โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร

ดัชนี วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร

วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร หรือ วัดราชาธิวาสวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ผูกพัทธสีมาเมื่อ..

61 ความสัมพันธ์: พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวพระพรหมมุนีพระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต)พระรัตนธัชมุนี (แบน คณฺฐาภรโณ)พระราชญาณปรีชา (ถวิล กนฺตสิริ)พระราชาคณะชั้นธรรมพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกชพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณีพระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)พระสัมพุทธพรรณีพระสัมพุทธพรรณี (จำลอง)พระสาสนโสภณพระสุธรรมาธิบดีพระสุธรรมาธิบดี (แสง ชุตินฺธโร)พระสุธรรมาธิบดี (เพิ่ม อาภาโค)พระธรรมกวี (ลือชัย คุณวุฑฺโฒ)พระธรรมราชานุวัตร (ต่าย วารโณ)พระธรรมวิโรจนเถร (พลับ ฐิติกโร)พระธรรมวโรดมพระธรรมวโรดม (เซ่ง อุตฺตโม)พระธรรมโกศาจารย์พระเวสสันดรแนวตะวันตก วัดราชาธิวาสพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดีกฐินรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทยรายชื่อวัดในจังหวัดนครราชสีมารายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)วัดมัชฌันติการามวัดราชผาติการามวรวิหารวัดอนงคารามวรวิหารวัดโสมนัสราชวรวิหารสมเด็จพระพุฒาจารย์สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ)สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสสมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตาสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารสนั่น เกตุทัตหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอังกะลุง...จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยธรรมยุติกนิกายถนนสามเสนนาคหลวงนางสาวสุวรรณแดน บีช บรัดเลย์โรงเรียนวัดราชาธิวาสเจ้าจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมมารดาเอม ในรัชกาลที่ 4เจ้าคณะอรัญวาสีเขตดุสิต ขยายดัชนี (11 มากกว่า) »

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

งชาติสยามในรัชกาลที่ 4 ธงช้างเผือก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระราชสมภพ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 - สวรรคต 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411) พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้ามงกุฎ" เสด็จพระราชสมภพในวันพฤหัสบดี ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 11 ปีชวด ตรงกับวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ณ นิวาสสถานพระราชวังพระราชนิเวศน์ พระราชวังเดิม ด้านใต้ของวัดอรุณราชวรารามอ.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปวเรนทราเมศมหิศเรศรังสรรค์ พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอนุชาธิราชในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ทรงได้รับพระบวรราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 รองจากพระบรมเชษฐา สูงศักดิ์กว่า "วังหน้า" กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (พระมหาอุปราช)พระองค์ใดในอดีต เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 เมื่อมีพระชนมายุได้ 43 พรรษ.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมุนี

ระพรหมมุนี เป็นราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรองรูปหนึ่ง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระพรหมมุนี · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต)

ระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองในคณะกลาง และอดีตเจ้าอาวาสวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระรัตนธัชมุนี (แบน คณฺฐาภรโณ)

ระรัตนธัชมุนี นามเดิม แบน ฉายา คณฺฐาภรโณ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร และอดีตเจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระรัตนธัชมุนี (แบน คณฺฐาภรโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชญาณปรีชา (ถวิล กนฺตสิริ)

ระราชญาณปรีชา นามเดิม ถวิล ศรีใหม่ ฉายา กนฺตสิริ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร, เจ้าคณะแขวงวชิรพยาบาล (ธ).

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระราชญาณปรีชา (ถวิล กนฺตสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชาคณะชั้นธรรม

ระราชาคณะชั้นธรรม เป็นสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย มีศักดิ์รองลงมาจากพระราชาคณะเจ้าคณะรอง และสูงกว่าพระราชาคณะชั้นเท.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระราชาคณะชั้นธรรม · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าบงกช นพวงศ์; พ.ศ. 2384 - 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เจ้าบงกช ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบงกช · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร ที่สมเด็จพระพุฒาจารย์ (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2386 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2444) เป็นพระราชวงศ์ในราชสกุลลดาวัลย์ ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุ ดำรงสมณศักดิ์สุดท้ายที่สมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะอรัญวาสี เจ้าคณะใหญ่คณะกลาง เจ้าอาวาสพระองค์แรกของวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร และเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนวัดร.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพระอรุณนิภาคุณากร · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ (พระนามเดิม: หม่อมเจ้านิลวรรณ อุไรพงศ์; ไม่ปรากฎ - 22 มิถุนายน พ.ศ. 2443) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุไร กรมหมื่นอดุลยลักษณสมบัติ พระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่ 5 ทรงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ เมื่อปีระก..

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิลวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าแก้วกัลยา สุประดิษฐ์; พ.ศ. 2392 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2456) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร กับหม่อมจิ๋ม สุประดิษฐ์ ณ อยุธยา และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแก้วกัลยาณี · ดูเพิ่มเติม »

พระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี)

ระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี) อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหารและวัดราชผาติการามวรวิหาร และดำรงตำแหน่งสำคัญอีกหลายตำแหน่งในคณะสงฆ์ไทย เช่น สมาชิกสังฆสภา สังฆมนตรีช่วยว่าการองค์การปกครอง เจ้าคณะภาค 7-8-9 (ธรรมยุต) เป็นต้น ในปี..

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระศาสนโศภน (ปลอด อตฺถการี) · ดูเพิ่มเติม »

พระสัมพุทธพรรณี

ระสัมพุทธพรรณี เป็นพระพุทธรูปที่สำคัญอีกองค์หนึ่งของประเทศไทย เป็นพระพุทธรูปประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระสัมพุทธพรรณี · ดูเพิ่มเติม »

พระสัมพุทธพรรณี (จำลอง)

ระสัมพุทธพรรณี(จำลอง) เป็นพระพุทธรูปที่สำคัญอีกองค์หนึ่งของไทย ปัจจุบันประดิษฐานที่พระอุโบสถวัดราชาธิว.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระสัมพุทธพรรณี (จำลอง) · ดูเพิ่มเติม »

พระสาสนโสภณ

ระสาสนโสภณ หรือ พระศาสนโศภน เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระสาสนโสภณ · ดูเพิ่มเติม »

พระสุธรรมาธิบดี

ระสุธรรมาธิบดี เป็นราชทินนามของพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฎ พระราชทานแก่พระเถระฝ่ายธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระสุธรรมาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

พระสุธรรมาธิบดี (แสง ชุตินฺธโร)

ระสุธรรมาธิบดี หรือ หลวงปู่แสง นามเดิม แสง ขุทรานนท์ ฉายา ชุตินฺธโร (10 มิถุนายน 2456 - 5 กุมภาพันธ์ 2559) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดสุราษฎร์ธานี อดีตเจ้าอาวาสวัดธรรมบูชา และอดีตเจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี (ธรรมยุต).

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระสุธรรมาธิบดี (แสง ชุตินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระสุธรรมาธิบดี (เพิ่ม อาภาโค)

ระสุธรรมาธิบดี นามเดิม เพิ่ม นาควาณิช ฉายา อาภาโค เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร แม่กองธรรมสนามหลวง และกรรมการมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระสุธรรมาธิบดี (เพิ่ม อาภาโค) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมกวี (ลือชัย คุณวุฑฺโฒ)

ระธรรมกวี นามเดิม ลือชัย ไสยวรรณโณ ฉายา คุณวุฑฺโฒ เจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระธรรมกวี (ลือชัย คุณวุฑฺโฒ) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมราชานุวัตร (ต่าย วารโณ)

ระธรรมราชานุวัตร (ต่าย วารโณ) เป็นพระภิกษุในคณะธรรมยุติกนิกาย ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดเสนาสนารามราชวรวิหาร เจ้าคณะกรุงเก่า และกรรมการมหามกุฏราชวิทยาลั.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระธรรมราชานุวัตร (ต่าย วารโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวิโรจนเถร (พลับ ฐิติกโร)

ระธรรมวิโรจนเถร นามเดิม พลับ ฉายา ฐิติกโร เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญยก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ สังกัดคณะธรรมยุติกนิกาย รูปแรกของภาคใต้ อดีตเจ้าอาวาสวัดธรรมบูชาและอดีตเจ้าคณะจังหวัดสุราษฎร์ธานี (ธรรมยุต) อดีตประธานกรรมการคณะจังหวัดสงขลา และอดีตเจ้าอาวาสวัดมัชฌิมาวาส (จังหวัดสงขลา).

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระธรรมวิโรจนเถร (พลับ ฐิติกโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวโรดม

ระธรรมวโรดม เป็นสมณศักดิ์พระราชาคณะเจ้าคณะรอง ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระธรรมวโรดม · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวโรดม (เซ่ง อุตฺตโม)

ระธรรมวโรดม นามเดิม เซ่ง ฉายา อุตฺตโม เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ดำรงสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองคณะใต้ อดีตเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระธรรมวโรดม (เซ่ง อุตฺตโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์

ระธรรมโกศาจารย์ เป็นสมณศักดิ์สำหรับพระราชาคณะชั้นธรรม ปัจจุบันพระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิก.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระธรรมโกศาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเวสสันดรแนวตะวันตก วัดราชาธิวาส

มื่อคนไทยได้มีโอกาสศึกษาวิชาการสมัยใหม่ที่ตั้งอยู่บนหลักเหตุผลตามแบบตะวันตกมากยิ่งขึ้น ก็เกิดความรู้สึกว่าความเชื่อในเรื่องอิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย์ โชคลางของขลังเป็นเรื่องเหลวไหล งมงาย สอดคล้องกับเมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิรูปศาสนา เพื่อให้พุทธศาสนิกชนเปลี่ยนความเชื่อที่งมงายเข้าสู่แก่นของธรรมะที่แท้จริง การแสดงออกทางด้านศิลปะก็สะท้อนความคิดนี้ได้อย่างมาก เช่น มีการวาดภาพที่สื่อถึงเหตุการณ์จริงในประวัติศาสตร์ หรือปริศนาธรรม รวมทั้งการวาดภาพเหมือนซึ่งแสดงออกถึงแนวคิดสัจจนิยมตามแบบตะวันตก การเขียนไตรภูมิ โลกสัณฐาน ที่ไม่เป็นความจริงตามหลักวิทยาศาสตร์เสื่อมความนิยมลง ส่วนการเขียนเวสสันดรชาดกที่วัดราชาธิวาสนั้น ก็ได้ปรับเปลี่ยนการแสดงออกให้เป็นสัจจนิยมเช่นเดียวกัน ความมุ่งหมายที่แท้จริงคงไม่ได้ต้องการแสดงอดีตชาติของพระพุทธเจ้าที่เหนือธรรมชาติและเกินความเข้าใจของมนุษย์ หากแต่ต้องการนำเสนอธรรมะที่เป็นแก่นของชาดกเรื่องนี้ซึ่งก็คือ ทานบารมี ซึ่งพระเวสสันดรได้สั่งสมไว้ในชาติสุดท้าย จะสังเกตได้ว่า จิตรกรรมเวสสันดรชาดกที่นี่หลีกเลี่ยงการแสดงสิ่งเหนือธรรมชาติ หรือการแสดงพลังของเทพเจ้า ดังปรากฏในกัณฑ์ทศพร ซึ่งเล่าเรื่องการรับพรสิบประการจากพระอินทร์ของพระนางผุสดี ถูกเขียนซ่อนไว้ในกลีบเมฆอย่างเลือนลางในพื้นที่ของกัณฑ์หิมพานต์ หรือกัณฑ์สักบรรพ ซึ่งในจิตรกรรมไทยประเพณีมักวาดพราหมณ์มาทูลขอพระนางมัทรี แล้วกลับกลายเป็นพระอินทร์เหาะขึ้นด้านบน แต่ที่วัดราชาธิวาสนี้ แสดงเพียงภาพพระเวสสันดรหลั่งทักษิโณทกให้พราหมณ์เท่านั้น และถ้าหากไม่ทราบเรื่องมาก่อน จะไม่สามารถคาดเดาได้เลยว่าเป็นพระอินทร์แปลง การแสดงกัณฑ์ต่างๆออกเป็นภาพนอกจากการไม่พึงแสดงออกถึงพลังเหนือธรรมชาติแล้ว ยังคงยึดถือแนวประเพณีเป็นเกณฑ์ จุดมุ่งหมายคงจะเพื่อให้ผู้ชมรับรู้ได้ทันทีว่าเป็นตอนของกัณฑ์ใด แต่ก็มีรายละเอียดปลีกย่อยซึ่งท่านผู้วาดได้กระทำไว้ ซึ่งแตกต่างจากแนวประเพณีที่เป็นแบบแผนอยู่บ้าง เช่นการรวมกัณฑ์ชูชก กับจุลพนไว้ด้วยกัน โดยเขียนต่อเนื่องกัน ภาพชูชกหนีสุนัขขึ้นต้นไม้ เป็นตัวแทนของกัณฑ์ชูชก ส่วนภาพพรานเจตบุตรเป็นตัวแทนของกัณฑ์จุลพน หรือการรวมกัณฑ์ทศพรและหิมพานต์ไว้ในฉากใหญ่ฉากเดียว แม้ว่าจะเป็นกัณฑ์ที่ต่อเนื่องกัน แต่เวลาของเหตุการณ์ทั้งสองต่างกันมาก ซึ่งเป็นลักษณะของ narrative continutied ซึ่งถ้าหากเป็นจิตรกรรมไทยประเพณีอาจมีสินเทาหรือภาพทิวทัศน์แบ่ง หรือการวาดภาพเน้นฉากเริ่มต้นและฉากจบของเรื่องไว้ในกรอบใหญ่เป็นพิเศษบนด้านแป สำหรับความสอดคล้องกับประติมากรรม ก็เกิดการแสดงออกซึ่งแตกต่างไปจากอดีตเช่นเดียวกัน ในจิตรกรรมไทยประเพณี เบื้องสะกัดหน้ามักจะเขียนภาพมารผจญ เสมือนว่าองค์พระประธานกำลังทรงพิชิตหมู่มาร แต่ในวัดราชาธิวาส บทบาทของพระประธานกลับกลายเป็นเหตุการณ์เทศนาโปรดเหล่าศากยกษัตริย์ที่กรุงกบิลพัสดุ์ และเกิดฝนโบกขรพรรษ อันเป็นเหตุให้ตรัสเล่าเรื่องเวสสันดรชาดก ความสอดคล้องอีกประการหนึ่งก็คือ พระประธานคือพระสัมพุทธพรรณีและพระนิรันตรายซึ่งอยู่เบื้องหน้าพระประธาน เป็นพระพุทธรูปที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างขึ้นโดยมีพระราชประสงค์ให้มีลักษณะใกล้เคียงธรรมชาติ ละทิ้งมหาบุรุษลักษณะซึ่งเหนือมนุษย์ไป อาจจะเป็นไปได้ว่าการเขียนภาพแบบสัจจนิยมเช่นนี้ก็เพื่อให้ต้องกับพระราชประสงค์เดิมของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสอดคล้องกับฐานะความเป็นวัดฝ่ายธรรมยุตนิกายซึ่งโปรดให้ตั้งขึ้นเพื่อปฏิรูปพุทธศาสนาให้บริสุท.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระเวสสันดรแนวตะวันตก วัดราชาธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี

ระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ ใน พระราชพิธีโสกันต์ มหาอำมาตย์ตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นคนไทยคนแรกที่จบการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ นับเป็นเจ้านายไทยพระองค์แรกและเป็นคนไทยคนที่ 2 ที่จบการศึกษาในวิชาระดับปริญญาเอก พระนาม "ดิลกนพรัฐ" หมายถึง "ศรีเมืองเชียงใหม่".

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิลกนพรัฐ กรมหมื่นสรรควิไสยนรบดี · ดูเพิ่มเติม »

กฐิน

กฐินเป็นประเพณีที่อยู่คู่กับพุทธศาสนิกชนไทยมาช้านานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยการถวายผ้าพระกฐินของพระมหากษัตริย์ไทยนั้นจัดเป็นพระราชพิธีที่สำคัญมาตั้งแต่โบราณ กฐิน (บาลี: กน) เป็นศัพท์ในพระวินัยปิฎกเถรวาท เป็นชื่อเรียกผ้าไตรจีวรที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนแล้ว สามารถรับมานุ่งห่มได้ โดยคำว่าการทอดกฐิน หรือการกรานกฐิน จัดเป็นสังฆกรรมประเภทหนึ่งตามพระวินัยบัญญัติเถรวาทที่มีกำหนดเวลา คือพระสงฆ์สามารถกระทำสังฆกรรมนี้ได้นับแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 เท่านั้น โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ และอนุเคราะห์ภิกษุผู้ทรงคุณที่มีจีวรชำรุด ดังนั้นกฐินจึงจัดเป็นเรื่องเกี่ยวกับสังฆกรรมของพระสงฆ์โดยจำเพาะ ซึ่งนอกจากในพระวินัยฝ่ายเถรวาทแล้ว กฐินยังมีในฝ่ายมหายานบางนิกายอีกด้วย แต่จะมีข้อกำหนดแตกต่างจากพระวินัยเถรวาท การได้มาของผ้าไตรจีวรอันจะนำมากรานกฐินตามพระวินัยบัญญัติของเถรวาทนี้ พระพุทธองค์ไม่ทรงห้ามการรับผ้าจากผู้ศรัทธาเพื่อนำมากรานกฐิน ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงทำให้เกิดทานพิธีการถวายผ้ากฐิน หรือการทอดกฐินของพุทธศาสนิกชนขึ้น และด้วยการที่การถวายผ้ากฐินนั้น จัดเป็นสังฆทาน คือถวายแก่คณะสงฆ์โดยไม่เจาะจงภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง เพื่อให้คณะสงฆ์นำผ้าไปอปโลกน์ ยกให้ แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งตามที่คณะสงฆ์ลงมติ (ญัตติทุติยกรรมวาจา) และกาลทาน ที่มีกำหนดเขตเวลาถวายแน่นอน คณะสงฆ์วัดหนึ่ง ๆ สามารถรับได้ครั้งเดียวในรอบปี จึงทำให้ประเพณีการทอดกฐินเป็นบุญประเพณีนิยมที่สำคัญของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย ประเพณีการทอดกฐินของพุทธศาสนิกชนไทยมีมาช้านาน โดยมีทั้งพิธีหลวงและพิธีราษฎร์ โดยการถวายผ้าพระกฐินของพระมหากษัตริย์จัดเป็นพระราชพิธีที่สำคัญประจำปี ในปัจจุบันถวายผ้ากฐินในแง่การสนับสนุนผ้าไตรจีวรเพื่อใช้ในสังฆกรรมสำคัญของคณะสงฆ์ได้ถูกลดความสำคัญลงไป แต่กลับให้ความสำคัญกับบริวารของกฐินทานแทน เช่น เงิน หรือวัตถุสิ่งของ เพื่อนำสิ่งเหล่านี้มาพัฒนาถาวรวัตถุและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ซึ่งจัดเป็นสังฆทานอย่างหนึ่งเช่นเดียวกัน กฐินมีกำหนดระยะเวลาถวาย จะถวายตลอดไปเหมือนผ้าชนิดอื่นมิได้ ระยะเวลานั้นมีเพียง 1 เดือน คือตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (วันเพ็ญเดือน 12) ระยะเวลานี้เรียกว่า กฐินกาล คือระยะเวลา ทอดกฐิน หรือ เทศกาลทอดกฐิน.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและกฐิน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500

หตุการณ์ขณะที่ จอมพลสฤษดิ์ นำคณะนักศึกษาเข้าพบจอมพล ป. ที่ทำเนียบรัฐบาล รัฐประหาร 16 กันยายน..

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย

รายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย มีดังนี้.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวัดในจังหวัดนครราชสีมา

รายชื่อวัดในจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและรายชื่อวัดในจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย

ต่อไปนี้ เป็นรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวที่ตั้งอยู่ในประเทศไทย เรียงตามรายชื่อ 76 จังหวัด พร้อมกรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและรายชื่อสถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร)

ราณสถานที่มีรายชื่อในหน้านี้ตั้งอยู่ในพื้นที่สีม่วงอ่อนบนแผนที.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและรายชื่อโบราณสถานในกรุงเทพมหานคร (ฝั่งพระนคร) · ดูเพิ่มเติม »

วัดมัชฌันติการาม

วัดมัชฌันติการาม หรือ วัดน้อย เป็นวัดราษฎร์ เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4 ผู้ที่ให้การอุปถัมภ์วัด เริ่มต้นนั้นไม่ทราบแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใด มีผู้สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เจ้าจอมมารดาเที่ยง พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เข้ามาอุปถัมภ์ในปี..

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและวัดมัชฌันติการาม · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชผาติการามวรวิหาร

วัดราชผาติการามวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 147 ถนนราชวิถี แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและวัดราชผาติการามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดอนงคารามวรวิหาร

วัดอนงคาราม วรวิหาร ตั้งอยู่ในบนถนนสมเด็จเจ้าพระยา แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน วัดอนงคาราม วรวิหาร มีชื่อเดิมคือวัดน้อยขำแถม เป็นชื่อท่านผู้หญิงน้อย ซึ่งเป็นภรรยาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัด บุนนาค) หรือสมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย เป็นผู้สร้างขึ้นคู่กันกับวัดพิชัยญาติแล้วถวายเป็นพระอารามหลวงในรัชกาลที่ 3 ส่วนคำว่าขำแถมนั้นมีเพิ่มเติมมาจากนามเดิมของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ) ซึ่งเป็นผู้ปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ ต่อมาถึงสมัยรัชกาลที่ 4 วัดนี้ก็ได้รับพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดอนงคารามอย่างในปัจจุบัน พระอุโบสถที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 เป็นอาคารทรงไทย ก่ออิฐถือปูน หลังคามุงกระเบื้องเคลือบ ช่อฟ้า ใบระกาลงรักประดับกระจก หน้าบันและซุ้มประตูหน้าต่างก็มีลวดลายลงรักปิดทองสวยงาม มีพระพุทธรูปสำคัญอย่างพระพุทธจุลนาคซึ่งเป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยปางมารวิชัย เป็นพระประธานในพระวิหาร และมีพระพุทธรูปพระสาวกหล่อด้วยโลหะปิดทองยืนอยู่ด้านซ้ายขวา อีกทั้งด้านหน้าพระประธานยังมีพระพุทธมังคโล ซึ่งเป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องปางสมาธิตั้งอยู่ด้านหน้าอีกด้วย และใกล้ ๆ กับพระวิหารนั้นก็ยังมีพระมณฑปซึ่งสร้างขนาบกับพระวิหาร หลังที่อยู่ด้านทิศตะวันออกประดิษฐานพระพุทธรูปไสยาสน์ที่จำลองมาจากวัดราชาธิวาส และหลังที่อยู่ด้านทิศตะวันตกประดิษฐานพระพุทธบาทจำลองเอาไว้ วัดอนงคาราม บนชั้นสอง เป็นห้องสมุดประชาชนภายในวัดนั้น และเป็นที่ตั้งของ "พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นเขตคลองสาน" ซึ่งในพิพิธภัณฑ์นั้นมีการจัดแสดงนิทรรศการเรื่องราวความเป็นมาเป็นไปต่างๆ ในเขตคลองสาน ทั้งเรื่องของวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวคลองสานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและวัดอนงคารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดโสมนัสราชวรวิหาร

วัดโสมนัสวิหารราชวรวิหาร หรือ วัดโสมนัสวิหาร สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ใช้ศิลปะสถาปัตยกรรมแบบไทยในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ภายในอุโบสถและพระวิหารมีภาพจิตกรรฝาผนังอันงดงาม มีคลองผดุงกรุงเกษมที่รัชการที่ 4 โปรดให้ขุดขึ้นแล้วเสร็จในปี 2395 ผ่านทางด้านหน้าของพระอุโบสถ ภายในวัดมีเจดีย์ 2 องค์ เจดีย์องค์ใหญ่ซึ่งภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ (เจดีย์ทอง รูปทรงแบบลังกาสีทองเหลืองอร่าม ยอดแหลมสูงเด่นเป็นสง่า สามารถมองเห็นได้ไกลซึ่งเป็นจุดที่นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติแวะเวียนเข้ามาชมความงามและกราบนมัสการกันอยู่มิได้ขาด) และยังมีเจดีย์องค์เล็ก (เจดีย์มอญ) อีกองค์ที่มีลักษณะสวยงามเช่นเดียวกับปรินิพพานสถูปในอินเดีย และหาชมได้ยากเพราะเจดีย์ลักษณะนี้มีเพียง 2 องค์ในประเทศไทย คือ ที่วัดโสมนัสวิหารราชวรวิหาร และที่วัดกันมาตุยาราม อีกองค์หนึ่ง ปัจจุบันมีการสร้างและปรับปรุงอาคารต่างๆ ภายในวัด อาทิเช่น ตึก 150 ปี โรงเรียนพระปริยัติธรรม (ตึกสาลักษณาลัย) ซึ่งเป็นตึกเก่าสร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมหาเสวกโท พระยาศรีภูริปรีชา (กมล สาลักษณ) เพื่อเป็นที่ระลึกแก่คุณหญิง (พึ่ง) ศรีภูริปรีชา ศาลาสำนักงานภาค ศาลาสถิต ศาลามุขหน้าวัด ตึก 80 ปีสมเด็จพระวันรัต เป็นต้น นอกจากนั้นยังมี โรงเรียนวัดโสมนัส กองการฌาปนกิจกรมทหารบก สุสานทหาร อยู่ภายในบริเวณวั.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและวัดโสมนัสราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์

มเด็จพระพุฒาจารย์ เป็นราชทินนามของพระเถระรูปหนึ่งที่มีสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยหลังได้พระราชทานเฉพาะแก่พระเถระฝ่ายมหานิกาย ปัจจุบันคือ สมเด็จพระพุฒาจารย์ (สนิท ชวนปญฺโญ) วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ) เป็นพระภิกษุธรรมยุติกนิกาย อดีตเจ้าคณะใหญ่คณะกลางและเจ้าอาวาสวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เขียว จนฺทสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

มเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เสด็จสถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับมหาสมณุตตมาภิเษกเมื่อปี พ.ศ. 2453 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรงพระอิสริยยศ 11 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อปี พ.ศ. 2464 พระชันษา 61 ปี.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ)

มเด็จพระวันรัตน์เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑, หน้า 123 นามเดิม ทับ ฉายา พุทฺธสิริ (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2349 - 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2434) เป็นสมเด็จพระวันรัตรูปที่ 12 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นหนึ่งในพระมหาเถระ 10 องค์ผู้เป็นต้นวงศ์ธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่ฝ่ายใต้ และเจ้าอาวาสรูปแรกของวัดโสมนัสราชวรวิหาร นอกจากนี้ท่านยังเป็นพระมหาเถระที่มีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก ชอบธุดงค์ และเคร่งครัดในพระธรรมวินัยเป็นอย่างยิ่ง.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระวันรัตน์ (ทับ พุทฺธสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ันเอกหญิง สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระนามเดิมว่า พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาผ่องศรี เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา (เจ้าจอมมารดาเปี่ยม) เมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

มเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า พระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าสว่างวัฒนา (10 กันยายน พ.ศ. 2405 — 17 ธันวาคม พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา(เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม) เป็นพระเจ้าลูกเธอชั้นเล็ก ลำดับที่ 60 ในจำนวนทั้งหมด 82 พระองค์ โดยรับราชการสนองพระเดชพระคุณเป็นพระภรรยาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์เป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งเป็นสยามมกุฎราชกุมารพระองค์แรกของไทย เป็นสมเด็จพระมาตุจฉาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระอัยยิกาเจ้าในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระปัยยิกาเจ้าในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรณรงค์ เสถียรวงศ์ กรมสารนิเทศ นอกจากนี้พระองค์ทรงดำรงตำแหน่งองค์สภาชนนีสภาอุณาโลมแดง อันเป็นชื่อของสภากาชาดไทยเมื่อครั้งแรกตั้งในต้นรัชกาลที่ 5 เป็นพระองค์แรกและพระองค์เดียว และองค์สภานายิกา สภากาชาดไทย พระองค์ที่ 2 และทรงสร้างสถานพยาบาลขึ้น ปัจจุบัน คือ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสภากาชาดไทย ในวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (สา ปุสฺสเทโว) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2436 ถึงปี พ.ศ. 2442 รวม 6 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อพระชนมายุ 87 พรรษา เคยเป็นสามเณรนาคหลวง ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากที่สุดของกรุงรัตนโกสินทร์ เพราะเป็นผู้สามารถสอบเปรียญธรรม 9 ประโยค ได้ขณะยังเป็นสามเณร รูปแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็น สามเณรอัจฉริยะ แห่งกรุงรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา

มเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา เดิมคือ เจ้าจอมมารดาเปี่ยม (สกุลเดิม: สุจริตกุล; ประสูติ: 5 มีนาคม พ.ศ. 2381 - พิราลัย: 13 เมษายน พ.ศ. 2447) พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมารดาของพระอัครมเหสีไทยถึงสามพระองค์คือ สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี, สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ถือเป็นพระสัสสุ (แม่ยาย) ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นพระอัยยิกา (ยาย) ของพระมหากษัตริย์ไทยสองพระองค์คือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังเป็นพระปัยยิกา (ย่าทวด) ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เจ้าจอมมารดาเปี่ยม ได้รับการสถาปนาเป็น เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม, เจ้าคุณพระอัยยิกาเปี่ยม และหลังการอสัญกรรมได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นเจ้า ทรงพระนามว่า สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา โดยสร้อยพระนาม "ศรีพัชรินทรมาตา" มีความหมายว่า เป็นพระมารดาของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา

ันโทหญิง สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา (พระนามเดิม: ประไพ สุจริตกุล; ประสูติ: 10 มิถุนายน พ.ศ. 2445 — สิ้นพระชนม์: 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518) พระมเหสีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (ปลื้ม สุจริตกุล) กับท่านผู้หญิงสุธรรมมนตรี (กิมไล้ สุจริตกุล) เข้ารับราชการฝ่ายในในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงได้รับการสถาปนาพระราชอิสริยยศสูงสุดที่ "สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินี" ภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการให้ออกพระนามว่า สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาแทน พระองค์สิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ประสูติ: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 - สิ้นพระชนม์: 10 ธันวาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา ทรงเป็นต้นราชสกุลสวัสดิวัตน์ เป็นพระอนุชาในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เป็นพระมาตุลาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระชนกในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นเจ้านายต่างกรมพระองค์เดียวในชั้นพระองค์เจ้าที่ยังไม่ได้เป็นกรมพระยา ที่ได้รับสมเด็จ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมเป็นพระองค์แรก นอกจากนี้ยังทรงเคยดำรงตำแหน่งอธิบดีศาลฎีกาในระหว่าง..

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

นหลวงวัดราชบพิธ (อนุสรณ์สถานเจดีย์ทอง 4 องค์) แผนผังสุสานหลวง แสดงที่ตั้งของอนุสาวรีย์ต่างๆ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก (ราชวรมหาวิหาร) ประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ซึ่งมิเพียงคงความวิจิตรงดงามในเชิงสถาปัตยกรรมไทยแบบพระราชนิยมแห่งหนึ่งในกรุงรัตนโกสินทร์แล้ว พระอารามนี้ยังประกอบด้วยเขตสุสานหลวงจุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ อันเป็นบริเวณเฉพาะที่นับเนื่องด้วยราชสกุลและสายสัมพันธ์แห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหารเป็นสุสานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้น ด้วยมีพระราชประสงค์จะให้ผู้ที่มีความรักใคร่ห่วงใยอย่างใกล้ชิดคือ พระมเหสี เจ้าจอมมารดา และพระราชโอรส พระราชธิดา ได้อยู่รวมกันหลังจากที่ได้ล่วงลับไปแล้ว ในทั่วไปจะเป็นการสร้างอนุสาวรีย์ของพระมเหสีและเจ้าจอมมารดา เพื่อให้ลูกได้อยู่รวมกับแม่หรืออย่างน้อยในบ้านของแม่ เว้นแต่ในกรณีที่พระราชโอรสหรือพระราชธิดาสิ้นพระชนม์ก่อนพระมารดาก็สร้างอนุสาวรีย์ของพระเจ้าลูกเธอพระองค์นั้นไปก่อน.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

สนั่น เกตุทัต

อาจารย์สนั่น เกตุทัต อาจารย์สนั่น เกตุทัต (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2458 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2548) ผู้ร่วมก่อตั้งมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และอดีตปลัดกระทรวงการคลัง เคยได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2516.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและสนั่น เกตุทัต · ดูเพิ่มเติม »

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า หอประชุมจุฬาฯ เป็นหอประชุมใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเป็นมาคู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เกิดขึ้นที่อาคารแห่งนี้หลายเหตุการณ์ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอประชุมจุฬาฯ เป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิทัศน์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เกิดการปรับภูมิทัศน์โดยรอบ เช่น การขุดสระน้ำด้านหน้าประตูใหญ่ ตัดถนนรอบสนามรักบี้และสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2545 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ได้มอบรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่นให้แก่หอประชุมจุฬาฯ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีพระราชทานแก่นิสิตที่หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นแห่งแรกก่อนที่กิจกรรมนี้จะมีขึ้นในอีกหลายมหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา เป็นที่มาของวันทรงดนตรี หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสัญลักษณ์ที่โดดเด่นคู่มหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ก่อสร้างแล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2482 นิสิตและบุคลากรของจุฬาฯ ล้วนผูกพันและมีโอกาส ได้เข้าร่วมพิธีกรรมและกิจกรรมอันหลากหลายที่อาคารหลังนี้ นับตั้งแต่กิจกรรมแรกของการเป็นนิสิต คือพิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่ พิธีปฐมนิเทศนิสิตหอพักของหอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีไหว้ครู เปิดเทศกาลงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ จนกระทั่งเมื่อสำเร็จการศึกษา อาคารหลังนี้ก็เป็นสถานที่ประกอบพิธีพระราชทานปริญญาบัตร นอกจากนี้ยังใช้เป็นที่จัดกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมในวาระสำคัญต่าง ๆ ทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและระดับชาต.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

อังกะลุง

อังกะลุง เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่ง ทำจากไม้ไผ่ เล่นด้วยการเขย่าให้เกิดเสียง นับเป็นเครีองดนตรีประเภทตี มีที่มาจากประเทศอินโดนีเซีย ใน ภาษาอินโดนีเซียเรียกว่า อังคะลุง หรือ อังกลุง (Angklung).

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและอังกะลุง · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมยุติกนิกาย

ตราคณะธรรมยุต ธรรมยุติกนิกาย หรือ คณะธรรมยุต เป็นคณะสงฆ์ที่พระวชิรญาณเถระทรงตั้งขึ้นเพื่อฟื้นฟูศาสนาพุทธในสยาม และแก้ไขวัตรปฏิบัติให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวผนวชอยู่นั้น ได้ทรงศึกษาพระไตรปิฎกอย่างแตกฉานทำให้มีพระวิจารณญาณเกี่ยวกับความเป็นมาของพระพุทธศาสนา และความประพฤติปฏิบัติของพระภิกษุสามเณรได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน เป็นเหตุให้มีพระราชดำริในอันที่จะฟื้นฟูการสั่งสอนพระพุทธศาสนา และการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์ให้ถูกต้องตามพระธรรมวินัยตามที่ได้ทรงศึกษา และทรงพิจารณาสอบสวนจนเป็นที่แน่แก่พระราชหฤทัยว่าถูกต้องเป็นจริงอย่างไร แล้วพระองค์ได้ทรงนำประพฤติปฏิบัติขึ้นก่อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ ทรงเริ่มแก้ไขที่พระองค์เองเป็นอันดับแรก ต่อมาเมื่อมีบุคคลอื่นเห็นชอบและนิยมตาม จึงได้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามอย่างพระองค์ขึ้น และมีจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ จนเกิดเป็นพระสงฆ์หมู่หนึ่ง หรือนิกายหนึ่ง ที่ได้ชื่อในภายหลังว่า ธรรมยุติกนิกาย หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า “ธรรมยุต” อันมีความหมายว่า ผู้ประกอบด้วยธรรม หรือชอบด้วยธรรม หรือยุติตามธรรม ทั้งนี้ก็เพราะว่าพระสงฆ์นี้เกิดขึ้นด้วยมุ่งแสวงหาว่า ข้อใดเป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์ (คือคำสั่งสอนของพระศาสดา) แล้วปฏิบัติข้อนั้น เว้นข้อที่ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นวินัย ไม่เป็นสัตถุศาสน์ แม้จะเป็นอาจินปฏิบัติ (ข้อปฏิบัติตามกันมาแต่ผิดพระธรรมวินัย) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ขึ้น เป็นครั้งแรกในประเทศไทย พระราชบัญญัติฉบับนี้มีชื่อว่า พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 มีสาระสำคัญคือได้ยกสถานะคณะธรรมยุติ ให้เป็นนิกายอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ธรรมยุติกนิกาย ตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปและฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์ ให้มีความถูกต้องและเข้มงวดตามพุทธบัญญัติ ให้พระภิกษุสงฆ์มีวัตรปฏิบัติที่เคร่งครัดถูกต้องตามพระวินัยปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้องดีงาม ศึกษาพระปริยัติธรรมอย่างเข้าใจแจ่มแจ้ง เป็นการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในส่วนที่บกพร่องของพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ให้สมบูรณ์ทั้งพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎก ซึ่งเป็นความพยายามของพระวชิรญาณเถระเพื่อช่วยปฏิรูปการคณะสงฆ์และเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองอย่างบริบูรณ์ขึ้นในประเทศไทย การก่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย เป็นสาเหตุทำให้พระสงฆ์เถรวาทอื่นซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ได้มีการประชุมและมีมติให้เรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่คณะธรรมยุต ว่า "มหานิกาย".

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและธรรมยุติกนิกาย · ดูเพิ่มเติม »

ถนนสามเสน

แผนที่เขตดุสิต ถนนสามเสนอยู่บริเวณซ้ายบน ใกล้กับแม่น้ำเจ้าพระยา ถนนสามเสน (Thanon Sam Sen) เป็นถนนสายสำคัญในพื้นที่เขตพระนครและเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและถนนสามเสน · ดูเพิ่มเติม »

นาคหลวง

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงประเคนพัดรอง ในการพระราชทานอุปสมบทนาคหลวง เนื่องในการพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลอุปสมบทนาคหลวง ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง นาคหลวง หมายถึง ผู้ที่ได้รับบรรพชาอุปสมบทภายในพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเจ้าภาพในการบำเพ็ญพระราชกุศลอุปสมบท นาคหลวง มี 2 ประเภท คือ.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและนาคหลวง · ดูเพิ่มเติม »

นางสาวสุวรรณ

นางสาวสุวรรณ (Suvarna of Siam) เป็นภาพยนตร์ใบ้ แนวรักใคร..1923 ขนาดสามสิบห้ามิลลิเมตร ความยาวแปดม้วน เขียนบทและกำกับโดย เฮนรี แม็กเร (Henry MacRae) เป็นเรื่องแรกที่ถ่ายทำในประเทศสยาม (ต่อมาคือ ประเทศไทย) โดยฮอลลีวูด ที่ใช้นักแสดงชาวสยามทั้งหมด เริ่มถ่ายทำเมื่อต้นเดือนมีนาคมและสร้างเสร็จเมื่อเดือนมิถุนายน ในปี พ.ศ. 2465 ฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1923 ในจังหวัดนครศรีธรรมราช และได้เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาด้วย ใช้ชื่อว่า "Kingdom of Heaven" เข้ามาฉายในประเทศไทยได้เพียง 3 วัน ฟิล์มต้นฉบับก็สูญหาย นับเป็นโชคร้ายที่ปัจจุบันไม่เหลือสิ่งใดเกี่ยวกับภาพยนตร์เรื่องนี้อีกเลย นอกจากวัสดุประชาสัมพันธ์และของชำร่วยเล็ก ๆ น้อย ซึ่งรักษาไว้ที่ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)Sukwong, Dome and Suwannapak, Sawasdi.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและนางสาวสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

แดน บีช บรัดเลย์

หมอบรัดเลย์ หรือ แดน บีช แบรดลีย์ แพทยศาสตรบัณฑิต (Dan Beach Bradley) หรือบางคนเขียนเป็น หมอบรัดเล หมอปลัดเล หมอปรัดเล หรือ หมอปรัดเลย์ เป็นนายแพทย์ชาวอเมริกันที่เข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์ในประเทศไทยสมัยรัชกาลที่ 3 และยังเป็นผู้เริ่มต้นการพิมพ์อักษรไทยในประเทศไทยเป็นครั้งแรก และทำการผ่าตัดในประเทศไทยเป็นครั้งแรก.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและแดน บีช บรัดเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดราชาธิวาส

รงเรียนวัดราชาธิวาส (Rajadhivas School) เป็นโรงเรียนสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงมายาวนาน ตั้งอยู่ในพื้นที่ วัดราชาธิวาสราชวรวิหาร ซึ่งเป็น พระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร เมื่อก่อนเป็นโรงเรียนชายล้วน จนถึง พ.ศ. 2538 เป็นโรงเรียน สหศึกษา ตั้งอยู่ที่ ซอยสามเสน 9 แขวง วชิรพยาบาล เขต ดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและโรงเรียนวัดราชาธิวาส · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาแพ ธรรมสโรช ธิดาพระสำราญหฤทัย (อ้าว ธรรมสโรช) และท้าวทรงกันดาร (สี) เป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชโอรสและพระราชธิดา รวมกัน 5 พระองค์คือ.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและเจ้าจอมมารดาแพ ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดาเอม ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดาเอม (พ.ศ. 2382 — 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456) เป็นพระสนมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติการพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนงค์นพคุณ.พลายน้อ.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและเจ้าจอมมารดาเอม ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะอรัญวาสี

้าคณะอรัญวาสี คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะสงฆ์อรัญวาสี เจ้าคณะอรัญวาสีรูปสุดท้ายคือสมเด็จพระพุฒาจารย์ (แพ ติสฺสเทโว) ภายหลังจากพระองค์ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชก็มิได้มีพระสงฆ์รูปใดได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าคณะอรัญวาสีอีก คงมีแต่ตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนกลางเท่านั้น.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและเจ้าคณะอรัญวาสี · ดูเพิ่มเติม »

เขตดุสิต

ตดุสิต เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่ตั้งรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้.

ใหม่!!: วัดราชาธิวาสราชวรวิหารและเขตดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

วัดราชาธิวาสวัดราชาธิวาสวิหารวัดสมอราย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »