โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์

ดัชนี สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (ภาษานอร์เวย์: Hans Majestet Kong Harald V) เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ ทรงขึ้นครองราชย์หลังจากการสวรรคตของพระราชบิดา (พระเจ้าโอลาฟที่ 5) เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 ในฐานะพระปนัดดาของกษัตริย์เอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชาธิบดีซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์เดียวของพระเจ้าโอลาฟที่ 5 และเจ้าหญิงมาร์ทาแห่งสวีเดน ทรงมีสิทธิสืบราชสันตติวงศ์ราชบัลลังก์อังกฤษในลำดับที่ 48 เนื่องจากพระองค์เป็นพระราชปนัดดา(เหลน) ในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทาง ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ ผู้เป็นพระอัยยิกา(ย่า) สมเด็จพระราชาธิบดีทรงได้รับปริญญาจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดในสาขาวิชาประวัติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ ในปี 2511 ทรงเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับสามัญชน นางสาวซอนยา เฮรัลด์เซ็น ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ มีพระราชโอรสพระราชธิดาคือ เจ้าหญิงมาร์ทา หลุยส์ และมกุฎราชกุมารเจ้าชายโฮกุน ซึ่งทรงอภิเษกสมรสกับ นางสาวเมตเต-มาริต ปัจจุบันได้รับสถาปนาเป็น เจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เจ้าชายโฮกุนและเจ้าหญิงเมตเต-มาริต พร้อมด้วยพระโอรสองค์เล็กคือเจ้าชายสแวร์เร แมกนัส เสด็จฯ เป็นผู้แทนพระองค์สมเด็จพระราชาธิบดีเพื่อร่วมพิธีเฉลิมฉลองครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระราชาธิบดีทรงเป็นนักกีฬาและนักเดินเรือผู้เชี่ยวชาญ และทรงนำทีมนักกีฬานอร์เวย์ให้ได้รับชัยชนะจากการแข่งเรือใบในนามประเทศนอร์เวย์หลายครั้ง รวมทั้งจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่กรุงโตเกียวเมื่อปี..

63 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2404พ.ศ. 2473พ.ศ. 2475พ.ศ. 2480พ.ศ. 2494พ.ศ. 2511พ.ศ. 2534พ.ศ. 2545พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรกองทัพนอร์เวย์การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2556รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2557รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2558รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2559รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2560รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์นอร์เวย์รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบันลำดับการสืบราชสันตติวงศ์นอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรอันดับความร่ำรวยของประมุขทั่วโลก ปี 2007ธงชาตินอร์เวย์คองเงอซังเงินปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชประเทศนอร์เวย์แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กแอร์ลิง ลอเรนต์ซันโอลิมปิกฤดูหนาว 1994โอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016โฮกุ้น ลอเรนต์ซันเกาะบูเวเกาะปีเตอร์ที่ 1เจมส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ์เจ้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซาเจ้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์เจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์เจ้าชายโยคิมแห่งเดนมาร์กเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์...เจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์กเจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งเดนมาร์กเจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดนเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์เจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ17 มกราคม21 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (13 มากกว่า) »

พ.ศ. 2404

ทธศักราช 2404 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1861.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และพ.ศ. 2404 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2494

ทธศักราช 2494 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1951.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และพ.ศ. 2494 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (George III of the United Kingdom) (4 มิถุนายน ค.ศ. 1738 – 29 มกราคม ค.ศ. 1820) เป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และราชอาณาจักรไอร์แลนด์สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ ระหว่างวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพนอร์เวย์

กองทัพนอร์เวย์ (Forsvaret, "The Defence") ประกอบด้วยกองทัพบก, กองทัพเรือ รวมถึงหน่วยยามรักษาฝั่ง กองทัพอากาศ, กองอาสารักษาดินแดน และ หน่วยปฏิบัติการไซเบอร์ กองทัพอยู่ภายใต้การบริหารจัดการของกระทรวงกลาโหม นำโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม โดยสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นจอมทัพในฐานะผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และกองทัพนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2556

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2557

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆ ในปี พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2558

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่างๆในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2559

นี่คือรายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2560

นี่คือ รายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2560.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561

นี่คือ รายชื่อของผู้นำประเทศของประเทศต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายชื่อผู้นำประเทศ พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์

ตราประจำพระองค์ของพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ ปี 1280 สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 กษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ปี 1991 ร่วมกับพระมเหสีของพระองค์ สมเด็จพระราชินีซอนยา ในปี 2010 รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรนอร์เว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์นอร์เวย์

หมวดหมู่:รายพระนามคู่อภิเษกสมร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน

ตารางต่อไปนี้เป็นรายนามของประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลทั่วโลกในปัจจุบัน แสดงประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลซึ่งมีลักษณะต่างกันออกไปตามรูปแบบการปกครอง โดยส่วนใหญ่เป็นระบบรัฐสภา ในขณะที่บางรัฐนั้นประมุขจะอยู่ในระบบประธานาธิบดีหรือเผด็จการ และบางรัฐใช้การปกครองในระบบกึ่งประธานาธิบดี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และรายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์นอร์เวย์

มกุฎราชกุมารโฮกุนและเจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดรา ผู้สืบทอดราชบัลลังก์อันดับที่หนึ่งและสอง ลำดับการสืบราชบัลลังก์นอร์เวย์ ถูกกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตราที่ 6 ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงครั้งล่าสุดเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และลำดับการสืบราชสันตติวงศ์นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งชาวเบลเยียม หรือ พระเจ้าอัลเบิร์ตที่ 2 (Albert Félix Humbert Théodore Christian Eugène Marie, ดัตช์: Albert Felix Humbert Theodoor Christiaan Eugène Marie) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่หก และเป็นพระราชบิดาของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของประเทศเบลเยียม ทรงครองราชย์ตั้งแต่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2536 จนกระทั่งสละราชสมบัติแก่พระโอรสของพระองค์ในวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 มีพระราชดำรัสผ่านสถานีโทรทัศน์ว่าทรงมีพระราชพระสงค์สละราชสมบัติให้เจ้าชายฟิลิป มกุฎราชกุมาร ในวันที่ 21 เดือนและปีเดียวกัน เนื่องจากทรงมีพระชนมพรรษามากและพระวรกายที่ไม่แข็งแรงเช่นในอดีต จึงทำให้พระองค์เป็นประมุขแห่งราชวงศ์พระองค์ที่ 4 ที่ทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 2013 ตามจากสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16, สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ และฮะมัด บิน เคาะลีฟะฮ์ อัษษานีแห่งกาตาร์ และยังเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 ของเบลเยียมที่สละราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา คือ สมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 ซึ่งทรงสละราชสมบัติในปีค.ศ. 1951.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีโบดวงที่ 1 แห่งเบลเยียม (Boudewijn Albert Karel Leopold Axel Marie Gustaaf van België ˈbʌu̯dəˌʋɛi̯n ˈɑlbərt ˈkaːrəl ˈleˑjoˑˌpɔlt ˈɑksəl maˑˈri ɣʏsˈtaˑf vɑn ˈbɛlɣijə, Baudouin Albert Charles Léopold Axel Marie Gustave de Belgique bodwɛ̃ albɛʁ ʃaʁl leopɔld aksɛl maʁi ɡystav də bɛlʒik; 7 กันยายน 1930 – 31 กรกฎาคม 1993) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม หลังจากการสละราชสมบัติของพระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (2 กรกฎาคม 1903 - 17 มกราคม 1991) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ ตั้งแต่ปี 1957 จนกระทั่งพระองค์เสด็จสวรรคต พระองค์เป็นสมาชิกราชวงศ์ชเลสวิก-ฮอลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 เสด็จพระราชสมภพที่สหราชอาณาจักร พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีม็อดแห่งนอร์เวย์ พระองค์ทรงเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร กับ อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทางสายพระราชมาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ (พระนามเดิม เจ้าชายคาร์ลแห่งเดนมาร์กและไอซ์แลนด์ พระนามเต็ม คริสเตียน เฟรเดอริก คาร์ล จอร์จ วัลเดมาร์ แอกเซล; Christian Frederik Carl Georg Valdemar Axel, ต่อมาเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์) 3 สิงหาคม พ.ศ. 2415 - 21 กันยายน พ.ศ. 2500) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก และ เจ้าหญิงหลุยส์แห่งสวีเดน ในปีพ.ศ. 2448 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์พระองค์แรกหลังการยุบสหภาพระหว่างนอร์เวย์และสวีเดนโดยการสลายรัฐร่วมประมุขร่วมกับสวีเดน พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์ชเลสวิก-ฮอลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก ในฐานะที่ทรงเป็นหนึ่งในพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการเลือกตั้ง สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนได้ทรงชนะใจพสกนิกรด้วยความเคารพและความรักจากประชาชนของพระองค์ และทรงมีบทบาทสำคัญในการเป็นศูนย์รวมจิตใจชาตินอร์เวย์ในการทำการต่อต้านกองทัพนาซีที่ทำการรุกรานและต่อมายาวนานอีกห้าปีทรงต่อต้านการที่นาซียึดครองนอร์เวย์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ในนอร์เวย์ สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนทรงถือเป็นหนึ่งในชาวนอร์เวย์ที่มีความสำคัญสูงสุดในศตวรรษที่ 20 และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการยอมรับในความกล้าหาญของพระองค์ในระหว่างการรุกรานของเยอรมัน พระองค์ทรงขู่ว่าจะสละราชบัลลังก์ถ้ารัฐบาลร่วมมือกับผู้รุกรานชาวเยอรมัน และสำหรับความเป็นผู้นำของพระองค์ และยังทรงรักษาความเป็นสามัคคีของนอร์เวย์ได้ในระหว่างการยึดครองของเยอรมัน พระองค์เสด็จสวรรคตขณะมีพระชนมายุ 85 พรรษา ในวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 หลังจากทรงครองราชสมบัติมายาวนานเกือบ 52 ปี.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ (Sonja av Norge; พระนามเดิม: Sonja Haraldsen ซอนยา เฮรัลด์เซ็น; ประสูติเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 ณ กรุงออสโล) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ พระองค์ทรงเป็นสามัญชน ทรงเป็นบุตรีของนายคาร์ล ออกัส เฮรันด์เซ็น กับ นางเดกนี อูริชเซ็น พระองค์ได้หมั้นหมายกับมกุฎราชกุมารฮารันด์ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2511 หลังจากการสวรรคตของพระเจ้าโอลาฟที่ 5 ในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 ซอนยาได้กลายเป็นสมเด็จพระราชินี พระนางกับสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์มีบุตร 2 พระองค์คือเจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์และเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ ในปีพ.ศ. 2548 สมเด็จพระราชินีซอนยาทรงสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกที่เสด็จเยือนแอนตาร์กติก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

อันดับความร่ำรวยของประมุขทั่วโลก ปี 2007

อันดับการถือครองทรัพย์สินทั้งทรัพย์สินส่วนตัว และทรัพย์สินประจำตำแหน่งในนามประมุขของประเทศได้แก่ตำแหน่งพระมหากษัตริย์ หรือประธานาธิบดี รวมทั้งมูลค่าทรัพย์สินรวมขององค์กรทางธุรกิจที่อยู่ในนามของประมุขเหล่านั้น ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และอันดับความร่ำรวยของประมุขทั่วโลก ปี 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาตินอร์เวย์

งชาตินอร์เวย์ มีอายุนับย้อนหลังขึ้นไปถึงปี พ.ศ. 2364 เมื่อครั้งที่นอร์เวย์ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดน จากการยอมยกดินแดนให้ของประเทศเดนมาร์กเมื่อ พ.ศ. 2357 ลักษณะของธงนี้มีรูปแบบเดียวกันกับธงชาติเดนมาร์ก แต่เพิ่มรูปไม้กางเขนสีน้ำเงินขอบขาว เพื่อเป็นการแสดงความรักชาติของชาวนอร์เว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และธงชาตินอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

คองเงอซังเงิน

องเงอซังเงิน (Kongesangen, "เพลงของพระเจ้าแผ่นดิน") เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของนอร์เวย์ ประพันธ์โดยเฮนริก เวร์เกอลันด์ ส่วนเนื้อร้องที่ใช้อยู่ในปัจจุบันประพันธ์โดยกุสตัฟ เยนเซิน สำหรับใช้ในพิธีบรมราชาภิเษกของสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และคองเงอซังเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จสวรรคตเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เวลา 15.52 นาฬิกา ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช หลังการสวรรคต มีประเทศต่างๆและองค์การระดับนานาชาติส่งสาส์นแสดงความเสียใจเป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และปฏิกิริยาต่อการสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก

้าหญิงโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งเบลเยียม (Princess Joséphine-Charlotte of Belgium พระนามเต็ม โจเซฟีน-ชาร์ล็อต อินเกบอร์ก เอลิซาเบธ มารี-โจเซ มาร์เกอริต แอสตริด; 11 ตุลาคม พ.ศ. 2470 - 10 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่และองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และ เจ้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน นอกจากนี้พระองค์ยังได้เป็นพระชายาในแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก และพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเบลเยียมทั้งสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย ในฝ่ายพระราชชนนี เจ้าหญิงเป็นพระญาติใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีของพระราชชนนี สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุกแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก พระธิดาในเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระญาติชั้นที่สองในพระราชวงศ์สวีเดนตามลำดั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ลิง ลอเรนต์ซัน

แอร์ลิง ลอเรนต์ซัน เป็นพระภัสดาในเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ พระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เขาและเจ้าหญิงรัญฮิลด์มีโอรส-ธิดารวม 3 คน ด้วยการเสกสมรสต่างฐานันดร ทำให้พระชายาของเขาต้องใช้ฐานันดรในระดับ เฮอร์ ไฮนีส ตัวของเขาเองก็ถือเป็นพระบรมวงศานุวงศ์แห่งนอร์เวย์เด้วย ปัจจุบัน เจ้าหญิงรัญฮิลด์ได้สิ้นพระชนม์ลงแล้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และแอร์ลิง ลอเรนต์ซัน · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1994

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17 ประจำปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016

กีฬาโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016 (2016 Winter Youth Olympic Games; Vinter-OL for ungdom 2016) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า กีฬาโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาวครั้งที่ 2 (II Winter Youth Olympic Games; YOG) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศสำหรับเยาวชนซึ่งจัดขึ้นในเมืองลิลเลฮัมเมร์ ประเทศนอร์เวย์ ระหว่างวันที่ 12 - 21 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016 · ดูเพิ่มเติม »

โฮกุ้น ลอเรนต์ซัน

กุ้น ลอเรนต์ซัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และโฮกุ้น ลอเรนต์ซัน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะบูเว

กาะบูเว (Bouvet; Bouvetøya) เป็นเกาะอาณานิคมของประเทศนอร์เวย์ และเป็นเกาะที่ไกลที่สุดในโลก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ที่จุดพิกัด โดยเกาะนี้เป็นเกาะที่ห่างที่สุดในโลก เพราะห่างจากแหลมกู๊ดโฮปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 1,600 กิโลเมตร (1,000 ไมล์) และห่างจากแอนตาร์กติกาทางทิศใต้ 1,600 กิโลเมตร (994 ไมล์) เกาะมีพื้นที่ 49 ตร.กม.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเกาะบูเว · ดูเพิ่มเติม »

เกาะปีเตอร์ที่ 1

กาะปีเตอร์ที่ 1 เกาะปีเตอร์ที่ 1 (Peter I Island) เป็นเกาะตั้งอยู่ใกล้กับชายฝั่งทวีปแอนตาร์กติกา มีพื้นที่ 154 ตารางกิโลเมตร เกาะปีเตอร์ที่ 1 เป็นดินแดนของทวีปแอนตาร์กติกาที่นอร์เวย์อ้างสิทธิ์ เกาะนี้ไม่มีประชากรอาศัยอยู.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเกาะปีเตอร์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ์

มส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจมส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซา

้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซา (His Royal Highness Prince Friso of Orange-Nassau) เป็นพระราชโอรสพระองค์กลางในสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์กับ เจ้าชายเคลาส์แห่งเนเธอร์แลนด์ เป็นพระราชอนุชาใน สมเด็จพระราชาธิบดีวิลเลิม-อเล็กซานเดอร์แห่งเนเธอร์แลนด์ และเป็นพระเชษฐาในเจ้าชายคอนสตันตินแห่งเนเธอร์แลนด์ พระองค์อภิเษกสมรสกับ เจ้าหญิงมาเบลแห่งออเรนจ์-นัสเซา มีพระธิดารวม 2 พระองค์ พระองค์สิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ขณะมีพระชันษา 44 ชันษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าชายฟริโซแห่งออเรนจ์-นัสเซา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์

้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 3 ธันวาคม ค.ศ. 2005) พระโอรสในเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ และพระองค์อยู่ในลำดับที่สามของการสืบการบัลลังก์นอร์เวย์ต่อจากพระภคินี คือ เจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดร.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์

้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ทรงเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ใน สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน กับ โซเฟียแห่งนอสซอ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน ทรงเสกสมรสกับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระราชธิดาใน สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก กับ หลุยส์แห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก มีพระโอรส-ธิดารวม 4 พระองค์ โดยพระองค์ถือเป็นพระราชอัยกา(ตา) ใน 3 พระมหากษัตริย์ ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโยคิมแห่งเดนมาร์ก

้าชายโยคิมแห่งเดนมาร์ก เคานต์แห่งมงเปอซา (Prins Joachim Holger Waldemar Christian til Danmark, greve af Monpezat; 7 มิถุนายน 2512) เป็นพระราชโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ทรงมีพระเชษฐา1พระองค์คือ เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าชายโยคิมแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์

้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ (พระนามเต็ม โฮกุน มักนุส, ประสูติ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1973 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์มีพระเชษฐภคินีคือ เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก

้าชายโยคิมแห่งเดนมาร์ก เคานต์แห่งมงเปอซา (Prins Joachim Holger Waldemar Christian til Danmark, greve af Monpezat; 7 มิถุนายน 2512) เป็นพระราชโอรสองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ทรงมีพระเชษฐา1พระองค์คือ เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งเดนมาร์ก (เดิม:เจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งสวีเดนและนอร์เวย์) พระธิดาพระองค์แรกใน เจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ กับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ ทรงเป็นพระเชษฐภคินีใน เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน และ สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม ทรงเป็นพระราชมาตุจฉา(ป้า) ใน สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ และ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียม พระองค์ทรงเสกสมรสกับ เจ้าชายแอกเซิลแห่งเดนมาร์ก รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงแห่งเดนมาร์ก มีพระโอรส 2 พระองค์ ธงประจำพระอิสริยยศ ตราอาร์มประจำพระอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์

้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์ (Prinsesse Märtha Louise av Norge; ประสูติ: 22 กันยายน ค.ศ. 1971) พระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์เป็นพระเชษฐภคินีของ เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ หลังจากการเปลี่ยนแปลงกฎมนเทียรบาลในปี ค.ศ. 1990 ส่งผลให้พระองค์อยู่ในลำดับที่ 4 ของการสืบราชบัลลังก์นอร์เว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน

้าฟ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน (Princess Märtha of Sweden, มาร์ธา โซเฟีย โลวิซา แด็กมาร์ ไธรา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 5 เมษายน พ.ศ. 2497) ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์พระองค์แรกในยุคปัจจุบัน ซึ่งมิได้ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนหรือเดนมาร์ก อีกทั้งยังทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งนอร์เวย์มาตั้งแต่แรกประสูติจนกระทั่งถึงการแยกออกตัวออกจากการรวมตัวกันระหว่างประเทศสวีเดนและนอร์เวย์ในปี พ.ศ. 2448 พระองค์เป็นพระชายาและพระญาติชั้นที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เมื่อสมัยที่ยังทรงเป็นมกุฎราชกุมาร เนื่องจากพระชนกและพระชนนีของทั้งสองพระองค์เป็นพี่น้องกัน และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาอยู่ทางฝ่ายพระชนกของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เจ้าหญิงประสูติเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์รองในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ และ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาทางฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งทางฝ่ายพระชนนี ส่วนเจ้าหญิงแอสตริดแห่งสวีเดน พระขนิษฐาองค์เล็กทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโพลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ในขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์

้าหญิงรัญฮิลด์ อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1930 ณ พระราชวังหลวง กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ - สิ้นพระชนม์ 16 กันยายน ค.ศ. 2012 ณ รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล) พระราชธิดาองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงมาร์ธา มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระเชษฐภคินีในเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ และสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน

้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน (Her Royal Highness Crown Princess Victoria of Sweden; Hennes Kungliga Höghet Kronprinsessan Victoria, Sveriges kronprinsessa; พระนามเต็ม วิกตอเรีย อิงกริด อลิซ เดซิเร; 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 —) เป็นรัชทายาทอันดับหนึ่งในราชบัลลังก์สวีเดน หากเมื่อเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ พระองค์จะทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถลำดับที่สี่ของประเทศ (ต่อจาก สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 1 สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินา และสมเด็จพระราชินีนาถอุลริคา เอเลโอนอรา) ทั้งนี้พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติใน เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ นอกจากนี้พระองค์ยังทรงถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 7 ของราชนิกุลรุ่นเยาว์ที่เซ็กซี่มากสุดในโลก.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์

้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ: 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 ณ วิลลาซูลบักเคิน กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชธิดาองค์รองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงมาร์ธา มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ และเป็นพระขนิษฐาในเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ พระองค์ถือเป็นเหลนในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร พระองค์จึงอยู่ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้พระองค์ยังเป็นพระญาติชั้นที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร และเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมในสายพระมารดาของพระอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์

้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 21 มกราคม ค.ศ. 2004) พระธิดาในเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ และพระองค์อยู่ในลำดับที่สองของการสืบการบัลลังก์นอร์เวย์ต่อจากพระบิดา ซึ่งจะได้ครองราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งนอร์เวย์ในอนาคต.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์

้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ (เดิม:เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก)ทรงเป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก กับ หลุยส์แห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก เป็น เจ้าหญิงแห่งเดนมาร์ก ตั้งแต่แรกประสูติ ต่อมาทรงเสกสมรสกับ เจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระราชโอรสใน สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน กับ โซเฟียแห่งนอสซอ สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน มีพระโอรส-ธิดารวม 4 พระองค์ โดยพระองค์ถือเป็นพระราชอัยยิกา(ยาย) ใน 3 พระมหากษัตริย์ ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์

้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1973, พระนามเดิม เมตเต-มาริต ชีเซม เฮออิบี) พระวรชายาในเจ้าชายโฮกุน มักนุส มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เว.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ (อังกฤษ: Supreme Order of the Chrysanthemum) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสุงสุดของญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2422 โดยสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ แห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น จัดว่าเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สถาปนาเป็นลำดับสองของญี่ปุ่น และเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนพึงจะได้รับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ มีการพระราชทานสองแบบด้วยกันคือ แบบแรก มีสายสะพายพร้อมดาราและสังวาล สำหรับประมุขแห่งรัฐต่างประเทศและสมาชิกพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และแบบที่สอง มีสายสะพายพร้อมดารา สำหรับพระราชวงศ์ต่างประเทศ, ผู้นำรัฐบาลต่างประเทศ และบุคคลทั่วไปที่สมควรได้รั.

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ · ดูเพิ่มเติม »

17 มกราคม

วันที่ 17 มกราคม เป็นวันที่ 17 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 348 วันในปีนั้น (349 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และ17 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์และ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5สมเด็จพระราชาธิบดีเฮรัลด์ที่ 5

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »