โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร

ดัชนี พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 (อัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด; 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2384 – 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร ประมุขแห่งเครือจักรภพแห่งอังกฤษ และสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดีย เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเป็นพระประมุขพระองค์แรกและพระองค์เดียวของราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา พระองค์ทรงครองราชสมบัตินับตั้งแต่วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2444 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453 ก่อนการเสวยราชสมบัติ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์ และทรงมีลักษณะเด่นพิเศษที่เป็นรัชทายาทในรัชบัลลังก์ยาวนานกว่าใครในประวัติศาสตร์ของอังกฤษและสหราชอาณาจักร เป็นบันทึกสถิติที่เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์องค์ปัจจุบันไล่ตามมาอย่างรวดเร็ว รัชกาลของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 ซึ่งเรียกว่า สมัยเอ็ดเวิร์ด (Edwardian Period) ทำให้เห็นถึงการยอมรับอย่างเป็นทางการครั้งแรกในการดำรงตำแหน่งหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2448 พระองค์เป็นพระประมุขอังกฤษพระองค์แรกที่เสด็จเยือนประเทศรัสเซียเมื่อปี พ.ศ. 2451 ถึงแม้ว่าทรงปฏิเสธที่จะเสด็จเยือนในปี พ.ศ. 2449 (เพราะว่าโปรดสภาดูมามากกว่าซาร์) พระองค์ยังทรงมีบทบาทสำคัญในการพัฒนากองทัพเรืออังกฤษให้ทันสมัยขึ้นและการปฏิรูปหน่วยการแพทย์ในกองทัพบกอังกฤษหลังจากสงครามบัวร์ครั้งที่สอง การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างอังกฤษกับนานาประเทศของทวีปยุโรป โดยเฉพาะประเทศฝรั่งเศส ของพระองค์ ซึ่งทำให้ทรงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางว่า "ผู้สร้างสันติภาพ" (Peacemaker) ได้ถูกทำให้ผิดแผกแปลกไปอย่างน่าเศร้าจากการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี พ.ศ. 2457.

125 ความสัมพันธ์: บรรพบุรุษของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรบริติชราชบริติชซีลอนชัยปุระพ.ศ. 2387พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกสพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรียการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์มหาวิทยาลัยนิวคาสเซิลมาเรียแห่งเท็คมงกุฎพระราชินีอเล็กซานดรามงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 4มงกุฎอิมพีเรียลสเตตมงกุฎเพชรพระราชินีนาถวิกตอเรียมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์รอเบิร์ต เซซิล มาร์ควิสที่ 3 แห่งซอลส์บรีรัฐประหารเดือนพฤษภาคมราชกุมารีราชวงศ์สหราชอาณาจักรราชวงศ์แฮโนเวอร์ราชวงศ์เวททินราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียราชาธิปไตยของไอร์แลนด์รายชื่อสนธิสัญญารายชื่อธงในประเทศออสเตรเลียรายพระนามพระมหากษัตริย์ฟีจีรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษรายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักรรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนสมัยเอ็ดเวิร์ดสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวงสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก...สวนสาธารณะพรินส์ (เบินต์วูด)สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สนธิสัญญาอึลซาหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กอลาสแตร์ วินด์เซอร์ ดยุกที่ 2 แห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์นอาณานิคมทรานส์วาลอิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์กจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์จอห์น เอเวอเรตต์ มิเลจักรพรรดิอินเดียจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซียจุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์ธงชาติออสเตรเลียธงชาตินิวซีแลนด์ดยุกแห่งแคลเรนซ์ความตกลงฉันทไมตรีคทากางเขนตระกูลเอสเตตราแผ่นดินของฟีจีตราแผ่นดินของมอนต์เซอร์รัตตราแผ่นดินของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอสตราแผ่นดินของออสเตรเลียตราแผ่นดินของเบอร์มิวดาตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ตำหนักออสบอร์นตำหนักซานดริงแฮมซัคเซิน-โคบูร์กและโกทานิคมช่องแคบโกตดาซูร์โรคฮีโมฟิเลียในราชวงศ์ยุโรปโรงแรมริตซ์ ปารีสโรนัลด์ รอสส์โอลิมปิกฤดูร้อน 1908เพชรคูลลิแนนเพชรโคอินัวร์เส้นเวลาของยุคใหม่เอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียเจมส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ์เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์และเอวอนเดลเจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าชายอาร์เธอร์แห่งคอนน็อตเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์เจ้าชายจอห์นแห่งสหราชอาณาจักรเจ้าชายแห่งเวลส์เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์เจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงินเจ้าหญิงมารีแห่งเนเธอร์แลนด์เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อตเจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงม็อด เคาน์เตสแห่งโซเทร็คเจ้าหญิงลูอีส พระราชกุมารีเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารีเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรเจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลนเจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงอเล็กซานดรา ดัชเชสที่ 2 แห่งไฟฟ์เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูดเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์เจ้าหญิงแห่งเวลส์เจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเดวิด คาร์เนกี ดยุกที่ 4 แห่งไฟฟ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์รอยัลวิกตอเรียนเชนเซอร์ฟรานซิส โลว์ บารอนเน็ตที่ 122 มกราคม9 พฤศจิกายน ขยายดัชนี (75 มากกว่า) »

บรรพบุรุษของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

1.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและบรรพบุรุษของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

บริติชราช

ริติชราช (British Raj; ब्रिटिश राज) หรือเรียกอย่างง่ายว่า อินเดีย หมายถึงการปกครองโดยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในอนุทวีปอินเดียระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและบริติชราช · ดูเพิ่มเติม »

บริติชซีลอน

ริติชซีลอน (British Ceylon) หรือ ลังกาของบริเตน (බ්‍රිතාන්‍ය ලංකාව; பிரித்தானிய இலங்கை) เป็นอาณานิคมในพระองค์ของสหราชอาณาจักร ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและบริติชซีลอน · ดูเพิ่มเติม »

ชัยปุระ

ัยปุระ (जयपुर, Jaipur) เป็นเมืองหลักของรัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย และยังเป็นเมืองที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของประเทศอินเดีย (3.1 ล้านคน) ก่อตั้งเมื่อ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและชัยปุระ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2387

ทธศักราช 2387 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและพ.ศ. 2387 · ดูเพิ่มเติม »

พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร

การปกครองของบริเตนในพม่า (British rule in Burma) คือช่วงที่พม่าอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและพม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่)

ต่อไปนี้คือรายละเอียดวันที่ และสถานที่ที่จัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตรีย์ และสมเด็จพระราชินีอัครมเหสี แห่งอังกฤษ สกอตแลนด์ รวมทั้งสหราชอาณาจักร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 1609 พระราชพิธีบรมราชาภิเษกนี้จะจัดขึ้นที่มหาวิหารเวสท์มินสเตอร์เสมอ เว้นแต่กรณีนอกเหนือจากนั้นจะหมายเหตุไว้.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร (เวลาและสถานที่) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 3 สมเด็จพระราชินีชาร์ล็อต พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 (Descendants of King George III) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มต้นจากการอภิเษกสมรสของพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร (จอร์จ วิลเลียม เฟรเดริค; 4 มิถุนายน พ.ศ. 2281 - 29 มกราคม พ.ศ. 2363 เสวยราชสมบัติ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2303 สืบต่อจากพระเจ้าจอร์จที่ 2 พระอัยกา) พระโอรสในเจ้าชายเฟรเดอริก หลุยส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ กับ เจ้าหญิงออกัสตาแห่งซัคเซิน-ก็อตธา ในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2304 ณ พระราชวังเซนต์เจมส์ กรุงลอนดอน กับ เจ้าหญิงชาร์ลอตต์แห่งเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ (โซเฟีย ชาร์ล็อต; 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2287 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2361) และมีพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 15 พระองค์ พระราชนัดดา 8 พระองค์ และพระราชปนัดดา 17 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสที่สำคัญในพระเจ้าจอร์จที่ 3 ได้แก่ พระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร และพระเจ้าแอนสท์ เอากุสท์ที่ 1 แห่งฮันโนเฟอร์ ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญ ได้แก่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งฮันโนเฟอร์ อีกทั้งยังมีพระราชปนัดดาที่สำคัญคือ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร และเจ้าชายแอนสท์ เอากุสท์ มกุฎราชกุมารแห่งฮันโนเฟอร.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกส

ระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกส (อังกฤษ: Emmanuel II; 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2432 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2475) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสและแอลการ์ฟพระองค์สุดท้าย ทรงมีพระราชสมัญญานามว่า "ผู้รักชาติ" (the Patriot; โปรตุเกส: o Patriota) หรือพระนามว่า "ผู้เคราะห์ร้าย" (the Unfortunate; โปรตุเกส: o Desventurado) ทรงสืบราชบัลลังก์หลังจากเกิดเหตุการณ์ลอบปลงพระชนม์พระเจ้าคาร์ลอสที่ 1 แห่งโปรตุเกส ผู้เป็นพระราชบิดาและเจ้าชายลูอิส ฟิลิเป รัชทายาทแห่งโปรตุเกส ผู้เป็นพระเชษฐา ก่อนที่จะทรงสืบราชบัลลังก์พระองค์ทรงได้รับพระอิสริยยศ "ดยุกแห่งเบฌา" รัชสมัยของพระองค์สิ้นสุดลงด้วยการล้มล้างราชาธิปไตยจากเหตุการณ์การปฏิวัติ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2453 และพระเจ้ามานูเอลทรงดำรงพระชนม์ชีพอย่างสงบในระหว่างทรงถูกเนรเทศโดยสาธารณรัฐโปรตุเกสที่หนึ่ง.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้ามานูเอลที่ 2 แห่งโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (George V of the United Kingdom) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ซึ่งทรงสถาปนาขึ้นจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายอังกฤษ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ พระองค์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดียและปฐมกษัตริย์เสรีรัฐไอร์แลนด์อีกด้วย พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453 ผ่านช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2457 ถึง พ.ศ. 2461) จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2479 พระองค์ทรงปฏิบัติราชการในราชนาวีอังกฤษตั้งแต่พระชนมายุ 12 พรรษา แต่หลังจากการสิ้นพระชนม์อย่างไม่คาดฝันของเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งแคลเรนซ์และแอวันเดล พระเชษฐา ทำให้ทรงกลายเป็นรัชทายาทในราชบัลลังก์และอภิเษกสมรสกับพระคู่หมั้นของพระเชษฐาคือเจ้าหญิงแมรีแห่งเทก ถึงแม้ว่าทั้งสองพระองค์จะเสด็จประพาสจักรวรรดิอังกฤษเป็นบางโอกาส แต่พระเจ้าจอร์จที่ 5 โปรดที่จะประทับที่พระตำหนักพร้อมกับการสะสมดวงตราไปรษณียากร และทรงมีชีวิตที่ต่อมานักชีวประวัติเห็นว่าไม่น่าสนใจเนื่องจากความเป็นธรรมดาและเรียบง่าย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 พระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย

ระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2404 — 10 กันยายน พ.ศ. 2491; พระนามเมื่อประสูติ: เจ้าชายเฟอร์ดินานด์ แม็กซิมิลเลียน คาร์ล ลีโอโปลด์ มาเรียแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา-โคฮารี) ทรงเป็นองค์อธิปัตย์แห่งบัลแกเรีย และหลังจากนั้นทรงดำรงเป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรีย ทรงเป็นทั้งนักประพันธ์,นักพฤกษาศาสตร์,นักกีฏวิทยาและเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านแสตมป.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนิวคาสเซิล

มหาวิทยาลัยนิวคาสเซิลอะพอนไทน์ (University of Newcastle upon Tyne) หรือเรียกอย่างสั้นว่ามหาวิทยาลัยนิวคาสเซิล (Newcastle University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเน้นวิจัยขนาดกลาง มีความเชี่ยวชาญด้านการสอนและวิจัยทางแพทยศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นจากส่วนงานของมหาวิทยาลัยเดอแรมที่แยกออกมาและพัฒนาให้เป็นมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเป็นหนึ่งในสองสถาบันอุดมศีกษาในเมืองนิวคาสเซิล โดยมีจำนวนนักศึกษาทุกระดับน้อยกว่ามหาวิทยาลัยนอร์ทัมเบรีย ณ นิวคาสเซิล.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยนิวคาสเซิล · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎพระราชินีอเล็กซานดรา

มงกุฎพระราชินีอเล็กซานดรา (Crown of Queen Alexandra) คือมงกุฎพระอัครมเหสีของสมเด็จพระราชินีอเล็กซานดรา พระอัครมเหสีในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร ผลิตเพื่อใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระราชสวามีในปีค.ศ. 1902.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎพระราชินีอเล็กซานดรา · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 4

มงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 4 (George IV State Diadem) เป็นมงกุฎเพชรที่ไม่มีส่วนโค้งด้านบน เรียกว่า "เดียเด็ม" (Diadem) ซึ่งจัดเป็นประเภทหนึ่งของมงกุฎ สร้างขึ้นในรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร ในปีค.ศ. 1820 เพื่อใช้เป็นหนึ่งในมงกุฎสำคัญของพระองค์ซึ่งตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน ในปัจจุบันสามารถพบเห็นได้ทั้งในธนบัตร เหรียญกษาปน์ และแสตมป์ต่างๆ ในประเทศเครือจักรภพอังกฤษ ซึ่งนอกจากความสวยงามของมันแล้ว ยังมีความสำคัญเชิงสัญลักษณ์ของอังกฤษ สกอตแลนด์ และไอร์แลน์อีกด้วย ดังนั้นมงกุฎองค์นี้จะเป็นองค์ที่สมเด็จพระราชินีนาถฯ จะทรงค่อนข้างบ่อย และพบเห็นได้บ่อยที่สุดองค์หนึ่ง.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎพระเจ้าจอร์จที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎอิมพีเรียลสเตต

มงกุฎอิมพีเรียลสเตต (Imperial State Crown) เป็นหนึ่งในเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของสถาบันพระมหากษัตริย์ในสหราชอาณาจักร มงกุฎอิมพิเรียลสเตตนี้มีการสร้างทดแทนขึ้นหลายยุคสมัยตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ซึ่งรุ่นล่าสุดนี้มีลักษณะคล้ายมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดอยู่ไม่น้อย ตัวมงกุฎนั้นมีฐานประกอบด้วยกางเขนแพตตี (cross pattée) จำนวนสี่กางเขน สลับกับเฟลอ-เดอ-ลีส์ (fleur-de-lis) หรือดอกลิลลี่จำนวนสี่ดอก ส่วนเหนือจากฐานขึ้นไปเป็นโค้งจำนวนสี่โค้งตัดกันที่มียอดเป็นด้านบนจุดตัดเป็นกางเขนอีกหนึ่ง ภายในตรงกลางมงกุฎเป็นหมวกกำมะหยี่ที่มีขอบเป็นขนเออร์มิน มงกุฎฝังด้วยอัญมณีหลายชนิดที่รวมทั้ง: เพชร 2,868 เม็ด, ไข่มุก 273 เม็ด, แซฟไฟร์ 17 เม็ด, มรกต 11 เม็ด, และทับทิม 5 เม็ด มงกุฎอิมพิเรียลสเตตประกอบด้วยอัญมณีที่มีชื่อเสียงหลายชิ้น กางเขนบนมงกุฎฝังอัญมณีที่เรียกว่าแซฟไฟร์เซนต์เอ็ดเวิร์ดที่นำมาจากแหวน (หรือ จุลมงกุฎ) ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดผู้สารภาพ, ทับทิมเจ้าชายดำ (Black Prince's Ruby) (ความจริงแล้วคือสปิเนล ที่ฝังอยู่บริเวณกางเขนด้านหน้าของมงกุฎ และเพชรคัลลินันที่ฝังด้านหน้ามงกุฎบริเวณฐาน ด้านหลังฝังด้วยแซฟไฟร์สจวตหนัก 104 กะรัต (20.8 กรัม) บนขอบ นอกจากนี้ยังมีไข่มุกของสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบ็ธประดับอีกด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎอิมพีเรียลสเตต · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎเพชรพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มงกุฎเพชรพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Small diamond crown of Queen Victoria) เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร เป็นมงกุฎองค์เล็ก (แต่ไม่ถือว่าเป็นจุลมงกุฎเพราะเป็นมงกุฏของกษัตรีย์) “มงกุฎเพชรพระราชินีนาถวิกตอเรีย” เป็นมงกุฏที่สร้างขึ้นตามพระบรมราชโองการของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ในปีค.ศ. 1870 และเป็นมงกุฎที่มีความสำคัญต่อพระองค์มากที่สุด เมื่อเสด็จสวรรคตก็มิใช่มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดหรือมงกุฎอิมพีเรียลสเตท ที่เป็นมงกุฏที่ได้วางบนหีบพระบรมศพแต่เป็น “มงกุฎเพชรพระราชินีนาถวิคตอเรีย” ของพระองค์เอง.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎเพชรพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด

มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด (St.) เป็นหนึ่งในเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักรและเป็นกกุธภัณฑ์ที่สำคัญที่สุดชิ้นหนึ่ง และเป็นมงกุฎที่ใช้เป็นมงกุฎราชาภิเษก (Coronation crown) อย่างเป็นทางการในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์องค์ใหม่ของสหราชอาณาจักร มงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดมีลักษณะคล้ายกับมงกุฎองค์เดิม ซึ่งสร้างในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์

้าหญิงม็อดแห่งเวลส์ (ม็อด ชาร์ล็อต แมรี วิกตอเรีย ต่อมาทรงเป็น สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2412 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481) ทรงเป็นสมาชิกของพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย และต่อมาทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ พระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ พระองค์เป็นพระราชินีแห่งประเทศนอร์เวย์พระองค์แรกนับตั้งแต่ พ.ศ. 2405 ที่มิได้ทรงเป็นทั้งพระราชินีแห่งประเทศเดนมาร์กและประเทศสวีเดน.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต เซซิล มาร์ควิสที่ 3 แห่งซอลส์บรี

รอเบิร์ต เซซิล มาร์ควิสที่ 3 แห่งซอลส์บรี (Robert Cecil, 3rd Marquess of Salisbury) โหรือที่เรียกกันว่า “ลอร์ดรอเบิร์ต เซซิล” ก่อนปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรอเบิร์ต เซซิล มาร์ควิสที่ 3 แห่งซอลส์บรี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารเดือนพฤษภาคม

การโค่นล้มอำนาจเดือนพฤษภาคม หรือ รัฐประหารเดือนพฤษภาคม (อังกฤษ: May Overthrow; May Coup; เซอร์เบีย: Мајски преврат, Majski prevrat) เป็นเหตุการณ์รัฐประหารในเซอร์เบีย ที่ซึ่งพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 โอเบรโนวิชและสมเด็จพระราชินีดรากาถูกลอบปลงพระชนม์ภายในพระราชวังหลวง กรุงเบลเกรด ในกลางดึกของวันที่ 28 - 29 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรัฐประหารเดือนพฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

ราชกุมารี

ราชกุมารี (The Princess Royal) เป็นพระอิสริยยศตามราชประเพณี (แต่ไม่เป็นแบบอัตโนมัติ) ซึ่งพระมหากษัตริย์พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ที่สุด พระอิสริยยศนี้ดำรงอยู่ตลอดพระชนม์ชีพของเจ้าหญิงพระองค์นั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถที่จะสถาปนาเจ้าหญิงพระองค์อื่นให้เป็นราชกุมารีอีกพระองค์ได้ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ไม่เคยทรงดำรงตำแหน่งราชกุมารีเลย) จวบจนถึงปัจจุบันนี้ได้มีราชกุมารีมาแล้วทั้งสิ้น 7 พระองค์ โดยพระองค์ล่าสุดคือ เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี พระอิสริยยศนี้เกิดขึ้นเมื่อสมเด็จพระราชินีเฮนเรียตตา มาเรีย (พ.ศ. 2252 - 2312) พระราชธิดาในพระเจ้าอ็องรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส และพระมเหสีในพระเจ้าชาลส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ มีพระประสงค์จะเลียนแบบการสถาปนาพระอิสริยยศ "Madame Royale" ให้กับพระราชธิดาพระองค์ใหญ่ของกษัตริย์ฝรั่งเศส พระอิสริยยศนี้จะต้องได้รับพระบรมราชานุญาต (Royal Warrant) ไม่ใช่สถาปนาจากพระราชสัญญาบัตร (Letters Patent) และไม่ได้พระราชทานแก่พระราชธิดาพระองค์ใหญ่โดยอัติโนมัติ หากแต่จะเป็นการแต่งตั้งจากพระราชวินิจฉัยของพระมหากษัตริย์ เจ้าหญิงแมรี (หรือ สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2) (พ.ศ. 2208 - 2237) พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าเจมส์ที่ 2 และสมเด็จพระราชินีมเหสีในพระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ (พ.ศ. 2193 - 2245) และเจ้าหญิงโซฟี โดโรเทอา พระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าจอร์จที่ 1 และต่อมาเป็นพระราชินีมเหสีในพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ทั้งสองทรงเหมาะสมกับพระอิสริยยศนี้ หากแต่ไม่ทรงได้รับพระราชทาน.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์สหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จออกสีหบัญชร ณ พระราชวังบักกิงแฮม เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ราชวงศ์สหราชอาณาจักร ประกอบด้วยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรและพระประยูรญาติใกล้ชิด บางครั้งจึงแตกต่างจากคำเรียกทางการในประเทศสำหรับราชวงศ์ สมาชิกในราชวงศ์อยู่ใน หรืออภิเษกสมรสเข้ามาในราชวงศ์วินด์เซอร์ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ทรงเปลี่ยนชื่อมาจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา เมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและราชวงศ์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์แฮโนเวอร์

ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หรือ ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ เป็นราชวงศ์เยอรมันที่ครองบัลลังก์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ต่อจากราชวงศ์สจวตในปี พ.ศ. 2257 ราชวงศ์นี้ยังปกครองรัฐฮันโนเฟอร์ในประเทศเยอรมนีอันเป็นดินแดนที่ราชวงศ์นี้เป็นเจ้าของ ในบางครั้งอาจเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์เบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก สายฮันโนเฟอร์ (House of Brunswick and Lüneburg, Hanover line).

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและราชวงศ์แฮโนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เวททิน

ราชวงศ์เวททิน (House of Wettin) เป็นราชตระกูลเคานท์, ดยุก, พรินซ์อีเล็คเตอร์ (Kurfürsten) และ พระมหากษัตริย์เยอรมันที่เคยปกครองดินแดนที่ในปัจจุบันคือรัฐแซกโซนีในเยอรมนี เป็นเวลากว่า 953 ปี, ส่วนที่เป็นแซ็กซอนในแซกโซนี-อันฮาลท์ และ ทูริงเกีย เป็นเวลากว่า 800 ปี นอกจากนั้นในบางครั้งก็ยังครองโปแลนด์ และ ลิทัวเนีย, บริเตนใหญ่, โปรตุเกส, บัลแกเรีย และเบลเยียม ในปัจจุบันเหลือเพียงในบริเตนใหญ่ (สหราชอาณาจักร) กับเบลเยียมเท่านั้นที่ยังครองราชบัลลังก์อยู.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและราชวงศ์เวททิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์

ราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ (Monarchy of Ireland).

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและราชาธิปไตยของไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศออสเตรเลีย

งในหน้านี้ เป็นธงที่มีการใช้และเคยใช้ในประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรายชื่อธงในประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ฟีจี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์ฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

ตราแผ่นดินของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีประมุขมาแล้ว 12 พระองค์ สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักร

นี่คือรายนามบุคคลในเวลาต่างๆ ที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ (ค.ศ. 1707 - 1800), สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (ค.ศ. 1801 - 1922), และสหราชอาณาจักร (ค.ศ. 1922 - ปัจจุบัน) ซึ่งจะได้สืบบัลลังก์เมื่อพระมหากษัตริย์สวรรคตหรือสละราชบัลลังก์ บรรดาผู้ที่ได้สืบราชบัลลังก์จริงๆจะเป็นตัวอักษรหนา รายนามนี้เริ่มต้นในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามรัชทายาทสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร

้าชายอัลเบิร์ตทรงเป็นคู่อภิเษกสมรสที่เป็นบุรุษพระองค์เดียวที่เคยได้รับพระอิสริยยศ ''เจ้าชายพระราชสวามี'' แทนที่ธรรมเนียมการเลื่อนลำดับพระอิสริยยศขึ้นในชั้น ''เพียเรจ'' ตามปกติ เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ คือคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์บริเตนองค์ปัจจุบัน คู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร ไม่ใช่พระสถานะหรือพระอำนาจตามรัฐธรรมนูญ แต่หลายพระองค์ทรงมีอิทธิพลอย่างมากต่อพระมหากษัตริย์บางพระองค์ เช่น พระองค์ปัจจุบัน เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ ที่ทรงช่วยเสริมสร้างพระบารมีขององค์พระประมุขด้วย ตั้งแต่การสถาปนาราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ มีคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรแล้วทั้งสิ้น 9 พระองค์ สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรในช่วงปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Victoria Eugenie of Battenberg; พระนามเต็ม วิกตอเรีย ยูจีนี จูเลีย เอนา; 24 ตุลาคม พ.ศ. 2430 - 15 เมษายน พ.ศ. 2512) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน และพระราชนัดดาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย นอกจากนี้สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน ยังเป็นพระราชนัดดาของพระองค์อีกด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

สมัยเอ็ดเวิร์ด

มัยเอ็ดเวิร์ด (Edwardian era หรือ Edwardian period) เป็นระยะเวลาระหว่างปี ค.ศ. 1901 ถึงปี ค.ศ. 1910 ในสหราชอาณาจักรที่ตรงกับรัชสมัยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จสวรรคตในเดือนมกราคม ค.ศ. 1901 การขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดพระราชโอรสของพระองค์เป็นการเริ่มคริสต์ศตวรรษใหม่และการสิ้นสุดของสมัยวิคตอเรีย ขณะที่พระราชินีนาถวิกตอเรียทรงหันหลังให้กับสังคม พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงเป็นผู้นำในหมู่ชนชั้นสูงในด้านแฟชั่นและสไตล์ที่มีอิทธิพลต่อศิลปะและแฟชั่นไปถึงผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ซึ่งอาจจะเป็นเพราะความที่โปรดการท่องเที่ยว สมัยนี้เป็นสมัยของการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเมื่อชนบางชั้นในสังคมที่ไม่มีสิทธิมีเสียงในอดีตเช่นชนชั้นแรงงานและสตรีเริ่มจะมีบทบาททางการเมืองเพิ่มขึ้น “สมัยเอ็ดเวิร์ด” มักจะยืดออกไปหลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดในปี ค.ศ. 1910 จนไปถึงปีที่เรืออาร์เอ็มเอส ไททานิกล่มในปี ค.ศ. 1912, ปีที่เริ่มสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี ค.ศ. 1914 หรือจนไปถึงปี ค.ศ. 1918 ซึ่งเป็นปีที่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง เมื่อสงครามสงบลงวิถีชีวิตของสมัยเอ็ดเวิร์ดที่เป็นสมัยของความไม่สมดุลในทางอำนาจและฐานะทางเศรษฐกิจก็กลายเป็นสิ่งล้าหมัยในสายตาของผู้ที่ประสบความทุกข์ยากจากสงครามและสิ่งแวดล้อมและผู้ที่ได้รับความรู้มากขึ้นจากสื่อมวลชนถึงความไม่ยุติธรรมอันเกิดจากการแบ่งชั้นวรรณ.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสมัยเอ็ดเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง (queen mother สำหรับพระราชินี และ empress mother สำหรับพระจักรพรรดินี) คือ พระมเหสีม่ายของพระมหากษัตริย์รัชกาลก่อน และเป็นพระราชมารดาของพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบัน คำนี้เกิดขึ้นในภาษาอังกฤษเมื่อราว..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชชนนีพันปีหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (ภาษานอร์เวย์: Hans Majestet Kong Harald V) เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ ทรงขึ้นครองราชย์หลังจากการสวรรคตของพระราชบิดา (พระเจ้าโอลาฟที่ 5) เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 ในฐานะพระปนัดดาของกษัตริย์เอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชาธิบดีซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์เดียวของพระเจ้าโอลาฟที่ 5 และเจ้าหญิงมาร์ทาแห่งสวีเดน ทรงมีสิทธิสืบราชสันตติวงศ์ราชบัลลังก์อังกฤษในลำดับที่ 48 เนื่องจากพระองค์เป็นพระราชปนัดดา(เหลน) ในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทาง ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ ผู้เป็นพระอัยยิกา(ย่า) สมเด็จพระราชาธิบดีทรงได้รับปริญญาจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดในสาขาวิชาประวัติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ ในปี 2511 ทรงเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับสามัญชน นางสาวซอนยา เฮรัลด์เซ็น ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ มีพระราชโอรสพระราชธิดาคือ เจ้าหญิงมาร์ทา หลุยส์ และมกุฎราชกุมารเจ้าชายโฮกุน ซึ่งทรงอภิเษกสมรสกับ นางสาวเมตเต-มาริต ปัจจุบันได้รับสถาปนาเป็น เจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เจ้าชายโฮกุนและเจ้าหญิงเมตเต-มาริต พร้อมด้วยพระโอรสองค์เล็กคือเจ้าชายสแวร์เร แมกนัส เสด็จฯ เป็นผู้แทนพระองค์สมเด็จพระราชาธิบดีเพื่อร่วมพิธีเฉลิมฉลองครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระราชาธิบดีทรงเป็นนักกีฬาและนักเดินเรือผู้เชี่ยวชาญ และทรงนำทีมนักกีฬานอร์เวย์ให้ได้รับชัยชนะจากการแข่งเรือใบในนามประเทศนอร์เวย์หลายครั้ง รวมทั้งจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่กรุงโตเกียวเมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (2 กรกฎาคม 1903 - 17 มกราคม 1991) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ ตั้งแต่ปี 1957 จนกระทั่งพระองค์เสด็จสวรรคต พระองค์เป็นสมาชิกราชวงศ์ชเลสวิก-ฮอลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 เสด็จพระราชสมภพที่สหราชอาณาจักร พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีม็อดแห่งนอร์เวย์ พระองค์ทรงเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร กับ อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทางสายพระราชมาร.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ (พระนามเดิม เจ้าชายคาร์ลแห่งเดนมาร์กและไอซ์แลนด์ พระนามเต็ม คริสเตียน เฟรเดอริก คาร์ล จอร์จ วัลเดมาร์ แอกเซล; Christian Frederik Carl Georg Valdemar Axel, ต่อมาเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์) 3 สิงหาคม พ.ศ. 2415 - 21 กันยายน พ.ศ. 2500) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก และ เจ้าหญิงหลุยส์แห่งสวีเดน ในปีพ.ศ. 2448 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์พระองค์แรกหลังการยุบสหภาพระหว่างนอร์เวย์และสวีเดนโดยการสลายรัฐร่วมประมุขร่วมกับสวีเดน พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์ชเลสวิก-ฮอลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก ในฐานะที่ทรงเป็นหนึ่งในพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการเลือกตั้ง สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนได้ทรงชนะใจพสกนิกรด้วยความเคารพและความรักจากประชาชนของพระองค์ และทรงมีบทบาทสำคัญในการเป็นศูนย์รวมจิตใจชาตินอร์เวย์ในการทำการต่อต้านกองทัพนาซีที่ทำการรุกรานและต่อมายาวนานอีกห้าปีทรงต่อต้านการที่นาซียึดครองนอร์เวย์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ในนอร์เวย์ สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนทรงถือเป็นหนึ่งในชาวนอร์เวย์ที่มีความสำคัญสูงสุดในศตวรรษที่ 20 และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการยอมรับในความกล้าหาญของพระองค์ในระหว่างการรุกรานของเยอรมัน พระองค์ทรงขู่ว่าจะสละราชบัลลังก์ถ้ารัฐบาลร่วมมือกับผู้รุกรานชาวเยอรมัน และสำหรับความเป็นผู้นำของพระองค์ และยังทรงรักษาความเป็นสามัคคีของนอร์เวย์ได้ในระหว่างการยึดครองของเยอรมัน พระองค์เสด็จสวรรคตขณะมีพระชนมายุ 85 พรรษา ในวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 หลังจากทรงครองราชสมบัติมายาวนานเกือบ 52 ปี.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ (มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย, 27 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1938) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียพระองค์สุดท้าย โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย ทรงประสูติในฐานะพระราชวงศ์อังกฤษ พระองค์ทรงได้รับพระอิสริยยศ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระเมื่อครั้งประสูติ พระบิดาและพระมารดาของพระองค์คือ เจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งเอดินเบอระและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย ในวัยเยาว์ เจ้าหญิงมารีทรงใช้พระชนมชีพในเคนต์, มอลตาและโคบูร์ก หลังจากการปฏิเสธข้อเสนอที่จะอภิเษกสมรสกับพระญาติของพระองค์เองคือ พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรในอนาคต พระองค์ทรงได้รับเลือกให้เป็นพระชายาในมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์แห่งโรมาเนีย องค์รัชทายาทของพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในช่วงระหว่าง 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI of the United Kingdom; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1895 — 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ และเครือจักรภพอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (11 มีนาคม พ.ศ. 2442 - 14 มกราคม พ.ศ. 2515) มีพระนามเดิมว่า "เจ้าฟ้าชายเฟรเดอริกแห่งเดนมาร์กและไอซ์แลนด์ เสด็จขึ้นครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระราชบิดาคือ สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 10 แห่งเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2490 พระองค์เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกของ สมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 10 แห่งเดนมาร์ก กับ สมเด็จพระราชินีอเล็กซานดรีนแห่งเดนมาร์ก เป็นพระมหากษัตริย์เดนมาร์กพระองค์ที่สี่ที่อยู่ในราชวงศ์ชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-กลึคสบวร์ก คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สวนสาธารณะพรินส์ (เบินต์วูด)

วนสาธารณะพรินส์ สวนสาธารณะพรินส์ (Prince's Park) เป็นสวนสาธารณะในเมืองเบินต์วูด มณฑลสแตเฟิร์ดเชอร์ ที่บันทึกสถิติโลกกินเนสส์ ระบุว่าเป็นสวนสาธารณะที่มีขนาดเล็กที่สุดในสหราชอาณาจักร มีพื้นที่ประมาณ 65 ตารางเมตร สวนสาธารณะแห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ในพระราชพิธีอภิเษกสมรสของเจ้าชายอัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์กับเจ้าหญิงอเล็กซันดราแห่งเดนมาร์ก ภายในสวนสาธารณะมีต้นไม้อยู่สามต้น ตั้งชื่อว่า ศรัทธา (Faith), ความหวัง (Hope) และเอื้ออารี (Charity) ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสวนสาธารณะพรินส์ (เบินต์วูด) · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (United Kingdom of Great Britain and Ireland.) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักร ในช่วงตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2343 (ค.ศ. 1801)1 มกราคม..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาอึลซา

นธิสัญญาอึลซา (을사조약 อึลซา-โจยัค) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สนธิสัญญาญี่ปุ่น-เกาหลีฉบับที่สอง เป็นสนธิสัญญาที่ทำขึ้นระหว่าง จักรวรรดิเกาหลี และ จักรวรรดิญี่ปุ่น ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและสนธิสัญญาอึลซา · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก (ภาษาเยอรมัน: Luise Wilhelmine Friederike Caroline Auguste Julie von Hessen-Kassel; ภาษาเดนมาร์ก: Louise Wilhelmine Frederikke Caroline Auguste Julie) (7 กันยายน พ.ศ. 2360 - 29 กันยายน พ.ศ. 2441) ทรงเป็นเจ้าหญิงชาวเยอรมันและตั้งแต่ 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อลาสแตร์ วินด์เซอร์ ดยุกที่ 2 แห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น

อลาสแตร์ วินด์เซอร์ ดยุกที่ 2 แห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและอลาสแตร์ วินด์เซอร์ ดยุกที่ 2 แห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมทรานส์วาล

ทรานส์วาล (Transvaal) (แอฟริคานส์ แปลว่า เหนือลุ่มแม่น้ำวาล) เป็นชื่อของดินแดนแถบเหนือประเทศแอฟริกาใต้ในปัจจุบัน ซึ่งเคยเป็นเขตดินแดนอิสระของผู้สืบเชื้อสายของผู้ตั้งถิ่นฐานชาวดัตช์ หรือเรียกกันว่า "ชาวบูร์" (Boer) ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ (South African Republic) ซึ่งก่อตั้งในปีค.ศ. 1856 ท่ามกลางความพยายามของชาวอังกฤษพยายามที่จะยึดครองมีอำนาจเหนือดินแดนแถบนี้ ภายหลังสงครามอังกฤษ-บูร์ ในระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและอาณานิคมทรานส์วาล · ดูเพิ่มเติม »

อิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน (Princess Ingrid of Sweden) หรือ สมเด็จพระราชินีอิงกริดแห่งเดนมาร์ก (Queen Ingrid of Denmark; อิงกริด วิกตอเรีย โซเฟีย หลุยส์ มาร์กาเรทา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2453 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นพระราชินีพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน อีกทั้งเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและอิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก ซึ่งภายหลังคือ สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรา แคโรไลนา มารี ชาร์ล็อต หลุยส์ จูเลีย; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2387 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร และสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งอินเดียในช่วงระหว่างรัชกาลของพระสวามี ก่อนหน้านี้ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงแห่งเวลส์ ระหว่างปี พ.ศ. 2406 - พ.ศ. 2444 (ยาวนานกว่าผู้ใดที่เคยดำรงพระอิสริยยศนี้) หลังการเสด็จสวรรคตของพระสวามีในปี พ.ศ. 2453 ตราบจนถึงการเสด็จสวรรคตของพระองค์เอง ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระบรมราชชนนี ที่ทรงเป็นทั้งพระราชินีและพระราชชนนีของกษัตริย์ที่ทรงครองราชย์อยู่ คือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร แต่ไม่โปรดใช้พระอิสริยยศเช่นนี้ จึงได้มีพระอิสริยยศเป็น "สมเด็จพระราชินีอเล็กซานดรา" (Her Majesty Queen Alexandra) ตลอดการเป็นหม้ายของพระอง.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและอเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์

อห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ (ภาษาอังกฤษ: John Singer Sargent) (12 มกราคม ค.ศ. 1856 - 14 เมษายน ค.ศ. 1925) เป็นจิตรกรคนสำคัญของสหรัฐอเมริกาในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพภูมิทัศน์, ภาพเหมือน และ การใช้สีน้ำ ซาร์เจนท์เกิดที่ฟลอเรนซ์ ที่ประเทศอิตาลี บิดามารดาเป็นชาวอเมริกัน ซาร์เจนท์ศึกษาที่อิตาลีและเยอรมนี ต่อมาที่ปารีสกับอีมิล โอกุสต์ คาโรลุส-ดูแรง (Emile Auguste Carolus-Duran) ในชีวิตซาร์เจนท์เขียนจิตรกรรมสีน้ำมันด้วยกันทั้งสิ้นราว 900 ภาพ และอีก 2,000 ภาพเขียนด้วยสีน้ำ นอกจากนั้นก็ยังมีงานเขียนภาพร่าง และภาพวาดลายเส้นด้วยถ่านอีกด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและจอห์น ซิงเกอร์ ซาร์เจนท์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เอเวอเรตต์ มิเล

อห์น เอเวอเรตต์ มิเล หรือ เซอร์จอห์น เอเวอเรตต์ มิเล บาโรเนตที่ 1, PRA (John Everett Millais หรือ Sir John Everett Millais, 1st Baronet, PRA) (8 มิถุนายน ค.ศ. 1829 - 13 สิงหาคม ค.ศ. 1896) เป็นจิตรกรและนักวาดภาพประกอบของกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอลชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรม, ภาพวาดเส้น และภาพพิมพ์ มิเลเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและจอห์น เอเวอเรตต์ มิเล · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิอินเดีย

thumb จักรพรรดิแห่งอินเดีย เป็นพระอิสริยยศพระเจ้าแผ่นดินแห่งอนุทวีปอินเดียซึ่งถูกใช้โดยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในสมัยบริติชราช 18 ปีหลังจากรัฐสภาสหราชอาณาจักรได้ตราพระราชบัญญัติรัฐบาลอินเดีย ค.ศ. 1858 รัฐบาลของนายกรัฐมนตรีเบนจามินได้ถวายพระอิสริยยศ "จักรพรรดิแห่งอินเดีย" ให้กับสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ในปี 1876 หลังจากที่สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จสวรรคต สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 พระราชโอรสเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและจักรพรรดิแห่งอินเดีย และพระอัครมเหสีของพระองค์ สมเด็จพระราชินีอเล็กซานดรา ก็ได้รับพระอิสริยยศทั้งพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรและจักรพรรดินีแห่งอินเดีย เมื่อพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรจะทรงลงพระปรมาภิไธยในเอกสารใดๆที่เกี่ยวข้องกับบริติชอินเดีย จะมีการเติม R I ลงท้ายพระปรมาภิไธย (R ย่อจากภาษาละตินว่า Rex/Regina และ I จาก Imperator/Imperatrix) แต่ถ้าเป็นการลงพระปรมาภิไธยในเอกสารใดๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับอินเดีย จะเติมท้ายเพียงแค่ R เท่านั้น พระมหากษัตริย์และพระอัครมเหสีที่ทรงดำรงพระราชอิสริยยศเป็นจักรพรรดิและจักรพรรดินีแห่งอินเดียพระองค์สุดท้ายคือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 และสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี ซึ่งในรัชกาลของพระองค์ มีการแบ่งบริติชราชออกเป็นประเทศปากีสถานและประเทศอินเดียเมื่อปี 1947 พระราชอิสริยยศจักรพรรดิแห่งอินเดียจึงถูกยกเลิกมานับแต่นั้น แม้พระราชอิสริยยศจักรพรรดิแห่งอินเดียจะถูกยกเลิกไปเมื่อ 18 สิงหาคม 1947 แต่พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรก็ยังทรงมีพระราชสถานะเป็นพระเจ้าแผ่นดินของประเทศอินเดียไปจนถึงปี 1950 และเป็นพระเจ้าแผ่นดินของประเทศปากีสถานไปจนถึง 1956.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและจักรพรรดิอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)

ักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Empress Maria Feodorovna of Russia) พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติคือ เจ้าหญิงดักมาร์แห่งเดนมาร์ก (พระนามรูปเต็ม มารี โซฟี เฟรเดริคเค ดักมาร์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2390 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระจักรพรรดินีมเหสีแห่งรัสเซีย เจ้าหญิงดักมาร์เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และสมเด็จพระราชินีหลุยส์แห่งเฮสส์ - คาสเซิล หลังอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย จึงทรงได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีมเหสี หรือ ซาริน่าแห่งรัสเซีย ด้วยพระนามใหม่หลังจากการเข้ารีตในศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซียว่า มารีเยีย ฟอโดรอฟนา (อักษรซีริลลิก: Mapия Фёдopoвна) พระราชโอรสพระองค์โตของพระองค์คือ สมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย องค์พระประมุขรัสเซีย พระองค์สุดท้ายที่พระจักรพรรดินีทรงดำรงพระชนม์ชีพยืนยาวกว่าเป็นเวลาสิบปี.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Александра Фёдоровна) พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าหญิงอลิกซ์แห่งเฮสส์และไรน์ (วิกตอเรีย อลิกซ์ เฮเลนา หลุยส์ เบียทริซ; 6 มิถุนายน พ.ศ. 2415 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) ทรงเป็นจักรพรรดินีมเหสีในซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย พระองค์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และทรงเปลี่ยนพระนามเป็น อะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา เมื่อทรงรับศีลในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย พระจักรพรรดินีอเล็กซานดราทรงเป็นที่รู้จักดีที่สุดในฐานะที่ทรงเป็นจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของรัสเซีย เป็นหนึ่งในผู้ที่เป็นพาหะของโรคเฮโมฟีเลียและในเรื่องการสนับสนุนการควบคุมแบบเบ็ดเสร็จของจักรวรรดิรัสเซีย มิตรภาพในด้านลบกับกริกอรี รัสปูติน ผู้ลึกลับชาวรัสเซีย ถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อพระชนม์ชีพของพระองค์ด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์

ลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์ หรือเรียกอย่างเต็มว่า จุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ (Coronet of Frederick, Prince of Wales) คือจุลมงกุฎที่จัดสร้างขึ้นในปีค.ศ. 1728 สำหรับเจ้าชายเฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ มกุฎราชกุมารซึ่งในขณะนั้นทรงเป็นทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ ทำจากทองคำทั้งเรือน ประกอบด้วยโค้งจำนวน 1 โค้งตามประเพณี ซึ่งสันนิษฐานว่าสร้างโดยช่างทองแห่งราชสำนัก ซามูเอล ชาเลส ในราคา £140 5/- (หนึ่งร้อยสี่สิบปอนด์กับห้าชิลลิง) หรือในปัจจุบันมีมูลค่าประมาณ £12,000 จุลมงกุฎองค์นี้ ในเอกสารบางครั้งก็เรียกว่าเป็น "มงกุฎ" (Crown).

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและจุลมงกุฎเจ้าชายเฟรเดอริกแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติออสเตรเลีย

งชาติออสเตรเลีย มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปธงชาติสหราชอาณาจักร ใต้ธงชาติสหราชอาณาจักรนั้นเป็นรูปดาวเจ็ดแฉกสีขาวดวงหนึ่ง มีชื่อเรียกว่า ดาราสหพันธรัฐ (The Commonwelth Star) ถัดจากรูปดังกล่าวมาทางด้านปลายธงนั้น เป็นรูปดาวเจ็ดแฉก 4 ดวง และดาวห้าแฉกอีก 1 ดวง เรียงกันเป็นรูปกลุ่มดาวกางเขนใต้.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและธงชาติออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาตินิวซีแลนด์

งชาตินิวซีแลนด์ มัลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีน้ำเงิน กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน มีภาพธงชาติสหราชอาณาจักรที่มุมธงบนด้านคันธง ที่ด้านปลายธงมีรูปดาวห้าแฉกสีแดงขอบขาวรวม 4 ดวง เรียงเป็นรูปกลุ่มดาวกางเขนใต้ ตามที่ปรากฏบนท้องฟ้าของประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและธงชาตินิวซีแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ดยุกแห่งแคลเรนซ์

กแห่งแคลเรนซ์ (Duke of Clarence) เป็นหนึ่งในบรรดาศักดิ์ดยุกของอังกฤษ โดยพระราชทานให้แก่สมาชิกที่มีอาวุโสน้อยกว่าในพระราชวงศ์ โดยมีการสถาปนาขึ้นมา 5 ครั้ง ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1362 สำหรับไลโอเนลแห่งอันทเวิร์พ พระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษ ต่อมาหลังจากพระองค์สิ้นพระชนม์ การสถาปนาในครั้งแรกนี้จึงหมดลง ครั้งที่สองในปี ค.ศ. 1412 สำหรับทอมัสแห่งแลงคาสเตอร์ พระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 4 แห่งอังกฤษ ตำแหน่งสิ้นสุดลงหลังจากที่พระองค์สิ้นพระชนม์เช่นเดียวกัน ครั้งที่สามในปี ค.ศ. 1461 สำหรับจอร์จ แพลนแทเจเนต พระอนุชาในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 แห่งอังกฤษ ครั้งต่อไป (ในตำแหน่งดยุกแห่งแคลเร็นซ์และเซนต์แอนดรูว์) ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและดยุกแห่งแคลเรนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงฉันทไมตรี

วามตกลงฉันทไมตรี (entente cordiale) เป็นความตกลงหลายฉบับที่ลงนามเมื่อวันที่ 8 เมษายน..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและความตกลงฉันทไมตรี · ดูเพิ่มเติม »

คทากางเขน

ทากางเขน (Sceptre with the Cross) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า คทาเซนต์เอ็ดเวิร์ด (St.), คทากษัตริย์ (Sovereign's Sceptre) หรือ คทาหลวง (Royal Sceptre) คือพระคทาประจำพระองค์ ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักร ทำขึ้นเพื่อใช้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระเจ้าชาลส์ที่ 2ในปีค.ศ. 1661 ต่อมาในปีค.ศ. 1905 คทานี้ได้ถูกปรับปรุงขึ้นใหม่ภายหลังจากการค้นพบเพชรคูลลิแนน ในปัจจุบัน คทากางเขนนี้เป็นที่ประดับของเพชรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก คือ คูลลิแนน 1 หรือ ดาวใหญ่แห่งแอฟริกา ซึ่มีน้ำหนักกว่า 530 กะรัต ซึ่งตัวเพชรคูลลิแนนนั้นสามารถถอดออกมาจากคทาเพื่อเป็นเข็มกลัดประดับได้ ซึ่งเพชรคูลลิแนนนี้เป็นเพชรที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยพบบนโลก น้ำหนักรวม 3106.75 กะรัต ซึ่งถูกตัดแบ่งเจียระไนออกเป็น 9 ชิ้น และคูลลิแนน 1 นั้นมีขนาดใหญ่ที่สุดในทั้งหมด คทานั้นถือเป็นสัญลักษณ์ของพระราชอำนาจปกครองของพระมหากษัตริย์ซึ่งอยู่ภายใต้กางเขนศักดิ์สิทธิ์ ส่วนคทาแห่งพิราบ ซึ่งเป็นอีกหนึ่งในหมู่เครื่องราชกกุธภัณฑ์ถือเป็นสัญลักษณ์ถึงอำนาจทางจิตวิญญาณ ในระหว่างพระราชพิธีบรมราชาภิเษกนั้น พระมหากษัตริย์จะทรงคทากางเขนด้วยพระหัตถ์ขวา และคทานกพิราบด้วยพระหัตถ์ซ้าย ในขณะที่อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีทำการสวมมงกุฎเซนต์เอ็ดเวิร์ดลงบนพระเศียร คทากางเขน พร้อมทั้งเครื่องราชกกุธภัณฑ์อื่นๆนั้น สามารถเข้าชมได้ที่หอคอยแห่งลอนดอน.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและคทากางเขน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลเอสเต

ตราอาร์มของตระกูลเอสเต ตระกูลเอสเต (House of Este) เป็นตระกูลของยุโรปที่แบ่งเป็นสองสาย สายอาวุโสคือ “เวลฟ-เอสเต” หรือ ตระกูลเวลฟ และสายรอง “ฟุลค์-เอสเต” (Fulc-Este) หรือที่มาเรียกว่า “ตระกูลเอสเต” ทั้งสองตระกูลเกี่ยวข้องกับตระกูลเว็ตติน (House of Wettin) ซึ่งเป็นตระกูลเก่าที่มีอายุแปดร้อยปี สายอาวุโสของตระกูลเอสเตตระกูลเวลฟเป็นต้นตระกูลของดยุคแห่งบาวาเรีย (ค.ศ. 1070–ค.ศ. 1139, ค.ศ. 1156–ค.ศ. 1180), ดยุคแห่งดยุคแห่งแซกโซนี (ค.ศ. 1138–ค.ศ. 1139, ค.ศ. 1142–ค.ศ. 1180), พระมหากษัตริย์แห่งเยอรมนี (ค.ศ. 1198–ค.ศ. 1218) และที่มีอิทธิพลในประวัติศาสตร์มากที่สุด, ดยุคแห่งบรันสวิคและลืนเนอเบิร์ก (ค.ศ. 1208–ค.ศ. 1918) ผู้ต่อมาเป็น “เจ้าชายอีเล็คเตอร์แห่งฮาโนเวอร์” ซึ่งเป็นตำแหน่งสำคัญของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อสองสายของตระกูลกลับมารวมตัวกันอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและตระกูลเอสเต · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของฟีจี

ตราแผ่นดินของฟีจี ในยุครัฐชาติสมัยใหม่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายใต้อาณานิคมเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร แบ่งตามตราแผ่นดินของอาณานิคมฟีจีได้ 3 แบบดังนี้.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของฟีจี · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของมอนต์เซอร์รัต

ตราแผ่นดินของมอนต์เซอร์รัต มีลักษณะเป็นตราโล่อาร์ม พื้นโล่แบ่งเป็นสองส่วนตามแนวนอน โดยส่วนบนเป็นพื้นสีฟ้าน้ำทะเล ส่วนล่างพื้นสีน้ำตาล กลางโล่เป็นรูปหญิงพรหมจารีย์จับพิณยืนเกาะไม้กางเขนบน โดยมือขวาของรูปหญิงพรหมจารีย์นั้นเกาะไม้กางเขน ส่วนมือข้างซ้ายจับส่วนหัวของพิณ ดวงตราดังกล่าวนี้ มีความหมายถึงหญิงพรหมจารีที่ถูกส่งมาจากไอร์แลนด์โดย โอลิเวอร์ ครอมเวลล์ ซึ่งตั้งถิ่นฐานบนเกาะอยู่ 2 แห่ง คือ หมู่บ้านคินเซลล์ และหมู่บ้านแฮริส ตรานี้มีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2452 ในสมัยของสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของมอนต์เซอร์รัต · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส

ตราแผ่นดินหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส มีลักษณะเป็นตราอาร์ม พื้นตราเป็นรูปโล่พื้นสีเหลืองขอบสีขาว ภายในดวงตรามีรูปวัตถุ 3 อย่าง ได้แก่ รูปหอยสังข์ที่ด้านซ้ายบน รูปกุ้งมังกรที่ด้านขวาบน และรูปต้นตะบองเพชรที่ตอนกลางล่าง เบื้องซ้ายและเบื้อวขวาของโล่มีรูปนกฟลามิงโกประคองข้าง เหนือโล่นั้นมีรูปนกกระทุงยืนท่ามกลางต้นป่าน 2 ต้น อันเป็นสัญลักษณ์สื่อถึงอุตาสาหกรรมการทำเชือกของประเทศนี้ ดวงตราดังกล่าวนี้เป็นตราอย่างใหญ่ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ได้จากสหราชอาณาจักรเมื่อ ค.ศ. 1965 สำหรับตราย่อของตรานี้ซึ่งใช้อยู่ในธงชาติจะยกเครื่องประกอบอื่นๆ ออกไปทั้งหมด คงไว้เพียงเฉพาะตราโล่เท่านั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของออสเตรเลีย

ตราแผ่นดินของออสเตรเลีย (เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ตราแผ่นดินแห่งเครือรัฐ) ใช้โดยรัฐบาลแห่งออสเตรเลี.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเบอร์มิวดา

ตราแผ่นดินของเบอร์มิวดาเริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2453 โดยมีที่มาจากเหตุการณ์ที่เรือของอังกฤษที่นำโดยเซอร์จอร์จ ซอมเมอร์แตกอยู่ นอกชายฝั่งเบอร์มิวดาระหว่างทางมุ่งสู่เวอร์จิเนีย ภาพทีอยู๋ในโล่ที่สิงห์โตคาลีบานถือโล่อันเล็ก (สิงห์โตคาลีบาน คือสัตว์ในตำนานเป็นมนุษย์ที่มีอุปนิสัยคล้ายสัตว์ตัวหนึ่ง) โล่แสดงภาพเรือเดินสมุทรชนโขดหินโสโครกจนล่มลงท้องทะเล ในมหาสมุทรมีเกลียวคลื่นเกิดจากฟองของแก๊สมีเทน โดยแก๊สดังกล่าวอยู่ใต้ท้องทะเลในบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา โดยเมื่อแก๊สเหล่านี้ขึ้นสู่พื้นผิว มันจะทะยานสู่อากาศ และขยายตัวเป็นวงกว้างและก่อตัวเป็นฟองแก๊สขนาดใหญ่ เมื่อเรือลำใดผ่านเข้าไปในบริเวณนั้น ก็จะเข้าไปสู่ฟองแก๊สมีเทนขนาดยักษ์ จนทำให้เรือเหล่านี้สูญเสียการควบคุม และจมลงในที่สุด ซึ่งตราอาณานิคมดังที่ได้กล่าวมาข้า่งต้น โดยมูลเหตุของการออกแบบตราดังกล่าวนี้ บอกเล่าถึงที่มาของอาณานิคมแห่งนี้ว่าผู้ก่อตั้งอาณานิคมเป็นลูกเรือซีเวนเจอร์ (Sea Venture) ซึ่งจมลงในปี ค.ศ. 1609 (พ.ศ. 2152) โดยมาจากวรรณกรรมของ วิลเลียม เชคสเปียร์ ที่ประพันธ์บทละครเรื่องหนึ่ง ชื่อเรื่อง The Thempest ขึ้นในปี พ.ศ. 2154 สิงห์โตคาลีบานถือโล่ที่บรรจุภาพดังกล่าว อันเล็ก อยู่ในโล่ใหญ่พื้นสีขาวโดย สิงห์โตคาลีบานยืนถือโล่อันเล็กบนแถบสีเขียวขนาดเล็ก ที่บนผืนหญ้า ตราแผ่นดิน (ตราอาณานิคม) ในยุคแรกเมื่อปีค.ศ. 1875 (พ.ศ. 2418) โดยมีลักษณะเป็นรูปเรือสามลำที่แล่นในมหาสมุทร โดยเรือลำใหญ่ที่อยู่ตรงกลางกำลังแล่นเข้าสู่อู่แห้ง ซึ่งสันนิษฐานว่าในความเป็นจริงที่ว่าเกาะแห่งนี้คือฐานสำหรับการหยุดพักระหว่างการสัญจรทางเรือ.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

ตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ เป็นตราอาร์มที่สืบทอดรูปแบบมาจากดวงตราประจำอาณานิคมเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ของสหราชอาณาจักรตั้งแต่พ.ศ. 2420 ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ลักษณะของที่ปรากฏในปัจจุบันนี้เป็นรูปหญิงพรหมจารีย์ 2 คน นุ่งผ้าแบบโบราณ หันหน้าเข้าหากัน ระหว่างรูปหญิงทั้งสองนั้นมีแท่นขนาดเล็กสีทอง คนหนึ่งทางซ้ายยืนถือช่อมะกอก ส่วนอีกคนหนึ่งทางขวานั่งคุกเข่า มือถือจานชั่งอยู่เหนือแท่นทอง รูปดังกล่าวอยู่ในกรอบโล่พื้นขาว ตอนล่างเป็นสีเขียว เหนือโล่นั้นเป็นผ้าโพกสีน้ำเงิน-เหลือง-เขียว (สีธงชาติเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์) ประดับด้วยช่อดอกฝ้ายเป็นเครื่องยอด เบื้องล่างของตราเป็นแพรแถบสีขาว ด้านหลังเป็นสีแดง จารึกคำขวัญประจำชาติเป็นภาษาละตินว่า "Pax et justitia" หมายถึง "สันติภาพและความยุติธรรม".

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ตำหนักออสบอร์น

ตำหนักออสบอร์น (Osborne House) เป็นอดีตที่ประทับของราชวงศ์อังกฤษ ตั้งอยู่ในอีสต์คอว์สบนเกาะไอล์ออฟไวต์ในช่องแคบอังกฤษ ตำหนักหลังนี้ถูกสร้างขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและตำหนักออสบอร์น · ดูเพิ่มเติม »

ตำหนักซานดริงแฮม

ตำหนักซานดริงแฮม (ภาษาอังกฤษ: Sandringham House) เป็นคฤหาสน์ชนบทตั้งอยู่ที่หมู่บ้านซานดริงแฮม, นอร์โฟล์คในสหราชอาณาจักร เป็นตำหนักที่เป็นสมบัติส่วนพระองค์ของพระราชวงศ์อังกฤษ บริเวณที่ตั้งของตำหนักมีผู้อยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัยเอลิซาเบธ ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและตำหนักซานดริงแฮม · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ. 2369 ถึงปี พ.ศ. 2461 ชื่อ ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา อาจหมายถึงตระกูลหรือราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ซึ่งมีบทบาทสำคัญมากมายและหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์การเมืองและราชสำนักยุโรปสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

นิคมช่องแคบ

นิคมช่องแคบ (Straits Settlements; 海峡殖民地 Hǎixiá zhímíndì) คืออาณานิคมของจักรวรรดิบริติชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยดินแดนที่เป็นรัฐปีนัง ดินดิง (ส่วนหนึ่งของรัฐเปรัก) รัฐมะละกา สิงคโปร์ และลาบวนในปัจจุบัน อาณานิคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2369 โดยในตอนแรกเป็นเพียงส่วนหนึ่งของดินแดนที่อยู่ในความควบคุมของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ต่อมาในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2410 ได้กลายเป็นอาณานิคมอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลสหราชอาณาจักรอย่างเต็มตัว และได้รับเอกราชภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและนิคมช่องแคบ · ดูเพิ่มเติม »

โกตดาซูร์

แผนที่แสดงของเขตของโกตดาซูร์ ชายหาดเมืองนิส โกตดาซูร์ (Côte d'Azur) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อภาษาอังกฤษว่า เฟรนช์ริวีเอรา (French Riviera) เป็นชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางมุมตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฝรั่งเศส รวมไปถึงโมนาโก ไม่มีขอบเขตแน่ชัดแต่มักจะกล่าวถึงว่า มีขอบเขตตั้งแต่ม็องตงไปจนถึงชายแดนอิตาลี ทางตะวันออกของแซ็ง-ทรอเป, อีแยร์ หรือกาซี ทางตะวันตก"Côte d'Azur, côte méditerranéenne française entre Cassis et Menton" ("Côte d'Azur, French Mediterranean coast between Cassis and Toulon") in Dictionnaire Hachette encyclopédique (2000), p. 448.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและโกตดาซูร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรคฮีโมฟิเลียในราชวงศ์ยุโรป

รคฮีโมฟิเลียมีบทบาทสำคัญอย่างเด่นชัดมากในประวัติศาสตร์ของราชวงศ์ยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 สมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรียทรงถ่ายทอดพันธุกรรมกลายพันธุ์ไปสู่ราชวงศ์ต่างๆ บนภาคพื้นทวีปยุโรป อันรวมไปถึงราชวงศ์สเปน เยอรมนีและรัสเซีย ผ่านทางพระราชธิดาสองในห้าพระองค์ (เจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักร และ เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสหราชอาณาจักร) เจ้าฟ้าชายเลโอโพลด์ พระราชโอรสองค์เล็ก ก็ประชวรด้วยโรคฮีโมฟิเลีย ด้วยเหตุนี้โรคฮีโมฟิเลียในครั้งหนึ่งจึงเป็นที่นิยมเรียกว่า "โรคราชวงศ์" (Royal Disease) การทดสอบเถ้ากระดูกจากราชวงศ์โรมานอฟแสดงว่าลักษณะเฉพาะของโรคฮีโรคฮีโมฟิเลียที่ส่งผ่านมาจากสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียน่าจะเป็นโรคฮีโมฟีเลีย ชนิดบี (Haemophilia B) Michael Price, ScienceNOW, October 9, 2009.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและโรคฮีโมฟิเลียในราชวงศ์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

โรงแรมริตซ์ ปารีส

รงแรมริตซ์ที่ปลาซวองโดม โรงแรมริตซ์ ปารีส (Hôtel Ritz Paris) เป็นโรงแรมที่ตั้งอยู่ที่ปลาซวองโดม ใจกลางกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เป็นโรงแรมที่มีชื่อเสียงและหรูหราที่สุดในโลกแห่งหนึ่ง และเป็นหนึ่งในเจ็ด Parisian Palace ที่จัดอันดับโดย The Leading Hotels of the World นับเป็นโรงแรมริตซ์ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2441.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและโรงแรมริตซ์ ปารีส · ดูเพิ่มเติม »

โรนัลด์ รอสส์

ซอร์โรนัลด์ รอสส์ KCB (Sir Ronald Ross; 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1857 – 16 กันยายน ค.ศ. 1932) เป็นแพทย์ชาวอังกฤษ-อินเดีย ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์เมื่อปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและโรนัลด์ รอสส์ · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1908

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 4 ประจำปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและโอลิมปิกฤดูร้อน 1908 · ดูเพิ่มเติม »

เพชรคูลลิแนน

รคูลลิแนน (Cullinan diamond) เป็นเพชรคุณภาพอัญมณีดิบ (rough gem-quality) ขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยพบ หนัก 3,106.75 กะรัต (621.35 กรัม) มีความยาวประมาณ 10.5 ซม.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเพชรคูลลิแนน · ดูเพิ่มเติม »

เพชรโคอินัวร์

ห์อินัวร์ (Koh-i-Noor, کوہ نور อ่านออกเสียง: koh iː nuːɾ|pron, "ภูเขาแห่งแสง"; บางครั้งสะกดเป็น Kuh-e Nur หรือ Koh-i-Nur) คือเพชรที่มีขนาด 105.6 กะรัต มีน้ำหนัก 21.6 กรัม ในสภาพที่เจียระไนครั้งล่าสุด (ก่อนหน้านี้มีขนาด 186.6 กะรัต หนัก 37.21 กรัม) และยังเคยเป็นเพชรที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ตามหลักฐานนั้นค้นพบในรัฐอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย พร้อมกันกับเพชรคู่แฝดที่มีชื่อว่า ดารยา-เย-นัวร์ (แปลว่า​ "ทะเลแห่งแสง") โคห์อินัวร์นั้นมีประวัติอันยาวนาน โดยตกเป็นเพชรของหลายราชวงศ์ในอดีต รวมถึง ราชปุตแห่งอินเดีย, ราชวงศ์โมกุล, ราชวงศ์อัฟชาริด, ราชวงศ์ดูร์รานี, ราชวงศ์ซิกข์ และล่าสุดนั้นตกเป็นของจักรวรรดิอังกฤษ โคห์อินัวร์ได้ถูกริบจากผู้ครอบครองคือ ดูลิป สิงห์ ในปีค.ศ. 1850 โดยบริษัทอินเดียตะวันออก และต่อมาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักรเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งอินเดียในปีค.ศ. 1877 โคห์อินัวร์เคยถูกเรียกว่า "ศิยมันทกามณี" และต่อมา "มณยัก" หรือ "ราชาแห่งอัญมณี" ก่อนจะถูกเรียกเป็น "โคห์อินัวร์" ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยชาห์นาเดอร์ ภายหลังจากการยึดครองอินเดียของพระองค์ ในปัจจุบันโคห์อินัวร์ถูกเก็บรักษาและจัดแสดงที่หอคอยแห่งลอนดอน.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเพชรโคอินัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย

้าหญิงเอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย(29 ธันวาคม พ.ศ. 2386 - 3 มีนาคม/2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459) พระนามเดิมคือ เจ้าหญิงพอลีน เอลิซาเบธ ออตติลี หลุยส์ ซู วีด ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียโดยเป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย พระนางทรงเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางในด้านวรรณกรรมโดยทรงมีนามปากกาว่า "คาร์เมน ซิลวา"(Carmen Sylva) ทรงก่อตั้งองค์กรการกุศลขึ้นมากมาย ชาวโรมาเนียจึงให้พระสมัญญาว่า "Mama răniților" และชาวโรมาเนียมักจะเรียกพระนางว่า "พระราชินีคาร์เมน ซิลวา" ตามนามปากกาของพระนางมากกว่าเรียกพระนามจริง.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเอลิซาเบธแห่งเวดส์ สมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ์

มส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจมส์ คาร์เนกี ดยุกที่ 3 แห่งไฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือพระนามเต็ม เลโอโพลด์ ชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ด จอร์จ อัลเบิร์ต (Charles Edward, Duke of Saxe-Coburg and Gotha; Carl Eduard, Herzog von Sachsen-Coburg und Gotha; 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2497) ทรงเป็นดยุคแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา ในประเทศเยอรมนี พระองค์ที่สี่และสุดท้าย (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461) และในฐานะพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ผ่านทางสายพระราชโอรส พระองค์ทรงเป็นเจ้าชายแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุคแห่งอัลบานีอีกด้วย เจ้าชายชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ดทรงเป็นบุคคลที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในประเทศอังกฤษ เนื่องจากการมีสถานภาพเป็นศัตรูในฐานะที่ทรงเป็นดยุคครองรัฐแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา อันเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 พระองค์ทรงถูกถอดถอนบรรดาศักดิ์ขุนนางและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างๆ ของอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2462 ในปี พ.ศ. 2461 พระองค์ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติ และต่อมาได้ทรงเข้าร่วมพรรคนาซีเยอรมัน ยังความเสื่อมเสียที่ใหญ่หลวงมาให้แก่เจ้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน ซึ่งเป็นพระภคินีเพียงพระองค์เดียว สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระภคินีในพระเชษฐภรรดา รวมถึงสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ซึ่งเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี

้าชาย ฟรันซ์ อัลแบร์ท เอากุสตุส คาร์ล เอ็มมานูเอล แห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ (Franz Albert August Karl Emanuel von Sachsen-Coburg-Saalfeld) หรือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี (Albert, Prince Consort) เป็นเจ้าชายเยอรมันซึ่งสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ ทรงเป็นพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร จึงทำให้พระองค์ดำรงพระยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" อย่างเป็นทางการเพียงพระองค์เดียว ภายหลังจากการสวรรคตของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียใน..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์และเอวอนเดล

้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์และเอวอนเดล เจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์และเอวอนเดล หรือพระนามเต็ม อัลเบิร์ต วิกเตอร์ คริสเตียน เอ็ดเวิร์ด (ประสูติ 8 มกราคม พ.ศ. 2407 เสด็จสิ้นพระชนม์ 14 มกราคม พ.ศ. 2435) เป็นพระราชโอรสพระองค์โตในเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์ และเจ้าฟ้าหญิงอเล็กซานดรา เจ้าหญิงแห่งเวล.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์และเอวอนเดล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา(พระนามเต็ม อัลเฟรด เออร์เนส อัลเบิร์ต ประสูติ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2387 สิ้นพระชนม์ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2443) พระราชชนนีคือ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระธิดาพระองค์เดียวในเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์และสแตรเธิร์น และ เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งซัคเซิน-โคบูร์ก-ซาลเฟลด์ พระราชชนกคือ เจ้าชายอัลเบิร์ตแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา พระโอรสในเออร์เนสที่ 1 ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา และ เจ้าหญิงหลุยส์ แห่งซัคเซิน-โกทา-อัลเทนเบิร์ก ทรงเป็น ดยุกแห่งเอดินบะระ มาตั้งแต่พ.ศ. 2409 และเป็น ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา เมื่อพ.ศ. 2436.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาร์เธอร์แห่งคอนน็อต

้าชายอาร์เธอร์แห่งคอนน็อต.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายอาร์เธอร์แห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์

้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ (Prince George, Duke of Kent) หรือพระนามเต็ม จอร์จ เอ็ดเวิร์ด อเล็กซานเดอร์ เอ็ดมันด์ (George Edward Alexander Edmund; ประสูติ: 20 ธันวาคม พ.ศ. 2445; สิ้นพระชนม์: 25 สิงหาคม พ.ศ. 2485 - ทรงอุบัติเหตุขณะเดินทางกับกองทัพที่สกอตแลนด์) เป็นสมาชิกในราชวงศ์อังกฤษ พระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และสมเด็จพระราชินีแมรี แห่งเท็คทรงสถาปนาเป็นดยุกแห่งเคนต์ เมื่อ พ.ศ. 2477 จนกระทั่งพระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2485.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจอห์นแห่งสหราชอาณาจักร

้าชายจอห์นแห่งสหราชอาณาจักร (Prince John of the United Kingdom) หรือพระนามเต็ม จอห์น ชาลส์ ฟรานซิส (John Charles Francis; ประสูติ: 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2448; สิ้นพระชนม์: 18 มกราคม พ.ศ. 2462) เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรกับสมเด็จพระราชินีแมรีแห่งเทก เจ้าชายจอห์นประสูติในขณะที่พระราชบิดามีพระยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์ และรัชทายาทในราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักร ในปี..

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายจอห์นแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายแห่งเวลส์

้าชายแห่งเวลส์ (Prince of Wales; Tywysog Cymru) เป็นพระอิสริยยศขององค์รัชทายาทแห่งพระมหากษัตริย์แห่งอังกฤษหรือสหราชอาณาจักรในขณะนั้น ราชประเพณีที่มกุฏราชกุมารของราชบัลลังก์อังกฤษจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์มีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 อย่างไรก็ดีการไม่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงอิสริยยศนี้ไม่มีผลใดๆต่อสิทธิของผู้ที่จะสืบทอดราชบัลลังก์ บุคคลแรกที่ดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายแห่งเวลส์คือ พระเจ้าละเวลินมหาราช (Llywelyn the Great) ผู้ดำรงพระอิสริยยศนี้ในปัจจุบันคือ เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวล.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์

้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ (พระนามเต็ม โฮกุน มักนุส, ประสูติ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1973 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์มีพระเชษฐภคินีคือ เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอ.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์

้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์เมื่อมีพระชนมายุ 19 ปี เจ้าหญิงมารี หลุยส์ หรือพระนามเต็ม ฟรันซิสกา โยเซฟา หลุยส์ ออกัสตา มารี คริสตินา เฮเลนา (พระอิสริยยศแบบเดิม เจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ (Princess Marie Louise of Schleswig-Holstein, VA, CI, GCVO, GBE, RRC; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2415 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2499) ทรงเป็นสมาชิกในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์

้าหญิงมารีนาแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Marina of Greece and Denmark, CI, GCVO, GBE; 13 ธันวาคม พ.ศ. 2449 - 27 สิงหาคม พ.ศ. 2511) ต่อมาทรงเป็น เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ (Princess Marina, Duchess of Kent) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษและเป็นพระวรชายาในเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ พระราชโอรสองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระองค์ทรงเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ต่างประเทศองค์สุดท้ายที่อภิเษกสมรสเข้ามาในพระราชวงศ์อังกฤษ หลังจากนั้นมาเจ้าสาวทุกคนเป็นเพียงแค่สามัญชนทั้งหม.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน

้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน (พระนามเต็ม: มารี ลุยซ์ อเล็กซานดรา กาโรลีน, ประสูติ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1845, สิ้นพระชนม์ 26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1912) เป็นเจ้าหญิงแห่งราชวงศ์โฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน ซึ่งต่อมาในภายหลังคือราชวงศ์โฮเฮนซอลเลิร์น ทรงเป็นพระราชชนนีของสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม พระราชบิดา คือ ชาร์ลส์ แอนโทนี เจ้าชายแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น นายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซีย กับเจ้าหญิงโจเซฟฟินแห่งบาเดิน ดังนั้นจึงทรงเป็นพระเชษฐภคินีของสมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย และพระปิตุจฉาของสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนี.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมารีแห่งโฮเฮนซอลเลิร์น-ซิกมาริงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงมารีแห่งเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมารีแห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต

้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต (Princess Margaret of Connaught; มาร์กาเร็ต วิกตอเรีย ชาร์ล็อต ออกัสตา นอร่าห์ ภายหลังคือ มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน; 15 มกราคม พ.ศ. 2425 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2463) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น พระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรและ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี กับ เจ้าหญิงหลุยส์ มาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และมีพระนามลำลองในหมู่พระญาติสนิทและพระสหายว่า "เดซี่".

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์

้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์ (Prinsesse Märtha Louise av Norge; ประสูติ: 22 กันยายน ค.ศ. 1971) พระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์เป็นพระเชษฐภคินีของ เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ หลังจากการเปลี่ยนแปลงกฎมนเทียรบาลในปี ค.ศ. 1990 ส่งผลให้พระองค์อยู่ในลำดับที่ 4 ของการสืบราชบัลลังก์นอร์เว.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงม็อด เคาน์เตสแห่งโซเทร็ค

้าหญิงม็อด เคาน์เตสแห่งโซเทร็.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงม็อด เคาน์เตสแห่งโซเทร็ค · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงลูอีส พระราชกุมารี

้าหญิงลูอีส พระราชกุมารี.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงลูอีส พระราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี

้าหญิงวิกตอเรีย พระวรราชกุมารี หรือพระนามเต็ม วิกตอเรีย อเดเลด แมรี หลุยซา (ประสูติ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2383 สวรรคต 5 สิงหาคม พ.ศ. 2444) พระราชธิดาพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต แห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งเอดินเบอระ เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา (วิกตอเรีย เมลิตา; 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2419 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2479) ทรงเป็นสมาชิกในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าหญิงได้ทรงดำรงพระอิสริยยศทั้ง แกรนด์ดัชเชสพระชายาแห่งเฮสส์ (พ.ศ. 2437 - พ.ศ. 2444) และ แกรนด์ดัชเชสวิกตอเรีย เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พ.ศ. 2448 - พ.ศ. 2460) เจ้าหญิงวิกตอเรียได้ทรงสร้างความอื้อฉาวให้กับราชวงศ์ยุโรปด้วยการหย่าร้างและอภิเษกสมรสอีกครั้งในช่วงต้นศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงวิกตอเรีย เมลิตาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร

้าหญิงวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม

้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม (Princess Stéphanie of Belgium, Crown Princess of Austria-Hungary, Prinzessin Stephanie von Belgien, Kronprinzessin von Österreich-Ungarn.) (พระนามเต็ม: สเตฟานี่ คลอทิลด์ หลุยส์ เฮอร์มีนี่ มารี ชาร์ลอต, Stéphanie Clotilde Louise Herminie Marie Charlotte von Habsburg-Lothringen (ราชสกุลเดิม Saxe-Coburg and Gotha)) ทรงเป็นเจ้าฟ้าหญิงแห่งเบลเยียม เจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและโกธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี นอกจากนี้ ยังเป็นพระชายาในอาร์ชดยุกรูดอล์ฟ มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการีด้ว.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงสเตฟานีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน

้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน หรือ อลิซ แมรี่ วิกตอเรีย ออกัสตา พอลีน หรือพระอิสริยยศแรกเดิม เจ้าหญิงอลิซแห่งออลบานี (Princess Alice, Countess of Athlone, VA, GCVO, GBE; พระอิสริยยศแรกเดิม Princess Alice of Albany; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2426 - 3 มกราคม พ.ศ. 2524) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระองค์ทรงมีจุดเด่นที่ยังคงเป็นเจ้าหญิงในเชื้อพระวงศ์ที่มีพระชนม์ชีพยืนยาวที่สุดของพระราชวงศ์อังกฤษและพระราชนัดดาที่ทรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย อีกทั้งยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี พร้อมกับทั้งเจ้าหญิงแห่งเท็คจากการอภิเษกสมรสจนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2460 เมื่อพระองค์ต้องทรงสละฐานันดรศักดิ์ทั้งหมดตามพระบรมราชโองการของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์

้าหญิงออกัสตาแห่งแคมบริดจ์ เจ้าหญิงออกัสตาแห่งแคมบริดจ์ (Princess Augusta of Cambridge) (ออกัสตา แคโรไลน์ ชาร์ล็อต เอลิซาเบธ แมรี โซเฟีย หลุยส์; 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2365 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2459) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ พระองค์ทรงอภิเษกสมรสเข้าไปอยู่ในพระราชวงศ์เม็คเล็นบูร์ก-สเตรลิตซ์ และได้ทรงเป็นแกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-สเตรลิตซ์ (HRH The Grand Duchess of Mecklenburg-Strelitz).

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงออกัสตาแห่งเคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์

้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ: 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 ณ วิลลาซูลบักเคิน กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชธิดาองค์รองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงมาร์ธา มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ และเป็นพระขนิษฐาในเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ พระองค์ถือเป็นเหลนในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร พระองค์จึงอยู่ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้พระองค์ยังเป็นพระญาติชั้นที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร และเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมในสายพระมารดาของพระอง.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอเล็กซานดรา ดัชเชสที่ 2 แห่งไฟฟ์

้าหญิงอเล็กซานดรา ดัชเชสที่ 2 แห่งไฟฟ.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอเล็กซานดรา ดัชเชสที่ 2 แห่งไฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเอดินบะระและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือ อเล็กซานดรา หลุยส์ โอลกา วิกตอเรีย (HRH Princess Alexandra of Edinburgh and Saxe-Coburg and Gotha; 1 กันยายน พ.ศ. 2421 - 16 เมษายน พ.ศ. 2485) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด

้าหญิงแมรี พระราชกุมารี (Princess Mary, Princess Royal; วิกตอเรีย อเล็กซานดรา อลิซ แมรี; 25 เมษายน พ.ศ. 2440 - 28 มีนาคม พ.ศ. 2508) หลังจากอภิเษกสมรสคือ เจ้าหญิงแมรี เคาน์เตสแห่งแฮร์วูด (Princess Mary, Countess of Harewood) ทรงเป็นสมาชิกองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ และพระวรราชกุมารีพระองค์ที่หกตั้งแต่เริ่มใช้พระอิสริยยศนี้ พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงในชั้นพระองค์เจ้าตั้งแต่แรกประสูติในฐานะพระราชปนัดดาในพระประมุขแห่งอังกฤษ และต่อมาในชั้นเจ้าฟ้าในฐานะพระราชนัดดาและพระราชธิดาในพระประมุขแห่งอังกฤษ และหลังจากการอภิเษกสมรสพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น เคาน์เตสแห่งแฮร์วู.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเคาน์เตสแห่งแฮร์วูด · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์

้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ หรือพระนามแบบเต็ม แมรี อเดเลด วิลเฮลมินา เอลิซาเบธ (Princess Mary Adelaide of Cambridge; 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2376 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2440) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 ต่อมาพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งเท็ค (Duchess of Teck) จากการอภิเษกสมรส พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระราชินีแมรี พระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 นอกจากนั้นยังเป็นหนึ่งในบรรดาพระบรมวงศ์พระองค์แรกๆ ที่ทรงอุปถัมภ์การกุศลต่างๆ มากม.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแห่งเวลส์

้าหญิงแห่งเวลส์ (Princess of Wales) เป็นพระอิสริยยศกิตติมศักดิ์ (courtesy title) สำหรับพระชายาของเจ้าชายแห่งเวลส์ นับตั้งแต่เจ้าชายแห่งเวลส์ชาวอังกฤษพระองค์แรกเมื่อปี พ.ศ. 1845 ด้วยหลักศีลธรรมและข้อเท็จจริงที่ว่า เจ้าชายแห่งเวลส์บางพระองค์ไม่ได้เสกสมรสก่อนการเสวยราชสมบ้ติ จึงทำให้แท้จริงแล้วมีเจ้าหญิงแห่งเวลส์เพียงแค่สิบพระองค์ เจ้าหญิงแห่งเวลส์องค์ปัจจุบันนั้นคือ คามิลลา ดัชเชสแห่งคอร์นวอลล์ (พระนามเดิม พาร์กเกอร์ โบลส์) ซึ่งทรงเลือกที่จะไม่ใช้พระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งเวลส์ อันเนื่องมาจากบางคนยังคงรู้สึกผูกพันกับผู้ที่ใช้บรรดาศักดิ์นี้มาก่อนคือ ไดอานา เจ้าหญิงแห่งเวล.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงแห่งเวลส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงเบียทริซแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา เจ้าหญิงเบียทริซแห่งเอดินเบอระและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา หรือ เบียทริซ เลโอโพลดีน วิกตอเรีย (20 เมษายน พ.ศ. 2427 - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2509) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย และต่อมาได้อภิเษกสมรสไปสู่พระราชวงศ์สเปน และเป็นพระชายาในเจ้าชายอัลฟองโซแห่งออร์เลอ็อง-บอร์บอน เจ้าชายแห่งสเปน.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเจ้าหญิงเบียทริซแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เดวิด คาร์เนกี ดยุกที่ 4 แห่งไฟฟ์

วิด คาร์เนกี ดยุกที่ 4 แห่งไฟฟ.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเดวิด คาร์เนกี ดยุกที่ 4 แห่งไฟฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์รอยัลวิกตอเรียนเชน

รื่องราชอิสริยาภรณ์รอยัลวิกตอเรียนเซนส์ เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สหราชอาณาจักร สถาปนาโดยสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อ พ.ศ. 2445 พระมหากษัตริย์-พระราชินีเป็นประธานแห่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้และเป็นผู้้พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเครื่องราชอิสริยาภรณ์รอยัลวิกตอเรียนเชน · ดูเพิ่มเติม »

เซอร์ฟรานซิส โลว์ บารอนเน็ตที่ 1

ซอร์ฟรานซิส วิลเลียม โลว์ บารอนเน็ตที่ 1 (8 มกราคม พ.ศ. 2395 - 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472) เป็นนักการเมืองพรรคอนุรักษนิยม เขาแต่งงานกับแมรี โฮลเดนและมีบุตรด้วยกัน 4 คน.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและเซอร์ฟรานซิส โลว์ บารอนเน็ตที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

22 มกราคม

วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและ22 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรและ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Edward VII of the United Kingdomสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักรเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »