลส์อย่างสูง จนถึงกลับเรียกกระแสเหล่านี้ว่า "บีเทิลมาเนีย" (Beatlemania) โดยเฉพาะในช่วงยุค 60 - 70 เดอะบีเทิลส์เริ่มสร้างชื่อเสียงจากเล่นคอนเสิร์ตในคลับที่ลิวเวอร์พูลและฮัมบูร์กในช่วง 3 ปีของ 1960 โดยมีเพลงฮิตที่ประสบความสำเร็จครั้งแรกอย่าง "เลิฟมีดู" (Love Me Do) ในช่วงปลายปี 1962 พวกเขาได้ฉายา "เดอะแฟปโฟร์" (the Fab Four) ในขณะที่กระแสบีเทิลมาเนียก็เริ่มเกิดขึ้นมาพปีต่อมา และในช่วงก่อนปี 1964 พวกเขาก็ได้กลายมาเป็นไไแห่งวงการดนตรีนานาชาติ ไกลไปจนถึงตลาดเพลงป๊อปของสหรัฐอเมริกา ในปี 1965 เดอะบีเทิลส์ได้สร้างงานดนตรีที่ได้รับการยกย่องว่าเป็น ชิ้นชเอกทั้งหของนวัตกรรมดนตรีและอิทธิพลทางดนตรีสมัยใหม่ เช่น Rubber Soul (1965), Revolver (1966), Sgt.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดอะบีเทิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะมอลล์ (ถนน)

มุมมองของถนนด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้สู่พระราชวังบักกิงแฮม (พ.ศ. 2554) เดอะมอลล์ (The Mall) คือถนนสายหนึ่งในกรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร โดยเริ่มตั้งแต่พระราชวังบักกิงแฮมทางทิศตะวันตกเรื่อยไปถึงประตู แอดมีรัลตีอาร์ช (Admiralty Arch) ก่อนที่จะไปบรรจบกับถนนไวต์ฮอลที่จัตุรัสทราฟัลการ์ทางทิศตะวันออก นอกจากนี้ยังตัดผ่านถนนสปริงการ์เดนส์อันเคยเป็นที่ตั้งของสำนักแรงงานกรุงลอนดอนและสภาเมืองลอนดอนอีกด้วย ถนนเดอะมอลล์ปิดการจราจรทุกวันอาทิตย์, วันหยุดราชการ และวันงานพิธีสำคัญต่างๆ ของประเทศ เดอะมอลล์ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นถนนประกอบพิธีของรัฐในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เช่นเดียวกับถนนหลักในเมืองสำคัญอื่นๆ เช่น กรุงเบอร์ลิน, กรุงเม็กซิโกซิตี, กรุงออสโล, กรุงปารีส, กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก, กรุงเวียนนา และ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งถนนในเมืองเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ประกอบพิธีการของรัฐเป็นหลัก ต่อมาจึงมีการปรับปรุงโครงสร้างภายนอกของพระราชวังบักกิงแฮมและก่อสร้างอนุสาวรีย์สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเพิ่มเติมเข้าไป การปรับปรุงนี้เป็นส่วนหนึ่งของการปรับปรุงถนนซึ่งออกแบบโดยแอชตัน เวบบ์ อนุสาวรีย์สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียตั้งตระหง่านอยู่ด้านหน้าประตูทางเข้าพระราชวังบักกิงแฮม ขณะที่ประตูแอดมีรัลตีอาร์ชตั้งตระหง่านอยู่ก่อนถึงจัสตุรัสทราฟัลการ์ในฝั่งตรงข้าม ความยาวของถนนนับตั้งแต่ประตูแอดมีรัลตีอาร์ชถึงอนุสาวรีย์สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียนั้นยาวทั้งสิ้น พอดิบพอดี สวนสาธารณะเซนต์เจมส์ตั้งอยู่ฝั่งทิศใต้ของถนนตรงข้ามกันกับสวนสาธารณะกรีนและพระราชวังเซนต์เจมส์ในฝั่งทิศเหนือ ใกล้กับปลายสุดถนนด้านทิศตะวันออกเป็นที่ตั้งของลานฮอร์สการ์ดพาเหรด (Horse Guards Parade) ซึ่งใช้ในพิธีสวนสนามในวันเฉลิมพระชนมพรรษา พื้นผิวจราจรของถนนถูกทำให้เป็นสีแดงเพื่อให้ความรู้สึกเปรียบเสมือนพรมสีแดงขนาดใหญ่มุ่งสู่พระราชวังบักกิงแฮม ซึ่งสีแดงนี้เป็นเม็ดสีของสนิมเหล็กสังเคราะห์จากแหล่งออกไซด์ในดีนเชนเจอร์ (Deanshanger) อันผ่านกระบวนการดีนอกซ์ซึ่งถูกคิดค้นโดยนักเคมีนามว่า เออร์เนสต์ โลเวลล์ ต่อมารัฐมนตรีแรงงานช่วง..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดอะมอลล์ (ถนน) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์

"เดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์" (The Star-Spangled Banner แปลว่า ธงอันแพรวพราวด้วยดารา) เป็นเพลงชาติประจำสหรัฐ โดยเนื้อเพลงมาจากกวีนิพนธ์ชื่อว่า "การต่อสู้พิทักษ์ป้อมแม็กเฮ็นรี่ (Defence of Fort M'Henry)" ซึ่งประพันธ์ขึ้นในวันที่ 14 กันยายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดอะสตาร์สแปงเกิลด์แบนเนอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะคอส์

อะคอส์ เป็นวงดนตรี 4 พี่น้องจากประเทศไอร์แลนด์ มียอดขายอัลบั้มกว่า 30 ล้านแผ่นทั่วโลก โดยมีเพลงดังอย่าง What Can I Do, Dreams และ Breathless เป็นต้น ในปี 2005 เดอะคอส์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (MBE) จากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เนื่องจากความสามารถทางดนตรี รวมถึงการออกแสดงหรือทำกิจกรรมเพื่อหาเงินช่วยเหลือในงานการกุศลต่าง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเดอะคอส์ · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพแห่งประชาชาติ

รือจักรภพแห่งประชาชาติ (Commonwealth of Nations) ชื่อเดิมคือ เครือจักรภพบริเตน (British Commonwealth) หรือเรียกอย่างง่ายว่า เครือจักรภพ เป็นองค์กรระหว่างประเทศในระดับรัฐบาล ประกอบด้วย 52 ชาติสมาชิกซึ่งส่วนมากเป็นอดีตอาณานิคมของจักรวรรดิบริเตน เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยยึดหลักฉันทามติของชาติสมาชิกจากที่ประชุม เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยสำนักเลขาธิการเครือจักรภพและองค์กรอิสระ ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาณานิคมต่างๆของสหราชอาณาจักรเริ่มได้รับเอกราชเป็นของตนเอง เครือจักรภพแห่งประชาชาติกำเนิดขึ้นเมื่อมีปฏิญญาลอนดอนใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพแห่งประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสกอตแลนด์

รื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสกอตแลนด์ (The Honours of Scotland, Scottish Regalia, Scottish Crown Jewels) เป็นกกุธภัณฑ์ที่มีอายุตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15-16 โดยถือเป็นกกุธภัณฑ์ที่เก่าแก่ที่สุดบนเกาะอังกฤษที่ยังหลงเหลืออยู่ โดยใช้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ ตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 (ค.ศ. 1543) จนถึงพระเจ้าชาลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ตั้งแต่ในอดีตได้ถูกใช้เพื่อแสดงถึงพระราชอำนาจที่เกี่ยวข้องกับการตรากฏหมายผ่านทางรัฐสภาสกอตแลนด์ และยังใช้ในงานรัฐพิธีต่างๆ รวมถึงในคราที่เสด็จพระราชดำเนินเยือนสกอตแลนด์เป็นครั้งแรกในฐานะของพระมหากษัตริย์โดยพระเจ้าจอร์จที่ 4 ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ (อังกฤษ: Supreme Order of the Chrysanthemum) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสุงสุดของญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2422 โดยสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ แห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น จัดว่าเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สถาปนาเป็นลำดับสองของญี่ปุ่น และเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนพึงจะได้รับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ มีการพระราชทานสองแบบด้วยกันคือ แบบแรก มีสายสะพายพร้อมดาราและสังวาล สำหรับประมุขแห่งรัฐต่างประเทศและสมาชิกพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และแบบที่สอง มีสายสะพายพร้อมดารา สำหรับพระราชวงศ์ต่างประเทศ, ผู้นำรัฐบาลต่างประเทศ และบุคคลทั่วไปที่สมควรได้รั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งจักรวรรดิบริติช

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันวิเศษยิ่งแห่งจักรวรรดิบริติช (Most Excellent Order of the British Empire) คือเครื่องอิสริยาภรณ์สำหรับคณะอัศวินของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญบริติช ผู้สมควรได้รับต้องมีส่วนร่วมกับศิลปะและวิทยาศาสตร์ ทำงานร่วมกับองค์กรการกุศลและสวัสดิการ หรือการบริการสาธารณะนอกราชการ สถาปนาขึ้นโดย สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 1917 มีห้าชั้นได้แก่ จีบีอี เคบีอีหรือดีบีอี ซีบีอี โอบีอี และเอ็มบีอี ตามลำดับ ในฝ่ายพลเรือนและทหารที่อาวุโสจะได้รับพระราชทาน ไม่ว่าจะเป็นสุภาพบุรุษจะได้บรรดาศักดิ์เป็นอัศวิน ส่วนสุภาพสตรีที่ได้รับพระราชทานจะสามารถใช้คำนำหน้านามว่าเดมได้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งจักรวรรดิบริติช · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ มีอักษรย่อว่า ม..ก. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๑๑, ตอน ๑๔, ๓๐ มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เควิน รัดด์

วิน ไมเคิล รัดด์ (Kevin Michael Rudd; เกิด 21 กันยายน พ.ศ. 2500) เป็นนายกรัฐมนตรีของออสเตรเลียหลังจากชนะการเลือกตั้งในปีพ.ศ. 2550 และหัวหน้าของพรรคแรงงานออสเตรเลีย เขาเริ่มเป็นตัวแทนในสภาล่างของออสเตรเลียตั้งแต่ พ.ศ. 2541 ตัวแทนของเขตกริฟฟิท รัฐควีนส์แลนด์ ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี หัวหน้าพรรคแรงงาน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลังแพ้การเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2556 เควิน รัดด์นั้น มีความสามารถในการพูดภาษาจีนได้อย่างดีเยี่ยม เคยกล่าวปาฐกถาในประเทศจีน ด้วยภาษาจีนอีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเควิน รัดด์ · ดูเพิ่มเติม »

เคนยา (ราชอาณาจักรเครือจักรภพ)

ราชอาณาจักรเครือจักรภพแห่งเคนยา (The Commonwealth realm of Kenya หรือ "เคนยา" คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐเคนยา. ระหว่างวันที่ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ถึง 12 ธันวาคม ค.ศ. 1964 ปกครองภายใต้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นพระประมุข ภายหลังจากที่สิ้นสุดการปกครองของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1963 ทำให้ดินแดนอาณานิคมเคนยาที่มีสถานะเป็นอาณาจักรในเครือจักรภพ จนถึงการประกาศเป็นสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม ค.ศ. 1964. ซึ่งเป็นรัฐเอกราชที่มี พระมหากษัตริย์ (สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2) เป็นประมุขแห่งรัฐ เป็นไปตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701. และมีข้าหลวงต่างพระองค์เป็นผู้สำเร็จราชการแทน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเคนยา (ราชอาณาจักรเครือจักรภพ) · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา

เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา เป็นชื่ออาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งตั้งอยู่ในแถบทะเลแคริบเบียน ประกอบด้วยดินแดนของแองกวิลลาและประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสในปัจจุบัน รัฐดังกล่าวนี้ต่อมาได้กลายเป็นมณฑลหนึ่งของสหพันธรัฐเวสต์อินดิสในปี ค.ศ. 1958 (พ.ศ. 2501) จนกระทั่งเมื่อสหพันธรัฐดังกล่าวได้ล้มเลิกลงในปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505) เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลาก็ได้เป็นประเทศอิสระ ซึ่งได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อรวมตัวเป็นสหภาพกับประเทศอื่นอยู่หลายครั้ง ในปี ค.ศ. 1967 (พ.ศ. 2510) เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลา ได้รับมอบอำนาจปกครองตนเองด้านกิจการภายในอย่างเต็มที่จากสหราชอาณาจักร ต่อมาในปี พ.ศ. 2514 แองกวิลลาได้พยายามก่อกบฏเพื่อแยกตัวเป็นอิสระจนสำเร็จแต่ก็เป็นประเทศเอกราชได้เพียงไม่นานนัก ถึงปี ค.ศ. 1980 (พ.ศ. 2523) แองกวิลลาจึงแยกตัวจากเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลาอย่างเป็นทางการโดยยังคงสถานะเป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรจนถึงปัจจุบัน ส่วนดินแดนที่เหลือภายหลังก็ได้รับเอกราชและสถาปนาเป็นประเทศเอกราชในชื่อเซนต์คิตส์และเนวิสเมื่อปี ค.ศ. 1983 (พ.ศ. 2526) หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปอเมริกาเหนือ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เซนต์คิสต์และเนวิส หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์แองกวิลลา หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2501 หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2526 หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของอังกฤษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์เฮเลนา

ซนต์เฮเลนา เป็นเกาะภูเขาไฟและอยู่ในเครือจักรภพของสหราชอาณาจักร อยู่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแอตแลนติก เกาะใกล้เคียงก็อยู่ในเครือจักรภพเช่นกัน ทั้งเกาะแอสเซนซันและตริสตัน ดา กุนญา เซนต์เฮเลนาเป็นที่รู้จักเมื่อครั้งที่จักรพรรดินโปเลียน โบนาปาร์ตแห่งฝรั่งเศส ถูกเนรเทศไปที่เกาะนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2358 จนสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2364 สถานที่สำคัญคือ ลองวู้ด เฮาส์ (Longwood House) อันเป็นสถานที่ที่นโปเลียนพำนักระหว่างการเนรเทศอยู่ และแซน แวลลี (Sane Valley) ซึ่งที่ฝังพระศพ เกาะนี้เคยเป็นของฝรั่งเศสจนกระทั่งกลายมาเป็นของอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2401 เซนต์เฮเลนาเป็นสมาชิกของสมาคมการกีฬาหมู่เกาะนานาชาติ (International Island Games Associetion).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเซนต์เฮเลนา · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา

ซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา (Saint Helena, Ascension and Tristan da Cunha) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ ประกอบด้วยเกาะเซนต์เฮเลนา, เกาะอัสเซนชัน และกลุ่มเกาะที่เรียกว่าตริสตันดากูนยา The Constitution (in the Schedule to the Order).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเซนต์เฮเลนา อัสเซนชัน และตริสตันดากูนยา · ดูเพิ่มเติม »

เนลสัน แมนเดลา

นลสัน โรลีลาลา แมนเดลา (คอซา: Nelson Rolihlahla Mandela) เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 ที่ดินแดนปกครองตนเองทรานสไก ประเทศแอฟริกาใต้ ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในช่วงปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเนลสัน แมนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

เนวิส

ฝั่งตะวันออกของเนวิส, ป้องกันบางส่วนโดย แนวปะการัง. เบย์ระยะยาวจะเห็นอยู่เบื้องหน้า Main Street, ชาร์ลส, เนวิส ส่วนหนึ่งของชายฝั่งตะวันตกของ Nevis รวมทั้งสถานที่ตั้งของ ฤดูใบไม้ผลิของเนลสัน เนวิส (Nevis) เป็นเกาะใน ทะเลแคริบเบียน ที่เป็นส่วนหนึ่งของเส้นโค้งด้านในของ เกาะลีเวิร์ด ห่วงโซ่ของ หมู่เกาะอินเดียตะวันตก ตั้งอยู่ใกล้ปลายด้านเหนือของเลสเซอร์แอนทิลลีส เกาะนี้ห่างออกไปประมาณ 350 กิโลเมตรจากตะวันออกเฉียงใต้ของเปอร์โตริโก และห่าง 80 กิโลเมตรทางทิศตะวันตกของแอนติกา มีพื้นที่ 93 ตารางกิโลเมตร และมีเมืองหลวงคือ ชาร์ลสทาวน์ เนวิสตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะเซนต์คิตส์ของสหพันธ์เซนต์คิตส์และเนวิส สองเกาะจะถูกแยกออกด้วยช่องแคบ ยาว 3.22 กิโลเมตร ที่เรียกว่า "The Narrows" เนวิสเป็นรูปกรวยในรูปร่างที่มียอดภูเขาไฟที่รู้จักกันเป็น Nevis Peak ที่ศูนย์กลาง เกาะเป็นฝอยบนชายฝั่งตะวันตกและทางเหนือของหาดทรายตามที่ประกอบด้วยส่วนผสมของทรายปะการังสีขาวด้วยทรายสีน้ำตาลและสีดำซึ่งได้รับการกัดเซาะและชะล้างลงจากหินภูเขาไฟที่กำเนิดขึ้นบนเกาะ ที่ราบชายฝั่งกว้าง 1 กิโลเมตร (0.6 ไมล์) มีน้ำพุน้ำจืดธรรมชาติเช่นเดียวกับที่ไม่ใช้ดื่ม ภูเขาไฟ น้ำพุร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามแนวชายฝั่งตะวันตก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและเนวิส · ดูเพิ่มเติม »

Falkirk Wheel

Falkirk Wheel วงล้อฟอลเคิร์ก เป็นลิฟต์เรือ ที่ตั้งชื่อตามเมือง Falkirk ในสกอตแลนด์ ซึ่งเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ใกล้กับลิฟต์เรือนี้ Falkirk Wheel เชื่อมต่อระหว่างคลอง Forth and Clyde และคลองยูเนียน มีความสูง 24 เมตร เปิดใช้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 โดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เสด็จมาเป็นประธานในงานเปิด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในงานฉลองครองราชย์ครบ 50 ปีของพระองค์ด้วย หมวดหมู่:สกอตแลนด์.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและFalkirk Wheel · ดูเพิ่มเติม »

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ10 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

19 พฤษภาคม

วันที่ 19 พฤษภาคม เป็นวันที่ 139 ของปี (วันที่ 140 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 226 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ19 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 กุมภาพันธ์

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ19 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ2 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 เมษายน

วันที่ 21 เมษายน เป็นวันที่ 111 ของปี (วันที่ 112 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 254 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ21 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

28 ตุลาคม

วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ28 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 สิงหาคม

วันที่ 4 สิงหาคม เป็นวันที่ 216 ของปี (วันที่ 217 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 149 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ4 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

9 กุมภาพันธ์

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 40 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 325 วันในปีนั้น (326 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรและ9 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Elizabeth IIElizabeth II of the United Kingdomสมเด็จพระราชินีอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่สองสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบทที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธ ที่ 2 แห่งอังกฤษสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบทที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระบรมราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2สมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรเอลิซาเบธที่สองแห่งสหราชอาณาจักร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »