โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสติน

ดัชนี มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสติน

น้ำพุอีสต์มอลล์ และหอนาฬิกามหาวิทยาลัยเทกซัส มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสติน (The University of Texas at Austin) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลตั้งอยู่ที่เมืองออสติน ใน รัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2426 (ค.ศ. 1883) เป็นหนึ่งในระบบของมหาวิทยาลัยเทกซัสที่มีด้วยกันทั้งหมด 9 วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทกซัสได้ชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาที่มีนักศึกษามากที่สุด ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2548) มีนักศึกษามากกว่า 50,000 คน และอาจารย์และเจ้าหน้าที่มากกว่า 20,000 คน มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสติน ในปี..

37 ความสัมพันธ์: บิ๊กทเวลฟ์บุญเสริม วิทยชำนาญกุลพิชิต อัคราทิตย์การครุ่นคิด (จิตวิทยา)ภาพยนตร์ศึกษามูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ยุคลิดรัฐเท็กซัสรายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริการายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริการายนามการแสดงพักครึ่งซูเปอร์โบวล์วลาดีวอสตอควิกิพีเดียศักดิ์ เตชาชาญสฺวี เค่อสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ฮิกส์โบซอนจิตติพจน์ วิริยะโรจน์ธนพล ศิริธนชัยดีน ออร์นิชค้างคาวคุณกิตติประกอบ วิโรจนกูฏประสิทธิ์ ณรงค์เดชประเทศอียิปต์นักกีฬาวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2014นักกีฬาวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2015นีล ดะแกรส ไทสันแมทธิว แม็คคอนาเฮย์แม่น้ำแบรซัสโลกาภิวัตน์โจเซฟ สกูลิงไมเคิล เดลล์เร็กซ์ ทิลเลอร์สันเรเชล แอดัมส์เอฟ. เมอร์รีย์ เอบราฮัมUT

บิ๊กทเวลฟ์

ัญลักษณ์ของบิ๊กทเวลฟ์ กลุ่มบิ๊กทเวลฟ์ (Big 12 Conference) เป็นกลุ่มของมหาวิทยาลัยที่รวมตัวกัน 12 แห่งในการจัดการแข่งขันกีฬาระหว่างมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกา และบิ๊กทเวลฟ์เป็นกลุ่มสมาชิกของเอ็นซีดับเบิลเอดิวิชัน 1 สำหรับกีฬาทุกชนิด ยกเว้น อเมริกันฟุตบอลอยู่ดิวิชัน I-A.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและบิ๊กทเวลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุญเสริม วิทยชำนาญกุล

ตราจารย์ ดร. บุญเสริม วิทยชำนาญกุล ศาสตราจารย์ นายแพทย์ บุญเสริม วิทยชำนาญกุล เกิดวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2493 ที่กรุงเทพมหานคร นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย สาขากายวิภาคศาสตร์ และ ชีววิทยาระบบสืบพันธุ์ เป็นผู้บุกเบิกงานวิจัยเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการเลี้ยงกุ้งกุลาดำในประเทศไทย โดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาวิธีตรวจเชื้อและศึกษาหาวิธีป้องกันโรคไวรัสในกุ้งกุลาดำ จนได้รับรางวัล "กุ้งทองคำเกียรติยศ" จากชมรมผู้เลี้ยงกุ้งสุราษฎร์ธานี เป็นนักวิจัยในกลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรมผลิตกุ้งกุลาดำ ที่ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี 2546 และรางวัลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ประจำปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและบุญเสริม วิทยชำนาญกุล · ดูเพิ่มเติม »

พิชิต อัคราทิตย์

ต อัคราทิตย์ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา และเป็นประธานกรรมการการรถไฟแห่งประเทศไทย (บอร์ดการรถไฟ).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและพิชิต อัคราทิตย์ · ดูเพิ่มเติม »

การครุ่นคิด (จิตวิทยา)

การครุ่นคิด (Rumination) เป็นการใส่ใจอย่างหมกมุ่นในอาการต่าง ๆ เกี่ยวกับความทุกข์/ปัญหาของตน และในเหตุและผลที่อาจเป็นไปได้ของความทุกข์ แทนที่จะใส่ใจในวิธีแก้ปัญหา ทั้งความครุ่นคิดและความกลุ้มใจ (worry) สัมพันธ์กับความวิตกกังวล (anxiety) และอารมณ์เชิงลบอื่น ๆ แต่ว่าก็ยังไม่มีวิธีการเดียวที่ตกลงใช้วัดระดับของมัน ตามทฤษฎี Response Styles Theory เสนอในปี 1998 (โดย Nolen-Hoeksema) ความครุ่นคิดนิยามว่าเป็น "การใส่ใจอย่างหมกมุ่นในอาการต่าง ๆ เกี่ยวกับความทุกข์/ปัญหาของตน และในเหตุและผลที่อาจเป็นไปได้ของความทุกข์ แทนที่จะใส่ใจในวิธีแก้ปัญหา" และเพราะว่าทฤษฎีนี้ได้หลักฐานเชิงประสบการณ์สนับสนุน ดังนั้นจึงเป็นแบบจำลองของความครุ่นคิดที่นิยมใช้กันมากที่สุด แต่ว่าก็ยังมีทฤษฎีอื่น ๆ ที่เสนอนิยามอื่น ยกตัวอย่างเช่น ในทฤษฎี Goal Progress Theory ความครุ่นคิดไม่ใช่เป็นปฏิกิริยาต่อสภาวะของพื้นอารมณ์ แต่เป็น "การตอบสนองต่อความล้มเหลวที่จะก้าวหน้าอย่างน่าพอใจไปยังเป้าหมายอย่างหนึ่ง" บทความนี้แสดงแบบจำลองหลายอย่างของความครุ่นคิดและหมายจะแยก "ความครุ่นคิด" จากแนวคิด/โครงสร้างทางจิตวิทยาอื่น ๆ ที่อาจดูคล้ายกันหรือเหลื่อมกัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและการครุ่นคิด (จิตวิทยา) · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ศึกษา

ห้องฉายภาพยนตร์ ที่มหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์ วอชิงตัน ดี.ซี. ภาพยนตร์ศึกษา เป็นสาขาวิชาทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีภาพยนตร์ ประวัติศาสตร์ของภาพยนตร์ และวิธีวิพากษ์ภาพยนตร์ บางครั้งก็เป็นส่วนหนึ่งในสื่อมวลชนศึกษา (Media studies) และมักถูกเปรียบเทียบได้กับสาขาโทรทัศน์ศึกษา ภาพยนตร์ศึกษาจะไม่เกี่ยวข้องกับความเชี่ยวชาญทางด้านการผลิตภาพยนตร์มากนัก แต่เน้นทางด้านการสำรวจการเล่าเรื่อง (narrative) เชิงศิลปะ วัฒนธรรม ทางด้านเศรษฐกิจ และผลกระทบทางการเมืองต่อวงการภาพยนตร์ ในมุมมองของแสวงหาค่านิยมทางสังคมและอุดมการณ์ ภาพยนตร์ศึกษาจะใช้วิธีเชิงวิพากษ์สำหรับการวืเคราะห์การผลิต กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี บริบทและการสร้างภาพยนตร์ ในแง่นี้ภาพยนตร์ศึกษามีอยู่ในสาขาที่ผู้สอนมักไม่เป็นนักการศึกษาหรืออาจารย์หลักเสมอไป แต่จะเป็นผลงานภาพยนตร์ที่สำคัญของบุคคลจะทำหน้าที่ดังกล่าว นอกจากนี้ในการศึกษาภาพยนตร์ สายอาชีพที่เป็นไปได้ ได้แก่ นักวิจารณ์หรือทางด้านการผลิตภาพยนตร์ ทฤษฎีภาพยนตร์มักจะรวมถึงการศึกษาความขัดแย้งระหว่างสุนทรียศาสตร์ของงานฮอลลีวูดเชิงภาพและการวิเคราะห์เนื้อหาบทภาพยนตร์ โดยรวมการศึกษาในด้านภาพยนตร์กำลังเติบโตเช่นเดียวกับอุตสาหกรรมภาพยนตร์ วารสารวิชาการที่เผยแพร่ผลงานภาพยนตร์ศึกษา ได้แก่วารสาร Sight & Sound (สถาบันภาพยนตร์อังกฤษ), Screen (มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด), Cinema Journal (มหาวิทยาลัยเทกซัส), Film Quarterly (มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย) และ Journal of Film and Video (มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์).

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและภาพยนตร์ศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์

มูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ หรือ มูลนิธิเกตส์ (Bill & Melinda Gates Foundation, Gates Foundation ตัวย่อ BMGF) เป็นมูลนิธิเอกชนหรือส่วนบุคคลที่ใหญ่ที่สุดในโลก จัดตั้งโดยบิล เกตส์ และเมลินดา เกตส์ ในปี 2543 และกล่าวกันว่าเป็นมูลนิธิส่วนบุคคลที่ดำเนินการอย่างโปร่งใสที่ใหญ่ที่สุดในโลก จุดมุ่งหมายหลักของมูลนิธิก็คือ เพื่อปรับปรุงการบริหารสุขภาพและลดความยากจนทั่วโลก และในสหรัฐอเมริกา เพื่อขยายโอกาสการศึกษาและการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ มูลนิธิมีสำนักงานใหญ่ที่เมืองซีแอตเทิล รัฐวอชิงตัน และควบคุมโดยผู้จัดการดูแลทรัพย์สิน 3 ท่านคือ บิลกับเมลินดาเกตส์ และวอร์เรน บัฟเฟตต์ เจ้าหน้าที่หลักอื่น ๆ รวมทั้ง ประธานกรรมการร่วม วิลเลียม เอ็ช เกตส์ ซีเนียร์ (บิดาของนายเกตส์) และประธานบริหาร พญ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและมูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุคลิด

ลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย (Euclid of Alexandria, ประมาณ 325 – 270 ปีก่อนคริสต์ศักราช) นักคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียงชาวกรีก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและยุคลิด · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเท็กซัส

ท็กซัส (Texas) เป็นรัฐที่อยู่ทางใต้และตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา มีพื้นที่ทั้งหมด 695,622 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 22.8 ล้านคน เท็กซัสเป็นรัฐที่ใหญ่เป็นอันดับสองทั้งพื้นที่และประชากร รวมเข้ากับสหรัฐอเมริกาเป็นลำดับที่ 28 ในปี พ.ศ. 2388 อักษรย่อของที่ทำการไปรษณีย์สหรัฐคือ TX.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและรัฐเท็กซัส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันวิจัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ โดยจำนวนผู้รับรวมถึง นักศึกษา ศิษย์เก่า อาจารย์ นักวิจัยของสถาบันนั้น โดยนับทั้งตอนก่อนและหลังที่จะได้รับ ข้อมูลด้านล่างเป็นข้อมูลปี พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและรายชื่อมหาวิทยาลัยเรียงตามรางวัลโนเบลที่ได้รับ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่เปิดสอนวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ในสหรัฐอเมริกามี 199 มหาวิทยาลัย (ข้อมูล พ.ศ. 2549) ที่มีการเปิดสอนคณะวิศวกรรมศาสตร์ในระดับปริญญาตรี โท เอก โดยในแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีภาควิชาย่อยแตกต่างกันไป อาจขึ้นอยู่กับลักษณะทางภูมิศาสตร์ เช่นมหาวิทยาลัยในแถบฝั่งแปซิฟิก จะมีคณะวิศวกรรมมหาสมุทร ในขณะที่มหาวิทยาลัยในบริเวณตอนกลางของประเทศจะเน้นทางด้านอื่น ซึ่งรองรับชุมชน คณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐได้มีการจัดอันดับ โดยนิตยสาร ยูเอสนิวส์ ข้อมูลปี พ.ศ. 2549 การจัดอันดับจะคิดคะแนนรวมจาก สัมภาษณ์อาจารย์ที่มีชื่อเสียง 40% ผลงานวิจัยดีเด่น 25% จำนวนอาจารย์คณะ 25% และคะแนนสอบเข้า (GRE) ของผู้เข้าเรียน 10% อันดับของยูเอสนิวส์ ในส่วนของวิศวกรรมศาสตร์ ควบคุม 184 มหาวิทยาลัย และมักจะได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ ว่าคะแนนอันดับต่ำกว่า 20 มีคะแนนรีวิวใกล้เคียงกัน แต่อันดับต่างกันมาก เปรียบเทียบ MIT และ UIUC คะแนนต่างกัน 18 คะแนน อันดับมหาวิทยาลัยต่างกัน 4 อันดับ ขณะที่ มิชิแกนสเตต แตกต่างจาก ฮาร์วาร์ด ประมาณ 30 อันดับ ที่คะแนนต่างเท่ากัน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและรายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา

รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในสหรัฐอเมริกาที่เปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ จัดอันดับโดยนิตยสาร ดีไซน์อินเทลลิเจนซ์ ข้อมูลปี ค.ศ. 2005.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและรายชื่อคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามการแสดงพักครึ่งซูเปอร์โบวล์

ซูเปอร์โบว์ลครั้งที่ 49 เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2015 การแสดงช่วงพักครึ่งเป็นประเพณีระหว่างเกมอเมริกันฟุตบอลในทุกระดับของการแข่งขัน เป็นการแสดงความบันเทิงในช่วงซูเปอร์โบว์ลซึ่งเป็นเกมชิงแชมป์ประจำปีของเนชันแนลฟุตบอลลีก (NFL) การแสดงช่วงพักครึ่งของซูเปอร์โบว์ลเป็นการแสดงที่ถูกจับตามองมากที่สุดในสหรัฐอเมริกา ช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา การแสดงช่วงพักครึ่งของซูเปอร์โบว์ลครั้งที่ 49 โดยนักร้องหญิงชาวอเมริกัน เคที เพร์รี ได้มีการรับชมถึง 118.5 ล้านคนของการออกอากาศโดยรวมที่มียอดการเข้าฉายประมาณ 120.3 ล้านคน ซึ่งเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีผู้ชมมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของสหรัฐฯCampbell (1995), pp.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและรายนามการแสดงพักครึ่งซูเปอร์โบวล์ · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีวอสตอค

วลาดีวอสตอค (p, แปลว่า ผู้ปกครองแห่งตะวันออก) เป็นเมืองขนาดใหญ่ทางด้านทิศตะวันออกของประเทศรัสเซีย ริมอ่าวโกลเดนฮอร์น ไม่ไกลจากพรมแดนจีนและเกาหลีเหนือ ประชากรในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและวลาดีวอสตอค · ดูเพิ่มเติม »

วิกิพีเดีย

วิกิพีเดีย (Wikipedia, หรือ) เป็นสารานุกรมเนื้อหาเสรีหลายภาษาบนเว็บไซต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร เนื้อหากว่า 35 ล้านบทความ (เฉพาะวิกิพีเดียภาษาอังกฤษมีเนื้อหากว่า 4.9 ล้านบทความ) เกิดขึ้นจากการร่วมเขียนของอาสาสมัครทั่วโลก ทุกคนที่สามารถเข้าถึงวิกิพีเดียสามารถร่วมแก้ไขได้แทบทุกบทความได้อย่างเสรี โดยมีผู้เขียนประจำราว 100,000 คน จนถึงเดือนเมษายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและวิกิพีเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์ เตชาชาญ

นายศักดิ์ เตชาชาญ อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2484 เป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญแต่งตั้งจากผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ เดิมเป็นข้าราชการประจำในสังกัดกระทรวงมหาดไทย นายศักดิ์ เตชาชาญ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและศักดิ์ เตชาชาญ · ดูเพิ่มเติม »

สฺวี เค่อ

วี เค่อ หรือในประเทศไทยมักเรียก ฉีเคอะ (Tsui Hark; จีน: 徐克, พินอิน: Xú Kè) ผู้อำนวยการสร้าง, ผู้เขียนบทและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวฮ่องกงชื่อดัง ที่มีผลงานมากมายโดยเฉพาะ ภาพยนตร์แอ๊คชั่นในช่วงทศวรรษที่ 80 และทศวรรษที่ 90 เช่นเดียวกับ จอห์น วู สฺวี เค่อ เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1950 ที่ไซ่ง่อน เวียดนามใต้ เมื่ออายุได้ 13 ปี ครอบครัวได้เดินทางมาตั้งรกรากที่ฮ่องกง สฺวี เค่อมีความสนใจในศาสตร์ด้านภาพยนตร์ตั้งแต่เด็ก ๆ โดยร่วมกันสร้างภาพยนตร์ขนาด 8 มิลลิเมตร กับเพื่อน สฺวี เค่อ จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทกซัส ออสติน ในปี ค.ศ. 1975 เมื่อจบการศึกษาแล้วจึงเริ่มงานในวงการภาพยนตร์ฮ่องกงอย่างแท้จริง จนได้รับการกล่าวขานว่าเป็น "ผู้กำกับรุ่นที่ 4" แต่ผลงานเริ่มต้นของสฺวี เค่อไม่ประสบความสำเร็จมากนัก โดยเขาเริ่มจากการกำกับละครโทรทัศน์และภาพยนตร์ในแนวตลกและกังฟู จนกระทั่งมาประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรก จาก A Better Tomorrow เมื่อปี ค.ศ. 1986 จากการกำกับของจอห์น วู โดยสฺวี เค่อเป็นผู้อำนวยการสร้าง จากนั้นมา ชื่อของสฺวี เค่อ ก็เสมือนเครื่องการันตีคุณภาพของภาพยนตร์เรื่องนั้น ๆ จนกระทั่งในช่วงที่ประสบความสำเร็จและในชื่อเสียงอยู่นั้น การโฆษณาภาพยนตร์ในประเทศไทยต้องมีคำลงท้ายว่า "ฉีเคอะ กำกับ!!"ซึ่งภาพยนตร์ที่เป็นผลงานของสฺวี เค่อ ได้แก่ The Sword Man ทั้งภาคแรก, ภาคที่ 2 และภาคที่ 3 (เฉพาะภาคแรก สฺวี เค่อไม่ได้กำกับ แต่เป็นผู้อำนวยการสร้าง แต่ทว่าคนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าสฺวี เค่อเป็นผู้กำกับ), ภาพยนตร์ชุด Once Upon a Time in China หรือ หวงเฟยหง ที่นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย หรือ A Chinese Ghost Story ที่นำแสดงโดย เลสลี่ จาง และ หวัง จู่เสียนและ Black Mask ในปี ค.ศ. 1996 นอกจากนี้แล้ว ยังได้กำกับภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดอีก ในเรื่อง Double Team ในปี ค.ศ. 1997 นำแสดงโดย ชอง-โกลด ว็อง ดามม์, เดนนิส ร็อดแมน และมิกกีย์ รูร์ก และ Knock Off ในปี ค.ศ. 1998 นำแสดงโดย ชอง-โกลด ว็อง ดามม์, ร็อบ สไนเดอร์ และไมเคิล หว่อง นอกจากนี้แล้วยังได้กำกับภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง A Chinese Ghost Story หรือโปเยโปโลเย ที่เป็นความเชื่อเรื่องผีของจีนและเป็นหนังสืออ่านนอกเวลาของเด็กระดับชั้นประถมตามหลักสูตรการศึกษาของจีน โดยเป็นการนำเอาผลงานเก่ากลับมาสร้างใหม่ในรูปแบบอะนิเมะชั่น ในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและสฺวี เค่อ · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์

ันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที, เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่าง ๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮิกส์โบซอน

การทดลองการชนระหว่างอนุภาคโปรตอนสองตัว อาจทำให้เกิดสัญญาณการมีตัวตนของอนุภาคฮิกส์ ฮิกส์โบซอน (Higgs boson) เป็นอนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่งที่อยู่ในแบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์ของอนุภาค มันเป็นการกระตุ้นควอนตัมของ สนามฮิกส์ —ซึ่งเป็นสนามพื้นฐานที่สำคัญอย่างมากต่อทฤษฎีฟิสิกส์ของอนุภาค ที่คาดว่าจะมีอยู่จริงแต่แรกในทศวรรษที่ 1960s, ที่ไม่เหมือนสนามที่เคยรู้จักอื่น ๆ เช่นสนามแม่เหล็กไฟฟ้า, และใช้ค่าคงที่ที่ไม่เป็นศูนย์เกือบทุกแห่ง คำถามที่ว่าสนามฮิกส์มีอยู่จริงหรือไม่ อยู่ในส่วนที่ไม่ได้ตรวจสอบสุดท้ายของแบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์ของอนุภาคและ "ปัญหาส่วนกลางของฟิสิกส์ของอนุภาค" การปรากฏตัวของสนามนี้, ตอนนี้เชื่อว่าจะมีการยืนยัน, อธิบายคำถามที่ว่าทำไมอนุภาคมูลฐานบางตัวจึงมีมวลเมื่อ, ตามการสมมาตร (ฟิสิกส์)ที่ควบคุมปฏิสัมพันธ์ของพวกมัน, พวกมันควรจะไม่มีมวล การมีอยู่ของสนามฮิกส์จะแก้ปัญหาที่มีมานานหลายอย่างอีกด้วย เช่นเหตุผลสำหรับอันตรกิริยาอย่างอ่อนที่มีช่วงระยะทำการสั้นมาก ๆ ถึงแม้ว่าจะมีการตั้งสมมติฐานว่าสนามฮิกส์แทรกซึมอยู่ในจักรวาลทั้งมวล หลักฐานสำหรับการดำรงอยู่ของมันได้เป็นเรื่องยากมากที่จะหาได้ ในหลักการ สนามฮิกส์สามารถตรวจพบได้โยการกระตุ้นตัวมัน เพื่อให้แสดงตัวออกมาเป็นอนุภาคฮิกส์ แต่วิธีนี้เป็นเรื่องยากมากในการทำขึ้นและตรวจสอบ ความสำคัญของคำถามพื้นฐานนี้ได้นำไปสู่​​การค้นหาถึง 40 ปี และการก่อสร้างหนึ่งของสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการทดลองที่มีราคาแพงที่สุดและมีความซับซ้อนที่สุดในโลกจนถึงวันนี้ คือเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ของเซิร์น ในความพยายามที่จะสร้างฮิกส์โบซอนและอนุภาคอื่น ๆ สำหรับการสังเกตและการศึกษา เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2012, ได้มีการประกาศการค้นพบอนุภาคใหม่ที่มีมวลระหว่าง 125 ถึง 127 GeV/c2; นักฟิสิกส์สงสัยว่ามันเป็นฮิกส์โบซอน ตั้งแต่นั้นมา อนุภาคดังกล่าวแสดงออกที่จะประพฤติ, โต้ตอบ, และสลายตัวในหลาย ๆ วิธีที่ได้คาดการณ์ไว้ตามแบบจำลองมาตรฐาน นอกจากนั้นมันยังได้รับการยืนยันอย่างไม่เป็นทางการที่จะมี parity เป็น even และมีสปินเป็นศูนย์ และมีลักษณะพื้นฐาน (fundamental attribute) ของฮิกส์โบซอน 2 อย่าง นี้ดูเหมือนจะเป็นอนุภาคแบบสเกลาตัวแรกที่มีการค้นพบในธรรมชาติ การศึกษาอื่น ๆ มีความจำเป็นเพื่อตรวจสอบว่าอนุภาคที่ค้นพบใหม่นี้มีคุณสมบัติต่าง ๆ ตรงกับที่ได้มีการคาดการณ์ไว้สำหรับฮิกส์โบซอนโดยแบบจำลองมาตรฐานหรือตามที่ได้คาดการณ์โดยบางทฤษฎีว่าฮิกส์โบซอนแบบกลุ่มมีอยู่จริงหรือไม่ ฮิกส์โบซอนถูกตั้งชื่อตามปีเตอร์ ฮิกส์ ซึ่งเป็นหนึ่งในหกนักฟิสิกส์ที่ในปี 1964 ได้นำเสนอกลไกที่บ่งบอกถึงการมีอยู่ของอนุภาคดังกล่าว เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2013 สองคนในนั้น, ปีเตอร์ ฮิกส์และ François Englert ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์สำหรับการทำงานและการทำนายของพวกเขา (โรเบิร์ต Brout ผู้ร่วมวิจัยของ Englert ได้เสียชีวิตในปี 2011 และรางวัลโนเบลไม่ได้ส่งให้หลังการเสียชีวิตของผู้ประพันธ์ตามปกติ) ในแบบจำลองมาตรฐาน, อนุภาคฮิกส์เป็น โบซอน ที่ไม่มีสปิน, ไม่มีประจุไฟฟ้าหรือประจุสี นอกจากนี้มันยังไม่เสถียรอย่างมาก การสลายตัวไปเป็นอนุภาคอื่น ๆ เกือบจะเกิดขึ้นได้ในทันที มันเป็นการกระตุ้นของควอนตัมของหนึ่งในสี่ส่วนประกอบของสนามฮิกส์ ตัวหลังของสนามฮิกส์ประกอบขึ้นเป็นสนามสเกลาร์ ที่มีส่วนประกอบที่เป็นกลางสองตัวและส่วนประกอบที่มีประจุไฟฟ้าสองตัวที่ก่อให้เกิดคู่ซับซ้อน (complex doublet) ของการสมมาตรแบบ isospin อย่างอ่อน SU(2) ในวันที่ 15 ธันวาคมปี 2015 ทั้งสองทีมของนักฟิสิกส์ที่ทำงานอิสระที่เซิร์นได้รายงานคำแนะนำเบื้องต้นของการเป็นไปได้ของอนุภาคย่อยใหม่ ถ้าจริง อนุภาคสามารถเป็นได้ทั้งรุ่นที่หนักกว่าของฮิกส์โบซอน หรือเป็น Graviton อย่างใดอย่างหนึ่ง อนุภาคชนิดนี้มีบทบาทพิเศษในแบบจำลองมาตรฐาน กล่าวคือเป็นอนุภาคที่อธิบายว่าทำไมอนุภาคมูลฐานชนิดอื่น เช่น ควาร์ก อิเล็กตรอน ฯลฯ (ยกเว้นโฟตอนและกลูออน) ถึงมีมวลได้ และที่พิเศษกว่าคือ สามารถอธิบายว่าทำไมอนุภาคโฟตอนถึงไม่มีมวล ในขณะที่อนุภาค W และ Z โบซอนถึงมีมวลมหาศาล ซึ่งมวลของอนุภาคมูลฐาน รวมไปถึงความแตกต่างระหว่างแรงแม่เหล็กไฟฟ้าอันเกิดจากอนุภาคโฟตอน และอันตรกิริยาอย่างอ่อนอันเกิดจากอนุภาค W และ Z โบซอนนี่เอง เป็นผลสำคัญอย่างยิ่งที่ประกอบกันเกิดเป็นสสารในหลายรูปแบบ ทั้งที่เรามองเห็นและมองไม่เห็น ทฤษฎีอิเล็กโตรวีค (electroweak) กล่าวไว้ว่า อนุภาคฮิกส์เป็นตัวผลิตมวลให้กับอนุภาคเลปตอน (อิเล็กตรอน มิวออน เทา) และควาร์ก เนื่องจากอนุภาคฮิกส์มีมวลมากแต่สลายตัวแทบจะทันทีที่ก่อกำเนิดขึ้นมา จึงต้องใช้เครื่องเร่งอนุภาคที่มีพลังงานสูงมากในการตรวจจับและบันทึกข้อมูล ซึ่งการทดลองเพื่อพิสูจน์ความมีตัวตนของอนุภาคฮิกส์นี้จัดทำโดยองค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป (CERN) โดยทดลองภายในเครื่องชนอนุภาคแฮดรอนขนาดใหญ่ (LHC) และเริ่มต้นการทดลองตั้งแต่ต้นปี 2010 จากการคำนวณตามแบบจำลองมาตรฐานแล้ว เครื่องเร่งอนุภาคจะต้องใช้พลังงานสูงถึง 1.4 เทระอิเล็กตรอนโวลต์ (TeV) ในการผลิตอนุภาคมูลฐานให้มากพอที่จะตรวจวัดได้ ดังนั้นจึงได้มีการสร้างเครื่องชนอนุภาคขนาดใหญ่ (LHC) ดังกล่าวขึ้นมาเพื่อทำการทดลองพิสูจน์ความมีตัวตนของอนุภาคชนิดนี้ วันที่ 12 ธันวาคม 2554 ทีม ATLAS และทีม CMS ของเซิร์น ประกาศว่าได้ค้นพบข้อมูลที่อาจแสดงถึงการค้นพบฮิกส์โบซอน และในวันที่ 4 กรกฎาคม 2555 ทั้งสองทีมได้ออกมาประกาศว่าได้ค้นพบอนุภาคชนิดใหม่ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็น "อนุภาคที่สอดคล้องกับอนุภาคฮิกส์" มากที่สุด มีมวลประมาณ 125 GeV/c2 (ประมาณ 133 เท่าของโปรตอน หรืออยู่ในระดับ 10-25 กิโลกรัม) หลังจากนั้นได้มีการวิเคราะห์และตรวจสอบผลอย่างละเอียดเพื่อพิสูจน์ว่าอนุภาคดังกล่าวเป็นอนุภาคฮิกส์จริง และในวันที่ 14 มีนาคม 2556 เซิร์นได้ยืนยันอย่างไม่เป็นทางการว่าอนุภาคที่ตรวจพบจากการทดลองครั้งนี้เป็นอนุภาคฮิกส์ตามทฤษฎีที่ทำนายไว้ ซึ่งจะเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญที่สุดที่สนับสนุนแบบจำลองมาตรฐาน นำไปสู่การศึกษาฟิสิกส์สาขาใหม่ แนวคิดเกี่ยวกับอนุภาคฮิกส์ และสนามฮิกส์ (Higgs field) เกิดขึ้นราวปี 2507 โดยนักวิทยาศาสตร์หลายคน ได้แก่ ฟร็องซัว อ็องแกลร์ (François Englert) และ โรเบิร์ต เบราท์ (Robert Brout) ในเดือนสิงหาคม ปีเตอร์ ฮิกส์ ในเดือนตุลาคม รวมถึงงานวิจัยอิสระอีกสามชุดโดย เจอรัลด์ กูรัลนิค (Gerald Guralnik) ซี.อาร.เฮเกน (C. R. Hagen) และ ทอม คิบเบิล (Tom Kibble) ในฤดูใบไม้ผลิปีก่อนหน้าคือ ปี 2506 เลออน เลเดอร์แมน นักฟิสิกส์รางวัลโนเบลชาวอเมริกัน ตั้งชื่ออนุภาคฮิกส์ว่า "อนุภาคพระเจ้า" (God particle) แต่นักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงหลายคนไม่เห็นด้วยและไม่ชอบชื่อนี้.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและฮิกส์โบซอน · ดูเพิ่มเติม »

จิตติพจน์ วิริยะโรจน์

ตติพจน์ วิริยะโรจน์ สมาชิกวุฒิสภา จังหวัดศรีสะเกษ และเป็นพี่ชายของนายพฤฒิชัย วิริยะโรจน์ ผู้แทนการค้าไทย ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและจิตติพจน์ วิริยะโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

ธนพล ศิริธนชัย

นพล ศิริธนชัยเป็นผู้บริหารบริษัท แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน)ตำแหน่งประธานอำนวยการ ในช่วงภายหลังการปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้นที่มีกลุ่มสิริวัฒนภักดีเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ธนพลยังร่วมงานการกุศลกับอีกหลายหน่วยงาน รวมถึงดำรงตำแหน่ง รองผู้อำนวยการอาวุโส สถาบันออกแบบนานาชาติชนาพัฒน์ และเป็นประธานกรรมการจัดงานฝ่ายคฤหัสถ์ โครงการอุปสมบทหมู่เฉลิมพระเกียรติฯ เนื่องในเทศกาลวันวิสาขบูชาโลก.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและธนพล ศิริธนชัย · ดูเพิ่มเติม »

ดีน ออร์นิช

ีน ออร์น.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและดีน ออร์นิช · ดูเพิ่มเติม »

ค้างคาวคุณกิตติ

้างคาวคุณกิตติ, ค้างคาวกิตติ หรือ ค้างคาวหน้าหมู (อังกฤษ: Kitti's hog-nosed bat, Bumblebee bat) เป็นค้างคาวที่จัดอยู่ในสภาวะที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ และเป็นค้างคาวเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในวงศ์ Craseonycteridae และสกุล Craseonycteris พบได้ทางตะวันตกของประเทศไทย และทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศพม่า อาศัยอยู่ตามถ้ำหินปูนริมแม่น้ำ ค้างคาวคุณกิตติเป็นค้างคาวและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก มีสีน้ำตาลปนแดงเรื่อๆ หรือสีเทา มีจมูกคล้ายจมูกหมู มีอุปนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เฉลี่ยแล้วกลุ่มละ 100 ตัวต่อถ้ำ ออกหากินเป็นช่วงสั้นๆในตอนเย็นและเช้ามืด หากินไม่ไกลจากถ้ำที่พักอาศัย กินแมลงเป็นอาหาร ตกลูกปีละหนึ่งตัว สภาวะของค้างคาวคุณกิตติในประเทศพม่าไม่เป็นที่แน่ชัด และประชากรที่พบในประเทศไทยก็พบว่าจำกัดอยู่ในเพียงจังหวัดเดียว ทำให้ค้างคาวคุณกิตติอยู่ในสภาวะที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ สาเหตุหลักเกิดจากการคุกคามจากมนุษย์ และการลดลงของถิ่นที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและค้างคาวคุณกิตติ · ดูเพิ่มเติม »

ประกอบ วิโรจนกูฏ

ตราจารย์ ดร.ประกอบ วิโรจนกูฏ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อดีตคณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อดีตคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2493.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและประกอบ วิโรจนกูฏ · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ ณรงค์เดช

นายประสิทธิ์ ณรงค์เดช อดีตนักธุรกิจและนักการเมืองชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งสูงสุดเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและประสิทธิ์ ณรงค์เดช · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

นักกีฬาวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2014

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2014 มีทีมที่ได้รับเชิญเข้าแข่งขัน 28 ทีม จากทุกทวีปทั่วโลก แต่ละทีมสามารถบรรจุนักกีฬาเข้าแข่งขันได้ 12 คน จากทั้งหมด 22 คน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและนักกีฬาวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

นักกีฬาวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2015

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2015 มีทีมที่ได้รับเชิญเข้าแข่งขัน 28 ทีม จากทุกทวีปทั่วโลก แต่ละทีมสามารถบรรจุนักกีฬาเข้าแข่งขันได้ 12 คน จากทั้งหมด 22 คน.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและนักกีฬาวอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2015 · ดูเพิ่มเติม »

นีล ดะแกรส ไทสัน

นีล ดะแกรส ไทสัน (Neil deGrasse Tyson; เกิด 5 ตุลาคม 1958) เป็นนักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ผู้ประพันธ์และผู้สื่อสารวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน ตั้งแต่ปี 1996 เขาเป็นผู้อำนวยการท้องฟ้าจำลองเฮย์เดน ณ ศูนย์โลกและอวกาศโรสในนครนิวยอร์ก ศูนย์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติอเมริกา ซึ่งไทสันก่อตั้งแผนกฟิสิกส์ดาราศาสตร์ในปี 1997 และเป็นผู้ช่วยวิจัยในแผนกฯ ตั้งแต่ปี 2003 เขาเกิดและเติบโตในนครนิวยอร์ก มีความสนใจดาราศาสตร์ตั้งแต่อายุ 9 ปีหลังชมท้องฟ้าจำลองเฮย์เดน หลังสำเร็จการศึกษาจากไฮสกูลวิททยาศาสตร์บรองซ์ ซึ่งเขาเป็นบรรณาธิการอำนวยการของวารสารวิทยาศาสตร์กายภาพ เขาสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีวิชาฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดในปี 1980 หลังได้รับปริญญาโทในสาขาดาราศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยเท็กซัส ออสตินในปี 1983 เขาได้รับปริญญาโท (ปี 1989) และปริญญาเอก (ปี 1991) ในวิชาฟิสิกส์ดาราศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย อีกสามปีถัดมา เขาเป็นผู้ช่วยวิจัยหลังปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ในปี 1994 เขาเข้าร่วมเป็นนักวิทยาศาสตร์เจ้าหน้าที่ ณ ท้องฟ้าจำลองเฮย์เดนและศูนย์พรินซ์ตันเป็นนักวิทยาศาสตร์วิจัยและอาจารย์รับเชิญ ในปี 1996 เขาเป็นผู้อำนวยการท้องฟ้าจำลองและควบคุมดูแลโครงการบูรณะ 210 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งแล้วเสร็จในปี 2000 ระหว่างปี 1995 ถึง 2005 ไทสันเขียนความเรียงรายเดือนในคอลัมน์ "เอกภพ" ให้นิตยสารประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ซึ่งบางส่วนจัดพิมพ์ในหนังสือของเขา มรณะด้วยหลุมดำ (ปี 2007) และฟิสิกส์ดาราศาสตร์สำหรับคนรีบ (ปี 2017) ในช่วงเดียวกัน เขาเขียนคอลัมน์รายเดือนในนิตยสารสตาร์เดต ตอบคำถามเกี่ยวกับเอกภพโดยใช้นามปากกา "เมอร์ลิน" เนื้อความจากคอลัมน์ปรากฏในหนังสือของเขา ทัวร์เอกภพของเมอร์ลิน (ปี 1998) และเพียงชมดาวเคราะห์นี้ (ปี 1998) ไทสันรับราชการเป็นคณะกรรมการของรัฐบาลว่าด้วยอนาคตของอุตสาหกรรมห้วงอากาศ-อวกาศของสหรัฐปี 2001 และในคณะกรรมการดวงจันทร์ ดาวอังคารและกว่านั้นปี 2004 เขาได้รับเหรียญราชการโดดเด่นของนาซาในปีเดียวกัน ตั้งแต่ปี 2006 ถึง 2011 เขาเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์โนวาไซอันซ์นาว ทางพีบีเอส ตั้งแต่ปี 2009 เขาเป็นพิธีกรพอตคแสรายสัปดาห์ สตาร์ทอล์ก รายการแยกชื่อเดียวกันเริ่มแพร่สัญญาณทางเนชันแนลจีโอกราฟิกในปี 2015; ในปี 2014 เขาเป็นพิธีกรรายการโทรทัศน์ คอสมอส: อะสเปซไทม์ออดิซีย์ (จักรวาล: การเดินทางปริภูมิ-เวลา) ซึ่งต่อจากซีรีย์คอสมอส: อะเพอร์ซันแนลโวยาจ (จักรวาล: การเดินทางส่วนบุคคล) ของคาร์ล เซแกนในปี 1980 วิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐมอบเหรียญสวัสดิการสาธารณะแก่ไทสันในปี 2015 สำหรับ "บทบาทโดดเด่นในการสร้างความตื่นเต้นแก่สาธารณะเกี่ยวกับสิ่งมหัศจรรย์ของวิทยาศาสตร์".

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและนีล ดะแกรส ไทสัน · ดูเพิ่มเติม »

แมทธิว แม็คคอนาเฮย์

แมทธิว เดวิด แม็คคอนาเฮย์ (Matthew David McConaughey; เกิดวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1969) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน หลังจากมีบทบาทเล็กน้อยในต้นยุค 1990 รวมถึงบทแจ้งเกิดใน Dazed and Confused (1993) กำกับโดยริชาร์ด ลิงกเลเตอร์ เขาก็มีผลงานในภาพยนตร์อย่าง A Time to Kill (1996), Contact (1997), U-571 (2000), Sahara (2005) และ We Are Marshall (2007) เขายังแสดงนำในหนังโรแมนติกคอเมดีหลายเรื่องอย่าง The Wedding Planner (2001), How to Lose a Guy in 10 Days (2003), Failure to Launch (2006) และ Fool's Gold (2008) The Ghosts Of Girlfriends Past (2009) รวมถึงซีรีส์ชุด True Detective (2014–ปัจจุบัน) แม็คคอนาเฮย์ประสบความสำเร็จจากบทบาท รอน วูดรูฟ คาวบอยผู้ติดเชื้อเอชไอวีในภาพยนตร์อัตชีวประวัติเรื่อง Dallas Buyers Club ทำให้เขาได้รับรางวัลออสการ์, รางวัลจากสมาคมนักวิจารณ์สาขาภาพยนตร์, รางวัลลูกโลกทองคำและรางวัลแซกอะวอร์ด ในสาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยม แม็คคอนาเฮย์ยังมีบริษัทรับสร้างภาพยนตร์ชื่อ J.K. Livin ที่ได้ อำนวยการสร้างบริหารภาพยนตร์สารคดีเรื่อง Hands on a Hard Body ในปลายปี..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและแมทธิว แม็คคอนาเฮย์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำแบรซัส

แม่น้ำแบรซัส (Brazos River) หรือ Rio de los Brazos de Dios (คำแปล "The River of the Arms of God") จากนักสำรวจยุคแรกชาวสเปน เป็นแม่น้ำสายที่ยาวที่สุดของรัฐเทกซัส สหรัฐอเมริกา มีความยาวเป็นอันดับ 11 ของสหรัฐอเมริกา ด้วยความยาว 2,060 กม.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและแม่น้ำแบรซัส · ดูเพิ่มเติม »

โลกาภิวัตน์

ลกาภิวัตน์ (มักเขียนผิดเป็น โลกาภิวัฒน์) หรือ โลกานุวัตร (globalization) คือ ผลจากการพัฒนาการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ อันแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี และวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงระหว่างปัจเจกบุคคล ชุมชน หน่วยธุรกิจ และรัฐบาล ทั่วทั้งโลก โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 หมายถึง "การแพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นต้น" โลกาภิวัตน์ เป็นคำศัพท์เฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกที่เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในส่วนหนึ่งของโลก ส่งผลกระทบอันรวดเร็วและสำคัญต่อส่วนอื่นๆของโลก โลกาภิวัตน์ หมายถึงกระบวนการที่ประชากรของโลกถูกหลอมรวมกลายเป็นสังคมเดี่ยว กระบวนการนี้เกิดจากแรงของอิทธิพลร่วมทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและสังคม-วัฒนธรรมและการเมือง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและโลกาภิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ สกูลิง

ซฟ ไอแซก สกูลิง (Joseph Isaac Schooling; 16 มิถุนายน ค.ศ. 1995) เป็นนักว่ายน้ำชาวสิงคโปร์ในท่าผีเสื้อ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและโจเซฟ สกูลิง · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล เดลล์

มเคิล เดลล์ (Michael Dell) เป็นผู้ก่อตั้งเดลล์คอมพิวเตอร์ โดยลาออกจากมหาวิทยาลัยเท็กซัสกลางครัน เพื่อทำธุรกิจด้านคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้เขายังมีงานหนังสืออย่าง ส่งตรงจากเดลล์ (Direct from DELL) ซึ่งมีการจัดแปลเป็นภาษาไทยโดย สำนักพิมพ์ซีเอ็ดบุ๊คส์ ด้วยเช่นกัน จากการจัดอันดับของนิตยสารฟอบส์ ณ วันที่ 5 เมษายน 2561 ไมเคิลมีสินทรัพย์สุทธิ 23.5 พันล้านดออลาร์สหรัฐและเป็นบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกอันดับที่ 38.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและไมเคิล เดลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เร็กซ์ ทิลเลอร์สัน

ร็กซ์ เวย์น ทิลเลอร์สัน (Rex Wayne Tillerson) เกิดเมื่อวันที่ 23 มีนาคม..

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและเร็กซ์ ทิลเลอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

เรเชล แอดัมส์

รเชล อเล็กซิส แอดัมส์ (Rachael Alexis Adams; 3 มิถุนายน ค.ศ. 1990 –) เป็นนักวอลเลย์บอลหญิงชาวอเมริกัน ซึ่งเธอทำหน้าที่ในตำแหน่งตัวบล็อกกลาง (บอลเร็ว) ให้กับทีมชาติสหรัฐอเมริกา และสโมสรเอจซาซีบาซีวิตร.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและเรเชล แอดัมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ. เมอร์รีย์ เอบราฮัม

อฟ.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและเอฟ. เมอร์รีย์ เอบราฮัม · ดูเพิ่มเติม »

UT

UT อาจหมายถึง.

ใหม่!!: มหาวิทยาลัยเทกซัส ออสตินและUT · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

University of TexasUniversity of Texas AustinUniversity of Texas at Austinมหาวิทยาลัยเทกซัสมหาวิทยาลัยเท็กซัสมหาวิทยาลัยเท็กซัส ออสติน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »