โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ดัชนี สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

มเด็จพระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดิมว่าพระนเรศ หรือ "พระองค์ดำ" เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิกษัตรีย์ (พระราชธิดาของสมเด็จพระศรีสุริโยทัยและสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

227 ความสัมพันธ์: ชาวมอญบ่อเหล็กน้ำพี้ช้างในประเทศไทยฟรานซิส เดรกพ.ศ. 2098พ.ศ. 2126พ.ศ. 2127พ.ศ. 2133พ.ศ. 2135พ.ศ. 2137พ.ศ. 2145พ.ศ. 2146พ.ศ. 2147พ.ศ. 2148พ.ศ. 2198พชร ธรรมมลพระบรมราชาที่ 7พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชพระบรมสารีริกธาตุพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพุทธชินราชพระพุทธไสยาสน์ (วัดป่าโมก)พระพี่นางพระมณีรัตนาพระยารามพระยาศรีไสยณรงค์พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร)พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์พระราชวังสวนหลวงพระราชวังจันทรเกษมพระราชวังจันทน์พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัยพระวิสุทธิกษัตรีย์พระสุพรรณกัลยาพระสุริโยทัยพระสถูปเจดีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชานุสรณ์พระที่นั่งวิหารสมเด็จพระคาถาพาหุงพระแก้วฟ้าที่ 1พระแสงของ้าวเจ้าพระยาแสนพลพ่ายพระไชยเชษฐาที่ 1พระเมรุมาศพระเอกกษัตรีพระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)พระเจ้าอะเนาะเพะลูนพระเจ้าตาลูนพระเจ้านันทบุเรงพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ...พะโคพิชัยสงครามพิศาล อัครเศรณีพิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพลกร ทัพพะรังสีกรมพระราชวังบวรสถานมงคลกฤษฎาภินิหารอันบดบังมิได้กษัตริยากองอาสารักษาดินแดนกองทัพบกไทยการรบที่เมืองคังการล้อมอยุธยา (2309–2310)การนวดแผนไทยการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่งกุหลาบมอญก้านกล้วยก้านกล้วย (ตัวละคร)ก้านกล้วย (แฟรนไชส์)ก้านกล้วย 2ฝันอเมริกันภาพยนตร์ไทยภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรมหากาพย์กู้แผ่นดินมหาวิทยาลัยพะเยามหาวิทยาลัยนเรศวรมังกะยอชวามนตรี ตราโมทยุทธหัตถียุทธหัตถี (แก้ความกำกวม)รัฐร่วมประมุขราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)ราชวงศ์สุโขทัยรายชื่อการดวลรายชื่อวันสำคัญของไทยรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยรายชื่อสงครามในประเทศไทยรายชื่ออัลบั้มเพลงที่ขับร้องโดยคาราบาวรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อตัวละครในก้านกล้วยรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ได้รับสมัญญานามมหาราชรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทยรายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาบทละครโทรทัศน์ดีเด่นรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาผู้กำกับการแสดงละครดีเด่นลิลิตตะเลงพ่ายวัดพระธาตุดอยเวาวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหารวัดภูเขาทองวัดวรเชษฐ์วัดศรีชุม (จังหวัดสุโขทัย)วัดสระลงเรือวัดสำปะซิววัดสุวรรณดารารามราชวรวิหารวัดอัมพวัน (ลพบุรี)วัดใหญ่ชัยมงคลวันชนะ สวัสดีวันช้างไทยวันกองทัพไทยวิวัฒน์ ผสมทรัพย์ศิริ ศิริจินดาศิลป์ พีระศรีศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลกสมัยละแวกสมัยศรีสันธรสมัยอุดงสมาคมผู้คงแก่เรียนสมควร กระจ่างศาสตร์สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา)สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสมเด็จพระมหินทราธิราชสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษสมเด็จพระวันรัตสมเด็จพระสรรเพชญ์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ละครโทรทัศน์)สมเด็จพระเอกาทศรถสยามสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสะพานนเรศวรสิ่งพิมพ์รายคาบสถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวรสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทองสงครามช้างเผือกสงครามพระเจ้าอลองพญาสงครามยุทธหัตถีหมู่บ้านฮอลันดาหาดเจ้าสำราญอับราฮัม ออร์ทีเลียสอาทมาตอาณาจักรสุโขทัยอาณาจักรอยุธยาอำเภอพิชัยอำเภอวิเศษชัยชาญอำเภอสามโก้อำเภอป่าโมกอำเภอไชโยอำเภอเชียงดาวอำเภอเวียงแหงอุทยานราชภักดิ์อดุลย์ ดุลยรัตน์จรัญ งามดีจังหวัดพระตะบองจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดลำปางจังหวัดสระแก้วจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดอุดรธานีจังหวัดอ่างทองจังหวัดตากจังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดนครราชสีมาธนบัตร 100 บาทธนบัตร 50 บาทท้าวทองกีบม้า (มารี กีมาร์)ขรัวอินโข่งขุนศึก (บันเทิงคดี)คริสต์ทศวรรษ 1590ตราประจำจังหวัดของไทยตะกรุดตะโดธรรมราชาที่ 3ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราชตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสาตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสาตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวีตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรงตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถีตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหงสาตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพซามูไร อโยธยาประวัติศาสตร์มวยไทยประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ตประวัติศาสตร์ไทยประเทศพม่าใน ค.ศ. 1613ประเทศสเปนประเทศไทยปืนคาบศิลาปืนไฟนภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์นรธาเมงสอนันทวัน เมฆใหญ่นเรศวรแม่น้ำสะโตงโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรีไทยโยเดียเกชา เปลี่ยนวิถีเมืองนายเมืองแครงเมตตา รุ่งรัตน์เหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยาเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์เจดีย์เจดีย์ชเวมอดอเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)เจ้าพระยาปราบหงสาวดีเจ้าพระยาปราบไตรจักร (พลายบุญเรือง)เจ้าหญิงเมงอทเวเจ้าอนุวงศ์เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (สุรคุปต์)เจ้าแม่วัดดุสิตเทศบาลเมืองชะอำเทศบาลเมืองวิเชียรบุรีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวรเขตตะนาวศรี18 มกราคม25 มกราคม25 เมษายน26 เมษายน29 กรกฎาคม ขยายดัชนี (177 มากกว่า) »

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและชาวมอญ · ดูเพิ่มเติม »

บ่อเหล็กน้ำพี้

ในศาลเจ้าพ่อบ่อเหล็กน้ำพี้ตั้งรูปเจ้าพ่อ 3 ตน เชื่อว่าเป็นผู้พิทักษ์รักษาเหล็กน้ำพี้มาตั้งแต่โบราณ บ่อเหล็กน้ำพี้ เป็นแหล่งสินแร่เหล็กตามธรรมชาติ ตั้งอยู่ที่บ้านน้ำพี้ หมู่ 1 ตำบลน้ำพี้ อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ประมาณ 56 กิโลเมตร โดยเป็นบ่อเหล็กกล้า มีอยู่ด้วยกันหลายบ่อ และปรากฏเตาถลุงเหล็กโบราณนับพัน ๆ แห่งในพื้นที่หลายตารางกิโลเมตร แต่บ่อที่สำคัญและสงวนใช้สำหรับพระมหากษัตริย์ มีอยู่ 2 บ่อ คือ บ่อพระแสง และ บ่อพระขรรค์ มีการนำแร่เหล็กจากบ่อเหล็กน้ำพี้ไปถลุงทำอาวุธเพื่อใช้ในการศึกสงครามมาตั้งแต่สมัยโบราณ ดังปรากฏหลักฐานทางประวัติศาตร์มากมายถึงความสำคัญของเหล็กน้ำพี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความเชื่อมาแต่โบราณว่าเหล็กจากแหล่งแร่เหล็กน้ำพี้มีความแข็งแกร่ง ความศักดิ์สิทธิ์และอาถรรพ์ในตัวสมิธ, เฮอร์เบิร์ท วาริงตัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและบ่อเหล็กน้ำพี้ · ดูเพิ่มเติม »

ช้างในประเทศไทย

ในปัจจุบัน ช้างเอเชีย นอกจากจะเป็นสัตว์ประจำชาติไทยแล้ว ยังมีอิทธิพลต่อประเทศไทย ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและช้างในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซิส เดรก

ซอร์ฟรานซิส เดรก) เซอร์ฟรานซิส เดรก (Sir Francis Drake, พ.ศ. 2083 - 2139) นักสำรวจและนักเดินเรือชาวอังกฤษที่เคยเป็นโจรสลัดปล้นเรือสเปนมาก่อน ในปี พ.ศ. 2110 (ก่อนกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่หนึ่ง 2 ปี) ได้เป็นผู้บัญชาการเรือ จูดิท ในเที่ยวการเดินทางสำรวจอินเดียตะวันตก (อเมริกากลาง) ที่ล้มเหลวของผู้เป็นญาติคือ จอน ฮอว์กินส์ และได้เดินทางกลับไปที่นั่นอีกหลายครั้งเพื่อไปเก็บรวบรวมทรัพย์สินที่เสียหายจากพวกสเปน การกระทำของเดรกในงานนี้ทำให้เขาได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2120 เดรกได้ออกเดินทางพร้อมกับเรือ 5 ลำสู่มหาสมุทรแปซิฟิกผ่านทางช่องแคบมาเจลลัน แต่หลังจากที่เรือหลายลำได้รับความเสียหายอย่างหนักจากพายุและไฟที่ใหม้เรือ เดรกได้เดินทางเพียงลำพังด้วยเรือชื่อ โกลเดนไฮนด์ แล่นข้ามหาสมุทรแปซิฟิกจนถึงเกาะเปลิวแล้วจึงเดินทางกลับอังกฤษผ่านแหลมกู๊ดโฮปเมื่อ พ.ศ. 2123 นับเป็นการเดินทางรอบโลกได้สำเร็จเป็นครั้งแรกของชาวอังกฤษ ในปีต่อมา สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ได้เสด็จเยี่ยมเรือของเดรกและทรงแต่งตั้งให้เขาเป็นอัศวิน (เซอร์) ในปี พ.ศ. 2128 เซอร์ฟรานซิส เดรก ได้นำขบวนเรือจำนวน 25 ลำรบกับพวกอินเดียนแดงที่เป็นฝ่ายสเปนและขนยาสูบ มันฝรั่ง และชาวอาณานิคมเวอร์จิเนียที่ท้อแท้กลับบ้าน ในสงครามที่รบกับกองเรืออาร์มาดา (Spanish Armada) ที่ยิ่งใหญ่และไม่มีใครเคยเอาชนะได้ของสเปนที่ประกอบด้วยเรือถึง 130 ลำ (พ.ศ. 2131) ได้สู้รบกันนานถึงหนึ่งสัปดาห์ในช่องแคบอังกฤษที่อังกฤษเป็นฝ่ายชนะ ความกล้าหาญและความเชี่ยวชาญในการรบทางเรือยิ่งทำให้เซอร์ฟรานซิสที่ตำแหน่งหน้าที่เป็นรองผู้บัญชาการกองเรือยิ่งโดดเด่นมากขึ้น การได้ชัยชนะครั้งสำคัญนี้ ทำให้อังกฤษมีแสนยานุภาพทางทะเลมากที่สุด ปี พ.ศ. 2138 เซอร์ฟรานซิสได้ออกเดินทางอีกครั้งหนึ่งเพื่อไปยังอินเดียตะวันตกแต่ก็ได้เสียชีวิตด้วยโรคบิดที่นอกชายฝั่งเมืองปอร์โตเบโล (ในประเทศปานามาปัจจุบัน) ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและฟรานซิส เดรก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2098

ทธศักราช 2098 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2098 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2126

ทธศักราช 2126 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2126 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2127

ทธศักราช 2127 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2127 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2133

ทธศักราช 2133 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2133 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2135

ทธศักราช 2135 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2135 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2137

ทธศักราช 2137 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2137 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2145

ทธศักราช 2145 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2145 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2146

ทธศักราช 2146 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2146 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2147

ทธศักราช 2147 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2147 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2148

ทธศักราช 2148 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2148 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2198

ทธศักราช 2198 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพ.ศ. 2198 · ดูเพิ่มเติม »

พชร ธรรมมล

ร ธรรมมล (ชื่อเดิม: ปรมัติ; ชื่อเล่น: ฟลุค) เป็นนักร้องและนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงเมื่อเป็นอันดับที่สาม จากการเข้าประกวดร้องเพลง ในรายการโทรทัศน์ "เดอะสตาร์ ค้นฟ้าคว้าดาวปี 5".

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพชร ธรรมมล · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมราชาที่ 7

ระบรมราชาที่ 7 หรือสมเด็จพระศรีสุริโยพรรณ ในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาเรียกว่าพระศรีสุพรรณมาธิราช เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก) และเป็นพระอนุชาของสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา) จารึกที่พระเจดีย์ไตรตรึงษ์ระบุว่าทรงประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระบรมราชาที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์

ระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ ตั้งอยู่ที่ ตำบลดอนเจดีย์ อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วยพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงพระคชาธารออกศึก และองค์เจดีย์ยุทธหัตถี สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงสร้างเจดีย์ขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองชัยชนะในสงครามยุทธหัตถีที่ทรงมีต่อพระมหาอุปราชาแห่งพม่า เมื่อเดือนมกราคม ปี พ.ศ. 2135 และในปี พ.ศ. 2495 กองทัพบกได้บูรณปฏิสังขรณ์องค์เจดีย์ขึ้นใหม่ โดยสร้างเป็นเจดีย์แบบลังกาทรงกลมใหญ่ สูง 66 เมตร ฐานกว้างด้านละ 36 เมตร ครอบเจดีย์องค์เดิมไว้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จไปประกอบพิธีบวงสรวงและเปิดพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2502 ซึ่งรัฐบาลได้กำหนดให้วันที่ 25 มกราคม ของทุกปี เป็นวันถวายราชสักการะพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ พร้อมกันนั้นทางจังหวัดได้จัดให้มีงานเฉลิมฉลองพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ทุกปี เลยจากเจดีย์ไปประมาณ 100 เมตร เป็นที่ตั้งของ พระตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายในมีรูปปั้นของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระสุพรรณกัลยา มีผู้นิยมไปสักการบูชาอยู่เสมอ วันกองทัพไทย รัฐบาลได้กำหนดวันกองทัพไทยตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ จังหวัดสุพรรณบุรี พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชพระมหากษัตริย์ของไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยู่ ณ ที่จังหวัดต่างๆ ได้แก.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมสารีริกธาตุ

ระบรมสารีริกธาตุ สัณฐานเมล็ดข้าวสาร พระบรมสารีริกธาตุ (शरीर; Śarīra) เรียกโดยย่อว่าพระบรมธาตุ คือ พระอัฐิของพระพุทธเจ้า ซึ่งพระองค์ได้ทรงอธิษฐานไว้ก่อนปรินิพพาน ให้คงเหลือไว้หลังจากการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ เพื่อเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธบริษัท พระบรมธาตุมีสองลักษณะคือ พระบรมธาตุที่ไม่แตกกระจาย และที่แตกกระจาย มีขนาดเล็กสุดประมาณเมล็ดพันธุ์ผักกาด ชาวพุทธเชื่อว่าพระบรมสารีริกธาตุเป็นวัตถุแทนองค์พระบรมศาสดาที่ทรงคุณค่าสูงสุดในศาสนาพุทธ จึงนิยมกระทำการบูชาองค์พระบรมสารีริกธาตุโดยประการต่าง ๆ เช่น การสร้างเจดีย์ เพื่อประดิษฐานพระธาตุไว้สักการะ โดยเชื่อว่ามีอานิสงส์ประดุจได้กระทำการบูชาแด่พระพุทธเจ้าเมื่อยังทรงพระชนม์อยู่ ทั้งนี้ คำว่า "พระบรมสารีริกธาตุ" เป็นศัพท์เฉพาะใช้เรียกเฉพาะพระธาตุของพระพุทธเจ้า หากเป็นของพระอรหันตสาวกจะเรียกว่า "พระธาตุ" เท่านั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระบรมสารีริกธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธชินราช

ระพุทธชินราช ประดิษฐานอยู่ ณ วิหารด้านตะวันตกในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระพุทธชินราช · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธไสยาสน์ (วัดป่าโมก)

ระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมก ประดิษฐานอยู่ในวิหารวัดป่าโมก ซึ่งมีชื่อเดิมว่า วัดตลาด อยู่ที่อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง วัดป่าโมก เป็นวัดเก่าแก่สมัยอยุธยา ปัจจุบันเป็นพระอารามหลวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระพุทธไสยาสน์ (วัดป่าโมก) · ดูเพิ่มเติม »

พระพี่นาง

ระพี่นาง ในปัจจุบันสามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระพี่นาง · ดูเพิ่มเติม »

พระมณีรัตนา

ระมณีรัตนา เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแห่งอาณาจักรอยุธยา เริ่มรับราชการฝ่ายในตั้งแต่พระราชสวามีปราบดาภิเษก และให้ประสูติกาลพระราชบุตรอย่างน้อยหนึ่งพระอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระมณีรัตนา · ดูเพิ่มเติม »

พระยาราม

ระยาราม อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระยาราม · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีไสยณรงค์

พระยาศรีไสยณรงค์ (?-พ.ศ. 2137)เป็นข้าหลวงเดิมและทหารเอกคู่พระทัยของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เกิดเมื่อใดไม่ปรากฏเดิมมี ยศเป็น พระศรีถมอรัตน์ เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133 ก็ทรงแต่งตั้งให้ พระศรีถมอรัตน์เป็น พระยาศรีไสยณรงค์ ต่อมาในคราว สงครามยุทธหัตถี ปี พ.ศ. 2135 ท่านและแม่ทัพท่านอื่นๆตามเสด็จ ไม่ทันพระองค์ก็ทรงพิโรธโปรดให้ ประหารชีวิต แต่ สมเด็จพระพนรัตน์ วัดป่าแก้ว ได้มาขอร้องเอาไว้จึงโปรดให้ ไปตีเมืองมะริด, ทวายและตะนาวศรีแทน เมื่อพระยาศรีไสยณรงค์ตีได้เมืองตะนาวศรีจึงโปรดให้ท่านครองเมืองนี้แต่หลังจากสมเด็จพระนเรศวรทรงตีได้กรุงกัมพูชาแล้วในปีพ.ศ. 2136 พระยาศรีไสยณรงค์ก็น้อยใจพระองค์ว่าทำไมไม่ให้ท่านร่วมกองทัพไปด้วยจึงก่อการกบฏเมื่อสมเด็จพระนเรศวรทรงทราบจึงโปรดให้พระราชอนุชาคือ สมเด็จพระเอกาทศรถ ไปเจรจาและเกลี้ยกล่อมข้าหลวงเดิมท่านนี้แต่ท่านพระยาไม่ยอมพระองค์ทรงทราบก็ทรงพระพิโรธและมีพระบัญชาให้ ้พระเอกาทศรถขณะที่ทรงดำรงพระอิสริยศเป็น พระมหาอุปราช เข้าตีเมืองตะนาวศรีและจับพระยาศรีไสยณรงค์ ประหารชีวิต ในปี พ.ศ. 2137 หมวดหมู่:ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา ศรีไสยณรงค์.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระยาศรีไสยณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร)

มหาเสวกตรี พระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) (23 ตุลาคม 2414 - 10 ตุลาคม 2492 - 78 ปี) เป็นผู้มีฝีมือทางด้านศิลปะ โดยเฉพาะด้านจิตรกรรม และการถ่ายภาพ จนได้เป็นช่างภาพประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยฉายพระบรมฉายาลักษณ์ และการเสด็จประพาสในวาระต่าง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระยาอนุศาสน์จิตรกร (จันทร์ จิตรกร) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์

ระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ เป็นเอกสารสำคัญที่เป็นที่ยอมรับของนักประวัติศาสตร์ว่ามีความถูกต้องน่าเชื่อถือได้ฉบับหนึ่งในบรรดาพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับต่างๆ ที่มีปรากฏอยู่ในปัจจุบัน โดยพงศาวดารฉบับนี้ได้ถูกเขียนขึ้นใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังสวนหลวง

ระราชวังสวนหลวง หรือ วังหลัง ตั้งอยู่ริมวัดสบสวรรค์ ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระราชวังที่ปรากฏหลักฐานตามพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 5 เรื่องอุปราชาภิเษกกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ สันนิษฐานได้ว่าสร้างในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เพื่อให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเอกาทศรถ พร้อมกับการสร้างพระราชวังจันทรเกษมเพื่อเป็นที่ประทับของสมเด็จพระนเรศวร เพราะอยู่ด้านหลังพระราชวังหลวง จึงเรียกว่าวังหลังแต่นั้นมา ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์นั้นปรากฏว่าทรงโปรดฯ ให้พระไตรภูวนาถทิตยวงศ พระราชอนุชา ประทับอยู่ที่วังหลัง แต่หาได้เพิ่มยศศักดิ์อย่างใดไม่ ครั้นถึงรัชกาลสมเด็จพระเพทราชาทรงโปรดเกล้าฯ ให้นายจบคชประสิทธิ์ผู้เป็นหลานเป็นเจ้าชั้นสูงรองแต่พระมหาอุปราชลงมา ให้อยู่วังหลัง แล้วขนานนามว่า กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข จึงเกิดนามเรียกวังหลังว่า พระราชวังบวรสถานพิมุข แต่นั้นสืบม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระราชวังสวนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังจันทรเกษม

ระราชวังจันทรเกษม หรือวังหน้า ตั้งอยู่ริมแม่น้ำป่าสัก (คลองคูขื่อหน้า) ตำบลหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นพระราชวังที่ปรากฏหลักฐานตามพระราชพงศาวดารสันนิษฐานได้ว่า สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2120 ในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เพื่อให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ยามเสด็จจากเมืองพิษณุโลกเพื่อมาเฝ้าพระราชบิดาที่กรุงศรีอยุธยา พระราชวังแห่งนี้พระนเรศวรทรงใช้เป็นกองบัญชาการรับศึกหงสาวดีเมื่อปี พ.ศ. 2129 นอกจากนี้ยังเคยเป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์และพระมหาอุปราชที่สำคัญถึง 8 พระองค์ คือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ เจ้าฟ้าสุทัศน์ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ขุนหลวงสรศักดิ์ (พระเจ้าเสือ) สมเด็จพระเจ้าท้ายสระ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ กรมพระราชวังบวรมหาเสนาพิทักษ์ ภายหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 พระราชวังจันทรเกษมได้ถูกทิ้งร้างไป จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระราชวังจันทรเกษม · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังจันทน์

ระราชวังจันทน์ ตั้งอยู่ติดกับ ค่ายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ 3 ถนนวังจันทน์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เป็นที่ตั้งศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในอดีตยังเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ปัจจุบัน กรมศิลปากร ได้เข้ามาทำการบูรณะค้นหาแนวเขตพระราชวังจันทน์ ระยะที่ 1 เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระราชวังจันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัย

ผังแม่บทพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัย หุ่นจำลองส่วนอนุสรณ์สถานพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัย พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัย ประติมากรรมพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัยและทหารนักรบจาตุรงคบาท พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัย เป็นพระอนุสาวรีย์ประดิษฐานพระรูปสมเด็จพระสุริโยทัย วีรสตรีไทยสมัยอยุธยา ตั้งอยู่ที่บริเวณทุ่งมะขามหย่อง ตำบลบ้านใหม่ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพื้นที่ประมาณ 250 ไร่ มีลักษณะเป็นอนุสรณ์สถาน ประกอบด้วยพระราชานุสาวรีย์ช้างทรงของสมเด็จพระสุริโยทัย มีนักรบจตุลังคบาทที่มีเค้าโครงหน้าละม้ายนายพลฯในยุคนั้น 2 ท่าน คือ พลเอก วิมล วงศ์วานิช และ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ตั้งอยู่บนเกาะกลางน้ำ พื้นที่จำลองค่ายข้าศึกและกองทัพข้าศึก 4 ทัพ ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของพื้นที่อ่างเก็บน้ำมีเนื้อที่ราว 180 ไร่ จุน้ำราว 1,000,000 ลูกบาศก์เมตร อาคารอเนกประสงค์ และสวนสาธารณะริมอ่างเก็บน้ำ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัย · ดูเพิ่มเติม »

พระวิสุทธิกษัตรีย์

ระวิสุทธิกษัตรีย์พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 71 หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระบรมเทวีคำให้การชาวกรุงเก่า, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, หน้า 497 มีพระนามเดิมว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระสวัสดิราชธิดา เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ประสูติแต่พระสุริโยทัย ภายหลังได้รับการสถาปนาเป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาธรรมราชา และเป็นพระราชชนนีในพระสุพรรณกัลยา สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระวิสุทธิกษัตรีย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระสุพรรณกัลยา

ระสุพรรณกัลยา สุวรรณกัลยา หรือ สุวรรณเทวี เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช และ พระวิสุทธิกษัตรีย์ และเป็นพระพี่นางใน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ สมเด็จพระเอกาทศรถ ประสูติ ณ พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก เชื่อว่าพระนามเดิม คือ องค์ทอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระสุพรรณกัลยา · ดูเพิ่มเติม »

พระสุริโยทัย

ระสุริโยทัย หรือคำให้การชาวกรุงเก่าออกพระนามว่าพระมหาเทวี เป็นพระอัครมเหสีในสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 15 ของอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุพรรณภูมิ พระสุริโยทัยตามพงศาวดารหลวงประเสริฐฯ กล่าวเพียงแค่เป็นอัครมเหสีผู้เสียสละพระชนม์ชีพเพื่อปกป้องพระราชสวามีในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้ ในปี พ.ศ. 2091 พงศาวดารบางฉบับ กล่าวว่า พระสุริโยทัยเป็นเจ้านายเชื้อสายราชวงศ์พระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัย โดยมิได้กล่าวรายละเอียดใดมากกว่านี้ ไทยยกย่องว่าเป็นวีรสตรีจากวีรกรรมยุทธหัตถีกับพระเจ้าแปรในสงครามพระเจ้าตะเบ็งชเวตี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระสุริโยทัย · ดูเพิ่มเติม »

พระสถูปเจดีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชานุสรณ์

ระสถูปเจดีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชานุสรณ์ เป็นสถูปที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์สถาน เทิดพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำบลเมืองงาย อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 มกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระสถูปเจดีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งวิหารสมเด็จ

ระที่นั่งวิหารสมเด็จ แต่เดิมเป็นพระที่นังมังคลาภิเษก สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงใช้รับราชทูตเมืองละแวก(กัมพูชา) สมเด็จพระเอกาทศรถทรงใช้เป็นที่ประกอบพระราชพิธีประเวศพระนคร ต่อมาในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระที่นั่งถูกฟ้าผ่าจนไหม้เสียหายเกือบทั้งหมด พระองค์โปรดเกล้าให้รื้อและสร้างพระที่นั่งองค์ใหม่ขึ้นทดแทนใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระที่นั่งวิหารสมเด็จ · ดูเพิ่มเติม »

พระคาถาพาหุง

ระพุทธชัยสิทธิมงคลคาถา หรือมักเรียกว่า พระคาถาพาหุง ตามวรรคแรกของพระคาถา หรือในภาษาบาลีเรียก พาหุงมหาการุณิโก หรือ พาหุงมหากา เป็นชื่อพระคาถาในพระพุทธศาสนา มีความยาวแปดบท ใช้สวดสรรเสริญชัยชนะแปดประการที่พระสมณโคดมทรงมีเหนือมนุษย์และอมนุษย์ด้วยธรรมานุภาพ มิใช่ด้วยอิทธิปาฏิหาริย์ พระคาถานี้ปัจจุบันมักใช้สวดต่อจากคาถาทำวัตรเช้าหรือเย็น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระคาถาพาหุง · ดูเพิ่มเติม »

พระแก้วฟ้าที่ 1

ระแก้วฟ้าที่ 1 หรือเจ้าพญาโญมราชา หรือเจ้าพญาแญม เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา) หลังจากพระบรมราชาที่ 5 หรือองค์ตน สวรรคต และพระบรมราชาที่ 6 ขึ้นครองราชย์ พระองค์ได้ก่อการกบฏ จับพระบรมราชาที่ 6 ซึ่งมีศักดิ์เป็นอาของพระองค์ประหารชีวิตเสียใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระแก้วฟ้าที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

พระแสงของ้าวเจ้าพระยาแสนพลพ่าย

ระแสงของ้าวเจ้าพระยาแสนพลพ่าย หรือ พระแสงของ้าวแสนพลพ่าย เป็นหนึ่งในพระแสง (อาวุธ) ซึ่งเป็นตัวแทนแห่งอำนาจขององค์พระมหากษัตริย์ และทุกคนต่างทราบว่าเมื่อกษัตริย์ได้พระราชทานแก่ใครคนหนึ่ง นั่นย่อมหมายความว่า บุคคลนั้นได้รับพระราชทานอำนาจส่วนหนึ่งในการควบคุมอาณาเขตของเขาด้วยศาสตรา ในฐานะที่เป็นสัญลักษณ์ซึ่งผ่านการพิสูจน์แล้ว พระแสงของ้าวนี้เป็นอาวุธที่รู้จักกันดี โดยได้มีการนำมาใช้ในการต่อสู้ที่หนองสาหร่าย “สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงช้างศึกนามเจ้าพระยาไชยานุภาพเข้าหามังกะยอชวาที่ 1 แห่งตองอู ในเพลาทำศึกด้วยการฝ่าดงของเหล่าทหารแห่งอริราชศัตรู เมื่อช้างทรงของทั้งสองพระองค์เผชิญหน้ากัน ผู้นำทัพทั้งสองต่างก็ทรงยืนบนหัวช้างแล้วเซถลาเข้าหากันด้วยพระแสงดาบและพระแสงหอก มีการกล่าวกันว่า ทหารของทั้งสองฝ่ายต่างหยุดต่อสู้เพื่อเฝ้ามองผู้นำสองพระองค์ซึ่งสำแดงเดชด้วยความตื่นเต้น ในที่สุด พระแสงได้ตัดผ่านพระวรกายจากพระอังสา (ไหล่) ถึงพระโสณี (สะโพก) และฝ่ายสยามเป็นผู้มีชัยในวันดังกล่าว ครั้นเมื่อปราศจากผู้นำ ทัพพม่าจึงหยุดการต่อสู้และร่นถอยกลับไปยังเมืองพะโค ส่วนสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้รับการเทิดพระเกียรติเป็นวีรกษัตริย์ไทย และวันที่ทำศึกดังกล่าว (18 มกราคม) ได้มาเป็นวันหยุดประจำชาติที่มีการเฉลิมฉลองในแต่ละปี ในฐานะของวันกองทัพไทย” ส่วนของ้าวที่ใช้ทำสงครามยุทธหัตถีที่หนองสาหร่าย ก็ได้รับพระราชทานนามเป็นเจ้าพระยา (ซึ่งหมายถึงตำแหน่งสูงสุดของขุนนางสยาม) แสนพลพ่าย (ซึ่งหมายถึงเหล่าศัตรูที่เป็นฝ่ายปราชัยนับพัน) ของ้าวศึกนี้มีลักษณะพิเศษ โดยเป็นการนำตะขอและใบมีดมาใช้รวมกัน ซึ่งยังมีการใช้งานเฉพาะเมื่อทรงช้างแล้วเผชิญหน้ากับอีกฝ่าย ในอดีตที่ผ่านมา ผู้ที่นำมาใช้ต้องผ่านการฝึกฝนด้วยวิธีการแบบดั้งเดิมของไทย ในฐานะยุทธวิธีประจำตำแหน่งระดับสูง “ใบมีดของ้าวนั้นมีความคม และได้รับการพิจารณาว่าสร้างขึ้นมาจากเหล็กกล้า ส่วนด้ามจับทำมาจากโลหะหรือไม้เนื้อแข็ง ที่เคลือบด้วยทองกับไม้สนชั้นดี”.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระแสงของ้าวเจ้าพระยาแสนพลพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

พระไชยเชษฐาที่ 1

ระไชยเชษฐาที่ 1 หรือสมเด็จพระราชโองการชัยเชฏฐาธิราชรามาธิบดี เป็นพระมหากษัตริย์กัมพูชาและเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา) ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระไชยเชษฐาที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

พระเมรุมาศ

ระเมรุมาศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระเมรุมาศ และพระเมรุ คือ สถาปัตยกรรมชั่วคราว หรือสถาปัตยกรรมเฉพาะกิจที่สร้างขึ้น ณ ใจกลางเมือง เพื่อใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพหรือพระราชพิธีพระศพโดยเฉพาะ มีลักษณะเป็น "กุฎาคาร หรือ เรือนยอด" คือเรือนซึ่งหลังคาต่อเป็นยอดแหลม โดยในอดีตนิยมสร้างเป็นแบบ ยอดปรางค์ อาจมีพรหมพักตร์หรือไม่มีก็ได้ พระเมรุมาศ เป็นพระเมรุขนาดสูงใหญ่ ใช้ในพระราชพิธีพระบรมศพ พระมหากษัตริย์ พระอัครมเหสี พระบรมราชินี พระราชชนนี พระบวรราชเจ้า พระยุพราช สำหรับการตายที่ใช้ราชาศัพท์ว่าสวรรคต ภายในพระเมรุมาศมี “พระเมรุทอง” ลักษณะของพระเมรุมาศที่ปรากฏการสร้างมี 2 รูปแบบคือพระเมรุมาศทรงปราสาท ที่สร้างมาแต่โบราณ มีขนาดใหญ่โตมโหฬาร และพระเมรุมาศทรงบุษบก ส่วนพระเมรุ เช่นเดียวกับพระเมรุมาศ แต่มีขนาดเล็กลง และไม่มีพระเมรุทองภายใน ใช้สำหรับราชวงศ์ที่ทรงฐานานุศักดิ์ใช้ราชาศัพท์ว่า “ทิวงคต” หรือ “สิ้นพระชนม์” การออกแบบสถาปัตยกรรมพระเมรุมาศ พระเมรุ ต้องอาศัยการสร้างสรรค์ออกแบบจากผู้รอบรู้เจนจบงานศิลปกรรมของชาติ ช่างที่ได้รับการถ่ายทอดวิชาความรู้จากครูบาอาจารย์ทั้งงานออกแบบรูปลักษณ์ ก่อสร้างอาคาร การคิดลวดลายขึ้นประดิษฐ์ตกแต่งทุกส่วนให้เข้ากับอาคาร โดยมีหลักเกณฑ์ที่คำนึงถึงว่าพระเมรุมาศของพระองค์ใด ที่แสดงลักษณะของพระองค์นั้น ภายหลังจากการถวายพระเพลิงแล้ว ชิ้นส่วนประกอบต่าง ๆ ของพระเมรุที่ถูกรื้อถอนบางส่วนจะนำไปถวายวัด เพื่อเป็นการกุศลแด่ผู้วายชนม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระเมรุมาศ · ดูเพิ่มเติม »

พระเอกกษัตรี

ระเอกกษัตรี เป็นพระมเหสีพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแห่งอาณาจักรอยุธยา เริ่มรับราชการฝ่ายในหลังจากที่พระศรีสุพรรณมาธิราชหรือพระบรมราชาที่ 7 พระชนก ยอมสวามิภักดิ์แก่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชแล้วพาครอบครัวมาเป็นเชลยศักดิ์ในกรุงศรีอยุธยา ต่อมาสมเด็จพระนเรศวรมหาราชจึงแต่งตั้งพระเอกกษัตรีเป็นพระมเหสี.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระเอกกษัตรี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระเจ้าบุเรงนอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์)

ระเจ้าช้างเผือก (The King of the White Elephant) เป็นภาพยนตร์ไทยขาวดำ ในระบบ 35 มม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระเจ้าช้างเผือก (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอะเนาะเพะลูน

ระเจ้าอะเน่าก์แพตหลุ่น (အနောက်ဖက်လွန် อะเน่าก์แพะหลุ่นมิง แปลว่า พระราชาแห่งทิศตะวันตก) หรือ พระเจ้ามหาธรรมราชา พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระเจ้าปราสาททองกลดแก้ว เป็นพระมหากษัตริย์พม่าในราชวงศ์ตองอู เมื่อสิ้นพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้านันทบุเรงแล้ว ฐานอำนาจของราชวงศ์ตองอูสั่นคลอนเนื่องจากเกิดการกบฏจากพม่าด้วยกันเองในหลายหัวเมือง อีกทั้งการรุกรานจากต่างชาติ เช่น มอญและชาวโปรตุเกส พระองค์ทรงเป็นผู้รวบรวมอาณาจักรพม่าให้กลับมายิ่งใหญ่ได้อีกครั้ง แม้ไม่ยิ่งใหญ่เท่าสมัยของพระอัยกาก็ตาม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระเจ้าอะเนาะเพะลูน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตาลูน

ระเจ้าทาลุน (พระเจ้าสิริสุธรรมราชามหาธิบดีตลุนมิน) เป็นพระอนุชาของ พระเจ้าอโนเพตลุน และเป็นพระโอรสของ พระเจ้าสีหสุธรรมราชา หรือ เจ้านยองยาน พระโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง กล่าวคือพระองค์เองและพระเชษฐาธิราชต่างก็เป็นพระราชนัดดาในพระเจ้าชนะสิบทิศบุเรงนอง พระเจ้าสิริสุธรรมราชามหาธิบดี (พระเจ้าทาลุน) (พ.ศ. 2172-2191) ทรงครองราชย์ต่อจาก พระเจ้ามินแยไดกปาผู้เป็นพระภาติยะของพระองค์ ทรงเป็นกษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องมากองค์หนึ่งของพม่า โดยเฉพาะในด้านศาสนาและการปกครอง ทรงจัดสวัสดิการให้ประชาชน ปรับปรุงระเบียบการปกครอง ฟื้นฟูหลักพระธรรมศาสตร์ในสมัยพุกาม ทำนุบำรุงพุทธศาสนา ได้รับการยกย่องเป็นธรรมราชา ด้านการทหาร ทรงสามารถเกณฑ์ไพร่พลเพิ่มจาก 20,000 เป็น 400,000 ได้ และต้านทานการรุกรานจากจีนได้ในปี พ.ศ. 2180 อาณาจักรของพระองค์ครอบคลุมพม่าในปัจจุบัน (ยกเว้นยะไข่) และล้านนาทั้งหมด (กล่าวกันว่ารวมถึงล้านช้างด้วย) อย่างไรก็ดี สิ่งที่น่าสนใจคือ ที่กล่าวกันว่าพระองค์บำรุงพระศาสนานั้น อันที่จริงก็มีความเกี่ยวพันกับการเกณฑ์ทหารและแรงงาน กล่าวคือ ปี.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระเจ้าตาลูน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านันทบุเรง

นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระเจ้านันทบุเรง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2109 – 27 มีนาคม พ.ศ. 2168) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ตั้งแต่วันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พะโค

(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพะโค · ดูเพิ่มเติม »

พิชัยสงคราม

ตัวอย่างเนื้อหาของตำราพิชัยสงครามของไทย แสดงภาพการแปรขบวนทัพแบบมหิงสาพยุหะ หรือการตั้งทัพเป็นรูปควาย พิชัยสงคราม เป็นคำที่ใช้เรียกหนังสือหรือเอกสารที่มีการรวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับกลยุทธ ยุทธศาสตร์ ยุทธวิธีการรบต่าง ๆ อาทิ การรุก การตั้งรับ การแปรขบวนทัพ การใช้อุบายทำลายข้าศึก เป็นต้น หนังสือจำพวกนี้ในบางแห่งมักจะมีการใส่เนื้อหาที่เป็นความเชื่อทางด้านโหราศาสตร์เข้ามาประกอบ เช่น การดูฤกษ์ยามในการเคลื่อนทัพ การทำพิธีข่มขวัญข้าศึกและบำรุงขวัญฝ่ายตน ฯลฯ รูปแบบเนื้อหานั้นอาจอยู่ในลักษณะของร้อยแก้วหรือร้อยกรองก็ได้ ในสารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้คำจำกัดความของตำราพิชัยสงครามไว้ว่า ตำราพิชัยสงครามที่นับว่ามีชื่อเสียงมากในระดับโลก คือ ตำราพิชัยสงครามของซุนวู ซึ่งแต่งขึ้นเมื่อประมาณ 600 ปีก่อนคริสตกาล อันอยู่ในช่วงยุครณรัฐของจีน ทั้งนี้ หนังสือพงศาวดารจีนบางเรื่องที่มีการกล่าวถึงการรบและการใช้อุบาย เช่น สามก๊ก ไซ่ฮั่น ก็อาจนับว่าเป็นตำราพิชัยสงครามได้เช่นกัน เนื้อหาและหลักในตำราพิชัยสงครามต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากตำราพิชัยสงครามของซุนวู ปัจจุบันได้มีการนำมาประยุกต์ใช้ในด้านการบริหารและด้านเศรษฐกิจขององค์กรต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพิชัยสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

พิศาล อัครเศรณี

ละครขุนศึก ปี พ.ศ. 2520 - พิศาล อัครเศรณี และ ผุสดี พลางกูล พิศาล อัครเศรณี (เปี๊ยก) (21 มิถุนายน พ.ศ. 2488 -) เป็นผู้กำกับ นักแสดง โฆษก มีผลงานภาพยนตร์ไทยสร้างชื่ออย่าง “เพลงสุดท้าย” เป็นผู้ที่ได้รับฉายาว่า "พระเอกซาดิสต์" หรือ "ผู้กำกับซาดิสต์" เนื่องจากมักได้รับบทหรือกำกับละครหรือภาพยนตร์ที่พระเอกมักจะทำร้ายนางเอกด้วยการตบตี แต่ลงท้ายด้วยการจูบหรือแสดงความรัก ทำให้นางเอกใจอ่อนทุกที.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพิศาล อัครเศรณี · ดูเพิ่มเติม »

พิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพล

ีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพล หรือภาษาปากว่า พิธีสาบานธง เป็นพิธีการทางทหารซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในวันกองทัพไทย และวันสำคัญของแต่ละเหล่าทัพ ผู้ที่เป็นทหารทุกคนจะต้องผ่านการเข้าร่วมพิธีดังกล่าว เพื่อแสดงถึงความเป็นทหารอย่างสมบูรณ์ พิธีนี้เรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า "The Ceremony of Taking the Oath of Allegiance to the Colours".

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและพิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพล · ดูเพิ่มเติม »

กร ทัพพะรังสี

นายกร ทัพพะรังสี (14 กันยายน 2488 -) นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา อดีตรองหัวหน้าพรรคประชาราช อดีตรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เป็นบุตรของ นายอรุณ ทัพพะรังสี (บุตร พระยานราธรหิรัญรัฐ กับคุณหญิงหวาน) และ นางพร้อม ทัพพะรังสี (สกุลเดิม "ชุณหะวัณ" เป็นบุตรีของจอมพลผิน ชุณหะวัณ) เนื่องจากสืบเชื้อสายจากนักการเมืองซอยราชครู ทำให้ได้รับการขนานนามให้เป็น “ทายาทราชครู รุ่นที่ 3” ด้านครอบครัวสมรส กับ ระพีพรรณ ทัพพะรังสี มีบุตรชื่อ กฤตพณ ทัพพะรังสี และ กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี โดย กมลสุทธิ์ ทัพพะรังสี บุตรชายสมรสกับ อุษณา มหากิจศิริ บุตรสาว ประยุทธ มหากิจศิริ ในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและกร ทัพพะรังสี · ดูเพิ่มเติม »

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล

กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่เรียกกันเป็นสามัญว่าวังหน้า เป็นตำแหน่งที่พระมหากษัตริย์สยามทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระมหาอุปราช และมีฐานะเป็นองค์รัชทายาทผู้มีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชสมบัติต่อไป ตำแหน่งพระมหาอุปราชปรากฏครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ต่อมาสมเด็จพระเพทราชาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "กรมพระราชวังบวรสถานมงคล" ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้เลิกธรรมเนียมตั้งพระมหาอุปราช แล้วทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชแทน.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล · ดูเพิ่มเติม »

กฤษฎาภินิหารอันบดบังมิได้

กฤษฎาภินิหารอันบดบังมิได้ เป็นผลงานของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ซึ่งเป็นบทวิเคราะห์จดหมายเหตุของ วัน วลิต ซึ่งกล่าวถึงเหตุการณ์ในรัชสมัยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยเปรียบเทียบข้อความจากจดหมายเหตุ เทียบกับข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นอื่นๆ โดยเป็นข้อความจากจดหมายเหตุสลับกับข้อวิเคราะห์ หมวดหมู่:วรรณกรรมไทย หมวดหมู่:งานเขียนของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและกฤษฎาภินิหารอันบดบังมิได้ · ดูเพิ่มเติม »

กษัตริยา

กษัตริยา เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ช่วงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระเทียรราชา) เมื่อสมเด็จพระสุริโยทัย พระชายา สิ้นพระชนม์ในการยุทธหัตถีกับพม่า จนถึงการกอบกู้เอกราชของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นองค์นำแสดงในบทพระวิสุทธิกษัตรีย์ มีความยาวในการออกอากาศถึง 260 ตอน โดยแบ่งเป็น 2 ภาค คือ ภาค "กษัตริยา" เป็นเรื่องราวของพระวิสุทธิกษัตรีย์ และพระสุพรรณกัลยา และภาค "อธิราชา" หรือ มหาราชกู้แผ่นดิน เป็นเรื่องราวของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยเป็นละครที่สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสเจริญพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ จากโครงเรื่องของทมยันตี ผลิตโดย กันตนา ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 ถึง กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดยเป็นละครโทรทัศน์เรื่องแรกที่ใช้โรงถ่าย กันตนา มูฟวี่ ทาวน์ ศาลายา จังหวัดนครปฐม ด้วยงบประมาณการสร้างละครถึง 300 ล้านบาท เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ได้นำละครเรื่องนี้มาออกอากาศซ้ำ ทางสถานีโทรทัศน์เคเบิลและดาวเทียม มิราเคิล ของกันตน.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและกษัตริยา · ดูเพิ่มเติม »

กองอาสารักษาดินแดน

กองอาสารักษาดินแดน (คำย่อ: อส., Volunteer Defense Corps; VDC) เป็นกองกำลังกึ่งทหาร ทำหน้าที่รักษาความสงบร่วมกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย การเทิดทูนและพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ การจัดระเบียบสังคม การบริการประชาชน การส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงรักษาความปลอดภัยในสถานที่สำคัญ และการคมนาคม และเป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งที่พร้อมจะเพิ่มเติมและสนับสนุนกำลังทหารได้เมื่อมีการร้องขอทั้งในยามปกติและยามศึกสงคราม กองอาสารักษาดินแดนสังกัดกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้บัญชาการโดยตำแหน่งhttp://asa.dopa.go.th/line1.pdf และประธานกรรมการ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและกองอาสารักษาดินแดน · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกไทย

กองทัพบกไทย (คำย่อ: ทบ.; Royal Thai Army) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและกองทัพบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

การรบที่เมืองคัง

การรบที่เมืองคัง เป็นผลมาจากการสวรรคตของพระเจ้าบุเรงนอง พระมหากษัตริย์พม่า ทำให้เจ้าประเทศราชไทยใหญ่กระด้างกระเดื่องต่อพม่า พม่าต้องการปราบปรามเพื่อให้เป็นตัวอย่างแก่ประเทศราชอื่น ๆ พระเจ้านันทบุเรงทรงต้องการให้มีการแข่งขันในการรบ จึงทรงจัดให้เจ้านายพม่าและพระนเรศวรเข้าตีเมืองคังคนละวัน เจ้านายพม่าทั้งสองไม่สามารถเข้าตีเมืองได้ จนถึงวันที่สาม พระนเรศวรทรงใช้เส้นทางลับเข้าตีเมืองจนสำเร็.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและการรบที่เมืองคัง · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมอยุธยา (2309–2310)

การปิดล้อมอยุธยา ระหว่างปี พ.ศ. 2309-พ.ศ. 2310 เป็นการปิดล้อมระยะเวลานานกว่า 14 เดือนระหว่างสงครามคราวเสียกรุงครั้งที่สอง ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าเอกทัศของอาณาจักรอยุธยา และพระเจ้ามังระของอาณาจักรพม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและการล้อมอยุธยา (2309–2310) · ดูเพิ่มเติม »

การนวดแผนไทย

ท่ากดสะโพก ในการนวดไทย การนวดไทย หรือ นวดแผนโบราณ เป็นการนวดชนิดหนึ่งในแบบไทย ซึ่งเป็นศาสตร์บำบัดและรักษาโรคแขนงหนึ่งของการแพทย์แผนไทย โดยจะเน้นในลักษณะการกด การคลึง การบีบ การดัด การดึง และการอบ ประคบ ซึ่งรู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อ "นวดแผนโบราณ" โดยมีหลักฐานว่านวดแผนไทยนั้นมีประวัติมาจากประเทศอินเดีย โดยเชื่อว่าน่าจะมีการนำการนวดเข้ามาพร้อมกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และมีการนำเข้ามาในประเทศไทยเมื่อใดนั้นไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน จากนั้นได้ถูกพัฒนาและปรับปรุงแก้ไขให้เข้ากันกับวัฒนธรรมของสังคมไทย จนเป็นรูปแบบแผนที่เป็นมาตรฐานของไทยและส่งทอดมาจนถึงปัจจุบัน การนวดไทยแบ่งเป็น 2 สาย คือ สายราชสำนักและสายเชลยศัก.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและการนวดแผนไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งระหว่างอาณาจักรตองอูและอาณาจักรอยุธยา อันเป็นผลมาจากความต้องการของพระเจ้าบุเรงนองซึ่งต้องการได้กรุงศรีอยุธยาเป็นประเทศราชดนั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบมอญ

กุหลาบมอญ หรือ ยี่สุ่นเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและกุหลาบมอญ · ดูเพิ่มเติม »

ก้านกล้วย

ก้านกล้วย (พ.ศ. 2549) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติ สร้างโดยกันตนาแอนิเมชัน เป็นเรื่องราวที่ได้แรงบันดาลใจจากบางส่วนของพงศาวดาร ว่าลักษณะคชลักษณ์ของช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น จะมีหลังโค้งลาด คล้ายก้านกล้วย ชื่อตามพงศาวดารนั้นคือ เจ้าพระยาปราบหงสาวดีหรือเดิมชื่อ เจ้าพระยาไชยานุภาพ หรือ พลายภูเขาทอง โดยในเรื่องใช้ชื่อว่า ก้านกล้วย เป็นตัวเอก ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่ได้ คมภิญญ์ เข็มกำเนิด คนไทยที่ได้ไปศึกษาทางฟิล์มและวิดีโอที่เน้นด้านการทำแอนิเมชันที่สหรัฐ และได้เคยร่วมงานสร้างตัวละครและทำภาพเคลื่อนไหวที่เคยร่วมงานกับบริษัทวอลท์ดิสนีย์ และ บลูสกายสตูดิโออย่าง ทาร์ซาน (Tarzan), ไอซ์ เอจ (Ice Age) และ แอตแลนติส (Atlantis: The Lost Empire) มาเป็นผู้กำกับ พร้อมกลุ่มนักแอนิเมชันทั้งชาวไทยและต่างชาติกว่า 100 คน ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่ยังคงเอกลักษณ์ความเป็นไทย ไม่ว่าจะเป็นฉากที่เป็นภูมิทัศน์แบบไทย ต้นไม้ ไม้ดอก สภาพป่า และประเพณีไทย เช่น การคล้องช้าง การนำฉากหมู่บ้านทรงไทย แสดงพืชพรรณไม้ไทย เช่น ต้นราชพฤกษ์ ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำชาติ ในฤดูกาลต่างๆ รวมทั้งการออกดอกเหลืองอร่ามในหน้าแล้ง แสดงฉากประเพณีลอยกระทง เป็นต้น ก้านกล้วยเป็นแอนิเมชันที่สร้างด้วยเทคนิคคอมพิวเตอร์อีกเรื่องหนึ่งของไทย ซึ่งก่อนหน้านี้มีภาพยนตร์แอนิเมชันที่ใช้เทคนิคดังกล่าว คือ ปังปอนด์ และแอนิเมชันซึ่งถือเป็นเรื่องแรกของไทยคือ สุดสาคร ซึ่งเป็นแอนิเมชันสองมิติ ก้านกล้วยได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์การ์ตูนทางโทรทัศน์ทางช่อง 7 โดยใช้ชื่อว่า "ก้านกล้วย ผจญภัย" จัดฉายทุกวันอาทิตย์ เวลา 17.00-17.30 น. โดยมีเนื้อหารายละเอียดมากขึ้น และใช้ตัวละครที่มีอยู่เดิม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและก้านกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

ก้านกล้วย (ตัวละคร)

ก้านกล้วย เป็นตัวละครสำคัญในก้านกล้วยภาคแรกและภาคสอง และเป็นตัวละครจากแอนิเมชันของไทยที่สร้างชื่อเสียงไปทั่วโลก โดยมาจากเกร็ดบางส่วนของพงศาวดาร ว่าลักษณะคชลักษณ์ของช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น จะมีหลังโค้งลาด คล้ายก้านกล้วย ชื่อตามพงศาวดารนั้นคือเจ้าพระยาปราบหงสาวดี หรือเดิมชื่อเจ้าพระยาไชยานุภาพ หรือพลายภูเขาทอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและก้านกล้วย (ตัวละคร) · ดูเพิ่มเติม »

ก้านกล้วย (แฟรนไชส์)

ก้านกล้วย เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติ สร้างโดย กันตนาแอนิเมชัน เป็นเรื่องราวที่ได้แรงบันดาลใจจากบางส่วนของพงศาวดาร ว่าลักษณะคชลักษณ์ของช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น จะมีหลังโค้งลาด คล้ายก้านกล้วย ชื่อตามพงศาวดารนั้นคือ เจ้าพระยาปราบหงสาวดีหรือเดิมชื่อ เจ้าพระยาไชยานุภาพ หรือ พลายภูเขาทอง โดยในเรื่องใช้ชื่อว่า ก้านกล้วย เป็นตัวเอก ก้านกล้วย เป็นแอนิเมชันที่สร้างด้วยเทคนิคคอมพิวเตอร์อีกเรื่องหนึ่งของไทย ซึ่งก่อนหน้านี้มีภาพยนตร์แอนิเมชันที่ใช้เทคนิคดังกล่าว คือ ปังปอนด์ และ แอนิเมชันซึ่งถือเป็นเรื่องแรกของไทยคือ สุดสาคร ซึ่งเป็นแอนิเมชันสองมิต.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและก้านกล้วย (แฟรนไชส์) · ดูเพิ่มเติม »

ก้านกล้วย 2

ก้านกล้วย 2 เป็นภาพยนตร์แอนิเมชันสามมิติภาคต่อของไทย กำกับภาพยนตร์โดยทวีลาภ ศรีวุฒิวงศ์ และอำนวยการสร้างโดยบริษัทกันตนา แอนิเมชั่น ก้านกล้วย 2 เป็นภาพยนตร์แอนิเมชั่นภาคต่อของก้านกล้วย เนื้อเรื่องเกี่ยวกับเจ้าพระยาปราบหงสาวดี ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ต้องปกป้องครอบครัวและบ้านเมือง ในสมัยสงครามระหว่างกรุงศรีอยุธยากับกรุงหงสาวดี ภาพยนตร์ดังกล่าวทำรายได้ 79 ล้านบาท.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและก้านกล้วย 2 · ดูเพิ่มเติม »

ฝันอเมริกัน

งชาติของสหรัฐฯ ในวอชิงตัน ดี.ซี. ธงแบบเบสซี รอสที่แขวนลงเป็นธงคลาสสิก “โอลด์กลอรี” รุ่น 50 รัฐ ความหมายโดยทั่วๆ ไปแต่เดิมของ “ความฝันอเมริกัน” อาจนิยามได้ว่าเป็น “ความเท่าเทียมทางโอกาสและเสรีภาพที่เอื้อให้พลเมืองบรรลุถึงเป้าหมายในชีวิตด้วยการทำงานหนักและด้วยความมุ่งมั่น ปัจจุบัน ความหมายโดยทั่วไปได้ปรับเปลี่ยนเป็นว่า ความมั่งคั่งของบุคคลขึ้นอยู่กับขีดความสามารถและการทำงานหนัก ไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างระดับชั้นที่ตายตัวของสังคม ซึ่งความหมายนี้ไปเปลี่ยนไปตามเวลาของประวัติศาสตร์ สำหรับบางคน อาจหมายถึงโอกาสที่จะบรรลุความมั่งคั่งได้มากกว่าที่เคยได้ในประเทศเดิมที่ตนย้ายถิ่นมา บางคนอาจหมายถึงโอกาสที่บุตรหลานที่จะเจริญเติบโตในสิ่งแวดล้อมที่ดีและได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นในสหรัฐฯ รวมทั้งโอกาสการได้งานที่ดี สำหรับบางคนอาจเป็นการได้โอกาสที่จะเป็นปัจจเกชนที่ปราศจากการกีดกันด้วยชนชั้นทางสังคม จากวรรณะ เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ หรือชาติพันธุ์ นิยามของความฝันอเมริกันดังกล่าว ณ ปัจจุบันยังคงเป็นหัวข้อที่ยังถกเถียงอภิปรายกันมากอยู่ และเช่นกันที่ “ชุดของความเชื่อ การตั้งข้อสมมุติฐานและรูปแบบของการประพฤติปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความฝันอเมริกันที่เกาะตัวกันอย่างหลวมๆ ในขณะนี้ ซึ่งประกอบด้วย (1) เสรีภาพของบุคคลในการเลือกวิถีการดำเนินชีวิต (2) โอกาสที่จะเข้าถึงความมั่งคั่งได้โดยเสรี และ (3) การเสาะแสวงหาและการแลกเปลี่ยนเป้าประสงค์ร่วมระหว่างบุคคลกับสังคมของตน” Zangrando, Joanna Schneider and Zangrando, Robert L. "Black Protest: A Rejection of the American Dream".

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและฝันอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

วิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นภาควิชาหนึ่งในสังกัดของคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร รับผิดชอบในการผลิตบัณฑิตในหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต และรัฐศาสตรมหาบัณฑิต.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

มหากาพย์กู้แผ่นดิน

มหากาพย์กู้แผ่นดิน เป็นหนังสือการ์ตูนไทยแนวอิงประวัติศาสตร์ไทยเกี่ยวกับพระราชประวัติของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์คลีเนทีฟในเครืออีคิวพลัส (Cleanative/E.Q.Plus) สตอรี่บอร์ดและเนื้อเรื่อง โดย อรุณทิวา วชิรพรพงศา วาดภาพโดย มนตรี คุ้มเรือน มีจำนวน 5 เล่ม การ์ตูนชุดนี้ยังได้รับรางวัลชมเชยจากรางวัลการ์ตูนนานาชาติ (International Manga Award) ที่จัดขึ้นเป็นครั้งแรกใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและมหากาพย์กู้แผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยพะเยา

มหาวิทยาลัยพะเยา (University of Phayao; ชื่อย่อ: มพ / UP) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล ตั้งอยู่ในจังหวัดพะเยา เดิมเป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยนเรศวร ต่อมา มีการตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลั..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและมหาวิทยาลัยพะเยา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 1 กันยายน 2549 และได้รับการจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 605 ของโลก อันดับที่ 15 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอนครอบคลุมครบทุกสาขาวิชาทั้งสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทุกระดับการศึกษาทั้งสิ้น 184 หลักสูตร มีจำนวนนิสิตประมาณ 22,200 คน และมีอาจารย์ประจำกว่า 1,400 คน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดือนธันวาคม โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ในกิจการของมหาวิทยาลัยนเรศวร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและมหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

มังกะยอชวา

มังกะยอชวา (พระนามภาษาพม่า: မင်းကြီးစွာ; อักษรโรมัน: Minyekyawswa, Minchit Sra; ออกเสียง: เมงเยจอสวา) หรือ มังสามเกียด (ตามที่พงศาวดารไทยและพงศาวดารมอญเรียก) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้านันทบุเรง เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยโดยทรงนำทัพมาตีกรุงศรีอยุธยาหลายครั้ง รวมถึงได้ทรงทำยุทธหัตถีกับสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและมังกะยอชวา · ดูเพิ่มเติม »

มนตรี ตราโมท

มนตรี ตราโมท นักดนตรีไทย และศิลปินแห่งชาต.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและมนตรี ตราโมท · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธหัตถี

วาดในจินตนาการการใช้ช้างศึกออกสงครามของพระเจ้าเปารยะ สู้กับ กองทัพของอเล็กซานเดอร์มหาราช ยุทธหัตถี หรือ การชนช้าง (Elephant duel) คือการทำสงครามบนหลังช้างตามประเพณีโบราณของกษัตริย์ในภูมิภาคอุษาคเนย์ เป็นการทำสงครามซึ่งถือว่ามีเกียรติยศ เพราะช้างถือเป็นสัตว์ใหญ่ และเป็นการปะทะกันซึ่ง ๆ หน้า ผู้แพ้อาจถึงแก่ชีวิตได้.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและยุทธหัตถี · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธหัตถี (แก้ความกำกวม)

ทธหัตถี สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและยุทธหัตถี (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

รัฐร่วมประมุข

ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรัฐร่วมประมุข · ดูเพิ่มเติม »

ราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย)

ราชการส่วนกลาง หมายถึง ราชการที่ดำเนินการและบริหารโดยหน่วยราชการในส่วนกลางของฝ่ายบริหาร เพื่อสนองความต้องการของประชาชน จะมีลักษณะการปกครองแบบรวมอำนาจ หมายความว่า เป็นการรวมอำนาจในการสั่งการ การกำหนดนโยบายการวางแผน การควบคุมตรวจสอบ และการบริหารราชการสำคัญ ๆ ไว้ที่นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีและกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ตามหลักการรวมอำนาจ การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง จัดแบ่งออกได้ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและราชการส่วนกลาง (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สุโขทัย

ราชวงศ์สุโขทัย เป็นราชวงศ์ที่ 3 ที่ปกครองกรุงศรีอยุธยา โดยสืบเชื้อสายจากกษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง กรุงสุโขทัย ราชวงศ์สุโขทัยถูกสถาปนาขึ้นโดย สมเด็จพระมหาธรรมราชา ซึ่งเป็นพระราชโอรสในตำแหน่ง ขุนพิเรนทรเทพ ที่เชื่อว่าสืบเชื้อสายมาจากพ่อขุน หรือกษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัยแต่ดั้งเดิม เป็นราชวงศ์ที่ถูกผลัดเปลี่ยนขึ้นมาแทนที่ ราชวงศ์สุพรรณภูมิ หรือราชวงศ์สุวรรณภูมิ ที่สูญสิ้นไปหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาให้แก่พม่า โดยที่ พระเจ้าบุเรงนอง กษัตริย์พม่าให้สถาปนาขุนพิเรนทรเทพ ซึ่งมีส่วนช่วยเหลือพระองค์ในการทำสงครามกับกรุงศรีอยุธยา ขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองกรุงศรีอยุธยา ภายใต้การเป็นเมืองขึ้นของพม่าต่อไป ราชวงศ์สุโขทัยมีอายุ 60 ปี รายพระนามของพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์สุโขทัย ประกอบด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและราชวงศ์สุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อการดวล

รายชื่อการดวลที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายชื่อการดวล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญของไทย

รายชื่อวันสำคัญของไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายชื่อวันสำคัญของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

ต่อไปนี้ เป็นรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย เรียงตามรายชื่อ 76 จังหวัด พร้อมกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสงครามในประเทศไทย

รายชื่อสงครามในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายชื่อสงครามในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออัลบั้มเพลงที่ขับร้องโดยคาราบาว

รายชื่ออัลบั้มเพลงของวงดนตรีคาราบาว โดยรวมทั้งอัลบั้มปกติ + อัลบั้มพิเศษ + อัลบั้มรวมเพลง และ อัลบั้มเดี่ยวของ ยืนยง โอภากุล (แอ๊ด คาราบาว) หัวหน้าวง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายชื่ออัลบั้มเพลงที่ขับร้องโดยคาราบาว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตัวละครในก้านกล้วย

รายชื่อตัวละครในก้านกล้วย เป็นตัวละครที่ปรากฏในภาพยนตร์เรื่องก้านกล้วย 1 และ 2 และซีรีส์โทรทัศน์ ก้านกล้วยผจญภั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายชื่อตัวละครในก้านกล้วย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ได้รับสมัญญานามมหาราช

มหาราช (The Great) เป็นชื่อต่อท้ายพระนามของกษัตริย์หรือผู้ปกครองที่ได้ทำภารกิจอย่างมากมายช่วยเหลือผู้คนทั้งด้านการรบ การแก้ไขปัญหาภายในประเทศ การรักษาเอกราชของประเทศ คงไว้ด้วยความยุติธรรมอันเป็นแบบอย่างที่ดี ในกลุ่มคนที่พูดภาษานั้น ๆ จึงได้รับการยกย่องว่าเป็น "มหาราช" เขียนไว้ที่ท้ายพระนาม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายพระนามพระมหากษัตริย์ที่ได้รับสมัญญานามมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่ราชวงศ์พระร่วงแห่งอาณาจักรสุโขทัยถึงปัจจุบันมีดังนี้.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย

รายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายพระนามพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

รายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตามรายชื่อนักแสดงท้ายเรื่อง เรียงชื่อตัวนักแสดงตามลำดับอักษร ส่วนเลขที่ตามหลังคือภาคที่นักแสดงนั้นรับบทบาท เลขที่เป็นตัวเอียง คือภาคที่มีภาพย้อนอดีตของนักแสดงคนนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายนามนักแสดงจากภาพยนตร์เรื่องตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาบทละครโทรทัศน์ดีเด่น

;4 ครั้ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาบทละครโทรทัศน์ดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาผู้กำกับการแสดงละครดีเด่น

;5 ครั้ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขาผู้กำกับการแสดงละครดีเด่น · ดูเพิ่มเติม »

ลิลิตตะเลงพ่าย

ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นบทประพันธ์ประเภทลิลิต ประพันธ์ขึ้นโดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูบาลบริรักษ์ เพื่อสดุดีวีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในวาระงานพระราชพิธีฉลองตึกวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามในรัชกาลที่ 3 โดยตะเลงในที่นี้หมายถึง พม่า ที่มาของเรื่อง 1.พระราชพงศาวดารฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) 2.วรรณคดีเก่าเรื่อง ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตพระลอ 3.จินตนาการของผู้แต่ง คือ ช่วงบทนิราศ จุดมุ่งหมายในการแต่ง 1.เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 2.ฉลองตึกวัดพระเชนตุพนฯ สมัย รัชกาลที่ 3 3.สร้างสมบารมีของผู้แต่ง (เพราะผู้แต่งขอไว้ว่าถ้าแต่งเสร็จขอให้สำเร็จสู่พระนิพพาน).

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและลิลิตตะเลงพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุดอยเวา

วัดพระธาตุดอยเวา เป็นวัดอันเป็นที่ประดิษฐานพระธาตุดอยเวา พระธาตุที่เชื่อกันว่า มีความเก่าแก่เป็นรองพระธาตุดอยตุง พระธาตุดอยเวานั้น ตั้งอยู่บนยอดดอยเวา แต่พระอุโบสถและเขตสังฆาวาสจะอยู่ที่เชิงดอย ผู้ที่จะขึ้นไปนมัสการต้องเดินขึ้นบันไดไปนมัสการ ซึ่งข้างบนเป็นจุดชมทัศนียภาพสองฝั่งสาย สามารถเห็นทัศนียภาพได้รอบท.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวัดพระธาตุดอยเวา · ดูเพิ่มเติม »

วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร

มเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก วัดญาณสังวราราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร สังกัดธรรมยุติกนิกาย ตั้งอยู่ที่ตำบลห้วยใหญ่ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี มีสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) เป็นองค์ประธานจัดสร้างวัด ปัจจุบันพระธรรมบัณฑิต (อภิพล อภิพโล) เป็นรักษาการเจ้าอาว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดภูเขาทอง

วัดภูเขาทอง เป็นวัดโบราณในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระราเมศวร เมื่อปี พ.ศ. 1930 มีเจดีย์ใหญ่ที่ชื่อว่า เจดีย์ภูเขาทอง เจดีย์ภูเขาทอง เป็นเจดีย์ที่สูงใหญ่ตั้งอยู่กลางทุ่งนา สามารถเห็นได้แต่ไกล เมื่อปี พ.ศ. 2112 พระเจ้าบุเรงนอง แห่งเมืองหงสาวดี ได้ยกทัพเข้ามาตีกรุงศรีอยุธยาได้สำเร็จ จึงได้สร้างพระเจดีย์ใหญ่แบบมอญขึ้นไว้เป็นอนุสรณ์ที่วัดนี้ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ได้ทำการปฏิสังขรณ์องค์เจดีย์ใหม่ เปลี่ยนรูปจากเจดีย์มอญเป็นรูปเจดีย์ย่อไม้สิบสองที่กำลังนิยมอยู่ในขณะนั้น ส่วนฐานนั้นเป็นศิลปะมอญอยู่ กรมโยธาธิการและผังเมืองได้ร่วมกับ กรมศิลปากรจัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงม้าไว้บริเวณด้านหน้าวัดภูเขาทอง ในบริเวณใกล้เคียงกันกับพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัยที่กรมโยธาธิการฯ ได้สร้างไว้ก่อนหน้า เชื่อกันว่าบริเวณนี้เดิมเป็นทุ่งโล่งที่มีการตั้งทัพข้าศึก และเกิดการทำการยุทธหัตถีในหลายครั้งหลายสมั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวัดภูเขาทอง · ดูเพิ่มเติม »

วัดวรเชษฐ์

วัดวรเชษฐ์ (ร้าง) นอกเกาะ ตำบลบ้านป้อม อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าเจดีย์ของวัดวรเชษฐ์เป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่ง สมเด็จพระเอกาทศรถ สร้างเป็นอนุสรณ์แด่พี่ชายผู้ประเสริฐ เดิมวัดนี้ชื่อ วัดเจ้าเชษฐ์ หมวดหมู่:วัดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวัดวรเชษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดศรีชุม (จังหวัดสุโขทัย)

ระอจนะ วัดศรีชุม เป็นที่เลื่องลือว่ามีเอกลักษณ์และมนต์เสนห์เฉพาะตัว วัดศรีชุม เป็นโบราณสถานในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย จังหวัดสุโขทัย ตัววัดเป็นโบราณสถานตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ นอกกำแพงเมืองวัดนี้เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์ใหญ่ซึ่งมีนามว่า "พระอจนะ" องค์พระพุทธรูปประดิษฐานอยู่ในมณฑป พระพุทธอจนะ เป็นที่เลื่องลือถึงความศักดิ์สิทธิ์และมีมนต์เสน่ห์และเอกลักษณ์ชวนให้นักท่องเที่ยวมาเที่ยวชมและสักการะอย่างไม่ขาดสาย ในปัจจุบันทางด้านตะวันตกเฉียงใต้ไม่ห่างจากตัวโบราณสถานนัก มีวัดสร้างใหม่มีพระภิกษุสงฆ์จำพรรษา ใช้ชื่อว่าวัดศรีชุมเช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวัดศรีชุม (จังหวัดสุโขทัย) · ดูเพิ่มเติม »

วัดสระลงเรือ

วัดสระลงเรือ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยอยุธยา และประมาณ 100 กว่าปีได้มีผู้คนอพยพมาอาศัยบริเวณวัดสระลงเรือ ได้พบวัดเก่าซึ่งมีสิ่งปลูกสร้างที่ยังเหลืออยู่ในขณะนั้น เช่น เจดีย์ และพระปรางค์ 2 องค์ วิหารและอุโบสถ ซากปรักหักพัง ในอุโบสถหลังนี้มีพระพุทธรูปปางมารวิชัยประทับอยู่ในนั้น และมีต้นโพธิ์ใหญ่ปกคลุมอุโบสถ มีสระน้ำสระเล็กอยู่ด้านหน้าอุโบสถ ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวัดสระลงเรือ · ดูเพิ่มเติม »

วัดสำปะซิว

วัดสำปะซิว (ワット・サンパシウ; Wat Sampa Siw) ตั้งอยู่ที่ตำบลสนามชัย อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นที่รู้จักในฐานะวัดที่มีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่เขียนถึงตัวละครการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง โดราเอม่อน ปรากฏขึ้นที่อุโบสถวัด อาทิ โดเรม่อนตกกระทะทองแดง, โดเรม่อนเฝ้าพระพุทธเจ้า, โดเรม่อนเล่นน้ำ และโนบิตะตกนรก ซึ่งสร้างสรรค์ภาพขึ้นโดยรักเกียรติ เลิศจิตรสกุล โดยมีภาพตัวละครดังกล่าวที่เขียนขึ้นที่วัดแถวธาร ตำบลบ้านซ่อง อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่เขียนภาพโดยศิลปินคนเดียวกัน ซึ่งทีมงานถ่ายทำสารคดีจากประเทศญี่ปุ่นได้เดินทางมาถ่ายทำเรื่องราวที่น่าสนใจเหล่านี้ในเวลาต่อมา ทั้งนี้ พระมหาอนันต์ กุสลาลงกาโร ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสที่ทราบในภายหลังก็เข้าใจว่าผู้วาดมีเจตนาดี ด้วยการสอดแทรกหลักธรรมะ เพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับเด็กที่มาเยี่ยมชม ทาง วิศรุต อินแย้ม ซึ่งเป็นผู้อำนวยการการท่องเที่ยวของจังหวัดสุพรรณบุรี เข้าใจว่าผู้สร้างสรรค์คงมีกุศโลบายสร้างปริศนาธรรมเพื่อสอดแทรกหลักธรรมะด้านการทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว โดยภาพดังกล่าวสร้างความน่าสนใจต่อผู้เข้าชมเป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวัดสำปะซิว · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร

วัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร ตั้งอยู่ริมป้อมเพชร อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พระอัยกาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้สร้างวัดนี้ขึ้นตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ให้ชื่อว่าวัดทอง เป็นวัดของฝ่ายวังหน้า ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ก็โปรดเกล้าให้บูรณะวัดนี้ทั้งหมด จึงถือว่า วัดนี้เป็นวัดประจำราชวงศ์จักรี ลักษณะสถาปัตยกรรมของวัด ตัวโบสถ์จะตกท้องช้าง ทำให้คล้ายท้องเรือสำเภา ซึ่งเป็นการเปรียบพระพุทธศาสนาดั่งนาวาธรรม อันเป็นเอกลักษณ์ของโบสถ์สมัยอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดอัมพวัน (ลพบุรี)

วัดอัมพวัน เป็นวัดในตำบลบางขันหมาก อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวัดอัมพวัน (ลพบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

วัดใหญ่ชัยมงคล

วัดใหญ่ชัยมงคล วัดใหญ่ชัยมงคล วัดใหญ่ชัยมงคล เดิมชื่อ "วัดป่าแก้ว" หรือ "วัดเจ้าไท" ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะพระนคร ปัจจุบันเป็นพื้นที่ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จุดเด่นของวัดได้แก่เจดีย์องค์ใหญ่ที่เชื่อกันว่า ได้รับการปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ภายในได้มีการค้นพบชัยมงคลคาถาบรรจุอยู่ ภายในพระอุโบสถ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธชัยมงคล พระประธานที่เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของวัด นอกจากนี้แล้ว ภายในวัดยังเป็นที่ประดิษฐานศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2544 อีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวัดใหญ่ชัยมงคล · ดูเพิ่มเติม »

วันชนะ สวัสดี

ันเอก วันชนะ สวัสดี (26 สิงหาคม 2515) ผู้ช่วยโฆษกกระทรวงกลาโหม รองผู้อำนวยการกองประชาสัมพันธ์ สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหมและตุลาการศาทหารกรุงเทพฯ เป็นทหารบกชาวไทย และเป็นนักแสดง มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็นสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวันชนะ สวัสดี · ดูเพิ่มเติม »

วันช้างไทย

วันช้างไทย ริเริ่มจากคณะอนุกรรมการประสานงานการอนุรักษ์ช้างไทย ถ ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงาน องค์การภาครัฐและเอกชนที่ทำงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์ช้างไทยคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เนื่องจากเล็งเห็นว่าหากมีการสถาปนาวันช้างไทยขึ้น จะช่วยให้ประชาชนคนไทย หันมาสนใจช้าง รักช้าง หวงแหนช้าง ตลอดจนให้ความสำคัญต่อการให้ความช่วยเหลืออนุรักษ์ช้างมากขึ้น คณะอนุกรรมการฯ จึงได้พิจารณาหาวันที่เหมาะสม ซึ่งครั้งแรกได้พิจารณาเอาวันที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทำยุทธหัตถี มีชัยชนะเหนือพระมหาอุปราชา แต่วันดังกล่าวถูกใช้เป็นวันกองทัพไทยไปแล้ว จึงได้พิจารณาวันอื่น และเห็นว่าวันที่ 13 มีนาคม ซึ่งเป็นวันที่คณะกรรมการคัดเลือกสัตว์ประจำชาติ มีมติให้ช้างเผือกเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทยนั้นมีความเหมาะสม จึงได้นำเสนอมติตามลำดับขั้นเข้าสู่คณะรัฐมนตรี โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์อีกทางหนึ่ง ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 เห็นชอบให้ วันที่ 13 มีนาคม ของทุกปี เป็น วันช้างไทย และได้ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเมื่อ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2541ลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ผลจากการที่ประเทศไทยมีวันช้างไทยเกิดขึ้น นับเป็นการยกย่องให้เกียรติว่าเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญอีกครั้ง นอกเหนือจากเกียรติที่ช้างเคยได้รับในอดีต ไม่ว่าจะเป็นช้างเผือกในธงชาติ หรือช้างเผือกที่เป็นสัญลักษณ์ของประเทศ หรือสัตว์คู่พระบารมีของพระมหากษัตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวันช้างไทย · ดูเพิ่มเติม »

วันกองทัพไทย

วันกองทัพไทย ประจำปี 2561 ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี วันกองทัพไทย เป็นวันที่ระลึกในวาระที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทำยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาของพม่า โดยถือเอาวันที่ 18 มกราคม ของทุกปีเป็นวันกองทัพไทยตามการคำนวณจากเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ที่ระบุว่า พระองค์กระทำยุทธหัตถี ในวันจันทร์ แรม 2 ค่ำ เดือนยี่ ปีมะโรง จ.ศ. 954 คำนวณได้ ตรงกับวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1593 หรือ พ.ศ. 2135 แ..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวันกองทัพไทย · ดูเพิ่มเติม »

วิวัฒน์ ผสมทรัพย์

วิวัฒน์ ผสมทรัพย์ นักแสดงไทย เกิดที่จังหวัดชลบุรี บิดามารดารับราชการ(ครู) สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีผลงานทางโทรทัศน์ครั้งแรกเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและวิวัฒน์ ผสมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ศิริ ศิริจินดา

ริ ศิริจินดา มีชื่อจริงว่า บรรจง เลาหจินดา (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 - 30 มกราคม พ.ศ. 2546) เป็นนักแสดง และผู้กำกับชาวไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและศิริ ศิริจินดา · ดูเพิ่มเติม »

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและศิลป์ พีระศรี · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก

ูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก เป็นศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก สังกัดโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก กระทรวงสาธารณสุข และเป็นสถาบันร่วมผลิตแพทย์แห่งแรกกับคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2537 ตั้งอยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่าง ณ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

สมัยละแวก

อาณาจักรเขมร มีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่ เมืองละแวก ตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมัยละแวก · ดูเพิ่มเติม »

สมัยศรีสันธร

อาณาจักรเขมร มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองศรีสุนทร หรือ ศรีสอช่อ (Srei Sonthor) ตั้งแต..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมัยศรีสันธร · ดูเพิ่มเติม »

สมัยอุดง

อาณาจักรเขมรอุดง มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองอุดงมีชัย หรือ อุดงฦาไชย ตั้งแต่ พ.ศ. 2161 ในสมัยนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็น "ยุคมืดของเขมร" เพราะเป็นสมัยที่อาณาจักรเขมรเสื่อมอำนาจมีการแย่งชิงราชสมบัติกันตลอดเวลาแทบทุกรัชกาล เรียกได้ว่ามีกษัตริย์เขมรน้อยพระองค์นักในสมัยนี้ที่จะสวรรคตอย่างสมพระเกียรติ และยังมีการดึงญวนและกรุงศรีอยุธยา (ในเวลาต่อมาธนบุรีและรัตนโกสินทร์) เข้ามาร่วมในศึกแย่งราชสมบัติด้วยทำให้อาณาจักรเขมรต้องตกเป็นประเทศราชของทั้งสองประเท.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมัยอุดง · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมผู้คงแก่เรียน

มาคมนักปราชญ์ (learned societies) หรือ สมาคมผู้รู้ หมายถึงสมาคมที่จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมและยกระดับวิชาความรู้ในสาขาวิชาการต่างๆ โดยสมาชิกภาพอาจเปิดให้บุคคลทั่วไปเป็นได้ หรืออาจจำกัดเฉพาะผู้มีคุณสมบัติตามกำหนด ดังเช่นสมาคมนักปราชญ์ที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศต่างๆ เช่น แอกคาเดอเมีย เดอิ ลินเซอิ (en:Accademia dei Lincei ก่อตั้ง พ.ศ. 2146 ตรงกับรัชสม้ยของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช), อแคเดมี ฟรังเซส์ (en:Académie Française ก่อตั้ง พ.ศ. 2178 ตรงกับรัชสม้ยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง), ราชสมาคมแห่งลอนดอน (ก่อตั้ง พ.ศ. 2203 ตรงกับรัชสม้ยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช), โซดาลิทาส ลิทเทอรารุม วิสตูลานา (en:Sodalitas Litterarum Vistulana ก่อตั้ง พ.ศ. 2031 ตรงกับปลายรัชสม้ยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ) เป็นต้น สมาคมนักปราชญ์เกือบทั้งหมดเป็นองค์การไม่แสวงกำไร กิจกรรมทั่วๆ ไป รวมถึงการจัดประชุมทางวิชาการเพื่อการนำเสนอและการอภิปรายผลงานค้นคว้าวิจัยใหม่ๆ และตีพิมพ์หรือให้การอุปถัมภ์วารสารวิชาการของสาขานั้นๆ บางสมาคมทำหน้าที่เป็นองค์การวิชาชีพ เพื่อกำกับดูแลกิจกรรมของสมาชิกเพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือเพื่อประโยชน์ร่วมกันของมวลสมาชิก สมาคมนักปราชญ์มีความสำคัญยิ่งในทางสังคมวิทยาวิทยาศาสตร์ การรวมกันก่อตั้งกันเป็นรูปสมาคมนับเป็นก้าวสำคัญที่จะก่อให้เกิดสาขาวิชาหรือแขนงวิชาใหม่ๆ ขึ้น สมาคมนักปราชญ์อาจมีลักษณะของวัตถุประสงค์เป็นแบบทั่วไปที่กว้าง เช่น สมาคมเพื่อความก้าวหน้าแห่งวิทยาศาสตร์อเมริกัน (en:American Association for the Advancement of Science ก่อตั้ง พ.ศ. 2391 ตรงกับปลายรัชสม้ยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4) หรืออาจมีวัตถุประสงค์ที่จำเพาะเจาะจง เช่น สมาคมภาษาสมัยใหม่ (en: Modern Language Association) สมาคมนักปราชญ์เกือบทั้งหมดจะเป็นสมาคมแห่งประเทศที่มีสมาคมสาขาในประเทศ (แม้บางสมาคมอาจมีสาขาในประเทศอื่น) หรืออาจเป็นสมาคมนานาชาติ เช่น สหพันธ์สมาคมห้องสมุดนานาชาติ (en:International Federation of Library Associations) ในกรณีหลังนี้มักมีสมาคมสาขาในประเทศต่างๆ สมาคมนักปราชญ์ในระดับท้องถิ่นก็มีเช่นกัน เช่น สมาคมการแพทย์แมสซาชูเซตส์ ซึ่งตีพิมพ์วารสารการแพทย์แห่งนิวอิงแลนด์ที่มีชื่อเสียง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมาคมผู้คงแก่เรียน · ดูเพิ่มเติม »

สมควร กระจ่างศาสตร์

มควร กระจ่างศาสตร์ (13 ธันวาคม พ.ศ. 2463 — 13 มกราคม พ.ศ. 2551) เกิดที่กรุงเทพมหานคร นักแสดงอาวุโส ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ละครเวที-นักแสดง ประจำปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมควร กระจ่างศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)

มเด็จพระบรมราชาที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์กัมพูชา พระองค์ประสูติในช่วงระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา)

มเด็จพระบรมราชาที่ 4 หรือสมเด็จพระมหินทราชา พระนามเดิมว่านักพระสัตถาหรือนักพระสัฏฐา เป็นพระมหากษัตริย์แห่งกัมพูชาในสมัยที่กรุงละแวกเป็นราชธานี ประสูติราว..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช

มเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชเจ้า หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 1 พระมหากษัตริย์ไทยผู้สถาปนาราชวงศ์สุโขทัยสมัยอาณาจักรอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหินทราธิราช

มเด็จพระมหินทราธิราช พระนามเดิมว่า พระมหินทราธิราช เป็นพระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 16 แห่งอาณาจักรอยุธยา พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ระบุว่าพระองค์ไม่เอาพระทัยใส่การศึก ทำให้การรักษาพระนครอ่อนแอลงจนเสียกรุงครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระมหินทราธิราช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ

มเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ (Elizabeth I of England หรือ Virgin Queen หรือ Gloriana หรือ Good Queen Bess -- 7 กันยายน พ.ศ. 2076 -- 24 มีนาคม พ.ศ. 2146) และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระราชินีนาถแห่งไอร์แลนด์ ตั้งแต่ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2101 จนเสด็จสวรรคต บางครั้งพระองค์ก็ทรงได้รับพระฉายานามว่า "ราชินีพรหมจารี" (เนื่องจากการไม่อภิเษกสมรสเลยตลอดพระชนม์ชีพ) สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ทรงเป็นกษัตรีย์พระองค์ที่ 5 และนับเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 ผู้ประสูติที่พระราชวังกรีนิช เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 กับสมเด็จพระราชินีแอนน์ บุลิน พระมเหสีพระองค์ที่ 2 ซึ่งถูกประหารชีวิตโดยการบั่นพระเศียรเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 1 พระชนมายุได้เพียงเกือบ 3 พรรษา จากนั้นพระองค์ก็ทรงถูกประกาศว่าเป็นพระราชธิดานอกกฎหมาย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 สวรรคตราชบัลลังก์อังกฤษก็ตกไปเป็นของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 พระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีและสมเด็จพระราชินีเจน ซีมัวร์ พระมเหสีองค์ที่ 3 เมื่อเสด็จสวรรคตพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดก็ทรงมอบราชบัลลังก์แก่เลดีเจน เกรย์ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดพระเชษฐภคินีต่างพระมารดาสองพระองค์ออกจากสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ แต่ในที่สุดเจ้าหญิงแมรีก็ได้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 ผู้ทรงเป็นโรมันคาทอลิก ในรัชสมัยของราชินีนาถแมรีเจ้าหญิงอลิซาเบธทรงถูกจำขังอยู่ปีหนึ่งในข้อสงสัยว่าทรงมีส่วนร่วมในการสนับสนุนฝ่ายก่อการโปรเตสแตนต์ หลังจากเสด็จสวรรคตของพระเชษฐภคินีสมเด็จพระราชินีนาถแมรี เจ้าหญิงอลิซาเบธก็เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์ทรงตั้งพระทัยที่จะปกครองโดยมีที่ปรึกษาราชการผู้มีคุณธรรม พระองค์ทรงไว้วางพระทัยในกลุ่มที่ปรึกษาที่ทรงไว้วางใจที่นำโดยวิลเลียม เซซิล บารอนแห่งเบอร์ลีย์ที่ 1 สิ่งแรกที่ทรงกระทำในฐานะพระราชินีนาถคือการสนับสนุนการก่อตั้งสถาบันโปรเตสแตนต์อังกฤษ ซึ่งมีพระองค์เองเป็น “ประมุขสูงสุด” (Supreme Governor) นโยบายทางศาสนาของพระองค์เป็นนโยบายที่ดำเนินตลอดมาในช่วงรัชสมัยการปกครอง และต่อมาวิวัฒนาการมาเป็น “นิกายเชิร์ชออฟอิงแลนด์” ในปัจจุบัน ในระหว่างที่ครองราชย์ก็เป็นที่หวังกันว่าพระองค์จะทรงเสกสมรส แต่แม้ว่ารัฐบาลจะยื่นคำร้องหลายครั้ง และ การทรงทำความรู้จักกับกับคู่หมายหลายคนพระราชินีนาถอลิซาเบธก็มิได้ทรงทำการเสกสมรสกับผู้ใด สาเหตุที่ไม่ทรงยอมเสกสมรสก็ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ เมื่อมีพระชนมายุสูงขึ้นพระองค์ก็ทรงมีชื่อเสียงจากการเป็น “พระราชินีผู้ทรงพรหมจรรย์” และเกิดลัทธินิยมของผู้ติดตามนโยบายดังว่าที่เฉลิมฉลองกันด้วยภาพเหมือน, เทศกาล และ วรรณกรรมร่วมสมัย ในด้านการปกครองพระราชินีนาถอลิซาเบธทรงดำเนินนโยบายที่เป็นสายกลางมากกว่าพระราชบิดา พระอนุชา และ พระเชษฐภคินีStarkey, 5.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต

มเด็จพระวันรัต (อ่านว่า วันนะรัด) แปลว่า ผู้ยินดีในการอยู่ป่า ผู้รักการอยู่ป่า เดิมใช้คำว่า พนรัตน์ และ วันรัตน์ ซึ่งแปลว่า ป่าแก้ว ปัจจุบันเป็นราชทินนามสมเด็จพระราชาคณะรูปหนึ่งในฝ่ายธรรมยุติกนิกาย วันรัตน์ เป็นนามที่ได้มาจากลังกา สันนิษฐานตามคำแปลว่าคงเป็นสังฆนายกฝ่ายอรัญวาสี คู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งเป็นสังฆนายกฝ่ายคามวาสี ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ ปรากฏนามนี้ครั้งแรกในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ว่าพระพนรัตน์ป่าแก้วให้ฤกษ์แก่พระศรีสินในการก่อกบฏพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ, พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น, นนทบุรี: ศรีปัญญา, 2553.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระวันรัต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสรรเพชญ์

มเด็จพระสรรเพชญ์ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ เป็นพระนามของพระเจ้ากรุงศรีอยุธยาหลายพระองค์ ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ปรากฏว่ามีพระเจ้ากรุงศรีอยุธยา 2 พระองค์ใช้พระนามนี้ ได้แก่ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชมีพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าสรรเพชญวงศ์กุรสุริโคดม และสมเด็จพระเอกาทศรถมีพระนามว่า พระศรีสรรเพชญ์ สมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี นอกจากนี้ในจารึกชะลอพระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกข์ ปรากฏว่าพระเจ้าท้ายสระมีพระนามว่า พระบาทพระศรีสรรเพชญ สมเด็จเอกาทศรุทอิศวร ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชนิพนธ์เรื่อง "ทรงวิจารณ์เรื่องพระราชพงศาวดารกับเรื่องประเพณีการตั้งพระมหาอุปราช" โดยทรงวินิจฉัยว่ามีสมเด็จพระสรรเพชญ์ 9 พระองค์ คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระสรรเพชญ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ละครโทรทัศน์)

มเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นละครโทรทัศน์แนว บทประพันธ์ของ บทโทรทัศน์โดย กำกับการแสดงโดย วรยุทธ พิชัยศรทัต ผลิตโดย รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง ออกอากาศทุกวันจันทร์–พฤหัสบดี เวลา 20.40 - 22.00 น. ทาง สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย เอกพัน บรรลือฤทธิ์, รอน บรรจงสร้าง, รัชนู บุญชูดวง, จริยา แอนโฟเน่ และนักแสดงชั้นนำอีกมากมาย เริ่มตอนแรกวันที..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ละครโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเอกาทศรถ

มเด็จพระเอกาทศรถ หรือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 19 แห่งอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์สุโขทั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถ · ดูเพิ่มเติม »

สยาม

งชาติสยาม พ.ศ. 2398-พ.ศ. 2459 สยาม (อักษรละติน: Siam, อักษรเทวนาครี: श्याम) เคยเป็นชื่อเรียกประเทศไทยในอดีต แต่มิใช่ชื่อที่คนไทยเรียกตนเอง ราชบัณฑิตยสถาน ระบุว่า สยามเป็นชื่อเรียกดินแดนและกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในดินแดนแถบนี้มาตั้งแต่สมัยโบราณ สยามเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของไทยตั้งแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ก่อนเปลี่ยนเป็น "ไทย" เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสยาม · ดูเพิ่มเติม »

สะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

นสมเด็จพระนเรศวรมหาราช สร้างข้ามแม่น้ำป่าสัก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ขนาบข้างสะพานปรีดี-ธำรง โดยเชื่อมระหว่างถนนโรจนะ(ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3053)และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309 กรมทางหลวงได้ตั้งชื่อสะพานนี้ว่า สะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อเชิดชูเกียรติประวัติ และเกียรติคุณของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกอบกู้อิสรภาพให้ชาวสยามจากหงสาวดี ให้ปรากฏแก่อนุชนรุ่นหลัง คณะรัฐมนตรียกร่างการตั้งชื่อตามระเบียบของกรมทางหลวง ตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอ เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสะพานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

สะพานนเรศวร

นนเรศวร เป็นสะพานที่ตั้งขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ถึงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตั้งอยู่ในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก เป็นสะพานข้ามแม่น้ำน่าน ระหว่างฝั่งศาลากลาง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสะพานนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

สิ่งพิมพ์รายคาบ

งพิมพ์รายคาบ หมายถึง สิ่งพิมพ์เย็บเล่มที่มีกำหนดออกระบุไว้แน่นอนและต่อเนื่อง มีกำหนดระยะเวลาออกไว้แน่นอนและสม่ำเสมอ เช่น ทุก 1 เดือน (รายเดือน) ทุก 15 วัน (รายปักษ์) ทุก 7 วัน (รายสัปดาห์) เนื้อหาในเล่มประกอบไปด้วยบทความต่างๆ เรื่องราวที่ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ บางเรื่องจบในฉบับแต่บางเรื่องลงต่อเนื่องกันไปหลายฉบับ เนื้อเรื่องภายในเล่มอาจจะจำกัดขอบเขตตามแขนงวิชาใดวิชาหนึ่ง หรืออาจจะเป็นเรื่องทั่วๆ ไปแตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ของผู้จัดทำ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสิ่งพิมพ์รายคาบ · ดูเพิ่มเติม »

สถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร

นอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดตั้งขึ้นเพื่อสืบค้น รวบรวม วิจัย พัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ รวมทั้งการประสานงานเครือข่ายวิชาการ การประชุมวิชาการ และการจัดนิทรรศการ ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตคนในภูมิภาคลุ่มน้ำโขง-สาละวิน โดยรวมศูนย์ศิลปวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ์ผ้าของมหาวิทยาลัยเข้าเป็นหน่วยงานเดียวกันเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 สำนักงานตั้งอยู่ที่อาคารสถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น 2 ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก มีพื้นที่ดำเนินงาน 2 ส่วน คือมหาวิทยาลัยนเรศวร ส่วนหนองอ้อ และมหาวิทยาลัยนเรศวร ส่วนสนามบิน (หรือในปัจจุบันคือโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร).

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสถานอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง

นที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามช้างเผือก

งครามช้างเผือก เป็นสงครามก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่หนึ่ง สงครามมีสาเหตุมาจาก ในปีพ.ศ. 2106 พระเจ้าบุเรงนอง ทรงส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายสมเด็จพระมหาจักรพรรดิเพื่อทูลขอ ช้างเผือก 2 เชือก เนื่องจากกรุงศรีอยุธยาในขณะนั้นมีช้างเผือกอยู่ทั้งหมด 7 เชือก ฝ่ายขุนนางจึงมีความเห็นเป็นสองฝ่าย ฝ่ายหนึ่งต้องการให้ส่งช้างเผือกไปถวายแก่พระเจ้าบุเรงนองเพื่อหลีกเลี่ยงสงคราม ส่วนอีกฝ่าย อันได้แก่พระราเมศวร พระยาจักรี พระสุนทรสงครามไม่เห็นด้วยกับการส่งช้างเผือกไป เนื่องจากจะเป็นการอ่อนข้อให้หงสาวดี ในที่สุดสมเด็จพระมหาจักรพรรดิก็ทรงมีพระบรมราชโองการไม่ประทานช้างเผือก แล้วมีพระราชสาสน์ตอบกลับไปดังนี้ "ช้างเผือกย่อมเกิดสำหรับบุญบารมีของพระเจ้าแผ่นดินผู้เป็นเจ้าของ เมื่อพระเจ้าหงสาวดีได้บำเพ็ญธรรมให้ไพบูรณ์คงจะได้ช้างเผือกมาสู่บารมีเป็นมั่นคงอย่าได้ทรงวิตกเลย" และรับสั่งให้เตรียมไพร่พลพร้อมรับศึกอย่างเข้มแข็ง ทางฝ่ายพระเจ้าบุเรงนองได้ยกทัพรวมพลที่เมืองเมาะตะมะ จัดทัพใหญ่ออก เป็น 5 ทัพ มีเจ้าเมืองเชียงใหม่ควบคุมกองเรือเสบียง ล่องลงมาถึงเมืองตาก รวมไพล่พลเป็นจำนวนประมาณ 500,000 คน ส่วนทางอยุธยาได้เตรียมพลพร้อมรบและเรือรบจำนวนมาก เพื่อป้องกันการโจมตีจากทัพหลวงของหงสาวดีทางด่านเจดีย์สามองค์ แต่เหตุการณ์ไม่เป็นดังที่คาดไว้ กองทัพพม่ากลับยกทัพมาทางด่านแม่ละเมา และเข้าตีกำแพงเพชรจนชนะ แล้วแยกทัพไปตีสุโขทัย เนื่องด้วยทางสุโขทัยมีกำลังน้อยกว่ามากแต่ก็สู้รบอย่างเต็มความสามารถ แต่ท้ายที่สุดก็ถูกพม่ายึดเมืองได้สำเร็จ จากนั้นพม่าจึงล้อมเมืองพิษณุโลก พระมหาธรรมราชาก็ต่อสู้เป็นสามารถเช่นกัน แต่เกิดไข้ทรพิษขึ้นในเมืองและเสบียงอาหารก็หมดจึงยอมจำนน หลังจากที่พม่าได้หัวเมืองฝ่ายเหนือแล้วจึงบังคับให้พระมหาธรรมราชาและเจ้าเมืองถือน้ำกระทำสัตย์ให้อยู่ใต้บังคับของพม่า พร้อมทั้งสั่งให้ยกทัพตามลงมาเพื่อตีกรุงศรีอยุธยาด้วย ในเวลาต่อมา กองทัพพม่าก็ยกมาประชิดเขตเมืองใก้ลทุ่งลุมพลีพระมหาจักรพรรดิทรงให้กองทัพบก กองทัพเรือ ระดมยิงใส่พม่าเป็นสามารถ แต่สู่ไม่ได้จึงถอย ทางพม่าจึงยึดได้ป้อมพระยาจักรี (ทุ่งลุมพลี) ป้อมจำปา ป้อมพระยามหาเสนา (ทุ่งหันตรา) แล้วล้อมกรุงศรีอยุธยาอยู่นาน พระมหาจักรพรรดิทรงเห็นว่าพม่ามีกำลังมาก การที่จะออกไปรบเพื่อเอาชัยคงจะยากนัก จึงทรงสั่งให้เรือรบนำปืนใหญ่ล่องไปยิงทหารพม่าเป็นการถ่วงเวลาให้ เสบียงอาหารหมดหรือเข้าฤดูน้ำหลากพม่าคงจะถอยไปเอง แต่พม่าได้เตรียมเรือรบ และปืนใหญ่มาจำนวนมากยิงใส่เรือรบไทยพังเสียหายหมด แล้วตั้งปืนใหญ่ยิงเข้ามา ในพระนครทุกวัน ถูกชาวบ้านล้มตาย บ้านเรือน วัด เสียหายมาก ทางพระเจ้าบุเรงนองจึงมีพระราชสาสน์มาว่า จะรบต่อไปหรือยอมเป็นไมตรี เนื่องด้วยทางไทยเสียเปรียบมาก พระมหาจักรพรรดิจึงทรงยอมเป็นไมตรี ทำให้ฝ่ายไทยต้องเสียช้างเผือกจาก 2 เชือก เป็น 4 เชือก และทุกปีต้องส่งช้างให้ 30 เชือก พร้อมเงิน 300 ชั่ง จับตัวพระยาจักรี พระราเมศวร และ พระสมุทรสงคราม ไปเป็นตัวประกัน นอกจากนี้ยังจะขอเก็บภาษีอากรจากเมืองมะริดที่ขึ้นกับไทยอีกด้วย ขณะนั้นสมเด็จพระนเรศวรทรงพระชมมายุได้ 9 พรรษาถูกนำเสด็จไปประทับที่กรุงหงสาวดีเพื่อเป็นองค์ประกันด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสงครามช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามพระเจ้าอลองพญา

งครามพระเจ้าอลองพญา เป็นชื่อเรียกความขัดแย้งทางทหารครั้งแรกระหว่างอาณาจักรโกนบองแห่งพม่า กับอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์บ้านพลูหลวง สงครามครั้งนี้เป็นการจุดชนวนการสงครามนานหลายศตวรรษระหว่างทั้งสองรัฐขึ้นอีกครั้ง ซึ่งจะกินเวลานานไปอีกหนึ่งศตวรรษข้างหน้า ฝ่ายพม่านั้นอยู่ที่ "ขอบแห่งชัยชนะ" แล้วเมื่อจำต้องถอนกำลังจากการล้อมอยุธยา เนื่องจากพระเจ้าอลองพญาถูกระเบิดปืนใหญ่สิ้นพระชนม์ พระองค์สวรรคตและทำให้สงครามครั้งนี้ยุติลง ความต้องการครอบครองชายฝั่งตะนาวศรีและการค้าขายในแถบนี้เป็นชนวนเหตุของสงครามBaker, et al, p. 21James, Fall of Ayutthaya: Reassessment, p. 75 และการให้การสนับสนุนของอยุธยาต่อกบฏมอญแห่งอดีตราชอาณาจักรหงสาวดีฟื้นฟู ราชวงศ์โกนบองที่เพิ่งจะสถาปนาขึ้นใหม่นั้นต้องการจะแผ่ขยายอำนาจเข้าควบคุมชายฝั่งตะนาวศรีตอนบนอีกครั้ง (ปัจจุบันคือ รัฐมอญ) ซึ่งอยุธยาได้ให้การสนับสนุนแก่กบฏชาวมอญและจัดวางกำลังพลไว้ ฝ่ายอยุธยาปฏิเสธข้อเรียกร้องของพม่าที่จะส่งตัวผู้นำกบฏมอญหรือระงับการบุกรุกดินแดนซึ่งพม่ามองว่าเป็นดินแดนของตน สงครามครั้งนี้เริ่มต้นขึ้นในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสงครามพระเจ้าอลองพญา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามยุทธหัตถี

ระมหาอุปราชมังกะยอชวา สงครามยุทธหัตถี เป็นสงครามที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2135 ระหว่างอยุธยากับพม่า ผลของสงครามครั้งนั้นปรากฏว่าอยุธยาเป็นฝ่ายชนะถึงแม้จะมีกำลังพลน้อยกว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสงครามยุทธหัตถี · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านฮอลันดา

้านฮอลันดา หรือ หมู่บ้านของชาววิลันดา (ชาวฮอลันดา) ซึ่งถูกก่อตั้งขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและหมู่บ้านฮอลันดา · ดูเพิ่มเติม »

หาดเจ้าสำราญ

หาดเจ้าสำราญ ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองเพชรบุรี ประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นชายหาด ที่เคยเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ มาแต่สมัยโบราณ มีประวัติเล่ากันมาว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เคยเสด็จมาที่นี่ พร้อมด้วยสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงพอพระราชหฤทัย ในความงามของหาดนี้มาก ทรงประทับแรมอยู่หลายวัน จน ชาวบ้าน เรียกหาดนี้ว่า หาดเจ้าสำราญ จากหาดเจ้าสำราญ ไปทางใต้ประมาณ 7 กิโลเมตร เป็นชายหาดปึกเตียน ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยว อีกแห่งของจังหวัดเพชรบุรี หาดเจ้าสำราญเจริญถึงขีดสุดในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ซึ่งเป็นหาดที่มีชื่อเสียงมากกว่าหาดอื่นๆในสมัยนั้น โดยโปรดเกล้าให้สร้างค่ายหลวงขึ้นเรียกว่า "ค่ายหลวงบางทะลุ" ตามชื่อของตำบลบางทะลุ ที่เป็นที่ตั้งโดยมี "พระตำหนักบริเวณริมหาดแห่งนี้เรียกว่า “พระตำหนักหาดเจ้าสำราญ” ภายหลังทรงหายจากพระประชวร ทรงได้เปลี่ยนชื่อตำบลเสียใหม่ ด้วยชื่อเดิมเห็นว่าไม่เป็นมงคล เป็น ตำบลหาดเจ้าสำราญ ตามชื่อของหาดแต่ต่อมาทรงได้ย้ายพระตำหนักไปยังจุดที่เป็น พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ในปัจจุบันเพราะหาดเจ้า สำราญมีแมลงวันชุมเนื่องจากพระตำหนักแห่งนี้ตั้งอยู่ใกล้หมู่บ้านชาวประมงทำให้พระตำหนักแห่งนี้มีแมลงวันชุมจนพระองค์แอบได้ยินข้าราชบริพารในพระองค์ บ่นว่า "หาดเจ้าสำราญแต่ข้าราชบริพารเบื่อ" และหาดแห่งนี้ขาดแคลนน้ำจืดจึงโปรดให้ย้ายไปในที่สุด หาดเจ้าสำราญ ตั้งอยู่ในตำบลหาดเจ้าสำราญ อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี ชายหาดแห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่น่าไปพักผ่อนแห่งหนึ่ง มีบรรยากาศที่เงียบสงบ อากาศเย็นสบาย มีสัตว์ทะเลที่อุดมสมบูรณ์ ทั้ง ปูเสฉวน หอย แมงกะพรุน มีที่พักพร้อม มีร้านสะดวกซื้ออยู่ใกล้เคียง สามารถลงเล่นน้ำได้ ในบริเวณใกล้เคียงมีหมู่บ้านชาวประมง ชายหาดแห่งนี้ทรายถูกพัดถมขึ้นมามากขึ้นเรื่อยๆ จึงมีทรายที่ละเอียดมากในส่วนของต้นหาด ที่นี่จึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ไม่ต้องไปไกลมาก และมีความสวยงามมากแห่งหนึ่ง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและหาดเจ้าสำราญ · ดูเพิ่มเติม »

อับราฮัม ออร์ทีเลียส

อับราฮัม ออร์ทีเลียส นักทำแผนที่แบบใหม่คนแรก อับราฮัม ออร์ทีเลียส (Abraham Ortelius)..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอับราฮัม ออร์ทีเลียส · ดูเพิ่มเติม »

อาทมาต

อาทมาต, อาทมาฏ, อาตมาท, อาทมารถ หรือ อาจสามารถ เป็นชื่อเรียกวิชาดาบแขนงหนึ่งของไทย เชื่อกันว่าตกทอดมาครั้งแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตั้งแต่ยังมีพระอิสริยยศ เป็น พระอุปราชวังหน้ารั้งเมืองพิษณุโลก วิชาดาบอาทมาฏ มีจุดเด่นอยู่ที่ความรวดเร็วและรุนแรง สามารถสู้ได้เพียงคนเดียวต่อคู่ต่อสู้หลายคน มีท่ารุกเป็นท่าเดียวกับท่ารับ เมื่อคู่ต่อสู้ฟันมาจะรับและฟันกลับทันที ไม่มีอะไรตายตัว มีแม่ไม้ 3 ท่า คือคลุมไตรภพ ตลบสิงขร และย้อนฟองสมุทร และมีท่าไม้รำ 12 ท่า ได้แก.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอาทมาต · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรสุโขทัย

อาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นรัฐในอดีตรัฐหนึ่ง ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำยม สถาปนาขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 18 ในฐานะสถานีการค้าของรัฐละโว้ หลังจากนั้นราวปี 1800 พ่อขุนบางกลางหาวและพ่อขุนผาเมือง ได้ร่วมกันกระทำการยึดอำนาจจากขอมสบาดโขลญลำพง ซึ่งทำการเป็นผลสำเร็จและได้สถาปนาเอกราชให้รัฐสุโขทัยเป็นอาณาจักรสุโขทัย และมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับและเพิ่มถึงขีดสุดในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ก่อนจะค่อย ๆ ตกต่ำ และประสบปัญหาทั้งจากปัญหาภายนอกและภายใน จนต่อมาถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอยุธยาไปในที.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอาณาจักรสุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพิชัย

อำเภอพิชัย เป็นอำเภอหนึ่งในจำนวน 9 อำเภอ ของจังหวัดอุตรดิตถ์ พิชัยเป็นเมืองสำคัญมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย เคยเป็นเมืองลูกหลวงของกรุงสุโขทัย เมืองหน้าด่านในสมัยกรุงศรีอยุธยา และเคยเป็นตัวจังหวัดเก่าอีกด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอำเภอพิชัย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวิเศษชัยชาญ

อำเภอวิเศษชัยชาญ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง เดิมชื่อ อำเภอวิเศษไชยชาญ และก่อนหน้านั้น ชื่อ อำเภอไผ่จำศีล.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอำเภอวิเศษชัยชาญ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสามโก้

อำเภอสามโก้ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง จัดตั้งขึ้นเป็นอำเภอเมื่อปี พ.ศ. 2508.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอำเภอสามโก้ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอป่าโมก

อำเภอป่าโมก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอำเภอป่าโมก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไชโย

อำเภอไชโย เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอำเภอไชโย · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเชียงดาว

ียงดาว (60px) เป็นหนึ่งในอำเภอของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นอำเภอต้นกำเนิดของแม่น้ำปิง อำเภอเชียงดาวมีอายุในการจัดตั้งเป็นอำเภอครบ 100 ปี ในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอำเภอเชียงดาว · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเวียงแหง

วียงแหง (50px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ จัดตั้งในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอำเภอเวียงแหง · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานราชภักดิ์

อุทยานราชภักดิ์ อุทยานราชภักดิ์ เป็นอุทยานประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ที่ตำบลหนองแก อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่ตั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ของพระมหากษัตริย์ไทยในอดีต 7 พระองค์ โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานชื่อว่า “อุทยานราชภักดิ์" ซึ่งเป็นอุทยานที่สร้างขึ้นด้วยความจงรักภักดีและเพื่อเป็นการเทิดทูนและประกาศเกียรติคุณพระมหากษัตริย์แห่งสยาม โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ขณะดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา ทรงเปิดอุทยาน เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอุทยานราชภักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อดุลย์ ดุลยรัตน์

อดุลย์ ดุลยรัตน์ (5 เมษายน พ.ศ. 2475 - 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2559) เป็นนักแสดง ผู้กำกับชาวไทย มีตำแหน่งเป็น คณะกรรมการของสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและอดุลย์ ดุลยรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

จรัญ งามดี

รัญ งามดี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2516) ชื่อเล่น หนุ่ม เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากบทนายจันหนวดเขี้ยวในภาพยนตร์เรื่อง บางระจัน ในปลายปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจรัญ งามดี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพระตะบอง

ระตะบอง หรือ บัตฎ็อมบอง (បាត់ដំបង แปลว่า "ตะบองหาย") เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศกัมพูชา อยู่ทางภาคตะวันตกของประเทศ มีเขตติดต่อกับจังหวัดสระแก้ว และจันทบุรี ประเทศไทย พื้นที่นี้อดีตเคยเป็นจังหวัดพระตะบองในมณฑลบูรพาของสยาม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดพระตะบอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดพิษณุโลก

ังหวัดพิษณุโลก เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางตอนบนของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดพิษณุโลก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลำปาง

ังหวัดลำปาง (40px) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ในแอ่งที่ราบล้อมรอบด้วยภูเขา มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน มีชื่อเรียกอย่างหลากหลายตั้งแต่ เขลางค์นคร, เวียงละกอน, นครลำปาง ฯลฯ ในภายหลังเป็นที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เมืองรถม้า ที่สัมพันธ์กับเอกลักษณ์ของลำปาง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสระแก้ว

ระแก้ว เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย แยกออกมาจากจังหวัดปราจีนบุรีเมื่อปี พ.ศ. 2536.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดสระแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสิงห์บุรี

ังหวัดสิงห์บุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคกลางของประเทศไท.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดสิงห์บุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุพรรณบุรี

รรณบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 107 กิโลเมตร จังหวัดที่อยู่ติดกัน (จากทิศเหนือ วนตามเข็มนาฬิกา) ได้แก่ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา นครปฐม และกาญจนบุรี.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดสุพรรณบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดหนองบัวลำภู

หนองบัวลำภู เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยตั้งอยู่ในแอ่งสกลนครและอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน1 เป็นหนึ่งในสามจังหวัดที่ได้รับการจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2536 พร้อมกับจังหวัดอำนาจเจริญและจังหวัดสระแก้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดหนองบัวลำภู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุดรธานี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดอุดรธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอ่างทอง

ังหวัดอ่างทอง เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ตั้งอยู่ในที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งผลิตหัตถกรรมพื้นบ้าน เช่น ตุ๊กตาชาววัง งานจักสาน เป็นต้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดอ่างทอง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตาก

นมิตรภาพ ไทย-พม่า (แม่สอด-เมียวดี) ทอดข้ามแม่น้ำเมย จังหวัดตาก (30px) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกหรือบางแห่งจัดอยู่ในภาคเหนือตอนล่างของไทย มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดชายแดนที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของไทย มีประวัติศาสตร์เก่าแก่นับแต่สมัยกรุงสุโขทัย ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่งดงามหลายแห่งด้วย นอกจากนี้จังหวัดตากยังเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อจังหวัดอื่น ๆ ถึง 9 จังหวั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดตาก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปราจีนบุรี

ปราจีนบุรี เดิมสะกดว่า ปราจิณบุรี เป็นจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีการพบซากโบราณสถานในหลายพื้นที่ของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลายแห่ง มีอุทยานแห่งชาติอยู่ในเขตมรดกโลกถึง 3 แห่ง ทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่ามากที่สุดในภาคตะวันออกอีกด้วย แต่เดิมจังหวัดปราจีนบุรีมีพื้นที่กว้างใหญ่มาก เนื่องจากในอดีตเคยมีการยุบรวมจังหวัดนครนายกเข้ากับจังหวัดปราจีนบุรีในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดปราจีนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

ธนบัตร 100 บาท

นบัตร 100 บาท เป็นธนบัตรหมุนเวียนของสกุลเงินบาท เริ่มออกใช้ในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2445 ธนบัตร 100 บาทที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเป็นธนบัตรไทยแบบที่ 15 และ ธนบัตรไทยแบบที่ 16.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและธนบัตร 100 บาท · ดูเพิ่มเติม »

ธนบัตร 50 บาท

นบัตร 50 บาท เป็นธนบัตรหมุนเวียนในสกุลเงินบาท.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและธนบัตร 50 บาท · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวทองกีบม้า (มารี กีมาร์)

ท้าวทองกีบม้า มีชื่อตัวว่า มารีอา กูโยมาร์ เด ปิญญา (Maria Guyomar de Pinha) แต่มักเป็นที่รู้จักในชื่อ มารี กีมาร์ (Marie Guimarชื่อของเธอมีการสะกดได้หลายทาง ได้แก.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและท้าวทองกีบม้า (มารี กีมาร์) · ดูเพิ่มเติม »

ขรัวอินโข่ง

ตรกรรมฝาผนังโดยขรัวอินโข่ง ขรัวอินโข่ง มีชีวิตอยู่ในสมัยรัชกาลที่ 3-4 (ไม่ปรากฏวันเดือนปีเกิด) ศิลปินผู้ได้รับการยกย่องเป็นจิตรกรเอกประจำรัชกาลที่ 4 แห่งสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นศิลปินในสมณเพศ ศิลปินไทยคนแรกที่ใช้เทคนิคการเขียนภาพฝาผนังแบบตะวันตกที่แสดงปริมาตรใกล้ไกล นับเป็นศิลปินก้าวหน้าแห่งยุคที่ผสมผสานแนวดำเนินชีวิตแบบไทยกับตะวันตกเข้าด้วยกัน ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงยกย่องว่า ขรัวอินโข่งเป็นช่างเขียนไม่มีตัวสู้ในสมัยนั้น ในระยะแรกขรัวอินโข่งยังยึดแนวความคิดแบบเดิม คือวาด ภาพเกี่ยวกับพุทธศาสนาตามคตินิยม ภายหลังจึงเปลี่ยนเป็นเขียนภาพเรื่องราวเกี่ยวเนื่องในพระพุทธศาสนา จนกระทั่งหลุดพ้นมาเป็นงานในรูปแบบปริศนาธรรม ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวคือการ วาดภาพธรรมชาติโดยเฉพาะต้นไม้ และการควบคุมอารมณ์ของสีในภาพให้มีความกลมกลืนและ เกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด ผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือภาพปริศนาธรรมที่ฝาผนังภายในพระอุโบสถ วัดบวรนิเวศและวัดบรมนิว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและขรัวอินโข่ง · ดูเพิ่มเติม »

ขุนศึก (บันเทิงคดี)

นศึก ของ ไม้ เมืองเดิม ขุนศึก เป็นผลงานประพันธ์เรื่องสุดท้ายของ ไม้ เมืองเดิม ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2482 ในนิตยสารเพลินจิตรายสัปดาห์ โดยใช้เวลาเพียงสองปีเศษในการสร้างสรรค์งานเขียนชิ้นนี้ก่อนเสียชีวิตในวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2484 โดยตอนสุดท้ายในการเขียนของ ไม้ เมืองเดิม ลงตีพิมพ์เมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2485 ต่อมากิ่ง พึ่งบุญ ณ อยุธยา น้องชายของ ไม้ เมืองเดิม ได้เขียนเรื่องขุนศึกจนเสร็จสมบูรณ์ โดยใช้นามปากกา "สุมทุม บุญเกื้อ" ภายหลังได้มีการนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกใน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและขุนศึก (บันเทิงคดี) · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1590

..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและคริสต์ทศวรรษ 1590 · ดูเพิ่มเติม »

ตราประจำจังหวัดของไทย

ตราประจำจังหวัดของไทย มีพัฒนาการมาจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยรัชกาลที่ 6 - 7 ในสมัยที่จอมพลแปลก พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีนั้น รัฐบาลได้กำหนดให้แต่ละจังหวัดมีตราประจำจังหวัดของตนเองใช้เมื่อ พ.ศ. 2483 โดยกรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบตราตามแนวคิดที่แต่ละจังหวัดกำหนดไว้ ปัจจุบัน เมื่อมีการตั้งจังหวัดขึ้นใหม่ ก็จะมีการออกแบบตราประจำจังหวัดด้วยเสมอ แต่ตราของบางจังหวัดที่ใช้อยู่นั้นบางตราก็ไม่ใช่ตราที่กรมศิลปากรเป็นผู้ออกแบบ บางจังหวัดก็เปลี่ยนไปใช้ตราประจำจังหวัดเป็นแบบอื่นเสียก็มี บางที่ลักษณะของตราก็เพี้ยนไปจากลักษณะที่กรมศิลปากรออกแบบไว้ แต่ยังคงลักษณะหลัก ๆ ของตราเดิมไว้อยู่บ้างก็มี.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตราประจำจังหวัดของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ตะกรุด

ตะกรุด เป็นหนึ่งในเครื่องรางของขลังที่ผูกพันกับคติความเชื่อในสังคมไทยมาช้านาน เพื่อความเข้มขลัง ศักดิ์สิทธิ์ ดีในทางแคล้วคลาด คงกระพันชาตรี ป้องกันภยันตราย ภัยพิบัติทั้งปวง รวมทั้งด้านเมตตามหานิยม ค้าขาย โชคลาภ กลับดวง พลิกชะตา เลื่อนยศ ร้ายกลายเป็นดี ฯลฯ ตะกรุดได้ถูกสร้างโดยอ้างถึงพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ เพราะหากทำวัตถุบูชาเป็นรูปพระพุทธเจ้าแล้ว เมื่อนำไปในสถานที่ต่าง ๆ เช่น สนามรบ อาจจะไม่บังควร ตะกรุดทำมาจากวัสดุต่าง ๆ ตามตำราของครูบาอาจารย์แต่ละท่าน แต่ที่พบโดยทั่วไปจะเป็นการนำโลหะแผ่นบางๆ อาจจะเป็น ทองคำ เงิน นาก ตะกั่ว หรือโลหะผสมอื่น ๆ มาลงอักขระเลขยันต์ด้วยเหล็กจารแสดงความหมายที่แตกต่างกันออกไป แล้วม้วนให้เป็นท่อกลมโดยมีช่องว่างตรงแกนกลางสำหรับร้อยเชือกติดตัว อาจนำมาหลอมรวมกันแล้วทำเป็นตะกรุดหล่อโบราณ ทำจากรางน้ำฝน ทำจากกาน้ำ ทำจากใบลาน ตัดเป็นแผ่นก่อนแช่น้ำแล้วนำมาม้วนเป็นท่อกลม ทำจากหนังสัตว์ เช่น หนังเสือ หนังหน้าผากเสือ หนังงู หนังเสือดาว หนังลูกวัวอ่อนตายในท้องแม่ หรือจากกระดูกสัตว์ ตะกรุดกระดูกช้าง ตะกรุดจากเขาวัวเผือก หรือจากไม้มงคลต่างๆ เช่น ไม้ไผ่ ซึ่งมีทั้งไผ่ตันและไผ่รวก ไม้คูน ไม้ขนุน ตะกรุดส่วนใหญ่ที่เป็นโลหะ จะมีความเชื่อที่แตกแขนงออกไปอีก เช่น ถ้าเป็นตะกรุดที่ต้องการให้เกิดผลทางด้านเมตตา มักจะทำโดยใช้แผ่นทองหรือแผ่นเงิน ตะกรุดที่ต้องการให้เกิดผลทางคงกระพัน จะใช้แผ่นทองแดง ตะกรุดที่ต้องการให้เกิดผลทางด้านแคล้วคลาด มักจะใช้แผ่นตะกั่ว เป็นต้น รูปแบบของตะกรุดก็มีพัฒนาการเรื่อยมาจากดอกใหญ่หนาสำหรับการออกศึกสงคราม ก็ค่อย ๆ ลดขนาดลง บางทีก็จัดทำเป็นดอกเล็ก ๆ ในลักษณะเครื่องรางติดตัวหรือสามารถตอกฝังเข้าไปในร่างกายได้ ปัจจุบันก็มีรูปแบบใหม่ขึ้นมาโดยทำมาจากปลอกลูกปืน อาศัยนัยว่า แม่ไม่ฆ่าลูก แล้วอาจจะถักด้วยเชือก ด้ายมงคล พอกด้วยผงยาจินดามณี แล้วนำไปจุ่มหรือชุบรักปิดทองตามตำรา ตะกรุดใช้บูชาอยู่ 2 แบบ คือใช้คล้องคอ หรือใช้คาดเอว โดยดอกตะกรุดจะขนานกันไปในแนวนอน ตะกรุดหากเป็นดอกเดียว เรียกว่า ตะกรุดโทน หากเป็นสองดอกจะเป็น ตะกรุดแฝด หรือเป็นโลหะสามชนิดเรียกว่า ตะกรุดสามกษัตริย์ หาก 16 ดอกเรียกว่า ตะกรุดโสฬส ดังจะเห็นได้จากพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก คล้องไว้ด้วยตะกรุดดอกใหญ่ เรียงเป็นแนวยาวพาดพระอังสะ ในลักษณะการเฉียงลงถึงบั้นพระองค์ มีสายตะกรุด 16 ดอก คล้องเป็นแนวยาวทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ซึ่งพระองค์ท่านสะพาย 2 เส้น หมวดหมู่:วัตถุมงคล.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตะกรุด · ดูเพิ่มเติม »

ตะโดธรรมราชาที่ 3

ระเจ้าตะโดธรรมราชาที่ 3 (သတိုးဓမ္မရာဇာ,; 1571 – 1597) มีพระนามเดิมว่า เมงจีนอง (Mingyi Hnaung) ได้รับการสถาปนาเป็นพระเจ้าแปรในฐานะเมืองออกของ พระเจ้านันทบุเรง ผู้เป็นพระราชบิดาระหว่าง..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตะโดธรรมราชาที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ กำกับการแสดงโดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล มี 6 ภาค ทุนสร้าง 700 ล้านบาท (ในครั้งแรกกำหนดให้มี 5 ภาค) เป็นภาคต่อจากภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท โดยหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ได้วางเป้าหมายเรื่องนี้ไว้ว่าจะต้องทำให้ดีกว่าภาพยนตร์เรื่อง "สุริโยไท" ในทุกด้าน โดยมีขอบเขตการทำงานใหญ่กว่า, อลังการกว่า, ฉากต่าง ๆ มีความยิ่งใหญ่อลังการกว่า, นักแสดงหลัก และนักแสดงประกอบมีจำนวนมากกว่า เครื่องมือ และเทคโนโลยีต่าง ๆ มากกว่า ภาพยนตร์เรื่องนี้สร้างขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสมหามงคลที่ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 72 พรรษ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา เป็นภาพยนตร์ภาคที่หกซึ่งเป็นภาคสุดท้ายในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๖ อวสานหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา หรือ ภาคปฐมวัย เป็นภาพยนตร์ภาคแรกของภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดงโดย ปรัชฌา สนั่นวัฒนานนท์, จิรายุ ละอองมณี, สุชาดา เช็คลีย์, โชติ บัวสุวรรณ, สรพงษ์ ชาตรี, ปวีณา ชารีฟสกุล, สมภพ เบญจาธิกุล, ฉัตรชัย เปล่งพานิช, สันติสุข พรหมศิริ, ไพโรจน์ ใจสิงห์, เกรซ มหาดำรงค์กุล บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ภาพยนตร์ภาคสองในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดง.ต.วันชนะ สวัสดี, นพชัย ชัยนาม, ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ, จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์, นภัสกร มิตรเอม, อินทิรา เจริญปุระ,.ต.คมกริช อินทรสุวรรณ, ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง, พ.ท.วินธัย สุวารี, สรพงษ์ ชาตรี เขียนบทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี เป็นภาพยนตร์ไทย ภาพยนตร์ภาคที่สามในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดยในภาคนี้จะกล่าวถึงสงครามระหว่างไทยและพม่า เน้นฉากสงครามทางเรือ กำหนดฉายในวันที่ 31 มีนาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๓ ยุทธนาวี · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง เป็นภาพยนตร์ภาคที่สี่ในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 11 สิงหาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๔ ศึกนันทบุเรง · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี เป็นภาพยนตร์ภาคที่ห้าในภาพยนตร์ชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กำหนดฉายในวันที่ 29 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๕ ยุทธหัตถี · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช The Series เป็นชุดละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ กำกับการแสดงโดยหม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลที่ทำไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง ใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค องค์ประกันหงสา หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค ปฐมวัย เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ ภาคที่หนึ่งของละครเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ กำกับการแสดงโดย หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลที่ทำไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง ใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร์ ละครเรื่องนี้ออกอากาศตอนแรกในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2560 และออกอากาศตอนจบในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ละครเรื่องนี้มีภาคต่อคือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพ

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค ประกาศอิสรภาพ หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช The Series ภาค ประกาศอิสรภาพ เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ ภาคที่สองของละครเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ กำกับการแสดงโดย หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลได้สร้างไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง โดยใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร์ ละครเรื่องนี้เป็นภาคต่อของ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ซามูไร อโยธยา

ซามูไร อโยธยา (YAMADA) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ของไทย โดยเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับยามาดะ นางามาสะ ซึ่งเป็นบุคคลที่มีอยู่จริงในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดงโดยเซกิ โอเซกิ กำกับโดยนพพร วาทิน และกำหนดฉายในประเทศไทยครั้งแรก 2 ธันวาคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและซามูไร อโยธยา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์มวยไทย

การแข่งมวยคาดเชือกหน้าพระที่นั่งในประเทศไทย ประวัติศาสตร์มวยไทย มีส่วนเกี่ยวข้องกับการอพยพของประชากรที่อาศัยอยู่ในมณฑลยูนนาน บนฝั่งแม่น้ำแยงซีเกียง ของประเทศจีน โดยตามตำนานของไทย เชื่อว่ามีผู้คนจำนวนมากที่เดินทางออกจากมณฑลยูนนาน ประเทศจีน มาสู่ประเทศไทย เพื่อค้นหาที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สำหรับการเกษตร อย่างไรก็ตาม ในระหว่างการโยกย้ายของพวกเขา ชาวไทยกลุ่มนี้ได้ถูกโจมตีโดยโจรและสัตว์ นอกจากนี้ ยังมีโรคต่าง ๆ ที่พวกเขาต้องเผชิญ เพื่อเพิ่มความสามารถในการป้องกันร่างกายและจิตใจ, การรับมือกับความทุกข์ยาก ชาวไทยสยามจึงได้คิดค้นวิธีการต่อสู้ แม้ว่าการจัดเก็บเอกสารตำราทางประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่จะสูญหายไปเมื่อครั้งที่ถูกกองทัพพม่าทำลาย และขับไล่ออกจากเมืองอยุธยาในสมัยสงครามพม่า-ไทย (พ.ศ. 2302-2303) แต่เราก็ยังสามารถพบได้จากบันทึกของพม่า, กัมพูชา และจากชาวยุโรปเมื่อครั้งมาเยือนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นครั้งแรก รวมถึงจากบันทึกเหตุการณ์ของล้านนา หรือเมืองเชียงใหม่ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและประวัติศาสตร์มวยไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต

ตราประจำจังหวัดภูเก็ต ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต เดิมคำว่า ภูเก็ต นั้นใช้คำว่า "ภูเก็จ" อันแปลว่าเมืองแก้ว ตรงกับความหมายเดิมซึ่งชาวทมิฬเรียก มณีคราม ตามหลักฐาน..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไทย

การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี ตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมร และมลายูปกครองมาก่อน ต่อมา คนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น อาณาจักรสุโขทัย ไล่เลี่ยกันกับอาณาจักรล้านนา อาณาจักรเชียงแสน และอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ 200 ปี ก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่ง เป็นศูนย์กลางการค้าระดับนานาชาติ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครอง ซึ่งบางส่วนใช้สืบมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังทรงตราพระราชกำหนดศักดินา ทำให้อยุธยาเป็นสังคมศักดินา อยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตกเมื่อ..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและประวัติศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1613

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1613 ในประเทศพม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและประเทศพม่าใน ค.ศ. 1613 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปืนคาบศิลา

ปืนคาบศิลาและดาบปลายปืน ปืนคาบศิลา (musket) เป็นปืนที่ใช้ดินปืน(ดิน"แรงดันต่ำ")ตำกรอกทางปากกระบอกปืน จากนั้นรอง"หมอน"นุ่น หรือผ้า แล้วใส่หัวกระสุนทรงกลม ปิดด้วยหมอนอีกชั้น ปืนชนิดนี้เมื่อบรรจุกระสุนไว้ต้องถือตั้งตรงตลอด ไม่งั้นกระสุนอาจไหลออกจากปากลำกล้อง เวลาจะยิงต้องใช้ หิน"คาบศิลา"(หินไฟ-Flint) ตอกกระทบโลหะ หรือกระทบกันเอง (มักทำเป็น คอนกติดหินไฟ ผงกด้วยสปริง) เพื่อจุดดินขับในถ้วยที่โคนปืน ให้ไฟแล่บติดดินขับ วิ่งเข้าไปทางรูที่ท้ายลำกล้อง แล้วจึงเกิดการลุกไหม้ในดินปืน ระเบิดกระสุนออกไป ปืนชนิดนี้เป็นต้นแบบของปืนไรเฟิลในปัจจุบันด้วย ไม่มีผู้ทราบว่าใครประดิษฐ์ขึ้น แต่ว่าในเอกสารทางการทหารของจีนได้มีการกล่าวถึงอาวุธชนิดหนึ่งเรียกว่า "หั่วหลงจิง (火龙经)" ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 ในแรกเริ่มปืนคาบศิลาไค้มีการออกแบบให้ใช้กับทหารราบเท่านั้น และได้มีการปรับปรุงขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงการปฏิวัติอุตสาหกรรม เช่นมีเกลียวในลำกล้อง การมีกล้องเล็ง มีกระสุนปลายแหลมซี่งแต่เดิมนั้นเป็นลูกกลมๆ และในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ก็มีการประดิษฐ์ปืนชนิดที่บรรจุกระสุนทางท้ายรังเพลิงปืนซึ่งแต่เดิมนั้นบรรจุกระสุนทางปากลำกล้องเข้ามาแทนที.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและปืนคาบศิลา · ดูเพิ่มเติม »

ปืนไฟ

ปืนไฟแบบยาว ปืนไฟแบบสั้น ปืนไฟแบบสั้นอีกแบบ ปืนไฟ หรือ ปืนคาบชุด (Arquebus) เป็นปืนที่ใช้หลักการจุดชนวนด้วย "ชุด" (match) ซึ่งทำมาจากเส้นด้ายชุบเชื้อไฟเพื่อให้เส้นด้ายเกิดการลุกไหม้อย่างช้า ๆ คาบเส้นด้ายไว้ด้วยกระเดื่อง ที่มีลักษณะเหมือนหัวงูซึ่งมีลักษณะโค้งงอไปมาเป็นรูปตัว S เมื่อเหนี่ยวไกปืนเพื่อทำการยิง ปลายของชุดก็จะตีลงบนจานชนวนทำให้เกิดประกายไฟลุกไหม้ขึ้นที่เส้นด้ายและเข้าไปจุดระเบิดดินปืนที่อยู่ภายใน ทำให้เกิดแรงผลักลูกกระสุนออกไปได้.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและปืนไฟ · ดูเพิ่มเติม »

นภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์

นภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์ หรือ นภัสกร มิตรเอม(ชื่อเล่น: ตั๊ก) เกิดเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2515 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาบริหารอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวนานาชาติ มีชื่อเสียงมาจากการรับบทนำในภาพยนตร์เรื่อง ฅนปีมะ (พ.ศ. 2546) จากการกำกับของ โน้ต เชิญยิ้ม จากนั้นก็ได้มีผลงานตามมาอีก), A Moment in June ณ ขณะรัก (พ.ศ. 2552) โดยมากจะรับบทก่อนที่จะรับบท "มังกะยอชวา" อุปราชวังหน้าของราชวงศ์ตองอู ซึ่งเป็นคู่ปรับสำคัญของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. 2550-พ.ศ. 2554) จากการกำกับของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ผลงานทางด้านละครโทรทัศน์ ได้แก่ ตม, เรือนรักเรือนทาส, หัวใจรักข้ามภพ เป็นต้น นอกจากนี้แล้วยังมีผลงานเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์เกี่ยวกับอาหาร คือ ถึงพริกถึงขิง ออกอากาศทาง2515alive.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและนภัสรัญชน์ มิตรธีรโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

นรธาเมงสอ

นรธาเมงสอ (နော်ရထာ မင်းစော, หน่อยะถ่ามิงซอ) หรือ สาวัตถีนรถามังคะยอ (ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่) หรือ เมงซานรธามังคุย (พงศาวดารโยนก) เป็นพระเจ้าเชียงใหม่ผู้ปกครองแคว้นล้านนา ในช่วง..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและนรธาเมงสอ · ดูเพิ่มเติม »

นันทวัน เมฆใหญ่

กซ้าย: สมบัติ เมทะนี, กำธร สุวรรณปิยะศิริ, กาญจนา เมทะนี, นันทวัน เมฆใหญ่ นันทวัน เมฆใหญ่ สุวรรณปิยะศิริ (10 กันยายน พ.ศ. 2488 -) นักแสดง นักร้องเพลงลูกกรุง ชาวไทย ของบริษัทไทยโทรทัศน์ (ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม) เคยได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำ เกียรติยศคนทีวี ครั้งที่ 23 ประจำปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและนันทวัน เมฆใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

นเรศวร

นเรศวร อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำสะโตง

แม่น้ำสะโตง หรือ แม่น้ำซิตอง (Sittoung River, စစ်တောင်းမြစ်) เป็นแม่น้ำในประเทศพม่ามีความยาว 420 กิโลเมตร เป็นเส้นแบ่งเขตแดนระหว่างเขตหงสาวดีกับรัฐมอญ แม่น้ำสะโตงเป็นแม่น้ำสายใหญ่ที่เมื่อถึงฤดูน้ำหลาก ความกว้างจากฝั่งหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่งอาจกว้างได้ถึง 3 กิโลเมตร มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยเมื่อครั้งที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เสด็จหลบหนีกองทัพพม่าของพระมหาอุปราชมังสามเกียด พระองค์ได้หลบหนีข้ามพ้นมาและได้แสดงวีรกรรมยิงพระแสงปืนข้ามลำน้ำสะโตง คือ ยิงปืนคาบศิลาจากอีกฝั่งของแม่น้ำถูกแม่ทัพพม่า ชื่อ สุรกรรมา เสียชีวิตคาคอช้าง เมื่อปี พ.ศ. 2127 ซึ่งต่อมาพระแสงปืนกระบอกนี้ได้ถูกขนามนามว่า "พระแสงปืนต้นข้ามแม่น้ำสะโตง".

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและแม่น้ำสะโตง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม

รงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม เป็นโรงเรียนชายล้วน ประจำจังหวัดพิษณุโลก โดยเป็นสถานศึกษาขนาดใหญ่ เปิดการเรียนการสอนตั้งแต่มัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ที่ตั้งปัจจุบัน อยู่บนถนนเลี่ยงเมืองพิษณุโลก บึงแก่งใหญ่ มีเนื้อที่ 339 ไร่ นอกจากนี้โรงเรียนได้พัฒนาด้านต่างๆ เช่นกีฬาและภูมิทัศน์ของโรงเรียนโดยการสร้างสวนต่างๆ เช่น สวนวรรณคดี นอกจากนี้อาคาร 1 (วังจันทน์) และอาคาร 2 (ร่มเกล้านเรศวร) ของโรงเรียนยังเป็นอาคารที่ได้รับการออกแบบเป็นพิเศษ โรงเรียนยังมีโครงการสร้างสะพานเชื่อมอาคารแต่ละอาคารเข้าด้วยกัน สร้างอาคารประกอบเพิ่มเติม หอประชุมใหม่ โรงยิม สระว่ายน้ำ และศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ขึ้นเพิ่มเติมด้วย ในปัจจุบันทางเดินเชื่อมอาคารเรียนได้สร้างเสร็จแล้วและเปิดใช้มาเป็นเวลากว่า 2 ปีโดยประมาณ ซึ่งโรงเรียนก็ยังได้สร้างหอประชุมใหม่ขึ้นชื่อว่า "หอประชุมจักรกฤษณ์ นาคะรัต" ที่เปิดใช้ไปในปีการศึกษา 2550 ที่ผ่านมา และในขณะนี้โรงเรียนกำลังจัดสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2552 "เปิดใช้งานแล้วชื่อว่า อาคารร่มเกล้าวิสุทธิ์กษัตริย์" ปัจจุบันโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมได้ถูกกำหนดจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็นโรงเรียนมาตรฐานระดับสากล เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 6 มีครู-อาจารย์ 166 คน นักเรียน 3,393 คน ใน 72 ห้องเรียน.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี

แผนที่การเสียดินแดนของไทย (หมายเลขที่ 2) ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี หรือที่ทางราชการเรียกว่า ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทย เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไทยสยาม ที่ถูกกวาดต้อนและอพยพมาอยู่ตั้งแต่หลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2310) หลังการยึดครองของอังกฤษ ชาวไทยเหล่านี้จึงกลายเป็นสัญชาติพม่า แต่ก็ยังไปมาหาสู่กับญาติพี่น้องฝั่งไทยตลอด และมีชาวไทยในเขตตะนาวศรีที่เข้ามาทำคลอดในฝั่งไทย และต้องการให้บุตรเป็นสัญชาติไทย เพราะมีความเกี่ยวดองกับฝั่งไทย และส่วนใหญ่ทางแถบจังหวัดเกาะสอง (วิกตอเรียพอยท์) ของพม่าก็มีชาวไทยมากมาย แต่ในปัจจุบันยังถือว่าชาวไทยกลุ่มนี้เป็นกลุ่มคนไร้สัญชาต.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

ไทยโยเดีย

วโยดายา หรือ ชาวอยุธยาในพม่า (โยดายา หลุ มฺโย) เป็นคำที่เรียกกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีบรรพบุรุษเป็นเป็นชาวไทยสยามจากอาณาจักรอยุธยา ซึ่งอพยพเข้ามาประเทศพม่า มีทั้งอพยพไปพึ่งพระบรมโพธิสมภารกษัตริย์พม่าโดยสมัครใจ บ้างก็เป็นเชลยซึ่งถูกกวาดต้อนเมื่อเกิดสงคราม เมื่อเวลาผ่านไปหลายศตวรรษ ชาวอยุธยาในพม่าค่อย ๆ ผสมปนเปไปกับสังคมพม่า บ้างก็โยกย้ายจากถิ่นฐานเดิม พวกเขาเลิกพูดภาษาไทยและหันไปพูดภาษาพม่า จนกระทั่งทิน มอง จี นักวิชาการชาวพม่าผู้มีเชื้อสายโยดายาเขียนบทความสั้นชื่อ "สุสานกษัตริย์ไทย" (A Thai King’s Tomb) ก่อนปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและไทยโยเดีย · ดูเพิ่มเติม »

เกชา เปลี่ยนวิถี

กชา เปลี่ยนวิถี นักแสดงอาวุโส มีชื่อเสียงเป็นที่จดจำจากบทเจ้าพ่อ จากภาพยนตร์เรื่อง เพชรตัดเพชร และรับบทผู้ร้ายมาตลอดชีวิตการแสดง.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเกชา เปลี่ยนวิถี · ดูเพิ่มเติม »

เมืองนาย

มืองนาย (Mong Nai) ตั้งอยู่ที่ละติจูด 20 องศา 30 ลิปดา เหนือ ลองติจูด 97 องศา 52 ลิปดาตะวันออก อยู่ในพื้นที่รัฐฉานใต้ ฝั่งตะวันตกแม่น้ำสาละวิน ใกล้กับจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในอดีตเคยเป็นเมืองลูกของเชียงใหม่สมัยพญามังราย และอดีตเมืองหลวงของรัฐฉาน สมัยพระเจ้าสีหสุรมหาธรรมราชา เจ้าเมืองอังวะ ซึ่งเป็นพระโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง ยกทัพมาตีเมืองนาย ซึ่งสมัยนั้นยังขึ้นตรงต่อเชียงใหม่ อันเป็นประเทศราชของอาณาจักรอยุธยา เป็นเหตุให้สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงยกทัพไพร่พล 100,000 นายไปเมืองนายและอังวะ ระหว่างเคลื่อนทัพผ่านเมืองเชียงใหม่ พระองค์ประชวรและสวรรคต ณ เมืองแหน แขวงเมืองเชียงใหม่ สมเด็จพระเอกาทศรถจึงเลิกทัพและทรงนำพระบรมศพกลับมายังอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเมืองนาย · ดูเพิ่มเติม »

เมืองแครง

มืองแครงเป็นชื่อเมืองที่ปรากฏอยู่เฉพาะในพงศาวดารไทยว่า เป็นเมืองของชาวมอญที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชประกาศเอกราชจากอาณาจักรตองอูเมื่อ พ.ศ. 2127 จากการค้นคว้าข้อมูลเพื่อสร้างภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล และ ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ ได้สันนิษฐานว่า เมืองแครงน่าจะตั้งอยู่ที่เมืองวอในประเทศพม่า มีที่ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำสะโตง และระยะทางเดินเท้าห่างจากเมืองหงสาวดีเป็นเวลา 1 วัน.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเมืองแครง · ดูเพิ่มเติม »

เมตตา รุ่งรัตน์

มตตา รุ่งรัตน์ มีชื่อจริง ดาราวดี ดวงดารา นักแสดงหญิงอาวุโส ฉายา "ไข่มุกดำแห่งเอเซีย" เป็นดารานักแสดงที่มีใบหน้าสวยหวานและคมเข้ม เจ้าของรางวัลตุ๊กตาทอง สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากเรื่อง วัยรุ่นวัยคะนอง ประจำปี พ.ศ. 2505.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเมตตา รุ่งรัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา

ลำดับเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเหตุการณ์สำคัญในอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์

เอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ มีชื่อเล่นว่า ไทด์ เกิดเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 เป็นน้องชายฝาแฝดของบิณฑ์ บรรลือฤทธิ์ เข้าสู่วงการบันเทิงมาพร้อมกับบิณฑ์พี่ชาย มีชื่อเสียงโด่งดังมาจากการรับบท พี่มาก จากละครโทรทัศน์เรื่อง แม่นาคพระโขนง ทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2532 ประกบคู่กับ ตรีรัก รักการดี และ "สมเด็จพระนเรศวรมหาราช" ทางช่องเดียวกัน โดยรับบทเป็นตัวละครตามชื่อเรื่อง เอกพันธ์และบิณฑ์ เป็นแฝดร่วมไข่จึงมีรูปร่าง หน้าตาที่คล้ายกันมาก แต่เอกพันธ์มีจุดสังเกตที่ต่างจากบิณฑ์พี่ชาย คือ คางบุ๋ม และผมบริเวณหน้าผากที่เถิกสูงกว่า ไทด์ เอกพันธ์จบปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ผลงานทางด้านภาพยนตร์ ได้แก่ อ้ายจันบ้านมหาโลก จากสุริโยไท ในปี พ.ศ. 2544 ผลงานระยะหลัง ๆ ได้แก่ ผู้พันเขียว จากละครเรื่อง นรกตัวสุดท้าย ทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2548 เฮียใหญ่ จากละครเรื่อง ระบำดวงดาว ทางช่อง 3 ในปี พ.ศ. 2553 ปัจจุบันทำหน้าที่เป็นพิธีกร รายการ2505alive หมวดหมู่:นักแสดงไทย หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสระแก้ว‎ หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี หมวดหมู่:พิธีกรไทย หมวดหมู่:นักแสดงฝาแฝดเหมือน หมวดหมู่:บุคคลฝาแฝดจากประเทศไทย หมวดหมู่:นักแสดงชายชาวไทยในศตวรรษที่ 20 หมวดหมู่:นักแสดงชายชาวไทยในศตวรรษที่ 21.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเอกพันธ์ บรรลือฤทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์

ระปฐมเจดีย์ที่จังหวัดนครปฐม เจดีย์ (ภาษาบาลี: เจติย, ภาษาสันสกฤต: ไจติยะ) หรือ สถูป (ภาษาบาลี: ถูป, ภาษาสันสกฤต: สฺตูป) เป็นสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนา พบได้ทั่วไปในอนุทวีปอินเดียและเอเชีย เจดีย์ หมายถึงสิ่งก่อสร้างหรือสิ่งของที่สร้างขึ้น เพื่อเป็นที่เคารพบูชาระลึกถึง สถูป หมายถึงสิ่งก่อสร้างเหนือหลุมฝังศพ หรือสร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิธาตุของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เพื่อให้ลูกหลานและผู้เคารพนับถือได้สักการบูชา ถือกันว่ามีบุคคลที่ควรบรรจุอัฐิธาตุไว้ในสถูปเพื่อเป็นที่สักการะของมหาชนอยู่เพียง 4 พวก เรียกว่า ถูปารหบุคคล ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ์ สำหรับประเทศไทย คำว่า สถูป และ เจดีย์ เรามักรวมเรียกว่า “สถูปเจดีย์” หรือ “เจดีย์” มีความหมายเฉพาะ ถึงสิ่งก่อสร้างในพุทธศาสนาที่สร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิ หรือเพื่อประดิษฐานพระพุทธรูป หรือเพื่อเป็นที่ระลึก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ในสมัยหลังลงมาคงมีการสร้างสถานที่เพื่อบรรจุอัฐิธาตุ และเพื่อเคารพบูชาระลึกถึงพร้อมกันไปด้ว.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจดีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวมอดอ

ีย์ชเวมอดอ (ရွှေမောဓော ဘုရား; ကျာ်မုဟ်တ) เป็นเจดีย์สำคัญที่อยู่ในเมืองพะโค ประเทศพม่า มีความสูง ถือเป็นเจดีย์ที่สูงที่สุดในประเทศพม่า แต่เจดีย์ชเวดากอง ในเมืองย่างกุ้ง มักถูกบันทึกว่าเป็นเจดีย์ที่สูงที่สุดในประเทศ เพราะประดิษฐานบนเนินเขา เจดีย์ชเวมอดอเชื่อกันว่าเป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุและพระเขี้ยวแก้วของพระโคตมพุทธเจ้า เจดีย์ชเวมอดอ เจดีย์ชเวดากอง และพระธาตุไจทีโย เป็นเจดีย์ที่มีชื่อเสียงที่ถูกสร้างโดยชาวมอญ เทศกาลประจำปีเฉลิมฉลองเจดีย์ชเวมอดอ มักจัดในช่วงเดือนตะกู (Tagu) ตามปฏิทินพม่าแบบดั้งเดิม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจดีย์ชเวมอดอ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)

้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) เป็นมุสลิมชีอะหฺอิษนาอะชะรียะหฺ (สิบสองอิมาม) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2086 ณ ตำบลปาอีเนะชาฮาร ในเมืองกุม ซึ่งเป็นเมืองศูนย์กลางของศาสนาอิสลามตั้งอยู่บนที่ราบต่ำทางตอนเหนือของเตหะราน ในประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)

้าพระยาพิษณุโลก (พ.ศ. 2262 - พ.ศ. 2311) (เขียนแบบเก่า "เจ้าพระยาพิศณุโลก") เดิมชื่อ เรือง หรือ บุญเรือง เป็นเจ้าพระยามหานครผู้ครองหัวเมืองชั้นเอก เมืองพิษณุโลก และเป็นผู้ตั้งชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง มีราชทินนามขุนนางตามที่ปรากฏในทำเนียบพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู)

้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี หรือ พระราชมนู เป็นขุนศึกและสมุหพระกลาโหมคนสำคัญในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชมนู เกิดเมื่อไรและมีชื่อใดไม่ปรากฏแต่ได้ติดตาม สมเด็จพระนเรศวรมหาราชคราวประกาศอิสรภาพจึงสันนิษฐานว่าครอบครัวของพระราชมนูอาจถูกกวาดต้อนคราวเสียกรุงฯครั้งที่ 1 ได้มีการกล่าวไว้ในพงศาวดารว่าพระราชมนูเป็นทหารที่เก่งกล้าและมีความสามารถนอกจากนั้นยังเป็นทหารคู่พระทัยของสมเด็จพระนเรศวรอีกด้วย ซึ่งพระราชมนูมักออกศึกเคียงคู่พระนเรศวรในการตีเมืองต่างๆเสมอและสามารถชนะกลับมาได้เกือบทุกครั้งรวมถึงศึกยุทธหัตถีที่ตำบลหนองสาหร่ายอีกด้วย ภายหลังพระราชมนูได้รับการโปรดเกล้าจากสมเด็จพระนเรศวรให้เป็นออกญาพระสมุหกลาโหม แต่ประวัติของพระราชมนูมีอยู่น้อยมากเพราะมีการกล่าวถึงในพงศาวดารไม่กี่เล่ม พระราชมนูนั้นเคยรับพระราชบัญชาให้ไปตีเมืองโพธิสัตว์ (ปัจจุบันอยู่ในเขตพม่า) ซึ่งถือเป็นเมืองใหญ่ ในครั้งยังมียศเป็นคุณพระ ตอนนั้นองค์ดำเกรงว่าทัพน้อยของพระราชมนูจะไม่อาจเอาชัย จึงส่งทัพหลวงออกตามไปช่วย ปรากฏว่าเมื่อทัพหลวงไปถึง เมืองโพธิสัตว์ก็แตกเสียแล้ว ทัพหลวงไม่ต้องเข้าช่วยแต่อย่างใด นอกจากนี้พระราชมนูยังมีความบ้าบิ่นอย่างที่ใครๆในยุคนั้นไม่กล้า คือการขัดรับสั่งของพระนเรศในคราวตามเสด็จศึกพระเจ้าเชียงใหม่ ซึ่งพระราชมนูขัดรับสั่งถอนทัพโดยกล่าวว่า "การรบกำลังติดพัน กลัวว่าถอยแล้วจะเป็นเหตุให้ข้าศึกตามตี" เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชได้เสด็จขึ้นครองราชย์สืบต่อจากสมเด็จพระมหาธรรมราชา พระองค์จึงได้ปูนบำเหน็จให้พระราชมนูขึ้นเป็น เจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี ที่สมุหพระกลาโหม พระราชทานพานทอง น้ำเต้าทอง เจียดทองซ้ายขาว กระบี่ ฝวักทองและเครื่องอุปโภคต่าง ๆ ล่าสุดได้มีการค้นพบเจดีย์บรรจุอัฐิของเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดีหรือพระราชมนูพร้อมกับภริยาที่วัดช้างให้ บ้านน้ำผึ้ง ตำบลบ้านอิฐ อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง ทำให้ได้ทราบความจริงว่าพระราชมนูนั้นมีชื่อจริงว่า เพชร หรือ เพ็ชร เมื่อสิ้นรัชสมัยของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช แล้วพระราชมนูได้ลาออกจากราชการและมาบวชจำพรรษาที่วัดช้างให้จนมรณภาพซึ่งทางกรมศิลปากรได้เตรียมเข้ามาบูรณะปฏิสังขรณ์เจดีย์บรรจุอัฐิของพระราชมนูและภร.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าพระยาอัครมหาเสนาธิบดี (พระราชมนู) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาปราบหงสาวดี

พระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าพระยาปราบหงสาวดี เดิมชื่อ พลายภูเขาทอง (มีบางบันทึกบอกว่ามีชื่อเดิมว่า "พลายมิ่งเมือง" ในคำให้การชาวกรุงเก่าเรียก "พลายพุทรากระแทก") เป็นช้างคู่พระบารมีในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลังจากขึ้นระวางแล้ว ได้บรรดาศักดิ์เป็น เจ้าพระยาไชยานุภาพ ต่อมาได้รับพระราชทานนามว่า เจ้าพระยาปราบหงสาวดี ในครั้งที่ชนะศึกยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2135 (ซึ่งในปัจจุบัน ได้เปลี่ยนมาเป็นวันที่ 18 มกราคม) ณ ตำบลท่าคอย (ซึ่งปัจจุบันเป็นตำบลดอนเจดีย์ อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี) ถูกบันทึกไว้ในพงศาวดาร เชื่อกันว่าเป็นช้างที่มีความจงรักภักดี และมีความกล้าหาญเสียสละช่วยกอบกู้ชาติให้แผ่นดิน มีลักษณะทางคชลักษณ์ที่ดี ส่วนหนึ่งได้แก่หลังที่โค้งลาด คล้ายก้านกล้วย ชื่อ พลายพุทรากระแทก หรือ พลายพุทรากระทืบ ได้มาจากในพงศาวดาร ซึ่งระบุว่า ช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรตัวเล็กกว่าพลายพัทธกอของพระมหาอุปราชา สู้แรงไม่ได้ แต่อาศัยยันโคนต้นพุทรา ทำให้แบกได้ล่าง และสมเด็จพระนเรศวรฟันด้วยพระแสงของ้าว ต้องคอของพระมหาอุปราชาขาดกับคอช้าง จากจดหมายเหตุของ de Coutre ระบุว่าเจ้าพระยาปราบหงสา ล้มลงในปี ค.ศ. 1596 (พ.ศ. 2139) หลังศึกยุทธหัตถี 4 ปี สมเด็จพระนเรศวรโปรดได้มีการสร้างเมรุ เผาศพช้างหลวงอย่างสมเกียรติยศเจ้าพระยา ถึง 7 วัน 7 คืน ชื่อ ไชยานุภาพ ได้กลายมาเป็นชื่อชุดแข่งขันของฟุตบอลทีมชาติไทยตั้งแต่เดือนมกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าพระยาปราบหงสาวดี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาปราบไตรจักร (พลายบุญเรือง)

้าพระยาปราบไตรจักร (พลายบุญเรือง) เป็นช้างทรงของสมเด็จพระเอกาทศรถ ใช้เป็นช้างทรงชนกับพลายพัชเนียง ช้างของมางจางชโร เจ้าเมืองจาปะโร ในสงครามกอบกู้กรุงศรีอยุธยา เมื่อ พ.ศ. 2135 พร้อมกับเจ้าพระยาไชยานุภาพ (พลายภูเขาทอง) ในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เจ้าพระยาปราบไตรจักร เดิมชื่อ พลายบุญเรือง มีความสูง สูง 6 ศอกคืบ 2 นิ้ว ติดน้ำมันหน้าหลัง ขึ้นระวางเป็นเจ้าพระยาปราบไตรจักร เป็นพระคชาธารในสมเด็จพระเอกาทศรถ มีหมื่นภักดีศวรเป็นกลางช้าง ขุนศรีคชคงเป็นควาญ พร้อมด้วย นายแวง จตุลังคบาท พวกทหารคู่พระทัยสำหรับรักษาพระองค์ ชื่อ ปราบไตรจักร ได้กลายมาเป็นชื่อชุดแข่งขันของฟุตบอลทีมชาติไทยตั้งแต่เดือนมกราคม..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าพระยาปราบไตรจักร (พลายบุญเรือง) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเมงอทเว

้าหญิงเมงอทเว หรือ เจ้าหญิงเจ้าภุ้นชิ่ เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าบุเรงนองกับพระสุพรรณกัลยา ซึ่งพระสุพรรณกัลยาเป็นพระพี่นางในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ เนื่องจากพระสุพรรณกัลยาทรงเป็นองค์ประกันในพม่า พระสุพรรณกัลยาจึงมีพระนามภาษาพม่าว่า อเมี๊ยวโหย่ว และเชื่อว่าเป็นมเหสีที่พระเจ้าบุเรงนองทรงโปรดปราน ส่วนพระนามของพระราชธิดา โดยได้รับพระราชทานพระนามว่า เจ้าภุ้นชิ่ ซึ่งมีความหมายว่า ผู้มีสติปัญญาและพระบารมี แต่โดยมากจะรู้จักกันในพระนาม เมงอทเว (เมง-อะ-ทเว) พระองค์นี้อันมีความหมายว่า "พระธิดาองค์สุดท้อง" (และเป็นพระธิดาองค์สุดท้ายของพระเจ้าบุเรงนองด้วย).

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าอนุวงศ์

้าอนุวงศ์ หรือ เจ้าอนุ (ສົມເດັຈພຣະເຈົ້າ​ອະນຸວົງສ໌) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์พระองค์ที่ ๕ หรือพระองค์สุดท้าย ทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นพระมหาวีรกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างและประเทศลาว นอกจากนี้ยังได้รับการยกย่องจากประชาชนชาวลาวว่า เป็นพระมหากษัตริย์ผู้พยายามกอบกู้เอกราชชาติลาวจากการเป็นประเทศราชของราชอาณาจักรสยาม ทรงปกครองราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ราว..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าอนุวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (สุรคุปต์)

้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 เป็นธิดาคนหนึ่งของพระยาราชสุภาวดี (ปาน) ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ที่สืบเชื้อสายมาแต่รามัญที่ตามเสด็จสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาเมื่อคราวประกาศอิสรภาพจากพม่า และมีบุตรหลานเข้ารับราชการสนองพระเดชพระคุณทั้งฝ่ายหน้าฝ่ายในมิได้ขาดศันสนีย์ วีระศิลป์ชั.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (สุรคุปต์) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าแม่วัดดุสิต

้าแม่วัดดุสิต เป็นพระบรมอรรคราชบรรพบุรุษของพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี เป็นพระนมชั้นเอกในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งได้รับพระราชทานตำหนักริมวัดดุสิดารามเป็นที่อาศัย จึงเป็นที่มาของคำว่าเจ้าแม่ดุสิต มีข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับชาติกำเนิดของเจ้าแม่วัดดุสิตมีมากมาย แต่ไม่ปรากฏหลักฐานอย่างแน่ชัดว่าเจ้าแม่วัดดุสิตสืบเชื้อสายมาจากผู้ใด หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ได้กล่าวไว้ในหนังสือ โครงกระดูกในตู้ โดยอ้างจากหนังสือราชินิกุลบางช้างไว้ว่า "เจ้าแม่วัดดุสิตมีศักดิ์เป็นหม่อมเจ้าในราชวงศ์พระมหาธรรมราชา ซึ่งสืบเชื้อสายมาแต่ราชวงศ์พระร่วงกรุงสุโขทัย" นอกจากนี้ ยังมีการกล่าวถึงบรรพบุรุษของเจ้าแม่วัดดุสิตไว้ว่า สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงได้ฟังคำบอกเล่าจากพระวันรัตน์ (ฉิม) ว่าเจ้าฟ้าหญิงรัศมีและเจ้าฟ้าจีกเคยตรัสเล่าว่า สมเด็จพระเอกาทศรถได้อภิเษกสมรสกับธิดาของพระยาเกียรติ์ (ขุนนางชาวมอญที่ติดตามสมเด็จพระนเรศวรมหาราช) มีธิดาคือเจ้าครอกบัว (หม่อมเจ้าบัว) และเจ้าครอกอำภัย (หม่อมเจ้าอำไพ) แต่ในหนังสือนี้ยังมีข้อความที่คลุมเครือระหว่างเจ้าครอกบัวและเจ้าครอกอำไพอยู่มาก ซึ่งทำให้สับสนว่า เจ้าแม่วัดดุสิตมีชื่อเดิมว่าอย่างไรกันแน่ บางแห่งกล่าวว่าชื่อ "หม่อมเจ้าหญิงบัว" มีเชื้อสายพระร่วงสุโขทัย บางแห่งก็กล่าวว่าชื่อ "หม่อมเจ้าหญิงอำไพ" เป็นพระราชธิดาในสมเด็จพระเอกาทศรถ อย่างไรก็ตาม หลักฐานหลายแห่งก็ไม่ได้บ่งบอกว่าสายตระกูลของเจ้าแม่วัดดุสิตนั้นสืบเชื้อสายมาจากเชื้อพระวงศ์สายไหนเช่นกัน แต่จากเอกสารพงศาวดารไทยหลายฉบับและของต่างประเทศเป็นที่ยืนยันว่าเจ้าแม่วัดดุสิตนั้นมีตัวตนอย่างแน่นอน เจ้าแม่วัดดุสิตสมรสกับขุนนางเชื้อสายมอญมีบุตรธิดา 3 คน คือ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเจ้าแม่วัดดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองชะอำ

ทศบาลเมืองชะอำ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเภทเทศบาลเมือง เดิมเป็นเทศบาลตำบลชะอำ ตั้งอยู่ในอำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และเป็นที่ตั้งของสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง คือ หาดชะอำ.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเทศบาลเมืองชะอำ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองวิเชียรบุรี

วิเชียรบุรี เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ มีพื้นที่ 26.54 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 2 ตำบล คือ ตำบลท่าโรง และตำบลสระประดู่ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเทศบาลเมืองวิเชียรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร

ตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร เป็นแหล่งมรดกโลกของประเทศไทยโดยการขึ้นทะเบียนของยูเนสโกร่วมกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ภายใต้ชื่อ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง เมื่อปี..

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

เขตตะนาวศรี

ตะนาวศรี (တနင်္သာရီတိုင်းဒေသကြီး, ตะนี้นตายี; ဏၚ်ကသဳ หรือ တနၚ်သြဳ) เป็นเขตที่ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศพม.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเขตตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

18 มกราคม

วันที่ 18 มกราคม เป็นวันที่ 18 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 347 วันในปีนั้น (348 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ18 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

25 มกราคม

วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ25 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

25 เมษายน

วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ25 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

26 เมษายน

วันที่ 26 เมษายน เป็นวันที่ 116 ของปี (วันที่ 117 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 249 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ26 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

29 กรกฎาคม

วันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันที่ 210 ของปี (วันที่ 211 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 155 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ29 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วันสมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระสรรเพชญที่ 2สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 2สมเด็จพระนเรศวรพระองค์ดำพระนเรศพระนเรศวรพระนเรศวรมหาราชพระนเรศวร์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »