โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

สงครามเย็น

ดัชนี สงครามเย็น

กำแพงเบอร์ลินจากฝั่งตะวันตก กำแพงถูกสร้างใน ค.ศ. 1961 เพื่อป้องกันมิให้ชาวเยอรมันตะวันออกหนีและหยุดการหลั่งไหลของแรงงานซึ่งเป็นภัยพิบัติทางเศรษฐกิจ มันเป็นสัญลักษณ์ของสงครามเย็นและการทลายกำแพงใน ค.ศ. 1989 เป็นสัญลักษณ์ว่าสงครามเย็นใกล้ยุติ สงครามเย็น (Cold War Холодная война) เป็นสถานะความตึงเครียดทางการเมืองและการทหารหลังสงครามโลกครั้งที่สองระหว่างประเทศในกลุ่มตะวันตก (สหรัฐอเมริกา พันธมิตรเนโท ฯลฯ) และประเทศในกลุ่มตะวันออก (สหภาพโซเวียตและพันธมิตรในสนธิสัญญาวอร์ซอ) นักประวัติศาสตร์ยังไม่ตกลงกันทั้งหมดว่าสงครามเย็นคือช่วงใดกันแน่ แต่ส่วนใหญ่ถือ..

284 ความสัมพันธ์: ชัค เฮเกลบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์บูรพาแดงบี-52 สตราโตฟอร์เทรสช็อน ดู-ฮวันฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย)พ.ศ. 2489พ.ศ. 2493พ.ศ. 2498พ.ศ. 2532พ.ศ. 2533พรรคริพับลิกัน (สหรัฐ)พรรคคอมมิวนิสต์พม่าพรรคเสรีประชาธิปไตย (ญี่ปุ่น)พลูโทเนียมพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)กลุ่มตะวันตกกองทัพสหรัฐกองทัพสหราชอาณาจักรกองทัพประชาชนแห่งชาติกองทัพนอร์เวย์กองทัพเบลเยียมกองทัพเรือนอร์เวย์กองทัพเรือโซเวียตกองทัพเนเธอร์แลนด์การบุกครองอ่าวหมูการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอการบุกครองเกรเนดาการบ้านการพลัดถิ่นการก่อการกำเริบฮุกบาลาฮับการก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทยการก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953การรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการีการล่มสลายของสหภาพโซเวียตการสำรวจอวกาศการผ่อนคลายความตึงเครียดการผ่อนคลายความตึงเครียดสหรัฐ–คิวบาการถ่ายภาพเคอร์เลียนการทรยศโดยชาติตะวันตกการทำให้เป็นประชาธิปไตยการขจัดนาซีการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์การปฏิบัติการพิเศษการปฏิวัติ ค.ศ. 1989การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956การปฏิวัติคิวบาการปฏิวัติเซาร์การประชุมยัลตาการประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)...การประท้วงที่พอซนาน ค.ศ. 1956การปิดกั้นเบอร์ลินการแทรกแซงการเลือกตั้งสหรัฐของรัสเซีย พ.ศ. 2559การเพิ่มอำนาจการเมืองยุโรปกำแพงเบอร์ลินกีฬาโอลิมปิกกติกาสัญญาวอร์ซอภาพยนตร์ภัยพิบัติมหาวิทยาลัยมอสโกมหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกีมีฮาอิล กอร์บาชอฟมีฮาอิล ซุสลอฟมนุษย์หลุมหลบภัยบ้าหลุดโลกม่านไผ่ม่านเหล็กยาส 39ยาปฏิชีวนะยุโรปกลางยูเอฟโอระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติกระเบิดมือระเบิดนิวเคลียร์มาร์ก 17รัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตยรัฐบริวารรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์รัฐกันชนรัฐประหารในประเทศชิลี พ.ศ. 2516รัฐเวียดนามราชวงศ์ปาห์ลาวีราชอาณาจักรอัฟกานิสถานราชอาณาจักรอิรักราชอาณาจักรทิเบตรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อนวนิยายไทยริชาร์ด นิกสันรถยนต์ประจำตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริการถถังพันเทอร์ฤดูใบไม้ที่ร่วงเยอรมันลัทธิทรูแมนลัทธิคอมมิวนิสต์ล็อกฮีด ยู-2วันรัฐธรรมนูญ (เกาหลีใต้)วิกฤตการณ์มาลายาวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาวิกฤตการณ์คลองสุเอซวิศวกรรมผันกลับวิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์สกั๊ดสมรภูมิบ้านร่มเกล้าสมัยปัจจุบันสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับสหภาพฝรั่งเศสสหภาพโซเวียตสหรัฐสหรัฐอาหรับสหประชาชาติสายตรงมอสโก–วอชิงตันสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบียสาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนียสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนียสาธารณรัฐอียิปต์ (2496–2501)สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)สาธารณรัฐดาโฮมีย์สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์สาธารณรัฐประชาชนเบนินสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์สถานีอวกาศนานาชาติสงครามสงครามกลางเมืองกรีซสงครามกลางเมืองกัมพูชาสงครามกลางเมืองลาวสงครามกัมพูชา–เวียดนามสงครามการบั่นทอนกำลังสงครามยมคิปปูร์สงครามหกวันสงครามอาณานิคมโปรตุเกสสงครามอินโดจีนสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่งสงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามจีน-อินเดียสงครามจีน–เวียดนามสงครามตัวแทนสงครามในอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2521–ปัจจุบัน)สงครามโลกสงครามโลกครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่สามสงครามโอกาเดนสงครามโซเวียต–อัฟกานิสถานสงครามเกาหลีสงครามเย็นครั้งที่สองสงครามเวียดนามสนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนีสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ห้องอำพันอภิมหาอำนาจอะเลคเซย์ โคซีกินอัลกออิดะฮ์อาร์พีจี (อาวุธ)อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูงอุบัติการณ์ยู-2 พ.ศ. 2503อุซามะฮ์ บิน ลาดินอี ซึง-มันอดอล์ฟ ฮิตเลอร์องค์การบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชาองค์การสนธิสัญญากลางองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจฮันส์ เบเทอผมเป็นชาวเบอร์ลินจรวดจอห์น เอฟ. เคนเนดีจักรวรรดินิยมจักรวรรดินิยมในเอเชียจารกรรมจิ้งจอกสายฟ้าจีเอชเอ็น-45ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ทุนนิยมท่องทะเลเลือดขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า 4: อาณาจักรกะโหลกแก้วดักลาส แมกอาเธอร์ดาวเทียมสปุตนิก 1คริสต์ทศวรรษ 1990ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านความแพร่หลายของภาษาสเปนคอบร้าโกลด์คาร์ล มากซ์คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523คำประกาศเจตนารัสเซลล์–ไอน์สไตน์คิม อิล-ซ็องคณะกรรมาธิการประชาชนชั่วคราวเกาหลีเหนือคณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยมอสโกคนอึดต้องกลับมาอึด 2ซาร์บอมบาซาแมนธา สมิธซูเปอร์แมนปฏิบัติการลับข้ามแดนปฏิบัติการอันธิงคาเบิลปฏิบัติการคลิปหนีบกระดาษประชาธิปไตยประชาธิปไตยสังคมนิยมประชาธิปไตยเสรีนิยมประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์รัสเซียประวัติศาสตร์โซมาเลียประวัติศาสตร์ไทยประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)ประวัติศาสตร์เกาหลีประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990)ประเทศฟินแลนด์ประเทศกำลังพัฒนาประเทศอินเดียในเครือจักรภพประเทศจอร์เจียประเทศจีนประเทศโรดีเชียประเทศไทยประเทศเกาหลีใต้ประเทศเยอรมนีประเทศเยอรมนีตะวันออกปัญหาเยอรมันปิตราปัฟลัฟสค์-คัมชัตสกีนาฬิกาวันสิ้นโลกนาซานาซีเยอรมนีนีโคไล ปอดกอร์นืยแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2แอร์โครยอแอลัน ทัวริงแอนิมัลฟาร์มแฮร์รี เอส. ทรูแมนแผนมาร์แชลล์โรนินโลกที่สามโลกที่หนึ่งโลกเสรีโจเซฟ สตาลินโครงการสปุตนิกโคตรคนการ์เดี้ยนโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007โซลิดาริตีโนวายาเซมลยาไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์)ไมเคิล หว่องไฮน์ริช มึลเลอร์ (เกสตาโพ)เบอร์ลินเมทัลเกียร์โซลิด 3: สเนกอีตเตอร์เย็น (แก้ความกำกวม)เรือลาดตระเวนเรือดำน้ำแบบ 206เรือดำน้ำโซเวียต เอส-194เลโอนิด เบรจเนฟเหตุการณ์ 6 ตุลาเหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนามเอฟ-22 แร็พเตอร์เอาแฟร์ชตันเดินเอาส์รูอีเนินเอียน เฟลมมิงเอ็ม 16เอ็มเพ 40เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์เฮคเลอร์แอนด์คอช เอชเค 33เจ. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์เจมส์ ดี. วัตสันเจอรัลด์ ฟอร์ดเจ็ดวันไปแม่น้ำไรน์เขมรแดงเดอะ แมน ฟรอม อั.ง.เ.คิ.ล. คู่ดุไร้ปรานีเดอะบลูเบิร์ดเครื่องบินสกัดกั้นเครื่องบินขับไล่เซียร์เกย์ โคโรเลฟเปเรสตรอยคาเนโทCWDr. Strangelove1 มีนาคม100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู14 พฤษภาคม15 ตุลาคม16 เมษายน19 สิงหาคม2 คมล่าถล่มเมือง22 เมษายน2เอส35 มีนาคม9 พฤศจิกายน9 พฤษภาคม ขยายดัชนี (234 มากกว่า) »

ชัค เฮเกล

ลส์ ทิโมธี เฮเกล (Charles Timothy Hagel) หรือ ชัค เฮเกล (Chuck Hagel) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกันซึ่งเคยตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกาคนที่ 24 ตั้งแต่เดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและชัค เฮเกล · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: สงครามเย็นและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

บูรพาแดง

ตงฟางหง หรือ บูรพาแดง เป็นเพลงที่แต่งขึ้นเพื่อยกย่องสรรเสริญแด่ประธานาธิบดี เหมา เจ๋อตง และพรรคคอมมิวนิสต์จีน ในยุคต่อต้านสงครามญี่ปุ่น เพลงนี้ถูกใช้เป็นเพลงชาติโดยพฤตินัยของสาธารณรัฐประชาชนจีนในช่วงการปฏิวัติวัฒนธรรม ในคริสต์ทศวรรษที่ 1960 ประพันธ์คำร้องโดย หลี โหย่วหยวน และ กง มู่ โดยได้นำทำนองเดิมมาจากเพลง ขี่ม้าขาว (白马调) ซึ่งเป็นพื้นเมืองของมณฑลส่านซี ตงฟงหง ในเวอร์ชันปัจจุบัน แบ่งเป็น 3 ท่อน ถูกเผยแพร่อย่างเป็นทางการในหนังสือพิมพ์ปลดแอกประชาชน เมื่อ พ.ศ. 2537 เพลงนี้ ถูกใช้เป็นเพลงประกอบนาฏละครอิงประวัติศาสตร์ในชื่อเดียวกัน ที่จัดแสดงเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2507 ณ มหาศาลาประชาคม ปักกิ่ง และจัดทำเป็นภาพยนตร์ฉายเมื่อ พ.ศ. 2508 นอกจากนี้ เพลงนี้ยังถูกใช้ในอานัติสัญญาณเปิดสถานีของสถานีวิทยุซีเอ็นอาร์ และสถานีวิทยุประชาชนแห่งซินเจียง คำว่า บูรพาแดง (The East is red) มีความหมายถึงการที่ซีกโลกตะวันออกในยุคสงครามเย็นนั้นปกครองด้วยระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ซึ่งคำลำลองที่ถูกใช้เรียกขานค่ายคอมมิวนิสต์ในยุคนั้นคือ "แดง" (เช่น คำว่าจีนแดง,โสมแดง,ภัยแดง) อันเป็นการสื่อตรงกันข้ามกับซีกโลกตะวันตกที่ปกครองโดยลัทธิทุนนิยมประชาธิปไตยนั่นเอง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและบูรพาแดง · ดูเพิ่มเติม »

บี-52 สตราโตฟอร์เทรส

ี-52 สตราโตฟอร์เทรส (B-52 Stratofortress) เป็นเครื่องบินทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์พลังไอพ่นพิสัยไกลที่ถูกใช้โดยกองทัพอากาศสหรัฐฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498 สร้างโดยบริษัทโบอิง แอร์เพลน คัมปะนี.

ใหม่!!: สงครามเย็นและบี-52 สตราโตฟอร์เทรส · ดูเพิ่มเติม »

ช็อน ดู-ฮวัน

็อน ดู-ฮวัน (Chun Doo-hwan; เกิด 18 มกราคม พ.ศ. 2474) เคยเป็นทหารของกองทัพสาธารณรัฐเกาหลี และเป็นผู้นำของรัฐบาลเด็จการของประเทศเกาหลีใต้ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและช็อน ดู-ฮวัน · ดูเพิ่มเติม »

ฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย)

ฟาเธอร์แลนด์ เป็นนวนิยายขายดีในปี พ.ศ. 2535 มีเนื้อหาแนวสืบสวน-ฆาตกรรม เขียนโดยนักข่าวอังกฤษ รอเบิร์ต แฮร์ริส โดยมีจุดเด่นคือ ประวัติศาสตร์สมมุติว่า หากนาซีเยอรมนีชนะสงครามโลกครั้งที่สอง โลกจะเป็นอย่างไร ผู้จัดพิมพ์ในประเทศไทยคือ ปราดเปรียวสำนักพิม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและฟาเธอร์แลนด์ (นวนิยาย) · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2489

ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและพ.ศ. 2489 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2493

ทธศักราช 2493 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1950 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและพ.ศ. 2493 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2498

ทธศักราช 2498 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1955 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและพ.ศ. 2498 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคริพับลิกัน (สหรัฐ)

รรคริพับลิกัน (Republican Party หรือ Grand Old Party, อักษรย่อ: GOP) เป็นพรรคการเมืองอนุรักษนิยม ซึ่งเป็นหนึ่งในสองพรรคของสหรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (อีกพรรคหนึ่งคือ พรรคเดโมแครต) ประธานาธิบดีจากพรรคนี้คนล่าสุดคือ ดอนัลด์ ทรัมป์ ถ้านับตั้งแต่ ค.ศ. 1856 พรรคริพับลิกันส่งผู้สมัครลงชิงตำแหน่งประธานาธิบดีทั้งหมด 39 ครั้ง ชนะ 24 ครั้ง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและพรรคริพับลิกัน (สหรัฐ) · ดูเพิ่มเติม »

พรรคคอมมิวนิสต์พม่า

รรคคอมมิวนิสต์พม่า (Burma Communist Party) จัดตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สงครามเย็นและพรรคคอมมิวนิสต์พม่า · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเสรีประชาธิปไตย (ญี่ปุ่น)

รรคเสรีประชาธิปไตย (Liberal Democratic Party) มักนิยมย่อว่า พรรคแอลดีพี (LDP) หรือ พรรคจิมินโต เป็นพรรคการเมืองหลักฝ่ายอนุรักษนิยมของญี่ปุ่น เป็นหนึ่งในพรรคที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดพรรคหนึ่งของโลก โดยพรรคเสรีประชาธิปไตยครองเสียงข้างมากในรัฐสภาญี่ปุ่นมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต..

ใหม่!!: สงครามเย็นและพรรคเสรีประชาธิปไตย (ญี่ปุ่น) · ดูเพิ่มเติม »

พลูโทเนียม

ลูโทเนียม (Plutonium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 94 และสัญลักษณ์ คือ Pu เป็นธาตุโลหะกัมมันตรังสี เป็นโลหะแอกทิไนด์สีขาวเงิน และจะมัวลงเมื่อสัมผัสอากาศซึ่งเกิดจากการรวมตัวกับออกซิเจน โดยปกติ พลูโทเนียมมี 6 ไอโซโทป และ 4 สถานะออกซิเดชัน สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับคาร์บอน ฮาโลเจน ไนโตรเจน และซิลิกอน เมื่อสัมผัสอากาศชื้นจะสร้างสารประกอบออกไซด์และไฮไดรด์มากกว่า 70 % ของปริมาตรซึ่งจะแตกออกเป็นผงแป้งที่สามารถติดไฟได้เอง พลูโทเนียมมีพิษที่เกิดจากการแผ่รังสีที่จะสะสมที่ไขกระดูก นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ทำให้การจัดการพลูโทเนียมเป็นเรื่องที่อันตรายมาก ไอโซโทปที่สำคัญของพลูโทเนียม คือ พลูโทเนียม-239 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 24,100 ปี พลูโทเนียม-239 และ 241 เป็นวัสดุฟิสไซล์ ซึ่งหมายความว่านิวเคลียสของอะตอมสามารถแตกตัว โดยการชนของนิวตรอนความร้อนเคลื่อนที่ช้า ซึ่งจะปลดปล่อยพลังงาน รังสีแกมมา และนิวตรอนจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่นิวเคลียร์ได้ นำไปสู่การประยุกต์สร้างอาวุธนิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ไอโซโทปที่เสถียรที่สุด คือ พลูโทเนียม-244 ซึ่งมีครึ่งชีวิตประมาณ 80 ล้านปี นานพอที่จะสามารถพบได้ในธรรมชาติ พลูโทเนียม-238 มีครึ่งชีวิต 88 ปี และปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา มันเป็นแหล่งความร้อนของเครื่องผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนจากไอโซโทปรังสี ซึ่งใช้ในการให้พลังงานในยานอวกาศ พลูโทเนียม-240 มีอัตราของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมด้วยตัวเองสูง เป็นการเพิ่มอัตรานิวตรอนพื้นฐานของตัวอย่างที่มีไอโซโทปนี้ประกอบอยู่ด้วย การมีอยู่ของ Pu-240 เป็นข้อจำกัดสมรรถภาพของพลูโทเนียมที่ใช้ในอาวุธหรือแหล่งพลังงานและเป็นตัวกำหนดเกรดของพลูโทเนียม: อาวุธ (19%) ธาตุลำดับที่ 94 สังเคราะห์ได้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและพลูโทเนียม · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

ห้องจัดแสดงชั้น 4: อุทยานจามจุรี พิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงนิทรรศการถาวร เกี่ยวกับภาพรวมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในด้านต่าง ๆ ทั้งผลงานอันเกิดจากการวิจัย และองค์ความรู้ที่มหาวิทยาลัยได้ผลิตขึ้น ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัย พัฒนาการทางด้านกายภาพ ความเป็นอยู่ของนิสิต ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสังคมไทย อาคารแห่งนี้ เดิมเป็นอาคารเรียนของภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชื่อว่า อาคารเคมี 3 เป็นอาคารสูง 4 ชั้น ได้รับการปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อเฉลิมฉลองวาระ 100 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่จะมีขึ้นในปี พ.ศ. 2560 ตัวอาคารได้รับการปรับปรุงให้มีความทันสมัย ลดความปิดทึบของตัวอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กเดิม โดยใช้กระจกกับโครงสร้างเหล็ก และปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกให้เอื้อกับผู้ชมทุกกลุ่ม(Universal Design)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สำนักบริหารศิลปวัฒนธรรม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัย (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มตะวันตก

นการณ์ทางการเมืองของโลกตะวันตกในยุคสงครามเย็น. สีน้ำเงินคือฝ่ายตะวันตก ค่ายตะวันตก (อังกฤษ: Western Bloc) เป็นชื่อเรียกที่หมายถึงประเทศรัฐซึ่งปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันตก และอาจหมายรวมถึงประเทศที่เข้าร่วมสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือหรือนาโต้ด้วยเช่นกัน คำว่า "ค่ายตะวันตก" เป็นชื่อที่ใช้เรียกในยุคสงครามเย็น (ค.ศ. 1946 - ค.ศ. 1989) ประเทศรัฐต่างๆ ที่อยู่ในโลกตะวันตกส่วนใหญ่เป็นรัฐที่ถูกสหรัฐอเมริกาและสัมพันธมิตรทำการช่วยเหลือปลดปล่อยให้พ้นจากการปกครองของนาซีเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและกลุ่มตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสหรัฐ

กองทัพสหรัฐ (United States Armed Forces) เป็นกองทหารของสหรัฐ ประกอบด้วยกองทัพบก กองทัพเรือ เหล่านาวิกโยธิน, กองทัพอากาศและหน่วยยามฝั่ง สหรัฐมีประเพณีพลเรือนควบคุมทหารอย่างเข้มแข็ง ประธานาธิบดีสหรัฐเป็นผู้บัญชาการทหาร และมีกระทรวงกลาโหมทำหน้าที่เป็นองค์กรหลักซึ่งนำนโยบายทางทหารไปปฏิบัติ กระทรวงกลาโหมมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ซึ่งเป็นพลเรือนและอยู่ในคณะรัฐมนตรี เป็นเจ้ากระทรวง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอยู่ในอันดับที่สองของสายการบังคับบัญชาของทหาร รองแต่เพียงประธานาธิบดี และทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยหลักของประธานาธิบดีในกิจการทั้งปวงที่เกี่ยวข้องกับกระทรวง ประธานาธิบดีมีสภาความมั่นคงแห่งชาติ (National Security Council) เป็นที่ปรึกษา ซึ่งมีที่ปรึกษาฝ่ายความมั่นคงแห่งชาติ (National Security Advisor) เป็นผู้นำ เพื่อประสานงานการปฏิบัติทางทหารกับการทูต ประธานาธิบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมมีเสนาธิการร่วม (Joint Chiefs of Staff) เจ็ดคนเป็นที่ปรึกษา ซึ่งสมาชิกประกอบด้วยหัวหน้าเหล่าทัพต่าง ๆ ของกระทรวงและหัวหน้าสำนักงานหน่วยรักษาดินแดน (National Guard Bureau) โดยประธานเสนาธิการร่วมและรองประธานเสนาธิการร่วมเป็นผู้สรรหาผู้นำ ผู้บัญชาการหน่วยยามฝั่งไม่เป็นสมาชิกของเสนาธิการร่วม ทุกเหล่าทัพประสานงานระหว่างปฏิบัติการและภารกิจร่วม ภายใต้การบังคับบัญชาพลรบรวม (Unified Combatant Command) ซึ่งอยู่ในอำนาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ยกเว้นหน่วยยามฝั่ง หน่วยยามฝั่งอยู่ในการบริหารจัดการของกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ และได้รับคำสั่งปฏิบัติการจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ ประธานาธิบดีหรือรัฐสภาคองเกรสอาจโอนอำนาจการบังคับบัญชาหน่วยยามฝั่งไปให้กระทรวงทหารเรือ ในยามสงครามได้ เหล่าทัพทั้งห้าล้วนจัดเป็นหน่วยที่แต่งเครื่องแบบสหรัฐอันมีอยู่เจ็ดหน่วย อีกสองหน่วยได้แก่ หน่วยบริการสาธารณสุข และ หน่วยการบริหารมหาสมุทรและบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐ นับแต่ก่อตั้ง กองทัพมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์สหรัฐ สัมผัสความสามัคคีและเอกลักษณ์ของชาติถูกสร้างขึ้นจากผลของชัยชนะในสงครามบาร์บารีทั้งสองครั้ง กระนั้น บิดาผู้ก่อตั้งยังไม่ไว้ใจการมีกำลังทหารถาวร จนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองปะทุ สหรัฐจึงตั้งกองทัพบกประจำการขนาดใหญ่อย่างเป็นทางการ รัฐบัญญัติความมั่นคงแห่งชาต..

ใหม่!!: สงครามเย็นและกองทัพสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพสหราชอาณาจักร

กองทัพบริเตน (British Armed Forces) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า กองทัพในสมเด็จฯ (Her Majesty's Armed Forces) และ บ้างเรียกว่า กองทัพในพระองค์ (Armed Forces of the Crown) เป็นกองทัพของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ กองทัพนี้ประกอบด้วยหน่วยที่แต่งเครื่องแบบอาชีพสามเหล่า ได้แก่ 1.

ใหม่!!: สงครามเย็นและกองทัพสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพประชาชนแห่งชาติ

กองทัพประชาชนแห่งชาติ (NPA) (German: Nationale Volksarmee – NVA) เป็นชื่อเรียกของกองทัพสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี มีกำลังทหารประมาณ 120,000 นาย กองทัพประชาชนแห่งชาติถูกสถาปนาในปี 1956 และถูกยุบในปี 1990 กองทัพมีส่วนในการบุกครองพร้อมกับกองทัพสหภาพโซเวียต ต่อรัฐบาลเชโกสโลวาเกียในช่วงปรากสปริง ในปี 1968 นอกจากนี้ยังมีการพบว่ามีเจ้าหน้าที่ทางทหารของเยอรมนีตะวันออกทำงานให้กับรัฐบาลคอมมิวนิสต์ในแอฟริกาในช่วงสงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและกองทัพประชาชนแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพนอร์เวย์

กองทัพนอร์เวย์ (Forsvaret, "The Defence") ประกอบด้วยกองทัพบก, กองทัพเรือ รวมถึงหน่วยยามรักษาฝั่ง กองทัพอากาศ, กองอาสารักษาดินแดน และ หน่วยปฏิบัติการไซเบอร์ กองทัพอยู่ภายใต้การบริหารจัดการของกระทรวงกลาโหม นำโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม โดยสมเด็จพระราชาธิบดีเป็นจอมทัพในฐานะผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและกองทัพนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเบลเยียม

กองทัพเบลเยียม (Armée belge, Belgisch leger) คือกองกำลังทหารของราชอาณาจักรเบลเยียม กองทัพเบลเยียมได้ก่อตั้งขึ้นภายหลังจากการประกาศอิสรภาพในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและกองทัพเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือนอร์เวย์

กองทัพเรือนอร์เวย์ ('''''Sjøforsvaret'''''., "the naval defence (forces)") เป็นส่วนหนึ่งของกองทัพนอร์เวย์ มีหน้าที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของ ประเทศนอร์เวย์ ในปี 2008 กองทัพเรือนอร์เวย์ มีกำลังพลประมาณ 3,700 นาย และมีเรือรบในประจำการ 70 ลำแบ่งเป็น เรือฟรีเกรตหนัก 5 ลำ, เรือดำน้ำ 6 ลำ, เรือตรวจการ 14 ลำ และ เรือเก็บกวาดทุ่นระเบิด 4 ลำ.

ใหม่!!: สงครามเย็นและกองทัพเรือนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือโซเวียต

กองทัพเรือโซเวียต (Военно-морской флот СССР (ВМФ)) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของสหภาพโซเวียต กองทัพเรือโซเวียตมีกองเรือย่อยคือกองเรืออาร์กติก, กองเรือบอลติก, กองเรือทะเลดำ, กองเรือแปซิฟิก และนอกจากนี้กองทัพเรือโซเวียตยังบัญชาการ ฐานทัพเรือเลนินกราด และ กองเรือรบเล็กแคสเปียน ซึ่งเป็นกองเรือที่ลาตตะเวนในทะเลสาบแคสเปียนและบัญชาการ Soviet Naval Aviation, นาวิกโยธินโซเวียต และ Coastal Artillery.

ใหม่!!: สงครามเย็นและกองทัพเรือโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเนเธอร์แลนด์

กองทัพเนเธอร์แลนด์ (Nederlandse Krijgsmacht) คือกองกำลังทหารของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ กองทัพเนเธอร์แลนด์ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและกองทัพเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองอ่าวหมู

อนุสรณ์อ่าวหมูในย่านลิตเทิลฮาวานา เมืองไมแอมี การรุกรานอ่าวหมู (Bay of Pigs Invasion, Invasión de Bahía de Cochinos), การรุกรานหาดฮิรอน (Invasión de Playa Girón) หรือ ยุทธการที่ฮิรอน (Batalla de Girón) เป็นปฏิบัติการล้มเหลวที่ดำเนินการโดยซีไอเอให้การสนับสนุนกลุ่มทหารกองพลน้อย2506 ที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการบุกครองอ่าวหมู · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ เป็นเหตุการณ์ที่สหภาพโซเวียตและพันธมิตรหลักของสหภาพโซเวียตตามกติกาสัญญาวอร์ซอรุกรานเชโกสโลวาเกียเพื่อยับยั้งการปฏิรูปทางการเมืองของอเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ในช่วงปรากสปริง ในคืนวันที่ 20 - 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเกรเนดา

การรุกรานเกรเนดา (Invasion of Grenada, Invasión de Granada),เป็นการรุกรานนำโดยสหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการบุกครองเกรเนดา · ดูเพิ่มเติม »

การบ้าน

นักศึกษากำลังทำการบ้าน การบ้านหรืองานมอบหมาย หมายถึงงานที่ครูหรืออาจารย์มอบหมายให้นักเรียนหรือนักศึกษาทำให้สำเร็จนอกห้องเรียน การบ้านทั่วไปอาจประกอบด้วย ระยะเวลาให้นักเรียนได้อ่านเพิ่มเติม และแสดงออกผ่านการเขียนหรือการพิมพ์, การแสดงออกถึงทักษะในการแก้ปัญหา, การเขียนโครงงาน หรือการฝึกฝนทักษะอื่น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและการบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและการพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบฮุกบาลาฮับ

การก่อการกำเริบฮุกบาลาฮับ (Hukbalahap Rebellion) เป็นการก่อการกำเริบโดยขบวนการฮุกบาลาฮับหรือ ฮุกโบ นัง บายัน ลาบัน ซา ฮาพอน (Hukbo ng Bayan Laban sa Hapon,กองทัพประชาชนต่อต้านญี่ปุ่น) ซึ่งก่อตั้งเพื่อต่อต้านการเข้ายึดครองของ ญี่ปุ่น ในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการก่อการกำเริบฮุกบาลาฮับ · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย

การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทยเป็นสงครามกองโจรที่กินเวลาตั้งแต่ปี 2508 ถึง 2526 สู้รบกันระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) และรัฐบาลไทยเป็นหลัก สงครามเสื่อมลงในปี 2523 หลังรัฐบาลประกาศนิรโทษกรรม และในปี 2526 พคท.

ใหม่!!: สงครามเย็นและการก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953

การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953 · ดูเพิ่มเติม »

การรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการี

นพรมแดนระหว่างออสเตรียกับฮังการีในอดีตที่ถูกทิ้งร้าง การรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการี ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการรื้อถอนรั้วพรมแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

การล่มสลายของสหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตถูกยุบอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2534 ตามปฏิญญาหมายเลข 142-เอชแห่งสภาโซเวียตแห่งสาธารณรัฐ (Soviet of the Republics)Declaration № 142-Н of the Soviet of the Republics of the Supreme Soviet of the Soviet Union, formally establishing the dissolution of the Soviet Union as a state and subject of international law.

ใหม่!!: สงครามเย็นและการล่มสลายของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การสำรวจอวกาศ

การสำรวจอวกาศ คือการใช้วิทยาการด้านดาราศาสตร์และอวกาศเพื่อสำรวจและศึกษาห้วงอวกาศภายนอก การศึกษาอวกาศในทางกายภาพสามารถทำได้ทั้งโดยยานอวกาศที่ควบคุมโดยมนุษย์หรือโดยหุ่นยนต์ การเฝ้าสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า หรือที่เรียกว่าวิชาดาราศาสตร์ ได้กระทำกันมานานดังปรากฏในบันทึกประวัติศาสตร์ ทว่าการใช้จรวดเชื้อเพลิงเหลวขนาดใหญ่ที่เริ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทำให้การสำรวจอวกาศในทางกายภาพมีความเป็นจริงเป็นจังมากขึ้น ความก้าวหน้าในการสำรวจอวกาศเป็นผลจากงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ล้ำยุครวมถึงการร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อความอยู่รอดในอนาคตของมนุษย์ชาติ ขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างประโยชน์ในทางทหารหรือทางกลยุทธ์ที่เหนือกว่าประเทศอื่นๆ ในบางครั้งจึงมีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงประโยชน์ของการสำรวจอวกาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นเรื่องค่าใช้จ่ายและความปลอดภัย ครั้งหนึ่งการสำรวจอวกาศเป็นประเด็นการแข่งขันที่สำคัญระหว่างขั้วอำนาจ เช่นในระหว่างสงครามเย็น การสำรวจอวกาศยุคใหม่ช่วงแรกเป็นการแข่งขันกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับสหรัฐอเมริกา ได้แก่ การส่งยานที่สร้างด้วยมนุษย์ออกไปโคจรรอบโลกได้เป็นครั้งแรกในดาวเทียมสปุตนิก 1 ของสหภาพโซเวียต เมื่อ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1957 และการพิชิตดวงจันทร์เป็นครั้งแรกของยานอพอลโล 11 ของสหรัฐอเมริกาเมื่อ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1969 โดยมากโครงการสำรวจอวกาศของโซเวียตจะสามารถบรรลุเป้าหมายเป็นครั้งแรกได้ก่อน ภายใต้การนำของ Sergey Korolyov และ Kerim Kerimov เช่นการส่งนักบินอวกาศออกไปนอกโลกได้เป็นครั้งแรกใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการสำรวจอวกาศ · ดูเพิ่มเติม »

การผ่อนคลายความตึงเครียด

เลโอนิด เบรจเนฟ แห่งสหภาพโซเวียต (ซ้าย) และริชาร์ด นิกสัน แห่งสหรัฐอเมริกา (ขวา) ระหว่างการเยือนสหรัฐอเมริกาของเบรจเนฟในปี 2516 นับเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญในช่วงการผ่อนคลายความตึงเครียด การผ่อนคลายความตึงเครียด (Détente) คือ ช่วงเวลาระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการผ่อนคลายความตึงเครียด · ดูเพิ่มเติม »

การผ่อนคลายความตึงเครียดสหรัฐ–คิวบา

การผ่อนคลายความตึงเครียดคิวบา (date; access-date) เป็นการฟื้นความสัมพันธ์คิวบา–สหรัฐอเมริกาซึ่งเริ่มในเดือนธันวาคม 2557 ยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสองประเทศที่กินเวลา 54 ปี ในเดือนมีนาคม 2559 บารัก โอบามาเป็นประธานาธิบดีสหรัฐคนแรกที่เยือนคิวบานับแต่ปี 2471 วันที่ 17 ธันวาคม 2557 ประธานาธิบดีสหรัฐ บารัก โอบามา และประธานาธิบดีคิวบา ราอูล กัสโตร ประกาศการเริ่มกระบวนการปรับความสัมพันธ์ระหว่างคิวบาและสหรัฐให้เป็นปกติ ความตกลงการปรับให้เป็นปกติมีการเจรจาทางลับหลายเดือนก่อนหน้านั้น ซึ่งอำนวยความสะดวกโดยสมเด็จพระสันตะปาปาฟรานซิส และส่วนใหญ่มีรัฐบาลแคนาดาเป็นเจ้าภาพ มีการจัดการประชุมทั้งในประเทศแคนาดาและนครวาติกัน ความตกลงนี้จะยกเลิกการจำกัดการท่องเที่ยวของสหรัฐบางส่วน มีการจำกัดเงินที่ส่งไปให้น้อยลง การเข้าถึงระบบการเงินคิวบาของธนาคารสหรัฐ และการเปิดสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐในกรุงฮาวานาและสถานเอกอัครราชทูตคิวบาในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ใหม่ ซึ่งทั้งสองถูกปิดในปี 2504 หลังการยุติความสัมพันธ์ทางทูตอันเป็นผลจากคิวบาเป็นพันธมิตรใกล้ชิดกับสหภาพโซเวียต วันที่ 14 เมษายน 2558 รัฐบาลโอบามาประกาศว่า ประเทศคิวบาจะถูกถอดจากรายการรัฐผู้สนับสนุนการก่อการร้ายของสหรัฐ และมีผลอย่างเป็นทางการในวันที่ 29 พฤษภาคม 2558 เป็นสัญลักษณ์ว่าสหรัฐออกจากความขัดแย้งสงครามเย็นและความตึงเครียดต่อความสัมพันธ์คิวบา–สหรัฐ วันที่ 20 กรกฎาคม 2558 "ส่วนผลประโยชน์" ของคิวบาและสหรัฐในกรุงวอชิงตันและฮาวานาตามลำดับมีการยกระดับเป็นสถานเอกอัครราชทูต.

ใหม่!!: สงครามเย็นและการผ่อนคลายความตึงเครียดสหรัฐ–คิวบา · ดูเพิ่มเติม »

การถ่ายภาพเคอร์เลียน

อร์เลียนของเหรียญสองอัน การถ่ายภาพเคอร์เลียน (Kirlian photography) คือ ชุดของเทคนิคการถ่ายภาพที่ใช้ในการจับภาพของปรากฏการณ์โคโรนา หรือ การปล่อยประจุแบบโคโรน่าทางไฟฟ้า มันเป็นชื่อนามสกุลคำหลังของนาย เซมยอน เคอร์เลียน (Semyon Kirlian) ซึ่งเป็นผู้ที่ได้ค้นพบวิธีการนี้โดยบังเอิญในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการถ่ายภาพเคอร์เลียน · ดูเพิ่มเติม »

การทรยศโดยชาติตะวันตก

แฟรงกลิน โรสเวลต์ และโจเซฟ สตาลิน การทรยศโดยชาติตะวันตก (Western betrayal) หรืออาจใช้ว่า การทรยศที่ยัลตา (Yalta betrayal) เป็นคำที่มักจะใช้กันในกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโปแลนด์และเช็กเกีย ซึ่งหมายความถึงนโยบายด้านการต่างประเทศของกลุ่มประเทศตะวันตกหลายประเทศ ซึ่งได้ละเลยสนธิสัญญาพันธมิตรและข้อตกลงหลายฉบับนับตั้งแต่สนธิสัญญาแวร์ซาย สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ไปจนถึงสมัยสงครามเย็น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการหลอกลวงและการทรยศ ในการใช้คำว่า "การทรยศ" นี้ เป็นผลมาจากความจริงที่ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก ซึ่งแม้ว่าจะได้สนับสนุนให้เกิดระบอบประชาธิปไตยและการวางนโยบายด้วยตนเอง ได้ลงนามในสนธิสัญญาและก่อตั้งพันธมิตรทางการทหารทั้งก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กระนั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกกลับทรยศพันธมิตรของตนในยุโรปกลางโดยการละเลยที่จะปฏฺบัติตามข้อผูกมัดตามสนธิสัญญานั้น ยกตัวอย่างเช่น ไม่ช่วยป้องกันนาซีเยอรมนีจากการยึดครองเชโกสโลวาเกีย แต่กลับยกให้ในข้อตกลงมิวนิก (ค.ศ. 1938) หรือการทอดทิ้งโปแลนด์ในรับมือกับเยอรมนีและสหภาพโซเวียตตามลำพังระหว่างการบุกครองโปแลนด์ (ค.ศ. 1939) และการลุกฮือในกรุงวอร์ซอ ในปี ค.ศ. 1944 นอกจากนี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกยังได้ลงนามในข้อตกลงยัลตา และภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ไม่ให้การป้องกันหรือยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือรัฐเหล่านี้จากการตกอยู่ภายใต้อิทธิพลและการควบคุมของสหภาพโซเวียต และระหว่างการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 ฮังการีก็ไม่ได้รับทั้งการสนับสนุนทั้งทางทหารและการสนับสนุนในด้านกำลังใจจากฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเลย และทำให้การปฏิวัติถูกปราบปรามโดยกองทัพแดงในที่สุด สถานการณ์เดียวกันเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1968 เมื่อกองทัพร่วมของกลุ่มประเทศสนธิสัญญาวอร์ซอเพื่อกำจัดยุคฤดูใบไม้ผลิปรากในเชโกสโลวาเกีย และยุติการเปลี่ยนแปลงการปกครองกลับมาสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ดังเดิม ดังที่ได้เกิดความกังวลในการประชุมยัลตา แนวคิดของมันก็ถูกโต้เถียงกัน โดยนักประวัติศาสตร์มองว่าการที่นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิลล์ และประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ไม่มีทางเลือกอื่นใดนอกจากยอมรับความต้องการของผู้นำโซเวียต โจเซฟ สตาลิน ทั้งในการประชุมเตหะรานและในการประชุมครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเองก็ได้ประเมินอำนาจของสหภาพโซเวียตผิดไปบ้าง เช่นเดียวกับที่ประเมินนาซีเยอรมนีผิดไปหนึ่งทศวรรษก่อนหน้านั้น แต่ผู้สนับสนุนการประชุมยอลตามีแนวคิดว่า การประชุมในครั้งนี้เป็นการทรยศกลุ่มประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยไม่มีการพิจารณาถึงชะตากรรมของโปแลนด์ในอนาคต กองกำลังโปแลนด์ถือเป็นกองกำลังที่ต่อสู้กับนาซีเยอรมนีเป็นเวลายาวนานกว่าประเทศอื่นใดในสงครามโลกครั้งที่สอง และทำการรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับกองกำลังสหรัฐอเมริกา อังกฤษและโซเวียตในการทัพที่สำคัญหลายครั้ง รวมไปถึงในยุทธการที่เบอร์ลินครั้งสุดท้าย ซึ่งกองกำลังติดอาวุธโปแลนด์ทางตะวันตกมีจำนวนกว่า 249,000 นาย (กองทัพสัมพันธมิตรตะวันตกมีจำนวนกว่า 4 ล้านนาย) และ 180,000 นายทางตะวันออก (กองทัพโซเวียตมีจำนวนกว่า 6 ล้านนาย) และมีอีกกว่า 300,000 นายที่ทำการรบใต้ดิน หรือในกองกำลังกู้ชาติ ในตอนปลายสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพโปแลนด์มีจำนวนกว่า 600,000 นาย โดยที่ไม่นับกองกำลังกู้ชาติhttp://www.ww2.pl/Polish,contribution,to,the,Allied,victory,in,World,War,2,(1939-1945),132.html ซึ่งทำให้โปแลนด์มีกองกำลังขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ในสงคราม รองมาจากสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร รัฐบาลผลัดถิ่นโปแลนด์เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรอย่างเป็นทางการ แต่กระนั้นประธานาธิบดีโรสเวลต์ก็ยังนิ่งนอนใจได้เมื่อรัฐบาลโปแลนด์ถูกแทนที่ด้วยรัฐบาลหุ่นของโซเวียต โดยได้มีข้อสังเกตว่าโรสเวลต์ได้วางแผนที่จะมอบโปแลนด์ให้กับสตาลิน นักประวัติศาสตร์คนอื่น ๆ เสนอว่า เชอร์ชิลล์กระตุ้นให้โรสเวลต์ดำเนินกิจการทางทหารต่อในทวีปยุโรป แต่ต่อต้านสหภาพโซเวียต เพื่อป้องกันการแสวงหาดินแดนเพิ่มเติมจากพรมแดนของตน รูสเวลต์ดูเหมือนว่าจะเชื่อใจในการรับประกันของสตาลินและปฏิเสธที่จะสนับสนุนเจรนาของเชอร์ชิลล์ในการรักษาเสรีภาพของทวีปยุโรปนอกเหนือจากอิทธิพลของสหภาพโซเวียต โดยปราศจากการหนุนหลังของสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรที่เหนื่อยอ่อน อดอยาก และแทบจะสิ้นเนื้อประดาตัวจึงไม่สามารถดำเนินการตามที่ตั้งใจเอาไว้ และถึงแม้ว่าจะมีการหนุนหลังจากสหรัฐอเมริกาก็ตาม ผลจากกิจการทางทหารนั้นก็ยังคงไม่แน่นอนอยู่มาก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและการทรยศโดยชาติตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การทำให้เป็นประชาธิปไตย

การทำให้เป็นประชาธิปไตย หรือ การเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย (Democratization) เป็นการเปลี่ยนระบอบการปกครองให้เป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้น ซึ่งอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสำคัญไปในทางประชาธิปไตย การเปลี่ยนจากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ จากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นกึ่งประชาธิปไตย หรือจากกึ่งประชาธิปไตย/อำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ ซึ่งอาจมีผลเป็นความมั่นคงทางประชาธิปไตย (ดังที่สหราชอาณาจักรเป็นตัวอย่าง) หรืออาจจะกลับไปกลับมาบ่อย ๆ (ดังที่ อาร์เจนตินาเป็นตัวอย่าง) รูปแบบต่าง ๆ ของการเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตยมักใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ เช่น ประเทศจะเริ่มทำสงครามหรือไม่ เศรษฐกิจจะเติบโตหรือไม่ กระบวนการมีปัจจัยหลายอย่างรวมทั้งพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ประวัติ และประชาสังคม ผลสูงสุดของกระบวนการนี้ก็เพื่อประกันว่า ประชาชนจะมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง และมีส่วนตัดสินใจในระบอบการปกครอง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและการทำให้เป็นประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

การขจัดนาซี

นงานทำการปลดป้ายถนนที่มีชื่อว่า "ถนนอดอล์ฟ ฮิตเลอร์" ออก โครงการขจัดความเป็นนาซี (Entnazifizierung; Denazification) เป็นการเริ่มต้นของฝ่ายสัมพันธมิตรที่จะขจัดเยอรมันและออสเตรียทั้งในสังคม วัฒนธรรม ข่าวสาร เศรษฐกิจ ตุลาการและการเมืองออกจากส่วนที่เหลือของอุดมการณ์ชาติสังคมนิยม(ระบอบนาซี) โดยเฉพาะได้ทำการปลดเหล่าสมาชิกของพรรคนาซีออกจากตำแหน่งและขจัดอำนาจอิทธิพลและทำการยุบหรือจัดการทำให้องค์กรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับนาซีล่มสลาย โครงการขจัดความเป็นนาซีได้เปิดตัวภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงและได้รับการรับรองโดยการประชุมพอสดัม คำศัพท์ของ "denazification" เป็นคำแรกทางกริยาที่เป็นศัพท์ทางกฎหมาย ในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการขจัดนาซี · ดูเพิ่มเติม »

การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์

การต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นการต่อต้านต่อลัทธิคอมมิวนิสต์ การจัดตั้งองค์กรเพื่อต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ได้ถูกพัฒนาขึ้นหลังปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิบัติการพิเศษ

การปฏิบัติการพิเศษ (Special Operation) คือ การปฏิบัติอย่างหนึ่งที่ไม่จัดให้มีการปฏิบัติในกรอบการปฏิบัติของหน่วยที่มีอยู่เดิมหรือโดยปกติ เป็นงานที่เกิดขึ้นใหม่ด้วยความริเริ่มในการแก้ไขปัญหา ซึ่งคุกคามและมีผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อหน่วยงาน องค์กร หรือประเทศ โดยริเริ่มการปฏิบัตินับแต่ในขั้นเตรียมการ ปฏิบัติการและขั้นหลังการปฏิบัติ ทั้งนี้ ภัยคุกคามยังมีลักษณะขอบเขตอยู่เพียงความสนใจของผู้นำ ลักษณะขององค์กร และผลกระทบที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงอย่างไร ดังนั้น การปฏิบัติการพิเศษจึงปรับเปลี่ยนไปตามรูปแบบขององค์กรและภัยคุกคามเป็นหลัก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและการปฏิบัติการพิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติ ค.ศ. 1989

การปฏิวัต..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการปฏิวัติ ค.ศ. 1989 · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956

การปฏิวัติฮังการี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติคิวบา

การปฏิวัติคิวบา (Revolución cubana) เป็นการปฏิวัติด้วยอาวุธโดยขบวนการ 26 กรกฎาคมของฟีเดล กัสโตรต่อรัฐบาลผู้เผด็จการคิวบา ฟุลเคนเซียว บาติสตา ระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการปฏิวัติคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติเซาร์

การปฏิวัติเซาร์ (Saur Revolution, Sawr Revolution; ดารี: إنقلاب ثور; د ثور انقلاب‎) เป็นการปฏิวัติที่นำโดยพรรคประชาธิปไตยประชาชนอัฟกานิสถาน (PDPA) เพื่อโค่นล้มรัฐบาลของโมฮัมเหม็ด ดาวูด ข่าน เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 27–28 เมษายน ค.ศ. 1978 คำว่า "เซาร์" เป็นคำในภาษาดารี หมายถึงเดือนที่สองในปฏิทินเปอร์เซีย ซึ่งเป็นเดือนที่เกิดเหตุดังกล่าว.

ใหม่!!: สงครามเย็นและการปฏิวัติเซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมยัลตา

แฟรงกลิน โรสเวลต์ และโจเซฟ สตาลิน การประชุมยัลตา บ้างเรียก การประชุมไครเมีย และชื่อรหัสว่า การประชุมอาร์โกนอต (Argonaut Conference) จัดระหว่างวันที่ 4 ถึง 11 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการประชุมยัลตา · ดูเพิ่มเติม »

การประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954)

การประชุมเจนีวา การประชุมเจนีวา ระหว่างวันที่ 26 เมษายน - 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการประชุมเจนีวา (ค.ศ. 1954) · ดูเพิ่มเติม »

การประท้วงที่พอซนาน ค.ศ. 1956

การประท้วงที่พอซนาน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการประท้วงที่พอซนาน ค.ศ. 1956 · ดูเพิ่มเติม »

การปิดกั้นเบอร์ลิน

วเบอร์ลินกำลังดูเครื่องบิน Douglas C-54 Skymaster ลงจอดที่สนามบิน Tempelhof Airport ในปี 1948 เยอรมนีส่วนที่ปกครองโดยสหภาพโซเวียต การปิดกั้นเบอร์ลิน (Berlin Blockade) เป็นหนึ่งในวิกฤตการณ์หลักของสงครามเย็น ที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1948- 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1949 ประเทศมหาอำนาจที่ชนะสงครามโลกครั้งที่สองได้เข้ายึดครองประเทศเยอรมนี สหภาพโซเวียตซึ่งยึดครองกรุงเบอร์ลินอยู่ในเวลานั้นตั้งด่านปิดกั้นถนนไม่ให้สามมหาอำนาจฝ่ายตะวันตก (สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และฝรั่งเศส) เข้าถึงกรุงเบอร์ลินได้ วิกฤตการณ์นี้คลี่คลายลงหลังจากมหาอำนาจฝ่ายตะวันตกร่วมกันจัดตั้ง การขนส่งทางอากาศที่เบอร์ลิน (Berlin Airlift) เพื่อแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการขนส่งเสบียงสู่พื้นที่ของตน พร้อมทั้งเป็นการแสดงขีดความสามารถทางการผลิตและแสนยานุภาพทางอากาศของฝ่ายตะวันตก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและการปิดกั้นเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

การแทรกแซงการเลือกตั้งสหรัฐของรัสเซีย พ.ศ. 2559

แถลงการณ์ร่วมโดยกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิและสำนักงานผู้อำนวยการข่าวกรองแห่งชาติ ประชาคมข่าวกรองสหรัฐยืนยันความมั่นใจว่า รัสเซียแทรกแซงการเลือกตั้งสหรั..

ใหม่!!: สงครามเย็นและการแทรกแซงการเลือกตั้งสหรัฐของรัสเซีย พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

การเพิ่มอำนาจ

การเพิ่มอำนาจ (Empowerment) เป็นคำศัพท์ที่ใช้กล่าวถึงบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ตลอดเวลาในอดีตไม่มีอำนาจ (powerless) แต่มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญในทางบริบทสังคม การเมือง ทำให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวสามารถมีอำนาจที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งในด้านของการเจรจาต่อรอง การตัดสินใจ และความสามารถในการกำหนดเส้นทางหรือวิถีชีวิตของตัวเอง คำว่าการเพิ่มอำนาจจึงมักใช้กับประชาชนหรือกลุ่มทางสังคมที่ไม่ได้รับสิทธิ เสรีภาพจากรัฐ หรือเป็นกลุ่มที่ถูกกดขี่ขูดรีดจากระบบเศรษฐกิจ และเกิดการเปลี่ยนแปลงสำคัญ ไม่ว่าจะมาจากวิกฤติเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงกฎหมาย หรือการรวมตัวเคลื่อนไหวทางสังคม ทำให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวมีอำนาจมากยิ่งขึ้น หรือเป็นสาเหตุให้เกิดการเพิ่มอำนาจในการต่อสู้ต่อรองให้กลุ่มที่เคยไม่มีอำนาจดังกล่าว (Kurian, 2011: 504-505).

ใหม่!!: สงครามเย็นและการเพิ่มอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

การเมืองยุโรป

การเมืองของยุโรป นั้นเกี่ยวข้องกับการเมืองที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องภายในทวีปดังกล่าว เป็นหัวข้อที่มีรายละเอียดมากกว่าทวีปใด ๆ เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ ซึ่งรวมถึงประวัติศาสตร์อันยาวนานของรัฐชาติในภูมิภาค และแนวโน้มในปัจจุบันที่เดินไปสู่การเพิ่มขึ้นของเอกภาพทางการเมืองระหว่างรัฐในยุโรป การเมืองในปัจจุบันของยุโรปนั้นสามารถสืบรอยย้อนกลับไปได้ถึงเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ภายในทวีป ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม นั้นมีส่วนเสมอกันในการก่อร่างสภาพการเมืองของยุโรปในปัจจุบัน การเมืองยุโรปสมัยใหม่นั้นถูกครอบงำโดยสหภาพยุโรป ตั้งแต่การล่มสลายของม่านเหล็กและการพังทลายของบล็อกตะวันออกของรัฐคอมมิวนิสต์ ด้วยการสิ้นสุดของสงครามเย็น สหภาพยุโรปได้ขยายไปทางตะวันออก และรวมเอารัฐสมาชิก 27 รัฐ ซึ่งมีตัวแทนในรัฐสภายุโรป.

ใหม่!!: สงครามเย็นและการเมืองยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงเบอร์ลิน

กำแพงเบอร์ลิน ภาพถ่ายจากฝั่งเบอร์ลินตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2529 กำแพงเบอร์ลิน (Berlin Wall; Berliner Mauer) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงสงครามเย็น มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนระหว่างเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก กับเยอรมนีตะวันออกที่โอบอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) และปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนถูกทลายในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ในเยอรมนีตะวันออก กำแพงเบอร์ลิน คือ แนวเขตแดนที่มั่นคง และสัญลักษณ์ของการต่อต้านทุนนิยม มันถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "แนวป้องกันการต่อต้านฟาสซิตส์" แต่สำหรับโลกเสรีแล้ว มันคือ สัญลักษณ์ของความขัดแย้งระหว่างระบบทุนนิยมของยุโรปตะวันตก ภายใต้การนำของสหรัฐอเมริกา กับระบบคอมมิวนิสต์ของยุโรปตะวันออก ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต หรือที่เรียกกันว่า สงครามเย็น นั่นเอง กำแพงเบอร์ลิน ทำให้กรุงเบอร์ลินฝั่งตะวันตก กลายเป็นเสมือน หน้าต่างสู่เสรีภาพ นับตั้งแต่การสร้างกำแพงเบอร์ลิน การข้ามผ่านแดนจากเยอรมนีตะวันออก ไปยังเยอรมนีตะวันตก กลายเป็นเรื่องผิดกฎหมาย หากมีการฝ่าฝืนและถูกพบเห็น มีโทษสถานเดียว คือ การยิงทิ้ง ณ บริเวณกำแพงนั่นเอง ตลอดระยะเวลา 28 ปี คาดว่ามีผู้เสียชีวิตที่กำแพงเบอร์ลินขณะหลบหนีระหว่าง 137 ถึง 206 คน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและกำแพงเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

กติกาสัญญาวอร์ซอ

กติกาสัญญาวอร์ซอ (Warsaw Pact) หรือชื่อทางการว่า สนธิสัญญาแห่งไมตรี ความร่วมมือ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน (Treaty of Friendship, Co-operation, and Mutual Assistance; Договор о дружбе, сотрудничестве и взаимной помощи) บางครั้งเรียกขานอย่างไม่เป็นทางการว่า วอร์แพ็ก (WarPac) เป็นกติกาสัญญาด้านความมั่นคงร่วมกันระหว่างสหภาพโซเวียตกับรัฐบริวารของตนอีกเจ็ดแห่งในยุโรปตอนกลางและตะวันออกระหว่างช่วงสงครามเย็น กติกาสัญญาวอร์ซอเป็นส่วนเพิ่มด้านการทหารของคณะกรรมาธิการเพื่อการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างกันหรือ โคเมคอน (Council for Mutual Economic Assistance; CoMEcon) ซึ่งเป็นองค์การทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคสำหรับรัฐคอมมิวนิสต์ในยุโรปตอนกลางและตะวันออก ทั้งนี้กติกาสัญญาวอร์ซอก่อตั้งขึ้นเพื่อตอบโต้การที่เยอรมนีตะวันตกเข้าร่วมกับองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (เนโท)"In reaction to West Germany’s NATO accession, the Soviet Union and its Eastern European client states formed the Warsaw Pact in 1955." Citation from: ในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและกติกาสัญญาวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ภัยพิบัติ

2012'' ภาพยนตร์แนวภัยพิบัติซึ่งออกฉายในปี 2009 ภาพยนตร์ภัยพิบัติ หรือ ภาพยนตร์หายนะ (Disaster film) เป็นประเภทของภาพยนตร์ประเภทหนึ่ง มีเนื้อหาเกี่ยวภัยพิบัติหรืออุบัติการณ์ต่าง ๆ เช่น แผ่นดินไหว, อุบัติเหตุ, น้ำท่วม, ภูเขาไฟระเบิด, พายุ, ไฟไหม้ หรือแม้แต่การจู่โจมของสิ่งที่มีอยู่ในจินตนาการเช่น สัตว์ประหลาด หรือมนุษย์ต่างดาว ภาพยนตร์ในแนวภัยพิบัตินี้ มียุคที่ได้ชื่อว่าเป็นยุคทองในคริสต์ทศวรรษ 1970 เมื่อมีภาพยนตร์หลายเรื่องจากฮอลลีวู้ดได้ออกฉายและได้รับความนิยม ประสบความสำเร็จ เช่น Airport (1970) ที่มีชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ถึง 10 รางวัล จึงเป็นที่มาของอีกหลายเรื่อง เช่น The Poseidon Adventure (1972), Earthquake (1974) หรือ The Towering Inferno (1974) หรือแม้กระทั่งฉากการทำลายดาวทั้งดวงก็เกิดมาจากความหวาดกลัวอาวุธนิวเคลียร์ในยุคสงครามเย็นใน Star Wars (1977) ภาพยนตร์ภัยพิบัติกลับมาได้รับความนิยมอีกครั้งในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 เมื่อมีภาพยนตร์อีกหลายเรื่องในช่วงนี้ที่ได้รับความนิยมและประสบความสำเร็จ เช่น Twister (1996), Independence Day (1996), Titanic (1997), Hard Rain (1998), Godzilla (1998) และรวมถึงบางเรื่องที่มีเนื้อหาคล้ายคลึงกันและยังเข้าฉายในเวลาเดียวกัน เป็นเสมือนคู่แข่งกัน เช่น Dante's Peak (1997) กับ Volcano (1997) ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับภูเขาไฟระเบิดEbert, Roger (25 April 1997).

ใหม่!!: สงครามเย็นและภาพยนตร์ภัยพิบัติ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมอสโก

'มหาวิทยาลัยมอสโก มหาวิทยาลัยมอสโก หรือ มหาวิทยาลัยโลโมโนซอฟ (Моско́вский госуда́рственный университе́т и́мени М. В. Ломоно́сова: МГУ) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดในประเทศรัสเซีย ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและมหาวิทยาลัยมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

มหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (Санкт-Петербургский государственный университет อักษรย่อ СПбГУ) ก่อตั้งขึ้นโดยจักรพรรดิปีเตอร์ที่ 1ในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและมหาวิทยาลัยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี

นม ชอมสกี เป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะปัญญาชน นักปฏิบัติการ (หรือนักกิจกรรม) ทางการเมือง และนักวิจารณ์ เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาและรัฐบาลอื่น ๆ เขาเรียกตัวเองว่า นักสังคมนิยมแบบอิสรนิยม ผู้สนับสนุนสหการนิยมแบบอนาธิปไตย (anarcho-syndicalism) และมองว่า เป็นผู้รอบรู้สำคัญคนหนึ่งในการเมืองฝ่ายซ้ายของสหรัฐ โนม ชอมสกี ในการประท้วงต่อต้านสงครามในเมืองแวนคูเวอร์ พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: สงครามเย็นและมุมมองทางการเมืองของโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

มีฮาอิล กอร์บาชอฟ

มีฮาอิล เซียร์เกเยวิช กอร์บาชอฟ (Михаи́л Серге́евич Горбачёв, Mikhail Sergeyevich Gorbachyov) เป็นอดีตประธานาธิบดีสหภาพโซเวียต ทั้งยังเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตอีกด้วย ความพยายามปฏิรูปสหภาพของกอร์บาชอฟได้นำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการยุติสงครามเย็น เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพประจำปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและมีฮาอิล กอร์บาชอฟ · ดูเพิ่มเติม »

มีฮาอิล ซุสลอฟ

มีฮาอิล อันเดรย์เยวิช ซุสลอฟ (21 พฤษจิกายน [O.S. 8 พฤษจิกายน] 1902 – 25 มกราคม 1982) ป็นรัฐบุรุษโซเวียตในช่วงสงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและมีฮาอิล ซุสลอฟ · ดูเพิ่มเติม »

มนุษย์หลุมหลบภัยบ้าหลุดโลก

มนุษย์หลุมหลบภัยบ้าหลุดโลก (อังกฤษ: Blast from the Past) เป็นภาพยนตร์ สัญชาติอเมริกา สร้างขึ้นเมื่อปี ..

ใหม่!!: สงครามเย็นและมนุษย์หลุมหลบภัยบ้าหลุดโลก · ดูเพิ่มเติม »

ม่านไผ่

ม่านไม้ไผ่ ปี ค.ศ. 1959 แสดงเป็นเส้นสีดำ ประเทศที่มีรัฐบาลคอมมิวนิสต์ที่อยู่ทางตอนเหนือของม่านไม้ไผ่เป็นสีแดง สมาชิกซีโต้ที่อยู่อีกฝั่งหนึ่งเป็นสีน้ำเงิน ประเทศที่เป็นกลางเป็นสีเทา ม่านไผ่ (Bamboo Curtain) เป็นเส้นแบ่งเขตทางอุดมการณ์ในทวีปเอเชีย นับแต่ชัยชนะของสาธารณรัฐประชาชนจีนในสงครามกลางเมืองจีนบนแผ่นดินใหญ่ในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและม่านไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

ม่านเหล็ก

การแตกแยกของจีน-โซเวียต ฉะนั้น จึงแรเส้นเงาสีเทา ม่านเหล็ก (Iron Curtain) เป็นสัญลักษณ์ของความขัดแย้งทางอุดมการณ์และพรมแดนเชิงกายภาพที่แบ่งทวีปยุโรปออกเป็นสองพื้นที่ นับแต่สงครามโลกครั้งที่สองยุติในปี 2488 ถึงสงครามเย็นสิ้นสุดในปี 2534 สหภาพโซเวียตตั้งม่านเหล็กขึ้นเพื่อปิดกั้นตนเอง รัฐในภาวะพึ่งพิง และพันธมิตรยุโรปกลางจากการติดต่ออย่างเปิดเผยกับตะวันตกและพื้นที่ที่มิใช่คอมมิวนิสต์ ด้านตะวันออกของม่านเหล็กเป็นประเทศที่เชื่อมต่อกับหรือได้รับอิทธิพลจากอดีตสหภาพโซเวียต ทั้งสองด้านของม่านเหล็ก รัฐต่าง ๆ พัฒนาพันธมิตรทางเศรษฐกิจและการทหารระหว่างประเทศของตนเอง ดังนี้.

ใหม่!!: สงครามเย็นและม่านเหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

ยาส 39

39 กริพเพน (JAS 39 Gripen) (อ่านในภาษาสวีเดนว่า "ยอซ แทร็กตี้นิโยะ กรีเผ่น") เป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทที่ผลิตโดยบริษัทซ้าบของประเทศสวีเดน โดยมีกริพเพน อินเตอร์เนชั่นแนล (Gripen International) ทำหน้าที่เป็นองค์กรหลักในการทำสัญญาซึ่งจะรับผิดชอบต่อการตลาด การขาย และการสนับสนุนเครื่องบินขับไล่กริพเพนทั่วโลก ปัจจุบันมันอยู่ในประจำการของกองทัพอากาศสวีเดน กองทัพอากาศเช็ก กองทัพอากาศฮังการี และกองทัพอากาศแอฟริกาใต้ และยังถูกสั่งซื้อโดยกองทัพอากาศไทยอีกด้วย มีกริพเพนทั้งหมด 236 ลำที่ถูกสั่งซื้อในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและยาส 39 · ดูเพิ่มเติม »

ยาปฏิชีวนะ

การดื้อยาปฏิชีวนะในกลุ่มเพนิซิลลินอย่างรุนแรง ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics จากภาษากรีซโบราณ αντιβιοτικά, antiviotika) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibacterials) เป็นกลุ่มย่อยของยาอีกกลุ่มหนึ่งในกลุ่มยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial drugs) ซึ่งเป็นยาที่ถูกใช้ในการรักษาและป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยอาจออกฤทธิ์ฆ่าหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสอง ยาปฏิชีวนะบางชนิดอาจมีคุณสมบัติเป็นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านโพรโทซัวได้ เช่น เมโทรนิดาโซล ทั้งนี้ ยาปฏิชีวนะไม่มีฤทธิ์ในการต้านไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ เช่น ไข้หวัด หรือ ไข้หวัดใหญ่ เป็นต้น โดยยาที่มีฤทธิ์ต่อเชื้อไวรัสจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มยาต้านไวรัส ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยอีกกลุ่มหนึ่งของยาต้านจุลชีพ ในบางครั้ง คำว่า ยาปฏิชีวนะ (ซึ่งหมายถึง "การต่อต้านชีวิต") ถูกนำมาใช้เพื่อสื่อความถึงสารใดๆที่นำมาใช้เพื่อต้านจุลินทรีย์ ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับคำว่า ยาต้านจุลชีพ บางแหล่งมีการใช้คำว่า ยาปฏิชีวนะ และ ยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ในความหมายที่แยกจากกันไป โดยคำว่า ยา (สาร) ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย จะสื่อความถึง สบู่ และน้ำยาฆ่าเชื้อ ขณะที่คำว่า ยาปฏิชีวนะ จะหมายถึงยาที่ใช้ในทางการแพทย์เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย การพัฒนายาปฏิชีวนะเริ่มต้นในช่วงศตวรรษที่ 20 พร้อมกับการพัฒนาเรื่องการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคจากเชื้อจุลชีพต่างๆ การเกิดขึ้นของยาปฏิชีวนะนำมาซึ่งการกำจัดโรคติดเชื้อแบคทีเรียต่างๆ ออกไปหลายชนิด เช่น กรณีของวัณโรคที่ระบาดในประเทศกำลังพัฒนา อย่างไรก็ตาม ด้วยประสิทธิภาพที่ดีและการเข้าถึงยาที่ง่ายนำไปสู่การใช้ยาปฏิชีวนะในทางที่ผิด พร้อมๆกับการที่แบคทีเรียมีการพัฒนาจนกลายพันธุ์เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ปัญหาดังข้างต้นได้แพร่กระจายเป็นวงกว้าง จนเป็นปัญหาสำคัญของการสาธารณสุขในทุกประเทศทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ประกาศให้ปัญหาการดื้อยาของเชื้อแบคทีเรียเป็น "ปัญหาสำคัญเร่งด่วนที่สุดที่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลกและทุกคนล้วนจะต้องได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ ไม่ว่าวัยใด หรือประเทศใดก็ตาม".

ใหม่!!: สงครามเย็นและยาปฏิชีวนะ · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปกลาง

รัฐในยุโรปกลางในปี ค.ศ. 1902 ยุโรปกลาง (Central Europe) คือ อาณาบริเวณที่ตีความหมายแตกต่างกันไปหลายอย่าง ที่ตั้งอยู่ระหว่างยุโรปตะวันออก และยุโรปตะวันตก คำนี้และความสนใจโดยทั่วไปของบริเวณนี้กลับมาเป็นที่สนใจกันอีกครั้ง หลังจากสงครามเย็นสิ้นสุดลงซึ่งก็เช่นเดียวกับม่านเหล็กที่เป็นอาณาบริเวณที่แบ่งยุโรปทางการเมืองออกเป็นตะวันออก และ ตะวันตก และม่านเหล็กผ่ายุโรปกลางออกเป็นสองข้าง ความหมายของยุโรปกลางในเชิงความมีลักษณะวัฒนธรรมร่วมกันของกลุ่มรัฐที่อยู่ในเครือเป็นความคิดที่ค่อนข้างจะเป็นความคิดลวง แต่กระนั้นนักวิชาการก็ยังเสนอว่าลักษณะเอกลักษณ์ของ “วัฒนธรรมยุโรปกลางที่แม้จะยังเป็นที่โต้แย้งกันอยู่นั้นมีอยู่จริง” ความเห็นนี้มีพื้นฐานมาจาก “ความคล้ายคลึงกันที่มาจากลักษณะทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม” ซึ่งสามารถบอกได้จากการที่บริเวณที่ว่านี้เคยเป็น “สถานที่ที่เป็นแหล่งสำคัญที่สุดของผู้มีความรู้ความสามารถในด้านต่างๆ เป็นจำนวนมาก” ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 18 คริสต์ศตวรรษที่ 20 “Cross Currents: A Yearbook of Central European Culture” ให้คำจำกัดความของยุโรปกลางว่าเป็น “ยุโรปตะวันตกที่ถูกละเลย หรือ สถานที่ที่ยุโรปตะวันออกและตะวันตกประสานงานกัน” ในคริสต์ทศวรรษ 2000 ประเทศหลายประเทศในยุโรปกลางก็มักจะติดอันดับอยู่ในบรรดากลุ่ม 30 ประเทศที่ถือกันว่าเป็นประเทศพัฒนา (Developed countries) ที่สุดในโลก แต่วัฒนธรรมสมัยนิยมของตะวันตก (โดยเฉพาะในวัฒนธรรมสมัยนิยมอเมริกัน) ยังคงมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบริเวณนี้ที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นประเทศที่ยังอยู่ในความ “ความล้าหลัง” ของสงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและยุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอฟโอ

ที่เชื่อว่าเป็นยูเอฟโอในรัฐนิวเจอร์ซีย์ ถ่ายเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 1952 วัตถุบินกำหนดเอกลักษณ์ไม่ได้ (unidentified flying object) ย่อว่า วบกอม หรือมักเรียกว่า ยูเอฟโอ หรือ ยูโฟ (UFO) ในความหมายกว้างที่สุด คือ สิ่งผิดปกติประจักษ์ชัดใด ๆ ในท้องฟ้า (หรือใกล้หรืออยู่บนพื้นดิน แต่สังเกตว่าบินร่อน ลงจอดหรือทะยานขึ้นสู่ท้องฟ้า) ซึ่งไม่สามารถระบุเอกลักษณ์ได้ในทันทีว่าเป็นวัตถุหรือปรากฏการณ์ใด ๆ ที่ทราบจากการสังเกตด้วยตา และ/หรือ การใช้เครื่องมือช่วย เช่น เรดาร์ สิ่งผิดปกตินี้มักเรียกว่า "จานผี" หรือ "จานบิน" ระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1940 และต้นคริสต์ทศวรรษ 1950 คำว่า "ยูเอฟโอ" ประดิษฐ์ขึ้นอย่างเป็นทางการใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและยูเอฟโอ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ

ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ (totalitarianism) เป็นระบบการเมืองที่รัฐถืออำนาจเบ็ดเสร็จเหนือสังคมและมุ่งควบคุมทุกแง่มุมของชีวิตสาธารณะและชีวิตส่วนตัวตามที่เห็นจำเป็นRobert ConquestReflections on a Ravaged Century (2000) ISBN 0-393-04818-7, page 74 มโนทัศน์ระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จพัฒนาขึ้นครั้งแรกในความหมายเชิงบวกในคริสต์ทศวรรษ 1920 โดยฟาสซิสต์อิตาลี มโนทัศน์ดังกล่าวกลายมาโดดเด่นในวจนิพนธ์การเมืองต่อต้านคอมมิวนิสต์ของตะวันตกระหว่างสงครามเย็น เพื่อเน้นความคล้ายที่รับรู้ระหว่างนาซีเยอรมนีและระบอบฟาสซิสต์อื่นด้านหนึ่ง กับคอมมิวนิสต์โซเวียตอีกด้านหนึ่ง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก

นธิสัญญาแอนตาร์กติกและความตกลงที่เกี่ยวข้อง รวมเรียก ระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก (Antarctic Treaty System, ย่อ: ATS) วางระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับทวีปแอนตาร์กติกา สำหรับวัตถุประสงค์ของระบบสนธิสัญญาฯ มีการนิยาม "แอนตาร์กติกา" ว่าหมายถึงแผ่นดินและหิ้งน้ำแข็งทั้งหมดที่อยู่ใต้ละติจูด 60°ใต้ สนธิสัญญาฯ มีผลใช้บังคับในปี 2504 และปัจจุบันมีภาคี 53 ประเทศ สนธิสัญญาฯ กันทวีปแอนตาร์กติกาไว้เพื่อการอนุรักษ์ทางวิยาศาสตร์ จัดตั้งเสรีภาพการสืบสวนทางวิทยาศาสตร์และห้ามกิจกรรมทางทหารบนทวีป สนธิสัญญาฯ เป็นความตกลงควบคุมอาวุธความตกลงแรกซึ่งจัดตั้งขึ้นระหว่างสงครามเย็น นับแต่เดือนกันยายน 2547 สำนักงานใหญ่เลขาธิการสนธิสัญญาแอนตาร์กติกตั้งอยู่ในกรุงบัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา สนธิสัญญาหลักเปิดให้ลงนามเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2502"Antarctic Treaty" in The New Encyclopædia Britannica.

ใหม่!!: สงครามเย็นและระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติก · ดูเพิ่มเติม »

ระเบิดมือ

ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดเอฟ 1 ที่นิยมใช้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ระเบิดมือ เป็นวัตถุระเบิดที่มีขนาดพอเหมาะกับฝ่ามือ ใช้โดยการจุดชนวนและขว้างไปยังเป้าหมาย เพื่อให้เป้าหมายได้รับแรง, การติดเพลิง, หรือสะเก็ดจากการระเบิด เกิดเป็นความเสียหายของเป้าหมาย เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระเบิดขว้าง ระเบิดมือบางรุ่นสามารถใช้ติดกับปากกระบอกปืนเล็กยาวเพื่อการยิงได้ หรือใช้กับเครื่องยิงระเบิดมือที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษก็ได้ ตัวอย่างเช่น ระเบิดก๊าซน้ำตา ที่ใช้ควบคุมจลาจล และเครื่องยิงระเบิดมือแบบ เอ็ม 203 (M203) ที่ติดไว้ใต้ปืนเล็กยาวรุ่นใหม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและระเบิดมือ · ดูเพิ่มเติม »

ระเบิดนิวเคลียร์มาร์ก 17

ระเบิด Mk 17 ระเบิดนิวเคลียร์ มาร์ก 17 และระเบิดนิวเคลียร์ มาร์ก 24 เป็นระเบิดไฮโดรเจนของกองทัพสหรัฐที่ผลิตขึ้นเป็นจำนวนมากในช่วงสงครามเย็น ประจำการในช่วงปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและระเบิดนิวเคลียร์มาร์ก 17 · ดูเพิ่มเติม »

รัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย

รัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย (រដ្ឋាភិបាលចម្រុះកម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ รฎฺฐาภิบาลจมฺรุะกมฺพุชาบฺรชาธิบเตยฺย; Coalition Government of Democratic Kampuchea: CGDK) เป็นการรวมตัวของกลุ่มการเมืองในกัมพูชาได้แก่เขมรแดง ภายใต้การนำของเขียว สัมพันและพล พต แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติประชาชนเขมรของซอนซาน และพรรคฟุนซินเปกของสมเด็จพระนโรดม สีหนุ เพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตยใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและรัฏฐาภิบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบริวาร

รัฐบริวาร (Client state หรือ Satellite state) เป็นคำศัพท์ทางการเมือง หมายถึง ประเทศที่มีเอกราชอย่างเป็นทางการ แต่อยู่ภายใต้อิทธิพลอย่างมาก หรือถูกควบคุมโดยอีกประเทศหนึ่ง โดยเป็นคำที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อโดยเปรียบเทียบกับดาวบริวาร ซึ่งโคจรรอบดาวดวงอื่น และคำว่า รัฐบริวาร มักจะใช้หมายความถึง รัฐในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของสหภาพโซเวียต ระหว่างสงครามเย็น รัฐบริวารอาจหมายถึงประเทศที่ถูกครอบงำทางการเมืองและทางเศรษฐกิจโดยอีกประเทศหนึ่ง ในเวลาสงคราม รัฐบริวารบางครั้งทำหน้าที่เป็นรัฐกันชนระหว่างประเทศฝ่ายศัตรูกับประเทศที่มีอิทธิพลอยู่เหนือรัฐบริวารนั้น คำว่า "รัฐบริวาร" เป็นหนึ่งในคำที่ใช้อธิบายถึงสภาพที่รัฐหนึ่งตกอยู่ใต้อำนาจของอีกรัฐหนึ่งซึ่งคล้ายกับ รัฐหุ่นเชิด โดยทั่วไปแล้ว คำว่า "รัฐบริวาร" แสดงให้เห็นถึงความสวามิภักดิ์ทางความคิดให้กับอำนาจความเป็นประมุขอย่างลึกซึ้ง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและรัฐบริวาร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์

รัฐบาลพลัดถิ่นแห่งสาธารณรัฐโปแลนด์ (Rząd Rzeczypospolitej Polskiej na uchodźstwie) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่นหลังการบุกครองโปแลนด์ของนาซีเยอรมนีและสหภาพโซเวียตในเดือนกันยายน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกันชน

รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและรัฐกันชน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศชิลี พ.ศ. 2516

รัฐประหารในประเทศชิลี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและรัฐประหารในประเทศชิลี พ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเวียดนาม

รัฐเวียดนาม (Quốc gia Việt Nam) เป็นรัฐที่อ้างอำนาจเหนือประเทศเวียดนามทั้งหมดในช่วงระหว่างสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และแทนที่รัฐบาลกลางชั่วคราวแห่งเวียดนาม (ปี พ.ศ. 2491–พ.ศ. 2492) ซึ่งเป็นรัฐอายุสั้นที่เกิดขึ้นในช่วงเปลี่ยนผ่านอำนาจระหว่างอาณานิคมโคชินไชนาไปสู่การเป็นรัฐเอกราช รัฐนี้ได้สถาปนาขึ้นในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและรัฐเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ปาห์ลาวี

ราชวงศ์ปาห์ลาวี (دودمان پهلوی) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองอิหร่านในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและราชวงศ์ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน

ราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน (Kingdom of Afghanistan; د افغانستان واکمنان; پادشاهي افغانستان) เป็นราชอาณาจักรที่ปกครองอัฟกานิสถาน ระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเย็นและราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิรัก

ราชอาณาจักรอิรัก (المملكة العراقية; Kingdom of Iraq).

ใหม่!!: สงครามเย็นและราชอาณาจักรอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรทิเบต

ราชอาณาจักรทิเบต เป็นรัฐเอกราชโดยพฤตินัยระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเย็นและราชอาณาจักรทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อนวนิยายไทย

รายชื่อนวนิยายไท.

ใหม่!!: สงครามเย็นและรายชื่อนวนิยายไทย · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด นิกสัน

ริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ภาษาอังกฤษ: Richard Milhous Nixon) (9 มกราคม พ.ศ. 2456 - 22 เมษายน พ.ศ. 2537) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่าง พ.ศ. 2512- พ.ศ. 2517 และเคยเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 36 ระหว่างปี พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2504 ริชาร์ด นิกสันเป็นประธานาธิบดีคนแรกและคนเดียวที่ลาออกจากตำแหน่ง สาเหตุที่ลาออกนั้นเกิดจากคดีวอเตอร์เกต ในสมัยของนิกสันนั้นประสบความสำเร็จในด้านการทูต โดยเฉพาะการผ่อนคลายความตึงเครียดในช่วงสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียต และประเทศจีน รวมไปถึงการถอนตัวออกจากสงครามเวียดนาม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและริชาร์ด นิกสัน · ดูเพิ่มเติม »

รถยนต์ประจำตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา

รถยนต์ประจำตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา เป็นรถยนต์รับรองของประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา มีชื่อเสียงเป็นอย่างมากในด้านระบบรักษาความปลอดภัย ปัจจุบัน บริษัทที่ผลิตรถยนต์ คือ เจเนรัลมอเตอร์ โดยรถยนต์ประจำตำแหน่งนี้เป็นรถลีมูซีนกันกระสุนและมีระบบรักษาความปลอดภัยที่เป็นเลิศ มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย และมีอุปกรณ์สื่อสารครบครันสำหรับประธานาธิบดีที่จะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้บนโลกใบนี้.

ใหม่!!: สงครามเย็นและรถยนต์ประจำตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รถถังพันเทอร์

right พันเทอร์ (Panther) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า พันเซอร์ 5 (Panzer V) ชื่ออย่างเป็นทางการคือ Panzerkampfwagen V Panther เป็นรถถังขนาดกลางของนาซีเยอรมนีที่ถูกใช้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง โดยถูกออกแบบในช่วงปี ค.ศ. 1941.

ใหม่!!: สงครามเย็นและรถถังพันเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูใบไม้ที่ร่วงเยอรมัน

อรมันออทั่ม หรือ ฤดูใบไม้ที่ร่วงเยอรมัน (German Autumn,Deutscher Herbst) เป็นกลุ่มของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงปลายปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและฤดูใบไม้ที่ร่วงเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิทรูแมน

ลัทธิทรูแมน (Truman Doctrine) เป็นนโยบายซึ่งเสนอโดยประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา แฮร์รี เอส. ทรูแมน เมื่อวันที่ 12 มีนาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและลัทธิทรูแมน · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิคอมมิวนิสต์

ในทางรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ (communism; communis แปลว่า "ร่วมกัน" หรือ "สากล") คืออุดมการณ์และขบวนการทางสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ อันเป็นระเบียบทางสังคมบนพื้นฐานของความเป็นเจ้าของร่วมกัน (Common ownership) ของปัจจัยการผลิต (Means of production) และปราศจากชนชั้นทางสังคม เงินตรา และรัฐ ลัทธิคอมมิวนิสต์ปรากฏอยู่ในปรัชญาหรือแนวคิดหลากหลายทฤษฎีที่โดยรวม ๆ แล้วจะรวมถึงลัทธิมากซ์-อนาธิปไตย (ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย) และอุดมการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ ซึ่งเชื่อมโยงกับสองแนวคิดนี้ โดยที่ทั้งหมดนี้มีบทวิเคราะห์สรุปร่วมกันว่าระเบียบทางสังคมในปัจจุบันอันถือกำเนิดถึงจากระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ประกอบไปด้วยชนชั้นทางสังคมสองชนชั้นหลักคือ "ชนชั้นแรงงาน" ผู้ที่ต้องทำงานเพื่ออยู่รอดและถือเป็นกลุ่มคนส่วนมากในสังคม และ "ชนชั้นนายทุน" อันเป็นชนกลุ่มน้อยในสังคม ผู้ถือเอากำไรจากการจ้างวานชนชั้นแรงงานผ่านการครอบครองปัจจัยการผลิตไว้เฉพาะส่วนตน ที่ซึ่งความขัดแย้งระหว่างสองชนชั้นนี้เองที่จะก่อให้เกิดการปฏิวัติ อันเป็นองค์ประกอบตั้งต้นที่จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตร่วมกันของคนในสังคม (Social ownership) ด้วยความที่ลัทธิคอมมิวนิสต์มีอุดมคติที่ตรงกันข้ามกับลัทธิเสรีนิยมทางเศรษฐกิจ (Economic Liberalism) จึงทำให้เกิดความหวาดกลัวและการต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์อย่างกว้างขวางในช่วงสงครามเย็น ดังจะเห็นได้จากกระแส "ความหวาดกลัวแดง" (Red Scare) หรือ ลัทธิแม็คคาร์ธี ในอเมริกาช่วงต้นสงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและลัทธิคอมมิวนิสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ล็อกฮีด ยู-2

ล็อกฮีด ยู-2 (Lockheed U-2) ยู-2 เป็นเครื่องบินที่ออกแบบมาให้บินในระดับสูงกว่า 21,000 เมตร ขึ้นไป มีลักษณะเหมือนเครื่องร่อนติดเครื่องยนต์ ปีกยาวลำตัวเล็กบางเพื่อลดน้ำหนัก และ เครื่องยนต์สามารถทำงานในทีมีอากาศเบาบางได้ ยู-2 เป็นเครื่องบินจรกรรมที่ออกแบบมาเพื่อบินสูงเป็นพิเศษ และ เป็นเครื่องบินที่เป็นความลับสุดยอดแบบหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ยู-2 ถูกเปิดเผยต่อชาวโลกเป็นครั้งแรกเมื่อถูกยิงตกในสหภาพโซเวียต ในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งกองทัพอากาศสหรัฐและซีไอเอใช้ ยู-2 บินเข้าไปในอีกหลายประเทศ เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน คิวบา เวียดนาม และ ประเทศคอมมิวนิสต์อื่นๆ ด้วยเพดานบินที่สูงเป็นพิเศษซึ่งสูงกว่าเครื่องบินขับไล่ทั่วไปในช่วงสมัยสงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและล็อกฮีด ยู-2 · ดูเพิ่มเติม »

วันรัฐธรรมนูญ (เกาหลีใต้)

วันรัฐธรรมนูญ (제헌절) ในประเทศเกาหลีใต้ตรงกับวันที่ 17 กรกฎาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันที่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและวันรัฐธรรมนูญ (เกาหลีใต้) · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์มาลายา

วิกฤตการณ์มาลายา (อังกฤษ: Malayan Emergency) เป็นสงครามกองโจรต่อสู้กันระหว่างฝ่ายเครือจักรภพแห่งชาติและ กองทัพปลดปล่อยชนชาติมาลายาซึ่งเป็นกองกำลังของ พรรคคอมมิวนิสต์มาลายา ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและวิกฤตการณ์มาลายา · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา

ประธานาธิบดีเคนเนดี พบปะกับเอกอัครราชทูตโซเวียต อังเดร โกรมิโก ที่ทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ก่อนเกิดการเผชิญหน้า แผนที่แสดงรัศมีของการใช้ขีปนาวุธที่คิวบา วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา (Cuban Missle Crisis) คือการเผชิญหน้าทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกาฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียตและประเทศคิวบาอีกฝ่ายหนึ่ง ในช่วงเวลาที่สงครามเย็นอยู่ในช่วงความตึงเครียดจนเกือบจะกลายไปเป็นสงครามปรมาณู ชาวรัสเซียเรียกเหตุการณ์นี้ว่าวิกฤตการณ์แคริบเบียน ส่วนชาวคิวบาเรียกมันว่าวิกฤตการณ์เดือนตุลาคม เหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็นหนึ่งในการเผชิญหน้าครั้งสำคัญในสงครามเย็นนอกจากการปิดล้อมเบอร์ลิน การเผชิญหน้าเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1962 เมื่อภาพถ่ายจากเครื่องบินสังเกตการณ์ ยู-2 ของสหรัฐอเมริกา เผยให้เห็นฐานปล่อยขีปนาวุธ กำลังถูกสร้างขึ้นในคิวบา ภายใต้การปกครองของฟีเดล กัสโตร เพื่อตอบโต้การสร้างฐานขีปนาวุธของสหรัฐอเมริกา ณ บริเวณพรมแดนของตุรกีและสหภาพโซเวียต ทางสหรัฐอเมริกาได้กำหนดมาตรการกักกัน ส่งเรือรบเข้าปิดล้อมคิวบา ห้ามเรือบรรทุกสินค้าทุกลำผ่านเข้ามาในน่านน้ำทะเลแคริบเบียน เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์คลองสุเอซ

วิกฤตการณ์สุเอซ (The Suez Crisis หรือ Tripartite Aggression) เป็นวิกฤตการณ์ที่เกิดสงครามระหว่าง อียิปต์, อังกฤษ, ฝรั่งเศส และอิสราเอล มีมูลเหตุมาจากที่อียิปต์ต้องการให้คลองสุเอซ (ที่ขุดโดยเงินทุนของอียิปต์ กับฝรั่งเศส) กลายเป็นของประเทศ แต่คลองนี้มีความสำคัญต่ออังกฤษเพราะเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ มายังอาณานิคมทั้งหลายทั้ง อินเดีย, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และตะวันออกไกล ดังนั้นอังกฤษจึงซื้อหุ้นส่วนของอียิปต์ในคลองนี้ มาทำให้ตัวเองมีอำนาจเหนือคลองดังกล่าวและคานอำนาจกับฝรั่งเศส คลองนี้มีส่วนสำคัญในการรบทั้ง สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและวิกฤตการณ์คลองสุเอซ · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมผันกลับ

วิศวกรรมย้อนกลับ (Reverse Engineering) คือ กระบวนการค้นหาโครงสร้าง ฟังก์ชันการทำงานของอุปกรณ์หรือระบบหนึ่ง ๆ มักเกี่ยวข้องกับการแยกชิ้นส่วนของอุปกรณ์ออกจากกัน (ได้แก่ เครื่องกล อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์) แล้ววิเคราะห์การทำงานในแต่ละส่วน จากนั้นจึงนำมาสร้างอุปกรณ์ใหม่หรือโปรแกรมใหม่ ที่ทำงานได้เหมือนเดิม โดยปราศจากการคัดลอกจากต้นแบบ วิศวกรรมผันกลับ เป็นวิทยาศาสตร์โดยพื้นฐาน ที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ (ในทางกลับกัน วิศวกรรม อาจถูกมองว่าเป็น 'วิทยาศาสตร์ย้อนกลับ' ก็ได้) วิชาชีววิทยาถือได้ว่าเป็น วิศวกรรมย้อนกลับของ'เครื่องจักรชีวะ' วิชาฟิสิกส์เป็นวิศวกรรมย้อนกลับของโลกทางกายภาพ วิศวกรรมย้อนกลับถือเป็นสาขาย่อยในวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่มีความเป็นวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง ส่วนสาขาย่อยอื่นๆในวิทยาการคอมพิวเตอร์นั้นจัดเป็น วิศวกรรมการสร้าง'ไปข้างหน้า' ในสหรัฐอเมริกาและอีกหลายๆประเทศ การทำวิศวกรรมผันกลับค่อนข้างเสี่ยงต่อการถูกฟ้องร้องหรือเป็นคดีความ เนื่องจากสังคมโลกมีการใช้กฎหมายลิขสิทธิ์กันอย่างกว้างขวาง ผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ต่างต้องการรักษาเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ที่คิดค้นขึ้นเป็นความลับ ขณะที่จุดมุ่งหมายของวิศวกรรมผันกลับคือการเปิดเผยความลับนั้น ๆ ออกม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและวิศวกรรมผันกลับ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์

SAIS - วอชิงตัน ดี.ซี. วิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอ.

ใหม่!!: สงครามเย็นและวิทยาลัยระหว่างประเทศศึกษาชั้นสูงพอล เอช. นิทซ์ · ดูเพิ่มเติม »

สกั๊ด

รวด R-17 (SS-1c Scud-B) ของโปแลนด์ รถยิงขีปนาวุธ MAZ-543 ที่ใช้ยิงสกั๊ด (R-300 Elbrus / SS-1c Scud-B) สกั๊ด (Scud) เป็นชื่อที่ใช้เรียกขีปนาวุธทางยุทธศาสตร์ของสหภาพโซเวียต ที่ผลิตขึ้นระหว่างสงครามเย็น และมีใช้อย่างแพร่หลายไปทั่วโลก มาจากชื่อที่นาโตใช้เรียกขีปนาวุธ R-11, R-17 และ R-300 เอลบรูส ของโซเวียต ว่า SS-1 Scud ปัจจุบันชื่อนี้ใช้เป็นชื่อรวมๆ ที่เรียกขีปนาวุธทั้งหลายที่พัฒนามาจากขีปนาวุธต้นแบบของโซเวียต ทั้งตระกูล Al-Hussein, Al-Abbas ที่พัฒนาโดยอิรัก ตระกูล Shahab ที่พัฒนาโดยอิหร่าน และ Hwasong, Rodong ที่พัฒนาโดยเกาหลีเหนือ.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสกั๊ด · ดูเพิ่มเติม »

สมรภูมิบ้านร่มเกล้า

มรภูมิบ้านร่มเกล้า หรือ ยุทธการบ้านร่มเกล้า เป็นการรบระหว่างประเทศไทยและประเทศลาว ณ บริเวณบ้านร่มเกล้า ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 จากการสู้รบอย่างหนักต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน ทำให้เกิดการสูญเสียอย่างมากทั้งฝ่ายไทยและลาว และนับเป็นการสูญเสียชีวิตทหารมากที่สุดในการรบของไทยเท่าที่เคยมีมา การรบสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 19 กุมภาพัน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสมรภูมิบ้านร่มเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

สมัยปัจจุบัน

สมัยปัจจุบัน เป็นช่วงเวลาของอารยธรรมหนึ่ง ๆ ซึ่งเป็นช่วงที่แต่ละอารยธรรมจะมีเทคโนโลยีเข้ามาใช้อย่างแพร่หลาย และมีการตระหนักถึงการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกวิธี นักประวัติศาสตร์ได้กำหนดช่วงเวลาที่เป็น "สมัยปัจจุบัน" ของสากลโลกไว้ให้ตรงกับ ค.ศ. 1945 จนถึงปัจจุบันนี้ โดยเริ่มนับจากการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นต้นมา ในสมัยใหม่ เป็นช่วงเวลาแห่งการสร้างเทคโนโลยี และการค้นพบทฤษฎีความรู้ต่างๆ มากมาย แต่ทว่า การใช้เทคโนโลยีอย่างขาดจิตสำนึกทำให้เทคโนโลยีถูกใช้ไปในทางไม่ดีในช่วงปลายของสมัยใหม่ เกิดการแข่งขันสะสมและประดิษฐ์อาวุธอันร้ายแรงของประเทศต่างๆ จนนำไปสู่สงครามโลกถึง 2 ครั้ง ในเวลาเพียง 31 ปี มีผู้เสียชีวิตรวมกว่า 100 ล้านคน เป็นความสูญเสียของมนุษย์ ที่เกิดจากสิ่งประดิษฐ์และการกระทำของมนุษย์ด้วยกันเอง แต่ในช่วงใกล้สิ้นสุดของสมัยใหม่ เกิดการตระหนักในการใช้วิทยาการอย่างถูกวิธีและรอบคอบ แต่ในขณะเดียวกัน การพัฒนาเทคโนโลยีก็ยังมีอย่างต่อเนื่อง และนับจากนั้น เทคโนโลยีของมนุษย์ก็ไม่เคยถูกจงใจใช้เพื่อสังหารมนุษย์จำนวนมาก ๆ อีกเลย ทำให้สังคมของอารยธรรมนั้นๆ มีสภาพคล้ายกับในช่วงปัจจุบัน ทำให้สมัยใหม่ของอารยธรรมนั้นๆ สิ้นสุดลง และอารยธรรมก้าวเข้าสู่สมัยปัจจุบัน แต่ถึงกระนั้น ก็มิใช่ว่าสมัยใหม่จะไม่มีสงครามเลย สงครามที่มีชื่อเสียงที่สุดในช่วงสมัยปัจจุบัน คือ สงครามเย็น อันเป็นการต่อสู้ทางอุดมการณ์ของระบอบการปกครองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนระบอบประชาธิปไตย กับระบอบคอมมิวนิสต์ ที่ต่างฝ่ายต่างพยายามเปลี่ยนโลกให้มีการปกครองในระบอบที่ฝ่ายตนสนับสนุน มีการใช้อาวุธปืนในการสังหารบ้าง แต่ไม่มีความรุนแรงกว้างขวางไม่มากเท่าสงครามโลกในสมัยใหม่ หมวดหมู่:ยุคสมัยในประวัติศาสตร์.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสมัยปัจจุบัน · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ

หพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ (اتحاد الجمهوريات العربية Ittiħād Al-Jumhūriyyāt Al-`Arabiyya) เป็นความพยายามรวมลิเบีย อียิปต์และซีเรียของมูอัมมาร์ อัล-กัดดาฟี แม้จะได้รับการรับรองจาก การลงประชามติเกี่ยวกับสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรั..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพฝรั่งเศส

หภาพฝรั่งเศส (Union française) เป็นกลุ่มประเทศอธิปไตยก่อตั้งโดยสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 เพื่อแทนที่ระบอบอาณานิคมของจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสที่มีอยู่เดิม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสหภาพฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: สงครามเย็นและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอาหรับ

หรัฐอาหรับ (الدول العربية المتحدة; United Arab States: UAS) เป็นสมาพันธรัฐที่เกิดจากการรวมตัวของสหสาธารณรัฐอาหรับกับเยเมนเหนือ เป็นระยะเวลาสั้น ๆ ตั้งแต..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสหรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สหประชาชาติ

หประชาชาติ (United Nations; ตัวย่อ: UN) หรือ องค์การสหประชาชาติ เป็นองค์การระหว่างประเทศซึ่งมีความมุ่งหมายที่แถลงไว้เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ความร่วมมือในกฎหมายระหว่างประเทศ ความมั่นคงระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ กระบวนการทางสังคม สิทธิมนุษยชน และการบรรลุสันติภาพโลก สหประชาชาติก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สายตรงมอสโก–วอชิงตัน

ทรศัพท์สีแดงในสมัยของประธานาธิบดี จิมมี คาร์เตอร์ สายตรงมอสโก–วอชิงตัน คือระบบที่ใช้สำหรับติดต่อโดยตรงระหว่างผู้นำของสหรัฐอเมริกากับรัสเซียโดยอาจรู้จักกันในอีกชื่อคือ โทรศัพท์สีแดง สายตรงนี้เชื่อมต่อระหว่างทำเนียบขาวผ่านทางศูนย์บัญชาการทหารแห่งชาติ (National Military Command Center) กับเครมลิน สายตรงเกิดขึ้นครั้งแรกในช่วงของสงครามเย็น ปัจจุบันไม่มีการใช้โทรศัพท์สีแดงดังกล่าวแล้ว แต่ช่องทางสายตรงนี้ยังคงมีอยู่เป็นส่วนหนึ่งของศูนย์กลางการลดความเสี่ยงจากนิวเคลียร์ (Nuclear Risk Reduction Center) ที่ตั้งขึ้นในปีค.ศ. 1988 โดยประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสายตรงมอสโก–วอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย

รณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย (‏الجماهيرية العربية الليبية الشعبية الاشتراكية) เป็นรัฐที่ประกาศโดย มูอัมมาร์ กัดดาฟี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 1977 และประกาศ "ปฏิญญาการจัดตั้งอำนาจของประชาชน" อย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย

รณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย (RSR; โรมาเนีย Republica Socialistă România, อังกฤษ Socialist Republic of Romania) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1947 ถึง ค.ศ. 1989 โดยในระหว่างปี 1947 ถึง ปี 1965 รัฐแห่งนี้มีชื่อเรียกว่า สาธารณรัฐประชาชนโรมาเนีย (Romanian People's Republic) ประเทศนี้เคยอยู่ในรัฐบริวารโซเวียต ค่ายตะวันออก ด้วยการปกครองของพรรคคอมมิวนิสต์โรมาเนีย ด้วยการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง, ราชอาณาจักรโรมาเนีย เป็นอดีตสมาชิกของฝ่ายอักษะ ถูกยึดครองโดยสหภาพโซเวียต ที่มีบทบาทในฝ่ายสัมพันธมิตร วันที่ 6 มีนาคม 1945 หลังจากถูกสังหารหมู่ โซเวียตได้สนับสนุนและก่อตั้งรัฐบาลคอมมิวนิสต์ขึ้น ในธันวาคม ปี 1947 กษัตริย์มีไฮที่ 1ถูกบังคับให้สละราชสมบัติ และสาธารณรัฐประชาชนโรมาเนียได้ก่อตั้งขึ้น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐสังคมนิยมโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (ชื่อย่อ: Ukrainian SSR) หรือ ยูเครน (Українська Радянська Соціалістична Республіка, Українська РСР; Украинская Советская Социалистическая Республика, Украинская ССР) หรือ โซเวียตยูเครน เป็นรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่มีประชาธิปไตย (ข้อ 68 รัฐธรรมนูญแห่งยูเครนปี 1978) และเป็นหนึ่งใน 15 สาธารณรัฐองค์ประกอบ (constituent republic) ของสหภาพโซเวียต ก่อตั้งขึ้นในปี 1922 (สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการในปี 1919) และล่มสลายในปี 1991 แม้สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจะเป็นสมาชิกก่อตั้งองค์การสหประชาชาติที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ในทางปฏิบัติแล้ว ไม่มีสิทธิ์มีเสียงอะไรในกิจการต่างประเทศ ซึ่งถูกควบคุมอย่างเข้มงวดโดยทางการมอสโก ในการล่มสลายของสหภาพโซเวียตและเปเรสตรอยกา สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนถูกแปลงเป็นรัฐชาติสมัยใหม่ยูเครน แม้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของยูเครนได้รับการอนุมัติเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1996.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย (Latvian Soviet Socialist Republic; Latvijas Padomju Sociālistiskā Republika; Латви́йская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวียถูกจัดตั้งเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย (Lithuanian Soviet Socialist Republic; Lietuvos Tarybų Socialistinė Respublika; Лито́вская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐแห่งนี้ดำรงอยู่ระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย

รณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย (Estonian Soviet Socialist Republic; Eesti Nõukogude Sotsialistlik Vabariik; Эсто́нская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียตโดยได้รับการบริหารจากรัฐบาลกลางของสหภาพ ในขั้นแรก สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนียถูกจัดตั้งขึ้นในดินแดนของสาธารณรัฐเอสโตเนียเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอียิปต์ (2496–2501)

รณรัฐอียิปต์ (جمهورية مصر, Ǧumhūriyyat Maṣr) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศอียิปต์นับแต่การล้มเลิกพระมหากษัตริย์อียิปต์และซูดานในปี 2496 จนสหภาพของอียิปต์กับซีเรียเป็นสหสาธารณรัฐอาหรับในปี 2501 ปฏิญญาสาธารณรัฐมีหลังการปฏิวัติอียิปต์ ค.ศ. 1952 กระตุ้นโดยความเสื่อมนิยมของพระเจ้าฟารูก ผู้ทรงถูกมองว่าอ่อนแอเกินไปเมื่อเผชิญกับอังกฤษ กอปรกับความปราชัยในสงครามอาหรับ-อิสราเอล ปี 2491 ด้วยปฏิญญาสาธารณรัฐ มูฮัมหม้ด นาจิบสาบานตนเป็นประธานาธิบดีอียิปต์คนแรก รับตำแหน่งได้เกือบหนึ่งปีครั้ง ก่อนถูกนักปฏิวัติด้วยกันบังคับให้ลาออก หลังนาจิบลาออก ตำแหน่งประธานาธิบดีว่างจนการเลือกตั้งญะมาล อับดุนนาศิร ในปี 2501.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐอียิปต์ (2496–2501) · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)

รณรัฐจีน (Republic of China) เป็นรัฐในเอเชียตะวันออกตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949) · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐดาโฮมีย์

รณรัฐดาโฮมีย์ (Republic of Dahomey) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 11 ธันวาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐดาโฮมีย์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย

รณรัฐประชาชนมองโกเลีย (50px, Bügd Nairamdakh Mongol Ard Uls (BNMAU)) คือรัฐคอมมิวนิสต์ในเอเชียตะวันออกระหว่าง พ.ศ. 2464 ถึง พ.ศ. 2535 หลังจากมองโกเลียได้รับเอกราชจากจีน จากการช่วยเหลือของสหภาพโซเวียตแต่ต้องสถาปนาการปกครองเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ตามแบบประเทศเพื่อนบ้าน ลัทธิคอมมิวนิสต์สิ้นสุดลงจากมองโกเลียเมื่อปี พ.ศ. 2533 ปีเดียวกันกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ซึ่งต่อมามองโกเลียได้นำระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภามาใช้กับตน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์

รณรัฐประชาชนโปแลนด์ (Polska Rzeczpospolita Ludowa People's Republic of Poland (PRP)) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์ตั้งแต..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนเบนิน

รณรัฐประชาชนเบนิน (People's Republic of Benin) เป็นรัฐสังคมนิยม (หรือเรียกอีกอย่างว่ารัฐคอมมิวนิสต์) ตั้งอยู่บริเวณอ่าวกินีในทวีปแอฟริกา ก่อตั้งเมื่อ 30 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐประชาชนเบนิน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา

รณรัฐประชามานิตกัมพูชา หรือในภาษาไทยคือ สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา (សាធារណរដ្ឋប្រជាមានិតកម្ពុជា สาธารณรฎฺฐบฺรชามานิตกมฺพุชา; People's Republic of Kampuchea: PRK) เป็นรัฐบาลที่จัดตั้งในกัมพูชาโดยแนวร่วมปลดปล่อย ซึ่งเป็นกลุ่มของกัมพูชาฝ่ายซ้ายที่อยู่ตรงข้ามกับกลุ่มของเขมรแดง ล้มล้างรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตยของพล พต โดยร่วมมือกับกองทัพของเวียดนาม ทำให้เกิดการรุกรานเวียดนามของกัมพูชา เพื่อผลักดันกองทัพเขมรแดงออกไปจากพนมเปญ มีเวียดนามและสหภาพโซเวียตเป็นพันธมิตรที่สำคัญ สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาไม่ได้เป็นสมาชิกของสหประชาชาติเพราะไม่ได้รับการสนับสนุนจากจีน อังกฤษและสหรัฐอเมริกา ที่นั่งในสหประชาชาติของประเทศกัมพูชาในขณะนั้นเป็นของแนวร่วมเขมรสามฝ่ายที่จัดตั้งรัฐบาลผสมกัมพูชาประชาธิปไตย ซึ่งกลุ่มเขมรแดงของพล พตเข้าร่วมกับกลุ่มที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์อีก 2 กลุ่ม คือ กลุ่มของนโรดม สีหนุ และซอน ซาน อย่างไรก็ตาม สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชาได้ประกาศเป็นรัฐบาลของกัมพูชาระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีอวกาศนานาชาติ

นีอวกาศนานาชาติ (International Space Station, ISS, Междунаро́дная косми́ческая ста́нция, МКС, Station spatiale internationale, SSI) เป็นห้องทดลองและสถานอำนวยความสะดวกสำหรับงานค้นคว้าวิจัยในระดับนานาชาติซึ่งถูกประกอบขึ้นในวงโคจรต่ำของโลก การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสถานีอวกาศนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม

ระเบิดนิวเคลียร์ที่ นางาซากิในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง สงคราม (war) คือ สถานะความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างองค์การที่เป็นอิสระ (เช่น รัฐและตัวแสดงที่มิใช่รัฐ) หรือแนวร่วมขององค์การดังกล่าว โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นการรุกราน การทำลายล้างรวมสุดขีดและปกติมีอัตราตายสูง ชุดเทคนิคที่กลุ่มใช้ดำเนินสงคราม เรียก การสงคราม (warfare) การปลอดสงคราม ปกติเรียก สันติภาพ นักวิชาการบางส่วนมองว่าการสงครามเป็นสากลและเป็นส่วนที่สืบมาแต่บรรพชนของธรรมชาติมนุษย์ แต่บางส่วนก็แย้งว่าสงครามเป็นเพียงผลลัพธ์แห่งกรณีแวดล้อมทางสังคม-วัฒนธรรมหรือระบบนิเวศเฉพาะ ใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองกรีซ

งครามกลางเมืองกรีซ (Greek Civil War; ο Eμφύλιος o Emfýlios, "the Civil ") เป็นการต่อสู้ในกรีซในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามกลางเมืองกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองกัมพูชา

งครามกลางเมืองกัมพูชา เป็นความขัดแย้งระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (เขมรแดง) สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) และเวียดกงฝ่ายหนึ่งกับรัฐบาลสาธารณรัฐเขมรที่ได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกาและสาธารณรัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามนี้ซับซ้อนยิ่งขึ้นจากอิทธิพลและการกระทำของพันธมิตรคู่สงคราม การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของกองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) เป็นไปเพื่อป้องกันฐานที่มั่นทางตะวันออกของกัมพูชา ซึ่งหากเสียไปการดำเนินความพยายามทางทหารในเวียดนามใต้จะยากขึ้น หรัฐประหาร 18 มีนาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามกลางเมืองกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองลาว

งครามกลางเมืองลาว (พ.ศ. 2496-2518) เป็นการสู้รบระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ (ปะเทดลาว) ซึ่งส่วนใหญ่มีเชื้อสายมาจากชาวลาวในประเทศเวียดนามเหนือ กับรัฐบาลราชอาณาจักรลาว โดยทั้งฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายต่างก็ได้รับการสนับสนุนจากมหาอำนาจแห่งสงครามเย็น ในหมู่ทหารอเมริกันจากกองกิจการพิเศษ หน่วยสืบราชการลับกลางแห่งสหรัฐอเมริกา และทหารผ่านศึกชาวม้งเรียกสงครามนี้ว่า สงครามลับ (Secret War) ราชอาณาจักรลาวกลายเป็นสมรภูมิลับระหว่างฝ่ายต่างๆ ในสงครามเวียดนาม สนธิสัญญาไมตรีและสมาคมฝรั่งเศส-ลาวที่ลงนามในวันที่ 22 ตุลาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามกลางเมืองลาว · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกัมพูชา–เวียดนาม

งครามกัมพูชา-เวียดนามเป็นความขัดแย้งด้วยอาวุธระหว่างสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามและกัมพูชาประชาธิปไตย สงครามเริ่มขึ้นด้วยการปะทะตามพรมแดนทางบกและทางทะเลของเวียดนามและกัมพูชาระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามกัมพูชา–เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามการบั่นทอนกำลัง

งครามการบั่นทอนกำลัง (حرب الاستنزاف Ḥarb al-Istinzāf, מלחמת ההתשה Milhemet haHatashah) ที่เกี่ยวข้องกับการต่อสู้ระหว่างอิสราเอลและอียิปต์จอร์แดน PLO และพันธมิตร 1967-1970 หลังจากที่ 1967 สงครามหกวันไม่มีความพยายามทางการทูตอย่างรุนแรงพยายามที่จะแก้ไขปัญหาที่เป็นหัวใจของความขัดแย้งอาหรับอิสราเอล.ในเดือนกันยายนปี 1967 รัฐอาหรับไดมีนโยบายปิดกั้นสันติภาพ, การรับรู้หรือการเจรจากับอิสราเอล".ประธานาธิบดีอียิปต์ญะมาล อับดุนนาศิร เชื่อว่ามีเพียงวิธีเดียวที่สามารถทำให้กองกำลังอิสราเอลออกจากคาบสมุทรไซนายได้คือการใช้กำลัง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามการบั่นทอนกำลัง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามยมคิปปูร์

งครามยมคิปปูร์, สงครามเราะมะฎอนหรือสงครามตุลาคม (Yom Kippur War, Ramadan War, หรือ October War; หรือ מלחמת יום כיפור) เป็นสงครามรบกันระหว่างแนวร่วมรัฐอาหรับซึ่งมีประเทศอียิปต์และซีเรียเป็นผู้นำต่ออิสราเอลตั้งแต่วันที่ 6 ถึง 25 ตุลาคม 2516 การสู้รบส่วนใหญ่เกิดในคาบสมุทรไซนายและที่ราบสูงโกลัน ดินแดนซึ่งอิสราเอลยึดครองตั้งแต่สงครามหกวันเมื่อปี 2510 ประธานาธิบดีอียิปต์ อันวัร อัสซาดาต ยังต้องการเปิดคลองสุเอซอีกครั้ง ทั้งสองประเทศมิได้วางแผนเจาะจงทำลายอิสราเอล แต่ผู้นำอิสราเอลไม่อาจมั่นใจได้ สงครามเริ่มต้นเมื่อแนวร่วมอาหรับเปิดฉากจู่โจมร่วมต่อที่ตั้งของอิสราเอลในดินแดนที่อิสราเอลยึดครองในวันยมคิปปูร์ (Yom Kippur) ซึ่งเป็นวันศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนายูดาย ซึ่งในปีนั้นยังตรงกับเดือนเราะมะฎอนศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาอิสลามด้วย กำลังอียิปต์และซีเรียข้ามเส้นหยุดยิงเข้าสู่คาบสมุทรไซนายและที่ราบสูงโกลันตามลำดับ ทั้งสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตเริ่มความพยายามส่งกำลังบำรุงแก่พันธมิตรของตนระหว่างสงคราม และนำไปสู่การเกือบเผชิญหน้ากันระหว่างอภิมหาอำนาจนิวเคลียร์สองประเทศ สงครามเริ่มต้นด้วยการข้ามคลองสุเอซครั้งใหญ่ที่สำเร็จของอียิปต์ หลังข้ามเส้นหยุดยิง กำลังอียิปต์รุดหน้าโดยแทบไม่มีการต้านทานเข้าสู่คาบสมุทรไซนาย หลังสามวันผ่านไป อิสราเอลได้ระดมพลกำลังส่วนใหญ่และหยุดยั้งการรุกของอียิปต์ ทำให้เกิดการตรึงอำนาจทางทหาร ฝ่ายซีเรียประสานงานการโจมตีที่ราบสูงโกลันให้พร้อมกับการรุกของอียิปต์ และทีแรกได้ดินแดนเพิ่มอย่างคุกคามสู่ดินแดนที่อิสราเอลถือครอง ทว่า ภายในสามวัน กำลังอิสราเอลผลักซีเรียเข้าสู่เส้นหยุดยิงก่อนสงคราม จากนั้นกำลังป้องกันอิสราเอลเปิดฉากการตีโต้ตอบสี่วันลึกเข้าไปในประเทศซีเรีย ภายในหนึ่งสัปดาห์ ปืนใหญ่อิสราเอลเริ่มระดมยิงชานกรุงดามัสกัส เมื่อประธานาธิบดีอียิปต์ซาดาตเริ่มกังวลเกี่ยวกับบูรณภาพของพันธมิตรหลักของเขา เขาเชื่อว่าการยึดจุดผ่านยุทธศาสตร์สองจุดซึ่งตั้งอยู่ลึกในไซนายจะทำให้ฐานะของเขาแข็งแรงขึ้นระหว่างการเจรจาหลังสงคราม ฉะนั้นเขาจึงสั่งให้อียิปต์กลับไปรุกอีก แต่การเข้าตีนั้นถูกขับกลับมาอย่างรวดเร็ว จากนั้นอิสราเอลตีโต้ตอบที่แนวต่อระหว่างกองทัพอียิปต์สองกองทัพ ข้ามคลองสุเอซเข้าประเทศอียิปต์ และเริ่มรุกหน้าอย่างช้า ๆ ลงใต้และไปทางตะวันตกสู่นครสุเอซในการสู้รบอย่างหนักกว่าหนึ่งสัปดาห์ซึ่งทำให้ทั้งสองฝ่ายเสียกำลังพลมาก วันที่ 22 ตุลาคม การหยุดยิงที่สหประชาชาติเป็นนายหน้าคลี่คลายอย่างรวดเร็ว โดยต่างฝ่ายต่างโทษอีกฝ่ายว่าละเมิด ในวันที่ 24 ตุลาคม อิสราเอลพัฒนาฐานะของตนอย่างมากและสำเร็จการล้อมกองทัพที่สามของอียิปต์และนครสุเอซ การพัฒนานี้นำไปสู่ความตึงเครียดระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ผลคือ มีการกำหนดการหยุดยิงครั้งที่สองด้วยความร่วมมือตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคมถึงสิ้นสงคราม สงครามนี้มีการส่อความกว้างขวาง โลกอาหรับซึ่งประสบความอับอายในการแตกล่าฝ่ายเดียวของพันธมิตรอียิปต์–ซีเรีย–จอร์แดนในสงครามหกวัน รู้สึกว่าได้แก้ตัวทางจิตใจจากความสำเร็จขั้นต้นในความขัดแย้งนี้ ในประเทศอิสราเอล แม้มีความสำเร็จทางปฏิบัติการและยุทธวิธีอันน่าประทับใจในสมรภูมิ แต่สงครามนี้นำให้มีการตระหนักว่าไม่มีการรับประกันว่าประเทศอิสราเอลจะครอบงำรัฐอาหรับในทางทหารได้เสมอไป ดังที่เคยเป็นมาตลอดสงครามอาหรับ–อิสราเอลครั้งที่หนึ่ง สงครามสุเอซและสงครามหกวันก่อนหน้านี้ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ปูทางสู่กระบวนการสันติภาพต่อมา ข้อตกลงค่ายเดวิดปี 2521 ในภายหลังนำสู่การคืนคาบสมุทรไซนายให้ประเทศอียิปต์และการคืนความสัมพันธ์ ซึ่งเป็นการรับรองอิสราเอลอย่างสันติโดยประเทศอาหรับเป็นครั้งแรก ประเทศอียิปต์ยังตีตนออกห่างจากสหภาพโซเวียตต่อไปและออกจากเขตอิทธิพลโซเวียตโดยสิ้นเชิง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามยมคิปปูร์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามหกวัน

งครามหกวัน (Six-Day War., מלחמת ששת הימים) เป็นสงครามระหว่างอิสราเอลกับอียิปต์ หลังจากวิกฤตการณ์สุเอซ ญะมาล อับดุนนาศิร ประธานาธิบดีของประเทศอียิปต์ได้ขอให้สหประชาชาติถอนกำลังออกไปจากอียิปต์แล้ว กองทัพของอียิปต์ได้เคลื่อนที่เข้ายึดฉนวนกาซาและปิดล้อมอ่าวอะกาบา และห้ามไม่ให้เรือสินค้าของอิสราเอลผ่าน อิสราเอลจึงได้โจมตีอียิปต์ก่อน ทำให้เกิดสงครามระหว่างยิวกับอาหรับขึ้นเป็นครั้งที่ 3 โดยสงครามนี้เริ่มขึ้นตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนายน ถึง 10 มิถุนายน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามหกวัน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอาณานิคมโปรตุเกส

ทหารโปรตุเกสในแองโกลา การฝึกอบรมของทหารของ FNLA ในซาอีร์ สงครามอาณานิคมโปรตุเกส (Portuguese Colonial War,Guerra Colonial Portuguesa), ในโปรตุเกสเรียกว่า สงครามต่างแดน (Overseas War,Guerra do Ultramar) ส่วนในอดีตอาณานิคมเรียกว่าสงครามแห่งการปลดปล่อย (War of Liberation,Guerra de Libertação), คือการต่อสู้ระหว่างทหารของโปรตุเกสกับขบวนการชาตินิยมในอาณานิคมแอฟริกาของโปรตุเกสระหว่างปี พ.ศ. 2504ถึงปี พ.ศ. 2517 เกิดการรัฐประหารล้มล้างระบอบเอสตาโด โนโว เปลี่ยนแปลงในรัฐบาลนำความขัดแย้งถึงจุดสิ้นสุด ในยุโรปในช่วงปี พ.ศ. 2493 ถึง พ.ศ. 2503, ระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวของโปรตุเกสไม่ได้ยอมถอนตัวจากการเป็นอาณานิคมแอฟริกา เป็นดินแดนเหล่านั้นได้รับการเรียกร้องเอกราชตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 ในช่วงปี พ.ศ. 2503 การเคลื่อนไหวเป็นอิสระต่าง ๆ กลายเป็นกองกำลังติดอาวุธ ในแองโกลา ขบวนการประชาชนเพื่อการปลดปล่อยแองโกลา,แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติแองโกลา,สหภาพแห่งชาติเพื่อความเป็นอิสระแองโกลา ในโปรตุเกสกินี พรรคแอฟริกันเป็นอิสระของประเทศกินีและเคปเวิร์ดและในโมซัมบิก แนวร่วมปลดปล่อโมซัมบิก ในตลอดความขัดแย้งได้มีการทารุณกรรมพลเรือนที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ตลอดระยะเวลาความขัดแย้ง โปรตุเกสเผชิญกับการคว่ำบาตรทางการค้าและมีมาตรการลงโทษอื่น ๆ ที่กำหนดโดยสหประชาชาติ ปี พ.ศ. 2516 และได้โจมตีระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวว่าไม่เป็นประชาธิปไตย การสิ้นสุดของสงครามมาพร้อมกับการทำรัฐประหารปฏิวัติคาร์เนชั่นของเดือนเมษายนปี พ.ศ. 2517 ส่งผลให้ในการอพยพของประชาชนโปรตุเกส หลายพันคนออกจากอาณานิคมเริ่มถึงบุคลากรทางทหารยุโรป, แอฟริกา และเชื้อชาติผสมจากอาณานิคมและประเทศที่เพิ่งเป็นอิสระในแอฟริกา. การอพยพครั้งนี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในการโยกย้ายที่เงียบสงบใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของโลก. ซึ่งโปรตุเกสเป็นประเทศแรกที่สร้างอาณานิคมในทวีปแอฟริกาในเซวตา พ.ศ. 1958 และก็กลายเป็นประเทศสุดท้ายที่จะออกจากดินแดนในแอฟริก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามอาณานิคมโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอินโดจีน

งครามอินโดจีน (Indochina Wars, Chiến tranh Đông Dương) เป็นสงครามย่อยหลายสงครามที่เกิดขึ้นทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ตั้งแต่ปีค.ศ. 1946 จนถึง 1989 ระหว่างชาวเวียดนามชาตินิยมกับฝรั่งเศส อเมริกา และจีน คำว่า "อินโดจีน" เดิมทีจะหมายถึงอินโดจีนของฝรั่งเศส ซึ่งรวมทั้งรัฐปัจจุบันของเวียดนาม ลาว และกัมพูชา การใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่หมายถึงภูมิภาคทางภูมิศาสตร์มากกว่าพื้นที่ทางการเมือง สงครามแบ่งออกเป็นสงครามย่อย 4 สงครามได้แก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามอินโดจีน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง

งครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่งเริ่มในอินโดจีนฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอ่าวเปอร์เซีย

งครามอ่าวเปอร์เซีย หรือ สงครามอ่าว (Gulf War, 2 สิงหาคม 2533 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ชื่อรหัสปฏิบัติการโล่ทะเลทราย (Operation Desert Shield, 2 สิงหาคม 2533 – 17 มกราคม 2534) เป็นปฏิบัติการนำสู่การสั่งสมกำลังและการป้องกันของซาอุดีอาระเบียและปฏิบัติการพายุทะเลทราย (Operation Desert Storm, 17 มกราคม 2534 – 28 กุมภาพันธ์ 2534) ในระยะสู้รบ เป็นสงครามในภูมิภาคอ่าวเปอร์เซียระหว่างกำลังผสมจาก 34 ชาตินำโดยสหรัฐอเมริกาต่อประเทศอิรักหลังการบุกครองและผนวกคูเวตของอิรัก สงครามนี้มีชื่ออื่น เช่น สงครามอ่าวเปอร์เซีย, สงครามอ่าวครั้งที่หนึ่ง, สงครามคูเวต, สงครามอิรัก ซึ่งคำว่า "สงครามอิรัก" ต่อมาใช้เรียกการบุกครองอิรักเมื่อปี 2546 แทน การยึดครองคูเวตของกองทัพอิรักซึ่งเริ่มเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2533 นั้นถูกนานาชาติประณาม และสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติพลันใช้วิธีการบังคับทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ประธานาธิบดี จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช วางกำลังสหรัฐเข้าสู่ซาอุดีอาระเบียและกระตุ้นให้ประเทศอื่นส่งกำลังของตนไปที่นั้นด้วย มีหลายชาติเข้าร่วมกำลังผสม ซึ่งเป็นพันธมิตรทางทหารที่ใหญ่ที่สุดนับแต่สงครามโลกครั้งที่สอง กำลังทหารของกำลังผสมส่วนใหญ่มาจากสหรัฐ โดยมีซาอุดีอาระเบีย สหราชอาณาจักรและอียิปต์เป็นผู้มีส่วนร่วมรายใหญ่ตามลำดับ ซาอุดีอาระเบียสมทบเงิน 36,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐจากค่าสงคราม 60,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สงครามนี้มีการริเริ่มการถ่ายทอดข่าวสดจากแนวหน้าของการสู้รบ หลัก ๆ โดยเครือข่ายซีเอ็นเอ็นของสหรัฐ สงครามนี้ยังได้ชื่อเล่นว่า สงครามวิดีโอเกม หลังการถ่ายทอดภาพรายวันจากกล้องบนเครื่องบินทิ้งระเบิดสหรัฐระหว่างปฏิบัติการพายุทะเลทราย ความขัดแย้งระยะแรกเพื่อขับกองทัพอิรักออกจากคูเวตเริ่มด้วยทางระดมทิ้งระเบิดทางอากาศและทางเรือเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2534 และดำเนินไปห้าสัปดาห์ ตามด้วยการโจมตีภาคพื้นดินเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ สงครามสิ้นสุดด้วยชัยชนะอย่างขาดลอยของกำลังผสม ซึ่งขับกองทัพอิรักออกจากคูเวตและรุกเข้าดินแดนอิรัก กำลังผสมยุติการบุกและประกาศหยุดยิงหลังการทัพภาคพื้นเริ่ม 100 ชั่วโมง การสู้รบทางอากาศและทางบกจำกัดอยู่ในประเทศอิรัก คูเวตและบางพื้นที่ตรงพรมแดนซาอุดีอาระเบีย ประเทศอิรักปล่อยขีปนาวุธสกั๊ดต่อเป้าหมายทางทหารของกำลังผสมและต่ออิสราเอล.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามอ่าวเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน-อินเดีย

งครามจีน-อินเดีย (भारत-चीन युद्ध Bhārat-Chīn Yuddh)() เป็นสงครามระหว่างจีนและอินเดียที่เกิดขึ้นในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามจีน-อินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–เวียดนาม

งครามจีน–เวียดนาม (Chiến tranh biên giới Việt-Trung) หรือรู้จักกันในชื่อ สงครามอินโดจีนครั้งที่สาม เป็นสงครามชายแดนสั้น ๆ สู้รบกันระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนกับสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามในต้นปี 2522 ประเทศจีนเปิดฉากการรุกเพื่อตอบโต้การบุกครองและยึดครองกัมพูชาของเวียดนามในต้นปี 2521 (ซึ่งยุติการปกครองของเขมรแดงที่จีนหนุนหลัง) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา เฮนรี คิสซินเจอร์ เขียนว่า ผู้นำจีน เติ้ง เสี่ยวผิง มองเหตุการณ์ดังกล่าวว่าเป็นความพยายามของโซเวียตที่จะ "เหยียดหนวดชั่วร้ายของมันมาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แล...

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามจีน–เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามตัวแทน

งครามตัวแทน (proxy war) เป็นความขัดแย้งระหว่างรัฐหรือตัวแสดงที่มิใช่รัฐสองฝ่ายซึ่งต่างฝ่ายต่างมิได้ประจัญบานโดยตรงกับอีกฝ่ายหนึ่ง แม้คำนี้ครอบคลุมการเผชิญหน้าด้วยอาวุธต่าง ๆ แต่บทนิยามแกนกลางของ "สงครามตัวแทน" ตั้งอยู่บนอำนาจสองฝ่ายใช้การต่อสู้ภายนอกเพื่อโจมตีผลประโยชน์หรือการถือครองดินแดนของอีกฝ่าย สงครามตัวแทนมักเกี่ยวข้องกับทั้งสองประเทศต่อสู้กับพันธมิตรของคู่แข่ง หรือสนับสนุนพันธมิตรของตนในการต่อสู้กับคู่แข่ง สงครามตัวแทนพบมากเป็นพิเศษช่วงใกล้สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองและช่วงสงครามเย็น และเป็นมุมมองนิยามความขัดแย้งทั่วโลกระหว่างครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ส่วนมากได้รับการจูงใจจากความกลัวว่าความขัดแย้งโดยตรงระหว่างสหรัฐและสหภาพโซเวียตจะส่งผลให้เกิดการฆ่าล้างบางนิวเคลียร์ ทำให้สงครามตัวแทนเป็นวิธีแสดงออกซึ่งความเป็นปรปักษ์ที่ปลอดภัยกว่า นอกจากนี้ยังมีเหตุผลประชิดกว่าสำหรับการถือกำเนิดของสงครามตัวแทนในเวทีโลก คือระหว่างช่วงปีหลัง ๆ สหภาพโซเวียตพบว่าการติดอาวุธหรือจัดตั้งภาคีปฏิปักษ์ต่อเนโทแทนการเผชิญหน้าโดยตรงมีราคาถูกกว่าProf CJ.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามตัวแทน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามในอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2521–ปัจจุบัน)

งครามในอัฟกานิสถาน เป็นสงครามที่เริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 27 เมษายน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามในอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2521–ปัจจุบัน) · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลก

งครามโลก (World War) เป็นลักษณะความขัดแย้งทางการทหาร ซึ่งส่งผลกระทบต่อหลายชาติมหาอำนาจร่วมกัน โดยมักจะเกิดขึ้นในหลายทวีปทั่วโลกและกินเวลานานหลายปี คำว่า สงครามโลก เป็นการอธิบายถึงสงครามที่มีขนาดใหญ่อย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์ ซึ่งในอดีตเกิดสงครามโลก 2 ครั้งในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้แก่ สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (ค.ศ. 1914-1918) และ สงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ. 1939-1945) และได้มีการพาดพิงถึงสงครามโลกครั้งที่สามในวัฒนธรรมต่าง ๆ ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ถึงแม้ว่าสงครามอื่นที่เกิดขึ้นจากหลายชาติทั่วโลก เช่น สงครามเย็นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง และ สงครามอิรักในช่วงปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามโลก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี. เคลล็อก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา; ส่วนคำว่า "World War II" พบใช้เป็นครั้งแรกในนิตยสาร ไทมส์ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นผู้ประดิษฐ์คำว่า "World War I" ขึ้นในอีกสามเดือนต่อมา; มักย่อเป็น WWII หรือ WW2) เป็นสงครามทั่วโลกกินเวลาตั้งแต่ปี 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วนใหญ่ในโลกมีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งรัฐมหาอำนาจทั้งหมด แบ่งเป็นพันธมิตรทางทหารคู่สงครามสองฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ เป็นสงครามที่กว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์ มีทหารกว่า 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเข้าร่วมโดยตรง สงครามนี้มีลักษณะเป็น "สงครามเบ็ดเสร็จ" คือ ประเทศผู้ร่วมสงครามหลักทุ่มขีดความสามารถทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ทั้งหมดเพื่อความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหว่างทรัพยากรของพลเรือนและทหาร ประเมินกันว่าสงครามมีมูลค่าราว 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมินกันว่ามีผู้เสียชีวิตระหว่าง 50 ถึง 85 ล้านคน ด้วยประการทั้งปวง สงครามโลกครั้งที่สองจึงนับว่าเป็นสงครามขนาดใหญ่ที่สุด ใช้เงินทุนมากที่สุด และมีผู้เสียชีวิตสูงสุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จักรวรรดิญี่ปุ่นซึ่งมีเป้าหมายครอบงำทวีปเอเชียและแปซิฟิกและทำสงครามกับจีนมาตั้งแต่ปี 1937 แล้ว แต่โดยทั่วไปถือว่าสงครามโลกครั้งที่สองเริ่มตั้งแต่การบุกครองโปแลนด์ของเยอรมนีในวันที่ 1 กันยายน 1939 นำไปสู่การประกาศสงครามต่อเยอรมนีของประเทศฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปลายปี 1939 ถึงต้นปี 1941 ในการทัพและสนธิสัญญาต่าง ๆ ประเทศเยอรมนีพิชิตหรือควบคุมยุโรปภาคพื้นทวีปได้ส่วนใหญ่ และตั้งพันธมิตรอักษะกับอิตาลีและญี่ปุ่น ภายใต้สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพเมื่อเดือนสิงหาคม 1939 เยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแลผนวกดินแดนประเทศเพื่อนบ้านยุโรปของตน ได้แก่ โปแลนด์ ฟินแลนด์ โรมาเนียและรัฐบอลติก สงครามดำเนินต่อส่วนใหญ่ระหว่างชาติฝ่ายอักษะยุโรปและแนวร่วมสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพบริติช โดยมีการทัพอย่างการทัพแอฟริกาเหนือและแอฟริกาตะวันออก ยุทธการที่บริเตนซึ่งเป็นการสู้รบทางอากาศ การทัพทิ้งระเบิดเดอะบลิตซ์ การทัพบอลข่าน ตลอดจนยุทธการที่แอตแลนติกที่ยืดเยื้อ ในเดือนมิถุนายน 1941 ชาติอักษะยุโรปบุกครองสหภาพโซเวียต เปิดฉากเขตสงครามภาคพื้นดินที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ ซึ่งทำให้กำลังทหารสำคัญของฝ่ายอักษะตกอยู่ในสงครามบั่นทอนกำลัง ในเดือนธันวาคม 1941 ญี่ปุ่นโจมตีสหรัฐและอาณานิคมยุโรปในมหาสมุทรแปซิฟิก และพิชิตมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกส่วนมากได้อย่างรวดเร็ว การรุกของฝ่ายอักษะยุติลงในปี 1942 หลังญี่ปุ่นปราชัยในยุทธนาวีที่มิดเวย์ใกล้กับฮาวายที่สำคัญ และเยอรมนีปราชัยในแอฟริกาเหนือและจากนั้นที่สตาลินกราดในสหภาพโซเวียต ในปี 1943 จากความปราชัยของเยอรมนีติด ๆ กันที่เคิสก์ในยุโรปตะวันออก การบุกครองอิตาลีของฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำให้อิตาลียอมจำนน จนถึงชัยของฝ่ายสัมพันธมิตรในมหาสมุทรแปซิฟิก ฝ่ายอักษะเสียการริเริ่มและต้องล่าถอยทางยุทธศาสตร์ในทุกแนวรบ ในปี 1944 ฝ่ายสัมพันธมิตรบุกครองฝรั่งเศสในการยึดครองของเยอรมนี ขณะเดียวกันกับที่สหภาพโซเวียตยึดดินแดนที่เสียไปทั้งหมดคืนและบุกครองเยอรมนีและพันธมิตร ระหว่างปี 1944 และ 1945 ญี่ปุ่นปราชัยสำคัญในทวีปเอเชียในภาคกลางและภาคใต้ของจีนและพม่า ขณะที่ฝ่ายสัมพันธมิตรก่อความเสียหายต่อกองทัพเรือญี่ปุ่นและยึดหมู่เกาะแปซิฟิกตะวันตกที่สำคัญ สงครามในยุโรปยุติลงหลังกองทัพแดงยึดกรุงเบอร์ลินได้ และการยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขของเยอรมนีเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 1945 แม้จะถูกโดดเดี่ยวและตกอยู่ในสภาพเสียเปรียบอย่างยิ่ง ญี่ปุ่นยังปฏิเสธที่จะยอมจำนน กระทั่งมีการทิ้งระเบิดนิวเคลียร์สองลูกถล่มญี่ปุ่น และการบุกครองแมนจูเรีย จึงได้นำไปสู่การยอมจำนนอย่างเป็นทางการของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 กันยายน 1945 สงครามยุติลงด้วยชัยชนะของฝ่ายสัมพันธมิตร ผลของสงครามได้เปลี่ยนแปลงการวางแนวทางการเมืองและโครงสร้างสังคมของโลก สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อป้องกันความขัดแย้งในอนาคต สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก้าวเป็นอภิมหาอำนาจของโลกอันเป็นคู่ปรปักษ์กัน นำไปสู่ความขัดแย้งบนเวทีแห่งสงครามเย็น ซึ่งได้ดำเนินต่อมาอีก 46 ปีหลังสงคราม ขณะเดียวกัน การยอมรับหลักการการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง เร่งให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อเรียกร้องเอกราชในทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา พร้อม ๆ กับที่หลายประเทศได้มุ่งหน้าฟื้นฟูเศรษฐกิจซึ่งอุตสาหกรรมได้รับความเสียหายระหว่างสงคราม และบูรณาการทางการเมืองได้เกิดขึ้นทั่วโลกในความพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพความสัมพันธ์หลังสงคราม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่สาม

การทำลายล้างด้วยนิวเคลียร์มักเกี่ยวข้องกับสงครามโลกครั้งที่สาม สงครามโลกครั้งที่สาม (World War III หรือ Third World War; มักย่อเป็น WWIII) เป็นสงครามสมมุติต่อจาก สงครามโลกครั้งที่สอง (1939-1945) เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สงครามโลกครั้งที่สอง การเริ่มต้นสงครามเย็นและพัฒนาการ การทดสอบและการใช้อาวุธนิวเคลียร์ มีการคาดคะเนอย่างกว้างขวางว่าจะเกิดสงครามโลกครั้งต่อไป ข้าราชการทหารและพลเรือนทำนายและวางแผนสงครามครั้งนี้ มโนทัศน์มีตั้งแต่การใช้อาวุธนิวเคลียร์อย่างจำกัดไปจนถึงการทำลายโลกทั้งใ.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามโลกครั้งที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโอกาเดน

งครามโอกาเดน เป็นที่ที่รู้จักกันคือ สงครามเอธิโอ-โซมาเลีย เป็นการรุกรานทหารของโซมาเลียระหว่างเดือนกรกฎาคม ปี 1977 และมีนาคม ปี 1978 บนพื้นที่ความขัดแย้งเอธิโอเปียคือโอกาเดน เริ่มต้นด้วยสาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาเลียทำการรุกรานเอธิโอเปี.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามโอกาเดน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน

| casualties1.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเกาหลี

งครามเกาหลี (25 มิถุนายน 1950 – 27 กรกฎาคม 1953) เป็นสงครามระหว่างสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) โดยได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติฝ่ายหนึ่ง กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดยได้รับการสนับสนุนจากสาธารณรัฐประชาชนจีนเป็นหลัก อีกฝ่ายหนึ่ง สงครามเกาหลีเป็นผลจากเขตทางการเมืองของเกาหลีโดยความตกลงที่ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้ชนะกระทำเมื่อสงครามแปซิฟิกยุติ คาบสมุทรเกาหลีถูกจักรวรรดิญี่ปุ่นปกครองตั้งแต่ปี 1910 กระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด หลังการยอมจำนนของจักรวรรดิญี่ปุ่นในเดือนกันยายน 1945 นักปกครองชาวอเมริกันได้แบ่งคาบสมุทรตามเส้นขนานที่ 38 โดยกองกำลังทหารสหรัฐยึดครองส่วนใต้ และกองกำลังทหารโซเวียตยึดครองส่วนเหนือ ความล้มเหลวในการจัดการเลือกตั้งเสรีทั่วคาบสมุทรเกาหลีในปี 1948 ยิ่งตอกลึกการแบ่งแยกระหว่างสองฝ่าย เกาหลีเหนือจึงสถาปนารัฐบาลคอมมิวนิสต์ ขณะที่เกาหลีใต้สถาปนารัฐบาลประชาธิปไตยในนาม เส้นขนานที่ 38 กลายเป็นพรมแดนทางการเมืองเพิ่มขึ้นระหว่างสองรัฐเกาหลี แม้การเจรจาเพื่อรวมประเทศยังคงดำเนินต่อมาหลายเดือนก่อนเกิดสงคราม แต่ความตึงเครียดยิ่งทวีขึ้น เกิดการรบปะทะและการตีโฉบฉวยข้ามพรมแดนเส้นขนานที่ 38 อยู่เนือง ๆ สถานการณ์บานปลายเป็นการสงครามเปิดเผยเมื่อกองกำลังเกาหลีเหนือบุกครองเกาหลีใต้เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 1950 ปีเดียวกัน สหภาพโซเวียตคว่ำบาตรคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ เพื่อเป็นการประท้วงที่รัฐบาลก๊กมินตั๋ง/สาธารณรัฐจีนเป็นผู้แทนของจีน ซึ่งลี้ภัยไปยังเกาะไต้หวันหลังปราชัยสงครามกลางเมืองจีน เมื่อขาดเสียงไม่เห็นพ้องจากสหภาพโซเวียต ซึ่งมีอำนาจยับยั้งข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงฯ สหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นจึงผ่านข้อมติที่อนุญาตให้แทรกแซงทางทหารในเกาหลี สหรัฐอเมริกาจัดหาทหารคิดเป็น 88% ของทหารนานาชาติ 341,000 นาย ที่ถูกส่งไปช่วยเหลือกองกำลังเกาหลีใต้ขับการบุกครอง โดยมีรัฐสมาชิกสหประชาชาติอื่นอีก 20 ประเทศเสนอความช่วยเหลือ หลังประสบความสูญเสียอย่างหนักในช่วงสองเดือนแรก ฝ่ายตั้งรับถูกผลักดันกลับไปยังพื้นที่เล็ก ๆ ทางใต้ของคาบสมุทรเกาหลี ซึ่งมีชื่อว่า วงรอบปูซาน จากนั้น การรุกโต้ตอบอย่างรวดเร็วของสหประชาชาติได้ขับทหารเกาหลีเหนือผ่านเส้นขนานที่ 38 ขึ้นไปเกือบถึงแม่น้ำยาลู เมื่อสาธารณรัฐประชาชนจีนเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายเดียวกับเกาหลีเหนือ การเข้าแทรกแซงของจีนบีบให้กองกำลังเกาหลีใต้และพันธมิตรถอยกลับไปใต้เส้นขนานที่ 38 อีกครั้ง แม้สหภาพโซเวียตจะมิได้ส่งทหารเข้าร่วมในความขัดแย้งโดยตรง แต่ก็ให้ความช่วยเหลือด้านยุทธปัจจัยแก่ทั้งกองทัพเกาหลีเหนือและจีน การสู้รบยุติลงเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 1953 เมื่อมีการลงนามในความตกลงการสงบศึก ความตกลงดังกล่าวฟื้นฟูพรมแดนระหว่างประเทศใกล้กับเส้นขนานที่ 38 และสถาปนาเขตปลอดทหารเกาหลี แนวกันชนที่มีการป้องกันกว้าง 4.0 กิโลเมตร ระหว่างสองชาติเกาหลี อุบัติการณ์ขนาดย่อมยังคงดำเนินต่อมาตราบจนปัจจุบัน ปัจจัยที่ทำให้สงครามเกาหลียุติเพราะ สตาลินเสียชีวิต และรัฐบาลใหม่โซเวียต ให้บอกให้จีนและเกาหลีเหนือยุติสงครามเกาหลี จากมุมมองวิทยาศาสตร์การทหาร สงครามเกาหลีเป็นการรวมยุทธศาสตร์และยุทธวิธีของสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สองเข้าด้วยกัน โดยเริ่มต้นจากการสงครามเคลื่อนที่ด้วยการเข้าตีของทหารราบอย่างรวดเร็ว ตามด้วยการตีโฉบฉวยทิ้งระเบิดทางอากาศ แต่กลายเป็นสงครามสนามเพลาะที่อยู่นิ่งเมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 1951.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเย็นครั้งที่สอง

งครามเย็นครั้งที่สอง (Cold War II) หรือ สงครามเย็นครั้งใหม่ (New Cold War) หรือ สงครามเย็น 2.0 (Cold War 2.0) คือคำที่ใช้หมายถึงสภาวะตึงเครียดทางการเมืองและการทหารระหว่างขั้วอำนาจที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกันในทางภูมิรัฐศาสตร์ ซึ่งขั้วหนึ่งมักจะนำโดยรัสเซียหรือจีน ในขณะที่อีกขั้วนำโดยสหรัฐอเมริกาหรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (นาโต) โดยสงครามเย็นครั้งใหม่นี้มีลักษณะคล้ายคลึงกับสงครามเย็นครั้งก่อน คือมีการเผชิญหน้ากันในระดับสากลระหว่างกลุ่มตะวันตกนำโดยสหรัฐอเมริกาและกลุ่มตะวันออกนำโดยสหภาพโซเวียต ซึ่งก็คือรัฐสภาพในอดีตของประเทศรัสเซียในปัจจุบัน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามเย็นครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเวียดนาม

งครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรู้จักกันในชื่อ สงครามอเมริกา เป็นสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจีน สหภาพโซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สู้รบในสงครามกองโจรต่อกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ เมื่อสงครามดำเนินไป ส่วนการต่อสู้ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กำลังสหรัฐและเวียดนามใต้อาศัยความเป็นเจ้าเวหาและอำนาจการยิงที่เหนือกว่าเพื่อดำเนินปฏิบัติการค้นหาและทำลาย ซึ่งรวมถึงกำลังภาคพื้นดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ ตลอดห้วงสงคราม สหรัฐดำเนินการทัพทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขนานใหญ่ต่อเวียดนามเหนือ และต่อมาน่านฟ้าเวียดนามเหนือกลายเป็นน่านฟ้าที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สุดในโลก รัฐบาลสหรัฐมองว่าการเข้ามามีส่วนในสงครามของตนเป็นหนทางป้องกันการยึดเวียดนามใต้ของคอมมิวนิสต์อันเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาที่ใหญ่กว่า โดยมีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อหยุดการแพร่ของคอมมิวนิสต์ ตามทฤษฎีโดมิโนของสหรัฐ หากรัฐหนึ่งกลายเป็นคอมมิวนิสต์ รัฐอื่นในภูมิภาคก็จะเป็นไปด้วย ฉะนั้น นโยบายของสหรัฐจึงถือว่าการผ่อนปรนการแพร่ของคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศเวียดนามนั้นยอมรับไม่ได้ รัฐบาลเวียดนามเหนือและเวียดกงต่อสู้เพื่อรวมเวียดนามอยู่ในการปกครองคอมมิวนิสต์ ทั้งสองมองข้อพิพาทนี้เป็นสงครามอาณานิคม ซึ่งเริ่มแรกสู้กับฝรั่งเศส โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ แล้วต่อมาสู้กับเวียดนามใต้ ซึ่งถูกมองว่าเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหรัฐ ที่ปรึกษาทางทหารชาวอเมริกันมาถึงอินโดจีนขณะนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 2493 การเข้ามามีส่วนของสหรัฐเพิ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีระดับทหารเพิ่มเป็นสามเท่าในปี 2494 และเพิ่มอีกสามเท่าในปีต่อมา การเข้ามามีส่วนของสหรัฐทวีขึ้นอีกหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ย ปี 2507 ซึ่งเรือพิฆาตของสหรัฐปะทะกับเรือโจมตีเร็วของเวียดนามเหนือ ซึ่งตามติดด้วยข้อมติอ่าวตังเกี๋ยซึ่งอนุญาตให้ประธานาธิบดีสหรัฐเพิ่มทหารในพื้นที่ หน่วยรบปกติของสหรัฐถูกจัดวางเริ่มตั้งแต่ปี 2498 ปฏิบัติการข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ โดยพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชาถูกกองทัพสหรัฐทิ้งระเบิดอย่างหนักขณะที่การเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐเพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2511 ปีเดียวกัน ฝ่ายคอมมิวนิสต์เปิดฉากการรุกตรุษญวน การรุกตรุษญวนไม่สัมฤทธิ์ผลในการโค่นรัฐบาลเวียดนามใต้ แต่ได้กลายเป็นจุดพลิกผันของสงคราม เพราะได้แสดงว่าเวียดนามใต้ไม่อาจป้องกันตัวเองจากเวียดนามเหนือได้ แม้สหรัฐจะทุ่มความช่วยเหลือทางทหารอย่างมหาศาลหลายปี ด้วยจุดชัยชนะของสหรัฐนั้นไม่ชัดเจน จึงค่อย ๆ มีการถอนกำลังภาคพื้นดินของสหรัฐโดยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเรียก การแผลงเป็นเวียดนาม (Vietnamization) ซึ่งมุ่งยุติการเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐขณะที่โอนภารกิจต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ให้เวียดนามใต้เอง แม้ภาคีทุกฝ่ายลงนามข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือนมกราคม 2516 แล้วก็ตาม แต่การสู้รบยังดำเนินต่อไป ในสหรัฐและโลกตะวันตก มีการพัฒนาขบวนการต่อต้านสงครามเวียดนามขนาดใหญ่ขึ้น ขบวนการนี้ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมต่อต้าน (Counterculture) แห่งคริสต์ทศวรรษ 1960 และเป็นปัจจัยหนึ่งของมัน การมีส่วนร่วมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516 อันเป็นผลมาจากคำแปรญัตติเคส–เชิร์ช (Case–Church Amendment) ที่รัฐสภาสหรัฐผ่าน การยึดกรุงไซ่ง่อนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือนเมษายน 2518 เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ในปีต่อมา สงครามนี้คร่าชีวิตมนุษย์ไปมหาศาล ประเมินตัวเลขทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแต่น้อยกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อย ไปถึงกว่า 3 ล้านคน ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนHeuveline, Patrick (2001).

ใหม่!!: สงครามเย็นและสงครามเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี

นธิสัญญาการในการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี หรือเรียกว่า สนธิสัญญาสองบวกสี่ (Zwei-plus-Vier-Vertrag) มีการเจรจาขึ้นในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

นธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Southeast Asian Nuclear-Weapon-Free Zone Treaty - SEANWFZ) หรือ สนธิสัญญากรุงเท..

ใหม่!!: สงครามเย็นและสนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ห้องอำพัน

ห้องอำพันที่สร้างใหม่ ห้องอำพัน (Amber Room หรือ Amber Chamber, Янтарная комната Yantarnaya komnata, Bernsteinzimmer) ตั้งอยู่ภายในพระราชวังแคทเธอรีนที่หมู่บ้านซาร์สโคเยอเซโลไม่ไกลจากเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก เป็นห้องที่ผนังที่ทำด้วยอำพันทั้งห้องตกแต่งด้วยทองคำเปลวและกระจก ความงามของห้องนี้ทำให้บางครั้งได้รับสมญาว่าเป็น “สิ่งมหัศจรรย์ที่แปดของโลก” ห้องอำพันเดิมเป็นความร่วมมือระหว่างช่างฝีมือชาวเยอรมันและชาวรัสเซีย การก่อสร้างห้องเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1701 ถึงปี ค.ศ. 1709 ในปรัสเซีย ตัวห้องออกแบบโดยประติมากรบาโรกชาวเยอรมันอันเดรียส์ ชลือเตอร์และสร้างโดยช่างอำพันชาวเดนมาร์คก็อตต์ฟรีด วูลแฟรม และตั้งอยู่ในพระราชวังชาร์ลอตเตนบวร์กมาจนกระทั่งปี ค.ศ. 1716 เมื่อพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซียถวายให้แก่ซาร์ปีเตอร์มหาราชแห่งจักรวรรดิรัสเซีย ห้องที่ได้รับการขยายและบูรณปฏิสังขรณ์หลายครั้งเมื่อไปอยู่ในรัสเซียแล้วมีขนาดกว่า 55 ตารางเมตรและใช้อำพันทั้งสิ้น 6 ตัน ห้องนี้ถูกรื้อเป็นชิ้นระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองโดยนาซีเยอรมนีเพื่อจะทำการส่งไปยังเคอนิกสแบร์ก แต่หลังจากนั้นห้องอำพันก็สูญหายไประหว่างความยุ่งเหยิงที่เกิดขึ้นในบั้นปลายของสงคราม ชะตาของห้องยังคงเป็นเรื่องลึกลับและยังคงเป็นสิ่งที่สืบหากันอยู่ ในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและห้องอำพัน · ดูเพิ่มเติม »

อภิมหาอำนาจ

แผนที่อภิมหาอำนาจในปีค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกา (น้ำเงิน), สหภาพโซเวียต (แดง), และ จักรวรรดิอังกฤษ (เขียวน้ำเงิน) รัสเซีย อภิมหาอำนาจ (superpower) คือ รัฐซึ่งเป็นผู้นำในระบบระหว่างประเทศและความสามารถในการใช้อำนาจชักจูงให้เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนและวางแผนใช้อำนาจในระดับทั่วโลกเพื่อปกป้องผลประโยชน์เหล่านี้ รัฐ "อภิมหาอำนาจ" ถูกพิจารณาว่ามีความเหนือกว่ารัฐ "มหาอำนาจ" อลิซ ไลแมน มิลเลอร์ ศาสตราจารย์แห่งกิจการความมั่นคงแห่งชาติ ณ บัณฑิตวิทยาลัยกองทัพเรือ ให้คำจำกัดความของอภิมหาอำนาจว่า "ประเทศซึ่งมีความสามารถจะรักษาอำนาจครอบงำและส่งอิทธิพลได้ในทุกพื้นที่ในโลก และในบางครั้ง ในมากกว่าหนึ่งภูมิภาคของโลกในเวลาใดเวลาหนึ่ง และอาจกล่าวได้ว่าบรรลุสถานะความเป็นเจ้าโลก คำดังกล่าวเริ่มถูกใช้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและอภิมหาอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

อะเลคเซย์ โคซีกิน

อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช โคซีกิน (Алексе́й Никола́евич Косы́гин; Alexei Nikolayevich Kosygin; 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2447 - 18 ธันวาคม พ.ศ. 2523) เป็นประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น ดำรงตำแหน่งคู่กับเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต เลโอนิด เบรจเนฟ จึงเรียกยุคนี้ว่าสมัยผู้นำร่วมเบรจเนฟ-โคชิกิน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและอะเลคเซย์ โคซีกิน · ดูเพิ่มเติม »

อัลกออิดะฮ์

อัลกออิดะฮ์ (القاعدة‎, al-Qā`ida "ฐาน") หรือ แอล-ไคดา (al-Qaeda) เป็นกลุ่มก่อการร้ายอิสลามสากล ก่อตั้งโดย อุซามะฮ์ บิน ลาดิน, อับดุลลาห์ อัซซัม (Abdullah Azzam) และนักรบอื่นอีกหลายคน บางช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2531.

ใหม่!!: สงครามเย็นและอัลกออิดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์พีจี (อาวุธ)

รวจและเครื่องยิง อาร์พีจี (RPG; ย่อมาจาก "rocket-propelled grenade" ระเบิดซึ่งขับเคลื่อนด้วยจรวด) เป็นระบบอาวุธต่อต้านรถถังซึ่งประกอบด้วยอุปกรณ์ยิงประทับบ่า (shoulder-fired) ศัพท์ทางการทหารเรียกว่า เครื่องยิงจรวด ลักษณะเป็นปล้องสำหรับยิงจรวดซึ่งที่หัวติดวัตถุระเบิดไว้ อาร์พีจีบางประเภทใช้ได้ครั้งเดียว บางประเภทสามารถบรรจุซ้ำได้ โดยส่วนใหญ่บรรจุจรวดเข้าทางปากปล้อง อาร์พีจีทรงประสิทธิภาพมากเมื่อใช้ต่อต้านยานพาหนะติดอาวุธ จรวดอาร์พีจีนั้นกองทัพสหภาพโซเวียตพัฒนาขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยปรับปรุงมาจากอาวุธพันแซร์เฟาสท์ (Panzerfaust) ของนาซีเยอรมนี อาร์พีจีรุ่นแรกที่ใช้ในกองทัพโซเวียต คือ อาร์พีจี-2 ซึ่งเริ่มใช้ในปี 1949 ต่อมาได้ปรับปรุงเป็นอาร์พีจี-7 เมื่อปี 1961 และแบ่งปันให้มิตรประเทศใช้ ก่อนจะแพร่หลายเป็นอันมากในยุคสงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและอาร์พีจี (อาวุธ) · ดูเพิ่มเติม »

อาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง

อาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง (อังกฤษ: Weapon of Mass Destruction, WMD) คืออาวุธที่สามารถสังหารมนุษย์, สัตว์หรือพืชในจำนวนมาก และอาจทำลายสภาพแวดล้อมของโลกอย่างมหาศาล ซึ่งจำแนกได้เป็นอาวุธหลายประเภทด้วยกันได้แก่ อาวุธปรมาณู, อาวุธชีวภาพ, อาวุธเคมี รวมไปถึงอาวุธกัมมันตภาพรังสี (ต่างจากอาวุธปรมาณูตรงที่ให้แรงระเบิดน้อยกว่ามาก แต่แพร่กัมมันตรังสีในปริมาณที่เทียบเท่าหรือใกล้เคียงกับอาวุธปรมาณู) ที่กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นจากกองกำลังที่มีอำนาจทางการเงินและเทคโนโลยีที่ด้อยกว่า (เช่น ผู้ก่อการร้าย) เป็นที่โต้เถียงกันว่าศัพท์นี้ (ในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาไทยนั้น ไม่ค่อยพบเห็นการใช้คำนี้มากนัก) ถูกใช้ครั้งแรกเมื่อใด โดยนิยามนี้อาจถูกใช้ครั้งแรกใน พ.ศ. 2480 (เมื่ออ้างอิงถึงการทำลายล้างเมืองเกอร์นิคาในสเปนด้วยการใช้เครื่องบินทิ้งระเบิดในสงครามกลางเมืองสเปน) หรือใน พ.ศ. 2488 (เมื่ออ้างอิงถึงการที่สหรัฐอเมริกาใช้อาวุธปรมาณูกับเมืองฮิโรชิมาและนางาซากิในญี่ปุ่น) และเมื่อสงครามเย็นสิ้นสุดลง ศัพท์นี้ก็ถูกใช้กับอาวุธอื่นนอกจากอาวุธตามปกติมากขึ้น แต่คำนี้ถูกใช้มากที่สุดในการรุกรานอิรักใน พ.ศ. 2546 ที่มีสหรัฐฯ เป็นผู้นำการโจมตี (โดยอ้างเหตุในการรุกรานว่าอิรักนั้นครอบครองอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง).

ใหม่!!: สงครามเย็นและอาวุธอานุภาพทำลายล้างสูง · ดูเพิ่มเติม »

อุบัติการณ์ยู-2 พ.ศ. 2503

อุบัติการณ์ยู-2 เกิดขึ้นระหว่างสงครามเย็นเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2503 ในสมัยประธานาธิบดีดไวต์ ไอเซนฮาวร์แห่งสหรัฐอเมริกา และนิกิตา ครุสชอฟแห่งโซเวียต เมื่อเครื่องบินสายลับยู-2 ของสหรัฐถูกยิงตกเหนือน่านฟ้าของสหภาพโซเวียต ทีแรก รัฐบาลสหรัฐปฏิเสธจุดประสงค์และภารกิจของเครื่องบินดังกล่าว แต่หลังจากนั้นถูกบังคับให้ยอมรับบทบาทของมันเป็นอากาศยานเฝ้าตรวจลับเมื่อรัฐบาลโซเวียตนำเสนอซากสมบูรณ์ของเครื่อง และนักบินผู้รอดชีวิต ฟรานซิส แกรี พาวเวอส์ เช่นเดียวกับภาพถ่ายของฐานทัพในรัสเซียที่พาวเวอส์ถ่าย อุบัติการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นราวสองสัปดาห์ก่อนการประชุมสุดยอดตะวันออก-ตะวันตกที่มีกำหนดในอีกสองสัปดาห์ในกรุงปารีส และอุบัติการณ์นี้นำมาซึ่งความอับอายใหญ่หลวงของสหรัฐอเมริกา และทำให้ความสัมพันธ์กับสหภาพโซเวียตเสื่อมลง พาวเวอร์สถูกพิพากษาลงโทษฐานจารกรรมและถูกตัดสินจำคุกสามปีและใช้งานหนักอีกเจ็ดปี แต่เขาได้รับปล่อยตัวเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2505 ระหว่างการแลกเปลี่ยนนักโทษกับนายทหารรัสเซีย รูดอล์ฟ อเบล.

ใหม่!!: สงครามเย็นและอุบัติการณ์ยู-2 พ.ศ. 2503 · ดูเพิ่มเติม »

อุซามะฮ์ บิน ลาดิน

อุซามะฮ์ บิน โมฮัมเหม็ด บิน อวัด บิน ลาดิน หรือ อุซามะฮ์ บิน ลาดิน (อังกฤษ: Osama bin Mohammed bin Awad bin Laden; Osama bin Laden) (10 มีนาคม พ.ศ. 2500 - 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 (54 ปี 53 วัน) เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งและหัวหน้าอัลกออิดะฮ์ ซึ่งรับผิดชอบเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ต่อสหรัฐอเมริกา และเหตุวินาศกรรมที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมากอีกหลายครั้ง เกิดในตระกูลบิน ลาดินสัญชาติซาอุดิอาระเบีย อันมั่งคั่ง บิน ลาดินอยู่ในรายชื่อหนึ่งในสิบบุคคลที่สำนักงานสืบสวนกลางแห่งสหรัฐอเมริกา (เอฟบีไอ) ต้องการตัวมากที่สุดและผู้ก่อการร้ายที่ต้องการตัวมากที่สุดจากการมีส่วนเกี่ยวข้องในเหตุวางระเบิดสถานทูตสหรัฐในปี พ.ศ. 2541 ระหว่าง พ.ศ. 2544 ถึง 2554 บิน ลาดินเป็นเป้าหมายสำคัญของสงครามต่อต้านการก่อการร้าย ซึ่งส่งผลให้มีพลเรือนเสียชีวิตในอิรัก อัฟกานิสถานและโซมาเลียระหว่าง 80,000 ถึง 1.2 ล้านคนระหว่างปี พ.ศ. 2544 ถึง 2550 เขาเสียชีวิตในบริเวณบ้านในแอบบอตทาบัต โดยปฏิบัติการบุกจู่โจมของหน่วยซีลสหรัฐอเมริกา จากปี พ.ศ. 2544 จนถึง 2554 บิน ลาดินเป็นเป้าหมายหลักของสงครามต่อต้านการก่อการร้าย โดย FBI ได้ให้ค่าหัวถึง 25 ล้านดอลลาร์สหรัฐเพื่อตามหาเขา ในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 บิน ลาดิน ได้ถูกยิงเสียชีวิต ในที่พัก ณ แอบบอตทาบัด ซึ่งเขาได้พักอยู่กับครอบครัวพื้นเมืองจากวาซิริสถาน โดยคำสั่งจาก บารัก โอบามา ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและอุซามะฮ์ บิน ลาดิน · ดูเพิ่มเติม »

อี ซึง-มัน

อี ซึง-มัน (Yi Seung-man;; เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกในชื่อ "ซึงมัน รี" ("Syngman Rhee"); 26 มีนาคม พ.ศ. 2418 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2508) เป็นประธานาธิบดีคนแรกแห่งสาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและอี ซึง-มัน · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเย็นและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา

องค์การบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา (United Nations Transitional Authority in Cambodia; អាជ្ញាធរអន្តរកាលសហប្រជាជាតិនៅកម្ពុជា อาชฺญาธรอนฺตรกาลสหบฺรชาชาติเนากมฺพุชา) หรือ อันแทก (UNTAC; អ.អ.ស.ប.ក. อ.อ...ก.) เป็นปฏิบัติการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติในกัมพูชาระหว่าง..

ใหม่!!: สงครามเย็นและองค์การบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

องค์การสนธิสัญญากลาง

องค์การสนธิสัญญากลาง (Central Treaty Organization, ย่อ: CENTO) มีชื่อเดิมว่า องค์การสนธิสัญญาตะวันออกกลาง (Middle East Treaty Organization หรือ METO) หรือรู้จักกันในชื่อ สนธิสัญญาแบกแดด ก่อตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและองค์การสนธิสัญญากลาง · ดูเพิ่มเติม »

องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (สปอ. หรือ ซีโต้) (Southeast Asia Treaty Organization - SEATO) เป็นองค์การที่ก่อตั้งขึ้นตาม สนธิสัญญามะนิลา ลงนามเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2497 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498 ในช่วงสงครามเย็น โดย 8 ประเทศ คือ.

ใหม่!!: สงครามเย็นและองค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ โออีซีดี (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และยอมรับระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจการค้าเสรีในการร่วมกันและพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคยุโรปและโลก แต่เดิมองค์กรนี้ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในนามองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรปหรือโออีอีซี (Organization for European Economic Co-operation: OEEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 (พ.ศ. 2491) ในช่วงสมัยสงครามเย็น วัตถุประสงค์คือเพื่อร่วมมือกันฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจของประเทศยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ให้กลับคืนมาและคงไว้อย่างมั่นคงตามแนวทางเศรษฐกิจทุนนิยมโดยแผนการมาร์แชลล์ สัญญาในการก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 โดยมีสมาชิกประเทศยุโรปตะวันตกจำนวน 19 ประเทศ เป็นผู้ลงนาม ได้แก่ ออสเตรีย, เบลเยี่ยม, เดนมาร์ก, ฝรั่งเศส, กรีซ, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, อิตาลี, ลักเซมเบิร์ก, นอร์เวย์, เนเธอร์แลนด์,โปรตุเกส, อังกฤษ, สวีเดน, สวิตเซอร์แลนด์, ตุรกี, สหรัฐอเมริกา,เยอรมนีตะวันตกและแคว้นอิสระของตรีเอสเต โปสเตอร์สำหรับแผนมาร์แชลล์แสดงธงชาติของประเทศในยุโรปตะวันตก รวมไปถึงแคว้นอิสระตรีเอสเตที่มีพื้นหลังสีฟ้าอย่างเป็นทางการของสหประชาชาติ นอกจากจะเป็นการฟื้นฟูยุโรปแล้วยังเป็นการต่อต้านหยุดยั้งไม่ให้อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตมาเผยแพร่ที่ยุโรปตะวันตกและยังเป็นการโน้มน้าวให้ยุโรปตะวันออกที่เป็นประเทศบริวารให้เห็นด้วยและเข้าร่วม แต่ในขณะเดียวกัน สหภาพโซเวียตภายใต้การนำของโจเซฟ สตาลินได้หวาดระแวงแผนการมาร์แชลล์ โดยมองว่า เป็นแผนการร้ายของสหรัฐฯที่จะขยายอิทธิพลและเผยแพร่ลัทธิระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจทุนนิยมเข้าสู่ยุโรปตะวันออกจึงทำการบีบบังคับประเทศบริวารในยุโรปตะวันออกให้ปฏิเสธแผนการดังกล่าวและได้เสนอแผนการโมโลตอฟ(Molotov Plan)ในการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางเศรษฐกิจของคอมมิวนิสต์ขึ้นมาแทนเพื่อเป็นการโต้ตอบแผนการมาร์แชล พร้อมก่อตั้งสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจหรือคอมิคอน (Council for Mutual Economic Assistance, Comecon) เพื่อเป็นการคานอำนาจจากองค์กรโออีอีซีเช่นเดียวกับสนธิสัญญาวอร์ซอต่อต้านองค์กรนาโต (แต่จนกระทั่งถึงปี ค.ศ.1991 คอมิคอนก็ได้ถูกยกเลิกไปพร้อมกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต) ต่อมาในช่วงหลังสงครามเย็นก็ได้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่จากองค์กรโออีอีซีมาเป็นโออีซีดี และมีการลงนามกันใหม่อีกครั้ง ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ เบเทอ

ันส์ อัลเบร็คท์ เบเทอ (Hans Albrecht Bethe) เป็นนักฟิสิกส์นิวเคลียร์สัญชาติเยอรมัน-อเมริกัน เขาเป็นบุคคลสำคัญของวงการฟิสิกส์ดาราศาสตร์ พลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัม และฟิสิกส์ของแข็ง เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและฮันส์ เบเทอ · ดูเพิ่มเติม »

ผมเป็นชาวเบอร์ลิน

"อิช บิน ไอน์ แบร์ลีแนร์" (Ich bin ein Berliner, "ผมเป็นชาวเบอร์ลิน") เป็นตอนหนึ่งของสุนทรพจน์โดยประธานาธิบดีสหรัฐ จอห์น เอฟ. เคนเนดี ในเบอร์ลินตะวันตก เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและผมเป็นชาวเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

จรวด

รวดโซยุซ-ยู (Soyuz-U) ณ ฐานปล่อยที่ 1/5 ไบโคนูร์ ไซต์1/5 (Baikonur's Site 1/5) ในคาซัคสถาน (Kazakhstan) การปล่อยจรวดแซทเทิร์น 5 อะพอลโล 15: เวลาเริ่มปล่อย T - 30 วินาที เวลาเสร็จสิ้น T + 40 วินาที จรวด หมายถึงขีปนาวุธ, ยานอวกาศ, เครื่องบิน หรือพาหนะอื่นใดที่อาศัยแรงผลักดันของไอเสียที่มีต่อตัวจรวดในการพุ่งไปข้างหน้า โดยใช้การเผาผลาญเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์จรวด ในจรวดทุกชนิดไอเสียจะเกิดขึ้นทั้งหมดจากเชื้อเพลิงขับดันที่บรรทุกไปด้วยภายในจรวดก่อนที่จะถูกใช้งาน chapter 1 จรวดเคมีสร้างพลังงานจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงจรวด ผลจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงและตัวอ๊อกซิไดซ์ภายในห้องเผาไหม้จะทำให้เกิดก๊าซร้อนที่มีอุณหภูมิสูงมากและขยายตัวออกไปทางหัวฉีดทำให้ก๊าซเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในระดับไฮเปอร์โซนิก ซึ่งทำให้เกิดแรงผลักมหาศาลต่อตัวจรวดตามกฎข้อที่สามของนิวตัน (แรงกิริยาเท่ากับแรงปฏิกิริยา)โดยในทางทหารและสันทนาการมีประวัติของการใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือในช่วงเวลานั้น จรวดได้ถูกใช้สำหรับงานทางทหารและสันทนาการ ย้อนกลับไปอย่างน้อยศตวรรษที่ 13 ในประเทศจีน (China) "Rockets in Ancient Times (100 B.C. to 17th Century)" ในทางทหาร, วิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมได้ใช้จรวดเป็นอาวุธและเครื่องมือแต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายจนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 20, เมื่อวิทยาการที่เกี่ยวกับจรวดได้ถือกำเนิดขึ้น เป็นการเปิดประตูสู่ยุคอวกาศ,กับการที่มนุษย์กำลังจะไปเหยียบดวงจันทร์ จรวดได้ถูกใช้สำหรับทำดอกไม้ไฟและอาวุธ, เก้าอี้ดีดตัวสำหรับนักบินและพาหนะสำหรับนำส่งดาวเทียม, นักบินอวกาศ และการสำรวจดาวเคราะห์ต่าง ๆ ในขณะที่จรวดที่ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพนั้นจะใช้สำหรับการขับเคลื่อนด้วยอัตราเร็วที่ต่ำ ๆ, นักวิทยาศาสตร์จะเปรียบเทียบหาจรวดที่มีแรงขับเคลื่อนในระบบอื่น ๆ, ที่มีน้ำหนักเบากว่าและมีประสิทธิภาพสูงกว่า, ทำให้สามารถสร้างความเร่งในการเคลื่อนที่ของจรวดได้มากขึ้น และสามารถทำให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วที่สูงอย่างยิ่งด้วยประสิทธิภาพที่เหมาะสม จรวดเคมีเป็นชนิดของจรวดที่พบมากที่สุดและพวกมันมักจะสร้างไอเสียโดยการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงจรวด จรวดเคมีต้องการที่เก็บพลังงานเชื้อเพลิงที่มีขนาดใหญ่โตมากในรูปแบบที่พร้อมจะปลดปล่อยตัวเองออกมาได้อย่างง่ายดาย และมีอันตรายมาก อย่างไรก็ตาม, จะต้องทำด้วยการออกแบบอย่างรอบคอบ, การทดสอบ, การก่อสร้าง, และใช้ความเสี่ยงอันตรายให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้.

ใหม่!!: สงครามเย็นและจรวด · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เอฟ. เคนเนดี

รือเอก จอห์น ฟิตซ์เจอรัลด์ เคนเนดี (John Fitzgerald Kennedy) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เจเอฟเค (JFK ย่อจากชื่อภาษาอังกฤษ) (29 พฤษภาคม ค.ศ. 1917 — 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 35 ของสหรัฐอเมริกา เจ้าของวาทะเปี่ยมไปด้วยจิตสำนึกหน้าที่ความรับผิดชอบของพลเมือง: "จงอย่าถามว่าประเทศชาติจะให้อะไรแก่ท่าน แต่จงถามตัวท่านเองว่าท่านจะทำอะไรให้ประเทศชาติ" เกิดเมื่อ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1917 ที่เมืองบรู๊คลาย รัฐแมสซาชูเซตส์ อยู่ที่นั่นถึง 10 ขวบ ครอบครัวก็ย้ายเข้านิวยอร์ก เป็นคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก ลูกคนที่ 2 ในจำนวน 9 คนของโจเซฟ แพทริก เคนเนดี คหบดีใหญ่อดีตเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำสหราชอาณาจักร จากโรงเรียนมัธยมในรัฐคอนเนตทิคัต เรียนต่อมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เข้าหน่วยกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เป็นผู้บังคับการเรือ ตอร์ปิโด Patrol Torpedo boat 59 รับเหรียญกล้าหาญจากวีรกรรมช่วยเพื่อนทหารให้รอดชีวิตจากเหตุเรืออับปางด้วยข้าศึกโจมตี เขาว่ายน้ำพยุงร่างเพื่อนที่ได้รับบาดเจ็บไปโดยไม่ทอดทิ้ง ลงสนามการเมืองได้เป็นวุฒิสมาชิกรัฐบ้านเกิด จากนั้นเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ค.ศ. 1960 สหรัฐอเมริกาได้ประธานาธิบดีที่หนุ่มที่สุดเพียง 43 ปี และเป็นคริสต์คนแรกที่ดำรงตำแหน่งยิ่งใหญ่นี้ เจเอฟเคบริหารประเทศด้วยพลังหนุ่ม (เป็นคำหนึ่งที่เขาชอบมาก) และมองโลกในแง่ดี เคเนดี้เป็นผู้จัดตั้ง องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา หรือยูเสด เพื่อให้การสนับสนุนประเทศประชาธิปไตยในการป้องกันลัทธิคอมมิวนิสต์ วันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1961 เขาแถลงต่อสภาคองเกรสว่าอเมริกากำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายที่ไม่ธรรมดา ให้สภาอนุมัติงบประมาณเพื่อจุดมุ่งหมายของชาติคือ การส่งมนุษย์ไปลงบนดวงจันทร์ และเดินทางกลับอย่างปลอดภัย ด้านการต่างประเทศ เคนเนดียุติวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ทางการเมืองด้วยการยื่นคำขาดให้สหภาพโซเวียตถอนฐานยิงขีปนาวุธในประเทศคิวบา ความสำเร็จอีกประการหนึ่งคือ สนธิสัญญาระหว่างประเทศในการห้ามทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ อย่างไรก็ตามนโยบายที่ผิดพลาดก็มีเช่นกัน การให้ความช่วยเหลือทางทหารแก่เวียดนามใต้ เป็นจุดเริ่มต้นสงครามเวียดนามที่โหดร้ายรุนแรง แรกทีเดียวประธานาธิบดีเชื่อข้อมูลฝ่ายทหารและนักค้าอาวุธสงคราม ว่าสหรัฐจะสามารถชนะกองกำลังคอมมิวนิสต์ในเวียดนามได้ไม่ยาก เพราะแสนยานุภาพทางทหารเหนือกว่า เฉพาะอย่างยิ่งกองกำลังทางอากาศที่ใช้เฮลิคอปเตอร์เป็นหลัก แต่นั่นไม่จริง สงครามเวียดนามยืดเยื้อ ทหารอเมริกันเข้าสมรภูมิเป็นจำนวนมหาศาล ความสูญเสียเกินบรรยาย ช่วงเวลาที่จะหมดวาระ เตรียมชิงเก้าอี้ผู้นำสมัยที่ 2 เขาตัดสินใจใช้การเจรจาทางการทูตยุติสงคราม แต่จากนั้นไม่นานเคนเนดีก็ถูกยิงเสียชีวิตที่เมืองแดลลัส รัฐเทกซัส ในเหตุการณ์การลอบสังหารฯ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963 ประวัติศาสตร์บันทึกถึงประธานาธิบดีผู้มีอายุน้อยที่สุดของสหรัฐอเมริกา ผู้มีผลงานโดดเด่นมากมายท่ามกลางวิกฤตการณ์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง รอยต่อของยุคก้าวสู่สงครามเย็น เพื่อเป็นการให้เกียรติของท่าน รัฐบาลจึงนำชื่อของท่านมาตั้งเป็น ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีในนครนิวยอร์ก ของ สหรัฐอเมริกา อีกด้ว.

ใหม่!!: สงครามเย็นและจอห์น เอฟ. เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยม

ลัทธิจักรวรรดินิยม (Imperialism) คือ นโยบายขยายอำนาจในการเข้าควบคุมหรือมีอำนาจบังคับบัญชาเหนือดินแดนต่างชาติ อันเป็นวิถีทางเพื่อการได้มาและ/หรือการรักษาจักรวรรดิให้ดำรงอยู่ต่อไปได้ ทั้งจากการขยายอำนาจเข้ายึดครองดินแดน โดยตรง และจากการเข้าคุมอำนาจทางอ้อมในด้านการเมือง และ/หรือทางเศรษฐกิจของประเทศอื่น ๆ บางคนใช้คำศัพท์นี้เพื่ออธิบายถึงนโยบายของประเทศใดประเทศหนึ่งในการคงไว้ซึ่งอาณานิคม และอิทธิพลเหนือดินแดนอันไกลโพ้น โดยไม่คำนึงว่าประเทศนั้น ๆ จะเรียกตนเองว่าเป็นจักรวรรดิหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตาม มีการนำเอาคำว่า 'จักรวรรดินิยม' ไปใช้ในบริบทที่แสดงถึงความมีสติปัญญา/ความเจริญที่สูงกว่าด้วย ซึ่งในบริบทนี้คำว่า "จักรวรรดินิยม" มีนัยแสดงถึงความเชื่อที่ว่า การเข้าถือสิทธิยึดครองดินแดนต่างชาติและการคงอยู่ของจักรวรรดิเป็นสิ่งดีงาม เนื่องจากมีการประสมผสานรวมเอาหลักสมมุติฐานที่ว่า โดยธรรมชาติแล้วชาติมหาอำนาจจักรวรรดินิยมนั้นจะมีวัฒนธรรมและความเจริญด้านอื่น ๆ เหนือกว่าชาติที่ถูกรุกรานเข้าไว้ด้วย — โปรดดู ภาระคนขาว (The White Man's Burden) ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มวิพากษ์วิจารณ์กันมากยิ่งขึ้นว่า "ลัทธิจักรวรรดินิยม" นั้นไม่ได้มีบริบทจำกัดอยู่เพียงแค่ระดับของการเข้าครอบครองหรือครอบงำทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองของชาติอื่นเท่านั้น แต่ยังขยายเข้าครอบคลุมไปถึงระดับวัฒนธรรมด้วย โดยเฉพาะในประเด็นเกี่ยวกับอิทธิพลทางวัฒนธรรมอเมริกันที่แผ่ขยายไปทั่วโลก — โปรดดู ลัทธิจักรวรรดินิยมทางวัฒนธรรม อย่างไรก็ตาม หลายคนโต้แย้งการขยายคำจำกัดความดังกล่าว โดยอ้างเหตุผลว่าเรื่องของ "วัฒนธรรม" นั้นเป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนซับซ้อน ยากที่จะแยกความแตกต่างให้เห็นชัดเจนได้ว่า การรับวัฒนธรรมของชาติใดชาติหนึ่งไปนั้น เป็นเรื่องของปฏิกิริยาที่ชนในชาติมีต่อกันและกันทั้งสองฝ่าย หรือเป็นเรื่องของอิทธิพลที่แผ่ขยายจนเกินขีดจำกัด นอกจากนี้แล้วการนำเอา "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ไปใช้ในการอธิบายหรือวิเคราะห์นั้น ยังมีการ "เลือกปฏิบัติ" ด้วย ตัวอย่าง เช่น "แฮมเบอร์เกอร์" ถูกจัดว่าเป็น "วัฒนธรรมจักรวรรดินิยม" ขณะที่ "น้ำชา" นั้นไม่ใ.

ใหม่!!: สงครามเย็นและจักรวรรดินิยม · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยมในเอเชีย

ักรวรรดินิยมในเอเชียซึ่งนำเสนอในบทความนี้ว่าด้วยการเข้ามายังบริเวณที่เดิมเรียก หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ของชาติยุโรปตะวันตก จักรวรรดินิยมในเอเชียเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยการค้นเส้นทางการค้ากับประเทศจีนซึ่งนำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจโดยตรง และนำการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมาสู่บริเวณซึ่งขณะนั้นเรียก ตะวันออกไกล เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ยุคแห่งการเดินเรือขยายอิทธิพลของยุโรปตะวันตกและพัฒนาการค้าเครื่องเทศภายใต้ลัทธิอาณานิคมอย่างมาก มีจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปตะวันตกและจักรวรรดินิยมในเอเชียตลอดหกศตวรรษแห่งลัทธิอาณานิคม จนสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อติมอร์-เลสเต ซึ่งเป็นอาณานิคมสุดท้ายของจักรวรรดิโปรตุเกส ได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและจักรวรรดินิยมในเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

จารกรรม

รกรรม (espionage หรือ spying) คือ การล้วงความลับจากคู่แข่งหรือศัตรูเพื่อความได้เปรียบทางการทหาร การเมือง หรือเศรษฐกิจ จารชน (spy) คือ บุคคลที่รัฐส่งไปล้วงความลับจากศัตรูหรือฝ่ายที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นศัตรู โดยเฉพาะอย่างยิ่งความลับทางการทหาร แต่อาจรวมถึงการล้วงความลับจากต่างบริษัท เรียกว่า จารกรรมทางอุตสาหกรรม หลายประเทศส่งสายลับเข้าไปในประเทศอื่นทั้งประเทศที่เป็นมิตรและศัตรู แม้ว่าจะไม่เป็นที่เปิดเผย จารชนนี้อย่างอื่นก็เรียก เช่น สายลับ, คนสอดแนม, อุปนิกขิต หรือ อุปนิกษิต เรื่องราวเกี่ยวกับจารกรรมปรากฏในประวัติศาสตร์ตลอดมา ซุนวูกล่าวถึงการหลอกลวงและการบ่อนทำลาย อียิปต์โบราณพัฒนาระบบของการได้มาซึ่งข่าวกรอง โดยชาวฮิบรูก็ใช้ระบบนี้ โดยทั่วไป จารกรรมที่กระทำโดยพลเมืองของประเทศเป้าหมาย ถือเป็นรูปแบบหนึ่งของการกบฏ หลายประเทศถือว่าจารกรรมเป็นความผิดอาญา ต้องได้รับโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกากำหนดให้จารกรรมเป็นความผิดอาญาขั้นอุกฤษฏ์โทษ อย่างไรก็ตาม ผู้ต้องหามักได้รับข้อเสนอลดหย่อนโทษโดยแลกกับข้อมูลข่าวสาร ในสหราชอาณาจักร จารชนต่างชาติจะได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 14 ปี ภายใต้ พระราชบัญญัติความลับของทางราชการ ขณะที่จารชนชาวอังกฤษที่เป็นสายลับให้ต่างชาติ และพิสูจน์ได้ว่าช่วยเหลือศัตรู จะถูกพิพากษาในข้อหาการกบฏ รับโทษสูงสุดจำคุกตลอดชีวิต นอกจากนี้ จารชนที่ทำงานให้ผู้ก่อการร้ายยังถือว่ากระทำผิดพระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ. 2000 ในระหว่างสงครามเย็น มีความเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับจารกรรมบ่อยครั้ง ส่วนใหญ่เกี่ยวพันกับความลับด้านอาวุธนิวเคลียร์ ปัจจุบันใช้สายลับกับการค้ายาเสพติดโดยผิดกฎหมายและการก่อการร้.

ใหม่!!: สงครามเย็นและจารกรรม · ดูเพิ่มเติม »

จิ้งจอกสายฟ้า

Air Wolf จิ้งจอกสายฟ้า 350px จิ้งจอกสายฟ้า (Airwolf) เป็นภาพยนต์ซีรีส์โทรทัศน์ของอเมริกาที่ออกอากาศฉายตั้งแต่ปี 1984 จนถึงปี 1987 เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการพัฒนาสร้างเฮลิคอปเตอร์ทางทหารด้วยเทคโนโลยีชั้นสูงของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา, ภายใต้รหัสชื่อ Airwolf, และเหล่าบรรดาทีมนักบินลูกเรือที่พวกเขาได้ทำการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจารกรรมทางการทหารเป็นจำนวนมากมายที่มีรูปแบบที่กำลังอยู่ในช่วงของสงครามเย็นขณะนั้น เป็นผลงานการแสดงที่ถูกสร้างขึ้นโดย โดนัลด์ พี. เบลลิซาริโอ (Donald P. Bellisario) นำโดยสามดาราชั้นนำแห่งปี ได้แก่ แจน ไมเคิล วินเซนต์ (Jan-Michael Vincent), เออเนสท์ บอร์กไนน์ (Ernest Borgnine), และ อเล็กซ์ คอร์ด (Alex Cord) เป็นซีรีส์ฝรั่งที่โด่งดังในบ้านเราอีกเรื่องหนึ่ง โดยได้เคยนำมาออกอากาศฉายในทีวีบ้านเราโดยสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยทีมนักพากษ์เสียงเป็นภาษาไทยในชื่อว่า "อินทรี" แอร์วูลฟ์ (Airwolf) หรือที่สมัยฉายทางช่อง 3 ตั้งชื่อว่า " จิ้งจอกสายฟ้า " คือ เฮลิคอปเตอร์ผสมผสานกับเครื่องบินเจ็ท โดยมีรูปแบบมาจาก ปลาโลมา นอกเหนือจากความเร็วสูงแล้ว ติดอาวุธสารพัดไม่ว่าจะเป็น ปืนกล หรือ จรวดมิซายส์ ว่ากันว่า แอร์วูลฟ์ เพียงลำเดียว สามารถถล่มเมืองทั้งเมืองให้ย่อยยับได้ในชั่วพริบต.

ใหม่!!: สงครามเย็นและจิ้งจอกสายฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

จีเอชเอ็น-45

ีเอชเอ็น-45 (GHN-45) ย่อมาจากคำว่า Gun, Howitzer, Noricum เป็นปืนใหญ่วิถีราบ ขนาด 155 มิลลิเมตร แบบลากจูง ออกแบบโดยเจอรัลด์ บูล และพัฒนาขึ้นโดยบริษัทนอริคัม (Noricum) ประเทศออสเตรีย โดยปรับปรุงให้มีลำกล้องปืนยาวขึ้นจาก 39 คาลิเบอร์เป็น 45 คาลิเบอร์ ทำให้มีระยะยิงไกลสุดเพิ่มเป็น 39,600 เมตร โดยมีการผลิตออกมาเป็น 2 รุ่น คือ.

ใหม่!!: สงครามเย็นและจีเอชเอ็น-45 · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์

นักบินอวกาศ บัสซ์ อัลดรินและนีล อาร์มสตรอง ในแบบจำลองการฝึกดวงจันทร์และส่วนลงจอดของนาซา นักทฤษฎีสมคบคิดกล่าวว่า การถ่ายภาพภารกิจกระทำโดยใช้ชุดที่คล้ายกับแบบจำลองฝึกนี้ ทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ (Moon landing conspiracy theories) อ้างว่า โครงการอะพอลโลและการลงจอดบนดวงจันทร์ที่สืบเนื่องบางส่วนหรือทั้งหมดเป็นการหลอกลวงที่นาซาและสมาชิกองค์การอื่นจัดฉากขึ้น มีหลายปัจเจกบุคคลและกลุ่มได้อ้างการสมคบคิดดังกล่าวมาตั้งแต่กลางคริสต์ทศวรรษ 1970 การอ้างที่โดดเด่นที่สุด คือ การลงจอดที่มีมนุษย์โดยสารไปด้วยทั้งหกครั้ง (ระหว่าง ค.ศ. 1969-1972) เป็นเรื่องกุ และนักบินอวกาศของอะพอลโลสิบสองคนมิได้เดินบนดวงจันทร์ นักทฤษฎีสมคบคิดมีพื้นฐานข้ออ้างจากความคิดที่ว่า นาซาและองค์การอื่นทำให้สาธารณะหลงผิดเชื่อว่า การลงจอดเกิดขึ้นโดยการผลิต ทำลายหรือยุ่งกับหลักฐาน รวมทั้งภาพถ่าย เทปการวัดและส่งข้อมูลทางไกล การสื่อสัญญาณ ตัวอย่างหินจากดวงจันทร์ และกระทั่งพยานปากสำคัญบางคน นักทฤษฎีสมคบคิดได้จัดการรักษาความสนใจของสาธารณะเอาไว้กับทฤษฎีของพวกตนมาได้นานกว่า 40 ปี แม้จะมีหลักฐานจากฝ่ายที่สามเกี่ยวกับการลงจอดและการหักล้างในรายละเอียดต่อข้ออ้างการหลอกลวงนี้ การสำรวจความคิดเห็นในหลายสถานที่ได้แสดงว่า ชาวอเมริกันระหว่าง 6% ถึง 20% ที่ถูกสำรวจ เชื่อว่า การลงจอดโดยมีมนุษย์โดยสารไปด้วยนั้นเป็นการกุขึ้น แม้แต่ใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและทฤษฎีสมคบคิดเรื่องเหยียบดวงจันทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทุนนิยม

"พีระมิดระบบทุนนิยม" ถูกตีพิมพ์ลงหนังสือพิมพ์ในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและทุนนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ท่องทะเลเลือด

ท่องแดนมหัศจรรย์:ท่องทะเลเลือด ท่องทะเลเลือด (อังกฤษ: Fantastic Voyage) เป็นนิยายวิทยาศาสตร์ที่แต่งโดย ไอแซค อสิมอฟ อยู่ใน ชุด ท่องแดนมหัศจรรย์ ของสำนักพิมพ์ออบิท เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเทคโนโลยีการย่อส่วนสสาร พร้อมกับกลิ่นอายของสงครามเย็นในช่วง ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: สงครามเย็นและท่องทะเลเลือด · ดูเพิ่มเติม »

ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า 4: อาณาจักรกะโหลกแก้ว

มทรัพย์สุดขอบฟ้า 4: อาณาจักรกะโหลกแก้ว (Indiana Jones and the Kingdom of the Crystal Skull) เป็นภาพยนตร์ภาคที่ 4 ในซีรีส์ของ อินเดียน่า โจนส์ เป็นภาพยนตร์แอ็คชั่น ออกฉายวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 2008 กำกับโดย สตีเวน สปีลเบิร์ก และร่วมเขียนเรื่องโดย จอร์จ ลูคัส อำนวยการสร้างโดย แฟรงก์ มาร์แชล เดนิส แอล. สจ๊วต จอร์จ ลูคัส แคธรีน เคนเนดี ภาพยนตร์เรื่องนี้ถ่ายทำที่เกาะฮาวาย โดยเซ็ตฉากขึ้นมาให้เป็นป่าดงดิบในประเทศเปรู และอีกส่วนหนึ่งของการถ่ายทำคือที่ลอสแอนเจล.

ใหม่!!: สงครามเย็นและขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า 4: อาณาจักรกะโหลกแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

ดักลาส แมกอาเธอร์

ลเอกดักลาส แมกอาร์เธอร์ (ถ่ายเมื่อปี พ.ศ. 2486 หรือ 2487) พลเอกแมกอาร์เธอร์กลับคืนสู่ฟิลิปปินส์ในการรบที่อ่าวเลเต หลังจากถอยจากการบุกของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 จอมพลดักลาส แมกอาร์เธอร์ (Douglas MacArthur; 26 มกราคม พ.ศ. 2423 - 5 เมษายน 2507) เป็นพลเอกชาวอเมริกัน ที่มีชื่อเสียงในการบัญชาการรบภาคพื้นแปซิฟิก ในสมัยสงครามสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นผู้บัญชาการผู้ที่ให้ญี่ปุ่นจดสนธิสัญญาพ่ายแพ้ให้กับฝ่ายพันธมิตร ณ เรือประจัญบานยูเอสเอส มิสซูรี นอกจากนี้เขายังเป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้ ญี่ปุ่น พัฒนาอย่างรวดเร็ว และยังเป็นผู้บัญชาการสมัยสงครามเย็น ในสงครามเกาหลี อีกด้ว.

ใหม่!!: สงครามเย็นและดักลาส แมกอาเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมสปุตนิก 1

ปุตนิก 1 (Спутник-1; IPA:; Sputnik 1) เป็นดาวเทียมดวงแรกของโลก สหภาพโซเวียต ได้ส่งดาวเทียมสปุตนิกขึ้นสู่วงโคจรโลกในรูปวงรีในวันที่ 4 ตุลาคม 1957 ซึ่งโคจรสามสัปดาห์ก่อนที่แบตเตอรี่จะเสียอย่างเงียบ ๆ ก่อนที่จะตกลงสู่ชั้นบรรยากาศในอีกสองเดือนต่อมา สปุตนิก 1 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 58 ซม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและดาวเทียมสปุตนิก 1 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1990

คริสต์ทศวรรษ 1990 (1990s) เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1990 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1999 เป็นทศวรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 เป็นทศวรรษแรกที่ตามมาด้วยผลกระทบของการสิ้นสุดสงครามเย็น คริสต์ทศวรรษ 1990.

ใหม่!!: สงครามเย็นและคริสต์ทศวรรษ 1990 · ดูเพิ่มเติม »

ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน

วามยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional Justice) เป็นการผสานแนวคิดสองประการเข้าด้วยกัน คือ "การเปลี่ยนผ่าน" (transition) กับ "ความยุติธรรม" (justice) โดยการเปลี่ยนผ่าน คือ สภาวะที่สังคมได้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงระบอบทางการเมือง (political transformation/regime change) จากรูปแบบหนึ่งไปสู่รูปแบบใหม่อย่างมีนัยสำคัญ เช่น จากระบอบอำนาจนิยม (authoritarian) หรือการปกครองแบบกดขี่ (repressive rule) ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย (democracy) หรือใช้ในความหมายของการเปลี่ยนผ่านจากความขัดแย้งของคนในสังคมไปสู่สันติภาพและความมั่นคง ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน จะหมายรวมถึง กระบวนการที่รัฐใช้ในการค้นหาความจริงจากการที่บุคคลหรือองค์กรของรัฐ หรือ องค์กรที่รัฐให้การสนับสนุนใช้กำลังเข้าสังหารหรือก่อความรุนแรงต่อพลเมืองของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นในรูปของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การสังหารหมู่ การทรมาน การลักพาตัว (Kurian, 2011: 1679-1680) อย่างไรก็ตาม การค้นหาความจริงดังกล่าวจะเกิดขึ้นภายหลังที่มีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลเก่ามาสู่รัฐบาลใหม่ หรือ เปลี่ยนจากรัฐบาลในระบอบเผด็จการมาสู่ระบอบประชาธิปไตย สาเหตุที่เป็นเช่นนี้ก็เนื่องจากรัฐบาลเก่าเป็นผู้ใช้ความรุนแรงจึงไม่มีความจำเป็นที่จะค้นหาความผิดที่ตนเองเป็นผู้กระทำ หรือในบางครั้งรัฐบาลเก่าก็พยายามที่จะตั้งกรรมการขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อทำการฟอกตัวให้กับรัฐบาลเอง ยกตัวอย่างเช่น ในสมัยของ อิดี้ อามิน (Idi Amin) ผู้นำของยูกานดาที่ใช้กำลังทหารเข้าปราบปรามประชาชน แต่เมื่อมีการกดดันจากนานาชาติ อิดี้ อามิน ตั้งกรรมการขึ้นมาตรวจสอบแต่สุดท้ายก็ไม่ได้ข้อสรุปอะไร ด้วยเหตุนี้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงรัฐบาลมาสู่รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลใหม่จึงจำเป็นต้องมีภาระในการที่จะตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลัง การตรวจสอบดังกล่าวจะเป็นการสถาปนาความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน คือเปลี่ยนจากระบอบหนึ่งมาเป็นอีกระบอบหนึ่ง หรือเปลี่ยนจากรัฐบาลที่โหดร้ายมาสู่รัฐบาลอื่นๆ (ประจักษ์, 2533) ซึ่งบางครั้งในกระบวนการตรวจสอบย้อนหลังดังกล่าวก็อาจนำไปสู่การจัดให้มีการนิรโทษกรรมทางการเมืองขึ้นก็เป็นได้ ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะสามารถทำให้กระบวนการเปลี่ยนผ่านของประเทศนั้นสามารถเดินหน้าต่อไปได้อย่างราบรื่น และสมานฉันท์ สำหรับจุดมุ่งหมายของหลักการความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านนั้นก็คือ ความพยายามของสังคมในการป้องกันไม่ให้เหตุการณ์อันโหดร้ายกลับมาเกิดขึ้นอีกครั้ง นอกจากนี้ยังมีจุดมุ่งหมายเพื่อคืนความยุติธรรมให้กับผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของการใช้ความรุนแรง ตลอดจนยังเป็นการสถาปนาหลักนิติรัฐและหลักสิทธิมนุษยชนให้ลงหลักปักฐานในสังคมด้วย อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันแนวคิดในเรื่องความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านได้กลายมาเป็นแนวทางการศึกษา (approach) ที่สำคัญแนวทางหนึ่ง ภายใต้ทฤษฎีการสร้างประชาธิปไตย (democratization theory).

ใหม่!!: สงครามเย็นและความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน · ดูเพิ่มเติม »

ความแพร่หลายของภาษาสเปน

ษาสเปนมีสถานะทางการในรัฐ เคาน์ตี และเมืองบางแห่งของสหรัฐอเมริกา ภาษาสเปนเป็นภาษาซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก โดยเป็นภาษาราชการใน 21 ประเทศ องค์การระหว่างประเทศจำนวนหนึ่ง และมีผู้พูดราว 329-500 ล้านคน คิดเป็นอันดับ 2 หรือ 3 ของโลก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและความแพร่หลายของภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

คอบร้าโกลด์

ตราสัญลักษณ์คอบร้าโกลด์ 2006 ในโอกาสครบรอบ 25 ปีของการฝึกร่วม/ผสม คอบร้าโกลด์ (Cobra Gold ตัวย่อ: CG) เป็นการฝึกร่วม/ผสมทางการทหารระดับพหุภาคีที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในประเทศไทย เริ่มครั้งแรกจากการฝึกทวิภาคีระหว่างประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2525 ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นแบบพหุภาคีโดยมีประเทศอื่น ๆ เข้าร่วม ได้แก่ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น วัตถุประสงค์ของการฝึกคอบร้าโกลด์ คือ ปรับปรุงการทำงานร่วมกัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ และส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างชาติต่าง ๆ ที่เข้าร่วมในการฝึก นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมความสงบสุขและความมั่นคงในภูมิภาค การตอบสนองที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพหลังเหตุการณ์คลื่นสึนามิที่เกิดจากแผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 ส่วนหนึ่งเป็นผลที่ได้รับจากการฝึกร่วม/ผสมนี้.

ใหม่!!: สงครามเย็นและคอบร้าโกลด์ · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล มากซ์

ร์ล ไฮน์ริช มากซ์ (Karl Heinrich Marx, 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2361 — 14 มีนาคม พ.ศ. 2426) เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์ นักประวัติศาสตร์ นักทฤษฎีการเมือง นักสังคมวิทยา นักหนังสือพิมพ์และนักสังคมนิยมปฏิวัติชาวเยอรมัน มากซ์เกิดในครอบครัวชนชั้นกลางในเทรียร์ เขาศึกษากฎหมายและปรัชญาแบบเฮเกิล เนื่องจากงานพิมพ์การเมืองของเขาทำให้เขาไร้สัญชาติและอาศัยลี้ภัยในกรุงลอนดอน ซึ่งเขายังพัฒนาความคิดของเขาต่อโดยร่วมมือกับนักคิดชาวเยอรมัน ฟรีดริช เองเงิลส์ และจัดพิมพ์งานเขียนของเขา เรื่องที่ขึ้นชื่อของเขา ได้แก่ จุลสารปี 2391, แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ และทุน จำนวนสามเล่ม ความคิดทางการเมืองและปรัชญาของเขามีอิทธิพลใหญ่หลวงต่อปัญญาชนรุ่นหลัง วิชาประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและประวัติศาสตร์การเมือง ชื่อของเขาเป็นคำคุณศัพท์ นามและสำนักทฤษฎีสังคม ทฤษฎีของมากซ์เกี่ยวกับสังคม เศรษฐศาสตร์และการเมือง ที่เรียกรวมว่า ลัทธิมากซ์ ถือว่าสังคมมนุษย์พัฒนาผ่านการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ในทุนนิยม การต่อสู้ระหว่างชนชั้นแสดงออกมาในรูปการต่อสู้ระหว่างชนชั้นปกครอง (เรียก ชนชั้นกระฎุมพี) ซึ่งควบคุมปัจจัยการผลิตและชนชั้นแรงงาน (เรียก ชนกรรมาชีพ) นำปัจจัยการผลิตดังกล่าวไปใช้โดยขายากำลังแรงงานของพวกตนเพื่อแลกกับค่าจ้าง มากซ์ใช้แนวเข้าสู่การศึกษาวิพากษ์ที่เรียก วัสดุนิยมทางประวัติศาสตร์ ทำนายว่าทุนนิยมจะก่อเกิดความตึงเครียดภายในซึงจะนำไปสู่การทำลายตนเองเช่นเดียวกับระบบสังคมและเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ และแทนท่ด้วยระบบใหม่ คือ สังคมนิยม; สำหรับมากซ์ การต่อต้านชนชั้นภายใต้ทุนนิยมซึ่งบางส่วนมีสาเหตุจากความไม่มั่นคงและสภาพที่มีแนวโน้มเกิดวิกฤติ จะลงเอยด้วยการพัฒนาความสำนึกเรื่องชั้นชนของชนชั้นแรงงาน และนำไปสู่การพิชิตอำนาจทางการเมืองและสุดท้ายการสถาปนาสังคมคอมมิวนิสต์ปราศจากชนชั้นอันประกอบด้วยการรวมกันเป็นสมาคมอิสระของผู้ผลิต มากซ์เรียกร้องให้นำความคิดดังกล่าวไปปฏิบัติอย่างแข็งขัน โดยแย้งว่าชนชั้นแรงงานควรเป็นผู้ลงมือปฏิวัติแบบจัดระเบียบเพื่อโค่นทุนนิยมและนำมาซึ่งการปลดปล่อยให้เป็นอิสระทางสังคมและเศรษฐกิจ มีผู้อธิบายว่ามากซ์เป็นบุคคลทรงอิทธิพลมากที่สุดคนหนึ่งในประวัติศาสตร์มนุษย์ และงานของเขาได้รับการสรรเสริญและวิพากษ์ งานของเขาในวิชาเศรษฐศาสตร์วางรากฐานสำหรับความเข้าใจในปัจจุบันของแรงงานและความสัมพันธ์กับทุน และความคิดทางเศษฐศาสตร์สมัยหลัง ปัญญาชน สหภาพแรงงาน ศิลปินและพรรคการเมืองจำนวนมากทั่วโลกได้รับอิทธิพลจากงานของมากซ์ มีหลายคนดัดแปลงหรือรับความคิดของเขามาใช้ มักออกชื่อมากซ์ว่าเป็นผู้สร้างสังคมศาสตร์สมัยใหม่คนสำคัญคนหนึ่ง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและคาร์ล มากซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523

ำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523 หรือคำสั่งที่ 66/2523 หรือคำสั่งที่ 66/23 เป็นคำสั่งรัฐบาลไทยที่กำหนดนโยบายสำคัญในการต่อสู้กับการก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ช่วงปลายสงครามเย็น คำสั่งดังกล่าวออกเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2523 และลงนามโดยนายกรัฐมนตรี พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ คำสั่งนี้ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายจากท่าทีทหารสายแข็งที่ดำเนินมาแต่รัฐบาลฝ่ายขวาธานินทร์ กรัยวิเชียร (ครองอำนาจ 2519 ถึง 2520) มาสู่สายกลางมากขึ้นซึ่งให้ความสำคัญมาตรการทางการเมืองเหนือการปฏิบัติทางทหารอย่างเป็นทางการ คำสั่งนี้กำหนดให้มีการจัดการความอยุติธรรมทางสังคม และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองและกระบวนการประชาธิปไตย มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมสอดคล้องกับคำสั่งอนุญาตให้ผู้แปรพักตร์ผละขบวนการก่อการกำเริบ ซึ่งเมื่อประกอบกับการเสื่อมลงของการสนับสนุนจากต่างชาติ นำไปสู่การเสื่อมลงของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไท.

ใหม่!!: สงครามเย็นและคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 66/2523 · ดูเพิ่มเติม »

คำประกาศเจตนารัสเซลล์–ไอน์สไตน์

แถลงการณ์รัสเซลล์–ไอน์สไตน์ เป็นแถลงการณ์ของเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ในกรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและคำประกาศเจตนารัสเซลล์–ไอน์สไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

คิม อิล-ซ็อง

อนุสาวรีย์คิม อิล-ซ็อง คิม อิล-ซ็อง (15 เมษายน พ.ศ. 2455 – 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2537) เป็นผู้นำคนแรกของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต่ก่อตั้งประเทศเมื่อ..

ใหม่!!: สงครามเย็นและคิม อิล-ซ็อง · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมาธิการประชาชนชั่วคราวเกาหลีเหนือ

ณะกรรมาธิการประชาชนชั่วคราวเกาหลีเหนือ เป็นชื่อทางการของรัฐบาลชั่วคราวที่ควบคุมตอนเหนือของคาบสมุทรเกาหลีหลังสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากความพ่ายแพ้ของจักรวรรดิญี่ปุ่น ในปี ค.ศ. 1945กองกำลังโซเวียตได้ยึดครองพื้นที่ตอนเหนือของเกาหลีจากญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองขณะที่สหรัฐยึดภาคใต้ของเกาหลีจากญี่ปุ่น ทางตอนเหนือของ รัฐบาลคอมมิวนิสต์ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ และประสบความสำเร็จเป็นกึ่งรัฐบาลประกอบด้วยห้าจังหวัดในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและคณะกรรมาธิการประชาชนชั่วคราวเกาหลีเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยมอสโก

ณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยมอสโก บนถนนโมโฮวายา หลังพระราชวังเครมลิน คณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยมอสโก (Факультет журналистики Московского государственного университета им.) ตั้งอยู่บริเวณถนนโมโฮวายา ในย่านดาวน์ทาวน์ของกรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและคณะวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

คนอึดต้องกลับมาอึด 2

นอึดต้องกลับมาอึด 2 (RED 2) เป็นภาพยนตร์โลดโผน/ตลกอเมริกันปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและคนอึดต้องกลับมาอึด 2 · ดูเพิ่มเติม »

ซาร์บอมบา

แผนที่แสดงจุดทดสอบ (แสดงด้วยสีแดง) แผนภาพเปรียบเทียบขนาดของลูกไฟของซาร์ บอมบา (สีแดง), ลิตเติลบอย (สีชมพู) และมินิตแมน (สีเขียว) ซาร์ บอมบา (Царь-бомба; Tsar Bomba) เป็นชื่อเล่นที่ใช้เรียกระเบิดไฮโดรเจน AN602 ของสหภาพโซเวียต เป็นอาวุธนิวเคลียร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และมีพลังทำลายล้างรุนแรงที่สุด เท่าที่เคยมีการใช้งานมา จัดว่าเป็น "อาวุธที่มีพลังทำลายล้างที่สุดของประวัติศาสตร์มนุษยชาติ" ชื่อนี้เป็นชื่อที่สื่อในโลกตะวันตกตั้งให้ แต่ต่อมาในรัสเซียก็ยอมรับชื่อนี้มาใช้ ระเบิดนี้พัฒนาขึ้นโดยสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น ตามแบบแผนที่ออกแบบไว้เดิมจะมีขนาดเทียบเท่ากับการระเบิดของทีเอ็นที (TNT) 100 เมกะตัน เทียบเท่ากับ 420 PJ (เพตะจูล) แต่ได้ลดลงเหลือ 50 เมกะตัน เพื่อลดขนาดของระเบิดลงให้สามารถบรรทุกด้วยเครื่องบินตูโปเลฟ ตู-95 ที่ได้รับการดัดแปลงเป็นพิเศษ พลังทำลายล้างของซาร์ บอมบา คิดเป็น 1,400 เท่าของระเบิดลิตเติลบอย (13-18 กิโลตัน) รวมกับแฟตแมน (21 กิโลตัน) ซาร์ บอมบามีความยาว 8 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.1 เมตร น้ำหนัก 27,000 กิโลกรัม (60,000 ปอนด์) ถูกสร้างขึ้นจำนวน 1 ลูก และลูกตัวอย่างอีก 1 ลูกที่สร้างขึ้นเฉพาะโครงสร้างภายนอก ลูกระเบิดถูกนำไปทดสอบเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1961 บริเวณเกาะ โนวายาเซมลยา ทางตอนเหนือของขั้วโลกเหนือ ระเบิดถูกทิ้งลงจากเครื่องตูโปเลฟ ตู-95 ที่ระดับความสูง 10.5 กิโลเมตร เมื่อเวลา 11.32 นาฬิกา ตามเวลาท้องถิ่น ระเบิดได้รับการออกแบบให้จุดระเบิดด้วยเซ็นเซอร์บารอมิเตอร์ ที่ความสูง 4 กิโลเมตรเหนือพื้นดิน (4.2 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเล) ระเบิดต้องหน่วงเวลาเพื่อให้เครื่องบินทิ้งระเบิดและเครื่องบินสังเกตการณ์บินห่างออกไปเป็นระยะทาง 47 กิโลเมตร เพื่อไม่ได้รับผลกระทบจากแรงระเบิด การทดสอบนี้ออกแบบให้เกิดลูกไฟกลางอากาศและให้สลายตัวไปก่อนลูกไฟจะตกลงกระทบพื้นผิวโลก ซาร์ บอมบาเป็นอาวุธนิวเคลียร์แบบความร้อน มีการทำงานเป็น 3 ขั้นตอนแบบ Teller–Ulam คือ ขั้นแรกเป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิซชันทำให้เกิดแรงอัด จากนั้นจึงเกิดปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ให้ความร้อน และใช้พลังงานจากการระเบิดนำพาความร้อนให้มีประสิทธิภาพในการทำลายล้างมากขึ้น จากการทดสอบ ซาร์ บอมบาทำให้เกิดลูกไฟขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 8 กิโลเมตรในอากาศ สามารถมองเห็นและรู้สึกถึงคลื่นความร้อนได้ที่ระยะ 1,000 กิโลเมตรจากจุดศูนย์กลางการระเบิด มีรัศมีการทำลายในระยะ 100 กิโลเมตรจากศูนย์กลาง โดยทุกอย่างในรัศมี 40 กิโลเมตรได้ระเหยกลายเป็นไอทั้งหมด เมื่อก๊าซที่เกิดขึ้นปะทะกับเมฆ ทำให้เกิดเมฆรูปเห็ดมีความสูงประมาณ 64 กิโลเมตร ความกว้างของฐานเมฆประมาณ 40 กิโลเมตร พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาระหว่างการระเบิด 2.1 x 1017 จูล หรือ 1% พลังงานเฉลี่ยที่ดวงอาทิตย์ที่ส่งมายังโลก การระเบิดยังได้ส่งแรงอัดมหาศาลสู่ห้วงอวกาศ ทำให้การสื่อสารเป็นอัมพาตไป 1 ชั่วโมง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและซาร์บอมบา · ดูเพิ่มเติม »

ซาแมนธา สมิธ

ซาแมนธา สมิธ (29 มิถุนายน พ.ศ. 2515 – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2528) เป็นเด็กนักเรียนหญิงชาวอเมริกัน นักเคลื่อนไหวเรียกร้องสันติภาพ และนักแสดงหญิงเด็กจากเมืองแมนเชสเตอร์ รัฐเมน ผู้มามีชื่อเสียงในยุคสงครามเย็นทั้งในสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและซาแมนธา สมิธ · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์แมน

ซูเปอร์แมน คือตัวละครจากหนังสือการ์ตูนซูเปอร์ฮีโร่ ผลงานของ ดีซีคอมิกส์ สำนักพิมพ์ยักษ์ใหญ่ของอเมริกาDaniels (1998), p. 11.

ใหม่!!: สงครามเย็นและซูเปอร์แมน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการลับข้ามแดน

ปฏิบัติการลับข้ามแดน (The Americans) เป็นทีวีซีรีส์อเมริกาแนวดราม่าย้อนยุค สร้างสรรค์และอำนวยการสร้างโดยอดีตซีไอเอ Joe Weisberg เป็นเรื่องของ Elizabeth (Keri Russell) และ Philip Jennings (Matthew Rhys) สายลับรัสเซีย ที่แฝงตัวมาเป็นคู่สามีภรรยาชาวอเมริกาในช่วงสงครามเย็น ซีรีส์เรื่องนี้เน้นไปที่ชีวิตส่วนตัวและชีวิตการทำงานเป็นสายลับของสองสามีภรรยาเจนนิงส์ บางครั้งสอดแทรกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงเข้าไปในเรื่องด้วย ผู้สร้างกล่าวว่าโดยแก่นแท้แล้ว ซีรีส์เรื่องนี้เป็นเรื่องของชีวิตสมรสและอุปสรรค หมวดหมู่:รายการโทรทัศน์ภาษาอังกฤษ หมวดหมู่:ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและปฏิบัติการลับข้ามแดน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการอันธิงคาเบิล

กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรในยุโรปกลางเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 ปฏิบัติการเหนือความคาดหมาย หรือ ปฏิบัติการอันธิงคาเบิล (Operation Unthinkable) เป็นชื่อรหัสของทั้งสองแผนของพันธมิตรตะวันตก โดยแผนดังกล่าวได้รับคำสั่งจากนายกรัฐมนตรีอังกฤษวินสตัน เชอร์ชิลล์เมื่อปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและปฏิบัติการอันธิงคาเบิล · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการคลิปหนีบกระดาษ

กลุ่มนักวิทยาศาสตร์ด้านกระสวยอวกาศจำนวน 104 คน ณ เมืองฟอร์ตบลิส รัฐเท็กซัส ปฏิบัติการคลิปหนีบกระดาษ (Operation Paperclip) คือโครงการของสหรัฐอเมริกาที่ได้ดำเนินการนำพาเหล่านักวิทยาศาสตร์และวิศวกรช่างเทคนิคจากนาซีเยอรมัน หลังสงครามโลกครั้งที่สองเข้ามายังประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมอบสัญชาติอเมริกาและทำเอกสารปลอมแปลงให้แก่พวกเขาเพื่อตบตาไม่ให้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาแฮร์รี เอส. ทรูแมน นักการเมือง หรือสาธารณชนชาวอเมริการับรู้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำการทดลองและเทคโนโลยีที่ทันสมัยจากนาซีเยอรมันมาใช้ประโยชน์ทางการทหารให้แก่สหรัฐอเมริกา เช่น จรวด เครื่องบินไอพ่น เฮลิคอปเตอร์ เป็นต้น ซึ่งในช่วงสงครามเย็น สหรัฐอเมริกาต้องทำการแข่งขันทางด้านอาวุธกับสหภาพโซเวียต หมวดหมู่:ผลที่ตามมาหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและปฏิบัติการคลิปหนีบกระดาษ · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยสังคมนิยม

ประชาธิปไตยสังคมนิยม (Social democracy) เป็นอุดมการณ์ทางการเมือง ทางสังคม และทางเศรษฐกิจ ที่สนับสนุนการแทรกแซงของรัฐทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อความยุติธรรมทางสังคมภายในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ตลอดจนนโยบายการปกครองอันผูกมัดกับระบอบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน การกระจายรายได้ และการควบคุมเศรษฐกิจเพื่อประโยชน์ส่วนรวมและที่เป็นไปตามเงื่อนไขของรัฐสวัสดิการ ดังนั้น จึงเป็นระบอบที่มุ่งสร้างเงื่อนไขให้กับระบอบทุนนิยมเพื่อนำไปสู่ผลลัพธ์ที่เป็นประชาธิปไตย ที่เท่าเทียมกัน และที่เป็นปึกแผ่นมากกว่า โดยบ่อยครั้งสัมพันธ์กับนโยบายทางสังคมเศรษฐกิจที่กลายเป็นเรื่องสำคัญในประเทศยุโรปตะวันตกและยุโรปเหนือ โดยเฉพาะรูปแบบที่มีในกลุ่มประเทศนอร์ดิก (คือ เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน) ในช่วงครึ่งหลังคริสต์ทศวรรษที่ 20 ระบบนี้มาจากอุดมการณ์ทางการเมืองที่สนับสนุนการปฏิรูปแบบสันติ เพื่อเปลี่ยนจากระบบทุนนิยมเป็นสังคมนิยมผ่านกระบวนการทางเมืองที่มีอยู่แล้ว เทียบกับการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติของลัทธิมากซ์ดั้งเดิม ในยุโรปตะวันตกช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พรรคประชาธิปไตยสังคมนิยมได้ปฏิเสธรูปแบบทางการเมืองและเศรษฐกิจของลัทธิสตาลินที่ตอนนั้นปฏิบัติอยู่ในสหภาพโซเวียต โดยใช้ทางเลือกเพื่อดำเนินสู่สังคมนิยมอีกแบบหนึ่ง หรือใช้ระบบอะลุ้มอล่วยระหว่างทุนนิยมและสังคมนิยม ในช่วงเวลานี้ นักประชาธิปไตยสังคมนิยมได้นำเศรษฐกิจแบบผสมมาใช้ อิงอาศัยทรัพย์สินส่วนบุคคลที่มีมากกว่า บวกกับสาธารณูปโภคที่จำเป็นและบริการสาธารณะซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐที่มีน้อยกว่า ดังนั้น ระบอบนี้จึงสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์ การแทรกแซงของรัฐ และรัฐสวัสดิการ โดยได้ละทิ้งเป้าหมายสังคมนิยมดั้งเดิมที่จะแทนที่ระบบทุนนิยม (รวมทั้งตลาดการผลิต ทรัพย์สินส่วนบุคคล และแรงงานแลกกับค่าจ้าง) ด้วยระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมที่ต่างกัน ประชาธิปไตยสังคมนิยมในปัจจุบันมีลักษณะเฉพาะคือ การผูกมัดกับนโยบายที่เล็งระงับความไม่เท่าเทียมกัน ระงับการกดขี่กลุ่มคนที่ไร้อภิสิทธิ์ และระงับความยากจน รวมทั้งการสนับสนุนบริการสาธารณะที่เข้าถึงได้ทั่วกัน เช่น การดูแลผู้สูงอายุ การดูแลเด็ก การศึกษา การดูแลสุขภาพ และค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ใช้แรงงาน ขบวนการประชาธิปไตยสังคมนิยมยังมีความสัมพันธ์ที่แข็งแรงกับขบวนการแรงงานและสหภาพแรงงาน สนับสนุนสิทธิการร่วมเจรจาต่อรองสำหรับแรงงาน ตลอดจนนโยบายที่ขยายการตัดสินใจแบบประชาธิปไตยนอกเหนือจากเรื่องการเมืองเข้าไปในประเด็นทางเศรษฐกิจ ในรูปแบบสิทธิเพื่อการเลือกผู้แทนในคณะกรรมการของบริษัท (co-determination) สำหรับทั้งลูกจ้างและผู้ได้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ขบวนการ "ทางที่สาม" (Third Way) ซึ่งหวังเชื่อมเศรษฐกิจฝ่ายขวาเข้ากับนโยบายสวัสดิการแบบประชาธิปไตยสังคมนิยม เป็นอุดมการณ์ที่พัฒนาขึ้นต่อมาในคริสต์ทศวรรษ 1990 และบางครั้งนำมาใช้โดยพรรคการเมืองประชาธิปไตยสังคมนิยม แต่ก็มีนักวิเคราะห์ที่จัดทางที่สามว่า เท่ากับขบวนการเสรีนิยมใหม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประชาธิปไตยสังคมนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ยุโรป

ทความนี้ว่าด้วยประวัติศาสตร์ของทวีปยุโรปโดยรวม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประวัติศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ. 1531 ในปีพ.ศ. 1783 อาณาจักรคีวานรุสล่มสลายโดยการรุกรานจากจักรวรรดิมองโกล หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 มอสโกได้ค่อยพัฒนาเป็นศูนย์กลางของศิลปะและวัฒนธรรมทีละน้อย ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 รัฐมอสโกได้เป็นใหญ่ในจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งได้มีการขยายอาณาเขตถึงโปแลนด์ ทางด้านตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก จนถึงสมัยพระเจ้าซาร์อีวานที่ 3 ในปี พ.ศ. 2023 พระองค์หยุดส่งเครื่องบรรณาการให้มองโกเลีย และประกาศเอกราชไม่เป็นเมืองขึ้นของมองโกเลียอีกต่อไป หลังจากการเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้รัสเซียเผชิญปัญหาในการพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรม ความเป็นอยู่ประชาชนลำบากแร้นแค้น กำลังทหารและเศรษฐกิจรัสเซียเข้าขั้นวิกฤต ในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นในปี พ.ศ. 2460 นำไปสู่การก่อตั้งสหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกของโลกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายมาเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกคู่กับสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น ในสมัยนั้น นโยบายของสหภาพโซเวียตได้เน้นการป้องกันประเทศและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม แต่การเน้นพัฒนาทหารขนานใหญ่ ส่งผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง ต่อมา เมื่อมิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นสู่อำนาจ เขาได้เริ่มนโยบายปฏิรูปด้านต่าง ๆ ทำให้สหภาพโซเวียตล่มสลายใน พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียจึงแยกตัวออกมาเป็นเป็นสหพันธรัฐรัสเซียในปัจจุบัน โดยที่รัสเซียได้รับสถานภาพตามกฎหมายในเวทีระหว่างประเทศมาจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประวัติศาสตร์รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โซมาเลีย

ประเทศโซมาเลีย (Soomaaliya; الصومال) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (Jamhuuriyadda Federaalka Soomaaliya, جمهورية الصومال الفدرالية) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในแหลมแอฟริกา ตามประวัติศาสตร์สาธารณรัฐโซมาลี หรือ โซมาเลีย ตั้งอยู่บริเวณแหลมแอฟริกาซึ่งแต่เดิมเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญของแอฟริกา โดยเป็นจุดค้าขายสินค้าที่มีค่า ได้แก่ ยางสน ยางไม้หอม และเครื่องเทศ ประชาชนในพื้นที่นับถือศาสนาอิสลาม เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากชาวอาหรับมุสลิม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประวัติศาสตร์โซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไทย

การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยมักเริ่มนับตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยเป็นต้นมา หากแต่ในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบัน พบหลักฐานของมนุษย์ซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดถึงห้าแสนปี ตลอดจนหลักฐานของอารยธรรมและรัฐโบราณเป็นจำนวนมาก ภูมิภาคสุวรรณภูมิเคยถูกชาวมอญ เขมร และมลายูปกครองมาก่อน ต่อมา คนไทยได้สถาปนาอาณาจักรของตนเอง เช่น อาณาจักรสุโขทัย ไล่เลี่ยกันกับอาณาจักรล้านนา อาณาจักรเชียงแสน และอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรสุโขทัยเจริญรุ่งเรืองในช่วงเวลาค่อนข้างสั้นประมาณ 200 ปี ก็ถูกผนวกรวมกับอาณาจักรอยุธยา อาณาจักรอยุธยาเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่ง เป็นศูนย์กลางการค้าระดับนานาชาติ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครอง ซึ่งบางส่วนใช้สืบมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และยังทรงตราพระราชกำหนดศักดินา ทำให้อยุธยาเป็นสังคมศักดินา อยุธยาเริ่มติดต่อกับชาติตะวันตกเมื่อ..

ใหม่!!: สงครามเย็นและประวัติศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516)

ประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต..

ใหม่!!: สงครามเย็นและประวัติศาสตร์ไทย (พ.ศ. 2475–2516) · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เกาหลี

มุทรเกาหลีเป็นดินแดนที่มีความเป็นมาทางประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน เริ่มแต่เป็นดินแดนของผู้คนหลากเผ่าพันธุ์ จนกระทั่งรวมตัวขึ้นเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ ต่อมาถูกจีนยึดครอง เมื่อได้เอกราชจากจีน คาบสมุทรเกาหลีประกอบด้วยสามอาณาจักสำคัญก่อนจะรวมตัวกันเป็นอาณาจักรเดียวปกครองด้วยราชวงศ์ 2 ราชวงศ์ จนถูกญี่ปุ่นยึดครองเป็นอาณานิคมจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ตามมาด้วยสงครามเกาหลีที่ทำให้ต้องแบ่งเป็น 2 ประเทศในปัจจุบันคือเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ มีความพยายามที่จะรวมประเทศทั้งสองแต่ยังไม่สำเร็.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประวัติศาสตร์เกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990)

กความพ่ายแพ้ของนาซีเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีก็ได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก และเยอรมนีต้องเสียค่าปฏิกรรมสงครามโดยการเสียดินแดนทางตะวันออกของประเทศให้แก่โปแลนด์และสหภาพโซเวียต ในช่วงท้ายของสงครามมีชาวเยอรมนีพลัดถิ่นถึง 8,000,000 คน ส่วนใหญ่ถูกใช้แรงงานและเป็นนักโทษ มีประมาณ 400,000 คนรอบค่ายกักกันอันเข้มงวด ที่รอดชีวิตจากประชาชนจำนวนมากที่เสียชีวิตจากความอดอยาก สภาวะอันโหดเหี้ยม ฆาตกรรม หรือการทำงานที่หนักเกินไปจนมีอันตรายถึงแก่ชีวิต กว่า 10 ล้านผู้ลี้ภัยที่พูดภาษาเยอรมันได้เข้ามาในเยอรมนีจากประเทศอื่น ๆ ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ส่วนชาวเยอรมัน 9,000,000 คนถูกจับเป็นเชลยศึก และถูกใช้แรงงานเป็นเวลาหลายปีเพื่อให้ชดใช้ความเสียหายให้กับเยอรมนีที่แพ้สงคราม และอุปกรณ์อุตสาหกรรมบางชิ้นก็ถูกใช้เป็นค่าปฏิกรรมสงคราม ในช่วงสงครามเย็น เยอรมนีถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วนของฝ่ายสัมพันธมิตรทางฝั่งตะวันตก และส่วนของสหภาพโซเวียตทางฝั่งตะวันออก ส่วนรัฐบาลเยอรมนีได้เสียงเพียงเล็กๆ น้อยๆ เท่านั้น จนกระทั่ง ค.ศ. 1949 เมื่อมีการก่อตั้งสองรัฐเกิดขึ้น ได้แก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประวัติศาสตร์เยอรมนี (ค.ศ. 1945–1990) · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกำลังพัฒนา

ประเทศสีเหลือง/ส้ม มีการพัฒนามนุษย์ในระดับกลาง และประเทศสีแดง มีการพัฒนามนุษย์ในระดับต่ำ ประเทศกำลังพัฒนา หรือ ประเทศพัฒนาน้อยกว่า หรือ ประเทศด้อยพัฒนา เป็นคำที่ใช้เรียกประเทศที่มีมาตรฐานการดำรงชีวิตปานกลาง-ต่ำ พื้นฐานอุตสาหกรรมยังไม่พัฒนา และมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Human Development Index) อยู่ในระดับปานกลาง-ต่ำ คำนี้มีแนวโน้มที่จะถูกแทนใช้ที่คำอื่น ๆ ที่เคยใช้ก่อนหน้า ซึ่งรวมถึงคำว่า "โลกที่สาม" ซึ่งเกิดขึ้นในยุคสงครามเย็น เนื่องจากไม่มีคำจำกัดความใดๆมากำหนด คำว่าประเทศพัฒนานาแล้ว อาจเป็นไปได้ว่า ระดับของคำว่า พัฒนาแล้ว จะมีความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดมากกว่า คำว่า กำลังพัฒนาด้วย สำหรับบางประเทศที่ถูกเรียกว่า เป็นประเทศกำลังพัฒนา ยังพบว่ามีค่าเฉลี่ยของมาตรฐานการดำรงชีวิตอยู่ในระดับสูงเช่นกัน ส่วนประเทศที่มีสภาพเศรษฐกิจที่จัดอยู่ในระดับก้าวหน้ามากกว่าประเทศที่กำลังพัฒนา แต่ยังไม่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มของ ประเทศพัฒนาแล้ว จะถูกจัดให้อยู่กลุ่มที่ใช้คำจำกัดความว่า ประเทศอุตสาหกรรมใหม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประเทศกำลังพัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียในเครือจักรภพ

ประเทศอินเดียในเครือจักรภพ (Dominion of India) หรือ ภารตะอธิราชยะ (भारत अधिराज्य) หรือ สหภาพอินเดีย (Union of India) เป็นประเทศอินเดียภายหลังได้รับอิสรภาพจากสหราชอาณาจักรและก่อนสถาปนาเป็นสาธารณรัฐอินเดีย กินเวลาระหว่าง 15 สิงหาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและประเทศอินเดียในเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์เจีย

อร์เจีย (Georgia; საქართველო, Sakartvelo) เดิมระหว่างปี พ.ศ. 2534-2538 เรียกว่า สาธารณรัฐจอร์เจีย เป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลดำในคอเคซัสตอนใต้ ในอดีตเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียต มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศรัสเซีย ทางใต้จรดประเทศตุรกี ประเทศอาร์มีเนีย และประเทศอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรดีเชีย

ประเทศโรดีเชีย (Rhodesia) ได้ชื่อตามเซซิล โรดส์ และตั้งแต่ปี 2513 เป็นต้นไปรู้จักกันทั่วไปว่า สาธารณรัฐโรดีเชีย เป็นรัฐที่ไม่ได้รับการรับรองในแอฟริกาใต้ตั้งแต่ปี 2508 ถึง 2522 ด้านอาณาเขตเทียบเท่ากับประเทศซิมบับเวสมัยใหม่ มีเมืองหลวง คือ ซอลส์บรี (ปัจจุบันคือ ฮาราเร) ถือเป็นรัฐสืบทอดโดยพฤตินัยของอดีตอาณานิคมเซาเทิร์นโรดีเชียของบริติช (ซึ่งได้รัฐบาลที่รับผิดชอบในปี 2466) ระหว่างความพยายามชะลอการเปลี่ยนผ่านทันทีสู่การปกครองฝ่ายข้างมากผิวดำ รัฐบาลผิวขาวที่เหนือกว่าของโรดีเชียออกคำประกาศอิสรภาพฝ่ายเดียว (UDI) จากสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2508 เดิมรัฐบาล UDI แสวงการรับรองเป็นราชอาณาจักรปกครองตนเองในเครือจักรภพแห่งชาติ แต่มีการกำหนดใหม่เป็นสาธารณรัฐในปี 2513 ให้หลังสงครามกองโจรอันป่าเถื่อนที่สู้รบกับองค์การชาตินิยมแอฟริกาที่คอมมิวนิสต์ให้ท้ายสององค์การ นายกรัฐมนตรีโรดีเชีย เอียน สมิธ ยอมให้ประชาธิปไตยสองเชื้อชาติในปี 2521 ทว่า ต่อมารัฐบาลชั่วคราวที่มีสมิธและเพื่อนร่วมงานสายกลางของเขา อะเบล มูโซเรวา (Abel Muzorewa) เป็นหัวหน้าไม่สามารถได้ความเห็นชอบจากนักวิจารณ์ต่างประเทศหรือหยุดการนองเลือดได้ ในเดือนธันวาคม 2522 มูโซเรวาเป็นนายกรัฐมนตรีแทนสมิธและทำความตกลงกับนักชาตินิยม ทำให้โรดีเชียเปลี่ยนกลับเป็นสถานภาพอาณานิคมชั่วคราวโดยรอการเลือกตั้งที่มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไป สุดท้ายโรดีเชียได้รับการรับรองเอกราชในระดับนานาชาติในเดือนเมษายน 2523 พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็นสาธารณรัฐซิมบับเว หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปแอฟริกา หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2508 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2522 หมวดหมู่:จักรวรรดิบริติช หมวดหมู่:ความสูงสุดของคนขาวในทวีปแอฟริกา.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประเทศโรดีเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนี

ประเทศเยอรมนี (Germany; Deutschland ดอยฺชลันฺท) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (Federal Republic of Germany; Bundesrepublik Deutschland) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐแบบรัฐสภาในยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบ 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีภูมิอากาศตามฤดูกาลแบบอบอุ่นเป็นส่วนใหญ่ มีประชากรประมาณ 82 ล้านคน ซึ่งเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป ประเทศเยอรมนีเป็นจุดหมายการเข้าเมืองยอดนิยมอันดับสองในโลกรองจากสหรัฐ เมืองหลวงและมหานครใหญ่สุดของประเทศคือ กรุงเบอร์ลิน ขณะที่เขตเมืองขยายใหญ่สุด คือ รูร์ โดยมีศูนย์กลางหลักดอร์ทมุนด์และเอสเซิน นครหลักอื่นของประเทศ ได้แก่ ฮัมบวร์ค มิวนิก โคโลญ แฟรงก์เฟิร์ต ชตุทท์การ์ท ดึสเซิลดอร์ฟ ไลพ์ซิจ เบรเมิน เดรสเดิน ฮันโนเฟอร์และเนือร์นแบร์ก ประเทศนี้มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ พรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลวงและเมืองใหญ่ของประเทศคือเบอร์ลิน เยอรมนีมีประชากรประมาณ 80 ล้านคนและเป็นประเทศที่มีความหนาแน่นประชากรสูงสุดแห่งหนึ่ง อีกทั้งยังเป็นประเทศที่มีคนย้ายถิ่นมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก หลังจากที่สหรัฐอเมริกาเยอรมนีเป็นปลายทางการย้ายถิ่นที่สองได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เยอรมนีเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและยังก่อตั้งสหภาพการเงินกับสมาชิกในสหภาพยุโรปอีก 17 ประเทศ โดยใช้ชื่อว่ายูโรโซน เยอรมนีเป็นสมาชิกของกลุ่ม UNO, OECD, NATO, G7 และ G20 เยอรมนีเป็นประเทศที่มีอิทธิพลต่อประเทศอื่นๆในยุโรปและเป็นประเทศที่มีความสามารถที่จะแข่งขันในระดับโลก หากวัดจากผลผลิตมวลรวมภายในประเทศแบบปกติแล้ว เยอรมนีเป็นเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปและใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลก ในปี 2012 เป็นประเทศที่มีการนำเข้าส่งออกมากที่สุดเป็นอันดับสาม ดัชนีการพัฒนามนุษย์ถือว่าสูงมาก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประเทศเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเยอรมนีตะวันออก

อรมนีตะวันออก (East Germany) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (Deutsche Demokratische Republik - DDR; German Democratic Republic - GDR) เป็นประเทศคอมมิวนิสต์ที่ดำรงอยู่ในช่วงปี 1949 ถึงปี 1990 โดยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนเยอรมันที่ถูกปกครองโดยอดีตสหภาพโซเวียต หลังจากการยึดครองเยอรมนีของกองทัพโซเวียตสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เยอรมนีตะวันออกเป็นประเทศหนึ่งที่เข้าร่วมสนธิสัญญาวอร์ซอ ในช่วงสงครามเย็น โดยเยอรมนีตะวันออกได้นิยามตัวเองว่าเป็นรัฐสังคมนิยม "ของคนงานและชาวนา"Patrick Major, Jonathan Osmond, The Workers' and Peasants' State: Communism and Society in East Germany Under Ulbricht 1945–71, Manchester University Press, 2002, และเขตที่ถูกยึดครอง ได้รับการปกครองโดยกองกำลังโซเวียตในตอนท้ายของสงครามโลกครั้งที่สอง เขตยึดครองโซเวียตตามข้อตกลงพ็อทซ์ดัมซึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกติดกับแนว Oder-Neisse เขตยึดครองโซเวียตล้อมรอบเบอร์ลินตะวันตก แต่ไม่รวมถึง เป็นผลให้เบอร์ลินตะวันตกยังคงอยู่นอกเขตอำนาจของเยอรมนีตะวันออก สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีก่อตั้งขึ้นในเขตโซเวียต ขณะที่สหพันธรัฐจัดตั้งขึ้นในสามเขตตะวันตก เยอรมนีตะวันออกเป็นรัฐบริวารของสหภาพโซเวียต เจ้าหน้าที่ยึดครองโซเวียตได้เริ่มถ่ายโอนความรับผิดชอบในการบริหารให้กับผู้นำคอมมิวนิสต์เยอรมันในปี 1948 และเริ่มมีบทบาทเป็นรัฐเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 1949 อย่างไรก็ตามกองทัพโซเวียตยังคงกำลังอยู่ในประเทศตลอดช่วงสงครามเย็น จนถึง 1989 เยอรมนีตะวันออกถูกปกครองโดยพรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี แม้ว่าพรรคอื่น ๆ ในนามขององค์กรพันธมิตร National Front of Democratic Germany 29 October 1989.

ใหม่!!: สงครามเย็นและประเทศเยอรมนีตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ปัญหาเยอรมัน

ำถามเยอรมัน (Deutsche Frage; German Question) คือประเด็นการอภิปรายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในช่วงการปฏิวัติ พ.ศ. 2391 ถึงวิธีการที่ดีที่สุดในการรวมชาติเยอรมัน (Unification of Germany) โดยตั้งแต..

ใหม่!!: สงครามเย็นและปัญหาเยอรมัน · ดูเพิ่มเติม »

ปิตราปัฟลัฟสค์-คัมชัตสกี

ปิตราปัฟลัฟสค์-คัมชัตสกี (Петропа́вловск-Камча́тский) เป็นเมืองใหญ่เพียงแห่งเดียวบนคาบสมุทรคัมชัตคาและเป็นเมืองศูนย์กลางการปกครองของคัมชัตคาไครทางตะวันออกไกลของรัสเซีย มีประชากรราว ๆ 180,000 คนหรือกว่าครึ่งหนึ่งของประชากรในดินแดนคัมชัตคาไครทั้งหมด ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและปิตราปัฟลัฟสค์-คัมชัตสกี · ดูเพิ่มเติม »

นาฬิกาวันสิ้นโลก

นาฬิกาวันสิ้นโลก (Doomsday Clock) เป็นหน้าปัดนาฬิกาเชิงสัญลักษณ์ โดยเป็นการเปรียบการนับถอยหลังมหันตภัยทั่วโลกที่อาจเกิด (เช่น สงครามนิวเคลียร์หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) ก่อตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: สงครามเย็นและนาฬิกาวันสิ้นโลก · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

ใหม่!!: สงครามเย็นและนาซา · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: สงครามเย็นและนาซีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

นีโคไล ปอดกอร์นืย

นีโคไล วิคโทโรวิช ปอดกอร์นืย (p, Микола Вікторович Підгорний) เป็นรัฐบุรุษโซเวียตในช่วงสงครามเย็น เขาเคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ยูเครนซึ่งเป็นตำแหน่งประมุขแห่งรัฐที่ปกครองยูเครนโดยพฤตินัยในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและนีโคไล ปอดกอร์นืย · ดูเพิ่มเติม »

แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2

อฟ-4 แฟนท่อม 2 (F-4 Phantom II) เป็นเครื่องบินสกัดกั้นโจมตีพิสัยไกลทุกสภาพอากาศสองที่นั่ง สองเครื่องยนต์ ความเร็วเหนือเสียง เดิมทีสร้างมาเพื่อกองทัพเรือสหรัฐฯ โดยแมคดอนเนลล์ แอร์คราฟท์Swanborough and Bowers 1976, p. 301.

ใหม่!!: สงครามเย็นและแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอฟ-4 แฟนทอม 2 · ดูเพิ่มเติม »

แอร์โครยอ

แอร์โครยอ (context, โครยอฮังกง; ชื่อเดิมคือ โชซ็อนมินฮัง (조선민항)) เป็นสายการบินประจำชาติของประเทศเกาหลีเหนือ ดำเนินการโดยรัฐบาล มีศูนย์บัญชาการในเขตซูนัน กรุงเปียงยาง และมีฐานการบินหลักอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาติเปียงยางซูนัน (IATA: FNJ) โดยให้บริการเที่ยวบินประจำและเที่ยวบินพิเศษไปยังจุดหมายปลายทางในทวีปเอเชียและยุโรป แอร์โครยอ มีสำนักงานสายการบินในกรุงปักกิ่ง กับนครเสิ่นหยาง ประเทศจีน, นครวลาดีวอสตอค ประเทศรัสเซีย, กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี และมีสำนักงานขายในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย, ประเทศสิงคโปร์, กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน, เขตบริหารพิเศษฮ่องกง, ประเทศคูเวต, ประเทศอิตาลี, ประเทศออสเตรีย และประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: สงครามเย็นและแอร์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

แอลัน ทัวริง

แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing; 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยาและวีรบุรุษสงครามชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุก ๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องอินิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริง ๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเขาในเรื่องนี้ นอกจากนั้นแล้ว การทดสอบของทัวริงที่เขาได้เสนอนั้นมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเรื่องปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งในขณะมีถกเถียงที่สำคัญว่า เป็นไปได้หรือไม่ที่จะกล่าวว่าเครื่องจักรนั้นมีสำนึกและสามารถคิดได้.

ใหม่!!: สงครามเย็นและแอลัน ทัวริง · ดูเพิ่มเติม »

แอนิมัลฟาร์ม

ฉบับพิมพ์ครั้งแรก แอนิมัลฟาร์ม (Animal Farm) เป็นนวนิยายสั้นเชิงอุปมานิทัศน์ที่เขียนโดยจอร์จ ออร์เวลล์ ตีพิมพ์ครั้งแรกในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและแอนิมัลฟาร์ม · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์รี เอส. ทรูแมน

ันเอก แฮร์รี เอส ทรูแมน (อังกฤษ: Harry S Truman) เกิดวันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1884 เสียชีวิตวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 1972 เป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 34 (ค.ศ. 1945) และประธานาธิบดีคนที่ 33 ของสหรัฐอเมริกา โดยรับตำแหน่งต่อจากประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. รูสเวลต์ที่เสียชีวิตขณะยังดำรงตำแหน่ง ในช่วงการดำรงตำแหน่งของทรูแมนเต็มไปด้วยเหตุการณ์สำคัญมากมาย เขารับตำแหน่งในขณะที่สหรัฐและพันธมิตรเริ่มได้เปรียบในสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นคนอนุมัติให้ทิ้งระเบิดปรมาณูที่ประเทศญี่ปุ่น เริ่มแผนมาร์แชลล์ในการฟื้นฟูทวีปยุโรป ช่วงเริ่มแรกของสงครามเย็น การก่อตั้งสหประชาชาติ และสงครามเกาหลี.

ใหม่!!: สงครามเย็นและแฮร์รี เอส. ทรูแมน · ดูเพิ่มเติม »

แผนมาร์แชลล์

แผนมาร์แชลล์ (Marshall Plan) หรือชื่อทางการคือ แผนงานฟื้นฟูยุโรป (European Recovery Programme: ERP) เกิดขึ้นเมื่อ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ของนายพล จอร์จ แคตเลตต์ มาร์แชลล์ (George Catlett Marshall) เป็นโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาแก่ยุโรปตะวันตก เพื่อป้องกันการพังทลายทางเศรษฐกิจ และเพื่อฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมรัฐชาติของยุโรปตะวันตกขึ้นมาใหม่ โดยในแผนมาร์แชลล์นี้ยุโรปได้รับมากกว่า 12 พันล้านดอลลาร์ทั้งในรูปเงินกู้และเงินช่วยเหลือตลอดระยะเวลาระหว่างปี ค.ศ. 1948-1951 แผนมาร์แชลล์อย่างเป็นทางการโปรแกรมกู้ยุโรปที่เรียกว่าช่วยมาร์แชลล์เป็นโปรแกรมช่วยสหรัฐมุ่งเป้าไปที่ยุโรปซึ่งเปิดตัวในปี 1947 หลังจากสงครามโลกครั้งที่สองโดยสหรัฐอเมริกาเลขานุการของรัฐโปรแกรมจอร์จมาร์แชลล์ได้ริเริ่มขึ้นหลังจากที่มาร์แชลล์ได้รับเมื่อสัปดาห์ที่หก การเดินทางไปทั่วยุโรปซึ่งเขาก็เชื่อว่าทวีปสงครามฉีกขาดไม่สามารถอยู่รอดได้โดยปราศจากความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาและสั่งขนาดใหญ่โปรแกรมการช่วยเหลือสหรัฐ แผนเปิดตัวโดยมาร์แชลล์ในการพูดที่ Harvard University 5 มิถุนายน 1947 แต่ทว่าทางสหภาพโซเวียตได้มองแผนมาร์แชลล์ว่า เป็นแผนอุบายอันแยบยลของสหรัฐอเมริกาที่จะดึงประเทศอันเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกเพื่อเปลี่ยนการปกครองเป็นประชาธิปไตยแทน จึงได้บังคับเหล่าประเทศบริวารในยุโรปตะวันออกไม่ให้ยอมรับแผนมาร์แชลและเริ่มดำเนินแผนโมโลตอฟคือการฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจตามแบบคอมมิวนิสต์แทน อันเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและแผนมาร์แชลล์ · ดูเพิ่มเติม »

โรนิน

รนิน อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและโรนิน · ดูเพิ่มเติม »

โลกที่สาม

คำว่า "โลกที่สาม" กำเนิดระหว่างสงครามเย็น นิยามประเทศที่ไม่ฝักใฝ่ทั้งนาโตหรือกลุ่มคอมมิวนิสต์ สหรัฐ แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ชาติยุโรปตะวันตกและพันธมิตรเป็นโลกที่หนึ่ง ส่วนสหภาพโซเวียต จีน คิวบาและพันธมิตรเป็นโลกที่สอง คำนี้เป็นวิธีจำแนกประเทษในโลกออกเป็นสามกลุ่มใหญ่ ๆ โดยยึดการแบ่งแยกทางการเมืองและเศรษฐกิจ ปกติโลกที่สามถูกมองว่ารวมหลายประเทศอดีตอาณานิคมในทวีปแอฟริกา ละตินอเมริกา โอเชียเนียและเอเชีย บางครั้งถือเอาสมนัยกับประเทศในขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ในทฤษฎีพึ่งพาของนักคิดอย่างราอูล พรีบิช (Raúl Prebisch), วัลเทอร์ รอดนีย์ (Walter Rodney), ทีโอโตนีโอ ดอส ซานโตส (Theotonio dos Santos) และอังเดร กุนเดอร์ แฟรงค์ โลกที่สามเชื่อมกับการแบ่งเศรษฐกิจเป็นประเทศ "ขอบนอก" ในระบบโลกที่มีประเทศ "แกน" ครอบงำ เนื่องจากประวัติศาสตร์ความหมายและบริบทที่วิวัฒนาอย่างซับซ้อน จึงไม่มีบทนิยามของ "โลกที่สาม" อย่างชัดเจนหรือเป็นที่ยอมรับ บางประเทศในกลุ่มคอมมิวนิสต์ เช่น คิวบา ถือว่าเป็น "โลกที่สาม" ่บ่อยครั้ง เพราะประเทศโลกที่สามยากจนทางเศรษฐกิจ ไม่เป็นอุตสาหกรรม จึงเป็นคำเหมาเรียกประเทศยากจนว่า "ประเทศโลกที่สาม" กระนั้น คำว่า "โลกที่สาม" ยังมักใช้รวมประเทศอุตสาหกรรมใหม่อย่างบราซิล อินเดียและจีนซึ่งปัจจุบันเรียกเป็นส่วนหนึ่งของ BRIC ในอดีต ประเทศยุโรปบางประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใดและประเทศเหล่านี้ส่วนน้อยที่ร่ำรวยมาก ได้แก่ ไอร์แลนด์ ออสเตรีย สวีเดน ฟินแลนด์และสวิสเซอร์แลนด์ ในช่วงทศวรรษหลังนับแต่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตและการสิ้นสุดของสงครามเย็น มีการใช้คำว่า "โลกที่สาม" แทนประเทศด้อยพัฒนา โกลบอลเซาท์ และประเทศกำลังพัฒนา แต่มโนทัศน์ดังกล่าวล้าสมัยแล้วในปีล่าสุดเพราะไม่เป็นตัวแทนของสถานภาพการเมืองหรือเศรษฐกิจของโลกอีกต่อไป หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การเมือง หมวดหมู่:การจำแนกหมวดหมู่ประเทศ หมวดหมู่:การเมืองแบ่งตามภูมิภาค หมวดหมู่:อภิธานศัพท์สงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและโลกที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

โลกที่หนึ่ง

ติเป็นกลาง และประเทศไม่สังกัดพันธมิตรใด แนวคิดของ โลกที่หนึ่ง (First World) ถือกำเนิดขึ้นระหว่างสงครามเย็น เป็นคำซึ่งใช้เพื่ออธิบายถึงประเทศที่เข้าเป็นฝ่ายเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้มักมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการสิ้นสุดของสงครามเย็น ความหมายของคำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้เปลี่ยนไปให้สามารถปรับใช้ได้กับยุคสมัย จากการจำกัดความดั้งเดิม คำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้มามีความหมายในทำนองเดียวกับประเทศพัฒนาแล้ว (ขึ้นอยู่กับว่ากำลังใช้คำจำกัดความใด) ประเทศโลกที่หนึ่งโดยทั่วไปมักมีเศรษฐกิจที่เจริญก้าวหน้าและมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูงมาก ในอีกมุมมองหนึ่ง สหประชาชาติจำกัดความ "โลกที่หนึ่ง" ขึ้นอยู่กับความมั่งคั่งของรายรับและผลผลิตของชาติต่าง ๆ การจำกัดความของ "โลกที่หนึ่ง" ในปัจจุบัน จึงประจักษ์ชัดเจนน้อยกว่าระหว่างสงครามเย็น ความเคลื่อนไหวในระดับโลกระหว่างโลกที่หนึ่งและโลกอื่น ๆ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วน ความสัมพันธ์กับโลกที่สองเป็นไปในเชิงการแข่งขัน และความเป็นปรปักษ์ทางความคิด ความสัมพันธ์กับโลกที่สาม โดยปกติมักเป็นไปในเชิงบวกตามทฤษฎี ในขณะที่อาจมีความสัมพันธ์ในเชิงลบอยู่บ้างในทางปฏิบัติ แต่ความสัมพันธ์ระหว่างโลกในปัจจุบันมิได้เป็นไปอย่างตายตัวอย่างในอดีต ถึงแม้ว่าจะมีความไม่เสมอกันซึ่งโลกที่หนึ่งมีอิทธิพล ความมั่งคั่ง ข้อมูลข่าวสาร และความเจริญก้าวหน้าเหนือกว่าโลกอื่น ๆ โลกาภิวัตน์ได้เป็นปรากฏการณ์ที่ค่อย ๆ มีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากโลกที่หนึ่งและความเชื่อมโยงกับโลกอื่น ๆ ตัวอย่างของโลกาภิวัตน์ภายในโลกที่หนึ่ง คือ สหภาพยุโรป ซึ่งได้นำความร่วมมือและการบูรณาการเข้ามาสู่ภูมิภาคเป็นอันมาก บริษัทข้ามชาติยังเป็นตัวอย่างของผลกระทบของโลกที่หนึ่งซึ่งมีต่อโลกาภิวัตน์ เมื่อบริษัทเหล่านี้ได้นำมาซึ่งการรวมเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในหลายประเทศ ด้วยการเติบโตของบริษัทข้ามชาติมักมีปัญหาในกระบวนการติดต่อกับบุคคลที่สามในหลายประเทศโลกที่หนึ่ง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและโลกที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

โลกเสรี

ลกเสรี (Free world) เป็นคำที่เกิดขึ้นในช่วงสงครามเย็น โดยกลุ่มประเทศที่ไม่ได้ปกครองตามระบอบคอมมิวนิสต์ใช้เรียกตนเอง ซึ่งมักจะใช้เพื่อเทียบเคียงให้เห็นถึงเสรีภาพส่วนบุคคลของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ระหว่างโลกที่หนึ่งกับโลกที่สอง และรวมไปถึงสาธารณรัฐประชาชนจีนด้วย อย่างไรก็ตาม คำดังกล่าวไม่ได้ใช้กล่าวถึงประเทศที่ไม่ได้ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันเป็นพันธมิตรกับโลกเสรี อย่างเช่น ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา เนื่องจากบทบาทสำคัญของสหรัฐอเมริกาในสงครามเย็น ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาจึงถูกมองว่าเป็น "ผู้นำแห่งโลกเสรี" ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบให้เห็นว่าสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นมหาอำนาจของการปกครองระบอบประชาธิปไตยสามารถแพร่ขยายแนวคิดประชาธิปไตยไปยังประเทศอื่น ๆ และถึงแม้ว่าสงครามเย็นจะสิ้นสุดลงแล้ว แต่คำว่า "โลกเสรี" ก็ยังคงใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: สงครามเย็นและโลกเสรี · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ สตาลิน

ซฟ สตาลิน (รัสเซีย: Иосиф Виссарионович Сталин Iosif Vissarionovich Stalin อิโอซิฟ วิซซาริโอโนวิช สตาลิน; อังกฤษ: Joseph Stalin) (1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 - 5 มีนาคม ค.ศ. 1953) เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต ตั้งแต่กลางทศวรรษที่ 1920 ถึง..

ใหม่!!: สงครามเย็นและโจเซฟ สตาลิน · ดูเพิ่มเติม »

โครงการสปุตนิก

แบบจำลอง ดาวเทียมสปุตนิก 1 โครงการสปุตนิก (ภาษารัสเซีย: Спутник, IPA) เป็นลำดับภารกิจการส่ง ยานอวกาศไร้คนขับคุม ดำเนินการโดยรัฐบาล สหภาพโซเวียต (ในขณะนั้น) ยานลำแรกคือ ดาวเทียมสปุตนิก 1 เป็นดาวเทียมดวงแรก และเป็นวัตถุมนุษย์สร้างเครื่องแรกของโลกที่ส่งขึ้นสู่วงโคจร เมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957).

ใหม่!!: สงครามเย็นและโครงการสปุตนิก · ดูเพิ่มเติม »

โคตรคนการ์เดี้ยน

ตรคนการ์เดี้ยน (Защитники Zaschitniki) เป็นภาพยนตร์แนว neo-noir และ ซูเปอร์ฮีโรของรัสเซียกำกับการแสดงโดยผู้กำกับชาวรัสเซียเชื้อสายอาร์เมเนีย Sarik Andreasyan โดยภาพยนตร์นี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับกลุ่มซูเปอร์ฮีโรของสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและโคตรคนการ์เดี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

โคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007

รียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007 (หรือ KAL 007 หรือ KE 007) เป็นเที่ยวบินของโคเรียนแอร์ไลน์ตามกำหนดการจากนครนิวยอร์กสู่โซล แวะพักที่แองเคอเรจ วันที่ 1 กันยายน 2526 เครื่องบินโดยสารของเที่ยวบินดังกล่าวถูกเครื่องบินสกัดกั้นซู-15 ของสหภาพโซเวียตยิงตกใกล้เกาะโมเนรอน ทางตะวันตกของเกาะซาฮาลิน ในทะเลญี่ปุ่น นักบินของเครื่องบินสกัดกั้นลำนั้น คือ นาวาอากาศตรี เกนนาดี โอซีโปวิช ผู้โดยสารและลูกเรือทั้ง 269 คนบนเครื่องเสียชีวิต รวมทั้งลอว์เรนซ์ แมคโดนัลด์ ผู้แทนรัฐจอร์เจียในสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐอเมริกา อากาศยานลำดังกล่าวกำลังอยู่ในเส้นทางจากแองเคอเรจสู่โซลเมื่อบินผ่านน่านฟ้าโซเวียตที่ถูกห้ามในเวลาไล่เลี่ยกับภารกิจสอดแนมของสหรัฐ ทีแรก สหภาพโซเวียตปฏิเสธรู้เห็นเหตุการณ์ดังกล่าว แต่ภายหลังยอมรับการยิง โดยอ้างว่าอากาศยานดังกล่าวอยู่ระหว่างภารกิจสอดแนม โปลิตบูโรแถลงว่า เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นการยั่วยุโดยเจตนาของสหรัฐ เพื่อทดสอบความพร้อมทางทหารของสหภาพโซเวียต หรือกระทั่งยั่วยุให้เกิดสงคราม ทำเนียบขาวกล่าวหาสหภาพโซเวียตว่าขัดขวางปฏิบัติการค้นหาและกู้ภัยCongressional Record, September 20, 1983, pp.

ใหม่!!: สงครามเย็นและโคเรียนแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 007 · ดูเพิ่มเติม »

โซลิดาริตี

ัญลักษณ์ของโซลิดาริตี โซลิดาริตี (Solidarność, Solidarity; ชื่อเต็ม: Independent Self-governing Trade Union "Solidarity"—Niezależny Samorządny Związek Zawodowy „Solidarność) เป็นสหภาพแรงงานโปแลนด์ที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและโซลิดาริตี · ดูเพิ่มเติม »

โนวายาเซมลยา

นวายาเซมลยา (p, แปลว่า. แผ่นดินใหม่), หรืออีกชื่อใน ภาษาดัตช์, ในชื่อ โนวา เชมเบีย, เป็นชื่อของกลุ่มเกาะ ใน มหาสมุทรอาร์กติก อยู่ทางตอนเหนือของ ประเทศรัสเซีย โดยจุดที่ตะวันออกสุดของทวีปยุโรปอยู่ที่ Cape Flissingsky ที่เกาะเหนือ ตามหลักเขตการปกครองของรัสเซีย เกาะมีชื่อว่า เขตโนวายาเซมลยา โดยเป็นหนึ่งใน 21 เขตการปกครองใน แคว้นอาร์ฮันเกลสค์Law #65-5-OZLaw #258-vneoch.-OZ.

ใหม่!!: สงครามเย็นและโนวายาเซมลยา · ดูเพิ่มเติม »

ไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์)

Firefox (ชื่อไทย: แผนจารกรรมมิก 31) เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและไฟร์ฟอกซ์ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล หว่อง

มเคิล หว่อง (Michael Wong) ดารานักแสดงชาวฮ่องกงที่เคยมีชื่อเสียงโด่งดังในประเทศไทยอยู่ระยะหนึ่ง ไมเคิล หว่อง มีชื่อเต็มว่า ไมเคิล ฟิตซ์เจอรัลด์ หว่อง (Michael Fitzgerald Wong) มีชื่อเป็นภาษาจีนว่า หว่อง หมันตั๋ก (王敏德) เกิดเมื่อวันที่ 16 เมษายน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและไมเคิล หว่อง · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช มึลเลอร์ (เกสตาโพ)

น์ริช มึลเลอร์ (Heinrich Müller) เป็นตำรวจชาวเยอรมันในช่วงสาธารณรัฐไวมาร์และนาซีเยอรมนี เขาได้เป็นผู้บัญชาการของ เกสตาโพ หน่วยตำรวจลับของนาซีเยอรมนี และเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิว เขามีชื่อเรียกว่า "เกสตาโพมึลเลอร์" เมื่อไม่ให้สับสนกับนายพลในหน่วยเอ็สเอ็สอีกคนที่ชื่อ ไฮน์ริช มึลเลอร์ เหมือนกัน เขาถูกพบเห็นครั้งสุดท้ายในคืนวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและไฮน์ริช มึลเลอร์ (เกสตาโพ) · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เมทัลเกียร์โซลิด 3: สเนกอีตเตอร์

มทัลเกียร์ โซลิด 3:สเนค อีทเตอร์ (Metal Gear Solid 3:Snake Eater) เป็นเกมภาคต่อชุดที่สาม ในซีรีส์เมทัลเกียร์โซลิด (และนับเป็นภาคต่อชุดที่ห้า ในซีรีส์เมทัลเกียร์) วางจำหน่ายครั้งแรกในปี ค.ศ. 2004 บนเครื่องเพลย์สเตชัน 2 โดยมีฮิเดะโอะ โคะจิมะ เป็นผู้อำนวยการสร้างดังเช่นที่ผ่านมา เนื้อหาภาคนี้ย้อนกลับไปยังจุดเริ่มต้นของซีรีส์ทั้งหมด ในช่วงปี 1964 ซึ่งเป็นยุคของสงครามเย็น เรื่องราวของเน็คเค็ดสเนค (Naked Snake) ซึ่งได้รับคำสั่งให้ช่วยเหลือนักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซียนามนิโคไล โซโคลอฟ ผู้ออกแบบสร้างเครื่องจักรอันเป็นต้นกำเนิดของเมทัลเกียร์ ก่อนจะได้รับฉายา บิ๊กบอส (Big Boss) นักรบในตำนานซึ่งรวบรวมกองทัพของตนก่อเป็นเหตุการณ์ในเมทัลเกียร์ตั้งแต่ภาคแรก ด้วยระบบการเล่นในแบบ Steal-Base ที่ชัดเจนมากขึ้นโดยการใช้ระบบพรางตัวของทหาร (Camouflage) ซึ่งอ้างอิงจากข้อมูลจริงๆมาใช้แทนที่ระบบเรดาร์ของเกมภาคก่อน นอกจากนี้ ตัวเกมยังสอดแทรกมุขและอารมณ์ขันต่างๆตามแบบฉบับของฮิเดะโอะ โคะจิมะ ลงในรายละเอียดและบทสนทนาต่าง ๆ เช่นเดียวกับที่เคยปรากฏมาแล้วในภาคก่อน ๆ ทำให้เกมภาคนี้ได้เสียงตอบรับจากผู้เล่นเป็นอย่างดี.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเมทัลเกียร์โซลิด 3: สเนกอีตเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เย็น (แก้ความกำกวม)

็น อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเย็น (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

เรือลาดตระเวน

รือ ยูเอสเอส พอร์ต รอยัล (CG 73) เรือลาดตระเวนชั้นติคอนเดอโรกา แห่งกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เรือลาดตระเวน (อังกฤษ: Cruiser) เป็นประเภทของเรือรบประเภทหนึ่งที่มีขนาดใหญ่กว่าเรือพิฆาตแต่จะมีขนาดเล็กกว่าเรือประจัญบาน เรือลาดตระเวนมีวัตุถุประสงค์หลักในการปฏิบัติการโจมตีและป้องกันภารกิจทางทะเลได้อย่างอิสระ มีความคล่องตัวสูง สามารถต่อตีเป้าหมายได้หลากหลายประเภท เช่น เรือดำน้ำ อากาศยาน และเรือรบผิวน้ำประเภทอื่นๆ เรือลาดตระเวนเริ่มมีบทบาทสำคัญในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 จนกระทั่งสงครามเย็นสงบลง ในอดีตนั้นเรือลาดตระเวนมิได้จัดเป็นหนึ่งในประเภทของเรือรบ หากแต่เป็นเรือฟริเกตที่ได้รับมอบหมายภารกิจในการลาดตระเวนอย่างอิสระออกจากกองเรือขนาดใหญ่ จึงจำต้องมีส่วนในการเข้าโจมตีเรือสินค้าของศัตรู จนกระทั่งในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 คำว่า "เรือลาดตระเวน" กลายเป็นรูปแบบของเรือรบประเภทหนึ่งซึ่งออกแบบมาเพื่อภารกิจลาดตระเวนโดยเฉพาะ และจากปลายทศวรรษ 1890 ถึงทศวรรษที่ 1950 เรือลาดตระเวนจะหมายถึงเรือที่มีขนาดใหญ่กว่าเรือพิฆาตแต่จะมีขนาดเล็กกว่าเรือประจัญบาน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภายหลังได้มีการปลดประจำการเรือประจัญบานจนหมดสิ้นแล้วนั้น ทำให้เรือลาดตระเวนกลายเป็นเรือที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและมีประสิทธิภาพที่สุดในการปฏิบัติการรบผิวน้ำ อย่างไรก็ตามก็ได้มีการพัฒนาให้เรือลาดตระเวนมีความสามารถในการป้องกันกองเรือจากภัยคุกคามทางอากาศ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ประเภทของเรือลาดตระเวนกลายเป็นเรือรบผิวน้ำที่มีขนาดระวางขับน้ำมากที่สุดในกองทัพเรือ (ไม่นับเรือบรรทุกเครื่องบินและเรือช่วยรบอื่นๆ) อย่างไรก็ตามยังมีเรือพิฆาตติดอาวุธนำวิถีชั้นอาเลห์เบิร์ก ของสหรัฐอเมริกา และชั้นคองโง ของญี่ปุ่น ที่มีขนาดใหญ่ระดับเดียวกับเรือลาดตระเวน แต่ก็ไม่อาจใช้คำว่าเรือลาดตระเวนได้ เนื่องด้วยเหตุผลทางการเมือง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเรือลาดตระเวน · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำแบบ 206

thumb เรือดำน้ำแบบ 206 (Type 206 submarine; U-Boot-Klasse 206) เป็นเรือดำน้ำเครื่องยนต์ดีเซลของเยอรมนี ได้รับการออกแบบและสร้างโดยบริษัท Howaldtswerke-Deutsche Werft (HDW) เป็นเรือดำน้ำขนาดเล็กที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อประจำการในกองทัพเยอรมนีตะวันตกเพื่อต่อต้านประเทศสนธิสัญญาวอร์ซอในช่วงสงครามเย็น เหมาะสำหรับทะเลน้ำตื้น โดยเฉพาะในทะเลบอลติก ตัวลำเรือเป็นโลหะผสม non-magnetic ทำให้ตรวจจับได้ยาก และปลอดภัยจากทุ่นระเบิดแบบแม่เหล็ก เรือดำน้ำแบบ 206 มีความยาว 48.6 เมตร ระวางขับน้ำ 498 ตัน มีท่อปล่อยตอร์ปิโดขนาด 533 มม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเรือดำน้ำแบบ 206 · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำโซเวียต เอส-194

รือดำน้ำโซเวียต เอส-194 เป็นเรือดำน้ำของสหภาพโซเวียต ในชั้น โปรเจกต์ 613 หรือที่นาโตกำหนดรหัสเรียกขานว่า เรือดำน้ำชั้นวิสกี้ ซึ่งต่อขึ้นที่อู่ต่อเรือของโซเวียต ระหว่าง พ.ศ. 2492 - พ.ศ. 2501 เป็นจำนวน 236 ลำ ประจำการในกองทัพเรือโซเวียตระหว่างสงครามเย็น พัฒนามาจากเรืออู Type-XXI ของเยอรมนี ที่โซเวียตยึดได้ช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง หลังสิ้นสุดสงครามเย็น กองทัพเรือโซเวียตปลดประจำการเรือในชั้นนี้ และแยกชิ้นส่วนขายเป็นเศษเหล็ก สำหรับเรือ S-194 ลำนี้ นาย Timo Wallin นักธุรกิจชาวสวีเดนได้ซื้อไว้ เปลี่ยนชื่อเป็น ยู-194 และปรับปรุงเป็นพิพิธภัณฑ์ลอยน้ำ และให้เช่าเป็นสถานที่จัดเลี้ยง โดยถอดเครื่องยนต์และแบตเตอรี่ออก จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์เรือดำน้ำ เมือง Helsingborg ประเทศสวีเดน ต่อมา นาย Wallin ได้ประกาศขายเรือลำนี้ในราคา 250,000 ยูโร และตกลงขายให้ เจษฎา เดชสกุลฤทธิ์ เจ้าของพิพิธภัณฑ์เจษฎา เทคนิค มิวเซียม เพื่อนำไปจัดแสดงที่พิพิธภัณฑ์แห่งใหม่ที่กำลังสร้างที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีพิธีส่งมอบเรือเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2550 และใช้เรือลากจูงมาประเทศไทย โดยมีกำหนดเปิดให้ประชาชนเข้าชมในช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2550 นำไปปรับปรุง และเปิดเป็นพิพิธภัณฑ์อย่างเป็นทางการในวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2550 เรือ S-194 ผ่านการซ่อมแซมที่อู่เรือ Gryfia เมือง Szczecin ประเทศโปแลนด์ และจะลากจูงกลับประเทศไทย แต่เกิดอุบัติเหตุอับปางลงนอกชายฝั่งเมือง Thyborøn ประเทศเดนมาร์ก 50 กิโลเมตร หลังจากเจอพายุ เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 นายเจษฎา เดชสกุลฤทธิ์ กำลังศึกษาความเป็นไปได้ ที่จะกู้เรือขึ้นมาใหม่ เพื่อนำมาจัดแสดงต่อไป.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเรือดำน้ำโซเวียต เอส-194 · ดูเพิ่มเติม »

เลโอนิด เบรจเนฟ

ลโอนิด อิลลิช เบรจเนฟ (Леонид Ильич Брежнев; Leonid Illyich Brezhnev; 19 ธันวาคม 2449 – 10 ธันวาคม 2525) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตและประธานาธิบดีโซเวียตคนที่ 8 ระหว่างสงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเลโอนิด เบรจเนฟ · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ 6 ตุลา

หตุการณ์ 6 ตุลา เป็นเหตุการณ์จลาจลและปราบปรามนักศึกษาและผู้ประท้วงในและบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และท้องสนามหลวง ขณะที่นักศึกษาจากหลายมหาวิทยาลัยกำลังชุมนุมประท้วงการเดินทางกลับประเทศของจอมพลถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามฟุตบอลมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถิติอย่างเป็นทางการระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 46 คน ซึ่งมีทั้งถูกยิงด้วยอาวุธปืน ถูกทุบตี หรือถูกทำให้พิการHandley, Paul M. The King Never Smiles: A Biography of Thailand's Bhumibol Adulyadej.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเหตุการณ์ 6 ตุลา · ดูเพิ่มเติม »

เหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม

หตุปะทะชายแดนไทย-เวียดนามเกิดขึ้นเมื่อกำลังทหารเวียดนามบุกเข้ากัมพูชาเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและเหตุปะทะชายแดนไทย–เวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ-22 แร็พเตอร์

อฟ-22 แร็ปเตอร์ (F-22 Raptor) เครื่องบินเอฟ-22 เป็นเครื่องบินเจ๊ตขับไล่ที่มีแผนจะนำมาใช้ปฏิบัติการครองอากาศทดแทนเครื่องบินเอฟ-15 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2528 กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาได้กำหนดความต้องการเครื่องบินขับไล่ยุทธวิธีขั้นก้าวหน้า (Advanced Tactical Fighter) ต่อมาเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ 2529 จึงได้คัดเลือกเครื่องบินต้นแบบจากสองกลุ่มบริษัทได้แก่ กลุ่มเจนเนอรัล ไดนามิกส์/ล็อกฮีด/โบอิง (เจเนอรัล ไดนามิกส์ ควบรวมกับล็อกฮีดในภายหลัง) ที่สร้างเครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 กับกลุ่มแมคดอนเนลล์ ดักลาส/นอร์ทธอป ที่สร้างเครื่องต้นแบบวายเอฟ-23 เพื่อดำเนินการสาธิตและรับรองเครื่องต้นแบบ วันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2534 กองทัพอากาศสหรัฐฯตัดสินใจเลือกเครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 ในการดำเนินการ เครื่องต้นแบบวายเอฟ-22 ดำเนินการสาธิตและรับรองเครื่องต้นแบบนานกว่า 54 เดือน โดยมีการทดลองบินกว่า 74 เที่ยวบิน รวมเวลา 91.6 ชั่วโมง ทดสอบติดตั้งและยิงจรวดนำวิถีอากาศสู่อากาศ ไซด์ไวน์เดอร์ และ แอมแรม การเติมน้ำมันกลางอากาศ ทดสอบปรับแรงขับของเครื่องยนต์ขณะบิน ระบบอิเล็กทรอนิกส์อากาศ (Avionics) การทดสอบและปรับปรุงห้องนักบินโดยการทดลองใช้จริงร่วมกับกองทัพอากาศและกองทัพเรือสหรัฐฯ และการทดสอบวัดขนาดพื้นที่สะท้อนเรดาร์กับขนาดจริงของเครื่องบิน ส่วนการทดสอบเครื่องยนต์ต้นแบบมีอยู่ 2 แบบคือ เครื่องยนต์ต้นแบบ วายเอฟ-119 ของบริษัทแพรทท์แอนด์วิทนีย์ และ เครื่องต้นแบบวายเอฟ 120 ของบริษัท เจนเนอรัล อิเล็คทริก ผลการตัดสินของกองทัพอากาศสหรัฐ ได้เลือกเครื่องยนต์ต้นแบบวายเอฟ-119 สำหรับใช้กับเครื่องบินขับไล่ เอฟ-22อินทรีย์ สีเทา,แทงโก นิตยสารเพื่อคนรักการบินและเทคโนโลยี, มูลนิธิอนุรักษ์และพัฒนาอากาศยานไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์,กรุงเทพฯ,ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 เมษายน 2540,หน้า 84.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเอฟ-22 แร็พเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เอาแฟร์ชตันเดินเอาส์รูอีเนิน

อาแฟร์ชตันเดินเอาส์รูอีเนิน (Auferstanden aus Ruinen; ฟื้นฟูขึ้นจากซากปรักหักพัง) เป็นชื่อของเพลงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน (เยอรมนีตะวันออก) ตั้งแต่ ค.ศ. 1949 ถึง ค.ศ. 1990.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเอาแฟร์ชตันเดินเอาส์รูอีเนิน · ดูเพิ่มเติม »

เอียน เฟลมมิง

อียน แลนแคสเตอร์ เฟลมมิง (Ian Lancaster Fleming) เป็นนักประพันธ์ชาวอังกฤษ เจ้าของนวนิยายเรื่อง เจมส์ บอนด์ 007 ซึ่งต่อมามีการนำไปสร้างเป็นการ์ตูน และภาพยนตร์อีกมากมาย เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) ณ บ้านเลขที่ 7 ถนนกรีนสตรีท เมืองเมย์แฟร์ ลอนดอน สหราชอาณาจักร เรียนภาษาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยมิวนิค และมหาวิทยาลัยเจนิวา จากนั้นได้เป็นนักข่าวของศูนย์ข่าวรอยเตอร์ส (Reuters news service) ซึ่งเคยส่งเขาไปทำข่าวจารกรรมที่รัสเซี.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเอียน เฟลมมิง · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ม 16

อ็ม 16 เป็นชื่อทางราชการของอาวุธปืนเล็กยาวจู่โจมประจำกายที่ทาง ประเทศสหรัฐอเมริกากำหนดขึ้น ภายหลังการรับปืน AR-15 ขนาด 5.56 มม. ที่ออกแบบโดยยูจีน สโตนเนอร์ (Eugene Stoner) วิศวกรของบริษัทอาร์มาไลท์ (ArmaLite) เมื่อ..

ใหม่!!: สงครามเย็นและเอ็ม 16 · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มเพ 40

มาซชีนพิสทูเลอ 40 (Maschinenpistole 40) เป็นปืนกลมือลำกล้องสำหรับขนาด 9×19มม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเอ็มเพ 40 · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์

อ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ (Edward Teller, 15 มกราคม ค.ศ. 1908 - 9 กันยายน ค.ศ. 2003) เป็นบิดาของระเบิดไฮโดรเจนที่ใช้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันแทนปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันในระเบิดนิวเคลียร์แบบดั้งเดิม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเอ็ดเวิร์ด เทลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮคเลอร์แอนด์คอช เอชเค 33

ลอร์แอนด์คอช เอชเค 33 เป็นปืนเล็กยาว พัฒนาโดยบริษัทเฮคเลอร์แอนด์คอช ประเทศเยอรมนี ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 โดยพัฒนามาจากปืนเล็กยาวเฮคเลอร์แอนด์คอช จี3 ซึ่งเป็นขนาด 7.62x51 มม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเฮคเลอร์แอนด์คอช เอชเค 33 · ดูเพิ่มเติม »

เจ. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์

. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์ (J., 22 เมษายน ค.ศ. 1904 – 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1967) นักฟิสิกส์ชาวสหรัฐอเมริกาผู้เป็นบิดาของระเบิดปรมาณู โดยเขาเป็นผู้อำนวยการห้องปฏิบัติการสร้างระเบิดปรมาณูเพื่อยุติสงครามในโครงการแมนฮัตตันสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สืบค้นวันที่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและเจ. โรเบิร์ต ออพเพนไฮเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ ดี. วัตสัน

มส์ ดี. วัตสัน เจมส์ ดิวอี วัตสัน (James Dewey Watson; 6 เมษายน พ.ศ. 2471) นักอณูชีววิทยาชาวอเมริกัน ได้รับการยอบรับว่าเป็นผู้ค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของดีเอ็นเอร่วมกับฟรานซิส คริกและมอริส วิลคินส์ โดยได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ มีผลงานการตีพิมพ์คือบทความ โครงสร้างโมเลกุลของกรดนิวคลีอิก.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเจมส์ ดี. วัตสัน · ดูเพิ่มเติม »

เจอรัลด์ ฟอร์ด

อรัลด์ รูดอล์ฟ ฟอร์ด จูเนียร์ (ภาษาอังกฤษ: Gerald Rudolph Ford, Jr.) (14 กรกฎาคม ค.ศ. 1913 – 26 ธันวาคม ค.ศ. 2006) เป็นประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 38 ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1974 จนถึงวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 1977 และเป็นรองประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 40 ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและเจอรัลด์ ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เจ็ดวันไปแม่น้ำไรน์

็ดวันไปแม่น้ำไรน์ (Seven Days to the River Rhine) เป็นการฝึกจำลองทางทหารลับสุดยอดที่พัฒนาใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและเจ็ดวันไปแม่น้ำไรน์ · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เดอะ แมน ฟรอม อั.ง.เ.คิ.ล. คู่ดุไร้ปรานี

อะ แมน ฟรอม อั.ง...ล. คู่ดุไร้ปรานี (The Man from U.N.C.L.E.) เป็นภาพยนตร์แนวสายลับ/โลดโผน/ตลก กำกับและร่วมเขียนบทโดยกาย ริตชี โดยดัดแปลงจากละครโทรทัศน์ในชื่อเดียวกันของเอียน เฟลมมิง, นอร์แมน เฟลตันและแซม โรล์ฟ เป็นเรื่องราวของสายลับ 2 คนที่เป็นอริกันในสงครามเย็น แต่ต้องร่วมมือกันปกป้องโลก นำแสดงโดยเฮนรี แควิลล์, อาร์มี แฮมเมอร์ และฮิว แกรนต.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเดอะ แมน ฟรอม อั.ง.เ.คิ.ล. คู่ดุไร้ปรานี · ดูเพิ่มเติม »

เดอะบลูเบิร์ด

อะบลูเบิร์ด (Синяя птица; The Blue Bird) เป็นภาพยนตร์แนวแฟนตาซีร่วมมือกันระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต กำกับโดย George Cukor อำนวยการสร้างโดย Paul Maslansky โดยได้แรงบัลดาลใจจากบทละครเวทีเรื่อง L'Oiseau bleu ของ มอริส มาแตร์แล็งก์ นอกจากนี้ยังเป็นภาพยนตร์ร่วมมือกันเรื่องแรกๆระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเดอะบลูเบิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องบินสกัดกั้น

มิก-25 'ฟอกซ์แบท'เป็นเครื่องบินสกัดกั้นของรัสเซียซึ่งเป็นเสาหลักในการป้องกันทางอากาศของโซเวียต เครื่องบินสกัดกั้น เป็นเครื่องบินขับไล่ที่ออกแบบมาเพื่อทำการสกัดกั้นและทำลายอากาศยานของข้าศึกโดยเฉพาะเครื่องบินทิ้งระเบิด โดยปกติแล้วมักมีจุดเด่นเป็นความเร็วสูง เครื่องบินแบบนี้จำนวนมากเริ่มผลิตในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและสิ้นสุดลงในปลายทศวรรษที่ 1960 เมื่อพวกมันมีความสำคัญน้อยลงเพราะมีการนำขีปนาวุธข้ามทวีปมาทำหน้าการทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเครื่องบินสกัดกั้น · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องบินขับไล่

รื่องบินจู่โจมหนึ่งลำ (เอ-10) เครื่องบินขับไล่ เป็นอากาศยานทางทหารที่ถูกออกแบบมาเพื่อการต่อสู้ทางอากาศกับอากาศยานลำอื่นเป็นหลัก มันตรงกันข้ามกับเครื่องบินทิ้งระเบิดที่ถูกออกแบบมาเพื่อโจมตีภาคพื้นดินโดยการทิ้งระเบิดเป็นหลัก เครื่องบินขับไล่นั้นมีขนาดเล็ก รวดเร็ว และคล่องแคล่ว เครื่องบินขับไล่มากมายจะมีความสามารถรองในการโจมตีภาคพื้นดิน และบ้างก็มีสองบทบาทโดยเรียกว่าเครื่องบินขับไล่ทิ้งระเบิด บางครั้งคำว่าเครื่องบินขับไล่ก็ถูกใช้ร่วมกับเครื่องบินโจมตีภาคพื้นดิน เครื่องบินขับไล่โดยหลักแล้วจะหมายถึงเครื่องบินติดอาวุธที่แย่งครองความเป็นจ้าวทางอากาศเหนือข้าศึกในสมรภูมิ ตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สอง ความสำเร็จและความเหนือกว่าทางอากาศได้กลายมาเป็นปัจจัยสำคัญในชัยชนะของสงคราม โดยเฉพาะสงครามทั่วไประหว่างกองทัพปกติ (ไม่เหมือนกับสงครามกองโจร) การซื้อขาย การฝึก และการดูแลรักษากองบินเครื่องบินขับไล่จะแสดงถึงทุนที่มากมายของกองทัพนั้น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและเครื่องบินขับไล่ · ดูเพิ่มเติม »

เซียร์เกย์ โคโรเลฟ

ซียร์เกย์ ปัฟโลวิช โคโรเลฟ (a, translit) Sergei Pavlovich Korolev,12 มกราคม..

ใหม่!!: สงครามเย็นและเซียร์เกย์ โคโรเลฟ · ดูเพิ่มเติม »

เปเรสตรอยคา

''เปเรสตรอยคา'' ในไปรษณียากรของสหภาพโซเวียต ในปี 1988 เปเรสตรอยคา (перестро́йка, Perestroika) เป็นขบวนการทางการเมืองเพื่อการปฏิรูปภายในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียตระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1980 ซึ่งสัมพันธ์กับผู้นำโซเวียต มีฮาอิล กอร์บาชอฟ และการปฏิรูปนโยบายกลัสนอสต์ของเขา มีความหมายตามอักษรว่า "การปรับโครงสร้าง" ซึ่งหมายถึง การปรับโครงสร้างระบบการเมืองและเศรษฐกิจของโซเวียต มักแย้งว่าเปเรสตรอยคาเป็นสาเหตุแห่งการล่มสลายของสหภาพโซเวียต การปฏิวัต..

ใหม่!!: สงครามเย็นและเปเรสตรอยคา · ดูเพิ่มเติม »

เนโท

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization; Organisation du traité de l'Atlantique nord) ย่อว่า เนโท (NATO) หรือ ออต็อง (OTAN) หรือ นาโต (ตามที่คนไทยเรียก) เป็นพันธมิตรทางทหารระหว่างรัฐบาล ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: สงครามเย็นและเนโท · ดูเพิ่มเติม »

CW

CW อาจหมายถึง.

ใหม่!!: สงครามเย็นและCW · ดูเพิ่มเติม »

Dr. Strangelove

Dr.

ใหม่!!: สงครามเย็นและDr. Strangelove · ดูเพิ่มเติม »

1 มีนาคม

วันที่ 1 มีนาคม เป็นวันที่ 60 ของปี (วันที่ 61 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 305 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและ1 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู

รงการ 100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู เป็นโครงการจัดตั้งโดย หอภาพยนตร์แห่งชาติ ซึ่งทั้งภาพยนตร์ไทย 100 เรื่องที่ดูแล้วเกิดปัญญา ดุ จดังบาลีภาษิต ปญญายตถํ วิปสสติ คือ การเห็นเป็นบ่อเกิดแห่งปัญญา ดูดีๆมีปัญญา ดูด้วยปัญญาพาให้เห็นแจ้ง โครงการนี้ จัดกิจกรรมฉายภาพยนตร์ของหอภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นไปเพื่อ ยังให้เกิดปัญญา หอภาพยนตร์แห่งชาติ จึงจัดกิจกรรมฉายภาพยนตร์ทุกค่ำวันศุกร์ ที่ห้องประชุม สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ ท่าวาสุกรี และบ่าย 3 โมงวันเสาร์ที่ โรงหนังอลังการ หอภาพยนตร์แห่งชาติ ศาลายา ถนนพุทธมณฑลสาย 5 เรียกชื่อว่า "ภาพยนตร์ปุจฉา-วิสัชนา" ซึ่งเป็นรายการฉายหนังให้ดูแล้วฟังคิดถามตอบ โดยมีพิธีกรและวิทยากรผู้สันทัดกรณีมาร่วมถามร่วมตอบอย่างที่เรียกว่า ปุจฉา - วิสัชนา โดยจะจัดฉายเริ่มจากวันศุกร์แรกของ ปี..

ใหม่!!: สงครามเย็นและ100 ภาพยนตร์ไทยที่คนไทยควรดู · ดูเพิ่มเติม »

14 พฤษภาคม

วันที่ 14 พฤษภาคม เป็นวันที่ 134 ของปี (วันที่ 135 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 231 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและ14 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 ตุลาคม

วันที่ 15 ตุลาคม เป็นวันที่ 288 ของปี (วันที่ 289 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 77 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและ15 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและ19 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 คมล่าถล่มเมือง

ำหรับ Cold War ในความหมายอื่นดูที่: สงครามเย็น 2 คมล่าถล่มเมือง (Cold War; จีนตัวเต็ม: 寒戰; จีนตัวย่อ: 寒战; พินอิน: Hán Zhàn) ภาพยนตร์ดราม่าแอ็คชั่นสัญชาติฮ่องกง ในปี ค.ศ. 2012 ภาพยนตร์เรื่องนี้มีภาคต่อคือ Cold War 2.

ใหม่!!: สงครามเย็นและ2 คมล่าถล่มเมือง · ดูเพิ่มเติม »

22 เมษายน

วันที่ 22 เมษายน เป็นวันที่ 112 ของปี (วันที่ 113 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 253 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและ22 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

2เอส3

ปืนใหญ่อัตตาจร 2เอส3 (2S3 Akatsiya) เป็นปืนใหญ่อัตตาจรขนาด 152 มม.ที่ถูกสร้างขึ้นโดยสหภาพโซเวียตในช่วงสงครามเย็น ซึ่งได้รับการพัฒนามาจาก ดี-20 ขนาด 152 มม./ 5.98 นิ้ว และใช้เครื่องยนต์แบบผสม ซึ่งในเวลาปรกติจะใช้น้ำมันดีเซลและในช่วงเวลาฉุกเฉินสามารถใช้เชื้อเพลิงชนิดอื่น ป้อมปืนหมุนได้ 360 องศา และปรับใช้ปืนต่อต้านอากาศยานได้ กระบอกปืนขนาด 152 มม.

ใหม่!!: สงครามเย็นและ2เอส3 · ดูเพิ่มเติม »

5 มีนาคม

วันที่ 5 มีนาคม เป็นวันที่ 64 ของปี (วันที่ 65 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 301 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและ5 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤษภาคม

วันที่ 9 พฤษภาคม เป็นวันที่ 129 ของปี (วันที่ 130 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 236 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: สงครามเย็นและ9 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Cold Warยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »