โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สตาร์พิกส์

ดัชนี สตาร์พิกส์

ตาร์พิคส์ เป็นนิตยสารเกี่ยวกับภาพยนตร์รายปักษ์ ที่ออกทุก 15 วัน ถือเป็น นิตยสารหนังฝรั่งเล่มแรกของประเทศไทย เริ่มผลิตตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2508 โดย สุชาติ เตชศรีสุธี ในปัจจุบันอยู่ภายใต้การดูแลของบุตรสาวในตำแหน่งบรรณาธิการบริหาร บุษบา เตชศรีสุธี คอลัมน์ในนิตยสาร เช่นหนังที่กำลังเข้าโรง จุดเด่นของสตาร์พิคส์คือ ภาพโปสเตอร์สวยๆ ทั้งจากตัวหนังและดารา เพราะว่าเป็นหนังสือหนังที่ถือกำเนิดมาจากโรงพิมพ์ห้องภาพสุวรรณ ที่จัดทำรูปดาราขายเป็นหลักมาก่อน ในปัจจุบันมีร้านจำหน่ายภาพและของที่ระลึกจากภาพยนตร์ของสตาร์พิกส์ อยู่หลายสาขา ส่วนคอลัมน์อื่นเช่นคอลัมน์หนังคลาสสิก ของ ประวิทย์ แต่งอักษร เป็นเรื่องราวของหนังดีในอดีตในเชิงวิชาการ, มี Steadtler Art Club ที่ส่งเสริมการวาดภาพ ซึ่งเป็นคอลัมน์ที่มีมานานตั้งแต่ยุคแรกๆ นอกจากนี้ยังมีบทความพิเศษในส่วนของหนังอื่นๆ ที่น่าสนใจ เช่น หนังนานาชาติต่างๆ และบทสัมภาษณ์ ที่ให้ความสำคัญกับบุคคลในวงการหนังไทยที่กำลังมีผลงานในช่วงนั้นๆ ด้ว.

14 ความสัมพันธ์: ภาพยนตร์ไทยมาริโอ้ เมาเร่อรักแห่งสยามรางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยมรางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมรางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยมรางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2554รางวัลที่ภาพยนตร์เรื่องรักแห่งสยามได้รับรถไฟฟ้า มาหานะเธอหนึ่งใจ..เดียวกันธีรเดช วงศ์พัวพันธ์นะโม ทองกำเหนิดแบรนด์นิว ซันเซท

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มาริโอ้ เมาเร่อ

มาริโอ้ เมาเร่อ (Mario Maurer) ชื่อเล่น โอ้ เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2531 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยได้รับการติดต่อจากโมเดลลิ่งในสยามสแควร์ โดยเริ่มจากงานถ่ายแบบ ถ่ายโฆษณา เช่น โฆษณาเอ็กซิท โรลออน ขนมแจ็ค เดอะพิซซ่าคอมปานี และยังได้ถ่ายแบบอยู่เรื่อยมา อย่าง เธอกับฉัน และหนังสือวัยรุ่นอีกหลายเล่มและถ่ายมิวสิกวิดีโอ อีกหลายตัวเช่น กุญแจที่หายไป ของ ปาล์มมี่, ปากดีขี้เหงาเอาแต่ใจ ของ มิล่า เป็นต้น จนในปี 2550 มีผลงานสร้างชื่อจากภาพยนตร์ไทยเรื่อง รักแห่งสยาม ซึ่งจากบทบาท "โต้ง" ใน รักแห่งสยาม นี้ มาริโอ้ได้รับรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม จากนิตยสารสตาร์พิกส์ รับรางวัลจากเทศกาลหนังซีเนมะนิลา ที่จัดขึ้นที่ประเทศฟิลิปปินส์ สาขานักแสดงชายยอดเยี่ยม ประเภทภาพยนตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงจาก รางวัลเอเชียนฟิล์ม สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม อีกทั้งยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิงครั้งที่ 16 ประจำปี 2550 ในสาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม และรางวัลสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส ครั้งที่ 6 ในสาขาผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม มาริโอ้ได้ร่วมงานกิจกรรมการกุศลอยู่หลายครั้ง รวมถึงยังเป็นพรีเซนเตอร์ ในวันงดสูบบุหรี่โลก ประจำปี..

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และมาริโอ้ เมาเร่อ · ดูเพิ่มเติม »

รักแห่งสยาม

รักแห่งสยาม เป็นภาพยนตร์ไทย กำกับโดย ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล นำแสดงโดย สินจัย เปล่งพานิช, เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์, ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี, มาริโอ้ เมาเร่อ และ วิชญ์วิสิฐ หิรัญวงษ์กุล มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรัก และการค้นหาตัวตน ผ่านมุมมองของเด็กชายสองคน โดยมีสยามสแควร์เป็นสถานที่เชื่อมโยงเรื่องราวทั้งหมด ซึ่งการถ่ายทำเป็นไปอย่างยากลำบาก เนื่องจากสยามสแควร์เป็นสถานที่ซึ่งมีผู้คนพลุกพล่านเป็นอุปสรรคต่อการถ่ายทำ การประชาสัมพันธ์ภาพยนตร์ก่อนการออกฉาย นำเสนอว่าเป็นภาพยนตร์เกี่ยวกับความรักใส ๆ ของวัยรุ่นหญิงชาย แต่เมื่อภาพยนตร์ออกฉายจริง กลับมีเนื้อหาเกี่ยวกับความสับสนในจิตใจของวัยรุ่นชาย รวมถึงมีฉากล่อแหลม ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง ส่วนเสียงตอบรับในด้านกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์นั้นก่อให้เกิดข้อถกเถียงทั้งในแง่บวกและแง่ลบ ภาพยนตร์ออกฉายเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยทำรายได้ในสัปดาห์แรก 18.5 ล้านบาท และปิดรายได้รวมที่ 42 ล้านบาท นอกจากนั้นยังมีการฉายในฉบับ “Director's Cut” มีความยาวประมาณ 3 ชั่วโมงเศษ ที่โรงภาพยนตร์เฮาส์ อาร์ซีเอ และจากกระแสตอบรับที่ดีของภาพยนตร์เรื่องนี้ จึงมีกิจกรรมเพิ่มเติมสำหรับผู้ที่ชื่นชอบและทีมงาน เช่น รอบพิเศษ ที่โรงภาพยนตร์สกาลา สยามสแควร์ เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม..

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และรักแห่งสยาม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม

รางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม เป็นรางวัลที่จัดเป็นประจำทุกปีโดยนิตยสาร Starpics โดยเริ่มจัดเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และรางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม

รางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม เป็นรางวัลที่จัดเป็นประจำทุกปีโดยนิตยสาร Starpics โดยเริ่มจัดเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และรางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม

รางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม เป็นรางวัลที่จัดเป็นประจำทุกปีโดยนิตยสาร Starpics โดยเริ่มจัดเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และรางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม

รางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม เป็นรางวัลที่จัดเป็นประจำทุกปีโดยนิตยสาร Starpics โดยเริ่มจัดเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และรางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มอะวอดส์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2554

รางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 9 ประจำปี..

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และรางวัลสตาร์พิคส์ ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลที่ภาพยนตร์เรื่องรักแห่งสยามได้รับ

นักแสดงและทีมงานภาพยนตร์ “รักแห่งสยาม” ถ่ายภาพร่วมกันในงานสตาร์เอนเตอร์เทนเมนต์อวอร์ดส 2007 นักแสดงและทีมงานภาพยนตร์ “รักแห่งสยาม” ถ่ายภาพร่วมกัน พร้อมถือรางวัล “สตาร์พิคส์ อวอร์ด” ที่ได้รับมาทั้งหมด 9 รางวัล รางวัลที่ภาพยนตร์เรื่องรักแห่งสยามได้รับ รางวัลแรกคือ รางวัลหนังแห่งปี พ.ศ. 2550 จากนิตยสารไบโอสโคป ด้วยเหตุผล "ท้าทายสังคม ทั้งในแง่ประเด็นหนัง การนำเสนอ ที่สะท้อนภาพสังคมไทยในยุคนี้ รวมถึงความกล้าในการทำหนังรักดราม่าความยาวกว่าสองชั่วโมงครึ่ง ที่หาดูได้ยากในตลาดหนังไทยยุคปัจจุบัน" และได้รับรางวัลร่วมกับหนังอีก 3 เรื่อง อย่าง Final Score 365 วัน ตามติดชีวิตเด็กเอ็นท์, มะหมา 4 ขาครับ และแสงศตวรรษ ซึ่งการมอบรางวัลไบโอสโคปอวอร์ดสนี้มีการมอบมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 การมอบรางวัลคมชัดลึกอวอร์ดครั้งที่ 5 รักแห่งสยาม ได้รับรางวัล ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม และยังคว้ารางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (สินจัย เปล่งพานิช) ทางด้านการแจกรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ภาพยนตร์ รักแห่งสยาม ได้รับ 3 รางวัลคือ รางวัลผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์),รางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล) และรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ส่วนรางวัลจากนิตยสารและหนังสือพิมพ์ที่มอบให้ภาพยนตร์เรื่อง รักแห่งสยาม เช่น อันดับ 1 หนังกระแสร้อนแห่งปี 2550 หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ รางวัลสุดยอดแห่งปี 2007 จากผู้อ่านนิตยสารฟลิกส์ ในสาขาหนังไทย และ ดาราหญิง (สินจัย เปล่งพานิช), รางวัลจากนิตยสารเอนเตอร์เทน ในสาขา ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับยอดเยี่ยม นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (สินจัย เปล่งพานิช), รางวัลจากนิตยสารแฮมเบอร์เกอร์ 3 สาขาด้วยกัน ได้แก่ ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม, ผู้กำกับยอดเยี่ยม (ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล) และ นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (สินจัย เปล่งพานิช) นอกจากนี้ ในการประกาศผลรางวัลสตาร์พิกส์ไทยฟิล์มสอวอร์ดส ครั้งที่ 5 ซึ่งจัดขึ้นโดยนิตยสารสตาร์พิกส์ รักแห่งสยามยังได้รับรางวัลมากถึง 9 รางวัล จากรางวัลทั้งหมด 12 รางวัล ได้แก่ รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล) นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (มาริโอ้ เมาเร่อ) นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (สินจัย เปล่งพานิช)นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม (ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี) บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล) กำกับภาพยอดเยี่ยม (จิตติ เอื้อนรการกิจ) ดนตรีประกอบยอดเยี่ยม (กิตติ เครือมณี)และภาพยนตร์ยอดนิยม.

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และรางวัลที่ภาพยนตร์เรื่องรักแห่งสยามได้รับ · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฟ้า มาหานะเธอ

รถไฟฟ้า มาหานะเธอ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก-คอมเมดี้ ออกฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดยอดิสรณ์ ตรีสิริเกษม กำกับภาพโดยจิระ มะลิกุล ได้รับการจำแนกให้อยู่ในประเภท "ท" (ภาพยนตร์ที่เหมาะสมกับผู้ดูทั่วไป) นำแสดงโดยธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ คริส หอวัง และอังศุมาลิน สิรภัทรศักดิ์เมธา ภาพยนตร์นำเสนอในมุมมองของ "เหมยลี่" พนักงานบริษัทสาวโสดวัย 30 ปี ที่พบรักกับวิศวกรรถไฟฟ้าของรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานที่ถ่ายทำส่วนใหญ่ถ่ายทำในรถไฟฟ้า สถานีรถไฟฟ้า บริษัทรถไฟฟ้าบีทีเอส รวมถึงสถานที่อื่นในกรุงเทพมหานครอย่างถนนจันทน์ สองฝั่งคลองริมแม่น้ำเจ้าพระยา พระที่นั่งอนันตสมาคม เยาวราช ท้องฟ้าจำลอง เป็นต้น ภาพยนตร์ได้รับการตอบรับอย่างดี เปิดตัวรายได้ในวันแรกที่ 15.1 ล้านบาท ทำลายสถิติรายได้วันเปิดตัวในปีนี้ของภาพยนตร์ ห้าแพร่ง ที่ 14.9 ล้านบาท ติดอันดับ 1 ยาวนาน 4 สัปดาห์ ทำรายได้รวม 145.82 ล้านบาท นอกจากนั้นภายหลังภาพยนตร์ฉายยังมีออกในรูปแบบการ์ตูน ส่วนด้านรางวัลที่ภาพยนตร์เรื่อง รถไฟฟ้า มาหานะเธอ ได้รับ คือสาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จาก 2 สถาบันคือรางวัลขวัญใจสื่อมวลชนและท็อปอวอร์ด 2009 รวมถึงยังได้รับรางวัล ภาพยนตร์ยอดนิยมจากสตาร์พิกส์อวอร์ด ส่วนในด้านรางวัลการแสดง คริส หอวัง ได้รับรางวัลประเภทนักแสดงหญิงยอดเยี่ยมจากหลายสถาบัน.

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และรถไฟฟ้า มาหานะเธอ · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งใจ..เดียวกัน

หนึ่งใ..เดียวกัน (Where The Miracle Happens) เป็นภาพยนตร์ไทยในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี กำกับโดย สิริปปกรณ์ วงศ์จริยวัตร นำแสดงโดย ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนฯ, ศุกลวัฒน์ คณารศ, ศิรพันธ์ วัฒนจินดา, นิศารัตน์ อภิรดี, ซีแนม สุนทร, รอง เค้ามูลคดี, สมชาย ศักดิกุล และ วิทยา เจตะภัย (ถนอม สามโทน) เป็นภาพยนตร์แนวดราม่า สร้างสรรค์สังคม จากบทพระนิพนธ์ เรื่องสั้นที่...ฉันคิด ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนฯ มีเนื้อหากล่าวถึงผู้หญิงคนหนึ่งที่ค้นหาความสุขที่แท้จริงของชีวิต โดยเริ่มต้นที่ เพียงหลวง โรงเรียนเล็ก ๆ ที่รายล้อมด้วยธรรมชาติ หนึ่งใ..เดียวกัน ได้แถลงข่าวภาพยนตร์เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ที่โรงละครอักษรา คิง พาวเวอร์ คอมเพล็กซ์ รายได้จากภาพยนตร์เรื่องนี้จะนำไปสมทบทุนโครงการ มิราเคิลออฟไลฟ์ เป็นโครงการช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษาและขาดโอกาสทางสังคม สืบเนื่องจากทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงตระหนักถึงปัญหาการด้อยโอกาสทางการศึกษาของเด็กไทย นอกจากการประชาสัมพันธ์ภายในประเทศแล้ว ภาพยนตร์เรื่องนี้ ยังได้มีการประชาสัมพันธ์ในต่างประเทศ อาทิ ที่เมืองคานส์ ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 และเข้าฉายที่กรุงปารีส ในวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 อีกด้ว.

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และหนึ่งใจ..เดียวกัน · ดูเพิ่มเติม »

ธีรเดช วงศ์พัวพันธ์

ีรเดช วงศ์พัวพันธ์ (เกิด 3 ธันวาคม พ.ศ. 2520) ชื่อเล่น เคน เป็นนักแสดงชายชาวไทย ผู้ชนะเลิศรางวัลโทรทัศน์ทองคำในสาขานักแสดงนำชายดีเด่นถึง 4 ครั้งซึ่งเป็นสถิติมากที่สุดในปัจจุบัน จากละครโทรทัศน์เรื่อง ไอ้ม้าเหล็ก (2545), สองเรานิรันดร (2548), สวรรค์เบี่ยง (2551) และ สูตรเสน่หา (2552) ธีรเดชเริ่มมีชื่อเสียงและได้รับความนิยมจากละครเรื่อง สองเรานิรันดร นอกจากนี้ เขาได้รับการโหวตให้เป็นดาราชายยอดนิยมอันดับ 1 ถึง 6 ปีติดต่อกันตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และธีรเดช วงศ์พัวพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

นะโม ทองกำเหนิด

ทองเปาด์ ทองกำเหนิด (ชื่อเล่น นะโม) เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2530 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการในปี พ.ศ. 2548 โดยเริ่มถ่ายแบบลงหนังสือวัยรุ่นและนิตยสารต่าง ๆ แสดงโฆษณา Tros และ Orange ก่อนเซ็นต์สัญญาเป็นนักแสดงในสังกัดไฟว์สตาร์โปรดักชั่นในกลางปีเดียวกัน โดยกอบสุข จารุจินดา ได้นำชื่อเล่น นะโม มาใช้ในงานแสดงแทนชื่อจริง ปัจจุบันเป็นนักแสดงในสังกัดไฟว์สตาร์โปรดักชั่น โดยนำแสดงภาพยนตร์เรื่อง ลองของ พ.ศ. 2548 เป็นเรื่องแรก ในปีต่อ ๆ มาได้แสดงภาพยนตร์เรื่อง แฝด, ผีจ้างหนัง, ลองของ 2, อนึ่ง...คิดถึงเป็นอย่างยิ่ง และสวัสดีบางกอก ตามลำดั.

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และนะโม ทองกำเหนิด · ดูเพิ่มเติม »

แบรนด์นิว ซันเซท

แบรนด์นิว ซันเซท เป็นวงร็อก ประกอบด้วยสมาชิกคือ ลักษณ์ โตวัชระกุล (ตูน) ร้องนำ, กานต์ เสนีย์ตันติกุล (กานต์) กีตาร์/ร้อง, สุชาย ชูเชิด (ชาย) กีตาร์/ร้อง, กานต์ณัฐ พหลกุล (ยุทธ) เบส และวรุตม์ หุนตระกูล (เติร์ก) กลอง.

ใหม่!!: สตาร์พิกส์และแบรนด์นิว ซันเซท · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Starpicsสตาร์พิคส์นิตยสารสตาร์พิกส์นิตยสารสตาร์พิคส์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »