โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ลินดอน บี. จอห์นสัน

ดัชนี ลินดอน บี. จอห์นสัน

ลินดอน เบนส์ จอห์นสัน (Lyndon Baines Johnson, LBJ) ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 36 (1963 - 1969) และเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 37 (1961 - 1963) ได้กระทำพิธีสาบานตนเป็นประธานาธิบดีคนที่ 36 ของสหรัฐอเมริกา เมื่อบ่ายวันที่ 22 พฤศจิกายน..

47 ความสัมพันธ์: บารัก โอบามาบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ฟิลิป บ็อบบิตต์พ.ศ. 2451พ.ศ. 2509พ.ศ. 2516พูแดจีแกกระทรวงการเคหะและพัฒนาเมืองสหรัฐการลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดีการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของบารัก โอบามาการคุมกำเนิดมาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์มติอ่าวตังเกี๋ยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐรายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐรายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐรายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐรายนามประธานาธิบดีสหรัฐริชาร์ด นิกสันรถยนต์ประจำตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาวันไม้เท้าขาวสถาบันภาพยนตร์อเมริกันสงครามเวียดนามส่วนสูงของประธานาธิบดีสหรัฐหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฮิวเบิร์ต ฮัมเฟรย์จอห์น สไตน์เบ็คจอห์น เอฟ. เคนเนดีความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐความเสมอภาคทางสังคมคณะกรรมการวอร์เรนตำนานเมืองความประจวบลินคอล์น–เคนเนดีประธานศาลสูงสุดสหรัฐประเทศไทยใน พ.ศ. 2509นาซาโรคนิ่วไตโรเบิร์ต แม็กนามาราโรเบิร์ต เอฟ. เคนเนดีเลดี เบิร์ด จอห์นสันเส้นเวลาของยุคใหม่เส้นเวลาของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาเจมส์ อี. เวบบ์เดอะฟอกออฟวอร์2 กรกฎาคม22 พฤศจิกายน22 มกราคม27 สิงหาคม

บารัก โอบามา

รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและบารัก โอบามา · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิป บ็อบบิตต์

ฟิลิป เชส บ็อบบิตต์ (Philip Chase Bobbitt; เกิด 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1948) เป็นนักเขียน นักวิชาการ นักกฎหมาย และข้าราชการชาวอเมริกัน เคยสอนอยู่ในสหราชอาณาจักร เป็นผู้ที่มีความรู้ยอดเยี่ยมในด้านกลยุทธ์ทางทหาร กฎหมายรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญ อีกทั้งยังเคยเขียนหนังสือ Constitutional Fate: Theory of the Constitution (ค.ศ. 1982), The Shield of Achilles: War, Peace and the Course of History (ค.ศ. 2002) และ Terror and Consent: the Wars for the Twenty-first Century (ค.ศ. 2008) อีกด้ว.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและฟิลิป บ็อบบิตต์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2451

ทธศักราช 2451 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1908 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและพ.ศ. 2451 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2516

ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและพ.ศ. 2516 · ดูเพิ่มเติม »

พูแดจีแก

ูแดจีแก (부대찌개, แปลว่า "สตูกองทัพ") เป็นอาหารประเภท จีแก (ซุปเกาหลีมีลักษณะเหมือนกับสตูของตะวันตก) ไม่นานนักหลังจากสงครามเกาหลี อาหารเป็นที่ขาดแคลนไปทั่วทั้งโซล ผู้คนจำนวนหนึ่งจึงใช้วัตถุดิบที่เหลือจากกองทัพสหรัฐอเมริกาที่ประจำการในเกาหลีใต้ ในพื้นที่รอบ ๆ อึยจ็องบูและพย็องแท็ก (หรือซงทันในขณะนั้น) หรือมุนซัน วัตถุดิบประกอบไปด้วยฮอตดอก, เนื้อกระป๋อง (สแปม) หรือแฮม ผสมกันลงไปในน้ำซุปรสเผ็ดดั้งเดิมของเกาหลีปรุงรสด้วย โคชูจัง (พริกแดงที่มีลักษณะเหนียว) และกิมจิ พูแดจีแกยังคงได้รับความนิยมอยู่ในเกาหลีใต้ โดยในปัจจุบันมักผสมเครื่องปรุงสมัยใหม่เข้าไปด้วย เช่น บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป, อเมริกันชีสที่หั่นเป็นแผ่นบาง ๆ ส่วนเครื่องปรุงอื่น ๆ ก็ประกอบไปด้วยเนื้อบด, ไส้กรอกหั่นเป็นชิ้นบาง ๆ, ถั่วกระป๋อง, ''มีนารี'', หอมใหญ่, หอมต้นเดี่ยว, ต็อก, เต้าหู้, พริก, มะกะโรนี, กระเทียม, เห็ด และผักอื่น ๆ ตามฤดูกาล.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและพูแดจีแก · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงการเคหะและพัฒนาเมืองสหรัฐ

กระทรวงการเคหะและพัฒนาเมืองสหรัฐ (HUD) เป็นหน่วยงานการบริหารของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา แม้ว่าจะเป็นจุดเริ่มต้นจากสำนักงานที่อยู่อาศัย,บ้าน และการเงิน แต่ก็ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและกระทรวงการเคหะและพัฒนาเมืองสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

การลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดี

หตุการณ์การลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดี ประธานาธิบดีลำดับที่ 35 แห่งสหรัฐอเมริกา เกิดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 เวลา 12.30 น. ตามเวลาท้องถิ่น (เวลา 18.30 น. ตามเวลาสากลเชิงพิกัด) ณ เดลลีย์พลาซา เมืองแดลลัส รัฐเทกซัส ประธานาธิบดีเคนเนดีถูกยิงถึงแก่ชีวิตระหว่างที่นั่งขบวนรถประธานาธิบดีไปกับภรรยาของเขา แจ็กเกอลีน เคนเนดี โอนาสซิส การสืบสวนของคณะกรรมการวอร์เรน ซึ่งกินเวลา 10 เดือนระหว่าง พ.ศ. 2506-พ.ศ. 2507 การสืบสวนของคณะกรรมการสมาชิกผู้แทนราษฎรสหรัฐว่าด้วยการลอบสังหารประธานาธิบดี (HSCA) ระหว่าง พ.ศ. 2519-พ.ศ. 2522 และการสืบสวนของรัฐบาล สรุปว่าประธานาธิบดีถูกลอบสังหารโดยลี ฮาร์วีย์ ออสวอลด์ ซึ่งในเวลาต่อมาออสวอล์ดถูกฆาตกรรมโดยแจ๊ค รูบี้ ก่อนที่เขาจะต้องขึ้นศาล ในช่วงแรกที่มีการเปิดเผยผลการสืบสวน ข้อสรุปนี้ได้รับการยอมรับจากสาธารณชนอเมริกัน แต่ในภายหลัง ผลสำรวจที่มีการจัดทำขึ้นระหว่าง พ.ศ. 2509 ถึง พ.ศ. 2547 เปิดเผยว่าชาวอเมริกันประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์มีความเชื่อตรงกันข้ามกับข้อสรุปที่ได้จากการสืบสวนดังกล่าว การลอบสังหารนี้ยังคงเป็นประเด็นการอภิปรายในวงกว้าง และก่อให้เกิดประเด็นเรื่องทฤษฎีสมคบคิดและการจัดฉากอย่างนับไม่ถ้วน ใน พ.ศ. 2522 คณะกรรมการสมาชิกผู้แทนราษฎรสหรัฐว่าด้วยการลอบสังหารประธานาธิบดี ค้นพบว่ารายงานการสืบสวนของเอฟบีไอและคณะกรรมการวอร์เรนมีข้อบกพร่องอย่างร้างแรง คณะกรรมการฯ ยังสรุปด้วยว่ามีการยิงปืนใส่ไม่ต่ำกว่า 4 นัด ซึ่งเป็นไปได้สูงว่าอาจมีฆาตกรสองคน และทฤษฎีสมคบคิดดังกล่าวเกิดขึ้นจริง อย่างไรก็ดี ผลการศึกษาในภายหลัง ซึ่งรวมถึงผลการศึกษาของสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกาNational Academy of Sciences,.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและการลอบสังหารจอห์น เอฟ. เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของบารัก โอบามา

ีสาบานเป็นประธานาธิบดีของบารัก โอบามา บารัก โอบามา เริ่มดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีหลังจากเข้าพิธีสาบานตนเมื่อวันที่ 20 มกราคม ค.ศ. 2009 เป็นประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 44 และเป็นคนปัจจุบัน ในอดีตโอบามาเคยเป็นวุฒิสมาชิกรัฐอิลลินอยส์ และเขาเอาชนะวุฒิสมาชิกรัฐแอริโซนาจอห์น แมคเคน ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 2008.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของบารัก โอบามา · ดูเพิ่มเติม »

การคุมกำเนิด

ตัวอย่างยาเม็ดคุมกำเนิด ประสิทธิผลของวิธีคุมกำเนิดแบบต่าง ๆ การคุมกำเนิด (birth control) คือเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการป้องกันการปฏิสนธิหรือขัดขวางการตั้งครรภ์ การคุมกำเนิดถูกใช้มาแต่โบราณ ทว่าวิธีที่ปลอดภัยและได้ผลดีพึ่งมีในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 การวางแผน เตรียมการ และการใช้การคุมกำเนิดถูกเรียกว่าเป็นการวางแผนครอบครัว บางวัฒนธรรมไม่สนับสนุนและจำกัดการเข้าถึงวิธีการคุมกำเนิดเพราะเชื่อว่าเป็นสิ่งที่ไม่เป็นที่ต้องการทางศีลธรรม ศาสนา หรือการเมือง วิธีที่ซึ่งให้ประสิทธิผลสูงสุดคือการทำหมัน โดยการตัดหลอดนำอสุจิ (vasectomy)ในเพศชายและการผูกท่อรังไข่ในเพศหญิง การใส่ห่วงอนามัยคุมกำเนิด (IUD) และการใช้ยาฝังคุมกำเนิด ตามมาด้วยการใช้ฮอร์โมน เช่น ยาเม็ดคุมกำเนิด ยาคุมกำเนิดชนิดแผ่นแปะผิวหนัง วงแหวนช่องคลอด และการฉีดฮอร์โมน วิธีที่ได้ผลรองลงมาได้แก่วิธีการนับระยะปลอดภัยและวิธีการที่ใช้สิ่งกีดขวาง เช่น ถุงยางอนามัย หมวกครอบปากมดลูก และฟองน้ำคุมกำเนิด วิธีที่ได้ผลน้อยที่สุดได้แก่การใช้สารฆ่าเชื้ออสุจิ (spermicide) และการหลั่งนอกช่องคลอด การทำหมันให้ประสิทธิผลสูงแต่มักเป็นการคุมกำเนิดที่ถาวร ต่างกับวิธีอื่นซึ่งเป็นการคุมแบบชั่วคราวและสามารถย้อนกลับได้เมื่อหยุดใช้ การปฏิบัติทางเพศที่ปลอดภัย เช่นการใช้ถุงยางอนามัยชายหรือหญิงยังสามารถป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ส่วนวิธีการคุมกำเนิดแบบอื่นไม่ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เทคนิคการคุมกำเนิดฉุกเฉินสามารถป้องกันการตั้งครรภ์ได้ใช้ภายใน 72 ถึง 120 ชั่วโมงหลังมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน บางคนเชื่อว่าการไม่มีเพศสัมพันธ์เป็นการคุมกำเนิดแบบหนึ่ง ทว่าเพศศึกษาแบบที่สอนให้งดเว้นอย่างเดียวอาจเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหากไม่สอนควบคู่ไปกับการใช้การคุมกำเนิด เพราะการไม่ยอมทำตาม ในประเทศไทย พระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและการคุมกำเนิด · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์

มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ (Martin Luther King, Jr.; 15 มกราคม พ.ศ. 2472 - 4 เมษายน พ.ศ. 2511) เป็นศาสนาจารย์และนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน ชาวผิวสี.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและมาร์ติน ลูเทอร์ คิง จูเนียร์ · ดูเพิ่มเติม »

มติอ่าวตังเกี๋ย

อกสาร มติอ่าวตังเกี๋ย (หรือมติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, กฎหมายมหาชน 88-408) เป็นมติร่วมซึ่งรัฐสภาแห่งสหรัฐอเมริกาผ่านเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและมติอ่าวตังเกี๋ย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐ

รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหม (Secretary of Defense) เป็นหัวหน้าและประธานบริหารกระทรวงกลาโหม อันเป็นกระทรวงหนึ่งของรัฐบาลกลางแห่งสหรัฐDoDD 5100.1: Enclosure 2: a อำนาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเหนือกองทัพสหรัฐอเมริกานั้นเป็นรองเพียงประธานาธิบดีTrask & Goldberg: p.11 ประธานาธิบดีแต่งตั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมโดยคำแนะนำและยินยอมของวุฒิสภา เป็นสมาชิกคณะรัฐมนตรีโดยจารีตประเพณี และเป็นสมาชิกสภาความมั่นคงแห่งชาติตามกฎหม.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐ

รายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐ จอห์น แอดัมส์ เป็นรองประธานาธิบดีคนแรกในสมัยประธานาธิบดีจอร์จ วอชิงตัน และรองประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ ไมก์ เพนซ์ ในสมัยประธานาธิบดีดอนัลด์ ทรัมป์ มีรองประธานาธิบดีจากพรรคริพับลิกัน 20 คน จากพรรคเดโมแครต 18 คน พรรคเดโมแครติก-ริพับลิกัน 6 คน พรรควิก 2 คน พรรคเฟเดอรัลลิสต์ 1 คน และตำแหน่งว่างอีก 18 คน.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและรายนามรองประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ

รายนาม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและรายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ

ตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ (First Lady of the United States) เป็นตำแหน่งอย่างไม่เป็นทางการของผู้ดูแลทำเนียบขาว โดยธรรมเนียมปฏิบัติแล้ว ตำแหน่งนี้จะเป็นของภรรยาของประธานาธิบดีสหรัฐคนปัจจุบัน อย่างไรก็ตามในบางครั้งมีสตรีอื่นที่ไม่ใช่ภรรยาของประธานาธิบดีดำรงตำแหน่งนี้ ในกรณีที่ประธานาธิบดีนั้นยังไม่ได้แต่งงานหรือเป็นหม้าย ซึ่งส่วนใหญ่ผู้ดำรงตำแหน่งจะเป็นญาติหรือเพื่อนผู้หญิงของประธานาธิบดี ปัจจุบันยังไม่มีประธานาธิบดีที่เป็นสตรี ดังนั้นจึงไม่มีคำเรียกสามีของประธานาธิบดีซึ่งจะเป็นผู้ดูแลทำเนียบขาว แต่ปัจจุบันมีสตรีที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการรัฐแล้วหลายคน สามีของสตรีเหล่านี้จะถูกเรียกว่า สุภาพบุรุษหมายเลขหนึ่ง (First Gentlemen) สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งคนปัจจุบันคือเมลาเนีย ทรัมป์และมีอดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งที่ยังมีชีวิตอยู่ 4 คน ได้แก่ โรซาลีนน์ คาร์เตอร์, บาร์บารา บุช, ฮิลลารี คลินตัน,ลอรา บุช และ มิเชล โอบาม.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและรายนามสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสหรัฐ

ทำเนียบขาวเป็นสถานที่ทำงานของประธานาธิบดีสหรัฐฯ ประธานาธิบดีสหรัฐ เป็นตำแหน่งประมุขในการปกครองของสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าของทุกสาขาของรัฐบาลแห่งสหพันธรัฐ โดยมีหน้าที่ในการบังคับใช้กฎหมายบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ที่เขียนโดยสภาคองเกรสมาตราที่ 2 ของรัฐธรรมนูญนั้นบัญญัติว่า ประธานาธิบดีต้องเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของกองกำลังทหาร และกระจายอำนาจที่เป็นของประธานาธิบดีออกไป รวมไปถึงอำนาจเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างกฎหมาย ที่ผ่านมาจากสภาคองเกรส นอกจากนั้น ประธานาธิบดียังมีอำนาจในการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีเพื่อเป็นที่ปรึกษาและอำนาจในการลดโทษหรือให้รอลงอาญาได้ ท้ายที่สุดแล้ว หากประธานาธิบดีได้รับคำแนะนำและการยอมรับจากวุฒิสภา แล้วจะมีอำนาจในการทำสนธิสัญญา, แต่งตั้งเอกอัครราชทูตและศาลตัดสินของประเทศ รวมไปถึงศาลสูงสุดด้วย การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสหรัฐครั้งที่ 22 กำหนดให้สามารถดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีได้ไม่เกินสองสมัย รายนามนี้รวมเฉพาะบุคคลที่ได้สาบานตนเป็นประธานาธิบดีตามการลงนามในรัฐธรรมนูญสหรัฐ ซึ่งมีผลบังคับใช้ในปี..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและรายนามประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด นิกสัน

ริชาร์ด มิลเฮาส์ นิกสัน (ภาษาอังกฤษ: Richard Milhous Nixon) (9 มกราคม พ.ศ. 2456 - 22 เมษายน พ.ศ. 2537) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 37 ของสหรัฐอเมริกา ระหว่าง พ.ศ. 2512- พ.ศ. 2517 และเคยเป็นรองประธานาธิบดีคนที่ 36 ระหว่างปี พ.ศ. 2496 - พ.ศ. 2504 ริชาร์ด นิกสันเป็นประธานาธิบดีคนแรกและคนเดียวที่ลาออกจากตำแหน่ง สาเหตุที่ลาออกนั้นเกิดจากคดีวอเตอร์เกต ในสมัยของนิกสันนั้นประสบความสำเร็จในด้านการทูต โดยเฉพาะการผ่อนคลายความตึงเครียดในช่วงสงครามเย็นกับสหภาพโซเวียต และประเทศจีน รวมไปถึงการถอนตัวออกจากสงครามเวียดนาม.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและริชาร์ด นิกสัน · ดูเพิ่มเติม »

รถยนต์ประจำตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา

รถยนต์ประจำตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา เป็นรถยนต์รับรองของประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา มีชื่อเสียงเป็นอย่างมากในด้านระบบรักษาความปลอดภัย ปัจจุบัน บริษัทที่ผลิตรถยนต์ คือ เจเนรัลมอเตอร์ โดยรถยนต์ประจำตำแหน่งนี้เป็นรถลีมูซีนกันกระสุนและมีระบบรักษาความปลอดภัยที่เป็นเลิศ มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย และมีอุปกรณ์สื่อสารครบครันสำหรับประธานาธิบดีที่จะติดต่อสื่อสารกับใครก็ได้บนโลกใบนี้.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและรถยนต์ประจำตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

วันไม้เท้าขาว

วันไม้เท้าขาว (White Cane Safety Day) ตรงกับวันที่ 15 ตุลาคมของทุกปี ในสหรัฐอเมริกา นับตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและวันไม้เท้าขาว · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันภาพยนตร์อเมริกัน

ันภาพยนตร์อเมริกัน (American Film Institute) เป็นองค์กรอิสระที่ไม่แสวงหาผลประโยชน์ ก่อตั้งโดยกองทุนบริจาคเพื่อศิลปะแห่งชาติ ที่ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและสถาบันภาพยนตร์อเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเวียดนาม

งครามเวียดนาม หรือ สงครามอินโดจีนครั้งที่สอง หรือที่ชาวเวียดนามรู้จักกันในชื่อ สงครามอเมริกา เป็นสงครามตัวแทนสมัยสงครามเย็นที่เกิดขึ้นในประเทศเวียดนาม ลาวและกัมพูชาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2498 กระทั่งกรุงไซ่ง่อนแตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2518 สงครามเวียดนามนี้เกิดขึ้นหลังสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และมีเวียดนามเหนือซึ่งได้รับการสนับสนุนจากจีน สหภาพโซเวียตและพันธมิตรคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามฝ่ายหนึ่ง กับรัฐบาลเวียดนามใต้ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐและประเทศที่ต่อต้านคอมมิวนิสต์อื่นเป็นคู่สงครามอีกฝ่ายหนึ่ง เวียดกง (หรือ แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติ) เป็นแนวร่วมประชาชนคอมมิวนิสต์เวียดนามใต้ที่ติดอาวุธเบาซึ่งมีเวียดนามเหนือสั่งการ สู้รบในสงครามกองโจรต่อกำลังต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค กองทัพประชาชนเวียดนาม (กองทัพเวียดนามเหนือ) ต่อสู้ในสงครามตามแบบมากกว่า และบางครั้งส่งหน่วยขนาดใหญ่เข้าสู่ยุทธการ เมื่อสงครามดำเนินไป ส่วนการต่อสู้ของเวียดกงลดลงขณะที่บทบาทของกองทัพประชาชนเวียดนามเพิ่มขึ้น กำลังสหรัฐและเวียดนามใต้อาศัยความเป็นเจ้าเวหาและอำนาจการยิงที่เหนือกว่าเพื่อดำเนินปฏิบัติการค้นหาและทำลาย ซึ่งรวมถึงกำลังภาคพื้นดิน ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศ ตลอดห้วงสงคราม สหรัฐดำเนินการทัพทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ขนานใหญ่ต่อเวียดนามเหนือ และต่อมาน่านฟ้าเวียดนามเหนือกลายเป็นน่านฟ้าที่มีการป้องกันหนาแน่นที่สุดในโลก รัฐบาลสหรัฐมองว่าการเข้ามามีส่วนในสงครามของตนเป็นหนทางป้องกันการยึดเวียดนามใต้ของคอมมิวนิสต์อันเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การจำกัดการขยายตัวของลัทธิที่ไม่พึงปรารถนาที่ใหญ่กว่า โดยมีเป้าหมายที่แถลงไว้เพื่อหยุดการแพร่ของคอมมิวนิสต์ ตามทฤษฎีโดมิโนของสหรัฐ หากรัฐหนึ่งกลายเป็นคอมมิวนิสต์ รัฐอื่นในภูมิภาคก็จะเป็นไปด้วย ฉะนั้น นโยบายของสหรัฐจึงถือว่าการผ่อนปรนการแพร่ของคอมมิวนิสต์ทั่วประเทศเวียดนามนั้นยอมรับไม่ได้ รัฐบาลเวียดนามเหนือและเวียดกงต่อสู้เพื่อรวมเวียดนามอยู่ในการปกครองคอมมิวนิสต์ ทั้งสองมองข้อพิพาทนี้เป็นสงครามอาณานิคม ซึ่งเริ่มแรกสู้กับฝรั่งเศส โดยได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐ แล้วต่อมาสู้กับเวียดนามใต้ ซึ่งถูกมองว่าเป็นรัฐหุ่นเชิดของสหรัฐ ที่ปรึกษาทางทหารชาวอเมริกันมาถึงอินโดจีนขณะนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 2493 การเข้ามามีส่วนของสหรัฐเพิ่มขึ้นในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 โดยมีระดับทหารเพิ่มเป็นสามเท่าในปี 2494 และเพิ่มอีกสามเท่าในปีต่อมา การเข้ามามีส่วนของสหรัฐทวีขึ้นอีกหลังเหตุการณ์อ่าวตังเกี๋ย ปี 2507 ซึ่งเรือพิฆาตของสหรัฐปะทะกับเรือโจมตีเร็วของเวียดนามเหนือ ซึ่งตามติดด้วยข้อมติอ่าวตังเกี๋ยซึ่งอนุญาตให้ประธานาธิบดีสหรัฐเพิ่มทหารในพื้นที่ หน่วยรบปกติของสหรัฐถูกจัดวางเริ่มตั้งแต่ปี 2498 ปฏิบัติการข้ามพรมแดนระหว่างประเทศ โดยพื้นที่ติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชาถูกกองทัพสหรัฐทิ้งระเบิดอย่างหนักขณะที่การเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐเพิ่มขึ้นสูงสุดในปี 2511 ปีเดียวกัน ฝ่ายคอมมิวนิสต์เปิดฉากการรุกตรุษญวน การรุกตรุษญวนไม่สัมฤทธิ์ผลในการโค่นรัฐบาลเวียดนามใต้ แต่ได้กลายเป็นจุดพลิกผันของสงคราม เพราะได้แสดงว่าเวียดนามใต้ไม่อาจป้องกันตัวเองจากเวียดนามเหนือได้ แม้สหรัฐจะทุ่มความช่วยเหลือทางทหารอย่างมหาศาลหลายปี ด้วยจุดชัยชนะของสหรัฐนั้นไม่ชัดเจน จึงค่อย ๆ มีการถอนกำลังภาคพื้นดินของสหรัฐโดยเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายเรียก การแผลงเป็นเวียดนาม (Vietnamization) ซึ่งมุ่งยุติการเข้ามามีส่วนในสงครามของสหรัฐขณะที่โอนภารกิจต่อสู้กับคอมมิวนิสต์ให้เวียดนามใต้เอง แม้ภาคีทุกฝ่ายลงนามข้อตกลงสันติภาพปารีสในเดือนมกราคม 2516 แล้วก็ตาม แต่การสู้รบยังดำเนินต่อไป ในสหรัฐและโลกตะวันตก มีการพัฒนาขบวนการต่อต้านสงครามเวียดนามขนาดใหญ่ขึ้น ขบวนการนี้ทั้งเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมต่อต้าน (Counterculture) แห่งคริสต์ทศวรรษ 1960 และเป็นปัจจัยหนึ่งของมัน การมีส่วนร่วมทางทหารของสหรัฐยุติลงเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2516 อันเป็นผลมาจากคำแปรญัตติเคส–เชิร์ช (Case–Church Amendment) ที่รัฐสภาสหรัฐผ่าน การยึดกรุงไซ่ง่อนโดยกองทัพประชาชนเวียดนามในเดือนเมษายน 2518 เป็นจุดสิ้นสุดของสงคราม และมีการรวมชาติเวียดนามเหนือกับเวียดนามใต้ในปีต่อมา สงครามนี้คร่าชีวิตมนุษย์ไปมหาศาล ประเมินตัวเลขทหารและพลเรือนชาวเวียดนามที่ถูกสังหารมีตั้งแต่น้อยกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อย ไปถึงกว่า 3 ล้านคน ชาวกัมพูชาเสียชีวิตราว 2-3 แสนคนHeuveline, Patrick (2001).

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและสงครามเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

ส่วนสูงของประธานาธิบดีสหรัฐ

ประธานาธิบดี มีส่วนสูงที่เติบโตอย่างก้าวกระโดด ซึ่งใช้การคาดการณ์แนวโน้มเชิงเส้น การบันทึกสถิติส่วนสูงของประธานาธิบดีสหรัฐ ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับการประเมินการว่ามีบทบาทอะไร, ถ้ามี, ส่วนสูงเล่นในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ผู้สังเกตการณ์บางคนตั้งข้อสังเกตว่าผู้สมัครของพรรคใหญ่สองพรรคมีแนวโน้มที่จะมีชัยในการเลือกตั้งเพราะประชาชนต้องการผู้ชิงที่มีส่วนสูงที่สูง ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาที่มีส่วนสูงมากที่สุด คือ อับราฮัม ลินคอล์น (6 ฟุต 4 นิ้ว, 193 เซนติเมตร) และประธานาธิบดีที่มีส่วนสูงน้อยที่สุด คือ เจมส์ แมดิสัน (5 ฟุต 4 นิ้ว, 163 เซนติเมตร).

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและส่วนสูงของประธานาธิบดีสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกโดยย่อว่า หอประชุมจุฬาฯ เป็นหอประชุมใหญ่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีความเป็นมาคู่กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาอย่างยาวนาน อีกทั้งยังมีเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์เกิดขึ้นที่อาคารแห่งนี้หลายเหตุการณ์ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งอยู่ภายในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร หอประชุมจุฬาฯ เป็นสิ่งปลูกสร้างที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของภูมิทัศน์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เกิดการปรับภูมิทัศน์โดยรอบ เช่น การขุดสระน้ำด้านหน้าประตูใหญ่ ตัดถนนรอบสนามรักบี้และสร้างลานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2545 สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ได้มอบรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่นให้แก่หอประชุมจุฬาฯ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีพระราชทานแก่นิสิตที่หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นแห่งแรกก่อนที่กิจกรรมนี้จะมีขึ้นในอีกหลายมหาวิทยาลัยในเวลาต่อมา เป็นที่มาของวันทรงดนตรี หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสัญลักษณ์ที่โดดเด่นคู่มหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ก่อสร้างแล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2482 นิสิตและบุคลากรของจุฬาฯ ล้วนผูกพันและมีโอกาส ได้เข้าร่วมพิธีกรรมและกิจกรรมอันหลากหลายที่อาคารหลังนี้ นับตั้งแต่กิจกรรมแรกของการเป็นนิสิต คือพิธีปฐมนิเทศนิสิตใหม่ พิธีปฐมนิเทศนิสิตหอพักของหอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิธีไหว้ครู เปิดเทศกาลงานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ–ธรรมศาสตร์ จนกระทั่งเมื่อสำเร็จการศึกษา อาคารหลังนี้ก็เป็นสถานที่ประกอบพิธีพระราชทานปริญญาบัตร นอกจากนี้ยังใช้เป็นที่จัดกิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมในวาระสำคัญต่าง ๆ ทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและระดับชาต.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

ฮิวเบิร์ต ฮัมเฟรย์

ฮิวเบิร์ต โฮราทิโอ ฮัมเฟรย์ จูเนียร์ (Hubert Horatio Humphrey Jr.; 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 - 13 มกราคม พ.ศ. 2521) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 38 ระหว่าง พ.ศ. 2508 ถึง 2512 ในสมัยประธานาธิบดีลินดอน บี. จอห์นสัน หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายนอร์เวย์ จ หมวดหมู่:พรรคเดโมแครต (สหรัฐอเมริกา) หมวดหมู่:นักการเมืองอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเซาท์ดาโคตา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐมินนิโซตา.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและฮิวเบิร์ต ฮัมเฟรย์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น สไตน์เบ็ค

อห์น เอิร์นส์ต สไตน์เบ็ค จูเนียร์ (John Ernst Steinbeck, Jr.; พ.ศ. 2445-2511) นักประพันธ์นวนิยายและนักเขียนเรื่องสั้นชาวอเมริกัน เกิดที่ ซาลีนาส รัฐแคลิฟอร์เนีย ได้รับรางวัลรางวัลพูลิตเซอร์ ค.ศ. 1940 (พ.ศ. 2484) และรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ประจำปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505).

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและจอห์น สไตน์เบ็ค · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เอฟ. เคนเนดี

รือเอก จอห์น ฟิตซ์เจอรัลด์ เคนเนดี (John Fitzgerald Kennedy) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า เจเอฟเค (JFK ย่อจากชื่อภาษาอังกฤษ) (29 พฤษภาคม ค.ศ. 1917 — 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 35 ของสหรัฐอเมริกา เจ้าของวาทะเปี่ยมไปด้วยจิตสำนึกหน้าที่ความรับผิดชอบของพลเมือง: "จงอย่าถามว่าประเทศชาติจะให้อะไรแก่ท่าน แต่จงถามตัวท่านเองว่าท่านจะทำอะไรให้ประเทศชาติ" เกิดเมื่อ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1917 ที่เมืองบรู๊คลาย รัฐแมสซาชูเซตส์ อยู่ที่นั่นถึง 10 ขวบ ครอบครัวก็ย้ายเข้านิวยอร์ก เป็นคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิก ลูกคนที่ 2 ในจำนวน 9 คนของโจเซฟ แพทริก เคนเนดี คหบดีใหญ่อดีตเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำสหราชอาณาจักร จากโรงเรียนมัธยมในรัฐคอนเนตทิคัต เรียนต่อมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เข้าหน่วยกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา เป็นผู้บังคับการเรือ ตอร์ปิโด Patrol Torpedo boat 59 รับเหรียญกล้าหาญจากวีรกรรมช่วยเพื่อนทหารให้รอดชีวิตจากเหตุเรืออับปางด้วยข้าศึกโจมตี เขาว่ายน้ำพยุงร่างเพื่อนที่ได้รับบาดเจ็บไปโดยไม่ทอดทิ้ง ลงสนามการเมืองได้เป็นวุฒิสมาชิกรัฐบ้านเกิด จากนั้นเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ค.ศ. 1960 สหรัฐอเมริกาได้ประธานาธิบดีที่หนุ่มที่สุดเพียง 43 ปี และเป็นคริสต์คนแรกที่ดำรงตำแหน่งยิ่งใหญ่นี้ เจเอฟเคบริหารประเทศด้วยพลังหนุ่ม (เป็นคำหนึ่งที่เขาชอบมาก) และมองโลกในแง่ดี เคเนดี้เป็นผู้จัดตั้ง องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา หรือยูเสด เพื่อให้การสนับสนุนประเทศประชาธิปไตยในการป้องกันลัทธิคอมมิวนิสต์ วันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1961 เขาแถลงต่อสภาคองเกรสว่าอเมริกากำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายที่ไม่ธรรมดา ให้สภาอนุมัติงบประมาณเพื่อจุดมุ่งหมายของชาติคือ การส่งมนุษย์ไปลงบนดวงจันทร์ และเดินทางกลับอย่างปลอดภัย ด้านการต่างประเทศ เคนเนดียุติวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ทางการเมืองด้วยการยื่นคำขาดให้สหภาพโซเวียตถอนฐานยิงขีปนาวุธในประเทศคิวบา ความสำเร็จอีกประการหนึ่งคือ สนธิสัญญาระหว่างประเทศในการห้ามทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ อย่างไรก็ตามนโยบายที่ผิดพลาดก็มีเช่นกัน การให้ความช่วยเหลือทางทหารแก่เวียดนามใต้ เป็นจุดเริ่มต้นสงครามเวียดนามที่โหดร้ายรุนแรง แรกทีเดียวประธานาธิบดีเชื่อข้อมูลฝ่ายทหารและนักค้าอาวุธสงคราม ว่าสหรัฐจะสามารถชนะกองกำลังคอมมิวนิสต์ในเวียดนามได้ไม่ยาก เพราะแสนยานุภาพทางทหารเหนือกว่า เฉพาะอย่างยิ่งกองกำลังทางอากาศที่ใช้เฮลิคอปเตอร์เป็นหลัก แต่นั่นไม่จริง สงครามเวียดนามยืดเยื้อ ทหารอเมริกันเข้าสมรภูมิเป็นจำนวนมหาศาล ความสูญเสียเกินบรรยาย ช่วงเวลาที่จะหมดวาระ เตรียมชิงเก้าอี้ผู้นำสมัยที่ 2 เขาตัดสินใจใช้การเจรจาทางการทูตยุติสงคราม แต่จากนั้นไม่นานเคนเนดีก็ถูกยิงเสียชีวิตที่เมืองแดลลัส รัฐเทกซัส ในเหตุการณ์การลอบสังหารฯ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963 ประวัติศาสตร์บันทึกถึงประธานาธิบดีผู้มีอายุน้อยที่สุดของสหรัฐอเมริกา ผู้มีผลงานโดดเด่นมากมายท่ามกลางวิกฤตการณ์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง รอยต่อของยุคก้าวสู่สงครามเย็น เพื่อเป็นการให้เกียรติของท่าน รัฐบาลจึงนำชื่อของท่านมาตั้งเป็น ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีในนครนิวยอร์ก ของ สหรัฐอเมริกา อีกด้ว.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและจอห์น เอฟ. เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ความเสมอภาคทางสังคม

วามเสมอภาค (Equality) เป็นมโนทัศน์พื้นฐานที่สุดเรื่องหนึ่งไม่ว่าจะกล่าวในมิติทางการเมืองหรือในทางเศรษฐกิจ คนทั่วไปมักสับสนคำว่า “เสมอภาค” กับ “เหมือนกัน” (sameness) กล่าวคือ คิดว่าการรับรองความเสมอภาคของมนุษย์เท่ากับการทำให้มนุษย์ทุกคนเท่ากัน จนมักโต้แย้งว่าความเสมอภาคไม่มีทางเป็นไปได้ จึงควรทำความเข้าใจเบื้องต้นว่าหลักการของความเสมอภาค ไม่ได้และไม่เคยเรียกร้องให้มนุษย์ทุกคนต้องเหมือนกันหมด เพราะมนุษย์ย่อมแตกต่างกันเป็นธรรมชาติทั้งโดยชาติพันธุ์ รูปร่าง ผิวพรรณ เพศสภาพ บุคลิก ความเชื่อ ศาสนา วัฒนธรรม และอื่นๆ แต่ความแตกต่างนั้นไม่ได้เป็นเหตุผลทำให้มนุษย์ต้องไม่เสมอภาคกัน เพราะความเสมอภาค (Equality) ตรงข้ามกับความไม่เสมอภาค (Inequality) ไม่ได้ตรงข้ามกับคำว่าความแตกต่าง (Difference) อย่างที่หลายคนทึกทัก นั่นหมายความว่า มนุษย์เราแตกต่างกันโดยธรรมชาติ แต่ก็สามารถและควรเท่าเทียมกันได้ (different but Equal) ดังนั้นเมื่อกล่าวว่า คนเสมอภาคกัน จึงไม่ได้หมายความว่าคนเหมือนกันทุกด้านไม่ว่าจะเป็นชาติตระกูล หน้าตา ความสามารถ สติปัญญา แต่การที่บอกว่าเสมอภาคกันมีความหมายว่า มนุษย์เท่าเทียมกันทั้งในความเป็นมนุษย์ และตามกฎหมายของรัฐ (Kurian, 2011: 515) ดังที่มีวลีสำคัญที่สะท้อนความเสมอภาคคือ “Equality Before the Law” ซึ่งหมายความว่าบุคคลทุกผู้ทุกนามย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองตามกระบวนของกฎหมายอย่างเป็นธรรม หรือความเสมอภาคกันในทางการเมืองคือ พลเมืองที่มีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกำหนดย่อมสามารถใช้สิทธิเลือกตั้งได้อย่างเท่าเทียมกัน ในบางกรณี ที่ความเสมอภาคยึดโยงเข้ากับหลักความเป็นธรรม (Justice) จะนำไปสู่การปฏิบัติต่อผู้คนที่แตกต่างกันด้วยมาตรการเฉพาะเพื่อช่วยให้ความแตกต่างกันโดยธรรมชาติได้รับการแก้ไขให้เกิดความเสมอภาคมากขึ้น เช่น มาตรการช่วยเหลือคนด้อยโอกาส คนทุพพลภาพ เพื่อความเสมอภาคในสังคม ดังนั้น การมองอย่างฉาบฉวยว่าการเรียกร้องให้คนเท่ากันหมายถึงการเรียกร้องให้คนเหมือนกันนั้น จึงเป็นความเข้าใจผิดในประเด็นพื้นฐาน.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและความเสมอภาคทางสังคม · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการวอร์เรน

ณะกรรมการประธานาธิบดีว่าด้วยการลอบสังหารประธานาธิบดีเคนเนดี (The President's Commission on the Assassination of President Kennedy) หรือชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า คณะกรรมการวอร์เรน (Warren Commission) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและคณะกรรมการวอร์เรน · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานเมืองความประจวบลินคอล์น–เคนเนดี

อับราฮัม ลินคอล์น จอห์น เอฟ. เคนเนดี ความเหมือนกันระหว่างประธานาธิบดีลินคอล์นและเคนเนดี เป็นรายการเปรียบเทียบความเหมือนกันระหว่างประธานาธิบดีที่ยอดเยี่ยมในอันดับต้นๆ ของประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา 2 ท่าน คือ อับราฮัม ลิงคอล์น ประธานาธิบดีคนที่ 16 แห่งสหรัฐอเมริกา และ จอห์น เอฟ. เคนเนดี ประธานาธิบดีคนที่ 35 แห่งสหรัฐอเมริกา ซึ่งถูกเผยแพร่เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและตำนานเมืองความประจวบลินคอล์น–เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

ประธานศาลสูงสุดสหรัฐ

ประธานศาลสูงสุดสหรัฐ (Chief Justice of the United States) เป็นประมุขแห่งศาลสหรัฐทั้งปวง และเป็นประมุขของศาลสูงสุดสหรัฐ (Supreme Court of the United States) โดยเป็นหนึ่งในตุลาการศาลสูงสุดเก้าคน แปดคนที่เหลือเรียก ตุลาการสมทบในศาลสูงสุดสหรัฐ (Associate Justice of the Supreme Court of the United States) ประธานศาลสูงสุดเป็นข้าราชการตุลาการชั้นสูงที่สุดในประเทศ กับทั้งปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานกรรมการตุลาการ (chief administrative officer) และแต่งตั้งเลขาธิการศาลสหรัฐ (director of the Administrative Office of the United States Courts) ประธานศาลสูงสุดยังเป็นโฆษกสำหรับองค์กรตุลาการของประเทศอีกด้วย ประธานศาลสูงสุดอำนวยกิจการทั้งปวงของศาลสูงสุด เขาจะนั่งเป็นประธานในการพิจารณาคดีทั้งมวลของศาลสูงสุด โดยเฉพาะในการแถลงการณ์ด้วยวาจา และเมื่อศาลสูงสุดจะทำความเห็นในการวินิจฉัยคดี ถ้าเขาอยู่เสียงข้างมาก เขาสามารถกำหนดให้ตุลาการคนใดทำคำพิพากษากลางขึ้น เขายังกำหนดระเบียบวาระอันสำคัญในการประชุมของศาลสูงสุดด้วย นอกจากนี้ เมื่อวุฒิสภาดำเนินคดีอาญาต่อประธานาธิบดี ซึ่งเคยมีมาแล้วสองคราในหน้าประวัติศาสตร์ เขาจะเป็นประธานในการพิจารณาคดี ปัจจุบัน เขายังมีหน้าที่อันตกผลึกมาทางประเพณีอีก คือ เป็นประธานในพิธีให้สัตย์ปฏิญาณเข้ารับตำแหน่งของประธานาธิบดี จอห์น เจย์ (John Jay) เป็นประธานศาลสูงสุดคนแรก และ จอห์น จี. รอเบิตส์ จูเนียร์ (John G. Roberts, Jr.) เป็นประธานศาลสูงสุดคนปัจจุบัน ซึ่งเป็นลำดับที่สิบเจ็.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและประธานศาลสูงสุดสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2509

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2509 ในประเทศไท.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและประเทศไทยใน พ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

นาซา

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ (National Aeronautics and Space Administration) หรือ นาซา (NASA) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ตามรัฐบัญญัติการบินและอวกาศแห่งชาติ เป็นหน่วยงานส่วนราชการ รับผิดชอบในโครงการอวกาศและงานวิจัยห้วงอากาศอวกาศ (aerospace) ระยะยาวของสหรัฐอเมริกา คอยจัดการหรือควบคุมระบบงานวิจัยทั้งกับฝ่ายพลเรือนและฝ่ายทหาร ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 องค์การนาซาได้ประกาศภารกิจหลักคือการบุกเบิกอนาคตแห่งการสำรวจอวกาศ การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ และงานวิจัยทางการบินและอวกาศ คำขวัญขององค์การนาซาคือ "เพื่อประโยชน์ของคนทุกคน" (For the benefit of all).

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและนาซา · ดูเพิ่มเติม »

โรคนิ่วไต

รคนิ่วไต (kidney stone disease, urolithiasis) เป็นก้อนวัสดุแข็งที่เกิดในทางเดินปัสสาวะ นิ่วไตปกติจะเกิดในไตแล้วออกจากร่างกายผ่านปัสสาวะ โดยก้อนเล็ก ๆ อาจจะผ่านออกโดยไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าใหญ่เกินกว่า 5 มิลลิเมตร ก็อาจขวางท่อไตมีผลให้เจ็บอย่างรุนแรงที่หลังหรือท้องส่วนล่าง นิ่วยังอาจทำให้เลือดออกในปัสสาวะ ทำให้อาเจียน หรือทำให้เจ็บเมื่อถ่ายปัสสาวะ (dysuria) คนไข้ประมาณครึ่งหนึ่งจะเกิดนิ่วอีกภายใน 10 ปี นิ่วโดยมากมีเหตุจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยเสี่ยงรวมทั้งระดับแคลเซียมสูงในปัสสาวะ (hypercalciuria) โรคอ้วน อาหารบางชนิด ยาบางชนิด การทานแคลเซียมเป็นอาหารเสริม ระดับฮอร์โมนพาราไทรอยด์เกินในเลือด (hyperparathyroidism) โรคเกาต์ และดื่มน้ำไม่พอ นิ่วจะเกิดในไตเมื่อแร่ในปัสสาวะเข้มข้นมาก การวินิจฉัยปกติจะอาศัยอาการ การตรวจปัสสาวะ และภาพฉายรังสี โดยการตรวจเลือดอาจมีประโยชน์ นิ่วมักจะจัดกลุ่มตามตำแหน่งที่อยู่ คือ nephrolithiasis (ในไต) ureterolithiasis (ในท่อไต) cystolithiasis (ในกระเพาะปัสสาวะ) หรือโดยองค์ประกอบของนิ่ว เช่น แคลเซียมออกซาเลต (calcium oxalate), กรดยูริก, สตรูไวท์ (struvite), ซิสทีน (cystine) เป็นต้น คนไข้ที่มีนิ่วสามารถป้องกันโดยดื่มน้ำให้ผลิตปัสสาวะมากกว่า 2 ลิตรต่อวัน ถ้ายังไม่พอ อาจทานยาไทอะไซด์ (thiazide), ไซเตรต (citrate, กรดไซตริก) หรืออัลโลพิวรีนอล (allopurinol) คนไข้ควรเลี่ยงดื่มน้ำอัดลม (เช่น โคลา) ถ้านิ่วไม่มีอาการ ก็ไม่จำเป็นต้องรักษา ไม่เช่นนั้นแล้ว ยาแก้ปวดเป็นการรักษาเบื้องต้น โดยใช้ยาเช่น ยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAID) หรือโอปิออยด์ นิ่วที่ใหญ่เพิ่มขึ้นอาจขับออกได้โดยใช้ยา tamsulosin หรืออาจต้องปฏิบัติการอื่น ๆ เช่น การใช้คลื่นเสียงนอกกายสลายนิ่ว (extracorporeal shock wave lithotripsy), การส่องกล้องท่อไต (ureteroscopy), หรือการผ่าตัดนิ่วผ่านผิวหนัง (percutaneous nephrolithotomy) คนทั่วโลกประมาณ 1-15% จะมีนิ่วไตในช่วงหนึ่งของชีวิต ในปี 2558 มีคนไข้ 22.1 ล้านราย ทำให้เสียชีวิต 16,100 ราย เป็นโรคที่สามัญยิ่งขึ้นในโลกตะวันตกตั้งแต่ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 โดยทั่วไป ชายจะเป็นมากกว่าหญิง นิ่วไตเป็นโรคที่ปรากฏตลอดประวัติศาสตร์มนุษย์ โดยมีการกล่าวถึงการผ่าตัดเพื่อเอาออกเริ่มตั้งแต่ 600 ปีก่อน..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและโรคนิ่วไต · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต แม็กนามารา

รเบิร์ต สแทรนจ์ แม็กนามารา (Robert Strange McNamara) ผู้บริหารธุรกิจชาวอเมริกัน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมคนที่แปดแห่งสหรัฐอเมริกา ในรัฐบาลประธานาธิบดี จอห์น เอฟ. เคนเนดีและลินดอน บี. จอห์นสัน ระหว่าง 21 มกราคม..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและโรเบิร์ต แม็กนามารา · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต เอฟ. เคนเนดี

thumb โรเบิร์ต ฟรานซิล "บ็อบบี" เคนเนดี (Robert Francis Kennedy) หรือที่รู้จักในชื่อ "บ็อบบี" หรือชื่อย่อ อาร์เอฟเค (RFK) เป็นนักการเมืองอเมริกัน และเป็นน้องชายของจอห์น ฟิตซ์เจอรัลด์ "แจ็ก" เคนเนดี เขาดำรงตำแหน่งเป็นอัยการสูงสุดแห่งสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและโรเบิร์ต เอฟ. เคนเนดี · ดูเพิ่มเติม »

เลดี เบิร์ด จอห์นสัน

คลอเดีย อัลตา "เลดี เบิร์ด" เทย์เลอร์ จอห์นสัน (22 ธันวาคม ค.ศ. 1912 - 11 กรกฎาคม ค.ศ. 2007) เป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสหรัฐอเมริกาและเป็นภรรยาของประธานาธิบดีลินดอน บี. จอห์นสัน บ หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเทกซัส.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและเลดี เบิร์ด จอห์นสัน · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา

ตารางนี้แสดงถึงระยะเวลาที่ใช้ในการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี ชีวิตก่อนที่จะเป็นประธานาธิบดี และ ช่วงหลังจากเป็นประธานาธิบดี ตั้งแต่ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนแรก จอร์จ วอชิงตัน ถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและเส้นเวลาของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ อี. เวบบ์

มส์ เอ็ดวิน เวบบ์ (James Edwin Webb, 7 ตุลาคม 1906 - 27 มีนาคม 1992) เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐบาลอเมริกันที่ทำงานเป็นผู้บริหารคนที่สองขององค์กรนาซา ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่ 14 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและเจมส์ อี. เวบบ์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะฟอกออฟวอร์

อะฟอกออฟวอร์: อีเลฟเวนเลสเซินส์ฟรอมเดอะไลฟ์ออฟโรเบิร์ต แม็กนามารา (The Fog of War: Eleven Lessons from the Life of Robert S. McNamara) (พ.ศ. 2546) คือภาพยนตร์สารคดีจากสหรัฐอเมริกาที่กำกับโดย เออร์โรล มอร์ริส เกี่ยวกับชีวิตและช่วงเวลาของโรเบิร์ต แม็กนามารา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งสหรัฐอเมริกา เดอะ ฟอก ออฟ วอร์นำเสนอถึงความไม่แน่นอนในสนามรบระหว่างสงคราม ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลออสการ์ ประเภทภาพยนตร์สารดคียอดเยี่ยม และ Independent Spirit Award for Best Documentary Feature.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและเดอะฟอกออฟวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและ22 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มกราคม

วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและ22 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

27 สิงหาคม

วันที่ 27 สิงหาคม เป็นวันที่ 239 ของปี (วันที่ 240 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 126 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ลินดอน บี. จอห์นสันและ27 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Lyndon B. JohnsonLyndon Johnson

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »