โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ศาสนาอิสลาม

ดัชนี ศาสนาอิสลาม

นาอิสลาม (Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า (อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน (เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด (ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)เป็นศาสดา (นบี) องค์สุดท้ายของพระเป็นเจ้า สาวกของศาสนาอิสลาม เรียกว่า มุสลิม มุสลิมเชื่อว่า พระเจ้าเป็นหนึ่งและหาที่เปรียบไม่ได้ และจุดประสงค์ของการดำรงอยู่ คือ เพื่อรักและรับใช้พระเป็นเจ้า มุสลิมยังเชื่อว่า ศาสนาอิสลามเป็นบรรพศรัทธาฉบับสมบูรณ์และเป็นสากลที่สุดซึ่งได้ประจักษ์มาหลายครั้งก่อนหน้านั้น ผ่านศาสดาซึ่งรวมอาดัม โนอาห์ อับราฮัม โมเสส และพระเยซู พวกเขายึดมั่นว่า สารและวิวรณ์ถูกแปลผิดหรือเปลี่ยนแปลงบางส่วนตามกาลดู.

935 ความสัมพันธ์: ชะรีอะฮ์ชะอ์บานชะฮาดะฮ์ชัฟคัต มีร์ซีโยเยฟชัยฏอนชัยวัฒน์ สถาอานันท์บันดาร์เซอรีเบอกาวันชารีฟ ชีค อาห์เหม็ดชาลอมชาวชวาชาวบอสนีแอกชาวบาหลีชาวมันเดชาวอาหรับชาวอาเซอร์ไบจานชาวอิรักชาวอินเดียชาวอุซเบกชาวอียิปต์ชาวจามชาวจีนในเคนยาชาวทมิฬชาวทิเบตชาวดุงกานชาวตุรกีชาวซองไฮชาวซาซะก์ชาวซุนดาชาวปัญจาบชาวโรมานีชาวโซมาลีชาวโปรตุเกสชาวเปอร์เซียชาดา ไทยเศรษฐ์บาคารุดดิน ยูซุฟ ฮาบีบีบาคีร์ อีเซตเบกอวิชชินโตบุษบา ดาวเรืองบูชาร์ นิชานีบูร์ฮันอุดดิน ฮาราฮัปบูร์ฮานุดดีน รับบานีบูดีโยโนบูตีต่องบีนาลี ยึลดือรึมชนเบอร์เบอร์ฟาริดา สุไลมานฟารูก มะห์มูดฟิตน่าพ.ศ. 1179พ.ศ. 2462...พ.ศ. 2488พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรพม่าเชื้อสายมลายูพม่าเชื้อสายอินเดียพม่าเชื้อสายจีนพรรคการตื่นตัวแห่งชาติพรรคมาชูมีพรรคยุติธรรมรุ่งเรืองพรรคอิสลามแห่งมาเลเซียพรรคดาวเดือนเสี้ยวพระพุทธรูปแห่งบามียานพระยาห์เวห์พระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา)พระยาจุฬาราชมนตรี (เซน)พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ซุ่ย ซุ่ยยัง)พระรามาธิบดี (พระยาจันทร์)พระวรสารนักบุญบารนาบัสพระวิญญาณบริสุทธิ์พระวิหารในกรุงเยรูซาเลมพระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์พระเจ้าอมานุลเลาะห์พระเจ้าจั่นซิตาพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษพระเป็นเจ้าพฤษภาคม พ.ศ. 2549พิเชฏฐ์ กาลามเกษตร์พิเชษฐ สถิรชวาลพีรยศ ราฮิมมูลากบฏดุซงญอกรมการศาสนากระจุกดาวลูกไก่กระแซกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชากลุ่มชนอิหร่านกลุ่มชนเตอร์กิกกลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณกลุ่มภาษาอิหร่านกลุ่มภาษาทิเบตกลุ่มภาษาเซมิติกกองพลน้อยผู้พลีชีพอัลอักซากองทัพแห่งความชอบธรรมกัมพูชาประชาธิปไตยกัรบะลากัวลาลัมเปอร์การชันสูตรพลิกศพการพิชิตดินแดนโดยมุสลิมการมัดอิสอัคการมาครั้งที่สองการยกกำลังการรู้เองการละทิ้งศาสนาอิสลามการล้อมไทร์ (ค.ศ. 1187)การวิจารณ์ศาสนาการศึกษาในประเทศไทยการจาริกแสวงบุญการทำให้เป็นประชาธิปไตยการคุมกำเนิดการค้าระหว่างโรมันกับอินเดียการค้าเครื่องเทศการฆ่าตัวตายการตกในบาปการตรึงพระเยซูที่กางเขนการแผลงเป็นอาหรับการเดินทางของพาย พาเทลกาฮารีงันกาเบรียลกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549กุรบานญิฮาดญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์ญุมาดัษษานียะฮฺภรรยาภาษาชวาภาษาชูวัชภาษาพัชโตภาษาพาเซนด์ภาษากงกณีภาษามลายูปัตตานีภาษามัลดีฟส์ภาษามาลายาลัมภาษายัซกุลยามภาษาสินธีภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันตกภาษาอาหรับภาษาอาหรับคลาสสิกภาษาอาหรับซิรวานภาษาอาหรับเอเชียกลางภาษาอินโดนีเซียภาษาอุซเบกภาษาจามตะวันตกภาษาทามูดิกภาษาทาจิกภาษาควาเรซม์ภาษาคาไรม์ภาษาตาตาร์ไครเมียภาษาตุรกีภาษาซอกเดียภาษาเบงกาลีภาษาเมห์รีภาษาเมโมนีภาษาเคิร์ดภาษาเตลูกูภาษาเซบัวโนภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลภูมิศาสตร์ไทยมหากาพย์กิลกาเมชมหาวิทยาลัยฟาฏอนีมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัรมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มองดอมองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)มะห์มูด อะห์มะดีเนจาดมะฮ์ดีมะเดื่อมักกะฮ์มักซ์ เวเบอร์มัรเญี้ยะอ์ตักลีดมัสยิดอัลอักศอมัสยิดโคเบะมัณฑะเลย์มารมารี (เติร์กเมนิสถาน)มาร์ราคิชมาลากาซีมานซูร์ บิน ซาเยด อัล นาห์ยานมาเรียม อับดุล อาซิซมาเรียม อุสมานีมาเรียม จงมาเลเซียกีนีมาเลเซียเชื้อสายไทยมินดาเนามุสลิมมุฮัมมัดมุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูมมุฮัมมัด บิน ซัลมานมุฮัมมัด บินอับดิลวะฮาบมุฮัมมัด มุตะวัลลี อัชชะอ์รอวีมุฮัมมัด อุมัรมุฮัรรอมมุข สุไลมานมุคฮ์ทาร์ โมฮัมเหม็ด ฮัสซินมุนตาเซอร์ อัล-ไซดีมูลฐานนิยมมูอัมมาร์ กัดดาฟีมูฮัมมัด อิกบาลมูฮัมหมัด ยูนูสมูฮัมหมัด อาลีมูเซ ฮัสซัน ชีค ซายิด อับดุลเลมีร์ จาฟาร์มณีรัตน์ ศรีจรูญมณีรัตน์ คำอ้วนมนุษยศาสตร์ยกยาการ์ตายอห์นผู้ให้บัพติศมายะฮ์ยายะไข่ยูซอฟ บิน อิสฮะก์ยูซุฟ อัลเกาะเราะฎอวีย่างกุ้งรอบิยะห์ กอดีร์ระบบหอสมุดรัฐสภารัฐชัมมูและกัศมีร์รัฐบาลเฉพาะกาลสาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศรัฐบาลเปลี่ยนผ่านแห่งชาติรัฐชานรัฐพิหารรัฐกะเหรี่ยงรัฐมะละการัฐยะไข่รัฐสิกขิมรัฐสุลต่านละฮิจญ์รัฐสุลต่านอาเจะฮ์รัฐอิสลามอัฟกานิสถานรัฐตรังกานูรัฐซาบะฮ์รัฐซาราวักรัฐปะลิสรัฐปะหังรัฐปีนังรัฐนักรบครูเสดรัฐเกอดะฮ์รัฐเอกราชโครเอเชียรัฐเคาะลีฟะฮ์รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีนรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์รัฐเคดีฟอียิปต์รัฐเปรักรัฐเนอเกอรีเซิมบีลันราชบัลลังก์กัสติยาราชรัฐแอนติออกราชวงศ์ตองอูราชวงศ์ตีมูร์ราชอาณาจักรกัสติยาราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมนราชอาณาจักรลิเบียราชอาณาจักรอัฟกานิสถานราชอาณาจักรเยรูซาเลมราชอาณาจักรเลอองราชอาณาจักรเซดังรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อวันสำคัญรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลรายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถานรายชื่อธงในประเทศอิหร่านรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5รายพระนามสุลต่านคอโมโรสรายการสาขาวิชารายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้รายาห์ราคิมริชาร์ด ดอว์กินส์ริดวัน ฮิรซี โมฮัมเหม็ดรซมะฮ์ มันโซร์ละหมาดลัยลัต อัล-ก็อดรฺลัทธิศูฟีลัทธิอนุตตรธรรมลัทธิทำลายรูปเคารพลัทธิขงจื๊อลัทธินอกศาสนาลัทธิเซียนเทียนเต้าลายอาหรับลิสบอนลิเกล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้าวรรณษา ทองวิเศษวรวีร์ มะกูดีวะฮาบีย์วัฒนธรรมวัฒนธรรมกัมพูชาวัดชนาธิปเฉลิมวัดเสาธงทอง (ลพบุรี)วัตต์ (แก้ความกำกวม)วันมูหะมัดนอร์ มะทาวันวิสาขบูชาวันศุกร์วันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมันวันอาทิตย์วิญญาณวูลันดารี เฮร์มันวีรชน ศรัทธายิ่งศรีบาทาศักราชศักดิ์ นานาศัตรูของพระคริสต์ศาลเจ้าศาลเจ้าเล่งจูเกียงศาสดาศาสนศึกษาศาสนสถานศาสนาศาสนาพุทธในประเทศบรูไนศาสนาพุทธในประเทศบังกลาเทศศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์ศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์ศาสนาพุทธในประเทศมาเลเซียศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซียศาสนายูดาห์ศาสนาอับราฮัมศาสนาฮินดูแบบบาหลีศาสนาประจำชาติศาสนาแบบอินเดียศาสนาในประเทศกัมพูชาศาสนาในประเทศไทยศาสนาโซโรอัสเตอร์ศาสนจักรศิลาจารึกตรังกานูศิลปะตะวันออกศุภชัย ใจสมุทรสภามุสลิมพม่าสมมุติ เบ็ญจลักษณ์สมัย เจริญช่างสมคิด เลิศไพฑูรย์สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านซะอีด บิน เตมัวร์สมเด็จพระราชาธิบดีฮะซันที่ 2 แห่งโมร็อกโกสมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดนสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระจักรพรรดินีเซาดีตูที่ 1 แห่งเอธิโอเปียสวรรค์สหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับสหภาพมาลายาสหภาพประชาชนมาร์แฮนอินโดนีเซียสหภาพโซเวียตสหรัฐสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์สหราชอาณาจักรสะอ์ดีสาวิกา ไชยเดชสาอี บาบาแห่งศิรฑีสาธารณรัฐบังซาโมโรสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบียสาธารณรัฐอัฟกานิสถานสาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถานสาธารณรัฐโซมาลีสาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 1สาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2สิดดิก สารีฟสิงหาคม พ.ศ. 2548สุรินทร์ พิศสุวรรณสุลัยมานผู้เกรียงไกรสุลต่านอับดุล ฮามิด ฮาลิมแห่งเกอดะฮ์สุลต่านอัล ราซิด แห่งโมร็อกโกสุลต่านอิส มาส์ บิน ชาลิฟ แห่งโมร็อกโกสุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟุดดีนที่ 3สุหนัตสีเขียวสีเขียว (มุทราศาสตร์)สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณสถาปัตยกรรมบาโรกสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์สงครามครูเสดสงครามครูเสดครั้งที่ 9สงครามต่อต้านการก่อการร้ายสงครามเลบานอน พ.ศ. 2549สนธิ บุญยรัตกลินหมัดหมู่บ้านขนงพระเหนือหมู่เกาะบังกา-เบอลีตุงหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์หมู่เกาะเรียวหลักการศรัทธาหลักสูตรหุยหนึ่งธิดา โสภณหน้าบันห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพอภิธานศัพท์ศาสนาอิสลามอมลรดา ไชยเดชออสมัน จามา อาลีอะบูบักร์อะบูฏอลิบอะลี ญุมอะฮ์อะลี อัรริฎออะห์มัด อุมัร ฮาเช็มอะเลคซันดร์ มาร์ตืยนอฟอะเดย์อับบาซ อิบุน อับดุบมุฏเฏาะลิบอัชราฟ ฆานีอับราฮัมอับดิราชิด อาลี เชอมาร์กีอับดิริซัค ฮาจี ฮุสเซนอับดิวาฮิด อิลมี กอนเจห์อับดิฮาคิม อับดุลลาฮี ฮาจี โอมาร์อับดิฮาคิม โมฮามุด ฮาจี-ฟากีอับดิคาซิม ซาลาด ฮัสซันอับดิเราะห์มาน อาห์เมด อาลี ตูร์อับดิเวลี ชีค อาห์เมดอับดุล กลามอับดุล มูอิสอับดุล ราซัก ฮุซเซนอับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์อับดุลละฮ์ อะฮ์มัด บาดาวีอับดุลลาฮี ยูซุฟ อะห์เมดอับดุลลาฮี อิสซาอับดูร์ระห์มัน วาฮิดอับดี ฟาราห์ ชิรดูนอับดีเวลี โมฮัมเหม็ด อาลีอักษรสำหรับภาษาฟูลาอักษรอาหรับอักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมันอักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์อักษรอเวสตะอักขราทร จุฬารัตนอัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์อัลกออิดะฮ์อัลกุรอานอัลกุรอานเลือดอัลมะดีนะฮ์อัลลอฮ์อัลคามีอาอัลเลลูยาอัลเฆาะซาลีอัศวินฮอสปิทัลเลอร์อัคระอัครทูตสวรรค์อัครทูตสวรรค์มีคาเอลอัครทูตสวรรค์ราฟาเอลอังคณา นีละไพจิตรอัตตาอัซรีนัซ มัซฮาร์อันวัร อัสซาดาตอันทาเคียอาการกลัวอิสลามอากุส ซาลิมอามีร์ ข่านอามีร์ ซารีฟุดดินอารยสมาชอารีย์ วีระพันธุ์อารีย์ วงศ์อารยะอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์อาร์ท แบลคคีอาร์ตีกา ซารี เดวีอาลี มาห์ดิ มูฮัมหมัดอาลี คาลิฟ กาลาอิดห์อาลี โมฮัมเหม็ด เกดีอาลีมิน ปราวีโรดีร์โยอาลียา อีเซตเบกอวิชอาหรับอาหรับ (แก้ความกำกวม)อาหารบรูไนอาหารอินโดนีเซียอาหารตะวันออกกลางอาห์เมด โมฮัมเหม็ด โมฮามุดอาณาจักรอาหมอาณาจักรจามปาอาณาจักรปัตตานีอานินดียา กูซูมา ปุตรีอาโรนอาเมนอำเภอกรงปินังอำเภอกะพ้ออำเภอกันตังอำเภอกงหราอำเภอยะหาอำเภอสายบุรีอำเภอสุไหงโก-ลกอำเภอหนองจิกอำเภอธารโตอำเภอตากใบอำเภอปะนาเระอำเภอแม่ลานอำเภอแว้งอำเภอโคกโพธิ์อำเภอไม้แก่นอำเภอเมืองตรังอำเภอเสนาอิชมาเอลอิชี บิลาดีอิบน์ บะฏูเฏาะฮ์อิรักในอาณัติอิสลามศึกษาอิหร่านราชธรรมอิตาเลียนลิเบียอินเดียตะวันออกอิเหนาอุมัรอุมัร อัชชะรีฟอุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีรอุสมาน ศรแดงอูมาร์ อาร์เทห์ กาหลิบอูรักลาโว้ยอีมาน (นางแบบ)อีดี อามินอีซาอีซาเบลา (จังหวัดบาซีลัน)อีซูลัน (จังหวัดซุลตันคูดารัต)อดอล์ฟ ฮิตเลอร์อดาน โมฮัมเหม็ด นูร์ มาโดเบอนิสา นูกราฮาอนุมัติ ซูสารอฮะมาสฮะรอมฮัมซะฮ์ฮัสซัน ชีค โมฮามุดฮัสซัน อับชีร ฟาราห์ฮามิด การ์ไซฮาลาลฮาลีมะฮ์ ยากบฮุสเซน อาหรับ อิสเซฮุซัยนียะหฺฮุซเซน อนฮีบรอนฮ่อผู้เผยพระวจนะจรัญ มะลูลีมจอมขวัญ ลีละพงศ์ประสุตจักรพรรดิชาห์ชะฮันจักรพรรดิอักบัรจักรวรรดิบรูไนจักรวรรดิมองโกลจักรวรรดิมาลีจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิข่านอิลจักรวรรดิข่านจักกาไทจักรวรรดิไบแซนไทน์จังหวัดชวาตะวันตกจังหวัดบันเตินจังหวัดบามียานจังหวัดบาหลีจังหวัดชุมพรจังหวัดฟรีสลันด์จังหวัดภูเก็ตจังหวัดมาลูกูจังหวัดยะลาจังหวัดลัมปุงจังหวัดสุมาตราตะวันตกจังหวัดสุมาตราใต้จังหวัดสุมาตราเหนือจังหวัดสตูลจังหวัดอาเจะฮ์จังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดจัมบีจังหวัดจันทบุรีจังหวัดคีรีโนจังหวัดติมอร์ตะวันออกจังหวัดปาปัวจังหวัดปาปัวตะวันตกจังหวัดนอร์ทบราแบนต์จังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์จังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดนนทบุรีจังหวัดโอเฟอไรส์เซิลจังหวัดเบิงกูลูจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์จาการ์ตาจามาล อุดดีน อัล-อัฟกานีจิตรกรรมฝาผนังจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีจิตวิทยาเชิงบวกจุลจักร จักรพงษ์จุฬาราชมนตรีจีบรีล ซีเซจีน อับดุลละห์ธรรเมนทระธานินทร์ ใจสมุทรธงชาติบังกลาเทศธงชาติบาห์เรนธงชาติมอริเตเนียธงชาติมัลดีฟส์ธงชาติมาลีธงชาติมาเลเซียธงชาติลิเบียธงชาติศรีลังกาธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีธงชาติอัฟกานิสถานธงชาติอาเซอร์ไบจานธงชาติอิรักธงชาติอียิปต์ธงชาติจิบูตีธงชาติคอโมโรสธงชาติตูนิเซียธงชาติซาอุดีอาระเบียธงชาติซูดานธงชาติปากีสถานธงชาติแอลจีเรียธงชาติโมร็อกโกธงชาติโซมาลีแลนด์ธงชาติไซปรัสธงชาติเลบานอนธงขาวธนาคารกรุงไทยธนาคารออมสินถนนเยาวราชทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการทฤษฎีสองชาติทวีปเอเชียทูตสวรรค์ที่สูงแคเมอรอนขบวนการบาห์เรนเสรีขบวนการร่วมเพื่อเอกราชปัตตานีขบวนการอาเจะฮ์เสรีขบวนการอิสลามแห่งอุซเบกิสถานขันทีข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรมณปภา ตันตระกูลดอมีนิก-ฟร็องซ์ โลบ ปีการ์ดาวิดดาวซิริอุสดาฮิร์ ริยาเล คาฮินดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลียดิเกร์ ฮูลูความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐคัมภีร์คาลิฟา ซีเซคานธี (ภาพยนตร์)คุรุนานักเทพคณะภราดาเซนต์คาเบรียลคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ฆุลาตตราสัญลักษณ์ของกาชาดตราแผ่นดินของบรูไนตราแผ่นดินของมาเลเซียตราแผ่นดินของอุซเบกิสถานตราแผ่นดินของแอลจีเรียตวนกู สิตี ไอชาห์ตองจีตะวันออกกลางตัฟซีรตัวตนตานชเวตำบลบาโงยซิแนตำบลยะลาตำบลหน้าถ้ำตำบลอัมพวาตำบลป่าตองตำนานน้ำท่วมโลกตุนกู อับดุล ระฮ์มันต่วน สุวรรณศาสน์ต้นสมัยกลางซะฮิบ ชีฮับซัมบวงกาซิตีซัลมัน รัชดีซัดดัม ฮุสเซนซันโดรีนีซันเฟร์นันโด (จังหวัดปัมปังกา)ซาบีนา อัลตึนเบโควาซากีร์ ฮุสเซน (นักการเมือง)ซามาร์คันด์ซารีนามารีเยีย เตมรีอูคอฟนาแห่งรัสเซียซาลิม อะลิโยว์ อิโบรว์ซาอัด ฮาริรีซาโลมอนซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดีซิลลี่ ฟูลส์ซิตตเวซินานซูการ์โนซูการ์โน มะทาซูฮาร์โตซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโนซีนัต การ์ไซปฏิทินสุริยคติปฐมบรรพบุรุษปยีนมะนาประชากรศาสตร์บรูไนประชากรศาสตร์กัมพูชาประชากรศาสตร์มองโกเลียประชากรศาสตร์ลาวประชาธิปไตยประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประวัติศาสตร์สเปนประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานประวัติศาสตร์อันดอร์ราประวัติศาสตร์ทิเบตประวัติศาสตร์โซมาเลียประวัติศาสตร์เอเชียกลางประวัติศาสนาพุทธประวัติศาสนาอิสลามประคำประเสริฐ มะหะหมัดประเทศบรูไนประเทศบังกลาเทศประเทศบาห์เรนประเทศฟิลิปปินส์ประเทศฟินแลนด์ประเทศฟีจีประเทศพม่าประเทศกัมพูชาประเทศกาบองประเทศกาตาร์ประเทศกานาประเทศกินีประเทศภูฏานประเทศมองโกเลียประเทศมอนเตเนโกรประเทศมัลดีฟส์ประเทศมาดากัสการ์ประเทศมาซิโดเนียประเทศมาเลเซียประเทศลิกเตนสไตน์ประเทศศรีลังกาประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสวีเดนประเทศสิงคโปร์ประเทศสเปนประเทศออสเตรเลียประเทศอัฟกานิสถานประเทศอาเซอร์ไบจานประเทศอิสราเอลประเทศอิหร่านประเทศอินโดนีเซียประเทศอินเดียประเทศอุซเบกิสถานประเทศอียิปต์ประเทศจอร์เจียประเทศจีนประเทศคอโมโรสประเทศคาซัคสถานประเทศคีร์กีซสถานประเทศตรินิแดดและโตเบโกประเทศติมอร์-เลสเตประเทศตุรกีประเทศซาอุดีอาระเบียประเทศซูรินามประเทศซูดานประเทศซีลอนในเครือจักรภพประเทศปากีสถานประเทศนอร์เวย์ประเทศแอลจีเรียประเทศโมร็อกโกประเทศโรมาเนียประเทศโอมานประเทศโครเอเชียประเทศโตโกประเทศโซมาเลียประเทศโปรตุเกสประเทศไทยใน พ.ศ. 2488ประเทศเบลารุสประเทศเบลเยียมประเทศเบนินประเทศเกาหลีใต้ประเทศเลบานอนประเทศเวียดนามประเทศเอริเทรียประเทศเอสวาตีนีประเทศเอธิโอเปียประเทศเติร์กเมนิสถานประเทศเซียร์ราลีโอนประเทศเนปาลปลาสินสมุทรหางเส้นปอเนาะปากีสถานตะวันออกปากีสถานเชื้อสายจีนปากีสถานเชื้อสายไทยปานวาด เหมมณีปาเลสไตน์ในอาณัติปีเอตะนบีนกกะรางหัวขวานนรกนริศ ขำนุรักษ์นอร์เทิร์นไซปรัสนัยน์ตาปีศาจนัศรุลลอหฺนาวาซ ชาริฟนาจิบ ราซักนาธาน โอร์มานนาตาชา สัจจกุลนาซาเรธนาซีม ฮาเหม็ดนาซีเกอบูลีนาเดีย โสณกุลนิกัลยา ดุลยานิกายในศาสนาอิสลามนูร์ ฮะซัน ฮุเซนนีกอลา อาแนลกานครศักดิ์สิทธิ์นครเซบูแช่ม พรหมยงค์แฟ็สแมลคัม เอ็กซ์แมนเชสเตอร์แวมาฮาดี แวดาโอะแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนีแอฟริกาใต้สะฮาราแอฟริกาเหนือของอิตาลีแอสโมเดียสแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์แคท สตีเวนส์แคปพาโดเชียแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติโมโรแนวหน้าปกป้องอิสลามแนวคิดที่ตรงกันข้ามกับประชาธิปไตยโบสถ์พระคริสตสมภพโชคชัย โชคอนันต์โฟวซิโย ยูซุฟ ฮาจี เอเดนโพสพโกลเดนฮอร์ดโกตาบารูโมกอลโมฮัมหมัด อัยยุบข่านโมฮัมหมัด นาญิบุลลอฮ์โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮักโมฮัมเหม็ด ฟาราห์ ซาลัดโมฮัมเหม็ด ออสมาน จาวารีโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โมฮัมเหม็ดโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์โมฮัมเหม็ด อับดี ยูซุฟโมฮัมเหม็ด อาลี ซามาตาร์โมฮัมเหม็ด ฮาวัดเล มาดาร์โมฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัลโมฮัมเหม็ด ดาวูด ข่านโมฮัมเหม็ด โมฮามุด อิบราฮิมโมฮาเหม็ด ดียาเมโมเสสโรมโบราณโรฮีนจาโรงเรียนอัสสัมชัญโรงเรียนอัตตัรกียะห์ อิสลามียะห์โรงเรียนอาลาวียะห์วิทยาโรงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิโลกอิสลามโลกาภิวัตน์โลกตะวันตกโสร่งโอมาร์ อับดีราซิด อาลี ชาร์มาร์กีโจโก วีโดโดโดมแห่งศิลาไมก์ ไทสันไม้เท้าโมเสสไมเคิล ลูคัส (ผู้กำกับ)ไอซ์คิวบ์ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรีไทยสยามไทยในอียิปต์ไทยเชื้อสายมลายูไทยเชื้อสายอินเดียไทยเชื้อสายจามไทยเชื้อสายจีนไทยเชื้อสายเปอร์เซียไซอัด บาร์รีเบอร์ลินเชาวาลเบนาซีร์ บุตโตเพลงชาติมัลดีฟส์เกาะลมบกเกาะคริสต์มาสเกาะซีเมอลูเวอเกาะโกโมโดเมกาวาตี ซูการ์โนปูตรีเมย์ โตโรก ฟอน เซนโดรเมสสิยาห์เมอลายูอิซลัมเบอราจาเมาะลำเลิงเยรูซาเลมเยรูซาเลมตะวันออกเย็น แก้วมะณีเรอูนียงเราะมะฎอนเราะซูลเรือโนอาห์เรียม เพศยนาวินเล็ก นานาเศรษฐศาสตร์อิสลามเสราฟิมเส้นทางการค้าเหตุการณ์ยึดมัสยิด อัล-ฮะรอมเหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554เอกสารตัวเขียนสีวิจิตรเอกเทวนิยมเอมิเรตบูคาราเอมิเรตญะบัลชัมมัรเอมิเรตอัฟกานิสถานเอมิเรตอิสลามอัฟกานิสถานเอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์เอนดน มะห์มูดเอ็ลวีรา เดวีนามีราเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เอเชียตะวันตกเฉียงใต้เอเดน อับดุลลาห์ ออสมัน ดาร์เผ่า ศรียานนท์เจมี ฟ็อกซ์เจะอามิง โตะตาหยงเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)เจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์เจ้าหญิงมูนา อัลฮุซัยน์เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์เทวาธิปไตยเทวนิยมเทศบาลตำบลชะรัดเทศบาลนครยะลาเทศบาลนครหาดใหญ่เทศบาลนครนครราชสีมาเทศบาลนครเชียงใหม่เทศบาลเมืองบุรีรัมย์เทศบาลเมืองบ้านสวนเทศบาลเมืองพนัสนิคมเทศบาลเมืองตราดเทศบาลเมืองเบตงเขตพะโคเขตมัณฑะเลย์เขตย่างกุ้งเขตอิรวดีเขตดาเบาเขตตะนาวศรีเขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิมเดอะวัน (อัลบั้มเพลง)เดอะซิมป์สันส์เด่น โต๊ะมีนาเด่นเก้าแสน เก้าวิชิตเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนียเครื่องราชอิสริยยศไทยเคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยานเคาน์ตีอิเดสซาเคาน์ตีตริโปลีเซี่ยตะวันตกเซนต์เปอรานากันเปอร์เวซ มูชาร์ราฟเนินพระวิหารเนื่อง นนทนาครเนื้อหมู13 เมษายน20 สิงหาคม29 สิงหาคม58 มิถุนายน ขยายดัชนี (885 มากกว่า) »

ชะรีอะฮ์

รีอะฮ์ (شريعة; Sharia/Shari'ah) คือ ประมวลข้อปฏิบัติต่าง ๆ ของกฎหมายศาสนาของศาสนาอิสลาม คำว่า "ชะรีอะฮ์" แปลว่า "ทาง" หรือ "ทางไปสู่แหล่งน้ำ" กฎหมายชะรีอะฮ์คือโครงสร้างทางกฎหมายที่ครอบคลุมวิถีการดำเนินชีวิตของบุคคลและสาธารณชนที่มีพื้นฐานมาจากหลักนิติศาสตร์ (jurisprudence) ของศาสนาอิสลามสำหรับใช้โดยมุสลิม กฎหมายชะรีอะฮ์ครอบคลุมด้านต่าง ๆ ของชีวิตประจำวันที่รวมทั้งระบบการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ ระบบการดำเนินธุรกิจ ระบบการธนาคาร ระบบการทำสัญญา ความสัมพันธ์ในครอบครัว หลักของความสัมพันธ์ทางเพศ หลักการอนามัย และปัญหาของสังคม กฎหมายชะรีอะฮ์ในปัจจุบันเป็นกฎหมายศาสนาที่ใช้กันอย่างกว้างขวางที่สุดและเป็นกฎหมายที่ปรากฏบ่อยที่สุดของระบบกฎหมายของโลกพอ ๆ กับคอมมอนลอว์ และซีวิลลอว์ ในระหว่างยุคทองของอิสลาม กฎหมายอิสลามอาจถือว่ามีอิทธิพลต่อการวิวัฒนาการของคอมมอนลอว์ ซึ่งก็ทำให้มีอิทธิพลต่อการวิวัฒนาการของคอมมอนลอว์ระดับสถาบันต่าง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชะรีอะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชะอ์บาน

ชะอ์บาน หรือสะกด ชะอฺบาน (شعبان | Sha'aban) คือเดือนที่ 8 ของปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์ หรือปฏิทินอิสลาม ถือว่าเป็นเดือนที่สำคัญเดือนหนึ่ง โดยเฉพาะในคืนวันเพ็ญของเดือนนี้ เรียกว่า นิศฟุชะอ์บาน (กลางเดือนชะอ์บาน) ตามมัซฮับชีอะหฺอิสลาม ถือเป็นวันเกิดของอิมามมะหฺดี และเป็นวันที่มุสลิมพึงกระทำอิบาดะหฺเป็นพิเศษ ด้วยการถือศีลอด และกระทำความดีอื่น ๆ หมวดหมู่:ปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์ sv:Sha'ban.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชะอ์บาน · ดูเพิ่มเติม »

ชะฮาดะฮ์

(الشهادة "ปฏิญาณตน"; หรือ อัชชะฮาดะตาน (الشَهادَتانْ, "คำปฏิญาณทั้งสอง")) เป็นบทประกาศความเชื่อในศาสนาอิสลาม ถึงความศรัทธาในพระเจ้าองค์เดียว และแสดงความยอมรับว่านบีมุฮัมมัดเป็นศาสนทูตของพระเจ้า คำประกาศดังกล่าวในรูปแบบอย่างย่อที่สุด มีใจความดังนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชะฮาดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ชัฟคัต มีร์ซีโยเยฟ

ัฟคัต มีโรโนโวนิช มีร์ซีโยเยฟ (เกิด 24 กรกฎาคม ค.ศ. 1957) เป็นนักการเมืองอุซเบกที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีของอุซเบกสถานตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชัฟคัต มีร์ซีโยเยฟ · ดูเพิ่มเติม »

ชัยฏอน

ชัยฏอน หรือ อิบลีส ตามคติความเชื่อในศาสนาอิสลามแล้ว เป็นนามของญินตนหนึ่งที่หลอกลวงให้อาดัมและเฮาวาอ์ภรรยา ต้องออกจากสวนสวรรค์ และสาบานว่าจะตามล้างตามผลาญลูกหลานมนุษย์จนถึงวันโลกาวินาศ ในไบเบิลเรียกว่า ซาตาน ชัยฏอน อาจจะหมายถึง มารร้ายตนอื่น ๆ ที่เป็นพรรคพวกของอิบลีสก็ได้ ที่ว่าคำว่า "ซาตาน" ในภาษายุโรปเป็นคำที่ยืมมาจากคำว่า "ชัยฏอน" ในภาษาอาหรับเป็นเรื่องโกหกของชาวมุสลิมที่นิยมเล่าเพื่อหลอกลวงผู้อื่น ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว Satan มาจากภาษาฮีบรู (שָּׂטָן) และก็ไปเป็นกรีก Σατάν ‎(Satán), และก็ไปเป็นลาติน (Satān) สุดท้ายจึงพัฒนามาเป็นภาษาอังกฤษ (Satan) หมวดหมู่:ศาสนาอิสลาม หมวดหมู่:เทพเจ้า.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชัยฏอน · ดูเพิ่มเติม »

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์

ตราจารย์ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เป็นศาสตราจารย์ประจำและหัวหน้าสาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชัยวัฒน์ สถาอานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

บันดาร์เซอรีเบอกาวัน

ันดาร์เซอรีเบอกาวันสำนักงานราชบัณฑิต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและบันดาร์เซอรีเบอกาวัน · ดูเพิ่มเติม »

ชารีฟ ชีค อาห์เหม็ด

รีฟ ชีค อาห์เหม็ด (Shariif Sheekh Axmed, شريف شيخ أحمد.; เกิด 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) เป็นนัการเมืองชาวโซมาเลีย ระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชารีฟ ชีค อาห์เหม็ด · ดูเพิ่มเติม »

ชาลอม

"ชาลอม" ในภาษาฮีบรู ชาลอม (ฮีบรู: שָׁלוֹם, ฮีบรูเซฟาร์ติก/ฮีบรูอิสราเอล: Shalom; ฮีบรูอาซเกนาซี/ยิดดิช: Sholem, Shoilem, Shulem) เป็นคำภาษาฮีบรูที่หมายถึง สันติภาพ ความสมบูรณ์ และสวัสดิภาพ และสามารถใช้เป็นสำนวนในความหมายทั้งสวัสดีและลาก่อน คำนี้สามารถหมายถึงสันติภาพระหว่างสิ่งที่มีอยู่จริงสองอย่าง (โดยเฉพาะระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าหรือระหว่างสองประเทศ) หรือความเป็นอยู่ที่ดี สวัสดิภาพหรือความปลอดภัยของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของปัจเจกบุคคล คำคำนี้ยังพบในรูปแบบอื่นๆอีก โดยมีความหมายเช่นเดียวกับ salaam ในภาษาอาหรับ sliem ในภาษามอลตา Shlama (ܫܠܡܐ) ในภาษาซีเรียค และภาษาอราเมอิกใหม่อัสซีเรีย และ sälam ในภาษากลุ่มเซมิติกในเอธิโอเปีย คำเหล่านี้มีที่มาจากรากศัพท์ S-L-M ในภาษาเซมิติกดั้งเดิม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาลอม · ดูเพิ่มเติม »

ชาวชวา

วา เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่มีจำนวนประชากรมากที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย มีถิ่นฐานอยู่ทางตอนกลางและทางตะวันออกของเกาะชว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวชวา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวบอสนีแอก

วบอสนีแอก เป็นกลุ่มเชื้อชาติสลาฟใต้ใน บอลข่าน ชาวบอสนีแอกส่วนใหญ่มักพบอาศัยในประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และเป็นชนกลุ่มน้อยในโครเอเชีย โคโซโว เซอร์เบีย มาซิโดเนีย และ มอนเตเนโกร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวบอสนีแอก · ดูเพิ่มเติม »

ชาวบาหลี

หลี (บาหลี: Anak Bali, Wong Bali, Krama Bali; Suku Bali) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองที่อาศัยอยู่บนเกาะบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรราว 4,200,000 คนหรือเป็นคิดเป็นร้อยละ 1.7 ของประชากรในอินโดนีเซีย ส่วนใหญ่อาศัยอยู่บนเกาะบาหลีร้อยละ 89 ทั้งยังมีชาวบาหลีอาศัยอยู่บนเกาะลอมบอกจำนวนมากอย่างมีนัยสำคัญ และพบทางตะวันออกสุดของเกาะชว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวมันเด

นมันเด หรือ ชนมันเดน (Mandé peoples หรือ Manden peoples) หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ในแอฟริกาตะวันตกผู้พูดภาษามันเดที่กระจัดกระจายทั่วบริเวณ กลุ่มชนชนมันเดพบว่าตั้งถิ่นฐานอยู่ในเบนิน, บูร์กินาฟาโซ, โกตดิวัวร์, ชาด, แกมเบีย, กานา, กินี, กินี-บิสเซา, ไลบีเรีย, มาลี, มอริเตเนีย, ไนเจอร์, ไนจีเรีย, เซเนกัล และ เซียร์ราลีโอน ทางด้านภาษาภาษามันเดเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาไนเจอร์-คองโก และแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ สองกลุ่ม “มันเดตะวันออก” และ “มันเดตะวันตก” ชนมันดิงคาซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของชนมันเดได้ชื่อว่าเป็นผู้ก่อตั้งจักรวรรดิโบราณที่ใหญ่ที่สุดของแอฟริกาตะวันตก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวมันเด · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอาหรับ

วอาหรับ (عرب) เป็นกลุ่มชนเซมิติกที่พูดภาษาอาหรับโดยมีประชากรอาศัยในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้และแอฟริกาเหนือ ซึ่งกลุ่มชาวอาหรับประกอบด้วยชาวเลบานอน, ชาวซีเรีย, ชาวเอมิเรตส์, ชาวกาตาร์, ชาวซาอุดี, ชาวบาห์เรน, ชาวคูเวต, ชาวอิรัก, ชาวโอมาน, ชาวจอร์แดน, ชาวปาเลสไตน์, ชาวเยเมน, ชาวซูดาน, ชาวแอลจีเรีย, ชาวโมร็อกโก, ชาวตูนีเซีย, ชาวลิเบีย และชาวอียิปต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอาเซอร์ไบจาน

วอาเซอร์ไบจาน (Azerbaijani people หรือ Azerbaijanis) ชาวอาเซอร์ไบจาน, US Library of Congress Country Studies (retrieved 7 June 2006).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอิรัก

วอิรัก (Iraqi people) คือประชาชนที่เกิดในประเทศอิรัก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอินเดีย

วอินเดีย (Indian people) เป็นประชากรของประเทศอินเดีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีพลเมืองหนาแน่นในเอเชียใต้หรือ 17.31% ของประชากรโลก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอุซเบก

วอุซเบก (Uzbeks) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มชนเตอร์กิกในเอเชียกลาง ประชาชนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอุซเบกิสถาน แต่ก็ยังพบได้เป็นประชากรส่วนน้อยของประเทศอัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน คีร์กิซสถาน คาซัคสถาน เติร์กเมนิสถาน รัสเซีย และจีน นอกจากนี้ผู้อพยพผลัดถิ่นชาวอุซเบกอาศัยอยู่ในประเทศตุรกี ซาอุดีอาระเบีย และปากีสถาน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ชาวอียิปต์

วอียิปต์ (Egyptians) เป็นผู้อยู่อาศัยหรือประชากรของประเทศอียิปต์ โดยชาวอียิปต์โบราณเป็นคนละกลุ่มชาติพันธ์กับชาวอียิปต์ในปัจจุบันที่พูดภาษาอาหรั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจาม

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับความหมายอื่นดูที่ จาม จาม (người Chăm เหงื่อยจัม, người Chàm เหงื่อยจ่าม; จาม: Urang Campa อูรัง จัมปา) จัดอยู่ในตระกูลภาษามาลาโยโพลินีเชียน อาศัยอยู่บริเวณทางใต้ของเวียดนาม และเป็นกลุ่มชนมุสลิมเป็น 1 ใน 54 ชาติพันธุ์ของประเทศเวียดนาม ในอดีตชนชาติจามตั้งอาณาจักรจามปาที่ยิ่งใหญ่ มีความเจริญรุ่งเรืองช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2-15 ด้วยอาณาเขตติดทะเล ชาวจามจึงมีความสามารถเดินเรือและค้าขายไปตามหมู่เกาะ ไกลถึงแถบตะวันออกกลาง รวมถึงประเทศจีน ส่วนใหญ่เป็นผ้าไหม ไม้หอม เครื่องปั้นดินเผา ปัจจุบันคือบริเวณเมืองดานัง เมืองท่าในตอนกลางของเวียดนาม มีเมืองหลวงชื่อ วิชัย (ปัจจุบันคือเมืองบิญดิ่ญ) มีโบราณสถานกระจัดกระจายอยู่ตามภูเขาต่าง ๆ ในเวียดนาม กระทั่งในปี ค.ศ. 1471 อาณาจักรจามปาสู้รบกับชนชาติเวียดนามเดิม ที่อยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ทำให้อาณาจักรจามปาล่มสลาย ชาวจามส่วนใหญ่ต้องอพยพลงไปใต้ปัจจุบันมีชาวจามอาศัยอยู่ทางตอนกลางของเวียดนาม ที่เมืองนิงห์ถ่วง เมืองบินห์ถ่วง เตยนินห์ โฮจิมินห์ ส่วนทางใต้จะอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากที่เมืองอันยาง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวจาม · ดูเพิ่มเติม »

ชาวจีนในเคนยา

วจีนในเคนยา เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลายของประเทศเคนยา ซึ่งมีการติดต่อค้าขายและตั้งถิ่นฐานในชายฝั่งทะเลทางตะวันออกของเคนยาตั้งแต่ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึงในปัจจุบันก็ยังมีชาวจีนกลุ่มใหม่ได้อพยพมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีนมาตั้งถิ่นฐานในเคนยา ในช่วงปี ค.ศ. 1990-2000 และได้มีการประมาณการว่ามีชาวจีนที่พำนักในเคนยาประมาณ 3,000-10,000 คน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวจีนในเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวทมิฬ

วทมิฬ (தமிழர்) เป็นประชากรส่วนใหญ่ที่อาศัยอยู่รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย และบริเวณภาคตะวันตกของประเทศศรีลังกา และชาวทมิฬอยู่ในกลุ่มของชาวดราวิเดียน พูดภาษาทมิฬเป็นภาษาแม่ในรัฐทมิฬนาฑู เขตการปกครองดินแดนสหภาพสาธารณรัฐอินเดียปูดูเชร์รี และจังหวัดเหนือ จังหวัดตะวันออก และปัตตาลัมของประเทศศรีลังกา ชาวทมิฬมีประชากรอยู่ประมาณ 76 ล้านคนที่เกิดทั่วโลก เป็นประชากรที่มีวัฒนธรรมเก่าแก่แห่งหนึ่งของโลก ชาวทมิฬอาศัยอยู่ในศรีลังกา 24.87%, มอริเชียส 10.83%, อินเดีย 5.91%, สิงคโปร์ 5% และ มาเลเซีย 7%.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวทมิฬ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวทิเบต

วทิเบต เป็นชนกลุ่มใหญ่ในเขตปกครองตนเองทิเบต ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และถือชนชาติกลุ่มน้อย กลุ่มหนึ่งของประเทศจีน ซึ่งมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์อย่าง ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และความเป็นอยู่เป็นของตนเอง แต่ความเป็นชุมชนเมืองและเศรษฐกิจของชาวจีนซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่กำลังทำลายความเป็นทิเบตดั้งเดิม ดั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศต่างๆทั่วโลก ชาวทิเบตสืบเชื้อสายจากชนเผ่าตูรัน และตังกุตในเอเชียกลาง ต่อมาได้อพยพมาจากทางตอนบนในเขตหุบเขาที่ราบลุ่มแม่น้ำยาร์ลุงซางโป และแต่งงานกับชนพื้นเมืองแถบนี้ แล้วออกลูกออกหลานเป็นชาวทิเบตในปัจจุบัน ชาวทิเบตเป็นชนเผ่าที่รักสงบ ในอดีตเคยเป็นพวกชาวเขาที่ไม่แตกต่างกับชาวเขาทั่วไป แต่พอได้รับพระพุทธศาสนาแบบวัชรยานจากพระปัทมสัมภวะ (คุรุรินโปเช่) ทำให้ทิเบตมีวัฒนธรรมที่โดดเด่น ชาวทิเบตส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธวัชรยาน นอกนั้นนับถือศาสนาอิสลามราว 2,000 คน และคริสตังทิเบตราว 600 คน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ชาวดุงกาน

งกาน (Дунгане) เป็นคำที่ใช้กันในแถบกลุ่มประเทศอดีตสหภาพโซเวียตที่สื่อความหมายถึงกลุ่มอิสลามิกชนที่มีเชื้อสายจีน หรืออาจใช้ความหมายครอบคลุมไปยังประชาชนที่จัดอยู่กลุ่มภาษาเตอร์กิกแถบเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ในปัจจุบันด้วย อย่างไรก็ตามชาวดุงกานทั้งในจีนและอดีตสหภาพโซเวียตจะเรียกตนเองว่า หุย มีการสำรวจจำนวนประชากรในแถบอดีตสหภาพโซเวียตพบว่ามีชาวดุงกานตั้งถิ่นฐานในประเทศคาซัคสถาน ประมาณ 36,900 คน ในปี ค.ศ. 1999), ประเทศคีร์กีซสถาน ประมาณ 51,766 คน ในปี ค.ศ. 1999) และในประเทศรัสเซีย ประมาณ 801 คน ในปี ค.ศ. 2002).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวดุงกาน · ดูเพิ่มเติม »

ชาวตุรกี

วตุรกี (Türkler) เป็นกลุ่มชนเตอร์กิกที่พูดภาษาตุรกีและเป็นประชากรที่อาศัยในประเทศตุรกี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวซองไฮ

นซองไฮ (Songhai) หมายถึงกลุ่มชาติพันธุ์ในแอฟริกาตะวันตกที่เกี่ยวข้องกับชนมันเดผู้พูดภาษาในกลุ่มภาษาซองไฮ (Songhay languages) ที่เกี่ยวพันกับกลุ่มภาษาไนโล-ซาฮารา ชนซองไฮและชนมันเดเป็นกลุ่มชนที่มีอิทธิพลในจักรวรรดิซองไฮที่มีอิทธิพลทางตะวันตกของซาเฮล ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 และ 16 ชนซองไฮตั้งถิ่นฐานอยู่ทั่วไปในมาลีในบริเวณในทวีปแอฟริกาที่เรียกว่าซูดานตะวันตก (Sudan region).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวซองไฮ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวซาซะก์

ซาซะก์ (Suku Sasak) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองที่อาศัยอยู่บนเกาะลอมบอกในประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรราว 3,600,000 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 85 ของประชากรทั้งหมดบนเกาะดังกล่าว ชาวซาซะก์มีความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงกับชาวบาหลีไม่ว่าจะเป็นด้านเชื้อชาติและภาษา แต่ต่างกันเพียงศาสนาที่ส่วนใหญ่ชาวบาหลีนับถือศาสนาฮินดู ส่วนชาวซาซะก์ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวซาซะก์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวซุนดา

วซุนดา เป็นกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองในประเทศอินโดนีเซียอาศัยอยู่ในพื้นที่ทางตะวันตกของเกาะชวา มีจำนวนประมาณ 31 ล้านคน ชาวซุนดาใช้ภาษาหลักคือภาษาซุนดา และนับถือศาสนาอิสลามเป็นส่วนใหญ่ เดิมนั้นชาวซุนดามักจะอาศัยอยู่หนาแน่นในจังหวัดชวาตะวันตก, บันเติน และจาการ์ตา รวมทั้งพื้นที่ทางตะวันตกของจังหวัดชวากลาง สำหรับชวากลาง และชวาตะวันออกนั้น เป็นถิ่นฐานเดิมของชาวชวา ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใหญ่ที่สุดในอินโดนีเซีย วัฒนธรรมของชาวซุนดานั้นส่วนใหญ่ยืมมาจากวัฒนธรรมชวา แต่มีความแตกต่างออกไปเนื่องจากการนับถือศาสนาอิสลาม และมีลำดับชั้นทางสังคมที่แข็งแกร่งน้อยกว่ามาก Hefner (1997).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวซุนดา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวปัญจาบ

วปัญจาบ (อักษรคุรมุขี: ਪੰਜਾਬੀ Paṁjābī,อักษรชาห์มุขี: پنجابی Panjābī) เป็นประชากรที่อาศัยอยู่บริเวณภูมิภาคปัญจาบ พูดภาษาปัญจาบซึ่งเป็นภาษาในกลุ่มย่อยอินโด-อิเรเนียน คำว่าปัญจาบหมายถึง ดินแดนแห่งน้ำทั้งห้า (เปอร์เซีย: panj ("ห้า") āb ("น้ำ")).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวปัญจาบ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวโรมานี

รมานี (Rromane, Romani people หรือ Romany หรือ Romanies หรือ Romanis หรือ Roma หรือ Roms) หรือมักถูกเรียกโดยผู้อื่นว่า ยิปซี (Gypsy) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ของยุโรปที่สืบเชื้อสายมาจากยุคกลางของอินเดีย (Middle kingdoms of India) โรมานีเป็นชนพลัดถิ่น (Romani diaspora) ที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในยุโรปโดยเฉพาะกลุ่มโรมาซึ่งเป็นชนกลุ่มย่อยในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก และกลุ่มใหม่ที่ไปตั้งถิ่นฐานในอเมริกา และบางส่วนในดินแดนต่างๆ ทั่วโลก ภาษาโรมานีแบ่งออกไปเป็นสาขาท้องถิ่นหลายสาขาที่มีผู้พูดราวกว่าสองล้านคน แต่จำนวนประชากรที่มีเชื้อสายโรมานีทั้งหมดมากกว่าผู้ใช้ภาษากว่าสองเท่า ชาวโรมานีอื่นพูดภาษาของท้องถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานหรือภาษาผสมระหว่างภาษาโรมานีและภาษาท้องถิ่นที่พำนัก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวโรมานี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวโซมาลี

วโซมาลี (Soomaaliyeed, الصوماليون) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในจะงอยแอฟริกา (คาบสมุทรโซมาลี) ชาวโซมาลีส่วนใหญ่พูดภาษาโซมาลี และคนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม นิกายสุหนี่Mohamed Diriye Abdullahi, Culture and Customs of Somalia, (Greenwood Press: 2001), p.1 กลุ่มชาติพันธุ์โซมาลีส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศโซมาเลีย (ประมาณ 8,700,000) and (CIA according de). The first gives 15% non-Somalis and the second 6%.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวโซมาลี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวโปรตุเกส

วโปรตุเกส (os portugueses; Portuguese people) คือชนชาติและกลุ่มชาติพันธุ์จากประเทศโปรตุเกส ทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตอนใต้-ตะวันตกของทวีปยุโรป ใช้ภาษาโปรตุเกส โดยมากนับถือโรมันคาทอลิก จากประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิโปรตุเกสและการล่าอาณานิคมในแอฟริกา เอเชีย และทวีปอเมริกา เช่นเดียวกับการอพยพตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ทำให้มีสังคมชาวโปรตุเกสในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเปอร์เซีย

วเปอร์เซีย (Persian people) เป็นกลุ่มชาติพันธ์ในกลุ่มชนอิหร่านที่พูดภาษาเปอร์เซียและส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาวเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ชาดา ไทยเศรษฐ์

ทยเศรษฐ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุทัยธานี สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา และเป็นประธานคณะกรรมาธิการเกษตรและสหกรณ์ สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชาดา ไทยเศรษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

บาคารุดดิน ยูซุฟ ฮาบีบี

รุดดิน ยูซุฟ ฮาบีบี (Bacharuddin Jusuf Habibie) หรือที่รู้จักกันในชื่อ บี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและบาคารุดดิน ยูซุฟ ฮาบีบี · ดูเพิ่มเติม »

บาคีร์ อีเซตเบกอวิช

ีร์ อีเซตเบกอวิช (บอสเนีย: Bakir Izetbegović) เป็นผู้นำชาวมุสลิมบอสเนียและยังเป็นหนึ่งในสามของสมาชิกคณะประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา นอกจากนี้เขายังเป็นบุตรของอดีตประธานาธิบดีอาลียา อีเซตเบกอวิช วีรบุรุษของชาวบอสเนี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและบาคีร์ อีเซตเบกอวิช · ดูเพิ่มเติม »

ชินโต

ทะริอิ ที่ ศาลเจ้าอิสึกุชิมะ สัญลักษณ์ที่สำคัญของชินโต ชินโต เป็นลัทธิตามความเชื่อเดิมของชาวญี่ปุ่น คำว่า ชินโต มาจากตัวอักษรจีน หรือคันจิ 2 ตัวรวมกัน คือ ชิน หมายถึงเทพเจ้า (ภาษาจีน: 神, พินอิน: shén, เสิน) และ โต หมายถึงวิถีทางหรือศาสตร์วิชา (ภาษาจีน: 道, พินอิน: dào, เต้า) หรือ เต๋า ในลัทธิเต๋านั่นเอง เมื่อรวมกันแล้ว จะหมายถึงศาสตร์แห่งเทพเจ้า หรือวิถีแห่งเทพเจ้า นั่นเอง ชินโตของญี่ปุ่นมีตำนานความเชื่อว่า เทพเจ้ามีมากมายนับไม่ถ้วน ทั้งในป่า บนภูเขา ทะเล แม่น้ำ ลำธาร ในสายลม แม้แต่ในบ้านเรือนและเรือกสวนไร่นาในธรรมชาติที่ที่มีความบริสุทธิ์ล้วนเป็นที่สถิตของเทพเจ้าได้ทั้งสิ้น จึงมีคำที่ว่า "เทพแปดล้านองค์" เป็นการรวมคำเพื่อแสดงว่ามีทวยเทพอยู่มากมาย ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถือให้เป็นลัทธิความเชื่อพื้นเมืองประจำประเทศญี่ปุ่น พิธีกรรมของลัทธิชินโตนี้มาจากวัฒนธรรมท้องถิ่นและธรรมเนียมปฏิบัติต่าง ๆ ในยุคก่อนประวัติศาสตร์ แต่ก็ไม่ได้ถือเป็นพิธีกรรมอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งศาสนาพุทธ และ ลัทธิขงจื๊อ กับ ลัทธิเต๋า รวมทั้งภายหลัง ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ได้เริ่มให้เข้ามาในดินแดนญี่ปุ่น ตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 พิธีกรรมของลัทธิชินโตได้ถูกบันทึกและบัญญัติเป็นครั้งแรกในคัมภีร์โคะจิคิ และจดหมายเหตุนิฮงโชะกิ ในศตวรรษที่ 8 เพื่อตอบโต้ศาสนาที่มีระดับความพัฒนามากกว่าจากแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ตาม งานเขียนในยุคแรกๆก็ยังมิได้บ่งบอกว่าเป็น ลัทธิชินโต แต่งานเขียนในสมัยต่อมาก็ได้บ่งชี้อย่างชัดเจน พร้อมขนบธรรมเนียบของสังคมเกษตรกรรมและเทศกาลประจำปีเข้าไปด้วย รวมไปถึงความเชื่อเรื่องเทพปกรณัมและการกำเนิดโลกต่าง ๆ ซึ่งเล่าถึงต้นกำเนิดของชนชาติญี่ปุ่น ส่วนใหญ่จะหมายถึงเชื้อสายยะมะโตะ และอิสึโมะ ในสมัยนั้น พุทธศาสนาได้แพร่จากจีนเข้าสู่ญี่ปุ่น และมีผสมผสานความเชื่อดั้งเดิม อย่างเช่น ความเชื่อเรื่องเทพเจ้าในลัทธิชินโตและความเชื่อเรื่องพระโพธิสัตว์ในศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น ปัจจุบันนี้ ลัทธิชินโตถูกจัดให้เป็นลัทธิบูชาเทพเจ้าหลายองค์ หรือ พหุเทวนิยม และลัทธิบูชาภูตผีวิญญาณ ที่เน้นความบริสุทธิ์ของพิธีกรรมเป็นอย่างมาก รวมถึงยกย่องเกียรติและความมีตัวตนของเทพเจ้า ซึ่งมีทั้งเทพเจ้าที่มีมาจากการยกบุคคลให้เป็นเทพ หรือการบูชาธรรมชาติ และเทพเจ้ายังสามารถมีลูกได้ด้วย ลัทธิชินโตเป็นลัทธิที่ให้ความสำคัญกับพิธีกรรมทางศาสนาเป็นอันดับหนึ่ง เนื่องจากเป็นวิธีที่จะทำให้ศาสนิกชนเข้าถึงและเป็นหนึ่งเดียวกับเทพเจ้าได้มากที่สุด ลัทธิชินโตยุคใหม่ไม่มีสถาบันที่ที่ยกตัวเป็นผู้ควบคุมส่วนกลาง มีเพียงแต่กลุ่มคนที่พยายามรักษาวิถีปฏิบัติของลัทธิชินโตมาตั้งแต่สมัยบรรพกาลจนถึงปัจจุบัน ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ชินโตได้ถูกยกเลิกจากการเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งในปัจจุบันชินโตเริ่มลดหายไปจากวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดยที่ยังเห็นได้ในปัจจุบันได้แก่ โอมิคุจิ (การดึงฉลากเสี่ยงโชคในศาลเจ้าชินโต) และการเฉลิมฉลอง งานปีใหม่ญี่ปุ่น ที่มีจัดขึ้นตามศาลเจ้าชินโต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชินโต · ดูเพิ่มเติม »

บุษบา ดาวเรือง

ษบา ดาวเรือง (ชื่อเล่น เล็ก) เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและบุษบา ดาวเรือง · ดูเพิ่มเติม »

บูชาร์ นิชานี

ูชาร์ นิชานี (Bujar Nishani; 29 กันยายน ค.ศ. 1966 —) เป็นนักการเมืองชาวแอลเบเนีย เขาเป็นประธานาธิบดีของแอลเบเนียในเดือนกรกฎาคม 2012.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและบูชาร์ นิชานี · ดูเพิ่มเติม »

บูร์ฮันอุดดิน ฮาราฮัป

ูร์ฮันอุดดิน ฮาราฮัป (Burhanuddin Harahap) เป็นนายกรัฐมนตรีของสาธารณรัฐอินโดนีเซียระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและบูร์ฮันอุดดิน ฮาราฮัป · ดูเพิ่มเติม »

บูร์ฮานุดดีน รับบานี

ูร์ฮานุดดีน รับบานี (Burhanuddin Rabbani; برهان‌الدین ربانی, 20 กันยายน ค.ศ. 1940 – 20 กันยายน ค.ศ. 2011) เป็นนักการเมืองชาวอัฟกานิสถาน เป็นประธานาธิบดีอัฟกานิสถานระหว่างปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและบูร์ฮานุดดีน รับบานี · ดูเพิ่มเติม »

บูดีโยโน

บูดีโยโน (Boediono) เป็นรองประธานาธิบดีอินโดนีเซียคนแรกที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในปี พ.ศ. 2552 ภายหลังการปฏิรูปการเมืองและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ร่วมกับซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2486 หมวดหมู่:ชาวชวา หมวดหมู่:นักการเมืองชาวอินโดนีเซีย หมวดหมู่:นักเศรษฐศาสตร์ชาวอินโดนีเซีย หมวดหมู่:มุสลิมชาวอินโดนีเซีย.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและบูดีโยโน · ดูเพิ่มเติม »

บูตีต่อง

ูตีต่อง (Buthidaung) เป็นเมืองในรัฐยะไข่ทางตะวันตกของพม่า อยู่บนฝั่งตะวันตกของแม่น้ำมายู เมืองนี้เกิดน้ำท่วมใหญ่ในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและบูตีต่อง · ดูเพิ่มเติม »

บีนาลี ยึลดือรึม

บีนาลี ยึลดือรึม (Binali Yıldırım; เกิด 20 ธันวาคม 2497) เป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของตุรกี ในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ยึลดือรึมได้ก้าวขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีสืบต่อจากอาห์เม็ด ดาวูโตกลู ที่ได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งไปก่อนหน้านั้น วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ยึลดือรึมได้ประกาศว่าสามารถควบคุมสถานการณ์ในกรุงอังการาและนครอิสตันบูลได้เรียบร้อยแล้วภายหลังจากเกิดการรัฐประหารที่นำโดยกลุ่มทหารจากกองทัพภาคที่ 1 และกองทัพอากาศ หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีตุรกี หมวดหมู่:นักการเมืองชาวตุรกี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและบีนาลี ยึลดือรึม · ดูเพิ่มเติม »

ชนเบอร์เบอร์

นเบอร์เบอร์ (Berber people) เป็นกลุ่มชาติพันธ์ของแอฟริกาเหนือทางตะวันตกของลุ่มแม่น้ำไนล์ ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานกระจัดกระจายอยู่ในบริเวณตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกไปจนถึงโอเอซิสซิวา (Siwa oasis) ในอียิปต์ และจากบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงแม่น้ำไนเจอร์ ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก ในปัจจุบันชนเบอร์เบอร์บางกลุ่มพูดภาษาอาหรับ ชนเบอร์เบอร์ที่พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ในบริเวณที่ว่านี้มีด้วยกันราว 30 ถึง 40 ล้านคนที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นอยู่ในบริเวณแอลจีเรียและโมร็อกโก และเบาบางลงไปทางตะวันออกไปทางมาเกรบ (Maghreb) และเลยไปจากนั้น บริเวณของชนเบอร์เบอร์ ชนเบอร์เบอร์เรียกตนเองด้วยชื่อต่าง ๆ ที่รวมทั้ง “Imazighen” (เอกพจน์ “Amazigh”) ที่อาจจะแปลว่า “ชนอิสระ” ตามความเห็นของนักการทูตและนักประพันธ์ชาวอาหรับเลโอ อาฟริคานัส “Amazigh” แปลว่า “คนอิสระ” แต่ความเห็นนี้ก็ยังเป็นที่โต้แย้งกันเพราะไม่มีรากของความหมายของ “M-Z-Gh” ที่แปลว่า “อิสระ” ในภาษากลุ่มเบอร์เบอร์สมัยใหม่ นอกจากนั้นก็ยังมีคำภาษา Tuareg “amajegh” ที่แปลว่า “ศักดิ์ศรี” (noble) คำเรียกนี้ใช้กันทั่วไปในโมร็อกโก แต่ในบริเวณอื่นในท้องถิ่นก็มีคำอื่นที่เฉพาะเจาะจงลงไปอีกเช่น “Kabyle” หรือ “Chaoui” ที่มักจะใช้กันมากกว่า ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์ก็รู้จักกันในชื่อต่างๆ เช่นในลิเบียโบราณโดยชาวกรีกโบราณ ว่า “นูมิเดียน” และ “มอเนเทเนีย” โดยโรมัน และ “มัวร์” โดยชายยุโรปในยุคกลาง ภาษาอังกฤษสมัยปัจจุบันอาจจะแผลงมาจากภาษาอิตาลีหรืออาหรับแต่รากที่ลึกไปกว่านั้นไม่เป็นที่ทราบ ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันก็ได้แก่นักประพันธ์ชาวโรมันอพูเลียส (Apuleius), จักรพรรดิโรมันเซ็พติมิอัส เซเวอรัส และ นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันคือดารานักฟุตบอลซีเนอดีน ซีดาน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและชนเบอร์เบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาริดา สุไลมาน

ร.ฟาริดา สุไลมาน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ อดีตรองโฆษกกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และเป็นภริยาของมุข สุไลมาน โฆษกพรรคมาตุภูมิ เคยสังกัดพรรคการเมืองหลายพรรค อาทิ พรรคมาตุภูมิ พรรคไทยรักไทย ปัจจุบันสังกัดพรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฟาริดา สุไลมาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟารูก มะห์มูด

ฟารูก มะห์มูด (Farook Mahmood) เป็นทั้งนักธุรกิจ, นักการกุศล และนักสังคมสงเคราะห์ชาวอินเดีย เขาเป็นประธานและกรรมการผู้จัดการของซิลเวอร์ไลน์กรุ๊ป ซึ่งเป็นธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ที่ตั้งอยู่ ณ บังกาลอร์ เขายังเป็นเลขานุการกิตติมศักดิ์ของอัล-อามีนเอ็ดดูเคชันแนลโซไซตี และเป็นประธานผู้ก่อตั้งสมาคมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์แห่งชาติในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฟารูก มะห์มูด · ดูเพิ่มเติม »

ฟิตน่า

Fitna เป็นภาพยนตร์โดยเคร์ต วิลเดร์ส นักการเมืองชาวดัตช์ มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้นับถือศาสนาอิสลามและคำสอนในอัลกุรอาน เผยแพร่ครั้งแรกวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2551 ในอินเทอร์เน็ต ชื่อของภาพยนตร์มาจากคำในภาษาอาหรับ วิลเดร์สเผยแพร่ภาพยนตร์นี้ครั้งแรกในเว็บไซต์วิดีโอ Liveleak เมื่อเวลา 7 นาฬิกาของวันที่ 27 มีนาคม ตามเวลาท้องถิ่นของประเทศเนเธอร์แลนด์ อย่างไรก็ตาม Liveleak ถอดวิดีโอนี้ออกจากเว็บไซต์ในเวลาต่อมา ให้เหตุผลว่าเพื่อปกป้องพนักงานขององค์กรจากคำขู่ ภาพยนตร์นี้แสดงบางบท (ซูเราะหฺ) จากอัลกุรอาน ประกอบกับข่าวหนังสือพิมพ์และคลิปสื่อต่างๆ ปัจจุบันกูเกิลได้มีการนำมาวิดีโอจาก Liveleak โฮสต์ไว้ให้ผู้เข้าชมได้ที่เว็บกูเกิลวิดีโอ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฟิตน่า · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1179

ทธศักราช 1179 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 636 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพ.ศ. 1179 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร

การปกครองของบริเตนในพม่า (British rule in Burma) คือช่วงที่พม่าอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเชื้อสายมลายู

วพม่าเชื้อสายมลายู หรือ ปะซู กลุ่มชาติพันธุ์ที่สำคัญกลุ่มหนึ่งที่กระจายตัวลงมาตั้งแต่ตอนบนจนถึงตอนล่างของหมู่เกาะมะริดในเขตแดนของเขตตะนาวศรีทางตอนใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพม่าเชื้อสายมลายู · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเชื้อสายอินเดีย

วพม่าเชื้อสายอินเดีย เป็นชนกลุ่มน้อยกลุ่มหนึ่งที่มีจำนวนมาก และแทรกซึมไปทั่วประเทศพม่า ซึ่งประเทศพม่า และประเทศอินเดียเคยมีความสัมพันธ์มายาวนานหลายพันปี รวมไปถึงการเป็นประเทศเพื่อนบ้าน การนำนำศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีมาใช้ และอดีตอาณานิคมของอังกฤษร่วมกัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพม่าเชื้อสายอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเชื้อสายจีน

วพม่าเชื้อสายจีน ชนกลุ่มน้อยกลุ่มหนึ่งของประเทศพม่า ปัจจุบันมีตัวเลขจากทางการรัฐบาลพม่าว่าชาวพม่าเชื้อสายจีนมีจำนวนเพียงร้อยละ 3 แต่ตัวเลขที่แท้จริงเชื่อว่าน่าจะมีชาวพม่าเชื้อสายจีนมากกว่าจำนวนดังกล่าว เนื่องจากชาวจีนส่วนใหญ่ได้สมรสข้ามชาติพันธุ์กับชาวพม่าและกลุ่มชนพื้นเมืองเพื่อหลีกเลี่ยงการเลือกปฏิบัติ ในช่วงปี ค.ศ. 1990 ชาวจีนนับหมื่นคนได้อพยพเข้ามาทางตอนบนของพม่าอย่างผิดกฎหมาย และอาจจะไม่ได้นับรวมด้วย อันเนื่องมาจากการทำสำมะโนครัวที่ขาดความน่าเชื่อถือ ขณะเดียวกันกลุ่มชนที่มีเชื้อสายจีนที่อาศัยในภาคตะนาวศรีทางตอนใต้ของพม่าใกล้ชายแดนประเทศไทย มักมีจินตนาการและมิติวัฒนธรรมร่วมกับชาวไทยในฝั่งไทย เช่นการใช้ภาษาไทยถิ่นใต้ การตั้งเข็มนาฬิกาตรงกับเวลาในประเทศไทย การทำบุญและการบวชแบบไทย เป็นต้น ปัจจุบันชาวพม่าเชื้อสายจีนส่วนใหญ่ เป็นผู้กุมเศรษฐกิจของประเทศพม่า นอกจากนี้พวกเขายังเข้ารับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในสัดส่วนสูง และเป็นกลุ่มที่มีเปอร์เซนต์จากการรับการศึกษาระดับสูงในประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพม่าเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคการตื่นตัวแห่งชาติ

ตราประจำพรรคการตื่นตัวแห่งชาติ พรรคการตื่นตัวแห่งชาติ (National Awakening Party, Partai Kebangkitan Bangsa, คำย่อ: PKB) เป็นพรรคการเมืองในอินโดนีเซีย หัวหน้าพรรคคือมูไฮมิน อิสกันดาร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพรรคการตื่นตัวแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคมาชูมี

ซูการืโนในการประชุมพรรคมาชูมี พ.ศ. 2497 พรรคมาชูมี (Masyumi Party) หรือ สภาแห่งสมาคมมุสลิมแห่งอินโดนีเซีย (Partai Majelis Syuro Muslimin Indonesia) เป็นพรรคการเมืองนิยมอิสลามพรรคหลักในอินโดนีเซีย พรรคนี้ถูกคว่ำบาตรเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพรรคมาชูมี · ดูเพิ่มเติม »

พรรคยุติธรรมรุ่งเรือง

รรคยุติธรรมรุ่งเรือง (Prosperous Justice Party; ภาษาอินโดนีเซีย: Partai Keadilan Sejahtera (PKS)) บางครั้งเรียกพรรคยุติธรรมและความรุ่งเรือง เป็นพรรคการเมืองในอินโดนีเซีย เป็นพรรคนิยมอิสลาม เรียกร้องให้ศาสนาอิสลามมีบทบาทเป็นแกนกลางของชีวิต หัวหน้าพรรคคนปัจจุบันคือลุทฟี ฮาซัน อีซัก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพรรคยุติธรรมรุ่งเรือง · ดูเพิ่มเติม »

พรรคอิสลามแห่งมาเลเซีย

รรคอิสลามแห่งมาเลเซีย หรือ พรรคปาส (Parti Islam Se-Malaysia) เป็นพรรคการเมืองในมาเลเซียที่นิยมแนวทางทางศาสนาอิสลาม พยายามต่อสู้เพื่อผลักดันให้รัฐธรรมนูญเพิ่มหลักการของศาสนาอิสลามเข้าไปด้วย พรรคนี้ประสบความสำเร็จในการทำให้สภานิติบัญญัติของรัฐกลันตัน ผ่านกฎหมายที่มีการลงโทษแบบอิสลามได้ใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพรรคอิสลามแห่งมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พรรคดาวเดือนเสี้ยว

รรคดาวเดือนเสี้ยว (Crescent Star Party ภาษาอินโดนีเซีย: Partai Bulan Bintang) เป็นพรรคการเมืองในอินโดนีเซีย จุดกำเนิดของพรรคย้อนไปถึงการคว่ำบาตรพรรคมัสยูมีโดยประธานาธิบดีซูการ์โนใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพรรคดาวเดือนเสี้ยว · ดูเพิ่มเติม »

พระพุทธรูปแห่งบามียาน

ระพุทธรูปแห่งบามียาน (د بودا بتان په باميانو کې De Buda butan pe bamiyano ke; تندیس‌های بودا در باميان tandis-ha-ye buda dar bamiyaan) เป็นพระพุทธรูปยืนจำนวนสององค์ที่สลักอยู่บนหน้าผาสูงสองพันห้าร้อยเมตรในหุบผาบามียาน ณ จังหวัดบามียาน ในพื้นที่ฮาซาราจัตทางตอนกลางของประเทศอัฟกานิสถาน อันห่างจากกรุงคาบูลไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณสองร้อยสามสิบกิโลเมตร หมู่พระพุทธรูปนี้สถาปนาขึ้นในพุทธศตวรรษที่ 10 ตามศิลปะแบบกรีกโบราณ หมู่พระพุทธรูปนี้ถูกทำลายด้วยระเบิดไดนาไมต์เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2544 ตามคำสั่งของนายมุลลอฮ์ มุฮัมมัด อุมัร ประมุขของรัฐบาลฏอลิบาน ซึ่งให้เหตุผลว่ากฎหมายอิสลามไม่อนุญาตให้บูชารูปเคารพ ในขณะที่นานาประเทศต่างการประณามการกระทำของรัฐบาลฏอลิบานอย่างรุนแรง เพราะหมู่พระพุทธรูปนี้มิใช่สมบัติของบุคคลใดบุคคลหนึ่งแต่เป็น "มรดกโลก" อันเป็นสาธารณสมบัติและความภาคภูมิใจของคนทั้งโลก โดยญี่ปุ่นและสวิตเซอร์แลนด์ร่วมใจกันสนับสนุนให้มีการปฏิสังขรณ์พระพุทธรูปนี้อีกครั้งหนึ่ง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระพุทธรูปแห่งบามียาน · ดูเพิ่มเติม »

พระยาห์เวห์

หรียญเงินราวสี่ศตวรรษก่อนคริสตกาลที่พบในอิสราเอล เชื่อว่าบุคคลที่ประทับอยู่บนสุริยบัลลังก์มีปีกนั้นคือพระยาห์เวห์ พระยาห์เวห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 647-8 (Yahweh) พระเยโฮวาห์ (Jahovah) พระยะโฮวา (ศัพท์พยานพระยะโฮวา) (Yahova) ยฮวฮ (ศัพท์ศาสนายูดาห์) (יהוה; YHWH) เป็นพระนามของพระเป็นเจ้าที่ปรากฏในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิม (ทานัค) ในคัมภีร์ไบเบิลฉบับภาษาไทยเล่มเก่านั้นปรากฏพระนามนี้อยู่หลายครั้ง ในคัมภีร์ดั้งเดิมเขียนด้วยอักษร 4 ตัว แต่เนื่องจากอักษร 4 ตัว (ยฮวฮ|YHWH) นั้นผู้เขียนไม่ได้ใส่สระไว้ ทำให้การออกเสียงที่ถูกต้องถูกถ่ายทอดต่อกันมาโดยการพูด คัมภีร์ดั้งเดิมหรือต้นฉบับปรากฏพระนามนี้ประมาณ 7 พันครั้ง ในฉบับภาษาไทยเล่มเก่า ๆ ยังปรากฏพระนามนี้อยู่ การแปลในยุคต่อ ๆ มาได้เปลี่ยนพระนามมา 3 ครั้ง ปัจจุบันสะกดพระนามนี้ว่า ยาห์เวห์ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Yahweh การทับศัพท์ เยโฮวาห์ มีต้นกำเนิดมาจากการที่นักวิชาการชาวยุโรปถอดอักษรฮีบรู יהוה เป็นอักษรโรมัน 4 ตัวได้เป็น YHWH แล้วผสมสระจึงได้การออกเสียงเป็น "เยโฮวาห์" ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Jehovah การทับศัพท์นี้แพร่หลายไปในภาษาต่าง ๆ รวมทั้งพระคัมภีร์ไบเบิลภาษาไทยฉบับเก่า ๆ เช่น ฉบับ 1971 ยังปรากฏพระนาม "เยโฮวาห์" นี้อยู่ นอกจากนี้ยังมีการทับศัพท์ว่า "ยะโฮวา" ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Yahovah ในคัมภีร์ไบเบิล ฉบับ 1940 อีกด้วย แต่ในปัจจุบันนักวิชาการนิยมทับศัพท์ใหม่ว่า ยาห์เวห์ ตามหลักฐานที่ค้นพบและเป็นที่ยอมรับมากที่สุด ยฮวฮ คือพระนามของพระเป็นเจ้าสูงสุด ซึ่งปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1940 หรือ "เยโฮวาห์" ซึ่งปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 1971 หรือ "ยาห์เวห์" ซึ่งปรากฏในพระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับ 2011 แต่เพื่อให้เกิดความเป็นสากลในทุกนิกาย ทั้งใน โรมันคาทอลิก โปรเตสแตนต์ อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ เมื่อออกพระนามพระเป็นเจ้าจะออกเสียงว่า "พระเจ้า" และ "ยฮวฮ" ในคัมภีร์ฮีบรู (ทานัค) ทุกฉบับ ในภาษาฮีบรู ยาห์เวห์ แปลว่า เราเป็นผู้ซึ่งเราเป็น หรือแปลได้อีกว่า เราอยู่(ด้วย) ซึ่งก็คือ พระองค์ทรงฤทธิ์ที่จะเป็นอะไรก็ได้ตามพระประสงค์ของพระอง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระยาห์เวห์ · ดูเพิ่มเติม »

พระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา)

ระยาจุฬาราชมนตรี นามเดิม สัน เป็นบุตรพระยาจุฬาราชมนตรี (สิน อหะหมัดจุฬา) มีชื่อทางศาสนาว่า มิซซา อาลีระชา เกิดเมื่อ พ.ศ. 2411 เริ่มรับราชการเป็นมหาดเล็กในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เป็นปลัดกรมท่าขวามีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงราชาเศรษฐี เมื่อ พ.ศ. 2432 แล้วเลื่อนเป็นพระราชเศรษฐี ตามลำดับ ต่อมาย้ายไปรับราชการกระทรวงยุติธรรมฝ่ายการเงินแล้วเลื่อนขึ้นเป็นจ่าศาลต่างประเทศ จนวันที่ 12 มกราคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระยาจุฬาราชมนตรี (สัน อหะหมัดจุฬา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาจุฬาราชมนตรี (เซน)

ระยาจุฬาราชมนตรี (เซน)เป็นบุตรของพระยาเพชรพิชัย (ใจ)กับคุณหญิงแฉ่ง เกิดเมื่อปีใดไม่ปรากฏ บิดาและน้องชายของท่านเปลี่ยนไปนับถือศาสนาพุทธในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ส่วนท่านยังนับถือศาสนาอิสลาม นิกายชีอะหฺต่อมา เข้ารับราชการในกรมท่าขวาและกองอาสาจามจนได้รับตำแหน่งจุฬาราชมนตรี ได้รับพระราชทานเกียรติยศเสมอเจ้าพระยาพระคลังแต่มิได้ตั้งให้เป็นเจ้าพระยา ไม่ทราบว่าเสียชีวิตเมื่อใด บุตรของท่านชื่อ ก้อนแก้ว ได้เป็นจุฬาราชมนตรีคนแรกในสมัยรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระยาจุฬาราชมนตรี (เซน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ซุ่ย ซุ่ยยัง)

ระยาตับเหล็ก พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ซุ่ย ซุ่ยยัง) อดีตเจ้าเมืองชุมพร เป็นบุตร นายถิ่น น่าจะเป็นคนเดียวกับ พระยาเพชรกำแหงสงคราม (ถิ่น) เจ้าเมืองชุมพร และนางไผ่ยา (น้อย) และเป็นพ่อตาของ พระศรีราชสงคราม (ปาน ศรียาภัย) รองเจ้าเมืองไชยา (ฝ่ายทหาร) หรือ ปลัดเมืองไชยา ซึ่งเป็นบิดาของ พระยาวจีสัตยารักษ์ (ขำ ศรียาภัย) ผู้กำกับการถือน้ำพิพัฒน์สัต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระยาเพชรกำแหงสงคราม (ซุ่ย ซุ่ยยัง) · ดูเพิ่มเติม »

พระรามาธิบดี (พระยาจันทร์)

ระรามาธิบดี (พระยาจันทร์) หรือ พระรามาธิบดี (อิบราฮิม) เป็นพระมหากษัตริย์กัมพูชาเพียงพระองค์เดียวที่นับถือศาสนาอิสลาม พระองค์ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระรามาธิบดี (พระยาจันทร์) · ดูเพิ่มเติม »

พระวรสารนักบุญบารนาบัส

ระวรสารนักบุญบารนาบัส (Gospel of Barnabas) เป็นพระวรสารนอกสารบบคัมภีร์ไบเบิล อ้างว่าบารนาบัสเป็นผู้เขียนขึ้น กล่าวถึงชีวประวัติของพระเยซูตั้งแต่ประสูติ จนถึงเวลาที่ขึ้นสวรรค์ เอกสารตัวเขียนฉบับเก่าที่สุดที่เคยพบมี 2 ฉบับ เป็นภาษาสเปนและภาษาอิตาลี มี 222 บท (ฉบับภาษาอิตาลี).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระวรสารนักบุญบารนาบัส · ดูเพิ่มเติม »

พระวิญญาณบริสุทธิ์

ระวิญญาณบริสุทธิ์ในรูปนกพิราบล้อมรอบด้วยบรรดาทูตสวรรค์ วาดโดยกอร์ราโด จีอากวินโต ราวคริสต์ทศวรรษ 1750 พระวิญญาณบริสุทธิ์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ พระจิต (ศัพท์คาทอลิกและออร์ทอดอกซ์) (Holy Spirit; Holy Ghost) เป็นวิญญาณชนิดหนึ่งตามความเชื่อในศาสนาอับราฮัม อันได้แก่ ศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม แต่แต่ละศาสนาก็มีความเชื่อเกี่ยวกับพระวิญญาณบริสุทธิ์แตกต่างกัน บุคคลผู้ที่ได้รับพระวิญญาณบริสุทธิ์ จะมีความคิดความอ่านไปในวิถีทางเดียวกับพระเจ้า คริสต์ศาสนิกชนส่วนใหญ่ (นิกายโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ และโปรเตสแตนต์) เชื่อเรื่องตรีเอกภาพ โดยถือว่าพระเจ้าพระองค์เดียวนั้นทรงมีสามพระบุคคลแตกต่างกัน คือ พระบิดา พระบุตร และพระวิญญาณบริสุทธิ์ ดังนั้นจึงถือพระวิญญาณบริสุทธิ์เป็นพระเจ้าด้วย แต่คริสต์ศาสนิกชนอีกหลายนิกาย (เช่น พยานพระยะโฮวา) รวมทั้งศาสนาอับราฮัมอื่น ๆ (คือชาวยิวและชาวมุสลิม) ก็ไม่ยอมรับความเชื่อนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระวิญญาณบริสุทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวิหารในกรุงเยรูซาเลม

ระวิหารในมโนทัศน์ในหนังสือเอสเซเคียล 40-47 พระวิหารในกรุงเยรูซาเลม (Temple in Jerusalem) หรือพระวิหารศักดิ์สิทธิ์ (Holy Temple; בית המקדש (Bet HaMikdash.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระวิหารในกรุงเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فؤاد الأول‎) (26 มีนาคม ค.ศ. 1868-28 เมษายน ค.ศ. 1936) สุลต่านและกษัตริย์อียิปต์และซูดาน, องค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ พระองค์เป็นกษัตริย์องค์ที่เก้าแห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์เป็นสุลต่านแห่งอียิปต์และซูดานเมื่อ ค.ศ. 1917 โดยครองราชย์ต่อจากพระเชษฐาของพระองค์ คือ สุลต่านฮุสเซน คามิล โดยพระองค์ตั้งตนเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของอียิปต์ หลังจากพ้นจากการปกครองของสหราชอาณาจักร เมื่อ ค.ศ. 1922.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ (الملك فؤاد الثاني) (พระราชสมภพ 16 มกราคม ค.ศ. 1952-) กษัตริย์แห่งอียิปต์และซูดาน และองค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ แห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลีองค์สุดท้าย โดยได้รับการสถาปนาเป็นกษัตริย์ขณะที่พระองค์มีพระชันษาเพียง 7 เดือน เนื่องจากพระราชบิดา คือ พระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ทรงประกาศสละราชสมบัต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอมานุลเลาะห์

อมานุลลอหฺ ข่าน แห่งราชวงศ์ดุรรานี พระเจ้าอมานุลเลาะห์กับมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก ใน อังการา เมื่อ พ.ศ. 2471 พระเจ้าอมานุลเลาะห์ หรืออมานุลลอหฺ ข่าน (Amanullah; ภาษาพาซตู, ภาษาเปอร์เซีย, ภาษาอูรดู, ภาษาอาหรับ: أمان الله خان) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งอัฟกานิสถาน ครองราชย์ระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระเจ้าอมานุลเลาะห์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจั่นซิตา

ั่นซิตา (Kyanzittha, ကျန်စစ်သား; พ.ศ. 1627 - 1656) เป็นพระเจ้ากรุงพุกาม และถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์พม่าไม่แพ้พระเจ้าอโนรธามังช่อ เนื่องด้วยพระองค์ทรงเป็นธรรมกษัตริย์ที่ทำนุบำรุงศาสนาพุทธจนเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด จนเป็นที่ยอมรับทั้งจากชาวพม่าและชาวมอญ พระเจ้าจั่นซิตาเป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในรัชสมัยพระเจ้าอโนรธา เมื่อพระเจ้าซอลูพระราชโอรสของพระเจ้าอโนรธาขึ้นครองราชย์ พระองค์มิได้ประกอบภารกิจอันใดด้วยความสามารถพระองค์เอง แต่จะทรงใช้และปรึกษาเหล่าเสนาอำมาตย์อยู่บ่อย ๆ ในปลายรัชสมัยพระเจ้าซอลู งะรมัน เจ้าเมืองพะโค ซึ่งเป็นชาวมอญได้ก่อกบฏขึ้นจับตัวพระเจ้าซอลูเป็นตัวประกัน จั่นซิตาซึ่งครองเมืองถิเลงอยู่ ไม่สามารถยกทัพกลับมาช่วยพระองค์ได้ทัน งะรมันได้สังหารพระเจ้าซอลูที่เมืองพวาสอ และพยายามเข้ายึดครองอาณาจักรพุกามแต่จั่นซิตาได้เข้าขัดขวาง เหล่าเสนาอำมาตย์ และพระธัมมทัสสีมหาเถระที่ปรึกษาองค์สำคัญของพระเจ้าอโนรธา จึงได้อัญเชิญจั่นซิตาขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์ เมื่อขึ้นครองราชย์ จั่นซิตามีพระนามว่า ศรีตรีภูวนาทิตยธัมมมราชาTaw, Blagden 1911: 216 ในภาษาสันสกฤต ในจารึกพม่าเรียกพระองค์ว่า "ถิลุงมัง" (T’iluin Man) แปลว่า "กษัตริย์แห่งถิเลง" แต่เนื่องจากจั่นซิตามิได้มีเชื้อสายของกษัตริย์ พระองค์จึงอ้างสิทธิธรรมในการครองราชสมบัติว่าพระองค์ทรงเป็นภาคหนึ่งของพระโพธิสัตว์ และเป็นองค์อวตารของพระวิษณุของชาวปยูอีกด้วย สมัยนี้จึงถือเป็นรัชสมัยที่ศิลปศาสตร์แบบมอญเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในพุกาม ในรัชสมัยของพระเจ้าจั่นซิตา ทรงติดต่อกับต่างประเทศเป็นอย่างมาก ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระเจ้าจั่นซิตา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (Edward I of England) (17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 – 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307) หรือพระนามเดิมคือ เอ็ดเวิร์ด ลองแชงก์ส (Edward Longshanks) เป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษในราชวงศ์แพลนแทเจเนต พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 รู้จักกันในนามว่า “Longshanks” เพราะพระวรกายที่สูงราว 6 ฟุต 2 นิ้ว หรือ “ผู้พระราชทานกฎหมาย” (the Lawgiver) เพราะทรงเป็นผู้ปฏิรูปกฎหมายของอังกฤษ และ “ผู้ปราบชาวสกอต” (Hammer of the Scots) เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 ที่พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ในกรุงลอนดอนของประเทศอังกฤษ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฮนรีที่ 3 แห่งอังกฤษ และพระนางเอลินอร์แห่งพรอว็องส์ ได้อภิเษกสมรสกับเอลินอร์แห่งคาสตีล และต่อมากับพระนางมาร์เกอรีตแห่งฝรั่งเศส และทรงราชย์ระหว่างวันที่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1272 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 ที่บรัฟบายแซนด์ส คัมเบอร์แลนด์ อังกฤษ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ด เป็นพระมหากษัตริย์ผู้ได้รับชัยชนะต่อเวลส์และทรงพยายามปราบปรามสกอตแลนด์แต่ไม่สำเร็จ แม้ว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 จะเป็นพระมหากษัตริย์อังกฤษพระองค์ที่ 4 ที่มีพระนามว่า “เอ็ดเวิร์ด” หลังจาก พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้อาวุโส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดมรณสักขี และพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดธรรมสักขี แต่การลำดับนามเดียวกันด้วยตัวเลขเป็นประเพณีของชาวนอร์มัน ฉะนั้นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดสามพระองค์ที่ทรงปกครองอังกฤษก่อนหน้าการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันจึงมิได้รับการเรียงลำดับแต่ทรงใช้พระสมัญญานามเพื่อบ่งความแตกต่างของแต่ละพระองค์แทน เอ็ดเวิร์ด ลองแชงค์จึงกลายเป็นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเป็นเจ้า

ระนามพระยาห์เวห์ในภาษาฮีบรู พระเป็นเจ้า (God) หมายถึง เทวดาผู้เป็นใหญ่ ถือเป็นเทวดาเพียงพระองค์เดียวตามความเชื่อแบบเอกเทวนิยม หรือเป็นเทวดาผู้เป็นสารัตถะเดียวของเอกภพตามความเชื่อแบบพหุเทวนิยมSwinburne, R.G. "God" in Honderich, Ted.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพระเป็นเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พฤษภาคม พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพฤษภาคม พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พิเชฏฐ์ กาลามเกษตร์

รองศาสตรจารย์พิเชฏฐ์ กาลามเกษตร์ เป็นนักศึกษาระดับปริญญาโทรุ่นแรกของสาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบซึ่งบุกเบิกขึ้นมา ณ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยท่านร.ดร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพิเชฏฐ์ กาลามเกษตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พิเชษฐ สถิรชวาล

ษฐ อับดุรฺรอชีด สถิรชวาล อดีต ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีทำหน้าที่ผู้แทนการค้าไทย อดีตแกนนำพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคมและอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมในรัฐบาล ดร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพิเชษฐ สถิรชวาล · ดูเพิ่มเติม »

พีรยศ ราฮิมมูลา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พีรยศ ราฮิมมูลา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ (สำรอง) นักวิชาการด้านการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและพีรยศ ราฮิมมูลา · ดูเพิ่มเติม »

กบฏดุซงญอ

กบฏดุซงญอ (มลายูปัตตานี: ปือแร ดุซงญอ แปลว่า "ดุซงญอลุกขึ้นสู้" หรือ "สงครามดุซงญอ" (Dusun Nyor Rebellion) เป็นเหตุการณ์การปะทะระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับกลุ่มชาวไทยมุสลิมเชื้อสายมลายู ระหว่าง 25 - 28 เมษายน พ.ศ. 2491 ที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส เป็นเหตุให้ทั้งสองฝ่ายมีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก หลังเหตุการณ์ มีการสร้างอนุสาวรีย์ลูกปืนเพื่อรำลึกถีงเหตุการณ์นี้ แต่อนุสาวรีย์นี้ไม่เป็นที่รู้จักมากนัก เหตุการณ์กบฏนี้ ได้มีผู้กล่าวถึงอย่างกว้างขวางอีกครั้ง เมื่อเกิดเหตุการณ์ "กรณีกรือเซะ" เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2547 จนมีผู้เสียชีวิต 108 ศพ ซึ่งวันนั้นเป็นวันครบรอบ 56 ปีเหตุการณ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกบฏดุซงญอ · ดูเพิ่มเติม »

กรมการศาสนา

กรมการศาสนา (Department of Religious Affairs) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม มีหน้าที่การดำเนินงานของรัฐด้านศาสนา โดยการทำนุบำรุงส่งเสริมและให้ความอุปถัมภ์คุ้มครองกิจการศาสนาพุทธและศาสนาอื่นๆ ที่ทางราชการรับรอง (ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิกข์) ตลอดจนส่งเสริมพัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ส่งเสริมความเข้าใจอันดี และสร้างความสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งดำเนินการเพื่อให้คนไทยนำหลักธรรมของศาสนามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เป็นคนดีมีคุณธรรม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกรมการศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

กระจุกดาวลูกไก่

กระจุกดาวลูกไก่ หรือ กระจุกดาวไพลยาดีส (Pleiades) หรือวัตถุเมสสิเยร์ M45 หรือ ดาวพี่น้องทั้งเจ็ด เป็นกระจุกดาวเปิดในกลุ่มดาววัว ประกอบด้วยดาวฤกษ์ระดับ B ที่มีประวัติการสังเกตมาตั้งแต่สมัยกลาง นับเป็นหนึ่งในกระจุกดาวที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด และอาจเป็นกระจุกดาวที่มีชื่อเสียงมากที่สุดและสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่า กระจุกดาวนี้ประกอบด้วยดาวฤกษ์สีน้ำเงินที่มีอายุราว 100 ล้านปี แต่เดิมเคยเชื่อว่าเศษฝุ่นที่ทำให้เกิดการสะท้อนแสงจาง ๆ เรืองรองรอบดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดน่าจะเป็นเศษที่หลงเหลือจากการก่อตัวของกระจุกดาว (จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เนบิวลามายา ตามชื่อดาวมายา) แต่ปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์แล้วว่าไม่มีความเกี่ยวข้องกัน เป็นเพียงฝุ่นเมฆในสสารระหว่างดาวที่ดาวฤกษ์กำลังเคลื่อนผ่านเท่านั้น นักดาราศาสตร์คาดการณ์ว่ากระจุกดาวนี้จะมีอายุต่อไปอีกอย่างน้อย 250 ล้านปี หลังจากนั้นก็จะกระจัดกระจายออกไปเนื่องจากปฏิกิริยาแรงโน้มถ่วงที่เกิดจากดาราจักรเพื่อนบ้านใกล้เคียง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกระจุกดาวลูกไก่ · ดูเพิ่มเติม »

กระแซ

กระแซ (Cassay) บ้างเรียก เมเต (Meitei), มีเต (Meetei) หรือ มณิปุรี (Manipuri,, Census of India, 2001 मणिपुरी) เป็นชาติพันธุ์หนึ่งอาศัยอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย และเป็นประชากรส่วนใหญ่ของรัฐมณีปุระ ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณที่ราบตอนกลางของรัฐมณีปุระ และยังพบอีกว่ามีจำนวนไม่น้อยอาศัยดินแดนข้างเคียงเช่น รัฐอัสสัม, รัฐเมฆาลัย และรัฐตริปุระ ทั้งยังพบการตั้งถิ่นฐานในประเทศอื่น ๆ ใกล้เคียงคือประเทศบังกลาเทศ และพม่า ชาวกระแซจะใช้ภาษามณีปุระ ซึ่งจัดอยู่ในตระกูลภาษาทิเบต-พม่า ทั้งยังเป็นหนึ่งในยี่สิบสองภาษาราชการของประเทศอินเดียตามรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกระแซ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชา

แผนที่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในกัมพูชา (พ.ศ. 2515) กลุ่มชาติพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกัมพูชาคือชาวเขมร สำหรับชนกลุ่มน้อยที่มีมากที่สุดคือชาวเวียดนาม อีกจำนวนหนึ่งเป็นลูกหลานของพ่อค้าชาวจีน และกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองเช่นชาวม้ง พนองและไทรวมทั้งกลุ่มอื่นๆที่เรียกชาวเขมรบนหรือแขมร์เลอ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนอิหร่าน

ูมิศาสตร์การกระจายของภาษากลุ่มอิหร่าน กลุ่มชนอิหร่าน (Iranian peoples) เป็นกลุ่มชาติพันธ์ของตระกูลอินโด-ยูโรเปียนที่ตั้งถิ่นฐานส่วนใหญ่อยู่ในบริเวณที่ราบสูงอิหร่าน โดยผู้พูดภาษาอยู่ในตระกูลภาษากลุ่มอิหร่านและชาติพันธุ์ของสังคมที่ยังคงมีอยู่ในปัจจุบันเช่นชาวเปอร์เซีย, ชาวออสเซเตีย, ชาวเคิร์ด, ชาวปาทาน, ชาวทาจิก, ชาวบาโลช, และZaza People Lurs.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกลุ่มชนอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชนเตอร์กิก

กลุ่มชนเตอร์กิก (Turkic peoples) เป็นกลุ่มชนยูเรเชียที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือ กลาง และตะวันตกของยูเรเชียผู้พูดภาษาที่อยู่ในตระกูลภาษากลุ่มเตอร์กิก, Encyclopædia Britannica, Online Academic Edition, 2008 ชนในกลุ่มชนเตอร์กิกมีลักษณะวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์บางอย่างร่วมกัน คำว่า “เตอร์กิก” เป็นคำที่ใช้แทนกลุ่มชาติพันธุ์/ภาษา (ethno-linguistic group) ของชาติพันธุ์ของสังคมที่ยังคงมีอยู่ในปัจจุบันเช่นชาวอาเซอร์ไบจาน, ชาวคาซัคสถาน, ชาวตาตาร์, ชาวคีร์กีซ, ชาวตุรกี, ชาวเติร์กเมน, ชาวอุยกูร์, ชาวอุซเบกิสถาน, ชาวฮาซารา, ชาวการากัลปัก ชาวโนกาย ชาวการาเชย์-บัลการ์ ชาวตาตาร์ไซบีเรีย ชาวตาตาร์ไครเมีย ชาวชูวาช ชาวตูวัน ชาวบัชกีร์ ชาวอัลไต ชาวยาคุตส์ ชาวกากาอุซ และรวมทั้งประชาชนในรัฐและจักรวรรดิเตอร์กิกในอดีตเช่นฮั่น, บัลการ์, คูมัน, ชนอาวาร์, เซลจุค, คาซาร์, ออตโตมัน, มามลุค, ติมูริด และอาจจะรวมทั้งซฺยงหนู (Xiongnu).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกลุ่มชนเตอร์กิก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณ

กลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณ (Old South Arabian) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีความใกล้เคียงกัน 4 ภาษา ที่ใช้พูดทางตอนใต้ของคาบสมุทรอาระเบีย ซึ่งภาษาเหล่านี้ต่างจากภาษาอาหรับคลาสสิก กลุ่มผู้พูดภาษาเซมิติกที่ไม่ได้อพยพขึ้นเหนือได้เกิดการพัฒนาของกลุ่มภาษาใหม่ที่เรียกว่าเซมิติกตะวันตกเฉียงใต้ ภาษาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ภาษาซาบาเอียน ภาษามินาเอีย ภาษากวาตาบาเนีย และภาษาฮาดรามัวติก กลุ่มนี้จัดเป็นสาขาตะวันตกของกลุ่มภาษาเซมิติกใต้ ภาษาในกลุ่มนี้มีระบบการเขียนเป็นของตนเองคืออักษรอาระเบียใต้ ต่อมาได้พัฒนาไปเป็นอักษรเอธิโอปิก มีจุดกำเนิดเช่นเดียวกับอักษรของกลุ่มภาษาเซมิติกอื่นๆ การเข้ามาของศาสนาอิสลามทำให้ภาษาอาหรับคลาสสิกเข้ามาเป็นภาษากลางแทนที่ภาษาเหล่านี้ ปัจจุบันเหลือเพียงข้อความโบราณและจารึกบางส่วนและยังมีอิทธิพลต่อภาษาอาหรับท้องถิ่นในบริเวณนั้นเช่นเดียวกับการที่ภาษาคอปติกมีอิทธิพลต่อภาษาอาหรับอียิปต์ หมวดหมู่:กลุ่มภาษาเซมิติก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกลุ่มภาษาอาระเบียใต้โบราณ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาอิหร่าน

การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของผุ้พูดกลุ่มภาษาอิหร่าน กลุ่มภาษาอิหร่านเป็นสาขาย่อยของกลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านที่อยู่ในตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน ภาษาอเวสตะถือเป็นภาษาที่เก่าที่สุดของกลุ่มนี้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 150 - 200 ล้านคน ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาเปอร์เซีย (ประมาณ 70 ล้านคน) ภาษาพาซตู (ประมาณ 40 ล้านคน) ภาษาเคิร์ด (35 ล้านคน) และภาษาบาโลชิ (ประมาณ 7 ล้านคน).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกลุ่มภาษาอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาทิเบต

กลุ่มภาษาทิเบต (Tibetan languages) เป็นกลุ่มย่อยของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พูดโดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกับเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต ภาคเหนือของอินเดียในบัลติสถาน ลาดัก เนปาล สิกขิม และภูฏาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยเฉพาะศาสนาพุทธ ด้วยเหตุผลทางการเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษาสิกขิม ภาษาเศรปาและภาษาลาดัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป็นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาซามีผู้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากว่าศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีจัดให้เป็นชาวทิเบต แต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช่กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ภาษาทิเบตคลาสสิกไม่ใช่ภาษาที่มีวรรรยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และภาษาบัลติไม่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจจุบันเป็นแบบรูปคำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกลุ่มภาษาทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาเซมิติก

หมายของอมาร์นา เขียนด้วย ภาษาอัคคาเดีย กลุ่มภาษาเซมิติก (Semitic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่มีผู้พูดมากกว่า 300 ล้านคนในปริเวณแอฟริกาเหนือ ตะวันออกกลางและจะงอยของแอฟริกา เป็นสาขาย่อยในตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก และเป็นสาขาเดียวของตระกูลนี้ที่มีผู้พูดในทวีปเอเชีย กลุ่มภาษาเซมิติกที่มีผู้พูดมากที่สุดคือภาษาอาหรับ (ภาษาแม่ 325 ล้านคน) รองลงมาคือภาษาอัมฮารา (27 ล้านคน) ภาษาตึกรึญญา (6.9 ล้านคน) และภาษาฮีบรู (5 ล้านคน) กลุ่มภาษาเซมิติกเป็นกลุ่มภาษาแรกๆ ที่มีระบบการเขียน ภาษาอัคคาเดียเริ่มเขียนตั้งแต่ราว 2,000 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากนั้นยังมีอักษรโบราณที่ใช้เขียนกลุ่มภาษาเซมิติกมากมาย เช่น อักษรฟินิเชีย อักษรอาหรับ อักษรแอราเมอิก อักษรซีรีแอก อักษรอาระเบียใต้ และอักษรเอธิโอปิก มีภาษามอลตาเท่านั้นที่เป็นกลุ่มภาษานี้แต่เขียนด้วยอักษรโรมัน ชื่อของกลุ่มภาษานี้มาจาก เซม บุตรชายของโนอาห์ ในไบเบิล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกลุ่มภาษาเซมิติก · ดูเพิ่มเติม »

กองพลน้อยผู้พลีชีพอัลอักซา

กองพลน้อยผู้พลีชีพอัลอักซา (al-Aqsa Martyrs' Brigades, كتائب شهداء الأقصى) เป็นกลุ่มทหารของปาเลสไตน์ที่เป็นกลุ่มย่อยของฟาตะห์ มีอุดมการณ์ต่อต้านอิสราเอล ต้องการขับไล่ชาวยิวออกจากเวสต์แบงก์ ฉนวนกาซาและเยรูซาเลม เพื่อจัดตั้งรัฐปาเลสไตน์ เป้าหมายของกลุ่มเป็นพลเรือน อิสราเอล สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปจัดให้กลุ่มนี้เป็นกลุ่มก่อการร้าย กลุ่มนี้ตั้งชื่อตามมัสยิดอัลอักซา ซึ่งเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาอิสลาม สมาชิกของกลุ่มแยกมาจากตันซีมหลังยัสเซอร์ อาราฟัตเสียชีวิตเมื่อ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกองพลน้อยผู้พลีชีพอัลอักซา · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพแห่งความชอบธรรม

กองทัพแห่งความชอบธรรม (Army of the righteous; ภาษาอูรดู:لشكرِ طيبه,Lashkar-e-Tayyiba) เป็นกองกำลังติดอาวุธขององค์กรศาสนาอิสลามนิกายซุนนีในปากีสถาน ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกองทัพแห่งความชอบธรรม · ดูเพิ่มเติม »

กัมพูชาประชาธิปไตย

กัมพูชาประชาธิปไตย (កម្ពុជាប្រជាធិបតេយ្យ กมฺพุชาบฺรชาธิบเตยฺย; Democratic Kampuchea) คือ ชื่อของประเทศกัมพูชาระหว่างปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกัมพูชาประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

กัรบะลา

กัรบาลา หรือ คาร์บาลา คือ เป็นเมืองๆหนึ่งที่ศักดิ์สิทธิ์ในประเทศอิรัก -ชื่ออย่างเป็นทางการ: กัรบาลา ประเทศ: อิรัก จังหวัด: กัรบาลา เมือง: กัรบาลา -ชื่อท้องถิ่น: นัยนะวา -ชื่อเก่า: นัยนะวา -กลายเป็นเมืองในปี: 61 ฮิจเราะฮ์ศักราช - ประชากร ประชากร: 572300 คน ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร: อาหรับ นิกาย: อิสลาม,ชีอะฮ - ภูมิศาตร์ทางธรรมชาติ พื้นที่: 52856 ตารางกิโลเมตร - ศูนย์กลางของจังหวัดกัรบาลา คือ กัรบาลา เมืองนี้ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศอิรัก, -จำนวนประชากรทั้งหมด 570300 คน -ถูกตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของ แม่น้ำฟูรอดและมีความห่างกับเมืองแบกแดดราว 97 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกัรบะลา · ดูเพิ่มเติม »

กัวลาลัมเปอร์

กัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur, อักษรยาวี: كوالا لومڤور, ออกเสียงตามภาษามลายูว่า กัวลาลุมปูร์) เป็นเมืองหลวงของประเทศมาเลเซียและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในประเทศด้วย ภายในมาเลเซียเอง กัวลาลัมเปอร์มักจะเรียกย่อ ๆ ว่า KL กัวลาลัมเปอร์เป็นหนึ่งในสามดินแดนสหพันธ์ของมาเลเซีย (Malaysian Federal Territories) ล้อมรอบด้วยรัฐเซอลาโงร์บนชายฝั่งตะวันตกตอนกลางของคาบสมุทรมลายู ฝ่ายบริหารของรัฐบาลมาเลเซียได้ย้ายไปที่เมืองใหม่คือ ปูตราจายา อย่างไรก็ดี พระราชฐานของกษัตริย์ของมาเลเซีย รัฐสภามาเลเซีย และฝ่ายนิติบัญญัติยังคงอยู่ที่กัวลาลัมเปอร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกัวลาลัมเปอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การชันสูตรพลิกศพ

การชันสูตรพลิกศพ (Autopsy) คือการตรวจพิสูจน์เพื่อดูสภาพศพแต่เพียงภายนอก ค้นหาสาเหตุและพฤติการณ์ที่ตายว่าผู้ตายคือใคร ตายเมื่อใด ถ้าตายโดยคนทำร้าย สงสัยว่าใครเป็นผู้กระทำความผิดที่ทำให้เกิดการตายตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 129 ความว่า "ให้ทำการสอบสวนรวมทั้งการชันสูตรพลิกศพในกรณีที่ความตายเป็นผลแห่งการกระทำผิดอาญาดังที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนี้อันว่าด้วยการชันสูตรพลิกศพ ถ้าการชันสูตรพลิกศพยังไม่เสร็จ ห้ามมิให้ฟ้องผู้ต้องหายังศาล" ซึ่งตามกฎหมายมีความมุ่งหมายให้แพทย์และพนักงานสอบสวนดำเนินการตรวจสอบในสถานที่พบศพ ยกเว้นแต่ว่าการชันสูตรพลิกศพ เพื่อตรวจดูสภาพศพในสถานที่เกิดเหตุนั้น อาจเป็นเหตุทำให้การจราจรติดขัดมาก อาจกลายเป็นสถานที่อุดจาตาจากสภาพศพ หรืออาจก่อให้เกิดอันตรายต่อประชาชนทั่วไป แพทย์และพนักงานสอบสวนย่อมมีสิทธิ์ที่จะสามารถเคลื่อนย้ายศพ เพื่อนำไปทำการชันสูตรพลิกศพยังสถานที่อื่นที่เหมาะสมได้ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 148 ความว่า "เมื่อปรากฏแน่ชัดหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่า บุคคลใดตายโดยผิดธรรมชาติ หรือตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงานให้มีการชันสูตรพลิกศพ เว้นแต่ตายโดยการประหารชีวิตตามกฎหมาย"มาตรา 148 การชันสูตรพลิกศพ, ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา, ร..ต.อ หญิง นัยนา เกิดวิชัย, สำนักพิมพ์นิตินัย, 2550 อาจเห็นได้ว่าสภาพการจราจรในปัจจุบันก่อให้เกิดอุบัติเหตุทางด้านจราจรเป็นจำนวนมาก เกือบทุกรายที่ประสบอุบัติเหตุจะเสียชีวิต จึงจำเป็นที่จะต้องเคลื่อนย้ายศพจากสถานที่เกิดเหตุเพื่อไปทำการชันสูตรพลิกศพและตรวจสอบสาเหตุการตายในสถานที่อื่นเช่น สถาบันนิติเวชวิทยา สำนักงานตำรวจแห่งชาติซึ่งก็มักจะเป็นสถานที่ที่ใช้ในการผ่าศพนั่นเอง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการชันสูตรพลิกศพ · ดูเพิ่มเติม »

การพิชิตดินแดนโดยมุสลิม

การขยายดินแดนระหว่างสมัยจักรวรรดิกาหลิปอุมัยยะห์, ค.ศ. 661–750/ฮ.ศ. 40-129 การพิชิตดินแดนโดยมุสลิม หรือ การพิชิตดินแดนโดยอาหรับ (Muslim conquests, فتح, “Fatah” แปลตรงตัวว่า การเปิด หรือ Jihad) (ค.ศ. 632–ค.ศ. 732) การพิชิตดินแดนโดยมุสลิมเริ่มขึ้นหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมมัดศาสดาของศาสนาอิสลาม มุฮัมมัดก่อตั้งอาณาจักรทางการเมืองที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในคาบสมุทรอาหรับ ที่ต่อมาตกมาอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิกาหลิบรอชิดีน และ จักรวรรดิกาหลิปอุมัยยะห์ ซึ่งเป็นช่วงของการขยายดินแดนอันรวดเร็วของมุสลิมที่ไกลออกไปจากคาบสมุทรอาหรับ ในรูปของจักรวรรดิมุสลิม ที่ครอบคลุมดินแดนตั้งแต่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย, ข้ามเอเชียกลาง, ตะวันออกกลาง, แอฟริกาเหนือ, ตอนใต้ของอิตาลี, คาบสมุทรไอบีเรีย ไปจนถึงเทือกเขาพิเรนีส นักประวัติศาสตร์ชาวอังกฤษเอ็ดเวิร์ด กิบบอน เขียน ประวัติศาสตร์ของการเสื่อมโทรมและการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน (The History of the Decline and Fall of the Roman Empire) ว่า: การพิชิตดินแดนโดยมุสลิมนำมาซึ่งการล่มสลายของจักรวรรดิซาสซานิยะห์และการสูญเสียดินแดนส่วนใหญ่ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ สาเหตุของความสำเร็จของการขยายดินแดนเป็นการยากที่จะเข้าใจเพราะเอกสารที่มาจากสมัยที่ว่ามีหลงเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย นักประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่เห็นพ้องกันว่าในช่วงนั้นจักรวรรดิซาสซานิยะห์และจักรวรรดิไบแซนไทน์ก็เริ่มเสื่อมโทรมลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการทหารอยู่เป็นเวลาหลายสิบปีอยู่แล้ว นักประวัติศาสตร์ผู้อื่นเสนอความเห็นว่าประชาชนผู้อยู่ภายใต้การปกครองของสองจักรวรรดินี้ที่รวมทั้งชาวยิว และคริสเตียนในจักรวรรดิซาสซานิยะห์ และ ชาวยิว และชาวโมโนฟิซิทิสม์ในซีเรียมีความไม่พึงพอใจต่อประมุขผู้ปกครองในขณะนั้นและอาจจะยินดีที่มีมุสลิมเข้ามาปลดปล่อย ซึ่งมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งทางศาสนาของทั้งสองจักรวรรดิ ในกรณีของอียิปต์ไบแซนไทน์, ปาเลสไตน์ และ ซีเรีย ดินแดนเหล่านี้เพิ่งตกไปเป็นของเปอร์เซียไม่นานก่อนหน้านั้น และมิได้ปกครองโดยไบแซนไทน์มาเป็นเวลากว่า 25 ปี แต่เฟรด ดอนเนอร์ แม็คกรอว์เสนอว่าลักษณะการก่อตั้งของรัฐในคาบสมุทร และ การประสานสัมพันธ์ในการเดินทัพ และในทางปรัชญาเป็นสาเหตุสำคัญในความสำเร็จของมุสลิมในการก่อตั้งจักรวรรดิอันยิ่งใหญ่ที่ไม่เคยเห็นกันมาก่อน แต่ความคิดนี้ก็ไม่เป็นที่ยอมรับกันเท่าใดนัก การประมาณเนื้อที่ของจักรวรรดิกาหลิปมุสลิมเชื่อกันว่ามีเนื้อที่ทั้งหมดกว่า 5 ล้านตารางกิโลเมตรที่ทำให้เป็นจักรวรรดิที่ใหญ่กว่ารัฐใดๆ ในขณะนั้นนอกไปจากสหพันธรัฐรัสเซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการพิชิตดินแดนโดยมุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

การมัดอิสอัค

ียน “เอบราฮัมสังเวยไอแซ็ค” โดยแรมบรังด์ ค.ศ. 1635 เอบราฮัมสังเวยไอแซ็ค (ภาษาอังกฤษ: Sacrifice of Isaac หรือ Binding of Isaac) ในพระธรรมปฐมกาล เป็นเรื่องจากคัมภีร์ฮิบรูเมื่อพระเจ้าสั่งให้เอบราฮัมสังเวยไอแซ็คลูกชายบนภูเขาโมไรยาห์ (Mount Moriah) ในศาสนาอิสลามมุสลิมเชื่อว่าพระเจ้าสั่งให้เอบราฮัมสังเวยอิชมาเอลลูกชายคนโตแทนที่ไอแซ็คที่สนับสนุนในข้อเขียนของมุฮัมมัด แต่ลูกคนใดมิได้บ่งในคัมภีร์อัลกุรอาน เหตุการณ์นี้ตรงกับวันแรกของเดือนแรก (Tishrei) ของปฏิทินยิว และระหว่างวันที่ 10 ถึง 13 ของเดือนสิบสอง (Dhu al-Hijjah) ในปฏิทินมุสลิมในวันฉลองการสังเวย -- “Eid al-Adha” คำบรรยายเรียกว่า “Akedah” (עקדה) หรือ “Akedat Yitzchak” (עקידת יצחק) ในภาษาฮิบรูและ “Dhabih” (ذبح) ในภาษาอาหรับ การสังเวยเรียกว่า “Olah” ในภาษาฮิบรู—เพราะความสำคัญของการสังเวยโดยเฉพาะในสมัยก่อนคริสตกาล ตามคำบรรยายเมื่อพระเจ้าสั่งเช่นนั้น เอบราฮัมก็ตั้งใจที่จะเชื่อฟังพระเจ้าโดยไม่มีคำถาม หลังจากไอแซ็คถูกมัดที่แท่นบูชาพร้อมที่จะถูกสังเวย เทวดาก็ยั้งเอบราฮัมในนาทีสุดท้าย ในขณะเดียวเอบราฮัมพบแกะที่ติดอยู่ในพุ่มไม้ใกล้ๆ เอบราฮัมจึงสังเวยแกะแทนที่ เรามักจะนึกภาพว่าไอแซ็คยังเป็นเด็กเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้นแต่ความคิดนี้เป็นความคิดสมัยใหม่ เพราะหลักฐานในอดีตต่างกล่าวว่าไอแซ็คเป็นผู้ใหญ่แล้ว ตามบันทึกของนักประวัติศาสตร์ยิวโจซีฟัส ไอแซ็คอายุยี่สิบห้าปีเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้น คัมภีร์ทัลมุด (Talmud) กล่าวว่าไอแซ็คอายุ 37 ปี ซึ่งอาจจะคำนวณจากตำนานไบเบิลอีกเรื่องหนึ่งที่กล่าวถึงการเสียชีวิตของซาราห์เมื่ออายุ 127 ปี และซาราห์อายุ 90 เมื่อไอแซ็คเกิด ไม่ว่าจะอย่างไรไอแซ็คก็เป็นผู้ใหญ่แล้วเมื่อเหตุการณ์เกิดขึ้น โตพอที่จะหยุดยั้งเหตุการณ์ได้ถ้าต้องการที่จะทำเช่นนั้น พระธรรมปฐมกาล 22:14 กล่าวว่าเหตุการณ์เกิดขึ้นที่ “ภูเขาของพระเจ้า”: ใน 2 พงศาวดาร 3:1; เพลงสดุดี; อิสไซยาห์ และ และแซ็คคาริอาห์ แต่คัมภีร์ไบเบิลกล่าวว่าเกิดขึ้นที่เท็มเพิลเมานท์ (Temple Mount) ในกรุงเยรุซาเล็ม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการมัดอิสอัค · ดูเพิ่มเติม »

การมาครั้งที่สอง

การมาครั้งที่สอง ตามความเชื่อของคริสต์ศาสนิกชนและชาวมุสลิม การมาครั้งที่สอง (Second Coming) หมายถึงการที่พระเยซูจะเสด็จมาบนโลกอีกครั้งในอนาคต ความเชื่อนี้มีที่มาจากข้อความในพระวรสารในสารบบและถูกพัฒนาต่อมาตามอวสานวิทยาของศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม แนวคิดเรื่องการมาครั้งที่สองถือเป็นหลักความเชื่อสำคัญ จึงปรากฏรายละเอียดในหลักข้อเชื่อไนซีนว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการมาครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

การยกกำลัง

้าx+1ส่วนx.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการยกกำลัง · ดูเพิ่มเติม »

การรู้เอง

isbn.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการรู้เอง · ดูเพิ่มเติม »

การละทิ้งศาสนาอิสลาม

การละทิ้งศาสนาอิสลาม หรือ การสิ้นสภาพจากการเป็นผู้นับถือศาสนาอิสลาม (ردة, ริดดะฮ์ หรือ ارتداد) หมายถึงการที่ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามได้ละทิ้งศาสนาอิสลามไปยึดมั่นในการปฏิเสธด้วยความเต็มใจ โดยสามารถเป็นการปฏิเสธทางกาย ทางจิตใจ หรือทางวาจา กรณีนี้รวมถึงผู้ที่ละทิ้งศาสนาอิสลาม อาจละทิ้งไปเปลี่ยนเข้ารับศาสนาอื่น โดยผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามโดยกำเนิด หรือผู้ที่เคยเปลี่ยนเข้ารับศาสนาอิสลามมาก่อน ปัจจุบัน ในประเทศอิสลามหลายประเทศ การละทิ้งศาสนาอิสลามถือว่าเป็นการกระทำที่บาป และผู้กระทำสามารถถูกประหารชีวิตได้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการละทิ้งศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมไทร์ (ค.ศ. 1187)

การล้อมไทร์ (Siege of Tyre) เป็นการสู้รบระหว่างฝ่ายนักรบครูเสดกับมุสลิมราชวงศ์อัยยูบิด (Ayyubid) ที่เมืองไทร์ เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1187–1 มกราคม ค.ศ. 1188 หลังยุทธการฮัททินในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการล้อมไทร์ (ค.ศ. 1187) · ดูเพิ่มเติม »

การวิจารณ์ศาสนา

การวิจารณ์ศาสนาเป็นการวิจารณ์มโนทัศน์ ลัทธิ ความสมเหตุสมผลและ/หรือการปฏิบัติศาสนา ซึ่งรวมถึงการส่อความทางการเมืองและสังคมที่สัมพันธ์ การวิจารณ์ศาสนามีประวัติศาสตร์ยาวนาน ในกรีซโบราณ การวิจารณ์ศาสนาสืบย้อนไปได้อย่างน้อยถึงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาลโดยไดอะโกรัส "ดิเอธิสต์" แห่งเมลอส (Diagoras "the Atheist" of Melos) ในโรมโบราณ ตัวอย่างที่ทราบแรก ๆ คือ ว่าด้วยธรรติของสิ่ง (De rerum natura) ของลูครีชัส (Lucretius) ตั้งแต่ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล การวิจารณ์ศาสนายุ่งยากขึ้นจากข้อเท็จจริงว่ามีนิยามและมโนทัศน์ศาสนาหลายอย่างในวัฒนธรรมและภาษาต่าง ๆ ด้วยการมีศาสนาหลายหมวดหมู่ เช่น เอกเทวนิยม พหุเทวนิยม สรรพเทวนิยม nontheism (ไม่เชื่อในพระเจ้าที่เป็นบุคคล) และศาสนาจำเพาะต่าง ๆ เช่น ศาสนาคริสต์ ยูดาย อิสลาม เต๋า พุทธ และอื่น ๆ ไม่ชัดเจนเสมอไปว่าการวิจารณ์ศาสนานี้มุ่งไปยังศาสนาใดศาสนาหนึ่งหรือใช้กับศาสนาอื่นได้มากน้อยเพียงใด ทุกศาสนาบนโลกซึ่งสนับสนุนการอ้างความจริงหนึ่งเดียวจำต้องปฏิเสธการอ้างความจริงของศาสนาอื่น ผู้วิจารณ์ศาสนาโดยรวมมักพาดพิงศาสนาว่าล้าสมัย เป็นภัยต่อปัจเจกบุคคล เป็นภัยต่อสังคม เป็นอุปสรรคต่อความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ แหล่งของการกระทำหรือจารีตประเพณีผิดศีลธรรม และเป็นเครื่องมือทางการเมืองสำหรับการควบคุมทางสังคม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการวิจารณ์ศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

การศึกษาในประเทศไทย

การศึกษาในประเทศไทย เป็นการศึกษาที่จัดโดยกระทรวงศึกษาธิการของประเทศไทย โดยภาครัฐจะเข้ามาดูแลโดยตรงและเปิดโอกาสให้เอกชนมีส่วนร่วมในการศึกษาตั้งแต่ระดับการศึกษาปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา สำหรับการศึกษาภาคบังคับในประเทศไทยนั้นได้กำหนดให้พลเมืองไทยต้องจบการศึกษาอย่างน้อยที่สุดในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และต้องเข้ารับการศึกษาอย่างช้าสุดเมื่ออายุ 7 ปี ซึ่งการศึกษาภาคบังคับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งแบ่งออกเป็นระดับชั้นประถมศึกษา 6 ปีและมัธยมศึกษา 6 ปี นอกจากนี้แล้วการศึกษาขั้นพื้นฐานยังรวมถึงการศึกษาปฐมวัยอีกด้วย ทั้งนี้รัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายตามความในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ส่วนการบริหารและการควบคุมการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งเป็นแผนกหนึ่งของกระทรวงศึกษาธิการ ในปัจจุบันการศึกษาในประเทศไทยมีทั้งสิ้น 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่างไรก็ตามการจัดการศึกษาของประเทศไทยนั้นถูกมองว่าล้าหลังและล้มเหลวเสมอมา กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยเมื่อเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการศึกษาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

การจาริกแสวงบุญ

นักแสวงบุญมุสลิมที่มักกะหฺ การจาริกแสวงบุญ (Pilgrimage) ทางด้านศาสนาและจิตวิญญาณ “การจาริกแสวงบุญ” คือการเดินทางหรือการแสวงหาสิ่งที่มีความสำคัญทางจริยธรรมต่อจิตใจ บางครั้งก็จะเป็นการเดินทางไปยังศาสนสถานที่มีความสำคัญต่อความเชื่อหรือความศรัทธาของผู้นั้น สมาชิกของศาสนาหลักของโลกมักจะร่วมในการเดินทางไปแสวงบุญ ผู้ที่เดินทางไปทำการจาริกแสวงบุญเรียกว่านักแสวงบุญ พระพุทธศาสนามีสังเวชนียสถานที่สำคัญที่สุดที่มีความเกี่ยวข้องกับองค์สมเด็จพระพุทธเจ้าสำหรับนักแสวงบุญอยู่สี่แห่ง: ลุมพินีวันที่ตั้งอยู่ในแคว้นอูธในประเทศเนปาลที่เป็นสถานที่ประสูติ, พุทธคยาที่ตั้งอยู่ในรัฐพิหารในประเทศอินเดียที่เป็นสถานที่ตรัสรู้, สารนาถที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเมืองพาราณสีในรัฐอุตตรประเทศในประเทศอินเดียซึ่งเป็นสถานที่ทรงแสดงปฐมเทศนา และ กุสินาราที่ตั้งอยู่ตำบลมถากัวร์ อำเภอกุสินครในรัฐอุตตรประเทศในประเทศอินเดียเป็นสถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน ในศาสนาเอบราฮัมที่ประกอบด้วยศาสนายูดาย, ศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม และ ศาสนาบาไฮ ถือว่าดินแดนศักดิ์สิทธิ์ในอิสราเอลปัจจุบันเป็นศูนย์กลาง ในราชอาณาจักรอิสราเอล และ ราชอาณาจักรยูดาห์ การเดินทางไปยังศูนย์กลางของสิ่งที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่อบางแห่งถูกยกเลิกไปในศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสต์ศักราช เมื่อการสักการะพระเยโฮวาห์จำกัดอยู่แต่เพียงที่วัดแห่งเยรุซาเล็มเท่านั้น “การจาริกแสวงบุญ” บนแผ่นดินใหญ่ของกรีซก็จะเป็นการเดินทางไปยังเดลฟี หรือโหรซูสที่โดโดนา และทุกสี่ปีระหว่างสมัยกีฬาโอลิมปิค เทวสถานซูสก็จะเต็มไปด้วยผู้มาแสวงบุญจากดินแดนต่างๆ ทุกมุมเมืองของกรีซ เมื่ออเล็กซานเดอร์มหาราชไปถึงอียิปต์ พระองค์ก็ทรงหยุดยั้งทุกสิ่งทุกอย่างลงชั่วคราว และทรงนำผู้ติดตามไม่กี่คนลึกเข้าไปในทะเลทรายลิเบียเพื่อไปปรึกษาโหรที่อัมมุน ระหว่างสมัยการปกครองของราชวงศ์ทอเลมีต่อมา ศาสนสถานไอซิสที่ฟิเล (Philae) ก็มักจะได้รับเครื่องสักการะที่มีคำจารึกภาษากรีกจากผู้มีความเกี่ยวพันที่อยู่จากบ้านเมืองเดิมในกรีซ แม้ว่า “การจาริกแสวงบุญ” มักจะอยู่ในบริบทของศาสนา แต่การจาริกแสวงบุญก็แปรเปลี่ยนไปใช้ในกิจการที่ไม่เกี่ยวกับกับศาสนาได้เช่นการเดินทางไปแสดงความเคารพคนสำคัญของลัทธินิยมเช่นในกรณีที่ทำกันในประเทศคอมมิสนิสต์ ตัวอย่างเช่นการเดินทางไปเยี่ยมชมที่บรรจุศพเลนิน (Lenin's Mausoleum) ที่จัตุรัสแดงก่อนที่สหภาพโซเวียตจะแตกแยกออกจากกัน ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่มีลักษณะเดียวกับที่เรียกว่า “การจาริกแสวงบุญ”.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการจาริกแสวงบุญ · ดูเพิ่มเติม »

การทำให้เป็นประชาธิปไตย

การทำให้เป็นประชาธิปไตย หรือ การเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย (Democratization) เป็นการเปลี่ยนระบอบการปกครองให้เป็นประชาธิปไตยยิ่งขึ้น ซึ่งอาจหมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสำคัญไปในทางประชาธิปไตย การเปลี่ยนจากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ จากระบอบอำนาจนิยมไปเป็นกึ่งประชาธิปไตย หรือจากกึ่งประชาธิปไตย/อำนาจนิยมไปเป็นประชาธิปไตยอย่างสมบูรณ์ ซึ่งอาจมีผลเป็นความมั่นคงทางประชาธิปไตย (ดังที่สหราชอาณาจักรเป็นตัวอย่าง) หรืออาจจะกลับไปกลับมาบ่อย ๆ (ดังที่ อาร์เจนตินาเป็นตัวอย่าง) รูปแบบต่าง ๆ ของการเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตยมักใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางการเมืองอื่น ๆ เช่น ประเทศจะเริ่มทำสงครามหรือไม่ เศรษฐกิจจะเติบโตหรือไม่ กระบวนการมีปัจจัยหลายอย่างรวมทั้งพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ประวัติ และประชาสังคม ผลสูงสุดของกระบวนการนี้ก็เพื่อประกันว่า ประชาชนจะมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง และมีส่วนตัดสินใจในระบอบการปกครอง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการทำให้เป็นประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

การคุมกำเนิด

ตัวอย่างยาเม็ดคุมกำเนิด ประสิทธิผลของวิธีคุมกำเนิดแบบต่าง ๆ การคุมกำเนิด (birth control) คือเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการป้องกันการปฏิสนธิหรือขัดขวางการตั้งครรภ์ การคุมกำเนิดถูกใช้มาแต่โบราณ ทว่าวิธีที่ปลอดภัยและได้ผลดีพึ่งมีในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 การวางแผน เตรียมการ และการใช้การคุมกำเนิดถูกเรียกว่าเป็นการวางแผนครอบครัว บางวัฒนธรรมไม่สนับสนุนและจำกัดการเข้าถึงวิธีการคุมกำเนิดเพราะเชื่อว่าเป็นสิ่งที่ไม่เป็นที่ต้องการทางศีลธรรม ศาสนา หรือการเมือง วิธีที่ซึ่งให้ประสิทธิผลสูงสุดคือการทำหมัน โดยการตัดหลอดนำอสุจิ (vasectomy)ในเพศชายและการผูกท่อรังไข่ในเพศหญิง การใส่ห่วงอนามัยคุมกำเนิด (IUD) และการใช้ยาฝังคุมกำเนิด ตามมาด้วยการใช้ฮอร์โมน เช่น ยาเม็ดคุมกำเนิด ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง วงแหวนช่องคลอด และการฉีดฮอร์โมน วิธีที่ได้ผลรองลงมาได้แก่วิธีการนับระยะปลอดภัยและวิธีการที่ใช้สิ่งกีดขวาง เช่น ถุงยางอนามัย หมวกครอบปากมดลูก และฟองน้ำคุมกำเนิด วิธีที่ได้ผลน้อยที่สุดได้แก่การใช้สารฆ่าเชื้ออสุจิ (spermicide) และการหลั่งนอกช่องคลอด การทำหมันให้ประสิทธิผลสูงแต่มักเป็นการคุมกำเนิดที่ถาวร ต่างกับวิธีอื่นซึ่งเป็นการคุมแบบชั่วคราวและสามารถย้อนกลับได้เมื่อหยุดใช้ การปฏิบัติทางเพศที่ปลอดภัย เช่นการใช้ถุงยางอนามัยชายหรือหญิงยังสามารถป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ส่วนวิธีการคุมกำเนิดแบบอื่นไม่ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เทคนิคการคุมกำเนิดฉุกเฉินสามารถป้องกันการตั้งครรภ์ได้ใช้ภายใน 72 ถึง 120 ชั่วโมงหลังมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน บางคนเชื่อว่าการไม่มีเพศสัมพันธ์เป็นการคุมกำเนิดแบบหนึ่ง ทว่าเพศศึกษาแบบที่สอนให้งดเว้นอย่างเดียวอาจเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหากไม่สอนควบคู่ไปกับการใช้การคุมกำเนิด เพราะการไม่ยอมทำตาม ในประเทศไทย พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการคุมกำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

การค้าระหว่างโรมันกับอินเดีย

“เส้นทางการค้าระหว่างโรมันกับอินเดีย” ตาม “บันทึกเส้นทางการเดินเรือในทะเลอีริทเธรียน” จากคริสต์ศตวรรษที่ 1 การค้าระหว่างโรมันกับอินเดีย (Roman trade with India) เป็นการติดต่อค้าขายโดยการขนส่งสินค้าข้ามอานาโตเลียและเปอร์เซียที่พอจะมีบ้างเมื่อเทียบกับเวลาต่อมาที่ใช้เส้นทางสายใต้ผ่านทางทะเลแดงโดยการใช้ลมมรสุม การค้าขายเริ่มขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 1 หลังจากรัชสมัยของออกัสตัสเมื่อโรมันพิชิตอียิปต์ได้จากราชวงศ์ทอเลมีShaw, Ian (2003).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการค้าระหว่างโรมันกับอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

การค้าเครื่องเทศ

วามสำคัญทางเศรษฐกิจเส้นทางสายไหมและเส้นทางเครื่องเทศของเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกมาถูกปิดโดยจักรวรรดิออตโตมัน ราว ค.ศ. 1453 เมื่อจักรวรรดิไบแซนไทน์และคอนสแตนติโนเปิลล่ม ซึ่งเป็นชนวนที่ทำให้เกิดการแข่งขันกันสำรวจหาเส้นทางการค้าไปยังตะวันออกใหม่ที่เริ่มด้วยการพยายามหาเส้นทางรอบแอฟริกาที่ในที่สุดก็นำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจ ภาพแสดงเส้นทางการเดินทางของวัชกู ดา กามาไปยังอินเดีย (เส้นดำ) ผู้เดินทางรอบแอฟริกาคนแรก เส้นทางของเปรู ดา กูวิลยัง (สีส้ม) และอาฟงซู ดี ไปวา (สีน้ำเงิน) เส้นทางซ้อนกันเป็นสีเขียว การค้าเครื่องเทศ คือกิจการทางการพาณิชย์ที่มีต้นตอมาแต่ยุคโบราณที่เป็นการค้าขายสินค้าที่รวมทั้งเครื่องเทศ, สมุนไพร และฝิ่น การวิวัฒนาการของวัฒนธรรมของเอเชียบางส่วนก็มีอิทธิพลมาจากการค้าขายเครื่องเทศ จากนั้นก็ตามด้วยโลกกรีก-โรมันที่ใช้เส้นทางสายเครื่องหอม และเส้นทางสายโรมัน-อินเดียเป็นเส้นทางการค้ามายังตะวันออกFage 1975: 164 เส้นทางสายโรมัน-อินเดียวิวัฒนาการมาจากเทคนิคที่ใช้โดยมหาอำนาจทางการค้าของราชอาณาจักรอัคซูม (ราว 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช-จนถึง ค.ศ. 1000 กว่า ๆ) ที่เป็นการริเริ่มการใช้เส้นทางในทะเลแดงมาตั้งแต่ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 1 อัคซูมแบ่งปันความรู้ในการใช้ลมมรสุมในการเดินเรือกับชาวโรมัน (ราว 30-10 ปีก่อนคริสตกาล) และรักษาสัมพันธ์ภาพระหว่างกันอย่างปรองดองมาจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 7 เมื่ออิสลามเรืองอำนาจขึ้น ก็ปิดเส้นทางการค้าทางทะเล และหันมาใช้ขบวนคาราวานในการขนส่งทางบกไปยังอียิปต์และซุเอซ ซึ่งเท่ากับเป็นการตัดความสัมพันธ์ทางการค้าโดยตรงระหว่างยุโรปไปยังอัคซูมและอินเดีย และในที่สุดพ่อค้าอาหรับก็ยึดการขนส่งสินค้าเข้ามาอยู่ในมือของตนเอง โดยการขนส่งสินค้าเข้าทางบริเวณเลแวนต์ไปให้แก่พ่อค้าเวนิสในยุโรปยุโรป การขนส่งด้วยวิธีนี้มายุติลงเมื่อออตโตมันเติร์กมาปิดเส้นทางอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการค้าเครื่องเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การฆ่าตัวตาย

การฆ่าตัวตาย หรือ อัตวินิบาตกรรม เป็นการกระทำให้ตนเองถึงแก่ความตายอย่างตั้งใจ การฆ่าตัวตายมักเกิดจากภาวะซึมเศร้า ซึ่งเกิดจากความผิดปกติทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตเภท ความผิดปกติทางบุคลิกภาพแบบก้ำกึ่ง โรคพิษสุรา หรือการใช้สารเสพติด ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดเช่นความลำบากทางการเงิน หรือปัญหากับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลก็มีส่วนเช่นกัน ความพยายามป้องกันการฆ่าตัวตายหมายรวมถึงการจำกัดการฆ่าตัวตายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น ปืน และสารพิษ การรักษาอาการทางจิตและการใช้สารเสพติด และการปรับปรุงสถานะทางการเงิน แม้ว่าบริการที่ปรึกษาสายด่วนจะมีทั่วไป แต่แทบไม่มีหลักฐานว่าวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพ วิธีการฆ่าตัวตายที่พบได้บ่อยที่สุดแตกต่างกันไปตามประเทศและส่วนหนึ่งจะขึ้นกับความเป็นไปได้ วิธีการทั่วไปได้แก่ การแขวนคอ การวางยาด้วยสารฆ่าสัตว์รังควาน และอาวุธปืน การฆ่าตัวตายคร่าชีวิตคน 842,000 คนใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการฆ่าตัวตาย · ดูเพิ่มเติม »

การตกในบาป

อาดัมและเอวาถูกขับจากสวนเอเดนโดยพระเจ้าหลังจากกระทำบาปกำเนิด โดย โดเม็นนิชิโน การตกในบาป (Fall of Man หรือ the Fall) หมายถึงการเปลื่ยนแปลงเป็นครั้งแรกของมนุษย์จากสภาวะของความบริสุทธิ์ที่เชื่อฟังพระเจ้าไปเป็นสภาวะของความรู้สึกผิดเพราะความไม่เชื่อฟังในพระเจ้า ในบาปกำเนิด ในศาสนาคริสต์, มนุษย์คนแรกอาดัมและเอวาเมื่อแรกเริ่มอาศัยอยู่กับพระเจ้าภายในสวรรค์ แต่มาถูกล่อลวงโดยงูให้กินผลไม้จาก “ต้นไม้แห่งความรู้ดีรู้ชั่ว” (Tree of Knowledge of Good and Evil) ซึ่งพระเจ้าทรงสั่งห้ามไว้ว่าไม่ให้แตะต้อง หลังจากที่กินเข้าไปแล้วก็เกิดความละอายในความเปลือยเปล่าของร่างกาย และในที่สุดก็ถูกการตกในบาปโดยพระเจ้า การถูกการตกในบาปมิได้กล่าวถึงโดยตรงในคัมภีร์ไบเบิล แต่กล่าวถึงทั้งเรื่องของความไม่เชื่อฟังและการถูกขับไล่ ในศาสนาอื่นเช่นศาสนายูดาห์, ศาสนาอิสลาม หรือ ไญยนิยม (Gnosticism) ตีความหมายของการถูกการตกในบาปต่างกันไป ในเทววิทยาศาสนาคริสต์, “การถูกขับจากสวรรค์” มีความหมายที่กว้างหมายถึงมวลมนุษย์ผู้มาจากบาปของอาดัมและเอวาที่เรียกว่า “บาปกำเนิด” (original sin) เช่นในคำสอนของนักบุญพอลแห่งทาซัสที่บันทึกไว้ใน จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโรม 5:12-19 และ จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 15:21-22 ผู้นับถือศาสนาคริสต์บางคนเชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” เป็นการทำความเสียหายให้แก่ธรรมชาติของโลกทั้งหมดโดยเฉพาะธรรมชาติของมนุษย์ ทำให้มนุษย์เกิดมาพร้อมกับบาปกำเนิด ซึ่งเป็นสภาวะที่ไม่ทำให้สามารถมีชีวิตชั่วนิรันดรโดยไม่ต้องให้พระเจ้าเข้ามาช่วย ผู้นับถือนิกายโปรเตสแตนต์เชื่อว่าความตายของพระเยซูเป็น “ค่าไถ่” ซึ่งทำให้มนุษย์ปราศจาก “บาปกำเนิด” ที่เกิดจาก “การถูกขับจากสวรรค์” ตลอดไป นิกายอื่น ๆ เชื่อว่า “การถูกขับจากสวรรค์” ทำให้มนุษย์มีอิสระจากบาปโดยมิต้องหาทางแก้บาปอีก คำว่า “ปราศจากบาป” (prelapsarian) หมายถึง สภาวะที่เป็นอิสระจากความมีบาปก่อน “การถูกขับจากสวรรค์” หรือบางครั้งก็เป็นคำที่ใช้ในการรำลึกถึงเวลาในอดีตที่แตกต่างไปจากปัจจุบัน หรือสถานะการณ์ที่เรียกว่า “คำนึงถึงความหลัง” (nostalgia).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการตกในบาป · ดูเพิ่มเติม »

การตรึงพระเยซูที่กางเขน

“การตรึงพระเยซูที่กางเขน” โดยซิโมน วูเอท์ (Simon Vouet) ที่ เจนัว (ค.ศ. 1622) การตรึงพระเยซูที่กางเขน (Crucifixion of Jesus) เป็นเหตุการณ์ในชีวิตของพระเยซูที่ถูกบันทึกในพระวรสารทั้งสี่ฉบับ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทันทีหลังจากที่พระเยซูถูกจับและถูกพิพากษา ในทางเทววิทยาศาสนาคริสต์ การสิ้นพระชนม์ของพระองค์เป็นเหตุการณ์หัวใจสำคัญ ส่งอิทธิพลให้เกิดเหตุการณ์อื่น ๆ ต่อเนื่องมา นอกจากนั้นการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ก็เป็นสัญลักษณ์สำคัญทางปรัชญาความเชื่อ เป็นการเสียชีวิตของผู้ที่มาช่วยโลก เห็นได้จากการรับทรมานและความตายของพระเมสสิยาห์เพื่อไถ่บาปให้มวลมนุษย์ ตามด้วยพันธสัญญาใหม่ที่กล่าวถึง การคืนชีพในสามวันหลังจากสิ้นพระชนม์ และทรงปรากฏพระกายต่ออัครทูตก่อนพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ การทรมานและการเสียชีวิตของพระเยซูบนกางเขนมักจะเรียกกันว่า “พระทรมานของพระเยซู” (Passion) เทววิทยาศาสนาคริสต์ถือว่าพระเยซูพลีชีพเพื่อเป็นการไถ่บาปให้มวลมนุษย์ ดังปรากฏในพระธรรมที่รู้จักกันในนาม “พิธีทดแทนบาป” (Substitutionary atonement) กล่าวกันว่าความตายของพระองค์ถูกทำนายไว้ล่วงหน้าในพันธสัญญาเดิม เช่น เพลงของอิสยาห์ที่กล่าวถึง การทรมานของผู้รับใช้พระเจ้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการตรึงพระเยซูที่กางเขน · ดูเพิ่มเติม »

การแผลงเป็นอาหรับ

การแผลงเป็นอาหรับ (Arabization, تعريب ทาอะรีบ) คือการทำให้ประชากรที่เดิมทีไม่ใช่ชาวอาหรับ กลายเป็นประชากรที่พูดภาษาอาหรับ และมีวัฒนธรรมแบบชาวอาหรับ โดยในอดีต การแผลงเป็นอาหรับมักเกิดขึ้นหลักจากการที่ชาวอาหรับ ซึ่งอดีตอาศัยในอยู่บริเวณอาระเบีย (บริเวณประเทศซาอุดีอาระเบียและเยเมนปัจจุบัน) ได้พิชิตดินแดนต่าง ๆ ในช่วงการเผยแพร่ของศาสนาอิสลามในศตวรรษที่ 7 ดินแดนเหล่านี้ได้แก่ แอฟริกาเหนือ (เช่น อียิปต์ มอร็อกโค อัลจีเรีย ตูนิเซีย) อิรัก จอร์แดน ซีเรีย เลบานอน เป็นต้น โดยประชากรในดินแดนเหล่านี้ ไม่ได้พูดภาษาอาหรับหรือถือวัฒนธรรมอาหรับมาก่อน อาทิ ก่อนการพิชิตดินแดนโดยชาวอาหรับ ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่พูดภาษาคอปต์ ส่วนประชากรซีเรียส่วนใหญ่พูดภาษาอราเมอิก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการแผลงเป็นอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

การเดินทางของพาย พาเทล

การเดินทางของพาย พาเทล (Life of Pi) เป็นนวนิยายผจญภัยแนวแฟนตาซีของ ยานน์ มาร์เทล ผู้เขียนได้รับแรงบันดาลใจจากเพื่อนในวัยเด็กคนหนึ่งซึ่งเคยเดินทางผจญภัยในอินเดีย ตัวเอกของเรื่องนี้ พิสซีน "พาย" โมลิตอร์ พาเทล เด็กชายชาวอินเดียจากเมืองพอนดิเชอร์รี ได้สำรวจประเด็นทางจิตวิญญาณตั้งแต่ในวัยเยาว์ เขามีชีวิตรอดจากเหตุการณ์เรือล่ม โดยอยู่ในเรือชูชีพเป็นเวลา 227 วัน กับเสือโคร่งเบงกอลชื่อ ริชาร์ด พาร์เกอร์ ในน่านน้ำมหาสมุทรแปซิฟิก นวนิยายตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในแคนาดาในปีเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและการเดินทางของพาย พาเทล · ดูเพิ่มเติม »

กาฮารีงัน

กาฮารีงัน (Kaharingan) คือศาสนาพื้นเมืองของชาวดายะก์บนเกาะบอร์เนียวของประเทศอินโดนีเซีย โดย กาฮารีงัน นั้นมีความหมายว่าพลังแห่งชีวิตและความเชื่อ คือเชื่อในการมีอยู่เทพเจ้า ที่มีเทพเจ้าสูงสุดเพียงพระองค์เดียวตามหลักปรัชญาปัญจศีลของอินโดนีเซียข้อที่หนึ่ง ซึ่งกาฮารีงันเองก็รับอิทธิพลฮินดูจากชวามาช้านานแล้ว รัฐบาลจึงมองว่ากาฮารีงันไม่ใช่ศาสนา หากแต่ถือเป็นเพียงศาสนาฮินดูท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง และอาจเป็นเพราะศาสนาฮินดูเป็นหนึ่งในหกศาสนาที่รัฐบาลอินโดนีเซียให้การยอมรับอย่างเป็นทางการ กาฮารีงันมีเทศกาลที่สำคัญคือเทศกาลตีวะฮ์ (Tiwah) ที่จะมีการบูชายัญควาย วัว หมู และไก่ถวายแด่องค์เทพเจ้า กาฮารีงัน มาจากคำดายะก์เก่าว่า ฮาริง (Haring) แปลว่า "ชีวิต" หรือ "มีชีวิตอยู่" โดยมีสัญลักษณ์ประจำศาสนาคือภาพต้นไม้แห่งชีวิตที่มีกิ่งก้านสาขาและหอก ยอดบนสุดจะมีรูปนกเงือกและดวงอาทิตย์ ที่สองสิ่งหลังนี้เป็นสัญลักษณ์แทนเทพเจ้าสูงสุดคือ รันยิงมาฮาลาลา (Ranying Mahalala) โดยจะมีพ่อหมอที่เรียกว่าบาเลียน (Balian) เป็นผู้นำในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา หรือทำพิธีกรรมไสยศาสตร์อื่น ๆ หากชาวกาฮารีงันถึงแก่มรณกรรมก็จะมีพิธีศพครั้งแรกคือการฝัง ก่อนขุดศพขึ้นมาประกอบพิธีอีกครั้งโดยนำกระดูกมาไว้ในซันดุง (Sandung) ซึ่งเป็นโกศที่มีลักษณะเหมือนศาลพระภูมิตามคติไทย และเชื่อว่าวิญญาณของบรรพชนที่ตายไปจะเป็นผีดีมาปกป้องหมู่บ้านจากภยันตราย ปัจจุบันชาวดายะก์หลายเผ่านิยมเข้ารีตศาสนาคริสต์และอิสลามกันมากขึ้น ผู้ที่นับถือกาฮารีงันก็ลดลงอย่างน่าใจห.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกาฮารีงัน · ดูเพิ่มเติม »

กาเบรียล

กาเบรียล เป็นทูตสวรรค์ในศาสนาอับราฮัม โดยชาวยิวและชาวคริสต์เรียกว่ากาเบรียล ส่วนชาวมุสลิมเรียกว่าญิบรีล (גַּבְרִיאֵל, ภาษาฮีบรูมาตรฐาน: “Gavriʼel”, Gabrielus, Γαβριήλ, ภาษาฮิบรูไทบีเรียน: “Gaḇrîʼēl”, جبريل “Jibrīl” หรือ “Jibrail”) แปลตรงตัวว่า 'พละกำลังของพระเจ้า' เชื่อว่าเป็นอัครทูตสวรรค์ผู้นำสารมาจากพระเป็นเจ้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกาเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ระที่นั่งบรมราชสถิตยมโหฬาร กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาส การจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี พุทธศักราช 2549 จัดขึ้นโดย รัฐบาล และ ภาคเอกชน โดยตลอดปีมหามงคล พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กุรบาน

กุรบาน (قربان) บ้างก็สะกดว่า กุรบ่าน การทำกุรบานที่ยะลา เนื้อที่ถูกแล่แล้วจะนำไปแจกให้แก่เด็กกำพร้าและคนยากจน แปลว่า การเข้าใกล้ด้วยการพลี วิธีการสะกดอื่น ๆ เช่น กุรบ่าน ภาษามลายู Kurban ในภาษามลายูปาตานีเพี้ยนเป็น "Gerbae" ในอิสลามหมายถึง การเข้าใกล้ต่ออัลลอหฺด้วยการการเชือดสัตว์พลีต่อพระองค์ในวันอีดุลอัฎฮา ซึ่งยังเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ฮารีรายากุรบาน สัตว์ที่ใช้เป็นสัตว์พลีนั้นได้แก่ อูฐ แพะ แกะ และวัว ซี่งในภาษาอาหรับเรียกว่าสัตว์พลีว่า أضحية /อัฎฮียะหฺ/ นอกจากนี้ คำว่า กุรบาน ยังใช้ในความหมายที่ใกล้เคียงกัน เช่นการสละชีพเพื่อศาสนา หมวดหมู่:ศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและกุรบาน · ดูเพิ่มเติม »

ญิฮาด

ญิฮาด (جهاد, Jihad) มาจากคำกริยา ญะฮะดะ ในภาษาอาหรับหมายถึง การดิ้นรนต่อสู้หรือความพยายาม ในทางศาสนาหมายถึง ความพยายามที่จะเพิ่มศรัทธาในพระเจ้ารวมทั้งการทำความดี การเผยแพร่ศาสนา ผู้ทำการญิฮาดเรียกว่ามุญาฮิด พหูพจน์เรียกว่ามุญาฮิดีน ในทางศาสนาอิสลามแล้ว คำนี้ไม่ได้หมายถึงสงครามศักดิ์สิทธิ์ดังที่ผู้มิใช่มุสลิมเข้าใจ และเป็นศัพท์ทางศาสนาคำหนึ่งที่ถูกเข้าใจผิดบ่อยครั้ง คำว่าญิฮาดนี้มีปรากฏทั้งในอัลกุรอ่านและหะดิษต่าง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและญิฮาด · ดูเพิ่มเติม »

ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์

ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์ (Islamic Jihad Movement in Palestine หรือ Palestinian Islamic Jihad Movement;ภาษาอาหรับ حركة الجهاد الإسلامي في فلسطين, - Harakat al-Jihād al-Islāmi fi Filastīn) เป็นกองกำลังทางทหารของชาวปาเลสไตน์ที่ถูกจัดให้เป็นกลุ่มก่อการร้ายโดยสหรัฐ สหภาพยุโรป อังกฤษ ญี่ปุ่น แคนาดา ออสเตรเลียและอิสราเอลพัฒนามาจากนักรบปาเลสไตน์ในฉนวนกาซา ผู้นำกลุ่มคือ ราห์มาดาน ชาลลอห์ จุดมุ่งหมายต้องการสร้างรัฐปาเลสไตน์ที่เป็นรัฐอิสลามและทำลายล้างอิสราเอลด้วยญิฮาด ต่อต้านรัฐบาลอาหรับทุกประเทศที่ให้ความร่วมมือกับตะวันตก แต่แนวคิดของกลุ่มนี้ไม่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มประเทศอาหรับสายกลาง กองพลอัล-กุดส์ของญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์อ้างความรับผิดชอบต่อการโจมตีทางทหารหลายครั้งรวมทั้งระเบิดพลีชีพ ญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์มีขนาดเล็กกว่ากลุ่มฮามาสและไม่มีเครือข่ายทางสังคมดังที่กลุ่มฮามาสมี กลุ่มนี้ก่อตั้งในฉนวนกาซาเมื่อราว..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและญิฮาดอิสลามปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ญุมาดัษษานียะฮฺ

ญุมาดัลอาคิเราะฮ์ (جمادى الآخر أو جمادى الثاني) หรือ ญุมาดัษษานียะฮ์ นอกจากนี้ยังเรียกอีกว่า ญุมาดัลอาคิร และ ญุมาดัษษานี และ การสะกดไม่มาตรฐานอื่น ๆ ญุมาดิลอาคิเราะฮ์ ญุมาดิลอาคิเราะฮ์ ญุมาดิษษานี ญุมาดิษซานี เป็นเดือนที่ 6 ของปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์ หรือปฏิทินอิสลาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและญุมาดัษษานียะฮฺ · ดูเพิ่มเติม »

ภรรยา

ภรรยา หมายถึง คู่สมรสฝ่ายหญิง สิทธิและพันธะของภรรยาต่อคู่สมรสของเธอและคนอื่น และสถานะของเธอในชุมชนและตามกฎหมายแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมและยุคสมัย ในอดีต บางประเทศ ชายมีภรรยาได้ไม่จำกัดเพราะไม่มีกฎหมายบังคับ ในศาสนาคริสต์ ชายสามารถมีภรรยาได้หนึ่งคน ในศาสนาอิสลาม ชายสามารถมีภรรยาได้มากถึงสี่คน หมวดหมู่:เพศภาวะ หมวดหมู่:ครอบครัว หมวดหมู่:การแต่งงาน หมวดหมู่:เพศ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภรรยา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชวา

ษาชวา คือภาษาพูด ของผู้ที่อาศัยอยู่บนตอนกลางและตะวันออกของเกาะชวาในประเทศอินโดนีเซีย เป็นภาษาแม่ของมากกว่า 75,500,000 คน ภาษาชวาอยู่ในภาษากลุ่มออสโตรนีเซียน จึงสัมพันธ์กับภาษาอินโดนีเซียและภาษามลายู ผู้พูดภาษาชวา พูดภาษาอินโดนีเซียด้วย สำหรับวัตถุประสงค์ทางการและธุรกิจ และเพื่อสื่อสารกับชาวอินโดนีเซียอื่น ๆ มีชุมชนผู้พูดภาษาชวาขนาดใหญ่ในประเทศมาเลเซีย โดยเฉพาะรัฐเซอลาโงร์และยะโฮร์ (คีร์ โตโย รัฐมนตรีของเซอลาโงร์ เป็นชนพื้นเมืองของชวา) อย่างไรก็ดี ภาษาชวาไม่สามารถเข้าใจกันกับภาษามลายูได้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาชวา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาชูวัช

ษาชูวัช (ภาษาชูวัช: Чӑвашла, Čăvašla, สัทอักษร:; อาจสะกดเป็น Chăvash, Chuwash, Chovash, Chavash, Çuvaş หรือ Çuaş) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดในบริเวณเทือกเขายูรัลทางตอนกลางของรัสเซีย เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐชูวัชในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดราว 2 ล้านคน เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ภาษาที่มีอิทธิพลต่อภาษาชูวัชได้แก่ ภาษาตาตาร์ ภาษากลุ่มฟินโน-อูกริก ภาษารัสเซีย ภาษามารี ภาษามองโกเลีย ภาษาอาหรับ และภาษาเปอร์เซีย แต่โบราณ ภาษาชูวัชเขียนด้วยอักษรออร์คอน เปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับเมื่อเข้ารับอิสลาม เมื่อถูกยึดครองโดยมองโกเลีย ระบบการเขียนได้หายไป อักษรแบบใหม่ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย อีวาน ยาคอฟเลวิช ยาคอฟเลฟ ใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาชูวัช · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพัชโต

ษาพัชโต (Pashto, Pashtoe, Pushto, Pukhto; پښتو, pax̌tō) หรือ ภาษาปุกโต หรือเรียกในเชิงประวัติศาสตร์ว่า ภาษาอัฟกัน (Afghani; افغاني, afğānī) และ ภาษาปาทาน (Pathani) เป็นภาษาแม่ของชาวปาทาน (Pashtun) ซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศอัฟกานิสถานและแคว้นทางตะวันตกของประเทศปากีสถาน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาพัชโต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาพาเซนด์

ื่อในภาษาพาเซนด์อ่านว่า ''pargat auual'' มีการใช้รูปอักษร ''el'' (ซ้ายสุดคล้ายอักษรละติน 'p') ซึ่งเป็นอักษรที่ใช้ในภาษาพาเซนด์เท่านั้น ไม่พบในภาษาอเวสตะ ภาษาพาเซนด์ เป็นภาษาที่พัฒนามาจากภาษาเปอร์เซียกลาง โดยตัดคำยืมจากภาษากลุ่มเซมิติกเช่น ภาษาอราเมอิกออกไป เริ่มแรกพบในข้อความศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาโซโรอัสเตอร์ ภาษานี้เป็นภาษาเขียนหลังจากสิ้นสุดยุคซัสซาเนียน และลดความสำคัญลงเมื่อศาสนาอิสลามแพร่เข้ามาถึง จนกลายเป็นภาษาตายในที.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาพาเซนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษากงกณี

ษากงกณี(อักษรเทวนาครี: कोंकणी; อักษรกันนาดา:ಕೊಂಕಣಿ; อักษรมาลายาลัม:കൊംകണീ; อักษรโรมัน: Konknni) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน โดยมีคำศัพท์จากภาษาดราวิเดียนปนอยู่ด้วย ได้รับอิทธิพลจากภาษาอื่นหลายภาษา ทั้งภาษาโปรตุเกส ภาษากันนาดา ภาษามราฐี ภาษาเปอร์เซีย และภาษาอาหรับ มีผู้พูดประมาณ 7.6 ล้านคน http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษากงกณี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามลายูปัตตานี

ษามลายูปัตตานี หรือ ภาษามลายูปาตานี (มลายูปัตตานี: บาซอ 'นายู 'ตานิง; Bahasa Melayu Patani, อักษรยาวี: بهاس ملاي ڤطاني) หรือนิยมเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ภาษายาวี (อักษรยาวี: بهاس جاوي) เป็นภาษากลุ่มออสโตรนีเซียนที่พูดโดยชาวไทยเชื้อสายมลายูในจังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส จังหวัดยะลา รวมทั้งในอำเภอนาทวี อำเภอจะนะ อำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย ทางทิศตะวันออกของจังหวัดสงขลา (ไม่รวมจังหวัดสตูล) ในประเทศไทยมีประชากรที่พูดภาษานี้มากกว่า 1 ล้านคน ภาษานี้ใกล้เคียงมากกับภาษามลายูถิ่นในรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นภาษาถิ่นที่แตกต่างจากส่วนที่เหลือของประเทศมาเลเซีย บางครั้งก็มีการเรียกรวมเป็นภาษาเดียวกันว่า "ภาษามลายูกลันตัน-ปัตตานี".

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษามลายูปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามัลดีฟส์

ษามัลดีฟส์ (Maldivian language) เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันและเป็นภาษาราชการของประเทศมัลดีฟส์ มีคนพูดประมาณ 300,000 คน ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในมัลดีฟส์ รวมทั้งภาษามาห์ล (Mahl dialect) ที่ใช้ในลักษทวีป ซึ่งเป็นดินแดนสหภาพของอินเดีย เรียกชื่อต่างกันด้วยเหตุผลทางการเมือง ภาษาที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาของภาษามัลดีฟส์มีหลายภาษา โดยเฉพาะภาษาอาหรับ ที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลาม รวมทั้ง ภาษาสิงหล ภาษามาลายาลัม ภาษาฮินดี ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเปอร์เซีย ภาษาโปรตุเกส และ ภาษาอังกฤษ คาดว่าภาษามัลดีฟส์และภาษาสิงหลสืบมาจากภาษาเดียวกัน ซึ่งได้สูญพันธุ์ไป เมื่อเกิดภาษาใหม่ 2 ภาษาในช่วงประมาณ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษามัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามาลายาลัม

ษามาลายาลัมเป็นภาษาราชการของรัฐเกราลาทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้พูดประมาณ 36 ล้านคน และมีผู้พูดในเกาะลักษทวีปด้วย จัดอยู่ในภาษาตระกูลดราวิเดียน ใกล้เคียงกับภาษาทมิฬ เขียนด้วยอักษรมาลายาลัม ภาษามาลายาลัมจัดอยู่ในกลุ่มดราวิเดียนใต้ คาดว่ามีกำเนิดร่วมกับภาษาทมิฬเมื่อราว..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษามาลายาลัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษายัซกุลยาม

ษายัซกุลยาม (yuzdami zevég, ภาษาทาจิก yazgulomi) เป็นภาษากลุ่มอิหร่านสาขาปาร์มีร์ มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ 4,000 คนเมื่อ พ.ศ. 2537 ในบริเวณแม่น้ำยัซกุลยาม โคร์โน-บาดักซาน ประเทศทาจิกิสถาน ส่วนใหญ่ผู้พูดภาษาน้จะพูดภาษาทาจิกได้ด้วย ผู้พูดภาษานี้ต่างจากผู้พูดภาษากลุ่มปาร์มีร์อื่นๆคือไม่ได้นับถือศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษายัซกุลยาม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสินธี

ษาสินธีเป็นภาษาของกลุ่มชนในเขตสินธ์ในเอเชียใต้ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน แม้ว่าจะเป็นภาษาของชาวอารยัน แต่มีอิทธิพลจากภาษาของดราวิเดียนด้วย ผู้พูดภาษาสินธีพบได้ทั่วโลก เนื่องจากการอพยพออกของประชากรเมื่อปากีสถานแยกตัวออกจากอินเดียเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาสินธี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันตก

ษาอราเมอิกใหม่ตะวันตก เป็นภาษาอราเมอิกใหม่ที่ใช้พูดในซีเรียตะวันตก เป็นสำเนียงของภาษาอราเมอิกตะวันตกสำเนียงเดียวที่เหลืออยู่ ส่วนภาษาอราเมอิกใหม่ที่เหลืออื่นๆอยู่ในกลุ่มตะวันออก คาดว่าภาษานี้อาจเป็นส่วนที่เหลืออยู่ของสำเนียงยุคกลางตะวันตกที่เคยใช้พูดในหุบเขาดอโรนเตสในพุทธศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันใช้พูดในหมู่บ้านมาอัลโออูลา (ภาษาอาหรับ: معلولة‎) บาคอา (ภาษาอาหรับ: بخعة‎) และ จุบบาดิน (ภาษาอาหรับ: جبّعدين‎) ที่อยู่ทางเหนือของดามัสกัสไป 60 กม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาอราเมอิกใหม่ตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับคลาสสิก

อกสารจากอัลกุรอ่าน เป็นลายมือเขียนของภาษาอาหรับคลาสสิก ภาษาอาหรับคลาสสิก (Classical Arabic; CA) หรือภาษาอาหรับโกหร่าน (Koranic Arabic) เป็นรูปแบบของภาษาอาหรับที่ใช้ในวรรณคดีจากสมัยอุมัยยัดและอับบาสิด (ประมาณพุทธศตวรรษ 12 – 14) มีพื้นฐานมาจากสำเนียงในยุคกลางของเผ่าอาหรับ ภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ จะเป็นภาษาลูกหลานของภาษานี้ แม้ว่ารากศัพท์ และรูปแบบของภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่จะต่างจากภาษาอาหรับคลาสสิก แต่โครงสร้างประโยคยังไม่เปลี่ยนแปลง ในขณะที่สำเนียงที่ใช้พูดได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว ในโลกของชาวอาหรับ มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยระหว่างภาษาอาหรับคลาสสิกและภาษาอาหรับมาตรฐานสมัยใหม่ และทั้งคู่ถูกเรียกว่าอัล-ฟุศฮาในภาษาอาหรับซึ่งหมายถึงภาษาพูดที่ชัดเจน เนื่องจากเป็นภาษาที่ใช้เขียนคัมภีร์อัลกุรอ่าน จึงถือเป็นภาษาศักดิ์สิทธิ์ของมุสลิม และใช้ในพิธีทางศาสน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาอาหรับคลาสสิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับซิรวาน

ษาอาหรับซิรวาน (Shirvani Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่เคยใช้พูดในบริเวณที่เป็นตอนกลางและตะวันตกเฉียงเหนือของอาเซอร์ไบจานในปัจจุบัน (ในสมัยก่อนเรียกซิรวาน) และดาเกสถาน (ทางภาคใต้ของรัสเซีย) ภาษาอาหรับที่ใช้พูดในบริเวณนี้เป็นผลมาจากการแผ่ขยายของศาสนาอิสลามมาจากเทือกเขาคอเคซัสใต้เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ซึ่งทำให้มีชาวอาหรับเข้ามาตั้งหลักแหล่งทั้งเป็นกองทหาร พ่อค้าจากซีเรีย และแบกแดดซึ่งใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาราชการ ต่อมาบทบาทของภาษาอาหรับได้ลดลงเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 18 หลังจากกาหลิบเลื่อมอำนาจลง และถูกแทนที่ด้วยภาษาเปอร์เซีย ภาษาตัต และภาษาอาเซอรี กลุ่มของชาวอาหรับ (ส่วนใหญ่มาจากเยเมน) อพยพต่อไปเข้าสู่ทางใต้ของดาเกสถาน หลักฐานสุดท้ายที่บ่งบอกถึงการเหลืออยู่ของภาษาอาหรับซิรวาน อยู่ในงานเขียนของนักประวัติศาสตร์ชาวอาเซอรี Abbasgulu Bakikhanov ที่กล่าวว่าชาวอาหรับซิรวานพูดภาษาอาหรับที่เป็นสำเนียงต่างออกไป เมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาอาหรับซิรวาน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับเอเชียกลาง

ษาอาหรับเอเชียกลาง (Central Asian Arabic) เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่ใช้พูดในอุซเบกิสถานและทาจิกิสถาน ปัจจุบันเป็นภาษาที่ใกล้ตายแล้ว เคยใช้พูดระหว่างชุมชนชาวอาหรับและเผ่าต่างๆในเอเชียกลาง ที่อยู่ในซามาร์คันด์ บูคารา กิซกวาดัรยา สุรคันดัรยา (ปัจจุบันอยู่ในอุซเบกิสถาน) และคัตลอน (ปัจจุบันอยู่ในทาจิกิสถาน) รวมไปถึงอัฟกานิสถาน การอพยพเข้าสู่เอเชียกลางของชาวอาหรับครั้งแรกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการแพร่ขยายของศาสนาอิสลามภาษาอาหรับกลายเป็นภาษาทั่วไปทางด้านวิทยาศาสตร์และวรรณคดีอย่างรวดเร็วด้วยอิทธิพลของศาสนาอิสลาม ชาวอาหรับในเอเชียกลางส่วนใหญ่จะแยกตัวอยู่อย่างโดดเดี่วและไม่แต่งงานข้ามเผ่า ทำให้ภาษาของพวกเขายังคงอยู่มาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 25 เมื่อราว..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาอาหรับเอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอินโดนีเซีย

ษาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia; Indonesian language) เป็นภาษาทางการของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นภาษาที่น่าสังเกตในหลายด้าน เริ่มต้นด้วยการที่ชาวอินโดนีเซียส่วนใหญ่พูดภาษาอินโดนีเซียเป็นภาษาที่สอง และส่วนน้อยที่พูดเป็นภาษาแม่ในบางนัย ภาษานี้เป็นภาษาที่ค่อนข้างใหม่ เนื่องจากเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2488 และเป็นภาษาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เนื่องจากเกิดคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น ๆ อยู่ตลอด ชื่อท้องถิ่นของภาษาอินโดนีเซียคือ บาฮาซาอินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) และชื่อนี้ก็นำมาใช้ในภาษาอังกฤษในบางโอก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอุซเบก

ษาอุซเบก (อักษรละติน: O'zbek tili ออซเบก ติลี; อักษรซีริลลิก: Ўзбек) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่พูดโดยชาว อุซเบกในประเทศอุซเบกิสถานและพื้นที่อื่น ๆ ในเอเชียกลาง ภาษาที่ใกล้เคียงที่สุดในเชิงคำและไวยากรณ์คือภาษาอุยกูร์ ภาษาเปอร์เซียและภาษารัสเซียได้มีอิทธิพลสำคัญต่อภาษาอุซเบก ภาษาอุซเบกเป็นภาษาราชการของประเทศอุซเบกิสถาน และมีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 18.5 ล้านคน ภาษาอุซเบกก่อนปีพ.ศ. 2535 เขียนด้วยอักษรซีริลลิก แต่ในปัจจุบีนมีการใช้อักษรละตินเขียนในประเทศอุซเบกิสถาน ส่วนชาวจีนที่พูดภาษาอุซเบกใช้อักษรอาหรับเขียน อิทธิพลของศาสนาอิสลามรวมถึงภาษาอาหรับแสดงชัดเจนในภาษาอุซเบก รวมถึงอิทธิพลของภาษารัสเซียในช่วงที่ประเทศอุซเบกิสถานอยู่ภายใต้การยึดครองของจักรวรรดิรัสเซีย และ โซเวียต คำภาษาอาหรับส่วนใหญ่ผ่านเข้ามายังภาษาอุซเบกผ่านทางภาษาเปอร์เซีย ภาษาอุซเบกแบ่งเป็นภาษาย่อย ๆ จำนวนมาก ซึ่งมีความแตกต่างอย่างมากระหว่างภูมิภาค อย่างไรก็ดี มีภาษาย่อยที่เข้าใจกันทั่วไป ซึ่งใช้ในสื่อมวลชนและในสิ่งตีพิมพ์ส่วนใหญ่ นักภาษาศาสตร์บางคนถือว่าภาษาที่พูดในประเทศอัฟกานิสถานตอนเหนือโดยชาวอุซเบกพื้นเมือง เป็นภาษาย่อยของภาษาอุซเบก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาอุซเบก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจามตะวันตก

ษาจามตะวันตก (Western Cham) หรือภาษาจามกัมพูชา ภาษาจามใหม่ มีผู้พูดทั้งหมด 253,100 คน พบในกัมพูชา 220,000 คน (พ.ศ. 2535) ในเมืองใกล้กับแม่น้ำโขง พบในไทย 4,000 คน ในกรุงเทพฯ และอาจมีตามค่ายผู้อพยพ ส่วนใหญ่เปลี่ยนมาพูดภาษาไทย สำเนียงที่ใช้พูดในไทยได้รับอิทธิพลจากตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติกมาก พบในเวียดนาม 25,000 คน โดยอยู่ในไซ่ง่อน 4,000 คน มีผู้พูดภาษานี้ในออสเตรเลีย ฝรั่งเศส อินโดนีเซีย ลิเบีย มาเลเซีย ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐและเยเมน ภาษานี้มีความแตกต่างจากภาษาจามตะวันออกที่ใช้พูดทางภาคกลางของเวียดนาม จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย สาขามาเลย์อิก สาขาย่อยอาเจะห์-จาม เขียนด้วยอักษรจามและอักษรโรมัน ผู้พูดภาษานี้นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาจามตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทามูดิก

ษาทามูดิก (Thamudic; الثمودية) เป็นภาษาอาระเบียเหนือโบราณที่พบในจารึกยุคก่อนศาสนาอิสลามตลอดทะเลทรายอาระเบียและคาบสมุทรไซนาย ในช่วง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาทามูดิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทาจิก

ษาทาจิก (Tajik Persian หรือ Tajik language หรือ Tajiki;Tadjik หรือ Tadzhik;,อักษรอาหรับเปอร์เซีย تاجیکی‎, tojikī โทจิกิ),тоҷикӣ) เป็นรูปแบบสมัยใหม่แบบหนึ่งของภาษาเปอร์เซีย ที่พูดในเอเชียกลาง เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน ใน กลุ่มภาษาอิเรเนียน คนที่พูดภาษาทาจิกส่วนใหญ่อาศัยในประเทศทาจิกิสถาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน และตะวันตกของปากีสถาน แต่ผู้พูดภาษาทาจิกประมาณ 30,000 คน ใกล้ชายแดนประเทศทาจิกิสถานในประเทศจีน) เป็นภาษาราชการของประเทศทาจิกิสถาน ภาษาทาจิก ที่เป็นภาษาราชการของทาจิกิสถาน ต่างจากภาษาเปอร์เซียที่ใช้พูดในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ซึ่งเป็นผลมาจากการแบ่งแยกดินแดนทางการเมือง การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์และการจัดมาตรฐานทางภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษารัสเซียและภาษากลุ่มเตอร์กิกที่อยู่รอบๆ มาตรฐานของภาษานี้ยึดตามสำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือของทาจิกิสถานซึ่งเป็นเมืองเก่าของซามาร์คันฑ์ และได้รับอิทธิพลจากภาษาอุซเบกด้วย ภาษาทาจิกมีหน่วยคำในคำศัพท์ การออกเสียงและไวยากรณ์ซึ่งไม่มีในภาษาเปอร์เซียที่พูดในที่อื่น ซึ่งน่าจะเป็นมาจากการที่ถูกแบ่งแยกโดยภูมิศาสตร์เขตเทือกเขาของเอเชียกลาง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาทาจิก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาควาเรซม์

ภาษาควาเรซม์ (Khwarezmian language) เป็นภาษาของชาติควาเรซม์ (Khwarezm) ทางเหนือของแม่น้ำจาซาร์เตส (ซีร์ดาร์ยา) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในประเทศอุซเบกิสถาน โดยเป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออกเฉียงเหนือที่ตายแล้ว ความรู้เกี่ยวกับภาษานี้มีจำกัด ภาษานี้เคยเขียนด้วยอักษรที่ใกล้เคียงกับอักษรซอกเดียและอักษรปะห์ลาวีที่มาจากอักษรอราเมอิกก่อนที่ศาสนาอิสลามจะแพร่มาถึงบริเวณนี้ เมื่อศาสนาอิสลามแพร่เข้ามาจึงเปลี่ยนไปเขียนด้วยอักษรอาหรับ-เปอร์เซีย ซึ่งเป็นรูปแบบเดียวกับที่ใช้เขียนภาษาพาซตูในปัจจุบัน ภาษานี้ใช้มาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 18 แล้วจึงถูกแทนที่ด้วยภาษาตุรกีและภาษาเปอร์เซีย ควาเรซม์.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาควาเรซม์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาคาไรม์

ษาคาไรม์ (Karaim language) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่ได้รับอิทธิพลจากภาษาฮีบรูในทำนองเดียวกับภาษายิดดิชหรือภาษาลาดิโน พูดโดยชาวคาไรต์ในไครเมียซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่นับถือศาสนายูดายในไครเมีย ลิธัวเนีย โปแลนด์และยูเครนตะวันตกเหลือผู้พูดอยู่เพียง 6 คน ภาษาคาไรม์สำเนียงลิธัวเนียเคยใช้พูดในกลุ่มชุมชนขนาดเล็กบริเวณเมืองตราไก ชาวคาไรต์เหล่านี้ถูกซื้อมาโดยแกรนด์ดุ๊กเวียเตาตัสแห่งลิธัวเนียเมื่อราว..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาคาไรม์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตาตาร์ไครเมีย

ษาตาตาร์ ไครเมีย หรือภาษาไครเมีย ภาษาตุรกีไครเมีย เป็นภาษาของชาวตาตาร์ไครเมีย ใช้พูดในไครเมีย เอเชียกลาง โดยเฉพาะในอุซเบกิสถาน และผู้อพยพชาวตาตาร์ ไครเมียในตุรกี โรมาเนีย บัลแกเรีย เป็นคนละภาษากับภาษากวาซัน ตาตาร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาตาตาร์ไครเมีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตุรกี

ษาตุรกี (Türkçe ตืร์กเช หรือ Türk dili ตืร์ก ดิลิ) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก เป็นภาษาที่มีผู้พูด 65 – 73 ล้านคนทั่วโลกซึ่งถือเป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกที่มีผู้พูดมากที่สุด ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในตุรกี และมีกระจายอยู่ในไซปรัส บัลแกเรีย กรีซ และยุโรปตะวันออก และมีผู้พูดอีกหลายสิบล้านคนที่อพยพไปอยู่ในยุโรปตะวันตกโดยเฉพาะเยอรมัน ต้นกำเนิดของภาษาพบในเอเชียกลางซึ่งมีการเขียนครั้งแรกเมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว ภาษาตุรกีออตโตมันได้แพร่ขยายไปทางตะวันตกซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของจักรวรรดิออตโตมัน พ.ศ. 2471 หลังการปฏิรูปของอตาเตริ์กซึ่งเป็นปีแรกๆของยุคสาธารณรัฐใหม่ มีการปรับปรุงภาษาโดยแทนที่อักษรอาหรับในยุคออตโตมันด้วยอักษรละตินที่เพิ่มเครื่องหมายการออกเสียง มีการตั้งสมาคมภาษาตุรกีเพื่อลดการใช้คำยืมจากภาษาเปอร์เซียกับภาษาอาหรับ หันมาใช้คำดั้งเดิมของภาษากลุ่มเตอร์กิกแทน ลักษณะเด่นของภาษาตุรกีคือมีการเปลี่ยนเสียงสระและการเชื่อมคำแบบรูปคำติดต่อ การเรียงคำโดยทั่วไปเป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา ไม่มีการแบ่งเพศของคำนาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซอกเดีย

ษาซอกเดีย เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตอนกลางใช้พูดในบริเวณซอกเดียนา (หุบเขาที่ราบลุ่มแม่น้ำซาราฟฮาน) ปัจจุบันอยู่ในอุซเบกิสถานและทาจิกิสถาน เป็นภาษาที่มีความสำคัญทางวรรณคดี ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซียกลางและภาษาพาร์เทียน เป็นภาษาทางการค้าในเอเชียกลางและเป็นภาษากลางระหว่างพ่อค้าชาวจีนและชาวอิหร่าน ไม่พบหลักฐานของภาษาที่เก่ากว่าภาษานี้ ไวยากรณ์ของภาษาซอกเดียมีลักษณะอนุรักษนิยมมากกว่าภาษาเปอร์เซียกลาง ความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจและการค้าทำให้ภาษานี้ยังคงมีการใช้อยู่ในช่วง 100 ปีแรกหลังการแพร่เข้าสู่บริเวณนี้ของศาสนาอิสลามเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาซอกเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเบงกาลี

ษาเบงกาลี (বাংলা, บังคลา) เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรของประเทศบังคลาเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดีย ที่ติดกับบังคลาเทศ นอกจากนี้ยังมีชุมชนของคนที่พูดภาษาเบงกอลที่ใหญ่พอควรในรัฐอัสสัม (อีกรัฐในอินเดีย ติดกับทั้งรัฐเบงกอลตะวันตกและประเทศบังคลาเทศ) และในประชากรที่อพยพไปทางตะวันตกและตะวันออกกลาง รูปแบบมาตรฐานของภาษานี้เรียกว่า cholit bhaashaa: จลิตภาษา เป็นภาษาย่อยที่พูดกันมากที่สุด มีแบบมาจาก "Calcutta Bengali" (ภาษาเบงกอลที่พูดในเมืองกัลกัตตา) ในประเทศบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกาลี ในภาษาอังกฤษ Bengali ใช้เรียกทั้งภาษาและคนที่พูดภาษานี้ ในภาษาเบงกาลีเองเรียกภาษาว่า Bangla: บังคลา (বাঙলা), ซึ่งเป็นคำที่เริ่มใช้มากขึ้นในภาษาอังกฤษ ส่วนในภาษาบังคลา ชาวเบงกอลเรียกว่า Bangali: บางกาลี (বাংলা) ถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมเนียมของชาวเบงกาลีเรียกว่า Bengal: เบงกอล ในภาษาอังกฤษ และ Bongo: บองโก Banga: บางกา หรือ Bangla: บังคลา ในภาษาเบงกาลี "Bangadesh: บางกาเทศ" และ "Bangladesh: บังคลาเทศ" เป็นคำที่ใช้เรียกภูมิภาคของชาวเบงกอลก่อนที่จะมีการแยกเป็นสองส่วน คือ เบงกอลตะวันตก (West Bengal หรือ Poshchim Bongo: ปอจิม บองโก หรือ ประจิมบังกา) ซึ่งได้กลายเป็นรัฐของอินเดีย และส่วนตะวันออก (เบงกอลตะวันออก: East Bengal หรือ Purbo Bongo: ปูร์โบ บองโก หรือ บูรพาบังกา) กลายเป็นประเทศบังคลาเทศ เนื่องจากมีผู้ใช้ภาษาเบงกาลีมากกว่า250ล้านคนทั่วโลก ชีค ฮาซินา วาเจด นายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เสนอเมื่อ เดือนกันยายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาเบงกาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเมห์รี

ษาเมห์รี เป็นภาษากลุ่มเซมิติกใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยทางตะวันออกของเยเมนและทางตะวันตกของโอมาน และเป็นภาษาที่เคยใช้พูดในคาบสมุทรอาระเบียก่อนการแพร่กระจายของภาษาอาหรับที่มาพร้อมกับศาสนาอิสลาม เมื่อพุทธศตวรรษที่ 12 มีผู้พูดในคูเวตซึ่งเป็นกลุ่มผู้ใช้แรงงานที่อพยพเข้าไป เป็นภาษาที่ใกล้ตาย ไม่มีการใช้เป็นภาษาเขียน จัดอยู่ในภาษากลุ่มเซมิติกใต้สาขาอาระเบียใต้ มีความสัมพันธ์กับภาษาอัมฮาราในเอธิโอเปีย มีผู้พูดในเยเมน 70,643 คน ในโอมาน 50,763 คนและในคูเวต 14,358 คน เมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาเมห์รี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเมโมนี

ษาเมโมนี เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน ใช้พูดโดยชาวเมโมนน พัฒนามาจากภาษาสันสกฤต ใกล้เคียงกับภาษากัจฉิและภาษาคุชราต มีผู้พูดทั้งในอินเดียและปากีสถาน ชาวเมโมน กาถิวาทีพูดภาษาที่ไม่มีระบบการเขียนซึ่งเรียกว่าภาษาเมโมนีซึ่งเป็นภาษาผสมระหว่างภาษาสินธีและภาษากัจฉิ จัดอยู่ในกลุ่มภาษาอินโด-อารยันในเขตเหนือ-ตะวันตก ภาษาสินธีและภาษากัจฉินั้นใช้พูดทั้งผู้ที่เป็นและไม่เป็นมุสลิม แต่ภาษาเมโมนีใช้พูดเฉพาะชาวเมโมน กาถิวาทีที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่ที่อพยพจากสินธ์มาสู่พื้นที่ใกล้เคียง คือที่กุตส์และกาเกียวาร์ในคุชราต เมื่อหลายร้อยปีที่ผ่านมา ภาษาที่ใช้ในปัจจุบันมีความใกล้เคียงกับภาษาสินธี แต่มีคำยืมจากภาษาคุชราต ภาษาฮินดูสตานและภาษาอังกฤษ เรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา ในปากีสถาน ภาษาเมโมนีมีการใช้คำและวลีจากภาษาอูรดูมาก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาเมโมนี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเคิร์ด

ษาเคิร์ด (کوردی‎ คูร์ดี) มีผู้พูดราว 31 ล้านคน ในอิรัก (รวมทั้งในเขตปกครองตนเองของชาวเคิร์ด) อิหร่าน ตุรกี ซีเรีย เลบานอน จัดอยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ ตระกูลอินโด-ยุโรป ภาษาที่ใกล้เคียงคือ ภาษาบาโลชิ ภาษาคิเลกิ และภาษาตาเลียส ภาษาเปอร์เซียที่อยู่ในกลุ่มภาษาอิหร่านตะวันตกเฉียงใต้จัดเป็นภาษาใกล้เคียงด้วยแต่มีความแตกต่างมากกว่า 3 ภาษาข้างต้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาเคิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเตลูกู

ษาเตลูกู (Telugu తెలుగు) อยู่ในตระกูลภาษาดราวิเดียน แต่มีอิทธิพลพอสมควรจากภาษากลุ่มอินโด-อารยันภายใต้ตระกูล อินโด-ยุโรเปียนและเป็นภาษาราชการของรัฐอานธรประเทศ (Andhra Pradesh) ของอินเดีย ภาษาเตลูกูเป็นตระกูลภาษาดราวิเดียนที่มีผู้พูดมากที่สุด เป็นภาษาที่พูดเป็นอันดับ 2 รองจากภาษาฮินดี และเป็นหนึ่งใน 22 ภาษาราชการของอินเดีย เขียนด้วยอักษรเตลูกู ชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เรียกภาษาเตลูกูว่า ภาษาอิตาลีของโลกตะวันออก (Italian of the East) เนื่องจากทุกคำในภาษาเตลูกูลงท้ายด้วยเสียงสระ แต่เชื่อว่านักสำรวจชาวอิตาลี นิกโกเลาะ ดา กอนตี (Niccolò Da Conti) ได้คิดวลีนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 15.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาเตลูกู · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเซบัวโน

ษาเซบู (Cebuano; Sebwano; เซบู: Sinugboanon) เป็นภาษาตระกูลออสโตรนีเซียน มีผู้พูดในฟิลิปปินส์ 18 ล้านคน ชื่อในภาษาอังกฤษมาจากชื่อเกาะเซบู รวมกับปัจจัยจากภาษาสเปน -ano หมายถึง ที่เกี่ยวกับเชื้อชาต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาษาเซบัวโน · ดูเพิ่มเติม »

ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

วิชามนุษยศาสตร์ เป็น 1 ใน 4 ภาควิชาที่สังกัด คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวคือ ภาควิชามนุษยศาสตร์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ ภาควิชาศึกษาศาสตร์ และภาควิชาสังคมและสุขภาพ ผู้บุกเบิกก่อตั้งภาควิชานี้ขึ้นมา คือ ร.ดร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ไทย

แผนที่ประเทศไทย ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตำแหน่งที่ตั้งของประเทศได้มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ประเทศไทยยังเป็นเส้นทางทางบกเพียงทางเดียวจากทวีปเอเชียไปยังประเทศมาเลเซียและประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและภูมิศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหากาพย์กิลกาเมช

รึกมหากาพย์กิลกาเมช ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์น้ำท่วมโลก ในอัคคาเดียน มหากาพย์กิลกาเมช (Gilgamesh) เป็นตำนานน้ำท่วมโลกที่เก่าแก่ของเมโสโปเตเมียโบราณ เป็นหนึ่งในงานวรรณกรรมประเภทนิยายที่เก่าแก่ที่สุดในโลก นักวิชาการเชื่อว่ามหากาพย์เรื่องนี้มีกำเนิดมาจากตำนานกษัตริย์สุเมเรียนและบทกวีเกี่ยวกับวีรบุรุษในตำนานที่ชื่อว่า กิลกาเมช ซึ่งถูกรวบรวมเอาไว้กับบรรดาบทกวีอัคคาเดียนในยุคต่อมา มหากาพย์ชุดที่สมบูรณ์ที่สุดในปัจจุบันปรากฏในแผ่นดินเหนียว 12 แท่งซึ่งเก็บรักษาไว้ที่หอเก็บจารึกของกษัตริย์แห่งอัสซีเรีย เมื่อราวศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล มีชื่อดั้งเดิมว่า ผู้มองเห็นเบื้องลึก (He who Saw the Deep; Sha naqba īmuru) หรือ ผู้ยิ่งใหญ่กว่าราชันทั้งปวง (Surpassing All Other Kings; Shūtur eli sharrī) กิลกาเมชอาจจะเป็นผู้ปกครองที่มีตัวตนจริงในอดีตระหว่างราชวงศ์ที่ 2 ของยุคต้นของสุเมเรีย (ประมาณ 2,700 ปีก่อนคริสตกาล) สาระสำคัญของเรื่องเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างกิลกาเมช ผู้กำลังท้อใจกับการปกครองของตน กับเพื่อนของเขาชื่อ เอนกิดู ซึ่งเข้ารับภารกิจเสี่ยงภัยร่วมกับกิลกาเมช เนื้อหาส่วนใหญ่ในมหากาพย์เน้นย้ำถึงความรู้สึกสูญเสียของกิลกาเมชหลังจากเอนกิดูเสียชีวิต และกล่าวถึงการกลับเป็นมนุษย์อีกครั้งพร้อมกับเน้นย้ำเรื่องความเป็นอมตะ เรื่องราวในหนังสือเล่าถึงการที่กิลกาเมชออกเสาะหาความเป็นอมตะหลังจากการเสียชีวิตของเอนกิดู มหากาพย์เรื่องนี้ได้แปลเป็นภาษาต่างๆ มากมาย ส่วนวีรบุรุษกิลกาเมชก็ได้เป็นตัวเอกอยู่ในวัฒนธรรมมวลชนยุคใหม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมหากาพย์กิลกาเมช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

มหาวิทยาลัยฟาฏอนี เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอิสลามแห่งแรกในประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยนักวิชาการอิสลามและผู้ทรงคุณวุฒิด้านอิสลามศึกษาในภูมิภาค ซึ่งมีเจตนารมณ์ในการส่งเสริมและพัฒนาด้านอิสลามศึกษาและศาสตร์อื่นๆ สอนตามแนวทางกิตาบุ้ลลอฮฺและซุนนะห์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2541 มีชื่อว่า "วิทยาลัยอิสลามยะลา" ภายหลังเป็น "มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา" โดยมูลนิธิเพื่อการอุดมศึกษาอิสลามภาคใต้ เปิดรับนักศึกษารุ่นแรก ระดับปริญญาตรี จำนวน 200 คน ใน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาชะรีอะฮุ (กฎหมายอิสลาม) และสาขาวิชาอุศูลุดดีน (หลักการศาสนาอิสลาม) ซึ่งมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ได้รับการสนับสนุนงบประมาณด้านอาคาร และสิ่งก่อสร้างจากธนาคารอิสลามเพื่อการพัฒนา (LDB) ต่อมาได้เปลี่ยนสถานะเป็นมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2550 และเปลี่ยนชื่อเป็น "มหาวิทยาลัยฟาฏอนี" ในวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมหาวิทยาลัยฟาฏอนี · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร

มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร (جامعة الأزهر الشريف; Al-Azhar University) เป็นองค์กรศาสนาแห่งโลกอิสลาม ก่อตั้ง ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ประวัติศาสตร์ได้จารึกว่า อัลอัซฮัร ก่อกำเนิดในต้นรัชสมัยแห่งราชวงศ์ฟาติมียะห์ ในอียิปต์ เมื่อปี พ.ศ. 1517 เป็นศูนย์กลางการศึกษาด้านภาษาอาหรับและวรรณคดี มีหลักสูตรการสอนตามแนวของซุนนี เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่อันดับที่สองที่มีการเรียนการสอนจนถึงปัจจุบัน มีพื้นที่เชื่อมต่อกับมัสยิดอัลอัซฮัร เจตนารมณ์ของมหาลัยอัลอัซฮัร คือให้การศึกษาและเผยแผ่ศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (อังกฤษ: Princess of Naradhiwas University) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาสก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

มองดอ

มองดอ (Maungdaw) เป็นเมืองหนึ่งในรัฐยะไข่ทางภาคตะวันตกของพม่า มองดอเป็นเมืองที่อยู่ทางตะวันตกสุดของพม่าติดกับชายแดนบังกลาเทศ ห่างจากบูตีต่อง 16 ไมล์ ทั้งสองเมืองแยกออกจากกันด้วยภูเขามายยู และเชื่อมต่อกันด้วยอุโมงค์ที่สร้างเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมองดอ · ดูเพิ่มเติม »

มองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์)

วมองโกล หรือ ชาวมองโกเลีย เป็นกลุ่มชนหนึ่งที่อาศัยอยู่ในประเทศมองโกเลีย และ เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน ของประเทศจีน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมองโกล (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

มะห์มูด อะห์มะดีเนจาด

มะห์มูด อะห์มะดีเนจาด (محمود احمدی‌نژاد, เกิดเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2499) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 6 ของประเทศอิหร่าน เขาชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีและดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 6 สิงหาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมะห์มูด อะห์มะดีเนจาด · ดูเพิ่มเติม »

มะฮ์ดี

ตามแนวคิดทางอวสานวิทยาของศาสนาอิสลาม มะฮ์ดี (مهدي ผู้ถูกนำทาง) คือบุคคลหนึ่ง ที่นบีมุฮัมมัดพยากรณ์ว่าจะมาขจัดความชั่วร้าย และปกครองโลกเป็นเวลาหลายปี และสร้างสันติสุขบนโลกก่อนที่ถึงวันกิยามะฮ์บรรจง บินกาซัน, สารานุกรมอิสลาม ฉบับเยาวชนและผู้เริ่มสนใจ", 2547, หน้า 80-1.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมะฮ์ดี · ดูเพิ่มเติม »

มะเดื่อ

มะเดื่อ หรือ มะเดื่อฝรั่ง หรือ มะเดื่อญี่ปุ่น เป็นไม้ยืนต้นที่แยกดอกแยกต้นเจริญได้ดีในที่สูงถึง 6 เมตร หรือ 19 ฟุต อยู่ในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae เป็นพืชพื้นเมืองในแถบตะวันออกกลาง เป็นพืชคนละชนิดกับมะเดื่ออุทุมพรหรือมะเดื่อชุมพร (F. racemosa) ที่เป็นไม้พื้นเมืองในอินเดียและศรีลังกา มะเดื่อเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นเป็นปุ่มแตกกิ่งก้านออก ใบเดี่ยว ด้านหนึ่งหยาบ อีกด้านหนึ่งมีขนอ่อน ลำต้นมียางสีขาว ผลออกเป็นกระจุก กลมแป้นหรือรูปไข่ เปลือกบาง ผลอ่อนสีเขียว พอสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แดงหรือชมพูแล้วแต่พันธุ์ เนื้อในสีแดงเข้ม สุกแล้วมีกลิ่นหอม การปลูกเป็นการค้าเริ่มที่เอเชียตะวันตก แล้วจึงแพร่หลายสู่ซีเรีย ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมะเดื่อ · ดูเพิ่มเติม »

มักกะฮ์

มักกะฮ์ มีชื่อเต็มว่า มักกะตุลมุกัรเราะมะฮ์ (مكة المكرمة) นอกจากนี้ยังมีชื่ออื่น ๆ อีก เช่น อุมมุลกุรอ (มารดาบ้านเมือง) และบักกะฮ์ เป็นเมืองตั้งอยู่ที่พิกัด ในประเทศซาอุดีอาระเบีย ห่างจากเมืองท่าญิดดะฮ์ 73 กิโลเมตร อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 277 เมตร ห่างจากทะเลแดง 80 กิโลเมตร มักกะฮ์เป็นพระนครชุมทิศของโลกอิสลาม เป็นสถานที่ตั้งของกะอ์บะฮ์ มักกะฮ์ หมวดหมู่:ศาสนสถานอิสลาม หมวดหมู่:เมืองศักดิ์สิทธิ์.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมักกะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ เวเบอร์

ร์ล เอมิล มักซิมิเลียน "มักซ์" เวเบอร์ (Karl Emil Maximilian "Max" Weber) (21 เมษายน ค.ศ. 1864 – 14 มิถุนายน ค.ศ. 1920) เป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมืองและนักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ถือกันว่าเวเบอร์เป็นผู้ก่อตั้งวิชาสังคมวิทยาสมัยใหม่และรัฐประศาสนศาสตร์ งานชิ้นหลัก ๆ ของเขาเกี่ยวข้องกับสังคมวิทยาศาสนาและสังคมวิทยาการปกครอง นอกจากนี้เขายังมีงานเขียนอีกหลายชิ้นในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ งานที่ผู้คนจดจำได้มากที่สุดของเวเบอร์คือ ความเรียงเรื่อง จริยธรรมโปรเตสแตนต์และจิตวิญญาณแห่งทุนนิยม ซึ่งเป็นงานชิ้นแรกของเขาในสาขาสังคมวิทยาศาสนา ในงานชิ้นดังกล่าว เวเบอร์เสนอว่าศาสนาเป็นหนึ่งในสาเหตุหลัก ๆ ที่นำไปสู่เส้นทางการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่ต่างกันระหว่างโลกประจิม (the Occident) กับโลกบูรพา (the Orient) ในงานที่มีชื่อเสียงอีกชิ้นหนึ่งของเขาที่ชื่อการเมืองในฐานะวิชาชีพ (Politik als Beruf) เวเบอร์นิยามรัฐว่ารัฐคือหน่วยองค์ (entity) ซึ่งผูกขาดการใช้กำลังทางกายภาพที่ถูกกฎหมาย ซึ่งนิยามนี้ได้กลายเป็นจุดศูนย์กลางในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมักซ์ เวเบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มัรเญี้ยะอ์ตักลีด

มัรเญี้ยะอ์ตักลีด ในฟิกฮ์ของอิมามียะฮ์หมายถึงนักวินิจฉัยหลักปฏิบัติศาสนกิจผู้มีคุณสมบัติครบถ้วน และมีตำราภาคปฏิบัติ (เตาฎีฮุลมะซาอิล) หรือตำราวินิจฉัย มีผู้ยึดปฏิบัติตามคำวินิจฉัยเขาในหลักปฏิบัติศาสนกิจ นักนิติศาสตร์อิสลาม (ฟุกอฮา)ส่วนใหญ่ของชีอะฮ์เชื่อว่ามุฟตีและมัรเญี้ยะอ์ตักลีดต้องมีชีวิตอยู่ (เชคอันซอรี อ้างการเป็นมติเอกฉันท์ไว้).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมัรเญี้ยะอ์ตักลีด · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดอัลอักศอ

มัสยิดอัลอักศอ (المسجد الاقصى, Al-Aqsa Mosque) เป็นมัสยิดซึ่งตั้งอยู่บนเนินพระวิหารในเขตเมืองเก่าของกรุงเยรูซาเลม ถือเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดลำดับสามของศาสนาอิสลาม ซึ่งในอดีตนั้น อาณาบริเวณนี้ทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นโดมเงินหรือโดมทอง, หอสุเหร่าทั้งสี่, ประตูทั้งสิบเจ็ด ล้วนถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของมัสยิดอัลอักศอ แต่ในปัจจุบันได้มีการเรียกส่วนต่าง ๆ แยกออกจากกัน มัสยิดอัลอักศอจึงหมายถึงเฉพาะอาคารมัสยิดที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของโดมทองแห่งเยรูซาเลม ในขณะที่อาณาบริเวณทั้งหมดมีชื่อเรียกว่า อัลฮะเราะมุชชะรีฟ ชาวมุสลิมเชื่อว่าองค์อัลลอฮ์ได้พามุฮัมมัดเดินทางข้ามจากสุเหร่าศักดิ์สิทธิ์ในนครมักกะฮ์มายังอัลอักศอ (เรียกเหตุการณ์นี้ว่า อิสรออ์) และมุฮัมมัดถูกรับขึ้นสู่สวรรค์ไปพบอัลลอฮ์จากมัสยิดแห่งนี้ (เรียกเหตุการณ์นี้ว่า เมียะอ์รอจญ์) เดิมที มัสยิดแห่งนี้เป็นเพียงศาลาหลังเล็ก ๆ ที่สร้างขึ้นโดยอุมัร เคาะลีฟะฮ์คนที่สองของรอชิดีน ก่อนที่จะได้รับการสร้างใหม่และขยับขยายในสมัยราชวงศ์อุมัยยะฮ์จนแล้วเสร็จใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมัสยิดอัลอักศอ · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดโคเบะ

มัสยิดโคเบะ มัสยิดโคเบะ หรืออาจรู้จักในชื่อ มัสยิดมุสลิมโคเบะ ศาสนสถานของศาสนาอิสลาม ตั้งอยู่ในย่านคิตะโนะ-โช ซึ่งเป็นย่านของชาวต่างชาติในเมืองโคเบะ และมัสยิดแห่งนี้ถือเป็นมัสยิดแห่งแรกของประเทศญี่ปุ่น ด้วยเหตุที่เป็นมัสยิดแห่งแรกในประเทศที่ก่อตั้งเพื่อเป็นศูนย์กลางของศาสนิกชนในญี่ปุ่น ที่นี่จึงได้รับสมญานามว่า เมกกะแห่งญี่ปุ่น การก่อสร้างมัสยิดดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากเงินบริจาคจากศาสนิกโดยเฉพาะกลุ่มประชาชนที่มีเชื้อสายอินเดียและเติร์ก ที่รวบรวมโดยคณะกรรมการศาสนาอิสลามประจำเมืองโคเบะ เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมัสยิดโคเบะ · ดูเพิ่มเติม »

มัณฑะเลย์

มัณฑะเลย์ (မန္တလေးမြို့ หม่านดะเล้) เป็นอดีตเมืองหลวง และเมืองใหญ่อันดับที่สองของพม่ารองจากนครย่างกุ้ง ตั้งอยู่ในภูมิภาคมัณฑะเลย์ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศเหนือ 716 กิโลเมตร ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร

ที่พรรณาถึงลักษณะของมารดังที่พบเห็นใน''โคเด็กซ์ กิกาส'' มาร (Devil; διάβολος หรือ diávolos.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมาร · ดูเพิ่มเติม »

มารี (เติร์กเมนิสถาน)

มารี (Mary) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดมารี ประเทศเติร์กเมนิสถาน ตั้งอยู่ที่จุดพิกัด ตั้งอยู่ในโอเอซิส ในทะเลทรายการากุม บนฝั่งแม่น้ำมูร์กาบ ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมารี (เติร์กเมนิสถาน) · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ราคิช

มาร์ราคิช (Marrakesh), มาราแก็ช (Marrakech), มุรรอกุช (مراكش) หรือ เมร์ราเกช (เบอร์เบอร์: ⵎⴻⵔⵔⴰⴽⴻⵛ) เป็นเมืองใหญ่ในประเทศโมร็อกโก มีประชากร 794,620 คน และมีประชากร 1,063,415 คนในเขตมหานคร (ค.ศ. 2004) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโมร็อกโก รองจากกาซาบล็องกา แฟ็ส และราบัต เมืองนี้ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมาร์ราคิช · ดูเพิ่มเติม »

มาลากาซี

วมาลากาซี เป็นหนึ่งในสามกลุ่มชนในประเทศมาดากัสการ์ มีจำนวนมากถึง 16 ล้านคน กระจายอยู่ทั่วบริเวณกระจายตั้งแต่ มาดากัสการ์ มายอต เรอูเนียง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมาลากาซี · ดูเพิ่มเติม »

มานซูร์ บิน ซาเยด อัล นาห์ยาน

ีค มานซูร์ บิน ซาเยด อัล นาห์ยาน เกิดเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1970 เป็นนักการเมืองของ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซึ่งมานซูร์มีบทบาททางการเมืองของ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009 โดยทำงานร่วมกับ ซาอีฟ บิน ซาเยด อัล นาห์ยาน รองนายกรัฐมนตรีคนที่สอง แล้วในวงการฟุตบอลยุโรปก็รู้จักเขาเป็นอย่างดีโดยในนามเจ้าของกิจการสโมสรฟุตบอล โดยมานซูร์เป็นเจ้าของกิจการ สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี้ ใน พรีเมียร์ลีก ประเทศอังกฤษ โดยเขามีทรัพย์สินมากกว่า สี่หมื่นล้านปอน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมานซูร์ บิน ซาเยด อัล นาห์ยาน · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียม อับดุล อาซิซ

มาเรียม อับดุล อาซิซ (Mariam Abdul Aziz) หรือพระอิสริยยศเดิมว่า พระมเหสีเป็งงีรัน อิสตรี ฮัจญะห์ มาเรียม (Pengiran Isteri Hajah Mariam) อดีตพนักงานต้อนรับสายการบินรอยัลบรูไนแอร์ไลน์ และอดีตพระมเหสีในสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์ หลังจากการหย่าทำให้เธอต้องถูกถอดจากอิสริยยศ และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งหม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมาเรียม อับดุล อาซิซ · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียม อุสมานี

มาเรียม อุสมานี เบกุม ซาฮิบา (Mariam uz-Zamani Begum Sahiba, मरियम-उझ-झमानी มริยัม อุฌ ฌมานี) หรืออาจรู้จักในนาม หารกาพาอี หรือ โชธาพาอี (जोधाबाई) พระราชธิดาในราชาภารมัล กุศวาหาแห่งราชวงศ์ราชปุตที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มีพระนามเดิมว่า ราชกุมารี หิระ คุนวารี ต่อมาพระนางได้อภิเษกสมรสกับสมเด็จพระจักรพรรดิอัคบาร์ กษัตริย์แห่งราชวงศ์โมกุลที่นับถือศาสนาอิสลาม และมีพระราชโอรสด้วยกันเพียงพระองค์เดียวคือ สมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์ เรื่องราวความรักของพระองค์ ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคือ โชธา อัคบาร์ นำแสดงโดย ฤติก โรศัน รับบทเป็น อัคบาร์ และไอศวรรยา ราย รับบทเป็น โชธา และภาพยนตร์ดังกล่าวยังได้รับรางวัลต่างๆจำนวนมาก อาทิ รางวัลจากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติมิมบาของภาพยนตร์มุสลิม ประเทศรัสเซีย เทศกาลภาพยนตร์เซาเปาลูครั้งที่ 32 ประเทศบราซิล เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมาเรียม อุสมานี · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียม จง

ลดีมาเรียม จง อับดุลละห์ (Lady Meriam Chong Abdullah) หรือ จง อาเหมย (Chong Ah Mei) หรือที่รู้จักกันในชื่อมาเรียม อับดุลละห์ (Mariam Abdullah) ภรรยาคนแรกของตนกู อับดุล ระห์มัน นายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศมาเลเซีย เลดีมาเรียมเป็นลูกสาวเจ้าของเหมืองชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีอิทธิพลในฝั่งไทย ชื่อ จง อาหยง (Chong Ah Yong) เธอมีเชื้อสายไทย แต่เธอเปลี่ยนมานับศาสนาอิสลาม เมื่อแต่งงานกับตนกู อับดุล ระห์มัน เมื่อ ค.ศ. 1933 เลดีมาเรียมได้รับการคัดเลือกจากหม่อมเนื่อง นนทนาคร (Che Menjalara) มารดาของตนกู อับดุล ระห์มันให้เป็นเจ้าสาว ซึ่งมารดาของตนกู อับดุล ระห์มันมีเชื้อสายไทย ตามรายงานที่ปรากฏกล่าวว่า คุณเนื่อง นนทนาครบังคับให้แต่งงานกับตนกู ซึ่งตนกูปฏิเสธมาโดยตลอด อย่างไรก็ตามพวกเขาได้แต่งงานตามประเพณีหลวงที่วังหลวงของเกอดะฮ์ หลังจากที่แต่งงานกัน ก็ได้ให้กำเนิดบุตร 2 คน ได้แก่ ตนกู คอดิยะห์ และตนกู อะห์มัด-นรัง โชคร้ายในปี ค.ศ. 1935 30 วันหลังจากที่ให้กำเนิดบุตรคนที่สอง ตนกู อะห์มัด-นรัง มาเรียมก็เสียชีวิตด้วยโรคมาลาเรี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมาเรียม จง · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียกีนี

มาเลเซียกีนี (Malaysiakini) เป็นเว็บไซต์ข่าวการเมืองของมาเลเซีย ตีพิมพ์ในภาษาอังกฤษ, มลายู และจีน นับตั้งแต่เปิดตัวใน ค.ศ. 1999 มาเลเซียกีนีก็ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในสำนักข่าวอิสระชั้นนำในมาเลเซีย มาเลเซียกีนีอ้างว่ามีผู้เข้าชม 160,000 คนต่อวัน และ 1.3 ล้านหน้าต่อเดือน ซึ่งเป็นจำนวนที่สูงสำหรับมาตรฐานมาเลเซีย ไม่เหมือนกับแหล่งข่าวส่วนใหญ่ในมาเลเซีย มาเลเซียกีนียังเป็นอิสระจากข้อบังคับของรัฐบาล จึงได้รับการยอมรับทั่วไปว่าเป็นแหล่งข่าวอิสระที่น่าเชื่อถือแห่งเดียวของประเทศ มาเลเซียกีนีได้รับทั้งเสียงชื่นชมและชื่อเสียงไม่ดี จากการเสนอประเด็นและมุมมองที่เป็นดูเหมือนเรื่องต้องห้ามของสื่อกระจายเสียงกระแสหลักและสิ่งพิมพ์อย่างสม่ำเสมอ ข้อเท็จจริงที่มาเลเซียกีนียังคงได้รับอนุญาตให้ดำเนินงานอยู่ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะความอดทนของรัฐบาลมาเลเซียในประเด็นการเซ็นเซอร์อินเทอร์เน็ต รัฐบาลมาเลเซียได้ให้สัญญาไว้ว่าจะไม่มีการควบคุมและปิดกั้นเนื้อหาอินเทอร์เน็ต ในความพยายามที่จะสร้างมัลติมีเดียซูเปอร์คอร์ริดอร์ (Multimedia Super Corridor).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมาเลเซียกีนี · ดูเพิ่มเติม »

มาเลเซียเชื้อสายไทย

วมาเลเซียเชื้อสายไทย หรือ ชาวสยาม (นิยมเรียกในมาเลเซีย) เป็นชาวไทยถิ่นใต้ที่อาศัยอยู่พื้นที่แถบนี้มาช้านาน โดยการเข้ามาเรื่อย ๆ พอนานเข้าก็กลายเป็นชนกลุ่มหนึ่งในรัฐไทรบุรี ปะลิส กลันตัน ทางตอนเหนือของรัฐเประก์ และมีจำนวนหนึ่งอาศัยในปีนัง โดยบางส่วนได้ผสมกลมกลืนกับชนพื้นเมืองแถบนี้ด้วย ภายหลังการยกดินแดนส่วนนี้แก่อังกฤษ ชาวไทยกลุ่มนี้จึงเป็นสิ่งตกค้างในประเทศมาเลเซียจนถึงปัจจุบัน แต่ชาวไทยในประเทศมาเลเซียนี้ก็ยังรักษาประเพณีวัฒนธรรมของไทยในอดีตไว้ได้อย่างดี รวมถึงภาษา และศาสนาที่เป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกับชาวมลายูทั่วไป.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมาเลเซียเชื้อสายไทย · ดูเพิ่มเติม »

มินดาเนา

มินดาเนา (Mindanao) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 2 และตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของประเทศฟิลิปปินส์ มีลักษณะภูมิประเทศที่มีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม ชายฝั่งเว้าแหว่ง มีอ่าวขนาดใหญ่และเล็กจำนวนมาก มีเทือกเขาซึ่งมียอดเขาหลายแห่งที่มีความสูงมากกว่า 1,500 เมตร ยอดสูงสุดชื่อ อาโป สูง 2,954 เมตร มีระบบแม่น้ำหลัก 2 ระบบ คือ ระบบแม่น้ำอากูซันทางตะวันออก และระบบแม่น้ำมินดาเนาทางใต้และกลาง ผลิตผลสำคัญ ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวเจ้า มะพร้าว ไม้ซุง กาแฟ ป่านอะบากา ศาสนาอิสลามได้เผยแผ่เข้าไปในเกาะ ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน ซึ่งเดินเรือให้แก่กษัตริย์สเปนได้เดินทางมาถึงเกาะนี้ ใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมินดาเนา · ดูเพิ่มเติม »

มุสลิม

มุสลิม ผู้นับถือศาสนาอิสลาม หากเป็นบุรุษจะเรียกว่า มุสลิม หรือเป็นสตรีจะเรียกว่า มุสลิมะฮ์ หรือเรียกโดยรวมว่า อิสลามิกชน คำว่า "มุสลิม" เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ مسلم แปลว่า ผู้ศิโรราบ ผู้ภักดี มนุษย์ทุกคนสามารถเป็นมุสลิมได้โดยการปฏิญาณตน มุสลิมนั้นไม่จำกัดเผ่าพันธุ์ อายุ เพศ และวรรณะ ผู้ที่เป็นมุสลิมจะต้องปฏิบัติตามศาสนวินัยต่าง ๆ ของอิสลาม (ทั้งวาญิบ และฮะรอม) ผู้ที่เป็นมุสลิมต้องปฏิบัติตามหลักศาสนกิจ 5 ประการดังนี้ คือ การกล่าวคำปฏิญานตนเข้ารับอิสลาม, การละหมาด 5 เวลาในแต่ละวัน, การถือศีลอดในเดือนรอมดอน, การบริจาคทาน (ซะกาต), และการทำฮัจญ์ ผู้ที่เป็นมุสลิมมีหลักความเชื่อหลัก 6 ประการ นั่นคือ เชื่อในพระเจ้าองค์เดียว (อัลลอฮ์), เชื่อในบรรดามลาอีกะฮ์, เชื่อในคัมภีร์ที่ถูกประทานมาจากพระเจ้า, เชื่อในบรรดาศาสนทูตต่างๆ, เชื่อในวันสิ้นโลก (วันกียามะฮ์), และเชื่อในกฎแห่งความดีความชั่ว (กอดอและกอดัร).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด

นบีมุฮัมมัด หรือ มุหัมมัด หรือ พระมะหะหมัด (محمد แปลว่า ผู้ได้รับการสรรเสริญ) เป็นนบีคนสุดท้ายของศาสนาอิสลาม ที่อัลลอฮ์ทรงแต่งตั้ง ท่านมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกหลายชื่อ เช่น มุสตอฟา, ฏอฮา, ยาซีน และ อะฮฺมั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมุฮัมมัด · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูม

มุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูม (محمد بن راشد آل مكتوم.; Mohammed bin Rashid Al Maktoum) หรือ เชคมุฮัมมัด นายกรัฐมนตรีคนที่สามและรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เป็นเจ้าผู้ครองนครดูไบ สืบต่อจากเชคมักตูม บิน รอชิด อัลมักตูม ผู้เป็นพระเชษฐาองค์โต เชคมุฮัมมัดเป็นพระโอรสองค์ที่สาม ในสี่องค์ของเชครอชิด บิน ซาอิด อัลมักตูม (1912-1990) อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่สอง และรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และเจ้าผู้ครองนครดูไบ มีพระเชษฐาและอนุชา ได้แก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมุฮัมมัด บิน รอชิด อัลมักตูม · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด บิน ซัลมาน

มุฮัมมัด บิน ซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด (محمد بن سلمان بن عبدالعزيز آل سعود; Mohammad bin Salman bin Abdulaziz Al Saud; ประสูติ 31 สิงหาคม 2528) เป็นมกุฎราชกุมารแห่งซาอุดีอาระเบีย รองนายกรัฐมนตรีคนที่ 1 แห่งซาอุดีอาระเบีย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมที่อายุน้อยที่สุดในโลก มุฮัมมัด บิน ซัลมานยังเป็นประธานสภาเพื่อกิจการเศรษฐกิจและการพัฒนา มีการกล่าวถึงพระองค์ว่าทรงเป็นอำนาจเบื้องหลังราชบัลลังก์ของสมเด็จพระราชาธิบดีซัลมานพระราชบิดา พระองค์ได้รับแต่งตั้งเป็นมกุฎราชกุมารในเดือนมิถุนายน 2560 หลังพระราชชนกตัดสินพระทัยถอดมุฮัมมัด บิน นาเยฟ ออกจากตำแหน่งทั้งหมด ทำให้พระองค์ได้รับสถานะรัชทายาทโดยชอบธรรม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมุฮัมมัด บิน ซัลมาน · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด บินอับดิลวะฮาบ

มุฮัมมัด บินอับดิลวะฮาบ (محمد بن عبد الوهاب التميمي) มีชีวิตอยู่ในระหว่างปี..1115-1206 (พ.ศ. 2246-พ.ศ. 2335) เกิดที่เมือง อัลอุยัยนะหฺ ไม่ไกลจากนครริยาด เมืองหลวงของประเทศซาอุดิอาระเบียในปัจจุบัน ครอบครัวของเขาเรียกได้ว่าเป็นครอบครัวผู้รู้ศาสนา ปู่ของเขา คือ สุลัยมาน อิบนุ อะลี อิบนุ มัชร็อฟ เป็นหนึ่งในจำนวนปราชญ์มุสลิมที่มีชื่อเสียงที่สุดในสมัยนั้นและเป็นผู้ที่เหล่านักแสวงหาความรู้มากมายเลื่อมใสและเป็นสานุศิษย์ บิดาของเขา คือ อับดุลวะฮาบ อิบนุ สุลัยมาน) และน้าชายของเขา อิบรอฮีม อิบนุ สุลัยมาน รวมทั้งลูกผู้พี่คือ อับดุรเราะหฺมาน อิบนุ อิบรอฮีม และพี่ชายของเขาเองคือ สุลัยมาน อิบนุ อับดุลวะฮาบ ล้วนถือได้ว่าเป็นอุละมาอ์(นักปราชญ์มุสลิม)ซึ่งเป็นที่รู้จักของผู้คนในสมัยนั้น ตั้งแต่ยังเยาว์วัย มุฮัมมัด บินอับดิลวะฮาบ เป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดและมีความจำที่ดีเยี่ยม สามารถท่องจำอัลกุรอานได้หมดตั้งแต่อายุยังไม่ถึงสิบขวบ เขาเริ่มเรียนกับบิดาของเขาโดยได้ศึกษาหนังสืออิสลามต่าง ๆ มากมายตั้งแต่อายุยังน้อย เมื่ออายุได้ยี่สิบปีเขาได้ออกเดินทางไปศึกษากับผู้รู้ท่านอื่น ๆ อีกหลายท่าน โดยเริ่มต้นด้วยการเดินทางไปทำฮัจญ์ที่นครมักกะหฺ แล้วเดินทางไปยังนครมะดีนะหฺ และตั้งหลักมุ่งมั่นหาความรู้ที่นั่นเป็นเวลานานหลายปี ในบรรดาผู้เป็นครูของท่านที่มะดีนะหฺ อาทิ อับดุลลอฮฺ อิบนุ อิบรอฮีม อิบนุ ซัยฟฺ ผู้เป็นครูที่ใกล้ชิดท่านมากที่สุด ท่านยังได้เป็นศิษย์ของ มุฮัมมัด ฮะยาต อัสสินดีย์ นักปราชญ์ด้านฮะดีษ (ความรู้ว่าด้วยวจนะแห่งท่านศาสนทูต) ที่มีชื่อเสียงในมะดีนะหฺ จากมะดีนะหฺ เขาได้เดินทางต่อไปยังเมือง อัลบัศเราะหฺ (เมืองบัศรา ในประเทศอิรักปัจจุบัน) และได้เรียนเป็นศิษย์ของ มุฮัมมัด อัลมัจญ์มูอีย์ ผู้ซึ่งประสาทความรู้ด้านฮะดีษและภาษาให้กับเขา เขาเป็นที่รู้จักในนามเชค อัลนัจญ์ดีย์ (เชคแห่งแคว้นนะญัด) เชค อัลนัจญ์ดีย์ ชอบและชื่นชมงานเขียนของ อิบนุตัยมียะหฺเป็นอย่างยิ่ง จึงเริ่มฟื้นฟูคำสั่งสอนของ อิบนุตัยมียะหฺ ภายหลังได้เขียนใบปลิวและหนังสือแจกจ่ายให้แก่ชาวบ้านในชนบท เพื่อเผยแพร่ทัศนะคติของตน ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะเน้นเรื่องการตั้งภาคี โดยเห็นว่าการเยี่ยมเยียนสุสานและการขอพรต่ออัลลอหฺ ณ ที่สุสานเป็นการตั้งภาคีต่ออัลลอหฺ เป็นการกระทำที่ผิดต่อหลักศาสนาอิสลามอย่างใหญ่หลวง ชาวบ้านดัรอียะหฺ รวมทั้งผู้นำที่มีชื่อว่า มุฮัมมัด บินสะอูด (2268-2308) จากเผ่าอุนัยซะหฺ ซึ่งเป็นเผ่าเล็กและไร้อำนาจในอารเบีย ได้ศรัทธาต่อเชคอัลนัจดีย์ และเห็นผลประโยชน์ของลัทธิที่ก่อตั้งโดยบุตรอับดุลวะฮาบนี้ ทั้งสองจึงร่วมกันตั้งขบวนการเผยแพร่ลัทธิ ที่รู้จักกันในเวลาต่อมาว่า วะฮาบีย์ โดยบุตรอับดุลวะฮาบตั้งตนเป็น กอฎี (ผู้พิพากษา) ให้ สะอูด เป็น ฮากิม หรืออิมาม (ผู้ปกครอง) และได้ทำสัญญาว่า ตำแหน่งทั้งสองนี้จะสืบทอดโดยทายาทของสองตระกูลนี้เท่านั้นตลอดไป ฝ่ายอับดุลวะฮาบ แห่งเผ่าตะมีม ผู้เป็นบิดาของเชค อัลนัจญ์ดีย์ นั้นเป็นผู้รู้แห่งนครมะดีนะหฺ และสุลัยมานพี่ชายของเขา รวมทั้งเหล่านักปราชญ์ในเมืองมะดีนะหฺก็ได้ประกาศต่อต้านลัทธิของ เชค อัลนัจญ์ดี เพราะขัดแย้งกับคำสั่งสอนของอิสลามหลายประการ เมื่อได้รับการต่อต้านจากหลายฝ่าย เชค อัลนัจญ์ดี ก็ได้ตกลงกับ มุฮัมมัด บุตรสะอูด ในปี ฮ.ศ. 1143 (..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมุฮัมมัด บินอับดิลวะฮาบ · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด มุตะวัลลี อัชชะอ์รอวี

El Shaarawy มุฮัมมัด มุตะวัลลี อัชชะอ์รอวี (محمد متولى الشعراوى; Muhammad Metwally El-Shaarawy) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เชคชะอ์รอวี มีชีวิตในช่วงปี พ.ศ. 2464-2541 เป็นนักอธิบายกุรอานที่มีชื่อเสียงในยุคใหม่ มีความสามารถอธิบายกุรอานโดยใช้สำนวนที่เข้าใจง่าย และเป็นผู้มีความอุตสาหะยิ่งยวดในการเผยแผ่ศาสนาอิสลาม เกิดเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2464 ณ หมู่บ้านดากอดูส เมืองมิตฆ็อม จังหวัดดากอลียะฮ์ ประเทศอียิปต์ จบการศึกษาคณะอักษรศาสตร์อาหรับจากมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร เมื่อปี พ.ศ. 2484 ท่านได้รับยกย่องให้เป็น "นักเทศนาแห่งศตวรรษ" อีกทั้งเป็นคนแรกและคนสุดท้ายที่ไม่ใช่ชาวซาอุดีอาระเบีย ที่ได้รับเกียรติให้ให้โอวาท (คุตบะฮ์) ณ ทุ่งอารอฟัต ระหว่างพิธีฮัจญ์ หมวดหมู่:มุสลิมชาวอียิปต์ หมวดหมู่:มุสลิมนิกายซุนนี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมุฮัมมัด มุตะวัลลี อัชชะอ์รอวี · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด อุมัร

มุลลอฮ์ มุฮัมมัด อุมัร มุญาฮิด (ملا محمد عمر مجاهد, Mullah Mohammed Omar Mujahid) เป็นผู้นำทางจิตวิญญาณของฏอลิบานซึ่งเป็นกลุ่มก่อการร้ายในประเทศอัฟกานิสถาน เกิดเมื่อราว..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมุฮัมมัด อุมัร · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัรรอม

มุฮัรรอม (محرم) หรือที่คนไทยบางคนรู้จักกันในนาม "มะหะหร่ำ" เป็นเดือนแรกของปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์หรือปฏิทินอิสลาม เป็นเดือนที่มุสลิมชีอะฮ์ไว้อาลัยต่ออิมามฮุเซน หลานตาศาสนทูตมุฮัมมัด ตั้งแต่วันที่ 1 จนถึงวันที่ 10 หรือที่เรียกว่าวันอาชูรออ์ มุสลิมในประเทศไทยและมาเลเซียจะร่วมกันทำขนมบูโบซูรอ หรือที่ชาวชีอะฮ์ในไทยเรียกว่า "หะยีส่า".

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมุฮัรรอม · ดูเพิ่มเติม »

มุข สุไลมาน

มุข สุไลมาน (1 กันยายน พ.ศ. 2492 -) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทย และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดปัตตานี ปัจจุบันสังกัดพรรคเพื่อไทยอดีตเลขานุการ รมว.มท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมุข สุไลมาน · ดูเพิ่มเติม »

มุคฮ์ทาร์ โมฮัมเหม็ด ฮัสซิน

ีค มุคฮ์ทาร์ โมฮัมเหม็ด ฮัสซิน (Sheekh Mukhtaar Maxamed Xuseen, الشيخ محمد حسين مختار‎; 2455 – 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555) เป็นประธานรัฐสภาโซมาเลีย และประธานาธิบดีชั่วคราวแห่งโซมาเลียเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมุคฮ์ทาร์ โมฮัมเหม็ด ฮัสซิน · ดูเพิ่มเติม »

มุนตาเซอร์ อัล-ไซดี

มุนตาเซอร์ อัล-ไซดี (منتظر الزيدي; Muntadhar al-Zaidi) เป็นนักข่าวสถานีโทรทัศน์อัล-แบกแดดเดีย ชาวอิรัก เขามีชื่อเสียงไปทั่วโลกจากเหตุการณ์ขว้างรองเท้า เข้าใส่ จอร์จ ดับเบิลยู บุช อดีตประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ระหว่างการแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน ที่กรุงแบกแดด พร้อมกับนายนูรี อัล มาลิกี นายกรัฐมนตรีอิรัก เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ในช่วงท้ายของการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของบุช ในวัฒนธรรมอาหรับและมุสลิม การขว้างรองเท้าใส่บุคคลอื่น ถือเป็นการแสดงความลบหลู่ โดยอัล-ไซดีได้ขว้างรองเท้าใส่บุช เพื่อแสดงความเกลียดชังเนื่องจากบุชเป็นผู้สั่งการให้กองทัพสหรัฐก่อสงครามรุกรานอิรัก ทำให้มีประชาชนจำนวนมากต้องเสียชีวิต และไร้ที่อยู่ ภายหลังเหตุการณ์ อัล-ไซดี ถูกจับกุมโดยเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย และถูกตั้งข้อหาก่อการประทุษร้ายต่อผู้นำต่างชาติ เขาได้รับการยกย่องในหมู่ชาวอิรักว่าเป็นวีรบุุรุษ และชุมนุมเรียกร้องให้ทางการอิรักปล่อยตัวอัล-ไซดี ทำให้เกิดพฤติกรรมเลียนแบบต่อมาอีกหลายครั้ง รวมทั้งเหตุการณ์ที่มีผู้ประท้วงขว้างรองเท้าเข้าใส่นายเหวิน เจียเป่า นายกรัฐมนตรีของจีน ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมุนตาเซอร์ อัล-ไซดี · ดูเพิ่มเติม »

มูลฐานนิยม

มูลฐานนิยม (fundamentalism) หมายถึง รูปแบบศาสนาที่ยึดความเชื่อตามคัมภีร์อย่างเคร่งครัดและตีความตามตัวอักษร มักพบในศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมูลฐานนิยม · ดูเพิ่มเติม »

มูอัมมาร์ กัดดาฟี

มุอัมมัร อัลก็อษษาฟี (معمر القذافي) เป็นผู้นำประเทศลิเบียโดยพฤตินัย หลังรัฐประหารในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมูอัมมาร์ กัดดาฟี · ดูเพิ่มเติม »

มูฮัมมัด อิกบาล

ซอร์มูฮัมมัด อิกบาล (Muhammad Iqbal) (9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1877 - 21 เมษายน ค.ศ. 1938) มักเรียกว่า อัลลามา อิกบาล เป็นกวีและนักปรัญชาเกิดในเซียลคอต ซึ่งขณะนั้นอยู่ในแคว้นปัญจาบ บริติชอินเดีย ซึ่งปัจจุบันอยู่ในปากีสถาน อิกบาล ผู้เขียนบทกวีในภาษาอุรดูและภาษาเปอร์เซีย ถูกมองว่าเป็นหนึ่งในบุคคลที่เป็นสัญลักษณ์ (icon) ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในสมัยใหม่ หลังศึกษาในอังกฤษและเยอรมนี อิกบาลได้ทำงานด้านกฎหมาย แต่ยังมุ่งสนใจงานเขียนผลงานเชิงวิชาการว่าด้วยการเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญาและศาสนาเป็นหลัก ผลงานที่ทำให้เขาเป็นที่รู้จักกันมากที่สุดเป็นงานด้านบทกวี อิกบาลเป็นผู้เสนอการฟื้นฟูอารยธรรมอิสลามทั่วโลกอย่างแข็งขัน แต่โดยเฉพาะยอ่างยิ่งในอินเดีย เขาเป็นหนึ่งในผู้นำที่โดดเด่นของสันนิบาติมุสลิมทั่วอินเดีย (All-India Muslim League) และสนับสนุนการสถาปนา "รัฐในทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดียสำหรับมุสลิมชาวอินเดีย" ในการปราศรัยประธานาธิบดีใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมูฮัมมัด อิกบาล · ดูเพิ่มเติม »

มูฮัมหมัด ยูนูส

มูฮัมหมัด ยูนูส (ภาษาเบงกาลี: মুহাম্মদ ইউনুস Muhammôd Iunus) เป็นนายธนาคารและนักเศรษฐศาสตร์ชาวบังกลาเทศผู้ริเริ่มและพัฒนาแนวคิด “ไมโครเครดิต” หรือ การให้กู้เงินโดยไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน โดยจะให้กู้แก่ผู้ประกอบการหรือชาวบ้านซึ่งยากจนเกินกว่าจะมีคุณสมบัติพอเพียงที่จะกู้เงินจากธนาคารทั่วไป นอกจากนั้น ยูนูสยังเป็นผู้ก่อตั้ง “กรามีนแบงค์” หรือ ธนาคารกรามีน อีกด้วย ทั้งยูนูสและธนาคารที่เขาก่อตั้งขึ้นได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพร่วมกันในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมูฮัมหมัด ยูนูส · ดูเพิ่มเติม »

มูฮัมหมัด อาลี

มูฮัมหมัด อาลี (Muhammad Ali) เป็นอดีตยอดนักมวยชาวอเมริกันในรุ่นเฮฟวี่เวทผู้เป็นตำนาน อาลีมีชื่อจริงแต่กำเนิดว่า เคสเซียส มาเซลลัส เคลย์ จูเนียร์ (Cassius Marcellus Clay Jr.) แต่นิยมเรียกว่า เคสเซียส เคลย์ (Cassius Clay) เกิดเมื่อวันที่ 17 มกราคม ค.ศ. 1942 ที่เมืองหลุยส์วิลล์ รัฐเคนตักกี้ สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมูฮัมหมัด อาลี · ดูเพิ่มเติม »

มูเซ ฮัสซัน ชีค ซายิด อับดุลเล

ลจัตวา มูเซ ฮัสซัน ชีค ซายิด อับดุลเล (Muuse Xasan Sheekh Sayyid Cabdulleh, موسى حسن الشيخ سعيد عبد الله) หรือที่รู้จักกันในนาม มูเซ ฮัสซัน อับดุลเล เป็นนักการทหารและนักการเมืองอาวุโสชาวโซมาเลีย เขาเคยดำรงตำแหน่งรักษาการประธานาธิบดีโซมาเลีย ประธานชั่วคราวของรัฐสภากลาง ปัจจุบันอับดุลเลเป็นเอกอัครราชทูตประจำสาธารณรัฐอิตาลี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมูเซ ฮัสซัน ชีค ซายิด อับดุลเล · ดูเพิ่มเติม »

มีร์ จาฟาร์

มีร์ จาฟาร์ อาลี คาน บาฮาดูร์ (Mir Jafar Ali Khan Bahadur) เป็นเจ้าประเทศราชแห่งเบงกอลคนแรกภายใต้การสนับสนุนของบริษัทอินเดียตะวันออกของบริเตน เดิมทีเขาเป็นผู้บัญชาการทหารของแคว้นเบงกอล เขาได้แสร้งทำเป็นจงรักภักดีต่อ นาวับชีราช อุดดอลา ว่าจะนำทัพ 50,000 นายออกรบกับอังกฤษ แต่ลับหลังเขากลับแอบติดต่อกับพันเอกรอเบิร์ต ไคลฟ์ แห่งบริษัทอินเดียตะวันออก โดยพันเอกไคลฟ์รับปากว่า ถ้าเขานำทัพเข้าร่วมกับฝ่ายอังกฤษในยุทธการที่ปลาศีแล้ว อังกฤษจะตั้งเขาเป็นนาวับแห่งเบงกอลคนใหม่ ท้ายที่สุด อังกฤษก็ได้รับชัยชนะในยุทธการที่ปลาศี และแต่งตั้งมีร์ จาฟาร์ เป็นนาวับคนใหม่ เมื่อจาฟาร์ได้ขึ้นเป็นนาวับคนใหม่ เขาก็เอื้อประโยชน์ให้แก่อังกฤษมากมาย ทั้งยอมจ่ายเงินจำนวน 17.7 ล้านรูปีแก่อังกฤษเป็นค่าปฏิกรรมการโจมตีป้อมกัลกัตตา และยังให้สินบนตอบแทนแก่เจ้าหน้าที่ของบริษัทที่ช่วยให้เขาได้เป็นนาวับ โดยพันเอกไคลฟ์ได้รับเงินกว่าสองล้านรูปี, วิลเลียม วัตต์ หัวหน้าโรงงานบริษัทฯ ได้รับกว่าหนึ่งล้าน การกระทำของจาฟาร์นี้สร้างความขุ่นเคืองให้แก่จักรพรรดิแห่งโมกุลอย่างมาก โดยมองว่าจาฟาร์เป็นคนขายชาติ เมื่อเวลาผ่านไปซักระยะหนึ่ง จาฟาร์ก็ตระหนักว่าบริษัทฯไม่มีวัดเลิกตอดเล็กตอดน้อยเอาผลประโยชน์จากเขาแน่ และเขาก็ไม่อยากเป็นเบี้ยล่างของอังกฤษอีกต่อไป จาฟาร์พยายามดึงพวกบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์เข้ามาในเกมการเมืองนี้ อย่างไรก็ตาม แผนของจาฟาร์เป็นอันล่มไปเมื่ออังกฤษมีชัยเหนือเนเธอร์แลนด์ในยุทธการที่จินสุราเมื่อพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมีร์ จาฟาร์ · ดูเพิ่มเติม »

มณีรัตน์ ศรีจรูญ

มณีรัตน์ ศรีจรูญ (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2535) ชื่อเล่น สายไหม เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นที่รู้จักในละครเรื่อง ข้าบดินทร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมณีรัตน์ ศรีจรูญ · ดูเพิ่มเติม »

มณีรัตน์ คำอ้วน

มณีรัตน์ คำอ้วน (ชื่อเล่น: เอ๋; 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 —) เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-บังกลาเทศซึ่งเกิดและโตในประเทศไทย มีชื่อเสียงจากผลงานภาพยนตร์เรื่อง เพื่อนสนิท รับบท "นุ้ย" และจากซิทคอมเรื่อง เทวดาสาธุ รับบท "พลอยใส".

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมณีรัตน์ คำอ้วน · ดูเพิ่มเติม »

มนุษยศาสตร์

นักปรัชญาเพลโต มนุษยศาสตร์ (humanities) เป็นกลุ่มของสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการศึกษาสภาวะแห่งมนุษย์โดยส่วนใหญ่ใช้กรรมวิธีเชิงวิเคราะห์, วิจารณญาณ หรือการคาดการณ์ซึ่งแตกต่างจากการเข้าสู่ปัญหาด้วยกรรมวิธีเชิงประจักษ์ด้วยธรรมชาติ, สังคมศาสตร์ โดยธรรมเนียมทั่วไปมนุษยศาสตร์รวมถึงสาขาวิชาภาษาศาสตร์โบราณและภาษาศาสตร์สมัยใหม่, วรรณคดี ประวัติศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา ทัศนศิลป์ ศิลปะการแสดง และดนตรี บางครั้งมีการรวมเอาสาขาวิชาอื่นเพิ่มเข้าไปด้วย ได้แก่ มานุษยวิทยา ภูมิภาคศึกษา การสื่อสารและวัฒนธรรมศึกษา แม้ว่าสาขาวิชาเหล่านี้มักถูกจัดไว้ในสาขาสังคมศาสตร์ นักวิชาการที่อยู่ในสายของสาขาวิชานี้ บางครั้งอาจเรียกตนเองว่าเป็น "นักมนุษยนิยม" อย่างไรก็ตามคำดังกล่าวก็ได้ใช้เรียกนักปรัชญาสาขามนุษยนิยมแต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและมนุษยศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ยกยาการ์ตา

กยาการ์ตา (Yogyakarta) เป็นเมืองหลักของเขตปกครองพิเศษยกยาการ์ตา เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่นี่ถือว่าเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมชวาโบราณทั้งในด้านดนตรี นาฏศิลป์ และงานฝีมือ ยกยาการ์ตาเคยเป็นเมืองหลวงในช่วงที่อินโดนีเซียเรียกร้องเอกราชจากดัชต์ในปีช่วง..1945 - 1949 เมืองยกยาการ์ตาแต่เดิมมีชื่อว่า "อโยธยา" (Ayodhya) ซึ่งตั้งตามเมืองในวรรณคดีเรื่องรามายณะ ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นยกยาการ์ตา โดยคำว่า ยกยา (Yogya) แปลว่า "เหมาะสม" ส่วนคำว่า การ์ตา (Karta) แปลว่า "รุ่งเรือง".

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและยกยาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

ยอห์นผู้ให้บัพติศมา

อห์นผู้ให้บัพติศมา (โปรเตสแตนต์เดิมเรียกว่ายอห์นผู้ให้รับบัพติศมา) ยอห์นผู้ทำพิธีล้าง(คาทอลิก) หรือนักบุญยอห์น แบปติสต์(คาทอลิก) (John the Baptist; John the Baptizer) เป็นนักเทศน์ชาวยิวในคริสศตวรรษที่ 1 ถือว่าเป็นผู้เผยพระวจนะในสี่ศาสนาคือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาบาไฮ และ “Mandaeanism” ท่านถูกกล่าวถึงในพระวรสาร คัมภีร์อัลกุรอาน และคัมภีร์ของศาสนาบาไฮ นักบุญยอห์นแบปติสต์บางทีก็รู้จักกันในชื่อ “ยอห์นผู้มาก่อน” (John the Forerunner) เพราะถือกันว่านักบุญยอห์นเป็นผู้มาล่วงหน้าก่อนพระเยซู.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและยอห์นผู้ให้บัพติศมา · ดูเพิ่มเติม »

ยะฮ์ยา

นบียะฮ์ยา ในอัลกุรอาน หรือ โยฮันนา หรือ ยอห์น ในไบเบิล เป็นนบีท่านหนึ่งที่มีชีวิตร่วมสมัยกับนบีอีซา (พระเยซู) ท่านเป็นบุตรของนบีซะกะรียา มารดาของยะฮ์ยาเป็นพี่น้องของมารดามัรยัม หรือ มาเรีย ซึ่งเป็นมารดาของนบีอีซ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและยะฮ์ยา · ดูเพิ่มเติม »

ยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับชาติพันธุ์ สำหรับเขตการปกครอง ดูที่ รัฐยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ ยะไข่, อะระกัน หรือ ระขึน (ရခိုင်လူမျိုး; IPA:; Rakhine) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หลักกลุ่มหนึ่งในประเทศพม่า อาศัยในรัฐยะไข่ ชาวยะไข่ถือเป็นชาวพม่าพื้นถิ่นในรัฐยะไข่กลุ่มหนึ่ง ภาษาพูดของชาวยะไข่นั้นถือเป็นสำเนียงหนึ่งในภาษาพม่า และยังมีร่องรอยของภาษาพม่าโบราณหลงเหลืออยู่ อันมีเสียงบางเสียงซึ่งในภาษาพม่าสำเนียงย่างกุ้งไม่มีใช้แล้ว เช่น เสียง ร โดยภาษายะไข่นั้นยังรักษาเสียง ร ไว้ได้ครบแทบทุกตำแหน่ง หากต้องการสะกดคำที่มีอักษร ร จึงควรดูที่การออกเสียงของภาษายะไข่ ทั้งนี้เนื่องจากยะไข่ห่างไกลศูนย์กลางจากพม่า โดยมีเทือกเขาอาระกันโยมาขวางกั้นอยู่ อีกทั้งยะไข่เองก็เคยมีอิสรภาพในการปกครองตนเองเป็นอาณาจักรอยู่ร่วมหลายร้อยปี ภายหลังจากการมาของอังกฤษ ยะไข่ถูกมองว่าต่างจากชาวพม่าทั่วไป ดินแดนยะไข่จึงถูกกำหนดเป็นรัฐหนึ่งเฉกเช่นเดียวกับชนกลุ่มน้อยในพม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

ยูซอฟ บิน อิสฮะก์

ูซอฟ บิน อิสฮะก์ (ยาวี: يوسف بن اسحاق;; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนักการเมืองชาวสิงคโปร์ และเป็นประธานาธิบดีสิงคโปร์คนแรก ดำรงตำแหน่งระหว่าง 9 สิงหาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและยูซอฟ บิน อิสฮะก์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูซุฟ อัลเกาะเราะฎอวี

ยูซุฟ อัลเกาะเราะฎอวี ยูซุฟ อับดุลลอฮ์ อัลเกาะเราะฎอวี (يوسف عبد الله القرضاوي; Yusuf 'Abdullah al-Qaradawi) เป็นปราชญ์ด้านศาสนาอิสลาม เกิดที่จังหวัดฆ็อรบียะ ประเทศอียิปต์ สามารถท่องจำอัลกุรอานก่อนอายุ 10 ขวบ เข้ารับการศึกษาจากมัธยมอัลอัซฮัร และปี 1953 ศึกษาต่อจากมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร คณะศาสนศาสตร์ ปี 1954 เรียนต่อคณะอักษรศาสตร์ และได้รับประกาศนียบัตรระดับอนุปริญญาด้านอักษรศาสตร์และวรรณคดี ได้รับปริญญาโทด้านการศึกษากุรอานและวจนะของศาสดามุฮัมมัด ได้ปริญญาเอกในคณะเดียวกันด้วยเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ในวิทยานิพนธ์เรื่อง "ผลดีในการจ่ายภาษีของมุสลิมต่อการแก้ปัญหาสังคม" บิดาของเขาเสียชีวิตขณะเขามีอายุเพียงสองขวบ อาของเขาจึงรับภาระเลี้ยงดู เขาถูกจำคุกหลายครั้งเนื่องการเข้าร่วมกับ "อิควานมุสลิมีน" ถูกจับกุมครั้งแรกปี 1949 ในสมัยการปกครองแบบกษัตริย์ และอีกสามครั้งในสมัยประธานาธิบดีญะมาล อับดุนนาศิร คือปี 1954, 1961 และ 1963 หลังจากนั้นเขาเดินทางไปประเทศกาตาร์ และได้รับตำแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนมัธยมสอนศาสนา ต่อมาจึงได้รับสัญชาติกาตาร์ ปี 1977 เขาจึงได้เลื่อนตำแหน่งเป็นคณบดีแห่งมหาวิทยาลัยกาตาร์ เขายังเป็นอาจารย์ของศูนย์วิจัยศึกษาชีวประวัติและจริยวัตรแห่งศาสดามุฮัมมัด จนถึงปัจจุบัน ด้านครอบครัว ท่านมีภรรยาสองคน ภรรยาคนแรก อิสอาด เป็นชาวอียิปต์ มีบุตรด้วยกัน 7 คน (ชาย 3 หญิง 4) ภรรยาคนที่สอง อัสมา ชาวแอลจีเรีย เป็นผู้ผลิตรายการแห่งสำนักข่าวอัลญะซีเราะฮ์ หมวดหมู่:มุสลิมชาวอียิปต์ หมวดหมู่:อิมาม หมวดหมู่:มุสลิมนิกายซุนนี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและยูซุฟ อัลเกาะเราะฎอวี · ดูเพิ่มเติม »

ย่างกุ้ง

งกุ้ง หรือ ยานโกน (ရန်ကုန်, MLCTS rankun mrui, ยานโกน มโย; "อวสานสงคราม") หรือ ร่างกุ้ง (Rangoon) เป็นเมืองหลวงของเขตย่างกุ้ง ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

รอบิยะห์ กอดีร์

รอบิยะห์ กอดีร์ (อุยกูร์: رابىيه قادىر, Rabiyä Qadir, อ่านออกเสียง) (เกิด 21 มกราคม ค.ศ. 1947) เป็นนักธุรกิจหญิงชาวมุสลิมอุยกูร์ และเป็นผู้นำการประท้วงทางการเมือง ในเขตตะวันตกเฉียงเหนือของเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ ของประเทศจีน เธอได้รับเลือกเป็นประธานองค์กรชาวอุยกูร์ลี้ภัย (World Uyghur Congress) ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรอบิยะห์ กอดีร์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบหอสมุดรัฐสภา

ระบบหอสมุดรัฐสภา (Library of Congress Classification, ย่อ: LCC) เป็นระบบการจัดหมู่ของห้องสมุดที่หอสมุดรัฐสภาพัฒนาขึ้น หอสมุดวิจัยและวิชาการส่วนมากในสหรัฐและอีกหลายประเทศใช้ระบบดังกล่าว ในประเทศเหล่านี้ ห้องสมุดสาธารณะส่วนมากและห้องสมุดวิชาการขนาดเล็กยังใช้การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ที่เก่ากว่า เฮอร์เบิร์ต พัทนัม (Herbert Putnum) ประดิษฐ์การจำแนกนี้ใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและระบบหอสมุดรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชัมมูและกัศมีร์

ตในรัฐชัมมูและกัศมีร์ แสดงถึงเขตการปกครองและบริเวณดินแดนพิพาท รัฐชัมมูและกัศมีร์ หรือ รัฐจัมมูและแคชเมียร์ คือรัฐเหนือสุดของประเทศอินเดีย ดินแดนส่วนมากตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย นอกจากนั้นยังเป็นบริเวณพิพาทระหว่างอินเดีย ปากีสถาน และจีนด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐชัมมูและกัศมีร์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเฉพาะกาลสาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ

รัฐบาลเฉพาะกาลสาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (Provisional Government of the People's Republic of Bangladesh; গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ অস্থায়ী সরকার, Gônoprojatontri Bangladesh Asthayi Shorkar) บางครั้งเรียกรัฐบาลมูชิบนคร เป็นรัฐบาลพลัดถิ่น ตั้งอยู่ที่กัลกัตตา ประเทศอินเดียระหว่างสงครามปลดปล่อยบังกลาเทศ ก่อตั้งเมื่อกลางเดือนเมษายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐบาลเฉพาะกาลสาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเปลี่ยนผ่านแห่งชาติ

รัฐบาลเปลี่ยนผ่านแห่งชาติ เป็นรัฐบาลกลางของประเทศโซมาเลียที่นานาประเทศรับรองตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐบาลเปลี่ยนผ่านแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐชาน

รัฐชาน หรือ รัฐฉาน (ရှမ်းပြည်နယ်, ช้าน ปหฺยี่แหน่; ไทใหญ่:; เมิ้งไต๊) บ้างเรียก รัฐไทใหญ่ เป็นรัฐหนึ่งในประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐชาน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐพิหาร

หาร คือ รัฐที่อยู่ในประเทศอินเดีย มีพุทธคยาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ ภาษาที่ใช้ในรัฐพิหาร คือ ภาษาฮินดีถูกแบ่งเป็นสองส่วนด้วยแม่น้ำคงคาซึ่งไหลผ่านจากตะวันตกไปตะวันออก เดิมคือแคว้นมคธ มีสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนาหลายแห่ง เช่น พุทธคยา นาลันทา มีความสำคัญด้านคมนาคมขนส่งเพราะเป็นประตูสู่เนปาลและรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือ สินค้าเกษตรที่สำคัญคืออ้อย ปอ ชา มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมน้ำตาล สุราและเอทานอล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐพิหาร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกะเหรี่ยง

รัฐกะเหรี่ยง หรือ รัฐกะยีน (ကရင်ပြည်နယ်) เป็นรัฐของประเทศพม่า มีเมืองหลวงอยู่ที่พะอาน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมะละกา

มะละกา (Melaka; ยาวี: ملاك; Malacca) เป็นรัฐทางตอนใต้ในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่บริเวณช่องแคบมะละกา ตรงข้ามกับเกาะสุมาตรา รัฐมะละกาเป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียที่ไม่มีเจ้าผู้ครองรัฐเป็นประมุขแต่มีผู้ว่าราชการรัฐแทน ในอดีต มะละกาเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าระหว่างตะวันออกและตะวันตกบนช่องแคบมะละกามากว่า 500 ปี มีลักษณะของสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานระหว่างศิลปกรรมโปรตุเกส ดัตช์ และมลายู ได้รับการยกย่องให้เป็นนครประวัติศาสตร์บนช่องแคบมะละกาจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐมะละกา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐยะไข่

ทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับเขตการปกครอง สำหรับชาติพันธุ์ ดูที่ ยะไข่ สำหรับแคว้นโบราณ ดูที่ แคว้นยะไข่ รัฐยะไข่ (ရခိုင်ပြည်နယ်, สำเนียงยะไข่ ระไข่ง์ เปร่เหน่, สำเนียงพม่า ยะไข่ง์ ปหฺยี่แหฺน่) ชื่อเดิม รัฐอาระกัน (Arakan) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกของประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐยะไข่ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสิกขิม

รัฐสิกขิม (เทวนาครี: सिक्किम; ภาษาทิเบต: འབྲས་ལྗོངས་; Sikkim) คือรัฐหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีพื้นที่ทางตะวันตกติดต่อกับประเทศเนปาล ทางทิศเหนือติดต่อกับเขตปกครองตนเองทิเบต และประเทศจีน ทางทิศตะวันออกติดต่อกับประเทศภูฏาน และทิศใต้ติดต่อกับรัฐเบงกอลตะวันตก รัฐหนึ่งของอินเดีย แต่เดิมสิกขิมเป็นรัฐเอกราช มีขนาดใหญ่กว่าเดลีเล็กน้อย ปกครองโดยราชวงศ์นัมเกล ด้วยความเป็นรัฐเอกราชเล็ก ๆ อาจถูกบั่นทอนจากจีนซึ่งยึดทิเบตได้ เมื่ออินเดียได้รับเอกราช สิกขิมจึงยอมอยู่ใต้เอกราชเดียวกับอินเดียเมื่อ 30 กว่าปีก่อน อดีตประชากรส่วนใหญ่ของที่นี้เป็นชาวเลปชาซึ่งมีเชื้อสายเป็นชาวทิเบต แต่ปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเนปาลี ประมาณร้อยละ 75 ของประชากร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐสิกขิม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านละฮิจญ์

รัฐสุลต่านละฮิจญ์ (Sultanate of Lahej; سلطنة لحج) หรือ รัฐสุลต่านอับดะลี (Abdali Sultanate; سلطنة العبدلي) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของคาบสมุทรอาหรับ ปกครองโดยราชวงศ์อับดะลี จนถึงปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐสุลต่านละฮิจญ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์

รัฐสุลต่านอาเจะฮ์ (Sultanate of Aceh) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรอาเจะฮ์ดารุซซาลัม (Kingdom of Aceh Darussalam, ภาษาอาเจะฮ์: Keurajeuën Acèh Darussalam; อักษรยาวี: كاورجاون اچيه دارالسلام) เป็นรัฐที่มีสุลต่านเป็นผู้ปกครองอยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันคือจังหวัดอาเจะฮ์ ประเทศอินโดนีเซีย ครองอำนาจในราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 22 ก่อนจะเสื่อมอำนาจลง เมืองหลวงตั้งอยู่ที่กูตาราจา ปัจจุบันคือบันดาอาเจะฮ์ ในช่วงที่มีอำนาจ อาเจะฮ์พยายามเข้ายึดครองรัฐสุลต่านยะโฮร์ และมะละกาที่อยู่ภายใต้การปกครองของโปรตุเกส พยายามเข้าควบคุมช่องแคบมะละกา และพื้นที่ที่มีพริกไทยและดีบุกมาก อาเจะฮ์เป็นศูนย์กลางของนักปราชญ์อิสลามและการค้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐสุลต่านอาเจะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอิสลามอัฟกานิสถาน

รัฐอิสลามอัฟกานิสถาน (Islamic State of Afghanistan, دولت اسلامی افغانستان) เป็นรัฐบาลที่ปกครองอัฟกานิสถานช่วงหลังจากที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถานล่มสลาย ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐตรังกานู

ตรังกานู (Terengganu เดิมสะกดว่า Trengganu หรือ Tringganu, อักษรยาวี: ترڠڬانو) เป็นรัฐสุลต่านและเป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธ์มาเลเซีย มีชื่อเฉลิมเมืองเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลอีมาน ("ถิ่นที่อยู่แห่งความศรัทธา") รัฐตรังกานูตั้งอยู่ริมชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก ทางทิศเหนือและทิศตะวันตกติดต่อกับรัฐกลันตัน ทางทิศใต้ติดต่อกับรัฐปะหัง และทางทิศตะวันออกจรดทะเลจีนใต้ หมู่เกาะเปอร์เฮินเตียน (Perhentian Islands) เป็นส่วนหนึ่งของรัฐนี้ด้วย ทำให้รัฐตรังกานูมีพื้นที่ทั้งหมดรวม 12,955 ตารางกิโลเมตร องค์ประกอบทางชาติพันธุ์ในปี พ.ศ. 2538 ได้แก่ ชาวมลายู (859,402 คน หรือร้อยละ 94) ชาวจีน (42,970 คน หรือร้อยละ 5) ชาวอินเดีย (4,355 คน) และอื่น ๆ (3,238 คน) เมืองชายฝั่งกัวลาเตอเริงกานู (Kuala Terengganu) ตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำตรังกานูเป็นทั้งเมืองหลวงของรัฐและเมืองของสุลต่าน และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐตรังกานู · ดูเพิ่มเติม »

รัฐซาบะฮ์

ซาบะฮ์ (Sabah) เป็นรัฐที่มีเนื้อที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของประเทศมาเลเซีย และยังเป็นที่รู้จักกันในชื่อ เนอเกอรีดีบาวะฮ์บายู (Negeri di bawah bayu) ซึ่งหมายถึง ดินแดนที่อยู่ใต้ลม ก่อนที่จะเข้าร่วมอยู่กับสหพันธรัฐมาเลเซียนั้น ซาบะฮ์เคยเป็นอาณานิคมของอังกฤษ มีชื่อว่านอร์ทบอร์เนียว (บอร์เนียวเหนือ) ซาบะฮ์เป็นหนึ่งในสองรัฐของมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะ มีขนาดเล็กกว่ารัฐซาราวะก์ ส่วนทางภาคกลางและภาคใต้ของเกาะเรียกว่ากาลิมันตันเป็นของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหลวงของรัฐคือโกตากีนาบาลู เดิมมีชื่อว่า เจสเซลตัน (Jesselton).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐซาบะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐซาราวัก

ซาราวัก หรือ ซาราวะก์ (Sarawak, อักษรยาวี: سراواك) เป็นหนึ่งในสองรัฐของประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียว เป็นที่รู้จักกันในชื่อ บูมีเกอญาลัง (Bumi kenyalang, "ดินแดนแห่งนกเงือก") ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ และเป็นรัฐที่มีขนาดพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ส่วนอันดับสอง คือ รัฐซาบะฮ์ นั้น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เมืองศูนย์กลางการบริหารของรัฐนี้ คือ กูชิง (ประชากร 600,300 คน ใน ปี พ.ศ. 2548) มีความหมายตรงตัวว่า "แมว" (Kuching) เมืองหลักของรัฐเมืองอื่น ๆ ได้แก่ ซีบู (228,000 คน) มีรี (282,000 คน) และบินตูลู (152,761 คน) การสำรวจสำมะโนประชากรครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 รัฐนี้มีประชากร 2,376,800 คน ซาราวักเป็นรัฐที่มีความเป็นพหุวัฒนธรรมมากที่สุดในมาเลเซียและไม่มีกลุ่มชาติพันธุ์หลัก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐซาราวัก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปะลิส

ปะลิส หรือเดิมสะกดว่า ปลิศ หรือ เปอร์ลิศ (Perlis, ยาวี: فرليس) มีชื่อเต็มคือ เปอร์ลิซอินเดอรากายางัน (Perlis Indera Kayangan; ยาวี: ڤرليس ايندرا كايڠن) เป็นรัฐที่เล็กที่สุดในมาเลเซีย อยู่ทางตอนเหนือสุดของมาเลเซียตะวันตก และติดชายแดนประเทศไทย ประชากรของรัฐมีจำนวน 198,335 คน ในปี 2543 ในจำนวนนี้เป็นชาวมลายูประมาณ 166,200 คนหรือร้อยละ 78, ชาวจีน 24,000 คนหรือร้อยละ 17, ชาวอินเดีย 3,700 คน และอื่น ๆ 5,400 คน) เมืองหลวงของรัฐปะลิสคือ กังการ์ เมืองที่เป็นที่ประทับของเจ้าผู้ครองนครคืออาเรา นอกจากนี้เมืองการค้าสำคัญบริเวณชายไทย-มาเลเซียคือปาดังเบซาร์ ส่วนเมืองท่าของรัฐซึ่งเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของรัฐคือกัวลาปะล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐปะลิส · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปะหัง

ปะหัง (Pahang, อักษรยาวี: ڨهڠ) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐมาเลเซีย และเป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุดบนมาเลเซียตะวันตก ครอบคลุมบริเวณแอ่งแม่น้ำปะหัง มีอาณาเขตติดต่อกับรัฐกลันตันทางทิศเหนือ ติดต่อกับรัฐเประก์ รัฐเซอลาโงร์ และรัฐเนอเกอรีเซิมบีลันทางทิศตะวันตก ติดต่อกับรัฐยะโฮร์ทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันออกติดต่อกับรัฐตรังกานูและทะเลจีนใต้ เมืองหลวงของรัฐคือกวนตัน (Kuantan) ส่วนเมืองของเจ้าผู้ครองตั้งอยู่ที่ปกัน (Pekan) เมืองสำคัญอื่น ๆ ได้แก่ กัวลาลีปิส เตเมร์โละห์ และรีสอร์ตเชิงเขาที่ที่สูงเกินติง ที่สูงจาเมรอน และเฟรเซอส์ฮิลล์ ชื่อเฉลิมเมืองของรัฐปะหังคือ ดารุลมักมูร์ ("ถิ่นที่อยู่แห่งความเงียบสงบ") องค์ประกอบทางชาติพันธุ์ของผู้คนในรัฐนี้ประมาณอย่างหยาบ ๆ ได้แก่ ชาวมลายู + ภูมิบุตร 1 ล้านคน ชาวจีน 233,000 คน ชาวอินเดีย 68,500 คน อื่น ๆ 13,700 คน และไร้สัญชาติ 68,000 คน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐปะหัง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐปีนัง

ปูเลาปีนัง (Pulau Pinang) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธรัฐมาเลเซีย เดิมชาวมลายูรุ่นแรกเรียกว่า ปูเลาวาซาตู หรือเกาะเดี่ยว ต่อมาพบในแผนที่เดินเรือ เรียกว่า ปูเลาปีนัง หรือเกาะหมาก ต่อมาอังกฤษเรียกว่า เกาะพรินซ์ออฟเวล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐปีนัง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนักรบครูเสด

ตะวันออกใกล้ในปี ค.ศ. 1135 โดยมีอาณาจักรครูเสดเป็นสีเขียว อานาโตเลียและอาณาจักรครูเสด ราว ค.ศ. 1140 รัฐนักรบครูเสด (Crusader states) คือกลุ่มรัฐเจ้าขุนมูลนายที่นักรบครูเสดชาวยุโรปตะวันตกตั้งขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 12 - 13 ในอานาโตเลีย กรีซ และแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ (อิสราเอลโบราณและปัจจุบัน และในบริเวณปาเลสไตน์) แต่ในที่สุดอำนาจของอิสลามในตะวันออกกลางก็พิชิตรัฐเหล่านี้ได้หมด นอกจากนั้นรัฐนักรบครูเสดก็ยังหมายถึงดินแดนอื่นที่คริสตจักรสมัยกลางได้มา (ส่วนใหญ่เป็นรัฐเล็กและเพียงชั่วระยะเวลาอันสั้น) เพื่อป้องกันชาวมุสลิมและดินแดนของผู้นอกศาสนาอื่น ๆ ด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐนักรบครูเสด · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเกอดะฮ์

กอดะฮ์ (Kedah, قدح) หรือ ไทรบุรี มีชื่อเฉลิมเมืองเป็นภาษาอาหรับว่า ดารุลอามัน ("ถิ่นที่อยู่แห่งสันติภาพ") เป็นรัฐหนึ่งในประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมาเลเซียตะวันตก ครอบคลุมขนาดเนื้อที่ 9,425 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่บนแผ่นดินใหญ่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบใช้สำหรับปลูกข้าว รวมทั้งเกาะลังกาวี พรมแดนของรัฐเกอดะฮ์ทางทิศเหนือติดต่อกับรัฐปะลิส และติดต่อกับจังหวัดสงขลาและจังหวัดยะลาของประเทศไทย ทิศใต้ติดต่อกับรัฐเประก์ และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับรัฐปีนัง เมืองหลวงของรัฐคือ อาโลร์เซอตาร์ และเมืองของเจ้าผู้ครองคือ อานักบูกิต เมืองหลักอื่น ๆ ได้แก่ ซูไงเปอตานี (Sungai Petani) และกูลิม (Kulim) บนแผ่นดินใหญ่ รวมทั้งกูวะห์ (Kuah) บนเกาะลังกาวี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐเกอดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเอกราชโครเอเชีย

รัฐเอกราชโครเอเชีย (Nezavisna Država Hrvatska, NDH; Unabhängiger Staat Kroatien; Stato Indipendente di Croazia) เป็นรัฐหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนี และอิตาลีในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองโดยรัฐนี้ก่อตั้งขึ่นในวันที่ 10 เมษายน 1941 หลังบุกครองยูโกสลาเวียได้สำเร็จโดยรัฐนี้มีดินแดนคือในประเทศโครเอเชีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เซอร์เบีย และ สโลวีเนียในปัจจุบันโดยในยุคนี้ชาวเซิร์บ, ชาวยิว, ชาวโรมา, ประชาชนที่ต่อต้านฟาสซิสต์, ถูกจับเป็นจำนวนมากและส่งเข้าค่ายกักกันยาเชโนวั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐเอกราชโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์

รัฐเคาะลีฟะฮ์ (Caliphate จาก خليفة khilāfa) เป็นเขตการปกครองแบบหนึ่งในอาณาจักรมุสลิมที่มีประมุขเป็นเคาะลีฟะฮ์ที่มาจากปรัชญาว่าเป็นผู้สืบอำนาจมาจากนบีมุฮัมมัดศาสดาของศาสนาอิสลาม ซุนนีย์ระบุว่าเคาะลีฟะฮ์ควรจะเป็นผู้ที่ได้รับเลือกโดยชูรา ผู้ได้รับเลือกโดยมุสลิมหรือผู้แทน ชีอะฮ์เชื่อว่าเคาะลีฟะฮ์คืออิมามผู้สืบเชื้อสายมาจากอะฮฺลุลบัยตฺ (Ahl al-Bayt) ตั้งแต่สมัยมุฮัมมัดมาจนถึงปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐเคาะลีฟะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน

รัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน (الخلافة الراشدية, Rashidun Caliphate) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์รัฐแรกในสี่รัฐเคาะลีฟะฮ์ ก่อตั้งขึ้นหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมมัดในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดีน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์

รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์(الخلافة العباسية: al-Khilāfah al-‘Abbāsīyyah) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ราชวงศ์ที่สามของศาสนาอิสลาม ที่มีเมืองหลวงที่แบกแดดหลังจากที่โค่นราชวงศ์อุมัยยะฮ์ออกจากบริเวณต่าง ๆ ยกเว้นอัล-อันดะลุส (Al-Andalus) รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก่อตั้งโดยผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากอับบาส อิบน์ อับดุลมุฏฏอลิบ (العباس بن عبد المطلب‎ – Abbas ibn Abd al-Muttalib) ลุงคนเล็กของมุฮัมมัด โดยก่อตั้งขึ้นในฮาร์รานในปี ค.ศ. 750 และย้ายเมืองหลวงจากฮาร์รานไปแบกแดดในปี ค.ศ. 762 รัฐเคาะลีฟะฮ์นี้รุ่งเรืองอยู่ราวสองร้อยปีแต่ก็มาเสื่อมโทรมลงเมื่ออำนาจของตุรกีแข็งแกร่งขึ้น ภายใน 150 ปีทีแผ่ขยายอำนาจไปทั่วเปอร์เชีย รัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะห์ก็สูญเสียอำนาจให้แก่จักรวรรดิมองโกล ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์

รัฐอุมัยยะห์ (بنو أمية‎) เป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งแรกที่ถูกสถาปนาโดยมุอาวียะห์ อิบนุ อบี สุฟยาน (Muahwiya Ibn Abi Sufyan I, ค.ศ. 661 - ค.ศ. 680) หลังจากการถึงแก่อสัญกรรมของอะลีย์ บุตรเขยของมุฮัมหมัด ราชวงศ์นี้แผ่ขยายอาณาเขตออกไปอย่างกว้างขวางในช่วงต้น อีกทั้งราชวงศ์ยังรักษาธรรมเนียมปฏิบัติของศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัด แต่พอถึงปลายยุคเคาะลีฟะฮ์กลับเสวยแต่น้ำจัณฑ์ ล่าสัตว์ ใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยไม่ปฏิบัติตามหลักศาสนา จึงถูกลูกหลานของน้าของศาสนทูตมุฮัมหมัดโค่นล้มราชวงศ์ลงในสมัยมัรวานที่ 2 ในปี ค.ศ. 750 (พ.ศ. 1293) อุมัยยะห์เป็นหนึ่งในสี่รัฐเคาะลีฟะฮ์ของอิสลามที่ก่อตั้งหลังจากการเสียชีวิตของมุฮัมหมัด ศาสนทูตของศาสนาอิสลามที่ปกครองโดยราชวงศ์อุมัยยะห์ ที่ได้รับชื่อจาก Umayya ibn Abd Shams ผู้เป็นทวดของคอลีฟะฮ์อุมัยยะห์คนแรก แม้ว่าตระกูลอุมัยยะห์เดิมจะมาจากมักกะฮ์ แต่ดามัสกัสเป็นเมืองหลวงของรัฐ หลังจากอุมัยยะห์ถูกโค่นโดยรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ รัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะห์ก็ย้ายไปตั้งถิ่นฐานใหม่ที่อัล-อันดะลุส (Al-Andalus) และก่อตั้งเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์แห่งกอร์โดบา ภายหลังจากที่ท่านอะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ เคาะลีฟะฮ์รอชิดีนคนที่ 4 เสียชีวิต ท่านหะสัน อิบนุ อะลี บุตรของท่านอาลีได้รับเลือกตั้งเป็นเคาะลีฟะฮ์คนต่อไป แต่ดำรงตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ได้ไม่กี่เดือนก็ยอมสละตำแหน่งให้แก่ท่านมุอาวียะฮ์ อิบนุ อบี สุฟยาน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพในรัฐอิสลาม พร้อมกับหลีกเลี่ยงความแตกแยกและการสูญเสียเลือดระหว่างชาวมุสลิมด้วยกันมากกว่านี้ มุอาวิยะฮ์เป็นเคาะลีฟะฮ์ท่านแรกในราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ท่านสืบเชื้อสายจากตระกูลอุมัยยะห์ บุตรของอับดุซซัม ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า "ราชวงศ์อุมัยยะฮ์" ในสมัยการปกครองของราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ท่านมุอาวียะฮ์ได้เปลี่ยนรูปแบบการปกครองจากสาธารณรัฐเป็นราชอาณาจักร ท่านทำให้ตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์กลายเป็นตำแหน่งกษัตริย์โดยการสืบสันติวงศ์ ท่านได้ทรงแต่งตั้งยะซิด โอรสของท่านให้เป็นกษัตริย์ ต่อมาการแต่งตั้งแบบนี้ได้กลายเป็นตัวอย่างการแต่งตั้งเคาะลีฟะฮ์มาตลอดราชวงศ์อุมัยยะฮ์ ทั้งรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์และอื่น ๆ อีกด้วย ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าท่านเป็นผู้สร้างตำแหน่งกษัตริย์โดยการสืบสันติวงศ์ขึ้นในประวัติศาสตร์ของศาสนาอิสลาม การปกครองแบบประชาธิปไตยระหว่างเผ่าของเคาะลีฟะฮ์ท่านก่อน ๆ ก็หมดสิ้นไป กลายเป็นการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคดีฟอียิปต์

รัฐเคดีฟอียิปต์ (Khedivate of Egypt; خديوية مصر; ออตโตมันเติร์ก: خدیویت مصر Hıdiviyet-i Mısır) เป็นรัฐบรรณาการของจักรวรรดิออตโตมัน ปกครองโดยราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี คำว่า "เคดีฟ" (khedive) ในภาษาตุรกีออตโตมัน หมายถึง "อุปราช" ใช้ครั้งแรกโดยมูฮัมหมัด อาลี ปาชา แต่ไม่ได้รับการยอมรับจนกระทั่งถึงปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐเคดีฟอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเปรัก

ปรัก หรือ เประก์ (Perak, อักษรยาวี: ڨيرق) เป็นหนึ่งในสิบสามรัฐที่ประกอบขึ้นเป็นประเทศมาเลเซีย มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองบนมาเลเซียตะวันตก ติดต่อกับรัฐเกอดะฮ์และจังหวัดยะลาของประเทศไทยทางทิศเหนือ รัฐปีนังทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ รัฐกลันตันและรัฐปะหังทางทิศตะวันออก รัฐเซอลาโงร์ทางทิศใต้ ส่วนทางทิศตะวันตกจรดช่องแคบมะละกา "เปรัก" (Perak) ในภาษามลายูหมายถึงเงิน ซึ่งน่าจะมาจากสีเงินของแร่ดีบุก แต่บางคนก็ว่าชื่อของรัฐมาจาก "แสงวิบวับของปลาในน้ำ" ซึ่งส่องเป็นประกายเหมือนเงิน ส่วนชื่อเฉลิมเมืองในภาษาอาหรับคือ ดารุลริฎวาน ("ดินแดนแห่งความสง่างาม") เกาะปังกอร์เป็นเกาะเล็ก ๆ ใกล้ชายฝั่ง มีกิจกรรมท่องเที่ยวต่าง ๆ เช่น การดำน้ำ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐเปรัก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน

นอเกอรีเซิมบีลัน (Negeri Sembilan, อักษรยาวี: نڬري سمبيلن) เป็น 1 ใน 13 รัฐที่ประกอบขึ้นเป็นสหพันธ์มาเลเซีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งทะเลตะวันตกของมาเลเซียตะวันตก มีพื้นที่ประมาณ 6,650 ตารางกิโลเมตร คำว่า "เนอเกอรีเซิมบีลัน" แปลว่า 9 รัฐ สืบเนื่องจากในสมัยก่อนแบ่งการปกครองเป็น 9 อำเภอ มีเมืองหลวงชื่อ เซอเริมบัน เป็นเมืองท่าที่มีชายฝั่งทะเลสวยงาม เหมาะแก่การพักผ่อน องค์ประกอบของกลุ่มชาติพันธุ์ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน · ดูเพิ่มเติม »

ราชบัลลังก์กัสติยา

ราชบัลลังก์กัสติยา (Corona de Castilla) เป็นสหอาณาจักรที่มักจะกล่าวกันว่าเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราชบัลลังก์กัสติยา · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐแอนติออก

ราชรัฐแอนติออก (Principality of Antioch) ที่มีอาณาบริเวณบางส่วนที่อยู่ในตุรกีและซีเรียปัจจุบันเป็นนครรัฐครูเสด ที่ก่อตั้งระหว่างสงครามครูเสดครั้งที่ 1 ที่รุ่งเรืองระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราชรัฐแอนติออก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตีมูร์

ราชวงศ์ตีมูร์ หรือ จักรวรรดิตีมูร์ (Timurid dynasty, تیموریان ตั้งตนเป็นGurkānī, گوركانى) เป็นราชวงศ์หนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เชียของซุนนีย์มุสลิมในเอเชียกลางที่เดิมมาจากผู้สืบเชื้อสายจากราชวงศ์เติร์ก-มองโกล (Turko-Mongol)Encyclopædia Britannica, "", Online Academic Edition, 2007.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราชวงศ์ตีมูร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรกัสติยา

ราชอาณาจักรกัสติยา (Reino de Castilla) เป็นราชอาณาจักรของยุคกลางของคาบสมุทรไอบีเรียที่เริ่มก่อตัวเป็นอิสระขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 โดยการเป็นอาณาจักรเคานต์แห่งกัสติยาที่เป็นอาณาจักรบริวาร (vassal) ของราชอาณาจักรเลออน ชื่อ "กัสติยา" มาจากคำที่ว่าแปลว่าปราสาท เพราะในบริเวณนั้นมีปราสาทอยู่หลายปราสาท กัสติยาเป็นราชอาณาจักรหนึ่งที่ต่อมาก่อตั้งขึ้นเป็นราชบัลลังก์กัสติยาและราชบัลลังก์สเปนในที.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราชอาณาจักรกัสติยา · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน

ราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์ (المملكة المتوكلية) หรือ ราชอาณาจักรเยเมน เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเยเมนในปัจจุบัน หลังจักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราชอาณาจักรมุตาวัคคิไลต์เยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรลิเบีย

ราชอาณาจักรลิเบีย (المملكة الليبية) เดิมมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหราชอาณาจักรลิเบีย เป็นรัฐลิเบียสมัยใหม่ซึ่งได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1951 และ สิ้นสุดลงด้วยการรัฐประหารล้มล้างระบอบราชาธิปไตยและเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1969.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราชอาณาจักรลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน

ราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน (Kingdom of Afghanistan; د افغانستان واکمنان; پادشاهي افغانستان) เป็นราชอาณาจักรที่ปกครองอัฟกานิสถาน ระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเยรูซาเลม

ราชอาณาจักรเยรูซาเลม หรือ ราชอาณาจักรละตินแห่งเยรูซาเลม (Kingdom of Jerusalem หรือ Latin Kingdom of Jerusalem) เป็นอาณาจักรคริสเตียนที่ก่อตั้งในบริเวณลว้าน (Levant) ในปี ค.ศ. 1099 หลังสงครามครูเสดครั้งที่ 1 และยืนยงต่อมาร่วมสองร้อยปีจนถึงปี ค.ศ. 1291 เมื่อเอเคอร์ดินแดนสุดท้ายที่เป็นของอาณาจักรถูกทำลายโดยมามลุค (Mamluk) ในระยะแรกราชอาณาจักรเป็นเพียงกลุ่มเมืองใหญ่และเล็กที่รวมตัวกันอย่างหลวมๆ ระหว่างสงครามครูเสด ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดอาณาบริเวณที่ปัจจุบันคืออิสราเอล และอาณาดินแดนปาเลสไตน์ (Palestinian territory) ที่ครอบคลุมตั้งแต่บริเวณเลบานอนปัจจุบันไปจนถึงทางเหนือของทะเลทรายไซนายทางด้านไต้ ไปยังจอร์แดน และซีเรียทางด้านตะวันออก ระหว่างนั้นก็มีการพยายามที่จะขยายดินแดนไปยังฟาติมิยะห์ (Fatimid) อียิปต์ นอกจากนั้นพระมหากษัตริย์ของราชอาณาจักรเยรูซาเลมก็ยังมีอำนาจบางอย่างเหนืออาณาจักรครูเสดอื่นๆ, ตริโปลี, อันติโอค, และเอเดสสา ประเพณีและระบบต่างที่ใช้ในอาณาจักรนำมาจากยุโรปตะวันตกกับนักการสงครามครูเสด ระบบการปกครองและความเกี่ยวดองกับยุโรปเป็นไปตลอดอายุของอาณาจักร แต่เมื่อเทียบกับอาณาจักรในยุโรปแล้วราชอาณาจักรเยรูซาเลมก็เป็นเพียงอาณาจักรที่ค่อนข้างเล็กและมักจะขาดการหนุนหลังทางด้านการเงินและทางการทหารจากยุโรป ราชอาณาจักรเยรูซาเลมมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับราชอาณาจักรข้างเคียงมากกว่าเช่นราชอาณาจักรอาร์มิเนียแห่งซิลิเซีย (Armenian Kingdom of Cilicia) และจักรวรรดิไบแซนไทน์ ที่ได้รับอิทธิพลตะวันออกมา นอกจากนั้นก็ยังได้รับอิทธิพลจากระบบมุสลิม แต่ทางด้านสังคมแล้วผู้อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรจากยุโรปตะวันตกแทบไม่มีการติดต่อกับมุสลิมหรือชนคริสเตียนท้องถิ่นที่ปกครองเลย ในระยะแรกฝ่ายมุสลิมไม่มีความสนใจกับราชอาณาจักรเยรูซาเลมเท่าใดนักจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 12 เมื่ออาณาจักรของมุสลิมเริ่มแข็งตัวขึ้นและเริ่มยึดดินแดนที่เสียไปคืนอย่างเป็นจริงเป็นจัง เยรูซาเลมเสียแก่ซาลาดินในปี ค.ศ. 1187 และเมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 13 ดินแดนของราชอาณาจักรก็เหลือเพียงแถบตามแนวฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนพร้อมกับเมืองสำคัญๆ สองสามเมือง ในช่วงนี้ราชอาณาจักรที่บางครั้งก็เรียกว่า “ราชอาณาจักรเอเคอร์” ก็ปกครองโดยราชวงศ์ลูซิยัน (Lusignan) ของนักครูเสดจากราชอาณาจักรไซปรัส และมีความสัมพันธ์ดีกับทริโปลี, อันติออคและอาร์มีเนีย และได้รับอิทธิพลจากสาธารณรัฐเวนิส และสาธารณรัฐเจนัว และจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ขณะเดียวกันอาณาจักรมุสลิมรอบข้างก็รวมตัวกันภายใต้ราชวงศ์อัยยูบิด (Ayyubid) และต่อมาราชวงศ์มามลุคของอียิปต์ ราชอาณาจักรเยรูซาเลมจึงกลายเป็นเบี้ยประกันของการสงครามและการเมืองในบริเวณนั้น ที่ตามมาโดยการโจมตีโดย คแวเรซเมียน (Khwarezmians) และจักรวรรดิโมกุลราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 13 ในที่สุดก็ถูกมามลุคสุลต่านไบบาร์ส (Baibars) และอัล-อัชราฟ คาลิล (al-Ashraf Khalil) ยึดดินแดนที่เหลืออยู่ทั้งหมดได้ รวมทั้งการทำลายเอเคอร์ในปี ค.ศ. 1291.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราชอาณาจักรเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเลออง

ราชอาณาจักรเลออง เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่บนคาบสมุทรไอบีเรีย สถาปนาขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 910 โดย เจ้าชายคริสเตียนแห่งอัสตูเรียส ที่ล่มสลายลงไปก่อนหน้านี้ โดยเลอองเป็นหนึ่งในแกนนำที่ช่วยขับไล่ชาวมุสลิมออกไปจากสเปน และภายหลังได้รวมเป็นส่วนหนึ่งกับราชอาณาจักรคาสตีลในปี ค.ศ. 1230 ก่อนที่จะล่มสลายลงเพราะสงครามสืบราชบัลลังก์สเปนในปี ค.ศ. 1301 หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป ล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราชอาณาจักรเลออง · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเซดัง

ราชอาณาจักรเซดัง (Kingdom of Sedang; ภาษาฝรั่งเศส: Royaume des Sedangs) เป็นเขตการปกครองที่ก่อตั้งขึ้นชั่วคราวในพุทธศตวรรษที่ 24 โดยนักผจญภัยชาวฝรั่งเศส ชาร์เลิส-มารี ดาวิด เดอ แมเรนาในดินแดนที่ปัจจุบันคือประเทศเวียดนาม แมเรนาเคยเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลฝรั่งเศสมาก่อนและมีประวัติน่าสงสัยว่าเคยเกี่ยวข้องกับการทุจริตได้เป็นเจ้าของที่ดินเพาะปลูกใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราชอาณาจักรเซดัง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญ

วันสำคัญ คือ วันที่มีความสำคัญหรือมีความพิเศษในด้านใดด้านหนึ่ง โดยมีประเพณีหรืองานฉลองในวันสำคัญแต่ละวันแตกต่างกันไป.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรายชื่อวันสำคัญ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล

ในหลายสังคมได้มีการห้ามหนังสือบางเล่ม รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลที่ปรากฏข้างล่างนี้เป็นเพียงบางส่วนของรายชื่อหนังสือทั้งหมดที่ถูกสั่งห้ามโดยรัฐบาลด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง การห้ามอาจจะเป็นการห้ามระดับชาติหรือระดับรองและบางครั้งอาจจะมีโทษทางกฎหมายถ้าละเมิด นอกจากการห้ามทางกฎหมายแล้วก็อาจจะเป็นการห้ามโดยสถาบันศาสนาโดยการห้ามไม่ให้ผู้นับถือศาสนาอ่านหนังสือที่ห้าม แต่โดยปราศจากโทษทางอาญา แต่บางครั้งการห้ามก็อาจจะได้รับการยกเลิกเมื่อมีการท้าทายกันในศาล และศาลมีคำสั่งให้ยกเลิกการห้ามเพราะเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกฎหม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน

หน้านี้คือรายการธงที่มีการใช้ในประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอิหร่าน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศสาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรายชื่อธงในประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5

นี่คือรายพระนามและรายนาม พระมเหสี เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามสุลต่านคอโมโรส

หล่า สุลต่านแห่งคอโมโรส, หมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียพร้อมเชื้อชาติที่ผสมผสานได้รับการสถาปนาภายหลังการเข้ามาของ ศาสนาอิสลาม ณ พื้นที่นี้เมื่อศตวรรษที่ 15 สุลต่านขึ้นอยู่กับเกาะอาจถูกจัดฐานะ ฟานี, อึมฟาอุเม and อึนติเบ ไม่เหมือนกับสุลต่านฝั่งอาหรับ,สุลต่านเหล่านี้มีอำนาจจริงเพียงเล็กน้อย ครั้งเดียวบนเกาะเอ็นซวานี่ หนึง อึนซวานี (อองฌูอองในปัจจุบัน),ฟานี 40 พระองค์และเจ้าผู้ครองนครอื่น ๆ แบ่งอำนาจกันภายในเกาะ งาซิดจา (กรองด์ กอมอร์ในปัจจุบัน)ในอดีตถูกแบ่งเป็นรัฐสุลต่าน 11 รัฐ บทความนี้จะกล่าวถึงเฉพาะพระองค์ที่สำคัญ รัฐสุลต่านในประวัติศาสตร์มี 5 รัฐที่ได้รับการเสนอให้ UNESCOยกย่องเป็นมรดกโลก ดังนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรายพระนามสุลต่านคอโมโรส · ดูเพิ่มเติม »

รายการสาขาวิชา

รายชื่อสาขาวิชา หรือ สาขาการศึกษา (Field of study) หมายถึงสาขาความรู้ หรือ การวิจัยที่เปิดสอนในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย คำว่า สาขาวิชา ได้รับการนิยามและยอมรับโดย วารสารวิชาการที่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย และโดยสมาคมผู้รู้ (learned societies) และโดยภาควิชาหรือคณะวิชาที่บุคคลผู้อยู่ในสาขาวิชานั้นๆ สังกัด โดยปกติ สาขาการศึกษาต่างๆ มักมีสาขาย่อยหรือแขนงวิชาแตกออกไป เส้นแบ่งระหว่างสาขาย่อยมักยังมีความคลุมเครือและมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ชัดเจน ในยุโรปสมัยกลางซึ่งขณะนั้นยังมีการแบ่งคณะวิชาออกเป็น 4 คณะหรือสายวิชา ได้แก่เทววิทยา การแพทย์ ธรรมศาสตร์ นิติศาสตร์ และศิลปะ โดยคณะวิชาหลังมีสถานะไม่สูงเท่า 3 สาขาแรก การแบ่งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสมัยนั้นมีรากสืบทอดมาจากขบวนการแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร (Secularization) ของมหาวิทยาลัยซึ่งเกิดขึ้นราวสมัยกลาง-ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ. 2390 - พ.ศ. 2440) โดยได้เพิ่มวิชาภาษาศาสตร์ที่ไม่ใช่คลาสสิก วรรณคดี และวิชาสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยาและวิศวกรรมศาสตร์เสริมเข้าไปในหลักสูตรแบบประเพณีโบราณ ในต้นคริสต์ศตวรรษ ที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2440 - พ.ศ. 2475) ได้มีการเพิ่มสาขาวิชาใหม่ๆ เช่น การศึกษา สังคมวิทยา และจิตวิทยา ในมหาวิทยาลัยต่างๆ และในช่วงประมาณ พ.ศ. 2513 - พ.ศ. 2523) ได้เกิดปรากฏการณ์ "การระเบิด" ของสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เน้นเนื้อหาเฉพาะเจาะจง เช่น สื่อศึกษา สตรีศึกษา และชนผิวดำศึกษา สาขาใหม่ๆ เหล่านี้จัดขึ้นในมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับอาชีพและวิชาชีพต่างๆ เช่น การพยาบาล การจัดการโรงพยาบาล การราชทัณฑ์ และหลังสุดก็ได้เห็นสาขาวิชาที่เป็นลักษณะ "สหสาขาวิชา" เช่น ชีวเคมี และ ธรณีฟิสิกส์เกิดเพิ่มขึ้นและได้รับการยอมรับว่าสาขาวิชาใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้ได้ช่วยเพิ่มพูนความรู้ให้กว้างขวางขึ้น เครื่องหมายดอกจัน * แสดงเป็นหมายเหตุว่าสาขาวิชานั้นยังเป็นที่ถกเถียงถึงสถานภาพว่าควรนับไว้ในสายวิชาใด เช่น วิชามานุษยวิทยา และวิชาภาษาศาสตร์ควรจัดไว้ในกลุ่มสังคมศาสตร์ หรือ มนุษยศาสตร์ เป็นที่สังเกตได้ว่าบางท่าน โดยเฉพาะนักทฤษฎีวิจารณ์มักให้ความสำคัญในการบ่งชี้การจัดกลุ่มที่เข้มงวดในทุกสายวิชา รวมทั้งความชัดเจนของโครงสร้างของแนวคิดโดยรวมของแต่ละวิชาซึ่งยังเป็นถกเถียงได้มากสำหรับบางคน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรายการสาขาวิชา · ดูเพิ่มเติม »

รายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้

การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการจำแนกห้องสมุดประกอบด้วย 10 หมวดใหญ่ (class) แต่ละหมวดใหญ่แบ่งเป็นสิบหมวดย่อย (division) แต่ละหมวดย่อยมีสิบหมู่ย่อย (section) ตัวอย่างเช่น หมวดใหญ่ 600 ("เทคโนโลยี") มีหมวดย่อย 630 ("เกษตรกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง") ซึ่งมีหมู่ย่อย 636 ("การเลี้ยงสัตว์") ในทางปฏิบัติ มีทั้งหมด 99 จาก 100 หมวดย่อยและ 908 จาก 1000 หมู่ย่อย เนื่องจากบางส่วนเลิกใช้แล้วหรือยังไม่กำหน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรายการหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ · ดูเพิ่มเติม »

รายาห์

นชั้นรายา (râya) หรือ เระอาเย (ตุรกีออตโตมัน: رعايا) คือชนชั้นต่ำในสังคมออตโตมันที่ตรงกันข้ามกับ “ชนชั้นอัสเคเรี” (askeri) ซึ่งเป็นชนชั้นขุนนางผู้บริหาร คำว่า “รายา” แปลว่า “สมาชิกของฝูง” ที่รวมทั้งผู้นับถือศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และ ศาสนายูดายผู้ที่ต้องเสียภาษีเพื่อบำรุงรัฐและชนชั้นอาชีพสูงชองจักรวรรดิ แต่ในความหมายร่วมสมัยและความหมายใหม่มักจะหมายถึงผู้ที่ไม่ใช่มุสลิมโดยเฉพาะ บางครั้งคำนี้ก็จะแปลว่า “วัว” (cattle) แทนที่จะแปลว่า “ฝูง” หรือ “ข้าแผ่นดิน” (subjects) เพื่อเป็นการเน้นว่ารายาห์เป็นชนชั้นที่ต่ำกว่าชนชั้นอื่น แต่คำเดียวกันนี้ใช้โดยคริสเตียนอาหรับที่หมายถึงผู้ที่เป็นสมาชิกของวัด ในสมัยต้นจักรวรรดิออตโตมันรายาไม่มีสิทธิในการรับราชการเป็นทหารแต่เมื่อมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 รายาที่เป็นมุสลิมก็เริ่มมีสิทธิซึ่งทำให้เป็นที่ไม่พอใจของชนชั้นปกครอง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรายาห์ · ดูเพิ่มเติม »

ราคิม

วิลเลียม ไมเคิล กริฟฟิน จูเนียร์ เกิดเมื่อวันที่ 28 มกราคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและราคิม · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด ดอว์กินส์

ริชาร์ด ดอว์กินส์ ริชาร์ด ดอว์กินส์ (Richard Dawkins) นักชีววิทยาและนักเขียนชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง มีชื่อเต็มว่า คลินตัน ริชาร์ด ดอว์กินส์ (Clinton Richard Dawkins) เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1941 ที่เมืองไนโรบี ประเทศเคนยา เมื่อครั้งที่ยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด ปัจจุบันเป็นศาสตราจารย์ด้านสัตววิทยา แห่งมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด ดอว์กินส์ มีชื่อเสียงจากการเป็นนักวิทยาศาสตร์ทางด้านพฤติกรรมศาสตร์และทฤษฎีวิวัฒนาการ โดยได้ศึกษาทฤษฎีวิวัฒนาการของชาร์ลส์ ดาร์วิน และมีความคิดในทฤษฎีนี้ มีผลงานการเขียนหนังสือที่โด่งดัง มีชื่อเสียงกว่า 10 เล่ม อาทิ The Selfish Gene, River out of Eden, The Blind Watchmaker, The God Delusion ซึ่งในแต่ละเล่มนั้นเกี่ยวกับทฤษฎีวิวัฒนาการที่ตรงกันข้ามกับความเชื่อในคริสต์ศาสนาและอิสลาม ซึ่งทำให้ดอว์กินส์ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่คิดในอย่างอเทวนิยม และยังเป็นนักเขียนบทสารคดีสำหรับภาพยนตร์สารคดีทางโทรทัศน์อีกด้วย ในปี ค.ศ. 2012 โรฮัน เพธิยาโกดา นักวิทยาศาสตร์ชาวศรีลังกา ได้ตั้งชื่อสกุลของปลาน้ำจืดขนาดเล็ก ที่อาศัยอยู่ในประเทศอินเดีย ในวงศ์ Cyprinidae จำนวน 4 ชนิด ว่า Dawkinsia เพื่อเป็นเกียรติแก่ ริชาร์ด ดอว์กิน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและริชาร์ด ดอว์กินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ริดวัน ฮิรซี โมฮัมเหม็ด

ริดวัน ฮิรซี โมฮัมเหม็ด (Ridwaan Xirsi Maxamed, رضوان حرسي محمد) เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศาสนาของโซมาเลี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและริดวัน ฮิรซี โมฮัมเหม็ด · ดูเพิ่มเติม »

รซมะฮ์ มันโซร์

ติน ปาดูกา ซรี ฮัจจะฮ์ รซมะฮ์ บินตี มันโซร์ (Rosmah binti Mansor; เกิด: 10 ธันวาคม ค.ศ. 1951) อดีตสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศมาเลเซีย ภรรยาของนาจิบ ราซัก อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและรซมะฮ์ มันโซร์ · ดูเพิ่มเติม »

ละหมาด

ละหมาด หรือ นมาซ คือการนมัสการพระเจ้า อันเป็นศาสนกิจอย่างหนึ่งในศาสนาอิสลาม เพื่อแสดงถึงความเคารพสักการะ ความขอบคุณ และความภักดีต่ออัลลอฮ์บรรจง บินกาซัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและละหมาด · ดูเพิ่มเติม »

ลัยลัต อัล-ก็อดรฺ

ลัยลัต อัล-ก็อดรฺ (لیلة القدر&#x200E) มีความหมายว่า คืนแห่งการประทาน, คืนแห่งพลัง, คืนที่มีค่า, คืนแห่งโชคชะตา  เป็นคืนหนึ่งที่คนมุสลิมเชื่อว่าเป็นคืนที่โองการแรกของอัลกุรอ่านถูกประทานให้แก่ศาสดามุฮัมหมัด เป็นหนึ่งในคืนในสิบคืนสุดท้ายของเดือนรอมฎอน คนมุสลิมเชื่อว่าจะได้รับความเมตตาและพรจากอัลลอฮฺอย่างมากมาย ได้รับการอภัยโทษบาป การขอพรจะถูกตอบรับ และมีโองการในอัลกุรอ่านว่า จะมีเทวทูตลงมายังพื้นโลก โดยเฉพาะญิบรีล โดยกล่าวเป็น "วิญญาณอันบริสุทธ์" เพื่อทำภารกิจพิเศษที่มีคำสั่งโดยอัลลอ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและลัยลัต อัล-ก็อดรฺ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิศูฟี

ลัทธิศูฟี (تصوّف) เป็นลัทธิความเชื่อลัทธิหนึ่งในศาสนาอิสลาม ซึ่งแปลงคำสอนมาจากนิกายสุหนี่ เน้นความเชื่อทางจิตวิญญาณ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและลัทธิศูฟี · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอนุตตรธรรม

อักษร ''หมู่'' หมายถึง "พระแม่องค์ธรรม" พระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิบัวขาว ลัทธิเซียนเทียนเต้า และลัทธิอื่น ๆ ที่แตกแขนงมาภายหลัง รวมทั้งลัทธิอนุตตรธรรม ลัทธิอนุตตรธรรม (一貫道 Yīguàn Dào อีก้วนเต้า) ในประเทศไทยเรียกว่า วิถีอนุตตรธรรม เป็นศาสนาที่หวัง เจฺว๋อี ก่อตั้งขึ้นในประเทศจีนสมัยราชวงศ์ชิงเมื่อปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและลัทธิอนุตตรธรรม · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิทำลายรูปเคารพ

การปฏิรูปศาสนาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่มหาวิหารนักบุญมาร์ติน เมืองยูเทรกต์ (Cathedral of Saint Martin, Utrecht)http://www.domkerk.nl/domchurch/history.html The birth and growth of Utrecht (ที่มาและความเจริญเติบโตของอูเทรชท์) ลัทธิทำลายรูปเคารพ (Iconoclasm) เป็นแนวคิดและการปฏิบัติเพื่อไม่ให้มีการใช้รูปเคารพ การทำลายศิลปะหรือรูปสัญลักษณ์ทางศาสนา การทำลายสัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่สัญลักษณ์ทางศาสนา หรือ การทำลายอนุสาวรีย์โดยจงใจภายในสังคมใดสังคมหนึ่ง ซึ่งมักจะเป็นผลจากการกระทำเพื่อศาสนาหรือการเมือง การกระทำเช่นนี้มักจะเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการเปลี่ยนแปลงทางศาสนาหรือทางการเมืองภายในสังคมเดียวกัน ลัทธิทำลายรูปเคารพตรงกันข้ามกับ "ลัทธิบูชารูปเคารพ" (Iconodule).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและลัทธิทำลายรูปเคารพ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและลัทธิขงจื๊อ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธินอกศาสนา

้อน Mjölnir ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญของลัทธิเพกันใหม่เยอรมัน ลัทธินอกศาสนา หรือ เพเกิน หรือ เพแกน (Paganism มาจากภาษาPaganus แปลว่า “ผู้ที่อยู่ในชนบท”) เป็นคำที่มีความหมายกว้างที่ใช้บรรยายศาสนาหรือการปฏิบัติของหมู่ชนสมัยก่อนมีการนับถือคริสต์ศาสนาในยุโรป หรือถ้าขยายความขึ้นไปอีกก็จะหมายถึงผู้ที่มีธรรมเนียมการนับถือพระเจ้าหลายองค์ (polytheistic) หรือศาสนาพื้นบ้าน (folk religion) โดยทั่วไปในโลกจากมุมมองของผู้ที่นับถือคริสต์ศาสนาในโลกตะวันตก คำนี้มีความหมายหลายอย่างแต่จากทัศนคติตะวันตกในนัยยะของความหมายในปัจจุบันหมายถึงความศรัทธาที่เป็นพหุเทวนิยมของผู้ที่ปฏิบัติตามแบบเจตนิยม (spiritualism) วิญญาณนิยม (animism) หรือลัทธิเชมัน เช่นในศาสนาพื้นบ้าน ในลัทธิการนับถือพระเจ้าหลายองค์ หรือในลัทธินอกศาสนาใหม่ คำว่า “ลัทธินอกศาสนา” ได้รับการตีความหมายอย่างกว้างที่รวมถึงศาสนาทุกศาสนาที่อยู่นอกกลุ่มศาสนาอับราฮัมของผู้นับถือลัทธิเอกเทวนิยม (monotheism) ที่รวมทั้งศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม กลุ่มที่ว่านี้รวมทั้งศาสนาตะวันออก (Eastern religions) ปรัมปราวิทยาอเมริกันพื้นเมือง (Native American mythology) และศาสนาพื้นบ้านโดยทั่วไปที่ไม่ใช่คริสต์ศาสนา ในความหมายที่แคบลง "ลัทธินอกศาสนา" จะไม่รวมศาสนาของโลก (world religions) ที่เป็นศาสนาที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างเป็นทางการแต่จะจำกัดอยู่ในศาสนาท้องถิ่นที่ยังไม่ได้จัดอยู่ในระบบศาสนาของโลก ลักษณะการปฏิบัติของลัทธิเพกันคือความขาดสาวก (proselytism) และการความนิยมในการนับถือปรัมปราวิทยาต่าง ๆ (mythology) คำว่า “ลัทธินอกศาสนา” เป็นคำที่ผู้นับถือคริสต์ศาสนานำมาใช้สำหรับ “เจนไทล์” (gentile) ของศาสนายูดาห์หรือชาวยิว ที่เป็นการใช้คำที่ออกไปทางเหยียดหยามโดยหมู่ผู้นับถือลัทธิเอกเทวนิยมของโลกตะวันตก เทียบเท่ากับการใช้คำว่า “heathen” (ฮีทเธน) หรือ “อินฟิเดล” (infidel) หรือ “กาฟิร” (kafir หรือ كافر) และ “มุชริก” (mushrik หรือ مشرك ผู้เคารพรูปปั้น) ในการเรียกผู้ที่นับถือศาสนาอิสลาม ด้วยเหตุผลต่างๆ เหล่านี้นักชาติพันธุ์วิทยาจึงเลี่ยงใช้คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" เพราะความหมายอันแตกต่างกันและไม่แน่นอน ในการกล่าวถึงความศรัทธาตามที่มีกันมาหรือในประวัติศาสตร์ และมักจะใช้คำที่มีความหมายเฉพาะเจาะจงมากกว่า เช่น เจตนิยม, วิญญาณนิยม, ลัทธิชามัน หรือสรรพเทวนิยม (pantheism) แต่ก็มีผู้วิจารณ์การใช้คำเหล่านี้ที่อ้างว่าเป็นคำที่ให้ความหมายของศรัทธาในมุมมองหนึ่งและมิได้กล่าวถึงตัวความเชื่อของศาสนาที่กล่าว ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 คำว่า "ลัทธินอกศาสนา" ก็กลายมาเป็นที่นิยมใช้กันสำหรับผู้นับถือลัทธินอกศาสนาใหม่ ฉะนั้นนักวิชาการหลายแขนงในปัจจุบันจึงต้องใช้คำนี้ในความหมายที่แบ่งเป็นสามกลุ่ม: พหุเทวนิยมในประวัติศาสตร์ (เช่นลัทธินอกศาสนาเซลต์ (Celtic paganism) หรือลัทธินอกศาสนานอร์ส (Norse paganism)), ศาสนาพื้นบ้าน/ศาสนาเผ่าพันธุ์/ศาสนาท้องถิ่น (เช่น ศาสนาพื้นบ้านของชาวจีนหรือ ศาสนาพื้นบ้านของชาวแอฟริกา) และลัทธินอกศาสนาใหม่ (เช่นวิคคา (Wicca) และ ลัทธินอกศาสนาใหม่เยอรมัน (Germanic Neopaganism)).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและลัทธินอกศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเซียนเทียนเต้า

อักษร 母 ''หมู่'' หมายถึง ''''พระแม่องค์ธรรม'''' พระเป็นเจ้าตามความเชื่อของลัทธิเซียนเทียนเต้าและอีก 5 ลัทธิที่แตกแขนงออกมา ลัทธิเซียนเทียนเต้า (先天道 Xiāntiān Dào) เป็นลัทธิศาสนาหนึ่งที่หวง เต๋อฮุย ก่อตั้งขึ้นในสมัยราชวงศ์ชิง โดยสืบความเชื่อมาจากลัทธิบัวขาวในสมัยราชวงศ์หยวน นอกจากนี้ยังรับคำสอนมาจากลัทธิหลัวด้วย ลัทธิเซียนเทียนเต้าเป็นต้นกำเนิดของอีก 5 ลัทธิที่แยกตัวออกมาภายหลัง ได้แก่ ลัทธิอนุตตรธรรม ลัทธิถงซั่นเซ่อ ลัทธิฉือฮุ่ยถัง ลัทธิเทียนเต๋อเซิ่ง และลัทธิเต้าเยวี่ยน, Division of Religion and Philosophy, University of Cumbria, เรียกข้อมูลวันที่ 7 มกราคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและลัทธิเซียนเทียนเต้า · ดูเพิ่มเติม »

ลายอาหรับ

“ลายอาหรับ” ที่อาลัมบรา ลายอาหรับ หรือ ลายอะราเบสก์ (Arabesque) คือลวดลายตกแต่งที่มีลักษณะเป็นลวดลายเรขาคณิต หรือลวดลายวิจิตรที่ทำซ้ำซ้อนเรียงกันเป็นแนวที่มักจะเลียนแบบพรรณไม้หรือสัตว์ “ลายอาหรับ” หรือ “Arabesques” ตามชื่อแล้วคือลักษณะลวดลายของศิลปะอิสลามที่พบในการตกแต่งผนังมัสยิด ลวดลายที่เป็นทรงเรขาคณิตเป็นลวดลายที่เลือกใช้จากพื้นฐานทัศนของอิสลามที่มีต่อโลก สำหรับชาวมุสลิมแล้วลวดลายทรงการตกแต่งดังว่าเป็นลวดลายที่ต่อเนื่องเลยไปจากโลกที่เราอยู่ หรือเป็นลวดลายที่เป็นสัญลักษณ์ของความไม่สิ้นสุด ฉะนั้นศิลปินอาหรับจึงสื่อความหมายของจิตวิญญาณโดยไม่ใช้ไอคอนเช่นที่ใช้ในศิลปะของคริสต์ศาสนา ถ้ามีลวดลายที่ผิดไปก็อาจจะเป็นการจงใจทำของศิลปินเพื่อที่จะแสดงถึงความถ่อมตัวของศิลปินผู้ที่มีความเชื่อว่าอัลลอฮ์เท่านั้นที่จะทรงเป็นผู้ที่สามารถสร้างความสมบูรณ์แบบได้ แต่สมมุติฐานนี้ก็ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและลายอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ลิสบอน

ลิสบอน ลิสบอน (Lisbon) หรือ ลิชบัว (Lisboa) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศโปรตุเกส ตัวเมืองลิสบอนมีประชากร 564,657 คน ถ้ารวมเขตที่อยู่อาศัยโดยรอบด้วยจะมีประชากรประมาณ 2,760,723 คน (ข้อมูลปี 2005) ลิสบอนตั้งอยู่ทิศตะวันตกของประเทศ ริมชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกของคาบสมุทรไอบีเรีย การที่ลิสบอนตั้งอยู่ทางใต้ของทวีปยุโรปและติดกับมหาสมุทร จึงได้รับอิทธิพลจากกระแสน้ำกัลฟ์สตรีม ทำให้ลิสบอนเป็นเมืองหลวงที่มีภูมิอากาศอบอุ่นที่สุดในยุโรป.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและลิสบอน · ดูเพิ่มเติม »

ลิเก

การแสดงลิเก ลิเกนิยมแต่งตัวด้วยเครื่องประดับสวยงาม เลียนแบบเครื่องทรงกษัตริย์ จึงเรียกว่าลิเกทรงเครื่อง บางครั้งก็ลดเครื่องแต่งกายที่แพรวพราวลงไป ลิเก เกิดขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา หรือต้นกรุงรัตนโกสินทร์ คำว่า ลิเก เพี้ยนมาจากคำว่า ذکر (เษกรฺ) ในภาษาเปอร์เซีย ที่ยืมมาจากคำว่า ذِكْر (ษิกรฺ) ในภาษาอาหรับ อันหมายถึงการอ่านบทสรรเสริญเป็นการรำลึกถึงอัลลอหฺพระเจ้าในศาสนาอิสลาม พระครูศรีมหาโพธิคณารักษ์ก็ได้กล่าวถึงลิเกไว้ ว่า พวกมุสลิมนิกายชีอะห์ หรือเจ้าเซ็นจากเปอร์เซีย นำสวดลิเกที่เรียกว่า ดิเกร์ เข้า มาในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย กรมพระยาดำรงราชานุภาพก็ทรง บันทึกว่า ยี่เกนั้น เพี้ยนมาจาก จิเก มีบันทึกว่า พวกแขกเจ้าเซ็นได้สวดถวายตัวในการบำเพ็ญพระราชกุศล เมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและลิเก · ดูเพิ่มเติม »

ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า

ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า (보물찾기; Treasure Hunting) เป็นหนังสือการ์ตูนความรู้จากประเทศเกาหลีใต้ ที่แทรกเรื่องราวเกี่ยวกับอารยธรรมและวัฒนธรรมนานาชาติ จัดพิมพ์ฉบับลิขสิทธิ์ภาษาไทยโดย สำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ และ ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า เป็นการ์ตูนที่สร้างแรงดลบันดาลใจให้กับหนังสือการ์ตูนความรู้ชุด ลา ฟลอร่า โรงเรียนป่วนก๊วนเจ้าหญิง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

วรรณษา ทองวิเศษ

วรรณษา ทองวิเศษ (ชื่อเล่น: ษา) นักแสดงสาวชาวไทย เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 มีชื่อเดิมว่า "สาธิตา วงษ์ทอง" มีชื่อเล่นแต่เกิดว่า "ผึ้ง" เป็นลูกคนเดียวของพ่อแม่ สถานภาพของครอบครัวจัดอยู่ในฐานะปานกลาง โดยที่พ่อแม่ได้แยกทางกันตั้งแต่ยังไม่เกิด จบการศึกษาจากระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จากสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ และ คณะบริหารธุรกิจ (เอกการตลาด) มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต เข้าสู่แวดวงบันเทิงเมื่ออายุเพียง 17 ปี ด้วยการประกวดมิสไทยแลนด์เวิลด์ ปี 1997 (ได้รองอันดับ 2) หลังจากนั้นเป็นตัวแทนสาวไทยไปประกวดมิสไชนิสอินเตอร์เนชั่นแนล ปี 1998 ที่ ฮ่องกง (ได้รองอันดับ 1) และเข้าสู่การแสดงด้วยการเป็นตัวประกอบจากละครโทรทัศน์และภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ จนกระทั่งมีชื่อเสียงขึ้นมา ด้วยภาพลักษณ์เซ็กซี่ และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในปี พ.ศ. 2544 จากภาพยนตร์เรื่อง สุริโยไท ด้วยการรับบท พระอัครชายา ซึ่งเป็นชายาในสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (หน่อพุทธางกูร) และเป็นพระมารดาในพระรัษฎาธิราช ซึ่งเป็นตัวละครที่ถูกสมมติขึ้น ไม่มีจริงในประวัติศาสตร์ และต้องมีฉากเปลือยอกในตอนถวายตัวด้วย ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวรรณษา ทองวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

วรวีร์ มะกูดี

วรวีร์ มะกูดี (ชื่อเล่น: ยี; เกิด 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494) นายกสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 16จาก ไทยรัฐ ที่เป็นชาวไทยมุสลิมคนแรก โดยดำรงตำแหน่งต่อเนื่องเป็นวาระที่ 4 และกรรมการบริหารพรรคเพื่อไท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวรวีร์ มะกูดี · ดูเพิ่มเติม »

วะฮาบีย์

วะฮาบีย์หรือซะละฟีย์ เป็นขบวนการทางศาสนาหรือแขนงหนึ่งของศาสนาอิสลามนิกายซุนนี นักวิชาการและผู้สนับสนุนเรียกอย่างกว้างขวางว่า "อนุรักษนิยมเกิน" (ultraconservative), "เคร่ง" (austere), "ตีความตามอักษร" (fundamentalist), "พิวริทัน" (puritan) และเป็น "ขบวนการปฏิรูป" อิสลามเพื่อฟื้นฟู "การบูชาเอกเทวนิยมบริสุทธิ์" (เตาฮิด) และผู้คัดค้านอธิบายว่าเป็น "ขบวนการซุนนีเทียมสุดโต่ง" ผู้ศรัทธามักมองคำว่า วะฮาบีย์ เป็นคำเสื่อมเสีย และนิยมเรียก ซะละฟีย์หรือมุวาฮิด มากกว่า หมวดหมู่:นิกายในศาสนาอิสลาม หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ศาสนาอิสลาม หมวดหมู่:มุสลิมนิกายซุนนี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวะฮาบีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรม

วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม แต่ถ้าเป็นในวิชาหน้าที่พลเมืองจะแปลว่าสิ่งที่มนุษย์ เปลี่ยนแปลงเพื่อความเจริญงอกงาม และสืบต่อกันมา วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออกผ่าน ดนตรี วรรณกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม การละครและภาพยนตร์ แม้บางครั้งอาจมีผู้กล่าวว่าวัฒนธรรมคือเรื่องที่ว่าด้วยการบริโภคและสินค้าบริโภค เช่น วัฒนธรรมระดับสูง วัฒนธรรมระดับต่ำ วัฒนธรรมพื้นบ้าน หรือวัฒนธรรมนิยม เป็นต้น แต่นักมานุษยวิทยาโดยทั่วไปมักกล่าวถึงวัฒนธรรมว่า มิได้เป็นเพียงสินค้าบริโภค แต่หมายรวมถึงกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้ความหมายแก่สินค้านั้น ๆ ด้วย ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ในสายตาของนักมานุษยวิทยาจึงรวมไปถึงเทคโนโลยี ศิลปะ วิทยาศาสตร์รวมทั้งระบบศีลธรรม วัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ อาจได้รับอิทธิพลจากการติดต่อกับภูมิภาคอื่น เช่น การเป็นอาณานิคม การค้าขาย การย้ายถิ่นฐาน การสื่อสารมวลชนและศาสนา อีกทั้งระบบความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องศาสนามีบทบาทในวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติมาโดยตลอ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวัฒนธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัฒนธรรมกัมพูชา

วัฒนธรรมกัมพูชาที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติมีพื้นฐานมาจากศาสนาทั้งศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู กัมพูชาได้รับอิทธิพลจากอินเดียทั้งทางด้านภาษาและศิลปะผ่านทางแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งจากการค้าทางทะเลทางไกลกับอินเดียและจีนจนเกิดอาณาจักรฟูนันขึ้นเป็นครั้งแรก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวัฒนธรรมกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

วัดชนาธิปเฉลิม

วัดชนาธิปเฉลิม วัดชนาธิปเฉลิม หรือวัดมำบัง ถือเป็นวัดแห่งแรกของเมืองสตูล โดยวัดตั้งอยู่ริมคลองมำบัง ถนนศุลกานุกูล ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวัดชนาธิปเฉลิม · ดูเพิ่มเติม »

วัดเสาธงทอง (ลพบุรี)

วัดเสาธงทอง เป็นวัด พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ที่ตั้ง ถนนฝรั่งเศส ตำบลท่าหิน อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ปัจจุบันมี พระราชปัญญาโมลี (สมพร(ต่วน) คันทาโร) ป..6 (พระราชาคณะชั้นราช) รองเจ้าคณะจังหวัดลพบุรี ปฏิบัติหน้าที่เจ้าอาวาสวัดเสาธงทอง (พระอารามหลวง).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวัดเสาธงทอง (ลพบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

วัตต์ (แก้ความกำกวม)

วัตต์ (Watt หรือ watt) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวัตต์ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

วันมูหะมัดนอร์ มะทา

วันมูหะมัดนอร์ มะทา นักการเมืองมุสลิม แกนนำกลุ่มวาดะห์ อดีตประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในประวัติศาสตร์ที่เป็นชาวไทยมุสลิม อดีตรองนายกรัฐมนตรี มีชื่อเรียกกันโดยทั่วไปว่า "วันนอร์" เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น ประธานรัฐสภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็น อดีต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวันมูหะมัดนอร์ มะทา · ดูเพิ่มเติม »

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวันวิสาขบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วันศุกร์

วันศุกร์ เป็นวันลำดับที่ 6 ในสัปดาห์ อยู่ระหว่างวันพฤหัสบดีกับวันเสาร์ แต่ตามมาตรฐาน ISO 8601 กำหนดให้เป็นวันที่ 5 ของสัปดาห์ วันศุกร์เป็นวันสำคัญทางศาสนาอิสลาม ชาวมุสลิมจะไปชุมนุมที่มัสยิดเพื่อนมาซวันศุกร์เวลาเที่ยงพร้อมกัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวันศุกร์ · ดูเพิ่มเติม »

วันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมัน

รองศาสตราจารย์ วัน กาเดร์ เจ๊ะมาน หรือ วันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมัน หรือ มาฮาดี ดาโอ๊ะ มีชื่อจัดตั้งและชื่อเล่น หลายชื่ออาทิ กาเดร์ เจ๊ะมัน/ฟาเดร์ เจ๊ะแม/วันกาเดร์/ดร.ฟาเดร์ อุสมัน/กอเดร์ เจ๊ะมาน/มะห์ดี ดาอุด/เจ๊ะแม บินกาเดร์ มีศักดิ์เป็นหลานของนายอิซซุดดิน ประธานขบวนการแบ่งแยกรัฐปัตตานี (BIPP) อดีตรองศาสตราจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลามนานาชาติมาเลเซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวันอับดุลกาเดร์ เจ๊ะมัน · ดูเพิ่มเติม »

วันอาทิตย์

วันอาทิตย์ เป็นวันในสัปดาห์ที่อยู่ระหว่างวันเสาร์กับวันจันทร์ ตามวัฒนธรรมดั้งเดิมของจูเดโอ-คริสเตียน วันอาทิตย์ถือเป็นวันแรกของสัปดาห์ แต่ต่อมาในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก็มีการนับให้วันอาทิตย์เป็นวันที่ 7 ของสัปดาห์ (และให้วันจันทร์เป็นวันที่หนึ่งแทน) ตามที่ระบุไว้ใน ISO 8601 อย่างไรก็ตามในบางวัฒนธรรมยังกำหนดให้วันอาทิตย์เป็นวันแรกของสัปดาห์อยู.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวันอาทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

วิญญาณ

วิญญาณ (soul; जीव) ในทางปรัชญาหมายถึงสิ่งซึ่งเชื่อกันว่าเป็นสารัตถะของชีวิตมนุษย์ อาจรวมถึงสิ่งมีชีวิตประเภทอื่น ๆ ด้วย วิญญาณเป็นสิ่งที่ไม่เน่าเปื่อย เป็นอมตะ ศาสนาอับราฮัมเชื่อว่าเฉพาะมนุษย์เท่านั้นที่มีวิญญาณ มนุษย์จึงเป็นสิ่งมีชีวิตประเภทเดียวที่ไม่ตาย (ในส่วนวิญญาณ) และอาจไปรวมกับพระเป็นเจ้าได้ ขณะที่ศาสนาอื่น ๆ บางศาสนา เช่น ศาสนาเชนเชื่อว่าไม่เฉพาะมนุษย์แต่สิ่งมีชีวิตทุกชีวิตมีวิญญาณ ส่วนลัทธิวิญญาณนิยมเชื่อว่าทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต (เช่น แม่น้ำ ภูเขา) ล้วนมีวิญญาณทั้งสิ้น บางลัทธิเชื่อว่าโลกก็มีวิญญาณเรียกว่าวิญญาณโลก หรืออาตมันในศาสนาฮินดู คำว่าวิญญาณ มักมีความหมายแนวเดียวกับจิต สปิริต และตัวตน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวิญญาณ · ดูเพิ่มเติม »

วูลันดารี เฮร์มัน

วูลันดารี เฮร์มัน (Whulandary Herman, 26 มิถุนายน ค.ศ. 1989 —)เป็นนางแบบ พิธีกร ชาวอินโดนีเซีย และเป็นผู้ชนะการประกวดความงาม Puteri Indonesia 2013 และเป็นตัวแทนสาวอินโดนีเซียไปประกวด เวที นางงามจักรวาล 2013 และผ่านเข้ารอบ 16 คนสุดท้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวูลันดารี เฮร์มัน · ดูเพิ่มเติม »

วีรชน ศรัทธายิ่ง

วีรชน ศรัทธายิ่งกระปุกดอตคอม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและวีรชน ศรัทธายิ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ศรีบาทา

รีบาทา (Sri Pada; Samanalakanda - සමනළ කන්ද "ภูเขาผีเสื้อ"; Sivanolipatha Malai - சிவனொளி பாதமலை) หรือ แอดัมส์พีก (Adam's Peak) เป็นภูเขารูปโคน ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศศรีลังกา บนยอดเขามี "ศรีบาทา" หินขนาด 1.80 เมตร ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็นรอยพระพุทธบาทข้างซ้ายของพระโคตมพุทธเจ้า ในขณะที่ศาสนาฮินดูถือว่าเป็นรอยเท้าของพระศิวะ ในขณะที่ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม ถือว่าเป็นรอยเท้าของอาดัม ศรีบาทาตั้งอยู่ทางตอนใต้ของที่ราบสูงทางตอนกลางของศรีลังกา อยู่ในเขตจังหวัดซาบารากามูวา ห่างจากเมืองรัตนปุระไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร บริเวณใกล้เคียงเป็นภูเขาป่าดงดิบหลายลูก เป็นที่ตั้งของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า มีช้าง เสือดาว และสัตว์ป่าอื่นๆ อาศัยอยู่ โดยเขาศรีบาทามียอดเขา 7353 ฟุต สูงที่สุดบนเกาะศรีลังก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศรีบาทา · ดูเพิ่มเติม »

ศักราช

ักราช (อังกฤษ: era) ช่วงเวลาที่จัดขึ้นตามการอ้างอิงของช่วงเวลานั้น โดยแบ่งได้ตามการอ้างอิงหรือการเรียกของบุคคลทั่วไป.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศักราช · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์ นานา

ักดิ์ นานา ชื่อเล่น กีกี้ (8 มกราคม พ.ศ. 2518) เป็นนักดริฟท์รถ นักแข่งรถ นักธุรกิจชาวไทย ได้รับฉายาว่า "ดริฟท์คิงส์ประเทศไทย" ศักดิ์ เกิดและเติบโตในตระกูล "นานา" เริ่มเข้ารับการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ (AC107) โรงเรียนดอนบอสโก จังหวัดราชบุรี ตามลำดับ และศึกษาต่อระดับอุดมศึกษายังมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด บรู๊ค (Oxford Brookes University) สหราชอาณาจักร จนจบได้วุฒิปริญญาตรีและโทบัณฑิต ศักดิ์เริ่มทำการแข่งขันในรายการ "ฟอร์ด ฟอร์มูล่า" (Ford Formula) ด้วยรถที่มีเครื่องยนต์ขนาด 1.3 ลิตร และสามารถคว้าอันดับ 3 มาครองได้สำเร็จ หลังจากนั้นมาเมื่อมีเวลาว่าง เขาก็ได้เริ่มเอารถไปฝึกดริฟท์ และเริ่มทำการลงแข่งขันดริฟท์นับตั้งแต่นั้นมาจนถึงปัจจุบัน ศักดิ์เคยได้รับการจัดอันดับให้เป็น "ดริฟท์คิง" อันดับที่ 5 ของโลกปี 2011 และเคยได้แชมป์ในคลาส จีที4 อีกด้วย ชีวิตส่วนตัวนับถือศาสนาอิสลาม ปัจจุบันสมรสกับจอมขวัญ ลีละพงศ์ประสุต (จีจี้) อดีตนักแสดงหญิงสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยมีอายุห่างกันกว่า 19 ปี มีบุตรสาวสองคน คนแรกชื่อมารีอา นานา (12 พฤศจิกายน 2556) และคนที่สองชื่อเอ็มม่า นานา (19 มกราคม 2560) ศักดิ์ยังเป็นเจ้าของรถหลายคัน เช่น นิสสันซิลเวียเอส 15 ซึ่งเป็นรถที่ศักดิ์ใช้ดริฟท์บ่อยครั้ง ลัมโบร์กีนี อะเวนตาโดร์ และเฟอร์รารี่ เอฟ12เบอร์ลิเนตต้าสีเหลือง ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศักดิ์ นานา · ดูเพิ่มเติม »

ศัตรูของพระคริสต์

ปีศาจอยู่เบื้องหลังศัตรูของพระคริสต์ วาดราว ค.ศ. 1501 ในศาสนาคริสต์ ยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสารได้กล่าวถึง ศัตรูของพระคริสต์ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ ปฏิปักษ์ของพระคริสตเจ้า (ศัพท์โรมันคาทอลิก) (Antichrist) ว่าหมายถึง บุคคลที่ไม่ยอมรับว่าพระบุตรพระเป็นเจ้าได้มาเกิดเป็นมนุษย์คือพระเยซู หรือไม่ยอมรับว่าพระองค์เป็นพระคริสต์ ซึ่งถือว่าปฏิเสธพระเจ้าพระบิดาด้วย ศัตรูของพระคริสต์จะมาล่อลวงมนุษย์ให้ปฏิเสธพระเยซูในช่วงวาระสุดท้ายของโลก ในศาสนาอิสลาม นบีมุฮัมมัดเรียกผู้ต่อต้านพระคริสต์ว่า "ดัจญาล" (ผู้หลอกลวง) หมายถึง ผู้ที่อัลลอฮ์ส่งมาเพื่อทดสอบความเชื่อของมนุษย์ในช่วงใกล้วันสิ้นโลก ดัจญาลมักทำตัวเป็นพระเจ้า สามารถแสดงปาฏิหาริย์ต่าง ๆ ได้ ทั้งชุบชีวิตคน เรียกฝนให้ตก เป็นต้น แต่ในที่สุดดัจญาลจะสิ้นฤทธิ์และถูกนบีอีซา (พระเยซู) ซึ่งกลับมาบนโลกอีกครั้งฆ่าต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศัตรูของพระคริสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้า

ักการสถานของโฮเดเกเทรีย มหาวิหารอัสสัมชัญในกรุงสโมเลงสค์ ประเทศรัสเซีย ค.ศ. 1912 หีบสามกษัตริย์ของมหาวิหารโคโลญในเยอรมนีที่บรรจุกระดูกของโหราจารย์ถือกันว่าเป็น “หีบสักการะ” ภาพเขียน “The Shrine” โดยจอห์น วิลเลียม วอเทอร์เฮาส์ ค.ศ. 1895 ศาลเจ้า ชาวคาทอลิกเรียกว่าสักการสถาน ตรงภาษาอังกฤษว่า “Shrine” มาจากภาษาละติน “Scrinium” ที่แปลว่า “หีบสำหรับหนังสือหรือเอกสาร” และภาษาฝรั่งเศสเก่า “escrin” ที่แปลว่า “กล่องหรือหีบ” คือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่อุทิศให้แก่บุคคลสำคัญทางศาสนา บรรพบุรุษ วีรบุรุษ มรณสักขี นักบุญ หรือบุคคลที่มีความสำคัญหรือเป็นที่นับถือผู้เป็นที่สักการะ ในศาลมักจะประกอบด้วยรูปเคารพ วัตถุมงคล หรือสิ่งของต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้เป็นที่สักการะ ศาลที่สร้างขึ้นเพื่อรับสิ่งสักการะเรียกว่า “แท่นบูชา” ศาลเจ้าเป็นสิ่งที่พบในศาสนาแทบทุกศาสนาในโลกที่รวมทั้งศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาฮินดู ศาสนาพื้นบ้านจีน และศาสนาชินโต และการใช้ในทางที่ไม่เกี่ยวกับศาสนาเช่นรำลึกสถานเกี่ยวกับสงคราม ศาลเจ้ามีลักษณะต่างกันไปหลายอย่าง ปูชนียสถานบางแห่งก็ตั้งอยู่ภายในโบสถ์ วัด สุสาน หรือแม้แต่ในบ้านเรือนที่อยู่อาศัย หรือบางครั้งก็จะเป็นแบบที่เคลื่อนย้ายได้ เช่นในลักษณะของ “หีบวัตถุมงคล” ศาลเจ้าบางครั้งก็อาจจะกลายมาเป็นศูนย์กลางที่ประดิษฐานเทวรูปต่าง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาลเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

ศาลเจ้าเล่งจูเกียง

ลเจ้าเล่งจูเกียง หรือเป็นที่รู้จักในนาม ศาลเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว เป็นศาลเจ้าตามคติจีนหนึ่งในสามแห่งของจังหวัดปัตตานี ตั้งอยู่บริเวณเชิงสะพานเดชานุชิตในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ถือเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดปัตตานีและใกล้เคียง ภายในประดิษฐานเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว (ภาษามลายูปัตตานีว่า โต๊ะแปะกงแมะ หรือโตะกงแมะ) โดยมีตำนานที่ยึดโยงกับสถานที่และโบราณสถานอื่น ๆ ในจังหวั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาลเจ้าเล่งจูเกียง · ดูเพิ่มเติม »

ศาสดา

ือผู้ก่อตั้งศาสนา หรือผู้คิดค้น ริเริ่มในการนำคำสอนไปเผยแผ่ เช่น พระพุทธศาสนามีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา ศาสนายูดาห์มีโมเสสเป็นศาสดา เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสดา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนศึกษา

ัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ ศาสนศึกษา (religious studies; religious education) คือสาขาวิชาที่ศึกษาความเชื่อ พฤติกรรม และสถาบันทางศาสนา โดยการบรรยาย ตีความ และอธิบาย ศาสนาอย่างเป็นระบบ อิงกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และมุมมองจากวัฒนธรรมที่หลากหลาย ศาสนศึกษาต่างจากเทววิทยาซึ่งเน้นศึกษาเพื่อให้เกิดความเชื่อและเข้าใจอำนาจเหนือมนุษย์ เช่น เทวดา พระเป็นเจ้า แต่ศาสนศึกษาจะศึกษาจากมุมมองของคนนอก จึงมีการใช้หลายสาขาวิชามาเป็นเครื่องมือในการศึกษาด้วย เช่น มานุษยวิทยา สังคมวิทยา จิตวิทยา ปรัชญา และประวัติศาสตร์ศาสนา ศาสนศึกษาเกิดขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นช่วงที่การศึกษาคัมภีร์ไบเบิลด้วยหลักวิชาประวัติศาสตร์กำลังเป็นที่นิยม และคัมภีร์ของศาสนาพุทธและศาสนาฮินดูก็เพิ่งถูกแปลเป็นภาษายุโรปเป็นครั้งแรก นักศาสนศึกษาที่มีบทบาทสำคัญในยุคแรก ๆ คือ ศาสตราจารย์มักซ์ มึลเลอร์ ในช่วงแรกนั้นยังใช้ชื่อว่าศาสนาเปรียบเทียบหรือศาสนศาสตร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนสถาน

นสถาน (Place of worship) คือสถานทางศาสนา ใช้ประกอบศาสนพิธี เช่น การอาราธนาศีลและสมาทานศีลในวัด และการละหมาดในมัสยิดอิสลาม เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนา

ัญลักษณ์ของศาสนาต่าง ๆ ภาพศาสนพิธีในศาสนาต่าง ๆ ทั่วโลก ศาสนา (Religion) หมายถึง ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ เกี่ยวกับการกำเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม ตลอดจนลัทธิพิธีที่กระทำตามความเชื่อนั้น ๆ หลายศาสนามีการบรรยาย สัญลักษณ์และประวัติศาสตร์ศักดิ์สิทธิ์ซึ่งเจตนาอธิบายความหมายของชีวิต และ/หรืออธิบายกำเนิดชีวิตหรือเอกภพ จากความเชื่อของศาสนาเกี่ยวกับจักรวาลและธรรมชาติมนุษย์ คนได้รับศีลธรรม จริยศาสตร์ กฎหมายศาสนาหรือวิถีชีวิตลำดับก่อน บางการประมาณว่า มีศาสนาราว 4,200 ศาสนาในโลก นอกจากนี้ ยังมีผู้ไม่นับถือศาสนาใด ๆ ซึ่งเรียกว่า ผู้ที่ไม่มีศาสน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศบรูไน

ระพุทธศาสนาเริ่มเข้ามาในบรูไนตั้งแต่สมัยอาณาจักรศรีวิชัย ที่เรืองอำนาจจากฝั่งคาบสมุทรมลายูอย่างกว้างขวางในศตวรรษที่ 7 เป็นต้นมา จนถึงพุทธศตวรรษที่ 20 จึงอ่อนกำลังลงไปแล้วเงียบหาย คงเหลือแต่อิทธิพลทางภาษา ไว้เท่านั้น ต่อมาจนถึงปัจจุบันก็มีคลื่นชาวจีนโพ้นทะเลอพยพมาสู่ดินแดนนี้เพื่อประกอบอาชีพ เช่นเดียวกันกับประเทศมุสลิมใกล้เคียง จนมีศาสนิกชนเป็นจำนวนมาก และก็มีชาวญี่ปุ่น ชาวไทย ฯลฯ แม้ปัจจุบัน ประเทศนี้จะมีชาวพุทธเพียงร้อยละ 13 เท่านั้น แต่ก็สร้างความหลากหลายทางวัฒนธรรมของประเทศบรูไนได้เป็นอย่างดี แต่ประเทศนี้เป็นประเทศมุสลิม การที่จะเผยแผ่พระศาสนา จึงเป็นไปได้ยาก เช่นเดียวกันกับมาเลเซีย และอินโดนีเซีย การนับถือพระพุทธศาสนาของประชาชนในประเทศบรูไน ดารุสซาลาม ส่วนมาก็จะคล้าย ๆ กับประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย เพราะว่าเป็นชนกลุ่มน้อย รวมตัวกันช่วยกันส่งเสริมบริหารจัดการองค์กรเป็นกลุ่มเฉพาะของตน ส่วนมากจะได้รับการสนับสนุนการเผยแผ่ธรรมจากไต้หวัน หรือประเทศไทย (มีสาขาของวัดพระธรรมกายที่ไปดำเนินกิจกรรมร่วมกับชาวพุทธเดือนละ 1 ครั้ง) ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธในประเทศบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศบังกลาเทศ

ระพุทธศาสนาในประเทศบังคลาเทศ นั้น เดิมในบริเวณประเทศบังคลาเทศในปัจจุบัน ในสมัยพุทธกาลเคยเป็นส่วนหนึ่งของชมพูทวีป ทำให้ได้รับการเผยแพร่พระพุทธศาสนามาตั้งแต่ยุคแรกเริ่ม แต่ต่อมาได้มีการพัฒนาไปเป็นแบบตันตระเพื่อดึงดูดศาสนิก จนภายหลังยุคมุสลิมปกครองบังกลาเทศ ศาสนาพุทธได้กลายเป็นเรื่องของคนต่างถิ่น ทำให้ชาวบังคลาเทศบางคนเชื่อว่าศาสนสถานเดิมของชาวพุทธเป็นที่สิงสถิตของวิญญาณ คงเหลือแต่ชาวพุทธกลุ่มเล็ก ๆ ในปัจจุบันเพียงร้อยละ 0.7 ของประชากร และส่วนใหญ่เป็นเถรวาท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธในประเทศบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์

ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่มีพลเมืองส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก แต่ในเวลาเดียวกันก็มีกลุ่มศาสนาต่าง ๆ อยู่ในประเทศด้วยกัน ทั้งอิสลาม พุทธ ฮินดู และศาสนาอื่น ๆ บนเอกภาพที่หลากหล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธในประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์

ระพุทธศาสนาในประเทศมัลดีฟส์ เริ่มต้นตั้งแต่มี กลุ่มชาติพันธุ์ที่พูดภาษาอินโด-อารยัน ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของชาวสิงหล ได้อพยพจากศรีลังกา มายังมัลดีฟส์ ดังปรากฏว่ามีพระพุทธรูป สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 11 จาก อลิฟู และสิ่งต่างๆของพระพุทธศาสนา อยู่ในพิพิธภัณฑ์มัลดีฟส์ กรุงมาเล เมืองหลวงของมัลดีฟส์ คริสต์ศตวรรษที่ 12 ในสมัยพระเจ้าศรี ตรีภุวรรณะ อทิติยะ (Sri Tribuvana Aditiya) ทรงเลื่อมใสในศาสนาอิสลาม และทรงเข้ารีตศาสนาอิสลาม และได้มีพระนามใหม่ว่า สุลต่านมุฮัมเมด อิบน์ อับดุลละ (Muhammed Ibn Abdulla) และต่อมาชาวมัลดีฟส์ก็หันนับถือศาสนาอิสลามเป็นจำนวนมาก และต่อมาก็ทุบทำลายวัด และพระพุทธรูปของพุทธ และปัจจุบันศาสนาพุทธก็ไม่ได้มีบทบาทใดๆในประเทศมัลดีฟส์อีกเลย แต่ก็มีชาวสิงหลพุทธจากประเทศศรีลังกาไปอาศัยอยู่ในมัลดีฟส์จำนวนเล็กน้อย ส่วนมัสยิดแห่งแรกของมัลดีฟส์มีชื่อว่า ธารุมาวัณธา ราชเกฟานุ มิสกีย์ ตั้งอยู่กรุงมาเล เมืองหลวงของมัลดีฟส์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธในประเทศมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศมาเลเซีย

อดีตประเทศมาเลเซียเคยได้รับอิทธิพลของศาสนาฮินดู-พุทธมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรศรีวิชัย แต่ต่อมาเมื่อศาสนาอิสลามได้เข้ามาแพร่หลายอย่างกว้างขวางนับตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 20 ในรัชสมัยของพระเจ้าปรเมศวรเป็นต้นมาทำให้พุทธศาสนาหมดความสำคัญไป ในระยะเวลาหนึ่ง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธในประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซีย

ประชากรของประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบันส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่อดีตเคยมีพระพุทธศาสนาแบบมหายานเข้ามาประดิษฐานอยู่ พระพุทธศาสนาได้รุ่งเรืองมาก ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 มีโบราณสถานที่สำคัญ 2 แห่งอยู่ในอินโดนีเซียคือ บรมพุทโธ (โบโรบุดูร์) ตั้งอยู่ที่ราบเกฑุ (kedu) ในภาคกลางของชวา ห่างจากเมืองยอกจาการ์ตา (Jogjagata) ในปัจจุบันทางเหนือประมาณ 40 กิโลเมตร และพระวิหารเมนดุต (Mendut) ซึ่งอยู่ห่างจาก โบโรบุดูร์ไปทางทิศตะวันออก 3 กิโลเมตร ต่อมาเมื่ออิสลามได้ขยายอำนาจครอบงำอินโดนีเซียในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธในประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนายูดาห์

นายูดาห์ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 281 หรือศาสนายิว (Judaism; יהדות) คือวิถีชีวิต ปรัชญา และศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ตามความเชื่อของชาวยิวLewis (1984), pp.10, 20 มีต้นกำเนิดในคัมภีร์ฮีบรู (หรือคัมภีร์ทานัค) รวมถึงคัมภีร์ชั้นหลัง เช่น คัมภีร์ทาลมุด ศาสนิกชนยูดาห์ถือว่าวิถีนี้ เป็นพันธสัญญาระหว่างพระยาห์เวห์กับวงศ์วานอิสราเอล ศาสนายูดาห์แบบรับบีถือว่าพระยาห์เวห์ได้ประทานธรรมบัญญัติที่เรียกว่าคัมภีร์โทราห์แก่โมเสสที่ภูเขาซีนาย ศาสนายูดาห์มีพระเจ้าสูงสุด คือ พระยาห์เวห์ โดยชาวยิวมีความเชื่อว่าพระเจ้าทรงสร้างโลกและมนุษย์คู่แรกเมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสตกาล และถือว่าโมเสสคือศาสดา ให้กำเนิดศาสนายูดาห์เมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล และยังมีบุคคลสำคัญ เช่น อับราฮัม อิสอัค ยาโคบ ยูดาห์ ผู้เผยพระวจนะท่านอื่น ๆ อีกจำนวนมาก ฯลฯ เป็นต้น ศาสนายูดาห์มีความเป็นมายาวนานกว่าสี่พันปี (นับจากสมัยอับราฮัม) จึงถือเป็นศาสนาเอกเทวนิยมที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังดำรงอยู่ในปัจจุบัน ในคัมภีร์ทานัคที่เขียนขึ้นในยุคหลัง เช่น หนังสือเอสเธอร์ เรียกชาวฮีบรูหรือวงศ์วานอิสราเอลว่าชาวยิว คัมภีร์ของศาสนายูดาห์ยังมีอิทธิพลอย่างมากต่อกลุ่มศาสนาอับราฮัมยุคหลังด้วย คือ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาบาไฮ รวมทั้งมีอิทธิพลต่อจริยธรรมและระบบซีวิลลอว์ตะวันตกทั้งทางตรงและทางอ้อม ชาวยิวเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนา ซึ่งหมายรวมทั้งที่เป็นชาวยิวโดยกำเนิดและและคนที่เข้ารีตยิว ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนายูดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาอับราฮัม

ัญลักษณ์ของศาสนาสำคัญ 3 ศาสนาในกลุ่มศาสนาอับราฮัม: ศาสนายูดาห์, ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม ศาสนาอับราฮัม (Abrahamic religions) หมายถึง ศาสนาสำคัญ 3 ศาสนาที่ถือกำเนิดในภูมิภาคเอเชียตะวันตก และมีความเชื่อร่วมกันว่าพระเป็นเจ้ามีองค์เดียว ได้แก่ ศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลามJ.Z.Smith 1998, p.276Anidjar 2001, p.3 ทั้งสามศาสนาถือว่าอับราฮัมเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสนาตน นอกจากนั้นก็ยังมีศาสนาย่อยที่บางครั้งถือว่าเป็นศาสนาอับราฮัมด้วย เช่น ศาสนาบาไฮ ผู้นับถือศาสนาอับราฮัมรวมทั้งหมดมากกว่าครึ่งของประชากรทั้งโลก ในปัจจุบันมีผู้นับถือด้วยกันทั้งหมดประมาณ 3.8 พันล้านคน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาอับราฮัม · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดูแบบบาหลี

ตรีบาหลีขณะประกอบพิธีกรรมทางศาสนาที่อูบุดก่อนถวายของบูชาแด่เทพเจ้า ปัทมาสน์ที่ประทับของอจินไตย ศาสนาฮินดูแบบบาหลี (Agama Hindu Dharma) หรือ ลัทธิวารีศักดิ์สิทธิ์ (Agama Tirtha) เป็นศาสนาฮินดูรูปแบบหนึ่งที่ปฏิบัติในกลุ่มชาวบาหลีบนเกาะบาหลีในประเทศอินโดนีเซีย อันมีความแตกต่างจากศาสนาฮินดูสายหลักคือมีการสักการะผีพื้นเมือง บูชาผีบรรพบุรุษ และเคารพพระโพธิสัตว์ซึ่งเป็นของคติทางศาสนาพุทธด้วย แม้ว่าประชากรส่วนใหญ่ของประเทศอินโดนีเซียจะนับถือศาสนาอิสลามและคริสต์ แต่ชาวบาหลียุคปัจจุบันยังคงยึดมั่นในหลักธรรมของตนและยังประกอบพิธีกรรมทางศาสนาอย่างฮินดูอยู.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาฮินดูแบบบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาประจำชาติ

นาประจำรัฐ หรือ ศาสนาประจำชาติ (state religion) บางทีเรียก ศาสนาซึ่งเป็นที่ยอมรับ (established religion) หรือ ศาสนาทางการ (official religion) เป็นคณะหรือลัทธิทางศาสนาที่รัฐอธิปไตยรัฐหนึ่ง ๆ อนุมัติอย่างเป็นทางการ รัฐที่มีศาสนาอย่างเป็นทางการนั้น แม้ไม่ใช่รัฐฆราวาส ก็ไม่จำต้องเป็นรัฐแบบเทวาธิปไตยเสมอไป เช่น รัฐที่ผู้ปกครองควบตำแหน่งทั้งทางโลกและทางสงฆ์ ส่วนศาสนาประจำรัฐนั้น แม้ได้รับอนุมัติจากรัฐ ก็ไม่จำเป็นที่รัฐจะอยู่ในความควบคุมของศาสนา หรือศาสนาจะอยู่ในความควบคุมของรัฐเสมอไป ศาสนาประจำรัฐนั้นปรากฏโฉมอยู่ทั่วทุกวัฒนธรรมในประวัติศาสตร์ของมวลมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างลัทธิศาสนาและรัฐนั้นเป็นที่ถกเถียงกันมาแต่โบราณ เช่น ในงานของแวร์โร (Varro) ที่เรียกศาสนาประจำรัฐว่า ศาสนาของพลเมือง (theologia civilis) สำหรับศาสนาคริสต์นั้น คริสตจักรที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐเป็นแห่งแรก คือ คริสตจักรอัครทูตอาร์เมเนีย (Armenian Apostolic Church) ซึ่งตั้งขึ้นใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาแบบอินเดีย

นาแบบอินเดีย (Indian religions) คือศาสนาที่มีต้นกำเนิดในอนุทวีปอินเดีย ได้แก่ ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ และศาสนาซิกข์Adams, C. J.,, Encyclopædia Britannica, 2007.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาแบบอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาในประเทศกัมพูชา

นาที่สำคัญในกัมพูชาคือศาสนาพุทธ มาตั้งแต่สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 โดยก่อนหน้านั้น ศาสนาฮินดูเป็นศาสนาที่มีความสำคัญมาเป็นเวลากว่าพันปี ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกเผยแพร่เข้ามาพร้อมกับมิชชันนารีจากฝรั่งเศส เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 23-24 ศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่เป็นที่นับถือในหมู่ชาวจาม ส่วนชาวเขมรเชื้อสายจีน นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ลัทธิขงจื๊อ และความเชื่อดั้งเดิมของชาวจีน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาในประเทศไทย

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรมให้ทางราชการรับรองศาสนาในประเทศไทยไว้ 5 ศาสนา ดังนี้ ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาโซโรอัสเตอร์

ฟาร์วาฮาร์ สัญลักษณ์ของศาสนาโซโรอัสเตอร์ ศาสนาโซโรอัสเตอร์ (Zoroastrianism) เป็นศาสนาและปรัชญาศาสนาอิหร่านเอกเทวนิยมโบราณอย่างหนึ่ง เคยเป็นศาสนาแห่งรัฐจักรวรรดิอะคีเมนิด พาร์เธียและแซสซานิด ประมาณจำนวนศาสนิกโซโรอัสเตอร์ทั่วโลกปัจจุบันอยู่ระหว่างประมาณ 145,000 คนเมื่อประมาณ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนาโซโรอัสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนจักร

นจักร คือ อำนาจปกครองทางศาสนา เรียกคู่กับ "อาณาจักร" คืออำนาจปกครองทางบ้านเมือง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศาสนจักร · ดูเพิ่มเติม »

ศิลาจารึกตรังกานู

ลาจารึกจำลอง จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ในกัวลาลัมเปอร์ ศิลาจารึกตรังกานู (มลายู: Batu Bersurat Terengganu) เป็นศิลาจารึกที่เก่าแก่ที่สุดที่จารึกด้วยอักษรยาวี เชื่อว่าจารึกเมื่อวันที่ 22 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศิลาจารึกตรังกานู · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะตะวันออก

ทั่วไปแล้วมักจะลงความเห็นกันว่า ศิลปะตะวันออกเป็นศิลปะอุดมคติ อันเป็นศิลปะที่มิได้ยึดถือเอาความจริงตามธรรมชาติเป็นหลักจนเกินไป หรือทำเหมือนธรรมชาติทุกกระเบียดนิ้ว และแม้ว่าจะใช้ลักษณะรูปแบบของธรรมชาติเป็นพื้นฐาน แต่ก็มิได้เน้นจนเกิดความสำคัญเท่ากับลักษณะรูปแบบที่สร้างสรรค์โดยจินตนาการ เพราะฉะนั้นเมื่อสร้างสรรค์รูปที่ประสงค์จะเอาไว้สักการบูชา จึงพยายามถ่ายทอดแนวคิดออกมาให้มีลักษณะที่สูงกว่าธรรมชาติ สังเกตได้จากพระพุทธรูป ซึ่งมีส่วนประกอบพระวรกาย เช่นเดียวกับมนุษย์ แต่ก็มิได้คล้อยตามลักษณะอันแท้จริงของมนุษย์ตามธรรมชาติ ศิลปะตะวันออก เป็นศิลปะที่มีลักษณะเด่นชัดในเรื่องของเอกลักษณ์ อันเนื่องมาจากความคิดที่ประดิษฐ์ขึ้นอย่างวิจิตรบรรจงของคนในชาติ นอกจากนั้นศิลปะยังแบ่งออกตามฐานะของบุคคล เช่น ในราชสำนักก็ย่อมจะต้องประณีตวิจิตรตระการตา เพราะเป็นสิ่งของใกล้ชิดกับกษัตริย์ ส่วนศิลปะของบุคคลทั่วไปก็แสดงฐานะที่แตกต่างกันอีกด้วย เช่น สิ่งของเครื่องใช้ของเศรษฐีกับสามัญชนทั่วไป เป็นต้น ที่เป็นไปตามฐานะของบุคคลเช่นนี้ ก็เพื่อความเหมาะสมกับโอกาสที่จะใช้ด้วย เช่น เครื่องราชูปโภคของกษัตริย์ ก็เพื่อแสดงความสง่างามสมศักดิ์ศรีของการเป็นกษัตริย์ อันเป็นประมุขของประเทศ เพราะกษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะเป็นสัญลักษณ์แห่งความเป็นเอกราชของชาติอีกด้วย ศิลปะตะวันออกได้รับการสร้างสรรค์ขึ้นอย่างฉลาดและแฝงไว้ด้วยแนวคิดและรูปแบบอันสร้างสรรค์ขึ้นเฉพาะเป็นเรื่อง ๆ ไป เช่น การสร้างสถูปเจดีย์ในพระพุทธศาสนา ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาร..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศิลปะตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย ใจสมุทร

นายศุภชัย ใจสมุทร รองเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคภูมิใจไทย อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตโฆษกพรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและศุภชัย ใจสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

สภามุสลิมพม่า

มุสลิมพม่า (Burma Muslim Congress) ก่อตั้งในเวลาเดียวกับสันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์ของอองซานและอูนุก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ในวันที่ 25 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสภามุสลิมพม่า · ดูเพิ่มเติม »

สมมุติ เบ็ญจลักษณ์

นายสมมุติ เบ็ญจลักษณ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี สังกัดพรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนเดียวของพรรคภูมิใจไทย ที่ชนะการเลือกตั้งในพื้นที่ภาคใต้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสมมุติ เบ็ญจลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัย เจริญช่าง

นายสมัย เจริญช่าง เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร สังกัดพรรคประชาธิปัตย์หลายสมัย และอดีตประธานคณะกรรมาธิการสวัสดิการสังคม สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 ได้รับเลือกตั้งเป็น..สมัยแรก ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสมัย เจริญช่าง · ดูเพิ่มเติม »

สมคิด เลิศไพฑูรย์

ตราจารย์ สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดึตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และศาสตราจารย์ประจำภาควิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ ตามคำสั่งนายกรัฐมนตรีที่ 8/2560 อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ทั้งยังเคยเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญและเลขานุการคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสมคิด เลิศไพฑูรย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์

ลต่าน อัลมูตัสสิมู บิลลาฮี มูฮิบบุดดิน ตวนกู อัลฮัจญ์ อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ อิบนี อัลมาฮูม สุลต่านบาดิร ชาฮ์ ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซียลำดับที่ 5 และ 14 และอดีตสุลต่านแห่งรัฐเกอ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านซะอีด บิน เตมัวร์

มเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านซะอีด บิน เตมัวร์ (Said bin Taimur; سعيد بن تيمور) ทรงเป็นสุลต่านแห่งมัสกัตและโอมาน (ประเทศโอมานในปัจจุบัน) ครองราชย์ระหว่างปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านซะอีด บิน เตมัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฮะซันที่ 2 แห่งโมร็อกโก

มเด็จพระราชาธิบดีฮะซันที่ 2 แห่งโมร็อกโก ประสูติเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสมเด็จพระราชาธิบดีฮะซันที่ 2 แห่งโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน

มเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน ทรง อภิเษกสมรสกับพระมเหสี 4 พระองค์คือ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสมเด็จพระราชาธิบดีฮุสเซนแห่งจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงยูเลียนาเมื่อทรงพระเยาว์ เจ้าหญิงยูเลียนาและพระราชมารดา เจ้าหญิงยูเลียนา พ.ศ. 2480 สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ หรือพระนามเต็ม ยูเลียนา เอ็มมา หลุยส์ มารี วิลเฮลมินา ฟาน ออรันเย-นัสเซา (Queen Juliana of the Netherlands,; 30 เมษายน พ.ศ. 2452 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็นพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่การสละราชสมบัติของพระราชชนนีในปี พ.ศ. 2491 จนถึงการสละราชสมบัติของพระองค์เองในปี พ.ศ. 2523 และทรงเป็นสมเด็จพระราชชนนีตั้งแต่ พ.ศ. 2523 ถึง พ.ศ. 2547 พระอิสริยยศเดิมก่อนเสวยราชสมบัติคือ เจ้าฟ้าหญิงยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ (HRH Princess Juliana of the Netherlands).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระจักรพรรดินีเซาดีตูที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย

มเด็จพระจักรพรรดินีเซาดีตูที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย (Zewditu I, Zawditu หรือ Zauditu; อักษรกีเอส:ዘውዲቱ; 29 เมษายน พ.ศ. 2419 - 2 เมษายน พ.ศ. 2473) ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งเอธิโอเปียตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสมเด็จพระจักรพรรดินีเซาดีตูที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

สวรรค์

วรรค์ (स्वर्ग สฺวรฺค) หมายถึง ภพหนึ่งในคติของศาสนาต่าง ๆ เช่น ศาสนายูดาห์ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลามอันเป็นสถานที่ตอบแทนคุณงามความดีของมนุษย์ที่ได้ทำไปเมื่อครั้งที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลกนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ

หพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ (اتحاد الجمهوريات العربية Ittiħād Al-Jumhūriyyāt Al-`Arabiyya) เป็นความพยายามรวมลิเบีย อียิปต์และซีเรียของมูอัมมาร์ อัล-กัดดาฟี แม้จะได้รับการรับรองจาก การลงประชามติเกี่ยวกับสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรั..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพมาลายา

หภาพมาลายา เป็นสหพันธ์ของกลุ่มรัฐมลายูและอาณานิคมช่องแคบรวมทั้งสิงคโปร์ ซึ่งสืบทอดมาจากกลุ่มอาณานิคมบริติชมาลายา สหภาพแห่งนี้ถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อรวมศูนย์การปกครองของรัฐต่าง ๆ ที่อยู่บนคาบสมุทรมลายูให้อยู่ภายใต้รัฐบาลเดียวกัน เพื่อให้เกิดความสะดวกในการบริหารจัดการ สหภาพมาลายาเป็นรูปแบบการปกครองที่อังกฤษเสนอขึ้นเพื่อใช้ปกครองดินแดนมลายูที่เป็นอาณานิคมภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยในแผนการสหภาพมาลายานั้นมีส่วนสำคัญคือ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสหภาพมาลายา · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพประชาชนมาร์แฮนอินโดนีเซีย

หภาพประชาชนมาร์แฮนอินโดนีเซีย (Indonesian Marhaen People's Union; ภาษาอินโดนีเซีย: Persatuan Rakyat Marhaen Indonesia) เป็นที่รู้จักกันในชื่อย่อว่าเปอร์ไม (Permai) เป็นขบวนการทางสังคมในอินโดนีเซีย ทำงานทั้งในรูปพรรคการเมืองและสมาคมอาบังงัน ก่อตั้งเมื่อ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสหภาพประชาชนมาร์แฮนอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

หรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (United Arab Emirates; الإمارات العربيّة المتّحدة) เป็นประเทศหนึ่งในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ริมอ่าวเปอร์เซีย ประกอบด้วยรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirates) 7 รัฐ ได้แก่ อาบูดาบี อัจมาน ดูไบ ฟูไจราห์ ราสอัลไคมาห์ ชาร์จาห์ และอุมม์อัลไกไวน์ ในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) กลุ่มรัฐดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันในชื่อ รัฐสงบศึก (Trucial States) หรือ ทรูเชียลโอมาน (Trucial Oman) โดยอ้างอิงตามสัญญาสงบศึกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระหว่างอังกฤษกับเชคอาหรับบางพระองค์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีพรมแดนติดกับโอมาน ซาอุดีอาระเบีย และกาตาร์ เป็นประเทศหนึ่งที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรน้ำมัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สะอ์ดี

อะบูมุฮัมหมัด มุชริฟุดดีน มุศเลี้ยะห์ บิน อับดิลลา บิน มุชัรริฟ เรียกสั้น ๆ กันว่า สะอ์ดี (ปี ฮ.ศ. 606-690) เป็นนักกวีและนักเขียนภาษาเปอร์เซียที่มีชื่อเสียงชาวอิหร่าน บรรดานักอักษรศาสตร์ให้ฉายานามท่านว่า ปรมาจารย์นักพูด กษัตรย์นักพูด ผู้อาวุโสที่สูงส่ง และเรียกขานทั่วไปกันว่า อาจารย์ ท่านศึกษาใน นิซอมียะฮ์แห่งเมืองแบกแดด ซึ่งถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางวิชาการของโลกอิสลามในยุคนั้น หลังจากนั้นท่านก็ได้เดินทางไปตามเมืองต่างๆ เช่นเมืองชาม และฮิญาซ ในฐานะนักบรรยายธรรม แล้วสะอ์ดีก็ได้เดินทางกลับมายังมาตุภูมิของท่านที่เมืองชีรอซและใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นจนกระทั่ววาระสุดท้ายของชีวิต สุสานของท่านอยู่ที่เมืองชีรอซ ซึ่งถูกรู้จักกันว่า สะอ์ดียะฮ์ ท่านใช้ชีวิตอยู่ในยุคการปกครองของSalghurids ในเมืองชีรอซ ช่วงการบุกของมองโกลยังอิหร่านอันเป็นเหตุให้การปกครองต่างๆ ในยุคนั้นล่มสลายลง เช่น Khwarazmian dynasty และอับบาซี ทว่ามีเพียงดินแดนฟอร์ซ รอดพ้นจากการบุกของพวกมองโกล เพราะยุทธศาสตร์ของอะบูบักร์ บิน สะอด์ ผู้ปกครองที่เลืองชื่อแห่งSalghurids และอยู่ในศัตวรรษที่หกและเจ็ดซึ่งเป็นยุคการเจริญรุ่งเรืองของแนวทางซูฟีในอิหร่าน โดยเห็นได้จากอิทธิพลทางความคิดและวัฒนธรรมของยุคนี้ได้จากผลงานของสะอ์ดี นักค้นคว้าส่วนใหญ่เชื่อว่าสะอ์ดีได้รับอิทธิพลจากคำสอนของมัซฮับชาฟิอีและอัชอะรี จึงมีแนวคิดแบบนิยัตินิยม อีกด้านหนึ่งก็ท่านเป็นผู้ที่มีความรักต่อครอบครัวท่านศาสดา (ศ็อลฯ) อีกด้วย ก่อนหน้านั้นสะอ์ดี เป็นผู้ที่ยึดมั่นในจริยธรรมบนพื้นฐานของปรัชญาจริยะ เป็นนักฟื้นฟู ฉะนั้นท่านจึงไม่ใช่ผู้ที่ฝักไฝ่การเชื่ออย่างหลับหูหลับตาตามที่กล่าวอ้างกัน กลุ่มIranian modern and contemporary art ถือว่าผลงานของท่านไร้ศีลธรรม ไม่มีคุณค่า ย้อนแย้งและขาดความเป็นระบบ สะอ์ดีมีอิทธิพลต่อภาษาเปอร์เซียอย่างมาก ในลักษณะที่ว่าภาษาเปอร์เซียปัจจุบันมีความใกล้เคียงกับภาษาของสะอ์ดีอย่างน่าสนใจ ผลงานของท่านถูกนำมาใช้สอนในโรงเรียน และหอสมุดในฐานะตำราอ้างอิงการเรียนการสอนภาษาและไวยากรณ์ภาษาเปอร์เซียอยู่หลายยุคหลายสมัย คำพังเพยที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอิหร่านปัจจุบันก็ได้มาจากผลงานของท่าน แนวการเขียนของท่านแตกต่างไปจากนักเขียนร่วมสมัยหรือนักเขียนก่อนหน้าท่านโดยท่านจะใช้ภาษาที่ง่าย สั้นและได้ใจความ กระทั่งมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วในยุคของท่าน ผลงานของสะอ์ดีเรียกกันว่าง่ายแต่ยาก มีทั้งเกล็ดความรู้ มุกขำขันที่ซ่อนอยู่หรือกล่าวไว้อย่างเปิดเผย ผลงานของท่านรวบรวมอยู่ในหนังสือ กุลลียอเตสะอ์ดี ซึ่งครอบคลุมทั้ง ฆุลิสตอนที่มีฉันทลักษณ์แบบนัษร์ หนังสือ บูสตอนที่มีฉันทลักษณ์แบบมัษนะวี และฆอซลียอต นอกจากนั้นท่านยังมีผลงานด้านร้อยกรองที่มีฉันทลักษณ์อื่นๆ อีก เช่น กอซีดะฮ์ ก็อฏอะฮ์ ตัรญีอ์บันด์ และบทเดี่ยวทั้งที่เป็นภาษาเปอร์เซียและภาษาอาหรับ ส่วนมากฆอซลียอเตสะอ์ดีจะพูดถึงเรื่องของความรัก แม้ว่าท่านจะกล่าวถึงความรักในเชิงรหัสยะ (อิรฟาน) ก็ตาม ฆุลิสตอนและบูสตอน เป็นตำราจริยธรรม ซึ่งมีอิทธิต่อชาวอิหร่านและแม้แต่นักวิชาการตะวันตกเองก็ตาม เช่น วอลแตร์ และ โยฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ สะอ์ดี มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นอย่างมากในยุคของท่าน ผลงานของท่านที่เป็นภาษาเปอร์เชียหรือที่แปลแล้วไปไกลถึงอินเดีย อานาโตเลีย และเอเชียกลาง ท่านเป็นนักกวีชาวอิหร่านคนแรกที่ผลงานของท่านถูกแปลเป็นภาษาต่างๆ แถบยุโรป นักกวีและนักเขียนชาวอิหร่านต่างก็ลอกเลียนแบบแนวของท่าน ฮาฟิซก็เป็นนักกวีท่านหนึ่งที่ได้รับอิทธิพลการเขียนบทกวีมาจากท่านสะอ์ดี นักเขียนยุคปัจจุบัน เช่น มุฮัมหมัด อาลี ญะมอลซอเดะฮ์ และอิบรอฮีม ฆุลิสตอน ก็ได้รับอิทธิพลมาจากท่านเช่นกัน ต่อมาผลงานของสะอ์ดีถูกถ่ายทอดออกเป็นคีตะ ซึ่งมีนักขับร้องที่มีชื่อเสียงหลายท่าน เช่น ทอจ อิศฟะฮอนี, มุฮัมหมัดริฎอ ชะญะริยอน และฆุลามฮุเซน บะนอน อิหร่านได้ให้วันที่ 1 เดือนอุรเดเบเฮชต์ วันแรกของการเขียนหนังสือฆุลิสตอน เป็นวันสะอ์ดี เพื่อเป็นการเทิดเกียรติท่าน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสะอ์ดี · ดูเพิ่มเติม »

สาวิกา ไชยเดช

วิกา ไชยเดช มีชื่อเล่นว่า พิ้งกี้ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2529) เป็นนักแสดงและอดีตนักร้องหญิงชาวไทย ที่มีผลงานทางละคร เพลง และภาพยนตร์ไทย รวมทั้งมีผลงานภาพยนตร์อินเดี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสาวิกา ไชยเดช · ดูเพิ่มเติม »

สาอี บาบาแห่งศิรฑี

อี บาบาแห่งศิรฑี สาอี บาบาแห่งศิรฑี (सत्य साईं बाबा; शिर्डीचे श्री साईबाबा ศิรฺฑีเจ ศฺรี สาอีพาพา) เกิดใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสาอี บาบาแห่งศิรฑี · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐบังซาโมโร

รณรัฐบังซาโมโร (Bangsamoro Republik) หรือชื่อเป็นทางการว่าสหสหพันธรัฐแห่งสาธารณรัฐบังซาโมโร (United Federated States of Bangsamoro Republik; UFSBR) เป็นรัฐที่ไม่ได้รับการรับรองอายุสั้นที่แยกตัวออกมาจากฟิลิปปินส์ นูร์ มีซัวรี ประธานแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติโมโร เป็นผู้ประกาศเอกราชของบังซาโมโรเมื่อ 27 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสาธารณรัฐบังซาโมโร · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย

รณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย (‏الجماهيرية العربية الليبية الشعبية الاشتراكية) เป็นรัฐที่ประกาศโดย มูอัมมาร์ กัดดาฟี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 1977 และประกาศ "ปฏิญญาการจัดตั้งอำนาจของประชาชน" อย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอัฟกานิสถาน

รณรัฐอัฟกานิสถาน (Republic of Afghanistan; ดารี: جمهوری افغانستان; د افغانستان جمهوریت) เป็นรัฐบาลที่ปกครองอัฟกานิสถาน หลังการล้มล้างระบอบกษัตริย์ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสาธารณรัฐอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน

รณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน (Democratic Republic of Afghanistan; ดารี: جمهوری دمکراتی افغانستان; دافغانستان دمکراتی جمهوریت) หรือต่อมาคือ สาธารณรัฐอัฟกานิสถาน (Republic of Afghanistan; ดารี: جمهوری افغانستان; د افغانستان جمهوریت) เป็นรัฐบาลคอมมิวนิสต์ที่จัดตั้งขึ้นโดยพรรคประชาธิปไตยประชาชนอัฟกานิสถาน (PDPA) หลังโค่นล้มรัฐบาลของประธานาธิบดีโมฮัมเหม็ด ดาวูด ข่านในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโซมาลี

รณรัฐโซมาลี (Jamhuuriyadda Soomaaliyeed, Repubblica Somala, جمهورية الصومال) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของประเทศโซมาเลีย หลังจากได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสาธารณรัฐโซมาลี · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 1

รณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 1 (First Eastern Turkestan Republic; ETR) หรือ สาธารณรัฐอิสลามเตอร์เกสถานตะวันออก (Islamic Republic of East Turkestan; TIRET; ภาษาอุยกูร์: شەرقىي تۈركىستان ئىسلام جۇمھۇرىيىتى‎‎ Sherqiy Türkistan Islam Jumhuriyiti) เป็นสาธารณรัฐอิสลามอายุสั้น ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2

รณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2 (The Second East Turkestan Republic หรือ East Turkestan Republic; ETR) เป็นรัฐคอมมิวนิสต์อายุสั้นของชาวเติร์กที่สหภาพโซเวียต ให้การสนับสนุน ระหว่าง 12 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสาธารณรัฐเตอร์เกสถานตะวันออกที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สิดดิก สารีฟ

นายสิดดิก สารีฟ (7 เมษายน พ.ศ. 2472 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2534) เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส 2 สมั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสิดดิก สารีฟ · ดูเพิ่มเติม »

สิงหาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสิงหาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

สุรินทร์ พิศสุวรรณ

รรมศาสตราภิชาน สุรินทร์ พิศสุวรรณ (Surin Abdul Halim bin Ismail Pitsuwan, สุรินทร์ อับดุล ฮาลิม บิน อิสมาอิล พิศสุวรรณ; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2492 – 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560) เป็นนักการเมืองชาวไทยมุสลิม ในอดีตเคยดำรงตำแหน่ง รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลชวน หลีกภัย สุรินทร์เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการอาเซียน วาร..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสุรินทร์ พิศสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

สุลัยมานผู้เกรียงไกร

ลต่านสุลัยมานที่ 1 (ตุรกีออตโตมัน: سلطان سليمان اول‎) พระองค์เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกว่า สุลัยมานผู้เกรียงไกร และเป็นที่รู้จักในโลกตะวันออกว่า สุลัยมานผู้ตรากฎหมาย ทรงเป็นประมุขของจักรวรรดิออตโตมันสมัยราชวงศ์ออสมันระหว่างปี ค.ศ. 1520 จนเสด็จสวรรคตเมื่อต้นเดือนกันยายนปี ค.ศ. 1566 เป็นสุลต่านพระองค์ที่ 10 และเป็นสุลต่านที่ทรงราชย์นานที่สุดของจักรวรรดิออตโตมัน เป็นเวลานานถึง 46 ปี สุลต่านสุลัยมานเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1494 ที่ทราบซอนในประเทศตุรกี เป็นพระราชโอรสในสุลต่านเซลิมที่ 1 และฮาฟซา ฮาทุน (Hafsa Hatun) ทรงเสกสมรสตามกฎหมายกับร็อกเซลานา หรือเฮอร์เรมสุลต่าน พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อราววันที่ 5/6 กันยายน ค.ศ. 1566 ที่ Szigetvár ในประเทศฮังการีปัจจุบัน หลังจากพระองค์เสด็จสวรรคต พระราชโอรสของพระองค์กับเฮอร์เรมสุลต่านก็ขึ้นครองราชย์เป็นสุลต่านเซลิมที่ 2 สุลต่านสุลัยมานเป็นพระมหากษัตริย์องค์สำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีบทบาทสำคัญไม่เพียงแต่ในจักรวรรดิออตโตมันเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงททวีปยุโรปด้วย พระองค์มีพระบรมราชานุภาพอันยิ่งใหญ่ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ ทรงเป็นผู้นำทัพด้วยพระองค์เองในการสงครามหลายครั้งและทรงได้รับชัยชนะในสงครามหลายครั้งที่รวมทั้งต่อเบลเกรด โรดส์ และ ฮังการีเกือบทั้งหมด แต่มาทางพ่ายแพ้ในการล้อมกรุงเวียนนาในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านอับดุล ฮามิด ฮาลิมแห่งเกอดะฮ์

ลต่าน อับดุล ฮามิด ฮาลิม ชาห์ เป็นสุลต่านแห่งรัฐเกอดะฮ์ องค์ที่ 25 นับเป็นเจ้าเมืองไทรบุรีองค์สุดท้ายภายใต้การปกครองของสยาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสุลต่านอับดุล ฮามิด ฮาลิมแห่งเกอดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านอัล ราซิด แห่งโมร็อกโก

ลต่านอัล ราซิด แห่งโมร็อกโก พระราชสมภพเมื่อ..1631 เป็นพระราชโอรสของ สุลต่านโมเลย์ อลี ชีลิฟ แห่งโมร็อกโก เมื่อ..1664 พระองค์ขึ้นครองราชย์ต่อจาก สุลต่านโมฮัมเหม็ดที่1 แห่งโมร็อกโก พระเชษฐา ในปี..1666 ทรงขึ้นครองราชย์เป็น สุลต่านแห่งราชอาณาจักรโมร็อกโก อีก 6 ปีต่อมา พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อ..1672 ทรงครองราชย์ได้ 8 ปี พระชนมายุ 41 พรรษา สุลต่านอิส มาส์ บิน ชาลิฟ แห่งโมร็อกโก พระราชโอรสพระองค์ จึงขึ้นครองราชย์ต่อไป.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสุลต่านอัล ราซิด แห่งโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านอิส มาส์ บิน ชาลิฟ แห่งโมร็อกโก

ลต่านอิส มาส์ บิน ชาลิฟ แห่งโมร็อกโก พระราชสมภพเมื่อ..1631 เป็นพระราชโอรสของ สุลต่านโมเลย์ อลี ชีลิฟ แห่งโมร็อกโก เมื่อ..1672 พระองค์ขึ้นครองราชย์ต่อจาก สุลต่านอัล ราซิด แห่งโมร็อกโก พระเชษฐา พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อ..1727 ทรงครองราชย์ได้ 55 ปี พระชนมายุ 82-93 พรรษา สุลต่านอับดุล อับบาซ ฮะมัด แห่งโมร็อกโก พระราชโอรสพระองค์โตพระองค์ จึงขึ้นครองราชย์ต่อไป.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสุลต่านอิส มาส์ บิน ชาลิฟ แห่งโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

สุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟุดดีนที่ 3

ลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟุดดินที่ 3 ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสุลต่านโอมาร์ อาลี ไซฟุดดีนที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

สุหนัต

ีตาน (ختان; Khitan) คนไทยมักเรียกว่า สุหนัต (สุ-หนัด) หมายถึง พิธีการขริบหนังหุ้มปลายตามข้อกำหนดในศาสนายูดาห์และศาสนาอิสลาม คำว่า สุหนัต มาจากคำว่า "ซูนัต" ในภาษามลายู ซึ่งมาจากคำว่า "ซุนนะฮ์" ในภาษาอาหรับ ซึ่งหมายถึงแบบแผนการปฏิบัติของนบีมุฮัมมัด พิธีสุหนัตเกิดขึ้นครั้งแรกในศาสนายูดาห์ ซึ่งเริ่มทำพิธีนี้ครั้งแรกในสมัยของอับราฮัม การเรียกว่า "เข้าสุนัต" มาจากวลี "มาซุก ญาวี" หรือ "มะโซะยาวี" (แปลว่า เข้าญาวี) ในภาษามลายู หมายถึง เข้า (ศาสนาของ) คนญาวี (มลายูมุสลิม) ด้วยการขริบหนังที่ปลายอวัยวะเพศ การขริบหนังองคชาตเป็นประเพณีของชาวยิว ชาวมุสลิม และคริสต์ศาสนิกชนบางนิกาย เช่นเดียวกับเผ่าหลายเผ่าในแอฟริกา ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นนิยมขริบเนื่องจากเหตุผลทาง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสุหนัต · ดูเพิ่มเติม »

สีเขียว

ีเขียว เป็นสีสีหนึ่งบนคลื่นที่ตามองเห็น ตั้งอยู่ระหว่างสีน้ำเงินและสีเหลือง สีเขียวเกิดจากแสงที่ความยาวคลื่นประมาณ 495-570 นาโนเมตร สีเขียวในแม่สีเชิงลบที่ใช้สำหรับระบายสีและพิมพ์สีเกิดจากสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงิน หรือสีเหลืองผสมกับสีน้ำเงินอมเขียว ในระบบสี RGB ที่พบในโทรทัศน์และจอคอมพิวเตอร์ เป็นสีที่มาจากแม่สีเชิงบวก ร่วมกับสีแดงและสีน้ำเงิน ซึ่งต่างก็ผสมกันจนกลายเป็นสีอื่น ๆ ได้ ในภาษาอังกฤษใหม่ คำว่า green (สีเขียว) มาจากคำภาษาอังกฤษกลางว่า grene จากรากศัพท์ภาษาเยอรมันเดียวกันกับคำว่าคำว่า "grass" และ "grow" สีเขียวเป็นสีของการปลูกหญ้าและใบไม้ ด้วยเหตุนี้สีเขียวจึงเป็นสีของฤดูใบไม้ผลิ ความเจริญเติบโต และธรรมชาติEva Heller, Psychologie de la couleur- effets et symboliques.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสีเขียว · ดูเพิ่มเติม »

สีเขียว (มุทราศาสตร์)

“Vert” สีเขียวทางซ้าย หรือ ขีดทแยงทางขวา สีเขียว (Vert) เป็นภาษามุทราศาสตร์ที่บรรยายลักษณะของผิวตรา (Tincture) ที่เป็นสีเขียว ที่อยู่ในกลุ่มผิวตราสีหนักที่เรียกว่า “สี” ถ้าเป็นการแกะพิมพ์ “Vert” ก็จะเป็นขีดทแยงจากมุมซ้ายบนลงมายังมุมขวาล่าง หรืออาจจะจารึกด้วยอักษรย่อ “vt.” ของคำว่า “Vert” คำว่า “Vert” มาจากภาษาฝรั่งเศส ที่แปลว่า “เขียว” ในมุทราศาสตร์ฝรั่งเศสผิวสีนี้เรียกว่า “Sinople” ตั้งแต่อย่างน้อยก็ราวปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสีเขียว (มุทราศาสตร์) · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ

ันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ หมู่ที่ 1 ตำบลเกาะยอ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมบาโรก

วิหารซุพเพอร์กา (Basilica di Superga) ใกล้เมืองตูริน ประเทศอิตาลี โดย ฟิลิโป คูวารา (Filippo Juvarra) วิการตกแต่งภายในของวัดวีส์ ประเทศเยอรมนี ที่แสดงถึงความแยกไม่ออกระหว่างประติมากรรมและสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมบาโรก (ภาษาอังกฤษ: Baroque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่ประเทศอิตาลี เป็นสถาปัตยกรรมที่บ่งถึงความหรูหราโอ่อ่าและความมีอำนาจของสถาบันคริสต์ศาสนาและการปกครอง และจะเน้นเรื่องแสง สี เงา และคุณค่าของประติมากรรม ขณะที่สถาปัตยกรรมเรอเนซองส์จะเน้นความมั่งคั่งและอำนาจของราชสำนักอิตาลี และประสมประสานศิลปะศาสนาและศิลปะทางโลก สถาปัตยกรรมบาโรกเมื่อเริ่มแรกเป็นสถาปัตยกรรมที่มาจากปฏิกิริยาต่อการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ซึ่งเป็นกระบวนการของสถาบันคาทอลิกต่อต้านการปฏิรูปดังกล่าว โดยการปฏิรูปภายในสถาบันคาทอลิกเอง การประชุมสังคายนาที่เมืองเทร้นต์ ระหว่างวันที่ 13 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสถาปัตยกรรมบาโรก · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์

มหาวิหารแซงต์ปิแยร์แห่งอองกูเล็ม ประเทศฝรั่งเศส สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ (Romanesque architecture) เป็นคำที่บรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมตะวันตกที่เริ่มราวปลายคริสต์ศตวรรษที่ 10 ไปจนถึงสมัยสถาปัตยกรรมกอธิคระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่อังกฤษจะเรียกกันว่า “สถาปัตยกรรมนอร์มัน” ลักษณะเด่นๆของสถาปัตยกรรมยุคนี้คือความเทอะทะ เช่นความหนาของกำแพง ประตูหรือหลังคา/เพดานโค้งประทุน เพดานโค้งประทุนซ้อน การใช้โค้งซุ้มอาร์เคดในระหว่างช่วงเสาหนึ่ง ๆ และในแต่ละชั้นที่ต่างขนาดกันศิลป พีระศรี, ประวัติศาสตร์และแบบอย่างศิลปะ, (แปลและเรียบเรียงโดย เขียน ยิ้มศิริ) (กรุงเทพฯ: กรุงสยามการพิมพ์, 2512) เสาที่แน่นหนา หอใหญ่หนัก และ การตกแต่งรอบโค้ง (เช่น ซุ้มประตูหรืออาร์เคด (arcade)) ลักษณะตัวอาคารก็จะมีลักษณะเรียบ สมส่วนมองแล้วจะเป็นลักษณะที่ดูขึงขังและง่ายไม่ซับซ้อนเช่นสถาปัตยกรรมกอธิคที่ตามมา สถาปัตยกรรมจะพบทั่วไปในทวีปยุโรปไม่ว่าจะเป็นประเทศใดหรือไม่ว่าจะใช้วัสดุใดในการก่อสร้าง สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์จะพบในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิหารเป็นส่วนใหญ่ แต่จะมีบ้างที่ใช้ในการก่อสร้างปราสาทในสมัยนั้น คริสต์ศาสนสถานแบบโรมาเนสก์ยังคงมีหลงเหลืออยู่ และบางแห่งก็ยังใช้เป็นสถานที่สักการะตราบจนทุกวันนี้ Bannister Fletcher, “History of Architecture on the Comparative Method” (ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมโดยการเปรียบเทียบ).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสด

กรุงเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งแรก สงครามครูเสด (Crusades; الحروب الصليبية, อัลฮุรูบ อัศศอลีบียะหฺ หรือ الحملات الصليبية, อัลฮัมลาต อัศศอลีบียะหฺ แปลว่า "สงครามไม้กางเขน") เป็นชุดสงครามรบนอกประเทศทางศาสนา ที่ถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์โดยสมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 และศาสนจักรคาทอลิก มีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อฟื้นฟูการเข้าถึงที่ศักดิ์สิทธิ์ในและใกล้เยรูซาเล็มของคริสเตียน เยรูซาเล็มเป็นนครศักดิ์สิทธิ์และสัญลักษณ์ของศาสนาเอบราฮัมหลักทั้งสาม (ศาสนายูดาย ศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม)Esposito What Everyone Needs to Know about Islam ภูมิหลังสงครามครูเสดเกิดเมื่อเซลจุคเติร์กมีชัยชนะอย่างเด็ดขาดเหนือกองทัพไบแซนไทน์เมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสงครามครูเสด · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดครั้งที่ 9

งครามครูเสดครั้งที่ 9 (Ninth Crusade) เป็นหนึ่งในสงครามครูเสดและเป็นสงครามครูเสดครั้งสุดท้าย ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1271 – ค.ศ. 1272 เป็นสงครามที่ต่อสู้กันในตะวันออกใกล้ระหว่างฝ่ายผู้นับถือคริสต์ศาสนาและฝ่ายผู้นับถือศาสนาอิสลาม ในสงครามครั้งนี้ฝ่ายมุสลิมเป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะ ที่เป็นผลทำให้สงครามครูเสดยุติลงในที่สุดและอาณาจักรครูเสดต่างๆ ในบริเวณลว้านก็สลายตัวไป ทางฝ่ายคริสเตียนมีกำลังคนทั้งสิ้นประมาณ 60,000 คน โดยมีผู้นำที่รวมทั้ง สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 แห่งเนเปิลส์, สมเด็จพระเจ้าฮิวจ์ที่ 3 แห่งไซปรัส, เจ้าชายเอ็ดเวิร์ดแห่งอังกฤษ, โบฮีมอนด์ที่ 6 แห่งอันติโอค, อบาคา ข่านแห่งมงโกเลีย และ สมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอาร์มีเนีย ทางฝ่ายมุสลิมมีกำลังคนที่ไม่ทราบจำนวน โดยมีไบบาร์สเป็นผู้นำ สงครามครูเสดครั้งที่ 9 บางครั้งก็รวมกับสงครามครูเสดครั้งที่ 8 ถือกันว่าเป็นสงครามครูเสดครั้งสุดท้ายและเป็นสงครามใหญ่สงครามสุดท้ายของยุคกลางในการที่ฝ่ายคริสเตียนพยายามยึดครองดินแดนศักดิ์สิทธิ์ เมื่อพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศสไม่ทรงสามารถยึดตูนิสได้ในสงครามครูเสดครั้งที่ 8 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ดแห่งอังกฤษก็เสด็จไปเอเคอร์เพื่อเข้าร่วมในสงครามครูเสดครั้งที่ 9 แต่เป็นสงครามที่ทางฝ่ายคริสเตียนพ่ายแพ้ ซึ่งส่วนหนึ่งอาจจะเป็นเพราะพลังใจในการที่จะดำเนินการสงครามเหือดหายไป และเพราะอำนาจของมามลุคในอียิปต์ขยายตัวมากขึ้น นอกจากนั้นผลของสงครามก็นำมาซึ่งการล่มสลายของที่มั่นต่างๆ ริมฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียนไปด้วยในขณะเดียวกัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสงครามครูเสดครั้งที่ 9 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ต่อสหรัฐอเมริกา การทัพครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อกำจัดอัลกออิดะห์และองค์การก่อการร้ายอื่น ๆ สหราชอาณาจักร ประเทศสมาชิกนาโต้อื่น และประเทศนอกกลุ่มนาโต้เข้าร่วมในความขัดแย้งนี้ด้วยเช่นกัน คำว่า "สงครามต่อต้านการก่อการร้าย" นี้ ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช แห่งสหรัฐอเมริกา ใช้เป็นคนแรกเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2544 รัฐบาลบุชและสื่อตะวันตกได้ใช้คำดังกล่าวหมายถึงการต่อสู้ทางทหาร การเมือง ชอบด้วยกฎหมาย และเชิงความคิดทั่วโลก โดยมุ่งเป้าทั้งองค์การที่ถูกระบุว่าเป็นผู้ก่อการร้ายและรัฐบาลที่ถูกกล่าวหาว่าสนับสนุนการก่อการร้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสงครามต่อต้านการก่อการร้าย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเลบานอน พ.ศ. 2549

แผนที่แสดงบริเวณขัดแย้ง (area of conflict) ความขัดแย้งอิสราเอล-เลบานอน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสงครามเลบานอน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

หมัด

ำสำคัญ "หมัด" สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและหมัด · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านขนงพระเหนือ

หมู่บ้านขนงพระเหนือ เป็นหมู่บ้านในจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและหมู่บ้านขนงพระเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง

หมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง (อินโดนีเซีย: Kepulauan Bangka Belitung) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย และเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดสุมาตราใต้ ตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะสุมาตรา ประกอบด้วยเกาะหลักสองแห่ง ได้แก่ เกาะบังกา และเกาะเบอลีตุง ซึ่งคั่นด้วยช่องแคบกัสปาร์ จังหวัดนี้ถูกแยกจากเกาะสุมาตราโดยช่องแคบบังกา จังหวัดนี้ติดกับทะเลนาตูนาทางทิศเหนือ ติดกับทะเลชวาทางทิศใต้ ติดกับช่องแคบการีมาตาทางทิศตะวันออก และติดกับจังหวัดสุมาตราใต้ทางทิศตะวันตก เมืองหลักคือปังกัลปีนัง ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและการปกครอง เมืองอื่น ๆ ที่สำคัญ ได้แก่ ซุงไกลีอัต ตันจงปันดัน และมังการ์ สำหรับในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและหมู่เกาะบังกา-เบอลีตุง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์

หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (Dutch East Indies หรือ Netherlands East Indies; Nederlands-Indië; Hindia-Belanda) คืออาณานิคมซึ่งอยู่ในการควบคุมของอดีตบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ซึ่งต่อมาอยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 และกลายเป็นประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเรียว

หมู่เกาะเรียว (Kepulauan Riau) เป็นหมู่เกาะแห่งหนึ่งในเกาะสุมาตรา ซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 6 ของโลกและเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย และเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะมลายู อยู่ทางตอนใต้ของประเทศสิงคโปร์ ทางตะวันออกของหมู่เกาะนี้คือมหาสมุทรอินเดีย และมีเมืองหลวงชื่อตันจุงปีนัง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและหมู่เกาะเรียว · ดูเพิ่มเติม »

หลักการศรัทธา

อุซูลุดดีนคือรากฐานของความศรัทธา ชีอะฮ์มีความเชื่อว่าจะต้องมีความศรัทธาเป็นอันดับแรก หลังจากนั้นก็จะตามมาในข้อปฏิบัติอื่นๆ อุซูลุดดีนเกี่ยวข้องกับความศรัทธาส่วนฟุรูอุดดีนนั้นเกี่ยวกับการปฏิบัติ อุซูลุดดีนในทรรศนะของอะฮ์ลิสซุนนะฮ์ได้แก่เอกานุภาพ(เตาฮีด),ตำแหน่งศาสดา(นบูวัต)และการฟื้นคืนชีพ(มะอ๊าด) ส่วนในทรรศนะของชีอะฮ์เพิ่มความยุติธรรมของพระเจ้า(อัดล์)และตำแหน่งอิมาม(อิมามัต)เข้าไป พื้นฐานต่างๆของความศรัทธาได้ครอบคลุมศาสนาต่างๆเอาไว้ซึ่งมีความแตกต่างกันออกไปตามภาษา,กาลเวลาและชาติพัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและหลักการศรัทธา · ดูเพิ่มเติม »

หลักสูตร

หลักสูตร (curriculum (เอกพจน์) หรือ curricula (พหูพจน์)) เป็นคำที่เกิดขึ้นมาในคริสต์ศตวรรษที่ 17 และเริ่มใช้คำนี้อย่างแพร่หลายในช่วง คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยในตำราเรียนเล่มแรกที่เขียนอธิบายเกี่ยวกับหลักสูตรของจอห์น แฟรงคลิน บอบบิทในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและหลักสูตร · ดูเพิ่มเติม »

หุย

วหุย (จีน:回族;พินอิน:Huízú, อาหรับ:هوي) เป็นมุสลิมกลุ่มหนึ่งในประเทศจีน มีประชากร 9.82 ล้านคน มีประชากรเพียงหนึ่งในสามของประชากรทั้งหมดในเขตปกครองตนเองหุยหนิงเซี่ย ชาวหุยก็คือชาวจีนที่นับถือศาสนาอิสลาม ชาวหุยส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ทุรกันดารทางตอนใต้ของเขตปกครองตนเอง ถึงแม้ว่าชาวหุยจะเป็นมุสลิม นับถืออิสลาม แต่ในปัจจุบันการแยกความแตกต่างของชาวหุยกับชาวจีนฮั่นโดยใช้ศาสนาค่อนข้างจะยากอยู่ ชาวหุยที่เป็นผู้ชายจะสวมหมวกสีขาว ส่วนผู้หญิงชาวหุยบางคนในปัจจุบันยังคงใส่ม่านบังหน้า ชาวหุยหลายคนที่ไม่คิดว่าคำว่า "เมกกะ" มีความสำคัญแต่อย่างใด แต่ในประเทศไทยชาวจีนที่นับถืออิสลาม จะเรียกว่า "จีนฮ่อ" ในพม่าจะเรียกว่า "ปันทาย" (Panthay) และชาวจีนมุสลิมที่อยู่ในเอเชียกลางจะถูกเรียกว่า "ดันกัน" (Dungans;дунгане).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและหุย · ดูเพิ่มเติม »

หนึ่งธิดา โสภณ

หนึ่งธิดา โสภณ ชื่อเล่น หนูนา (8 พฤษภาคม พ.ศ. 2535) เป็นนักแสดงชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการแสดงภาพยนตร์เรื่อง กวน มึน โฮ และได้รับรางวัลสุพรรณหงส์ สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ปี 2553 จากภาพยนตร์ดังกล่าว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและหนึ่งธิดา โสภณ · ดูเพิ่มเติม »

หน้าบัน

การตกแต่งหน้าบันวัดราชบุรณราชวรวิหาร กรุงเทพมหานคร หน้าบัน (Tympanum鼓室) คือบริเวณครึ่งวงกลมหรือเกือบสามเหลี่ยมเหนือประตูทางเข้าที่อยู่ระหว่างทับหลังและโค้ง (arch) ซึ่งจะมีรูปสลักตกแต่งหรือเครื่องตกแต่งอื่นๆ สถาปัตยกรรมเกือบทุกแบบจะมีองค์ประกอบนี้ ผู้คิดค้นการสร้างหน้าบันเป็นคือชาวอียิปต์โบราณประมาณ 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาก็ปรากฏในสถาปัตยกรรมกรีก สถาปัตยกรรมของคริสต์ศาสนา และ สถาปัตยกรรมของศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและหน้าบัน · ดูเพิ่มเติม »

ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ

ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ (Five Races Under One Union) เป็นหลักใหญ่ของการสถาปนาสาธารณรัฐจีน ใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ · ดูเพิ่มเติม »

อภิธานศัพท์ศาสนาอิสลาม

ำศัพท์เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอภิธานศัพท์ศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

อมลรดา ไชยเดช

อมลรดา ไชยเดช หรือชื่อเดิม อนุธิดา อิ่มทรัพย์ (4 มิถุนายน พ.ศ. 2540) ชื่อเล่น โมนา เป็นนักแสดงหญิงลูกครึ่งไทย-เยอรมัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอมลรดา ไชยเดช · ดูเพิ่มเติม »

ออสมัน จามา อาลี

ออสมัน จามา อาลี (Cismaan Jaamac Cali, جامع علي عثمان) (เกิด พ.ศ. 2484) เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี เขาทำหน้าที่รักษาการนายกรัฐมนตรีโซมาเลียภายใต้รัฐบาลเปลี่ยนผ่านแห่งชาติตั้งแต่ 28 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและออสมัน จามา อาลี · ดูเพิ่มเติม »

อะบูบักร์

อะบูบักรฺ บินอะบีกุฮาฟะหฺ คอลีฟะหฺที่ 1 ของอิสลาม ปกครอง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอะบูบักร์ · ดูเพิ่มเติม »

อะบูฏอลิบ

อะบูฏอลิบ บิน อับดิลมุฏฏอลิบ เป็นพี่ชายของ อับดุลลอหฺ บิดาของศาสนทูตมุฮัมมัด ผู้เป็นศาสดาของอิสลาม และเป็นบิดาของ อะลีย์ ผู้เป็นอิมามคนแรกของอิสลามชีอะหฺ และคอลีฟะหฺคนที่ 4 ของอิสลามซุนนี อะบูฏอลิบ รับศาสนทูตมุฮัมมัด มาเลี้ยงตั้งแต่อายุ 8 ขวบ อะบูฏอลิบ มีภรรยาชื่อ ฟาฏิมะหฺ บินตุ อะสัด มีบุตรธิดา 6 คนคือ 1.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอะบูฏอลิบ · ดูเพิ่มเติม »

อะลี ญุมอะฮ์

อะลี ญุมอะฮ์ อะลี ญุมอะฮ์ (علي جمعة; Ali Gomaa) ปราชญ์ศาสนาอิสลาม เกิดวันที่ 3 มีนาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอะลี ญุมอะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

อะลี อัรริฎอ

อะลี อิบน์ มูซา อัรริฎอ (علي بن موسى الرضا; ‘Alī ibn Mūsā al-Ridhā; 1 มกราคม ค.ศ. 766 - 26 พฤษภาคม ค.ศ. 818) อิมามที่ 8 ของอิสลามนิกายชีอะฮ์ และปรมาจารย์ท่านหนึ่งของอิสลามนิกายศูฟี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอะลี อัรริฎอ · ดูเพิ่มเติม »

อะห์มัด อุมัร ฮาเช็ม

อะห์มัด อุมัร ฮาเช็ม (أحمد عمر هاشم) เป็นบุคคลสำคัญในศาสนาอิสลามชาวอียิปต์ เกิดเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1941 เป็นอาจารย์สอนภาควิชาอัลฮาดิษ (วจนะพระศาสดามูฮัมมัด) แห่งมหาลัยอัลอัซฮัร และยังดำรงตำแหน่งสภาวิจัยอิสลาม สำเร็จการศึกษาคณะศาสนศาสตร์จากมหาลัยอัลอัซฮัร ในปี..1961 ได้รับใบอนุญาตด้านวิชาการสากลในปี..1967 แล้วจึงได้รับตำแหน่งผู้ช่วยคณะฮาดิษ สำเร็จปริญญาโท และปริญญาเอกคณะวิชาฮาดิษจากมหาลัยอัลอัซฮัร แล้วจึงเป็นอาจารย์สอนภาควิชาฮาดิษในปี..1983 หลังจากนั้นได้ดำรงตำแหน่ง คณบดีคณะศาสนศาสตร์ มหาลัยอัลอัซฮัร สาขาซากอซี้ก(الزقازيق) ในปี..1987 หลังจากนั้นยังได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาลัยอัลอัซฮัร ในปี..1987.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอะห์มัด อุมัร ฮาเช็ม · ดูเพิ่มเติม »

อะเลคซันดร์ มาร์ตืยนอฟ

อะเลคซันดร์ วลาดีมีโรวิช มาร์ตืยนอฟ (Александр Владимирович Мартынов) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีทรานส์นีสเตรียเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอะเลคซันดร์ มาร์ตืยนอฟ · ดูเพิ่มเติม »

อะเดย์

อะเดย์ (a day) เป็นนิตยสารเกี่ยวกับเรื่องทั่วไปในสังคมไทยทั้งในอดีตและปัจจุบัน เป็นนิตยสารที่เป็นต้นแบบนิตยสารทางเลือกของวัยรุ่น ถึงขั้นวงการนิตยสารไทยยกให้นิตยสารอะเดย์เป็นดั่งนิตยสาร 'ขวัญใจเด็กแนว' นิตยสารอะเดย์ ผลิตโดย บริษัท เดย์ โพเอ็ทส์ จำกัด (Day Poets Co. Ltd.) โดยบริษัทก่อตั้งขึ้นโดยบุคคล 3 คน ได้แก่ วงศ์ทนง ชัยณรงค์สิงห์, นิติพัฒน์ สุขสวย และ ภาสกร ประมูลวงศ์ ด้วยความเชื่อที่ว่า "ทำหนังสือเหมือนทำชีวิต" จนถึง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอะเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

อับบาซ อิบุน อับดุบมุฏเฏาะลิบ

อับบาซ อิบุน อับดุบมุฏเฏาะลิบ (العباس بن عبد المطلب, Abbas ibn Abd al-Muttalib) เป็นลุงทางพ่อและเป็นเพื่อนของมุฮัมมัดผู้มีอายุแก่กว่ามุฮัมมัดเพียงไม่กี่ปี อับดุบมุฏเฏาะลิบเป็นพ่อค้าผู้มีฐานะดี ระหว่างการเผยแพร่ของศาสนาอิสลามในระยะแรกอับดุบมุฏเฏาะลิบก็เป็นผู้พิทักษ์ปกป้องมุฮัมมัดขณะที่อยู่ที่มักกะหฺ แต่มาเปลี่ยนนิกายหลังจากยุทธการบัดร (Battle of Badr) ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับบาซ อิบุน อับดุบมุฏเฏาะลิบ · ดูเพิ่มเติม »

อัชราฟ ฆานี

อัชราฟ ฆานี (Ashraf Ghani, اشرف غني, اشرف غنی, เกิดปี 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1949) เป็นประธานาธิบดีของอัฟกานิสถาน เขาเข้ามาเป็นประธานาธิบดีของอัฟกานิสถานเมื่อวันที่ 29 กันยายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัชราฟ ฆานี · ดูเพิ่มเติม »

อับราฮัม

ทูตสวรรค์ยับยั้งอับราฮัม ขณะกำลังจะถวายอิสอัคแด่พระยาห์เวห์ อับราฮัม(ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ อิบรอฮีม (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Abraham; אברהם; إبراهيم) เป็นบุคคลสำคัญในกลุ่มศาสนาอับราฮัม เรื่องราวของท่านถูกบันทึกไว้ในหนังสือปฐมกาล บทที่ 11 ถึง บทที่ 25 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายูดาห์ และคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลามก็ถืออับราฮัมเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ด้วย อับราฮัม เดิมชื่อ "อับราม" เป็นบุตรของ เทราห์ สืบเชื้อสายมาจาก เชม บุตรของโนอาห.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับราฮัม · ดูเพิ่มเติม »

อับดิราชิด อาลี เชอมาร์กี

อับดิราชิด อาลี เชอมาร์กี (Cabdirashiid Cali Sharmaarke, عبد الرشيد علي شارماركي) (เกิด 16 ตุลาคม พ.ศ. 2462 – ลอบสังหาร 15 ตุลาคม พ.ศ. 2512) เป็นนายกรัฐมนตรีโซมาเลีย ตั้งแต่ 12 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดิราชิด อาลี เชอมาร์กี · ดูเพิ่มเติม »

อับดิริซัค ฮาจี ฮุสเซน

อับดิริซัค ฮาจี ฮุสเซน (Cabdirisaaq Xaaji Xuseen; عبد الرازق حاجي حسين‎; 24 ธันวาคม พ.ศ. 2467 - 31 มกราคม พ.ศ. 2557) เป็นนักการทูตและนักการเมืองชาวโซมาลี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของประเทศโซมาเลียตั้งแต่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ถึง 15 มิถุนายน พ.ศ. 2510 - Worldstatesmen.com ตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดิริซัค ฮาจี ฮุสเซน · ดูเพิ่มเติม »

อับดิวาฮิด อิลมี กอนเจห์

อับดิวาฮิด อิลมี กอนเจห์ (Cabdiwaahid Elmi Goonjeex, وحيد عبدي علمي غونجاه) เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลีย ตั้งแต่เดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคมปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดิวาฮิด อิลมี กอนเจห์ · ดูเพิ่มเติม »

อับดิฮาคิม อับดุลลาฮี ฮาจี โอมาร์

อับดิฮาคิม อับดุลลาฮี ฮาจี โอมาร์ (Cabdihakiin Cabdulaahi Xaaji Cumar, عبد الحكيم عبد الله حاجي عمر) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม อับดิฮาคิม อับดุลลาฮี โอมาร์ เอมีร์ เป็นนัการเมืองชาวโซมาเลีย เขาดำรงตำแหน่งรองประธานาธิบดีพุนต์แลนด์ ตั้งแต่ 8 มกราคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดิฮาคิม อับดุลลาฮี ฮาจี โอมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อับดิฮาคิม โมฮามุด ฮาจี-ฟากี

อับดิฮาคิม โมฮามุด ฮาจี-ฟากี (Cabdixakiin Maxamuud Xaaji Fiqi, عبد الحكيم محمود حاجي الفقي) หรือรู้จักกันในนาม อับดิฮาคิม โมฮามุด ฟากี เป็นนักการทูตและนักการเมืองชาวโซมาลี เขาเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีโซมาเลีย 1 สมัย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม 2 สมั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดิฮาคิม โมฮามุด ฮาจี-ฟากี · ดูเพิ่มเติม »

อับดิคาซิม ซาลาด ฮัสซัน

อับดิคาซิม ซาลาด ฮัสซัน Cabdiqaasim Salaad Xasan; عبدي قاسم صلاد حسن; เก..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดิคาซิม ซาลาด ฮัสซัน · ดูเพิ่มเติม »

อับดิเราะห์มาน อาห์เมด อาลี ตูร์

อับดิเราะห์มาน อาห์เมด อาลี ตูร์ (Cabdiraxmaan Axmed Cali Tuur, عبد الرحمن أحمد علي الطور) เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลีย ผู้เคยได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรกของโซมาลีแลนด์ สาธารณรัฐที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลว่าเป็นเขตปกครองตนเองของประเทศโซมาเลี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดิเราะห์มาน อาห์เมด อาลี ตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อับดิเวลี ชีค อาห์เมด

อับดิเวลี ชีค อาห์เมด (Cabdiweli Sheekh Axmed, عبدالولي الشيخ أحمد‎; พ.ศ. 2502 —) หรือ อับดิเวลี ชีค อาห์เมด โมฮัมเหม็ด เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 18 ของโซมาเลีย อาห์เมดเป็นนักเศรษฐศาสตร์ นักการทูต และนักการเมือง เขาเคยทำงานในองค์กรสำคัญระหว่างประเทศหลายองค์กร ได้แก่ ธนาคารโลก องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา สหภาพแอฟริกา สหภาพยุโรป ธนาคารแห่งประเทศแคนาดา ตลาดร่วมแอฟริกาตะวันออกและใต้ และธนาคารเพื่อการพัฒนาอิสลามในญ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดิเวลี ชีค อาห์เมด · ดูเพิ่มเติม »

อับดุล กลาม

ร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดุล กลาม · ดูเพิ่มเติม »

อับดุล มูอิส

อับดุล มูอิส อับดุล มูอิส (Abdul Muis) เป็นนักเขียนและนักหนังสือพิมพ์ชาวอินโดนีเซียที่มีบทบาทมากในกลุ่มปัญญาชนชาตินิยมยุคแรกและเป็นผู้เขียนวรรณกรรมที่มีบทบาทอย่างมากในสังคมอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดุล มูอิส · ดูเพิ่มเติม »

อับดุล ราซัก ฮุซเซน

ตุน ฮาจี อับดุล ราซัก บิน ดาโตะก์ ฮาจี ฮุซเซน (Tun Haji Abdul Razak bin Dato' Haji Hussein) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของประเทศมาเลเซีย หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐปะหัง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดุล ราซัก ฮุซเซน · ดูเพิ่มเติม »

อับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์

อับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์ (عبدالله بن حمد العطية; ค.ศ. 1951 —) เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศกาตาร์และหัวหน้าศาลของเอมีร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดุลละห์ บิน ฮะมัด อัล อัตติยาห์ · ดูเพิ่มเติม »

อับดุลละฮ์ อะฮ์มัด บาดาวี

ตุน ดาโตะก์ ซรี ฮาจี อับดุลละฮ์ บิน ฮาจี อะฮ์มัด บาดาวี (Tun Dato' Sri Haji Abdullah bin Haji Ahmad Badawi; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482 -) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีประเทศมาเลเซีย รับตำแหน่งต่อจากมาฮาดีร์ บิน โมฮามัด เมื่อ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 เป็นผู้นำพรรคอัมโนคนที่ 6 และกลุ่มพรรคแนวร่วมแห่งชาติ Barison Nasional (BN) และชนะการเลือกตั้งเมื่อ 21 มีนาคม พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดุลละฮ์ อะฮ์มัด บาดาวี · ดูเพิ่มเติม »

อับดุลลาฮี ยูซุฟ อะห์เมด

อับดุลลาฮี ยูซุฟ อะห์เมด (Cabdullaahi Yuusuf Axmed, عبدالله يوسف أحمد; เกิด 15 ธันวาคม พ.ศ. 2477 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลีย เป็นนักในผู้ก่อตั้ง Somali Salvation Democratic Front เช่นเดียวกับพุนต์แลนด์รัฐของโซมาเลียGeorgetown University.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดุลลาฮี ยูซุฟ อะห์เมด · ดูเพิ่มเติม »

อับดุลลาฮี อิสซา

อับดุลลาฮี อิสซา โมฮามุด (Cabdullahi Ciise Maxamuud, عبد الله عيسى محمد (เกิด พ.ศ. 2464 - เสียชีวิต มีนาคม พ.ศ. 2531) เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโซมาเลียในช่วงดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลีย ตั้งแต่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499 ถึง 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2503.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดุลลาฮี อิสซา · ดูเพิ่มเติม »

อับดูร์ระห์มัน วาฮิด

อับดูร์ระห์มัน วาฮิด (7 กันยายน พ.ศ. 2483-30 ธันวาคม พ.ศ. 2552) เป็นอดีตประธานาธิบดีแห่งอินโดนีเซียระหว่างวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2542 ถึง 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 โดยดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีได้แม้ว่าไม่ได้สังกัดในพรรคการเมืองเสียงข้างมาก กล่าวคือ พรรค PKB ของเขาได้จำนวนที่นั่งในรัฐสภาอินโดนีเซียเพียง 51 ที่นั่ง น้อยกว่าพรรค PDI-P ของนางเมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี ที่ได้จำนวนที่นั่งถึง 153 ที่นั่ง แต่เขาสามารถต่อรองดึงเสียงสนับสนุนจากพรรคการเมืองอื่นๆ ทำให้นางเมกาวาตีต้องยอมรับตำแหน่งรองประธานาธิบดี ระหว่างการบริหารประเทศ วาฮิดได้รับการยอมรับจากสื่อมวลชนและกลุ่มการเมืองแนวศาสนา แต่เขามีปัญหาความขัดแย้งกับกองทัพเนื่องจากต้องการลดจำนวนผู้แทนในสภาที่มาจากโควตากองทัพ และเปลี่ยนแปลงโครงสร้างกองทัพให้มีส่วนร่วมกับการเมืองน้อยลง ตามแนวทางปฏิรูปการเมือง จึงทำให้ในช่วงหลังกองทัพไปให้การสนับสนุนรองประธานาธิบดีเมกาวาตีแทน เหตุผลที่ทำให้วาฮิดต้องลงจากตำแหน่ง เนื่องจากมีการดำเนินการโดยสภาที่ปรึกษาประชาชนเพื่อถอดถอนเขาออกจากตำแหน่ง ในเรื่องทุจริตยักยอกเงินที่พัวพันกับคนใกล้ชิดของเขาและเรื่องชู้สาวที่อื้อฉาวของเขาเอง จึงทำให้เขาถูกถอดถอนออกจากตำแหน่งในที่สุด หมวดหมู่:ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดชวาตะวันออก หมวดหมู่:มุสลิมชาวอินโดนีเซีย.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดูร์ระห์มัน วาฮิด · ดูเพิ่มเติม »

อับดี ฟาราห์ ชิรดูน

อับดี ฟาราห์ ชิรดูน (Cabdi Faarax Shirdoon; عبدي فارح شردون; พ.ศ. 2501 —) เป็นนักธุรกิจ นักเศรษฐศาสตร์ และนักการเมืองชาวโซมาเลีย เขาดำรงตำแหน่งนากยรัฐมนตรีของประเทศโซมาเลีย ระหว่างเดือนตุลาคมปี 2555 ถึงเดือนธันวาคมปี 2556 ชิรดูนมีความน่าเชื่อถือกับการที่มีการควบคุมดูแลการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญในการให้บริการทางสังคมและงบประมาณของชาติ เช่นเดียวกับการปรับปรุงการรักษาความปลอดภัยท้องถิ่น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดี ฟาราห์ ชิรดูน · ดูเพิ่มเติม »

อับดีเวลี โมฮัมเหม็ด อาลี

อับดีเวลี โมฮัมเหม็ด อาลี(Cabdiweli Maxamed Cali; عبدالولي محمد علي; 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2508 —) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม อับดีเวลี โมฮัมเหม็ด อาลี กาส เป็นนักเศรษฐศาสตร์ ศาสตราจาย์ และนักการเมืองชาวโซมาเลียเชื้อสายอเมริกัน เขาดำรงตำแหน่งนากยรัฐมนตรีของประเทศโซมาเลีย ระหว่างเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอับดีเวลี โมฮัมเหม็ด อาลี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสำหรับภาษาฟูลา

อักษรสำหรับภาษาฟูลา เดิมภาษานี้เขียนด้วยอักษรอาหรับที่เรียกอักษรอยามี ก่อนจะเปลี่ยนมาเขียนด้วยอักษรละติน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอักษรสำหรับภาษาฟูลา · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับ

อักษรอาหรับ เป็นอักษรที่มีความสำคัญในศาสนาอิสลาม เพราะคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยอักษรนี้ อักษรนี้จึงมีใช้แพร่หลายในกลุ่มผู้นับถือศาสนาอิสลาม แม้แต่ภาษานอกกลุ่มเซมิติก เช่น ภาษาเปอร์เซีย ภาษาอูรดู และภาษามลายูปัตตานี ตัวอักษรมีหลายแบบแต่รูปร่างของอักษรเหมือนกัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอักษรอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน

ปฏิทินปี 1896 ในเทสซาโลนีกี ในสามบรรทัดแรกเป็นภาษาตุรกีออตโตมัน เขียนด้วยอักษรอาหรับ อักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน (ภาษาตุรกีออตโตมัน: الفبا elifbâ) เป็นรูปแบบของ อักษรอาหรับ ที่เพิ่มอักษรบางตัวจาก อักษรเปอร์เซีย ใช้เขียนภาษาตุรกีออตโตมัน ในสมัยจักรวรรดิออตโตมัน และในช่วงแรกๆของสาธารณรัฐตุรกี จนถึง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอักษรอาหรับสำหรับภาษาตุรกีออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์

อักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์ (Arabic Afrikaans; Arabiese Afrikaans; اَرابيسي اَفريكانس) เป็นการนำอักษรอาหรับมาเขียนภาษาแอฟริคานส์ เริ่มเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอักษรอาหรับสำหรับภาษาแอฟริคานส์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรอเวสตะ

อักษรอเวสตะ (Avestan alphabet)ประดิษฐ์เมื่อราว..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอักษรอเวสตะ · ดูเพิ่มเติม »

อักขราทร จุฬารัตน

ตราจารย์พิเศษ อักขราทร จุฬารัตน เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2483 สมรสกับนางสมจิต จุฬารัตน เมื่อ พ.ศ. 2511 เคยดำรงตำแหน่งระดับสูงในการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา รวมทั้งดำรงตำแหน่งประธานศาลปกครองสูงสุดคนแรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอักขราทร จุฬารัตน · ดูเพิ่มเติม »

อัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์

อัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์ ชื่อเล่น ทับทิม เป็นนักแสดงชาวไทย สังกัด สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลกออิดะฮ์

อัลกออิดะฮ์ (القاعدة‎, al-Qā`ida "ฐาน") หรือ แอล-ไคดา (al-Qaeda) เป็นกลุ่มก่อการร้ายอิสลามสากล ก่อตั้งโดย อุซามะฮ์ บิน ลาดิน, อับดุลลาห์ อัซซัม (Abdullah Azzam) และนักรบอื่นอีกหลายคน บางช่วงระหว่างเดือนสิงหาคม 2531.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัลกออิดะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลกุรอาน

อัลกุรอาน บ้างเรียก โกหร่าน (الْقُرآن) เป็นคัมภีร์ในศาสนาอิสลาม ชาวมุสลิมเชื่อว่าเป็นพระวจนะของอัลลอฮ์ที่ประทานผ่านทางเทวทูตญิบรีล มาสู่นบีมุฮัมมัด คำว่า กุรอาน มาจากรากศัพท์ในภาษาอาหรับแปลว่า การอ่าน หรือ อาขยาน อัลลอฮ์ได้ประทานคัมภีร์อัลกรุอานแก่นบีมุฮัมมัดซึ่งชาวมุสลิมถือว่าเป็นศาสนทูตคนสุดท้าย และคัมภีร์นี้ก็เป็นคัมภีร์สุดท้ายที่อัลลอฮ์ได้ส่งมาให้แก่มวลมนุษยชาติ หลังจากนี้แล้วจะไม่มีคัมภีร์ใด ๆ จากพระเป็นเจ้าอีก คัมภีร์กรุอานนี้ได้ประทานมาเพื่อยกเลิกคัมภีร์เก่า ๆ ที่เคยได้ทรงประทานมาในอดีตนั่นคือคัมภีร์เตารอต ที่เคยทรงประทานมาแก่นบีมูซา คัมภีร์ซะบูร ที่เคยทรงประทานมาแก่นบีดาวูด (ดาวิด) และคัมภีร์อินญีลที่เคยทรงประทานมาแก่นบีอีซา (พระเยซู) เป็นคัมภีร์ที่บริบูรณ์ไม่มีการเพี้ยนเปลี่ยนแปลง ภาษาของคัมภีร์อัลกุรอานนั้นคือภาษาอาหรับ ที่ยังใช้อยู่ในปัจจุบัน การศรัทธาในคัมภีร์อัลกุรอานทั้งเล่มเป็นหลักการหนึ่งที่มุสลิมทุกคนต้องศรัทธา นั่นก็หมายความว่าหากไม่ศรัทธาในอัลกุรอาน หรือศรัทธาเพียงบางส่วนก็จะเป็นมุสลิมไม่ได้ เช่นเดียวกับที่ต้องศรัทธาว่าคัมภีร์อัลกุรอานนี้มีความบริบูรณ์ภายใต้การพิทักษ์ของพระผู้เป็นเจ้า ด้วยเหตุนี้จึง ตั้งแต่วันที่ท่านศาสดาเสียชีวิตจนกระทั่งถึงปัจจุบัน โดยมีความเหมือนกันในทุกฉบับบนโลก และภาษาอาหรับในคัมภีร์จึงเป็นภาษาโบราณภาษาเดียว ที่มีใช้อย่างคงเดิมอยู่จนกระทั่งวันนี้ได้ และได้กลายเป็นภาษามาตรฐานของประเทศอาหรับทั้งหลาย เป็นภาษาวิชาการของอิสลาม และเป็นภาษาที่ใช้ในการปฏิบัติศาสนพิธีของมุสลิมทุกคนทั่วโลก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัลกุรอาน · ดูเพิ่มเติม »

อัลกุรอานเลือด

"อุลกุรอานเลือด" เป็นสำเนาของคัมภีร์อัลกุรอานของศาสนาอิสลาม เขียนขึ้นจากเลือดของอดีตประธานาธิบดีอิรัก ซัดดัม ฮุสเซน ตลอดเวลามากกว่าสองปีในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1990 ซัดดัมมอบหมายให้เริ่มดำเนินงานใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัลกุรอานเลือด · ดูเพิ่มเติม »

อัลมะดีนะฮ์

อัลมะดีนะตุลมุเนาวะเราะฮ์ (المدينة المنورة) บ่อยครั้งเรียกว่า อัลมะดีนะฮ์ หรือเรียกว่า เมดีนา (Medina) เป็นนครที่สำคัญทางศาสนาอิสลามอันดับที่สองรองจากมักกะฮ์ ตั้งอยู่ในประเทศซาอุดีอาระเบีย เป็นนครของศาสนทูตมุฮัมมัด ซึ่งศพของท่านฝังอยู่ในมัสยิดนะบะวีหรือมัสยิดศาสนทูต มะดีนะฮ์ หมวดหมู่:เมืองศักดิ์สิทธิ์ หมวดหมู่:ศาสนสถานอิสลาม hu:Medina.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัลมะดีนะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลลอฮ์

นาอิสลามเรียกพระเป็นเจ้าว่า อัลลอฮ์ บ้างก็สะกดว่า อัลลอฮฺ, อัลลอหฺ หรือ อัลเลาะห์ ตรงกับภาษาอังกฤษ "God" เชื่อว่าทรงเป็นพระผู้สร้างมนุษย์ สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต และทุกสรรพสิ่งในจักรวาล พระองค์ทรงมีโดยไร้จุดเริ่มต้น และทรงมีอยู่นิรันดร์โดยไม่มีจุดจบ พระองค์แตกต่างกับทุกสรรพสิ่งอย่างสิ้นเชิง ทรงดำรงด้วยพระองค์เอง มิต้องทรงพึ่งพาสิ่งใด พระองค์เป็นพระผู้เป็นเจ้าเอกองค์เดียว ไม่มีพระผู้เป็นเจ้าอื่นใดอีกนอกเหนือจากพระองค์ ตามความเชื่อของอิสลาม อัลลอฮ์ทรงมีความสามารถในการบันดาลทุกสรรพสิ่ง ทรงรอบรู้โดยไม่จำกัดขอบเขต อัลลอฮ์เป็นพระปฐมนามแห่งพระองค์ พระองค์มีพระนามอันวิจิตรอื่น ๆ อีกมากถึง 99 พระนาม ซึ่งบ่าวของพระองค์สามารถใช้นามเหล่านั้นเรียกพระองค์ได้ พระองค์ทรงบริสุทธิ์ ไม่มีบุตร ไร้ภาคี ทรงอยู่นอกเหนือกาละและเทศะ เพราะทั้งสองสิ่งนั้น เป็นสิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง พระองค์ทรงกำหนดระบบและปัจจัยของทุกสรรพสิ่ง อีกทั้งยังได้กำหนดจุดเริ่มต้นและจุดจบของสรรพสิ่งที่พระองค์สร้างทั้งมวล อัลลอฮ์ คืออัตมันที่ทรงสิทธิในการได้รับการเคารพบูชาอย่างแท้จริง ไม่มีสิ่งใดอย่างเด็ดขาดที่ควรแก่การเคารพบูชานอกเหนือจากพระองค์ ชาวมุสลิมถือว่าอัลลอฮ์คือพระยาห์เวห์ในศาสนาคริสต์และศาสนายูดาห.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัลลอฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลคามีอา

อัลคามีอา เขียนโดยมันเซโบ เด อาเรบาโล ประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 16 (พุทธศตวรรษที่ 21)The passage is an invitation directed to the Spanish Moriscos or Crypto-Muslims so that they continue fulfilling the Islamic prescriptions in spite of the legal prohibitions and so that they disguise and they are protected showing public adhesion the Christian faith. เอกสารตัวเขียนของ ''Poema de Yuçuf'' ซึ่งเป็นบทกวีภาษาอารากอนที่เขียนด้วยอักษรอาหรับ อัลคามีอา (aljamía) หรือ อะญะมียะฮ์ (عَجَمِيَة, ʿajamiyah) เป็นเอกสารตัวเขียนที่ใช้อักษรอาหรับในการเขียนภาษากลุ่มโรมานซ์ เช่น ภาษาโมแซรับ ภาษาโปรตุเกส ภาษาสเปน ภาษาอารากอน หรือภาษาลาดิโน คำว่าอัลคามีอาเพี้ยนมาจากคำในภาษาอาหรับว่า ʿajamiyah ซึ่งในที่นี้หมายถึงภาษาต่างชาติ และโดยทั่วไปใช้เรียกกลุ่มชนที่ไม่มีบรรพบุรุษเป็นชาวอาหรับ ส่วนในทางภาษาศาสตร์ อัลคามีอาคือการนำอักษรอาหรับไปเขียนภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวันในบางพื้นที่ของอัลอันดะลุส ส่วนภาษาอาหรับเป็นภาษาที่ใช้ในทางวิทยาศาสตร์ วัฒนธรรมชั้นสูง และศาสนา ระบบการเขียนกลุ่มภาษาโรมานซ์ด้วยอักษรอาหรับพัฒนาขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 15 (พุทธศตวรรษที่ 20) และพบมากในศตวรรษต่อมา ต่อมา ชาวโมริสโกได้เลิกใช้ภาษาอาหรับเป็นภาษาทางศาสนา และใช้ภาษาสเปนแทน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัลคามีอา · ดูเพิ่มเติม »

อัลเลลูยา

อัลเลลูยา (คาทอลิก) อาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) หรือ ฮาเลลูยา (โปรเตสแตนต์) มาจาก Alleluia ในภาษากรีกและภาษาละติน ซึ่งเป็นคำทับศัพท์มาจาก הַלְּלוּיָהּ ในภาษาฮีบรู มีความหมายว่า สรรเสริญ (הַלְּלוּ) พระยาห์เวห์ (יָהּ) ตรงกับภาษาละตินว่า "Alleluia" อัลเลลูยาเป็นวลีที่ใช้สรรเสริญพระเจ้าในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ ใกล้เคียงกับคำว่า อัลฮัมดุลิลลาฮ์ (الحمد لله) ที่ใช้ในศาสนาอิสลาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัลเลลูยา · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฆาะซาลี

อะบู ฮามิด มุฮัมมัด อิบน์ มุฮัมมัด อัลเฆาะซาลี (ابو حامد محمد ابن محمد الغزالي Abū Ḥāmid Muḥammad ibn Muḥammad al-Ghazālī) เป็นนักเทววิทยาศาสนาอิสลาม นักนิติศาสตร์ นักปรัชญา และรหัสยิก ชาวเปอร์เซียLudwig W. Adamec (2009), Historical Dictionary of Islam, p.109.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัลเฆาะซาลี · ดูเพิ่มเติม »

อัศวินฮอสปิทัลเลอร์

ณะอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ (Knights Hospitaller) หรือคณะฮอสปิทัลเลอร์ (Order of Hospitallers) เป็นคณะบุรุษที่ทำงานที่โรงพยาบาลอมาลฟิที่ตั้งขึ้นในเยรูซาเลมในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัศวินฮอสปิทัลเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัคระ

อัคระ (आगरा Āgrā, آگرہ, Agra) อดีตเมืองหลวงของอินเดียในสมัยที่ยังเรียกว่า "ฮินดูสถาน" (Hindustan) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำยมนา (Yomuna) ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย ในรัฐอุตตรประเทศ ตั้งอยู่ห่างจากเมืองลัคเนา (Lucknow) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐอุตตรประเทศไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง และ ทางทิศใต้ของกรุงนิวเดลี เมืองอัคระมีประชากรทั้งหมด 1,686,976 คน (ปีค.ศ. 2010) ถือเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในรัฐอุตตรประเทศ และอันดับที่ 19 ในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัคระ · ดูเพิ่มเติม »

อัครทูตสวรรค์

อัครทูตสวรรค์ทั้งสามในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก อัครทูตสวรรค์ (Archangel) ในนิกายโรมันคาทอลิก หรือ หัวหน้าทูตสวรรค์ ในนิกายโปรเตสแตนต์ หมายถึงทูตสวรรค์ระดับสูง มีที่มาจากคำในภาษากรีก αρχάγγελος (arch- + angel) พบในความเชื่อของหลายศาสนาทั้งศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม ในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ส่วนมากถือเหมือนกันว่า อัครทูตสวรรค์ประกอบด้วย มีคาเอล และ กาเบรียล ส่วนหนังสือโทบิตได้นับรวม ราฟาเอล เป็นอัครทูตสวรรค์ด้วย แต่หนังสือเล่มนี้เป็นที่ยอมรับเข้าในสารบบคัมภีร์ไบเบิลเฉพาะในคริสตจักรโรมันคาทอลิกและออร์ทอดอกซ์เท่านั้น ส่วนคริสตจักรในนิกายโปรเตสแตนต์ไม่ยอมรับ ชาวโรมันคาทอลิกนิยมฉลองอัครทูตสวรรค์ทั้งมีคาเอล, กาเบรียล และราฟาเอล ในวันที่ 29 กันยายน (ในอดีตวันฉลองทูตสวรรค์กาเบรียลเป็นวันที่ 24 มีนาคม และฉลองทูตสวรรค์ราฟาเอลในวันที่ 24 ตุลาคม) อัครทูตสวรรค์ที่เป็นที่รู้จักในศาสนาอิสลาม คือ กาเบรียล, มีคาเอล, ราฟาเอล และอิสรออีล ส่วนจารีตอื่น ๆ ถือว่าอัครทูตสวรรค์มี 7 องค์ โดยนามจะแตกต่างกันไปตามแหล่งที่ม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัครทูตสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อัครทูตสวรรค์มีคาเอล

อัครทูตสวรรค์มีคาเอลพระคัมภีร์คาทอลิก ฉบับสมบูรณ์, หน้า 2428 (Αρχάγγελος Μιχαήλ) หรือ มีคาเอลหัวหน้าทูตสวรรค์ (Michael the archangel) เป็นอัครทูตสวรรค์องค์หนึ่งตามความเชื่อในศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม เชื่อกันว่าท่านเป็นผู้บัญชาการกองทัพของพระเป็นเจ้า ในหนังสือดาเนียล จดหมายของนักบุญยูดา และหนังสือวิวรณ์กล่าวว่าท่านเป็นผู้นำกองทัพพระเจ้าต่อสู้กับทัพของซาตานตอนที่ซาตานก่อกบฏ หนังสือดาเนียลระบุว่ามีคาเอลเป็นเจ้าผู้พิทักษ์ชั้นหัวหน้า ซึ่งปรากฏในนิมิตของดาเนียลผู้เผยพระวจนะว่าได้เข้าไปช่วยกาเบรียลต่อสู้กับทูตสวรรค์ผู้พิทักษ์จักรวรรดิเปอร์เซียที่มีนามว่าโดเบียล นอกจากนี้คัมภีร์ยังระบุว่าท่านเป็นองค์อุปถัมภ์วงศ์วานอิสราเอลและเจ้าผู้พิทักษ์ชั้นหัวหน้าผู้ปกป้องลูกหลานประชาชนของดาเนียล ในภาษาฮีบรู คำว่า มีคาเอล (Michael) แปลว่า "ผู้เหมือนพระเจ้า" (mi ผู้ใด, ke คือ/เป็น, El-พระเจ้า) ซึ่งมาจากสำนวนคำถามในคัมภีร์ทาลมุดที่ว่า “ผู้ใดจะเหมือนพระเจ้า?” (ตัวคำถามสื่อคำตอบในทางปฏิเสธว่าไม่มี) เพื่อที่จะบอกว่าไม่มีผู้ใดเสมอเหมือนพระเจ้า มีคาเอลจึงถือเป็นสัญลักษณ์ของความถ่อมตนต่อพระเจ้า ชาวโรมันคาทอลิก แองกลิคัน และลูเทอแรน เรียกท่านว่า”นักบุญมีคาเอลอัครทูตสวรรค์” หรือเรียกง่าย ๆ ว่านักบุญมีคาเอล ชาวออร์ทอดอกซ์เรียกท่านว่า “ทักสิอาร์คอัครทูตสวรรค์มีคาเอล” หรืออัครทูตสวรรค์มีคาเอล กลุ่มพยานพระยะโฮวา เซเวนเดย์แอดเวนทิสต์ และนิกายใหม่ ๆ บางนิกายในคริสต์ศาสนามองว่ามีคาเอลคือ “พระคริสต์มีคาเอล” ซึ่งหมายถึงพระคริสต์ในสภาพก่อนที่จะมาเกิดเป็นมนุษย์ ศาสนจักรของพระเยซูคริสต์แห่งวิสุทธิชนยุคสุดท้ายสอนว่ามีคาเอลที่จริงก็คืออาดัมตามหนังสือปฐมกาลนั่นเองที่ไปเกิดบนสวรรค์ และว่ามีคาเอลคือผู้ช่วยพระเยโฮวาห์ (ซึ่งอ้างว่าคือพระเยซูตอนอยู่บนสวรรค์) สร้างโลกตามการชี้นำของพระเจ้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัครทูตสวรรค์มีคาเอล · ดูเพิ่มเติม »

อัครทูตสวรรค์ราฟาเอล

ราฟาเอล หรืออิสรอฟีล (רָפָאֵל, Rāfāʾēl, "พระเจ้าเป็นผู้ทรงรักษา" "พระเจ้าทรงรักษา" "พระเจ้าได้โปรดรักษา", اسرافيل‎, Isrāfīl) เป็นอัครทูตสวรรค์ตามความเชื่อในศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม เชื่อกันว่าเป็นผู้ทำหน้าที่รักษาโร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัครทูตสวรรค์ราฟาเอล · ดูเพิ่มเติม »

อังคณา นีละไพจิตร

อังคณา นีละไพจิตร (สกุลเดิม: วงศ์ราเชนทร์; 23 มีนาคม พ.ศ. 2499) กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประธานกรรมการในคณะอนุกรรมการด้านสิทธิสตรีกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติรองประธานในคณะอนุกรรมการด้านสิทธิมนุษยชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ นักเคลื่อนไหวสตรี ภรรยาของนายสมชาย นีละไพจิตร ปัจจุบันเป็นประธานคณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ ติดตามความคืบหน้าของคดีการหายตัวไปของนายสมชาย นีละไพจิตร ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 อังคณาเกิดที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาจากโรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้พบกับสมชาย นีละไพจิตร ขณะเป็นนายกสมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (ยมท.) และสมรสกัน มีบุตรด้วยกัน 5 คน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอังคณา นีละไพจิตร · ดูเพิ่มเติม »

อัตตา

อัตตา (อตฺตา; อาตฺมนฺ) แปลว่า ตัวตน ร่างกาย รูปลักษณะ ตัวเอง หรือวิญญาณ ตามทฤษฎีของผู้นับถือลัทธิว่าชีวิตเกิดขึ้นด้วยวิญญาณหรืออาตมัน ซึ่งชาวอินเดียทางภาคเหนือได้ยึดถือเช่นนั้น ในคัมภีร์อุปนิษัทอธิบายไว้ว่า อัตตาเป็นตัวตนเล็ก ๆ รูปร่างเหมือนคน อาศัยอยู่ในหัวใจเวลาปกติ และหนีออกจากร่างกายไปในเวลานอนหลับ หรือในเวลาสงบแน่นิ่ง เมื่ออัตตานั้นกลับมาสู่ร่างเหมือนเดิม ชีวิตและการเคลื่อนไหวจึงเกิดขึ้นเป็นไปตามเดิม ในเวลาตายอัตตาก็จะหนีออกจากร่าง ไปใช้ชีวิตในอมตะของตนเองวนเวียนไปอย่างนีโดยไม่มีสิ้นสุด (นัยพจนา. บาลี-อังกฤษ ของสมาคมบาลีปกรณ์) ในศาสนาพุทธ พระพุทธเจ้าเรียกความเชื่อเรื่องอัตตาว่าสัสสตทิฐิ ถือเป็นมิจฉาทิฐิอย่างหนึ่ง และเรียกว่าอัตตวาทุปาทาน ซึ่งถือเป็นความยึดมั่นถือมั่นประการหนึ่ง อัตตาในคำไทยทั่วไปใช้ในรูป อัตต, อัต เช่น อัตตาธิปไตย อัตชีวประวัติ อัตภาพ อัตโนมัต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัตตา · ดูเพิ่มเติม »

อัซรีนัซ มัซฮาร์

อัซรีนัซ บินติ ฮากิม มัซฮาร์ (หรือ อดีตเจ้าหญิงอัซรีนัซ มัซฮาร์ พระชายาฯ, เกิด 23 กันยายน ค.ศ. 1979) ผู้ประกาศข่าวชาวมาเลเซีย และอดีตพระชายาคนที่สามของสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์แห่งบรูไน ภายหลังจากการหย่า เธอได้ถูกถอดพระอิสริยยศทั้งหม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอัซรีนัซ มัซฮาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อันวัร อัสซาดาต

มุฮัมมัด อันวัร อัสซาดาต (محمد أنور السادات; Muhammad Anwar al-Sadat; 25 ธันวาคม พ.ศ. 2461 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2524) นักการทหาร นักการเมืองและประธานาธิบดีแห่งอียิปต์ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2513 - 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอันวัร อัสซาดาต · ดูเพิ่มเติม »

อันทาเคีย

อันทาเคีย เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ในประเทศตุรกี เดิมชื่อ อันติออค ซึ่งเป็นชื่อที่ยืมมาจากภาษาอาหรับ อันฏอกียะหฺ ซึ่งมาจากคำว่า Ἀντιόχεια อันติออเคีย ในภาษากรีก หรือ Antiochia ในภาษาละติน ก่อตั้งโดย Seleucus I ซึ่งเป็นอดีตทหารของอเล็กซานเดอร์มหาราช ในปี 300 ก่อนคริสตกาล ต่อมาในช่วงปี 261-281 ก่อนคริสตกาล อันติออคุส ลูกครึ่งกรีกเปอร์เซียขึ้นปกครองเป็นจักรพรรดิ์ครองเมืองนี้ ตั้งแต่นั้นมาก็มีจักรพรรดิใช้ชื่อนี้หลายคน เมืองนี้จึงเป็นที่รู้จักกันในนามอันติออคสืบมา ประชาชนที่อาศัยในเมืองนี้เป็นชาวกรีก ในปี 40-39 ก่อนคริสตกาล อันติออคถูกชาวพารเธีย (เปอร์เซียโบราณ) เข้ายึดครอง และต่อมาก็ตกภายใต้อาณาจักรโรมัน ประวัติศาสตร์ระบุว่า สาส์นของนบีอีซา (เยซู) เริ่มมาถึงอันติออคในปี 34 หรือ 36 แล้วในปี 37 ก็เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง จนจักรพรรดิ์คาลิกุลา (Caligula) แห่งโรม ซึ่งขึ้นปกครองในวันที่ 18 มีนาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอันทาเคีย · ดูเพิ่มเติม »

อาการกลัวอิสลาม

อาการกลัวอิสลาม (Islamophobia) เป็นความเกลียดกลัวอย่างรุนแรง หรือความเดียดฉันท์ต่อศาสนาอิสลามหรือมุสลิม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมองว่าเป็นกำลังภูมิรัฐศาสตร์หรือบ่อเกิดของการก่อการร้าย คำนี้เป็นคำสร้างใหม่ในคริสต์ทศวรรษ 1970 และโดดเด่นขึ้นระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1980 และ 1990 และมีความโดดเด่นในนโยบายสาธารณะด้วยรายงานโดยคณะกรรมการพิพิธภัณฑ์และอาการกลัวอิสลามบริติชของรันนีมีดทรัสต์ ชื่อ อาการกลัวอิสลาม: ความท้าทายสำหรับเราทุกคน (ปี 1997) สาเหตุและลักษณะของอาการกลัวอิสลามยังมีการโต้เถียงกัน นักวิจารณ์บางคนระบุว่าอาการกลัวอิสลามเพิ่มขึ้นจากเหตุวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 บ้างว่ามาจากการก่อการร้ายหลายครั้งในทวีปยุโรปและสหรัฐ บ้างสัมพันธ์กับการมีมุสลิมในสหรัฐและสหภาพยุโรปมากขึ้น บ้างยังสงสัยความถูกต้องของคำนี้ นักวิชาการ S. Sayyid และ Abdoolkarim Vakil ยืนยันว่าอาการกลัวอิสลามเป็นการตอบสนองต่อการถือกำเนิดของอัตลักษณ์สาธารณะของมุสลิมที่แตกต่าง และการมีมุสลิมไม่ใช่ตัวบ่งชี้ระดับของอาการกลัวอิสลามในสังคม โดยว่าสังคมที่แทบไม่มีมุสลิมเลยแต่มีอาการกลัวอิสลามแบบสถาบันหลายแบบอยู.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาการกลัวอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

อากุส ซาลิม

ซูการ์โนและอากุส ซาลิม พ.ศ. 2492 หะยีอากุส ซาลิมในการลงนามข้อตกลงมิตรภาพกับอียิปต์ พ.ศ. 2490 ฮัจญี อากุส ซาลิม (Haji Agus Salim) เป็นนักการเมืองชาวอินโดนีเซียในสมัยที่เรียกร้องเอกราชจากเนเธอร์แลนด์ เป็นผู้นำพรรคซาเรกัตอิสลาม และเป็นผู้ร่วมร่างกฎบัตรจาการ์ต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอากุส ซาลิม · ดูเพิ่มเติม »

อามีร์ ข่าน

อามีร์ ข่าน (आमिर ख़ान, عامر خان) เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอามีร์ ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

อามีร์ ซารีฟุดดิน

อามีร์ ซารีฟุดดิน (Amir Sjarifuddin) เป็นนักชาตินิยมอินโดนีเซียผู้ก่อตั้งพรรคสังคมนิยมอินโดนีเซีย และเป็นนายกรัฐมนตรีระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอามีร์ ซารีฟุดดิน · ดูเพิ่มเติม »

อารยสมาช

การประชุมของอารยสมาชจาก R. V. Russell's 1916 "The Tribes and Castes of the Central Provinces of India--Volume I". อารยสมาช (Arya Samaj; ภาษาสันสกฤต: आर्य समाज,; ภาษาปัญจาบ: ਆਰਯ ਸਮਾਜ) หรือ สมาคมของชาวอารยัน เป็นสมาคมของผู้นับถือศาสนาฮินดูโดยสวามีทยานันทะ สรัสวตีเป็นผู้ก่อตั้งที่บอมเบย์เมื่อ 10 เมษายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอารยสมาช · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ วีระพันธุ์

นายอารีย์ วีระพันธุ์ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 2 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอารีย์ วีระพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อารีย์ วงศ์อารยะ

อารีย์ วงศ์อารยะ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสตูล สระบุรี ปราจีนบุรี สุพรรณบุรี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอารีย์ วงศ์อารยะ · ดูเพิ่มเติม »

อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์

นายกองตรี อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบสัดส่วน กลุ่ม 8 สังกัดพรรคมาตุภูมิ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และอดีตรองหัวหน้าพรรคมาตุภูม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ท แบลคคี

อาร์เทอร์ แบลคคี (11 ตุลาคม ค.ศ. 1919 - 16 ตุลาคม ค.ศ. 1990) มือกลอง และหัวหน้าวงดนตรีแจ๊สชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงในฐานะนักดนตรีบีบ็อพสมัยใหม่ ที่พัฒนาแนวการเล่นจังหวะกลองไปเป็นฮาร์ดบ็อพ และมีอิทธิพลต่อวงการแจ๊สสายหลัก แบลคคีเป็นหัวหน้าวงดนตรีแปดคน "เดอะ แจ๊ส เมสเซนเจอร์" ต่อเนื่องนานกว่า 30 ปี และผลักดันให้สมาชิกวงรุ่นหลังหลายคนมีชื่อเสียงในแนวหน้าในแวดวงดนตรีแจ๊ส เช่น คีท จาร์เรต วินตัน มาร์แชลลิส ในวัย 30 ปี แบลคคีใช้เวลาหลายปีเดินทางในทวีปอาฟริกาเพื่อศึกษาวิถีชีวิตแบบมุสลิม เขาได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม และเปลี่ยนชื่อเป็น "อับดุลละห์ บิน บูฮานา" อาร์เทอร์ แบลคคี เสียชีวิตเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม ค.ศ. 1990 ที่มหานครนิวยอร์ก ด้วยโรคมะเร็งปอด ด้วยวัย 90 ปี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาร์ท แบลคคี · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ตีกา ซารี เดวี

อาร์ตีกา ซารี เดวี (Artika Sari Devi, 29 กันยายน พ.ศ. 2522 —) เป็น นักแสดง นางแบบ ชาวอินโดนีเซีย รู้จักในสถานะ ปูตรี อินโดนิเซีย 2547 และ หนึ่งในผู้เข้ารอบนางงามจักรวาล 2005 15 คนสุดท้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาร์ตีกา ซารี เดวี · ดูเพิ่มเติม »

อาลี มาห์ดิ มูฮัมหมัด

อาลี มาห์ดิ มูฮัมหมัด (Cali Mahdi Maxamed, علي مهدي محمد); เก..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาลี มาห์ดิ มูฮัมหมัด · ดูเพิ่มเติม »

อาลี คาลิฟ กาลาอิดห์

ตราจารย์ อาลี คาลิฟ กาลาอิดห์ (Cali Khaliif Galayr, Ali Khalif Galaid, علي خليف غلير) (เกิด พ.ศ. 2484) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม อาลี คาลิฟ กาลาอิร เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโซมาเลียตั้งแต่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาลี คาลิฟ กาลาอิดห์ · ดูเพิ่มเติม »

อาลี โมฮัมเหม็ด เกดี

อาลี โมฮัมเหม็ด เกดี (Cali Maxamed Geedi, علي محمد جيدي) (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2495) เป็นนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่านแห่งโซมาเลียตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาลี โมฮัมเหม็ด เกดี · ดูเพิ่มเติม »

อาลีมิน ปราวีโรดีร์โย

อาลีมิน ปราวีโรดีร์โย (Alimin bin Prawirodirdjo) เป็นนักชาตินิยมชาวอินโดนีเซีย และเป็นสมาชิกระดับสูงของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย และเป็นผู้ที่ร่วมวางแผนการก่อกบฏของพรรคคอมมิวนิสต์ระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาลีมิน ปราวีโรดีร์โย · ดูเพิ่มเติม »

อาลียา อีเซตเบกอวิช

อาลียา อีเซตเบกอวิช (บอสเนีย: Alija Izetbegović; 8 สิงหาคม พ.ศ. 2463 – 19 ตุลาคม พ.ศ. 2546) เป็นประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และเป็นประธานาธิบดีบอสเนียในช่วงการฆ่าล้างเผ่าพันธ์ชาวมุสลิมของชาวคริสต์ในเซิร์บสกา อาลียาจึงต้องรับภาระในการต่อสู้กับสาธารณรัฐเซิร์บสกา (1992-1995) อาลียา อีเซตเบกอวิช นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี เสียชีวิตในวันที่ 15 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาลียา อีเซตเบกอวิช · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับ

กลุ่มประเทศอาหรับ อาหรับ (عربي, ʿarabi พหูพจน์ العرب al-ʿarab, Arab) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณคาบสมุทรอาหรับที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และแอฟริกาเหนือ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คำว่าอาหรับในตระกูลภาษาเซมิติกแปลว่าทะเลทรายหรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับชาวยิว จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่มุฮัมมัดจะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมูชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำญิฮาดหรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น ปัจจุบันประเทศที่จัดว่าเป็นประเทศอาหรับเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ ในปัจจุบันมีสมาชิก 21 ประเทศ ได้แก่ แอลจีเรีย จิบูตี บาห์เรน อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย มอริตาเนีย โมร็อกโก โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย โซมาเลีย ซูดาน ซีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ เยเมน ในปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในหมู่ชาวอาหรับอยู่ เช่น ปัญหาปาเลสไตน์ ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ในเลบานอน ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่และชีอะห์ เป็นต้น ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่เก่ากว่าวัฒนธรรมอาหรับที่เริ่มเผยแพร่ในตะวันออกกลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่ออาหรับคริสเตียนเช่นกาสนาวิยะห์ ลักห์มิยะห์ และ Banu Judham เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทะเลทรายซีเรียและในบริเวณลว้าน ภาษาอาหรับเพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของศาสนาอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของอัลกุรอาน และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับการขยายดินแดนของอิสลาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับ (แก้ความกำกวม)

กลุ่มประเทศอาหรับ อาหรับ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาหรับ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

อาหารบรูไน

อัมบูยัต อาหารประจำชาติของบรูไน อาหารบรูไน (Masakan Brunei) มีลักษณะคล้ายกับอาหารของประเทศเพื่อนบ้านได้แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย นอกจากนั้นยังได้รับอิทธิพลเพิ่มเติมจากอินเดีย จีน ไทย และญี่ปุ่น ปลาและข้าวเป็นอาหารหลัก เนื้อวัวรับประทานน้อยเพราะมีราคาแพง เนื่องจากอิทธิพลของศาสนาอิสลาม อาหารที่รับประทานจึงเป็นอาหารฮาลาล หลีกเลี่ยงเนื้อหมู และห้ามดื่มแอลกอฮอล์ในบรูไน อาหารบรูไนมักจะมีรสเผ็ดและปกติกินกับข้าวหรือก๋วยเตี๋ยว อาหารที่เป็นที่นิยมได้แก่ เรินดังเนื้อ นาซีเลอมะก์ และปูเตอรีนานัซ ของหวานที่นิยมในประเทศบรูไนคืออัมบูยัต ทำจากสาคูห่อด้วยไม้ไผ่และจิ้มซอสผลไม้รสเปรี้ยว เครื่องดื่มทั่วไป ได้แก่ น้ำผลไม้ ชาและกาแฟ อาหารจากจีนและอินเดียมีอยู่ในบรูไนมากเช่นกัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาหารบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

อาหารอินโดนีเซีย

ตัวอย่างของอาหารซุนดาหนึ่งมื้อ; ''อีกันบาการ์'' (ปลาย่าง), ''นาซีติมเบ็ล'' (ข้าวห่อใบตอง), ''อายัมโกเร็ง'' (ไก่ทอด), ''ซัมบัล'', ''เต็มเปทอด'' และเต้าหู้, และ ''ซายูร์อาเซ็ม''; ชามใส่น้ำและมะนาวคือโกโบกันใช้ล้างมือ สะเต๊ะในอินโดนีเซีย อาหารอินโดนีเซีย (Masakan Indonesia) เป็นอาหารทีมีความหลากหลายทางด้านรูปลักษณ์และสีสันเพราะประกอบด้วยประชากรจากเกาะต่าง ๆ ที่มีคนอยู่อาศัยประมาณ 6,000 เกาะจากทั้งหมด 18,000 เก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาหารอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อาหารตะวันออกกลาง

''Ash-e anār'' ซุปแบบอิหร่าน ''Kabsa'' ของซาอุดีอาระเบีย อาหารตะวันออกกลาง เป็นอาหารที่ได้รับอิทธิพลจากแหล่งอารยธรรมใหญ่สามแหล่งคือเปอร์เซีย, อาหรับ และออตโตมาน เมื่อศาสนาอิสลามแพร่กระจายไปทำให้วัฒนธรรมการปรุงอาหารของตะวันออกกลางแพร่กระจายไปสู่อินเดีย มลายู - ชวา รวมทั้งประเทศไทย ลักษณะเด่นของอาหารตะวันออกกลางได้แก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาหารตะวันออกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

อาห์เมด โมฮัมเหม็ด โมฮามุด

อาห์เมด โมฮัมเหม็ด โมฮามุด (Axmed Maxamed Maxamuud Siilaanyo, احمد محمد محمود سيلانيو) เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลีย เขาเป็นสมาชิกรัฐบาลมาอย่างยาวนาน เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของประเทศโซมาเลีย และตำแหน่งอื่นๆ ในคณะรัฐมนตรีในช่วงช่วงทศวรรษที่ 1980 นอกจากนี้เขายังทำหน้าที่เป็นประธานการเคลื่อนไหวแห่งชาติโซมาเลีย โมฮามุดเป็นประธานาธิบดีโซมาลีแลนด์คนปัจจุบัน สาธารณรัฐปกครองตนเอง ซึ่งได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติว่าเป็นเขตปกครองตนเองของประเทศโซมาเลีย เป็นตัวแทนผู้สมัครฝ่ายค้าน เขาได้รับการเลือกตั้งในการเลือกตั้งประธานาธิบดีโซมาลีแลนด์ ค.ศ. 2010.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาห์เมด โมฮัมเหม็ด โมฮามุด · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอาหม

อาณาจักรอาหม (আহোম ৰাজ্য; อาโหมะ ราชยะ; Ahom Kingdom) บ้างเรียก อาณาจักรอัสสัม (Kingdom of Assam) มีชื่อในภาษาอาหมว่า เมืองถ้วนสวนคำจิตร ภูมิศัก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาณาจักรอาหม · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรจามปา

นสถานศิลปะจามปา อาณาจักรจามปา เป็นอาณาจักรโบราณตั้งเมื่อพุทธศตวรรษที่ 7 อยู่ทางใต้ของจีน อยู่ทางตะวันออกของฟูนัน ปัจจุบันคือบริเวณเมืองเว้, ตามกี่, ฟานซาง-ท้าปจ่าม และญาจาง เนื่องจากสมัยก่อนพื้นที่นี้เป็นเขตทุรกันดาร จีนจึงไม่สามารถครอบครองพื้นที่นี้ได้ ชนชาติจามสืบเชื้อสายจากชาว มาลาโยโพลินีเชียน พวกจามเป็นชาวทะเลมีความสามารถทางการเดินเรือ ต่อมาราว..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาณาจักรจามปา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรปัตตานี

อาณาจักรปัตตานี (كراجأن ڤتاني; Kerajaan Patani) ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส (เมืองสะโตย) (เมืองสตูล) และสงขลาบางส่วนในปัจจุบัน อาณาจักรปัตตานีถือกำเนิดขึ้นก่อนอาณาจักรสยาม 500 ปี เริ่มจากเป็นเผ่าเล็ก ๆ รวมตัวกัน มีประชากรอาศัย 200-250 คน มีชื่อว่า ปีสัง โดยแต่ละปีจะมีตูวอลา (หัวหน้าเผ่าในสมัยนั้น) มาปกครอง และจะสลับทุก ๆ 1 ปี ต่อมามีชนกลุ่มใหญ่เข้ามามีบทบาทในแถบนี้มากขึ้น จนในที่สุด ก็ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรลังกาสุกะ และเปลี่ยนจากชื่อ ปีสัง มาเป็น บาลูกา ซึ่งมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 9 หลังจากนั้นราว 100 ปี ลูกชายกษัตย์ลังกาสุกะได้เดินทางมาถึงที่นี้และรู้สึกประทับใจ เลยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น ปาตาอีนิง แล้วก่อตั้งเป็นรัฐใหม่ ชื่อ รัฐปาตาอีนิง จนมีพ่อค้ามากมายเข้ามาติดต่อค้าขายทั้งจีน อาหรับ แต่ชาวอาหรับเรียกที่นี้ว่า ฟาตอนี เลยมีคนเรียกดินแดนแห่งนี้แตกต่างกันออกไป เดิมอาณาจักรปัตตานีนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน แต่ในราวพุทธศตวรรษที่ 21 ได้เริ่มเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม โดยบางช่วงอาณาจักรแผ่ขยายครอบคลุมถึงรัฐกลันตันและรัฐตรังกานู ตอนกลางของประเทศมาเลเซียอ้างอิงจาก"สี่กษัตริยาปตานี: บัลลังก์เลือด และตำนานรักเพื่อแผ่นดิน" ศิลปวัฒนธรรม ฉบับวันที่ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาณาจักรปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

อานินดียา กูซูมา ปุตรี

อานินดียา กูซูมา ปุตรี (Anindya Kusuma Putri; เกิดเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 ในเมืองเซอมารัง จังหวัดชวากลาง) เป็นชาวอินโดนีเซีย และเป็นเจ้าของตำแหน่งปูเตอรีอินโดเนเซีย 2015 เธอได้รับการสวมมงกุฎจาก เปาลีนา เบกา นางงามจักรวาล 2014 และ เอ็ลวีรา เดวีนามีรา ปูเตอรีอินโดเนเซีย 2014 อานินดียา จะไปเป็นตัวแทนของในการประกวด นางงามจักรวาล 2015.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอานินดียา กูซูมา ปุตรี · ดูเพิ่มเติม »

อาโรน

อาโรน (ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ ฮารูน (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Aaron; אַהֲרֹן Ahărōn; هارون Hārūn) เป็นพี่ชายของโมเสส และเป็นผู้เผยพระวจนะของพระยาห์เวห์ ได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นปุโรหิตประจำเผ่าเลวี และเป็นมหาปุโรหิตองค์แรกของวงศ์วานอิสราเอล เมื่อโมเสสยังศึกษาอยู่ในราชสำนักอียิปต์จนกระทั่งลี้ภัยไปอยู่มีเดียน อาโรนกับมีเรียมพี่สาวยังอาศัยอยู่กับญาติที่ภาคตะวันออกของอียิปต์และเริ่มมีชื่อเสียงมากจากการใช้วาทศิลป์ เมื่อคราวที่โมเสสขอให้ฟาโรห์ปล่อยตัวชาวอิสราเอลจากการเป็นเชลย อาโรนก็ได้ทำหน้าที่เป็นนบี (โฆษก) ให้กับพี่ชายของตนเมื่อต้องพูดกับชาวอิสราเอลและเจรจากับฟาโรห์ ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดนักว่าอาโรนมีชีวิตอยู่เมื่อใด แต่คาดว่าราว 1600 ถึง 1200 ก่อนคริสต์ศักร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาโรน · ดูเพิ่มเติม »

อาเมน

"อาเมน" ในอักษรซีรีแอก "อามีน" ในภาษาอาหรับ อาเมน (ศัพท์ยิว/ศัพท์โปรเตสแตนต์) หรือ เอเมน (ศัพท์คาทอลิก) หรือ อามีน (ศัพท์มุสลิม) (Amen /ɑːˈmɛn/ หรือ /eɪˈmɛn/; אָמֵן /ɑːˈmɛn/; ἀμήν; آمين ah-meen) เป็นคำประกาศยืนยัน ที่พบในคัมภีร์ฮีบรูและคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาใหม่ ของศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์ โดยมีความหมายว่า "ขอพระเจ้าทรงกระทำให้เป็นดังนั้น" ในศาสนายูดาห์ ใช้ในการกล่าวตอบกลับเมื่อจบคำอธิษฐาน ว่า อาเมน และในศาสนาคริสต์ ได้นำคำว่า อาเมน ไปใช้ในการนมัสการพระเจ้าด้วย ในศาสนาอิสลาม มีการใช้คำว่า อามีน ในการจบคำละหมาด ซึ่งเป็นมาตรฐานของมุสลิมทั่วโลก คำว่าอามีนยังมีความหมายอีกว่า "แท้จริง" (Verily) และ "อย่างแท้จริง" (Truly) นอกจากนี้ยังสามารถนำมาใช้เรียกขานที่แสดงถึงข้อตกลงที่เข้มแข็ง เช่น "อามีนสำหรั..." เป็นต้น คำว่า อาเมน ปรากฏหลักฐานที่ค้นพบครั้งแรกว่ามีการใช้ในหนังสือกันดารวิถี ซึ่งเป็นหนึ่งในห้าเล่มของคัมภีร์ทานัคของโมเสส เขียนชึ้นในช่วงประมาณ 1405 ปีก่อนคริสตกาล โดยคริสต์ศาสนิกชนบางกลุ่มเชื่อว่า เป็นคำที่มีรากศัพท์เก่าแก่ที่สุดที่มนุษย์ใช้ ตั้งแต่ยุคสมัยพระเจ้าทรงสร้างโลกแล้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอาเมน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกรงปินัง

กรงปินัง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดยะลา จัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา พ.ศ. 2547 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอกรงปินัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกะพ้อ

กะพ้อ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอกะพ้อ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกันตัง

กันตัง เป็นอำเภอเก่าแก่อำเภอหนึ่งในจังหวัดตรัง คำว่า "กันตัง" สันนิษฐานว่าเป็นคำในภาษามลายู.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอกันตัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอกงหรา

กงหรา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดพัทลุง ห่างจากตัวเมืองพัทลุง 42 กิโลเมตร การเดินทางใช้ ถนนเพชรเกษมจากสี่แยกเอเชียมาทางทิศตะวันตกแล้วเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4122 ที่บ้านคลองหมวย อำเภอศรีนครินทร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอกงหรา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอยะหา

หา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดยะลา อยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย อนึ่งคำว่า "ยะหา" (Johar, Juar) เป็นคำในภาษามลายู แปลว่า "ต้นขี้เหล็ก".

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอยะหา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสายบุรี

อำเภอสายบุรี เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี ชาวไทยเชื้อสายมลายูจะเรียกว่า ตะลุแบ (تلوبن Taluban; Telubae) หรือในภาษามลายู-สันสกฤตเรียกว่า สลินดงบายู หรือ ซือลินดงบายู (سليندوڠ بايو. Selindung Bayu) แปลว่า ที่กำบังลมพายุ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทยมุสลิม มีขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นของตนเอง มีความหลากหลายทางด้านภาษ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอสายบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสุไหงโก-ลก

อำเภอสุไหงโก-ลก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส มีตัวเมืองขนาดใหญ่และมีความเจริญกว่าตัวจังหวัดมาก เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สำคัญแห่งหนึ่งของภาคใต้ตอนล่าง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอสุไหงโก-ลก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหนองจิก

อำเภอหนองจิก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอหนองจิก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอธารโต

รโต ตั้งอยู่ในจังหวัดยะล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอธารโต · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอตากใบ

ตากใบ เป็นอำเภอในจังหวัดนราธิวาสที่มีเขตแดนติดรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอตากใบ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปะนาเระ

อำเภอปะนาเระ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี ประชากรแต่งกายตามแบบของประชากรมลายู มีประเพณี วัฒนธรรมตามแบบอิสลาม พูดภาษามลายูและภาษาถิ่นใต้เจ๊ะเห (ตากใบ).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอปะนาเระ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแม่ลาน

อำเภอแม่ลาน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอแม่ลาน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแว้ง

อำเภอแว้ง เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนราธิว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอแว้ง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอโคกโพธิ์

อำเภอโคกโพธิ์ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอโคกโพธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอไม้แก่น

อำเภอไม้แก่น เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปัตตานี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอไม้แก่น · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองตรัง

มืองตรัง ในอดีตเคยเป็นเมืองท่าค้าขายกับต่างประเทศ เป็นเมืองแรกที่มีต้นยางพารา โดยพระยารัษฎานุประดิษฐมหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ได้นำพันธุ์มาจากมาเลเซียมาปลูกเป็นแห่งแรกของภาคใต้ เมื่อปี พ.ศ. 2442 และถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธคิดเป็นร้อยละ 93 นับถือศาสนาอิสลามร้อยละ 5 และอื่น ๆ ร้อยละ 2.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอเมืองตรัง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเสนา

อำเภอเสนา เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อำเภอเสนากลาง ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออำเภอดังเช่นปัจจุบัน เป็นอำเภอที่มีพื้นที่มากเป็นลำดับ 3 จากทั้งหมด 16 อำเภอของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา รองจากอำเภอบางปะอินและอำเภอวังน้อย อนึ่ง อำเภอเสนายังคงเป็นรู้จักกันอย่างกว้างขวางในชื่อบ้านแพน ซึ่งปัจจุบันเป็นชื่อตำบลหนึ่งของอำเภอเสนา แต่สมัยก่อนเป็นชื่อเก่าที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางมายาวนาน และปรากฏอยู่ตามสื่อต่าง ๆ ในสมัยก่อน เช่น เพลงลูกทุ่ง ละคร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอำเภอเสนา · ดูเพิ่มเติม »

อิชมาเอล

อิชมาเอล (ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ อิสมาอีล (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Ishmael; إسماعيل /อิสมาอีล/; יִשְׁמָעֵאל /ยิชมาเอล/) เป็นบุคคลสำคัญในศาสนาอับราฮัม และเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ตามคติของศาสนาอิสลาม อิชมาเอลเป็นบุตรของอับราฮัม (อิบรอฮีม) และนางฮาการ์ (ฮาญัร).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอิชมาเอล · ดูเพิ่มเติม »

อิชี บิลาดี

ลงชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีชื่อเรียกในภาษาอาหรับว่า "อิชี บิลาดี" (عيشي بلادي, Ishy Bilady: แปลว่า ประเทศของเราจงเจริญ) ประพันธ์โดย ซาอัด อับเดล วาฮับ (Saad Abdel Wahab) (ผู้เป็นหลานชายของมูฮัมหมัด อับเดล วาฮับ (Mohammed Abdel Wahab) นักร้องและนักประพันธ์เพลงชาวอียิปต์) ทำนองของเพลงนี้ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการมานับตั้งแต่ พ.ศ. 2514.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอิชี บิลาดี · ดูเพิ่มเติม »

อิบน์ บะฏูเฏาะฮ์

อะบู อับดุลลอฮ์ มุฮัมมัด อิบน์ อับดุลลอฮ์ อัลละวาตี อัฏฏ็อนญี อิบน์ บะฏูเฏาะฮ์ (أبو عبد الله محمد بن عبد الله اللواتي الطنجي بن بطوطة) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า อิบน์ บะฏูเฏาะฮ์ (ابن بطوطة; กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1304 – 1368 หรือ 1369) เป็นนักสำรวจชาวโมร็อกโกและเบอร์เบอร์ เขาเป็นที่รู้จักจากบันทึกการเดินทางซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในหนังสือริห์ละฮ์ ("การเดินทาง") ตลอดระยะเวลาสามสิบปี บะฏูเฏาะฮ์ได้ไปเยือนพื้นที่ส่วนใหญ่ของโลกมุสลิมรวมไปถึงดินแดนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่มุสลิม การเดินทางของเขาได้แก่การเดินทางไปยังแอฟริกาเหนือ จะงอยแอฟริกา แอฟริกาตะวันตก และยุโรปตะวันออกในซีกโลกตะวันตก และไปยังตะวันออกกลาง เอเชียใต้ เอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และจีนในซีกโลกตะวันออก ซึ่งเป็นระยะทางที่มากกว่าการเดินทางของมาร์โก โปโล ถึงสามเท่า บะฏูเฏาะฮ์ถือเป็นหนึ่งในบรรดานักเดินทางที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอิบน์ บะฏูเฏาะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

อิรักในอาณัติ

รัฐอารักขาเมโสโปเตเมีย มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรในอาณัติของสหราชอาณาจักร (الانتداب البريطاني على العراق) สถาปนาประเทศเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอิรักในอาณัติ · ดูเพิ่มเติม »

อิสลามศึกษา

อิสลามศึกษา (Islamic studies) เป็นสาขาวิชาหนึ่งในศาสนศึกษา ทำการศึกษาประวัติศาสตร์ แนวคิด และแนวปฏิบัติ ของศาสนาอิสลามและชาวมุสลิม ตามบริบทของสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่แตกต่างกัน ในปัจจุบันมีการเปิดสอนทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอิสลามศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

อิหร่านราชธรรม

นิทานอิหร่านราชธรรม เป็นนิทานซึ่งมุสลิมในสมัยกรุงศรีอยุธยาได้เข้าไปเล่าถวายต่อพระเจ้าแผ่นดิน และเนื่องด้วยนิทานเหล่านี้เป็นคติธรรมสำหรับกษัตริย์ผู้ปกครองแผ่นดินอย่างสูง จึงได้เป็นที่นิยมของคนไทยตลอดมา เมื่อสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้น มีการทำนุบ้านเมืองให้คืนคงเป็นปกติ ได้มีการเขียนหนังสืออิหร่านราชธรรมขึ้นอีก จากความทรงจำของบรรดาผู้สูงอายุ เพื่อเก็บไว้ในหอพระสมุดหลวง หรือหอสมุดข้างที่ เป็นเรื่องที่พระเจ้าแผ่นดินจะเอามาอ่านได้ทุกเวลา ชื่อบุคคลต่าง ๆ ในหนังสือนี้ มีเพี้ยนไปจากชื่อเดิมของอิสลามและเปอร์เซียเป็นอย่างมาก เช่นว่า "พระเจ้าญัมชีด" ในหนังสืออิหร่านราชธรรมก็เรียกเสียเป็นอย่างไทย ๆ "พระเจ้ายมสิทธิ์" หรือ "พระเจ้าสุไลมาน" ก็เรียกว่า "พระเจ้าสุราไลมาน" ให้ฟุ่มเฟือยไป เมือง "บัฆดาด" (แบกแดด) ก็เรียกว่าเมือง "ปัทดาษ" เมือง "มะดาอิน" ก็เรียกว่า "มะดาวิน" "พระเจ้านูชิเรวารุดดีน" ก็เรียกว่า "พระเจ้าเนาวเสนวารวาดิน" ให้ฟังดูเพราะ หมวดหมู่:นิทาน หมวดหมู่:วรรณกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอิหร่านราชธรรม · ดูเพิ่มเติม »

อิตาเลียนลิเบีย

อิตาเลียนลิเบีย หรือ ลิเบียของอิตาลี (Italian Libya, Libia Italiana) เป็นอาณานิคมรวม (unified colony) ของดินแดนแอฟริกาเหนือของอิตาลี ก่อตั้งขึนในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอิตาเลียนลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

อินเดียตะวันออก

งประเทศที่รวมอยู่ในอินเดียตะวันตก อินเดียตะวันออก, อีสต์อินดีส หรือ อินดีส (East Indies หรือ Indies) เป็นคำที่ใช้บรรยายดินแดนที่รวมทั้งเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้Oxford Dictionary of English 2e, Oxford University Press, 2003, East Indies/East India ที่เป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย, ปากีสถาน, บังกลาเทศ, พม่า, ศรีลังกา, มัลดีฟส์ และรวมทั้งไทย, กัมพูชา, ลาว, บรูไน, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, ติมอร์-เลสเต, มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในความหมายที่จำกัดอินดีสหมายถึงหมู่เกาะทางตะวันออกเฉียงใต้ของเอเชียโดยเฉพาะหมู่เกาะมลายูOxford Dictionary of English 2e, Oxford University Press, 2003, "East Indies/East India" อาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ในบริเวณนี้เรียกว่าหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ ก่อนที่จะมาเป็นอินโดนีเซีย อินเดียตะวันออก (East Indies) อาจจะรวมอินโดจีน, หมู่เกาะฟิลิปปินส์, บรูไน, สิงคโปร์ และติมอร์-เลสเต แต่จะไม่รวมนิวกินีตะวันตก (ปาปัวตะวันตก) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเมลานีเซีย ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในอินเดียตะวันออกบางครั้งก็เรียกว่า "ชาวอินเดียตะวันออก" เพื่อให้แตกต่างจากผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในเอเชียใต้, แคริบเบียน (ที่เรียกว่า “ชาวอินเดียตะวันตก”) และจากผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในทวีปอเมริกาที่เรียกว่า "ชาวอเมริกันอินเดียน" (แต่ในอเมริกาเหนือคำว่า "ชาวอินเดียตะวันออก" อาจจะหมายถึงผู้ที่มาจากอินเดียที่อยู่ในอเมริกาเหนือ) ชาวอินเดียตะวันออกมาจากหลายวัฒนธรรม หลายชาติพันธุ์ และหลายศาสนาที่ส่วนใหญ่รวมทั้งศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลาม ศาสนาของชนกลุ่มน้อยก็ได้แก่ศาสนาคริสต์, ศาสนาซิกข์, ศาสนาเชน และความเชื่ออื่น ๆ ในบางบริเวณ นอกจากนั้นภาษาที่พูดก็มาจากหลายตระกูล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอินเดียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

อิเหนา

ละครของกรมศิลปากร เรื่อง “อิเหนา” ตอนส่งดอกลำเจียกให้นางค่อม แสดงเมื่อประมาณ พ.ศ. 2483 อิเหนาเป็น วรรณคดีเก่าแก่เรื่องหนึ่งของไทย เป็นที่รู้จักกันมานาน เข้าใจว่าน่าจะเป็นช่วงปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยได้ผ่านมาจากหญิงเชลยปัตตานี ที่เป็นข้าหลวงรับใช้พระราชธิดาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (ครองราชย์ พ.ศ. 2275 – 2301) โดยเล่าถวายเจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ พระราชธิดา จากนั้นพระราชธิดาทั้งสองได้ทรงแต่งเรื่องขึ้นมาองค์ละเรื่อง เรียกว่าอิเหนาเล็ก (อิเหนา) และอิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) ประวัติดังกล่าวมีบันทึกไว้ในพระราชนิพนธ์อิเหนา ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ดังนี้ นอกจากนี้ ยังมีบรรยายไว้ในปุณโณวาทคำฉันท์ ของพระมหานาค วัดท่าทราย ระบุถึงการนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศเช่นกัน โดยเล่าว่ามีงานมหรสพที่เล่นเรื่องอิเหนา ดังนี้ เนื้อเรื่องตรงกับอิเหนาเล็ก ที่ว่าถึงตอนลักบุษบาไปไว้ในถ้ำ ซึ่งไม่ปรากฏในเรื่องอิเหนาใหญ่ เรื่องอิเหนา หรือที่เรียกกันว่านิทานปันหยีนั้น เป็นนิทานที่เล่าแพร่หลายกันมากในชวา เชื่อกันว่าเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ของชวา ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 16 ปรุงแต่งมาจากพงศาวดารชวา และมีด้วยกันหลายสำนวน พงศาวดารเรียกอิเหนาว่า “ ปันจี อินู กรัตปาตี” (Panji Inu Kartapati) แต่ในหมู่ชาวชวามักเรียกกันสั้นๆ ว่า “ปันหยี” (Panji) ส่วนเรื่องอิเหนาที่เป็นนิทานนั้น น่าจะแต่งขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 20-21 หรือในยุคเสื่อมของราชวงศ์อิเหนาแห่งอาณาจักรมัชปาหิต และอิสลามเริ่มเข้ามาครอบครอง นิทานปันหยีของชวานั้น มีด้วยกันหลายฉบับ แต่ฉบับที่ตรงกับอิเหนาของเรานั้น คือ ฉบับมาลัต ใช้ภาษากวีของชวาโบราณ มาจากเกาะบาหลี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอิเหนา · ดูเพิ่มเติม »

อุมัร

อุมัร อิบนุลคอฏฏอบ ร่อฎิยัลลอฮุอันฮุ เกิดราวปี ค.ศ. 586http://www.islamhouse.com/340440/th/th/articles/บางส่วนจากประวัติของท่านอุมัร_บิน_อัล-ค็อฏฏอบ ที่มักกะหฺ ในอาราเบีย นับถือศาสนาอิสลามราวปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอุมัร · ดูเพิ่มเติม »

อุมัร อัชชะรีฟ

อุมัร อัชชะรีฟ (عمر الشريف; Omar al-Sharif; 10 เมษายน ค.ศ. 1932 – 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2015) เป็นนักแสดงชาวอียิปต์ที่เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ และเคยได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ มีชื่อเสียงจากบทบาทในภาพยนตร์เรื่อง ลอว์เรนซ์ออฟอาระเบีย (Lawrence of Arabia - 1962) คู่กับปีเตอร์ โอ ทูล, ดอกเตอร์ชิวาโก (Doctor Zhivago, 1965) คู่กับจูลี คริสตี และบุษบาหน้าเป็น (Funny Girl, 1968) คู่กับบาร์บารา สไตรแซนด์ อุมัร อัชชะรีฟ เกิดที่เมืองอะเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ ในครอบครัวที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เชื้อสายเลบานอน เดิมชื่อว่า ไมเคิล ดิมีตรี ชัลฮูบ (Michael Demitri Shalhoub) จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยไคโร เข้าสู่วงการแสดงตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอุมัร อัชชะรีฟ · ดูเพิ่มเติม »

อุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีร

อุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีร (عمر حسن أحمد البشير, 1 มกราคม ค.ศ. 1944 -) เป็นหัวหน้าพรรคเนชันแนลคองเกรส และประธานาธิบดีของประเทศซูดานคนปัจุจบัน เริ่มเข้ามามีอำนาจทางการเมืองครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1989 ขณะยังเป็นนายทหารยศพันโท โดยเป็นผู้นำกลุ่มนายทหารทำรัฐประหารไม่นองเลือดขับไล่รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีซาดิก อัลมะฮ์ดี (Sadiq al-Mahdi) ซึ่งเป็นรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2004 รัฐบาลของนายอัลบะชีรได้เจรจายุติสงครามกลางเมืองซูดานครั้งที่สอง ซึ่งเป็นสงครามที่ดำเนินมาต่อเนื่องยาวนานที่สุดและนองเลือดที่สุดครั้งหนึ่งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยให้อำนาจปกครองตนเองบางส่วนในเซาท์ซูดานซึ่งเป็นพื้นที่เกิดสงคราม อย่างไรก็ตาม นับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามกลางเมืองแล้ว รัฐบาลของนายอัลบะชีรได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางต่อบทบาทของรัฐบาลในการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่ดาร์ฟูร์ อันเป็นการกวาดล้างชาติพันธุ์ประชากรที่ไม่ใช่ชาวอาหรับครั้งใหญ่ในซูดาน มีผู้เสียชีวิตจากกรณีดังกล่าวอยู่ระหว่าง 200,000 ถึง 400,000 คน บทบาทของนายอัลบะชีรในเรื่องนี้ได้นำไปสู่การสู้รบอย่างรุนแรงระหว่างกองกำลังติดอาวุธของพวกยันยาวิด (Janjaweed) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากฝ่ายรัฐบาล และกองกำลังกบฏฝ่ายต่างๆ อันได้แก่ กองทัพปลดแอกประชาชนซูดาน (Sudan People's Liberation Army, SPLA) กองทัพปลดปล่อยซูดาน (Sudanese Liberation Army, SLA) และขบวนการความยุติธรรมและความเสมอภาค (Justice and Equality Movement, JEM) ซึ่งทำการรบในรูปแบบสงครามกองโจรในแคว้นดาร์ฟูร์ ผลจากสงครามครั้งนี้ทำให้ประชาชนกว่า 2.5 ล้านคนต้องไร้ที่อยู่อาศัย และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศชาดกับซูดานตกต่ำลงจนถึงระดับวิกฤต เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2008 หลุยส์ โมเรโน-โอแคมโป อัยการประจำศาลอาญาระหว่างประเทศ (International Criminal Court, ICC) ได้ฟ้องร้องนายอัลบะชีรในข้อหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ กระทำอาชญากรรมต่อมนุษยชาติ และอาชญากรรมสงครามในแคว้นดาร์ฟูร์ ศาลได้ออกหมายจับนายอัลบะชีรเมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 2009 ในข้อหาอาชญากรรมต่อมนุษยชาติและอาชญากรรมสงคราม แต่ไม่รวมข้อหาฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ เนื่องจากศาลได้ชี้ว่าหลักฐานที่จะฟ้องร้องด้วยข้อหาดังกล่าวยังมีไม่เพียงพอBBC News, 4 March 2009.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอุมัร ฮะซัน อะห์มัด อัลบะชีร · ดูเพิ่มเติม »

อุสมาน ศรแดง

อุสมาน ศรแดง เป็นชาวกรุงเทพฯ นับถือศาสนาอิสลาม เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอุสมาน ศรแดง · ดูเพิ่มเติม »

อูมาร์ อาร์เทห์ กาหลิบ

อูมาร์ อาร์เทห์ กาหลิบ หรือ โอเมอร์ คาร์เท คาหลิบ (Cumar Carte Qaalib, عمر ارتيهح غالب) (เกิด พ.ศ. 2473) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม อาลี คาลิฟ กาลาอิร เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโซมาเลียตั้งแต่ 24 มกราคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอูมาร์ อาร์เทห์ กาหลิบ · ดูเพิ่มเติม »

อูรักลาโว้ย

อูรังลาโว้ย (Orang Laut) เป็นชาวเลกลุ่มใหญ่ที่มีถิ่นฐานบนเกาะสิเหร่ และที่หาดราไวย์ บ้านสะปำ จังหวัดภูเก็ต จนถึงทางใต้ของเกาะพีพีดอน เกาะจำ เกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่, เกาะอาดัง เกาะหลีเป๊ะ เกาะราวี จังหวัดสตูล และบางส่วนอยู่ที่เกาะลิบง จังหวัดตรัง นอกจากนี้ยังอาศัยอยู่ทางฝั่งตะวันตกของประเทศมาเลเซีย ชาวเลกลุ่มอูรังลาโว้ยมีภาษาที่แตกต่างกับกลุ่มมอแกนและมอแกลน แม้จัดอยู่ในตระกูลออสโตรนีเชียน เช่นเดียวกัน พิธีกรรมสำคัญของอูรังลาโว้ยคือ การลอยเรือ "ปลาจั๊ก" เพื่อกำจัดเคราะห์ร้ายออกไปจากชุมชน ในปัจจุบัน ชาวเลกลุ่มอูรังลาโว้ยตั้งถิ่นฐานอย่างถาวร หันมาประกอบอาชีพประมงชายฝั่ง รับจ้างทำสวน และอาชีพอื่น ๆ ซึมซับวัฒนธรรมไทยมากขึ้น และเรียกขานตัวเองว่า ไทยใหม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอูรักลาโว้ย · ดูเพิ่มเติม »

อีมาน (นางแบบ)

อีมาน มุฮัมมัด อับดุลมะญีด (Iimaan Maxamed Cabdulmajiid, ايمان محمد عبد المجيد, เกิด: 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1955) หรือที่รู้จักกันในชื่อ อีมาน (มาจากภาษาอาหรับมีความหมายว่า "ศรัทธา") เป็น นางแบบ, นักแสดง และผู้ประกอบการชาวอเมริกันเชื้อสายโซมาเลีย เธอเป็นภรรยาคนปัจจุบันของเดวิด โบอี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอีมาน (นางแบบ) · ดูเพิ่มเติม »

อีดี อามิน

อีดี้ อามิน (พ.ศ. 2468 - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2546) เป็นเผด็จการทหาร และประธานาธิบดีของประเทศยูกันดาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอีดี อามิน · ดูเพิ่มเติม »

อีซา

อีซา อิบนุ มัรยัม (t "อีซาบุตรนางมัรยัม") คือบุคคลเดียวกันกับ พระเยซู ศาสดาของศาสนาคริสต์ แต่ในคติของศาสนาอิสลาม ถือเป็นเพียง ศาสนทูตท่านหนึ่งของอัลลอ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอีซา · ดูเพิ่มเติม »

อีซาเบลา (จังหวัดบาซีลัน)

นครอีซาเบลา (เตาซุก: Bandar Isabela; ชาบากาโน: Ciudad de Isabela; Lungsod ng Isabela) เป็นนครระดับที่ 4 ในเขตตังไวนางซัมบวงกา ประเทศฟิลิปปินส์ มีประชากร 112,788 คนในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอีซาเบลา (จังหวัดบาซีลัน) · ดูเพิ่มเติม »

อีซูลัน (จังหวัดซุลตันคูดารัต)

อีซูลัน เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดซุลตันคูดารัต ประเทศฟิลิปปินส์ ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอีซูลัน (จังหวัดซุลตันคูดารัต) · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อดาน โมฮัมเหม็ด นูร์ มาโดเบ

อดาน โมฮัมเหม็ด นูร์ มาโดเบ (Aaden Maxamed Nuur Madoobe, عدن محمد نور مادوبي) เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลีย เขาเคยเป็นรองประธานกรรมการคนแรกของราฮานเวนต่อต้านกองทัพ ก่อนที่จะเข้าร่วมกับรัฐบาลกลางเปลี่ยนผ่านของโซมาเลียที่เพิ่งก่อตั้ง ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและประธานรัฐสภากลางเปลี่ยนผ่านตั้งแต่ 31 มกราคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอดาน โมฮัมเหม็ด นูร์ มาโดเบ · ดูเพิ่มเติม »

อนิสา นูกราฮา

อนิสา นูกราฮา เป็นนางแบบลูกครึ่งไทย-อินโดนีเซีย ผู้เข้าแข่งขันซึ่งชนะเลิศจากเวทีไทยซุปเปอร์โมเดลคอนเทสต์ ประจำปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอนิสา นูกราฮา · ดูเพิ่มเติม »

อนุมัติ ซูสารอ

นายอนุมัติ ซูสารอ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานีสังกัดพรรคมาตุภูมิ ซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเพียงคนเดียวของพรรคมาตุภูมิที่ชนะการเลือกตั้ง ในปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและอนุมัติ ซูสารอ · ดูเพิ่มเติม »

ฮะมาส

มาส (حماس) ย่อมาจาก ฮะเราะกะฮ์ อัลมุกอวะมะฮ์ อัลอิสลามียะฮ์ (حركة المقاومة الاسلامية) เป็นพรรคการเมืองหนึ่งของปาเลสไตน์ที่นับถือศาสนาอิสลามและมีกองกำลังติดอาวุธ มักถูกเรียกว่า กลุ่มหัวรุนแรงฮะมาส หรือ กลุ่มติดอาวุธฮะมาส ซึ่งมักก่อเหตุโจมตีกลุ่มฟะตะห์โดยใช้ระเบิดพลีชีพ อามาสเป็นขบวนการที่เป็นผลพวงของการต่อต้านอิสราเอลใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮะมาส · ดูเพิ่มเติม »

ฮะรอม

รอม เป็นคำศัพท์นิติบัญญัติอิสลาม จากภาษาอาหรับ วิธีการสะกดอื่น ๆ มีเช่น หะรอม, ฮารอม ในภาษาพูดคำว่า ฮะรอม เพี้ยนเป็น ฮาหร่าม ฮะรอม คือกฎบัญญัติห้าม ที่มุกัลลัฟ (มุสลิมผู้อยู่ในศาสนนิติภาวะ) ทุกคนต้องละเว้น เช่น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮะรอม · ดูเพิ่มเติม »

ฮัมซะฮ์

ัมซะฮ์ (الهَمْزة,, ء) เป็นอักษรอาหรับใช้แทนเสียง /อ/ แต่ไม่ถือว่าเป็นตัวอักษรเท่ากับอักษรอื่นอีก 28 ตัว ใช้แสดงการออกเสียงในยุคต้นๆของศาสนาอิสลาม ใช้เติมบนอะลิฟเพื่อบอกว่าอะลิฟตัวนี้ใช้แทนเสียง /อ/ อาจเขียนได้ในรูป.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮัมซะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮัสซัน ชีค โมฮามุด

ัสซัน ชีค โมฮามุด (Xasan Sheekh Maxamuud, حسن شيخ محمود; 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 —) เป็นนักการเมืองและประธานาธิบดีคนที่ 8 ของประเทศโซมาเลีย ได้รับการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 10 กันยายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮัสซัน ชีค โมฮามุด · ดูเพิ่มเติม »

ฮัสซัน อับชีร ฟาราห์

ัสซัน อับชีร ฟาราห์ (Xasan Abshir Faarax, حسن ابشير فرح) (เกิด 20 มิถุนายน พ.ศ. 2488) เป็นทหารผ่านศึกและนักการเมืองชาวโซมาเลีย เขาเคยดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีของกรุงโมกาดิชู และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของพุนต์แลนด์ จาก 12 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮัสซัน อับชีร ฟาราห์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮามิด การ์ไซ

มิด การ์ไซ (Hamid Karzai, حامد کرزی; เกิด 24 ธันวาคม ค.ศ. 1957) เป็นอดีตประธานาธิบดีคนที่ 12 แห่งอัฟกานิสถาน เกิดที่จังหวัดกันดะฮาร์ ราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน การ์ไซมีพี่น้อง 6 คน ครอบครัวของเขาอยู่ในแวดวงการเมือง โดยบิดา อับดุล อะฮัด การ์ไซ เคยเป็นรองโฆษกประจำรัฐสภาอัฟกานิสถานช่วงทศวรรษที่ 1960 ลุง ฮาบิบุลเลาะห์ การ์ไซ เป็นผู้แทนอัฟกานิสถานในการประชุมสหประชาชาติ ส่วนปู่ ไคร์ โมฮัมหมัด ข่าน เคยรับราชการในช่วงสงครามอังกฤษ–อัฟกานิสถานครั้งที่สามและเป็นรองโฆษกประจำวุฒิสภาอัฟกานิสถาน นอกจากนี้ครอบครัวของการ์ไซยังเป็นผู้สนับสนุนพระเจ้าโมฮัมเหม็ด ซาฮีร์ ชาห์ กษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน การ์ไซเรียนที่โรงเรียนในเมืองกันดะฮาร์และคาบูล และเรียนจบจากโรงเรียนมัธยมฮาบิเบียในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮามิด การ์ไซ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาลาล

ลาล (حلال) (บ้างสะกดว่า ฮะลาล หรือ หะลาล) เป็นศัพท์นิติศาสตร์อิสลามจากภาษาอาหรับ หมายความว่า กฎบัญญัติอนุมัติให้มุกัลลัฟ (มุสลิมที่อยู่ในศาสนนิติภาวะ) กระทำได้ อันได้แก่ การนึกคิด วาจา และการกระทำที่ศาสนาได้อนุมัติให้ เช่น การรับประทานเนื้อปศุสัตว์ที่ได้รับการเชือดอย่างถูกต้อง การค้าขายโดยสุจริตวิธี การสมรสกับสตรีตามกฎเกณฑ์ที่ได้ระบุไว้ เป็นต้น ในเมืองไทย คำว่า "ฮาลาล" เป็นที่รู้จักในความหมาย อาหารหรือสิ่งเจือปนที่ไม่ขัดกับหลักศาสนาอิสลาม อาหารสำเร็จรูปประเภทนี้จะมีตราฮาลาล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮาลาล · ดูเพิ่มเติม »

ฮาลีมะฮ์ ยากบ

ลีมะฮ์ ยากบ (Halimah Yacob; ยาวี: حاليمه بنت ياچوب, เกิด 23 สิงหาคม พ.ศ. 2497) เป็นประธานาธิบดีคนที่แปดและคนปัจจุบันของสิงคโปร์มีเชื้อสายมาเลย์ และ อินเดีย  แต่งงานกับ โมฮัมเหม็ดอับดุลลาห์ (Alhabshee) ซึ่งมีเชื้อสายอาหรับ มีบุตร 5 คน “มาดามฮาลิมะฮ์” จบการศึกษาจาก โรงเรียน Tanjong Katong Girls ‘School และสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยสิงคโปร์ ระดับ LLB (Hons) จบปริญญา LLM ที่ มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จาก NUS ทำงานเป็นเจ้าหน้าที่กฎหมายที่ สภาสหภาพแห่งชาติสหภาพการค้า และเป็นผู้อำนวยการแผนกบริการทางกฎหมายในได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้อำนวยการสถาบันแรงงานแห่งประเทศสิงคโปร์ (ปัจจุบันเป็นที่ตั้ง ของสถาบันแรงงานศึกษา ทงจง) “มาดามฮาลิมะฮ์” เข้าสู่เส้นทางการเมืองเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของ พรรค PAP และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา โดยเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮาลีมะฮ์ ยากบ · ดูเพิ่มเติม »

ฮุสเซน อาหรับ อิสเซ

ซน อาหรับ อิสเซ (Xuseen Carab Ciise, حسين عرب عيسى) และสามารถสะกดเป็น ฮุสเซน อาหรับ อิสซา เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี เขาเคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีโซมาเลียและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในช่วง 20 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮุสเซน อาหรับ อิสเซ · ดูเพิ่มเติม »

ฮุซัยนียะหฺ

ซัยนียะหฺ, ฮุซัยนียะห์ จากภาษาอาหรับ แปลว่า บ้านเรือนแห่งฮุเซน หมายถึงสถานที่ ๆ ชาวมุสลิมชีอะหฺใช้ประกอบพิธีไว้อาลัยอิมามฮุเซน ในวันอาชูรออ์ หรือใช้เป็นสถานที่พบปะ และสอนธรรมะแห่งศาสนาอิสลาม ในภาษาเบงกาลีเรียกว่า อิมามบารา (ตำหนักอิมาม) ในอินเดียเหนือเรียกว่า อาชูรอคอนา (เรือนอาชูรออ์).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮุซัยนียะหฺ · ดูเพิ่มเติม »

ฮุซเซน อน

ฮุซเซน บิน ดาโตะก์ อน (Hussein bin Dato' Onn) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 3 ของประเทศมาเลเซีย ฮุซเซน อน เป็นบุตรของดาโตะก์ อน จาอาฟาร์ (หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งพรรคอัมโน) กับดาติน ฮาลีมะฮ์ ฮุซเซน เขาได้รับการศึกษาเบื้องต้นจากประเทศสิงคโปร์ และจบการศึกษาจากโรงเรียนภาษาอังกฤษจากเมืองโจโฮร์บะฮ์รู หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีมาเลเซีย หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐยะโฮร์.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮุซเซน อน · ดูเพิ่มเติม »

ฮีบรอน

ีบรอน หรือ อัลคาลีล (الخليل; Hebron) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ทางใต้ของเวสต์แบงก์ ห่างจากกรุงเยรูซาเลม 30 กิโลเมตร ทางทิศเหนือ เป็นเมืองศักดิ์ของศาสนายิวและศาสนาอิสลาม อยู่เหนือจากระดับน้ำทะเล 930 เมตร เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเวสต์แบงก์ มีชาวปาเลสไตน์อยู่ราว 165,000 คน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮีบรอน · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่อ

อ หรือภาษาถิ่นพายัพว่า ห้อ (ຮໍ່) บ้างเรียกว่า จีนยูนนาน เป็นการเรียกกลุ่มชนเชื้อสายจีนที่อพยพลงมาจากมณฑลยูนนานโดยไม่จำแนกว่านับถือศาสนาใด เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณพรมแดนระหว่างประเทศไทยและลาว มีทั้งอาศัยอยู่บนเทือกเขาและในเมือง ในประเทศไทยชาวจีนฮ่อมักอาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง แล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฮ่อ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้เผยพระวจนะ

''อิสยาห์ผู้เผยพระวจนะ'' วาดโดยเบนจามิน เวสต์ (1782, Bob Jones University Museum and Gallery). ผู้เผยพระวจนะ (ศัพท์โปรเตสแตนต์) ประกาศก (ศัพท์คาทอลิก) หรือ ศาสดาพยากรณ์ (prophet; προφήτης,: จากคำนิบาต προ- pro- แปลว่า เบื้องหน้า และ φημί แปลว่า พูด, กล่าวออกไป) หมายถึง ผู้ที่พระเป็นเจ้าทรงเจิมตั้งไว้เพื่อการรับพระดำรัสของพระองค์มาถ่ายทอดสู่มวลมนุษย์ เป็นผู้ที่ทำนายอนาคต ผู้บอกเล่าอนาคต หรือประกาศคำสั่งสอนของพระเป็นเจ้า ปรากฏในความเชื่อของศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม ภาคผนวกจากพระคริสตธรรมคัมภีร์ฉบับอมตธรรมร่วมสมัยได้อธิบายคำว่า “ผู้เผยพระวจนะ” ไว้ว่า “กระบอกเสียงของพระเจ้า คนที่ได้รับข่าวสารหรือพระดำรัสของพระเจ้าและประกาศให้แก่กลุ่มคนที่เจาะจง”.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและผู้เผยพระวจนะ · ดูเพิ่มเติม »

จรัญ มะลูลีม

ตราจารย์ ดร.จรัญ มะลูลีม อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นักวิชาการด้านตะวันออกกลางศึกษา อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร กรรมการในคณะกรรมมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการลอบวางระเบิด และก่อความไม่สงบเรียบร้อยในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจรัญ มะลูลีม · ดูเพิ่มเติม »

จอมขวัญ ลีละพงศ์ประสุต

อมขวัญ ลีละพงศ์ประสุต ชื่อเล่น จีจี้ (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537) เป็นอดีตนักแสดงชาวไทยจากสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ที่มีชื่อเสียงจากการรับบทเป็น "ฟ้าคราม" ในละครเรื่อง สืบสวนป่วนรัก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจอมขวัญ ลีละพงศ์ประสุต · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิชาห์ชะฮัน

ีน มุฮัมมัด คุรรัม ชาห์ชะฮันที่ 1 (شاه ‌جہاں, Persian: شاه جهان, शाहजहां ศาหชหำ, ราชสมภพ 5 มกราคม ค.ศ. 1592 - สวรรคต 22 มกราคม ค.ศ. 1666) พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดิชะฮันคีร์ กับพระนางโชธพาอี (เจ้าหญิงมนมาตีแห่งโชธปุระ) ทรงครองบัลลังก์ต่อจากพระราชบิดาในปี ค.ศ. 1627 โดยการสังหารพี่น้องจำนวนมากดาวสยาม วชิรปัญโญ, พระมห.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจักรพรรดิชาห์ชะฮัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอักบัร

ญะลาล อุดดีน มุฮัมมัด อักบัร (جلال الدین محمد اکبر; Jalaluddin Muhammad Akbar, 24 ตุลาคม พ.ศ. 2085 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2248) หรือที่รู้จักในชื่อ อักบัรมหาราช (Akbar the Great) เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมกุลตั้งแต่ปี พ.ศ. 2099 ถึง พ.ศ. 2148 ด้วยการให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา พระองค์จึงถือเป็นกษัตริย์มุสลิมที่อยู่ในใจประชาชนอินเดียตลอดมา จักรพรรดิอักบัรเป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิหุมายุน พระองค์ได้ประสูติกาล ณ รัฐสินธุ์ ขณะที่พระราชบิดาเสด็จหนีไปยังเปอร์เซีย พระองค์ได้ครองราชย์ต่อจากพระบิดาในปี พ.ศ. 2099 ขณะที่มีพระชนมายุเพียง 13 ปีเศษ พระองค์เคยย้ายเมืองหลวงไปยังเมืองลัคเนาเป็นเวลา 13 ปี มีพระสหายคู่พระทัยชาวฮินดูคือ ราชามานสิงห์ ในรัชกาลของพระองค์ทรงได้ให้เสรีภาพในการนับถือศาสนา และไม่บีบบังคับให้ศาสนิกอื่นให้เข้ามานับถือศาสนาอิสลามเช่นดังรัชกาลก่อน โดยทรงยกเลิกกฎเชซิยะห์ ซึ่งเป็นกฎหมายให้ผู้ที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามต้องจ่ายภาษีสูงกว่าดาวสยาม วชิรปัญโญ, พระมห.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจักรพรรดิอักบัร · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิบรูไน

ักรวรรดิบรูไน (Bruneian Empire) จัดตั้งขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 12 บนเกาะบอร์เนียว ในยุคแรกปกครองโดยกษัตริย์ที่นับถือศาสนาฮินดู ก่อนจะเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งได้รับอิทธิพลทั้งจากมุสลิมอินเดียและชาวอาหรับที่เข้ามาค้าขาย ไม่มีหลักฐานในท้องถิ่นที่จะยืนยันการมีอยู่ แต่ในเอกสารจีนได้อ้างถึงบรูไนในยุคเริ่มแรก โบนี (Boni) ในภาษาจีนอ้างถึงดินแดนเกาะบอร์เนียว ในขณะที่ โปลี (Poli 婆利) ที่อาจจะตั้งอยู่ที่เกาะสุมาตรา มักจะถูกกล่าวว่าหมายถึงบรูไนด้วย หลักฐานเก่าสุดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างบอร์เนียว (โบนี 渤泥) และจีนบีนทึกไว้ใน (Taiping huanyuji 太平環宇記) ในสมัยของสุลต่านโบลเกียห์ ซึ่งเป็นสุลต่านองค์ที่ 5 ของบรูไน บรูไนมีอำนาจครอบคลุมเกาะบอร์เนียวทั้งหมด และบางส่วนของฟิลิปปินส์ เช่น เกาะมินดาเนา ซึ่งถือเป็นยุคทองของบรูไน กองทัพบรูไนมีกองทัพเรือที่แข็งแกร่ง บางส่วนเป็นโจรสลัดในทะเลจีนใต้ และชายฝั่งของเกาะบอร์เนียว หลักฐานทางตะวันตกชิ้นแรกที่กล่าวถึงบรูไนคืองานเขียนของชาวอิตาลี ลูโดวิโก ดี วาร์เทมา ผู้เดินทางมายังหมู่เกาะโมลุกกะและแวะพักที่เกาะบอร์เนียวเมื่อราว..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจักรวรรดิบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมองโกล

อาณาเขตของจักรวรรดิมองโกล จักรวรรดิมองโกล (มองโกล: Mongolyn Ezent Güren; Mongol Empire) ซึ่งมีอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 เป็นจักรวรรดิทางบกที่มีอาณาเขตต่อเนื่องใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ กำเนิดในสเต็ปป์เอเชียกลาง สุดท้ายจักวรรดิมองโกลมีอาณาเขตครอบคลุมยุโรปตะวันออกจนถึงทะเลญี่ปุ่น ขยายไปทางเหนือเข้าไปในไซบีเรีย ทางตะวันออกและใต้เข้าไปในอนุทวีปอินเดีย อินโดจีนและที่ราบสูงอิหร่าน และทางตะวันตกไปไกลถึงเลแวนต์และคาบสมุทรอาหรับ จักรวรรดิรวมเผ่าชนเร่ร่อนมองโกเลียในประวัติศาสตร์ภายใต้การนำของเจงกิสข่าน ผู้ได้รับประกาศเป็นผู้ปกครองชาวมองโกลทั้งปวงใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจักรวรรดิมองโกล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิมาลี

ักรวรรดิมาลี หรือ จักรวรรดิมานดิง หรือ มานเดนคูรูฟา (Mali Empire หรือ Manding Empire หรือ Manden Kurufa) คือวัฒนธรรมแอฟริกาตะวันตกของชนมันดิงคา ที่รุ่งเรืองระหว่างราว คริสต์ทศวรรษ 1230 จนถึง คริสต์ทศวรรษ 1600 จักรวรรดิก่อตั้งโดย Sundiata Keita และมีชื่อเสียงถึงความมั่งคั่งของประมุขโดยเฉพาะมันซามูซา จักรวรรดิมาลีมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอันลึกซึ้งต่อแอฟริกาตะวันตก ซึ่งทำให้เกิดการเผยแพร่ของภาษา กฎหมาย และประเพณีตามลำแม่น้ำไนเจอร์ อาณาบริเวณของมาลีรวมกันมีขนาดใหญ่กว่ายุโรปตะวันตกและประกอบด้วยอาณาจักรบริวารและจังหวัดต่าง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจักรวรรดิมาลี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจักรวรรดิออตโตมัน · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิข่านอิล

ักรวรรดิข่านอิล (Ilkhanate; ایلخانان, "Ilkhanan"; มองโกเลีย: Хүлэгийн улс, "ดินแดนของฮูเลกู" (Hulagu-yn Ulus)) เป็นรัฐที่แตกมาจากจักรวรรดิมองโกล ครอบคลุมพื้นที่ในตะวันออกกลาง บริเวณประเทศอิหร่านในปัจจุบันเป็นส่วนใหญ่ คำว่า "อิลข่าน" มาจากนามที่กุบไลข่านประทานให้แก่ฮูเลกู ข่าน ผู้ปกครองคนแรก จุดเริ่มต้นของจักรวรรดิข่านอิลมีมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 13 เมื่อเจงกีส ข่าน รบชนะจักรวรรดิควาเรซม์ และพิชิตดินแดนในเอเชียกลางและตะวันออกกลาง ล่วงมาจนถึงฮูเลกู ข่าน พระนัดดา (หลาน) ของเจงกีส ข่าน เมื่อเขารบชนะราชวงศ์อับบาซียะฮ์ที่ครองกรุงแบกแดด ฮูเลกูก็ขยายอำนาจไปในปาเลสไตน์ ก่อนจะพ่ายให้กับชาวแมมลุกในยุทธการที่เอนจาลูต หลังมองเกอ ข่านสวรรคต จักรวรรดิมองโกลก็เกิดสงครามกลางเมือง และแตกออกเป็นหลายอาณาจักร ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจักรวรรดิข่านอิล · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิข่านจักกาไท

ักรวรรดิข่านจักกาไท (Chagatai Khanate หรือ Chagata, Chugta, Chagta, Djagatai, Jagatai, Chaghtai) เป็นจักรวรรดิมองโกลแต่ต่อมาเปลี่ยนไปเป็นเตอร์กิก จักรวรรดิข่านปกครองโดยข่านจักกาไทพระราชโอรสองค์ที่สองของเจงกีส ข่าน และผู้สืบเชื้อสายต่อจากพระองค์ เดิมจักรวรรดิข่านจักกาไทเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมองโกลแต่ต่อมาแยกตัวมาเป็นอาณาจักรอิสระ ในจุดที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 จักรวรรดิข่านมีอาณาบริเวณตั้งแต่แม่น้ำอามูดาร์ยา (Amu Darya) ทางใต้ของทะเลอารัลไปจนถึงเทือกเขาอัลไตในบริเวณเขตแดนที่ปัจจุบันคือมองโกเลียและจีน จักรวรรดิข่านรุ่งเรืองในรูปใดรูปหนึ่งมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1220 จนกระทั่งถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 แม้ว่าทางครึ่งตะวันตกของจักรวรรดิจะเสียไปกับตีมูร์ ในคริสต์ทศวรรษ 1360 แต่ครึ่งตะวันออกยังคงอยู่ในมือของข่านจักกาไทที่บางครั้งก็เป็นปฏิปักษ์ต่อหรือบางครั้งก็เป็นพันธมิตรกับผู้ครองจักรวรรดิตีมูร์ต่อมา ในที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 17 จักรวรรดิข่านจักกาไทที่ยังคงเหลือก็ตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของระบบเทวาธิปไตยของ Apaq Khoja และผู้สืบเชื้อสาย, โคจิจัน (Khojijan) ผู้ครองเติร์กสถานตะวันออก (East Turkestan) ภายใต้ดซุงการ์ (Dzungar) และในที่สุดประมุขของแมนจู.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจักรวรรดิข่านจักกาไท · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไบแซนไทน์

ักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine Empire) หรือ จักรวรรดิไบแซนทิอุม (Βασιλεία των Ρωμαίων) เป็นจักรววรรดิที่สืบทอดโดยตรงจากจักรวรรดิโรมันในปลายสมัยโบราณ และยุคกลาง มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ในบริบทสมัยโบราณตอนปลาย จักรวรรดิยังถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จักรวรรดิโรมันตะวันออก ขณะที่ยังมีจักรวรรดิโรมันตะวันตกอยู่ ทั้งคำว่า "จักรวรรดิไบแซนไทน์" และ "จักรวรรดิโรมันตะวันออก" เป็นคำทางภูมิประวัติศาสตร์ที่สร้างขึ้นและใช้กันในหลายศตวรรษต่อมา ขณะที่พลเมืองยังเรียกจักรวรรดิของตนว่า "จักรวรรดิโรมัน" หรือ "โรมาเนีย" เรื่อยมากระทั่งล่มสลายไป ขณะที่จักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลายไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ส่วนตะวันออกยังดำเนินต่อมาอีกพันปีก่อนจะเสียแก่เติร์กออตโตมันใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจักรวรรดิไบแซนไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชวาตะวันตก

วาตะวันตก (Jawa Barat) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย มีเมืองบันดุงเป็นศูนย์กลาง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดชวาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบันเติน

ันเติน (Banten) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ที่อ่าวบันเตินทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะชวา มีพื้นที่ 9,160.7 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 9,083,114 คน (พ.ศ. 2548) จังหวัดบันเตินก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2543 โดยแยกออกจากจังหวัดชวาตะวันตก มีเมืองหลวงคือเซอรัง (Serang).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดบันเติน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบามียาน

ังหวัดบามียาน (بامیان; بامیان) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอัฟกานิสถาน มีเมืองเอกคือบามียานตามชื่อจังหวัด มีประชากรราว 418,500 คน เป็นชาวฮะซาระฮ์ร้อยละ 90 ชาวทาจิกร้อยละ 10 นอกนั้นเป็นชาวพุชตุนและตาตาร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดบามียาน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบาหลี

หลี (Bali) เป็น 1 ใน 34 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เมืองสำคัญคือเดินปาซาร์ พื้นที่ทั้งหมด 5,634.40 ตารางกิโลเมตร มีประชากรทั้งสิ้น 3,422,600 คน ความหนาแน่นของประชากร 607 คน/ตารางกิโลเมตร ภาษาที่ใช้คือภาษาอินโดนีเซียและภาษาบาหลี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดบาหลี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดชุมพร

มพร มีชื่อปรากฏมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 1098 โดยมีฐานะเป็นเมืองสิบสองนักษัตรของราชอาณาจักรนครศรีธรรมราช ใช้รูปแพะเป็นตราเมือง และเป็นเมืองหน้าด่านฝ่ายเหนือ เพราะอยู่ตอนบนของภาคใต้ ใน พ.ศ. 1997 รัชสมัยแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ปรากฏในกฎหมายตราสามดวงว่า เมืองชุมพรเป็นเมืองตรี อาณาจักรฝ่ายใต้ของราชอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ในช่วงนี้ชนชาติจาม แห่งราชอาณาจักรจามปา ถูกชาวเวียดนามรุกราน ชาวจามกลุ่มนี้อพยพเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาครั้งแรก ปรากฏว่ามี "อาสาจาม" ในแผ่นดินนี้ เพื่อการขยายอาณานิคมของกรุงศรีอยุธยา ส่วนหนึ่งต้องมารักษาด่านเมืองชุมพร ซึ่งเป็นเมืองตรี และตั้งชาวจาม เป็นเจ้าเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้ขึ้นตรงต่อกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วย ชาวจาม มีความสามารถในการรบ ที่มีชื่อเสียง เช่น กองอาสาจาม เป็นทหารชั้นดี มีวินัย เชี่ยวชาญการเดินเรือ รับใช้ราชสำนักมานาน และเก่งการค้ามาหลายพันปี และต่อมาระหว่าง ปี พ.ศ. 2173 - 2199 ในแผ่นดิน พระเจ้าปราสาททองแห่งราชอาณาจักกรุงศรีอยุธยา ได้กวาดต้อนชาวเมืองแถง หรือ (เดียนเบียนฟู) อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวเมืองพงสาลี อยู่ในประเทศลาว มาเป็นพลเมือง เมืองชุมพร เมืองปะทิว(อำเภอปะทิว) เพื่อทำการเกษตรกรรม และเมืองท่าการค้าสำคัญ ตั้งแต่นั้นมา เดิมชาวจามนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พ.ศ. 1400 นับถือศาสนาพุทธมหายาน และเมื่อค้าขายกับอาหรับก็นับถือ ศาสนาอิสลาม แต่ชาวจามที่มาอยู่เมืองชุมพร ต่อมานับถือ ศาสนาพุทธ มีวัฒนธรรม ประเพณี เหมือนกัน แต่เมื่อเวลาผ่านไปกว่า 500 -600 ปี ที่ชาวจาม เข้าปกครองเมืองชุมพร และดินแดนแถบนี้จนแทบจะไม่เหลือวัฒนธรรมเดิมเลย เช่น ข้าวต้มใบพ้อ ที่ใช้ในงานมงคล เช่นเดียวกับชาวมุสลิม บ้านกาลอ ตำบลกาลอ อำเภอรามัญ จังหวัดยะลา ก็สูญหายไม่ได้ใช้ในงานมงคลแล้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดชุมพร · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดฟรีสลันด์

ฟรีสลันด์ (Friesland) หรือ ฟริสลอน (ฟรีเซียตะวันตก: Fryslân) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลักอยู่ที่เลวาร์เดิน ทิศเหนือจรดทะเลเหนือ ทิศตะวันออกติดต่อกับจังหวัดโกรนิงเงินและจังหวัดเดรนเทอ ทิศใต้ติดต่อกับจังหวัดโอเฟอไรส์เซิลและจังหวัดเฟลโฟลันด์ ทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์ "ฟรีสลันด์" เป็นชื่อทางการของจังหวัดมาจนถึงปลายปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดฟรีสลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดภูเก็ต

ูเก็ต เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ของประเทศไทย เป็นเกาะขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่ในทะเลอันดามัน จังหวัดที่ใกล้เคียงทางทิศเหนือ คือ จังหวัดพังงา ทางทิศตะวันออก คือ จังหวัดพังงาและจังหวัดกระบี่ ทั้งเกาะล้อมรอบด้วยมหาสมุทรอินเดีย และยังมีเกาะที่อยู่ในอาณาเขตของจังหวัดภูเก็ตทางทิศใต้และตะวันออก การเดินทางเข้าสู่ภูเก็ตนอกจากทางเรือแล้ว สามารถเดินทางโดยรถยนต์ซึ่งมีเพียงเส้นทางเดียวผ่านทางจังหวัดพังงา โดยข้ามสะพานสารสินและสะพานคู่ขนาน คือ สะพานท้าวเทพกระษัตรีและสะพานท้าวศรีสุนทร เพื่อเข้าสู่ตัวจังหวัด และทางอากาศโดยมีท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตรองรับ ท่าอากาศยานนี้ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะ คำว่า ภูเก็ต คาดว่าน่าจะเพี้ยนมาจากคำว่า บูกิต (ในภาษามลายูแปลว่าภูเขา) และคำว่า "ภูเขา" ในภาษาอุรักลาโว้ย เรียกว่า "บูเก๊ะ" หรือที่เคยรู้จักแต่โบราณในนาม เมืองถลาง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดมาลูกู

มาลูกู (Maluku) เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย โดยประกอบไปด้วยพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ของหมู่เกาะโมลุกกะ เมืองหลักของจังหวัดมาลูกูคืออัมบน บนเกาะอัมบนขนาดเล็ก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดมาลูกู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดยะลา

ลา เป็นจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดยะลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลัมปุง

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดลัมปุง · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุมาตราตะวันตก

มาตราตะวันตก (Sumatera Barat) หรือเรียกอย่างย่อว่า ซุมบาร์ (Sumbar) เป็นจังหวัดทางภาคตะวันตกของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ประชากรในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดสุมาตราตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุมาตราใต้

มาตราใต้ (Sumatera Selatan) เป็นจังหวัดหนึ่งทางตอนใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรทั้งหมด 7,446,401 คน (สำมโนประชากรปี 2553) มีเมืองหลักชื่อปาเล็มบัง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดสุมาตราใต้ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุมาตราเหนือ

มาตราเหนือ (Sumatera Utara) เป็นจังหวัดหนึ่งบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีประชากรมากกว่า 13 ล้านคน เป็นจังหวัดที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศหากไม่นับรวมกรุงจาการ์ต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดสุมาตราเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสตูล

ตูล เป็นจังหวัดที่อยู่ใต้สุดของประเทศไทย (ทางชายฝั่งทะเลอันดามัน) คำว่า สตูล มาจากคำภาษามลายูเกดะห์ว่า เซอตุล (ستول) (ภาษามาเลย์ว่า เซอตุล (setul)) แปลว่ากระท้อน ซึ่งเป็นผลไม้ชนิดหนึ่งที่ขึ้นอยู่ชุกชุมในท้องที่นี้ โดยชื่อเมือง นครสโตยมำบังสการา (Negeri Setoi Mumbang Segara) นั้นหมายความว่า สตูล เมืองแห่งพระสมุทรเทวา ดังนั้น "ตราพระสมุทรเทวา" จึงกลายเป็นตราหรือสัญลักษณ์ของจังหวัดมาตราบเท่าทุกวันนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดสตูล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอาเจะฮ์

อาเจะฮ์ (Aceh) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ทางเหนือสุดของเกาะสุมาตร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดอาเจะฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจัมบี

ัมบี (Jambi) เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย จังหวัดอยู่ทางตอนกลางของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย มีเมืองหลักชื่อจัมบี จังหวัดมีเนื้อที่ 50,058.16 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 3,092,265 คน ตามการสำรวจสำมะโนประชากร ปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดจัมบี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดจันทบุรี

ังหวัดจันทบุรี เป็นจังหวัดทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเนื้อที่ 6,388 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้ำ และที่ราบชายฝั่งทะเล ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา และสระแก้วทางทิศเหนือ ทิศตะวันออกติดกับจังหวัดตราดและประเทศกัมพูชา ทิศใต้ติดกับอ่าวไทย และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดระยองและชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 238 กิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดจันทบุรีอาศัยอยู่ทางตอนใต้ของจังหวัด โดยอาชีพที่ประชากรในจังหวัดนิยมประกอบอาชีพมากที่สุดคือเกษตรกรรมและประมง และศาสนาที่มีการนับถือมากที่สุดในจังหวัดคือศาสนาพุท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดจันทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดคีรีโน

ังหวัดคีรีโน (อีโลกาโน: Probinsia ti Quirino) เป็นจังหวัดที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเขตลัมบักนางคากายันของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งชื่อตามเอลปิดิโอ กีริโน ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์คนที่ 6 เมืองหลักคือคาบาร์โรกิส จังหวัดคีรีโน มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดเอาโรรา‎ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้, จังหวัดนูเวบาบิซคายาทางทิศตะวันตก และจังหวัดอีซาเบลาทางทิศเหนือ จังหวัดคีรีโนเคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดนูเวบาบิซคายา จนถึงปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดคีรีโน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดติมอร์ตะวันออก

ังหวัดติมอร์ตะวันออก (อินโดนีเซีย: Timor Timur) เป็นจังหวัดของประเทศอินโดนีเซียโดยพฤตินัย เคยถูกจักรวรรดิโปรตุเกสยึดและใช้ชื่ออาณาจักรว่า โปรตุเกสติมอร์ ปัจจุบันพื้นที่ทั้งหมดเป็นของประเทศติมอร์-เลสเต ตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดติมอร์ตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปาปัว

ปาปัว (Papua) เป็น 1 ใน 33 จังหวัดของประเทศอินโดนีเซีย เมืองหลวงคือ จายาปุระ มีพื้นที่ทั้งหมด 319,036.05 กม2 (123,181 ไมล์2) มีประชากรทั้งหมด 2,833,381 คน ภาษาที่ใช้คือภาษาอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดปาปัว · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปาปัวตะวันตก

ปาปัวตะวันตก (Papua Barat) เป็นจังหวัดหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย มีพื้นที่ครอบคลุมคาบสมุทรทั้งสองแห่งของเกาะนิวกินี มีเมืองหลักชื่อมาโนะก์วารี แต่เมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือโซรง เมื่อปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดปาปัวตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนอร์ทบราแบนต์

นอร์ทบราแบนต์ (North Brabant; Noord-Brabant) เป็นจังหวัดในประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ทางทิศใต้จรดจังหวัดแอนต์เวิร์ปและจังหวัดลิมบูร์กของประเทศเบลเยียม ทางทิศเหนือจรดแม่น้ำมาส ทางทิศตะวันออกจรดจังหวัดลิมบูร์ก และทางทิศตะวันตกจรดจังหวัดเซลันด์ นอร์ทบราแบนต์.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดนอร์ทบราแบนต์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์

นอร์ทฮอลแลนด์ (North Holland) หรือ โนร์ด-โฮลลันด์ (Noord-Holland) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเนเธอร์แลนด์ มีเมืองหลักของจังหวัดคือเมืองฮาร์เลม เมืองที่ใหญ่ที่สุดคือกรุงอัมสเตอร์ดัม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครศรีธรรมราช

นครศรีธรรมราช เป็นจังหวัดในประเทศไทย มีประชากรมากที่สุดในภาคใต้และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี) ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 780 กิโลเมตร มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ สงขลา พัทลุง ตรัง กระบี่ และสุราษฎร์ธานี ในอดีต มีชื่อเรียกดินแดนแถบนี้หลายชื่อ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ที่เขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 7-8 เรียกว่า "ตามพรลิงก์" หรืออาณาจักรตามพรลิงก์, บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก "เซี้ยะ-โท้ว (ถู-กวั่ว) ", "รักตะมฤติกา" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วนหมายถึง "ดินแดนที่มีดินสีแดง", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 คือ "ลิกอร์" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพี้ยนมาจากคำว่า "นคร" ส่วนชื่อ "นครศรีธรรมราช" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครในอดีต มีพระนามว่า "พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า "นครอันเป็นสง่าแห่งพระราชาผู้ทรงธรรม" หรือ "เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่" ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองนครศรีธรรมราชมีฐานะเป็นหัวเมืองชั้นเอกคู่กับเมืองพิษณุโลก มีขุนนางชั้นผู้ใหญ่ระดับเจ้าพระยาเป็นเจ้าเมือง มีบรรดาศักดิ์ตามพระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหารหัวเมือง ว่า เจ้าพระยาศรีธรรมราชชาติเดโชไชยมไหยสุริยาธิบดีอภัยพิรียบรากรมภาห.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดนครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดโอเฟอไรส์เซิล

โอเฟอไรส์เซิล (Overijssel, Overissel) เป็นจังหวัดในประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ตอนกลาง-ตะวันตกของประเทศ ความหมายของชื่อคือ "พื้นที่แนวแม่น้ำไอส์เซิล" เมืองหลักของจังหวัดคือเมืองซโวลเลอ และเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือเมืองแอ็นสเคอเด ณ ปี ค.ศ. 2006 จังหวัดนี้มีประชากร 1,113,529 คน โอเฟอไรส์เซิล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดโอเฟอไรส์เซิล · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเบิงกูลู

งกูลู (Bengkulu) หรือที่ในอดีตเรียกว่า เบงคูเลน (Bencoolen) เป็นชื่อจังหวัดและเมืองท่าทางตอนใต้ของสุมาตราฝั่งตะวันตก เป็นที่ตั้งสถานีการค้าและป้อมปราการของบริษัทอินเดียตะวันออกแห่งอังกฤษ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดเบิงกูลู · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์

ซาท์ฮอลแลนด์ (South Holland) หรือ เซยด์-โฮลลันด์ (Zuid-Holland) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเหนือ ทางตะวันตกของประเทศเนเธอร์แลนด์ เมืองหลักของจังหวัดคือเมืองเดอะเฮก และเมืองที่ใหญ่ที่สุดคือรอตเทอร์ดาม จังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์เป็นหนึ่งในที่ที่มีความหนาแน่นประชากรมากที่สุดในโลก และเป็นแหล่งอุตสาหกรรม มีประชากร 3,502,595 คน (30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009) มีพื้นที่ 3,403 ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีความหนาแน่นของประชากรมากที่สุดในเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

จาการ์ตา

การ์ตา (Jakarta) เป็นเมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่บนเกาะชวาฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ มีประชากร 8.3 ล้านคน (พ.ศ. 2543) ในอดีตมีชื่อว่า บาตาวียา หรือ ปัตตาเวีย (Batavia) คนไทยในอดีตเรียก กะหลาป๋.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจาการ์ตา · ดูเพิ่มเติม »

จามาล อุดดีน อัล-อัฟกานี

อัลอัฟกานี จามาล อุดดีน อัล-อัฟกานี (Jamal ad-Din al-Afghani) เป็นนักคิดเจ้าของลัทธิรวมกลุ่มอิสลามและเป็นปัญญาชนคนสำคัญในโลกอิสลาม เกิดเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจามาล อุดดีน อัล-อัฟกานี · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมฝาผนัง

วาติกัน, โรม ประเทศอิตาลี จิตรกรรมฝาผนังโดยดิโอนิเซียส (Dionisius) เล่าเรื่องนักบุญนิโคลัส จิตรกรรมฝาผนัง จากมหากาพย์ “ไตรภูมิดานเต” ของดานเตโดยโดเมนิโค ดิ มิเคลลิโน (Domenico di Michelino) ที่มหาวิหารฟลอเรนซ์ จิตรกรรมฝาผนังจากบาวาเรียประเทศเยอรมนี “ที่ฝังศพของนักดำน้ำ” พบเมื่อปีค.ศ. 1968 (470 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จิตรกรรมฝาผนังจากอจันตา (Ajanta) คริสต์ศตวรรษที่ 6 จิตรกรรมฝาผนังโคลาของนักรำที่ Brihadisvara Temple ประมาณ ค.ศ. 1100 จิตรกรรมฝาผนัง (ภาษาอังกฤษ: Mural painting) คือภาพเขียนหลายชนิดที่เขียนบนปูนบนผนังหรือเพดาน เทคนิคที่นิยมกัน คือ การวาดภาพบนผนังปูนปลาสเตอร์เปียก (fresco) โดยที่คำว่า “fresco” มาจากภาษาอิตาลี “affresco” ซึ่งมาจากคำว่า “fresco” หรือ “สด” รากศัพท์มาจากภาษาเยอรมัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจิตรกรรมฝาผนัง · ดูเพิ่มเติม »

จิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี

การแต่งงานของเวอร์จินแมรี” ภาพ “พระแม่มารีกับไม้ปั่นด้าย” โดยเลโอนาร์โด ดา วินชี จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (Italian Renaissance painting) คือสมัยประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมที่เริ่มตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 ไปจนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เกิดขึ้นในบริเวณของประเทศอิตาลีในปัจจุบัน ซึ่งในขณะนั้นแบ่งการปกครองเป็นอาณาบริเวณต่างๆ จิตรกรในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของอิตาลีแม้ว่าจะขึ้นอยู่กับราชสำนักหรือสำนัก หรือเมือง แต่ก็มีโอกาสได้ท่องเที่ยวอย่างกว้างไกลไปทั่วอิตาลี และมักจะได้รับฐานะเป็นทูตในการเผยแพร่อิทธิพลความคิดทั้งทางศิลปะและปรัชญา เมืองที่ได้ชื่อว่าเป็นต้นกำเนิดของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและโดยเฉพาะในสาขาจิตรกรรมก็คือเมืองฟลอเรนซ์ที่อ่านประกอบได้ในบทความ “ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา”, ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และ “สถาปัตยกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา” จิตรกรรมยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลีแบ่งเป็นสี่สมัย.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจิตรกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

จิตวิทยาเชิงบวก

ตวิทยาเชิงบวก (Positive psychology) เป็นสาขาย่อยใหม่ของจิตวิทยาที่ใช้ความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และการแทรกแซงที่มีประสิทธิผล เพื่อช่วยให้บุคคลมีชีวิตที่น่าพอใจ โดยสร้างความเจริญก้าวหน้าสำหรับบุคคล ครอบครัว และชุมชน และค้นหาเสริมสร้างอัจฉริยภาพกับความสามารถเพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติสุขมากยิ่งขึ้น ศาสตร์นี้เพ่งความสนใจไปที่การพัฒนาตนเองแทนที่การรักษาโรค ซึ่งมักจะเป็นจุดสนใจของจิตวิทยาสาขาอื่น ๆ เป็นวิทยาการที่ค่อนข้างใหม่ งานประชุมครั้งแรกเกี่ยวกับศาสตร์นี้เกิดขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจิตวิทยาเชิงบวก · ดูเพิ่มเติม »

จุลจักร จักรพงษ์

ลจักร จักรพงษ์ (Chulachak Chakrabongse; 6 สิงหาคม พ.ศ. 2524) มีชื่อจริงว่า ฮิวโก้ จุล อเล็กซานเดอร์ เลวี (Hugo Chula Alexander Levy) และมีชื่อเล่นว่า เล็ก แต่นิยมเรียกกันว่า ฮิวโก้ เป็นบุตรชายคนโตของหม่อมราชวงศ์นริศรา จักรพงษ์ กับแอลเลน เลวี เป็นหลานตาของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชาน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจุลจักร จักรพงษ์ · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาราชมนตรี

ฬาราชมนตรี เป็นผู้นำกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย และเป็นตำแหน่งฝ่ายมุสลิมให้ข้อปรึกษาด้านศาสนาอิสลามแก่รัฐบาลไทย โดยเฉพาะแก่กระทรวงมหาดไทยและกระทรวงวัฒนธรรม มีประวัติมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา ในทำเนียบศักดินาของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทำเนียบตำแหน่งขุนนาง ซึ่งในชั้นหลังเรียกว่า "กรมท่าขวา" มี "พระจุลาราชมนตรี" เป็นหัวหน้าฝ่ายแขก คู่กับ "หลวงโชฎึกราชเศรษฐี" หัวหน้าฝ่ายจีน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจุฬาราชมนตรี · ดูเพิ่มเติม »

จีบรีล ซีเซ

ีบรีล ซีเซ (Djibril Cissé) เกิดเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 1981 เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศส-ไอวอรี่ โคสต์ เล่นในตำแหน่งกองหน้า โดยพ่อของเขา มองก์ ซีเซ จีบรีลลา เคยเป็นกองหลังและอดีตกัปตันทีมชาติไอวอรี โคสต์ ของสโมสรอาร์ลส์ อาวีญง ฌิบริล ซิสเซ่เคยเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลชื่อดังในยุโรปมาแล้วหลายสโมสรเช่น มาร์แซย์, ลาซีโอ, อาร์ลาวีญง, โอแซร์ รวมไปถึงลิเวอร์พูล สโมสรที่เขาประสบความสำเร็จมากที่สุด โดยในปี ค.ศ. 2005 ซีเซได้ลงเล่นให้กับลิเวอร์พูลในนัดที่แข่งยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกตอนเจอกับเอซี มิลานในช่วงฤดูกาล 2004-05 โดยเขาได้ทำประตูสำคัญให้กับทีม ซึ่งช่วยทำให้ลิเวอร์พูลกลับมาตีเสมอเอซีมิลานได้ 3-3 แล้วก็ได้แชมป์ด้วยการชนะจุดโทษไป 3-2 ซีเซมีบทบาทกับทีมลิเวอร์พูลมาก ซึ่งซีเซได้แชมป์กับลิเวอร์พูล 3 ครั้ง คือ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ยูฟ่าซูเปอร์คัพ และเอฟเอคัพ โดยราฟาเอล เบนีเตซ ผู้จัดการทีมลิเวอร์พูลในช่วงนั้นได้สนับสนุนเขาให้ลงเล่นเป็นตัวจริงบ่อยครั้ง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจีบรีล ซีเซ · ดูเพิ่มเติม »

จีน อับดุลละห์

ตน จีน อับดุลละห์ (สกุลเดิม: ดันเกอร์; เกิด: 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2496) เป็นภรรยาคนที่สองของอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศมาเลเซีย อับดุลละห์ อะห์มัด บาดาวี ซึ่งได้ทำการสมรสใหม่ หลังจากภรรยาคนแรกของเขาได้เสียชีวิตไปก่อนหน้านี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและจีน อับดุลละห์ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรเมนทระ

รรเมนทระ (ਧਰਮਿੰਦਰ ਸਿੰਘ ਦਿਉਲ) เกิดเมื่อ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธรรเมนทระ · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ ใจสมุทร

นายธานินทร์ ใจสมุทร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดสตูล สังกัดพรรคชาติไทยพัฒนา เป็นอดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสตูล 5 สมั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธานินทร์ ใจสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบังกลาเทศ

งชาติบังกลาเทศ เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 3 ส่วน กว้าง 5 ส่วน ภายในธงมีรูปวงกลมสีแดงค่อนมาทางด้านคันธง 1%.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติบาห์เรน

23px ธงชาติบาห์เรน สัดส่วน: 3:5 ธงชาติบาห์เรน (อาหรับ علم البحرين) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งออกเป็นสองส่วนด้วยเส้นฟันปลา 5 ซี่ ตามแนวตั้ง โดยทางด้านต้นธงเป็นพื้นสีขาว ส่วนทางด้านปลายธงเป็นสีแดง ความหมายของสีแดง คือ เป็นสีของกลุ่มรัฐในแถบอ่าวเปอร์เซีย ส่วนสีขาวซึ่งต่อกับเส้นฟันปลาทางด้านต้นธงนั้น หมายถึงหลักปฏิบัติ 5 ประการของศาสนาอิสลาม ประเทศบาห์เรนใช้ธงชาติแบบแรกสุดเป็นธงสีแดงเกลี้ยง ต่อมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 แถบสีขาวซึ่งแบ่งกับแถบสีแดงด้วยเส้นฟันปลาจึงเพิ่มเข้ามา เพื่อให้สามารถแยกแยะกับธงของประเทศข้างเคียงให้ชัดเจนขึ้น เดิมเส้นฟันปลานั้นเป็นเส้นฟันปลา 8 ซี่ ต่อมาจึงมีการลดจำนวนซี่ฟันปลาลงเหลือเพียง 5 ซี่ เมื่อ พ.ศ. 2545 โดยมีความหมายหลักปฏิบัติ 5 ประการของศาสนาอิสลาม ดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ธงชาติบาห์เรนมีความคล้ายคลึงกับธงชาติกาตาร์ ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าและมีสีที่เข้มกว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมอริเตเนีย

23px ธงชาติมอริเตเนีย สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติมอริเตเนีย เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นสีเขียว กลางธงมีรูปจันทร์เสี้ยวหงาย ระหว่างปลายจันทร์เสี้ยวมีรูปดาวห้าแฉกสีเหลือง 1 ดวง เริ่มใช้เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2502 อันเป็นวันที่ประเทศนี้ประกาศเอกราชจากฝรั่งเศส พื้นธงสีเขียว รูปจันทร์เสี้ยวและดาว สัญลักษณ์ทั้งสองอย่างนี้หมายถึงศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจำชาติ สีเหลืองหมายถึงทรายในทะเลทรายซาฮารา อนึ่ง ทั้งสีเขียวและสีเหลืองนี้จัดเป็นสีพันธมิตรแอฟริกาด้วย สีแดงทั้งบนและล่างหมายถึงทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติมอริเตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมัลดีฟส์

แบบการสร้างธงชาติมัลดีฟส์ ธงชาติสาธารณรัฐมัลดีฟส์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีเขียว ขอบสีแดง กลางธงมีรูปพระจันทร์เสี้ยวสีขาวปลายหันหลังให้ด้านเสาธง ประกาศใช้อย่างเป็นทางการพร้อมกันกับตราแผ่นดินของมัลดีฟส์ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1965 (พ.ศ. 2508).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมาลี

งชาติสหพันธรัฐมาลี พ.ศ. 2502 - 2504 ธงชาติมาลี มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งแถบตามแนวตั้งความกว้างเท่ากันทุกแถบ เรียงเป็นแถบสีเขียว สีเหลือง และสีแดง ตามลำดับจากด้านคันธง รูปแบบของธงนี้ได้รับอิทธิพลจากธงชาติฝรั่งเศส ซึ่งเป็นชาติเจ้าอาณานิคมเดิม ส่วนสีในธงมาจากสีพันธมิตรแอฟริกา เดิมธงชาติมาลีมีลักษณะที่คล้ายกับที่ใช้ในปัจจุบัน แต่มีรูปวาดเป็นภาพคนสีดำชูอาวุธ (ภาพนี้เรียกชื่อว่า "คานากา" - "kanaga") อยู่ตรงกลางแถบสีเหลือง ธงดังกล่าวเริ่มใช้เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2502 เมื่อมาลีในขณะนั้นได้เข้าร่วมในประเทศสหพันธรัฐมาลี (ประกอบด้วยประเทศมาลี ประเทศเซเนกัล และประเทศกานาในปัจจุบัน มีอายุอยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 - 2503) ภาพดังกล่าวนี้ได้ถูกเอาออกไปจากธงชาติในภายหลังตามแนวคิดต่อต้านรูปเคารพในศาสนาอิสลาม เนื่องจากประชากรกว่าร้อยละ 90 ของมาลีเป็นผู้นับถือศาสนานี้ ภายหลังเมื่อกานาแยกตัวจากมาลีในวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2504 ธงนี้ก็คงใช้เป็นธงของประเทศมาลีสืบมาจนถึงทุกวันนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติมาลี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติมาเลเซีย

งชาติมาเลเซีย หรือ จาลูร์เกอมีลัง (Jalur Gemilang มีความหมายว่า ธงริ้วแห่งเกียรติศักดิ์) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีแดงสลับสีขาวรวม 14 แถบ แต่ละแถบมีความกว้างเท่ากัน ที่มุมธงด้านคันธงมีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีน้ำเงินกว้าง 8 ใน 14 ส่วนของผืนธงด้านกว้าง และยาวกึ่งหนึ่งของผืนธงด้านยาว ภายในบรรจุเครื่องหมายพระจันทร์เสี้ยวและดาว 14 แฉก ที่มีชื่อว่า "บินตังเปอร์เซกูตัน" ("Bintang Persekutuan") หรือ "ดาราสหพันธ์".

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติลิเบีย

งชาติลิเบีย (علم ليبيا) ในปัจจุบันเป็นธงชาติเดิมในสมัยสหราชอาณาจักรลิเบีย ระหว่าง พ.ศ. 2494 - พ.ศ. 2512 ซึ่งได้ถูกฟื้นฟูเป็นสัญลักษณ์ของชาติลิเบียอีกครั้งเมื่อเริ่มเกิดการต่อต้านรัฐบาลของพันเอกมูอัมมาร์ กัดดาฟี ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 จนกระทั่งบานปลายไปสู่สงครามกลางเมือง ต่อมาเมื่อกองทัพของสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสามารถยึดกรุงตริโปลิและโค่นล้มรัฐบาลของกัดดาฟีลงได้ จึงได้มีการประกาศฟื้นฟูฐานะธงชาติแบบเดิมขึ้นอีกครั้ง เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม ปีเดียวกัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติศรีลังกา

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นสีทอง ภายในประกอบด้วยแถบสีเขียวและสีแสดแนวตั้งที่ด้านคันธง ส่วนด้านปลายธงเป็นกรอบสี่เหลี่ยมสีแดงเลือดหมู ภายในมีรูปราชสีห์ยืน เท้าหน้าข้างหนึ่งถือดาบ ที่มุมสี่เหลี่ยมแต่ละมุมนั้นมีใบโพธิ์มุมละ 1 ใบ ธงนี้เรียกชืออีกอย่างว่า "ธงราชสิห์" ("Lion Flag") ธงนี้ใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2494 เมื่อประเทศศรีลังกายังใช้ชื่อว่ารัฐอธิราชซีลอน (Dominion of Ceylon) ภายใต้ความปกครองของสหราชอาณาจักรต่อมาจึงได้มีการแก้ไขให้เป็นธงแบบปัจจุบันเมื่อประเทศศรีลังกาได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2515.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี

รนีกา ฟอร์เก นักแสดงหญิงชาวสเปน โบกธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี ธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี มีลักษณะที่ผสมกันระหว่างธงสีพันธมิตรอาหรับกับสัญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม ธงนี้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 และมีการปรับแบบเล็กน้อยในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2534 ดินแดนเวสเทิร์นสะฮาราซึ่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวีได้ประกาศอ้างสิทธินั้น ส่วนใหญ่อยู่ในความครอบครองของประเทศโมร็อกโก ในเวสเทิร์นสะฮาราจึงสามารถพบธงชาติโมร็อกโกได้ทั่วไป.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาหรับซาห์ราวี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอัฟกานิสถาน

งชาติสาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน แบบปัจจุบันนี้ ประกาศใช้ในสมัยรัฐบาลชุดถ่ายโอนอำนาจของรัฐอิสลามของอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2547) ลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวตั้ง เป็นสีดำ-แดง-เขียว กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน กลางธงมีรูปตราแผ่นดินของอัฟกานิสถาน ในลักษณะภาพลายเส้นสีขาว ลักษณะของธงชาติยุคนี้ คล้ายคลึงกับธงชาติในสมัยราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน ช่วง พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2516 โดยมีความแตกต่างสำคัญที่มีการบรรจุภาพอักษรที่เรียกว่า ชะฮาดะฮ์ เป็นข้อความซึ่งแปลเป็นภาษาไทยได้ว่า "ข้าพเจ้านับถือว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกเหนือจากอัลลอหฺ และศาสดามุฮัมมัดคือ​ศาสนทูตแห่งอัลลอหฺ" ที่ตอนบนของภาพตรา วันที่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการคือวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2547 ในยุดก่อนสมัยการปกครองของกลุ่มตอลิบานและแนวร่วมอิสลามเพื่อการปลดปล่อยอัฟกานิสถาน ธงชาติในยุคนี้มีการใช้ภาพตราแผ่นดินแบบเดียวกับกับธงยุคปัจจุบัน แต่แถบสีนั้นเป็นแถบสีดำ-ขาว-เขียว เรืยงแถบสีธงตามแนวนอน ประเทศอัฟกานิสถาน ถือได้ว่าเป็นประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบธงชาติในสมัยต่างๆ ตลอดช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 มากครั้งที่สุด มากกว่าชาติอื่นใดในโลกนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอาเซอร์ไบจาน

งชาติอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan bayrağı) เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งตามแนวนอนเป็นสามแถบ แต่ละแถบซึ่งมีความกว้างเท่ากันมีสีฟ้า สีแดง และสีเขียว ตามลำดับจากบนลงล่าง กลางแถบสีแดงมีรูปจันทร์เสี้ยวและดาวแปดแฉกสีขาว ธงดังกล่าวนี้เริ่มใช้ครั้งแรกในระหว่างปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอิรัก

23x15px สัดส่วนธง 2:3 ธงชาติอิรัก (อาหรับ: علم العراق) มีการเปลี่ยนแปลงมาแล้วหลายครั้ง จากความผันผวนทางการเมืองในประเทศ นับตั้งแต่การก่อตั้งประเทศใน พ.ศ. 2464 เป็นต้นมา ธงชาติแบบที่เปลี่ยนแปลงครั้งล่าสุดนี้ ได้ดัดแปลงจากธงชาติอิรัก พ.ศ. 2457-2551 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีแดง-ขาว-ดำ แบ่งตามแนวนอน มีความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน กลางแถบสีขาวมีอักษรคูฟิก เขียนเป็นข้อความภาษาอาหรับว่า "อัลลอหุ อักบัร" แปลว่า พระอัลเลาะห์เจ้าทรงเป็นผู้ยิ่งใหญ่ที่สุด ทั้งนี้ เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเอารูปดาวห้าแฉกสีเขียว 3 ดวงออกจากธงเดิมไป ธงดังกล่าวนี้จะใช้เป็นธงชาติอิรักเป็นการชั่วคราว จนกว่าจะมีการรับรองแบบธงชาติใหม่ใน พ.ศ. 2552 ควรรู้ด้วยว่า ด้านคันธงของธงที่มีอักษรอาหรับจารึกอย่างธงนี้อยู่ทางด้านขวา ไม่ใช่ทางด้านซ้ายของผู้สังเกตอย่างธงปกติทั่วไป.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอียิปต์

งชาติอียิปต์ (علم مصر) เป็นธงสามสีซึ่งประกอบด้วยแถบสีแนวนอนขนาดเท่ากันสามแถบ เรียงลำดับเป็นสีแดง สีขาว และสีดำ จากบนลงล่าง สีทั้งสามนี้เป็นสีที่มาจากธงขบวนการปลดแอกอาหรับ ซึ่งมีประวัติความเป็นมาย้อนหลังไปถึงเหตุการณ์การปฏิวัติในอียิปต์เมื่อปี ค.ศ. 1952 ในธงดังกล่าวได้บรรจุรูปสัญลักษณ์นกอินทรีแห่งซาลาดิน อันเป็นรูปตราแผ่นดินของอียิปต์ ไว้ที่กลางแถบสีขาว ลักษณะของธงที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1984.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติจิบูตี

23px ธงชาติจิบูตี สัดส่วนธง 4:7 ธงชาติจิบูตี เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4 ส่วน ยาว 7 ส่วน ภายในแบ่งครึ่งเป็นแถบสีฟ้าและสีเขียวตามแนวนอน ที่ด้านคันธงแบ่งเป็นช่องสามเหลี่ยมพื้นสีขาว ภายในมีรูปดาวห้าแฉกสีแดง 1 ดวงอยู่ตรงกลาง ธงนี้มีที่มาจากธงของสันนิบาตประชาชนแอฟริกาเพื่อเอกราช (Ligue Populaire Africaine pour l'Independance - LPAI) ซึ่งเป็นขบวนการเรียกร้องเอกราชของจิบูติ และได้รับรองเป็นธงชาติเมื่อปี พ.ศ. 2520 โดยชักขึ้นครั้งแรกในวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติจิบูตี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติคอโมโรส

23px ธง ชาติคอโมโรส สัด ส่วนธง 3:5 ธงชาติคอโมโรส แบบปัจจุบันเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 3 ส่วน ยาว 5 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นแถบแนวนอน 4 แถบ แต่ละแถบเป็นสีเหลือง สีขาว สีแดง และสีฟ้า เรียงจากบนลงล่าง ที่ด้านคันธงเป็นรูปสามเหลี่ยมพื้นสีเขียว ภายในรูปนั้นมีจันทร์เสี้ยวสีขาว ที่ระหว่างปลายจันทร์เสี้ยวนั้นมีดาวห้าแฉกสีขาว 4 ดวงเรียงตามแนวตั้ง ธงนี้ออกแบบขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2544 และประกาศใช้ในวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2545 แถบสีทั้ง 4 สีนี้หมายถึงเกาะทั้งสี่เกาะของประเทศ โดยสีเหลืองหมายถึงเกาะโมเอลี (Mohéli) สีขาวหมายถึงเกาะมายอต (Mayotte) ซึ่งเป็นดินแดนที่คอโมโรสอ้างสิทธิแต่มีฝรั่งเศสเป็นผู้ปกครอง สีแดงหมายถึงเกาะอองจวน (Anjouan) และสีฟ้าหมายถึงเกาะกรองด์โกมอร์ (Grande Comore) รูปดาวทั้งสี่ดวงนั้นก็มีความหมายถึงเกาะทั้งสี่เช่นกัน ส่วนจันทร์เสี้ยวนั้น หมายถึงศาสนาอิสลาม อันเป็นศาสนาประจำชาต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติคอโมโรส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติตูนิเซีย

งชาติตูนิเซีย (علم تونس) มีลักษณะเด่นคือ เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีแดง มีรูปจันทร์เสี้ยวและดาวสีแดงในวงกลมสีขาวที่กลางธง เจ้าอัลฮุสเซนที่ 2 อิบน์ มาห์มุต (Al-Husayn II ibn Mahmud) เจ้าผู้ครองนครตูนิส ทรงตัดสินพระทัยกำหนดแบบธงนี้ขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2370 หลังสิ้นศึกแห่งนาวาริโน (Battle of Navarino) และต่อมาได้กำหนดเป็นธงชาติในช่วงปี พ.ศ. 2374 หรือ พ.ศ. 2378 แม้ในสมัยที่ตูนิเซียตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสก็ตาม แต่ธงนี้ก็ยังธงชาติอย่างเป็นทางการของประเทศนี้มาโดยตลอด และได้รับการยืนยันว่าเป็นธงชาติสาธารณรัฐตูนิเซีย เมื่อมีการลงนามในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2502 อย่างไรก็ตาม ขนาดและสัดส่วนธงนั้นก็ไม่ได้มีแบบที่เป็นมาตรฐาน จนกระทั่งในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2542 จึงได้มีการระบุข้อมูลเหล่านี้ไว้ในกฎหมายอย่างชัดเจน รูปจันทร์เสี้ยวและดาวนั้นเป็นสัญลักษณ์ของศาสนาอิสลามตามธรรมเนียมในศาสนานั้น และถือกันว่าเป็นสัญลักษณ์แห่งโชคลาภด้วย นอกจากนี้ยังเป็นสิ่งที่ทำให้นึกถึงธงจักรวรรดิออตโตมัน และเป็นเครื่องหมายทางประวัติศาสตร์เตือนให้รู้ว่า ในอตีตตูนิเซียเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติตูนิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติซาอุดีอาระเบีย

งชาติซาอุดีอาระเบีย เป็นธงที่ใช้โดยรัฐบาลของราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย ตั้งแต่วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2506 มีลักษณะเป็นธงสีเขียวบนพื้นสีขาวที่มีจารึกภาษาอาหรับ และดาบ เป็นการประกาศความเชื่อตามหลักศาสนาอิสลาม (ชะฮาดะฮฺ) ดาบเป็นสัญลักษณ์แห่งความยุติธรรม ธงสีเขียวที่มีตัวอักษรดังนี้หรืออักษรอาหรับอื่นมักถูกพบเห็นในศาสนาอิสลาม และระวังสับสนกับธงชาติซาอุดิอาระเบีย ธงอื่นโดยปกติแล้วจะไม่มีสัญลักษณ์ดาบ ธงดังกล่าวถูกผลิตขึ้นมาให้สมมาตรกันทั้งด้านหน้าและด้านหลัง เพื่อเพื่อให้มั่นใจว่าชะฮาดะฮ์จะอ่านอย่างถูกต้อง ทั้งเมื่อเริ่มอ่านจากขวาไปซ้าย หรือซ้ายไปขวา ดาบจะชี้ไปทางซ้ายมือทั้งหน้าและหลัง ในทิศทางของอักษร ธงดังกล่าวจะถูกชักขึ้นทางซ้ายมือของเสาธง เมื่อมองจากด้านหน้า โดยเสาธงอยู่ทางขวามือของธง สีเขียวที่ใช้ในธงเป็น Pantone 330 c / CMYK (%) C 100 -- M 0 -- Y 50 -- K - 50.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติซูดาน

งชาติซูดาน (علم السودان) ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในเป็นแถบธง 3 สี แบ่งตามแนวยาว พื้นสีแดง-ขาว-ดำ อันเป็นสีพันธมิตรอาหรับ ที่ด้านต้นธงนั้นมีรูปสามเหลี่ยมสีเขียว โดยฐานของรูปดังกล่าวติดกับด้านคันธง ธงนี้เริ่มบังคับใช้เป็นธงชาติซูดานเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ในธงนี้ สีแดงหมายถึงลัทธิสังคมนิยม เลือดและการต่อสู้ของชาวซูดาน และความเป็นชาติอาหรับ สีขาวหมายถึงความบริสุทธิ์และการมีมุมมองในเชิงบวก สีดำหมายถึงชาวซูดาน และการปฏิวัติมาห์ดี (Mahdist Revolution) ในปี พ.ศ. 2427 สามเหลี่ยมสีเขียวหมายถึงความวัฒนาถาวร เกษตรกรรม และศาสนาอิสลาม ธงที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับธงชาติซูดาน ได้แก่ ธงชาติลิเบียในช่วงปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติปากีสถาน

งชาติปากีสถาน มีลักษณะเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งเป็น 2 ส่วนตามแนวตั้ง ตอนต้นพื้นสีขาว กว้างเป็น 1 ใน 4 ส่วนของความยาวธง ส่วนที่เหลือเป็นพื้นสีเขียว ภายในมีรูปพระจันทร์เสี้ยวและดาวห้าแฉกสีขาว ธงนี้ออกแบบโดย ไซเอ็ด อาเมียร์ อุดดิน เก็ดวาอี (Syed Amir uddin Kedwaii) โดยอาศัยต้นแบบจากธงสันนิบาตมุสลิม (Muslim League) สภาแห่งชาติปากีสถานได้ประกาศให้ใช้ธงนี้เป็นธงชาติ เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2490 ก่อนหน้าการประกาศเอกราชจากบริติชราชในวันถัดมา ในเพลงชาติปากีสถาน ได้กล่าวถึงธงชาติไว้ในชื่อ "ธงเดือนเสี้ยวและดาว" (ภาษาอูรดู: Parcham-e-Sitāra-o-Hilāl) พื้นสีเขียวในธงชาติ หมายถึงศาสนาอิสลาม อันเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่ในประเทศ แถบสีขาวที่ต้นธง หมายถึงศาสนาอื่นๆ ของชนกลุ่มน้อยต่างๆ ในปากีสถาน รูปพระจันทร์เสี้ยวที่กลางธงหมายถึงความก้าวหน้า ส่วนดาวห้าแฉกสีขาวคือแสงสว่างและความรู้ ความหมายของธงโดยรวมจึงหมายถึงศาสนาอิสลาม โลกอิสลาม และสิทธิของชนกลุ่มน้อยผู้นับถือศาสนาอื่น ธงชาติปากีสถานจะใช้ประดับในโอกาสสำคัญต่างๆ ของแต่ละปี เช่น วันสาธารณรัฐ (23 มีนาคม) และวันเอกราช (14 สิงหาคม) เป็นต้น เดิมธงชาติปากีสถานออกแบบโดย มูฮัมหมัด อาลี จินนาห์ ผู้ก่อตั้งประเทศปากีสถาน ลักษณะเป็นธงพื้นสีเขียว กลางธงมีรูปจันทร์เสี้ยวและดาวสีขาว ใช้ในสันนิบาตมุสลิมทั่วอินเดีย (All-India Muslim League) ในฐานะเป็นสัญลักษณ์ของเป้าหมายในการตั้งรัฐเอกราชของชาวมุสลิม แถบสีขาวได้ถูกเพิ่มเข้ามาในภายหลังเมื่อปากีสถานประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2490 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนชนกลุ่มน้อยอื่น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติแอลจีเรีย

งชาติแอลจีเรีย (علم الجزائر; Drapeau de l' Algérie) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งครึ่งเป็น 2 แถบตามแนวตั้ง ครึ่งซ้ายพื้นสีเขียว ครึ่งขวาพื้นสีขาว ที่กลางธงประดับด้วยรูปเดือนเสี้ยวและดาว แต่เดิมรัฐบาลเฉพาะกาลของแอลจีเรียได้ใช้ธงชาติในรูปลักษณ์ที่ใกล้เคียงกับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน (มีความแตกต่างกันที่แถบสีขาวมีความกว้างมากกว่าแถบสีเขียว) ก่อนที่จะได้มีการปรับปรุงแก้ไขและยอมรับเป็นธงชาติแอลจีเรียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1962 ความหมายของสัญลักษณ์ในธงมีดังนี้ สีเขียวหมายถึงธรรมชาติ สีขาวหมายถึงสันติภาพ สีแดงหมายถึงเลือดของผู้ที่เสียชีวิตในสงครามประกาศเอกราชจากฝรั่งเศส (ระหว่างปี ค.ศ. 1954 - 1962) รูปจันทร์เสี้ยวและดาวหมายถึงศาสนาอิสลาม ซึ่งเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่ในประเทศ บรรดาเรือต่างๆ ในบังคับของแอลจีเรียจะใช้ธงชาติเป็นธงประจำเรือ เว้นแต่เรือในสังกัดกองทัพเรือจะชักธงนาวี ซึ่งมีการเพิ่มเติมรูปสมอคู่สีแดงไขว้ไว้ที่มุมธงบนด้านคันธง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติแอลจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติโมร็อกโก

งชาติโมร็อกโก (علم المغرب) เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีแดงเกลี้ยง กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน กลางธงมีรูปเฉลวดาวห้าแฉกสีเขียวขอบสีดำ ประเทศโมร็อกโกใช้สีแดงเป็นธงชาติมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 กล่าวกันว่า สีแดงเป็นสัญลักษณ์ของสายเลือดที่ผูกพันระหว่างราชวงศ์กษัตริย์กับศาสดามุฮัมหมัด ซึ่งเป็นศาสดาในศาสนาอิสลาม ส่วนดาวสีเขียวคือพระราชลัญจกรแห่งกษัตริย์โซโลมอน ซึ่งได้ถูกเพิ่มลงบนธงชาติในปี พ.ศ. 2458 และได้มาใช้เป็นธงชาติจนถึงทุกวันนี้ แต่ปีที่ประกาศใช้ธงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2499 อันเป็นปีที่ได้รับเอกราชจากทั้ง 2 ชาติ คือ สเปน และ ฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2455.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติโซมาลีแลนด์

งชาติสาธารณรัฐโซมาลีแลนด์ ธงชาติสาธารณรัฐโซมาลีแลนด์ (พ.ศ. 2534 - 2539) ธงชาติโซมาลีแลนด์ ที่ใช้ในปัจจุบัน เริ่มใช้อย่างเป็นทางการนับตั้งแต่วันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2539 โดยการรับรองจากการลงประชามติในประเทศ หลังจากที่มีการตั้งรัฐบาลปกครองตนเองในดินแดนของประเทศโซมาเลียตั้งแต่ พ.ศ. 2534 โดยที่นานาประเทศและองค์กรระหว่างประเทศต่างๆ มิได้ให้การรับรองฐานะความเป็นประเทศของโซมาลิแลนด์ ลักษณะของธงดังกล่าวเป็นธงแถบแนวนอนพื้นสีแดง-ขาว-เชียว โดยได้รับอิทธิพลจากสีกลุ่มพันธมิตรอาหรับ ที่แถบสีเขียวมีรูปอักษรที่เรียกว่า "ชาฮาดาห์" อย่างเดียวกับในธงชาติซาอุดิอาระเบีย รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐโซมาลิแลนด์ ฉบับที่มีการลงประชามติเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 ระบุข้อความเกี่ยวกับธงชาติไว้ดังนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติโซมาลีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไซปรัส

งชาติไซปรัส (ΣημαίατηςΚύπρου; Kıbrıs bayrağı) ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเริ่มใช้อย่างเป็นทางการนับตั้งแต่วันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1960 ตามข้อตกลงซูริคและลอนดอน ซึ่งกำหนดให้ไซปรัสมีสถานะเป็นรัฐเอกราชและมีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเอง ลักษณะของธงชาติไซปรัสเป็นรูปแผนที่ของเกาะไซปรัสทั้งหมด รองรับด้วยช่อมะกอกสองช่อบนพื้นสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีขาวอันเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพ ส่วนช่อมะกอกคู่นอกจากจะหมายถึงสันติภาพโดยทั่วไปแล้ว ยังมีความหมายเฉพาะเจาะจงถึงสันติภาพระหว่างชาวเติร์กและชาวกรีก ซึ่งเป็นประชากรสองกลุ่มใหญ่ของประเทศ สีของแผนที่เกาะไซปรัสนั้นเป็นสีเหลืองทองแดง มีความหมายถึงแร่ทองแดงซึ่งเป็นทรัพยากรที่มีอยู่มากภายในเกาะ (โดยหลักแล้วมักอยู่ในรูปของชาลโคไพไรต์ (chalcopyrite) ซึ่งมีสีเหลือง) อันเป็นที่มาแห่งนามของเกาะนี้ ไซปรัสเดินเป็นดินแดนที่มีชาวกรีกอาศัยอยู่ ต่อมาได้ถูกจักรวรรดิออตโตมาน (ปัจจุบันคือประเทศตุรกี) พิชิตได้ในปี ค.ศ. 1571 นำมาซึ่งการตั้งถิ่นฐานของชาวเติร์กในไซปรัส หลังจากนั้นไซปรัสก็ได้ตกอยู่ในความปกครองของสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1878 การออกแบบธงชาติไซปรัสซึ่งได้มีการยอมรับอย่างเป็นทางการเมื่อมีการประกาศเอกราชในปี ค.ศ. 1960 เป็นความพยายามที่จะเลือกใช้สัญลักษณ์ของชาติที่สื่อถึงสันติภาพและความปรองดองระหว่างประชาคมชาวกรีกและชาวเติร์กซึ่งเป็นคู่ขัดแย้งกันมาโดยตลอด ทว่าแนวคิดดังกล่าวก็มิได้เป็นจริง ในปี ค.ศ. 1974 กองทัพตุรกีได้เข้ารุกรานและยึดครองดินแดนภาคเหนือของเกาะไซปรัส พร้อมทั้งจัดตั้งสาธารณรัฐตุรกีแห่งไซปรัสเหนือ ซึ่งเป็นรัฐชาติที่มีเพียงตุรกีเพียงชาติเดียวเท่านั้นที่ให้การยอมรับในทางพฤตินัย สาธารณรัฐดังกล่าวได้กำหนดธงชาติของตนเองขึ้นให้คล้ายกับธงชาติตุรกี โดยที่ใช้สีสลับกันกับธงชาติตุรกีและแถบสีแดงพาดบนธง 2 แถบ ในดินแดนไซปรัสเหนือนั้นมักจะชักธงชาติของตนขึนร่วมกับธงชาติตุรกี ในขณะที่ดินแดนที่เหลือทางตอนใตนิยมจะชักธงชาติไซปรัสร่วมกับธงชาติกรีซ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเลบานอน

งชาติเลบานอน (علم لبنان) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงภายในแบ่งเป็น 3 ส่วนตามแนวนอน เป็นสีแดง-ขาว-แดง ตามลำดับ โดยแถบสีขาวมีความกว้างเป็นสองเท่าของแถบสีแดง (สัดส่วนริ้วธง 1:2:1) ที่กลางธงในแถบสีขาวมีรูปต้นซีดาร์สีเขียว มีความกว้างเป็นหนึ่งในสามส่วนของด้านยาวของธง และความสูงของต้นซีดาร์นั้นจรดแถบสีแดงทั้งสองด้านพอดี ธงนี้ได้ออกแบบขึ้นที่บ้านของซาเอ็บ ซาลาม (Saeb Salam) สมาชิกรัฐสภาเลบานอน ที่เมืองมูไซเบฮ์ (Mousaitbeh) และได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแห่งเลบานอนให้ใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2486 โดยทั่วไปแล้วมักเกิดความเข้าใจผิดว่า สีของลำต้นต้นซีดาร์ในธงนี้ควรเป็นสีดำหรือสีน้ำตาล แต่ตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเลบานอน หมวด 1 มาตรา 5 ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า รูปต้นซีดาร์ต้องเป็นสีเขียวทั้งหมดเท่านั้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงชาติเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ธงขาว

งขาวที่สร้างขึ้นอย่างง่ายๆ ธงขาว (white flag) เป็นคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ โดยทั่วไปเป็นที่เข้าใจว่าการยกธงขาวเป็นสัญลักษณ์ของการยอมแพ้ หรือการพักรบ หรือทั้งสองกรณี ในการสงคราม อย่างไรก็ดี ธงขาวยังมีความหมายอย่างอื่นอีกมากในประวัติศาสตร์และธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธงขาว · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกรุงไทย

นาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทบริการการเงินในประเทศไทยมีสำนักงานอยู่ที่เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารพาณิชย์เพียงแห่งเดียวในประเทศที่มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจในรูปแบบของสถาบันการเงินภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง และเป็นหนึ่งในห้าธนาคารขนาดใหญ่และมีจำนวนสาขาเป็นอันดับสองของประเทศไท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธนาคารกรุงไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารออมสิน

นาคารออมสิน มีสถานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง เป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อย เน้นการให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย โดยมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชน โดยให้สินเชื่อระยะสั้น แก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับและจ่ายเงินกู้ จากโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศ ของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลากหลาย เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย รวมทั้งมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลาม ปัจจุบันมีจำนวนสาขาทั้งหมด 1,039 แห่งทั่วประเท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและธนาคารออมสิน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนเยาวราช

รรยายกาศของเยาวราชยามค่ำคืนและร้านอาหารริมทาง ถนนเยาวราช (Thanon Yaowarat; 耀華力路) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ระยะทางความยาวตลอดเส้นทางประมาณ 1.5 กิโลเมตร ได้รับการกล่าวขานและขนานนามว่าเป็น "ถนนมังกร" โดยมีจุดเริ่มต้นของหัวมังกรที่ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษาบริเวณวงเวียนโอเดียน ท้องมังกรอยู่ที่บริเวณตลาดเก่าเยาวราชและสิ้นสุดปลายหางมังกรที่บริเวณปลายสุดของถนน สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ระยะเวลาในการตัดถนน 8 ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2434 - พ.ศ. 2443 เพื่อให้เยาวราชกลายเป็นสถานที่สำหรับส่งเสริมการค้าขาย เดิมทีชื่อ "ถนนยุพราช" และได้โปรดเกล้าพระราชทานนามใหม่ว่า "ถนนเยาวราช" ถนนเยาวราชประกอบไปด้วยจุดสำคัญหลายจุดเช่น วงเวียนโอเดียน, ถนนเจริญกรุง ซึ่งอยู่ในท้องที่แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของถนนเยาวราชตัดกับถนนทรงสวัสดิ์ (สี่แยกเฉลิมบุรี), ถนนราชวงศ์ (สี่แยกราชวงศ์) และถนนจักรวรรดิ (สี่แยกวัดตึก) ข้ามคลองรอบกรุง (สะพานภาณุพันธุ์) เข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร สิ้นสุดที่แยกถนนพีระพงษ์ตัดกับถนนมหาไชยและถนนจักรเพชร บริเวณถนนเยาวราชเป็นแหล่งชุมชนชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนเป็นจำนวนมาก จัดเป็นย่านธุรกิจการค้า, การเงิน การธนาคาร, ร้านทอง, ภัตตาคาร ร้านอาหาร, ร้านค้า ฯลฯ รวมทั้งแหล่งท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานครโดยได้รับการขนานนามว่าเป็น "ไชนาทาวน์แห่งกรุงเทพมหานคร" จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และถือว่าเป็นไชนาทาวน์หรือชุมชนชาวจีนที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและถนนเยาวราช · ดูเพิ่มเติม »

ทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการ

ทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการ (Catholic doctrine regarding the Ten Commandments) เป็นการกำหนดบัญญัติสิบประการโดยพระสันตปาปา เพื่อเป็นแนวทางให้กับคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกทั่วโลก โดยการกำหนดรูปแบบข้อบัญญัตินี้เรียกว่า คำสอนพระศาสนจักรคาทอลิก ซึ่งถือตามฉบับนักบุญออกัสติน ใช้ในนิกายโรมันคาทอลิกทั่วโลก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและทรรศนะคาทอลิกต่อบัญญัติสิบประการ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีสองชาติ

ทฤษฎีสองชาติ (दो क़ौमी नज़रिया, دو قومی نظریہ, do qaumi nazariya; Two-Nation Theory) หมายถึง อุดมการณ์ที่ว่าเอกลักษณ์พื้นฐานของชาวมุสลิมในอนุทวีปอินเดีย คือ ศาสนาของพวกเขา หาใช่ภาษาหรือลักษณะเชื้อชาติไม่ และด้วยเหตุนี้ ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูและที่นับถือศาสนาอิสลามจึงถือว่าเป็นคนละสัญชาติที่แตกต่างกัน โดยไม่คำนึงถึงชาติพันธุ์หรือลักษณะร่วมอื่น ๆ ทฤษฎีสองชาติเป็นหลักการก่อตั้งของขบวนการปากีสถาน (นั่นคือ อุดมการณ์ก่อตั้งประเทศปากีสถาน) และการแบ่งประเทศอินเดียใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและทฤษฎีสองชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทูตสวรรค์

''บทเพลงของทูตสวรรค์'' โดย บูเกอโร, 1825–1905. ทูตสวรรค์ หรือ เทวทูต (angel) คือชาวสวรรค์จำพวกหนึ่งตามความเชื่อทางศาสนาและในเทพปกรณัมต่าง ๆ โดยมีหน้าที่เป็นผู้แจ้งข่าวสารจากสวรรค์มายังโลก บ้างก็ทำหน้าที่อารักขา แนะนำ หรือมอบหมายภารกิจแก่มนุษย์ คำนี้แปลมาจากคำว่า ἄγγελος ในภาษากรีก ซึ่งตรงกับคำว่า מלאך (มลัก) ในคัมภีร์ฮีบรู (ทานัค) และเป็นคำเดียวกับคำว่า ملائكة (มลาอิกะฮ์) ที่ปรากฏในคัมภีร์อัลกุรอาน ศัพท์เดิมในภาษาฮีบรูและภาษากรีกนี้แปลว่า ผู้แจ้งข่าว ซึ่งอาจเป็นมนุษย์ (ทั้งผู้เผยพระวจนะ ปุโรหิต และคนสามัญ) หรืออมนุษย์ก็ได้แล้วแต่บริบทในคัมภีร์ ที่เป็นอมนุษย์นั้นเป็นได้ทั้ง ผู้แจ้งข่าวจากพระเจ้า ลักษณะเฉพาะด้านของพระเจ้า (เช่น กฎจักรวาล) หรือแม้แต่พระเป็นเจ้าเองที่ทรงเป็นผู้แจ้งข่าว (theophanic angel) คำว่า "ทูตสวรรค์" ยังถูกใช้หมายถึงวิญญาณในศาสนาอื่น ๆ ด้วย นอกจากการแจ้งข่าวแล้ว ทูตสวรรค์ยังมีหน้าที่ปกป้องและนำทางมนุษย์ รวมถึงปฏิบัติหน้าที่ตามที่พระเจ้ามอบหมายให้สำเร็จลุล่วง เทววิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับทูตสวรรค์เรียกว่า “วิทยาการทูตสวรรค์” (angelology) ในงานศิลปะทูตสวรรค์มักปรากฏภาพเป็นชายมีปีก ซึ่งอาจมาจากหนังสือวิวรณ์เรื่องสัตว์สี่ตัว (4:6-8) และคัมภีร์ฮีบรูเรื่องเครูบและเสราฟิม แต่คัมภีร์ไบเบิลระบุว่าเครูบและเสราฟิมมีปีก ไม่เคยกล่าวถึงทูตสวรรค์ว่ามีปีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและทูตสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ที่สูงแคเมอรอน

ที่สูงแคเมอรอน (Tanah Tinggi Cameron, ตานะฮ์ติงกีกาเมรน) เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่บนเขาที่กว้างใหญ่ที่สุดของประเทศมาเลเซีย โดยมีขนาดพื้นที่เท่ากับประเทศสิงคโปร์ ครอบคลุมพื้นที่ว่า 712 ตารางกิโลเมตร(275 ตารางไมล์) มีพื้นที่ทางตอนเหนือติดกับรัฐกลันตัน และทางตะวันตกมีพื้นที่บางส่วนอยู่ในเขตเมืองปีรัก ที่สูงแคเมอรอน อยู่บริเวณทางปลายสุดฝังตะวันตกเฉียงเหนือของรัฐปาหัง "คาเมรอน" มีระยะทางประมาณ 90 กิโลเมตร(56 ไมล์) ถ้ามาจากทางเมืองอิโป หรือประมาณ 200 กิโลเมตร (120 ไมล์) ถ้ามาจากทางกัวลาลัมเปอร์ ถือว่าเป็นเขตเลือกตั้งที่เล็กที่สุดในปาหัง ผู้ค้นพบที่สูงแคเมอรอน คือ เซอร์ วิลเลียม คาเมรอนในปี 1885 ที่สูงแคเมอรอน ประกอบด้วย 3 ตำบล คือ ริงเลต (5,165 เฮคเตอร์), ทานะ ราตะ(2,081เฮคเตอร์) และอุรู เทลอม (63,981 เฮคเตอร์) ซึ่งแบ่งเป็นตำบลย่อย ๆ อีก 8 ตำบล คือ ริงเลต, ทานะ ราตะ (ศูนย์กลางบริหารของเมือง), บรินชาง, หุบเขาเบอแทม, ฟาร์มเกีย, ทริงแกป, กัวลา เทอรา และ กัมปุง ราจา พื้นที่เหล่านี้มีความต่างของสูงของแต่ละพื้นที่โดยจัดความสูงอยู่ในช่วงจาก 1100 เมตร ถึง 1600 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปีที่เหมาะแก่การพักผ่อนประมาณ 18 องศาเซลเซียส (64 องศาฟาเรนไฮต์) ในระหว่างวันอุณหภูมิจะไม่สูงเกินกว่า 25 องศาเซลเซียส(77 องศาฟาเรนไฮต์) ส่วนในช่วงกลางคืนอุณหภูมิไม่ต่ำไปกว่า 9 องศาเซลเซียส (48 องศาฟาเรนไฮต์) วัดที่พื้นที่ระดับสูง มีสถานพักตากอากาศไว้สำหรับประชาชนที่หลากหลายเชื้อชาติ สามารถรองรับได้มากกว่า 38,000 คน ซึ่งประกอบด้วยชาวมลายูที่เป็นมุสลิมและมีถิ่นฐานอยู่ในอาณาเขตของประเทศมาเลเซียปัจจุบัน (ชาวมลายู(7,321), อื่นๆ(5,668)), ชาวจีน(13,099), ชาวอินเดีย (6,988), กลุ่มที่ไม่ใช่พลเมืองมลายู และชนชาติอื่นๆ(202) ผู้อยู่อาศัยส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ, พนักงานอุตสาหกรรมบริการ, คนงานฟาร์ม, คนเกษียณ หรือข้าราชการ ภาษาที่ใช้พูด มีภาษามลายู, ภาษาจีนกลาง, ภาษาทามิล และภาษาอังกฤษ ศาสนาอิสลาม, ศาสนาพุทธ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาฮินดู, ศาสนาคริสต์ และศาสนาซิกห์ เป็นศานาหลักที่นับถือ ที่สูงแคเมอรอน ได้ถูกพัฒนาในปี 1930 เทเบิ้ลแลนด์ เป็นหนึ่งในจุดท่องเที่ยวที่เก่าแก่ที่สุดในมาเลเซีย นอกจากอุตสาหกรรมชาแล้วที่ราบสูงแห่งนี้ถูกบันทึกว่าเป็นสถานที่ที่มีอากาศเย็นด้วยสถานที่นี้เอง มีทั้งสวนผลไม้, สถานที่เพาะชำพันธุ์ไม้, แหล่งเพาะปลูก, น้ำตก, แม่น้ำ, ทะเลสาบ, สัตว์ป่า, ป่าที่ปกคลุมด้วยหญ้ามอส, สนามกอล์ฟ, โรงแรม, สถานที่ศักดิ์สิทธิ์, บังกะโล, แลนด์ โรเวอร์, พิพิธภัณฑ์ และชนพื้นเมืองเดิม(โอแรง แอสลี่) ทางถนนที่เดินทางมาที่สูงแคเมอรอน คือ ทาพาธ, ซิมปัง พูราย, กัว มูแซง และ ซันกาย โคยาน ทาพาธ และ ซิมปัง พูราย เป็นสองทางจากเมืองปีรัก กัว มูแซง และ ซันกาย โคยาน เป็นทางเข้าที่มาจากรัฐกลันตัน และรัฐปาหัง ตามลำดั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและที่สูงแคเมอรอน · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการบาห์เรนเสรี

วนการบาห์เรนเสรี (Bahrain Freedom Movement) หรือขบวนการบาห์เรนอิสลามเสรี (Bahrain Islamic Freedom Movement; ภาษาอาหรับ: حركة أحرار البحرين الإسلامية; Harakit Ahraar Al Bahrin Al Islamiyya) เป็นขบวนการทางศาสนาอิสลามที่มีฐานที่มั่นในมัสยิดทางเหนือ ของลอนดอน มีเว็บไซต์เป็นของตัวเองคือ มีบทบาทสำคัญในการจลาจลในบาห์เรนเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและขบวนการบาห์เรนเสรี · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการร่วมเพื่อเอกราชปัตตานี

วนการร่วมเพื่อเอกราชปัตตานี หรือ เบอร์ซาตู (Bersatu; The United Front for the independent of Pattani) เป็นการรวมตัวขององค์กรที่ต่อสู้เพื่อเอกราชของปัตตานี 4 องค์กรคือ ขบวนการแนวร่วมปลดแอกแห่งชาติปัตตานี ขบวนการแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติมลายูปัตตานี มูจาฮีดีนอิสลามปัตตานีและพูโลใหม่ เมื่อ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2532 เพื่อรวมการต่อสู้ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ประธานคนแรกคือ ดร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและขบวนการร่วมเพื่อเอกราชปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการอาเจะฮ์เสรี

งของขบวนการอาเจะฮ์เสรี ขบวนการอาเจะฮ์เสรี (Gerakan Aceh Merdeka; GAM) หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติอาเจะฮ์สุมาตรา (Aceh Sumatra National Liberation Front) เป็นขบวนการแบ่งแยกดินแดนที่เรียกร้องเอกราชในบริเวณอาเจะฮ์ที่อยู่ในเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย การต่อสู้ด้วยความรุนแรงขององค์กรยุติลงหลังจากการเจรจาสันติภาพกับรัฐบาลอินโดนีเซีย เมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและขบวนการอาเจะฮ์เสรี · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการอิสลามแห่งอุซเบกิสถาน

วนการอิสลามแห่งอุซเบกิสถาน (Islamic Movement of Uzbekistan) เป็นกลุ่มนิยมอิสลามในเอเชียกลางที่ต่อต้านการปกครองของนายอิซลอม คาลิมอฟ ประธานาธิบดีอุซเบกิสถานที่แยกรัฐออกจากศาสนา ผู้นำกลุ่มคือนายโทเฮอร์ โยลคาเชฟ แนวคิดของกลุ่มต้องการก่อตั้งรัฐอิสลามในอุซเบกิสถาน รวมทั้งเน้นการต่อต้านอิสราเอลและชาติตะวันตก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและขบวนการอิสลามแห่งอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ขันที

หลี่เสียน ค.ศ. 706 ขันที คือ ชายที่ถูกตอน บางประเทศทางเอเชียสมัยโบราณใช้สำหรับควบคุมฝ่ายใน ในภาษาจีนเรียกว่า ไท้เจี๋ยน หรือไท้ก๋ำ (ฮกเกี้ยน:太監,ไท้ก่ำ) ในภาษาละตินและอาหรับเรียกว่ายูนุก (Eunuch) โดยมีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคำว่า ยูโนคอส (eunouchos) แปลว่าผู้ดูแลรักษาเตียง ส่วนชนชาติมอญเรียกขันทีว่า กมนุย (อ่านว่า ก็อมนอย) แปลว่า ขันทีที่ปราศจากความรู้สึกทาง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและขันที · ดูเพิ่มเติม »

ข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม

้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม (Genetically modified food controversies) เป็นความขัดแย้งกันในเรื่องการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์อย่างอื่น ๆ ที่ทำมาจากพืชดัดแปรพันธุกรรม ไม่ใช่จากพืชปลูกโดยวิธีตามที่เคยทำมาก่อน (คือแบบธรรมดา) และในเรื่องการใช้พันธุวิศวกรรมแบบอื่น ๆ ในกระบวนการผลิตอาหาร เป็นความขัดแย้งกันระหว่างผู้บริโภค เกษตรกร บริษัทเทคโนโลยีชีวภาพ องค์กรควบคุมของรัฐ องค์การนอกภาครัฐ และนักวิทยาศาสตร์ ข้อโต้เถียงสำคัญรวมทั้ง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและข้อโต้เถียงเรื่องอาหารดัดแปรพันธุกรรม · ดูเพิ่มเติม »

ณปภา ตันตระกูล

ณปภา ตันตระกูล มีชื่อเล่นว่า แพท (ชื่อเกิด: ศุลีพร ตันตระกูล; 4 ตุลาคม 2529) เป็นนักแสดงและพิธีกรหญิงชาวไทย มีผลงานละครโทรทัศน์ ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและณปภา ตันตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

ดอมีนิก-ฟร็องซ์ โลบ ปีการ์

อมีนิก-ฟร็องซ์ โลบ ปีการ์ (Dominique-France Loeb Picard; 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1948) หรือ เจ้าหญิงฟาดิลาแห่งอียิปต์ อดีตคู่สมรสของพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์ อดีตกษัตริย์ซึ่งครองราชสมบัติขณะที่มีพระชันษาเพียง 5 เดือน และเป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายแห่งอียิปต์และซูดาน (ครองราชย์ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1952 — 18 มิถุนายน ค.ศ. 1953).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและดอมีนิก-ฟร็องซ์ โลบ ปีการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาวิด

กษัตริย์ดาวิด หรือ พระเจ้าดาวิด (David; דָּוִד ภาษาฮีบรูมาตรฐาน: Davíd; ภาษาฮีบรูไทบีเรียน: Dāwíð; داوود or داود, Dāwūd,; หมายถึง เป็นที่รัก) (1037 - 967 ก่อนคริสต์ศักราช; ปกครองราชอาณาจักรยูดาห์และราชอาณาจักรอิสราเอล 1005 - 967 ก่อนคริสต์ศักราช) ดาวิด เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่สองของราชอาณาจักรอิสราเอล กล่าวกันว่ามีคุณธรรมและเป็นนักการทหารที่มีความสามารถ นอกจากนี้ยังเป็นนักดนตรี กวี (เชื่อกันว่าเป็นผู้เขียนเพลงสดุดีหลายเพลง) ดาวิดในวัยเด็กเป็นเพียงเด็กเลี้ยงแกะธรรมดา แต่เป็นผู้ที่พระเจ้าทรงเลือกและมีอุปนิสัยกล้าหาญไม่เกรงกลัวใคร โดยอาสาเข้าต่อสู้ตัวต่อตัวกับ โกไลแอ็ธ นักรบร่างมหึมาผู้เป็นทหารเอกของชาวฟิลิสทีน และสามารถสังหารโกไลแอ็ธลงได้ จึงมีความดีความชอบได้มารับใช้พระเจ้าซาอูล (Saul) ในฐานะนายพลและที่ปรึกษาทางทหารคนสนิท และยังเป็นเพื่อนสนิทกับ โจนาธาน ราชบุตรของซาอูล ต่อมาพระเจ้าซาอูลเกิดระแวงว่าดาวิดจะแย่งชิงราชบัลลังก์ จึงพยายามกำจัดดาวิด แต่ซาอูลและโจนาธานพ่ายแพ้เสียชีวิตในการรบ ดาวิดจึงได้รับการเจิมขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ของอิสราเอล ต่อมาพระเจ้าดาวิดทรงพิชิตเยรูซาเลมได้ และนำหีบแห่งพันธสัญญาเข้ามาประดิษฐานในเมือง แต่เนื่องจากทรงประพฤติผิดทางเพศต่อนางแบธชีบา ทำให้พระองค์ถูกพระเจ้าตำหนิติเตียนและทำให้ทรงหมดความชอบธรรมที่จะสร้างวิหารศักดิ์สิทธิ์ขึ้นในเยรูซาเลม ชาวยิวถือว่าดาวิดและกษัตริย์โซโลมอน พระราชบุตรของพระองค์ เป็นผู้ก่อตั้งประเทศอิสราเอลขึ้น ดาวิดถือเป็นต้นแบบของกษัตริย์ในอุดมคติของชาวอิสราเอล นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่า พระเมสสิยาห์ หรือพระผู้ไถ่ ที่จะมาจุติในอนาคตจะเป็นผู้สืบเชื้อสายมาจากพระองค์ ชีวิตของกษัตริย์ดาวิดที่บันทึกไว้ในหนังสือซามูเอล เล่มที่ 1 ในพันธสัญญาเดิมตั้งแต่บทที่ 16 เป็นต้นไปและหนังสือพงศาวดาร ดาวิดเป็นบุคคลสำคัญในศาสนาอับราฮัม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและดาวิด · ดูเพิ่มเติม »

ดาวซิริอุส

วซิริอุส (Sirius) มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งในภาษาไทยว่า ดาวโจร เป็นดาวฤกษ์ที่สว่างที่สุดในตอนกลางคืนและสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า มีค่าระดับความสว่างอยู่ที่ -1.47 ซึ่งสว่างเกือบเป็นสองเท่าของดาวคาโนปุส ดาวฤกษ์ที่สว่างเป็นอันดับสอง ชื่อ ซิริอุส มาจากภาษากรีกโบราณว่า "เซริออส" (Σείριος) มีชื่อตามระบบไบเยอร์ว่า อัลฟา คานิส เมเจอริส (α Canis Majoris หรือ α CMa) ความจริงดาวที่เรามองเห็นด้วยตาเปล่าว่าเป็นดาวดวงเดียวนั้นเป็นระบบดาวคู่ ประกอบด้วยดาวสีขาวในลำดับหลัก (Main Sequence) ประเภท A1V ชื่อว่า ซิริอุส เอ (Sirius A) กับดาวแคระขาวสีจาง ๆ ในประเภท DA2 ชื่อว่า ซิริอุส บี (Sirius B) การที่ดาวซิริอุสเป็นดาวที่สว่างที่สุด นอกจากความสามารถในการส่องสว่างของมันเองแล้ว มันยังอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ของเรามาก คือห่างไปเพียง 2.6 พาร์เซก (ประมาณ 8.6 ปีแสง) ระบบดาวซิริอุสถือว่าเป็นระบบดาวเพื่อนบ้านที่ใกล้ที่สุดกลุ่มหนึ่ง ดาวซิริอุสเอมีมวลประมาณ 2 เท่าของดวงอาทิตย์ และมีค่าความสว่างสัมบูรณ์ เท่ากับ 1.42 หรือคิดเป็น 25 เท่าของความสว่างของดวงอาทิตย์Liebert, J.; Young, P. A.; Arnett, D.; Holberg, J. B.; Williams, K. A. (2005).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและดาวซิริอุส · ดูเพิ่มเติม »

ดาฮิร์ ริยาเล คาฮิน

ร์ ริยาเล คาฮิน (Dahir Rayale Kahin, ضاهر ريالي كاهن) เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลีย ผู้เคยได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีโซมาลีแลนด์ สาธารณรัฐที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลว่าเป็นเขตปกครองตนเองของประเทศโซมาเลียตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและดาฮิร์ ริยาเล คาฮิน · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลีย

นแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลีย (หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลียภายใต้การบริหารของอิตาลี) เป็นดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในปัจจุบันคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ของประเทศโซมาเลีย ซึ่งได้รับการบริหารโดยอิตาลี ตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและดินแดนในภาวะทรัสตีโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ดิเกร์ ฮูลู

กร์ ฮูลู (Dikir Hulu) เป็นการละเล่นพื้นบ้านของชาวไทยมุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ดิเกร์มาจากภาษาอาหรับว่า ดิเกร์อาวัล หรือดิเกร์อาวา ซึ่งหมายถึงการสวดหรือการร้องเพลง คำว่าฮูลู เป็นภาษามลายู หมายถึง ยุคก่อนหรือจุดเริ่มต้นพัฒนามาจากพิธีกรรมประกอบดนตรีเพื่อรักษาผู้ป่วยที่เชื่อว่าเกิดจากการกระทำของภูตผี ตั้งแต่สมัยที่ผู้คนในบริเวณนี้ยังนับถือศาสนาพุทธนิกายมหายานหรือศาสนาฮินดู ซึ่งได้รับอิทธิพลจากชวา ภายหลังเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลามจึงได้นำการกล่าวสรรเสริญพระเจ้าในศาสนาอิสลามแทน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและดิเกร์ ฮูลู · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คัมภีร์

ัมภีร์ (religious text; holy writ; holy books; scripture; scriptures) หมายถึง ตำราที่ยกย่องหรือนับถือว่าสำคัญทางศาสนาหรือโหราศาสตร์ เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและคัมภีร์ · ดูเพิ่มเติม »

คาลิฟา ซีเซ

ลิฟา ซีเซ (Kalifa Cissé; เกิดวันที่ 9 มกราคม ค.ศ. 1984 ที่เดรอ,จังหวัดเออเรลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส) เป็นนักฟุตบอลตำแหน่งกองกลางตัวรับ ชาวมาลี โดยคาลิฟา ซีเซ เคยเป็นนักฟุตบอลระดับเยาวชน ของสโมสรฟุตบอลตูลูส ในประเทศฝรั่งเศส และเริ่มต้นเล่นฟุตบอลระดับอาชีพที่ประเทศโปรตุเกสในระดับปรีไมรา ลีกาซึ่งเป็นลีกสูงสุดกับสโมสรฟุตบอล เอสตูริล ปรายา และสโมสร เบาวิสต้า จากนั้นเขาย้ายไปเล่นในพรีเมียร์ลีกกับสโมสรเร้ดดิ้ง ก่อนจะย้ายมาเล่นในระดับลีก แชมเปียนชิพกับสโมสรฟุตบอลบริสตอล ซิตี และดาร์บี้ เคาน์ตี้ ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและคาลิฟา ซีเซ · ดูเพิ่มเติม »

คานธี (ภาพยนตร์)

นธี เป็นภาพยนตร์ชีวประวัติ สร้างขึ้นจากเรื่องจริงของมหาตมา คานธี นักการเมืองชาวอินเดีย ผู้เคลื่อนไหวเพื่อปลดปล่อยอินเดีย จากการเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และได้ชื่อว่าเป็นวีรบุรุษผู้ยิ่งใหญ่คนหนึ่งของอินเดีย ออกฉายในค.ศ. 1982 และได้ชนะเลิศรางวัลออสการ์ ถึง 8 รางวัล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและคานธี (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

คุรุนานักเทพ

วาดคุรุนานักเทพ คุรุนานักเทพ (15 เมษายน พ.ศ. 2012 - 22 กันยายน พ.ศ. 2082) ศาสดาผู้ประกาศศาสนาสิกข์ในแคว้นปัญจาบ ประเทศอินเดียเกิดที่แคว้นปัญจาบ เดิมนับถือศาสนาฮินดู แต่ได้รับการศึกษาในสำนักของศาสนาอิสลามจึงมีความรู้ทั้ง 2 ศาสนา ท่านแต่งงานและมีบุตร 2 คน จากนั้นได้ออกบวชและบำเพ็ญเพียรทางจิตอยู่ 35 ปี จนได้พบพระเจ้าจึงออกเผยแพร่ศาสนาสิกข์ในนามตัวแทนของพระเจ้า วาจาแรกที่ท่านกล่าวเมื่อออกประกาศศาสนาคือ "ในโลกนี้ไม่มีใครเป็นฮินดู ไม่มีใครเป็นอิสลาม" ท่านออกสั่งสอนประชาชนอยู่หลายปี มีศิษย์ทั้งที่เป็นฮินดูและมุสลิม ใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและคุรุนานักเทพ · ดูเพิ่มเติม »

คณะภราดาเซนต์คาเบรียล

ณะภราดาเซนต์คาเบรียล (Frères de Saint-Gabriel, The Montfort Brothers of St.) เป็นคณะนักบวชคาทอลิกคณะหนึ่งซึ่งขึ้นตรงต่อพระสันตะปาปา นักบุญหลุยส์ มารี กรีญอง เดอ มงฟอร์ตเป็นผู้ก่อตั้งคณะ และบาทหลวงกาเบรียล เดแอ เป็นผู้ฟื้นฟูคณะ นักบวชในคณะปฏิญาณตนต่อพระเจ้าเพื่อถือ ความยากจน ความบริสุทธิ์ และความนบนอบ ทำงานรับใช้พระเจ้าแต่เพียงผู้เดียว ด้วยการอุทิศตน เสียสละ รับใช้ผู้อื่นดังพี่น้อง โดยมุ่งที่จะให้บริการศึกษาอบรมที่เป็นความรู้ทางโลกและทางธรรมแก่สังคม คณะภราดาเซนต์คาเบรียลมีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี สมาชิกประกอบด้วยภราดาที่ทำงานรับใช้พระเป็นเจ้าผ่านทางการให้การศึกษาแก่เยาวชน และเอาใจใส่เป็นพิเศษต่อคนยากจน ตามจิตตารมณ์ของนักบุญมงฟอร์ต ปัจจุบัน ภราดา John Kallarackal เป็นอัคราธิการ และภราดาสุรสิทธิ์ สุขชัย เป็นอธิการเจ้าคณะแขวงประเทศไท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและคณะภราดาเซนต์คาเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2548 ตามมติว่าด้วยหลักการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ โดยเป็นคณะแพทยศาสตร์ลำดับที่ 18 ในจำนวนโรงเรียนแพทย์ทั่วประเทศ 20 สถาบัน และเป็นลำดับที่ 2 ในภาคใต้และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์จึงริเริ่มจัดตั้งโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อเป็นโรงพยาบาลหลักในการทำการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์และนักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ เป้าหมายของคณะแพทยศาสตร์ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่าง ๆ เป็นสถาบันผลิตบัณฑิตแพทย์ที่มุ่งมั่นจะอุทิศตนเพื่อพัฒนาท้องถิ่น โดยปฏิบัติงานดูแลสุขภาพของชุมชนได้อย่างมีความสุข เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจริยธรรม สามารถประยุกต์ความรู้ทางการแพทย์สากลให้ผสมผสานเข้ากับวัฒนธรรมอิสลามท้องถิ่น (Islamic Oriental Medical School) ได้เป็นอย่างดีคู่มือนักศึกษา หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแพทยศาสตร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฆุลาต

ลาต (غلاة‎, Ghulat) แปลว่า พวกสุดโต่ง พวกที่ออกนอกลู่นอกทาง มาจากคำว่า غلو‎ (Ghulu) ความสุดโต่ง, ความเกินเลย ในทางวิชาการหมายถึง พวกชีอะหฺที่ออกนอกลู่นอกทางศาสนาอิสลามมากหรือน้อย ด้วยการยกย่องอะลีย์และวงศ์วานของนบีจนเกินเลย เช่น เชื่อว่าพวกเขามีคุณสมบัติความเป็นพระเจ้า หรือเสมอเหมือนพระเจ้า ซึ่งเป็นความคิดที่ได้รับอิทธิพลมาจากศัตรูศาสนาอิสลาม ที่มีจุดประสงค์ที่จะทำลายล้างศาสนาอิสลาม โดยแฝงอยู่ใต้มัซฮับชีอะหฺ และเอาอะห์ลุลเบต(วงศ์วานของนบีมุฮัมมัด)เป็นกำบัง โดยเฉพาะในช่วงสามศตวรรษแรก หลังจากท่านศาสนทูตได้สิ้นชีวิต อันที่จริงทัศนะและวรรณกรรมของพวกฆุลาตกระจัดกระจายและผสมผสานกับวรรณกรรมชีอะหฺสายอื่น ๆ รวมทั้งชีอะหฺอิษนาอะชะรียะหฺอีกด้วย จนแยกกันไม่ออก ว่าอันไหนของชีอะหฺสายกลาง อันไหนเป็นของชีอะหฺสุดโต่ง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและฆุลาต · ดูเพิ่มเติม »

ตราสัญลักษณ์ของกาชาด

ัญลักษณ์ของขบวนการ “กางเขนแดง” และ “เสี้ยววงเดือนแดง” ที่พิพิธภัณฑ์สภากาชาดในเจนีวา ตราสัญลักษณ์ของขบวนการกากบาทแดงและเสี้ยววงเดือนแดงนานาชาติ หรือ ตราสัญลักษณ์ของกาชาด (Emblems of the International Red Cross and Red Crescent Movement หรือ Emblems of the Red Cross) ตราสัญลักษณ์ของขบวนการกางเขนแดงและเสี้ยววงเดือนแดงนานาชาติ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่ากาชาด ภายใต้อนุสัญญาเจนีวาเป็นตราสัญลักษณ์ที่ใช้ประทับบนยานพาหนะ และสิ่งก่อสร้างที่ใช้ในการบรรเทาทุกข์ของมนุษยชนเพื่อป้องกันจากการถูกโจมตีทางทหารในสมรภูมิ ตราสัญลักษณ์ของกาชาดมีด้วยกันสามตรา “ตรากางเขนแดง”, “ตราเสี้ยววงเดือนแดง” และ “ตราเพชรแดง” ส่วน “ตราสิงห์และอาทิตย์แดง” เคยเป็นตราที่ได้รับการอนุมัติ แต่ในปัจจุบันไม่มีการใช้ นอกจากนั้นก่อนหน้านั้นก็ยังมีข้อโต้แย้งในการใช้ดาราแห่งเดวิดแดง โดยหน่วยปฐมพยาบาลมาเกนเดวิดอาดอม (Magen David Adom-MDA) ซึ่งเป็นสมาคมหน่วยปฐมพยาบาลของอิสราเอล “ตราเพชรแดง” จึงได้สร้างขึ้นมาเพื่อตอบสนองข้อโต้แย้งและทำให้รับหน่วยปฐมพยาบาลมาเกนเดวิดอาดอมเข้ามาในขบวนการได้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตราสัญลักษณ์ของกาชาด · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของบรูไน

ตราแผ่นดินของบรูไน (معطف من الأسلحة بروناي.) ใช้เครื่องหมายอย่างเดียวกับที่ปรากฏในธงชาติบรูไน เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2475 ประกอบด้วยสัญลักษณ์ 5 อย่าง คือ ราชธวัช (ธง) พระกลด (ร่ม) ปีกนก 4 ขน มือสองข้าง และซีกวงเดือนหรือพระจันทร์เสี้ยว ภายในวงเดือนซึ่งหงายขึ้นนั้น มีข้อความภาษาอาหรับจารึกไว้ ซึ่งแปลความได้ว่า "น้อมรับใช้ตามแนวทางของพระอัลเลาะห์เสมอ" ("Always in service with God's guidance") เบื้องล่างสุดมีแพรแถบจารึกชื่อประเทศไว้ว่า บรูไนดารุสซาลาม (بروناي دار السلام) แปลว่า นครแห่งสันติ สัญลักษณ์ต่างๆ มีความหมายดังนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตราแผ่นดินของบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของมาเลเซีย

ตราแผ่นดินของมาเลเซีย (Jata Negara) ประกอบด้วยส่วนหลัก ๆ ห้าส่วนคือ โล่ เสือโคร่งสองตัว พระจันทร์เสี้ยวสีเหลือง และดาวสีเหลือง 14 แฉก และแถบผ้า ตราแผ่นดินของมาเลเซียนี้สืบทอดมาจากตราแผ่นดินสหพันธรัฐมาลายาระหว่างที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษ ตราในปัจจุบันจึงมีอิทธิพลของตราแบบตะวันตกอยู่มาก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตราแผ่นดินของมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของอุซเบกิสถาน

ตราแผ่นดินของอุซเบกิสถาน (ГОСУДАРСТВЕННЫЙ ГЕРБ РЕСПУБЛИКИ УЗБЕКИСТАН O'ZBEKISTON RESPUBLIKASI DAVLAT GERBI) ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม, พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตราแผ่นดินของอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของแอลจีเรีย

ตราแผ่นดินของแอลจีเรีย ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2519.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตราแผ่นดินของแอลจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ตวนกู สิตี ไอชาห์

ตวนกู สิตี ไอชาห์ เกิดที่กัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 1971 เมื่อโตขึ้น พระนางจึงไปทำงานที่มหาวิทยาลัยกลันตัน โดยทำงานเป็นธนาคาร พ่อของท่านชื่อ Dato Seri Abdul Rahman Tan Sri Mohd Yatim มารดาชื่อ Datin Seri Shamshina Abdul Rahman พระองค์นับถือศาสนาอิสลาม พระองค์แต่งงานกับสมเด็จพระราชาธิบดีซาลาฮุดดีน อับดุล อาซิซ พระองค์จะใช้เวลาว่างในการทำอาหารและเล่นกอล์ฟ บางทีพระองค์ยังอ่านหนังสือ ขับรถ หรือเสด็จไปต่างประเทศเพื่อที่จะหาประสบการณ์ หมวดหมู่:ชายาแห่งประเทศมาเลเซีย.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตวนกู สิตี ไอชาห์ · ดูเพิ่มเติม »

ตองจี

ตองจี (ไทใหญ่:, ต่องกฺยี๊; Taunggyi) เป็นเมืองหลวงของรัฐชานในประเทศพม่า ห่างจากอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 480 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนภูเขาสูง เนื้อที่ประมาณ 24 ตารางกิโลเมตร อากาศค่อนข้างเย็นตลอดปี เพราะที่นี่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเล 4,712 ฟุต ชื่อตองจีเป็นภาษาพม่า มาจากคำว่า ตอง หรือ ต่อง แปลว่า ภูเขา และ จี แปลว่า ใหญ่ ประชากรร้อยละ 95 นั้นเป็นชาวปะโอ (Pa-Oh).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตองจี · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันออกกลาง

แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตะวันออกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ตัฟซีร

ตัฟซีร การตีความหมายอัลกุรอาน เป็นวิชาหนึ่งที่สำคัญในศาสนาอิสลามแต่ไม่รวมถึงการแปลตามตัว เนื่องจากคัมภีร์อัลกุรอานเป็นคัมภีร์ที่มีวาทศิลป์เลอเลิศ จึงไม่มีใครแม้แต่ผู้เดียวยอมรับว่าสามารถแปลอัลกุรอานได้ดีพอ อย่างไรก็ตามงานแปลเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องทำ นักวิชาการมุสลิมในแต่ละประเทศในโลกจะพยายามแปลความหมายของอัลกุรอาน ในปัจจุบันอัลกุรอานได้รับการแปลเป็นภาษาใหญ่ของโลกทุกภาษาแล้ว ในประเทศไทยคัมภีร์อัลกุรอานได้รับการแปลเป็นภาษาไทยครั้งแรกโดยท่านอดีตจุฬาราชมนตรีต่วน สุวรรณศาสตร์ ซึ่งเป็นการแปลและอธิบายความหมายพร้อมๆกัน จึงทำให้ผู้อ่านไม่ทราบว่าแม่บทในภาษาอาหรับเป็นอย่างไร ในกลางคริสต์ทศวรรษที่ 70 นายดิเรก กุลสิริสวัสดิ์ ได้เป็นบรรณาธิการจัดพิมพ์ความหมายอัลกุรอานที่แปลมาจากต้นฉบับภาษาอังกฤษ ซึ่งครูอิสมาอีล อะหมัด ปากพยูน เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการแปลครั้งนี้ ต่อมานายมัรวาน สะมะอูน ได้แปลความหมายของอัลกุรอานให้กระทัดรัดขึ้นอีก พยายามรักษาสำนวนให้ใกล้เคียงกับแม่บทให้มากที่สุด ซึ่งก็ได้กลายเป็นหนังสืออ้างอิงสำหรับชาวไทยมาตลอด แต่ก็ยังมีข้อบกพร่อง เช่นประโยคแปลถึงแม้จะตรงกับแม่บทแต่ก็ผิดกับสำนวนไทย การแปลความหมายผิด การแปลขาดตอน เป็นต้น ต่อมาสมาคมนักเรียนเก่าอาหรับตรวจทานโดย อ.ดร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตัฟซีร · ดูเพิ่มเติม »

ตัวตน

ตัวตน หรืออัตตา (self) คือสิ่งที่เป็นสารัตถะของชีวิตของแต่ละบุคคล มีสภาพเที่ยงแท้ถาวร ตัวตนจึงทำให้บุคคลนั้นยังเป็นคนเดิม แม้ว่าร่างกายภายนอกหรือความรู้สึกนึกคิดจะแปรเปลี่ยนไปแล้วก็ตาม ในบางศาสนาเชื่อว่าตัวตนเป็น "วิญญาณ" แม้บุคคลนั้นตาย ตัวตนจะยังดำรงอยู่ต่อไปในภพอื่น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตัวตน · ดูเพิ่มเติม »

ตานชเว

ลเอกอาวุโส ตานชเว (သန်းရွှေ,; เกิดวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476) ผู้นำเผด็จการของรัฐบาลทหารพม่า ดำรงตำแหน่งประธานสภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ (State Peace and Development Council - SPDC) ภายหลังการรัฐประหารล้มอำนาจของพลเอกอาวุโส ซอมอง อดีตประธานสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (State Law and Order Restoration Council - SLORC) เมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตานชเว · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบาโงยซิแน

งยซิแน เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอยะหา จังหวัดยะล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตำบลบาโงยซิแน · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลยะลา

ลา หรือภาษามลายูปัตตานีว่า ยาลอ เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตำบลยะลา · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลหน้าถ้ำ

หน้าถ้ำ หรือภาษามลายูปัตตานีว่า บาโยทรัยนุง มะเด็ง และอื่น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตำบลหน้าถ้ำ · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลอัมพวา

ตำบลอัมพวา อยู่ใน อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตำบลอัมพวา · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลป่าตอง

ตำบลป่าตอง เป็นตำบลในอำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต อยู่บนเกาะ จังหวัดภูเก็ต มีลักษณะเป็นโค้งจันทร์เสี้ยว มีภูเขาล้อมรอบ และหันหน้าออกทะเล ชาวป่าตอง มีทั้งหมด 7 ชุมชนใหญ่ๆ คือชุมชน ชายวัด, บ้านมอญ, โคกมะขาม,ใสน้ำเย็น, นาใน, กะหลิม, บ้านป่าตอง ซึ่งชุมชน กะหลิม จะอาศัยกันอยู่แบบเครือญาติ โดยที่ครอบครัวที่เป็นญาติกัน จะปลูกบ้านใกล้ๆ กันในบริเวณนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตำบลป่าตอง · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานน้ำท่วมโลก

''The Deluge'' (น้ำท่วมใหญ่) โดย กุสตาฟว์ ดอเร ตำนาน น้ำท่วมโลกครั้งใหญ่ ที่ทำให้เกิดโดยพระเจ้าหรือเทพเจ้า เพื่อทำลายล้างอารยธรรม โดยเป็นการลงโทษความบาปของมนุษย์ เพื่อเริ่มต้นอารยธรรมใหม่ ๆ ที่ส่งผลมายังปัจจุบัน ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณอารยธรรมเมโสโปเตเมีย เป็นประเด็นที่ปรากฏอยู่แพร่หลายในตำนานของวัฒนธรรมต่าง ๆ ทั่วโลก เช่น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตำนานน้ำท่วมโลก · ดูเพิ่มเติม »

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน ปูตรา อัล-ฮัจ อิบนี อัลมาร์ฮุม ซุลตัน อับดุล ฮามิด ฮาลิม ชะฮ์ที่ 2 (Tunku Abdul Rahman Putra Al-Haj ibni Almarhum Sultan Abdul Hamid Halim Shah II, تونكوعبدالرحمن ڤوترا الهاج ابن المرحوم سلطان عبدالحميد حاليم شه) หรือ ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2533) เป็นผู้นำการเรียกร้องเอกราชและนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศมาเลเซีย ได้รับยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศมาเลเซียหรือ Bapa of Malaysia.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและตุนกู อับดุล ระฮ์มัน · ดูเพิ่มเติม »

ต่วน สุวรรณศาสน์

ต่วน สุวรรณศาสน์ มีชื่อทางศาสนาว่าฮัจญีอิสมาแอล ยะห์ยาวี เกิดที่กรุงเทพฯ ได้ไปศึกษาวิชาการทางศาสนาอิสลามจากกรุงมักกะหฺ ประเทศซาอุดิอาระเบีย เป็นอาจารย์สอนศาสนาอิสลามที่มีชื่อเสียงและมีลูกศิษย์มาก เมื่อตำแหน่งจุฬาราชมนตรีว่างลงเพราะนายแช่ม พรหมยงค์ลาออกและลี้ภัยไปต่างประเทศ จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จึงเชิญประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดมาประชุมเพื่อเลือกจุฬาราชมนตรีคนใหม่ ที่ประชุมลงมติเลือก นายต่วน สุวรรณศาสน์ อาจารย์โรงเรียนอันยูมันอิสลามและประธานกรรมการอิสลามจังหวัดพระนครในขณะนั้น เป็นจุฬาราชมนตรีคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง ผลงานที่สำคัญของอาจารย์ต่วน สุวรรณศาสน์คือการสนับสนุนการแปลคัมภีร์อัลกุรอ่านเป็นภาษาไทย ผลงานแปลของท่านได้รับพระราชทานสนับสนุนจากในหลวง และต่อมาได้มีผู้แปลอัลกุรอ่านเป็นภาษาไทยอีกหลายสำนวน เช่น สำนวนของครูอิสมาอีล อะหมัด ปากพะยูน และสมาคมนักเรียนเก่าอาหรับ นายต่วนถึงแก่อนิจกรรมเมื่อ รวมอายุได้ 93 ปี ศพของท่านฝังอยู่ที่มัสยิดฮารูน เขตบางรัก โดยมีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น มาร่วมพิธีฝังศพของท่านด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและต่วน สุวรรณศาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ซะฮิบ ชีฮับ

ซะฮิบ ชีฮับ (Sahib Shihab) นักแซกโซโฟนแจ๊สชาวอเมริกัน เคยมีผลงานร่วมกับทีโลเนียส มังค์ ดิซซี กิลเลซพี อาร์ต แบลคคี เบนนี กอลสัน ไมล์ส เดวิส และอาร์ต ฟาร์เมอร์ ในแนวฮาร์ดบ็อพ และเคยมีผลงานร่วมกับควินซี โจนส์ ซะฮิบ ชีฮับ เล่นแซกโซโฟนทั้งแบบอัลโต แบริโทน และโซปราโน ส่วนมากจะเล่นแบริโทนแซก ทั้งยังเป็นนักดนตรีแจ๊สคนแรกๆ ที่นำฟลุต มาเล่นกับดนตรีในแนวบ็อพ ซะฮิบ ชีฮับ เดิมมีชื่อว่า เอ็ดมอนด์ เกรกอรี (Edmond Gregory) เขาเป็นนักดนตรีอเมริกันคนแรกๆ ที่เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลามในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซะฮิบ ชีฮับ · ดูเพิ่มเติม »

ซัมบวงกาซิตี

ซัมบวงกาซิตี (Chavacano: Ciudad de Zamboanga, Lungsod ng Zamboanga) เป็นนครหนาแน่นแห่งหนึ่งในเขตตังไวนางซัมบวงกา ประเทศฟิลิปปินส์ มีประชากร 861,799 คนในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซัมบวงกาซิตี · ดูเพิ่มเติม »

ซัลมัน รัชดี

ซัลแมน รัชดี เซอร์ อาเหม็ด ซัลแมน รัชดี (Ahmed Salman Rushdie) (19 มิถุนายน พ.ศ. 2490 -) นักเขียนลูกครึ่งอินเดีย-อังกฤษ เกิดที่เมืองบอมเบย์ ผู้เคยได้รับรางวัลแมนบุคเคอร์ จากผลงานเขียนชิ้นที่สอง เมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซัลมัน รัชดี · ดูเพิ่มเติม »

ซัดดัม ฮุสเซน

ซัดดัม ฮุสเซน (Saddam Hussein) หรือ ศ็อดดาม ฮุเซน อับดุลมะญีด อัลตีกรีตี (อาหรับ: صدام حسين عبد المجيد التكريتي; ละติน:Ṣaddām Ḥusayn ʿAbd al-Majīd al-Tikrītī; 28 เมษายน พ.ศ. 2480-30 ธันวาคม พ.ศ. 2549) เป็นอดีตประธานาธิบดีของอิรัก ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซัดดัม ฮุสเซน · ดูเพิ่มเติม »

ซันโดรีนี

ซันโดรีนี (Σαντορίνη, Santorini, ออกเสียง) หรือ ซีรา (Θήρα, Thira, ออกเสียง) เป็นเมืองบนเกาะตอนใต้ของทะเลอีเจียน ประเทศกรีซ มีความสวยงามจัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งหนึ่ง ได้รับการโหวตจากนักท่องเที่ยว ว่าเป็นเกาะอันดับ 2 ของโลกที่พวกเขาอยากมา ซึ่งมีสถานทีสำคัญเช่น ยอดเขาโปรฟีติสอีเลียส (Profitis Ilias) เป็นจุดชมความงดงามของเกาะซันโดรีนี เกาะมีความกว้างประมาณ 16 กิโลเมตร อยู่เหนือระดับน้ำทะเล 567 เมตร ประวัติศาสตร์ของเกาะนี้ ชาวฟินีเชียนอพยพเข้ามาที่เกาะนี้ราว 3,600 ปี ก่อนคริสตกาล หลังจากนั้นชาวลาโคเนียนก็เข้ามาปกครองเกาะนี้ กระทั่งถึง 3,000 ปีก่อนคริสตกาล กษัตริย์ไมนอส ผู้ปกครองแห่งเกาะครีตได้แผ่ขยายอิทธิพลด้านศิลปะและวัฒนธรรมจากอารยธรรมมิโนอันมายังธีรา แต่เกิดภูเขาไฟระเบิดขึ้นในเกาะในช่วงฤดูร้อนช่วง 1,650 ปีก่อนคริสตกาล (นักประวัติศาสตร์ยังถกเถียงเรื่องเวลาที่แน่นอนอยู่) ส่งผลให้เกาะธีราแตกออกเป็น 3 เกาะ กระแสลมยังพัดพาเถ้าภูเขาไฟไปไกลจนถึงเกาะต่าง ๆ ในละแวกใกล้เคียงและเกาะครีตที่อยู่ห่างไป 70 กิโลเมตร ไม่เพียงได้รับแรงระเบิดจากภูเขาไฟ ยังเกิดสึนามิที่มีความสูง 100-150 เมตร ถาโถมเข้าด้านเหนือของเกาะครีต ทำลายต้นไม้บ้านเรือน ทำให้เกาะทั้งเกาะจมทะเลในชั่วข้ามคืน ส่งผลให้อารยธรรมมิโนอันเป็นอันล่มสลาย และเชื่อกันว่าความหายนะของเกาะครีตและหมู่เกาะไซคลาดิสเป็นแรงบันดาลใจให้เพลโต เขียนตำนานเรื่องแอตแลนติส และนำไปสู่การบันทึกถึงเรื่องราวเหตุการณ์น้ำท่วมโลก ที่ปรากฏอยู่ในคัมภีร์ของศาสนายูดาย คริสต์ และอิสลาม ทั้งนี้นักโบราณคดีชาวฝรั่งเศสเป็นผู้เริ่มตามรอยอารยธรรมอันสาบสูญ โดยในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซันโดรีนี · ดูเพิ่มเติม »

ซันเฟร์นันโด (จังหวัดปัมปังกา)

นครซันเฟร์นันโด (กาปัมปางัน: Lakanbalen ning San Fernando; Lungsod ng San Fernando) เป็นนครและเมืองหลักของจังหวัดปัมปังกา ประเทศฟิลิปปินส์ ใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซันเฟร์นันโด (จังหวัดปัมปังกา) · ดูเพิ่มเติม »

ซาบีนา อัลตึนเบโควา

ซาบีนา อัลตึนเบโควา (Сабина Алтынбекова; Sabina Altynbekova; 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 —) เป็นสมาชิกของวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติคาซัคสถาน โดยในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซาบีนา อัลตึนเบโควา · ดูเพิ่มเติม »

ซากีร์ ฮุสเซน (นักการเมือง)

ร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซากีร์ ฮุสเซน (นักการเมือง) · ดูเพิ่มเติม »

ซามาร์คันด์

ซามาร์คันด์ (سمرقند; อุซเบก: Самарқанд) เป็นเมืองเก่าแก่ที่สุดเมืองหนึ่งในเอเชียกลาง ตั้งอยู่ในประเทศอุซเบกิสถาน เป็นโอเอซิสซึ่งได้รับน้ำมาจากคลองที่ขุดมาจากแม่น้ำซารัฟชาน ชื่อเดิมของเมืองซามาร์คันด์ คือ เมืองมาระกันดะ เมื่อปี 329 ก่อนคริสต์ศักราช พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซิโดเนียเสด็จผ่านเมืองนี้เพื่อที่จะเดินทางไปอินเดีย จึงได้ยึดเอาไว้ ต่อจากนั้น พวกเติร์ก พวกอาหรับ และพวกเปอร์เซียก็เข้าปกครองเมืองนี้ต่อ ๆ กันมา เมืองซามาร์คันด์แห่งนี้เจริญรุ่งเรืองสูงสุดในยุคกลาง และในปี พ.ศ. 1758 (ค.ศ. 1215) เจงกิสข่านแผ่อาณาจักรเข้าควบคุมเส้นทางสายไหม แล้วได้ยึดซามาร์คันด์ในปี พ.ศ. 1764 (ค.ศ. 1221) อีก 100 ปีต่อมา เมืองนี้ก็เหลือแต่ซาก ข่านติมูร์ เลงค์ เป็นผู้ทรงทำให้เมืองนี้เจริญขึ้น ติมุร์สถาปนาพระองค์เป็นกษัตริย์สืบสายวงศ์จากซากะไตข่าน ราวปี พ.ศ. 1910 (ค.ศ. 1367) จักรวรรดิมองโกลเสื่อมลง ติมุร์มุ่งมั่นจะเป็นผู้นำความรุ่งโรจน์คืนสู่จักรวรรดิดังเดิม จึงนำทัพเข้ายัดดินแดนตั้งแต่ทะเลดำไปจรดลุ่มน้ำสินธุ บุกทำลายบ้านเมืองจนสิ้นซาก ฆ่าฟันผู้คนจนสิ้นเมือง แล้วนำกะโหลกมากองสร้างเป็นพีระมิด ติมุร์ไว้ชีวิตแต่พวกช่างฝีมือ ทั้ง จากอาเซอร์ไบจาน อิสฟาฮาน ชิราซ เดลี และดามัสกัส ช่างเหล่านี้ได้ถูกส่งมาเนรมิตซามาร์คันด์ให้กลายเป็นนครที่สวยงามอีกครั้ง มีสิ่งก่อสร้างรูปโดม ประดับประดาไปด้วยลวดลายโมเสกที่สวยงาม และได้สร้างสุเหร่าที่ใหญ่ที่สุดในโลกอิสลาม สุเหร่าแห่งนี้ชื่อว่า บิบิ คะนุม เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 1942 (ค.ศ. 1399) ใช้เวลาก่อสร้างนาน 5 ปี ใช้ช่างฝีมือ 200 คน แรงงาน 500 คน ช้างอีก 95 เชือก ปัจจุบันยังคงโดดเด่นตระหง่านเหนือเมือง และที่หน้าสุเหร่ายังมีแท่นซึ่งเดิมวางคัมภีร์อัลกุรอานที่ใหญ่ถึง 2 เมตร พระเจ้าติมุร์สิ้นพระชนม์ในจีนเมื่อปี พ.ศ. 1948 (ค.ศ. 1405) พระศพฝังอยู่ที่สุสานในเมืองซามาร์คันด์ ต่อมาในรัชสมัยของพระเจ้าอุลุค เบก ซามาร์คันด์ได้กลายเป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมและวิทยาการ พระองค์ทรงสร้างอาคารสองชั้นเพื่อใช้เป็นวิทยาลัยเทววิทยา ด้านหน้าอาคารประดับไปด้วยลวดลายที่งดงาม และยังทรงสร้างหอดูดาวที่มีเครื่องมือสังเกตการณ์ทันสมัยที่สุดในเวลานั้น และ ในปี พ.ศ. 1992 (ค.ศ. 1449) พระเจ้าอุลุค เบก ถูกลอบปลงพระชนม์ หลังจากนั้นนครนี้ก็ได้เสือมถอยลงอย่างรวดเร็วพร้อมกับเส้นทางสายไหมได้ถูกปิดลง และในปี พ.ศ. 2043 (ค.ศ. 1500) นครนี้ก็ได้ถูกพวกโกลเดน ฮอร์ด มองโกลผู้ครอบดินแดนเหนือทะเลสาบแคสเปี่ยนจนไปถึงรัสเซีย มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเคียฟ เข้ายึดครอบครอง และ ราวศตวรรติที่ 18 นครแห่งนี้จนเสื่อมและร้างผู้คนเป็นเวลา 50 ปี ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ก็ตกเป็นดินแดนของรัสเซีย ซามาร์คันด์มีฐานะเป็นเมืองหลวงของเขตปกครองนี้ มีการตัดเส้นทางรถไฟในปี พ.ศ. 2439 (ค.ศ. 1896) และกลายเป็นศูนย์กลางการส่งออกสินค้าเกษตร ภายหลังดินแดนนี้ได้ถูกแยกกลายเป็นส่วนหนึ่งประเทศอุซเบกิสถานปัจจุบันและก็ได้กลายเป็นเมืองมรดกโลก หมวดหมู่:เมืองในประเทศอุซเบกิสถาน หมวดหมู่:มรดกโลกในประเทศอุซเบกิสถาน หมวดหมู่:มรดกโลกทางวัฒนธรรม หมวดหมู่:ประเทศอุซเบกิสถาน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซามาร์คันด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซารีนามารีเยีย เตมรีอูคอฟนาแห่งรัสเซีย

ซารีนามารีเยีย เตมรีอูคอฟนาแห่งรัสเซีย (Maria Temryukovna, Мари́я Темрюко́вна, ราวค.ศ. 1544 - 1 กันยายน ค.ศ. 1569) เป็นซารีนาเชื่อสายชาวเซอร์คาสเซียน แห่งอาณาจักรซาร์รัสเซีย และเป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในซาร์อีวานที่ 4 แห่งรัสเซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซารีนามารีเยีย เตมรีอูคอฟนาแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ซาลิม อะลิโยว์ อิโบรว์

ซาลิม อะลิโยว์ อิโบรว์ (Saalim Caliyoow Ibroow, سالم علييوو ايبرو) เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี เขาทำหน้าที่เป็นรักษาการนายกรัฐมนตรีโซมาเลียเป็นระยะเวลาสั้น ๆ ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซาลิม อะลิโยว์ อิโบรว์ · ดูเพิ่มเติม »

ซาอัด ฮาริรี

ซาอัดไดน์ ราฟิค ฮาริรี หรือ ซาอัด ฮาริรี (เกิดในปี พ.ศ. 2513) เป็นบุตรชายคนเล็กของ ราฟิค ฮาริรี, อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งประเทศเลบานอนที่ถูกลอบสังหาร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซาอัด ฮาริรี · ดูเพิ่มเติม »

ซาโลมอน

ซาโลมอน (ศัพท์คริสต์ศาสนา) หรือ โซโลมอน (ศัพท์ประวัติศาสตร์) (ละติน: Solomon; שְׁלֹמֹה) มาจากราก S-L-M ที่แปลว่า ความสงบ ในอิสลามว่า สุลัยมาน หรือตามฉายาคือ ซาโลมอนผู้ทรงปัญญา ชื่ออีกชื่อหนึ่งที่ใช้ในคัมภีร์ฮีบรูคือ เจดิดิอา (יְדִידְיָהּ) ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่สามแห่งอิสราเอล ปรากฏในคัมภีร์ฮีบรูหมวดทานัคของศาสนายูดาห์ คัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ และในคัมภีร์อัลกุรอานของศาสนาอิสลาม คัมภีร์กล่าวว่ากษัตริย์ซาโลมอนเป็นบุตรของดาวิด และกล่าวว่าเป็นกษัตริย์องค์ที่สามของสหราชอาณาจักรอิสราเอลและกษัตริย์องค์สุดท้ายก่อนที่จะแยกเป็นราชอาณาจักรอิสราเอลทางเหนือและราชอาณาจักรยูดาห์ทางใต้ หลังจากการแยกตัวผู้ที่สืบเชื้อสายก็ปกครองแต่เพียงราชอาณาจักรยูดาห์เท่านั้น พระคัมภีร์กล่าวว่าพระเจ้าซาโลมอนเป็นผู้สร้างวิหารแห่งซาโลมอน ในกรุงเยรูซาเลมที่ถือกันว่าเป็นพระวิหารแห่งเยรูซาเลมหลังแรก และเป็นผู้มีความฉลาด มั่งคั่ง และอำนาจอย่างมากในยุคนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซาโลมอน · ดูเพิ่มเติม »

ซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี

ซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี (Sibghatullah Mojaddedi; صبغت الله مجددی; เกิดประมาณ ค.ศ. 1926) เป็นนักการเมืองชาวอัฟกานิสถาน เป็นประธานาธิบดีอัฟกานิสถานระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซิบฆัตตุลลอฮ์ โมญัดเดดี · ดูเพิ่มเติม »

ซิลลี่ ฟูลส์

ซิลลี่ ฟูลส์ (Silly Fools) วงดนตรีสัญชาติไทย เป็นวงดนตรีที่ได้ประสบความสำเร็จมาแล้ววงหนึ่ง ซิลลี่ ฟูลส์ เป็นวงดนตรีที่มีเอกลักษณ์และมีฝีมือ ไม่ว่าจะเป็นการผสมผสานดนตรีอันลงตัว อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ซึ่งไม่มีใครลอกเลียนได้ และเป็นต้นแบบของวงเฮฟวี่เมทัลในยุคนี้ และเป็นไอดอลของนักดนตรีหลาย ๆ คน อาทิเช่น แคลช, โลโมโซนิก และ เรโทรสเปกต์, สวีตมัลเล็ต, โปเตโต้, อีโบลา เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซิลลี่ ฟูลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ซิตตเว

ซิตตเว (စစ်တွေမြို့) เป็นเมืองท่าและเมืองหลักของรัฐยะไข่ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของประเทศ บนเกาะกลางชะวากทะเลของปากแม่น้ำกะลาดาน มายู และเล-มโย โดยแม่น้ำเหล่านี้ไหลลงสู่อ่าวเบงกอลซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเมือง ซิตตเวมีประชากร 147,899 คน (พ.ศ. 2557) เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอซิตตเวและตำบลซิตตเว กลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ที่สุดคือชาวยะไข่ รองลงมาคือชาวพม่าซึ่งย้ายมาจากส่วนอื่นของประเทศ ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท ฮินดู และนับถือผีสางตามลำดับ นอกจากนี้ยังมีชาวโรฮีนจาซึ่งในอดีตเคยตั้งชุมชนมุสลิมในเมืองเรียกว่า "อองมีนกะลา" แต่ได้ถูกวางเพลิงและชาวมุสลิมได้ถูกขับไล่ออกไปในเหตุการณ์จลาจลเมื่อเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซิตตเว · ดูเพิ่มเติม »

ซินาน

ซินาน หรือมีชื่อเต็มว่า โคกา มิมาร์ ซินาน อากา (Koca Mimar Sinan Agha - Ḳoca Mi‘mār Sinān Āġā (Ottoman Turkish: قوجه معمار سنان آغا) อีกชื่อที่เรียกกันคือ มิมาร์ ซินาน (15 เมษายน, ค.ศ. 1489 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1588) เป็น สถาปนิกหลวง (Chief architect) แห่งจักรวรรดิออตโตมัน ในสมัยสุลต่านเซลิมที่ 1, สุลต่านเซลิมที่ 2 และสุลต่านมูราดที่สาม ผลงานชิ้นสำคัญที่สุดของเขาคือ มัสยิดเซลิมที่เมืองเอเดอร์เน แต่งานที่ทำให้เขามีชื่อเสียงที่สุดคือ คือ มัสยิดสุไลมานในเมืองอิสตันบูล ซินานยังนับได้ว่าเป็น วิศวกรแผ่นดินไหวคนแรกของโลกอีกด้วย มัสยิด เซลิมี (Selimiye Mosque) สร้างโดย ซินาน ในปี ค.ศ. 1575 ที่เมืองเออร์ดี ประเทศ ตุรกี ภาพ ซินาน ใน ธนบัตรแบบเก่าของตุรกี มิมาร์เป็นชาวคริสต์โดยกำเนิด มาจากครอบครัวในอานาโตเลียที่เมืองเล็กๆ ชื่อ อากีร์นา(Ağırnas) ใกล้กับเมือง กีเซอรี (Kayseri) สันนิษฐานว่าครอบครัวมีสายเลือดกรีก หรืออาร์มีเนีย ในปี ค.ศ.1511 เขาได้ถูกครอบครัวส่งตัวมาตามธรรมเนียมการส่งลูกชายคนหัวปีเพื่อให้ไป รับใช้ในอาณาจักรผู้ปกครอง ให้มาใช้แรงงานใน อาณาจักรอ๊อตโตมาน ที่เมืองอิสตันบูล โดย ณ ที่นี้ เขาได้เปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลาม มิมาร์ได้มีโอกาสรับใช้ขุนนางผู้ใหญ่ปาร์กาลิ อิบราฮิม ปาชาผู้เป็นมหาเสนาบดี (Grand Vizier İbrahim Paşa) และได้ถูกสนับสนันให้เล่าเรียนในสังกัดของขุนนางผู้นี้ และได้รับการตั้งชืออิสลามว่า "ซินาน" หลังจากนั้นเขาก็ได้รับการเล่าเรียนเกี่ยวกับการก่อสร้าง สามปีผ่านไปก็มีฝีมือแกร่งกล้าขึ้น จนได้เข้าร่วมกับกองทัพของสุลต่าน เซลิม ที่หนึ่ง ในช่วงแผนขยายดินแดนของอาณาจักร ซินานได้รับราชการทหารทำงานในกองวิศวกรรม (engineering corps) เมื่อครั้งอาณาจักรออตโตมัน เข้ายึดกรุงไคโรได้เป็นผลสำเร็จ ซินานได้รับการเลื่อนขั้นให้เป็นสถาปนิกเอก โดยรับหน้าที่รื้อถอนอาคารที่ไม่ตรงกับผังเมือง เขายังได้รับการแต่งตั้งให้เป็น ผู้บัญชาการกองพันทหารราบ (commander of an infantry division) แต่เขาก็ขอย้ายตัวเองไปอยู่กองสรรพาวุธแทน ในครั้งที่มีการทำสงครามกับอาณาจักรเปอร์เซีย ในปี 1535 ซินานรับผิดชอบในการสร้างกองเรือ ข้ามทะเลสาบ แวน เนื่องด้วยความชอบดังกล่าว ทำให้เขาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นราชองครักษ์ (Haseki'i หรือ Sergeant-at-Arms) ในองค์สุลต่าน ซึ่งเป็น ยศที่สูงมาก งานสถาปัตยกรรมชิ้นแรกของ ซินาน คือ มัสยิด เซเซด (Şehzade Mosque) สร้างในปี ค.ศ.1548 เขาได้ทำการก่อสร้าง มัสยิดสุไลมาน (Süleymaniye Mosque) ในปี ค.ศ.1550 สร้างเสร็จในปี ค.ศ.1557. ก่อนหน้านี้ ไม่มีอาคารมัสยิดแห่งใด้ที่สร้างด้วยหลังคา Dome on Pendentives โดยใช้หลักการเดียวกับ มัสยิด เฮเจีย โซเฟีย (Hagia Sophia)มาก่อน ซินานได้เขียน ประวัติชีวิตของตัวเอง ชื่อ “Tezkiretü’l Bünyan”, โดยได้กล่าวถึงงาน ส่วนตัว เกี่ยวกับ มัสยิดเซลิมี โดยมีส่วนหนึ่งในหนังสือ บันทึกไว้ว่า เมื่อครั้งหนึ่ง ซินานได้มีโอกาสพบปะกับสถาปนิกชาวคริสเตียน สถาปนิกคนนี้ได้กล่าวเยาะเย้ยซินานว่า "ท่านไม่มีทางที่จะสร้างโดมที่ใหญ่กว่าโดมของเฮเจีย โซเฟียได้ โดยเฉพาะในฐานะที่ท่านเป็นมุสลิม" คำพูดประโยคนั้น เป็นสิ่งที่สร้างแรงบันดาลใจให้ซินานสร้างมัสยิด เซลิมี ขึ้นมา และเมื่อโครงการสำเร็จลง ซินานได้บันทึกไว้ว่า มัสยิดเซลิมี มีโดมที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทิ้ง เฮเจีย โซเฟียไปมาก แต่ในความเป็นจริงแล้ว ความสูงจากระดับพื้นของ มัสยิดเซลิมี นั้นไม่ได้สูงเท่า เฮเจีย โซเฟีย และ เส้นผ่าศูนย์กลางของโดมก็ใหญ่กว่าเพียงครึ่งเมตร (เทียบกับโดมที่อายุเก่าแก่กว่าถึงพันปีอย่าง เฮเจีย โซเฟีย) อย่างไรก็ตาม หากนับจากฐานของมัสยิดแล้ว เซลิมี ก็มีความสูงมากกว่า และมีคุณสมบัติของความเสถียรมากกว่า และมีการใช้เทคโนโลยีการก่อสร้างที่มีความเรียบง่ายมากกว่า ในขณะที่ มัสยิดเซลิมี เสร็จลงนั้น ซินานมีอายุ 80 ปี ซินาน เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1588 ศพของเขาได้รับการฝังไว้ใน หลุมศพนอกกำแพงของ มัสยิดสุไลมาน (Süleymaniye Mosque) ในส่วนพื้นที่ทางเหนือ ตรงข้ามกับถนนชื่อ มิมาร์ ซินาน คาเดซิ (Mimar Sinan Caddesi) ซึ่งได้รับการตั้งชื่อให้เป็นเกียรติกับเขา นอกจากนี้ชื่อของเขายังได้รับการนำไปตั้งกับแอ่งบนดาวพุธ (crater on Mercury) อีกด้วย หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2032 หมวดหมู่:สถาปนิกชาวตุรกี หมวดหมู่:สถาปนิกในคริสต์ศตวรรษที่ 16 หมวดหมู่:วิศวกรชาวตุรกี หมวดหมู่:ชาวตุรกี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซินาน · ดูเพิ่มเติม »

ซูการ์โน

ซูการ์โน (Soekarno, Sukarno; เกิด 6 มิถุนายน ค.ศ. 1901 เสียชีวิต 21 มิถุนายน ค.ศ. 1970) เป็นประธานาธิบดีคนแรกของประเทศอินโดนีเซีย เขามีส่วนสำคัญในการประกาศเอกราชของอินโดนีเซียต่อประเทศเนเธอร์แลนด์ และดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีระหว่างปี ค.ศ. 1945 - ค.ศ. 1967 ซูการ์โนถูกบีบให้ลงจากอำนาจโดยอดีตลูกน้องของเขาคือนายพลซูฮาร์โต ซึ่งรับตำแหน่งประธานาธิบดีในปี ค.ศ. 1967 ลูกสาวของเขาคือ เมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี ได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนที่ห้าของอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซูการ์โน · ดูเพิ่มเติม »

ซูการ์โน มะทา

ซูการ์โน มะทา อดีตรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดยะลา สังกัดพรรคเพื่อไทย และเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียงหนึ่งเดียวของพรรคพลังประชาชนในพื้นที่ภาคใต้ (การเลือกตั้ง พ.ศ. 2550).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซูการ์โน มะทา · ดูเพิ่มเติม »

ซูฮาร์โต

ซูฮาร์โต (Soeharto, Suharto; 8 มิถุนายน ค.ศ. 1921 - 27 มกราคม ค.ศ. 2008) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 2 ของประเทศอินโดนีเซีย และเป็นผู้ที่ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดียาวนานที่สุดของประเทศเป็นเวลา 32 ปี โดยได้รับฉายาจากนานาชาติโดยเฉพาะประเทศโลกตะวันตกว่า "The Smiling General" ก่อนที่จะดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ซูฮาร์โตเป็นผู้นำทางทหารในยุคที่อยู่ใต้การปกครองของ ญี่ปุ่นและฮอลันดา เรื่อยมาจนได้รับยศพลตรี ซูฮาร์โตมีบทบาทมากจากเหตุการณ์ปราบปรามพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซีย ในการเคลื่อนไหวเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1965 จนได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีต่อจากซูการ์โนในปี 1968 จนถึงวันที่ 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1998 จึงได้ประกาศลาออกจากตำแหน่งหลังจากการเดินขบวนต่อต้านจากนักศึกษาและประชาชน ซูฮาร์โต ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในบรรดานักการเมืองที่มีการคอร์รัปชันมากที่สุดในโลก ด้วยตัวเลขเงินที่คอร์รัปชันไปถึง 15-35 พันล้านดอลลาร์สหรั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซูฮาร์โต · ดูเพิ่มเติม »

ซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน

พลเอกซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน (Susilo Bambang Yudhoyono) เป็นอดีตประธานาธิบดีอินโดนีเซียคนแรกที่ได้รับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนในปี พ.ศ. 2547 ภายหลังการปฏิรูปการเมืองและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีการกำหนดให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีโดยตรงจากประชาชน โดยผู้ที่ได้เป็นประธานาธิบดีต้องได้เสียงมากกว่าร้อยละ 50 ของผู้ออกเสียง และหากไม่มีผู้ได้คะแนนเสียงเกินร้อยละ 50 ในการเลือกตั้งครั้งแรก ให้มีการจัดการเลือกตั้งครั้งที่สอง โดยนำเฉพาะผู้ได้คะแนนเสียงอันดับที่ 1 และ 2 มาแข่งขันกันอีกครั้ง ประธานาธิบดียูโดโยโน ได้รับชัยชนะเหนือนางเมกาวาตี ซูการ์โนบุตรีในการเลือกตั้งครั้งที่สอง และเข้ามาดำรงตำแหน่งด้วยความคาดหวังอย่างมากจากประชาชน ในการบริหารประเทศและพัฒนาเศรษฐกิจ ในช่วงแรกอาจไม่ค่อยได้รับการยอมรับจากประชาชน แต่เขาก็สามารถบริหารประเทศได้ดีขึ้นเป็นลำดับ และจัดการแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้เป็นอย่างดี เช่น การเจรจากับอาเจะห์จนเกิดสันติภาพ และการดูแลความขัดแย้งระหว่างเผ่าพันธุ์ต่างๆ จนยุติความรุนแรง รวมทั้งฟื้นฟูเศรษฐกิจของอินโดนีเซียให้มีความเข้มแข็ง เติบโตอย่างรวดเร็ว จนเป็นหนึ่งในประเทศน่าลงทุนในปัจจุบัน ในการเลือกตั้งครั้งล่าสุด (พ.ศ. 2552) ประธานาธิบดียูโดโยโน ได้รับความไว้วางใจจากประชาชนให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเป็นสมัยที่ 2 ด้วยเสียงท่วมท้น และเป็นผู้จุดคบเพลิงในซีเกมส์ครั้งที่26 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2492 หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่ หมวดหมู่:ประธานาธิบดีอินโดนีเซีย หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดชวาตะวันออก หมวดหมู่:มุสลิมชาวอินโดนีเซีย.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน · ดูเพิ่มเติม »

ซีนัต การ์ไซ

ซีนัต กุร็อยชี การ์ไซ (زينت کرزۍ; เกิด: ค.ศ. 1973) เป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศอัฟกานิสถาน ด้วยเป็นภริยาของฮามิด การ์ไซ ประธานาธิบดีช่วงปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและซีนัต การ์ไซ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินสุริยคติ

รัญ 209 Dido ปฏิทินสุริยคติ (อังกฤษ: solar calendar) คือ ปฏิทินที่สอดคล้องกับฤดูกาลและเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ความยาวนานของปีโดยเฉลี่ยมีค่าใกล้เคียงกับปีฤดูกาล ปฏิทินสุริยคติ ได้แก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและปฏิทินสุริยคติ · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมบรรพบุรุษ

ในคัมภีร์ไบเบิล ปฐมบรรพบุรุษ (אבות. Avot or Abot, singular אב. Ab หรือ แอราเมอิก: אבא Abba) หมายถึง อับราฮัม อิสอัค และยาโคบ ซึ่งเป็นบรรพบุรุษของวงศ์วานอิสราเอล ศาสนายูดาห์ถือว่าทั้งสามคนนี้เป็นอัครบิดรและเรียกยุคที่พวกเขามีชีวิตอยู่ว่าสมัยปฐมบรรพบุรุษ เชื่อว่าทั้งสามเป็นผู้ที่พระยาห์เวห์ทรงเลือกให้เป็นตัวแทนมนุษยชาติรับการเผยแสดงและทำพันธสัญญากับพระองค์ พวกเขาจึงถือเป็นแบบอย่างให้กับประชาชนทั้งในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่และแม้เมื่อล่วงลับไปแล้ว ศาสนาที่ได้รับอิทธิพลจากพวกเขาเรียกว่าศาสนาอับราฮัม (คือศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม) ในบางกรณีคำว่าปฐมบรรพบุรุษยังหมายรวมถึงบรรพบุรุษทั้งยี่สิบคนตั้งแต่อาดัมถึงอับราฮัมด้วย นอกจากนี้ชาวยิวและชาวมุสลิมยังนับถือภรรยาเอกของทั้งสามคนคือ ซาราห์ (ภรรยาของอับราฮัม) เรเบคาห์ (ภรรยาของอิสอัค) และเลอาห์ (ภรรยาของยาโคบ) ว่าเป็นปฐมบรรพสตรี และเชื่อว่าร่างของพวกเขาทั้งหมดถูกเก็บไว้ในถ้ำเดียวกันในเมืองฮีบรอน ที่แห่งนี้จึงเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของทั้งสามศาสน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและปฐมบรรพบุรุษ · ดูเพิ่มเติม »

ปยีนมะนา

ปยีนมะนา (ပျဉ်းမနား,; Pyinmana) เป็นเมืองแห่งการทำไม้และอ้อย ปยีนมะนาตั้งอยู่ใจกลางของเขตมัณฑะเลย์ของประเทศพม่า อยู่ห่างจากย่างกุ้ง อดีตเมืองหลวงทางเหนือประมาณ 320 กิโลเมตร รัฐบาลพม่าได้ย้ายเมืองหลวงของประเทศมาตั้งที่พื้นที่สีเขียวทางทิศตะวันตกของตัวเมืองนี้ตั้งแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 ปยีนมะนามีชื่อเดิมว่า แหน่จ่าง, แหน่ฉ่าง และ นีงจาง สองชื่อแรกมีความหมายว่า ดินแดนละเว้น เนื่องจากในสมัยกษัตริย์นั้น หากมีการยกทัพทำศึก เมืองปยีนมะนาก็จะไม่อยู่ในเส้นทางเดินทัพ และหากมีการเก็บภาษีท้องที่ก็จะถูกละเว้นการเก็บส่วย ทั้งนี้เพราะบริเวณนั้นเต็มไปด้วยป่าทึบและชื้นแฉะ ส่วนชื่อสุดท้ายมีความหมายว่า สะพานข้าม เนื่องจากมีสะพานข้ามคลองที่ค้าขายกับเมืองหยั่วเก้าก์ยะ ต่อมาในสมัยอาณานิคม มีการเปลี่ยนชื่อ แหน่ฉ่าง หรือ นีงจาง มาเป็น ปยีนมะนา เนื่องจากเวลาที่สะกดชื่อเมืองนีงจางเป็นภาษาอังกฤษ มักจะสับสนกับชื่อเมืองมยีงฉั่ง เวลาส่งจดหมายก็มักจะสลับที่อยู่บ่อย ๆ ทำให้เสียเวลาและเสียงาน ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ปัญหาจึงเปลี่ยนจาก นีงจาง เป็น ปยีนมะนา แทน โดยเลือกจากชื่อหมู่บ้านที่อยู่ใกล้ที่สุด คือ ลางปยีนมะนา ซึ่งพื้นที่นี้อยู่ห่างจากตัวเมืองปยีนมะนาปัจจุบันราว 5 ไมล์ เมืองปยีนมะนาแต่เดิมเคยเป็นฐานที่มั่นเก่าที่นายพลอองซาน บิดาของอองซาน ซูจี นำฝ่ายต่อต้านทำสงครามเอกราชต่อสู้กับการครอบครองของเจ้าอาณานิคมอังกฤษ และญี่ปุ่นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 สาเหตุที่รัฐบาลพม่าประกาศย้ายเมืองหลวงไม่แน่ชัดนัก สาเหตุที่เป็นไปได้อาจเป็นว่าปยีนมะนาได้เปรียบย่างกุ้งในเชิงยุทธศาสตร์ เนื่องจากอยู่ห่างจากชายฝั่งทะเล เพราะพม่ากลัวการรุกรานแบบเดียวกับที่สหรัฐอเมริกาบุกอิรัก สาเหตุประการอื่นคือปยีนมะนาอยู่ใจกลางประเทศ ทำให้ง่ายต่อการปกครอง และใกล้กับชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ ทำให้สั่งการทางทหารได้ง่ายกว่า สาเหตุสุดท้ายคือเป็นคำแนะนำของโหรประจำตัวนายพลตาน ฉ่วย ผู้ครองอำนาจสูงสุดในพม่า มีกระแสข่าวออกมาว่าเมืองหลวงแห่งใหม่ของพม่าที่ย้ายไปตั้งที่ทำการในบริเวณเมืองปยีนมะนานั้นจะใช้ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ยานโลน (Yan Lon) อันมีความหมายว่า ปลอดภัยจากการต่อสู้ (Secure from Strife) นอกจากนั้นที่ตั้งแห่งใหม่นี้ยังทำบังเกอร์หลบภัยแน่นหนา ติดตั้งขีปนาวุธต่อสู้อากาศยานอีกด้วย แต่อย่างไรก็ตามภายหลัง รัฐบาลพม่าได้ขนานนามเมืองหลวงใหม่แห่งนั้นว่าเนปยีดอ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและปยีนมะนา · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์บรูไน

ทความนี้ว่าด้วยลักษณะประชากรของประเทศบรูไน รวมถึงความหนาแน่นของประชากร ชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา สาธารณสุข สถานภาพทางเศรษฐกิจ การนับถือศาสนา เป็นต้น ชาวบรูไนเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ออสโตรนีเซียน มีต้นกำเนิดมาจากเกาะไต้หวันย้อนหลังไปจาก 5000 ปีก่อนคริสตกาล พวกเขาอาศัยอยู่ตลอดชายฝั่งตะวันตกบนของเกาะบอร์เนียวมีประชากรทั้งหมด (2554) 428,146 คน ภาษาทางการ คือภาษามลายู ศาสนาที่ชาวบรูไนนับถือคือ ศาสนาอิสลามนิกายซุนนี 67% รองลงมาเป็นศาสนาพุทธนิกายมหายาน 13% ศาสนาคริสต์ 10% ศาสนาฮินดู ความเชื่อพื้นเมืองและอื่น ๆ ตามม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประชากรศาสตร์บรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์กัมพูชา

รวมของประชากรในประเทศกัมพูชาในด้านความหนาแน่นของประชากร กลุ่มชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา ภาพรวมด้านสาธารณสุข สถานะทางเศรษฐกิจ ศาสนา และอื่นๆ เป็นดังนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประชากรศาสตร์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์มองโกเลีย

วามเปลี่ยนแปลงของประชากรมองโกเลีย บทความนี้ว่าด้วยลักษณะประชากรของประเทศมองโกเลีย รวมถึงความหนาแน่นของประชากร ชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา สาธารณสุข สถานภาพทางเศรษฐกิจ การนับถือศาสนา เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประชากรศาสตร์มองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์ลาว

ตลาดริมทางเท้าในหลวงพระบาง. ต่อไปนี้เป็นการบรรยายลักษณะประชากรลาว คาดว่ามีประชากรลาวประมาณ 6.48 ล้านคน ใน เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประชากรศาสตร์ลาว · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตย

รัฐที่มิได้มองว่าตนปกครองระบอบประชาธิปไตย ได้แก่ นครรัฐวาติกัน ประเทศซาอุดิอาระเบีย UAE กาตาร์ โอมาน ฟิจิและบรูไน ประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองแบบหนึ่งซึ่งการบริหารอำนาจรัฐมาจากเสียงข้างมากของพลเมือง ผู้เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย โดยพลเมืองอาจใช้อำนาจของตนด้วยตนเองหรือผ่านผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนาจแทนก็ได้ ประชาธิปไตยยังเป็นอุดมคติที่ว่าพลเมืองทุกคนในชาติร่วมกันพิจารณากฎหมายและการปฏิบัติของรัฐ และกำหนดให้พลเมืองทุกคนมีโอกาสแสดงความยินยอมและเจตนาของตนเท่าเทียมกัน ประชาธิปไตยเกิดขึ้นในบางนครรัฐกรีกโบราณช่วงศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเอเธนส์หลังการก่อการกำเริบเมื่อ 508 ปีก่อนคริสตกาล ประชาธิปไตยแบบนี้เรียกว่า ประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งพลเมืองเกี่ยวข้องในกระบวนการทางการเมืองโดยตรง แต่ประชาธิปไตยในปัจจุบันเป็นประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน โดยสาธารณะออกเสียงในการเลือกตั้งและเลือกนักการเมืองเป็นผู้แทนตนในรัฐสภา จากนั้น สมาชิกสภาจะเป็นผู้ตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก ประชาธิปไตยทางตรงยังมีอยู่ในระดับท้องถิ่นหลายประเทศ เช่น การเลือกตั้งสมาชิกเทศบาล อย่างไรก็ดี ในระดับชาติ ความเป็นประชาธิปไตยทางตรงมีเพียงการลงประชามติ การริเริ่มออกกฎหมายและการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง แม้ในปัจจุบัน ประชาธิปไตยจะยังไม่มีนิยามที่ได้รับการยอมรับโดยทั่วกันก็ตาม แต่มีการระบุว่าความเสมอภาคและอิสรภาพเป็นคุณลักษณะสำคัญของประชาธิปไตยนับแต่โบราณกาลR.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์

วาดทางกายวิภาคแสดงหลอดเลือดดำในร่างกาย ในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ประวัติการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาตั้งแต่การผ่าร่างกายของเหยื่อจากการสังเวยในสมัยโบราณ ไปจนถึงการวิเคราะห์อย่างละเอียดซับซ้อนถึงการทำงานของร่างกายโดยนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาวิชานี้มีลักษณะเฉพาะมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนาถึงการทำความเข้าใจในหน้าที่และโครงสร้างของอวัยวะในร่างกายอย่างต่อเนื่อง การศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่มีเกียรติและนับว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความโดดเด่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 วิธีการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ก็มีการพัฒนาอย่างมากมายตั้งแต่การศึกษาในสัตว์ไปจนถึงการศึกษาในศพของมนุษย์ และการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระ

ประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระ มีความเป็นมายาวนาน รัฐชัมมูและกัษมีระเคยเป็นดินแดนที่เป็นศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา ต่อมาได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม เคยอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิดุรรานีในอัฟกานิสถาน จักรวรรดิโมกุล ในอินเดีย และเคยอยู่ภายใต้การปกครองของชาวสิกข์ ภายหลังขับไล่ชาวสิกข์ออกไปได้ ในยุคที่อังกฤษเข้ามา กษัตริย์ของชัมมูและกัษมีระช่วยอังกฤษรบกับชาวสิกข์และได้เป็นรัฐในอารักขาของอังกฤษ เมื่ออังกฤษให้เอกราชแก่อินเดียและมีการแบ่งเป็นอินเดียและปากีสถาน รัฐชัมมูและกัษมีระกลายเป็นกรณีพิพาทของทั้งสองประเทศจวบจนปัจจุบัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประวัติศาสตร์รัฐชัมมูและกัษมีระ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ประวัติศาสตร์ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (History of science and technology, HST) เป็นเนื้อหาส่วนหนึ่งของวิชาประวัติศาสตร์ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของความรู้ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของมนุษย์ หากไม่มีการศึกษาด้านนี้ เทคโนโลยีใหม่ ๆ อาจไม่เกิดขึ้น นอกจากนั้นยังศึกษาผลกระทบของนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง วิทยาศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์และวิศวกรรมเชิงฟิสิกส์ที่เราเข้าใจกันในปัจจุบัน ก่อร่างมาจากการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ แต่มีรากฐานจากผลงานของอารยธรรมกรีกและอิสลาม ซึ่งรับช่วงต่อมาจากอารยธรรมอียิปต์ เมโสโปเตเมีย และอินเดีย ส่วนในด้านเทคโนโลยี ประเทศจีนเป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้ามากที่สุดในสมัยนั้น หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน

ริเวณที่เป็นประเทศอัฟกานิสถานในอดีตในยุคเปอร์เซียเรืองอำนาจ (559–330ก่อน ค.ศ.) '''พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช''' ผู้เข้ามายึดครองจักรวรรดิเปอร์เซียและนำอิทธิพลของกรีกเข้ามา ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน เป็นประวัติศาสตร์ของประเทศอัฟกานิสถาน ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างเอเชียกลาง เอเชียตะวันตก และเอเชียใต้ ทำให้ในประวัติศาสตร์ของอัฟกานิสถานเกี่ยวข้องกับการอพยพของผุ้คนกลุ่มต่างๆ เข้ามาในบริเวณนี้ ชนกลุ่มใหญ่ในอัฟกานิสถานเป็นชนเชื้อสายอิหร่านที่พูดภาษากลุ่มอิหร่าน เช่น ภาษาพาซตู ภาษาดารีเปอร์เซีย อิทธิพลของชาวอาหรับที่เข้ามาพร้อมกับศาสนาอิสลามมีผลต่ออัฟกานิสถานยุคใหม่ นอกจากนั้น อัฟกานิสถานในยุคโบราณยังได้รับอิทธิพลจากกรีซ เอเชียกลาง ชาวปะกัน ชาวพุทธในอินเดีย และชาวฮินดู รวมทั้งผู้นับถือศาสนาโซโรแอสเตอร์ที่เข้ามาในบริเวณนี้ หลังจากสิ้นสุดยุคจักรวรรดิ อัฟกานิสถานปกครองด้วยระบอบกษัตริย์ตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประวัติศาสตร์อัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อันดอร์รา

แผนที่ประเทศอันดอร์รา อยู่ระหว่างฝรั่งเศสกับสเปน อันดอร์ราเป็นประเทศขนาดเล็กในยุโรป เดิมเป็นดินแดนที่ปกครองด้วยระบบฟิวดัล อยู่ภายใต้การปกครองของบิชอปแห่งอูร์เดลและประมุขของฝรั่งเศส ภายหลังจึงยุติการปกครองระบบฟิวดัล เป็นรัฐเอกราชโดยสมบูรณ์และเข้าเป็นสมาชิกของสหประชาชาติเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประวัติศาสตร์อันดอร์รา · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ทิเบต

ทิเบต ตั้งอยู่ในใจกลางของทวีปเอเชียระหว่างประเทศจีนกับอินเดีย ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในบริเวณที่มีภูเขาและที่ราบสูงที่สุดในโลก มีอากาศแห้งและหนาวเย็น รวมทั้งที่ราบกลางหุบเขาริมแม่น้ำอันกว้างใหญ่หลายสาย อันเป็นที่พำนักพิงของชาวธิเบต ผู้ซึ่งมีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง มาเป็นเวลาช้านาน และมีชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างจากผู้คนในประเทศเพื่อนบ้าน ชาวธิเบตได้มีการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ในตนเอง ทั้งยังมีการพัฒนาด้านสติปัญญาและจิตใจ ได้แก่ การมีภาษาที่โดดเด่น มีวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่ และมีผลงานศิลปะที่น่ามหัศจรรย์ นอกจากนี้ อารยธรรมของชาวธิเบต ซึ่งสืบเนื่องมาเป็นเวลาหลายพันปีนั้น ยังเป็นอารยธรรมที่สูงส่ง และมีคุณค่าสืบทอดต่อกันมา เป็นมรดกของมนุษยชาต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประวัติศาสตร์ทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์โซมาเลีย

ประเทศโซมาเลีย (Soomaaliya; الصومال) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (Jamhuuriyadda Federaalka Soomaaliya, جمهورية الصومال الفدرالية) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในแหลมแอฟริกา ตามประวัติศาสตร์สาธารณรัฐโซมาลี หรือ โซมาเลีย ตั้งอยู่บริเวณแหลมแอฟริกาซึ่งแต่เดิมเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญของแอฟริกา โดยเป็นจุดค้าขายสินค้าที่มีค่า ได้แก่ ยางสน ยางไม้หอม และเครื่องเทศ ประชาชนในพื้นที่นับถือศาสนาอิสลาม เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากชาวอาหรับมุสลิม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประวัติศาสตร์โซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง

แผนที่เอเชียกลางแสดงเขตแดนตามคำนิยามที่ต่างกัน 3 แบบ ''Equus przewalskii'' หรือม้าป่ามองโกเลีย, หรือทาคี, อาจเป็นบรรพบุรุษของม้าบ้าน. ประวัติศาสตร์เอเชียกลาง คือ ประวัติศาสตร์ของดินแดนเอเชียกลาง ซึ่งเป็นบริเวณที่ทำการเกษตรได้ยากและอยู่ห่างไกลจากทะเล ทำให้ถูกตัดขาดจากเส้นทางการค้า เมืองใหญ่ๆจึงเกิดขึ้นน้อย ชนร่อนเร่ที่เชี่ยวชาญการขี่ม้าเป็นกลุ่มชนหลักในทุ่งหญ้าสเตปป์ และความสัมพันธ์ระหว่างชนร่อนเร่และกลุ่มชนอื่นๆในเอเชียกลางเต็มไปด้วยความขัดแย้ง ทักษะในการขี่ม้าของพวกเขาทำให้กลายเป็นนักรบที่มีประสิทธิภาพกลุ่มหนึ่งของโลก ผู้นำเผ่าจะเป็นผู้จัดการนำเผ่าย่อย ๆ มารวมกันเป็นกองทัพ ตัวอย่างของกลุ่มชนเหล่านี้ เช่น ชาวฮันที่เข้ารุกรานยุโรป กลุ่มชนเตอร์กิกที่อพยพเข้าสู่ทรานโซเซียนา(Transoxiana) พวกหูทั้ง 5 ชนกลุ่ม(Five Barbarians)ที่โจมตีจักรวรรดิฮั่น และชาวมองโกลที่มีอิทธิพลในเอเชียและยุโรป ความโดดเด่นของชนร่อนเร่สิ้นสุดลงในพุทธศตวรรษที่ 21 เมื่ออาวุธสมัยใหม่เข้ามามีบทบาทในสงคราม จักรวรรดิรัสเซีย ราชวงศ์หมิงของจีน และมหาอำนาจอื่นเข้าครอบครองเอเชียกลางทั้งหมดในพุทธศตวรรษที่ 24 หลังการปฏิวัติรัสเซี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประวัติศาสตร์เอเชียกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาอิสลาม

การขยายอาณาเขตในสมัยราชวงศ์อุมัยยะห์ ปี 661–750 มัสยิดแห่งอุคบา ในประเทศตูนิเซีย สร้างในปี 670 โดยนายพลชาวอาหรับ แสดงถึงการแพร่ของศาสนาอิสลามในบริเวณแอฟริกาเหนือ ประวัติศาสนาอิสลาม เริ่มขึ้นปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประวัติศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

ประคำ

ประคำ หมายถึงลูกกลมๆ ที่ร้อยเป็นพวงสำหรับเป็นเครื่องหมายการนับในเวลาบริกรรมภาวนาหรือสำหรับใช้เป็นเครื่องราง เรียกโดยทั่วไปว่า ลูกประคำ ประคำ ทำด้วยวัสดุต่างชนิด เช่นไม้จันทน์ ไม้เนื่อแข็ง ลูกหวาย ผลไม้ตากแห้ง หินสี พลาสติก ตลอดถึงหยก โดยเจาะรูตรงกลาง ร้อยด้วยด้ายหรือเอ็นเป็นพวง พวงหนึ่งนิยมมีจำนวน 108 ลูก หรือน้อยกว่านั้นตามต้องการ ที่นิยม 108 เพราะถือคติตามบทบริกรรมภาวนาคือ อิติปิโส 108 ประคำ นิยมพกติดตัวไปในที่ต่างๆ โดยถือไปบ้าง ห้อยคอไปบ้าง เพื่อสะดวกในการใช้ได้ทันทีเมื่อมีโอกาส เช่นขณะนั่งรถ นั่งรอเวลา หรือขณะอยู่คนเดียวเงียบๆ นอกจากที่มีใช้ในพุทธศาสนาแล้ว ยังมีการใช้ลูกประคำในการสวดภาวนาในศาสนาอื่นๆ เช่น คริสต์ (โรมันคาทอลิก) และ อิสลาม เป็นต้น ประคำ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประคำ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ มะหะหมัด

ประเสริฐ มะหะหมัด เป็นชาวกรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 สำเร็จการศึกษาทางศาสนาจากเมืองเมกกะห์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย เป็นอาจารย์สอนศาสนาอิสลามโรงเรียนมิฟตาฮู้ลอูลูมิดดีนียะห์ และเป็นกรรมการอิสลามประจำกรุงเทพฯ เมื่ออาจารย์ต่วน สุวรรณศาสน์ถึงแก่อนิจกรรม ได้มีการประชุมประธานกรรมการอิสลามทุกจังหวัดเพื่อเลือกจุฬาราชมนตรีคนใหม่ นายประเสริฐได้รับการเสนอชื่อและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งเมื่อ 8 กันยายน พ.ศ. 2524 ในยุคของท่านมีการปรับปรุงการบริหารองค์กรอิสลามหลายอย่าง และผลักดันให้มีการออกพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 สำเร็จและได้สร้างศูนย์บริหารกิจการศาสนาอิสลามแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติ ที่เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยสำนักงานจุฬาราชมนตรี สำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจการศาสนาอิสลามอย่างเป็นการถาวรในสมัยที่ท่านเป็นจุฬาราชมนตรี ท่านถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเสริฐ มะหะหมัด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบรูไน

รูไน (Brunei) หรือ เนอการาบรูไนดารุซซาลาม (Negara Brunei Darussalam) เป็นรัฐเอกราชบนเกาะบอร์เนียวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ชายฝั่งทางด้านเหนือจรดทะเลจีนใต้ พรมแดนทางบกที่เหลือจากนั้นถูกล้อมรอบด้วยรัฐซาราวะก์ของมาเลเซียตะวันออก บรูไนเป็นประเทศเดียวที่มีพื้นที่ทั้งหมดอยู่บนเกาะบอร์เนียว ส่วนพื้นที่ ๆ เหลือของเกาะถูกแบ่งเป็นของประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ประทศบรูไนมีประชากรประมาณ 423,196 คนใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศบรูไน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบังกลาเทศ

ังกลาเทศ (বাংলাদেশ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ (গণপ্রজাতন্ত্রী বাংলাদেশ) เป็นประเทศในเอเชียใต้ ซึ่งครอบครองเนื้อที่ในส่วนตะวันตกของภูมิภาคเบงกอล คำว่า "บังกลาเทศ (Bangladesh)" แปลว่า "ประเทศแห่งเบงกอล" ถูกล้อมรอบประเทศอินเดีย 3 ด้าน ยกเว้นพรมแดนด้านใต้ติดอ่าวเบงกอล และตะวันออกเฉียงใต้ติดประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศบังกลาเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาห์เรน

ห์เรน (Bahrain; البحرين) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน (Kingdom of Bahrain; مملكة البحرين) เป็นประเทศเกาะในอ่าวเปอร์เซีย โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับซาอุดีอาระเบียที่อยู่ห่างจากเกาะประมาณ 28 กิโลเมตร คือ สะพานคิงฟะฮัด ซึ่งเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค..1986 ส่วนสะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับกาตาร์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศบาห์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟิลิปปินส์

ฟิลิปปินส์ (Philippines; Pilipinas) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines; Republika ng Pilipinas) เป็นประเทศเอกราชที่เป็นหมู่เกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ประกอบด้วยเกาะ 7,641 เกาะ ซึ่งจัดอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ 3 เขตจากเหนือจรดใต้ ได้แก่ ลูซอน, วิซายัส และมินดาเนา เมืองหลวงของประเทศคือมะนิลา ส่วนเมืองที่มีประชากรมากที่สุดคือนครเกซอน ทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของเมโทรมะนิลา ฟิลิปปินส์มีอาณาเขตติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางทิศตะวันตก ทะเลฟิลิปปินทางทิศตะวันออก และทะเลเซเลบีสทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ โดยมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับไต้หวันทางทิศเหนือ ปาเลาทางทิศตะวันออก มาเลเซียและอินโดนีเซียทางทิศใต้ และเวียดนามทางทิศตะวันตก ฟิลิปปินส์ตั้งอยู่ในแถบวงแหวนไฟและใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ทำให้มีแนวโน้มสูงที่จะประสบภัยจากแผ่นดินไหวและไต้ฝุ่น แต่ก็ทำให้มีทั้งทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์และความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่งเช่นกัน ฟิลิปปินส์มีเนื้อที่ประมาณ 300,000 ตารางกิโลเมตร (115,831 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 100 ล้านคน นับเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 8 ในเอเชีย และเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 12 ของโลก นอกจากนี้ ณ ปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศฟิลิปปินส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟีจี

ฟีจี (Fiji,; Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฟีจี (Republic of Fiji; Matanitu ko Viti; ฮินดีฟีจี: फ़िजी गणराज्य) ตั้งอยู่บนหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของประเทศวานูวาตู ทางทิศตะวันตกของประเทศตองงา และทางทิศใต้ของประเทศตูวาลู.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัมพูชา

กัมพูชา หรือ ก็อมปุเจีย (កម្ពុជា กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรกัมพูชา หรือ ราชอาณาจักรก็อมปุเจีย (ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 14.8 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือประมาณ 95% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการเมือง เศรษฐกิจและวัฒนธรรมของกัมพูชา ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาบอง

กาบอง (Gabon) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกาบอง (République Gabonaise) เป็นประเทศในตอนกลางของภาคตะวันตกของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนติดกับอิเควทอเรียลกินี แคเมอรูน สาธารณรัฐคองโก และอ่าวกินี กาบองปกครองโดยประธานาธิบดีที่สถาปนาตนเองขึ้นสู่อำนาจนับตั้งแต่ได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2503 กาบองได้นำระบบหลายพรรคการเมืองและรัฐธรรมนูญใหม่มาใช้ในช่วงต้นทศวรรษที่ 90 ที่ทำให้เกิดกระบวนการการเลือกตั้งที่โปร่งใสยิ่งขึ้น รวมทั้งเกิดการปฏิรูปสถาบันต่าง ๆ ของรัฐ กาบองมีจำนวนประชากรไม่มาก แต่มีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย จึงเป็นที่สนใจของนักลงทุนเอกชนต่างชาติ ทำให้กาบองกลายเป็นหนึ่งในประเทศที่มั่งคั่งที่สุดในภูมิภาคนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศกาบอง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาตาร์

กาตาร์ (قطر‎) หรือชื่อทางการคือ รัฐกาตาร์ (دولة قطر) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรขนาดเล็กที่แตกมาจากคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และมีชายฝั่งริมอ่าวเปอร์เซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกานา

กานา (Ghana) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกานา (Republic of Ghana) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก พรมแดนด้านตะวันตกจรกประเทศโกตดิวัวร์ ด้านตะวันออกจรดประเทศบูร์กินาฟาโซ ด้านตะวันออกจรดประเทศโตโก โดยมีชายฝั่งทะเลด้านใต้ติดกับอ่าวกินี เดิมเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรมีชื่อเรียกว่า โกลด์โคสต์ (Gold Coast).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศกานา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกินี

กินี (Guinea; Guinée) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐกินี (Republic of Guinea; République de Guinée) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา มีพรมแดนด้านทิศเหนือจรดกินีบิสเซา และเซเนกัล พรมแดนด้านทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศมาลี ตะวันออกเฉียงใต้จรดโกตดิวัวร์ ทิศใต้จรดไลบีเรีย และตะวันตกจรดเซียร์ราลีโอน เป็นแหล่งต้นน้ำของแม่น้ำไนเจอร์ แม่น้ำเซเนกัล และแม่น้ำแกมเบีย ชื่อกินี (ในทางภูมิศาสตร์แล้วเป็นชื่อที่ใช้เรียกดินแดนในเขตชายฝั่งตะวันตกของทวีปแอฟริกา ตอนใต้ของทะเลทรายสะฮารา และตอนเหนือของอ่าวกินี) มีต้นกำเนิดจากภาษาเบอร์เบอร์สามารถแปลได้ว่า "ดินแดนของคนผิวดำ".

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศกินี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏาน

ประเทศภูฏาน (Bhutan; บูตาน) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรภูฏาน เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีขนาดเล็ก และมีภูเขาเป็นจำนวนมาก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยระหว่างประเทศอินเดียกับประเทศจีน ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศคือ Druk Yul แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder Dragon)" นอกจากนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Druk Tsendhen และชื่อเพลงชาติ เนื่องจากที่ภูฏาน เสียงสายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน (Bhutan) มาจากคำสมาสในภาษาบาลี ภู-อุฏฺฏาน อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง" (ในภาษาฮินดี สะกด भूटान ถอดเป็นตัวอักษรคือ ภูฏาน).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมองโกเลีย

มองโกเลีย (Mongolia; Монгол Улс มงกลอุลุส) เป็นประเทศในทวีปเอเชียที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ใหญ่เป็นอันดับที่สองของโลกรองจากประเทศคาซัคสถาน มีพรมแดนทางเหนือติดกับประเทศรัสเซีย และทางใต้ติดกับประเทศจีน มีพื้นที่ที่สามารถใช้สำหรับการเกษตรได้น้อยกว่าร้อยละหนึ่ง มองโกเลียมีประชากรเพียง 3 ล้านกว่าคน แต่มีพื้นที่ใหญ่กว่าประเทศไทยถึงกว่า 3 เท่า ซึ่งทำให้ประเทศมองโกเลียเป็นหนึ่งในประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุดในโลก ประชากรส่วนมากนับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยานแบบทิเบต และประชากรร้อยละ 38 อาศัยอยู่ในเมืองหลวงอูลานบาตอร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศมองโกเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอนเตเนโกร

มอนเตเนโกร (Montenegro ออกเสียง:; มอนเตเนโกร: มีความหมายว่า "ภูเขาสีดำ") เป็นประเทศเอกราชซึ่งตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตจรดทะเลเอเดรียติกและโครเอเชียทางทิศตะวันตก จรดบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาทางทิศเหนือ จรดเซอร์เบียทางทิศตะวันออก และจรดแอลเบเนียทางทิศใต้ มีพอดกอรีตซาเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ในอดีต มอนเตเนโกรมีสถานะเป็นสาธารณรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และต่อมาได้เป็นส่วนหนึ่งในสหภาพการเมืองของเซอร์เบีย-มอนเตเนโกร หลังจากมีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 มอนเตเนโกรก็ได้ประกาศเอกราชในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน มอนเตเนโกรได้รับการกำหนดให้เป็น "รัฐประชาธิปไตย สวัสดิการ และสิ่งแวดล้อม".

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมัลดีฟส์

มัลดีฟส์ (Maldives; ދިވެހިރާއްޖެ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมัลดีฟส์ (Republic of Maldives; ހިވެދި ގުޖޭއްރާ ޔާއްރިހޫމްޖު) เป็นประเทศที่มีพื้นที่ประกอบด้วยหมู่เกาะปะการังจำนวนมากในมหาสมุทรอินเดีย และตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดียและประเทศศรีลังก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาดากัสการ์

มาดากัสการ์ (Madagascar; Madagasikara) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมาดากัสการ์ (République de Madagascar; Repoblikan'i Madagasikara) คือชาติเกาะในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่นอกชายฝั่งทางตะวันออกของแอฟริกา ใกล้กับโมซัมบิก เกาะมาดากัสการ์ที่เป็นเกาะหลักเป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 4 ของโลก เป็นถิ่นของสายพันธุ์พืชและสัตว์ถึงร้อยละ 5 ของโลก และมีมากกว่าร้อยละ 80 ที่เป็นสัตว์หรือพืชเฉพาะถิ่นมาดากัสการ์ ที่เด่นคือตัวลีเมอร์ซึ่งอยู่ในตระกูลไพรเมต ตัวฟอสซา (fossa) ซึ่งกินเนื้อ นกเฉพาะถิ่น 3 ตระกูล และต้นบาวบับ (baobab) 6 ชนิด ภาษาหลักคือภาษามาลากาซี สมดุลทางธรรมชาติของมาดากัสการ์ถูกคุกคาม เนื่องจากป่าส่วนใหญ่เสียหาย และลีเมอร์ได้สูญพันธุ์ถึง 15 สายพัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาซิโดเนีย

รณรัฐมาซิโดเนีย (Republic of Macedonia; Република Македонија) ซึ่งรัฐและองค์กรนานาชาติส่วนใหญ่เรียกว่า อดีตสาธารณรัฐยูโกสลาฟมาซิโดเนีย (Former Yugoslav Republic of Macedonia: FYROM) เป็นรัฐอิสระบนคาบสมุทรบอลข่านในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศนี้มักจะเรียกเฉย ๆ ว่า "มาซิโดเนีย" ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความสับสนกับภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่กว้างขวาง และแคว้นมาซิโดเนียของกรีซ ประเทศมาซิโดเนียเป็นเพียงส่วนหนึ่งของภูมิภาคทางภูมิศาสตร์ที่ชื่อมาซิโดเนีย มีพื้นที่ประมาณร้อยละ 38 และประชากรเกือบร้อยละ 44 ของพื้นที่ที่ใหญ่กว่าพื้นที่ที่ปกครองโดยสาธารณรัฐมาซิโดเนีย ก่อนหน้านี้เป็นส่วนทางใต้สุดของยูโกสลาเวีย พรมแดนปัจจุบันได้รับการกำหนดหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียก่อตั้ง "สาธารณรัฐสังคมนิยมมาซิโดเนีย" (Socialist Republic of Macedonia) ซึ่งเป็นที่โต้แย้งว่า เป็นการยอมรับสลาฟมาซิโดเนีย เป็นชนชาติแยกต่างหากภายในยูโกสลาเวีย ต่อมาในปี พ.ศ. 2534 ได้แยกจากยูโกสลาเวียอย่างสันติโดยเปลี่ยนชื่อเป็น "สาธารณรัฐมาซิโดเนีย" และไม่มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เพิ่มเติม อย่างไรก็ดี หลังจากนั้นเป็นต้นมา ประเทศได้เกิดกรณีพิพาทกับประเทศกรีซอย่างยาวนานเกี่ยวกับการใช้ชื่อ "มาซิโดเนีย" จนกระทั่งในวันที่ 12 มิถุนายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศมาซิโดเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิกเตนสไตน์

ลิกเตนสไตน์ (Liechtenstein) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ ราชรัฐลิกเตนสไตน์ (Fürstentum Liechtenstein) เป็นประเทศเล็กๆที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในทวีปยุโรปกลาง มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศออสเตรีย และด้านตะวันตกติดกับสวิตเซอร์แลนด์ ถึงแม้ประเทศนี้จะมีขนาดเล็ก และเต็มไปด้วยภูเขาสูง แต่ก็มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย นอกจากนี้ลิกเตนสไตน์ยังเป็นที่นิยมของนักเล่นกีฬาฤดูหนาว และยังมีชื่อเสียงในฐานะเป็นประเทศที่เก็บภาษีต่ำมากประเทศหนึ่ง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศลิกเตนสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศศรีลังกา

รีลังกา (ශ්රී ලංකා; இலங்கை) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา (ශ්රී ලංකා ප්රජාතාන්ත්රික සමාජවාදී ජනරජය; இலங்கை சனநாயக சோசலிசக் குடியரசு) เป็นประเทศเกาะในมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ นอกชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของอนุทวีปอินเดีย ชื่อในอดีตได้แก่ ลังกา ลังกาทวีป สิงหลทวีป และ ซีลอน ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้ในสมัยอาณานิคมจนถึง พ.ศ. 2517 มีพรมแดนทางทะเลติดต่อกับอินเดียทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และมัลดีฟส์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศศรีลังกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสิงคโปร์

ประเทศสิงคโปร์ มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นนครรัฐสมัยใหม่และประเทศเกาะที่มีขนาดเล็กที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ซึ่งมักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong) ในภาษามลายู และเกาะที่เล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ และจากหมู่เกาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้ ประเทศมีลักษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดั้งเดิมเล็กน้อย ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพที่ดิน หมู่เกาะมีการตั้งถิ่นฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และต่อมาเป็นของจักรวรรดิท้องถิ่นต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่ก่อตั้งใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอัฟกานิสถาน

อัฟกานิสถาน (Afghanistan; افغانستان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันตกจรดประเทศอิหร่าน ทางทิศใต้และตะวันออกติดปากีสถาน ทางทิศเหนือติดเติร์กเมนิสถาน อุซเบกิสถาน และทาจิกิสถาน ส่วนทางทิศตะวันออกสุดติดประเทศจีน อัฟกานิสถานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ระหว่างการล้มตอลิบานโดยการรุกรานอัฟกานิสถานของสหรัฐอเมริกา และความสำเร็จของโลยา จีร์กา ในปี พ.ศ. 2546 ชาวตะวันตกเรียกอัฟกานิสถานว่า Transitional Islamic State of Afghanistan อย่างไรก็ดี ภายใต้รัฐธรรมนูญของอัฟกานิสถานฉบับปัจจุบัน ประเทศนี้เรียกว่า สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน ในปัจจุบันเป็นหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาเซอร์ไบจาน

อาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan Respublikası) เป็นประเทศในแถบเทือกเขาคอเคซัส บริเวณที่เป็นจุดเชื่อมต่อของภูมิภาคยุโรปตะวันออกกับเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกจรดทะเลแคสเปียน ทิศเหนือติดต่อกับสหพันธรัฐรัสเซีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับจอร์เจีย ทิศตะวันตกติดต่อกับอาร์มีเนีย และทิศใต้ติดต่อกับอิหร่าน อาเซอร์ไบจานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (ดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) มีอาณาเขตติดต่อกับอาร์มีเนียทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับอิหร่านทางทิศใต้และทิศตะวันตก และติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนเขตนากอร์โน-คาราบัคทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ ได้ประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจานในปี พ.ศ. 2534 แต่ไม่เป็นที่ยอมรับจากนานาชาต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิสราเอล

ประเทศอิสราเอล (Israel; יִשְׂרָאֵל; إِسْرَائِيل) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า รัฐอิสราเอล (State of Israel; מְדִינַת יִשְׂרָאֵל; دَوْلَة إِسْرَائِيل) เป็นประเทศในตะวันออกกลางบนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและชายฝั่งเหนือของทะเลแดง มีเขตแดนทางบกติดต่อกับประเทศเลบานอนทางทิศเหนือ ประเทศซีเรียทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศจอร์แดนทางทิศตะวันออก ดินแดนเวสต์แบงก์และฉนวนกาซาของปาเลสไตน์ทางทิศตะวันออกและตะวันตกตามลำดับ และประเทศอียิปต์ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ประเทศอิสราเอลมีภูมิลักษณ์หลากหลายแม้มีพื้นที่ค่อนข้างเล็ก เทลอาวีฟเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของประเทศ ส่วนที่ตั้งรัฐบาลและเมืองหลวงตามประกาศคือ เยรูซาเลม แม้อำนาจอธิปไตยของรัฐเหนือเยรูซาเลมยังไม่มีการรับรองในระดับนานาประเทศThe Jerusalem Law states that "Jerusalem, complete and united, is the capital of Israel" and the city serves as the seat of the government, home to the President's residence, government offices, supreme court, and parliament.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศอิสราเอล · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินโดนีเซีย

อินโดนีเซีย (Indonesia) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republik Indonesia) เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ระหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนียวหรือกาลีมันตัน (Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian) และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์ (Timor).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุซเบกิสถาน

อุซเบกิสถาน (Uzbekistan; O'zbekiston) หรือชื่ออย่างเป็นทางการก็คือ สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน (Republic of Uzbekistan; O‘zbekiston Respublikasi) เป็นประเทศในทวีปเอเชียกลางที่ถูกล้อมรอบด้วยประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศอัฟกานิสถานในทวีปเอเชียใต้ ประเทศคาซัคสถาน คีร์กีซสถาน ทาจิกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลอารัล อุซเบกิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์เจีย

อร์เจีย (Georgia; საქართველო, Sakartvelo) เดิมระหว่างปี พ.ศ. 2534-2538 เรียกว่า สาธารณรัฐจอร์เจีย เป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลดำในคอเคซัสตอนใต้ ในอดีตเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียต มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศรัสเซีย ทางใต้จรดประเทศตุรกี ประเทศอาร์มีเนีย และประเทศอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอโมโรส

อโมโรส (Comoros; جزر القمر‎; Comores) หรือชื่อทางการว่า สหภาพคอโมโรส (Union of the Comoros; คอโมโรส: Udzima wa Komori; الاتحاد القمري; Union des Comores) เป็นประเทศหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตะวันออกของทวีปแอฟริกา บริเวณจุดเหนือสุดของช่องแคบโมซัมบิก ระหว่างทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศมาดากัสการ์และทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศโมซัมบิก ประเทศอื่นๆ ที่อยู่ใกล้กับคอโมโรสคือประเทศแทนซาเนียที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือและประเทศเซเชลส์ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีเมืองหลวงคือ โมโรนี บนเกาะกร็องด์กอมอร์ ภาษาราชการมี 3 ภาษาคือ อาหรับ คอโมโรส และฝรั่งเศส ศาสนาของประชากรส่วนใหญ่คือศาสนาอิสลาม ด้วยเนื้อที่เพียง 1,660 ตารางกิโลเมตร (640 ตารางไมล์) (ไม่รวมเกาะมายอตที่ยังมีปัญหากันอยู่) ทำให้คอโมโรสเป็นประเทศที่เล็กที่สุดเป็นอันดับ 3 ในทวีปแอฟริกา โดยมีประชากรทั้งหมดประมาณ 798,000 คน (ไม่รวมมายอต) ในฐานะที่เป็นประเทศที่เกิดขึ้นจากอารยธรรมที่แตกต่างกัน ทำให้หมู่เกาะนี้มีชื่อเสียงในด้านวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย ผู้ตั้งรกรากบนเกาะนี้เป็นกลุ่มแรกๆ คือ กลุ่มคนที่พูดภาษาบันตู จากแอฟริกาตะวันออก พร้อมด้วยชาวอาหรับและการอพยพเข้ามาของชาวออสโตรนีเชียน หมู่เกาะคอโมโรสประกอบไปด้วย 3 เกาะใหญ่และหมู่เกาะเล็ก ๆ อีกมากมายซึ่งตั้งอยู่บนหมู่เกาะภูเขาไฟคอโมโรส เกาะที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในชื่อฝรั่งเศสของพวกเขา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุด คือ เกาะกร็องด์กอมอร์หรืออึงกาซีจา มอเอลีหรืออึมวาลี อ็องฌูอ็องหรืออึนซวานี นอกจากนี้ประเทศยังอ้างสิทธิเหนือเกาะอีกแห่งที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้สุดคือเกาะมายอตหรือมาโอเร ถึงแม้ว่าเกาะมายอตจะมีการประกาศอิสรภาพจากฝรั่งเศสแล้วตั้งแต่ปี 2517 แต่ก็ไม่เคยอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลคอโมโรสและยังคงถูกปกครองโดยฝรั่งเศสต่อไป (ในฐานะดินแดนโพ้นทะเลของฝรั่งเศส) ฝรั่งเศสได้คัดค้านมติของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติทียืนยันอธิปไตยของคอโมโรสเหนือเกาะนี้The first UN General Assembly Resolution regarding the matter, " (PDF)", United Nations General Assembly Resolution A/RES/31/4, (21 October 1976) states "the occupation by France of the Comorian island of Mayotte constitutes a flagrant encroachment on the national unity of the Comorian State, a Member of the United Nations," rejecting the French-administered referendums and condemning French presence in Mayotte.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศคอโมโรส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถาน

อัลมาตี คาซัคสถาน (Қазақстан,; Казахстан) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคาซัคสถาน (Қазақстан Республикасы; Республика Казахстан) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลใหญ่ที่สุดในโลก มีพื้นที่ครอบคลุมกว้างขวางในทวีปเอเชีย และเป็นสาธารณรัฐในอดีตสหภาพโซเวียต มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศในเอเชียกลาง ได้แก่ คีร์กีซถาน อุซเบกิสถาน และเติร์กเมนิสถาน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน คาซัคสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คาซัคสถานเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก อย่างไรก็ดี มีพื้นที่กึ่งทะเลทราย (steppe) อยู่มาก จึงมีประชากรเป็นอันดับที่ 57 มีประมาณ 6 คน/ตร.กม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศคาซัคสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคีร์กีซสถาน

ก พิพิธภัณฑ์เลนิน ชายสวมหมวกแบบดั้งเดิม คีร์กีซสถาน (คีร์กีซและКыргызстан) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐคีร์กีซ (Кыргыз Республикасы; Кыргызская Республика) เป็นประเทศในเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล เมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดมีชื่อว่าบิชเคก (เดิมเรียกว่า ฟรุนเซ) คีร์กีซสถานเดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศคีร์กีซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตรินิแดดและโตเบโก

ตรินิแดดและโตเบโก (Trinidad and Tobago) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก (Republic of Trinidad and Tobago) เป็นชาติที่ตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ตอนใต้ ตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งเวเนซุเอลา 11 กม. เป็นรัฐที่เป็นหมู่เกาะ ประกอบด้วย 2 เกาะเป็นหลักคือ เกาะตรินิแดด เกาะโตเบโก และเกาะเล็กอื่น ๆ อีก 21 เกาะ โดยตรินิแดดเป็นเกาะที่ใหญ่กว่าและมีประชากรมากกว่า ในขณะที่โตเบโกมีขนาดเล็กกว่า (303 ตารางกิโลเมตร ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นที่ประเทศทั้งหมด) และมีประชากรน้อยกว่า (50,000 คน ร้อยละ 4 ของจำนวนประชากรทั้งหมด) ในภาษาอังกฤษ พลเมืองมีชื่อเรียกเป็นทางการว่า Trinidadians (ชาวตรินิแดด) หรือ Tobagonians (ชาวโตเบโก) หรือ Citizens of Trinidad and Tobago (ชาวตรินิแดดและโตเบโก) แต่ก็มีชื่อเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า Trinis หรือ Trinbagonians ตรินิแดดและโตเบโกมีลักษณะต่างจากประเทศแคริบเบียนที่ใช้ภาษาอังกฤษประเทศอื่น ๆ คือมีการประกอบอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ โดยมีพื้นฐานเศรษฐกิจอยู่บนปิโตรเลียมและปิโตรเคมี ผู้ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอินเดียและชาวแอฟริกามีจำนวนรวมกันถึงเกือบร้อยละ 80 ของจำนวนประชากร ส่วนที่เหลือเป็นเชื้อชาติผสม ชาวยุโรป จีน และชาวซีเรีย-เลบานอน ตรินิแดดและโตเบโกมีชื่อเสียงในเรื่องงานคาร์นิวัลที่จัดก่อนฤดูถือบวชของคริสต์ (Lenten) และเป็นถิ่นกำเนิดของดนตรีสตีลแพน (steelpan) และการเต้นลิมโบ เมืองหลวง (กรุงพอร์ต-ออฟ-สเปน) เป็นผู้เสนอตัวเป็นที่ตั้งสำนักงานเลขาธิการถาวรเขตการค้าเสรีอเมริกา (Free Trade Area of the Americas: FTAA-ALCA).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศตรินิแดดและโตเบโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศติมอร์-เลสเต

ติมอร์-เลสเต (Timor-Leste,, ตีโมร์แลชตือ) หรือ ติมอร์ตะวันออก (Timór Lorosa'e) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต (República Democrática de Timor-Leste; Repúblika Demokrátika Timór-Leste) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่บนเกาะในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยเกาะติมอร์ด้านตะวันออก เกาะอาเตารู (Atauro) และเกาะฌากู (Jaco) ที่อยู่ใกล้เคียง และเทศบาลโอเอกูซี (Oecusse) ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของเกาะติมอร์ ติมอร์ตะวันออกถูกล้อมรอบโดยพื้นที่ของประเทศอินโดนีเซีย แต่เดิมประเทศติมอร์-เลสเตถูกปกครองโดยประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้ยึดครองติมอร์ตะวันออกเป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) และในปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) ติมอร์ตะวันออกได้แยกตัวเป็นอิสระ และได้รับเอกราชอย่างเต็มตัวเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 (ค.ศ. 2002) เมื่อประเทศติมอร์ตะวันออกเข้าร่วมองค์การสหประชาชาติในปีเดียวกัน ก็ได้ตกลงว่าจะเรียกประเทศอย่างเป็นทางการว่า "ติมอร์-เลสเต" ซึ่งเป็นชื่อในภาษาโปรตุเก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศติมอร์-เลสเต · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกี

ประเทศตุรกี (Turkey; Türkiye ทือรคีเย) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐตุรกี (Republic of Turkey; Türkiye Cumhuriyeti) เป็นสาธารณรัฐระบบรัฐสภาในยูเรเซีย พื้นที่ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตก โดยมีส่วนน้อยในอีสเทรซในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศตุรกีมีพรมแดนติดต่อกับ 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศซีเรียและอิรักทางใต้ ประเทศอิหร่าน อาร์มีเนียและดินแดนส่วนแยกนาคีชีวันของอาเซอร์ไบจานทางตะวันออก ประเทศจอร์เจียทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศบัลแกเรียทางตะวันตกเฉียงเหนือ และประเทศกรีซทางตะวันตก ทะเลดำอยู่ทางเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางใต้ และทะเลอีเจียนทางตะวันตก ช่องแคบบอสฟอรัส ทะเลมาร์มะราและดาร์ดะเนลส์ (รวมกันเป็นช่องแคบตุรกี) แบ่งเขตแดนระหว่างเทรซและอานาโตเลีย และยังแยกทวีปยุโรปกับทวีปเอเชีย ที่ตั้งของตุรกี ณ ทางแพร่งของยุโรปและเอเชียทำให้ตุรกีมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์อย่างยิ่ง ประเทศตุรกีมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่ยุคหินเก่า มีอารยธรรมอานาโตเลียโบราณต่าง ๆ เอโอเลีย โดเรียและกรีกไอโอเนีย เทรซ อาร์มีเนียและเปอร์เซีย หลังการพิชิตของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช ดินแดนนี้ถูกทำให้เป็นกรีก เป็นกระบวนการซึ่งสืบต่อมาภายใต้จักรวรรดิโรมันและการเปลี่ยนผ่านสู่จักรวรรดิไบแซนไทน์ เติร์กเซลจุคเริ่มย้ายถิ่นเข้ามาในพื้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 เริ่มต้นกระบวนการทำให้เป็นเติร์ก ซึ่งเร่งขึ้นมากหลังเซลจุคชนะไบแซนไทน์ที่ยุทธการที่มันซิเคิร์ต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศตุรกี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซาอุดีอาระเบีย

ซาอุดีอาระเบีย (Saudi Arabia; السعودية) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (المملكة العربية السعودية) เป็นรัฐอาหรับในเอเชียตะวันออกกลาง กินอาณาบริเวณกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่ประมาณ 2,149,690 ตารางกิโลเมตร ประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในโลกอาหรับรองจากประเทศแอลจีเรีย ประเทศซาอุดีอาระเบียมีพรมแดนติดประเทศจอร์แดนและอิรักทางเหนือ ประเทศคูเวตทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศกาตาร์ บาห์เรนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทางตะวันออก ประเทศโอมานทางตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศเยเมนทางใต้ เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งติดทั้งทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย และภูมิประเทศส่วนใหญ่ประกอบด้วยทะเลทรายแห้งแล้ง อยู่อาศัยไม่ได้ หรือธรณีสัณฐานไม่อุดม พื้นที่ประเทศซาอุดีอาระเบียสมัยใหม่ประกอบด้วยสี่ภูมิภาคสำคัญ ได้แก่ ฮิญาซ นัจญด์ และบางส่วนของอาระเบียตะวันออกและอาระเบียใต้ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียก่อตั้งในปี 2475 โดย พระเจ้าอิบนุ ซะอูด (King Ibnu Saud) พระองค์ทรงรวบรวมสี่ภูมิภาคเข้าเป็นรัฐเดี่ยวผ่านชุดการพิชิตเริ่มตั้งแต่ปี 2445 ด้วยการยึดรียาด บ้านบรรพบุรุษแห่งราชวงศ์ซะอูดของพระองค์ นับแต่นั้น ประเทศเป็นสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นเผด็จการสืบสายโลหิตที่ปกครองตามแบบอิสลาม ขบวนการศาสนาวะฮาบีย์ภายในนิกายซุนนีย์ถูกเรียกว่า "ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมซาอุดีอาระเบีย" บ้างเรียกประเทศซาอุดีอาระเบียว่า "ดินแดนสองมัสยิดศักดิ์สิทธิ์" โดยหมายถึง อัลมัสยิดอัลฮาราม (Al-Masjid al-Haram) ในมักกะฮ์ และอัลมัสยิดอันนาบาวี (Al-Masjid al-Nabawi) ในมะดีนะฮ์ ซึ่งเป็นสองมัสยิดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนาอิสลาม แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย มีประชากร 28.7 ล้านคน สัญชาติซาอุดีอาระเบีย 20 ล้านคน และ 8.7 ล้านคนเป็นชาวต่างประเทศ มีการค้นพบปิโตรเลียมในปี 2481 และประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้ผลิตและส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของโลกแต่ต่อไปน้ำมันคงไร้ความหมาย โดยควบคุมน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก ราชอาณาจักรจัดอยู่ในเศรษฐกิจรายได้สูงของธนาคารโลกโดยมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูง และเป็นประเทศอาหรับประเทศเดียวที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 ทว่า เศรษฐกิจซาอุดีอาระเบียมีความหลากหลายน้อยที่สุดในสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรเป็นอัตตาธิปไตยราชาธิปไตยและฟรีดอมเฮาส์จัดว่า "ไม่เสรี" ประเทศซาอุดีอาระเบียมีรายจ่ายทางทหารสูงสุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และในปี 2553–2557 SIPRI พบว่าประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของโลก ประเทศซาอุดีอาระเบียถือว่าเป็นอำนาจภูมิภาคและปานกลาง นอกเหนือจากสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรยังเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมืออิสลามและโอเปคและนอกจากนี้ยังเริ่มมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางทะเลอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูรินาม

ซูรินาม (Suriname, Surinam,; Suriname,, ซือรีนาเมอ) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐซูรินาม (Republic of Suriname; Republiek Suriname) เดิมรู้จักกันในชื่อ "ดัตช์เกียนา" เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ระหว่างเฟรนช์เกียนาทางทิศตะวันออกกับกายอานาทางทิศตะวันตก เขตแดนทางทิศใต้ติดต่อกับบราซิล ส่วนทางเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก พื้นที่ทางใต้สุดของประเทศกำลังเป็นกรณีพิพาทกับกายอานาและเฟรนช์เกียน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศซูรินาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูดาน

ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซีลอนในเครือจักรภพ

ประเทศซีลอนในเครือจักรภพThe Sri Lanka Independence Act 1947 uses the name "Ceylon" for the new dominion; nowhere does that Act use the term "Dominion of Ceylon", which although sometimes used was not the official name) หรือ "ซีลอน" คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ปกครองภายใต้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นพระประม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศซีลอนในเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปากีสถาน

ปากีสถาน (Pakistan; پاکستان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน (Islamic Republic of Pakistan; اسلامی جمہوریہ پاکستان) เป็นประเทศที่ตั้งอยู่ในเอเชียใต้ มีพรมแดนติดกับประเทศอินเดีย อิหร่าน อัฟกานิสถาน และ จีน และมีชายฝั่งติดกับทะเลอาหรับ มีประชากรกว่า 150 ล้านคน มากเป็นอันดับ 6 ของโลก และเป็นประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม ใหญ่เป็นอันดับ 2 และเป็นสมาชิกที่สำคัญของ โอไอซี และเป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศที่มีอาวุธนิวเคลียร์ไว้ในครอบครอง คำว่า "ปากีสถาน" ซึ่งมีความหมายว่า "ดินแดนของชนบริสุทธิ์" ในภาษาอูรดูและภาษาเปอร์เซียนั้น มาจากการรวมชื่อดินแดนในประเทศนี้ ประกอบด้วยปัญจาบ (Punjab) อัฟกาเนีย (Afghania) แคชเมียร์หรือกัศมีร์ (Kashmir) สินธ์ (Sindh) และบาลูจิสถาน (BaluchisTAN).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศปากีสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอลจีเรีย

แอลจีเรีย (Algeria; الجزائر) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (People's Democratic Republic of Algeria; الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 1ในทวีปแอฟริกา หลังจากประเทศซูดานใต้ แยกออกจากประเทศซูดานมีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ. 2068.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศแอลจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมร็อกโก

มร็อกโก (ชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรโมร็อกโก, เป็นรัฐเดี่ยวและรัฐเอกราชที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคมาเกร็บในแอฟริกาเหนือ เป็นหนึ่งในถิ่นกำเนินชนเบอร์เบอร์ ในทางภูมิศาสตร์โมร็อกโกมีเทือกเขาหินขรุขระตรงกลาง มีทะเลทรายขนาดใหญ่และมีชายฝั่งยาวมาตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกจนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียน โมร็อกโกมีพื้นที่ประมาณ 710,850 ตารางกิโลเมตรและประชากรกว่า 33.8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อราบัตและมีเมืองใหญ่สุดชื่อกาซาบล็องกา นอกจากนี้ยังมีเมืองสำคัญอื่น ๆ อีกอาทิมาร์ราคิช แทงเจียร์ ซาเล่ห์ แฟ็ส แม็กแน็สและ วัจด้า ในทางประวัติศาสตร์โมร็อกโกเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคมีความเป็นอิสระและไม่ได้ถูกยุ่งเกียวหรือรุกรานโดยเพื่อนบ้านตั้งแต่สุลต่าน โมเลย์ อิดริส ที่ 1ก่อตั้งรัฐโมร็อกโกครั้งแรกใน พ.ศ. 1332 ประเทศถูกปกครองโดยระบบราชวงศ์และเจริญสุดขีดในช่วงราชวงศ์อัลโมราวิดและราชวงศ์อัลโลฮัดซึ่งครอบครองส่วนหนึ่งของคาบสมุทรไอบีเรียและแอฟริกาตะวันตกเฉียงเหนือ ราชวงศ์มารีนิดและราชวงศ์ซาดีได้ยืนหยัดต่อต้านการรุกร่านจากต่างประเทศ อีกทั้งโมร็อกโกเป็นประเทศในแอฟริกาเหนือประเทศเดียวที่เลี่ยงการยึดครองจากจักรวรรดิออตโตมันได้ ราชวงศ์อเลาอัวซึ่งปกครองประเทศอยู่ในปัจุบันนั้นขึ้นมามีอำนาจในโมร็อกโกตั้งแต่ พ.ศ. 2174 ใน พ.ศ. 2455 โมร็อกโกถูกแบ่งเป็นโมร็อกโกในอารักขาของฝรั่งเศส โมร็อกโกในอารักขาของสเปนกับเขตสากลในแทนเจียร์และกลับมาได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2499 วัฒนธรรมชาวโมร็อกโกจะเป็นแบบผสมผสานตามอิทธิพลของเบอร์เบอร์ อาหรับ แอฟริกาตะวันตกและยุโรป โมร็อกโกอ้างว่าเวสเทิร์นสะฮาราซึ่งเป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองซึ่งเคยเป็นสะฮาราของสเปนนั้นเป็นจังหวัดทางใต้ของโมร็อกโก หลังจากสเปนตกลงที่จะปลดปล่อยดินแดนนี้ให้โมร็อกโกและมอริเตเนียใน พ.ศ. 2518 ชาวซาห์ราวีได้ทำสงครามแบบกองโจร มอริเตเนียถอนตัวออกจากดินแดนที่มีสิทธิครอบครองใน พ.ศ. 2522 และสงครามอันยืดเยื้อก็ยุติจากการหยุดยิงใน พ.ศ. 2534 ปัจจุบันโมร็อกโกครอบครองดินแดนสองในสาม โมร็อกโกปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญกับรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง กษัตริย์โมร็อกโกมีอำนาจบริหารและอำนาจนิติบัญญัติอย่างมาก โดยเฉพาะการทหาร นโยบายต่างประเทศและศาสนา อำนาจบริหารออกใช้โดยรัฐบาล ขณะที่สภานิติบัญญัติเป็นของรัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎรโมร็อกโกและราชมนตรีสภาทั้งสองสภา กษัตริย์สามารถออกพระราชกฤษฎีกาที่เรียกว่าดาฮีร์ซึ่งมีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย นอกจากนี้กษัตริย์สามารถยุบสภาหลังจากปรึกษานายกรัฐมนตรีและประธานศาลรัฐธรรมนูญ ชาวโมร็อกโกส่วนมากนับถือศาสนาอิสลามมีภาษาราชการคือภาษาอาหรับและภาษาเบอร์เบอร์ ภาษาเบอร์เบอร์เป็นภาษาหลักของโมร็อกโกก่อนที่อาหรับจะมามีบทบาทในคริสศ์ศตวรรษที่ 600 ภาษาอาหรับในโมร็อกโกเรียกว่า Darija โมร็อกโกเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ สหภาพเมดิเตอร์เรเนียนและสหภาพแอฟริกา และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ห้าของแอฟริก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศโมร็อกโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนีย

รมาเนีย (Romania; România) แต่ก่อนเรียกว่า รูมาเนีย (Rumania หรือ Roumania) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโอมาน

อมาน (Oman; عُمان) หรือชื่อทางการว่า รัฐสุลต่านโอมาน (Sultanate of Oman; سلطنة عُمان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ บนชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทางตะวันตกติดกับซาอุดีอาระเบีย และทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเยเมน มีชายฝั่งบนทะเลอาหรับทางใต้และตะวันออก และอ่าวโอมานทางตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ก็ยังมีดินแดนส่วนแยกอยู่ในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์อีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศโอมาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโครเอเชีย

รเอเชีย (Croatia; Hrvatska) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (Republic of Croatia; Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต ชาวโครเอเชียลงประชามติรับรองการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งมีผลในกลางปี 2013 และเป็นสมาชิกลำดับที่ 28.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโตโก

ตโก (Togo) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโตโก (République togolaise) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาตะวันตก (เขตที่ราบสูงกินี) มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศกานาทางทิศตะวันตก ทิศตะวันออกติดกับประเทศเบนินทิศเหนือติดกับประเทศบูร์กินาฟาโซ ทิศใต้จรดอ่าวกินี กรุงโลเมที่เป็นเมืองหลวงก็ติดกับอ่าวกินี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศโตโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโซมาเลีย

ซมาเลีย (Somalia; Soomaaliya; الصومال) หรือชื่อประเทศอย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐโซมาเลีย (Federal Republic of Somalia; Jamhuuriyadda Federaalka Soomaaliya; جمهورية الصومال الفدرالية) มีชื่อเดิมว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลี และ สาธารณรัฐโซมาลี มีพื้นที่ติดกับแหลมแอฟริกา มีพรมแดนทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับจีบูติ ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับเคนยา มีพื้นที่ทางทิศเหนือติดกับประเทศเยเมนโดยมีอ่าวเอเดนเป็นพรมแดนทางทะเล ทิศตะวันออกติดกับมหาสมุทรอินเดีย และทิศตะวันตกติดกับประเทศเอธิโอเปี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศโซมาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกส

ปราสาทแห่งกีมารานช์ (Castle of Guimarães) ที่ถูกสร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ถือเป็นสัญลักษณ์ประจำชาติของประเทศโปรตุเกส เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า "ต้นกำเนิดของโปรตุเกส" ศึกแห่งเซามาเมเด (São Mamede) เกิดขึ้นใกล้ๆ กับที่นี่ในปี พ.ศ. 1671 โปรตุเกส (Portugal ปุรตุกาล) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโปรตุเกส (República Portuguesa) เป็นสาธารณรัฐซึ่งมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรไอบีเรียทางตอนใต้ของทวีปยุโรป และถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ทางทิศตะวันตกมากที่สุดในบรรดาประเทศในทวีปยุโรปทั้งหลาย (ยกเว้นหมู่เกาะบริเตนใหญ่และหมู่เกาะใกล้เคียง) โปรตุเกสมีพรมแดนติดกับประเทศสเปนในทางทิศเหนือและทิศตะวันออก และอยู่ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกในทางทิศตะวันตกและทิศใต้ นอกจากนี้ โปรตุเกสยังประกอบไปด้วยอาณาเขตหมู่เกาะอยู่หลายหมู่เกาะด้วยกันในมหาสมุทรแอตแลนติก อาทิเช่น อะโซร์ส (Azores หรือ Açores) และเกาะมาเดราและโปร์ตูซันตู (รวมถึงหมู่เกาะซาเวจด้วย).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2488

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2488 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศไทยใน พ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลารุส

ลารุส (Беларусь บฺแยลารูสฺย; Беларусь, Белоруссия) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเบลารุส (Рэспубліка Беларусь; Республика Беларусь) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกัยรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์ ลิทัวเนีย และลัตเวีย เมืองหลวงของประเทศคือกรุงมินสก์ เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ เบรสต์ กรอดโน กอเมล และวีเซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียม

ลเยียม (Belgium) หรือชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) เป็นประเทศในยุโรปตะวันตกเฉียงเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส และทะเลเหนือ เบลเยียมเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งของสหภาพยุโรป และเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ เช่นเดียวกับของอีกหลายองค์กรระหว่างประเทศรวมถึงองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ ทั้งนี้ ลักษณะของประเทศ ยังคล้ายกับ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์อีกด้วย เบลเยียมมีความหลากหลายทางภาษาค่อนข้างสูง ส่งผลต่อระบบการปกครองที่ค่อนข้างซับซ้อน เบลเยียมแบ่งออกเป็นสองภูมิภาคใหญ่ ๆ ได้แก่ฟลานเดอส์ ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาดัตช์ และวัลโลเนีย ซึ่งประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่งเศส บรัสเซลส์ เมืองหลวงของเบลเยียม เป็นเขตทวิภาษา ตั้งอยู่ในฟลานเดอส์ นอกจากนี้ยังมีชุมชนที่พูดภาษาเยอรมันในทางตะวันออกของวัลโลเนียด้วย คำว่าเบลเยียม (Belgium ในภาษาอังกฤษ België และ Belgique ในภาษาดัตช์และฝรั่งเศส) มีที่มาจาก Gallia Belgica ซึ่งเป็นจังหวัดในยุคโรมัน มีกลุ่มชาว Belgae อยู่อาศั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบนิน

นิน (Benin; Bénin) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเบนิน (Republic of Benin; République du Bénin) คือประเทศในแอฟริกาตะวันตก ชื่อเดิม ดาโฮมีย์ (Dahomey) หรือ ดาโฮเมเนีย (Dahomania) มีชายฝั่งเล็ก ๆ กับอ่าวเบนินทางภาคใต้ และมีพรมแดนติดต่อประเทศโตโกทางตะวันตก ประเทศไนจีเรียทางตะวันออก และประเทศบูร์กินาฟาโซ กับประเทศไนเจอร์ทางเหนือ ไม่มีความเกี่ยวข้องเป็นพิเศษกับเมืองเบนินซิตีในไนจีเรีย หรือจักรวรรดิเบนิน ซึ่งเป็นแหล่งของรูปปั้นทองแดงเบนิน (Benin Bronzes) อันมีชื่อเสียง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเบนิน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้

รณรัฐเกาหลี (Republic of Korea; 대한민국 (ฮันกึล); 大韓民國 (ฮันจา)) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เกาหลีใต้ (South Korea) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออก มีพื้นที่ครอบคลุมส่วนใต้ของคาบสมุทรเกาหลี พรมแดนทางเหนือติดกับประเทศเกาหลีเหนือ มีประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้โดยมีทะเลญี่ปุ่นและช่องแคบเกาหลีกั้นไว้ ในภาษาเกาหลีอ่านชื่อประเทศว่า แทฮันมินกุก (대한민국; 大韓民國) โดยเรียกสั้น ๆ ว่า ฮันกุก (한국) ที่หมายถึงเกาหลี และบางครั้งจะใช้ชื่อว่า นัมฮัน (남한) ที่หมายถึง เกาหลีทางใต้ ส่วนชาวเกาหลีเหนือจะเรียกเกาหลีใต้ว่า นัมโชซ็อน (남조선) ที่หมายถึง โชซ็อนใต้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอน

ลบานอน (Lebanon; لُبْنَان) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐเลบานอน (Republic of Lebanon, Lebanese Republic; جمهورية لبنان) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และถือเป็นหนึ่งใน 15 ดินแดนที่ประกอบเป็น "แหล่งกำเนิดแห่งมนุษยชาติ" (Cradle of Humanity) เลบานอนมีพรมแดนติดกับประเทศซีเรียและประเทศอิสราเอล พรมแดนที่ติดกับประเทศอิสราเอลได้รับการรับรองจากองค์การสหประชาชาติแล้ว แต่พื้นที่บางส่วน เรียกว่า "ชีบาฟาร์ม" (Shebaa farms) ตั้งอยู่ในที่ราบสูงโกลันยังคงครอบครองโดยอิสราเอล ซึ่งอ้างว่าเป็นพื้นที่ของซีเรีย กองทัพต่อต้านอ้างว่า "ชีบาฟาร์ม" เป็นพื้นที่ของเลบานอน และในบางโอกาสก็โจมตีที่มั่นของอิสราเอลภายในพื้นที่ดังกล่าว นอกจากนี้ ซีเรียบำรุงรักษากองทัพที่มีทหารประมาณ 14,000 นายในเลบานอน ชาวเลบานอนที่สนับสนุนเลบานอนอ้างว่าเป็นการอยู่อย่างถูกต้องเนืองจากรัฐบาลเลบานอนได้ขอไว้ ตอนเริ่มสงครามกลางเมืองเมื่อ พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ผู้ที่ไม่เห็นด้วยอ้างว่า การอยู่ของซีเรียเป็นประหนึ่งการยึดครองโดยอำนาจต่างชาต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเวียดนาม

วียดนาม (Việt Nam เหฺวียดนาม) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Cộng hòa xã hội chủ nghĩa Việt Nam, ก่ง ฮหว่า สา โห่ย จู๋ เหงีย เหวียต นาม) เป็นประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกสุดของคาบสมุทรอินโดจีน มีพรมแดนติดกับประเทศจีน ทางทิศเหนือ ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ทางทิศตะวันตก และอ่าวตังเกี๋ย ทะเลจีนใต้ ทางทิศตะวันออกและใต้ หรือในภาษาเวียดนามเรียกเฉพาะทะเลทางทิศตะวันออกว่า ทะเลตะวันออก (Biển Đông, เบี๋ยน ดง) เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอริเทรีย

อริเทรีย (Eritrea; ตึกรึญญา:; إرتريا) หรือชื่อทางการคือ รัฐเอริเทรีย (State of Eritrea; ตึกรึญญา:; دولة إرتريا) เป็นประเทศทางตอนเหนือของแอฟริกาตะวันออก มีชายฝั่งทะเลติดกับทะเลแดงเกือบหนึ่งพันกิโลเมตร ทิศเหนือและทิศตะวันออกติดทะเลแดง ทิศตะวันตกติดซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดจิบูตี ทิศใต้ติดเอธิโอเปีย มีเมืองหลวงชื่อแอสมาร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเอริเทรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอสวาตีนี

อสวาตีนี (eSwatini, ออกเสียง:; Eswatini) หรือ สวาซิแลนด์ (Swaziland) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรเอสวาตีนี (Umbuso weSwatini; Kingdom of Eswatini) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคแอฟริกาใต้ซึ่งเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้านขนาดใหญ่ คือ แอฟริกาใต้และโมซัมบิก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเอสวาตีนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอธิโอเปีย

อธิโอเปีย (Ethiopia; อามฮารา) หรือชื่อทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย (Federal Democratic Republic of Ethiopia; อามฮารา) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่ตั้งอยู่ในส่วนแหลมของทวีปแอฟริกา (Horn of Africa) เป็นหนึ่งในชาติที่มีประวัติศาสตร์อันต่อเนื่องยาวนานที่สุดบนทวีปนี้ ในฐานะชาติอิสระ เอธิโอเปียเป็นประเทศเดียวในแอฟริกาที่ยังคงเอกราชระหว่างยุคล่าอาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) และยังคงเอกราชไว้จนถึง พ.ศ. 2479 ซึ่งกองทัพอิตาลีในสมัยของเบนิโต มุสโสลินีได้เข้ายึดครองประเทศนี้ อังกฤษและเอธิโอเปียปราบกองทัพอิตาลีในพ.ศ. 2484 แต่เอธิโอเปียไม่ได้รับเอกราชใหม่จนถึงการลงนามในสนธิสัญญาระหว่างอังกฤษกับเอธิโอเปีย (Anglo-Ethiopian Agreement) เมื่อธันวาคม พ.ศ. 2487.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเอธิโอเปีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเติร์กเมนิสถาน

ติร์กเมนิสถาน (Türkmenistan) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับคาซัคสถาน อุซเบกิสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน อิหร่าน และมีชายฝั่งบนทะเลแคสเปียน เติร์กเมนิสถานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเติร์กเมนิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซียร์ราลีโอน

ซียร์ราลีโอน (Sierra Leone) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน (Republic of Sierra Leone) เป็นประเทศอยู่ในแอฟริกาตะวันตก เมืองหลวงชื่อว่าฟรีทาวน์ มีเนื้อที่โดยประมาณ 71,740 ตารางกิโลเมตร ทิศเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับสาธารณรัฐกินี ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับประเทศไลบีเรีย ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเซียร์ราลีโอน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาล

ประเทศเนปาล หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (Federal Democratic Republic of Nepal; सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणतन्त्र नेपाल "สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศเนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ (Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และแยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุงกาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ ภาคเหนือของประเทศเนปาลซึ่งเป็นแถบภูเขามีแปดจากสิบภูเขาสูงสุดในโลก ซึ่งรวมยอดเขาเอเวอร์เรสต์ จุดสูงสุดบนโลก ยอดเขากว่า 240 แห่งซึ่งสูงเกิน 6,096 เมตร (20,000 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเลอยู่ในประเทศเนปาล ส่วนภาคใต้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์และชื้น ชาวเนปาลประมาณ 81.3% นับถือศาสนาฮินดู เป็นสัดส่วนสูงสุดในโลก ศาสนาพุทธมีความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับประเทศเนปาล และมีประชากรนับถือ 9% ตามด้วยศาสนาอิสลาม 4.4% Kiratism 3.1% ศาสนาคริสต์ 1.4% และวิญญาณนิยม 0.4% ประชากรสัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคภูเขา อาจระบุตัวว่าเป็นทั้งฮินดูและพุทธ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของธรรมชาติกลมเกลียวของทั้งสองความเชื่อในประเทศเนปาลก็เป็นได้ ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จำนวนมาก จนปี 2551 สงครามกลางเมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นำสู่ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมาสนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความท้าทายทางการเมืองยังดำเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ประเทศเนปาลเป็นประเทศกำลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่ำ อยู่ในอันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557 ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายในปี 2565.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสินสมุทรหางเส้น

ปลาสินสมุทรหางเส้น หรือ ปลาสินสมุทรโคราน หรือ ปลาสินสมุทรลายโค้ง หรือที่นิยมเรียกกันในวงการปลาสวยงามว่า โครานแองเจิล หรือ บลูโคราน (Koran angel, Sixbanded angel, Semicircle angel, Half-circle angel, Blue koran angel, Zebra angel) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pomacanthus semicirculatus อยู่ในวงศ์ปลาสินสมุทร (Pomacanthidae) มีลำตัวแบน ครีบหลังมี 2 ตอนเชื่อมต่อกัน โดยที่ครีบหลังยื่นยาวออกไปทางหาง ซึ่งจะเห็นได้ชัดเจนเมื่อปลามีอายุเพิ่มมากขึ้น ครีบหูบางใส ครีบอกยาวแหลม ส่วนปลายครีบทวารยื่นยาวออกไปเช่นเดียวกับครีบหลัง ครีบหางโค้งเป็นรูปพัด พื้นผิวลำตัวของตัวอายุน้อยมีสีเหลืองอมน้ำตาล มีเส้นคาดตามขวางในแนวโค้งสีขาวและสีน้ำเงินมากกว่า 12 เส้น ลายเหล่านี้จะค่อย ๆ จางหายไปหมดเมื่อเจริญเต็มวัย โดยจะมีพื้นสีเหลืองอมเขียว แต้มด้วยจุดสีดำและสีน้ำเงินทั่วลำตัว ขอบแก้มและขอบครีบต่าง ๆ เป็นเส้นสีน้ำเงิน ซึ่งลวดลายและสีสันของปลาสินสมุทรหางเส้นวัยอ่อนนั้นจะคล้ายกับปลาสินสมุทรวงฟ้า (P. annularis) มาก หากแต่ลูกปลาสินสมุทรวงฟ้านั้น มีลวดลายบนตัวเป็นไปในลักษณะค่อนข้างตรง และครีบหางเป็นสีขาวหรือใสไม่มีสี ขณะที่ครีบหางของลูกปลาสินสมุทรหางเส้นจะมีลาย โดยลูกปลาจะเริ่มเปลี่ยนสีสันและลวดลายไปเหมือนตัวเต็มวัยเมื่อมีขนาดประมาณ 7-8 นิ้ว มีความยาวเต็มที่ประมาณ 36-40 เซนติเมตร นับเป็นปลาอีกชนิดหนึ่งในวงศ์นี้ที่มีขนาดใหญ่ กระจายพันธุ์อยู่ตามเกาะแก่งและแนวปะการังใต้น้ำของมหาสมุทรอินเดีย และอินโด-แปซิฟิก ในน่านน้ำไทยพบได้ที่ทะเลอันดามัน แต่ไม่พบในฝั่งอ่าวไทย ลูกปลาวัยอ่อนจะกินสาหร่ายในแนวปะการังเป็นหลัก เมื่อเป็นปลาเต็มวัยจะกินฟองน้ำ, ปะการัง และสาหร่ายเป็นหลัก รวมทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอย่างอื่น อาทิ หนอนท่อ, กระดุมทะเล, ปะการังอ่อน และหอยสองฝา เป็นต้น เป็นปลาที่มีความสวยงามมากชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยถือเป็นปลาสินสมุทรที่เลี้ยงง่ายมากชนิดหนึ่ง เป็นปลาที่กินอาหารได้ทั้งอาหารสดและอาหารสำเร็จรูป ประกอบกับมีราคาไม่แพง เหมาะสำหรับผู้เลี้ยงปลาทะเลมือใหม่ แต่ควรเลี้ยงในตู้ขนาดใหญ่ที่มีความจุน้ำไม่ต่ำกว่า 400 ลิตร เนื่องจากเป็นปลาที่มีขนาดใหญ่ และเป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายก้าวร้าวมาก โดยเฉพาะต่อปลาในสกุลเดียวกัน โดยปลาที่มีการซื้อขายกันในตลาดปลาสวยงามนั้น เป็นปลาที่ต้องจับรวบรวมจากทะเลทั้งนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและปลาสินสมุทรหางเส้น · ดูเพิ่มเติม »

ปอเนาะ

ปอเนาะแห่งหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส ที่พักนักศึกษาภายในปอเนาะแห่งหนึ่งในจังหวัดนราธิวาส ปอเนาะ (ภาษามลายูปัตตานี เพี้ยนจาก pondok "ปนโดะก์" ในภาษามลายูกลาง ยืมมาจากภาษาอาหรับ فندق "ฟุนดุก" แปลว่า โรงแรม) หมายถึงสำนักสอนศาสนาอิสลามที่มีหอพักนักเรียนอยู่ในบริเวณสำนัก ซึ่งโดยปกติจะเป็นกระท่อมเล็ก ๆ ทุก ๆ ตำบลในสามจังหวัดภาคใต้มีปอเนาะมากกว่าหนึ่งปอเน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและปอเนาะ · ดูเพิ่มเติม »

ปากีสถานตะวันออก

ปากีสถานตะวันออก (East Pakistan; পূর্ব পাকিস্তান Purbo Pākistān; مشرقی پاکستان Mašriqī Pākistān) เป็นดินแดนที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน ซึ่งอยู่ในดินแดนเบงกอล ระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและปากีสถานตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ปากีสถานเชื้อสายจีน

วปากีสถานเชื้อสายจีน คือกลุ่มชนเชื้อสายจีนที่อพยพมาจากประเทศจีน โดยเข้ามาตั้งรกราก และพำนักในดินแดนปากีสถานประมาณกว่า 10,000 คน ในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและปากีสถานเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

ปากีสถานเชื้อสายไทย

วปากีสถานเชื้อสายไทย นอกจากนักเรียนไทยที่เข้าไปศึกษาในประเทศปากีสถานราว 300 คนแล้ว ยังมีคนที่มีเชื้อสายไทยและมีถิ่นพำนักอาศัยอยู่ในประเทศปากีสถาน และพำนักอาศัยอย่างถาวร โดยเฉพาะที่เมืองบัตตากราม (بٹگرام) ในแคว้นไคเบอร์ปัคตูนควา (خیبر پښتونخوا) โดยเข้าไปตั้งถิ่นฐานนานหลายสิบปีมาแล้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและปากีสถานเชื้อสายไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปานวาด เหมมณี

ปานวาด เหมมณี (ชื่อเล่น: เป้ย; 28 ธันวาคม พ.ศ. 2522) เป็นนักแสดงและนางแบบชาวไทย บทบาทส่วนใหญ่ที่เธอได้รับมักเป็นนางร้าย และมีชื่อเสียงเรื่องความเซ็กซี่ เจ้าของฉายา นางร้ายนมไม่ต่อเนื่อง และ สตรอว์เบอร์รีเรียกพี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและปานวาด เหมมณี · ดูเพิ่มเติม »

ปาเลสไตน์ในอาณัติ

ปาเลสไตน์ในอาณัติ (Mandatory Palestine; فلسطين; פָּלֶשְׂתִּינָה (א"י), where "EY" indicates "Eretz Yisrael") เป็นหน่วยภูมิรัฐศาสตร์ ภายใต้การดูแลของสหราชอาณาจักร ในส่วนที่เป็นเขต จักรวรรดิออตโตมัน และ ซีเรียตอนใต้ ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว่าง พ.ศ. 2463 จนถึง พ.ศ. 2491.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและปาเลสไตน์ในอาณัติ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเอตะ

ปีเอตะ" โดย มีเกลันเจโล ปีเอตะโดยลุยส์ จิเมเนซ ปีเอตะ (Pietà; pietas) มาจากภาษาอิตาลี ที่แปลว่า ความสงสาร คือหัวเรื่องของศิลปะในศาสนาคริสต์ที่เป็นรูปพระแม่มารีย์ประคองร่างพระเยซูที่เพิ่งอัญเชิญลงจากกางเขน ส่วนใหญ่จะพบในงานประติมากรรม Pietà เป็นหัวเรื่องหนึ่งในชุด “แม่พระระทมทุกข์” (Our Lady of Sorrows) และเป็นฉากหนึ่งใน “พระทรมานของพระเยซู” ซึ่งเป็นฉากที่มีพระแม่มารีย์ นางมารีย์ชาวมักดาลา และบุคคลอื่นล้อมพระศพพระเยซู (หลังจากที่อัญเชิญลงจากกางเขน) ด้วยความความโศกเศร้า ฉากนี้ตามความเป็นจริงแล้วควรจะเรียกว่า “Lamentation” แต่บางที่ก็จะใช้คำว่า “Pietà” แทน คำว่า “pietas” สืบมาจากประเพณีของชาวโรมันราวคริสต์ศตวรรษที่ 7 ที่มีการตึอกชกหัวและ "แสดงอารมณ...ความรักอันใหญ่หลวงและความกลัวอำนาจของเทพเจ้าโรมัน" ปีเอตะเริ่มขึ้นที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ราวต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ปีเอตะแบบเยอรมันและโปแลนด์จะเน้นรอยแผลของพระเยซู.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและปีเอตะ · ดูเพิ่มเติม »

นบี

นบี (نبي) หมายถึง ศาสดาในศาสนาอิสลาม คำว่า นบี มาจากคำว่า นับบะอะ หรือ อัมบะอะ แปลว่า แจ้งข่าว ใช้หมายถึงการนำวจนะของพระเจ้ามาประกาศแก่มวลมนุษย์ คำว่านบีในศาสนาอิสลามจึงหมายถึงผู้เผยพระวจนะในศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนบี · ดูเพิ่มเติม »

นกกะรางหัวขวาน

นกกะรางหัวขวาน เป็นนกขนาดกลาง มีสีสวย มีลักษณะเด่นที่จำง่ายคือมีหงอน (หัวขวาน) คล้ายหมวกของพวกอินเดียแดง พบทั่วทั้งทวีปแอฟริกาและยูเรเชียพร้อมทั้งทั่วประเทศไทย เป็นสปีชีส์เดียวของวงศ์ Upupidae ที่ยังหลงเหลืออยู่ มีสปีชีส์ย่อยเฉพาะเกาะเซนต์เฮเลนา (ในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้) ที่สูญพันธ์ไปแล้ว และเฉพาะเกาะมาดากัสการ์ที่บางครั้งจัดเป็นสปีชีส์ของตนเอง ชื่อสกุลภาษาละตินว่า Upupa คล้ายกับชื่อภาษาอังกฤษว่า "hoopoe" (อ่านว่า ฮูพู) โดยเป็นชื่อเลียนเสียงร้องของนก นกกะรางหัวขวานเป็นนกประจำชาติของประเทศอิสราเอล เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไทย ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนกกะรางหัวขวาน · ดูเพิ่มเติม »

นรก

แสดงนรก วาดโดย Herrad von Landsberg นรก (สันสกฤต: นรก; บาลี: นิรย; อาหรับ: นารฺ, ญะฮีม, ญะฮันนัม, สะก็อร; อังกฤษ hell) หมายถึง ภพหนึ่งในคติของศาสนาต่าง ๆ เช่น อิสลาม, คริสต์, พุทธและยูดาห์ อันเป็นสถานที่ตอบแทนความชั่วของมนุษย์ที่ได้ทำไปเมื่อครั้งที่ยังมีชีวิตอยู่บนโลก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนรก · ดูเพิ่มเติม »

นริศ ขำนุรักษ์

นายนริศ ขำนุรักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพัทลุง สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ เป็นประธานคณะกรรมาธิการที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนริศ ขำนุรักษ์ · ดูเพิ่มเติม »

นอร์เทิร์นไซปรัส

รณรัฐตุรกีแห่งนอร์เทิร์นไซปรัส (Turkish Republic of Northern Cyprus; Kuzey Kıbrıs Türk Cumhuriyeti, KKTC) หรือ นอร์เทิร์นไซปรัส (Northern Cyprus; Kuzey Kıbrıs) เป็นดินแดนที่นานาชาติยังไม่ได้รับรองเอกราช ครอบคลุมพื้นที่ทางตอนเหนือของเกาะไซปรัสในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ไซปรัสเหนือประกาศสร้างชาติจากสงครามไซปรัสใน ปีพ.ศ. 2526 โดยได้รับการรับรองจากตุรกี ซึ่งทำให้นอร์เทิร์นไซปรัสต้องพึ่งพาตุรกีในหลาย ๆ ด้าน ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และการทหาร ประเทศอื่น ๆ ในโลกยอมรับอำนาจอธิปไตยของสาธารณรัฐไซปรัสในพื้นที่ทั้งเกาะ รวมทั้งพื้นที่ที่นอร์เทิร์นไซปรัสครอบครองอยู่ด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนอร์เทิร์นไซปรัส · ดูเพิ่มเติม »

นัยน์ตาปีศาจ

นัยน์ตาปีศาจนาซาร์” ที่ใช้ในการเป็นเครื่องรางในการป้องกันจากนัยน์ตาปีศาจที่ขายกันแพร่หลายในตุรกี นัยน์ตาปีศาจ (Evil eye) เป็นการมองที่เชื่อกันในหลายวัฒนธรรมว่าสามารถทำให้ผู้ถูกมองได้รับการบาดเจ็บหรือโชคร้าย อันเกิดจากการจ้องมองด้วยความอิจฉาหรือความเดียดฉันท์ คำนี้มักจะหมายถึงอำนาจของบุคคลใดบุคคลหนึ่งในการก่อให้เกิดสิ่งที่เลวร้ายได้ด้วยการมองอย่างประสงค์ร้าย ความเชื่อดังกล่าวทำให้วัฒนธรรมหลายวัฒนธรรมพยายามหาทางป้องกันก่อนที่จะเกิดสิ่งที่เลวร้ายขึ้น ความคิดและความสำคัญของนัยน์ตาปีศาจก็แตกต่างกันออกไปเป็นอันมากระหว่างวัฒนธรรมต่างๆ ความเชื่อนี้ปรากฏหลายครั้งในบทแปลของพันธสัญญาเดิม และแพร่ขยายออกไปอย่างกว้างขวางในบรรดาอารยธรรมของกลุ่มชนต่าง ๆ ในบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน กรีซคลาสสิกอาจจะเรียนรู้จากอียิปต์โบราณ และต่อมาก็ผ่านความเชื่อนี้ต่อไปยังโรมันโบราณ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนัยน์ตาปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

นัศรุลลอหฺ

Sayyed Hassan Nasrallah ซัยยิด ฮะซัน นัศรุลลอห หรือ นัซรุลเลาะห์, นัซรัลเลาะห์, นัซรอลเลาะห์ เลขาธิการใหญ่พรรคฮิซบุลลอหฺ เกิดที่กรุงเบรุต เลบานอน วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2503 ขึ้นครองตำแหน่งเลขาธิการใหญ่หลังจากที่ซัยยิด อับบาส อัลมูสะวีย์ ถูกอิสราเอลลอบสังหารในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนัศรุลลอหฺ · ดูเพิ่มเติม »

นาวาซ ชาริฟ

นาวาซ ชาริฟ (نواز شریف; เกิด 25 ธันวาคม พ.ศ. 2492) เป็นบุคคลสาธารณะอนุรักษนิยมฝ่ายขวา นักอุตสาหกรรมโรงงานเหล็กกล้าและผู้มีอิทธิพลทางธุรกิจ อดีตนายกรัฐมนตรีปากีสถานสามสมัย ปัจจุบัน เขาเป็นประธานพรรคสันนิบาตมุสลิมปากีสถาน (เอ็น) หนึ่งในพรรคการเมืองสำคัญและอนุรักษนิยมใหญ่ที่สุดในปากีสถาน เขายังเป็นนักอุตสาหกรรมที่มั่งคั่งที่สุดคนหนึ่งของประเท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนาวาซ ชาริฟ · ดูเพิ่มเติม »

นาจิบ ราซัก

ตะก์ ซรี ฮาจี โมฮัมมัด นาจิบ บิน ตุน ฮาจี อับดุล ราซัก (Dato' Sri Haji Mohammad Najib bin Tun Haji Abdul Razak) หรือ นาจิบ ราซัก เป็นนักการเมืองมาเลเซียจากพรรคอัมโน เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย โดยดำรงตำแหน่งมาตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนาจิบ ราซัก · ดูเพิ่มเติม »

นาธาน โอร์มาน

นาธาน โอร์มาน หรือในบางครั้งอาจเขียนว่า นาธาน โอมานเป็นชื่อที่ใช้ในหนังสืออัตชีวประวัติเรื่อง ผมมันเด็กหลังเขา (หิมาลัย) (อักษรโรมัน: Nathan Oman) มีชื่อจริงว่า สุธัญ โอมานันท์ เคยใช้ชื่อจริงว่า นธัญ โอมานันท์ (ชื่อเกิด: ธัญญวัฒน์ หยุ่นตระกูล; เกิด: 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย มีผลงานอัลบั้มเพลงกับค่ายอาร์เอส 2 ชุดคือ Nathan และ สิ่งที่เรียกว่าหัวใจ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ศาลจังหวัดเลยได้ตัดสินให้นาธาน จำคุกเป็นเวลา 2 ปี แต่เจ้าตัวรับสารภาพ จึงลดโทษให้ครึ่งหนึ่ง เป็นจำคุก 1 ปี พร้อมทั้งให้ชดใช้เงินน้ามดทั้งหมด ต่อมาได้รับพระราชทานอภัยโทษ เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 7 รอบ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2553.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนาธาน โอร์มาน · ดูเพิ่มเติม »

นาตาชา สัจจกุล

นาตาชา สัจจกุล หรือ นาตาชา เปลี่ยนวิถี ชื่อเล่นว่า แอนนา เกิดวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2511 เป็นนางแบบและนักแสดงชาวไทย นาตาชาเดิมนับถือศาสนาอิสลาม บิดาชื่อ เกชา เปลี่ยนวิถี อาชีพนักแสดง มารดาชื่อ อนงค์ เปลี่ยนวิถี ในด้านการศึกษา แอนนาเริ่มต้นการศึกษาในระดับชั้นอนุบาล จนสำเร็จการศึกษาในระดับชั้นมัธยมปีที่ 3 จาก โรงเรียนรุจิเสรีวิทยา จากนั้นจึงมาศึกษาต่อ ในระดับชั้นมัธยมปลายที่ โรงเรียนดรุณพิทยา โดยเธอสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีจาก คณะมนุษยศาสตร์ เอก ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยหอการค้า (เธอได้รับการคัดเลือกเป็นดาวมหาวิทยาลัยในช่วงที่เข้าศึกษาชั้นปี 1) เธอสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ในสาขา ภาษาและการสื่อสาร ทางด้านชีวิตส่วนตัว คู่ชีวิต ธีรภัทร์ สัจจกุล และเข้าร่วมพิธีสมรสเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนาตาชา สัจจกุล · ดูเพิ่มเติม »

นาซาเรธ

องเมืองนาซาเรธ นาซาเรธ (Nazareth; สัทอักษรสากล) (נָצְרַת, ฮีบรู Natz'rat หรือ Natzeret; الناصرة an-Nāṣira หรือ an-Naseriyye) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของเขตเหนือของอิสราเอล เป็นเสมือนเมืองหลวงของอาหรับสำหรับชาวอาหรับในประเทศอิสราเอล ผู้ที่เป็นประชากรส่วนใหญ่ในนาซาเรธ ในพันธสัญญาใหม่ นาซาเรธถูกอธิบายว่าเป็นบ้านเกิดของพระเยซูคริสต์ และ เป็นสถานที่ในการเดินทางแสวงบุญของชาวคริสต์ทั้งปวง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนาซาเรธ · ดูเพิ่มเติม »

นาซีม ฮาเหม็ด

นาซีม ฮาเหม็ด (อังกฤษ: Naseem Hamed; อาหรับ: نسيم حميد) อดีตนักมวยแชมป์โลกรุ่นเฟเธอร์เวทหลายสถาบัน ฮาเหม็ดเกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1974 ที่เมืองเชฟฟิลด์ ประเทศอังกฤษ เป็นชาวอังกฤษเชื้อสายเยเมน และนับถือศาสนาอิสลาม เนื่องจากปู่และพ่อของฮาเหม็ดได้อพยพมาอยู่ที่อังกฤษตั้งแต่ฮาเหม็ดยังไม่เกิด ฮาเหม็ดเริ่มต้นการชกมวยตั้งแต่อายุได้เพียง 18 ปี ในรุ่นฟลายเวท เนื่องจากฐานะทางบ้านยากจนมาก จนกระทั่ง 3 ปีผ๋านไป ฮาเหม็ดก็ได้แชมป์โลกครั้งแรกในรุ่นเฟเธอร์เวท ขององค์กรมวยโลก (WBO) ด้วยการเอาชนะน็อก สตีฟ โรบินสัน ในยกที่ 8 จากนั้นชื่อเสียงของฮาเหม็ดก็ได้เพิ่มพูนขึ้น จากสไตล์การชกที่ไม่มีสไตล์ และท่าทีที่ยียวนคู่ชกอยู่ตลอดเวลา กระนั้นฮาเหม็ดก้นับได้ว่าเป็นนักมวยที่มีหมัดหนักมาก เพราะสามารถเอาชนะน็อกคู่ชกได้อย่างเด็ดขาดอยู่เสมอ ๆ ทั้ง ๆ ที่สไตล์การชกของฮาเหม็ดนั้นแทบไม่มีเค้าว่าจะเอาชนะคู่ชกด้วยการน็อกเอ้าท์ได้เลย ซึ่งทั้งหมดนี้ได้กลายเป็นจุดขายให้แก่ฮาเหม็ด ผ่านการโปรโมตของโปรโมเตอร์ชาวอังกฤษ แฟรงก์ วอร์เรน และทำให้ฮาเหม็ดกลายเป็นซูเปอร์สตาร์ในวงการมวยโลกในระยะเวลาไม่นาน นาซีม ฮาเหม็ด ได้ปะทะกับนักมวยฝีมือดีหลายต่อหลายคนในรุ่นเดียวกันและใกล้เคียง ซึ่งสามารถเอาชนะได้ทุกคน ไม่ว่าจะเป็น เวย์น แมคคัลลัฟ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวทของสภามวยโลก (WBC) ชาวไอร์แลนด์, มานูเอล เมดินา อดีตแชมป์โลก 2 สมัยใมนรุ่นเฟเธอร์เวทของสภามวยโลก ชาวเม็กซิกัน, เดเนี่ยล อลิเซีย นักมวยดาวรุ่งที่ไม่เคยแพ้ใครชาวเปอร์โตริโก, วิลเฟรโด วาสเควซ อดีตแชมป์โลกรุ่นแบนตั้มเวท, จูเนียร์เฟเธอร์เวท และเฟเธอร์เวท ของสมาคมมวยโลก (WBA) ชาวเปอร์โตริโก รวมทั้งการชกรวบแชมป์โลกในรุ่นเฟเธอร์เวทนี้ ด้วยการเอาชนะน็อกในยกที่ 8 ทอม "บูม บูม" จอห์นสัน นักมวยชาวอเมริกัน ซึ่งเป็นแชมป์ของสหพันธ์มวยนานาชาติ (IBF) และรวบแชมป์ของสภามวยโลกด้วยการเอาชนะคะแนน ซีซาร์ โซโต นักมวยชาวเม็กซิกันอีกราย ฮาเหม็ด แพ้ครั้งแรกและครั้งเดียวในชีวิตการชกมวยของตัวเอง ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2001 ให้แก่ มาร์โก อันโตนิโอ บาร์เรร่า นักมวยชาวเม็กซิกัน อดีตแชมป์โลกในรุ่นจูเนียร์เฟเธอร์เวท ขององค์กรมวยโลก โดยเป็นการแพ้คะแนนไปอย่างเอกฉันท์ โดยไม่มีใครคาดคิด ในการชกทั้ง 12 ยก ฮาเหม็ดไม่สามารถยียวนบาร์เรร่าให้เข้าทางของตนได้เหมือนนักมวยรายอื่น ๆ จึงไม่สามารถเข้าชกบาร์เรร่าได้อย่างถนัดถนี่ในสไตล์ของตนเอง หลังจากแพ้ครั้งแรกไปแล้ว ฮาเหม็ดก็ยังได้ขึ้นชกเคลื่อนไหวอีกครั้งเดียว และตัดสินใจแขวนนวมไปในที่สุด เมื่อปี ค.ศ. 2002 แต่ในปี ค.ศ. 2006 ฮาเหม็ดก็ปรากฏเป็นข่าวอีกครั้ง เมื่อถูกตำรวจจับเข้าห้องขังนานถึง 4 เดือนในข้อหาขับรถเร็วเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ นาซีม ฮาเหม็ด มีฉายาที่ตั้งให้กับตนเองว่า "Prince" อันหมายถึง "เจ้าชาย" มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า "นาซ" (Naz) เป็นนักมวยที่มีสีสัน มีจุดขายมากมาย ทุกครั้งที่ขึ้นชกจะสวมกางเกงลายเสือดาวที่มีรูปทรงแปลกตา รองเท้าสีดำของอาดิดาส และจะกระโดดตีลังกาข้ามเชือกเมื่อขึ้นเวทีทุกครั้ง อีกทั้งก่อนชกและหลังชก หลังจากเอาชนะได้แล้วจะสวดมนต์ขอพรพระอัลเลาะห์ทุกครั้ง เมื่อครั้งมีชื่อเสียง ฮาเหม็ดยังถือได้ว่าเป็นต้นแบบให้กับนักมวยหลายคนเอาเป็นแบบอย่าง เช่น เคจิ ยามากูชิ นักมวยชาวญี่ปุ่นที่เคยเป็นแชมป์โลกรุ่นจูเนียร์ฟลายเวทของสมาคมมวยโลก เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนาซีม ฮาเหม็ด · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเกอบูลี

นาซีเกอบูลี (nasi kebuli) เป็นข้าวนึ่งรสเผ็ดแบบอินโดนีเซีย ปรุงด้วยแกงแพะ นมและเนยฆี เป็นที่นิยมในชุมชนชาวอาหรับในอินโดนีเซียและชาวเบอตาวีในจาการ์ตา อาหารชนิดนี้ได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอาหรับ และมีจุดกำเนิดจากอาหารตะวันออกกลางโดยเฉพาะอาหารเยเมนที่เรียกมันดี และอาหารอินเดียที่เรียกข้าวหมก ในขณะที่มีผู้ศึกษาว่าอาหารนี้มีต้นกำเนิดจากกาบุลีปะเลา ซึ่งเป็นอาหารอัฟกันจากคาบูล คล้ายกับบิรยานีในเอเชียใต้ ในวัฒนธรรมเบอตาวี นาซีเกอบูลีนิยมรับประทานในงานเทศกาลทางศาสนาอิสลาม เชน ฮารีรายอ หรืองานเมาลิดนบี เป็นที่นิยมในเมืองที่มีชนเชื้อสายอาหรับอยู่มาก เช่น จาการ์ตา ซูราบายา ซูราการ์ตา และเกรอซิก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนาซีเกอบูลี · ดูเพิ่มเติม »

นาเดีย โสณกุล

นาเดีย โสณกุล หรือ นาเดีย นิมิตรวานิช มีชื่อจริงว่า วิชิตา โสณกุล (สกุลเดิม: นิมิตรวานิช; เกิด: 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2521) นักแสดงและพิธีกรชาวไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นพิธีกรรายการดาวกระจาย และดาวกระจายสุดสัปดาห.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนาเดีย โสณกุล · ดูเพิ่มเติม »

นิกัลยา ดุลยา

นิกัลยา ดุลยา มีชื่อจริงว่า นิกัลยา อับดุล (5 เมษายน พ.ศ. 2525) นางแบบและนักแสดงชาวไทย ก้าวเข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการแสดงในภาพยนตร์เรื่อง หลบผี ผีไม่หลบ ในปี พ.ศ. 2546 และจากตำแหน่งมิสไทยแลนด์เวิลด์ ประจำปี พ.ศ. 2547 นิกัลยาเป็นผู้คว้ามงกุฏนางงามระดับประเทศเพียงผู้เดียวในประวัติศาสตร์นางงามระดับประเทศที่มาจากจังหวัดยะลา ด้วยความคมเข้มและรูปร่างที่สูงโปร่งอันทำให้เธอดูโดดเด่นจึงเป็นที่สนใจของสื่อนานาประเทศ เธอยังเป็น 1 ใน 5 ตัวเก็งที่จะได้รับมงกุฏมิสเวิลด์ จากเวปGB Global Beauties เวปกูรูนางงามระดับโลก แต่กลับตกรอบไปอย่างพลิกความคาดหมาย เนื่องจากปีนั้นเป็นปีที่ผู้เข้ารอบต้องมาจากผู้ชมทั่วโลกร่วมกันโหวตเป็นปีแรกของเวทีมีสเวิลด์ ซึ่งจัดขึ้น ณ ประเทศจีน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนิกัลยา ดุลยา · ดูเพิ่มเติม »

นิกายในศาสนาอิสลาม

นิกายและสำนักคิดในอิสลาม ท่านศาสดามุฮัมมัด ได้กล่าวว่า: แท้จริงประชาชาติของศาสดามูซา (อ) ได้แตกออกภายหลังจากเขาเป็น 71 จำพวก มีหนึ่งกลุ่มเท่านั้นที่รอด ส่วนอีก 70 อยู่ในไฟนรก และประชาชาติของศาสดาอีซา (อ) ได้แตกออกภายหลังจากเขาเป็น 72 จำพวก มีหนึ่งกลุ่มเท่านั้นที่รอด ส่วนอีก 71 อยู่ในไฟนรก และแท้จริงประชาชาติของฉัน จะแตกออกภายหลังจากฉันเป็น 73 จำพวก มีกลุ่มเดียวเท่านั้นที่รอด ส่วนอีก 72 จะอยู่ในไฟนรก (หนังสือบิฮารุล อันวาร เล่มที่ 28 หน้า 4 บาบที่ 1 อิ๊ฟติรอกุลอุมมะติ บ๊ะอ์ดัน-นบี (ศ)) ซึ่งเมื่อมีผู้ถามว่า “โอ้ เราะสูลของอัลลอฮฺ พวกเขา(ที่ได้เข้าสรรค์นั้น)เป็นใคร?” ท่านตอบว่า “อัล ญะมาอะฮฺ” ” (รายงานโดยอิบนุมาญะฮฺ 2/1322) ในบางสำนวนท่านนบีฯ ได้เปิดเผยกลุ่มที่รอดเอาไว้ว่า “...

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนิกายในศาสนาอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

นูร์ ฮะซัน ฮุเซน

นูร์ ฮะซัน ฮุเซน อัดเด (Nuur Xasan Xuseen Cadde, نور حسن حسين) เป็นนายกรัฐมนตรีโซมาเลีย ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนูร์ ฮะซัน ฮุเซน · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา อาแนลกา

นีกอลา เซบัสเตียง อาแนลกา (Nicolas Sebastien Anelka; 14 มีนาคม พ.ศ. 2522) เป็นนักฟุตบอลชาวฝรั่งเศส ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรมุมไบซิตีในอินเดียนซูเปอร์ลีก ในฤดูกาล 1998-99 ซึ่งเขาเล่นให้กับอาร์เซนอล อาแนลกาเคยได้รับรางวัลนักเตะเยาวชนดีเด่นแห่งปี (PFA Young Player of the Year).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนีกอลา อาแนลกา · ดูเพิ่มเติม »

นครศักดิ์สิทธิ์

นครศักดิ์สิทธิ์ (holy city) เป็นเมืองที่เป็นศูนย์กลางที่มีประวัติศาสตร์ทางศาสนาและความเชื่อ ส่วนใหญ่จะมีที่สำคัญอยู่อย่างน้อยหนึ่งแห่ง (มักจะเป็นสิ่งที่สำคัญต่อศาสนา เช่น สิ่งปลูกสร้าง, รูปปั้น, ความเชื่อ ฯลฯ) ซึ่งทำให้เกิดการจาริกแสวงบุญ เมืองศักดิ์สิทธิ์เป็น เมืองที่มีสัญลักษณ์ ทีเกี่ยวข้องกับศาสนาและความเชื่อ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนครศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นครเซบู

ซบูซิตี (เซบัวโน: Dakbayan sa Sugbu; Lungsod ng Cebu) เป็นนครหนาแน่นในจังหวัดเซบู เขตกิตนางคาบีซายาอัน ประเทศฟิลิปปินส์ แต่ปกครองอย่างอิสระจากตัวจังหวัด ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและนครเซบู · ดูเพิ่มเติม »

แช่ม พรหมยงค์

นายแช่ม พรหมยงค์ มีชื่อและนามสกุลเดิมว่า ซำซุดดิน มุสตาฟา เกิดเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2444 ที่ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ บิดาชื่อ นายจำปา หรือ มุสตาฟา เป็นโต๊ะอิหม่าม แห่งมัสยิดพระประแดงและเป็นอาจารย์สอนศาสนาอิสลาม นายแช่มเองนั้นจบการศึกษาด้านศาสนาอิสลามจากมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร ณ กรุงไคโร ประเทศอียิปต์ ในทางการเมือง นายบรรจง ศรีจรูญ เพื่อนสนิทซึ่งศึกษาอยู่ในเวลาเดียวกันได้ชักชวน นายแช่ม ให้เข้าเป็นสมาชิกคณะราษฎร ในวันเปลี่ยนแปลงการปกครอง นายแช่มและนายบรรจง ทำหน้าที่ควบคุมตัวเจ้านายและพระบรมวงศานุวงศ์ชั้นสูง ให้เข้าประทับในพระที่นั่งอนันตสมาคม และทำหน้าที่แจกใบปลิวเพื่อทำความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยแก่ราษฎร นายแช่ม พรหมยงค์ มีความสนิทสนมและนับถือ นายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าคณะราษฎรฝ่ายมันสมองเป็นอย่างมาก ถึงกับเปลี่ยนนามสกุลเป็น พรหมยงค์ เพื่อให้คล้ายคลึงกับ พนมยงค์ นามสกุลของนายปรีดี อีกด้วย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้เข้าเป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย นายแช่ม พรหมยงค์ ขณะนำเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ชมมัสยิดต้นสน (พ.ศ. 2489) เมื่อนายปรีดี พนมยงค์ได้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และมีดำริที่จะฟื้นฟูตำแหน่งจุฬาราชมนตรีขึ้นมาใหม่ หลังจากที่ชะงักไปหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง นายแช่มซึ่งเป็นข้าราชการกรมโฆษณาการและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้ในขณะนั้น จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นจุฬาราชมนตรีเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแช่ม พรหมยงค์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟ็ส

แฟ็ส (Fès; فاس; เบอร์เบอร์: ⴼⴰⵙ) เป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับ 3 หรือ 4 ในประเทศโมร็อกโก มีประชากรราว 1 ล้านคน (ค.ศ. 2010) เคยเป็นเมืองหลวงโดยประเพณีของประเทศเป็นเวลาหลายปี เป็นเมืองศักดิ์สิทธิ์เมืองหนึ่งของศาสนาอิสลาม มีอุตสาหกรรมเครื่องหนัง เป็นเมืองการค้า ได้รับการขนานนามว่า "มักกะฮ์แห่งตะวันตก" และ "เอเธนส์แห่งแอฟริกา".

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแฟ็ส · ดูเพิ่มเติม »

แมลคัม เอ็กซ์

นที่ที่แมลคัมถูกยิงเสียชีวิต แมลคัม เอ็กซ์ (Malcolm X ออกเสียง /ˈmælkəm ˈɛks/) (19 พฤษภาคม ค.ศ. 1925 - 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1965) หรือ เอล-ฮัจญ์ มาลิก เอล-ชาบาซ (الحاجّ مالك الشباز, El-Hajj Malik El-Shabazz) เป็นนักพูด นักรณรงค์เพื่อสิทธิมนุษยชนของชาวมุสลิมและชาวอเมริกันผิวดำ แมลคัม เอ็กซ์ เกิดที่โอมาฮา เนแบรสกา เดิมชื่อ "แมลคัม ลิทเทิล" บิดาของเขาถูกฆาตกรรม และมารดาถูกส่งเข้าโรงพยาบาลเพื่อรักษาอาการทางประสาท มัลแคมจึงต้องใช้ชีวิตวัยเด็กในบ้านเลี้ยงดูเด็กกำพร้า ทำให้ขาดการเลี้ยงดู และก่ออาชญากรรมในบอสตันและนิวยอร์ก และต้องรับโทษในเรือนจำ ในปี 1945 ระหว่างถูกจองจำ แมลคัมได้ร่วมเป็นสมาชิกของขบวนการชาติแห่งอิสลาม และเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม หลังจากเขาได้รับทัณฑ์บนในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแมลคัม เอ็กซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แมนเชสเตอร์

แมนเชสเตอร์ (Manchester) เป็นนครและโบโรฮ์มหานคร ในเทศมณฑลเกรเทอร์แมนเชสเตอร์ ตอนเหนือของประเทศอังกฤษ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แวมาฮาดี แวดาโอะ

นายแพทย์ แวมาฮาดี แวดาโอะ หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ หมอแว (16 มิถุนายน พ.ศ. 2505 -) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนราธิวาส อดีตรองหัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน อดีตผู้ต้องหาคดีก่อการร้ายสากล ต่อมาได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2549 และได้รับการแต่งตั้งเป็นสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแวมาฮาดี แวดาโอะ · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี

แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี (German East Africa; Deutsch-Ostafrika) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2434 ถึง พ.ศ. 2461 ซึ่งปัจจุบันเป็น บุรุนดี รวันดา และ แทนซาเนีย อาณานิคมก่อตั้งขึ้นเมื่อกองทัพเยอรมันนั้นปฏิวัติต่อต้านอาณานิคมในยุคทศวรรษ 1880 ต่อมาได้สิ้นสุดลงด้วยการถูกพิชิตในสงครามโลกครั้งที่ 1 และถูกแบ่งให้กับอังกฤษ กับเบลเยี่ยม และมีสถานะเป็นรัฐอารักขาของสันนิบาตชาต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาใต้สะฮารา

ประเทศที่สหประชาชาติจัดเป็นแอฟริกาเหนือ แอฟริกาใต้สะฮารา (Sub-Saharan Africa) เป็นภูมิภาคที่มีพื้นที่อยู่ในทวีปแอฟริกาและอยู่ใต้ทะเลทรายสะฮารา โดยมีประเทศในภูมิภาค 54 ประเทศ มีประชากรรวมกันมากถึง 574 ล้านคน ภูมิภาคนี้มีพื้นที่ประมาณ 16 % ของพื้นดินของโลก โดยสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าทึบ และบางส่วนเป็นทะเลทร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแอฟริกาใต้สะฮารา · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาเหนือของอิตาลี

แอฟริกาเหนือของอิตาลี (Africa Settentrionale Italiana) เป็นพื้นที่ซึ่งรวมเอาอาณานิคมและดินแดนในความปกครองของราชอาณาจักรอิตาลีในทวีปแอฟริกาเหนือ ตั้งแต่ ค.ศ. 1912 จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยดินแดนสองส่วนหลักคือตริโปลิเตเนียและไซเรไนกาตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแอฟริกาเหนือของอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

แอสโมเดียส

แอสโมเดียส (Asmodeus) หรือ แอสโมไดออส (Ασμοδαίος) หรือ แอชมีดาย (אַשְמְדּאָי) คือราชาแห่งเหล่ามาร"Asmodeus" in The New Encyclopædia Britannica.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแอสโมเดียส · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินศักดิ์สิทธิ์

ทะเลเดดซี แผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ (Holy Land; הקודש; Terra Sancta; الأرض المقدسة; ภาษาอารามิคโบราณ: ארעא קדישא Ar'a Qaddisha) หมายถึงดินแดนที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ในบริเวณประเทศอิสราเอลซึ่งมีความสำคัญต่อศาสนาสำคัญศาสนาอับราฮัมสามศาสนา ได้แก่ ศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม สาเหตุของความศักดิ์สิทธิ์เนื่องจากความสำคัญของกรุงเยรูซาเลมทางศาสนาและความสำคัญของการเป็นดินแดนแห่งอิสราเอล สงครามครูเสดใช้ดินแดนศักดิ์สิทธิ์เป็นสาเหตุในการยึดคืนเพราะเป็นดินแดนที่มีความหมายต่อพันธสัญญาใหม่ ในปัจจุบันดินแดนบริเวณนี้เป็นดินแดนของความขัดแย้งระหว่างอาหรับและอิสราเอล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

แคท สตีเวนส์

ูซุฟ อิสลาม หรือ ยูซุฟ (Yusuf Islam) นักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักกันในชื่อ แคท สตีเวนส์ (Cat Stevens) มีชื่อจริงว่า สตีเวน ดีมีทรี จอร์จิโอ บิดามีเชื้อสายกรีก-ไซปรัส มารดามีเชื้อสายสวีเดน แคท สตีเวนส์มีชื่อเสียงในช่วงต้นทศวรรษ 1970 โดยอัลบั้ม Tea for the Tillerman (1970) และ Teaser and the Firecat (1971) ของเขาได้การรับรองแผ่นเสียงทองคำขาวจากสมาคมผู้ประกอบกิจการเพลงของสหรัฐอเมริกา และอัลบั้ม Catch Bull at Four (1972) ขึ้นถึงอันดับหนึ่งของนิตยสารบิลบอร์ดติดต่อกันสามสัปดาห์ ผลงานของเขาได้รับการบันทึกเป็นหนึ่งใน 500 อัลบั้มที่ดีที่สุดตลอดกาล โดยนิตยสารโรลลิงสโตน Nov 18, 2003 ผลงานเพลงที่มีชื่อเสียง เช่น "Morning Has Broken", "Moonshadow", "The First Cut Is the Deepest" และ "Peace Train" ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแคท สตีเวนส์ · ดูเพิ่มเติม »

แคปพาโดเชีย

แคปพาโดเชีย (Καππαδοκία กัปปาโดเกีย; Cappadocia) แผลงมาจากคำในภาษากรีก “Καππαδοκία” (Kappadokía) คือภูมิภาคตอนกลางของประเทศตุรกีที่ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดเนฟชีร์ “แคปพาโดเชีย” เป็นชื่อที่ปรากฏตลอดมาในประวัติศาสตร์ของคริสต์ศาสนาและเป็นชื่อที่ใช้โดยทั่วไปที่หมายถึงบริเวณที่เป็นที่น่าสนใจแก่นักท่องเที่ยว ในบริบทของภูมิภาคอันมีความน่าตื่นตาตื่นใจทางธรรมชาติ โดยเฉพาะภูมิสัณฐานที่มีลักษณะเป็นแท่งๆ คล้ายหอปล่องไฟ หรือ เห็ด (ปล่องไฟธรรมชาติ (fairy chimney)) และประวัติความเป็นมาทางประวัติศาสตร์อันเป็นเอกลักษณ์ของภูมิภาคอานาโตเลีย ในสมัยของเฮโรโดทัส กลุ่มชาติพันธุ์แคปพาโดเชียกล่าวว่าเป็นผู้ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในภูมิภาคตั้งแต่ภูเขาทอรัสไปจนถึงบริเวณยูซีน (ทะเลดำ) ฉะนั้นแคปพาโดเชียในกรณีนี้จึงมีบริเวณทางตอนใต้จรดเทือกเขาทอรัส ที่เป็นพรมแดนธรรมชาติที่แยกจากซิลิเคีย, ทางตะวันออกโดยแม่น้ำยูเฟรทีสตอนเหนือและ ที่ราบสูงอาร์มีเนีย, ทางตอนเหนือโดยภูมิภาคพอนทัส และทางตะวันตกโดยภูมิภาคไลเคาเนีย และ กาเลเชียตะวันออกVan Dam, R. Kingdon of Snow: Roman rule and Greek culture in Cappadocia. Philadelphia: University of Pennsylvania Press, 2002, p.13.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแคปพาโดเชีย · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติโมโร

แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติโมโร (Moro National Liberation Front; MNLF) เป็นองค์กรทางการเมืองของฟิลิปปินส์และมีอำนาจในเขตปกครองตนเองมุสลิมในมินดาเน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติโมโร · ดูเพิ่มเติม »

แนวหน้าปกป้องอิสลาม

แนวหน้าปกป้องอิสลาม (Front to Defend Islam) เป็นกลุ่มการเมืองนิยมอิสลามในอินโดนีเซีย มีแนวความคิดแบบสุดโต่งโดยต้องการนำกฎหมายอิสลามมาใช้ในอินโดนีเซียอย่างเต็มรูปแบบ ก่อตั้งโดย มูฮัมหมัด ริเซียก ไซฮับ ซึ่งจบการศึกษาทางด้านศาสนาจากซาอุดิอาระเบีย เมื่อเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแนวหน้าปกป้องอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

แนวคิดที่ตรงกันข้ามกับประชาธิปไตย

แนวคิดที่ตรงกันข้ามกับประชาธิปไตย หมายถึง การต่อต้านการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ของรัฐบาล และผู้ที่นิยมการปกครองที่ไม่ใช่ระบอบประชาธิปไตย และมีแนวคิดต่อต้านการปฏิรูปประชาธิปไตย และการสนับสนุนประชาธิปไตย แนวคิดประชาธิปไตยสมัยใหม่ได้รับการต่อต้านจากบางรัฐ การสนับสนุนให้มีการจัดตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยในรัฐอันมิใช่ประชาธิปไตยจะนำมาซึ่งการปฏิวัติประชาธิปไตย โดยการปกครองในระบอบราชาธิปไตย ได้ต่อต้านแนวคิดประชาธิปไตย และพยายามป้องกันการล้มล้างสถาบันกษัตริย์ ถึงแม้ว่าจะมีการประนีประนอม โดยการจัดรูปแบบของรัฐบาลร่วมกัน ในปัจจุบันนี้ แนวคิดต่อต้านประชาธิปไตยได้ปรากฏในรัฐคอมมิวนิสต์ สมบูรณาญาสิทธิราชและรัฐอิสลาม ซึ่งแต่ละแนวคิดต่างก็มีเหตุผลของตนในการต่อต้านระบอบประชาธิปไตยหรือการปฏิรูปประชาธิปไตยภายในประเทศของตน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและแนวคิดที่ตรงกันข้ามกับประชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์พระคริสตสมภพ

ระคริสตสมภพ (The Church of the Nativity) เป็นมหาวิหารในเมืองเบธเลเฮม รัฐปาเลสไตน์ โบสถ์นี้จักรพรรดิคอนสตันไทน์มหาราชและจักรพรรดินีเฮเลนาพระราชชนนีโปรดให้สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโบสถ์พระคริสตสมภพ · ดูเพิ่มเติม »

โชคชัย โชคอนันต์

ัย โชคอนันต์เป็นนักร้องลูกทุ่ง ที่มีผลงานเพลง "หลงเสียงนาง" ที่โด่งดังไปทั่วประเทศ เมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโชคชัย โชคอนันต์ · ดูเพิ่มเติม »

โฟวซิโย ยูซุฟ ฮาจี เอเดน

ฟวซิโย ยูซุฟ ฮาจี เอเดน (Foosiya Yuusuf Xaaji Aadan, فوزية يوسف حاجي عدن) เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี ตั้งแต่ 4 พฤศจิก..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโฟวซิโย ยูซุฟ ฮาจี เอเดน · ดูเพิ่มเติม »

โพสพ

ระแม่โพสพ thumb โพสพ บ้างเรียก โพสี ภาษาถิ่นพายัพและอีสานว่า โคสก หรือ เสื้อนา เสื้อไร่ ภาษาไทลื้อว่า ย่าขวัญข้าว ภาษากะเหรี่ยงว่า ภี่บือโหย่ หรือ ผีบือโย ภาษามลายูปัตตานีว่า มะฮียัง (Mak Hiang) เป็นเทพเจ้าแห่งข้าวตามคติความเชื่อของไทย โพสพตามความเชื่อแต่เดิมเป็นเทวสตรี แต่ภายหลังได้มีคติปรากฏเป็นบุรุษเพศคู่กัน มีปลาเป็นพาหนะ นอกจากนี้ยังปรากฎใน โคลงทวาทศมาส ออกนามว่า "พระไพศภ" "พระไพศพ" หรือ "พระไพสพ" และปรากฎอยู่ในพระอายการเบ็ดเสร็จ ในกฎหมายตราสามดวง ในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ที่รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าให้ชำร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโพสพ · ดูเพิ่มเติม »

โกลเดนฮอร์ด

กลเดนฮอร์ด (Алтан Орд, Altan Ord; Алтын Урда, Altın Urda; Золотая Орда, Zolotaya Orda, Golden Horde หรือ Ulus of Jochi) เป็นคำที่สลาฟตะวันออกใช้เรียกมองโกล"", The Columbia Encyclopedia, Sixth Edition, 2001-05.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโกลเดนฮอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

โกตาบารู

กตาบารู (Kota Bharu, Kota Baharu; มลายูปัตตานี: كوت بهارو "วังใหม่") เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศใกล้พรมแดนไทย โกตาบารูเป็นที่ตั้งของมัสยิดจำนวนมาก รวมทั้งเป็นที่ตั้งพระราชวังของสุลต่าน ประชากรส่วนใหญ่ร้อยละ 70 นับถือศาสนาอิสลาม รองลงมาคือศาสนาพุทธในกลุ่มเชื้อสายจีนและไทยโดยมีวัดไทย 1 แห่ง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโกตาบารู · ดูเพิ่มเติม »

โมกอล

ต๊ะ โมกอล เป็นเจ้าเมืองสงขลาคนแรก ท่านเป็นชาวเปอร์เซีย นับถือศาสนาอิสลาม จากชวา อดีตเป็นพ่อค้าเดินเรือสมุทร มีประสบการณ์ด้านการค้าทางเรือ และการป้องกันการปล้นสะดมมาก่อน เมื่อพาพลพรรคเข้ามาอาศัยที่หัวเขาแดง (อยู่ในสงขลาในเวลาปัจจุบัน) ก็ได้สร้างป้อมและกำแพงเมืองอย่างแข็งแรง ตวนกู โมกอลล์ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมกอล · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมหมัด อัยยุบข่าน

มฮัมหมัด อัยยุบข่าน จอมพลโมฮัมหมัด อัยยุบข่าน (Mohammad Ayub Khan; محمد ایوب خان) เป็นผู้นำทางทหารและการเมืองในปากีสถาน เขาทำรัฐประหารยึดอำนาจรัฐในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมหมัด อัยยุบข่าน · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมหมัด นาญิบุลลอฮ์

มฮัมหมัด นาญิบุลลอฮ์ อะหมัดไซ (Mohammad Najibullah Ahmadzai; ډاکټر نجیب ﷲ احمدزۍ, เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1947 – 28 กันยายน ค.ศ. 1996) เป็นนักการเมืองชาวอัฟกานิสถาน เป็นประธานาธิบดีอัฟกานิสถานระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมหมัด นาญิบุลลอฮ์ · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก

ลเอก โมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก (ปัญจาบ, محمد ضياء الحق; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2467 – 17 สิงหาคม พ.ศ. 2531) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 6 ของประเทศปากีสถานตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมหมัด เซีย อุล ฮัก · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด ฟาราห์ ซาลัด

มฮัมเหม็ด ฟาราห์ ซาลัด (Maxamed Faarax Salaad, محمد فرح صلاد) เป็นนักการเมืองและทหารชาวโซมาลี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโซมาเลียตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมเหม็ด ฟาราห์ ซาลัด · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด ออสมาน จาวารี

ตราจารย์ โมฮัมเหม็ด ออสมาน จาวารี (Maxamed Cismaan Jawaari, محمد عثمان الجواري) (เกิด 7 ธันวาคม พ.ศ. 2488) เป็นทนายความและนักการเมืองชาวโซมาเลีย เขาเป็นประธานรัฐสภากลางโซมาเลียคนปัจจุบัน นอกจากนี้เขายังปฏิบัติหน้าที่เป็นรักษาการประธานาธิบดีโซมาเลียระหว่างวันที่ 28 สิงหาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมเหม็ด ออสมาน จาวารี · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โมฮัมเหม็ด

มฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โมฮัมเหม็ด "ฟารมาโจ" (Maxamed Cabdulaahi Maxamed Farmaajo, محمد عبد الله محمد) (เกิด พ.ศ. 2505 ที่ โมกาดิชู ประเทศโซมาเลีย) เป็นนักการทูต ศาสตราจารย์ และนักการเมืองชาวโซมาเลีย เขาเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโซมาเลียในช่วง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โมฮัมเหม็ด · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์

มฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์ (Maxamed Cabdullahi Omaar, محمد عبدالله عمر) เป็นนักการเมืองและนักการทูตชาวโซมาเลีย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศโซมาเลี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมเหม็ด อับดุลลาฮี โอมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด อับดี ยูซุฟ

มฮัมเหม็ด อับดี ยูซุฟ (Maxamed Cabdi Yuusuf, محمد يوسف عبدي) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศโซมาเลีย ตั้งแต่ 8 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมเหม็ด อับดี ยูซุฟ · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด อาลี ซามาตาร์

ลโท โมฮัมเหม็ด อาลี ซามาตาร์(Maxamed Cali Samatar, محمد علي سمتر) (เกิด พ.ศ. 2474) เป็นนักการเมืองชาวโซมาลีและนายพลของกองทัพโซมาเลีย เขาเป็นสมาชิกอาวุโสของคณะปฏิวัติสูงสุด นอกจากนี้เขายังดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโซมาเลียตั้งแต่ 1 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมเหม็ด อาลี ซามาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด ฮาวัดเล มาดาร์

มฮัมเหม็ด ฮาวัดเล มาดาร์ (Maxamed Hawaadlee Madar, محمد حواضلي المدار) (เกิด พ.ศ. 2473) เป็นนายกรัฐมนตรีโซมาเลียตั้งแต่ 3 กันยายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมเหม็ด ฮาวัดเล มาดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัล

มฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัล (Maxamed Xaaji Ibraahim Cigaal, محمد الحاج ابراهيم ايغال) (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2471 (ออดเวย์นี บริติชโซมาลีแลนด์) - 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 (พริทอเรีย แอฟริกาใต้)) เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองสมัย ครั้งแรกเมื่อ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัล · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด ดาวูด ข่าน

มฮัมเหม็ด ดาวูด ข่าน (Mohammed Daoud Khan; سردار محمد داود خان; 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1909 – 28 เมษายน ค.ศ. 1978) เป็นนักการเมืองชาวอัฟกานิสถาน เป็นประธานาธิบดีคนแรกของอัฟกานิสถาน (ค.ศ. 1973–1978) โมฮัมเหม็ด ดาวูด ข่านเกิดที่กรุงคาบูล เมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมเหม็ด ดาวูด ข่าน · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด โมฮามุด อิบราฮิม

มฮัมเหม็ด โมฮามุด อิบราฮิม, CIA Factbook, August 2011 (Maxamed Maxamuud Ibrahiim, محمد محمود ابراهيم) (เกิด พ.ศ. 2489 หรือพ.ศ. 2490, BBC, 9 September 2011) เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮัมเหม็ด โมฮามุด อิบราฮิม · ดูเพิ่มเติม »

โมฮาเหม็ด ดียาเม

มฮาเหม็ด ดียาเม (เกิดวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 1987) หรือ โมโม ดียาเม เป็นนักฟุตบอลอาชีพที่ลงเล่นตำแหน่งกองกลางให้กับสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด เขาเกิดที่ประเทศฝรั่งเศส แต่ในนามทีมชาติ เขาเลือกเล่นให้กับทีมชาติเซเนกัล และลงเล่นไป 31 นัด ก่อนที่จะเลิกเล่นทีมชาติในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมฮาเหม็ด ดียาเม · ดูเพิ่มเติม »

โมเสส

มเสสกับแผ่นจารึก, พ.ศ. 2202 (1659), โดยแร็มบรันต์ โมเสสเมื่อลงมาหลังจากเข้าเฝ้าพระเจ้าที่ภูเขาซีนาย, พ.ศ. 2181 (1638), โดย ไรเบรา เดอ โจเซ รูปปั้นของโมเสส โดยมีเกลันเจโล โมเสส (ศัพท์ศาสนายูดาห์และศาสนาคริสต์) หรือ มูซา (ศัพท์ศาสนาอิสลาม) (Moses; מֹשֶׁה; موسى มูซา) เป็นผู้บัญญัติกฎและผู้เผยพระวจนะแก่วงศ์วานอิสราเอล ซึ่งเป็นที่มาของคัมภีร์โทราห์ในศาสนายูดาห์ หรือคัมภีร์เบญจบรรณในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมของศาสนาคริสต์ อีกทั้งยังเป็นเราะซูลของอัลลอฮ์ตามคติของศาสนาอิสลาม และเป็นศาสดาตามคติของศาสน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโมเสส · ดูเพิ่มเติม »

โรมโบราณ

ตามตำนานโรมก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 753 ก่อนคริสต์ศักราชโดยรอมิวลุส และรีมุสที่ถูกเลี้ยงด้วยแม่หมาป่า โรมโบราณ (Ancient Rome) คือวัฒนธรรมที่วิวัฒนาการขึ้นมาจากชุมชนเกษตรกรบน คาบสมุทรอิตาลีที่เริ่มตั้งแต่ศตวรรษที่ 10 ก่อนคริสต์ศักราช ตั้งอยู่ริมฝั่งทะเลเมดิเตอเรเนียนโรมโบราณกลายมาเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โบราณ ในช่วงเวลาที่โรมโบราณเจริญรุ่งเรืองอยู่วัฒนธรรมโรมันเปลี่ยนจากการปกครองตั้งแต่เป็นแบบราชาธิปไตยไปเป็นระบอบสาธารณรัฐคณาธิปไตย และในที่สุดก็ไปเป็นระบบจักรวรรดิแบบอัตตาธิปไตย อารยธรรมโรมันมามีอำนาจอันมีอิทธิพลต่อทวีปยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ ทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้/คาบสมุทรบอลข่าน และในบริเวณทะเลเมดิเตอเรเนียนโดยการพิชิตและการการผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรมกับท้องถิ่นที่เข้าไปปกครอง จักรวรรดิโรมันทางด้านตะวันตกเสื่อมโทรมลงและสลายตัวไปในคริสต์ศตวรรษที่ 5 การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันมีสาเหตุมาจากความขัดแย้งภายในและการถูกโจมตีโดยชนกลุ่มต่างๆ ในสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน จักรวรรดิโรมันตะวันตกที่รวมทั้งฮิสปาเนีย กอล บริทาเนีย และอิตาลี ได้แบ่งแยกออกเป็นอาณาจักรอิสระในคริสต์ศตวรรษที่ 5 จักรวรรดิโรมันตะวันออก หรือที่เรียกว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่คอนสแตนติโนเปิล ประกอบด้วยกรีซ ส่วนที่พิชิตโดยจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 1 อานาโตเลีย ซีเรีย และอียิปต์รอดจากวิกฤติการณ์ที่จักรวรรดิทางด้านตะวันตกประสบ และแม้ว่าจะเสียซีเรียและอียิปต์แก่จักรวรรดิอิสลามของอาหรับจักรวรรดิก็รุ่งเรืองต่อมาอีกหนึ่งสหัสวรรษ จนกระทั่งมาเสียเมือง ให้กับจักรวรรดิออตโตมันของตุรกี นักประวัติศาสตร์มักจะเรียกจักรวรรดิโรมันตะวันออกมักจะเรียกว่าเป็น จักรวรรดิไบแซนไทน์ วัฒนธรรมโรมันมักจะจัดอยู่ใน “ยุคโบราณ” (classical antiquity) ร่วมกับกรีกโบราณซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่เป็นต้นตอและแรงบันดาลใจให้แก่วัฒนธรรมโรมโบราณ โรมโบราณมีบทบาทอย่างใหญ่หลวงในการวิวัฒนการทางด้านกฎหมาย การสงคราม ศิลปะ วรรณคดี สถาปัตยกรรม เทคโนโลยี และภาษาของโลกตะวันตก และประวัติศาสตร์โรมก็ยังคงเป็นประวัติที่ยังคงมีอิทธิพลต่อโลกจนทุกวันนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโรมโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

โรฮีนจา

รฮีนจา (ရိုဟင်ဂျာ โรฮีนจา; โรฮีนจา: Ruáingga รูไอง์กา; রোহিঙ্গা, Rohingga) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์มุสลิมที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ (อาระกัน) ทางตะวันตกของประเทศพม่า และพูดภาษาโรฮีนจา ชาวโรฮีนจาและนักวิชาการบางส่วนกล่าวว่า โรฮีนจาเป็นชนพื้นเมืองในพื้นที่รัฐยะไข่ ในขณะที่นักประวัติศาสตร์บางส่วนอ้างว่า พวกเขาอพยพเข้าพม่าจากเบงกอลในสมัยการปกครองของสหราชอาณาจักรเป็นหลัก และนักประวัติศาสตร์ส่วนน้อยกล่าวว่า พวกเขาอพยพมาหลังจากพม่าได้รับเอกราชในปี 2491 และหลังจากบังกลาเทศทำสงครามประกาศเอกราชในปี 2514 ชาวมุสลิมตั้งถิ่นฐานในรัฐยะไข่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 แต่ไม่สามารถประมาณจำนวนผู้ตั้งถิ่นฐานชาวมุสลิมก่อนการปกครองของสหราชอาณาจักรได้อย่างแม่นยำ หลังสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่หนึ่งในปี 2369 สหราชอาณาจักรผนวกรัฐยะไข่และสนับสนุนให้มีการย้ายถิ่นจากเบงกอลเพื่อทำงานเป็นผู้ใช้แรงงานในไร่นา ประชากรมุสลิมอาจมีจำนวนถึงร้อยละ 5 ของประชากรรัฐยะไข่แล้วเมื่อถึงปี 2412 แต่จากการประเมินของปีก่อนหน้าก็พบว่ามีจำนวนสูงกว่านี้ ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ความรุนแรงระหว่างชุมชนก็ปะทุขึ้นระหว่างชาวยะไข่ซึ่งนับถือศาสนาพุทธกับหน่วยกำลังวี (V-Force) ชาวโรฮีนจาที่สหราชอาณาจักรติดอาวุธให้ และการแบ่งขั้วก็รุนแรงมากขึ้นในพื้นที่ ในปี 2525 รัฐบาลพลเอกเนวีนตรากฎหมายความเป็นพลเมืองซึ่งปฏิเสธความเป็นพลเมืองของชาวโรฮีนจา ในปี 2556 มีชาวโรฮีนจาประมาณ 735,000 คนอาศัยอยู่ในประเทศพม่า ส่วนใหญ่อยู่ในเมืองทางเหนือของรัฐยะไข่ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 80–98 ของประชากร สื่อระหว่างประเทศและองค์การสิทธิมนุษยชนกล่าวว่าชาวโรฮีนจาเป็นชนกลุ่มน้อยที่ถูกข่มเหงที่สุดกลุ่มหนึ่งในโลก ชาวโรฮีนจาจำนวนมากหนีไปอยู่ในย่านชนกลุ่มน้อยและค่ายผู้ลี้ภัยในประเทศเพื่อนบ้านอย่างบังกลาเทศ รวมทั้งพื้นที่ตามชายแดนไทย–พม่า ชาวโรฮีนจากว่า 100,000 คนยังอาศัยอยู่ในค่ายสำหรับผู้พลัดถิ่นในประเทศซึ่งทางการไม่อนุญาตให้ออกมา ชาวโรฮีนจาได้รับความสนใจจากนานาชาติในห้วงเหตุจลาจลในรัฐยะไข่ พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโรฮีนจา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัสสัมชัญ

รงเรียนอัสสัมชัญ (บ้างเรียก อัสสัมชัญบางรัก หรือ อัสสัมชัญกรุงเทพ, ย่อ: อสช, AC) เป็นโรงเรียนเอกชนชายล้วนขนาดใหญ่ในกลุ่มจตุรมิตร ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, โรงเรียนเทพศิรินทร์, โรงเรียนอัสสัมชัญ และโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ แผนกประถม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเซนต์หลุยส์ 3 ถนนสาทรใต้ และแผนกมัธยม ซึ่งตั้งอยู่ในซอยเจริญกรุง 40 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก โรงเรียนอัสสัมชัญ ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการขึ้นโดยบาทหลวงเอมิล ออกัสต์ กอลมเบต์ เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโรงเรียนอัสสัมชัญ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอัตตัรกียะห์ อิสลามียะห์

รงเรียนอัตตัรกียะห์ อิสลามียะห์ เป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ที่ถนนตรีรัตน์ ตำบลบางนาค อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส เปิดทำการสอน ตั้งแต่วันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2506 โดยนายหะยีดาโอ๊ะ หะยีมะดีเยาะ ประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดนราธิวาสกับคณะผู้ก่อตั้ง โดยเริ่มแรกโรงเรียนอยู่ในความอุปถัมภ์ของสำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดนราธิวาสในปีแรกรับเฉพาะนักเรียนชายเท่านั้น และเริ่มรับนักเรียนหญิงเมื่อปีการศึกษา 2507 ในปีต่อๆมาโรงเรียนได้ปรับปรุงระบบบริหารและเพิ่มจำนวนการรับนักเรียนเข้าเรียน ทำให้อาคารเรียนไม่เพียงพอ ทางสำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดนราธิวาส จึงย้ายสถานที่เรียนใหม่ในที่ดินแปลงปัจจุบัน ซึ่งนาย สุริยน ไรวา คหบดีได้อุทิศที่ดินเพื่อเป็นสถานที่สร้างอาคารเรียน ในปีการศึกษา 2512 ทางราชการเริ่มส่งราชการครูมาช่วยสอนวิชาสามัญเป็นปีแรก ทำให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เมื่อในปีการศึกษา 2514 นายหะยีดาโอ๊ะ หะยีมะดีเยาะ ผู้ก่อตั้งโรงเรียนถึงแก่กรรม จึงให้นายฮารุน หะยีดาโอ๊ะ เข้าดำรงตำแหน่งเจ้าของโรงเรียนแทนโดยมี นายอูมาร์ ตอยิบเป็นผู้จัดการ ปีการศึกษา 2525 โรงเรียนเปิดสอนแผนการเรียน วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ และได้เข้าโครงการโรงเรียนผู้นำการใช้หลักสูตร พร้อมเปิดแผนการเรียนสายธุรกิจ (บัญชี) และคหกรรม (การตัดเย็บ) ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในช่วงปีการศึกษา 2527-2543 โรงเรียนได้มีการสร้างอาคารเพิ่มขึ้นหลายอาคารเพื่อรองรับจำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นทุกปี จนกระทั่งในปีการศึกษา 2544 ได้ดำเนินการสร้างอาคารเรียนจำนวน 4 ชั้น 20 ห้องเรียน เป็นที่เสร็จเรียบร้อ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโรงเรียนอัตตัรกียะห์ อิสลามียะห์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอาลาวียะห์วิทยา

โรงเรียนอาลาวียะห์วิทยา เป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ตั้งอยู่ในจังหวัดยะลา อาลาวียะห์วิทยา.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโรงเรียนอาลาวียะห์วิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิ

รงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิ (Islamsriayutthaya Foundation School.) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (หรือที่คนส่วนใหญ่เรียกว่า อ.ศ.อ.) เป็นโรงเรียนที่สอนศาสนาอิสลามควบคู่กับสามัญ เปิดสอนมากกว่า 70 ปี มีนักเรียนจากทั่วทุกภาคของประเทศไทย ได้รับการยอมรับจากสังคมมุสลิม สีประจำโรงเรียน เขียว - ขาว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโรงเรียนอิสลามศรีอยุธยามูลนิธิ · ดูเพิ่มเติม »

โลกอิสลาม

ลกอิสลาม เป็นศัพท์เชิงวิชาการที่ใช้เรียกผืนแผ่นดินที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ผู้นับถือศาสนาอิสลามมีประมาณหนึ่งพันล้านคน ที่ปฏิบัติตามศาสนาของ มุฮัมหมัด บุตรของอับดุลลอฮ์ (ศาสดาของบรรดามุสลิม) เป็นชาวฮิญาซ และเป็นศาสนาที่มีมากว่า 1400 ปี (ปีจันทรคติ) บรรดามุสลิมมีความเชื่อเหมือนกันว่า ศาสดามุฮัมหมัด บุตรของอับดุลลอฮ์ คือศาสดาองค์สุดท้าย (คอตะมุลอันบิยา) เชื่อในกุรอาน (คัมภีร์อันศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาอิสลาม) กิบลัตและบทบัญญัติหลักปฏิบัติศาสนก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโลกอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

โลกาภิวัตน์

ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง "การแพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นต้น" โลกาภิวัตน์ เป็นคำศัพท์เฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกที่เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในส่วนหนึ่งของโลก ส่งผลกระทบอันรวดเร็วและสำคัญต่อส่วนอื่นๆของโลก โลกาภิวัตน์ หมายถึงกระบวนการที่ประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเป็นสังคมเดี่ยว กระบวนการนี้เกิดจากแรงของอิทธิพลร่วมทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและสังคม-วัฒนธรรมและการเมือง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโลกาภิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

โลกตะวันตก

ลกตะวันตก (Western world และอาจเรียก The West หรือ Occident) เป็นคำซึ่งใช้กล่าวถึงประเทศได้หลายประเทศ โดยประเทศที่หมายถึงอาจแตกต่างกันไปตามบริบทของการใช้คำศัพท์ นอกจากนี้เป็นคำซึ่งมีคำจำกัดความอยู่มากมาย, Our Tradition; James Kurth; accessed 30 August 2011 แนวคิดส่วนของโลกซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกมีรากฐานมาจากอารยธรรมกรีกโรมันในยุโรปและการกำเนิดของศาสนาคริสต์Cambridge University Historical Series, An Essay on Western Civilization in Its Economic Aspects, p.40: Hebraism, like Hellenism, has been an all-important factor in the development of Western Civilization; Judaism, as the precursor of Christianity, has indirectly had had much to do with shaping the ideals and morality of western nations since the christian era.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโลกตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

โสร่ง

ผ้าโสร่งของผู้ชาย ในภาพเป็นนักดนตรีโปงลางของอีสาน โสร่ง เป็นผ้านุ่งอย่างหนึ่ง ที่ใช้ผ้าผืนเดียว เพลาะชายสองข้างเข้าด้วยกันเป็นถุง แบบเดียวกับผ้าถุง หรือผ้าซิ่น ใช้นุ่งอย่างแพร่หลาย ทั้งหญิงและชาย ในหลายประเทศของเอเชีย โดยเฉพาะเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้านด้วย นอกจากนี้ยังนิยมใช้ในหลายท้องถิ่นในหมู่เกาะแถบมหาสมุทรแปซิฟิก โดยที่แต่ละท้องถิ่น จะมีชื่อเรียกต่างกันไป ทว่าอาจเรียกรวม ๆ ได้ว่า โสร่ง ในบางท้องถิ่น โสร่งอาจนิยมใช้อย่างลำลอง สำหรับแต่งกายอยู่กับบ้าน แต่ในบางประเทศ เช่น พม่า เราจะพบว่าโสร่งเป็นผ้านุ่งที่นิยมใช้กันทั่วไป ทั้งในหมู่ชนชั้นสูง ระดับผู้บริหารประเทศ นักการเมือง กระทั่งพ่อค้าแม่ขาย นักศึกษา และผู้คนทั่วไป.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโสร่ง · ดูเพิ่มเติม »

โอมาร์ อับดีราซิด อาลี ชาร์มาร์กี

อมาร์ อับดีราซิด อาลี ชาร์มาร์กี (Cumar Cabdirashiid Cali Sharmaarke, عمر عبد الرشيد علي شرماركي) (เกิด 18 มิถุนายน พ.ศ. 2503) เป็นนักการทูตและนักการเมืองชาวโซมาเลีย ตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโอมาร์ อับดีราซิด อาลี ชาร์มาร์กี · ดูเพิ่มเติม »

โจโก วีโดโด

ก วีโดโด (Joko Widodo) เป็นประธานาธิบดีอินโดนีเซียคนที่ 7 และคนปัจจุบันของประเทศอินโดนีเซีย เคยดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีกรุงจาร์กาตา ก่อนลงสมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโจโก วีโดโด · ดูเพิ่มเติม »

โดมแห่งศิลา

quote.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและโดมแห่งศิลา · ดูเพิ่มเติม »

ไมก์ ไทสัน

มก์ ไทสัน (Mike Tyson) เป็นอดีตนักชกมวยชาวอเมริกัน แชมป์โลกเฮฟวี่เวท 3 สถาบันคนแรกของโลก เจ้าของสถิติเป็นแชมป์โลกเฮฟวี่เวทที่อายุน้อยที่สุดในโลก ด้วยวัยเพียง 20 ปี 4 เดือนกับ 22 วัน ไทสันชนะการชกมวยระดับมืออาชีพ 19 ครั้งแรก ด้วยการน็อกเอาท์ โดยจำนวนนั้นเป็นการน็อกคู่ต่อสู้ในยกแรกถึง 12 ครั้ง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไมก์ ไทสัน · ดูเพิ่มเติม »

ไม้เท้าโมเสส

ตามพระธรรมอพยพในพระคริสตธรรม ไม้เท้า (ฉบับพระเจ้าเจมส์ว่า rod; matteh) ที่โมเสส (Moses) ใช้นั้น อยู่ข้างกายเขาตลอดเวลาที่เกิดเหตุการณ์สำคัญในพระธรรมดังกล่าวซึ่งระบุว่า โมเสสใช้ไม้เท้าเสกน้ำจากศิลา แปลงไม้เท้าเป็นงู และใช้แยกทะเลแดง แต่ปัญหาว่า ไม้เท้าของโมเสสเป็นอันเดียวกับไม้เท้าของอาโรน (Aron) พี่ชายของเขาหรือไม่นั้น เป็นที่อภิปรายในหมู่นักวิชาการเสมอม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไม้เท้าโมเสส · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล ลูคัส (ผู้กำกับ)

มเคิล ลูคัส (Michael Lucas) เกิดเมื่อวันที่ 10 มีนาคม ค.ศ. 1972Photograph of Lucas' Soviet passport showing his birth information เป็นนักแสดงหนังโป๊เกย์Bunder, Leslie (August 18, 2006),, retrieved from www.somethingjewish.co.uk on September 3, 2006.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไมเคิล ลูคัส (ผู้กำกับ) · ดูเพิ่มเติม »

ไอซ์คิวบ์

อ'เชีย แจ็กสัน (O'Shea Jackson) เป็นนักร้องแนวเวสต์โคสต์ฮิปฮอปอเมริกัน ใช้ชื่อในการแสดงบนเวที่ว่า ไอซ์คิวบ์ (Ice Cube) ในระยะหลังเริ่มลดบทบาทการเป็นแรปเปอร์ลง หันไปเป็นนักแสดง นักเขียนบท และอำนวยการสร้างภาพยนตร์ แจ็กสันเกิดที่เซาท์ลอสแอนเจลิส ทางใต้ของลอสแอนเจลิส แคลิฟอร์เนีย เป็นลูกพี่ลูกน้องกับเทเรน เดลวอง โจนส์ (Del tha Funkee Homosapien) หนึ่งในสมาชิกเบื้องหลังวงกอริลลาซในยุคแรก แจ็กสันเริ่มงานดนตรีตั้งแต่ปี 1984 หลังจบไฮสคูล กับวงแร็ปชื่อ C.I.A. (1984-1987), N.W.A. (1986–1991) และ Da Lench Mob (1990-1995) และหันมาเป็นศิลปินเดี่ยว ต่อมาตั้งวงทริโอชื่อ Westside Connection (1996-2003) แจ็กสันยังเคยร่วมงานกับ ดร. เดร เดอะเกม นาส พับลิกเอเนมี แจ็กสันเริ่มงานแสดงครั้งแรกในปี 1991 จากเรื่อง Boyz n the Hood ร่วมกับคิวบา กูดิง จูเนียร์ แองเจลา บาสเซตต์ และลอว์เรนซ์ ฟิชเบิร์น และแสดงบทสมทบในอีกหลายเรื่อง เริ่มมีบทบาทเด่นใน Anaconda (1997), Three Kings (1999), Ghosts of Mars (2001), Torque (2004) ได้รับบทนำในภาพยนตร์แอ็คชั่น XXX: State of the Union (2005) รับบทนำและอำนวยการสร้างภาพยนตร์คอเมดี Are We There Yet? (2005) และภาคต่อ Are We Done Yet? (2007).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไอซ์คิวบ์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี

แผนที่การเสียดินแดนของไทย (หมายเลขที่ 2) ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี หรือที่ทางราชการเรียกว่า ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทย เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไทยสยาม ที่ถูกกวาดต้อนและอพยพมาอยู่ตั้งแต่หลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2310) หลังการยึดครองของอังกฤษ ชาวไทยเหล่านี้จึงกลายเป็นสัญชาติพม่า แต่ก็ยังไปมาหาสู่กับญาติพี่น้องฝั่งไทยตลอด และมีชาวไทยในเขตตะนาวศรีที่เข้ามาทำคลอดในฝั่งไทย และต้องการให้บุตรเป็นสัญชาติไทย เพราะมีความเกี่ยวดองกับฝั่งไทย และส่วนใหญ่ทางแถบจังหวัดเกาะสอง (วิกตอเรียพอยท์) ของพม่าก็มีชาวไทยมากมาย แต่ในปัจจุบันยังถือว่าชาวไทยกลุ่มนี้เป็นกลุ่มคนไร้สัญชาต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

ไทยสยาม

ทยสยาม (Thai Siam) โดยทั่วไปหมายถึง คือกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งพูดภาษาไทยกลาง หรือมี เชื้อชาติไทยสยามผสมอยู่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศไทย และอาศัยกระจายอยู่ในประเทศอื่นทั่วโลก โดยคนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ ศาสนาอิสลาม และ ศาสนาคริสต์ ในความหมายทางชาติพันธุ์ ใช้เฉพาะเจาะจงถึงคนไทยภาคกลาง หรือเดิมเรียกว่า ชาวสยาม แต่ในความหมายมุมกว้าง สามารถหมายความครอบคลุมถึง กลุ่มชาติพันธุ์ไทย อื่นๆ ทั้งนอกและในราชอาณาจักร เช่น ไทยโคราช ไทยอีสาน ไทยโยเดีย หรือ ไทยเกาะกง เช่นกัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไทยสยาม · ดูเพิ่มเติม »

ไทยในอียิปต์

วไทยในประเทศอียิปต์ เป็นบุคคลที่มีเชื้อสายหรือสัญชาติไทยที่พำนักอยู่ประเทศอียิปต์ แบ่งเป็นบุคคลที่เข้ามาศึกษา, ผู้ใช้แรงงาน และผู้พำนักถาวรจากการสมรส ชาวไทยที่เข้ามาศึกษาส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และเข้าศึกษาในสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงของประเทศอียิปต์ อย่างมหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร (Al Azhar University) ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง และมีความเก่าแก่กว่ามหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดของสหราชอาณาจักรด้วย นอกจากนี้ยังมีมหาวิทยาลัยอเมริกัน (The American University in Cairo) และมหาวิทยาลัยไคโรที่มีชื่อเสียงในการศึกษาด้านตะวันออกกลางและอาหรับศึกษา แต่การสมัครเข้าไม่สะดวกนักเพราะสภาการศึกษาของอียิปต์ยังไม่รับรองวุฒิการศึกษาของสถาบันการศึกษาในไทย นอกจากนักศึกษาก็ยังมีชาวไทยที่เข้ามาประกอบอาชีพเช่น ร้านอาหารไทย โดยเฉพาะสปาและหมอนวดซึ่งมีชาวไทยทำมากกว่า 300-500 คน รองลงมาคือ ช่างทอง และช่างเพชร หรือบางส่วนได้สมรสกับชาวอียิปต์ ซึ่งมีหญิงไทยจำนวนมากสมรสกับชาวอียิปต์ในต่างเมืองโดยมิได้ติดต่อกับสังคมไทยในอียิปต์ตามหัวเมืองใหญ่เล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไทยในอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายมลายู

วไทยเชื้อสายมลายู หมายถึงชาวไทยซึ่งมีเชื้อสายมลายู มีกระจายทั่วไปในทางภาคใต้ของประเทศไทย ประชากรใช้ภาษาตระกูลมาลาโย-โพลินีเชียน และส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม และมีประชากร ร้อยละ 3 ของประชากรทั้งหมด กระจายตัวหนาแน่นมากที่สุดทางภาคใต้ตอนล่าง ในภาคใต้ส่วนอื่นๆก็มีชาวไทยเชื้อสายมลายูกระจายอยู่ทั่วไป ส่วนภาคกลางเองก็มีมากในกรุงเทพฯ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี เลยไปถึงจังหวัดฉะเชิงเทราในตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยวด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไทยเชื้อสายมลายู · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายอินเดีย

วไทยเชื้อสายอินเดีย คือชาวไทยที่สืบเชื้อสายมาจากชาวอินเดียที่อพยพเข้ามาอาศัยในประเทศไทย เดิมมี 2 กลุ่ม ได้แก่ ชาวซิกข์มีหลายนิกาย และชาวฮินดู.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไทยเชื้อสายอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายจาม

วไทยเชื้อสายจาม เป็นชื่อเรียกกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งในตระกูลมาลาโย-โพลินีเชียนหรือชนชาติมลายู อาณาจักรจามอยู่ระหว่าง ญวนกับเขมร ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาอิสลามเรียกกันว่าแขกจาม มีภาษาพูดที่สื่อสารกันคือ ภาษามลายู เป็นกลุ่มภาษาออสโตรนีเชียน เข้ามาในประเทศไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ ในช่วงหลังจากเสียกรุงวิชัย เมืองหลวงของจามปาให้แก่เวียดนาม คือ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไทยเชื้อสายจาม · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายจีน

วไทยเชื้อสายจีน คือ ชาวจีนที่เกิดในประเทศไทยและเป็นเชื้อสายของผู้อพยพชาวจีน หรือชาวจีนโพ้นทะเล คนไทยเชื้อสายจีน มีประมาณ 9.4 ล้านคนในประเทศไทย หรือร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ และยังมีอีกจำนวนมากไม่สามารถนับได้ เพราะที่กลมกลืนกับคนไทยไปแล้วโดยการแต่งงานข้ามเชื้อชาติ ชาวไทยเชื้อสายจีนส่วนมากบรรพบุรษจะมาจากจังหวัดแต้จิ๋ว ในมณฑลกวางตุ้ง ทางตอนใต้ของจีน พูดภาษาแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นภาษากลุ่มหมิ่นหนาน รองลงมาคือมาจาก แคะ ฮกเกี้ยน และไหหลำ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไทยเชื้อสายจีน · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายเปอร์เซีย

วไทยเชื้อสายเปอร์เซีย หรือบางครั้งอาจถูกเรียกว่า แขกมะหง่น, แขกมะหง่อน, แขกมห่น, แขกมะห่น หรือแขกเจ้าเซ็น หนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งในประเทศไทย ในปัจจุบันชาวไทยเชื้อสายเปอร์เซียแบ่งเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มที่นับถือศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลาม โดยกลุ่มที่นับถือศาสนาอิสลามชีอะฮ์ตั้งถิ่นฐานแถบฝั่งธนบุรี, เขตยานนาวา, เขตบึงกุ่ม, เขตสะพานสูง, เขตมีนบุรี และบางส่วนของจังหวัดฉะเชิงเทราเท่านั้น"นักเดินทาง...เพื่อความเข้าใจในแผ่นดิน" ธนบุรี, หน้า 153 ส่วนกลุ่มที่หันไปนับถือศาสนาพุทธ คือ สกุลบุนนาค เป็นต้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไทยเชื้อสายเปอร์เซีย · ดูเพิ่มเติม »

ไซอัด บาร์รี

ลตรี โมฮัมเหม็ด ไซอัด บาร์รี (Maxamed Siyaad Barre; محمد سياد بري; เกิด 6 ตุลาคม 6 พ.ศ. 2462ถึงแก่กรรม 2 มกราคม พ.ศ. 2538) เป็นเผด็จการทหารและประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยโซมาลีตั้งแต..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและไซอัด บาร์รี · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

เชาวาล

วาล (شوال | Shawwal) เดือนที่ 9 ของปฏิทินฮิจญ์เราะฮฺ หรือปฏิทินอิสลาม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเชาวาล · ดูเพิ่มเติม »

เบนาซีร์ บุตโต

นาซีร์ บุตโต (بینظیر بھٹو, Benazir Bhutto; IPA) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศปากีสถาน และเป็นนายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของประเทศอิสลาม โดยดำรงตำแหน่ง 2 สมัย ในปี พ.ศ. 2531 - 2533 และ พ.ศ. 2536 - 2539.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเบนาซีร์ บุตโต · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติมัลดีฟส์

ลงชาติสาธารณรัฐมัลดีฟส์ เรียกชื่อในภาษาท้องถิ่นว่า "กวามี ซาลาม" (ޤައުމީ ސަލާމް, อักษรโรมัน: Qaumee Salaam, แปลตามตัวว่า เพลงคารวะชาติ) ประพันธ์เนื้อร้องโดย มูฮัมหมัด จาเมเอล ดีดี (Muhammad Jameel Didi) เมื่อ พ.ศ. 2491 ทำนองประพันธ์ขึ้นในปี พ.ศ. 2515 โดย บัณฑิต วัณณกุวัตตาวาดูเก ดอน อมระเทวา (Pandit Wannakuwattawaduge Don Amaradeva) มาเอสโตรชาวศรีลังกา เนื้อหาของเพลงนี้ กล่าวถึงการประกาศด้วยความภาคภูมิของชาวมัลดีฟส์ต่อเอกภาพของชาติ ความศรัทธาต่อศาสนาอิสลามอันเป็นศาสนาประจำชาติ ชัยชนะจากการต่อสู้ในอดีต และแสดงความคารวะต่อบรรดาวีรบุรุษของชาติ ในตอนท้ายเพลงเป็นการกล่าวอวยพรต่อความเจริญรุ่งเรืองของชาติและเหล่าผู้นำที่คอยรับใช้มาตุภูม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเพลงชาติมัลดีฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะลมบก

ลมบก (Lombok) เป็นเกาะที่อยู่ทางตะวันออกของเกาะบาหลี คำว่า "ลมบก" ในภาษาชวาหมายถึงพริกขี้หนู ตั้งอยู่ในจังหวัดนูซาเติงการาตะวันตก ประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเกาะลมบก · ดูเพิ่มเติม »

เกาะคริสต์มาส

กาะคริสต์มาส (Christmas Island) เป็นเกาะเล็ก ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย เป็นดินแดนที่ไม่ได้ปกครองตนเองของประเทศออสเตรเลีย อยู่ห่างจากเพิร์ท รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลียไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 2,600 กิโลเมตร และห่างจากกรุงจาการ์ตาของประเทศอินโดนีเซียไปทางใต้ 500 กิโลเมตร เกาะนี้มีประชากรทั้งสิ้น 1,493 คน ถูกจัดให้อาศัยอยู่ทางตอนเหนือ โดยอาศัยอยู่ในฟลายอิงฟิชโคฟ (หรือรู้จักกันในนาม "เดอะเซตเทิลเมนต์") ซิลเวอร์ซิตี กัมปง พูนซาน และดรัมไซต์ ส่วนใหญ่ของประชากรจะเป็นชาวจีน ร้อยละ 70 ชาวมลายู ร้อยละ 20 และชาวยุโรป อีกร้อยละ 10 และส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 36 ศาสนาอิสลาม ร้อยละ 25 ศาสนาคริสต์ ร้อยละ 18 และลัทธิเต๋า ร้อยละ 15 ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการ แต่ก็ใช้ภาษาจีน และภาษามลายู สื่อสารกัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเกาะคริสต์มาส · ดูเพิ่มเติม »

เกาะซีเมอลูเวอ

ซีเมอลูเวอ (Simeulue) หรือ ซีมือลูเวอ (อาเจะฮ์: Simeuluë) เป็นเกาะในประเทศอินโดนีเซีย ห่างจากชายฝั่งตะวันตกของเกาะสุมาตราไปประมาณ โดยมีเมืองใหญ่ที่สุดคือซีนาบัง ในสมัยก่อนนั้นเกาะซีเมอลูเวอเคยเป็นส่วนหนึ่งของอำเภออาเจะฮ์ตะวันตก แต่ได้มีการแยกออกมาเป็นเขตใหม่ชื่อว่าอำเภอซีเมอลูเวอในปี..2542.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเกาะซีเมอลูเวอ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะโกโมโด

กาะโกโมโด (Indonesian Pulau Komodo) เป็นหนึ่งใน 17,508 เกาะ ของประเทศอินโดนีเซีย ก็นี้เป็นที่รู้จักเนื่องจากเป็นสถานที่อยู่อาศัยของมังกรโกโมโดซึ่งเป็นตะกวดที่ใหญ่ที่สุดในโลก เกาะโกโมโดมีพื้นที่ประมาณ 390 ตารางกิโลเมตรและประชากรประมาณ2,000 คน คนบนเกาะแห่งนี้ส่วนมากเป็นลูกหลานของอดีตนักโทษที่ถูกเนรเทศไปยังเกาะและบางก็เป็นลูกครึ่งกับชาวบูกิสที่มาจากเกาะซูลาเวซี ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม แต่ยังมีกลุ่มคริสเตียนและฮินดูอีกด้วย เกาะโกโมโดอยู่ในหมู่เกาะซุนดาน้อย และเป็นส่วนหนึ่งของอุทยานแห่งชาติโกโมโด นอกจากนี้ยังเป็นเกาะยอดนิยมสำหรับการดำน้ำของจังหวัดนูซาเต็งการาตะวันออกอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเกาะโกโมโด · ดูเพิ่มเติม »

เมกาวาตี ซูการ์โนปูตรี

ียะห์ เปร์มาตา เมกาวาตี เซตียาวาตี ซูการ์โนปูตรี (Diah Permata Megawati Setiawati Sukarnoputri) เป็นนักการเมืองหญิงชาวอินโดนีเซีย หัวหน้าพรรค PDI-P และยังเคยดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซียระหว่างปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเมกาวาตี ซูการ์โนปูตรี · ดูเพิ่มเติม »

เมย์ โตโรก ฟอน เซนโดร

มย์ โตโรก ฟอน เซนโดร (May Torok von Szendro, جاويدان هانم Djavidan Hanem, เกิด 15 มิถุนายน ค.ศ. 1877 ณ เมืองฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา — 5 สิงหาคม ค.ศ. 1968 ณ เมืองกราซ ประเทศออสเตรีย) นักเปียโน, นักเขียน, นักแปล และจิตรกรสตรีชาวฮังการี ที่มีชื่อเสียงจากการเป็นพระภรรยาคนที่สองของคีดิฟอับบาสที่ 2 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเมย์ โตโรก ฟอน เซนโดร · ดูเพิ่มเติม »

เมสสิยาห์

ระเมสสิยาห์ (Messiah; מָׁשִיַח มาซียาห์; ܡܫܝܚܐ; Μεσσίας; مشيح) หมายถึง พระผู้ช่วยให้รอดตามความเชื่อในกลุ่มศาสนาอับราฮัม ได้แก่ศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม ในคัมภีร์ฮีบรูของศาสนายูดาห์ พระเมสสิยาห์ หมายถึง พระมหากษัตริย์หรือมหาปุโรหิต ซึ่งได้รับแต่งตั้งด้วยการเจิมน้ำมันศักดิ์สิทธิ์ พระเมสสิยาห์อาจไม่ใช่ชาวยิวเสมอไป เช่น พระเจ้าไซรัสมหาราช ผู้ปลดปล่อยชาวยิวจากการเป็นเชลยก็ถือว่าเป็นพระเมสสิยาห์ด้วย ต่อมาความหมายของเมสสิยาห์เปลี่ยนไป ใช้หมายถึงกษัตริย์ยิวผู้ปกครองโลกในยุคสุดท้ายไปตลอดชั่วนิรันดร์ ตามความเชื่อและอวสานวิทยาของชาวยิว พระเมสสิยาห์จะเป็นคนในเชื้อสายดาวิดและได้เป็นผู้นำของชาวยิวในอนาคต ตลอดจนทั้งโลกในยุคพระเมสสิยาห์ คำว่า เมสสิยาห์ ตรงกับภาษากรีกว่า คริสตอส ซึ่งแปลว่า พระคริสต์ คริสต์ศาสนิกชนจึงใช้คำนี้เป็นสมัญญานามของพระเยซู เพราะเชื่อว่าพระผู้ช่วยให้รอดที่คัมภีร์ฮีบรูหรือคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเดิมได้กล่าวถึงนั้น คือ พระเยซูคริสต์ ในตำราหะดีษของศาสนาอิสลามก็ระบุว่าอีซา (เยซู) บุตรนางมัรยัม (มารีย์) ก็คือนบีและมะซีฮ์ (เมสสิยาห์) ที่พระเป็นเจ้าทรงส่งมาช่วยวงศ์วานอิสราเอลตามพันธสัญญา และเชื่อว่าท่านจะกลับมายังโลกอีกครั้งพร้อมกับอิมามมะฮ์ดี และร่วมกันกำจัดมะซีห์ อัด-ดัจญาล (ศัตรูของพระคริสต์)http://muttaqun.com/dajjal.html.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเมสสิยาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เมอลายูอิซลัมเบอราจา

มอลายูอิซลัมเบอราจา (Melayu Islam Beraja, ملايو اسلام براج) เป็นวลีทางการเมืองที่ใช้ในบรูไน แปลว่า "ราชาธิปไตยอิสลามมลายู" เป็นปรัชญาการปกครองของบรูไนที่สมเด็จพระราชาธิบดีฮัสซานัล โบลเกียห์ ทรงประกาศในเดือนมกราคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเมอลายูอิซลัมเบอราจา · ดูเพิ่มเติม »

เมาะลำเลิง

มาะลำเลิง หรือ มะละแหม่ง (မော်လမြိုင်) ในเอกสารเก่าของไทยเรียก เมืองพัน เป็นเมืองหลวงของรัฐมอญและเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับที่สี่ของประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเมาะลำเลิง · ดูเพิ่มเติม »

เยรูซาเลม

รูซาเลม (Jerusalem), เยรูชาลายิม (יְרוּשָׁלַיִם) หรือ อัลกุดส์ (القُدس) เป็นเมืองในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนที่ราบของภูเขายูดาห์ ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับทะเลเดดซี เยรูซาเลมเป็นเมืองที่พระยาห์เวห์ทรงเลือกสรรไว้ให้เป็นป้อมแห่งความเชื่อถึงพระเป็นเจ้าแต่เพียงองค์เดียว ประเทศอิสราเอลและรัฐปาเลสไตน์ต่างอ้างสิทธิเหนือเยรูซาเลมว่าเป็นเมืองหลวงของตน อย่างไรก็ตาม การกล่าวอ้างของทั้งสองฝ่ายไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เยรูซาเลมถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยได้รับการกล่าวถึงในชื่อ "อูรูซาลิมา" ในแผ่นศิลาจารึกของเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีความหมายว่า "นครแห่งชาลิม" อันเป็นนามของพระเจ้าในแผ่นดินคานาอันเมื่อราว 2,400 ปีก่อนคริสตกาล และเมื่อมาถึงยุคของวงศ์วานอิสราเอล การก่อร่างสร้างเมืองเยรูซาเลมอย่างจริงจังก็ได้เริ่มขึ้นในศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล (ยุคเหล็กช่วงปลาย) และในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล เยรูซาเลมก็ได้เป็นศูนย์กลางการปกครองและทางศาสนาของอาณาจักรยูดาห์ ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเยรูซาเลม นครแห่งนี้ได้ถูกทำลายไปอย่างน้อย 2 ครั้ง, ถูกปิดล้อม 23 ครั้ง, ถูกโจมตี 52 ครั้ง, ถูกยึดและเอาคืน 44 ครั้ง According to Eric H. Cline's tally in Jerusalem Besieged.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเยรูซาเลม · ดูเพิ่มเติม »

เยรูซาเลมตะวันออก

รูซาเลมตะวันออก เป็นส่วนหนึ่งของกรุงเยรูซาเลมที่มิได้เป็นส่วนหนึ่งของเยรูซาเลมตะวันตก โดยครอบคลุมเขตเมืองเก่าและสถานที่ศักดิสิทธิ์ที่สำคัญต่อศาสนาคริสต์ ศาสนายูดาห์ และศาสนาอิสลาม ได้แก่ เนินพระวิหาร, กำแพงโอดครวญ, โบสถ์พระคูหาศักดิ์สิทธิ์ มัสยิดอัลอักศอ และโดมแห่งศิลา ปัจจุบันเมืองนี้เป็นเมืองหลวงอย่างเป็นทางการของรัฐปาเลสไตน์แม้ว่าที่ทำการรัฐบาลจะอยู่ที่รอมัลลอ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเยรูซาเลมตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เย็น แก้วมะณี

"ปู่เย็น" (เย็น แก้วมะณี) เฒ่าทระนงแห่งลุ่มน้ำเพชรบุรี นายเย็น แก้วมะณี หรือ "ปู่เย็น" (พ.ศ. 2443 - 12 ตุลาคม พ.ศ. 2551) เจ้าของสมญานาม "เฒ่าทระนง" แห่งลุ่มน้ำเพชรบุรี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเย็น แก้วมะณี · ดูเพิ่มเติม »

เรอูนียง

รอูนียง หรือ เรอูว์นียง (La Réunion) เป็นเกาะตั้งอยู่บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ และห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 200 กิโลเมตร (130 ไมล์) ในระบบบริหาร เรอูนียงเป็นหนึ่งในจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เหมือนกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ เรอูนียงก็เป็นหนึ่งใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) และเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโดยมีสถานะเท่ากับแคว้นอื่น ๆ ในภาคพื้นทวีปยุโรป เรอูนียงเป็นแคว้นที่อยู่ห่างไกลที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรปและใช้สกุลเงินยูโร ตามความจริง ตำแหน่งที่ตั้งของเรอูนียงในเขตเวลาทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป ทำให้เรอูนียงเป็นแคว้นแรกในโลกที่ใช้สกุลเงินยูโร และการใช้สกุลเงินยูโรเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเวลา 00.01 นาฬิกา เมื่อนายกเทศมนตรีเมืองแซง-เดอนี เรอเน-ปอล วิกโตเรีย ซื้อลิ้นจี่ถุงหนึ่งในตล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเรอูนียง · ดูเพิ่มเติม »

เราะมะฎอน

ี้ยวของรอมฎอน เราะมะฎอน (رمضان; Ramadan) หรือสะกด "รอมะฎอน" หรือ "รอมฎอน" คือเดือนที่ 9 ของปฏิทินฮิจญ์เราะฮ์ในศาสนาอิสลาม เป็นเดือนที่มุสลิมถือศีลอดทั้งเดือน ด้วยเหตุนี้จึงเรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า "เดือนบวช" และถือว่าเป็นเดือนที่สำคัญที่สุดเดือนหนึ่ง มุสลิมจะต้องอดอาหารเพื่อที่จะได้เข้าถึงอัลลอฮ์ และเพื่อให้มีความอดทน (ตบะ), การอุทิศส่วนกุศล ระลึกถึงภาวะขาดแคลนอาหาร และผู้ที่ไม่ได้รับการดูแลจากสังคม เช่น คนยากจน เป็นต้น เดือนนี้ยังเป็นเดือนที่อัลกุรอานได้ถูกประทานลงมาเป็นทางนำให้กับมนุษย์ มุสลิมจึงต้องอ่านอัลกุรอาน เพื่อศึกษาถึงสิ่งที่พระเจ้าต้องการให้มนุษย์รู้ว่าการเป็นอยู่ในโลกนี้ และโลกหน้าจะเป็นอย่างไร จะต้องปฏิบัติธรรมะเพื่อตนเองอย่างไรบ้าง กิจกรรมพิเศษของมุสลิมนิกายซุนนี คือการละหมาดตะรอเวียะฮ์ในยามค่ำของเดือนนี้ เมื่อสิ้นเดือนเราะมะฎอนแล้ว จะมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 1 เดือนเชาวาล เรียกว่า อีดุลฟิฏริ หรือ วันอีดเล็ก ในปี พ.ศ. 2549 เดือนเราะมะฎอน (ฮ.ศ. 1426) เริ่มเมื่อวันที่ 21 กันยายน (ซาอุดีอาระเบีย อ่าวเปอร์เซีย และบางส่วนของในตะวันออกกลาง) และวันที่ 24 กันยายน ในที่อื่น ๆ (รวมทั้งส่วนอื่น ๆ ของตะวันออกกลาง) โดยมีกำหนดถึงวันที่ 21 ตุลาคม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเราะมะฎอน · ดูเพิ่มเติม »

เราะซูล

ราะซูลราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 452 (อาหรับ: رسول) แปลตามศัพท์ว่า "ผู้ถูกส่งมาเป็นสื่อ" ในศาสนาอิสลามใช้หมายถึงมนุษย์ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากอัลลอฮ์ฺพระผู้เป็นเจ้าให้ทำหน้าที่เผยแพร่ศาสนาของพระองค์ให้แก่หมู่ชน ซึ่งมีจำนวนหลายร้อยคน อัลกุรอานได้ระบุนามของเราะซูลในอดีตเพียง 25 ท่านได้แก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเราะซูล · ดูเพิ่มเติม »

เรือโนอาห์

รือโนอาห์ (Noah's Ark) ถูกกล่าวถึงในพระธรรมปฐมกาลบทที่ 6 ก่อนที่พระเจ้าจะทรงทำลายมนุษย์ด้วยการทำให้น้ำท่วมโลก พระองค์ทรงเห็นว่าโนอาห์เป็นคนชอบธรรม ดีพร้อมในสมัยนั้น และดำเนินกับพระเจ้า สัตว์ต่างๆ ชนิดละคู่พากันมาขึ้นเรือ การก่อสร้างเรือโนอาห.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเรือโนอาห์ · ดูเพิ่มเติม »

เรียม เพศยนาวิน

ปูวันมาเรียม บินตีอับดุลละห์ (Che’ Puan Mariam Binti Abdullah) หรือพระนามเดิมคือ เรียม เพศยนาวิน (20 เมษายน พ.ศ. 2465 – 29 กันยายน พ.ศ. 2529) เป็นสุภาพสตรีชาวไทยที่ดำรงตำแหน่งนางสาวไทยประจำปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเรียม เพศยนาวิน · ดูเพิ่มเติม »

เล็ก นานา

นายเล็ก นานา (18 มีนาคม พ.ศ. 2468 - 1 เมษายน พ.ศ. 2553) เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ คนที่ 9 อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และอดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร หลายสมั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเล็ก นานา · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐศาสตร์อิสลาม

ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม คือ ศาสตร์ที่ประมวลหลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยรวมของ อิสลาม เอาไว้ ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการจัดระบบฟื้นฟูเศรษฐกิจ และการแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ เพื่อสร้างความยุติธรรมแก่สังคม ทั้งนี้มนุษย์จะได้พบกับความผาสุกและไปถึงยังสังคมในอุดมคติที่บรรดาศาสดาและบรรดาอิมามแห่งพระผู้เป็นเจ้าเพียรพยายามให้บรรลุถึงเป้าหมายนั้น เรื่อง เศรษฐศาสตร์ เป็นเรื่องหนึ่งที่สำคัญที่สุดของมนุษยชาติ และอิสลามก็มีมุมมองเกี่ยวกับเรื่องนี้เป็นการเฉพาะ โดยทั่วไปแล้วคำว่า "เศรษฐศาสตร์อิสลาม" จะถูกใช้ประโยชน์ไปในกรณีต่างๆที่หลากหลายออกไป เช่น "วิชาเศรษฐศาสตร์อิสลาม" "สำนักคิดเศรษฐศาสตร์อิสลาม" "ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม" เกี่ยวกับ "วิชาเศรษฐศาสตร์อิสลาม" นั้นมีประเด็นละเอียดอ่อนที่ต้องระมัดระวัง หากไม่คำนึงถึงบทเบื้องต้นและประเด็นต่างๆนั้นแล้ว ก็ไม่สามารถนำเสนอเป้าหมายที่น่าเชื่อถือของคำนี้ได้ เมื่อพูดถึงคำว่า "ศาสตร์" โดยทั่วไปอันเป็นที่รู้กันก็จะอธิบายว่าหมายถึง วิชา หรือ วิทยาศาสตร์ นั่นเอง ซึ่งก็หมายถึงประมวลความรู้ที่ได้รับการยืนยันด้วยวิธีการทดลองที่เกิดขึ้นในยุคเรืองปัญญาในตะวันตก แล้วก็ค่อยๆพัฒนาขึ้นเรื่อยมา วิชาเศรษฐศาสตร์ا หรือ เศรษฐศาสตร์การเมือง ก็ไม่มีข้อยกเว้นสำหรับกฎข้อนี้เช่นกัน ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์อิสลามหรือทุกแนวคิดทางศาสนากับศาสตร์ด้านการทดลองเป็นไปในเชิงการเปรียบเทียบ เพราะเศรษฐศาสตร์ต้องให้คำตอบแก่คำถามที่ว่า ในวิชานี้พูดถึงเรื่องด้านต่างๆที่เกี่ยวกับคุณค่า ด้านจริยธรรมหรือเรื่องที่เกี่ยวกับความเหมาะสมหรือไม่อย่างไร? หากนักค้นคว้าด้านเศรษฐศาสตร์หรือนักปรัชญาด้านเศรษฐศาสตร์เชื่อว่า สามารถพบเรื่องต่างๆนี้ได้ในประมวลของเศรษฐศาสตร์หรือเศรษฐศาสตร์การเมือง โดยตรรกะแล้วเขาสามารถเชื่อในการมีอยู่ของเศรษฐศาสตร์อิสลาม อีกด้านหนึ่งหากบุคคลหนึ่งเชื่อว่าไม่มีเรื่องเกี่ยวกับคุณค่าทางจริธรรมอยู่เลยในเศรษฐศาสตร์หรือเศรษฐศาสตร์การเมือง ดังนั้น "เศรษฐศาสตร์อิสลาม"ถือว่าไม่มีความหมายในทัศนะของเขา บนพื้นฐานของการจำแนกดังกล่าวนี้ ชี้ให้เห็นว่ามีทัศนะต่างๆมากมายเกี่ยวกับ วิชาเศรษฐศาสตร์อิสลาม บ้างก็เชื่อว่าระหว่าง "สำนักคิดเศรษฐศาสตร์อิสลาม"กับ"ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม"นั้นแยกออกจากกัน ในทัศนะของพวกเขา ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลาม คือการนำเอาหลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆมาใช้ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วสำนักเศรษฐศาสตร์อิสลามก็ให้ความความสนใจเช่นกัน สามารถให้คำนิยามแก่ระบบเศรษฐศาสตร์อิสลามตามบันทัดฐานของการให้คำนิยามได้ว่า หมายถึง ศาสตร์ที่ประมวลหลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยรวมของ อิสลาม เอาไว้ ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิธีการจัดระบบฟื้นฟูเศรษฐกิจ และการแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ เพื่อสร้างความยุติธรรมแก่สังคม ทั้งนี้มนุษย์จะได้พบกับความผาสุกและไปถึงยังสังคมในอุดมคติที่บรรดาศาสดาและบรรดาอิมามแห่งพระผู้เป็นเจ้าเพียรพยายามให้บรรลุถึงเป้าหมายนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเศรษฐศาสตร์อิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

เสราฟิม

นักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซีเห็นนิมิตเสรัฟองค์หนึ่ง เสราฟิม (พหูพจน์) หรือ เสรัฟ (เอกพจน์) (שְׂרָפִים ''śərāfîm'', เอกพจน์ שָׂרָף ''śārāf''.; seraphi, เอกพจน์ seraph; σεραφείμ) คือชาวสวรรค์จำพวกหนึ่งตามความเชื่อในศาสนาอับราฮัม (ได้แก่ ยูดาห์ คริสต์ และอิสลาม) ในหนังสืออิสยาห์ บทที่ 6 กล่าวว่าเสรัฟแต่ละองค์มีปีก 3 คู่ คู่หนึ่งปิดหน้า คู่หนึ่งปิดเท้า และอีกคู่หนึ่งใช้บินไปมารอบบัลลังก์ของพระเป็นเจ้า ร้องสรรเสริญพระองค์อยู่ตลอดเวลาว่า "บริสุทธิ์ บริสุทธิ์ บริสุทธิ์ พระยาห์เวห์จอมทัพ แผ่นดินโลกทั้งสิ้นเต็มด้วยพระสิริของพระองค์" และยังมีหน้าที่พิเศษ เช่น ชำระบาปและกล่าวคำยกบาปด้วย นอกจากนี้ เสราฟิมยังถูกจัดอยู่กลุ่มทูตสวรรค์ชั้นเอกในลำดับชั้นของทูตสวรรค์ในศาสนาคริสต.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเสราฟิม · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางการค้า

้นทางการค้า (trade route) คือเส้นทางที่ในเครือข่ายที่บ่งว่าเป็นเส้นทางและจุดหยุดพักที่ใช้ในการขนส่งสินค้าไปยังตลาดที่อยู่ในดินแดนที่ไกลออกไปจากต้นแหล่งที่ผลิตสินค้ามาก เส้นทางการค้าแต่ละเส้นทางก็จะประกอบด้วยถนนสายหลัก (Arterial road) ที่อาจจะมีเครือข่ายย่อยๆ ที่ใช้เป็นเส้นทางการค้าและการคมนาคมมาบรรจบ ในประวัติศาสตร์ช่วงตั้งแต่ปี 1532 ก่อนคริสต์ศักราช จนถึง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเส้นทางการค้า · ดูเพิ่มเติม »

เหตุการณ์ยึดมัสยิด อัล-ฮะรอม

หตุการณ์ยึดมัสยิด อัล-ฮะรอม เกิดขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม..1979 เมื่อกลุ่มหัวรุนแรงต้องการที่จะโค่นราชวงค์ซะอู๊ด ยึดครองมัสยิด อัล-ฮะรอม ที่มักกะฮ์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย มูฮัมหมัด อับดุลลอฮ์ อัล-กอฮ์ตานีได้อ้างว่าตนเป็นมะฮ์ดี (ผู้ฟื้นฟูอิสลาม) แล้วเรียกให้มุสลิมทุกคนเชื่อฟังเขา โดยประมาณสองสัปดาห์ กองกำลังพิเศษของซาอุดีอาระเบียได้รับสนับสนุนกองทัพจากปากีสถานและฝรั่งเศส แล้วสู้เพื่อยึดมัสยิดกลับคืนมา เรื่องนี้ทำให้โลกอิสลามตกใจ เพราะมีการยึดสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลาม, นำตัวประกันจากผู้แสวงบุญ และการตายของผู้ก่อการร้าย, กองกำลังรักษาความปลอดภัย และตัวประกันมากกว่าร้อยชีวิต การยึดได้สิ้นสุดลงภายในสองสัปดาห์และมัสยิดได้ถูกทำความสะอาดให้เรียบร้อย อัล-กอฮ์ตานีถูกฆ่าในระหว่างการจับกุม แต่ญุฮัยมานและผู้ติดตามอีก 67 คนถูกจับแล้วถูกประหารชีวิตโดยการตัดหัว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเหตุการณ์ยึดมัสยิด อัล-ฮะรอม · ดูเพิ่มเติม »

เหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554

หตุโจมตีในนอร์เว..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร

Aberdeen Bestiary) (folio 4v) การตกแต่งตัวพยัญชนะตัวแรกและขอบอย่างวิจิตรใน “หนังสือกำหนดเทศกาล” ของฝรั่งเศส ราวปี ค.ศ. 1400 เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร (Illuminated manuscript) หรือหนังสือตัวเขียนสีวิจิตร คือเอกสารตัวเขียนที่ตัวหนังสือตกแต่งเพิ่มเติมด้วยสีสรรค์เช่นตัวหนังสือตัวแรกที่ขยายใหญ่ขึ้นและเล่นลายอย่างวิจิตร หรือเขียนขอบคัน หรือทำเป็นจุลจิตรกรรม ตามความหมายตรงตัวจะหมายถึงต้นฉบับที่ตกแต่งด้วยเงินและทอง แต่การใช้กันโดยทั่วไปโดยนักวิชาการสมัยใหม่ในปัจจุบันจะหมายถึงต้นฉบับใดก็ได้ที่มีการตกแต่งหรือหนังสือประกอบภาพจากทั้งทางตะวันตกและทางศาสนาอิสลาม งานเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรฉบับแรกที่สุดที่มีการตกแต่งพอประมาณมาจากสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 ถึงที่ 7 ส่วนใหญ่ทำในไอร์แลนด์, อิตาลี และประเทศอื่นๆ บนผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ความสำคัญของเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรมิใช่เพียงคุณค่าทางวรรณกรรมแต่ยังมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ด้วย ซี่งจะเห็นได้จากต้นฉบับเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรที่ทำให้เราเรียนรู้ถึงประวัติศาสตร์ โรมันและ กรีกที่ตกแต่งโดยผู้บันทึกและตกแต่งหนังสือตามอาราม เอกสารตัวเขียนสีวิจิตรส่วนใหญ่ที่ยังหลงเหลืออยู่ในปัจจุบันมาจากยุคกลางแม้ว่าการสร้างเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจะทำกันมาจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 15 เนื้อหาของงานส่วนใหญ่ในสมัยแรก ๆ จะเป็นงานศาสนา แต่ต่อมาโดยเฉพาะในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก็เริ่มมีงานทางโลกเพิ่มขึ้น และเกือบทั้งหมดจะทำเป็นหนังสือแต่ก็มีบ้างที่เป็นม้วนหรือเป็นแผ่นเดียวเขียนบนหนัง (อาจจะเป็นหนังลูกวัว, แกะ, หรือแพะ) ที่มีคุณภาพดี หลังปลายยุคกลางวัสดุที่ใช้เขียนก็เปลี่ยนมาเป็นกระดาษ เมื่อวิวัฒนาการพิมพ์เพิ่งเริ่มใหม่ๆ ผู้พิมพ์ก็อาจจะทิ้งช่องว่างไว้สำหรับพยัญชนะตัวแรก, ขอบ หรือ ภายเขียนย่อส่วนแต่การพิมพ์ทำให้ ศิลปะการทำเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรเสื่อมความนิยมลง แต่ก็ทำกันต่อมาจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 แต่น้อยลงมากและทำสำหรับผู้มีฐานะดีจริงๆ เท่านั้น นอกจากเอกสารตัวเขียนสีวิจิตรจะเป็นตัวอย่างของสิ่งที่หลงเหลือมาจากยุคกลางแล้วก็ยังเป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมที่มาจากยุคกลางด้วย และบางครั้งก็เป็นจิตรกรรมอย่างเดียวที่เหลืออยู่จากยุคนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอกสารตัวเขียนสีวิจิตร · ดูเพิ่มเติม »

เอกเทวนิยม

อกเทวนิยมราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 364 (Monotheism มาจากภาษาμόνος, monos - เดียว, และ θεός, theos - เทพ) คือความเชื่อว่ามีพระเป็นเจ้าเป็นเทวดาองค์เดียว หรือความเชื่อว่าพระเป็นเจ้าเป็นหนึ่งเดียว (ไม่ทรงแบ่งภาค) แนวคิดเอกเทวนิยมแบบบริสุทธิ์พบในศาสนายูดาห์และศาสนาอิสลาม ส่วนแบบอ่อนพบในศาสนาคริสต์ส่วนใหญ่ ลัทธิซาเบียน นิกายมอรมอน และศาสนาอื่น ๆ เช่น ศาสนาโซโรอัสเตอร์ ศาสนาบาไฮ ศาสนาซิกข์ และศาสนาฮินดูในบางสำนัก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอกเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตบูคารา

อมิเรตบูคารา (Emirate of Bukhara; شاهنشاهی بخارا; Buxoro amirligi) เป็นรัฐที่อยู่ในเอเชียกลาง บริเวณทรานส์ออกเซียนา (พื้นที่ระหว่างแม่น้ำอามูดาร์ยาและแม่น้ำซีร์ดาร์ยา) สถาปนาโดยชาห์ มูราด ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอมิเรตบูคารา · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตญะบัลชัมมัร

อมิเรตญะบัลชัมมัร (Emirate of Jabal Shammar; إمارة جبل شمر) หรือ เอมิเรตฮาอิล หรือ เอมิเรตราชวงศ์เราะชีด เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนัจญด์ในคาบสมุทรอาหรับ ดำรงอยู่ระหว่างกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอมิเรตญะบัลชัมมัร · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตอัฟกานิสถาน

อมิเรตอัฟกานิสถาน (Emirate of Afghanistan; د افغانستان امارت) เป็นเอมิเรตที่ปกครองอัฟกานิสถานระหว่างปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอมิเรตอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตอิสลามอัฟกานิสถาน

อมิเรตอิสลามอัฟกานิสถาน (Islamic Emirate of Afghanistan, د افغانستان اسلامي امارات) เป็นรัฐบาลที่จัดตั้งโดยกลุ่มตอลิบานหลังยึดกรุงคาบูลได้ในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอมิเรตอิสลามอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์

อมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์ (Emirate of Nejd and Hasa; إمارة نجد والأحساء) หรือ รัฐซาอุดีที่สาม หรือ เอมิเรตริยาดMadawi Al-Rasheed.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอนดน มะห์มูด

ตน เอนดน มะห์มูด อัมบะก์ (Endon Mahmood Ambak; เกิด: 24 ธันวาคม ค.ศ. 1940 — ตาย: 20 ตุลาคม ค.ศ. 2005) เป็นอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศมาเลเซีย โดยเป็นภรรยาคนแรกของอับดุลละห์ อะห์มัด บาดาวี เธอเสียชีวิตเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอนดน มะห์มูด · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ลวีรา เดวีนามีรา

อ็ลวีรา เดวีนามีรา วีรายันตี (Elvira Devinamira Wirayanti; เกิดเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1993 ในเมืองซูราบายา จังหวัดชวาตะวันออก) เป็นชาวอินโดนีเซีย และเป็นเจ้าของตำแหน่งปูเตอรีอินโดเนเซีย 2014 เธอได้รับการสวมมงกุฎจากมารีอา กาเบรียลา อิสเลร์ นางงามจักรวาล 2013 และ วูลันดารี เฮอร์แมน ปูเตอรีอินโดเนเซีย 2013 เอ็ลวีราจะไปเป็นตัวแทนของในการประกวดนางงามจักรวาล 2014.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอ็ลวีรา เดวีนามีรา · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันตกเฉียงใต้

ริเวณที่อาจนับได้ว่าเป็นบอลข่านและแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือ เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ (Southwest Asia) หรืออาจเรียกว่า เอเชียตะวันตก หรือ ตะวันออกใกล้ และตะวันออกกลาง ล้อมรอบด้วยทะเล 5 แห่งคือทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลดำ ทะเลแคสเปียน ทะเลอาหรับ ทะเลแดง และดินแดนในภูมิภาคนี้มีความเจริญทางอารยธรรมอย่างมากเช่น อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไทกริส-ยูเฟรทีส ภูมิภาคนี้มีพื้นที่ประมาณ 6,835,500 ตารางกิโลเมตร มีศาสนาที่สำคัญคือศาสนาอิสลาม ศาสนายูดายห์ของอิสราเอล และมีนับถือศาสนาคริสต์ในไซปรัส ปัจจุบันภูมิภาคนี้ยังคงมีความแตกแยกกันในเรื่องเชื้อชาติและศาสนา บางประเทศอาจถูกจัดให้อยู่ในทวีปยุโรปแทน เนื่องจากมีลักษณะทางวัฒนธรรมจากทวีปยุโรปมากกว่า ได้แก่ ไซปรัส อาร์มีเนีย จอร์เจีย และอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เอเดน อับดุลลาห์ ออสมัน ดาร์

อเดน อับดุลลาห์ ออสมัน ดาร์ (Aadan Cabdulle Cismaan Daar, آدم عبد الله عثمان دار) (พ.ศ. 2471 – 8 มิถุนายน พ.ศ. 2550) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม เอเดน อับดี เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลีย เขาเป็นประธานาธิบดีคนแรกของโซมาเลีย ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเอเดน อับดุลลาห์ ออสมัน ดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เผ่า ศรียานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ (1 มีนาคม พ.ศ. 2452 — 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2503) อดีตอธิบดีกรมตำรว..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเผ่า ศรียานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

เจมี ฟ็อกซ์

มี่ ฟ็อกซ์ (Jamie Foxx) เกิดเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1967 เป็นนักแสดงเจ้าของรางวัลออสการ์ในปี 2004 รับบทเป็นนักดนตรีผู้เป็นตำนาน เรย์ ชาร์ลส์ เรื่อง Ray และจากบทนี้ก็ยังได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ, รางวัลจากสมาคมนักแสดง, รางวัลบาฟต้า และรางวัล NAACP Image นอกจากเป็นนักแสดงแล้ว ยังเป็นนักร้อง เป็นตลกเจ้าของรายการ The Jamie Foxx Show.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเจมี ฟ็อกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจะอามิง โตะตาหยง

อามิง โตะตาหยง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส พรรคประชาธิปัตย์ เป็นอดีตประธานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ ในสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 เกิดวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2497 ที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรของ นายหะยีเจ๊ะดาราแม และนางหะยีวาเย๊าะ โตะตาหยง นายเจะอามิง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา จาก มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา อดีตนักข่าวและเป็นเจ้าของ ธุรกิจการค้ายางพารา โรงเลื่อยไม้ยางพารา และ รับเหมาก่อสร้าง ก่อนเข้าสู่วงการเมืองระดับประเทศ เคยทำงานการเมืองระดับท้องถิ่นมาก่อน จนกระทั่งได้รับตำแหน่งเป็น ประธานสภาจังหวัดนราธิวาส นายเจะอามิง เป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทแสดงความคิดเห็นผ่านสื่อสาธารณะ เกี่ยวกับปัญหาความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างสม่ำเสมอ ทั้งการให้สัมภาษณ์ และเขียนบทความลงใน หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน โดยได้รับมอบหมายจากพรรคให้ดูแล นโยบายการแก้ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในฐานะกรรมาธิการแก้ไขปัญหาความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเจะอามิง โตะตาหยง · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)

้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) เป็นมุสลิมชีอะหฺอิษนาอะชะรียะหฺ (สิบสองอิมาม) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2086 ณ ตำบลปาอีเนะชาฮาร ในเมืองกุม ซึ่งเป็นเมืองศูนย์กลางของศาสนาอิสลามตั้งอยู่บนที่ราบต่ำทางตอนเหนือของเตหะราน ในประเทศอิหร่าน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فادية Fādiya, ประสูติ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1943-26 ธันวาคม ค.ศ. 2002) พระราชธิดาองค์เล็กในพระเจ้าฟารุกที่ 1 แห่งอียิปต์ และสมเด็จพระราชินีฟารีดาแห่งอียิปต์ พระมเหสีพระองค์แรก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเจ้าหญิงฟาดียะห์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมูนา อัลฮุซัยน์

้าหญิงมูนา อัลฮุซัยน์ (منى الحسين) มีพระนามเดิมว่า แอนทัวเนตต์ แอวริล การ์ดิเนอร์ (Antoinette Avril Gardiner; 25 เมษายน พ.ศ. 2484) เป็นสุภาพสตรีชาวสหราชอาณาจักร อดีตพระชายาลำดับที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีฮุซัยน์ และเป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ์ที่ 2.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเจ้าหญิงมูนา อัลฮุซัยน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์

้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ (فوزية بنت فؤاد الأول.; فوزیه فؤاد; ประสูติ: 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 1921 — สิ้นพระชนม์: 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2013) เจ้าหญิงแห่งอียิปต์และอดีตสมเด็จพระราชินีในโมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ชาห์อิหร่าน หลังจากการเสกสมรสอีกครั้งใน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเจ้าหญิงเฟาซียะห์แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

เทวาธิปไตย

ทวาธิปไตย (Theocracy) คือระบอบการปกครองที่มีพระเจ้าหรือเทพเป็นประมุข หรือในความหมายกว้าง ๆ คือระบอบการปกครองที่รัฐปกครองโดยอำนาจจากเทพ (divine guidance) หรือโดยผู้ที่ถือกันว่าได้รับอำนาจหรือการดลใจโดยตรงจากเทพ ในภาษากรีกคอยนี (Koine Greek) หรือภาษากรีกสามัญคำว่า “theocracy” มาจากคำว่า “kra′tos” โดย “the.os” หรือ “ปกครองโดยพระเจ้า” สำหรับผู้มีความศรัทธาแล้วระบบนี้ก็เป็นระบอบการปกครองที่ใช้อำนาจจากเทพในการปกครองมวลมนุษย์ในโลก ไม่โดยผู้ที่เป็นเทพกลับชาติมาเกิด (incarnation) ก็มักจะโดยผู้แทนของศาสนจักรที่มีอำนาจเหนืออาณาจักร รัฐบาลที่ปกครองโดยระบบเทวาธิปไตยปกครองโดยเทพธรรมนูญ (theonomy) ระบอบเทวาธิปไตยควรจะแยกจากระบบการปกครองอื่น ๆ ที่มีศาสนาประจำชาติ (state religion) หรือรัฐบาลที่มีอิทธิพลจากเทวปรัชญาหรือศีลธรรม หรือระบบราชาธิปไตยที่ปกครอง “โดยพระคุณของพระเจ้า” (By the Grace of God) เทวาธิปไตยอาจจะเป็นระบบการปกครองเดี่ยวที่ฐานันดรระดับต่าง ๆ ของรัฐบาลที่ปกครองโดยฝ่ายอาณาจักรเป็นฐานันดรระดับเดียวกันกับที่ใช้ในการปกครองในศาสนจักร หรืออาจจะแบ่งเป็นสองระบบที่แยกฐานันดรระหว่างอาณาจักรและศาสนจักร การปกครองเทวาธิปไตยเป็นระบบที่ใช้ในหลายศาสนาที่ได้แก่ ศาสนาขงจื๊อ ศาสนายูดาห์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู พุทธศาสนาบางนิกายเช่นทะไลลามะ และ คริสต์ศาสนาบางนิกายที่รวมทั้งโรมันคาทอลิก อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ โปรเตสแตนต์ และมอร์มอน ตัวอย่างของการปกครองระบบเทวาธิปไตยของคริสต์ศาสนาก็ได้แก่การปกครองของจักรวรรดิไบแซนไทน์ระหว่าง..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทวาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

เทวนิยม

หล่าทวยเทพในภาพ ''The Triumph of Civilization'' (ชัยชนะแห่งความศิวิไลซ์) เทวนิยม (Theism) ในความหมายอย่างกว้างหมายถึงความเชื่อว่ามีพระเป็นเจ้าหรือเทพเจ้า ความหมายอย่างแคบคือเชื่อแบบเอกเทวนิยมว่ามีพระเจ้าองค์เดียวและทรงสัมพันธ์กับการดำรงอยู่ของเอกภพ เทวนิยมยังเชื่อว่าพระเจ้าทรงเป็นบุคคล และมีอำนาจปกครองและจัดการโลกและเอกภพ แนวคิดตามแบบแผนนี้อธิบายพระเจ้าในเชิงเอกเทวนิยมซึ่งปรากฏในศาสนายูดาห์ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดูในบางสำนัก คำว่า Theism ตามแนวคิดนี้เกิดขึ้นในช่วงการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เพื่อให้ต่างจากคำว่าเทวัสนิยม ที่เชื่อว่ามีพระเจ้าเป็นอุตตรภาวะสูงสุด แต่พระเจ้ามิได้ทรงแทรกแซงโลกตามธรรมชาติ และมนุษย์รู้จักพระองค์ได้ด้วยการใช้เหตุผล ไม่ใช่โดยการวิวรณ์ ส่วนสรรพเทวนิยมเชื่อว่าสรรพสิ่งคือพระเจ้า และพหุเทวนิยมเชื่อว่ามีเทวดาหลายองค์ แต่ละองค์มีอำนาจต่าง ๆ กันไป คำว่า Theism มาจาก theos ในภาษากรีกที่แปลว่า เทพ นักปรัชญาชื่อ Ralph Cudworth ใช้คำนี้เป็นคนแรก ส่วนอเทวนิยมเป็นการปฏิเสธความเชื่อแบบเทวนิยมในความหมายกว้าง คือไม่เชื่อว่ามีพระเจ้าองค์เดียว ถ้าปฏิเสธพระเจ้าในความหมายแคบ จะเรียกว่า เทวัสนิยม สรรพเทวนิยม พหุเทวนิยม ตามแต่ลักษณะของความเชื่อ ถ้าเห็นว่าพระเจ้าหรือเทวดาจะมีอยู่หรือไม่เราก็รู้ไม่ได้เรียกว่าอไญยนิยม ถ้าเชื่อว่ารู้ได้ (ว่ามีหรือไม่มี) ก็ถือว่าเป็นเทวนิยมหรืออเทวนิยม (ตามแต่ลักษณะความเชื่อ) เทวนิยมและอเทวนิยมจึงเป็นยืนยันหรือปฏิเสธการดำรงอยู่ของพระเจ้า แต่อไญยนิยมปฏิเสธการรับรู้ ผู้ที่ไม่มีศาสนาจะไม่เชื่อในเรื่องการมีสิ่งศักดิ์สิทธื์ใด ๆ เลย ศาสนาพุทธอาจจัดว่าเป็นทั้งเทวนิยมและอเทวนิยม นิกายเถรวาทและนิกายเซน เชื่อในกฎธรรมชาติ สร้างสรรพสิ่ง จัดเป็นอเทวนิยม นิกายสุขาวดีและวัชรยาน เชื่อว่ามีพระอาทิพุทธะเป็นผู้สร้างโลกและสรรพสิ่งเฉกเช่นพระเจ้า จึงอาจจัดนิกายเหล่านี้เป็นเทวนิยมได้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทวนิยม · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลตำบลชะรัด

ทศบาลตำบลชะรัด เป็นตำบลหนึ่งของอำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง อยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ตำบลชะรัด เป็นตำบลดั้งเดิมของอำเภอกงหรา มีตำนานการสร้างเมืองชะรัด มีทวดมรโหม ซึ่งเป็นผู้ก่อกำเนิดชุมชน อิสลามครั้งแรกที่ชุมชนบ้านชะรัด ชุมชนบ้านชะรัดเป็นชุมชนใหญ่ มีประเพณีวัฒนธรรมที่ถือแบบอย่างมาจากเมืองปัตตานี และได้ขยายออกเป็นชุมชนหลายชุมชนในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทศบาลตำบลชะรัด · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครยะลา

ทศบาลนครยะลา เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่งในประเทศไทย และ เป็นเทศบาลในจังหวัดยะล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทศบาลนครยะลา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครหาดใหญ่

นครหาดใหญ่ เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หาดใหญ่ถือได้ว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และเป็นเทศบาลนครที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 3 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี และเทศบาลนครปากเกร็ด เนื่องจากเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า และการคมนาคมขนส่งที่สำคัญของภาคใต้ หาดใหญ่ได้ยกฐานะเป็นเทศบาลนครหาดใหญ่เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทศบาลนครหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นเทศบาลนครแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เป็นเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้กำหนดให้เป็นเมืองหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นศูนย์กลางการค้า การพาณิชย์ การคมนาคมทางบก และอุตสาหกรรม โดยปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทศบาลนครนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครเชียงใหม่

ียงใหม่ (40px) เป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และเป็นเมืองวัฒนธรรมที่สำคัญที่สุดในภาคเหนือของประเทศไทย เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดเชียงใหม่ และเป็นอดีตนครหลวงแห่งอาณาจักรล้านนา ห่างจากกรุงเทพมหานครไปทางทิศเหนือเป็นระยะทาง มีแม่น้ำปิงไหลผ่านเมือง และตั้งอยู่ท่ามกลางภูเขาที่สูงที่สุดของประเทศ เขตเทศบาลมีพื้นที่ 40.22 ตารางกิโลเมตร โดยครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของอำเภอเมืองเชียงใหม่ ในแง่ของจำนวนประชากรของเทศบาลนครเชียงใหม่ซึ่งมีประมาณ 130,000 คน ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง นับว่าเป็นเทศบาลที่มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 4 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี เทศบาลนครปากเกร็ด และเทศบาลนครหาดใหญ่ นอกจากนี้ เทศบาลนครเชียงใหม่ยังเป็นเทศบาลนครแห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทศบาลนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองบุรีรัมย์

ทศบาลเมืองบุรีรัมย์ เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทเทศบาลเมือง มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลในเมือง อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ภายในเขตเทศบาลเป็นที่ตั้งของหน่วยงานการบริหาร สถานศึกษา สถานพยาบาลและสาธารณสุข ตลอดจนเป็นศูนย์กลางการคมนาคมของจังหวัดบุรีรัมย์ มีพื้นที่ทั้งหมด 6.0 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 3,750 ไร่ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองบ้านสวน

ลาว่าการเทศบาลเมืองบ้านสวน เทศบาลเมืองบ้านสวน เป็นเทศบาลในเขตอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี โดยมีลักษณะเป็นเมืองปริมณฑลที่รองรับการขยายตัวของเมืองชลบุรีในปัจจุบัน เมืองบ้านสวน กลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่มีประชากรอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากแห่งหนึ่งของจังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทศบาลเมืองบ้านสวน · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองพนัสนิคม

แผนที่เมืองพนัสนิคม หอพระพนัสบดี เทศบาลเมืองพนัสนิคม พระพนัสบดี เทศบาลเมืองพนัสนิคม หรือ เมืองพนัสนิคม ตั้งอยู่ในเขตอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี เป็นเทศบาลขนาดกลางมีเนื้อที่ครอบคลุมตำบลพนัสนิคมทั้งตำบล โดยเทศบาลเมืองพนัสนิคมถูกจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 14 มีนาคม พ.ศ. 2480 ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง มีพื้นที่ 2.76 ตารางกิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 87 กิโลเมตร ห่างจากตัวเมืองชลบุรี 22 กิโลเมตร ห่างจากตัวเมืองฉะเชิงเทรา 28 กิโลเมตร.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทศบาลเมืองพนัสนิคม · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองตราด

ทศบาลเมืองตราด จัดตั้งขึ้นในปี พุทธศักราช 2478 โดยคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในพระปรมาภิไธย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ตามพระราชกฤษฎีกาการจัดตั้งเทศบาลเมืองตราด จังหวัดตราด พุทธศักราช 2478 ตราไว้ ณ วันที่ 7 ธันวาคม 2478 เห็นควรจัดตั้งเขตชุมชน ซึ่งมีสภาพเป็นสุขาภิบาลเมืองตราดให้มีฐานะเป็นเทศบาลเมือง.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทศบาลเมืองตราด · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองเบตง

ตง (勿洞) เป็นเทศบาลเมืองในภาคใต้ของประเทศไทย ตั้งอยู่ใกล้กับเขตแดนประเทศมาเลเซีย ในอำเภอเบตง จังหวัดยะลา มีพื้นที่ทั้งหมด 78 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของประเทศไทย มีประชากรในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเทศบาลเมืองเบตง · ดูเพิ่มเติม »

เขตพะโค

ตพะโค (ပဲခူးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ทางเหนือของเขตติดต่อกับเขตมาเกวและเขตมัณฑะเลย์ ทางตะวันออกกับรัฐกะเหรี่ยง รัฐมอญ และอ่าวเมาะตะมะ ทางใต้กับเขตย่างกุ้ง และทางตะวันตกกับเขตอิรวดีและรัฐยะไข่ พิกัดภูมิศาสตร์ของเขตพะโคได้แก่ 46°45' เหนือ, 19°20' เหนือ, 94°35' ตะวันออก และ 97°10' ตะวันออก.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเขตพะโค · ดูเพิ่มเติม »

เขตมัณฑะเลย์

ตมัณฑะเลย์ (မန္တလေးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า อยู่ในบริเวณภาคกลาง เมืองหลวงของเขตคือเมืองมัณฑะเลย์ซึ่งตั้งอยู่ตอนกลาง และเมืองหลวงของประเทศคือเนปยีดอซึ่งตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตนี้.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเขตมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

เขตย่างกุ้ง

ตย่างกุ้ง (ရန်ကုန်တိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ใจกลางบริเวณพม่าตอนล่าง มีเมืองหลวงคือย่างกุ้ง ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและอดีตเมืองหลวงของประเทศ เมืองที่สำคัญอื่น ๆ เช่น สิเรียมและตวูนเต เขตนี้เป็นพื้นที่มีการพัฒนามากที่สุดของประเทศและเป็นประตูสู่นานาชาติ เขตย่างกุ้งมีเนื้อที่ 10,276.7 ตารางกิโลเมตร (3,967.9 ตารางไมล์).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเขตย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เขตอิรวดี

ตอิรวดี (ဧရာဝတီတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ครอบคลุมพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำของแม่น้ำอิรวดี ตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 15° 40' ถึง 18° 30' เหนือ ลองจิจูด 94° 15' ถึง 96° 15' ตะวันออก มีเนื้อที่ 13,566 ตารางไมล์ (35,140 ตารางกิโลเมตร) มีประชากรมากกว่า 6.5 ล้านคน ทำให้เขตอิรวดีมีประชากรมากที่สุดเมื่อเทียบกับรัฐหรือเขตอื่นของพม่า ความหนาแน่นของประชากรเป็น 466 คนต่อตารางไมล์ (180 คนต่อตารางกิโลเมตร) มีเมืองหลวงชื่อพะสิม (Pathein) เขตอิรวดีมีภูเขายะไข่ (ทิวเขาอะระกัน) กระหนาบข้างในพื้นที่ทางทิศตะวันตก และพื้นที่ส่วนใหญ่ถูกแผ้วถางสำหรับการเพาะปลูกข้าว ทำให้มีชื่อเสียงในเรื่องแหล่งผลิตข้าวหลักของประเทศในศตวรรษที่ 21 เขตอิรวดีก็มีทะเลสาบจำนวนหนึ่ง ในบรรดาลำน้ำสาขาที่แยกออกจากแม่น้ำอิรวดี แม่น้ำที่มีชื่อเสียงได้แก่ แม่น้ำงะวูน (Ngawun) แม่น้ำพะสิม และแม่น้ำโต (Toe).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเขตอิรวดี · ดูเพิ่มเติม »

เขตดาเบา

ตดาเบา หรือชื่อเดิม เซาเทิร์นมินดาเนา (Timog Mindanao) หรือ เขตที่ 11 เป็นเขตหนึ่งของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะมินดาเนา ประกอบไปด้วย 5 จังหวัด ล้อมรอบด้วยอ่าวดาเบา เมืองศูนย์กลางของเขตนี้คือดาเบา สภาพภูมิอากาศ มีฝนตกตลอดทั้งปี และตั้งอยู่ในแนวพายุไต้ฝุ่น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเขตดาเบา · ดูเพิ่มเติม »

เขตตะนาวศรี

ตะนาวศรี (တနင်္သာရီတိုင်းဒေသကြီး, ตะนี้นตายี; ဏၚ်ကသဳ หรือ တနၚ်သြဳ) เป็นเขตที่ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศพม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเขตตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิม

ตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิม (Awtonomong Rehiyon sa Muslim Mindanao, الحكم الذاتي الاقليمي لمسلمي مندناو Al-ḥukm adh-dhātiyy al-'aqlīmiyy limuslimiyy mindanāu; ตัวย่อ: ARMM) เป็นเขตปกครองตนเองบนเกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ ประกอบด้วย 5 จังหวัดที่ประชากรนับถือศาสนาอิสลามเป็นศาสนาหลัก เขตนี้เป็นเพียงเขตเดียวของประเทศที่มีรัฐบาลปกครองเป็นของตนเอง ศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่โกตาบาโตซิตี.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเขตปกครองตนเองในมินดาเนามุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

เดอะวัน (อัลบั้มเพลง)

อะวัน (The One) เป็นชื่ออัลบั้มเพลงชุดที่หกของวงดนตรี ซิลลี่ ฟูลส์ วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2551 ชุดนี้มีการเปลี่ยนแปลงในตำแหน่งนักร้องนำโดย "โต" ณัฐพล พุทธภาวนา โดยสมาชิกของวงอีก 3 คน คือ จักรินทร์ จูประเสริฐ เทวฤทธิ์ ศรีสุข และ ต่อตระกูล ใบเงิน เกิดความเห็นที่ไม่ตรงกันในบางเรื่อง และการทำงานของโตที่ขัดกับหลักศาสนาอิสลาม จนต้องแยกทางกัน และเป็น "เบน" เบนจามิน จุง ทัฟเนล ลูกครึ่งเกาหลี-อเมริกัน ที่มีเสียงแหบกังวานอันเป็นเอกลักษณ์ เข้ามาทำงานแทนกับบ้านหลังใหม่ จาก จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ไปอยู่ที่ บริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) เพลงฮิตในอัลบั้มนี้ได้แก่เพลง โง่ เราเป็นคนเลือกเอง รั้งรอ และเหนื่อยแล้ว นอกจากนี้ ยังได้ออกอัลบั้ม The One ในรูปแบบ Limited Edition โดยเป็นการเปลี่ยนเนื้อเพลงจากภาษาไทย เป็นภาษาอังกฤษ แต่ใช้ดนตรีเดิม.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเดอะวัน (อัลบั้มเพลง) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะซิมป์สันส์

อะซิมป์สันส์ (The Simpsons) เป็นรายการการ์ตูนซิตคอมในสหรัฐอเมริกา สร้างโดย แม็ตต์ เกรนิง สำหรับ บริษัทฟ็อกซ์บรอดแคสติง มีเนื้อเรื่องตลกเสียดสีวิถีชีวิตชนชั้นกลางของชาวอเมริกัน โดยผ่านตัวละครในครอบครัวคือ โฮเมอร์, มาร์จ, บาร์ต, ลิซา และ แม็กกี โดยมีเนื้อหาเกิดที่เมืองที่ชื่อ สปริงฟิลด์ ที่ถากถางมุมมองของสังคมมนุษย์ วัฒนธรรมอเมริกัน สังคมทั้งหมดและวงการโทรทัศน์ แนวความคิดเรื่องตัวละครเกิดจากเกรนิง ก่อนที่เขาจะนำไปสร้างขึ้นเป็นตอนสั้น ๆ โดยผู้สร้าง เจมส์ แอล.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเดอะซิมป์สันส์ · ดูเพิ่มเติม »

เด่น โต๊ะมีนา

น โต๊ะมีนา นักการเมือง ชาวปัตตานี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดปัตตานี และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลายสมั.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเด่น โต๊ะมีนา · ดูเพิ่มเติม »

เด่นเก้าแสน เก้าวิชิต

นเก้าแสน เก้าวิชิต (ชื่อจริง: สุเทพ หวังมุก; ชื่อเล่น: มะ) เป็นอดีตแชมป์โลกในรุ่นฟลายเวท ของสมาคมมวยโลก (WBA) นับเป็นนักมวยชาวไทยคนแรกที่มีโอกาสชิงแชมป์โลกถึง 3 ครั้งและประสบความสำเร็จ ซึ่งก่อนหน้านั้นมีนักมวยไทย 2 คนที่ได้ชิงแชมป์โลกถึง 3 ครั้ง แต่ไม่ประสบความสำเร็จ คือ จำเริญ ทรงกิตรัตน์ และ ถนอมศักดิ์ ศิษ.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเด่นเก้าแสน เก้าวิชิต · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย

รือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนีย (Rzeczpospolita Obojga Narodów; Polish-Lithuanian Commonwealth) มีชื่อเป็นทางการว่า “Rzeczpospolita Korony Polskiej i Wielkiego Księstwa Litewskiego” หรือที่รู้จักกันในนาม “สาธารณรัฐโปแลนด์ที่หนึ่ง” (First Polish Republic) หรือ “สาธารณรัฐแห่งสองชาติ” (Republic of the Two Nations) (Pierwsza Rzeczpospolita หรือ Rzeczpospolita Obojga Narodów; Abiejų tautų respublika) เป็นเครือจักรภพที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุด, accessed on 19 March 2006: At its apogee, the Polish-Lithuanian Commonwealth comprised some 400000 sqare mile and a multi-ethnic population of 11 million. For population comparisons, see also those maps:,. แห่งหนี่งในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โครงสร้างทางการเมืองเป็นกึ่งสหพันธรัฐ กึ่งราชาธิปไตย เครือจักรภพก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยยศไทย

รื่องยศ หรือ เครื่องราชอิสริยยศ คือ เครื่องหมายแสดงเกียรติยศ เครื่องประกอบยศ และบำเหน็จความชอบที่พระมหากษัตริย์ไทยตั้งแต่สมัยโบราณสร้างขึ้นเพื่อ พระราชทานให้แก่ ราชตระกูล ขุนนาง ข้าราชการ และบุคคลทั่วไป ที่มีตำแหน่ง หน้าที่ ความชอบในแผ่นดินให้ปรากฏตามยศชั้น และฐานันดรศักดิ์นั้นๆ ของผู้ได้รับพระราชทาน จากจดหมายเหตุของ นิโคลาส แซแว กล่าวถึงความหมายของเครื่องยศในสมัยกรุงศรีอยุธยาว่า เราจะรู้จักความสำคัญของขุนนางเหล่านี้ในหน้าที่สาธารณได้ ไม่เพียงแต่จากหีบหมากพระราชทาน จากรูปพรรณและเนื้อโลหะ ขอบหลอมพอก จากฐานะของเรือที่ใช้เป็นยานพาหนะ จากดาบที่คาด หรือที่มีผู้เชิญไปข้างหน้าเท่านั้น แต่ยังจะรู้ได้จากจำนวนทาสที่ติดตามหลังอีกด้ว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเครื่องราชอิสริยยศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน

ลีฟะฮ์ บิน ซายิด บิน สุลฏอน อัลนะฮ์ยาน (خليفة بن زايد بن سلطان آل نهيان.; Khalifa bin Zayed Al Nahyan) หรือ เชคเคาะลีฟะฮ์ หรือ เชคนะฮ์ยาน ประธานาธิบดีคนที่สองแห่งสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์และเป็นเจ้าผู้ครองนครอาบูดาบี ดำรงตำแหน่งสืบต่อจากเชคซายิด บิน สุลฏอน อัลนะฮ์ยาน ผู้เป็นพระราชบิดา เชคเคาะลีฟะฮ์เคยดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ตั้งแต่ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร และก่อตั้งประเทศเมื่อ..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีอิเดสซา

น์ตีอิเดสซา (County of Edessa) เป็นหนึ่งในนครรัฐครูเสด (crusader states) ของคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่มีอาณาบริเวณอยู่รอบตัวเมืองอิเดสซา เคาน์ตีอิเดสซาแตกต่างจากนครรัฐครูเสดอื่น ๆ ตรงที่ไม่มีส่วนใดที่ติดทะเลและไกลจากรัฐอื่น ๆ และไม่ใคร่มีความสัมพันธ์อันดีนักกับนครรัฐอันติโอคที่อยู่ติดกัน ครึ่งหนึ่งของเคาน์ตีรวมทั้งเมืองหลวงตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำยูเฟรทีสทีไกลไปทางตะวันออกจากรัฐอื่น ๆ ซึ่งทำให้เป็นจุดอ่อน ทางตะวันตกของแม่น้ำยูเฟรทีสควบคุมจากป้อมเทอร์เบสเซล (Turbessel).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเคาน์ตีอิเดสซา · ดูเพิ่มเติม »

เคาน์ตีตริโปลี

อาณาจักรเคานต์แห่งตริโปลี (County of Tripoli) คือนครรัฐครูเสด (crusader states) แห่งสุดท้ายที่ก่อตั้งขึ้นในบริเวณเลแวนต์ (Levant) ที่ตั้งอยู่บริเวณที่ปัจจุบันคือทางตอนเหนือของเลบานอนที่ในปัจจุบันคือเมืองตริโปลี นักรบครูเสดยึดตริโปลีและสร้างอาณาจักรในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเคาน์ตีตริโปลี · ดูเพิ่มเติม »

เซี่ยตะวันตก

ซี่ยตะวันตก (Western Xia) เป็นชื่ออาณาจักรแห่งหนึ่งซึ่งดำรงอยู่ตั้งแต่ปี 1038 ถึงปี 1227 ณ บริเวณที่ปัจจุบันเป็นเขตกานซู ชิงไห่ ซินเจียง มองโกเลียนอก มองโกเลียใน ส่านซี และหนิงเซี่ย ของสาธารณรัฐประชาชนจีน กินพื้นที่ราวแปดแสนตารางกิโลเมตร อาณาจักรเซี่ยตะวันตกถูกพวกมองโกลจากอาณาจักรมองโกลทำลายโดยสิ้นเชิง เป็นเหตุให้บันทึกและสถาปัตยกรรมล้วนดับสูญ ฉะนั้น ประวัติศาสตร์ของอาณาจักรนี้จึงเป็นที่โต้เถียงเรื่อยมา จนกระทั่งมีการสำรวจขนานใหญ่จากฝรั่งและคนจ?ีนเอง จึงพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกประสบความส??سเร็จอย่างใหญ่หลวงในด้านน?าฏกรรม วรรณกรรม ศิลปกรรม และสถาปัตยกรรม ชนิดที่นักประวัติศาสตร์ถือกันว่า เป็นผลงานที่ "รุ่งโรจน์เรืองรอง" (shining and sparkling) อนึ่ง ยังพบว่า อาณาจักรเซี่ยตะวันตกสามารถจัดระเบียบกองทัพอย่างเป็นระบบ กองทัพเซี่ยมีทั้งพลธนู พลปืน (ติดตั้งปืนใหญ่ไว้บนหลังอูฐ) พลม้า พลรถ พลโล่ และทแกล้??اทหารที่เก่งทั้งน้ำและบก อาณาจักรเซี่ยตะวันตกจึงรุกรานอาณาจัก?รรอบข้าง เช่น จิน ซ่ง และเหลียว ?ได้อย่างมีประสิท.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเซี่ยตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์

"นักบุญทั้งหลาย" วาดโดยฟราอันเจลีโก เซนต์ (Saint) ชาวคาทอลิกและชาวออร์ทอดอกซ์ เรียกว่านักบุญ หมายถึง ผู้ศักดิ์สิทธิ์Wycliffe Bible Encyclopedia, "saint", ISBN 0-8024-9697-0, "Christians in general are 'saints' in NT usage, and the term is common in reference to the inclusive membership of a local church.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเซนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เปอรานากัน

ปอรานากัน (Peranakan) หรือ บาบ๋า-ย่าหยา (Baba-Nyonya, จีน: 峇峇娘惹, พินอิน: Bābā Niángrě, ฮกเกี้ยน: Bā-bā Niû-liá) คือกลุ่มลูกครึ่งมลายู-จีนที่มีวัฒนธรรมผสมผสาน และสร้างวัฒนธรรมแบบใหม่ขึ้นมาโดยเป็นการนำเอาส่วนดีระหว่างจีนกับมลายูมารวมกัน โดยชื่อ "เปอรานากัน" มีความหมายว่า "เกิดที่นี่" พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 นิยาม "บาบ๋า" และ "ย่าหยา" ว่า "เรียกชายที่เป็นลูกครึ่งจีนกับมลายูที่เกิดในมลายูและอินโดนีเซีย ว่า บ้าบ๋า, คู่กับ ย่าหยา ซึ่งหมายถึงหญิงลูกครึ่งจีนกับมลายูที่เกิดใน มลายูและอินโดนีเซี." อย่างไรก็ตามชาวเปอรานากันในประเทศไทย บริเวณจังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามันโดยเฉพาะภูเก็ตและตรังทั้งเพศชายและหญิง จะถูกเรียกรวม ๆ ว่า บ้าบ๋า หรือบาบา ส่วน ย่าหยา เป็นเพียงชื่อของชุดสตรีเท่านั้น ส่วนในภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีกระจายตัวอยู่แถบพื้นที่โดยเฉพาะปัตตานี สงขลา นราธิวาส อย่างไรก็ดี ชาวจีนที่อพยพมาทางภาคใต้ฝั่งตะวันออกของประเทศไทยสมัยโบราณตั้งแต่ต้นรัตนโกสินทร์จนถึงรัชกาลที่ 5 ส่วนใหญ่จะเป็นชาวจีนฮกเกี้ยนซึ่งจะกระจายอยู่แถบพื้นที่โดยเฉพาะปัตตานี สงขลา นราธิวาส ถ้าเป็นลูกครึ่งจีนหรือลูกจีนที่เกิดในพื้นที่ ก็จะเรียกว่า บาบ๋า หรือ เปอรานากัน ด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเปอรานากัน · ดูเพิ่มเติม »

เปอร์เวซ มูชาร์ราฟ

ปอร์เวซ มูชาร์ราฟ (Pervez Musharraf) ประธานาธิบดีคนที่ 12 ของปากีสถาน เกิดเมื่อ 11 สิงหาคม..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเปอร์เวซ มูชาร์ราฟ · ดูเพิ่มเติม »

เนินพระวิหาร

นินพระวิหาร ในเยรูซาเลม เนินพระวิหาร (הַר הַבַּיִת, Temple Mount) หรือที่ในภาษาอาหรับเรียกว่า อัลฮะเราะมุชชะรีฟ (الحرم الشريف) เป็นเนินเขาในเขตเมืองเก่าของเยรูซาเลมอันเป็นที่ตั้งของสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อายุกว่าพันปีของสามศาสนาคือ ศาสนายูดาห์, ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม ตั้งอยู่ที่ระดับความสูง 740 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล สิ่งก่อสร้างในสมัยราชวงศ์อุมัยยะฮ์บนเนินเขาแห่งนี้ได้แก่ มัสยิดอัลอักซอ, โดมทองแห่งเยรูซาเลมตลอดจนหอสูงทั้งสี่ มีประตูอยู่ 11 ประตูเพื่อเข้าไปภายในอาณาเขตแห่งนี้ โดยสิบประตูสงวนไว้สำหรับชาวมุสลิม และอีกหนึ่งประตูสำหรับผู้ไม่ใช่มุสลิม คัมภีร์ไบเบิลระบุว่า วิหารของพวกยิวตั้งอยู่บนเนินพระวิหาร และพงศาวดารของยิวก็ได้ระบุว่าพระ วิหารแรกถูกสร้างขึ้นในสมัยของกษัตริย์ซาโลมอนเมื่อ 957 ปีก่อนคริสตกาล และถูกทำลายลงโดยบาบิโลเนียเมื่อ 586 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนพระวิหารที่สองถูกสร้างขึ้นในสมัยของเศรุบบาเบลเมื่อ 516 ปีก่อนคริสตกาล และถูกพวกโรมันทำลายลงในปี..

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเนินพระวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

เนื่อง นนทนาคร

ก์ เมินเจอราลา (Cik Menjelara) เป็นที่รู้จักในนาม หม่อมเนื่อง (สกุลเดิม: นนทนาคร; พ.ศ. 2392–2482) หรือเดิมคือ คุณหญิงเนื่อง ฤทธิสงครามรามภักดี เป็นหนึ่งในหม่อมชาวไทยของสุลต่านอับดุล ฮามิด ฮาลิมแห่งเกอดะฮ์ (เดิมคือเจ้าพระยาฤทธิสงครามรามภักดี) เจ้าพระยาไทรบุรีคนสุดท้ายภายใต้การปกครองของสยาม และเป็นพระชนนีของตนกู อับดุล ระห์มัน นายกรัฐมนตรีคนแรกของมาเลเซีย ซึ่งได้รับสมญาว่า "บิดาแห่งมาเลเซีย".

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเนื่อง นนทนาคร · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อหมู

นื้อหมู เนื้อหมู (Pork) เป็นเนื้อที่มาจากหมู สามารถนำมาทำอาหาร อย่างเช่น รมควัน นำมาทำอย่าง แฮม เบคอน Prosciutto เนื้อหมูถือเป็นเนื้อที่นิยมบริโภคมากที่สุด นอกจากนี้ยังนำมาทำอาหารอย่างเช่น ไส้กรอก เนื้อหมูเป็นสิ่งต้องห้ามในศาสนาอิสลาม และยิว.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและเนื้อหมู · ดูเพิ่มเติม »

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและ13 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

20 สิงหาคม

วันที่ 20 สิงหาคม เป็นวันที่ 232 ของปี (วันที่ 233 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 133 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและ20 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 สิงหาคม

วันที่ 29 สิงหาคม เป็นวันที่ 241 ของปี (วันที่ 242 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 124 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและ29 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

5

5 (ห้า) เป็นจำนวน ตัวเลข และเป็นชื่อของสัญลักษณ์ภาพ เป็นจำนวนธรรมชาติที่อยู่ถัดจาก 4 (สี่) และอยู่ก่อนหน้า 6 (หก).

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและ5 · ดูเพิ่มเติม »

8 มิถุนายน

วันที่ 8 มิถุนายน เป็นวันที่ 159 ของปี (วันที่ 160 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 206 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ศาสนาอิสลามและ8 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Islamอิสลาม

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »