โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รอเบิร์ต พีล

ดัชนี รอเบิร์ต พีล

ซอร์ รอเบิร์ต พีล (Sir Robert Peel) เป็นนักการเมืองแห่งสหราชอาณาจักรในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีถึงสองสมัย ในปี..

12 ความสัมพันธ์: กามิลโล เบนโซ เคานต์แห่งกาวูร์รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรวิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตันจอร์จ แคนนิงจอห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์เอ็ดมันด์ เบิร์กเอ็ดเวิร์ด สมิธ-สแตนลีย์ เอิร์ลที่ 14 แห่งดาร์บีย์2 กรกฎาคม29 กันยายน

กามิลโล เบนโซ เคานต์แห่งกาวูร์

กามิลโล เบนโซ เคานต์แห่งกาวูร์ เชลลาเรนโก และอีโซลาเบลลา (Camillo Paolo Filippo Giulio Benso, conte di Cavour, di Cellarengo e di Isolabella; 10 สิงหาคม พ.ศ. 2353 - 6 มิถุนายน พ.ศ. 2404) รัฐบุรุษชาวปีดมอนต์ผู้มีบทบาทสำคัญในการรวมรัฐต่าง ๆ ในคาบสมุทรอิตาลีให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของอิตาลี.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและกามิลโล เบนโซ เคานต์แห่งกาวูร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2

วิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2 (William Lamb, 2nd Viscount Melbourne) หรือนามเรียกขานคือ ท่านลอร์ดเมลเบิร์น เป็นรัฐบุรุษของอังกฤษจากพรรควิก ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัย เขายังเป็นผู้อบรมสั่งสอนสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียในสมัยที่พระนางทรงพระเยาว์ ด้วยเหตุนี้พระนางจึงทรงนับถือเขาเป็นเสมือนบิดา ทำให้ลอร์ดเมลเบิร์นค่อนข้างมีอิทธิพลทางการเมืองครอบงำพระนาง แต่เขาก็ได้รับการบันทึกไว้ว่าเป็นคนดี ซื่อตรง และไม่เห็นแก่ตน ในปี 1834 เขาถูกให้ออกจากตำแหน่งโดยพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีคนสุดท้ายของสหราชอาณาจักรที่ถูกให้ออกจากตำแหน่งโดยราชสำนัก.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและวิลเลียม แลมบ์ ไวเคานต์เมลเบิร์นที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน

อมพล อาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน (Arthur Wellesley, 1st Duke of Wellington) เป็นทหารและรัฐบุรุษ และเป็นหนึ่งในผู้กำหนดนโยบายทางการทหารและการเมืองของอังกฤษในศตวรรษที่ 19 เขาสามารถมีชัยเหนือนโปเลียนแห่งฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วอเตอร์ลูในปี 1815 ซึ่งทำให้เขากลายเป็นวีรบุรุษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกองทัพอังกฤษ และมีสมญานามว่า ดยุกเหล็ก ทั้งนี้ ในปี 2002 ชื่อของเขาอยู่ในอันดับ 15 ของชาวอังกฤษผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดหนึ่งร้อยลำดับ เกิดที่ดับลินในไอร์แลนด์ เริ่มจากการเป็นนายธงในกองทัพอังกฤษในปี 1787 โดยประจำการในไอร์แลนด์ในฐานะทหารคนสนิทของข้าหลวงใหญ่แห่งไอร์แลนด์ นอกจากนี้ยังได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาสามัญชน (สภาล่าง) ของไอร์แลนด์ และดำรงยศเป็นพันเอกในปี 1796 โดยเข้าร่วมราชการสงครามในเนเธอร์แลนด์ในช่วงสงครามมหาสัมพันธมิตรครั้งที่หนึ่ง และในอินเดียในช่วงสงครามอังกฤษ-ไมซอร์ครั้งที่สี่ และจึงได้รับแต่งตั้งเป็นข้าหลวงประจำศรีรังคปัฏนาและไมซอร์ในปี 1799 และต่อมาจึงได้รับแต่งตั้งเป็นพลตรีภายหลังชัยชนะเหนือจักรวรรดิมราฐาในปี 1803 เวลสลีย์เป็นผู้บัญชาการศึกคาบสมุทรในสงครามนโปเลียน และได้รับการเลื่อนขึ้นขึ้นเป็นจอมพลภายหลังสามารถนำกองทัพพันธมิตรมีชัยเหนือฝรั่งเศสได้ในยุทธการที่วิกตอเรียในปี 1813 ซึ่งตามมาด้วยการเนรเทศนโปเลียนในปีต่อมา เวลสลีย์เข้ารับตำแหน่งเป็นราชทูตประจำฝรั่งเศส และได้รับบรรดาศักดิ์เป็นดยุก ต่อมาระหว่างสมัยร้อยวันในปี 1815 กองทัพพันธมิตรของเขาร่วมกับกองทัพปรัสเซียที่นำโดยพลโทบลือเชอร์ มีชัยเหนือนโปเลียนในยุทธการที่วอเตอร์ลู ชีวิตทหารของเขานั้นเป็นที่น่ายกย่องอย่างยิ่ง จากรายงานราชการสงคราม ตลอดชีวิตทหารของเขาได้ผ่านศึกสงครามมากว่า 60 ครั้ง เขามีชื่อเสียงขึ้นมาจากการปรับตัวและใช้กลยุทธ์ในการตั้งรับข้าศึกจนสามารถมีชัยนับครั้งไม่ถ้วนเหนือข้าศึกที่มีกำลังเหนือกว่า ในขณะที่ตัวเขาเองก็ได้รับบาดเจ็บน้อยมาก เขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในผู้บัญชาฝ่ายตั้งรับตลอดกาล กลยุทธ์และแผนการรบของเขาจำนวนมากถูกนำไปสอนในวิทยาลัยการทหารชั้นนำของโลก ภายหลังออกจากราชการทหาร เขาก็กลับคืนสู่งานการเมือง โดยได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรสองสมัยโดยสังกัดพรรคทอรี ระหว่างปี 1828 ถึง 1830 และอีกครั้งเป็นช่วงเวลาไม่ถึงเดือนในปี 1834 ต่อมาเขาได้ดำรงตำแหน่งผู้นำในสภาขุนนาง จนกระทั่งเกษียณอายุแต่ยังคงเป็นผู้บัญชาการกองทัพอังกฤษจนกระทั่งถึงแก่อสัญกรรม.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและอาร์เธอร์ เวลสลีย์ ดยุกที่ 1 แห่งเวลลิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ แคนนิง

อร์จ แคนนิง (George Canning) เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวอังกฤษจากพรรคทอรี นอกจากจะเป็นสมาชิกคณะรัฐมนตรีในหลายรัฐบาลตลอดจนเป็นผู้นำในสภาสามัญชนแล้ว เขายังได้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีอีกด้วย เขาแตกต่างจากนายกรัฐมนตรีหลายๆคนก่อนหน้า คือไม่ได้เกิดมาในตระกูลขุนนางหรือการทหาร มารดาของเขาเป็นนักแสดง ส่วนบิดาเป็นนักธุรกิจและทนายความที่ประสบความล้มเหลว ทำให้แคนนิงต้องถูกอุปการะทางการเงินโดยลุงสแตรธฟอร์ด ซึ่งพาเขาเข้าไปศึกษาที่วิทยาลัยอีตันและโบสถ์คริสต์แห่งอ็อกซฟอร์ด แคนนิงเริ่มเดินเข้าสู่หนทางการเมืองในปี 1793 และก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เขาเป็นสมุหบัญชีกองทัพระหว่าง..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและจอร์จ แคนนิง · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1

อห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1 (John Russell, First Earl Russell) เป็นนักการเมืองแห่งสหราชอาณาจักรในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีถึงสองสมัย ในปี..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและจอห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์

ร่างสตรีและเด็กที่เป็นบรรยายความยากเข็ญของบริจิต โอดอนเนล จากลอนดอนนิวส์ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1849 ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ (An Gorta Mór, Irish Potato Famine) หรือในภาษาเกลิก “An Gorta Mór” แปลตรงตัวว่า “ความโหยหิวอันยิ่งใหญ่” หรือ “An Drochshaol” ที่แปลว่า “ชีวิตอันตกอับ” เป็นสมัยที่เกิดทุพภิกขภัย โรคระบาด และการย้ายถิ่นฐานครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดมันด์ เบิร์ก

อ็ดมันด์ เบิร์ก (Edmund Burke) เป็นรัฐบุรุษชาวไอร์แลนด์ และยังเป็นทั้งนักปรัชญา, นักปราศรัย, นักทฤษฏีการเมือง และเป็นนักการเมืองอังกฤษสังกัดพรรควิกโดยเป็นสมาชิกสภาสามัญชน เขาเป็นที่รู้จักจากการสนับสนุนการปฏิวัติอเมริกา, การเลิกกีดกันชาวคาทอลิก, การฟ้องร้องข้าหลวงวอร์เรน ฮาสติงส์ แห่งบริษัทอินเดียตะวันออก และภายหลังจากการไม่เห็นด้วยกับการปฏิวัติฝรั่งเศส ซึ่งทำให้เขาผันตัวไปเป็นผู้นำกลุ่มอนุรักษนิยมในพรรควิกซึ่งเป็นเสียงข้างน้อยในสภา ซึ่งตัวเขาเรียกกลุ่มนี้ว่า กลุ่ม "วิกเก่า" (Old Whigs) ซึ่งอยู่ขั้วตรงข้ามกับฝ่ายสนับสนุนการปฏิวัติฝรั่งเศสซึ่งเรียกว่ากลุ่ม "วิกใหม่" (New Whigs) ที่นำโดยชาร์ล เจมส์ ฟ็อกซ์ เบิร์กเชื่อว่าเสรีภาพและจารีตประเพณีสามารถไปด้วยกันได้ ไม่จำเป็นต้องขัดแย้งถึงขั้นนองเลือดหรือสถาปนาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดขึ้นเป็นฝ่ายชนะอย่างขาดลอยชัดเจน การเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลันนั้นจะนำมาซึ่งความสูญเสียไม่คุ้มกับประโยชน์ที่ได้รับ ดังนั้นเขาจึงเชื่อมั่นในวิถีแห่งการประนีประนอมมากกว่าการห้ำหั่นเอาชนะ ในขณะที่เขาต่อต้านการปฏิวัติฝรั่งเศสเขากลับสนับสนุนการปลดแอกของอเมริกาจากอังกฤษ เขาให้เหตุผลว่าเนื่องจากการปฏิวัติในฝรั่งเศสนั้นไม่ได้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการแสวงหาเสรีภาพและความเท่าเทียมตั้งแต่ต้น แต่เกิดจากการยุยงโดยชนชั้นนำซึ่งท้ายที่สุดจะนำไปซึ่งการปกครองในระบอบเผด็จการที่เลวร้ายกว่าเดิม ในศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขาเสียชีวิตกว่าร้อยปีแล้ว เขากลายมาเป็นว่าได้รับการนับถืออย่างมากในฐานะนักปรัชญาผู้เป็นบิดาแห่งแนวคิดอนุรักษนิยมสมัยใหม.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและเอ็ดมันด์ เบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด สมิธ-สแตนลีย์ เอิร์ลที่ 14 แห่งดาร์บีย์

อ็ดเวิร์ด สมิธ-สแตนลีย์ เอิร์ลแห่งดาร์บีย์ ที่ 14 (Edward Smith-Stanley, 14th Earl of Derby) เป็นนักการเมืองแห่งสหราชอาณาจักรและดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีสามสมัยในกลางคริสต์ศตวรรษที่สิบเก้า เขาถือเป็นผู้นำพรรคอนุรักษนิยมที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด และเป็นหนึ่งในผู้ผลักดันการแก้ไขระบบการเลือกตั้งในอังกฤษครั้งที่ 2 ในปี 2410 ซึ่งเป็นการให้สิทธิชนชั้นกรรมกรในการเลือกตั้งเป็นครั้งแรก.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและเอ็ดเวิร์ด สมิธ-สแตนลีย์ เอิร์ลที่ 14 แห่งดาร์บีย์ · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 กันยายน

วันที่ 29 กันยายน เป็นวันที่ 272 ของปี (วันที่ 273 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 93 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: รอเบิร์ต พีลและ29 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

PeelRobert PeelSir Robert Peelพีลโรเบิร์ต พีลเซอร์ โรเบิร์ต พีล

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »