โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สภาสถาปนิกไทย

ดัชนี สภาสถาปนิกไทย

ตราสัญลักษณ์สภาสถาปนิก ในประเทศไทย, สภาสถาปนิก (Architect Council of Thailand หรือชื่อเดิม Council Of Architects) คือองค์กรควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรมที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาปนิก..

27 ความสัมพันธ์: บัณฑิต จุลาสัยพงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์การผังเมืองภูมิสถาปัตยกรรมรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวรรณพร พรประภาสภาวิศวกรสภาสถาปนิก (แก้ความกำกวม)สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทยสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์สถาบันสถาปนิกอเมริกันสถาปัตยกรรมภายในสถาปัตยกรรมศาสตร์สถาปนิกหลักสูตรออกแบบตกแต่งภายในในประเทศไทยอริยา อรุณินท์อาวุธ เงินชูกลิ่นอำพน กิตติอำพนผู้ตรวจสอบอาคารจามรี อาระยานิมิตสกุลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดวงฤทธิ์ บุนนาคใบอนุญาตประกอบวิชาชีพใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมไขศรี ภักดิ์สุขเจริญเดชา บุญค้ำ

บัณฑิต จุลาสัย

ตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย เกิดเมื่อวันที่ 28 มีนาคม..

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและบัณฑิต จุลาสัย · ดูเพิ่มเติม »

พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ (3 กันยายน 2497 -) หรือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ ดำรงตำแหน่งคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปัจจุบัน(พ.ศ. 2554-) อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตผู้อำนวยการ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(พ.ศ. 2552-2554) อดีตหัวหน้าภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม (พ.ศ. 2540-2545) อดีตนายกสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย(พ.ศ. 2542 – 2544) อดีตกรรมการสภาสถาปนิกตัวแทนสาขาภูมิสถาปัตยกรรม 2 วาระ (พ.ศ. 2547-2550)และ(พ.ศ. 2550-2553) การศึกษาจบปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยบริทิชโคลัมเบีย เมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา ในสาขาเกี่ยวกับการวางแผนชุมชนและภูมิภาค อาจารย์มีผลงานการวิจัยและวางแผนหลายชิ้น ทั้งในนามของภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม และสถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม ปัจจุบัน ผ.พงศ์ศักดิ์ ยังเป็นประธานสภาสถาปนิกอาเซียน (ASEAN Architect Council -AAC).

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและพงศ์ศักดิ์ วัฒนสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

การผังเมือง

การผังเมือง หรือ การวางแผนชุมชนเมือง (Urban planning) เป็นศาสตร์หนึ่ง เกี่ยวข้องกับสหสาขาวิชา เช่น การวางแผน กฎหมาย สถาปัตยกรรม สังคมศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม วิศวกรรมจราจร เพื่อเป็นการกำหนดนโยบาย กฎหมาย เกณฑ์ ระเบียบ การจัดวางผังและแผนการใช้พื้นที่ของเมือง ชุมชน โครงข่ายการจราจร ผู้จัดทำผังเมือง เรียกว่า นักผังเมือง การวางผังเมืองมีหลายระดับ ตั้งแต่ ผังชุมชน ผังเมืองเฉพาะ ผังเมืองรวม ผังภาค จนถึงผังประเทศ โดยมีความละเอียดของการวางแผนที่ต่างกัน จากการออกแบบกายภาพ การใช้ที่ดิน(กำหนดโดยการใช้สี เช่น สีแดง หมายถึงย่านพานิชยกรรม สีเหลือง หมายถึงที่พักอาศัยหนาแน่นน้อย เป็นต้น) ความหนาแน่น โครงข่าย/ระบบจราจรและขนส่ง หรือพื้นที่สีเขียว/สวนสาธารณะ มักมีประกาศกฎเกณฑ์ประกอบแผนในรูปกฎหมายประกอบอยู่ด้วย ในประเทศไทยหน่วยงานของรัฐฯที่เป็นองค์กรหลักในการจัดทำผังเมืองคือ กรมโยธาธิการและผังเมือง ส่วนกรุงเทพมหานครได้รับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น กำหนดให้มีหน่วยงานที่ดูแลจัดทำผังเมืองของตนเอง คือ สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ได้มีการกำหนดให้วันที่ 8 พฤศจิกายน ของทุกปี เป็น "วันผังเมืองโลก" (World Town Planning Day) โดยมีองค์กรหลักที่เกี่ยวข้องคือ The International Society of City and Regional Planners (IsoCaRP) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ และ The America Institute of Certified Planners (AICP) เป็นศูนย์กลางด้านวิชาการวางผังเมืองนานาชาต.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและการผังเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิสถาปัตยกรรม

วนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ ตัวอย่างงานภูมิสถาปัตยกรรมประเภทสวนสาธารณะส่วนที่เป็นสวนแบบ "รูปนัย" ภูมิสถาปัตยกรรม (landscape architecture) อ่านออกเสียงว่า "พู-มิ-สะ-ถา-ปัด-ตะ-ยะ-กัม" เป็นศิลปะและวิทยาศาสตร์ว่าด้วยการออกแบบวางแผน การอนุรักษ์และจัดการพื้นที่ใช้สอยภายนอกอาคาร รวมทั้งพื้นที่บางส่วนภายในหรือบนดาดฟ้าอาคารเพื่อความผาสุก สวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชน.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและภูมิสถาปัตยกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วรรณพร พรประภา

วรรณพร พรประภา หรือนามสกุลเดิม ล่ำซำ เป็นภูมิสถาปนิกและสถาปนิกเจ้าของสำนักงานออกแบบ โดยดำรงตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท PLA (บริษัท พี แลนด์สเคป จำกัด) บุตรโพธิพงษ์ ล่ำซำ และน้องสาวนวลพรรณ ล่ำซำ.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและวรรณพร พรประภา · ดูเพิ่มเติม »

สภาวิศวกร

วิศวกร จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิศวกร..

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและสภาวิศวกร · ดูเพิ่มเติม »

สภาสถาปนิก (แก้ความกำกวม)

ปนิก อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและสภาสถาปนิก (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย

มาพันธ์สภาวิชาชีพ เป็นกลุ่มเครือข่ายของสภาวิชาชีพ ได้แก่ แพทยสภา สภาการพยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา สภาวิศวกร สภาสถาปนิก สภาเทคนิคการแพทย์ สภากายภาพบำบัด และยังเตรียมเชิญสภาทนายความ และสภาวิชาชีพอื่น ๆ เข้าร่วมด้ว.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและสมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย

ตราสัญลักษณ์สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย หรือ Thai Association of Landscape Architects (เรียกย่อๆว่า TALA) เป็นสมาคมวิชาชีพ 1 ใน 4 สาขาหลักของสภาสถาปนิก ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์

ัญลักษณ์สมาคมสถาปนิกสยาม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Association of Siamese Architects under the Royal Patronage of His Majesty the King) หรือ อาษา (ASA) เป็นสมาคมของบุคคลในวิชาชีพสถาปนิกและผู้ที่สนใจในงานสถาปัตยกรรมของประเทศไทย โดยเป็นหนึ่งในสี่สมาคมวิชาชีพออกแบบสถาปัตยกรรม สมาคมสถาปนิกสยาม เป็นสมาคมที่มีลักษณะเป็นนิติบุคคล.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันสถาปนิกอเมริกัน

ห้องสมุดของเอไอเอ สถาบันสถาปนิกอเมริกัน (The American Institute of Architects) หรือย่อว่า เอไอเอ (AIA) เป็นองค์กรวิชาชีพที่ทำหน้าที่จรรโลงและพัฒนาวิชาชีพสถาปัตยกรรมของสหรัฐอเมริกาแต่ไม่มีอำนาจควบคุมสถาปนิกตามกฎหมาย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2400 (ค.ศ. 1857) สถาบันนี้ทำหน้าที่ในการสนับสนุนการปฏิบัติวิชาชีพ แลกเปลี่ยนความรู้ จัดกิจกรรมเพื่อยกระดับความสามารถของสมาชิก จัดทำมาตรฐานระเบียบปฏิบัติวิชาชีพ จัดรางวัลดีเด่นด้านต่างๆ ในการออกแบบสถาปัตยกรรม เอไอเอมีสถานะเทียบเท่าสมาคมวิชาชีพเช่นเดียวกับสมาคมสถาปนิกสยามในประเทศไทย ส่วนองค์กรควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรมของสหรัฐฯ ที่ทำหน้าที่ตามกฎหมายคล้ายสภาสถาปนิกของประเทศไทยมีชื่อว่า "สมัชชาจดทะเบียนสถาปัตยกรรมแห่งชาติ" (National Council of Architectural Registration Board - NCARB) ประกอบด้วยผู้แทนจากรัฐต่างๆ ร่วมเป็นสมัชชา ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ของเอไอเออยู่ที่ วอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและสถาบันสถาปนิกอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมภายใน

ปัตยกรรมภายในเป็นงานสถาปัตยกรรมสาขาหนึ่งที่แยกออกมาจาก สถาปัตยกรรมหลัก (อาคาร) ความหมายของคำว่า สถาปัตยกรรมภายใน จะมีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า "ออกแบบตกแต่งภายในและมัณฑนศิลป์" ซึ่งมีความหมายค่อนข้างตรงตัวอยู่แล้ว สถาปัตยกรรมภายใน น่าจะหมายรวมถึง "การก่อเกิดความงามที่ยังประโยชน์ แฝงความหมายแห่งศิลปกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม เพื่อตอบสนองการใช้งานของมนุษย์ ที่เป็นผู้ใช้สอยพื้นที่ว่างภายในอาคาร (space) มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (human and environment) โดยเกี่ยวโยงถึงการพิจารณาถึงระยะและขนาดเนื้อที่ต่างๆ อันเกี่ยวข้องกับ สัดส่วนของมนุษย์ (human scale in architecture) ความต้องการระยะและเนื้อที่ใช้สอยภายในอาคาร (human scale) อันจะเกี่ยวพันกับการ ยืน เดิน นั่ง นอน และการที่มนุษย์จะทำกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ว่างของอาคาร การที่จะออกแบบให้อาคารมีรูปแบบและพื้นที่เพื่อตอบสองการใช้งานของมนุษย์ โดยการเลือกใช้วัสดุต่างๆ ตามคุณสมบัติมาใช้งานให้ก่อเกิดเป็นรูปร่าง ทั้ง พื้น ผนัง เพดาน ทั้งสามมิติ และห่อหุ้มพื้นที่ว่างเอาไว้ให้มนุษย์ได้ใช้งาน ทั้งจากร่างกาย และสายตา รวมถึงอารมณ์ ความรู้สึก ผ่านรูปแบบ สีสัน ผิวสัมผัส (Texture)ของวัสดุต่างๆ อาจหมายรวมให้กว้างไปถึงงานระบบต่างๆที่เข้ามามีส่วนร่วมกับการใช้อาคาร เช่น แสง สี เสียง และระบบวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลายที่กล่าวมาพอจะประกอบรวมกัน เป็นคำว่า สถาปัตยกรรมภายใน ในยุคสมัยปัจจุบันได้ หรืออาจกล่าวสั้นๆได้คือ "การออกแบบพื้นที่ว่างภายในอาคาร (space) และการเลือกใช้วัสดุมาก่อสร้างเพื่อห่อหุ้มพื้นที่ว่างภายในอาคารเพื่อตอบสนองการใช้งานของมนุษย์(human scale) รวมถึงการประดับตกแต่ง ศิลปะแขนงต่างๆ (arts)" "ถ้ากล่าวถึงการประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายใน" ในประเทศไทยก็ให้ยึดถือเอาตามสภาสถาปนิก ถ้ากล่าวถึงความหมายแต่อย่างเดียวมิใช้การประกอบวิชาชีพควบคุม "ให้ยึดถือข้างต้นเป็นหลัก" ในประเทศไทยสถาปัตยกรรมภายใน เป็นสาขาวิชาชีพควบคุม อยู่ภายใต้ สภาสถาปนิก คำจำกัดความของสถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ ถูกระบุใน พรบ.สถาปนิก 2543 และ กฎกระทรวงว่าด้วยการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม..

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและสถาปัตยกรรมภายใน · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมศาสตร์

ปัตยกรรมศาสตร์ เป็นการศึกษาสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานเทคนิควิทยาการทั้งทางวิทยาศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม เข้าด้วยกัน เพื่อตอบสนองความต้องการในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่อาศัย วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่นั้น สนองตอบในเชิงจิตวิทยา ซึ่งผู้ออกแบบต้องเข้าใจความต้องการในการใช้พื้นที่นั้น ๆ อย่างลึกซึ้งอันมีผลกับการออกแบบที่ดี และไม่ดี หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นศิลปวิทยาการ ในการออกแบบอาคารและสิ่งเกี่ยวเนื่อง เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้เหมาะสมในการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยครอบคลุมตั้งแต่ระดับมหัพภาค ถึงจุลภาค เช่น การวางผังชุมชน การออกแบบชุมชน ภูมิสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องรูปแบบศิลปะ เรื่องของชุมชน เรื่องของพฤติกรรมมนุษย์ และเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้องอีกมากมาย ถือเป็นศาสตร์ที่มีศาสตร์อื่นมาเกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก จนยากที่จะสรุปลงไปได้ว่ามี ศาสตร์สาขาใดมาเกี่ยวข้องบ้าง.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและสถาปัตยกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปนิก

ร่างสถาปนิก กับงานออกแบบ สถาปนิก คือบุคคลผู้เกี่ยวข้องในการออกแบบ และ วางแผน ในการก่อสร้าง หรือที่เรียกว่างานสถาปัตยกรรม โดยสถาปนิก จะเป็นผู้ที่เข้าใจในมาตรฐานการก่อสร้างของอาคาร เข้าใจถึงหน้าที่ใช้สอยของอาคารนั้น รวมถึงวัสดุที่จะนำมาเป็นส่วนประกอบของสิ่งก่อสร้างนั้น สถาปนิกจำเป็นต้องได้รับการศึกษาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม ถึงจะสามารถทำงานในวิชาชีพสถาปนิกได้ ซึ่งคล้ายกับการทำงานในสาขาวิชาชีพอื่น สถาปก คำเก่าของคำว่าสถาปนิก ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เป็นศัพท์ภาษาสันสกฤต หมายถึง ผู้สร้าง, ผู้ก่อตั้ง ในเอกสารโบราณก่อนสมัยรัตนโกสินทร์เคยปรากฏคำ "สถาบก" หมายถึง การสร้าง หรือผู้สร้าง รางวัลที่น่ายกย่องของสถาปนิกที่รู้จักในฐานะผู้ก่อสร้างอาคารได้แก่ รางวัลพลิตซ์เกอร์ ซึ่งมักจะถูกเปรียบเทียบเหมือนกับ "รางวัลโนเบลในทางสถาปัตยกรรม".

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและสถาปนิก · ดูเพิ่มเติม »

หลักสูตรออกแบบตกแต่งภายในในประเทศไทย

วิชาการออกแบบตกแต่งภายในและสถาปัตยกรรมภายใน ในประเทศไท.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและหลักสูตรออกแบบตกแต่งภายในในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

อริยา อรุณินท์

รองศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและอริยา อรุณินท์ · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธ เงินชูกลิ่น

ลอากาศตรี ศาสตราภิชานอาวุธ เงินชูกลิ่น (22 มีนาคม พ.ศ. 2485 — 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556) เป็นสถาปนิกชาวไทย อดีตอธิบดีกรมศิลปากร อาจารย์พิเศษในหลายมหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญด้านออกแบบสถาปัตยกรรมไทย หัวหน้าผู้ออกแบบพระเมรุ ในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพถึง 3 ครั้ง ได้แก่ พระเมรุ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ ท้องสนามหลวง พล.อ.ต.อาวุธ ยังได้ออกแบบงานสถาปัตยกรรมที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยในงานออกแบบถึง 2 งานหลักๆ ได้แก่ วัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ยังเป็นผู้รับผิดชอบในการบูรณะปฏิสังขรณ์ โบราณสถานแห่งชาติที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็นงานงานบูรณะมณฑป โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร ในปี.ศ 2539 ให้เป็นมณฑปสีดำ หรือหุ้มด้วยทองแดง ยอดพระมหามณฑป วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร จนต่อมาได้รับการยกย่องให้เป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (ประยุกต์ศิลป์) สาขาย่อย สถาปัตยกรรม ประจำปี..

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและอาวุธ เงินชูกลิ่น · ดูเพิ่มเติม »

อำพน กิตติอำพน

อำพน กิตติอำพน (10 ตุลาคม 2498 -) ประธานกรรมการคณะกรรมการบริหารสำนักงานและผู้อำนวยการ สำนักงานบริหารนโยบายของนายกรัฐมนตรี ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีตาม คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 183/2559 กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐศาสตร์ในคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย อดีตเลขาธิการคณะรัฐมนตรีและอดีตกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการนอกจากนี้ยังดำรงตำแหน่งประธานกรรมการธนาคารแห่งประเทศไทยถึง 2 สมัย ประธานกรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) สว.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและอำพน กิตติอำพน · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ตรวจสอบอาคาร

ผู้ตรวจสอบอาคาร คือผู้ที่ประกอบวิชาชีพเป็นผู้ตรวจสอบอาคาร ตามที่ พระราชบัญญัติควบคุมอาคารกำหนด มีหน้าที่เข้าตรวจสอบอาคาร โดยตรวจสอบเรื่องโครงสร้างอาคาร ความปลอดภัยในการใช้อาคาร การดัดแปลงต่อเติม ระบบแจ้งเหตุเพลิงใหม้ ระบบดับเพลิง ป้ายทางออกฉุกเฉิน ทางหนีไฟ ระบบไฟฟ้า และแผนบริหารจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน เป็นต้น เพื่อจัดทำเป็นรายงานการตรวจสอบอาคารให้กับเจ้าพนักงานท้องถิ่น ประกอบการพิจารณาอนุญาตใช้อาคารนั้น.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและผู้ตรวจสอบอาคาร · ดูเพิ่มเติม »

จามรี อาระยานิมิตสกุล

รองศาสตราจารย์ จามรี อาระยานิมิตสกุล (1 มีนาคม 2498 —) อาจารย์ประจำภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอดีตรองคณบดี ฝ่ายบริการวิชาการของคณะ กรรมการสภาสถาปนิก ชุดที่ 4 (2553-2556) ในสาขาภูมิสถาปัตยกรรม มีผลงานการออกแบบวางผัง และคู่มือการพัฒนาภูมิทัศน์ให้แก่หน่วยงานราชการ เช่น อุทยานแห่งชาติ ภูมิทัศน์ทางหลวง/ทางหลวงชนบท และเมืองเพื่อการท่องเที่ยวต่าง ๆ ในอดีตเคยเป็นนายกสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย มีผลงานจัดการประชุมนานาชาติทางภูมิสถาปัตยกรรมในประเทศไทย ซึ่งประสบผลสำเร็จเป็นอย่างมาก อาจารย์จามรีจบปริญญาโท สาขาภูมิสถาปัตยกรรม จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและจามรี อาระยานิมิตสกุล · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ดวงฤทธิ์ บุนนาค

วงฤทธิ์ บุนนาค (เกิด วันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2509 -) (ชื่อเล่น: ด้วง) เป็นสถาปนิกและนักออกแบบชาวไทย ผู้ก่อตั้ง บริษัท ดวงฤทธิ์ บุนนาค จำกัด ดวงฤทธิ์เป็นที่รู้จักในฐานะนักออกแบบในสไตล์โมเดิร์นเรียบง่าย โดยเฉพาะการออกแบบอาคารทรงสี่เหลี่ยมและการเล่นกับองค์ประกอบทางธรรมชาติ มีผลงานตัวอย่างเช่น โรงแรมคอสต้าลันตา, โรงแรมเดอะนาคา, ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) และ เดอะแจมแฟคทอรี.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและดวงฤทธิ์ บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ เป็นใบอนุญาตให้สามารถประกอบวิชาชีพนั้น ๆ ตามสาขาที่เรียนมา โดยผู้ที่จะได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะต้องมีคุณสมบัติตามที่องค์กรออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพกำหนดไว้ ผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะไม่สามารถประกอบวิชาชีพนั้น ๆ ได้ ถ้าฝ่าฝืนจะมีโทษตามที่องค์กรวิชาชีพแต่ล่ะองค์กรกำหนดไว้.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ · ดูเพิ่มเติม »

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม ระดับวุฒิสถาปนิก แนวความคิดในการควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรมแต่ละสาขา ใบประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม หรือเดิม (ก่อน พ.ร.บ. สภาสถาปนิก 2543) เรียกย่อว่า ก.. เป็นเอกสารรับรองของสถาปนิกในการออกแบบและเซ็นรับรองแบบ ที่รับรองโดยสภาสถาปนิก ในปัจจุบันมีอยู่ 4 สาขาด้วยกันได้แก่ สถาปัตยกรรมหลัก สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ สถาปัตยกรรมผังเมือง และ ภูมิสถาปัตยกรรม ใบประกอบวิชาชีพฯมี 4 ระดับเรียงจากสูงไปต่ำ คือ วุฒิสถาปนิก สามัญสถาปนิก ภาคีสถาปนิก และ สถาปนิกภาคีพิเศษขอบเขตงานที่ควบคุมในสาขาต่างๆ ถูกกำหนดไว้โดยในกฎกระทรวง (พ.ศ. 2549) ว่าด้วยการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม กฎกระทรวงการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมนี้ ได้มีการกำหนดให้งานสถาปัตยกรรมควบคุมสาขาต่างๆ ทั้ง 4 สาขานั้น ผู้ดำเนินการงานออกแบบ ให้คำปรึกษา ตรวจสอบ ศึกษาโครงการ บริหารและอำนวยการก่อสร้าง ต้องเป็นสถาปนิก (แต่ละสาขา) ที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในระดับขั้นต่างๆกันไป ตามขอบเขตของงาน.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและไขศรี ภักดิ์สุขเจริญ · ดูเพิ่มเติม »

เดชา บุญค้ำ

ตราจารย์กิตติคุณ เดชา บุญค้ำ (เกิด 13 ตุลาคม พ.ศ. 2482 -) ราชบัณฑิต ประเภทวิชาสถาปัตยศิลป์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม สำนักศิลปกรรมศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภูมิสถาปัตยกรรม) ประจำปี 2549 ภูมิสถาปนิกคนสำคัญของเมืองไทย ผู้บุกเบิกด้านการศึกษาและวิชาชีพภูมิสถาปัตยกรรมของประเทศไทย ได้ออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรมที่สำคัญหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์เขตต่างๆ, สวนหลวง ร.๙, อุทยานเบญจสิริ, สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ และอื่นๆ รวมทั้งงานภูมิทัศน์วัดโสธรวรารามวรวิหาร ผังแม่บทภูมิทัศน์เดิมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (พ.ศ. 2537) เป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี..

ใหม่!!: สภาสถาปนิกไทยและเดชา บุญค้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

สภาสถาปนิก

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »