โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2477

ดัชนี พ.ศ. 2477

ทธศักราช 2477 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1934ยวห.

502 ความสัมพันธ์: บรีฌิต บาร์โดชวลิต โอสถานุเคราะห์ชาญ บัวบังศรชาร์ล แมนสันชาร์ล เดอ โกลบาห์เรโนนาบิล รัสเซลบุญรอด บิณฑสันต์บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์บูร์โกสฟร็องซัว มีแตร็องฟองจันทร์ ศิริวัติฟุจิโกะ ฟุจิโอะฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 นัดชิงชนะเลิศฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศสฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซียฟูจิฟิล์มฟ้อนโยคีถวายไฟพ.ศ. 2401พ.ศ. 2410พ.ศ. 2468พ.ศ. 2469พ.ศ. 2470พ.ศ. 2471พ.ศ. 2472พ.ศ. 2473พ.ศ. 2474พ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2478พ.ศ. 2479พ.ศ. 2480พ.ศ. 2481พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2484พ.ศ. 2485พ.ศ. 2486พ.ศ. 2487พ.ศ. 2488พ.ศ. 2513พ.ศ. 2533พ.ศ. 2534...พ.ศ. 2539พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พ.ศ. 2561พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระมหาเมธังกร (พรหม พฺรหฺมเทโว)พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)พระยาวิกรมรัตนสุภาษ (ชม ศุขะวณิช)พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)พระยาอุปเทศทวยหาญ (เชื่อม ประพันธโยธิน)พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์พระศีลมงคล (ทอง สีลสุวณฺโณ)พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์)พระสุขวโรทัย (จง จตฺตมโล)พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)พระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ)พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)พระครูบวรธรรมกิจ (เทียน ปุปฺผธมฺโม)พระครูพยุหานุศาสก์ (ชิต ชิตจิตฺโต)พระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต)พระครูอาคมวิสุทธิ์ (คง สุวณฺโณ)พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทฺธสโร)พระครูโพธิสารประสาธน์ (บุญมี อคฺคปุญฺโญ)พระตำหนักสวนรื่นฤดีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิทพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภาพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดชพระเจ้าวิลเลิมที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์พระเขมสารโสภณ (ธรรมนูญ ธุวสีโล)พิพิธภัณฑ์มีชีวิตพิมพ์ รัตนคุณสาสน์พิมล แจ่มจรัสพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานพีเทอร์ เบลอเชอร์กบฏพระยาทรงสุรเดชกรมพลศึกษากระแส ชนะวงศ์กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)กรีนสปอตกันยา เทียนสว่างการชุมนุมที่เนือร์นแบร์คการทรยศโดยชาติตะวันตกการประกวดความงามการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476กำพล วัชรพลกิตติ สีหนนทน์กุสตาฟ โฮลส์กีฬาตะวันออกไกลกีฬาตะวันออกไกล 1934ภาพเหมือนตนเองมหาวิทยาลัยพายัพมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลามหาวิทยาลัยสวนดุสิตมหาวิทยาลัยแม่โจ้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวายมัสยิดนูรุ้ลอิสลามมัคท์แอร์ไกรฟุงมารี กูว์รีมารดาของวิสต์เลอร์มาร์ชทหารอาสามานพ อัศวเทพมาเรียแห่งเท็คมิตร ชัยบัญชายอก โซธอทยุวชนทหารยูกิโอะ คัตสุมาตะยูจีน เซอร์นันยูนิเวอร์แซลมิวสิกกรุปยูเอสเอส เอนเทอร์ไพรซ์ (CV-6)รัชทายาทที่ได้รับสมมุติรักที่ริมขอบฟ้ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทยราชวงศ์จักรีราชอาณาจักรอิตาลีรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อธงในประเทศออสเตรียรายชื่อธงในประเทศเม็กซิโกรายชื่อธงในประเทศเนเธอร์แลนด์รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายกรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียมรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์จอร์แดนรายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากรรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวงรายนามอธิบดีกรมประมงรายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทยรายนามประธานรัฐสภาไทยรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสรายนามนายกรัฐมนตรีไทยรายนามนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยรายนามนางสาวไทยและรองนางสาวไทยราอูล มาเซียสรางวัลออสการ์รางวัลออสการ์ สาขาลำดับภาพยอดเยี่ยมรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาเคมีริชาร์ด ไมเออร์ลัทธิเหนือจริงลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อดีตออสเตรีย-ฮังการีล้วน ควันธรรมวรนาถ อภิจารีวศิน อินทสระวอลเลย์บอลวัดจุฑาทิศธรรมสภารามวรวิหารวัดคูหาสุวรรณวัดป่าวิเวกธรรมวังวีล็องดรีวังเบลนิมวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปนวิมล วงศ์วานิชวิจิตร ศรีสอ้านวีรชนแห่งสหภาพโซเวียตวงศ์ปลาเข็มวงดุริยางค์สากล กรมศิลปากรศาสนาพุทธในประเทศไทยศิลป์ พีระศรีสกุลชินวัตรสมชาย ไชยเวชสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีมาเรียแห่งยูโกสลาเวียสมเด็จพระราชินีอะลียะฮ์แห่งอิรักสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูกสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดนสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียมสมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวียสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวียสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียมสวัสดิ์ วัฒนายากรสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1934สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สองสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงสุวิช จันทประดิษฐ์สุเทพ วงศ์กำแหงสี่แผ่นดินสถาปัตยกรรมศาสตร์สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สองสโมสรฟุตบอลยูเวนตุสสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลส้วมในประเทศไทยหม่อมมะนีวัน พานีวงหม่อมหลวงอัศนี ปราโมชหม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากรหม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัยหลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโตหลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณหลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)หลวงปราโมทย์จรรยาวิภาช (ปราโมทย์ จันทวิมล)หลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญหอไอเฟลอลัน อาร์คินอับดุลลาฮี ยูซุฟ อะห์เมดอังกาบ บุณยัษฐิติอาร์แซน แวงแกร์อาสนวิหารอารัสอำพล พันธุ์ประสิทธิ์อำเภอพยุหะคีรีอำเภอสันป่าตองอำเภอเมืองนครสวรรค์อิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กอิตาเลียนลิเบียอิเล็กโตรเนกาทิวิตีอุกฤษ มงคลนาวินอุทยานแห่งชาตินาเวลอัวปีอุทยานโอลิมปิกฮันส์ ฮอลไลน์ฌาน กาลม็องผิน ชุณหะวัณผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)จอร์โจ อาร์มานีจอห์น ฟอน นอยมันน์จอห์น ดิลลิงเจอร์จักรพรรดิบ๋าว ดั่ยจักรพรรดินีวั่นหรงจักรพรรดินีนาม เฟืองจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จูดี้ เดนช์จูเต๋อจ่าง แซ่ตั้งธรรมรัตน์ นาคสุริยะธรรมศาสตรบัณฑิตธงชาติออสเตรเลียธงชาติเม็กซิโกธนาคารกรุงไทยถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ถาวร วัชราภัยทรานซิสเตอร์ทฤษฎีระบบควบคุมทางรถไฟสายบางบัวทองทินพันธุ์ นาคะตะท่าอากาศยานเชียงใหม่ท้าวสุรนารีขุนส่าข้อตกลงฝรั่งเศส-อิตาลีดาวทอง สิงหพัลลภดิวเทอเรียมครุยเซอร์ เอ็มเค Iครูบาคำหล้า สังวโรคลองปานามาคลีโอพัตราคาร์ล เซแกนคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์งานประกาศผลรางวัลออสการ์งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 6ตราแผ่นดินของออสเตรียตราแผ่นดินของเม็กซิโกซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซาดิเย ทอปตานีซานเตียโก รามอน อี กาฮาลซิกวาร์ด เบอร์นาดอตซิมคาซิดนีย์ พอลแลคประชา คุณะเกษมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย)ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประมาณ อดิเรกสารประยอม ซองทองประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ประวัติศาสตร์สเปนประทิน สันติประภพประเทศกาตาร์ประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1934ประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1934ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1934ประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1934ประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1934ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1934ประเทศอิตาลีใน ค.ศ. 1934ประเทศอินเดียใน ค.ศ. 1934ประเทศซาอุดีอาระเบียประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1934ประเทศโปรตุเกสใน ค.ศ. 1934ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1934ประเทศไทยใน พ.ศ. 2468ประเทศไทยใน พ.ศ. 2469ประเทศไทยใน พ.ศ. 2470ประเทศไทยใน พ.ศ. 2471ประเทศไทยใน พ.ศ. 2472ประเทศไทยใน พ.ศ. 2473ประเทศไทยใน พ.ศ. 2474ประเทศไทยใน พ.ศ. 2477ประเทศไทยใน พ.ศ. 2478ประเทศไทยใน พ.ศ. 2479ประเทศไทยใน พ.ศ. 2480ประเทศไทยใน พ.ศ. 2481ประเทศไทยใน พ.ศ. 2482ประเทศไทยใน พ.ศ. 2483ประเทศไทยใน พ.ศ. 2484ประเทศไทยใน พ.ศ. 2486ประเทศไทยใน พ.ศ. 2487ประเทศไทยใน พ.ศ. 2488ประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1934ประเทศเม็กซิโกใน ค.ศ. 1934ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรปลาชะโอนปลากระสูบจุดปลากาแดงปลามูดหน้านอปลาสร้อยน้ำเงินปลาตองปลาตะกรับห้าแถบปลาซิวหางแดงปลานวลจันทร์น้ำจืด (สกุล)ปลาน้ำฝายปลาแค้ติดหินปลาแปบควายปลาเล็บมือนางปลาเสือข้างลายป๋วย อึ๊งภากรณ์นางสาวไทยแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กแรมง ปวงกาเรแอลัน ทัวริงแอโรเพลนเจลลีแฮร์มันน์ เกอริงแจ่มใส ศิลปอาชาแจ็กกี วิลสันแถมสิน รัตนพันธุ์แคล้ว ธนิกุลแปลก พิบูลสงครามโพธิพงษ์ ล่ำซำโรมัน แฮร์ซอกโรคฮีโมฟิเลียในราชวงศ์ยุโรปโรงพยาบาลศรีสะเกษโรงพยาบาลตำรวจโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชโรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิตโรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิตโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัยโรงเรียนวัดบวรนิเวศโรงเรียนวัดบ้านนา (ฟินวิทยาคม)โรงเรียนวัดรางบัวโรงเรียนวัดสามัคคีนุกูลโรงเรียนวัดทัพหลวง (หลวงพ่อเกิดอุปถัมภ์)โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์โรงเรียนสุรนารีวิทยาโรงเรียนสตรีจุลนาคโรงเรียนท่าข้ามพิทยาคมโรงเรียนโยธินบูรณะโรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราชโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชโรงเรียนเทศบาลวัดกลางโรซ เปาลา อีรีบากิซาโอภาส อรุณินท์โอลึมเพียชตาดิโยน (เบอร์ลิน)โอะซะมุ โนะงุชิโขนโซเฟีย ลอเรนไชยา สุริยันไมเคิล เกรฟส์ไวต์สตาร์ไลน์ไฮโดรเจนไซปรีออตเฟิสต์ดิวิชันเบ-ลอ บอร์โตกเบียร์เฟรเดอริก แบนติงเพลงชาติกัวเตมาลาเพลงชาติสาธารณรัฐโดมินิกันเพลงชาติไทยเพลงกราวกีฬาเกรียงไกร อัตตะนันทน์เกรทโอลด์วันเกาะเดวอนเภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์เภสัชกรรมไทยเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจเมาตินีเรือประจัญบานอิตาลีวิตตอริโอ เวเนโตเสริม วินิจฉัยกุลเสนาะ เทียนทองเอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์เอลลา ฟิทซ์เจอรัลด์เอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียมเอลเซท 129 ฮินเดนบูร์กเอ็มมาแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ สมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์เฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์กเจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเจริญ เชาวน์ประยูรเจน กูดดอลล์เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามีเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)เจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อตเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนเจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์กเดล แชนนอนเดือน บุนนาคเดเอฟเบโพคาลเคาท์ เบซีเคทูเคนจิ โยเนกุระเปนชู้กับผีBangana sinkleri1 พฤษภาคม1 กรกฎาคม1 เมษายน10 มีนาคม10 เมษายน11 กรกฎาคม11 มิถุนายน11 สิงหาคม12 กุมภาพันธ์12 สิงหาคม13 มกราคม13 ตุลาคม14 มีนาคม15 พฤษภาคม17 พฤษภาคม19 มกราคม2 มีนาคม2 สิงหาคม20 ธันวาคม20 ตุลาคม21 มีนาคม23 พฤษภาคม23 กุมภาพันธ์23 มกราคม24 มีนาคม25 ธันวาคม26 กุมภาพันธ์27 กันยายน27 มิถุนายน28 กรกฎาคม28 กันยายน28 กุมภาพันธ์28 มกราคม3 สมุนจอมป่วน30 พฤษภาคม34 (แก้ความกำกวม)4 กรกฎาคม4 กันยายน4 มิถุนายน4 ธันวาคม5 มีนาคม5 เมษายน6 ตุลาคม7 พฤศจิกายน8 มกราคม8 ตุลาคม9 พฤศจิกายน9 มิถุนายน9 ธันวาคม9 ตุลาคม ขยายดัชนี (452 มากกว่า) »

บรีฌิต บาร์โด

รีฌิต อาน-มารี บาร์โด (Brigitte Anne-Marie Bardot; 28 กันยายน พ.ศ. 2477 —) อดีตนักแสดงและนักร้องชาวฝรั่งเศส เธอเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียงคนแรก ที่ใบหน้าถูกใช้เป็นต้นแบบของมารียาน (Marianne) สัญลักษณ์ของประเทศฝรั่งเศส ระหว่างปี 1968 ถึง 1978 ตามด้วยเมอรีล แมททีกซ์ และแคเทอรีน เดอเนิฟ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1990 บาร์โดได้มีบทบาททางการเมือง โดยเธอได้แสดงความเห็นทางการเมืองในด้านการอพยพชาวมุสลิมในประเทศฝรั่งเศส และรักร่วมเพศJonathan Benthall.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบรีฌิต บาร์โด · ดูเพิ่มเติม »

ชวลิต โอสถานุเคราะห์

นายชวลิต โอสถานุเคราะห์ (เกิด 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2477) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 3 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และชวลิต โอสถานุเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาญ บัวบังศร

ร้อยโทชาญ บัวบังศร หรือ ชาญชัย บัวบังศร ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง เกิดเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 ที่กรุงเทพมหานคร จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนศรีบุณยานนท์ จังหวัดนนทบุรี เริ่มรับราชการเป็นทหารม้าอยู่ที่จังหวัดสระบุรี ต่อมาได้ลาออกจากราชการมาทำงานอยู่ในคณะละครเร่ ได้ศึกษาหาความรู้ทางด้านดนตรีจนสามารถเล่นเครื่องดนตรีได้หลายชนิด ได้แก่ แอคคอร์เดียน, เปียโน, กีตาร์, กีตาร์ฮาวาย และมีความสามารถทางด้านการประพันธ์และเรียบเรียงเพลง เป็นผู้สร้างประวัติศาสตร์ให้กับวงการเพลงลูกทุ่งและเพลงลูกกรุง โดยการนำแอคคอร์เดียนเข้ามาใช้ในเพลงลูกทุ่งเป็นคนแรกจนเป็นเอกลักษณ์ของเพลงลูกทุ่งที่ขาดไม่ได้ตราบจนปัจจุบัน อีกทั้งยังเป็นผู้นำสุดยอดนักร้องในแนวลูกกรุงและลูกทุ่งมาร้องคู่กัน เช่น สุเทพ วงศ์กำแหง และ ผ่องศรี วรนุช โดยมีเพลงที่ได้รับความนิยมและรู้จักเป็นอย่างดี คือ กระท่อมไพรวัลย์, โปรดเถิดดวงใจ, ฝนเดือนหก เป็นต้น จนได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพันธ์เพลงร้องคู่และเพลงร้องแก้ที่มากที่สุด ด้านชีวิตครอบครัว สมรสกับนางเอมอร บัวบังศร ในปี พ.ศ. 2550 ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง เพลงลูกกรุง ต่อมา ร.ท.ชาญ บัวบังศร เข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดนนทบุรี ด้วยอาการเส้นเลือดในสมองตีบ และถึงแก่กรรมด้วยวัย 78 ปี ที่โรงพยาบาลฉะเชิงเทรา หลังจากการเข้ารับรักษาอาการเจ็บป่วยได้ 2 ปี ในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และชาญ บัวบังศร · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล แมนสัน

ร์ล แมนสัน ชาร์ล มิลเลส แมนสัน (Charles Milles Manson) (12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1934 - 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 2017) เป็นอาชญากรชาวอเมริกัน ต่อมาเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางกับ ครอบครัวแมนสัน (Manson Family) ซึ่งเป็นกลุ่มที่เกิดขึ้นในรัฐแคลิฟอร์เนียปลายคริสต์ทศวรรษ 1960Bugliosi, Vincent with Gentry, Curt.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และชาร์ล แมนสัน · ดูเพิ่มเติม »

ชาร์ล เดอ โกล

ร์ล อ็องเดร โฌแซ็ฟ มารี เดอ โกล (Charles André Joseph Marie de Gaulle) หรือ ชาร์ล เดอ โกล (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นที่รู้จักในนาม นายพลเดอ โกล ก่อนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี พ.ศ. 2487 (ค.ศ. 1944) ถึง พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ถูกเรียกตัวไปจัดตั้งรัฐบาลในปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) เขาได้เป็นแรงบันดาลใจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนแรกในยุคสาธารณรัฐที่ 5 ระหว่างปี พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) ถึงปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) แนวคิดทางการเมืองของเขาเป็นที่รู้จักในนามของลัทธินิยมโกล และมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเมืองฝรั่งเศสในยุคต่อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และชาร์ล เดอ โกล · ดูเพิ่มเติม »

บาห์เรโนนา

ลงชาติบาห์เรนมีชื่อว่า บาห์เรนโนนา (بحريننا, แปลว่า "บาห์เรนของเรา") เนื้อร้องของเพลงนี้มีอยู่ 2 สำนวน สำนวนแรกใช้ตั้งแต่เมื่อประเทศบาห์เรนได้รับเอกราชในปี พ.ศ. 2514 กระทั่งในปี พ.ศ. 2545 จึงมีการเปลี่ยนแปลงเนื้อร้องใหม่เมื่อเชคฮามัด บิน อิซา อัล คอลีฟะห์ ประกาศสถาปนาพระองค์เองเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี และเปลี่ยนแปลงประเทศจากนครรัฐเป็นราชอาณาจักรในปีนั้น ซึ่งเนื้อร้องสำนวนดังกล่าวคือเนื้อเพลงชาติบาห์เรนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน เนื้อร้องต้นฉบับของเพลงชาติบาห์เรนนั้น ประพันธ์โดย โมฮัมเหม็ด ซุดควี อายยาช (Mohammed Sudqi Ayyash - เกิด พ.ศ. 2477) ส่วนทำนองนั้นไม่ทราบแน่ชัดว่าเป็นผลงานของผู้ใ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบาห์เรโนนา · ดูเพิ่มเติม »

บิล รัสเซล

วิลเลียม เฟลตัน รัสเซล (William Felton Russell; 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1934 —) อดีตนักกีฬาบาสเกตบอลชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักและจดจำในฐานะผู้เล่นสำคัญ ในยุคเฟื่องฟูของทีมบอสตัน เซลติกส์ ซึ่งชนะเลิศ 11 ครั้งจากฤดูกาลแข่งขัน 13 ฤดูกาล เขาเป็นผู้เล่นที่ยกระดับการเล่นเกมรับของกีฬานี้ขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง เขาได้รับการยกย่องว่าเป็น ผู้เล่นตำแหน่งเซนเตอร์ ที่เป็นผู้เล่นเกมรับที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในประวัติศาสตร์ของกีฬาบาสเกตบอล บิล รัสเซล เกิดที่เมืองมอนโร รัฐลุยเซียนา เติบโตที่เมืองโอคแลนด์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ส่วนสูง 6 ฟุต 9 นิ้ว (2.06 เมตร) เล่นบาสเกตบอลระดับมหาวิทยาลัยให้กับ มหาวิทยาลัยแห่งเมืองซานฟรานซิสโก และนำทีมไปสู่ชัยชนะ ในการแข่งขันชิงชนะเลิศระดับมหาวิทยาลัย เอ็นซีดับเบิลเอ (NCAA) ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบิล รัสเซล · ดูเพิ่มเติม »

บุญรอด บิณฑสันต์

ตราจารย์ ร้อยเอก บุญรอด บิณฑสันต์ อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐคนแรกของประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ อดีตเลขาธิการสำนักงานพลังงานแห่งชาติ และเป็นอดีตประธานมูลนิธินิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบุญรอด บิณฑสันต์ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 เดวิด โบอี ทฤษฎี สหวงษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

บูร์โกส

ที่ตั้งเมืองบูร์โกสในประเทศสเปน มหาวิหารบูร์โกส อนุสาวรีย์เอลซิด ช่องโค้งซานตามารีอา บูร์โกส (Burgos) เป็นเมืองหลักของจังหวัดบูร์โกสในแคว้นกัสติยาและเลออน ทางภาคเหนือของประเทศสเปน ตั้งอยู่บริเวณขอบด้านเหนือของที่ราบสูงตอนกลาง (Meseta Central) ห่างจากบายาโดลิดเมืองหลักของแคว้นไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 122 กิโลเมตร และห่างจากกรุงมาดริดไปทางทิศเหนือ 244.7 กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 173,600 คนเฉพาะในอาณาเขตของเมืองและอีกประมาณ 10,000 คนในเขตชานเมือง ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่ามีมนุษย์ดึกดำบรรพ์ (เช่น มนุษย์นีแอนเดอร์ทัล) เข้ามาตั้งถิ่นฐานบริเวณที่เป็นเมืองบูร์โกสในปัจจุบันอย่างน้อยตั้งแต่ยุคหินใหม่ และเมื่อชาวโรมันได้เข้าครอบครองพื้นที่แถบนี้ ก็พบว่ามีชนพื้นเมืองเคลติเบเรียนอาศัยอยู่ก่อนแล้ว ในสมัยจักรวรรดิโรมันดินแดนนี้เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดฮิสปาเนียซีเตรีออร์และของจังหวัดฮิสปาเนียตาร์ราโกเนนซิสในเวลาต่อมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 ชาววิซิกอทสามารถขับไล่ชาวซูเอบีออกไปได้และมีอำนาจในแถบนี้แทน จนกระทั่งชาวอาหรับบุกยึดคาบสมุทรไอบีเรียในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 แถบนี้จึงตกเป็นของชาวอาหรับด้วย แต่ก็ไม่ได้ทิ้งร่องรอยที่แสดงการครอบครองไว้มากนัก พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 3 มหาราชทรงตีเมืองนี้คืนได้สำเร็จประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 9 และสร้างปราสาทไว้เป็นจำนวนมากเพื่อใช้ป้องกันอาณาจักรของชาวคริสต์ทางเหนือที่ได้ขยายพื้นที่ลงมาทางทิศใต้นับจากนั้น ดินแดนแถบนี้ภายหลังจึงมีชื่อเรียกว่า กัสติยา ซึ่งแปลว่า "ดินแดนแห่งปราสาท" บูร์โกสได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นเมืองตั้งแต่ ค.ศ. 884 เมื่อเดียโก โรดรีเกซ ปอร์เซโลส (Diego Rodríguez Porcelos) เคานต์แห่งกัสติยาปกครองดินแดนแถบนี้โดยมีคำสั่งให้สนับสนุนการเพิ่มของจำนวนประชากรชาวคริสต์ เขาก็ได้รวบรวมผู้คนในพื้นที่ชนบทรอบ ๆ เข้ามาอยู่ในหมู่บ้านที่ล้อมรอบด้วยป้อมปราการแห่งนี้ โดยมีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านบริเวณเขตแดนอาณาจักรชาวคริสต์ที่กำลังขยายเขตออกไปดังกล่าว ชื่อในภาษาของชาววิซิกอทของเมืองบูร์โกส (baurgs) มีความหมายว่า "หมู่บ้านซึ่งล้อมรอบด้วยกำแพงที่มั่นคง" ต่อมาเมืองนี้ก็เริ่มมีคำเรียกต่อท้ายชื่อว่า "กาปุตกัสเตลไล" (Caput Castellae) แปลว่า "หัวหน้าของกัสติยา" เคาน์ตีแห่งบูร์โกสซึ่งขึ้นต่อกษัตริย์แห่งเลออนนั้นยังคงถูกปกครองต่อมาโดยเคานต์อีกหลายคนและเริ่มขยายเขตออกไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเฟร์นัน กอนซาเลซ (Fernán González) เคานต์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งได้ประกาศเอกราชขณะที่ราชอาณาจักรเลออนอ่อนแอลง บูร์โกสเป็นที่ตั้งของสำนักบิชอปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 10 และในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ก็กลายเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรกัสติยา นอกจากนี้ยังเป็นที่หยุดพักหลักบนเส้นทางที่จะไปสู่เมืองซานเตียโกเดกอมโปสเตลาของบรรดานักแสวงบุญ และเป็นศูนย์กลางทางการค้าระหว่างดินแดนแถบทะเลกันตาเบรียกับดินแดนทางทิศใต้ เป็นจุดดึงดูดพ่อค้าชาวต่างชาติจำนวนมาก ซึ่งต่อมาจะเป็นผู้มีอำนาจกลุ่มหนึ่งในเมืองนี้และกีดกันชาวต่างชาติกลุ่มอื่นไม่ให้เข้ามามีอิทธิพล ตลอดทั้งคริสต์ศตวรรษที่ 13 และคริสต์ศตวรรษที่ 14 บูร์โกสมักจะเป็นสถานที่ประทับของกษัตริย์แห่งเลออนและกัสติยา (จนกระทั่งถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16) ประมวลกฎหมายแห่งบูร์โกส (Leyes de Burgos) ซึ่งเป็นกฎหมายชุดแรกที่ใช้ควบคุมการประพฤติตนของชาวสเปนที่เข้าไปตั้งถิ่นฐานในทวีปอเมริกาได้รับการประกาศใช้ที่เมืองนี้เมื่อปี ค.ศ. 1512 ตั้งแต่อดีตนั้นบูร์โกสเคยถูกใช้เป็นพื้นที่การรบหลายครั้ง เช่น ในสงครามระหว่างชาวคริสต์กับชาวมัวร์ (ชาวอาหรับ) ระหว่างแคว้นเลออนและแคว้นนาวาร์ ระหว่างแคว้นกัสติยาและแคว้นอารากอน มาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในสงครามคาบสมุทร (รบกับกองทัพฝรั่งเศสของนโปเลียน) และในช่วงสงครามกลางเมืองสเปน (ค.ศ. 1934-1939) บูร์โกสก็เป็นเมืองหลวงของกองกำลังชาตินิยมที่มีนายพลฟรังโกเป็นผู้นำ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และบูร์โกส · ดูเพิ่มเติม »

ฟร็องซัว มีแตร็อง

ฟร็องซัว มอริส อาเดรียง มารี มีแตร็อง (26 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - 8 มกราคม พ.ศ. 2539) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงโพ้นทะเลฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2538 โดยชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีในฐานะตัวแทนพรรคสังคมนิยม (PS) เขาชนะการเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2524 กลายเป็นประธานาธิบดีสังคมนิยมคนแรกของสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5และเป็นประมุขแห่งรัฐที่มาจากฝ่ายซ้ายคนแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 และในการเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส พ.ศ. 2531นั้น เขาก็ชนะอีกครั้งหนึ่งและดำรงตำแหน่งจนถึงปี พ.ศ. 2538 ก่อนที่จะต้องทนทุกข์ทรมานจากโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในปีเดียวกัน ในการดำรงตำแหน่งทั้งสองวาระนั้น เขาได้ยุบสภาเพื่อที่จะได้เสียงข้างมากในสภา แต่ทว่าพรรคสังคมนิยมก็ได้พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองครั้ง และทำให้เกิด "การบริหารร่วมกัน" ในสองปีสุดท้ายของทั้งสองวาระ โดยมีฌัก ชีรักเป็นแกนนำตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 ถึง พ.ศ. 2531 และเอดูอาร์ด บัลลาดูร์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ถึง พ.ศ. 2538 ในปัจจุบันฟร็องซัว มีแตร็องเป็นประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดด้วยระยะเวลา 14 ปี ทั้งยังเป็นประธานาธิบดีที่อาวุโสที่สุดอีกด้วย (สิ้นสุดการดำรงตำแหน่งเมื่ออายุ 78 ปี) ฟร็องซัว มีแตร็องถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2539 หลังจากเฉลิมฉลองเทศกาลคริสต์มาสที่ประเทศอียิปต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และฟร็องซัว มีแตร็อง · ดูเพิ่มเติม »

ฟองจันทร์ ศิริวัติ

ฟองจันทร์ ศิริวัติ มีชื่อเดิมว่า หม่อมฟองจันทร์ ยุคล ณ อยุธยา มีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า เจ้าฟองจันทร์ อินทขัติย์ (5 พฤษภาคม พ.ศ. 2456—15 ตุลาคม พ.ศ. 2540) เป็นลูกหลานในตระกูลเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ มีชื่อเสียงจากการเป็นนางสาวเชียงใหม่ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และฟองจันทร์ ศิริวัติ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ

รชิ ฟุจิโมโตะ ฟุจิโกะ ฟุจิโอะ (ญี่ปุ่น: 藤子 不二雄, ฮิรางานะ: ふじこ ふじお, Fujiko Fujio) (1 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 23 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นนามปากกา ของคู่นักวาดการ์ตูนมีผลงานมากมาย โดยมีเรื่องที่โด่งดังคือ โดราเอมอน ของ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และฟุจิโกะ ฟุจิโอะ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 นัดชิงชนะเลิศ

การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 นัดชิงชนะเลิศ กำหนดจัดให้มีขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 ที่สนามกีฬาโอลิมปิกแห่งชาติเคียฟ ในเคียฟของยูเครน เพื่อตัดสินหาทีมชนะเลิศของการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 (ยูโร 2012) ทีมที่ป้องกันตำแหน่งชนะเลิศคือสเปน ซึ่งชนะการแข่งขันต่อเยอรมนี 1-0 ในนัดชิงชนะเลิศเมื่อปี 2008 สเปนประกบคู่มาแข่งขันกับอิตาลี ในความพยายามรักษาตำแหน่งชนะเลิศของพวกเขาไว้ หากสเปนชนะเลิศในครั้งนี้ พวกเขาจะเป็นทีมแรกที่ชนะเลิศ การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป สองสมัยติดต่อกัน และจะเป็นฟุตบอลทีมชาติแรก ที่ชนะเลิศการแข่งขันรายการใหญ่ (ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป และ ฟุตบอลโลก) สามครั้งติดต่อกัน ผู้ชนะเลิศในรายการนี้ จะได้รับสิทธิเข้าแข่งขัน ในรายการคอนเฟเดอเรชันส์คัพของฟีฟ่า ประจำปี ค.ศ. 2013 โดยอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม สเปนได้สิทธิเข้าแข่งขันอยู่ก่อนแล้ว ในสถานะผู้ชนะเลิศฟุตบอลโลก 2010 ดังนั้นอิตาลีจะผ่านการคัดเลือกจากยูฟ่าโดยอัตโนมัติ เมื่อเข้าถึงนัดชิงชนะเลิศนี้ ไม่ว่าจะเป็นผู้ชนะเลิศหรือไม่ก็ตาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 นัดชิงชนะเลิศ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศส

ฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศส (Équipe de France de football) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศฝรั่งเศส เคยเป็นชั้นนำทีมหนึ่งในทวีปยุโรป มีผลงานชนะเลิศฟุตบอลโลก 1 ครั้งใน ฟุตบอลโลก 1998 และเป็นแชมป์ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ใน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2 ครั้ง ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และฟุตบอลทีมชาติฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย

ฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศอินโดนีเซีย ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลอินโดนีเซีย ทีมชาติอินโดนีเซียเป็นทีมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพียงไม่กี่ทีมที่เคยร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเล่นในฟุตบอลโลก 1938 และยังไม่มีผลงานที่โดดเด่นในระดับเอเชีย ส่วนในระดับอาเซียน ทีมอินโดนีเซียได้อันดับรองชนะเลิศไทเกอร์คัพ 3 ครั้ง ในช่วงแรกทีมชาติอินโดนีเซียได้ร่วมเล่นในฟุตบอลโลกในตัวแทนของ ดัตช์อีสต์อินดีส์ (จักรวรรดิดัตช์ตะวันออก) ซึ่งเป็นชื่อของอินโดนีเซียในช่วงที่เป็นเมืองขึ้นของประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยทีมนี้เป็นทีมในทวีปเอเชียทีมแรกที่ได้ร่วมเล่นฟุตบอลโลก โดยเข้าเล่นในฟุตบอลโลก 1938 ที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และฟุตบอลทีมชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟูจิฟิล์ม

ฟูจิฟิล์ม โฮล์ดิงส์ คอร์ปอเรชัน หรือ ฟูจิฟิล์ม ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2477 ในเมืองฮาโกะเนะซึ่งเป็นที่ตั้งของภูเขาไฟฟูจิ จึงนำมาตั้งเป็นชื่อบริษัท เริ่มต้นธุรกิจในญี่ปุ่นด้วยการผลิต ฟิล์มภาพยนตร์ ฟิล์มเอกซ์เรย์ ทำธุรกิจผลิตฟิล์ม กล้องถ่ายรูป โดยมีโรงงานเล็กๆ แห่งแรกที่เมือง อิชิการ่า เริ่มต้นจากพนักงานจำนวน 340 คน จนในปี พ.ศ. 2508 ได้เปิดสำนักงานสาขาในสหรัฐอเมริกาและขายผลิตภัณฑ์ไปทั่วโลก ในปี พ.ศ. 2529 เคยโด่งดังมากกับการผลิตกล้องคิวสแน็ป โดยใช้เทคโนโลยีพลาสติกที่พัฒนาไปมากในยุคนั้นมาผลิตตัวกล้องเลนส์ทำกล้องใช้แล้วทิ้ง ขายได้ในราคาถูก หลังจากนั้นฟูจิฟิล์มก็ได้เริ่มผลิตกล้องดิจิตอลก่อนเจ้าตลาดกล้องอย่าง แคนนอน และนิคอน จนเคยเป็นผู้นำตลาดกล้องดิจิตอลในยุคตลาดนี้เริ่มใหม่ๆ ปัจจุบัน ฟูจิเป็นผู้ผลิตวัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกับจินตภาพและข้อมูลข่าวสารที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น และยังเพิ่มตัวแทนการจัดจำหน่ายออกไปมากกว่า 200 ประเทศทั่วโลก กิจกรรมทางการตลาดด้านหนึ่งที่ทำให้ฟูจิฟิล์มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลกคือการเป็นผู้สนับสนุนอย่างเป็นทางการในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และฟูจิฟิล์ม · ดูเพิ่มเติม »

ฟ้อนโยคีถวายไฟ

ฟ้อนโยคีถวายไฟ การฟ้อนชนิดหนึ่งที่มีที่มาจากคุ้มเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ คือ “ฟ้อนโยคีถวายไฟ” เรื่องราวของฟ้อนชนิดนี้ อาจารย์ธีรยุทธ ยวงศรี ได้เขียนไว้ในสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ เล่ม 9 หน้า 4886.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และฟ้อนโยคีถวายไฟ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2401

ทธศักราช 2401 ตรงกับคริสต์ศักราช 1858 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2401 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2410

ทธศักราช 2410 ตรงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2410 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2469

ทธศักราช 2469 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1926 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2469 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2472

ทธศักราช 2472 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1929 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2472 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2473

ทธศักราช 2473 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1930 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2474

ทธศักราช 2474 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1931 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2476

ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2478

ทธศักราช 2478 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1935.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2479

ทธศักราช 2479 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1936.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2481

ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2485

ทธศักราช 2485 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1942 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2485 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2486

ทธศักราช 2486 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1943.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2487

ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2513

ทธศักราช 2513 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1970 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2513 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2539

ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2539 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 — 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 7 ในราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันพุธ แรม 14 ค่ำ เดือน 11 ปีมะเส็ง เวลา 12.25 น. หรือตรงกับวันที่ 8 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

พระมหาเมธังกร (พรหม พฺรหฺมเทโว)

ระมหาเมธังกร นามเดิม พรหม เกศทับทิม ฉายา พฺรหฺมเทโว อดีตเจ้าอาวาสวัดเมธังกราวาส (วัดน้ำคือ) และอดีตเจ้าคณะจังหวัดแพร่ เป็นพระสงฆ์ที่นำระบบการปกครองคณะสงฆ์ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2446 มาเผยแพร่ในจังหวัดแพร่ เจ้าคุณพระมหาเมธังกรนับว่าเป็นพระเถระผู้ทรงคุณสมบัติยิ่งของชาวจังหวัดแพร่ที่ลูกหลานชาวแพร่และชาวล้านนา ทุกคนจะรำลึกถึงความดีของท่านที่ได้กระทำไว้และประพฤติปฏิบัติสืบทอดเจตนารมณ์ของท่าน สืบไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระมหาเมธังกร (พรหม พฺรหฺมเทโว) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)

ตราจารย์วิสามัญ มหาอำมาตย์ตรี พระยามานวราชเสวี (นามเดิม ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) (18 กันยายน พ.ศ. 2433 - 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2527) อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 9 เป็นเวลา 15 ปี อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา อดีตอธิบดีกรมอัยการ เลขาธิการเนติบัณฑิตยสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภากรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และศาสตราจารย์วิสามัญแห่งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาวิกรมรัตนสุภาษ (ชม ศุขะวณิช)

อำมาตย์เอก พระยาวิกรมรัตนสุภาษ (ชม ศุขะวณิช) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา ระหว่าง 1 เมษายน พ.ศ. 2477 - ธันวาคม พ.ศ. 2483 ศึกษาที่โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นนักเรียนทุนเล่าเรียนหลวงของโรงเรียนที่มีชื่อจารึกอยู่บนกระดานทองของโรงเรียน ทำงานเป็น อธิบดีศาลฎีกา เมื่อ วันที่ 1 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระยาวิกรมรัตนสุภาษ (ชม ศุขะวณิช) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)

ลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) เป็นบุคคลที่มีความสำคัญบุคคลหนึ่งของประเทศไทย เป็นผู้มีส่วนร่วมในประวัติศาสตร์การเมืองไทยในช่วงหลังเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกพฤฒสภาหลายสมัย และได้ดำรงตำแหน่งสูงสุดทางการเมืองเป็นทั้งประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนราษฎร และประธาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอุปเทศทวยหาญ (เชื่อม ประพันธโยธิน)

ันเอก พระยาอุปเทศทวยหาญ (เชื่อม ประพันธโยธิน) เกิดเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2428 เป็นบุตรของนายร้อยโทแช่ม รับราชการในตำแหน่งต่าง ๆ คือ ประจำกองร้อยที่ 2 กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 เป็นผู้บังคับกอบร้อยพิเศษโรงเรียนนายร้อยมัธยม ผู้บังคับการโรงเรียนนายร้อยมัธยมเจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบกเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระยาอุปเทศทวยหาญ (เชื่อม ประพันธโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส)

ลตรี พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส) (18 ธันวาคม พ.ศ. 2425 - พ.ศ. 2494) ทหารบกชาวไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมในรัฐบาลพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร)

มหาอำมาตย์เอก พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) (16 สิงหาคม พ.ศ. 2434 - 31 มกราคม พ.ศ. 2504) เป็นอดีตเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์

นายพันเอกพิเศษ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ (23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2394 - 16 มีนาคม พ.ศ. 2477) ทรงเป็นพระโอรสองค์สุดท้ายในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมสาย กรมขุนราชสีหวิกรม อธิบดีกรมช่างศิลป์หมู่และช่างศิลา กับหม่อมน้อย อดีตหม่อมในกรมหมื่นมาตยาพิทักษ์ เมื่อประสูติมีพระนามว่า หม่อมเจ้าชายปฤษฎางค์ ทรงได้รับพระราชทานสถาปนาเป็นพระองค์เจ้า ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ · ดูเพิ่มเติม »

พระศีลมงคล (ทอง สีลสุวณฺโณ)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระศีลมงคล (ทอง สีลสุวณฺโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์)

ันโท พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ ในรัฐบาลพลเอก พระยาพหลพลพยุหเสน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สุนทานนท์) · ดูเพิ่มเติม »

พระสุขวโรทัย (จง จตฺตมโล)

ระสุขวโรทัย (จง จัตตมโล) วัดสังฆาราม และเป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัย นอกจากนี้ท่านยังเป็นเกจิย์คณาจารย์ที่มีวัตถุมงคลจำนวนมาก ท่านเป็นศิษย์สายพระครูสุวิชานวรวุฒิ (หลวงพ่อปี้ ทินฺโน) แห่งวัดลานหอย ที่มีผู้เคารพนับถืออย่างกว้างขวางในจังหวัดสุโขทัยและจังหวัดใกล้เคียง เป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนปริยัติสามัญวัดสังฆาราม อุทยานพระพุทธศาสนา และสร้างพระร่วงองค์ใหญ่ประจำจังหวัดสุโขทั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระสุขวโรทัย (จง จตฺตมโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)

หลวงปู่เขียน ฐิตสีโล (29 ตุลาคม พ.ศ. 2456 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547) เป็นพระภิกษุสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตินิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระอริยเวที อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดา อดีตเจ้าอาวาสวัดรังสีปาลิวัน และอดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระเถราจารย์ผู้ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เป็นที่น่าเคารพสักการบูชาของบรรดาศิษยานุศิษย์ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์แก่พุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า รวมทั้ง เป็นเพื่อนสหธรรมิกกับสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) ตั้งแต่ครั้งสมัยที่ท่านทั้งสามยังมีอายุพรรษาไม่มากนัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป)

ระอุดมญาณโมลี นามเดิม จันทร์ศรี แสนมงคล ฉายา จนฺททีโป หรือ หลวงปู่ใหญ่ (10 ตุลาคม 2454-14 ธันวาคม 2559) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุดรธานี อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระอุดมญาณโมลี (จันทร์ศรี จนฺททีโป) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ)

ระธรรมวงศาจรย์ (สุข สุขโณ) หรือ หลวงปู่สุข (6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457-3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554)พระภิกษุในพุทธศาสนานิกายเถรวาท คณะมหานิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม มีราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระธรรมวงศาจารย์ สุวิธาน ปริยัติกิจ อนุสิฐธรรมสุนทร ปสาทกร ภาวนาวิสิฐ มหาคณิสรร บวรสังฆาราม คามวาสี อดีตเจ้าอาวาสวัดกลาง จังหวัดกาฬสินธุ์ อดีตเจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ และอดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาฬสิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระธรรมวงศาจารย์ (สุข สุขโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร)

ระธรรมโสภณ หรือ หลวงพ่อใหญ่ นามเดิม โกศล โพธิ์งาม ฉายา สิรินฺธโร (30 มิถุนายน พ.ศ. 2467) เป็นพระภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดสุรินทร์ และเป็นเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดาวรวิหาร ผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนวัดสุทธจินดา,เจ้าสำนักเรียนวัดสุทธจินดา, ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดสุทธจินดา, ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 8 (ธรรมยุต) ดูแลคณะสงฆ์ 6 จังหวัด คือ อุดรธานี หนองคาย เลย สกลนคร หนองบัวลำภูและ บึงกาฬ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูบวรธรรมกิจ (เทียน ปุปฺผธมฺโม)

ระครูบวรธรรมกิจ (เทียน ปุปฺผธมฺโม) หรือ หลวงปู่เทียน วัดโบสถ์ เป็นพระเถราจารย์เชื้อสายรามัญผู้มีชื่อเสียงแห่งจังหวัดปทุมธานี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระครูบวรธรรมกิจ (เทียน ปุปฺผธมฺโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูพยุหานุศาสก์ (ชิต ชิตจิตฺโต)

หลวงพ่อชิต ชิตจิตฺโต ท่านเกิดเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2442 ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ บ้านน้ำทรง ตำบลน้ำทรง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ อุปสมบทเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2462ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ โดยมี สมเด็จพระวันรัต (ฑิฒ) เป็นผู้อุปัชฌาย์ หลังจากอุปสมบทท่านก็ได้ดำรงตำแหน่งมากมายจนในปี พ.ศ. 2477 ท่านเป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ที่ พระครูพยุหานุศาสก์ และจนในปี พ.ศ. 2477 ท่านได้รับตำแหน่งมากมายถึง 3 ตำแหน่งคือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระครูพยุหานุศาสก์ (ชิต ชิตจิตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต)

ระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต) เป็นพระเกจิอาจารย์มหาเถระในจังหวัดเพชรบุรีที่มีชื่อเสียงมากของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูอาคมวิสุทธิ์ (คง สุวณฺโณ)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระครูอาคมวิสุทธิ์ (คง สุวณฺโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทฺธสโร)

หลวงพ่อเดิม พุทธสโร (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2403 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2494) เทพเจ้าแห่งนครสวรรค์ ผู้สร้างมีดหมอที่โด่งดังมากที่สุดในประเทศไทย ท่านมีลูกศิษย์มาขอศึกษาวิชาพุทธาคมมากมายเช่น หลวงพ่อกัน วัดเขาแก้ว หลวงพ่อกวย วัดโฆสิตาราม หลวงพ่อเชื้อ วัดใหม่บำเพ็ญบุญ เป็นต้น ท่านมีรูปร่างสูงใหญ่ และมีอิริยาบถงามสง่า จึงเป็นที่เคารพยำเกรงของคนทั่วไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทฺธสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูโพธิสารประสาธน์ (บุญมี อคฺคปุญฺโญ)

ระครูโพธิสารประสาธน์ (หลวงพ่อบุญมี อคฺคปุญฺโญ) อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสัมพันธ์องค์แรก ท่านเป็นผู้สร้างวัดโพธิสัมพันธ์ และริเริ่มสร้างโรงเรียนประถมภายในวัดคือ โรงเรียนวัดโพธิสัมพันธ์ (ปัจจุบันชื่อ โรงเรียนเมืองพัทยา 9 (วัดโพธิสัมพันธ์) และโรงเรียนมัธยมคือ โรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร และริเริ่มสร้างถนนซอยโพธิสารในปัจจุบัน ท่านเชี่ยวชาญด้านยาสมุนไพรพื้นบ้าน (พระหมอ) และเชี่ยวชาญด้านการดูของหาย ด้านการนั่งสมาธิท่านเก่งมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระครูโพธิสารประสาธน์ (บุญมี อคฺคปุญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักสวนรื่นฤดี

ระนางเจ้าสุวัทนาฯ และ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดาฯ ที่พระตำหนักสวนรื่นฤดี พระตำหนักสวนรื่นฤดี เป็นที่ประทับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีและสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ตั้งอยู่บริเวณถนนนครราชสีมา ตัดกับ ถนนสุโขทัย ในปัจจุบันเป็นที่ทำการของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระตำหนักสวนรื่นฤดี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) พระบิดาแห่งกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย พระบิดาแห่งการรถไฟไทย พระบิดาแห่งการท่องเที่ยวไทย และ พระบิดาแห่งโรตารีไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา (31 ตุลาคม พ.ศ. 2432 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477) เป็นพระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และเจ้าจอมมารดาแส โรจนดิศ (เป็นธิดาของพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ) และขรัวยายบาง) ประสูติเมื่อวันพฤหัสบดี เดือน 12 ขึ้น 8 ค่ำ ปีฉลู เอกศก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ หรือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่อง (19 ธันวาคม พ.ศ. 2410 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2485) พระราชธิดาพระองค์แรกในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์แข ในรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นพระพี่เลี้ยงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าผ่องประไพ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท

ระองค์เจ้าเยาวภาพงษ์สนิท และพระองค์เจ้ารังสิตประยุรศักดิ์ พระอนุชา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิทพระนามเดิม พระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท พระราชธิดาองค์ที่ 47 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง สนิทวงศ์ (ธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์) ประสูติในพระบรมมหาราชวัง เมื่อวันพฤหัสบดี ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 10 ปีวอก ตรงกับวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2427 เจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เนื่อง ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเยาวภาพงศ์สนิท · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์

นายพันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2426 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478) มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ อดีตประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

ลโท พลเรือโท พลอากาศโท พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา (ประสูติ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 - สิ้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2489) เป็นพระโอรสพระองค์แรกในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ที่ประสูติแต่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทิพยสัมพันธ์ ทรงดำรงตำแหน่งประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช

ระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช ประสูติเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2428 พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติเป็นหม่อมเจ้า เป็นพระโอรสใน สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมแม้น ทรงศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ ได้รับปริญญา B.A. วิชากฎหมายและการปกครอง จาก มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ปรระเทศอังกฤษ ต่อมาในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 และเลื่อนขึ้นเป็นพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2443 โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช ในรัชกาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 2466 พระองค์ประชวรโดยพระอันตะ (ลำไส้ใหญ่) อักเสบเป็นแผลเรื้อรังและสิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2477 รวมพระชนมายุ 49 พรรษา พระองค์ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด ได้แก่ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์และเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้านิพันธ์ภาณุพงศ์ กรมหมื่นภาณุพงศ์พิริยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลิมที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์

ระเจ้าวิลเลิมที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์ (Willem III der Nederlanden, พระนามเต็ม วิลเลิม อาเลกซันเดอร์ เปาล์ เฟรเดอริก โลเดอไวก์ ฟัน โอรันเยอ-นัสเซา, ประสูติ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2360, สวรรคต 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433) เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าวิลเลิมที่ 2 แห่งเนเธอร์แลนด์ และอันนา ปัฟลอฟนาแห่งรัสเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระเจ้าวิลเลิมที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเขมสารโสภณ (ธรรมนูญ ธุวสีโล)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพระเขมสารโสภณ (ธรรมนูญ ธุวสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์มีชีวิต

The Old Town พิพิธภัณฑ์กลางแจ้งแห่งหนึ่งในประเทศเดนมาร์ก พิพิธภัณฑ์มีชีวิต หรือ พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง เป็นลักษณะชนิดหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ที่แสดงในบริเวณกว้าง ซึ่งพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งแห่งแรกเกิดขึ้นที่สแกนดิเนเวีย ซึ่งต่อมาแนวคิดเรื่องพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งได้แพร่กระจายไปทั่วทวีปยุโรปและทวีปอเมริกาเหนือ พิพิธภัณฑ์กลางแจ้งรู้จักกันในหลายชื่อว่า พิพิธภัณฑ์มีชีวิต พิพิธภัณฑ์สิ่งก่อสร้าง หรือ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน พิพิธภัณฑ์มีชีวิตเป็นลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งของพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งที่บุคคลในบริเวณนั้น จะมีการแต่งกายและการแสดงในลักษณะของยุคสมัยเก่า โดยบุคคลจะประพฤติปฏิบัติตัวราวกับว่าพักอาศัยอยู่ในโบราณ โดยมีจุดประสงค์เพื่อแสดงวัฒนธรรมสมัยก่อนให้กับผู้ชมในยุคปัจจุบันได้เห็น พิพิธภัณฑ์มีชีวิตส่วนใหญ่จะมีการแสดงหลายอย่างไม่ว่า การตีเหล็ก การตีดาบ การทำเหมือง การรีดนมวัว การทอผ้า หรือ การวาดรูป เป็นต้น จุดหลักของพิพิธภัณฑ์มีชีวิตที่ำสำคัญคือ (1) วัฒนธรรม ธรรมชาติ และประวัติศาสตร์ (2) ข้อมูลความรู้ และ (3) กิจกรรมของชุมนุม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพิพิธภัณฑ์มีชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

พิมพ์ รัตนคุณสาสน์

นายพิมพ์ รัตนคุณสาสน์ เป็นกวีอีสาน ที่มีความสามารถในการประพันธ์กลอนลำได้ทุกรูปแบบ จนได้รับยกย่องในนาม พิมพ์กวี ศรีอีสาน และเป็นสามัญชนคนแรกที่ได้รับพระราชทานปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณกรรม จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น จนมีคำเรียกติดปากคนทั่วไปว่า ดร.พ่อใหญ่พิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพิมพ์ รัตนคุณสาสน์ · ดูเพิ่มเติม »

พิมล แจ่มจรัส

มล แจ่มจรัส (เกิด พ.ศ. 2477 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2552) อาจารย์ประจำสาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก กรรมการผู้ตัดสินรางวัลซีไรต์ เป็นนักเขียน นักแปล ผลงานด้านประวัติศาสตร์ และเรื่องราวในราชสำนักไทย เจ้าของนามปากกา "พิมาน แจ่มจรัส" และ "แคน สังคีต" พิมล แจ่มจรัส เกิดที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ http://matichon.co.th/news-photo/khaosod/2007/06/03col18180650.txt เคยใช้ชีวิตเป็นครูสอนภาษาไทย เป็นอาจารย์สอนวิชาการเขียน และแต่งตำราเกี่ยวกับการเขียนชื่อ "เขียน" และยังมีผลงานแปลเรื่อง รุไบยาต ของโอมาร์ คัยยาม และแปลผลงานของนากิ๊บ มาห์ฟูซ์ (Naguib Mahfuz) นักเขียนรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพิมล แจ่มจรัส · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

ห้องประชุมภายในราชบัณฑิตยสถาน (ที่ทำการเดิม) หลังการประชุมชำระพจนานุกรม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เป็นพจนานุกรมอธิบายศัพท์ภาษาไทยที่ราชบัณฑิตยสภา (หรือราชบัณฑิตยสถานเดิม) จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนหนังสือไทยให้เป็นระเบียบเดียวกัน ไม่ลักลั่น โดยมีการปรับปรุงแก้ไขตามลำดับเรื่อยมา เมื่อราชบัณฑิตยสภาจัดพิมพ์พจนานุกรมรุ่นหนึ่ง ๆ แล้วเสร็จ จะเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ออก ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ระเบียบการใช้ตัวสะกด ให้หนังสือราชการและการศึกษาเล่าเรียนใช้ตัวสะกดตามพจนานุกรมรุ่นนั้น ๆ เสมอไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พีเทอร์ เบลอเชอร์

ีเทอร์ เบลอเชอร์ (เกิด 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1934) เป็นนักกีฬายิงปืนชาวเยอรมัน เคยเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1972 และ โอลิมปิกฤดูร้อน 1984 ที่ประเทศเยอรมนีตะวันตก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และพีเทอร์ เบลอเชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กบฏพระยาทรงสุรเดช

ระยาทรงสุรเดช นายทหารใน "4 ทหารเสือ" ผู้มีบทบาทอย่างสูงในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ผู้ที่ถูกต้องข้อหาว่าเป็นตัวการในการกบฏครั้งนี้ กบฏพระยาทรงสุรเดช หรือ กบฏ 18 ศพ หรือ กบฏ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และกบฏพระยาทรงสุรเดช · ดูเพิ่มเติม »

กรมพลศึกษา

กรมพลศึกษา (Department of Physical Education) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และกรมพลศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

กระแส ชนะวงศ์

ตราจารย์ นายแพทย์ กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร และนายกสภาสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย อดีตหัวหน้าพรรคพลังใหม่ อดีตรองหัวหน้าพรรคพลังธรรม อดีตรองหัวหน้าพรรคความหวังใหม่ และเป็นอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และกระแส ชนะวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

กรุงเทพมหานคร (ย่อ: กทม.; Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งทำหน้าที่บริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร ตามกฎหมายปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) · ดูเพิ่มเติม »

กรีนสปอต

รื่องดื่มกรีนสปอต กรีนสปอต (Green Spot) เป็นเครื่องดื่มซอฟต์ดริงก์ชนิดน้ำส้มไม่อัดลม ไม่มีคาเฟอีน มีวางจำหน่ายในเวเนซุเอลา ประเทศไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ น้ำส้มกรีนสปอตมีวางจำหน่ายครั้งแรกในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1934 และเข้ามาจำหน่ายในประเทศไทยตั้งแต่ปี ค.ศ. 1954 และเป็นน้ำส้มไม่อัดลมชนิดแรกของประเทศไทย น้ำส้มกรีนสปอตเคยเป็นที่นิยมบริโภคในฮ่องกง แต่ปัจจุบันหยุดทำการตลาดแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และกรีนสปอต · ดูเพิ่มเติม »

กันยา เทียนสว่าง

กันยา เทียนสว่าง นางสาวสยาม พ.ศ. 2477 มีชื่อเล่นว่า "ลูซิล" เป็นธิดาของ นายสละ เทียนสว่าง และนางสนอม เทียนสว่าง แม่เธอมีเชื้อสายมอญ บิดาของเธอทำงานเป็นนายท่าเรืออยู่ที่ท่าเขียวไข่กา บางกระบือ พระนคร เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และกันยา เทียนสว่าง · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมที่เนือร์นแบร์ค

"โทเทเนรุง" (สรรเสริญผู้ตาย) บนระเบียงหน้า "เอเรนฮัลเลอ" (หอเกียรติยศ) ในฉากหลังเป็นที่ชุมนุมนาซี "เอเรนทรีบือเน" (เวทีเกียรติยศ) รูปจันทร์เสี้ยว ในการชุมนุมที่เนือร์นแบร์ค กันยายน ค.ศ. 1934 การชุมนุมใน ค.ศ. 1935 การชุมนุมที่เนือร์นแบร์ค (หรือ Reichsparteitag ซึ่งเป็นคำที่ทางการเยอรมนีใช้ หมายความว่า "การประชุมของพรรคชาตินิยม") ซึ่งเป็นการชุมนุมประจำปีของพรรคนาซี ระหว่างปี 1923-1938 โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากฮิตเลอร์ก้าวขึ้นสู่อำนาจในปี 1933 แล้ว ในการชุมนุมจะเป็นการโฆษณาชวนเชื่อขนานใหญ่ Reichsparteitage นั้นถูกจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีที่ ลานชุมนุมของพรรคนาซีในเมืองเนือร์นแบร์ค ตั้งแต่ปี 1933 เป็นต้นม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และการชุมนุมที่เนือร์นแบร์ค · ดูเพิ่มเติม »

การทรยศโดยชาติตะวันตก

แฟรงกลิน โรสเวลต์ และโจเซฟ สตาลิน การทรยศโดยชาติตะวันตก (Western betrayal) หรืออาจใช้ว่า การทรยศที่ยัลตา (Yalta betrayal) เป็นคำที่มักจะใช้กันในกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโปแลนด์และเช็กเกีย ซึ่งหมายความถึงนโยบายด้านการต่างประเทศของกลุ่มประเทศตะวันตกหลายประเทศ ซึ่งได้ละเลยสนธิสัญญาพันธมิตรและข้อตกลงหลายฉบับนับตั้งแต่สนธิสัญญาแวร์ซาย สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ไปจนถึงสมัยสงครามเย็น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการหลอกลวงและการทรยศ ในการใช้คำว่า "การทรยศ" นี้ เป็นผลมาจากความจริงที่ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก ซึ่งแม้ว่าจะได้สนับสนุนให้เกิดระบอบประชาธิปไตยและการวางนโยบายด้วยตนเอง ได้ลงนามในสนธิสัญญาและก่อตั้งพันธมิตรทางการทหารทั้งก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กระนั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกกลับทรยศพันธมิตรของตนในยุโรปกลางโดยการละเลยที่จะปฏฺบัติตามข้อผูกมัดตามสนธิสัญญานั้น ยกตัวอย่างเช่น ไม่ช่วยป้องกันนาซีเยอรมนีจากการยึดครองเชโกสโลวาเกีย แต่กลับยกให้ในข้อตกลงมิวนิก (ค.ศ. 1938) หรือการทอดทิ้งโปแลนด์ในรับมือกับเยอรมนีและสหภาพโซเวียตตามลำพังระหว่างการบุกครองโปแลนด์ (ค.ศ. 1939) และการลุกฮือในกรุงวอร์ซอ ในปี ค.ศ. 1944 นอกจากนี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกยังได้ลงนามในข้อตกลงยัลตา และภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ไม่ให้การป้องกันหรือยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือรัฐเหล่านี้จากการตกอยู่ภายใต้อิทธิพลและการควบคุมของสหภาพโซเวียต และระหว่างการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 ฮังการีก็ไม่ได้รับทั้งการสนับสนุนทั้งทางทหารและการสนับสนุนในด้านกำลังใจจากฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเลย และทำให้การปฏิวัติถูกปราบปรามโดยกองทัพแดงในที่สุด สถานการณ์เดียวกันเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1968 เมื่อกองทัพร่วมของกลุ่มประเทศสนธิสัญญาวอร์ซอเพื่อกำจัดยุคฤดูใบไม้ผลิปรากในเชโกสโลวาเกีย และยุติการเปลี่ยนแปลงการปกครองกลับมาสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ดังเดิม ดังที่ได้เกิดความกังวลในการประชุมยัลตา แนวคิดของมันก็ถูกโต้เถียงกัน โดยนักประวัติศาสตร์มองว่าการที่นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิลล์ และประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ไม่มีทางเลือกอื่นใดนอกจากยอมรับความต้องการของผู้นำโซเวียต โจเซฟ สตาลิน ทั้งในการประชุมเตหะรานและในการประชุมครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเองก็ได้ประเมินอำนาจของสหภาพโซเวียตผิดไปบ้าง เช่นเดียวกับที่ประเมินนาซีเยอรมนีผิดไปหนึ่งทศวรรษก่อนหน้านั้น แต่ผู้สนับสนุนการประชุมยอลตามีแนวคิดว่า การประชุมในครั้งนี้เป็นการทรยศกลุ่มประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยไม่มีการพิจารณาถึงชะตากรรมของโปแลนด์ในอนาคต กองกำลังโปแลนด์ถือเป็นกองกำลังที่ต่อสู้กับนาซีเยอรมนีเป็นเวลายาวนานกว่าประเทศอื่นใดในสงครามโลกครั้งที่สอง และทำการรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับกองกำลังสหรัฐอเมริกา อังกฤษและโซเวียตในการทัพที่สำคัญหลายครั้ง รวมไปถึงในยุทธการที่เบอร์ลินครั้งสุดท้าย ซึ่งกองกำลังติดอาวุธโปแลนด์ทางตะวันตกมีจำนวนกว่า 249,000 นาย (กองทัพสัมพันธมิตรตะวันตกมีจำนวนกว่า 4 ล้านนาย) และ 180,000 นายทางตะวันออก (กองทัพโซเวียตมีจำนวนกว่า 6 ล้านนาย) และมีอีกกว่า 300,000 นายที่ทำการรบใต้ดิน หรือในกองกำลังกู้ชาติ ในตอนปลายสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพโปแลนด์มีจำนวนกว่า 600,000 นาย โดยที่ไม่นับกองกำลังกู้ชาติhttp://www.ww2.pl/Polish,contribution,to,the,Allied,victory,in,World,War,2,(1939-1945),132.html ซึ่งทำให้โปแลนด์มีกองกำลังขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ในสงคราม รองมาจากสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร รัฐบาลผลัดถิ่นโปแลนด์เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรอย่างเป็นทางการ แต่กระนั้นประธานาธิบดีโรสเวลต์ก็ยังนิ่งนอนใจได้เมื่อรัฐบาลโปแลนด์ถูกแทนที่ด้วยรัฐบาลหุ่นของโซเวียต โดยได้มีข้อสังเกตว่าโรสเวลต์ได้วางแผนที่จะมอบโปแลนด์ให้กับสตาลิน นักประวัติศาสตร์คนอื่น ๆ เสนอว่า เชอร์ชิลล์กระตุ้นให้โรสเวลต์ดำเนินกิจการทางทหารต่อในทวีปยุโรป แต่ต่อต้านสหภาพโซเวียต เพื่อป้องกันการแสวงหาดินแดนเพิ่มเติมจากพรมแดนของตน รูสเวลต์ดูเหมือนว่าจะเชื่อใจในการรับประกันของสตาลินและปฏิเสธที่จะสนับสนุนเจรนาของเชอร์ชิลล์ในการรักษาเสรีภาพของทวีปยุโรปนอกเหนือจากอิทธิพลของสหภาพโซเวียต โดยปราศจากการหนุนหลังของสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรที่เหนื่อยอ่อน อดอยาก และแทบจะสิ้นเนื้อประดาตัวจึงไม่สามารถดำเนินการตามที่ตั้งใจเอาไว้ และถึงแม้ว่าจะมีการหนุนหลังจากสหรัฐอเมริกาก็ตาม ผลจากกิจการทางทหารนั้นก็ยังคงไม่แน่นอนอยู่มาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และการทรยศโดยชาติตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดความงาม

การประกวดความงาม เป็นการแข่งขันที่เน้นความสำคัญในการตัดสินและจัดอันดับคุณลักษณะทางกายภาพของผู้เข้าแข่งขันแม้ว่าการแข่งขันบางส่วนจะมีลักษณะบุคลิกภาพฉลาดพรสวรรค์และคำตอบสำหรับคำถามของคณะกรรมการตามเกณฑ์ที่ตัดสิน วลีนี้เกือบจะหมายถึงการแข่งขันของผู้หญิงและผู้หญิงเท่านั้น เหตุการณ์หรือการแข่งขันที่คล้ายกันสำหรับผู้ชายหรือเด็กผู้ชายที่ถูกเรียกโดยชื่ออื่น ๆ และมีแนวโน้มที่จะเข้าร่วมการแข่งขันเพาะกาย ผู้จัดงานประกวดแต่ละครั้งอาจกำหนดกติกาการแข่งขันรวมถึงช่วงอายุของผู้แข่งขัน กฎอาจต้องการให้ผู้เข้าแข่งขันเป็นโสดและเป็น "ผู้ดี", "มือสมัครเล่น" และพร้อมสำหรับโปรโมชันนอกเหนือจากเกณฑ์อื่น ๆ นอกจากนี้ยังอาจกำหนดมาตรฐานเสื้อผ้าที่จะตัดสินผู้แข่งขันรวมถึงประเภทของชุดว่ายน้ำ การประกวดความงามโดยทั่วไปจะมีหลายชั้นโดยมีการแข่งขันในระดับท้องถิ่นเข้าสู่การแข่งขันที่มีขนาดใหญ่ ตัวอย่างเช่นการแข่งขันระหว่างประเทศมีการแข่งขันระดับท้องถิ่นนับร้อยนับพัน ๆ ครั้ง การประกวดความงามของเยาวชนส่วนใหญ่มุ่งเน้นไปที่ความสวยความงามการแต่งกายกีฬาการสร้างแบบจำลองความสามารถและการสัมภาษณ์ส่วนบุคคล การประกวดสำหรับผู้ใหญ่และวัยรุ่นเน้นการแต่งหน้าผมและเสื้อคลุมอาบน้ำแบบจำลองชุดว่ายน้ำและการสัมภาษณ์ส่วนบุคคล ผู้ชนะการประกวดความงามมักเรียกว่านางงาม การจัดอันดับของผู้แข่งขันจะเรียกว่าตำแหน่ง รางวัลที่เป็นไปได้ ได้แก่ มงกุฎ, สายสะพายตำแหน่ง, ทุนการศึกษาและรางวัลเงินสด อย่างไรก็ตามการเข้าประกวดในวัยผู้ใหญ่และวัยรุ่นได้รับความสนใจมากขึ้นในการพิจารณาการพูด บางการประกวด รางวัลทุนการศึกษาวิทยาลัยเพื่อผู้ชนะหรือวิ่งขึ้นหล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และการประกวดความงาม · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไท..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2476 · ดูเพิ่มเติม »

กำพล วัชรพล

นายกำพล วัชรพล จ่าโท กำพล วัชรพล (27 ธันวาคม พ.ศ. 2462 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, เสียงอ่างทอง, ข่าวภาพ, มูลนิธิหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์ไทยรัฐคนแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และกำพล วัชรพล · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ สีหนนทน์

นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และกิตติ สีหนนทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟ โฮลส์

องโฮลส์ ถ่ายโดย Herbert Lambert กุสตาฟ โฮลส์ (21 กันยายน ค.ศ. 187425 พฤษภาคม ค.ศ. 1934) เป็นนักดนตรีชาวอังกฤษ โดยโอสต์โด่งดังจากเพลงตับ เดอะ พลาเนตส์ โอสต์เรียนใน Royal College of Music ในกรุงลอนดอน โดยเขาได้แรงจูงใจจาก Grieg, Wagner Richard Strauss และ Ralph Vaughan Williams ชื่อเต็มของโฮลส์คือ Gustavus Theodor von Holst แต่เขาได้ตัด "von" จากชื่อของเขาเพื่อตอบสนองการต่อต้านเยอรมันในอังกฤษระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และทำให้เป็นทางการในพินัยกรรมเมื่อปี ค.ศ. 1918.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และกุสตาฟ โฮลส์ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล

กีฬาชิงชนะเลิศแห่งตะวันออกไกล (The Far Eastern Championship Games) หรือที่รู้จักในชื่อ กีฬาตะวันออกไกล (Far East Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายประเภท ระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียใต้ของทวีปเอเชีย จัดขึ้นโดย สมาคมกีฬาแห่งตะวันออกไกล (Far Eastern Athletic Association) อันมีหมู่เกาะฟิลิปปินส์ในอารักขาของสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐจีน และจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้ง มีการแข่งขันในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2477 ซึ่งถือเป็นการเริ่มต้นพัฒนาไปสู่กีฬาเอเชียนเกมส์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และกีฬาตะวันออกไกล · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1934

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 10 ในเดือน พฤษภาคม ค.ศ. 1934 จัดขึ้นที่ มะนิลา, ฟิลิปปิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และกีฬาตะวันออกไกล 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ภาพเหมือนตนเอง

หมือนตนเองของอัลเบรชท์ ดือเรอร์, ค.ศ. 1493. สีน้ำมันเดิมบนหนัง, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์, ปารีส ภาพนี้เป็นภาพเหมือนตนเองอย่างเป็นทางการภาพแรก ๆ ดือเรอร์แต่งตัวแบบอิตาลีที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จระดับสากล ภาพเหมือนตนเอง (Self-portrait) คือภาพเหมือนของศิลปินเองผู้อาจจะวาด เขียนด้วยสี ถ่ายภาพ หรือแกะสลักด้วยตนเอง แม้ว่าศิลปินจะสร้างภาพเหมือนของตนเองมาแต่โบราณ แต่ก็ไม่ได้ทำกันอย่างแพร่หลาย หรือบอกได้ว่าเป็นภาพเหมือนของศิลปินเองจริง ๆ หรือวาดเป็นบุคคลหัวใจของภาพมาจนกระทั่งเมื่อต้นยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในกลางคริสต์ทศวรรษ1400 กระจกที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาถูกลงทำการเขียนภาพเหมือนบนจิตรกรรมแผง จิตรกร ประติมากร และช่างแกะพิมพ์มีการทำกันมากขึ้น ตัวอย่างแรกก็ได้แก่ "ภาพเหมือนของชายคนหนึ่ง (ภาพเหมือนตนเอง?)" ที่เขียนโดยยัน ฟัน ไอก์ ของปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และภาพเหมือนตนเอง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยพายัพ

มหาวิทยาลัยพายัพ (Payap University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งตั้งแต่ พ.ศ. 2517 โดยนับเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งแรกของประเทศไทยที่ถูกเปลี่ยประเภทจากวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมหาวิทยาลัยพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (Songkhla Rajabhat University) เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของภาคใต้ พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดครูมณฑล วิทยาลัยครูสงขลา, สถาบันราชภัฏสงขลา และ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ดังเช่นปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Suan Dusit University) จาก โรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย สู่การเป็น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มหาวิทยาลัยในกลุ่มมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เป็นสถาบันที่มีชื่อเสียงทางด้าน การศึกษาปฐมวัย คหกรรมศาสตร์ ธุรกิจบริการ ธุรกิจการโรงแรม ธุรกิจการบิน และ " โรงเรียนกฎหมายและการเมือง ".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมหาวิทยาลัยสวนดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแม่โจ้

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งอยู่ที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2477 โดยมีรากฐานจาก "โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมประจำภาคเหนือ" จนได้รับการเปลี่ยนสถานะเป็นมหาวิทยาลัยแม่โจ้เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 20 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Tawan-ok: Uthenthawai Campus) ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 225 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีน้ำเงิน สีขาว คติพจน์ "ถ้าเรารักสมัครจิต ก็ต้องคิดสมัครมือ ถิ่นสีน้ำเงิน คือ ที่รวมรักสมัครคง".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย · ดูเพิ่มเติม »

มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม

มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม หรือ สุเหร่าเขียว ได้รับการขึ้นทะเบียนมัสยิดเลขหมายทะเบียน 5 มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 ตำบลละหาร อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ณ ศาลากลางจังหวัดนนทบุรี เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492) โดยมีนายกาเซ็ม เจริญสุข เป็นอิหม่าม และเป็นมัสยิดสายซุนนี ที่เก่าแก่แห่งหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี เรื่องราวของชุมชนมลายูมุสลิมบ้านสุเหร่าเขียว เป็นชุมชนที่เกิดต่อจากชุมชนมุสลิมบ้านปากลัด จังหวัดสมุทรปราการ และชุมชนบ้านท่าอิฐ อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ที่เกิดขึ้นตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกในราชวงศ์จักรี เป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มัสยิดนูรุ้ลอิสลาม หรือ ชุมชนบ้านสุเหร่าเขียว ประมาณกันว่าเป็นมัสยิดที่เริ่มมีขึ้นตั้งแต่ก่อนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2411) - (23 ตุลาคม พ.ศ. 2453).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมัสยิดนูรุ้ลอิสลาม · ดูเพิ่มเติม »

มัคท์แอร์ไกรฟุง

แผ่นกระดานชนวนระลึกถึงสมาชิกของไรชส์ทาค จำนวน 96 คน ซึ่งถูกกำจัดโดยพรรคนาซีหลังจากที่พรรคนาซีก้าวขึ้นสู่อำนาจในปี 1933 ณ กรุงเบอร์ลิน มัคท์แอร์ไกรฟุง (Machtergreifung) เป็นคำในภาษาเยอรมัน หมายความว่า "การยึดอำนาจ" คำคำนี้มักจะหมายถึง การขึ้นสู่อำนาจของพรรคนาซีในสาธารณรัฐไวมาร์ เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1933 ในตอนแรก คำว่า มัคท์แอร์ไกรฟุง เป็นคำที่พรรคนาซีกุขึ้นเองเพื่อพรรณนาถึงการขึ้นสู่อำนาจด้วยการใช้กำลัง (เหตุการณ์ดังกล่าวเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า นาซิโยนาเลอแอร์เฮบุง (Nationale Erhebung) หรือ "กบฏแห่งชาติ" ตั้งแต่การขึ้นสู่อำนาจของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เป็นผลจากการใช้เล่ห์เหลี่ยมมากกว่าการปฏิวัติด้วยกำลัง นักประวัติศาสตร์จึงได้วิพากษ์วิจารณ์คำดังกล่าว และบางครั้งก็ได้เลี่ยงไปใช้คำว่า มัคท์อือเบอร์ทรากุง (Machtübertragung) หรือ "การกุมอำนาจ" และคำว่า มัคท์แอร์ชไลชุง (Machterschleichung) หรือ "การลอบกุมอำนาจ" แทน ส่วนอีกคำหนึ่งที่ใช้บรรยายถึงการขึ้นสู่อำนาจของพรรคนาซี คือ การปฏิวัติสีน้ำตาล หลังจากเหตุการณ์มัคท์แอร์ไกรฟุง ในปี ค.ศ. 1933 ได้เกิดเหตุการณ์ ไกลช์ชัลทุง ขึ้นตามมาในปี ค.ศ. 1934 ซึ่งเป็นการกำจัดศัตรูทางการเมืองซึ่งเป็นฝ่ายตรงข้ามของพรรคนาซี ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มบุคคลผู้มีอิทธิพล อย่างเช่น สหภาพการค้าหรือพรรคการเมืองได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมัคท์แอร์ไกรฟุง · ดูเพิ่มเติม »

มารี กูว์รี

มารี สกวอดอฟสกา-กูว์รี (Marie Skłodowska-Curie) มีชื่อแต่แรกเกิดว่า มาเรีย ซาลอแมอา สกวอดอฟสกา (Marya Salomea Skłodowska;; 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2410 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2477) เป็นนักเคมีผู้ค้นพบรังสีเรเดียม ที่ใช้ยับยั้งการขยายตัวของมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่มีอัตราการตายของคนไข้เป็นอันดับหนึ่งมาทุกยุคสมัย ด้วยผลงานที่มีความสำคัญต่อมนุษยชาติเหล่านี้ ทำให้มารี กูว์รีได้รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้งด้วยกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมารี กูว์รี · ดูเพิ่มเติม »

มารดาของวิสต์เลอร์

“การจัดสีเทาและดำหมายเลข 2” (ทอมัส คาร์ไลล์) การจัดสีเทาและดำ: มารดาของวิสต์เลอร์ของจิตรกร หรือที่รู้จักกันสั้นๆ ว่า มารดาของวิสต์เลอร์ (ภาษาอังกฤษ: Arrangement in Grey and Black: The Artist's Mother หรือ Whistler’s Mother) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันที่เขียนโดยเจมส์ แม็คนีลล์ วิสต์เลอร์จิตรกรชาวอเมริกัน ที่ปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ออร์เซย์ ที่ปารีสในประเทศฝรั่งเศส วิสต์เลอร์เขียนภาพ “มารดาของวิสต์เลอร์” ในปี ค.ศ. 1871 ภาพอยู่ในกรอบที่วิสต์เลอร์ออกแบบเอง แม้ว่าจะเป็นภาพเขียนที่เป็นสัญลักษณ์ของศิลปะอเมริกันแต่ภาพเขียนแทบจะไม่ได้กลับไปตั้งแสดงในสหรัฐอเมริกานอกจากนำไปแสดงรอบประเทศระหว่างปี ค.ศ. 1932 และ ค.ศ. 1934, ตั้งแสดงที่หอศิลป์แห่งชาติในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมารดาของวิสต์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ชทหารอาสา

ลงชาติแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนมีชื่อว่า มาร์ชทหารอาสา (อ่านว่า "อี่หย่งจินจิ้นสิงชวี"; March of the Volunteers) เดิมเป็นบทเพลงปลุกใจซึ่งประพันธ์เนื้อร้องโดยเถียน ฮั่น ทำนองโดยเนี้ย เอ่อร์ เมื่อ พ.ศ. 2479 แต่ครั้งสมัยที่จีนแผ่นดินยังปกครองโดยรัฐบาลสาธารณรัฐจีน ภายใต้พรรคก๊กมินตั๋ง ขณะนั้นการเมืองภายในจีนกำลังปั่นป่วนอย่างหนัก จากการแบ่งเป็นก๊กเป็นเหล่าต่างๆ และเผชิญหน้ากับการรุกรานของจักรวรรดิญี่ปุ่น เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์จีนสามารถปฏิวัติและสถาปนารัฐจีนใหม่สำเร็จใน พ.ศ. 2492 รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนได้ใช้เพลงมาร์ชทหารอาสาเป็นเพลงชาติตลอดมา แม้ว่าในสมัยหนึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงเนื้อร้องเพลงนี้ก็ตาม แต่เนื้อร้องเดิมก็ยังคงได้รับความนิยมมากกว่า ภายหลังรัฐบาลจีนจึงนำเนื้อร้องเดิมที่เถึยนฮั่นประพันธ์ไว้ใช้เป็นเนื้อร้องเพลงชาติจีนอย่างเป็นทางการอีกครั้งหนึ่งตราบจนทุกวันนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมาร์ชทหารอาสา · ดูเพิ่มเติม »

มานพ อัศวเทพ

มานพ อัศวเทพ มีชื่อจริงคือ ว่า วิริยะ จุลมกร เกิดเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมานพ อัศวเทพ · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มิตร ชัยบัญชา

มิตร ชัยบัญชา (28 มกราคม พ.ศ. 2477 - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2513) หรือชื่อจริง พันจ่าอากาศโท พิเชษฐ์ ชัยบัญชา (นามสกุลเดิม พุ่มเหม) เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงปล..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และมิตร ชัยบัญชา · ดูเพิ่มเติม »

ยอก โซธอท

อก โซธอท (Yog-Sothoth) เป็นหนึ่งในเอาเตอร์ก็อดในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ โดยชื่อของยอก โซธอทถูกกล่าวถึงครั้งแรกในนิยายเรื่อง The Case of Charles Dexter Ward (ประพันธ์ในปีพ.ศ. 2470 ได้รับการตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2484).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และยอก โซธอท · ดูเพิ่มเติม »

ยุวชนทหาร

วชนทหาร (อักษรย่อ: ยวท.) คือ เยาวชนที่ได้รับการฝึกวิชาทหารขึ้นในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2477 - 2490 เนื่องจากรัฐบาลไทยสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามมีนโยบายพื้นฟูการฝึกวิชาทหารให้แก่ประชาชน ดำเนินการโดยกรมยุวชนทหาร กระทรวงกลาโหม (ณ ปี พ.ศ. 2481 ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นกรมเตรียมการทหารในปี พ.ศ. 2484).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และยุวชนทหาร · ดูเพิ่มเติม »

ยูกิโอะ คัตสุมาตะ

ูกิโอะ คัตสุมาตะ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 7 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และยูกิโอะ คัตสุมาตะ · ดูเพิ่มเติม »

ยูจีน เซอร์นัน

ูจีน แอนดรูว์ "จีน" เซอร์นัน (Eugene Andrew "Gene" Cernan; 14 มีนาคม พ.ศ. 2477 – 16 มกราคม พ.ศ. 2560) เป็นนักบินอวกาศชาวอเมริกัน ผู้ซึ่งเป็นบุคคลลำดับที่ 11 และสุดท้ายที่เดินบนดวงจันทร์ เขาเดินทางไปอวกาศทั้งหมดสามครั้ง ได้แก่ ไปกับยานเจอมินี 9A ในเดือนมิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และยูจีน เซอร์นัน · ดูเพิ่มเติม »

ยูนิเวอร์แซลมิวสิกกรุป

ูนิเวอร์แซลมิวสิกกรุป (Universal Music Group) หรือ ยูเอ็มจี (UMG) เป็นกลุ่มธุรกิจและกลุ่มค่ายเพลงที่ใหญ่ที่สุดในอุตสาหกรรมการบันทึกเสียง เป็นหนึ่งในสามค่ายเพลงยักษ์ใหญ่ หรือที่เรียกกันว่า บิ๊กทรี (Big three) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1934 ในนาม เดคคา เรคคอร์ดส ก่อนจะขยับขยายกิจการและเปลี่ยนชื่อเป็น เอ็มซีเอมิวสิกเอนเตอร์เทนเมนท์ และเป็น ยูนิเวอร์ซัลมิวสิค ในที่สุด ยูนิเวอร์แซลมิวสิกกรุปปัจจุบัน เป็นบริษัทในเครือ Vivendi ของประเทศฝรั่งเศส มีส่วนแบ่งทางการตลาด 25.5% และมีค่ายดนตรีสำคัญๆ ในสังกัดอย่าง อินเตอร์สโคป, โมทาวน์ และไอส์แลนด์เดฟแจม เป็นต้น หมวดหมู่:ค่ายเพลงอเมริกัน หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2477.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และยูนิเวอร์แซลมิวสิกกรุป · ดูเพิ่มเติม »

ยูเอสเอส เอนเทอร์ไพรซ์ (CV-6)

ูเอสเอส เอนเทอร์ไพรซ์ (USS Enterprise: CV-6) เป็นเรือบรรทุกอากาศยานของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สองที่ถูกต่อขึ้นก่อนสงครามเริ่ม และเป็นเรือบรรทุกเครื่องบินที่ถูกใช้งานในสงครามโลกครั้งที่สองนานที่สุด คือตั้งแต่เริ่มสงครามจนสิ้นสุดสงคราม ตั้งแต่การรบที่ทะเลคอรัล การรบที่มิตเวย์ ยุทธการกัวดาคาแนล การรบในหมู่เกาะโซโลมอน การรบที่อ่าวเลเต การรบที่อิโวจิมา การรบที่โอกินาว่า และการขนทหารสหรัฐฯ กลับบ้านหลังสงครามยุติซึ่งถือว่าเป็นปฏิบัติครั้งสุดท้ายของเรือลำนี้ ซึ่งท้ายที่สุดเอนเทอร์ไพรซ์ถูกปลดประจำการในวันที่ 17 กุมพาพันธ์ 1946 โดยจะมีการนำไปแยกชิ้นส่วนขายเป็นเศษซึ่งก็มีผู้คัดค้านเป็นจำนวนมากเพราะต้องการให้นำมาเป็นพิพิทธภัณฑ์เรือ แต่สุดท้ายแล้วเรือก็ถูกขายและถูกนำมาแยกชิ้นส่วนในวันที่ 22 มิถุนายน 1946 เป็นการปิดฉากตำนานของเรือบรรทุกเครื่องบินที่ยิ่งใหญ่ที่สุดลำหนึ่งของกองทัพเรือสหรัฐฯ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และยูเอสเอส เอนเทอร์ไพรซ์ (CV-6) · ดูเพิ่มเติม »

รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ · ดูเพิ่มเติม »

รักที่ริมขอบฟ้า

Out of Africa หรือ รักที่ริมขอบฟ้า ชื่อในThai PBS "ขอบฟ้าแห่งรัก" เป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2528 กำกับโดย ซิดนีย์ พอลแลค นำแสดงโดย เมอริล สตรีพ และโรเบิร์ต เรดฟอร์ด ดัดแปลงสร้างจากหนังสืออัตชีวประวัติ "Out of Africa" และ "Shadows on the Grass" ของบารอนเนส คาเรน บลิกเซน (Baroness Karen von Blixen-Finecke) ชาวเดนมาร์กที่ใช้ชีวิตทำไร่กาแฟอยู่ที่ประเทศเคนยา แอฟริกาเป็นเวลาหลายปี ระหว่างปี พ.ศ. 2457 - พ.ศ. 2477 ใช้นามปากกา "ไอแซค ไดนีเสน" (Isak Dinesen) ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2480 หนังสือ Out of Africa แปลเป็นภาษาไทยโดย สุริยฉัตร ชัยมงคล ใช้ชื่อภาษาไทยในการตีพิมพ์ครั้งแรก ว่า "พรากจากแสงตะวัน" และใช้ชื่อ "รักที่ริมขอบฟ้า" ในการตีพิมพ์ครั้งที่สอง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรักที่ริมขอบฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

ัญชีดังต่อไปนี่แสดงรายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย

รายนามเสนาบดีว่าการกรมพระคลังมหาสมบัติ, เสนาบดีว่าการกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย

รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย

รายพระนาม รายนาม เสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศออสเตรีย

นี่คือธงต่างๆ ที่ใช้ในประเทศออสเตรีย สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับธงชาติ ดูที่ ธงชาติออสเตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายชื่อธงในประเทศออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเม็กซิโก

้านล่างต่อไปนี้ เป็นธงต่างๆ ที่ใช้และเคยใช้ในประเทศเม็กซิโก ธงชาติเม็กซิโกและธงชัยหน่วยทหาร ที่มีต้นแบบจากธงชาติเม็กซิโกสมัยต่างๆ จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เมืองมอรเทอร์เรย์ รัฐนวยโวเลออง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายชื่อธงในประเทศเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเนเธอร์แลนด์

นื้อหาในหน้านี้ว่าด้วยธงประเภทต่างๆ ที่มีการใช้ในราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ สำหรับเนื้อหาเกี่ยวกับธงชาติ สามารถศึกษาได้ที่บทความ ธงชาติเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายชื่อธงในประเทศเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม

ราชอาณาจักรเบลเยียม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายพระนามพระมหากษัตริย์เบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์จอร์แดน

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์แห่งจอร์แดน นับตั้งแต่การสถาปนาราชวงศ์ฮัชไมต์ในปี ค.ศ. 1949 ตั้งแต่พระบรมราชินีในรัชกาลสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลาห์ที่ 1 แห่งจอร์แดน จนถึงรัชกาลปัจจุบัน ในตำแหน่งพระบรมราชินีของจอร์แดนนั้นเป็นเพียงพระบรมราชินีพระราชชายา แต่ยังไม่ปรากฏว่ามีพระบรมราชินีนาถผู้สำเร็จราชการ จอร์แดน *.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์จอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร

้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก.

รื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ (The Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri) มีอักษรย่อว่า ม..ก. มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์มีจำนวน 25 สำรับ สำหรับพระมหากษัตริย์ 1 สำรับ สมเด็จพระบรมราชินี 1 สำรับ และพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบเนื่องโดยตรงในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกหรือผู้ซึ่งพระบรมวงศานุวงศ์ดังกล่าวได้เสกสมรสด้วยอีก 23 สำหรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่ประมุขของต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมใน 25 สำรับอีกด้วย โดยมีพระนามผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องขัตติยราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติคุณรุ่งเรืองยิ่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ เช่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ม.จ.ก. · ดูเพิ่มเติม »

รายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 1 ของไทย ประกอบด้วยกรรมการราษฎร จำนวน 14 คน และหัวหน้ารัฐบาลเรียกว่า "ประธานคณะกรรมการราษฎร" เทียบเท่าตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อมาตั้งแต่คณะรัฐมนตรีคณะที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่อตำแหน่งจาก "กรรมการราษฎร" เป็น "รัฐมนตรี" โดยมีทั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง และ รัฐมนตรี (ช่วยราชการกระทรวงต่างๆ แต่ไม่ได้ระบุชื่อกระทรวงในชื่อตำแหน่ง หรือ "รัฐมนตรีลอย") คณะรัฐมนตรีคณะสุดท้ายที่มีตำแหน่งรัฐมนตรี ที่ไม่ได้ประจำกระทรวง คือ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 28 ของไทย เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายนามรัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามอธิบดีกรมประมง

้านล่างนี้คือรายนามเจ้ากรมรักษาสัตว์น้ำ อธิบดีกรมการประมง และอธิบดีกรมประมง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายนามอธิบดีกรมประมง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย

้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามเจ้ากรมรถไฟ ผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง อธิบดีกรมรถไฟและผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานรัฐสภาไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายนามประธานรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น

งประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น รายนาม นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้นำรัฐบาลของจักรวรรดิญี่ปุ่นและประเทศญี่ปุ่น ตามราชธรรมนูญเมจิในรัชสมัยเมจิ องค์จักรพรรดิทรงเป็นผู้เลือกและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจวบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากนั้น นายกรัฐมนตรีจึงมีที่มาจากการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร โดยมีองค์จักรพรรดิเป็นผู้แต่งตั้งตามขนบธรรมเนียม จวบจนถึงปัจจุบัน ญี่ปุ่นมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 62 คน ใน 96 คณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส

ก่อนปี พ.ศ. 2502 ประเทศฝรั่งเศสไม่ปรากฏว่ามีการเรียกตำแหน่งหัวหน้าคณะรัฐบาลอย่างเป็นทางการว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) เนื่องจากในอดีตภายใต้การปกครองของกษัตริย์ หลายครั้งที่คำนี้ใช้เรียกแทนประธานรัฐมนตรีของกษัตริย์ แม้ต่อมาในช่วงรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 รัฐมนตรีท่านหนึ่งในรัฐมนตรีสภาได้ดำรงตำแหน่งเป็นทั้ง ประธานรัฐมนตรีสภา (Président du Conseil des Ministres) และยังเป็นที่รู้จักกันอย่างไม่เป็นทางการในนาม "หัวหน้ารัฐมนตรีสภา" ซึ่งในปัจจุบันเรียกว่า นายกรัฐมนตรี (Premier Ministre) อีกด้วย ซึ่งเป็นการไม่เหมาะสม เป็นการรวบอำนาจเบ็ดเสร็จในบุคคลเดียว โดยเป็นทั้งประธานาธิบดีเอง และเป็นหัวหน้ารัฐมนตรีสภา (นายกรัฐมนตรี) ทำหน้าที่เป็นประธานในการประชุมสภา และหัวหน้าฝ่ายบริหารคณะรัฐมนตรี เวลาต่อมา ในการทำให้ชื่อตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" มีผลบังคับทางกฎหมาย แทนที่ตำแหน่ง หัวหน้ารัฐมนตรีสภา นั้นก็ได้กลายเป็นตำแหน่ง "นายกรัฐมนตรี" อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2489 ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 และต่อมาได้ถูกนำมาบัญญัติคำว่า "นายกรัฐมนตรี" (Premier Ministre) ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5 ในปี พ.ศ. 2502 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2413 ประเทศฝรั่งเศสได้มีหัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") 142 ท่าน (138 ท่าน นับตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2) หัวหน้าคณะรัฐบาล (ในปัจจุบันเรียก "นายกรัฐมนตรี") ตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2, จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 2, กษัตริย์แห่งเดือนกรกฎาคม, ราชวงศ์บูร์บงฟื้นฟู ถึงปัจจุบันมีทั้งสิ้น 174 ท่าน ภายใต้ระยะเวลา 193 ปี รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 2 - ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีไทย

้านล่างนี้ คือ รายนามนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายนามนายกรัฐมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

้านล่างนี้คือรายนามนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายนามนายกสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนางสาวไทยและรองนางสาวไทย

รายนามนางสาวไทยและรองนางสาวไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2477 จนถึงปัจจุบัน (ชื่อในสูจิบัตรการประกวด).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรายนามนางสาวไทยและรองนางสาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

ราอูล มาเซียส

ราอูล มาเซียส (Raúl Macías Guevara)นักมวยสากลชาวเม็กซิโก เกิดเมื่อ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 เสียชีวิตเมื่อ 23 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และราอูล มาเซียส · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์

รางวัลออสการ์ อะแคเดมีอะวอร์ด ("รางวัลสถาบัน") หรืิอ ออสการ์ เป็นรางวัลทางภาพยนตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก จัดโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ (หรือ) เริ่มจัดครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรางวัลออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับภาพยอดเยี่ยม

รางวัลออสการ์ สาขาลำดับภาพยอดเยี่ยม เป็นหนึ่งในรางวัลออสการ์โดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ รางวัลนี้มีการมอบครั้งแรกในปีค.ศ. 1934 ในชื่อรางวัล Academy Award for Best Film Editing และด้วยระบบการตัดต่อภาพแบบดิจิตอลแพร่หลายมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนชื่อรางวัลนี้เป็น Academy Award for Best Editing ในปีค.ศ. 1999 ล่าสุดได้มีการเปลี่ยนชื่อรางวัลในปีค.ศ. 2008 เป็น Academy Award for Achievement in Film Editing ได้มีการตั้งข้อสังเกตว่ารางวัลลำดับภาพยอดเยี่ยมเป็นรางวัลที่ใกล้เคียงกับรางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมมากมาร์ก แฮร์ริส (2008).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรางวัลออสการ์ สาขาลำดับภาพยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 โดยสถาบัน Royal Swedish Academy of Sciences แห่งประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสตอกโฮล์ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด ไมเออร์

ริชาร์ด ไมเออร์ ปี 2007 ริชาร์ด ไมเออร์ (Richard Meier) เกิดเมื่อ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1934 ในนิวอาร์ค,นิวเจอร์ซีย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นสถาปนิกร่วมสมัย มีชื่อเสียงในการใช้สีขาวในการออกแบบ เขาจบการศึกษาปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ ในปี ค.ศ. 1957 และได้ทำงานกับ Skidmore, Owings และ Merrill ช่วงสั้นๆ ในปี 1959 จากนั้นก็ทำงานกับ Marcel Breuer เป็นเวลา 3 ปีแล้วจึงหันมาศึกษาเองในนิวยอร์กช่วงปี 1963 โดยเขาได้เป็นที่รู้จักในนาม นิวยอร์กไฟฟ์ ในปี 1972 งานออกแบบของเขาพิพิธภัณฑ์เก็ตตี้ในลอสแอนเจลิส เป็นที่กล่าวขวัญมากในช่วงนั้น งานของเขามีส่วนคล้ายและได้รับอิทธิพลจาก กับงานของ เลอ คอร์บูสิเอร์ รวมถึง มีส แฟน เดอ โรห์ และ แฟรงก์ ลอยด์ ไรต์ รวมถึง หลุยส์ บาร์รากอง และในปี 1984 ไมเออร์ได้รับรางวัลพริตซ์เกอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และริชาร์ด ไมเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิเหนือจริง

“Arrested Expansion หรือ Cardiac Arrest” โดย จอร์จ กรี (George Grie) ลัทธิเหนือจริง หรือ เซอร์เรียลลิซึม (Surrealism) เป็น “ลัทธิ” หรือ “ขบวนการ” ทางวรรณศิลป์และทัศนศิลป์ที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศสช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อ็องเดร เบรอตง (Andre Breton) เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มดาดา (Dadaism) ที่มีเป้าหมายใช้ความก้าวร้าวรุนแรงเพื่อต่อต้านสงคราม ต่อต้านค่านิยมของชนชั้นกลางทุกชนิดรวมทั้งคริสต์ศาสนา ต้องการทำลายขนบประเพณีที่ชนชั้นกลางสะสมไว้รวมทั้งศิลปวรรณคดีด้วย หลังจากร่วมทำกิจกรรมกับกลุ่มดาดาอยู่ระยะหนึ่งเบรอตงกับเพื่อนก็แยกตัวออกมาตั้งกลุ่มใหม่ คือ กลุ่มเซอร์เรียลลิซึม ซึ่งยังรับเอาความก้าวร้าวมุ่งทำลายค่านิยมของชนชั้นกลางของดาดามาเป็นฐานแต่มุ่งสร้างค่านิยมใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และลัทธิเหนือจริง · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อดีตออสเตรีย-ฮังการี

นี่คือลำดับการสืบสันตติวงศ์แห่งราชบัลลังก์อิมพีเรียลออสเตรีย-ฮังการี ประมุขแห่งราชวงศ์ฮับส์บูร์กองค์ปัจจุบันคืออาร์คดยุคคาร์ล มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการี พระราชโอรสองค์แรกในสมเด็จพระจักรพรรดิอ๊อตโต้ที่ 1 แห่งออสเตรีย (สมเด็จพระราชาธิบดีอ๊อตโต้ที่ 2 แห่งฮังการี)กับ เจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อดีตออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ล้วน ควันธรรม

ล้วน ควันธรรม ล้วน ควันธรรม เป็นนักร้อง และนักแต่งเพลง เป็นนักเขียนบทและเป็นผู้จัดละครวิท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และล้วน ควันธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วรนาถ อภิจารี

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วรนาถ อภิจารี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ บิ๊กอู๊ด อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศและอดีตผู้บัญชาการทหารสูง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวรนาถ อภิจารี · ดูเพิ่มเติม »

วศิน อินทสระ

วศิน อินทสระ (17 กันยายน พ.ศ. 2477 —) เป็นนักเขียนนวนิยายอิงธรรมะ คอลัมนิสต์และนักปาฐกถาธรรมที่มีชื่อเสียงที่สุดคนหนึ่งในวงการพระพุทธศาสนา เป็นศิษย์อาจารย์ สุชีพ ปุญญานุภาพ อีกคนที่โด่งดังมาจากการเขียนนวนิยายอิงธรรมะ นวนิยายอิงธรรมะของท่านหลายเล่มได้รับการจัดทำเป็นภาพยนตร์วิดีโอเพื่อจัดจำหน่าย อาทิ พ่อผมเป็นมห.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวศิน อินทสระ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอล

วอลเลย์บอล วอลเลย์บอล (volleyball) เป็นกีฬาที่แข่งขันกันระหว่าง 2 ทีม ทีมละ 6 คน รวมตัวรับอิสระ 1 คน โดยแบ่งแดนจากกันด้วยตาข่ายสูง แข่งทำคะแนนจากลูกบอลที่ตกในเขตแดนของฝ่ายตรงข้าม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวอลเลย์บอล · ดูเพิ่มเติม »

วัดจุฑาทิศธรรมสภารามวรวิหาร

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวัดจุฑาทิศธรรมสภารามวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดคูหาสุวรรณ

วัดคูหาสุวรรณ มีประวัติความเป็นมาตั้งแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ตั้งอยู่ริมแม่น้ำยมด้านทิศตะวันตก ตรงข้ามกับวัดราชธานี เป็นวัดที่หลวงพ่อห้อม อมโร (พระราชพฤฒาจารย์) เคยดำรงตำแหน่งอดีตเจ้าอาวาส และอดีตเจ้าคณะจังหวัดสุโขทัยหลวงพ่อห้อม อมโร เป็นศิษย์ของหลวงพ่อสมฤทธิ์ เทโว แห่งวัดฤทธิ์ศิริราษฎร์เจริญธรรม ที่เป็นศิษย์สายตรงของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) อีกชั้นหนึ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวัดคูหาสุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าวิเวกธรรม

วัดป่าวิเวกธรรม หรือ วัดเหล่างา เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยคณะพระกรรมฐานลูกศิษย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต นำโดย หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาสายวิปัสสนากรรมฐาน และตั้งสำนักสงฆ์อบรมปฎิบัติกรรมฐานขึ้น ซึ่งกลายเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาฝ่ายอรัญวาสีของภาคอีสานตอนกลางในขณะนั้น ต่อมาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวัดป่าวิเวกธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วังวีล็องดรี

ปราสาทวีล็องดรี (Château de Villandry) เป็นปราสาทแห่งหนึ่งในหมู่ปราสาทแห่งลุ่มแม่น้ำลัวร์ สร้างในแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา ตั้งอยู่ห่างจากเมืองตูร์ประมาณ 15 กิโลเมตร ที่เมืองวีล็องดรี จังหวัดแอ็งเดรลัวร์ แคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส ตัวปราสาทได้ผ่านการบูรณะครั้งใหญ่โดยโคอาคิน การ์บาโย (Joachim Carvallo) โดยมีเอกลักษณ์สำคัญที่รู้จักกันดีคือ สวนตกแต่งจำนวนหกแบบ ประกอบด้วยสวนพืชผักสวนครัว (potager) ซึ่งมองเห็นได้ชัดจากหอกลาง (บนพื้นที่ 1 เฮกตาร์), สวนไม้พุ่มประดับเรขาคณิตรูปทรงต่าง ๆ, สวนน้ำพุแบบคลาสสิก, สวนพระอาทิตย์ (jardin du soleil) สร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวังวีล็องดรี · ดูเพิ่มเติม »

วังเบลนิม

วังเบลนิม (Blenheim Palace) หรือ คฤหาสน์เบลนิม เป็นคฤหาสน์ที่สร้างอย่างวังตั้งอยู่ที่เมืองเล็กๆ ชื่อวู้ดสต็อคในมลฑลอ๊อกซฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ สร้างโดยซาราห์ เชอร์ชิลผู้เป็นภรรยาของจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระ และเป็นพระสหายสนิทของสมเด็จพระราชินีนาถแอนน์ ระหว่างปี ค.ศ. 1705 ถึง ค.ศ. 1722 วังเบลนิมเป็นสถาปัตยกรรมแบบวัง โดยมี เซอร์จอห์น แวนบรูห์เป็นสถาปนิก วังเบลนิมเป็นคฤหาสน์ที่มิได้เป็นของราชวงศ์ แต่ก็ใช้คำนำหน้าว่า “วัง” ซึ่งเป็นแห่งเดียวในอังกฤษเพราะความยิ่งใหญ่ของสิ่งก่อสร้าง จุดประสงค์ของการก่อสร้างเมื่อเริ่มแรกเพื่อเป็นของขวัญสำหรับจอห์น เชอร์ชิล ดยุกแห่งมาร์ลบะระเพื่อเป็นการตอบแทนในการนำกองทัพอังกฤษรบชนะฝรั่งเศสและบาวาเรีย แต่ต่อมาเบลนิมกลายเป็นปัญหาในการต่อสู้ทางการเมือง ซึ่งเป็นผลทำให้ดยุกและดัชเชสแห่งมาร์ลบะระสิ้นอำนาจ รวมทั้งการเสียชื่อเสียงของสถาปนิกจอห์น แวนบรูห์ ตัววังสร้างเป็นแบบบาโรก ปฏิกิริยาหรือคุณค่าของสิ่งก่อสร้างจนบัดนี้ก็ยังไม่เป็นที่เห็นพ้องกันได้ เช่นเดียวกับในสมัยเมื่อเริ่มสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1720 ตัวสิ่งก่อสร้างเป็นลักษณะที่ผสมระหว่างที่อยู่อาศัย, ที่เก็บศพ และ อนุสาวรีย์ นอกจากนั้นสิ่งที่น่าสนใจคือเป็นที่เกิดของวินสตัน เชอร์ชิลอดีตนายกรัฐมนตรีคนสำคัญของอังกฤษ คำจารึกเหนือประตูใหญ่ทางตะวันออกบอกประวัติของสิ่งก่อสร้าง: แต่ตามความเป็นจริงแล้วความสำเร็จของการสร้างเบลนิมเป็นผลจากความทะเยอทะยานของซาราห์ เชอร์ชิลเป็นส่วนใหญ่ หลังจากสร้างเสร็จเบลนิมก็กลายเป็นที่พำนักของตระกูลเชอร์ชิลมาจนถึงปัจจุบัน เป็นเวลาได้ราว 300 ปี ในระหว่างนั้นตัววังและอุทยานก็ได้รับการเปลื่ยนแปลงมาโดยตลอด เมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตระกูลมาร์ลบะระก็ประสบปัญหาทางการเงินจนต้องขายทรัพย์สมบัติสำคัญๆ ไปบ้าง แต่การแต่งงานกับสตรีชาวอเมริกันก็ช่วยนำเงินมาบำรุงรักษาเบลนิมให้ยังอยู่ในสภาพดังเช่นเมื่อเริ่มสร้าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวังเบลนิม · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน

้าหญิงวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก (Princess Victoria Eugenie of Battenberg; พระนามเต็ม วิกตอเรีย ยูจีนี จูเลีย เอนา; 24 ตุลาคม พ.ศ. 2430 - 15 เมษายน พ.ศ. 2512) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในพระเจ้าอัลฟอนโซที่ 13 แห่งสเปน และพระราชนัดดาพระองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย นอกจากนี้สมเด็จพระราชาธิบดีควน การ์โลสที่ 1 แห่งสเปน ยังเป็นพระราชนัดดาของพระองค์อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวิกตอเรีย ยูจีนีแห่งบัทเทนแบร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสเปน · ดูเพิ่มเติม »

วิมล วงศ์วานิช

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก วิมล วงศ์วานิช (1 มีนาคม 2477 -) เป็นผู้บัญชาการทหารบกลำดับที่ 28 ระหว่าง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535 - 30 กันยายน 2538 เป็นบุตร นายศิริ และ นางเอื้อน วงศ์วานิช ภริยาชื่อ พันตรีหญิง คุณหญิง มาลี วงศ์วาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวิมล วงศ์วานิช · ดูเพิ่มเติม »

วิจิตร ศรีสอ้าน

ตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน (22 ธันวาคม พ.ศ. 2477 —) เกิดที่ตำบลสนามจันทร์ อำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตปลัดทบวงมหาวิทยาลัย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อดีตรองประธานสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ และอดีตนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ปัจจุบันศาสตราจารย์พิเศษ วิจิตร ศรีสอ้าน หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน ดำรงตำแหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี นายกสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และที่ปรึกษาสำนักงานรับรองมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา (สมศ.).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวิจิตร ศรีสอ้าน · ดูเพิ่มเติม »

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต (Герой Советского Союза, Geroy Sovietskogo Soyuza) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ที่สูงที่สุดในสหภาพโซเวียตบุคคลที่ได้รับรางวัลนี่เป็นกลุ่มสำหรับคสามกล้าหาญในการบริการให้กับรัฐโซเวียตและสังคม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวีรชนแห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลาเข็ม

วงศ์ปลาเข็ม (Wrestling halfbeak, Halfbeak) เป็นวงศ์ของปลาจำพวกหนึ่ง ที่พบได้ทั้งในทะเล, น้ำกร่อย และน้ำจืด ใช้ชื่อวงศ์ว่า Hemiramphidae เดิมเคยถูกจัดให้เป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ปลานกกระจอก (Exocoetidae) ซึ่งเป็นปลาทะเล มีลักษณะสำคัญทางอนุกรมวิธาน คือ ลำตัวเรียวยาว ท่อนหัวค่อนข้างกลม ท่อนหางแบนข้าง ปากล่างยื่นยาวเป็นจะงอยแหลมคล้ายปากนก ปากบนสั้นเป็นรูปสามเหลี่ยม มีฟันรูปสามเหลี่ยมอยู่ที่ปากบนและมีฟันที่ปากล่างมีเฉพาะบริเวณที่อยู่ใต้ปากบน แต่ในบางชนิดมีฟันที่ปากล่างเรียงเป็นแถวตลอดทั้งปาก ส่วนโคนของปากล่างเชื่อมติดต่อกันกับกะโหลกหัวจึงเคลื่อนไหวไม่ได้ ปากบนเท่านั้น มีเกล็ดแบบสาก ครีบทั้งหมดบางใส ครีบหลังและครีบก้นอยู่ใกล้ครีบหาง ตำแหน่งของครีบหางและขนาดของครีบก้นเป็นลักษณะสำคัญในการจำแนกสกุล ครีบท้องมีขนาดเล็กมาก ครีบอกค่อนข้างใหญ่อยู่ใกล้แนวสันหลัง ครีบหางของสกุลที่อาศัยอยู่ในทะเลมักมีลักษณะเว้าลึก ปลายแยกออกจากกันเป็นแฉก แฉกบนเล็กกว่าแฉกล่าง ส่วนสกุลที่อาศัยอยู่ในน้ำจืดมักมีครีบหางที่มนกลม เป็นปลาที่มีทั้งออกลูกเป็นไข่และออกลูกเป็นตัว โดยพวกที่ออกลูกเป็นตัว มักจะเป็นปลาที่อาศัยอยู่ในน้ำจืด และที่ออกลูกเป็นไข่มักเป็นปลาทีอาศัยอยู่ในทะเล เป็นปลากินเนื้อ มักว่ายหากินเป็นฝูงบริเวณผิวน้ำ กินอาหารจำพวก แมลงและลูกปลาหรือสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ เป็นอาหาร พบกระจายพันธุ์ในแหล่งน้ำของเขตร้อนทั่วโลก สำหรับในประเทศไทย เป็นปลาที่สามารถพบเห็นได้ง่ายในแหล่งน้ำทั่วทุกภาคและแทบทุกประเภทของแหล่งน้ำ มีชื่อเรียกต่าง ๆ กันออกไป เช่น "ตับเต่า", "ปลาเข็ม" หรือ "สบโทง" มีความสำคัญในแง่ของการใช้บริโภคกันในท้องถิ่น และในบางชนิดก็นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงามและใช้ต่อสู้เป็นการพนันเช่นเดียวกับปลากัดด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวงศ์ปลาเข็ม · ดูเพิ่มเติม »

วงดุริยางค์สากล กรมศิลปากร

วงดุริยางค์สากล กรมศิลปากร (Thai National Symphony Orchestra - TNSO) เป็นวงออร์เคสตรา วงแรกของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2454 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการจัดวงดุริยางค์ ประเภทออร์เคสตรา ขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย สังกัดกรมมหรสพ กระทรวงวัง มีชื่อเรียกในสมัยนั้นว่า วงเครื่องสายฝรั่งหลวง โดยมีครูชาวอิตาลีเป็นครูผู้ฝึกสอนนักดนตรี ซึ่งเป็นนักดนตรีไทย สังกัดวงปี่พาทย์หลวง ต่อมาใน พ.ศ. 2457 ครูผู้ฝึกสอน จำเป็นต้องเดินทางกลับอิตาลี ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ทางวงขาดผู้ฝึกสอน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้าฯ ให้ ขุนเจนรถรัฐ ซึ่งชำนาญด้านดนตรีสากล โอนย้ายจากกรมรถไฟหลวง เข้ามารับราชการวงเครื่องสายฝรั่งหลวง ในตำแหน่งผู้ช่วยปลัดกรม มีหน้าที่ฝึกสอนและปรับปรุงวงดนตรี เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2460 วงเครื่องสายฝรั่งหลวง จัดแสดงเป็นประจำให้ประชาชนทั่วไปรับชมอยู่ที่ร้าน กาแฟนรสิงห์ สนามเสือป่า ศาลาสหทัย และโรงมหรสพสวนมิสกวัน ได้บรรเลงในงานสำคัญต่างๆ เช่น งานฤดูหนาว, งานกาชาด และงานของสถานเอกอัครราชทูตต่างๆ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ขุนเจนรถรัฐ เป็น หลวงเจนดุริยางค์ และพระเจนดุริยางค์ ในเวลาต่อมา นับเป็นวาทยกรคนไทยคนแรก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้มีการเปิดบรรเลงแบบ ซิมโฟนี คอนเสิร์ต สำหรับประชาชนทั่วไปขึ้นเป็นครั้งแรก จนได้รับการยกย่องให้เป็นวงดนตรีที่ดีที่สุดในเอเชียตะวันออก ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง กรมปี่พาทย์หลวงและโขนหลวง และวงเครื่องสายฝรั่งหลวง ถูกโอนย้ายจากกระทรวงวังมาขึ้นกับกรมศิลปากร และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น วงดุริยางค์สากล กรมศิลปากร ตั้งแต่ พ.ศ. 2477 จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน วงดุริยางค์สากล กรมศิลปากร ยังจัดแสดงอย่างสม่ำเสมอ ผู้อำนวยวงคนปัจจุบัน คือ วานิช โปตะวนิช และสถาพร นิยมทอง หมวดหมู่:วงออร์เคสตรา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และวงดุริยางค์สากล กรมศิลปากร · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และศิลป์ พีระศรี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี สกุลชินวัตร เป็นสกุลที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองและธุรกิจมากมายในปัจจุบัน โดยมีเส็ง แซ่คูเป็นต้นตระกูล ซึ่งอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน มายังจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย ต่อมาได้ย้ายไปตั้งรกรากที่จังหวัดเชียงใหม่ ในพ.ศ. 2454 เชียง แซ่คู บุตรชายคนโตของครอบครัวได้เริ่มต้นธุรกิจทอผ้าไหมในจังหวัดเชียงใหม่ จนในปัจจุบันเป็นกิจการผ้าไหมที่มีมายาวนานที่สุดของประเทศไทย สกุลชินวัตรเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นเมื่อทักษิณ ชินวัตร สมาชิกรุ่นที่ 3 ได้ดำเนินธุรกิจต่างๆ อาทิเช่น เครือค่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เอไอเอส จนประสบความสำเร็จ และได้เข้าสู่การเมืองในเวลาต่อมา พร้อมทั้งมีสมาชิกคนอื่นๆ ตามมา ซึ่งทำให้สกุลชินวัตรเป็นที่รู้จักมากในด้านของการเมืองในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสกุลชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย ไชยเวช

ลตำรวจเอก สมชาย ไชยเวช (23 มกราคม พ.ศ. 2477 —) อดีตรองอธิบดีกรมตำรวจ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดขอนแก่น และ อดีตคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมชาย ไชยเวช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต)

มเด็จพระพุทธชินวงศ์ นามเดิม สุวรรณ เขื่อนเพ็ชร ฉายา สุวณฺณโชโต อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตเจ้าคณะใหญ่หนเหนือ อดีตเจ้าอาวาสวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีโบดวงที่ 1 แห่งเบลเยียม (Boudewijn Albert Karel Leopold Axel Marie Gustaaf van België ˈbʌu̯dəˌʋɛi̯n ˈɑlbərt ˈkaːrəl ˈleˑjoˑˌpɔlt ˈɑksəl maˑˈri ɣʏsˈtaˑf vɑn ˈbɛlɣijə, Baudouin Albert Charles Léopold Axel Marie Gustave de Belgique bodwɛ̃ albɛʁ ʃaʁl leopɔld aksɛl maʁi ɡystav də bɛlʒik; 7 กันยายน 1930 – 31 กรกฎาคม 1993) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเบลเยียม หลังจากการสละราชสมบัติของพระราชบิดาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีมาเรียแห่งยูโกสลาเวีย

มเด็จพระราชินีมาเรียแห่งยูโกสลาเวีย (6 มกราคม พ.ศ. 2443 - 22 มิถุนายน พ.ศ. 2504) (ภาษาอังกฤษ: Maria of Romania ภาษาเซอร์เบีย: Marija Karađorđević) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระราชินีมาเรียแห่งยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอะลียะฮ์แห่งอิรัก

มเด็จพระราชินีอะลียะฮ์แห่งอิรัก หรือ เจ้าหญิงอะลียะฮ์ บินต์ อะลีแห่งเฮแจซ (พ.ศ. 2454 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2493) ทรงเป็นเจ้าหญิงอาหรับ และทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งอิรัก โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าฆอซีแห่งอิรัก และทรงเป็นสมเด็จพระราชชนนีแห่งอิรักในรัชสมัยของพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก พระนางทรงเป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์สุดท้ายแห่งอิรัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระราชินีอะลียะฮ์แห่งอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม

้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน (Princess Astrid of Sweden พระนามเต็ม อัสตริด โซเฟีย โลวิซา ธือรา; 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 29 สิงหาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาในฝ่ายพระชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระราชชนนีของกษัตริย์แห่งเบลเยียมสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย เจ้าหญิงประสูติในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์เล็กในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ กับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีทรงอภิเษกกับสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ส่วนเจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งในฝ่ายพระชนนี ขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูก

มเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูก อัยรุมลู (เปอร์เซีย:تاج‌الملوک, พระราชสมภพ 17 มีนาคม ค.ศ. 1896 ณ บากู จักรวรรดิรัสเซีย - สวรรคต 10 มีนาคม ค.ศ. 1982 ณ อะคาปุลโก ประเทศเม็กซิโก) พระองค์เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวี และครองราชย์ในช่วงปี ค.ศ. 1925-1941.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระราชินีตาจญ์ อัล-โมลูก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

มเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ. 2488 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี

ันเอกหญิง สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี (20 ธันวาคม พ.ศ. 2447 — 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527) เป็นพระอัครมเหสีเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระมเหสีพระองค์แรกตามแบบยุโรปและระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย หลังจากพระราชสวามีสละราชสมบัติเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์

ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน

มเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน (พระนามเต็ม ออสการ์ เฟรดดริค วิลเฮล์ม โอลาฟ กุสตาฟ อดอล์ฟ) (ประสูติ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2425 - 15 กันยายน พ.ศ. 2516) เป็นพระมหากษัตริย์สวีเดนตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระเจ้ากุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี

ลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) เป็นพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวกับพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ประสูติ ณ พระที่นั่งเทพสถานพิลาส ในหมู่พระมหามณเฑียร พระบรมมหาราชวัง ก่อนที่สมเด็จพระบรมชนกนาถจะเสด็จสวรรคตในวันต่อมา พระนาม เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี นั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ในพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่ โดยมีคำนำหน้าพระนามเป็นสมเด็จพระเจ้าภาติกาเธอ (ลูกสาวของพี่ชาย) ในรัชกาลที่ 7 และเป็นพระภคินี (ลูกพี่ลูกน้อง) ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และโดยพระชนมายุพระองค์จึงเคยเป็นพระกุลเชษฐ์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ หลังจากเสด็จนิวัตประเทศไทยเป็นการถาวร พระองค์ทรงปฏิบัติพระกรณียกิจเพื่อแบ่งเบาพระราชภาระในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชอยู่เป็นนิจ จนกระทั่งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอและสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในรัชกาลที่ 9 ทรงเจริญพระวัยและทรงสามารถแบ่งเบาพระราชกรณียกิจได้ กอปรกับพระองค์มีพระชนมายุสูงขึ้นจึงเสด็จออกทรงเยี่ยมราษฎรในถิ่นทุรกันดารน้อยลง นอกจากนี้ พระองค์ทรงรับสถาบันและองค์กรต่างๆ ทั้งในส่วนที่สืบสานจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และโดยส่วนพระองค์เองไว้ในพระอุปถัมภ์มากกว่า 30 แห่ง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สิ้นพระชนม์ด้วยพระอาการติดเชื้อในกระแสพระโลหิต เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16.37 นาฬิกา ณ ตึก 84 ปี โรงพยาบาลศิริราช สิริพระชนมายุ 85 พรรษา 8 เดือน 3 วัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 (8 เมษายน ค.ศ. 1875 - 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1934) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียมตั้งแต่ปีค.ศ. 1909 ถึงค.ศ. 1934 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ของประเทศเบลเยียมเนื่องจากอยู่ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 (ค.ศ. 1914 - 1918) เมื่อประเทศเบลเยียมเกือบทั้งหมดถูกบุกรุก ยึดครอง และปกครองโดยจักรวรรดิเยอรมัน นอกจากนั้นยังมีอีกเหตุการณ์สำคัญอื่นๆ คือ การร่วมลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซาย, การปกครองเบลเยียมคองโกเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเบลเยียม การปฏิรูปประเทศภายหลังสงคราม และภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ (ค.ศ. 1929 - 1934) สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 เสด็จสวรรคตเนื่องจากทรงประสบอุบัติเหตุจากการปีนเขาในภาคตะวันออกของเบลเยียมในปีค.ศ. 1934 มีพระชนมายุ 58 พรรษา ราชสมบัติจึงตกเป็นของพระโอรสพระองค์ใหญ่ คือ เจ้าชายเลโอโปล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย

มเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย-โครเอเชีย: Aleksandar I Karađorđević) (16 ธันวาคม พ.ศ. 2431 - 9 ตุลาคม พ.ศ. 2477) ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกแห่งราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (ยูโกสลาเวีย) และทรงเป็นกษัตริย์พระองค์สุดท้ายของราชอาณาจักรเซิร์บ,โครแอทและสโลวีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย

มเด็จพระราชาธิบดีปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย หรือทรงเป็นที่รู้จักในพระนาม พระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 คาราจอร์เจวิช (ภาษาเซอร์เบีย, ภาษาโครแอต, ภาษาบอสเนีย, ภาษาเซอร์เบีย-โครเอเชีย: Petar II Karađorđević อักษรซีริลลิก: Петар II Карађорђевић) (6 กันยายน พ.ศ. 2466 - 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่สามและองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย ก่อนหน้านี้เรียกว่าราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีนในช่วงก่อน พ.ศ. 2472 พระองค์เป็นพระโอรสพระองค์โตใน สมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย กับ เจ้าหญิงมาเรียแห่งโรมาเนีย พระบิดามารดาอุปถัมภ์ของพระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร กับ สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ โบวส์-ลีออนแห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2 แห่งยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม

มเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม (3 พฤศจิกายน 1901 - 25 กันยายน 1983) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งชาวเบลเยียม ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สวัสดิ์ วัฒนายากร

นายสวัสดิ์ วัฒนายากร (8 ตุลาคม พ.ศ. 2477 — 13 มีนาคม พ.ศ. 2555) เป็นอดีตองคมนตรี อดีตตุลาการศาลปกครองสูงสุด และอธิบดีกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสวัสดิ์ วัฒนายากร · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง

นิโต มุสโสลินีกับอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ สองผู้นำเผด็จการในทวีปยุโรปก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง สาเหตุเบื้องต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง คือ ความตึงเครียดเกี่ยวกับชาตินิยม ประเด็นปัญหาที่ไม่ได้รับการแก้ไข และความไม่พอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสมัยระหว่างสงครามในทวีปยุโรป รวมทั้งผลกระทบของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930 เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้ลงเอยด้วยการปะทุของสงคราม ซึ่งมักเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบุกครองโปแลนด์ โดยนาซีเยอรมนี ความก้าวร้าวทางทหารนี้เป็นผลมาจากการตัดสินใจของผู้นำของเยอรมนีและญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่สองเริ่มต้นขึ้นจากการปฏิบัติอันก้าวร้าวและบรรจบกับการประกาศสงคราม และ/หรือ การต่อต้านด้วยกำลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสาเหตุของสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.) เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นองค์กรเลขานุการและการบริหารงานของ "คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน" ซึ่งมีหน้าที่ในการกำกับดูแลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือน ภายใต้ "พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง

ำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง เป็นหน่วยงานจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย ภายใต้การดูแลของมหาเถรสมาคม (คู่กับสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง) ซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย หน้าที่หลักคือกำหนดเปลี่ยนแปลงการใช้คัมภีร์เรียนในหลักสูตรเปรียญธรรม 1-9 ให้เหมาะสมกับชั้นเรียนของแต่ละประโยค รวมทั้งการจัดสอบประเมินผลการศึกษาบาลีระดับชาติ โดยมีสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติเป็นผู้รับสนองงาน ภายใต้การกำกับดูแลของมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สุวิช จันทประดิษฐ์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุวิช จันทประดิษฐ์ อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม ดำรงตำแหน่งตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสุวิช จันทประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุเทพ วงศ์กำแหง

รืออากาศตรีสุเทพ วงศ์กำแหง เกิดเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดนครราชสีมา ท่านได้รับการศึกษาตั้งแต่เบื้องต้นจนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 ที่จังหวัดบ้านเกิด ความมีแววของการเป็นนักร้องเริ่มมีขึ้นตั้งแต่สมัยที่เป็นนักเรียน โดยมักจะได้รับมอบหมายให้เป็นต้นเสียงร้องเพลงชาติที่โรงเรียนเสมอ ๆ ครั้นเรียนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 แล้ว คุณสุเทพก็ได้ย้ายเข้ามาอาศัยอยู่กับญาติที่กรุงเทพมหานคร และด้วยนิสัยรักการวาดเขียนและงานศิลปะเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ท่านจึงได้สมัครเข้าเรียนต่อที่โรงเรียนเพาะช่าง ซึ่งระหว่างที่เรียนอยู่นั้นนอกจากท่านจะแสดงฝีมืออย่างโดดเด่นในทางศิลปะแล้ว ท่านยังเป็นนักร้องเสียงดีประจำห้องเรียนอีกด้วย ในยามว่างท่านมักจะฝึกซ้อมร้องเพลงเสมอตามแบบอย่างของนักร้องที่ท่านชื่นชอบ เช่น วินัย จุลละบุษปะ สถาพร มุกดาประกร ปรีชา บุณยเกียรติ ฯลฯ คุณสุเทพได้มีโอกาสรู้จักและคุ้นเคยกับครูไศล ไกรเลิศ นักแต่งเพลงผู้มีชื่อเสียงเนื่องจากบ้านอยู่ใกล้กัน เมื่อครูไศลมองเห็นแววความสามารถของคุณสุเทพก็คิดจะช่วยสนับสนุนส่งเสริมจึงชักชวนให้มาช่วยงาน เช่น ช่วยเขียนโน้ตเพลง เขียนตัวหนังสือ ตลอดจนติดตามไปช่วยงานในธุรกิจบันเทิงต่าง ๆ เสมอ ทำให้คุณสุเทพเริ่มคุ้นเคยกับบุคคลในวงการเพลงมากหน้าหลายตา ทั้งยังได้รับโอกาสให้ร้องเพลงสลับฉากละคร ร้องเพลงตามงานบันเทิงต่าง ๆ รวมไปถึงการทดลองเสียงแทนนักร้องตัวจริงก่อนที่จะทำการอัดเสียงเสมอ จากการที่ร้องเพลงได้อย่างดีเด่น ทำให้คุณสุเทพได้ร้องเพลงบ่อยขึ้นเรื่อย ๆ จนได้รับคัดเลือกให้ร้องเพลงบันทึกแผ่นเสียงของตนเองบ้าง ต่อมาท่านได้รับการสนับสนุนจาก พลอากาศเอก ทวี จุลละทรัพย์ ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ชื่นชอบการร้องเพลงของท่านโดยช่วยส่งเสริมท่านในทางต่าง ๆ ครั้นคุณสุเทพมีอายุครบกำหนดกฎเกณฑ์ทหาร พลอากาศเอกทวีจึงได้ชักชวนให้ท่านเข้ารับราชการในกองทัพอากาศ โดยได้ประจำอยู่ที่วงดุริยางค์ทหารอากาศ ซึ่งมี ครู ปรีชา เมตไตรย์ เป็นผู้ควบคุมวง ระหว่างนั้น คุณสุเทพได้บันทึกแผ่นเสียงมากขึ้นอีก และสถานีวิทยุต่าง ๆ ก็ได้นำเพลงที่ท่านร้องบันทึกแผ่นเสียงนี้ไปเปิดจนเป็นที่รู้จักแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ภายหลังจากออกจากกองทัพอากาศแล้ว คุณสุเทพก็ได้ร้องเพลงเป็นอาชีพหลักอย่างเต็มตัว ท่านได้เข้าร่วมกับคณะชื่นชุมนุมศิลปิน และได้มีโอกาสร้องเพลงทั้งในรายการวิทยุและโทรทัศน์อยู่เนือง ๆ ทำให้ชื่อเสียงของท่านเริ่มเพิ่มขึ้น งานต่าง ๆ จึงหลั่งไหลเข้ามาไม่ขาดสาย และยิ่งในช่วงนั้น วงการภาพยนตร์ไทยกำลังเฟื่องฟู ท่านจึงได้งานร้องเพลงประกอบภาพยนตร์ไทยเป็นจำนวนมาก รวมทั้งได้ร่วมแสดงภาพยนตร์บางเรื่องด้วย ท่านได้มีโอกาสร้องเพลงคู่กับนักร้องรุ่นพี่ท่านหนึ่งคือ คุณสวลี ผกาพันธุ์ อยู่เสมอ ในเวลานั้น คุณสวลีเป็นนักร้องยอดนิยมแห่งยุคที่มีแฟนเพลงชื่นชอบมากมาย ดังนั้นเมื่อใครซื้อแผ่นเสียงของคุณสวลีไป ก็มักจะมีเสียงคุณสุเทพติดไปด้วย ชื่อเสียงของคุณสุเทพจึงโด่งดังขึ้นเป็นอย่างมาก ดังนั้น คุณสุเทพจึงถือว่าความสำเร็จในเบื้องต้นส่วนหนึ่งของท่านนั้น ได้รับอานิสงส์มาจากการที่ได้ร้องเพลงคู่กับคุณสวลี ผกาพันธุ์ด้วย จุดเด่นของคุณสุเทพก็คือการที่ท่านมีน้ำเสียงที่ดีเป็นเลิศ มีลีลาในการร้องเพลงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวนุ่มนวลชวนฟัง อีกทั้งอารมณ์ที่แสดงออกมาทางน้ำเสียงและสีหน้านั้นก็สามารถสะกดใจผู้ฟังให้คล้อยตามและเข้าถึงอารมณ์ของเพลงนั้นได้อย่างพิเศษ ประกอบกับการที่ท่านเป็นผู้ที่เอาใจใส่อย่างจริงจังในการทำงาน ทำให้ท่านเป็นนักร้องที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงภายในระยะเวลารวดเร็ว จนได้รับฉายาจาก รงค์ วงษ์สวรรค์ว่า "นักร้องเสียงขยี้แพรบนฟองเบียร์" มีผลงานดีเด่นเป็นเวลาต่อเนื่องมานานกว่า 40 ปี ในช่วงก่อนปีพุทธศักราช 2500 คุณสุเทพได้ร่วมเดินทางไปฮ่องกง และสาธารณรัฐประชาชนจีนกับศิลปินแขนงต่าง ๆ กลุ่มใหญ่ จากนั้น ท่านก็ได้เดินทางต่อไปยังประเทศญี่ปุ่นเพื่อศึกษาทางด้านการวาดรูปที่ท่านเคยรักมาก่อนในอดีต ระหว่างนั้นท่านก็ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีจากแฟนเพลงคนไทยที่นั่น ท่านได้เรียนวาดรูปตามความประสงค์และร้องเพลงขับกล่อมคนไทยที่ไปพำนักยังแดนอาทิตย์อุทัยประมาณ 3 ปี จึงได้เดินทางกลับประเทศไทย งานร้องเพลงของ สุเทพ วงศ์กำแหง สามารถแบ่งออก 3 ช่วง ตามช่วงเวลาดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสุเทพ วงศ์กำแหง · ดูเพิ่มเติม »

สี่แผ่นดิน

ี่แผ่นดิน เป็นวรรณกรรมของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช มีเนื้อหาอิงประวัติศาสตร์ไทยในช่วงรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 8 นับเป็นวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเล่มหนึ่งของไทย โดยเขียนเป็นตอน ๆ ลงหนังสือพิมพ์สยามรัฐ รายวันระหว่างปี 2494-2495 ติดต่อกันเป็นเวลาปีเศษ ต่อมาได้รวบรวมพิมพ์เป็นเล่มขึ้นครั้งแรกในปี 2496 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการนิตยสารถนนหนังสือ ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม 2528 เรื่องลักษณะของตัวละครว่า "แม่พลอยเป็นคนที่ไม่มีสิทธิของผู้หญิงเลย ไม่เคยเรียก ไม่เคยร้อง แล้วแม่พลอยนี่เป็นคนที่เชยที่สุด คุณจะว่านางเอกก็นางเอก แต่เป็นคนเชยที่สุด แม่พลอยถ้าแกอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ แกก็ลูกเสือชาวบ้าน แกจะไปรำละครบ้าๆ บอๆ ถึงขนาดนั้น" และ "แม่พลอยเป็นคนเชยมากนะครับ เป็นคนอยู่ในกรอบ ใจดี ถูกจับคลุมถุงชนแต่งงานก็หลงรักคุณเปรมได้ ตามคติโบราณนั้นไม่เป็นไรหรอก แต่งไปก่อนแล้วรักกันเองทีหลัง แม่พลอยเป็นอย่างนั้นทุกอย่าง ที่นี้คนอ่านคนไทย ปลื้มอกปลื้มใจ เห็นแม่พลอยเป็นคนประเสริฐเลิศลอย ก็เพราะคนไทยก็เป็นคนแบบนั้น ยังไม่ได้ไปถึงไหนเลย คนอ่านส่วนมากก็เป็นระดับแม่พลอย (หัวเราะ) โง่ฉิบหายเล..จะบอกให้..สี่แผ่นดินถึงได้ดัง (หัวเราะ)".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสี่แผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมศาสตร์

ปัตยกรรมศาสตร์ เป็นการศึกษาสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานเทคนิควิทยาการทั้งทางวิทยาศาสตร์ ศิลปะ และวัฒนธรรม เข้าด้วยกัน เพื่อตอบสนองความต้องการในการดำรงชีวิตของมนุษย์ ในด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่อาศัย วัฒนธรรม ความเป็นอยู่ของคนในพื้นที่นั้น สนองตอบในเชิงจิตวิทยา ซึ่งผู้ออกแบบต้องเข้าใจความต้องการในการใช้พื้นที่นั้น ๆ อย่างลึกซึ้งอันมีผลกับการออกแบบที่ดี และไม่ดี หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นศิลปวิทยาการ ในการออกแบบอาคารและสิ่งเกี่ยวเนื่อง เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้เหมาะสมในการดำรงชีวิตของมนุษย์ โดยครอบคลุมตั้งแต่ระดับมหัพภาค ถึงจุลภาค เช่น การวางผังชุมชน การออกแบบชุมชน ภูมิสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่จะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องรูปแบบศิลปะ เรื่องของชุมชน เรื่องของพฤติกรรมมนุษย์ และเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้องอีกมากมาย ถือเป็นศาสตร์ที่มีศาสตร์อื่นมาเกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก จนยากที่จะสรุปลงไปได้ว่ามี ศาสตร์สาขาใดมาเกี่ยวข้องบ้าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสถาปัตยกรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง

งครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง หรืออีกชื่อหนึ่งคือ สงครามอิตาลี-เอธิโอเปียครั้งที่สอง เป็นสงครามอาณานิคมซึ่งเกิดขึ้นระหว่างกองทัพราชอาณาจักรอิตาลีกับจักรวรรดิเอธิโอเปีย (หรือในอีกชื่อหนึ่งคือ "อะบิสซิเนีย") โดยเริ่มต้นในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1935 และสิ้นสุดลงในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1936 ผลของสงครามจบลงด้วยความพ่ายแพ้ของเอธิโอเปียและถูกอิตาลีผนวกเข้าเป็นดินแดนอาณานิคมแห่งใหม่ภายใต้ชื่อ "แอฟริกาตะวันออกของอิตาลี" (Italian East Africa, Africa Orientale Italiana) ในทางการเมือง สงครามครั้งนี้เป็นเครื่องหมายจดจำที่โดดเด่นที่สุดถึงความอ่อนแออันเป็นปกติวิสัยขององค์การสันนิบาตชาติ วิกฤตการณ์อะบิสซิเนียในปี ค.ศ. 1934 มักถูกมองว่าเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนถึงความไร้ประสิทธิภาพของสันนิบาตชาติ เช่นเดียวการที่จักรวรรดิญี่ปุ่นยึดครอง 3 มณฑลของจีนในกรณีมุกเดนเมื่อปี ค.ศ. 1931 ทั้งอิตาลีและเอธิโอเปียล้วนเป็นชาติสมาชิกของสันนิบาต แต่สันนิบาตชาติก็ไม่สามารถปกป้องเอธิโอเปียให้พ้นจากการคุกคามของอิตาลีได้เมื่อการณ์ปรากฏชัดเจนว่าอิตาลีได้ละเมิดต่อบทบัญญัติของสันนิบาตชาติมาตรา 10 อนึ่ง สงครามครั้งนี้ยังถูกจดจำด้วยการใช้ก๊าซพิษทำสงครามอย่างผิดกฎหมายอย่างก๊าซมัสตาร์ด (mustard gas) และสารฟอสจีน (Phosgene) โดยฝ่ายกองทัพอิตาลี ผลลัพธ์ในเชิงบวกของสงครามต่อฝ่ายอิตาลีได้เกิดขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียงกับความนิยมระดับสูงสุดต่อลัทธิฟาสซิสต์ของมุสโสลินีในเวทีนานาชาติ ผู้นำในหลายประเทศได้ยกย่องความสำเร้จที่เกิดขึ้นในครั้งนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลยูเวนตุส

มสรฟุตบอลยูเวนตุส (Juventus Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลที่ใหญ่ที่สุดในเมืองตูริน(โตริโน)เป็นสโมสรเก่าแก่สโมสรหนึ่งของประเทศอิตาลี โดยก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1897 (พ.ศ. 2440) ประสบความสำเร็จมากมาย อีกทั้งยังเป็นสโมสรแรกที่ได้แชมป์ยุโรปทั้งสามรายการ คือ ยูโรเปียนคัพ (ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก), ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ และยูฟ่าคัพ ยูเวนตุส เป็นสโมรสรที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดใน เซเรียอา ได้แชมส์ถึง 34 สมัย แชมส์ โคปป้า อิตาเลีย 10สมัย แชมส์ซูเปอร์โคปป้า อิตาเลียน่า อีก 7 สมัย ยูโรเปี้ยน คัพ 2 ครั้ง และ ยูฟ่าคัพ 3 ครั้ง สำหรับยูเวนตุส เดิมแฟนฟุตบอลชาวไทยจะอ่านออกเสียงว่า "จูเวนตัส" จะเรียกฉายาในภาษาไทยว่า "ม้าลาย" หรือ เรียกสั้นๆว่า "ยูเว่" ส่วนฉายาในภาษาอิตาลี คือ "La Vecchia Signora" ซึ่งแปลได้ว่า "หญิงชรา" (อันเป็นฉายาเดียวกับแฮร์ธาเบอร์ลิน ในบุนเดสลีกา เยอรมนี) เนื่องจากในช่วงทศวรรษที่ 30 เป็นช่วงที่ยูเวนตุสประสบความสำเร็จมาก โดยได้แชมป์เซเรียอาติดต่อกันถึง 6สมัย ขณะที่ผู้เล่นคนสำคัญส่วนใหญ่อายุเลย 30 ปีแล้วทั้งนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสโมสรฟุตบอลยูเวนตุส · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล

มสรฟุตบอลอาร์เซนอล (Arsenal Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลที่เล่นในพรีเมียร์ลีก จากย่านฮอลโลเวย์ ในกรุงลอนดอน เป็นสโมสรฟุตบอลที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดแห่งหนึ่งในฟุตบอลอังกฤษ ครองแชมป์ลีกสูงสุดของอังกฤษ 13 ครั้งและเอฟเอคัพ 13 ครั้ง อีกทั้งยังเป็นเจ้าของสถิติผู้เข้าชิงชนะเลิศในเอฟเอคัพมากที่สุด คือ 20 ครั้ง และยังเป็นแชมป์เอฟเอคัพมากที่สุด อาร์เซนอลถือสถิติร่วม โดยอยู่ในลีกสูงสุดของอังกฤษยาวนานที่สุดโดยไม่ตกชั้น และติดอยู่อันดับ 1 ของผลรวมอันดับในลีก ของทั้งศตวรรษที่ 20 และเป็นทีมที่ 2 ที่จบการแข่งขันฤดูกาลในลีกสูงสุดของอังกฤษโดยไม่แพ้ทีมไหน (ในฤดูกาล 2003–04) เป็นทีมเดียวที่ไม่แพ้ใครทั้ง 38 นัด อาร์เซนอลก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอล · ดูเพิ่มเติม »

ส้วมในประเทศไทย

้วมชักโครกของส้วมสาธารณะ ในประเทศไทย ส้วมในประเทศไทย มีมาแต่โบราณ โดยในสมัยก่อน ผู้ที่ใช้ส้วมแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มของกษัตริย์ เจ้านาย ขุนนางและผู้มีฐานะดี กลุ่มของพระที่อยู่ภายใต้พระธรรมวินัย กลุ่มของชาวบ้านที่เป็นคนส่วนใหญ่ในสังคม โดยกลุ่มชาวบ้านมักจะไปถ่ายทุกข์ตามที่เหมาะ ๆ เนื่องจากยังไม่มีส้วมใช้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2440 รัฐได้ออก มีผลบังคับให้คนไทยต้องขับถ่ายในส้วม กระทั่งช่วงปี พ.ศ. 2460-2471 ประเทศไทยได้รับความช่วยเหลือทางการแพทย์และสาธารณสุขจากมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลเอกชนของสหรัฐอเมริกา โดยส่งเสริมให้มีการสร้างส้วมในจังหวัดต่าง ๆ และยังเกิดการประดิษฐ์คิดค้นส้วมรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับท้องถิ่นของไทย เช่น "ส้วมหลุมบุญสะอาด" ที่มีกลไกป้องกันปัญหาการลืมปิดฝาหลุมถ่ายและส้วมคอห่านที่ใช้ร่วมกับระบบบ่อเกรอะบ่อซึม ต่อมาเริ่มมีผู้ใช้ส้วมชักโครกมากขึ้นในช่วงที่มีการก่อสร้างบ้านแบบสมัยใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง กระทั่งต้นพุทธทศวรรษ 2500 โถส้วมชนิดนี้ก็ได้รับความนิยม มีผู้ใช้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนในปัจจุบัน จากอดีตที่ผ่านมาส้วมสาธารณะในประเทศไทยเป็นปัญหาพื้นฐานที่สำคัญทางด้านสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย และทางกรมอนามัยเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดำเนินการในเรื่องนี้ มีการสำรวจและประเมินผลมาตรฐานส้วมสาธารณะ พบว่าส้วมสาธารณะในประเทศไทยผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่มาก ในปี พ.ศ. 2549 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ งานประชุมส้วมโลก 2006 หรือ World Toilet Expo & Forum 2006 ซึ่งถือเป็นจุดสำคัญในการพัฒนาส้วมสาธารณะ และมีโครงการหลายโครงการเกี่ยวกับส้วมสาธารณะอีกหลายโครงการ ประเทศไทยได้ใช้มาตรการหลายอย่าง รวมทั้งมาตรการทางกฎหมายซึ่งมีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับส้วม ปรากฏอยู่ในกฎหมายหลายฉบับที่เริ่มมีการออกพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 ซึ่งถือเป็นกฎหมายฉบับแรกเกี่ยวกับการสุขาภิบาลของคนกรุงเทพฯ และต่อมาได้ออกกฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 รวมถึงกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และส้วมในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมมะนีวัน พานีวง

หม่อมมะนีวัน พานีวง (Mam Manivan Phanivong) หรือ หม่อมมณีวรรณ พรรณีวรมัน พระมเหสีชาวลาวในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ หม่อมมะนีวันประสูติเมื่อ ค.ศ. 1934 ที่กรุงเวียงจันทน์ ประเทศลาว ต่อมาได้อภิเษกสมรสกับพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ เมื่อ ค.ศ. 1949 โดยเป็นพระมเหสีองค์ที่ 6 หม่อมมะนีวันได้ให้ประสูติกาลพระราชธิดา 2 พระองค์ ได้แก่ เจ้าหญิงนโรดม โสเชษฐา สุชะตา (ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1953 สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 1975) และสมเด็จพระอนุชนโรดม อรุณรัศมี (ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1955) พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ พระภัสดา ทรงพระนิพนธ์เพลงจำนวนมากทั้งเพลงสากล และรำวง ด้วยความที่พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ โปรดหม่อมชาวลาวนางนี้มาก จึงได้พระราชนิพนธ์เพลง บุปผาเวียงจันทน์ พระราชทานแด่หม่อมชาวลาวเวียงจันทน์ และถือเป็นเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ที่มีชื่อเสียงมากเพลงหนึ่ง หม่อมมะนีวัน พานีวง เสียชีวิตในเดือนเมษายน ค.ศ. 1975 โดยถูกเขมรแดงสังหาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหม่อมมะนีวัน พานีวง · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงอัศนี ปราโมช

ลเรือเอก หม่อมหลวง อัศนี ปราโมช (ภาษาอังกฤษ: Admiral ML Usni Pramoj; 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 - 2 เมษายน พ.ศ. 2560) อดีตองคมนตรี และผู้จัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ พลเรือเอก หม่อมหลวงอัศนี มีชื่อเล่นว่า "ตุ้ย" เป็นบุตรของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี และท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช ณ อยุธยา สมรสกับท่านผู้หญิงวราพร ปราโมช ณ อยุธยา (สกุลเดิม ชลวิจารณ์) มีบุตรทั้งหมด 5 คน ม.ล.อัศนี ปราโมช มีผลงานทางดนตรีมากมาย เป็นนักไวโอลิน นักวิโอล่า ผู้ประพันธ์เพลง และผู้อำนวยเพลง เป็นผู้บุกเบิกก่อตั้งวงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพ ทำให้ได้รับการยกย่องเป็น ศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีสากล) เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหม่อมหลวงอัศนี ปราโมช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร

หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร ทรงเป็นโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์กับหม่อมสุภาพ ประสูติเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2432 ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัยและโรงเรียนนายร้อยทหารบก หลังจากนั้นเสด็จไปศึกษาต่อที่โรงเรียน Harrow ที่ประเทศอังกฤษ แล้วจึงเสด็จเรียนวิชาสถาปัตยกรรมที่ École des Beaux-Arts ที่ประเทศฝรั่งเศส หลังจากจบการศึกษาจึงเข้ารับราชการที่กรมศิลปากรในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัย

ร้อยตรี หม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัย (6 ตุลาคม พ.ศ. 2477 - 13 มกราคม พ.ศ. 2553) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ประสูติแต่ หม่อมเอื้อม ฉัตรชัย ณ อยุธยา (สกุลเดิม อรุณทัต) และทรงเป็นผู้กำกับภาพยนตร์ และผู้เขียนบทภาพยนตร์ชาวไทย สิ้นชีพิตักษัยที่วัง ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี หลังจากประชวรด้วยโรคพาร์กินสัน เป็นเวลาถึง 15 ปี ซึ่งหม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรไชย เป็นอนุชาต่างมารดา กับ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร ที่สิ้นพระชนม์ก่อนหม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัย เพียง 1 เดือน นับเป็นการสูญเสียเจ้านายชั้นสูงที่นับถือของราชสกุลฉัตรชัย การนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้อรรถนิติ ดิษฐอำนาจ องคมนตรี เป็นผู้แทนพระองค์ประกอบพิธีพระราชทานน้ำหลวงสรงศพ ร้อยตรี หม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัย ทั้งนี้ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานพระโกศบรรจุศพ และรับไว้ในพระราชานุเคราะห์เป็นเวลา 7 วัน ทั้งนี้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระกรุณาโปรดให้ พล.อ.อ.สมชาย เปล่งขำ เป็นผู้แทนพระองค์นำพวงมาลาประดับหน้าศพ พร้อมพวงมาลาของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ และในพิธีพระราชทานเพลิงศพหม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัย ณ เมรุวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร ในการนี้หม่อมเจ้ามงคลเฉลิม ยุคล เสด็จเป็นประธานในพิธี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหม่อมเจ้าทิพยฉัตร ฉัตรชัย · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต

หลวงกลั่น ธมฺมโชติ ท่านเกิดเมื่อปี พ.ศ. 2390 ตรงกับปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาเจษฎาบดินทร์ ฯ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ณ ต.อรัญญิก อ.นครหลวง.พระนครศรีอยุธยา ครอบครัวหนึ่งซึ่งมีฐานะยากจนได้ให้กำเนิดเด็กชายผู้มีบุญมาเกิด นามว่า "กลั่น" ในสมัยเด็ก ท่านต้องช่วยพ่อแม่ทำงานตามลำพัง และเพียงลำพังคนเดียว ทำให้ท่านเป็นคนเข้มแข็งเด็ดเดี่ยว จนกระทั่งเมื่อมีอายุได้ 27 ปี ท่านได้อุปสมบท ณ วัดโลกยสุธาศาลาปูน โดยมี พระญาณไตรโลก (สอาด) ต่อมาเป็นพระธรรมราชานุวัตร (อาจ) เจ้าคณะใหญ่อยุธยา เป็นพระอุปัชฌายะ พระครูกุศลธรรมธาดา วัดขุนยวน (วัดพรหมนิวาส) กับ พระอธิการชื่น วัดพระญาติฯ เป็นคู่สวด ได้ฉายาว่า ธมฺมโชติ แปลว่า เป็นผู้สว่างในทางธรรม หลังจากนั้นท่านได้จำพรรษาอยู่ที่วัดประดู่ทรงธรรม ท่านได้ศึกษาพระธรรมวินัย และ เรียนรู้วิชาอาคม จนแตกฉาน เมื่อฝึกฝนวิชาต่าง ๆ จนเชี่ยวชาญแล้ว จึงได้ออกธุดงค์ไปทั่วป่าเขาลำเนาไพรเผชิญสัตว์ร้ายนานา จากออกธุดงค์ มาถึงวัดพระญาติการามในเวลาค่ำ ท่านพิจารณาว่า วัดนี้เงียบสงบดี เหมาะแก่การบำเพ็ญสมณธรรม สามารถเจริญสมาธิและปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานได้สะดวก ท่านจึงได้ปักกลดพักอยู่ที่บริเวณวัดในคืนนั้น หลวงพ่อกลั่นท่านยังมีวิชาลูกเบา หรือวิชาชาตรี ซึ่งเป็นวิชาอยู่ยงคงกระพันวิชาหนึ่งขอท่าน อำนาจจิตของหลวงพ่อกลั่นนั้นมากมาย เรื่องนี้หลวงพ่ออั้นอุปัฏฐาก หลวงพ่อกลั่นได้เล่าให้ลูกศิษย์ฟังถึงครั้งที่เรียนวิปัสสนากรรมฐานกับหลวงพ่อกลั่นว่า ขณะที่เรียนกรรมฐานนั้นหลวงพ่อกลั่นได้ให้หลวงพ่ออั้นไปนั่งปฏิบัติในโบสถ์ หลวงพ่อท่านมีพระปฏิปทาที่ดี ท่านถึงแก่มรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2477 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหลวงพ่อกลั่น ธมฺมโชโต · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ

หลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ (พ.ศ. 2408 — 25 ธันวาคม พ.ศ. 2477) เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดคลองมะดัน จังหวัดสุพรรณบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหลวงพ่อโหน่ง อินฺทสุวณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์)

ันเอก หลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์) (24 สิงหาคม พ.ศ. 2439 - 14 มิถุนายน พ.ศ. 2497) นักเขียน นักประพันธ์ บรรณาธิการหนังสือ สารานุกูล เป็นผู้แต่งเพลงชาติไทย เป็นนายกสมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ คนที่ 4 เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหลวงสารานุประพันธ์ (นวล ปาจิณพยัคฆ์) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)

ร้อยเอก พลอากาศตรี หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) (11 มิถุนายน พ.ศ. 2440 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) อดีตรองเสนาธิการทหารอาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปราโมทย์จรรยาวิภาช (ปราโมทย์ จันทวิมล)

หลวงปราโมทย์จรรยาวิภาช (ปราโมทย์ จันทวิมล) ท่านเป็นผู้ที่มีความสำคัญต่อวงการศึกษาของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหลวงปราโมทย์จรรยาวิภาช (ปราโมทย์ จันทวิมล) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ

หลวงปู่กงมา ท่านเกิดเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443 ณ บ้านโคก ตำบลตองโขบ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร เป็นบุตรคนสุดท้องของนายบู่ และนางนวล วงศ์เครือสอน ซึ่งมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๖ คน มีนามเดิมว่า กงมา วงศ์เครือสอน ในช่วงชีวิตวัยหนุ่ม ท่านมีรูปร่างสัดทัด สูงใหญ่ใบหน้าคมคาย เป็นนักต่อสู้ชีวิตแบบเอางานเอาการ ในสมัยหนึ่ง ท่านได้เป็นนายฮ้อยต้อนวัวควาย หมู เที่ยวขายตามจังหวัดใกล้เคียงกับบ้านเกิด จนต่อมาได้รับหน้าที่เป็นหัวหน้านายฮ้อยพาคณะนายฮ้อยต้อนสัตว์ไปขายถึงกรุงเทพฯ โดยเดินทางด้วยเท้าเปล่า ท่านเป็นคนมีน้ำใจต่อลูกน้อง และอาญหาญช่วยป้องกันอันตรายให้กับลูกน้อง เป็นคนมีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริต และ มีความยุติธรรม ต่อมาในช่วงชีวิตแห่งความสุข บิดามารดาของท่านได้ไปสู่ขอนางเลา และได้จัดพิธีแต่งงานขึ้นในปี พ.ศ. 2468 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (2453 - 2468) จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (2468 - 2477) ขณะมีอายุได้ 25 ปี จนกระทั่งในเวลาต่อมา ภรรยาและลูกในท้องได้เสียชีวิต ทำให้ท่านรู้สึกสูญสิ้น นี่เองเป็นเหตุให้ท่านนึกถึงพระพุทธศาสนา และตัดสินใจออกบวช โดยมีพระอาจารย์โท เป็นพระอุปัชฌาย์ ภายหลังบวชได้ไปจำพรรษาที่วัดบึงทวย กับพระมีซึ่งเป็นเพื่อนรักกัน อยู่วัดนี้ได้ไม่นานด้วยความคิดว่าตนเองไม่ได้สิ่งที่ประสงค์ จึงได้เข้าไปปรึกษากับพระมี ซึ่งเป็นพระที่เคยธุดงค์ไปหลายแห่งในลาว พม่า และไทยมาแล้ว พระมีเคยเล่าให้ฟังว่า เคยได้ยินชาวบ้านพูดถึงพระศีลวัตรปฏิบัติอันงดงามของ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ว่าเป็นผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ จนหลวงปู่กงมาท่านก็เลื่อมใส หลวงปู่กงมาจึงได้ชวนสหายของท่านคือพระภิกษุมีเดินทางไปถวายตัวเป็นศิษย์ของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ และในปี พ.ศ. 2469 ได้รับตัวไว้อยู่จำพรรษากับท่านตั้งแต่นั้นมาใน ปี พ.ศ. 2470 ท่านพระอาจารย์ มั่น ภูริทัตตเถระ ได้ให้ลูกศิษย์ สองรูป คือ หลวงปู่กงมาฯ และท่านพ่อลี ได้ญัตติใหม่เป็นฝ่ายพระธรรมยุตนิกายที่วัดบูรพา อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีโดยมีท่านเจ้าคุณพระปัญญาพิศาลเถร (หนู ฐิตปญโญ) วัดสระปทุม จังหวัดพระนครเป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์เพ็ง วัดใต้ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 หลวงปู่ท่านได้ถือคำสอนของ หลวงปู่มั่น เป็นหลัก เช่น ศีล 11 ประการ และยึดถือแนวปฏิบัติและสอนธรรมเป็นหลัก และสอนให้ลูกศิษย์ ประชาชน ให้รู้ถึงว่าชีวิตนั้นอาจไม่แน่นอน จงทำวันนี้ให้ดีที่สุด และ ยึดถือหลักอริยสัจสี่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค เป็นต้น ท่านได้ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2505.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ · ดูเพิ่มเติม »

หอไอเฟล

หอไอเฟล (Tour Eiffel, ตูร์แอแฟล) เป็นหอคอยโครงสร้างเหล็กตั้งอยู่บนช็องเดอมาร์ บริเวณแม่น้ำแซน ในกรุงปารีส เป็นสัญลักษณ์ของประเทศฝรั่งเศสที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก ทั้งยังเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลกอีกด้วย หอไอเฟลเป็นหนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่โด่งดังที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ตั้งชื่อตามกุสตาฟ ไอเฟล สถาปนิกและวิศวกรชั้นนำของฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผู้ออกแบบหอคอยนี้ หอไอเฟลสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ของงานแสดงสินค้าโลก ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และหอไอเฟล · ดูเพิ่มเติม »

อลัน อาร์คิน

อลัน วูล์ฟ อาร์คิน (Alan Wolf Arkin) เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1934 เป็นนักแสดงอเมริกัน ผู้กำกับและนักดนตรี เป็นที่รู้จักในผลงานแสดงภาพยนตร์อย่างเช่น Catch-22; The In-Laws; Edward Scissorhands; The Russians Are Coming, the Russians Are Coming; Glengarry Glen Ross; Little Miss Sunshine จากเรื่องนี้ทำให้เขาได้รับรางวัลออสการ์ สาขานักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม เขาเป็นพ่อของนักแสดงคือ อดัม อาร์คิน, แอนโทนี อาร์คิน และแมททิว อาร์คิน หมวดหมู่:นักแสดงอเมริกัน หมวดหมู่:ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน หมวดหมู่:นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม รางวัลออสการ์ หมวดหมู่:บุคคลจากบรุกลิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอลัน อาร์คิน · ดูเพิ่มเติม »

อับดุลลาฮี ยูซุฟ อะห์เมด

อับดุลลาฮี ยูซุฟ อะห์เมด (Cabdullaahi Yuusuf Axmed, عبدالله يوسف أحمد; เกิด 15 ธันวาคม พ.ศ. 2477 - 23 มีนาคม พ.ศ. 2555) เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลีย เป็นนักในผู้ก่อตั้ง Somali Salvation Democratic Front เช่นเดียวกับพุนต์แลนด์รัฐของโซมาเลียGeorgetown University.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอับดุลลาฮี ยูซุฟ อะห์เมด · ดูเพิ่มเติม »

อังกาบ บุณยัษฐิติ

ท่านผู้หญิงอังกาบ บุณยัษฐิติ เป็นผู้จัดการและผู้อำนวยการโรงเรียนจิตรลดา และเป็นอธิการบดีวิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอังกาบ บุณยัษฐิติ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์แซน แวงแกร์

อาร์แซน แวงแกร์, โอบีอี (Arsène Wenger, ออกเสียง) หรือ อาร์เซน เวงเกอร์ ตามการออกเสียงในภาษาอังกฤษ ในภาษาอังกฤษออกเสียง (สำเนียง Received Pronunciation ในสหราชอาณาจักร) หรือ (สำเนียง General American ในสหรัฐอเมริกา).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอาร์แซน แวงแกร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารอารัส

อาสนวิหารอารัส (Cathédrale d'Arras) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารแม่พระและนักบุญวัสต์แห่งอารัส (Cathédrale Notre-Dame-et-Saint-Vaast d'Arras) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกประจำมุขมณฑลอารัส ตั้งอยู่ที่เมืองอารัส จังหวัดปาดกาแล แคว้นโอดฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่พระนางมารีย์พรหมจารีและนักบุญวัสต์แห่งอารัส ตัวอาสนวิหารได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906 อาสนวิหารเดิมสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1030 และ ค.ศ. 1393 ในสถาปัตยกรรมกอทิกอย่างงดงามที่สุดแห่งหนึ่งของฝรั่งเศสตอนเหนือ จนกระทั่งถูกทำลายลงในสมัยปฏิวัติฝรั่งเศส และส่วนของอารามนักบุญวัสต์ (Abbaye Saint-Vaast) ซึ่งเป็นกลุ่มอาคารที่ติดกันได้ถูกเปลี่ยนเป็นโรงพยาบาลและคลังแสง ซึ่งในปัจจุบันเป็นกลุ่มอาคารพิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์แห่งอารัส (ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1825) และหอสมุดแห่งอารัส อนึ่ง อาสนวิหารหลังเก่ายังใช้เป็นที่ฝังศพของหลุยส์แห่งบูร์บง เคานต์แห่งแวร์ม็องดัว พระโอรสนอกสมรสของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส กับดัชเชสหลุยส์ เดอ ลา วาเลียร์ (พระสนม) ต่อมาในปี ค.ศ. 1883 ได้มีการสร้างโบสถ์สำหรับอารามแห่งนี้ขึ้นใหม่โดยสร้างต่อเนื่องกันเป็นกลุ่มอาคารในรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิก และต่อมาได้ใช้เปลี่ยนสถานะโบสถ์หลังนี้มาเป็นอาสนวิหารตามดำริของพระคาร์ดินัลหลุยส์ เรอเน เอดัวร์ เดอ รออ็อง เพื่อทดแทนอาสนวิหารแบบกอทิกหลังเดิมที่ถูกทำลายลง ต่อมาช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี ค.ศ. 1917 อาสนวิหารและหมู่อาคารของอารามได้ถูกทำลายลงจากผลของสงคราม และได้ถูกสร้างใหม่ในรูปขนาดและรูปแบบเดิม ตั้งแต่ปี..1920 โดยปีแยร์ ปาแก สถาปนิกชำนาญการด้านอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์แห่งฝรั่งเศส กินเวลาบูรณปฏิสังขรณ์ทั้งสิ้นรวม 14 ปี ทางเข้าหลักของอาสนวิหารซึ่งรอดจากการถูกทำลายในระหว่างสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอาสนวิหารอารัส · ดูเพิ่มเติม »

อำพล พันธุ์ประสิทธิ์

นายอำพล พันธุ์ประสิทธิ์ (26 ตุลาคม พ.ศ. 2477 -) อดีต สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ 2 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอำพล พันธุ์ประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอพยุหะคีรี

หะคีรี เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครสวรร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอำเภอพยุหะคีรี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสันป่าตอง

ันป่าตอง (50px) เป็นอำเภอเล็ก ๆ อำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศใต้ 22 กิโลเมตร มีความเจริญเติบโตทางด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาและเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ ส่งผลให้มีความพร้อมในตัวเองทั้งด้านคุณภาพทางการศึกษา การแพทย์ การกีฬา การเกษตร และบุคลากรที่มีคุณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอำเภอสันป่าตอง · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนครสวรรค์

มืองนครสวรรค์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนครสวรร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอำเภอเมืองนครสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน (Princess Ingrid of Sweden) หรือ สมเด็จพระราชินีอิงกริดแห่งเดนมาร์ก (Queen Ingrid of Denmark; อิงกริด วิกตอเรีย โซเฟีย หลุยส์ มาร์กาเรทา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2453 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นพระราชินีพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน อีกทั้งเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อิตาเลียนลิเบีย

อิตาเลียนลิเบีย หรือ ลิเบียของอิตาลี (Italian Libya, Libia Italiana) เป็นอาณานิคมรวม (unified colony) ของดินแดนแอฟริกาเหนือของอิตาลี ก่อตั้งขึนในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอิตาเลียนลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กโตรเนกาทิวิตี

อิเล็กโตรเนกาติวิตี (อังกฤษ: Electronegativity,::\chi) เป็นค่าที่แสดงถึงความสามารถของอะตอมในการที่จะดึงอิเล็กตรอนเข้าหาตัวเองเมื่อเกิดพันธะเคมี (chemical bond) ทั้งนี้ มีการเสนอวิธีการแสดงอิเล็กโตรเนกาทิวิตีหลายวิธี อาทิ เพาลิง สเกล (Pauling scale) ถูกเสนอในปี ค.ศ. 1932 มูลลิเกน สเกล (Mulliken scale) ถูกเสนอในปี ค.ศ. 1934 และ ออลล์เรด-โรโชสเกล (Allred-Rochow scale).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอิเล็กโตรเนกาทิวิตี · ดูเพิ่มเติม »

อุกฤษ มงคลนาวิน

ตราจารย์พิเศษ อุกฤษ มงคลนาวิน อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานวุฒิสภา อดีตประธานรัฐสภา ผู้ก่อตั้งสำนักงานทนายความอุกฤษ มงคลนาวิน ปัจจุบันดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการอิสระเพื่ออำนวยความยุติธรรม และเสริมสร้างสิทธิเสรีภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (กอ.ยส.จชต.) และกรรมการสภากาชาดไทยนอกจากนั้นยังดำรงตำแหน่งประธานพีระยานุเคราะห์มูลนิธิ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอุกฤษ มงคลนาวิน · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาตินาเวลอัวปี

center ---- อุทยานแห่งชาตินาเวลอัวปี (Nahuel Huapi National Park) ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาแอนดีสทางตะวันตกกลางของประเทศอาร์เจนตินา มีเนื้อที่ 528 ตารางกิโลเมตร จัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1903 และได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติในปี ค.ศ. 1934 ปัจจุบันมีเนื้อที่ 7,050 ตารางกิโลเมตร ภายในอุทยานมีภูเขาที่มีหิมะปกคลุมหลายลูก มีธารน้ำแข็ง ทะเลสาบ น้ำตก และมีดอกไม้ป่าอยู่ทั่วไป อุทยานแห่งชาติ Nahuel Huapi เป็นอุทยานแห่งชาติที่เก่าแก่ที่สุดของอาเจนติน่า ในแขวง Patagonia ตรงตีนเขาของภูเขา Andes.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอุทยานแห่งชาตินาเวลอัวปี · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานโอลิมปิก

อุทยานโอลิมปิก (Olympic Park) เป็นศูนย์กีฬาสำหรับรองรับการเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิก โดยปกติจะประกอบด้วย สนามกีฬาโอลิมปิก (Olympic Stadium) และ ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ (International Broadcast Center) นอกจากนี้ อาจมีหมู่บ้านนักกีฬาโอลิมปิก หรือสนามจัดการแข่งขันกีฬาอื่นๆ อีกบางส่วน อย่างเช่นศูนย์กีฬาทางน้ำในกรณีโอลิมปิกฤดูร้อน หรือลานฮอกกีน้ำแข็งสำหรับโอลิมปิกฤดูหนาว นับเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งตกทอด ซึ่งยังประโยชน์แก่นครเจ้าภาพภายหลังการแข่งขันสิ้นสุดลง ทั้งนี้อาจหมายรวมถึงสวนสาธารณะในเขตเมือง และพิพิธภัณฑ์หรืออนุสรณ์ของการเป็นเจ้าภาพจัดแข่งขัน อุทยานโอลิมปิกเริ่มมีขึ้นเป็นครั้งแรก ในการแข่งขันฤดูร้อนครั้งที่ 4 ในกรุงลอนดอนของสหราชอาณาจักร เมื่อปี พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) โดยคณะกรรมการจัดการแข่งขันระบุว่า การแข่งขันทั้งหมดเท่าที่เป็นไปได้ ซึ่งประกอบด้วย ว่ายน้ำ ยิงธนู ฟันดาบ เป็นต้น จะจัดขึ้นบนทำเลเดียวกัน ซึ่งจะมีการจัดสร้างอัฒจันทร์ สำหรับกรีฑาประเภทลู่และกีฬาจักรยาน แต่การจัดตั้งศูนย์กีฬารวมในลักษณะนี้ มิได้ปรากฏในการแข่งขันทุกครั้งแต่อย่างใด โดยในโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 16 เมื่อปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) และครั้งที่ 21 เมื่อปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) มีการกระจายสนามแข่งขันออกไปในวงกว้าง อนึ่ง ในปีหลังนี้มีสนามแข่งขันรายการนอร์ดิกสกีใช้ชื่อว่า “อุทยานโอลิมปิกวิสต์เลอร์” (Whistler Olympic Park) สำหรับในการแข่งขันฤดูร้อนครั้งที่ 31 ที่กรุงริโอเดจาเนโรของบราซิล ในปี พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016) จะแบ่งสนามแข่งขันออกเป็น 4 กลุ่ม มากกว่าจะรวมกันอยู่ในอุทยานแห่งเดียว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และอุทยานโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ ฮอลไลน์

Haas-Haus ในเวียนนา, 1985-1990 ฮันส์ ฮอลไลน์ (Hans Hollein) เกิดเมื่อวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 1934 ในเวียนนา เป็นสถาปนิกชาวออสเตรียและเป็นนักออกแบบ ฮอลไลน์ได้รับอนุปริญญาจากวิทยาลัยทัศนศิลป์ในเวียนนา ในปี 1956 จากนั้นเข้าศึกษาที่สถาบันเทคโนโลยีอิลลินอยส์ ในปี 1959 และมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ ในปี 1960 เขาทำงานกับหลายหน่วยงานในสวีเดนและสหรัฐอเมริกา ก่อนที่จะกลับมาที่เวียนนา ก่อตั้งบริษัทของตัวเองในปี 1964 เขาได้รับรางวัลพริตซ์เกอร์ในปี 1985 ผลงานโดยส่วนใหญ่ของฮอลไลน์เป็นงานสถาปัตยกรรม แต่เขาก็ยังมีงานออกแบบในฐานะดีไซเนอร์ อย่างเช่นกลุ่ม เมมฟิสกรุป และบริษัทอเลสซี เขายังออกแบบงานนิทรรศการเช่น งานเบียนเนลในเวนิซ และยังมีงานออกแบบฉากให้กับงานละครของอาร์เทอร์ ชนิตซ์เลอร์ ในละคร Der einsame Weg ที่โรงละครเบิร์กในเวียนนาด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และฮันส์ ฮอลไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ฌาน กาลม็อง

น กาลม็อง ขณะอายุ 20 ปี ฌาน กาลม็อง ขณะอายุ 22 ปี ฌาน กาลม็อง ขณะอายุ 40 ปี ฌาน กาลม็อง ขณะอายุ 121 ปี ฌาน กาลม็อง (Jeanne Calment) เป็นชาวฝรั่งเศส ที่เป็นที่รู้จักในฐานะ มนุษย์ที่มีอายุยืนที่สุดในประวัติศาสตร์โลก ที่มีหลักฐานยืนยันอายุอย่างละเอียดชัดเจน เธอเกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1875 และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1997 ด้วยอายุ 122 ปี 5 เดือน 14 วัน (หรือ 44,724 วัน) เธอเกิดที่เมือง Arles ในประเทศฝรั่งเศส และใช้ชีวิตที่เมืองนี้เกือบทั้งชีวิต ครอบครัวของเธอแทบทั้งหมดต่างมีอายุยืน เช่น พี่ชายเธอ มีชีวิตจนอายุ 97 ปี, บิดาของเธอ มีชีวิตจนอายุ 93 ปี และมารดาของเธอ มีชีวิตจนอายุ 86 ปี เธอเลือกที่จะใช้ชีวิตแบบสบายๆ ชอบทำกิจกรรมอดิเรกเช่น เล่นเทนนิส, ว่ายน้ำ, โรลเลอร์สเกต, ปั่นจักรยาน, เล่นเปียโน และ โอเปรา เธอแต่งงานกับแฟร์น็อง กาลม็อง (Fernand Calment) ขณะอายุ 21 ปี เธอมีลูกสาวกับแฟร์น็อง 1 คน คือ อีวอน เกิดใน ค.ศ. 1898 และลูกสาวของเธอก็มีหลานให้เธอ ชื่อ เฟรเดริก (Frédéric) เกิดใน ค.ศ. 1926 แต่ทั้งสามี ลูก และหลานของเธอ เสียชีวิตก่อนตัวเธอทั้งสิ้น โดยลูกสาวของเธอ Yvonne เสียชีวิตใน ค.ศ. 1934 ด้วยโรคปอดบวม, สามีของเธอ เฟอร์นานด์ เสียชีวิตใน ค.ศ. 1942 เพราะอาหารเป็นพิษ และหลานของเธอ เสียชีวิตในค.ศ. 1963 ด้วยอุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต์ ค.ศ. 1965 ขณะอายุ 90 ปี เธอเปิดอพาร์ตเมนท์ของเธอให้เช่า ซึ่งก็มีคนมาเช่าอพาร์ตเมนท์ของเธอในราคาเดือนละ 2,500 ฟรังก์ ซึ่งต่อมา ค่าเช่าที่เธอได้รับรวมกันแล้วมากกว่าสองเท่าของมูลค่าที่เธอจะได้รับหากขายขาดครั้งเดียว ฌานมีสุขภาพที่แข็งแรง เธอยังสามารถเล่นฟันดาบได้ในขณะอายุ 85 ปี, ยังขี่จักรยานได้ในอายุ 100 ปี, สามารถอยู่บ้านคนเดียวได้จนกระทั่งถึงอายุ 110 ปี จึงได้ให้มีพยาบาลอยู่ด้วย, สามารถเดินเหินได้สะดวกจนถึงอายุ 114 ปี เธอบำรุงสุขภาพด้วยน้ำมันมะกอก ช็อกโกแลต และไวน์ (Port Wine) ด้านสถิติ ในค.ศ. 1988 ขณะอายุ 113 ปี เธอได้ขึ้นแท่นสถิติ "ผู้ที่มีอายุยืนที่สุดในโลกที่ยังมีชีวิตอยู่" (world's oldest living person) ในขณะนั้น จนเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม ค.ศ. 1995 เธอก็มีอายุครบ 120 ปี 238 วัน ขึ้นแท่นสถิติ "ผู้ที่มีอายุมากที่สุดในประวัติศาสตร์โลก" (oldest person ever) ทำลายสถิติของนาย Shigechiyo Izumi ชาวญี่ปุ่น หลังจากที่เธอเสียชีวิตไปในวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1997 ตำแหน่ง "ผู้ที่มีอายุยืนที่สุดในโลกที่ยังมีชีวิตอยู่" ตกเป็นของ Marie-Louise Meilleur จากแคนาดา เพราะผู้ที่ได้ตำแหน่งนี้ จะต้องเป็นผู้ที่มีชีวิตอยู่ที่มีอายุยืนที่สุดในโลกในขณะนั้น แต่ตำแหน่ง "ผู้ที่มีอายุมากที่สุดในประวัติศาสตร์โลก" ยังเป็นของเธอจนถึงปัจจุบัน เพราะตำแหน่งนี้ ไม่จำเป็นว่าผู้ที่ได้ตำแหน่งต้องมีชีวิต ซึ่งจนถึงปัจจุบัน ก็ยังไม่มีใคร (ที่มีหลักฐานยืนยันอายุชัดเจน) สามารถมีอายุได้ยาวนานกว่าเธอ อย่างไรก็ตาม ตำแหน่งนี้ หากใครไม่มีหลักฐานยืนยันอายุ จะไม่มีสิทธิ์ได้รับตำแหน่งนี้ เช่น ชาวชนบท ชาวเขาต่างๆ ซึ่งเชื่อว่า อาจมีชาวชนบทบางคนที่อายุยืนกว่าฌานแต่ไม่มีหลักฐานยืนยัน จึงไม่มีสิทธิ์ได้รับตำแหน่ง "ผู้ที่มีอายุมากที่สุดในประวัติศาสตร์โลก" เช่น นายหลี่ ชิงหยุน (Li Ching-Yuen, 李清雲) ชาวจีน เสียชีวิตเมื่อ ค.ศ. 1933 ซึ่งไม่มีหลักฐานยืนยันวันเกิด แต่ชาวบ้านหลายคนในชุมชน เชื่อว่า ขณะเสียชีวิต เขาอาจมีอายุมากถึง 256 ปี แต่ลำพังเพียงความเชื่อ นำมาบันทึกเป็นสถิติไม่ได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และฌาน กาลม็อง · ดูเพิ่มเติม »

ผิน ชุณหะวัณ

อมพลผิน ชุณหะวัณ (14 ตุลาคม พ.ศ. 2434 - 26 มกราคม พ.ศ. 2516) เป็นบิดาของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เกิดที่ตำบลบางนกแขวก อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายไข่ และ นางพลับ ชุณหะวัณ ชาวสวนและแพทย์แผนโบราณ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 8 คน จอมพลผิน ชุณหะวัณ ถึงแก่อสัญกรรมในวันศุกร์ที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และผิน ชุณหะวัณ · ดูเพิ่มเติม »

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นผู้บริหารราชการแผ่นดินในพระปรมาภิไธยหรือพระนามาภิไธยพระมหากษัตริย์ เนื่องจากพระมหากษัตริย์ยังไม่ทรงบรรลุนิติภาวะก็ดี ทรงพระประชวรก็ดี ทรงไม่อาจบริหารพระราชกิจได้ก็ดี หรือไม่ทรงอยู่ในประเทศก็ดี ในสมัยราชวงศ์จักรีเริ่มมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อพระองค์ยังทรงพระเยาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

จอร์โจ อาร์มานี

Moskau, Kaufhaus GUM, Red Night Party จอร์โจ อาร์มานี (Giorgio Armani) (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2477-) เกิดที่ เอมิเลีย-โรแมกนา ประเทศอิตาลี เป็นนักออกแบบเสื้อผ้า ชาวอิตาลี เจ้าของผลิตภัณฑ์ จอร์โจ อาร์มานี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และจอร์โจ อาร์มานี · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ฟอน นอยมันน์

อห์น ฟอน นอยมันน์ ในช่วงปี ค.ศ. 1940 จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neumann, Neumann János, 28 ธ.ค. ค.ศ. 1903 - 8 ก.พ. ค.ศ. 1957) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี มีผลงานสำคัญในหลายสาขา ทั้ง ควอนตัมฟิสิกส์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ จะว่าไปแล้วก็ทุกๆ สาขาในวิชาคณิตศาสตร์ เลยก็ว่าได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และจอห์น ฟอน นอยมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น ดิลลิงเจอร์

อห์น ดิลลิงเจอร์ (John Dillinger) อดีตอาญชากรชื่อดังชาวอเมริกัน จอห์น ดิลลิงเจอร์ มีชื่อเต็มว่า จอห์น เฮอร์เบิร์ต ดิลลิงเจอร์ จูเนียร์ (John Herbert Dillinger, Jr.) มีเชื้อสายเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1903 ที่อินดีแอนาโปลิส รัฐอินดีแอนา ในครอบครัวฐานะปานกลาง แต่ด้วยการเป็นผู้ไม่มีการศึกษาและก่ออาชญากรรมมาตั้งแต่ยังเด็ก และมีความสัมพันธ์กับผู้หญิงที่เป็นเครือญาติกัน ทำให้ดิลลิงเจอร์ถูกจองจำในทัณฑสถานเยาวชน เมื่อพ้นออกมา ดิลลิงเจอร์ก่อคดีอาญาเป็นครั้งแรกด้วยการปล้นร้านขายของชำแห่งหนึ่งในอินดีแอนาโปลิส และถูกจองจำในวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1924 หลังจากก่อคดีมา 10 วัน ด้วยโทษเป็นเวลา 10 ปี ในระหว่างนี้ทำให้ดิลลิงเจอร์ได้รู้จักกับอาชญากรมากมายในนั้น เมื่อพ้นโทษออกมาในกลางปี ค.ศ. 1933 ดิลลิงเจอร์ก็สร้างชื่อเสียงด้วยการปล้นธนาคารใหญ่ ๆ ถึง 11 ครั้ง ได้ยอดเงินรวม 3 แสนดอลลาร์สหรัฐ มีเจ้าหน้าที่ตำรวจและประชาชนทั่วไปเสียชีวิตถึง 15 ราย และบาดเจ็บ 17 คน สร้างความสั่นสะเทือนไปทั่วประเทศ และหลายหน่วยงานทางรัฐ เช่น เอฟบีไอ ถึงขนาดที่ เฮอร์เบิร์ต ฮูเวอร์ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ซึ่งในขณะนั้นดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการใหญ่ของเอฟบีไอ ประกาศผ่านทางวิทยุกระจายเสียงว่า เป็น "ศัตรูของรัฐอันดับหนึ่ง" ดิลลิงเจอร์เคยถูกจับถึง 3 ครั้ง แต่ก็สามารถหลบหนีออกมาได้ทุกครั้ง ด้วยความช่วยเหลือของบรรดาลูกน้อง ในช่วงท้ายของการก่อคดี แก๊งค์ของดิลลิงเจอร์ขยายอิทธิพลในชิคาโก ในขณะที่เอฟบีไอก็ตั้งหน่วยงานขึ้นมาไล่ล่าเช่นเดียวกัน ดิลลิงเจอร์ เสียชีวิตลงด้วยวัยเพียง 31 ปี เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1934 เมื่อเอฟบีไอวางแผนให้ดิลลิงเจอร์ไปชมภาพยนตร์กับผู้หญิงสาวสองคน เมื่อเสร็จแล้ว ในสถานการณ์หน้าโรงภาพยนตร์ ในรัฐอิลลินอยส์ ดิลลิงเจอร์เห็นถึงความผิดปกติ และพยายามหนี แต่ก็ไม่รอดเมื่อถูกเจ้าหน้าที่วิสามัญฆาตกรรมด้วยกระสุนไปทั้งหมด 5 นัด ถูกเป้า 3 นัด หลังจากดิลลิงเจอร์เสียชีวิตลงแล้ว แก๊งค์ของเขาก็ค่อย ๆ ถูกกำจัดลงเรื่อย ๆ เป็นอันปิดฉากตำนานอาชญากรลือชื่อของสหรัฐอเมริกา ในช่วงทศวรรษที่ 30 ถึงแม้ว่าดิลลิงเจอร์จะเป็นอาชญากร แต่ก็มีผู้คนส่วนหนึ่งชื่นชมเขาอยู่ไม่น้อย ถึงขนาดก่อตั้งเป็นชมรม และมีกิจกรรมไปเยี่ยมเยือนหลุมฝังศพของเขาเป็นประจำทุกปี เรื่องราวของจอห์น ดิลลิงเจอร์ ถูกยกให้เป็นตำนานอาชญากรของสหรัฐอเมริกา เช่นเดียวกับ อัล คาโปน, บอนนี่แอนด์ไคลด์ หรือลัคกี้ ลูเซียโน่ มีการสร้างเป็นภาพยนตร์หรือซีรีส์ต่าง ๆ มากมาย โดยเฉพาะในปี ค.ศ. 2009 ในเรื่อง Public Enemies จากการกำกับของ ไมเคิล แมนน์ โดยมี จอห์นนี่ เด็ปป์ รับบทเป็น จอห์น ดิลลิงเจอร์ และคริสเตียน เบลล์ รับบท เมลวิน เพอร์วิส เจ้าหน้าที่เอฟบีไอ ผู้เป็นตัวตั้งตัวตีในการไล่ล่าดิลลิงเจอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และจอห์น ดิลลิงเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย

ักรพรรดิบ๋าว ดั่ย (จื๋อโกว๊กหงือ: Bảo Đại, จื๋อโนม: 保大, แปลว่า ผู้เก็บรักษาความยิ่งใหญ่; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1913 - 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1997) พระนามเดิมว่า เหงียน ฟุก หวิญ ถวิ ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 13 และพระองค์สุดท้ายแห่งเหงียน ตั้งแต่ ค.ศ. 1926 - ค.ศ. 1945 ทรงเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอันนัม ในช่วงนี้พระองค์ทรงได้รับความคุ้มครองจากฝรั่งเศสโดยอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 2 ใน 3 ของเวียดนามในปัจจุบัน พระองค์ทรงขึ้นครองราชบัลลังก์ในปี ค.ศ. 1932 ญี่ปุ่นได้ขับไล่ฝรั่งเศสออกจากดินแดนนี้ในปี ค.ศ. 1945 และใช้อำนาจการปกครองผ่านจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ในช่วงนี้พระองค์ทรงเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "เวียดนาม" อีกครั้ง พระองค์ทรงสละราชบัลลังก์ในเดือนสิงหาคมเมื่อญี่ปุ่นยอมแพ้สงคราม พระองค์ยังทรงเป็นประมุขรัฐเวียดนามตั้งแต่ ค.ศ. 1949 จนกระทั่ง ค.ศ. 1955 จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ทรงถูกวิพากษ์วิจารณ์เนื่องจากมีความใกล้ชิดกับฝรั่งเศสเกินไปและประทับอยู่นอกเวียดนามเป็นเวลานานในรัชสมัยของพระองค์ โง ดิ่ญ เสี่ยม นายกรัฐมนตรีได้ขับไล่พระองค์ในการลงประชามติปลดจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย ออกจากราชบัลลังก์เมื่อปี ค.ศ. 1955 แม้จะเป็นที่รับรู้อย่างกว้างขวางว่าเวียดมินห์หรือโฮจิมินห์เป็นผู้วางรากฐานเอกราชให้แก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนามแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่อย่างไรก็ตาม สแตนลีย์ คาร์โนว์ (Stanley Karnow) ได้โต้แย้งในหนังสือ Vietnam - A History ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีวั่นหรง

มเด็จพระจักรพรรดินีเสี้ยวเค่อหมิ่น หรือ สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงหรือชื่อเล่น ๆ ว่า วั่นจิง หรือพระนามแรกประสูติว่า โกวปู้โลว วั่นหรง (13 พฤศจิกายน 2449 - 20 มิถุนายน 2489) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของประเทศจีนด้วยเหตุที่เป็นสมเด็จพระมเหสีในผู่อี๋ฮ่องเต้ สมเด็จพระจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของจีน จักรพรรดินีวั่นหรงทรงสืบเชื้อสายจากวงศ์สกุลด๋าหว่อ (Daur People) จากมองโกเลียลึกตั้งแต่ครั้งโบราณกาล สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงนั้นต่อมาได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งแมนจูกัว (หรือเป็นที่รู้จักกันในนามของ "จักรวรรดิแมนจูกัว") สมเด็จพระจักรพรรดินีวั่นหรงกับฉลองพระองค์สมเด็จพระจักรพรรดินีแบบแมนจู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และจักรพรรดินีวั่นหรง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีนาม เฟือง

มเด็จพระจักรพรรดินีนาม เฟือง แห่งเวียดนาม หรือ เจ้าหญิงนาม เฟือง แห่งเวียดนาม (南芳皇后) พระนามเดิมคือ มารี-เตแรซ เหงียน หืว ถิ ลาน (14 ธันวาคม พ.ศ. 2457 - 16 ธันวาคม พ.ศ. 2506) พระนางเป็นพระมเหสีพระองค์แรกของสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม ผู้เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายของอันนัมในอารักขาของฝรั่งเศส และสมเด็จพระจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายของเวียดนาม เป็นพระมเหสีตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และจักรพรรดินีนาม เฟือง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จูดี้ เดนช์

เดม (คุณหญิง) จูดิธ โอลิเวีย เดนช์ (Dame Judith Olivia Dench,, DBE,; เกิดเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1934) เป็นนักแสดงอังกฤษ ที่เคยได้รับ 9 รางวัลบาฟต้า, 7 รางวัล Laurence Olivier Awards, 2 รางวัลแซกอวอร์ด, 1 รางวัลออสการ์ และ 2 รางวัลลูกโลกทองคำและรางวัลโทนี หมวดหมู่:นักแสดงอังกฤษ หมวดหมู่:นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลออสการ์ หมวดหมู่:บุคคลจากยอร์ก หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ดีบีอี‎ หมวดหมู่:ผู้เขียนอัตชีวประวัติชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และจูดี้ เดนช์ · ดูเพิ่มเติม »

จูเต๋อ

อมพลจูเต๋อ (1 ธันวาคม 1886- 6 กรกฎาคม 1976) ผู้นำกำลังทหารสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์จีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และจูเต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

จ่าง แซ่ตั้ง

ง แซ่ตั้ง (1 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2533) เป็นศิลปิน นักเขียนบทกวี และจิตรกร เขามีเชื้อสายจีน โดยบิดาอพยพมาจากประเทศจีน ส่วนมารดาเป็นคนจีนเกิดในประเทศไทย จ่างเกิดที่ตลาดสมเด็จ ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ฝั่งธนบุรี เข้าเรียนหนังสือระดับชั้นมูลที่โรงเรียนเทศบาลสอง วัดพิชัยญาติ แต่เกิดสงครามโลกครั้งที่สอง จึงไม่ได้เรียนหนังสือที่ไหนอีก จ่าง แซ่ตั้ง สมรสกับนางเซี้ยะ แซ่ตั้ง มีบุตร 7 คน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และจ่าง แซ่ตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมรัตน์ นาคสุริยะ

รรมรัตน์ นาคสุริยะ (พ.ศ. 2477 -) นักร้อง พิธีกรรายการโทรทัศน์ นักแสดง นักพากย์ มีผลงานที่น่าจดจำ คือเป็นพิธีกรรายการ "นาทีทอง" และ "ประตูดวง" รายการที่มีผู้ชมสูงสุดทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และธรรมรัตน์ นาคสุริยะ · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมศาสตรบัณฑิต

รรมศาสตรบัณฑิต เป็นชื่อหลักสูตรการศึกษา ของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (ม.ธ.ก.) ซึ่งเปิดเป็นตลาดวิชา (ไม่มีการสอบเข้า) ผู้สำเร็จหลักสูตรนี้ จะได้รับปริญญาเรียกว่า ปริญญาธรรมศาสตรบัณฑิต (ธ.บ.) หลักสูตรนี้เปิดสอนระหว่าง พ.ศ. 2477 จนถึง พ.ศ. 2491 ก่อนจะเปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัย เป็น ธรรมศาสตร์ ในเวลาต่อมา ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เมื่อแรกก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และธรรมศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติออสเตรเลีย

งชาติออสเตรเลีย มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีน้ำเงิน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปธงชาติสหราชอาณาจักร ใต้ธงชาติสหราชอาณาจักรนั้นเป็นรูปดาวเจ็ดแฉกสีขาวดวงหนึ่ง มีชื่อเรียกว่า ดาราสหพันธรัฐ (The Commonwelth Star) ถัดจากรูปดังกล่าวมาทางด้านปลายธงนั้น เป็นรูปดาวเจ็ดแฉก 4 ดวง และดาวห้าแฉกอีก 1 ดวง เรียงกันเป็นรูปกลุ่มดาวกางเขนใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และธงชาติออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเม็กซิโก

งชาติสหรัฐเม็กซิโก มีลักษณะเป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแบ่งตามแนวตั้ง ประกอบด้วย สีเขียว สีขาว และสีแดง กลางแถบสีขาวมีภาพตราแผ่นดินของเม็กซิโก ซึ่งแม้ว่าการนิยามความหมายในสีธงชาติจะมีการเปลี่ยนแปลงหลายครั้ง แต่สีธงที่ใช้ก็ยังคงเป็นสีเดิมตลอดมานับตั้งแต่เม็กซิโกทำสงครามประกาศอิสรภาพจากสเปน แบบธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2511 แต่รูปแบบธงชาติโดยรวมนั้นได้เริ่มใช้อย่างเป็นทางการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2361 ส่วนกฎหมายว่าด้วยสัญลักษณ์ประจำชาติฉบับปัจจุบัน ซึ่งมีชื่อในภาษาสเปนว่า "Ley sobre el Escudo, la Bandera y el Himno Nacionales" (รัฐบัญญัติว่าด้วยตราแผ่นดิน ธงชาติ และเพลงชาติ) ซึ่งระบุข้อกำหนดในการชัก ใช้ และแสดงธงชาติ ได้เริ่มบังคับใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2527 ตามประวัติศาสตร์ของเม็กซิโก ได้ปรากฏว่าประเทศนี้มีการเปลี่ยนแบบธงชาติมาแล้ว 4 ครั้ง โดยเป็นการเปลี่ยนแปลงของขนาดสัดส่วนธงและรูปแบบตราแผ่นดิน อย่างไรก็ตาม ตราแผ่นดินของเม็กซิโกทุกแบบล้วนมีลักษณะร่วมกัน คือ เป็นภาพนกอินทรีจับงูไว้ด้วยกรงเล็บและคาบงูไว้ในปาก โดยนกนั้นยืนอยู่บนต้นกระบองเพชร ซึ่งตั้งอยู่บนโขดหินกลางทะเลสาบ ตราดังกล่าวนี้ มีที่มาจากตำนานของชาวอัซเตก โดยเล่ากันว่า เทพเจ้าของพวกเขาได้บอกนิมิตให้สร้างเมืองขึ้นในจุดที่เห็นนกอินทรีคาบงู ซึ่งที่นั่นก็คือที่ตั้งของกรุงเม็กซิโกซิตีในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และธงชาติเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารกรุงไทย

นาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) เป็นบริษัทบริการการเงินในประเทศไทยมีสำนักงานอยู่ที่เขตวัฒนาและเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารพาณิชย์เพียงแห่งเดียวในประเทศที่มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจในรูปแบบของสถาบันการเงินภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง และเป็นหนึ่งในห้าธนาคารขนาดใหญ่และมีจำนวนสาขาเป็นอันดับสองของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และธนาคารกรุงไทย · ดูเพิ่มเติม »

ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์

ล.ร.ต.ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (ซ้าย) ขณะเดินสนทนากับ พ.ต.ควง อภัยวงศ์ ในงานเปิดสมาคมนักข่าว นักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ. 2484 พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ เดิมคือ หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) (21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2531) นายกรัฐมนตรีคนที่ 8 ของประเทศไทยในช่วง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ถาวร วัชราภัย

ตราจารย์ ถาวร วัชราภัย (2 เมษายน พ.ศ. 2477 -) เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของประเทศไทยเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และถาวร วัชราภัย · ดูเพิ่มเติม »

ทรานซิสเตอร์

ทรานซิสเตอร์ (transistor) เป็นอุปกรณ์สารกึงตัวนำที่สามารถควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนได้ ใช้ทำหน้าที่ ขยายสัญญาณไฟฟ้า, เปิด/ปิดสัญญาณไฟฟ้า, ควบคุมแรงดันไฟฟ้าให้คงที่, หรือกล้ำสัญญาณไฟฟ้า (modulate) เป็นต้น การทำงานของทรานซิสเตอร์เปรียบได้กับวาล์วควบคุมที่ทำงานด้วยสัญญาณไฟฟ้าที่ขาเข้า เพื่อปรับขนาดกระแสไฟฟ้าขาออกที่จ่ายมาจากแหล่งจ่ายไฟ ทรานซิสเตอร์ประกอบด้วยวัสดุเซมิคอนดักเตอร์ที่มีอย่างน้อยสามขั้วไฟฟ้าเพื่อเชื่อมต่อกับวงจร ภายนอก แรงดันหรือกระแสไฟฟ้าที่ป้อนให้กับขั้วทรานซิสเตอร์หนึ่งคู่ จะมีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกระแสที่ไหลผ่านในขั้วทรานซิสเตอร์อีกคู่หนึ่ง เนื่องจากพลังงานที่ถูกควบคุม (เอาต์พุต)จะสูงกว่าพลังงานที่ใช้ในการควบคุม (อินพุท) ทรานซิสเตอร์จึงสามารถขยายสัญญาณได้ ปัจจุบัน บางทรานซิสเตอร์ถูกประกอบขึ้นมาต่างหากแต่ยังมีอีกมากที่พบฝังอยู่ใน แผงวงจรรวม ทรานซิสเตอร์เป็นการสร้างบล็อกพื้นฐานของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย ​​และเป็นที่แพร่หลายในระบบอิเล็กทรอนิกส์สมัยใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และทรานซิสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีระบบควบคุม

ระบบควบคุมมีความสำคัญอย่างมากในการปล่อยจรวดและยานอวกาศ ทฤษฎีระบบควบคุม (control theory) เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ในที่นี้ การควบคุมหมายถึง การควบคุมระบบพลศาสตร์ ให้มีค่าเอาต์พุตที่ต้องการ โดยการป้อนค่าอินพุตที่เหมาะสมให้กับระบบ ตัวอย่างที่เห็นได้ทั่วไป เช่น ระบบควบคุมอุณหภูมิห้องของเครื่องปรับอากาศ หรือ แม้แต่ลูกลอยในโถส้วม ที่เปิดน้ำปิดน้ำโดยอัตโนมัติเมื่อน้ำหมดและน้ำเต็ม การควบคุมการขับเคลื่อนยานพาหนะ เช่น รถยนต์ ก็ถือเป็นการควบคุมชนิดหนึ่ง โดยผู้ขับขี่เป็นผู้ควบคุมทิศทางและความเร็ว ซึ่งระบบควบคุมประเภทที่ต้องมีคนเข้ามาเกี่ยวข้องนี้ถือว่าเป็น ระบบควบคุมไม่อัตโนมัติ (manual control) แต่ทฤษฎีระบบควบคุมจะครอบคลุมเฉพาะการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบควบคุมอัตโนมัติ (automatic control) เท่านั้น เช่น ระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ (cruise control) ระบบควบคุมยังอาจแบ่งออกได้เป็นระบบควบคุมวงเปิด (open-loop control) คือ ระบบควบคุมที่ไม่ได้ใช้สัญญาณจากเอาต์พุต มาบ่งชี้ถึงลักษณะการควบคุม ส่วนระบบควบคุมวงปิด (closed-loop control) หรือ ระบบป้อนกลับ (feedback control) นั้นจะใช้ค่าที่วัดจากเอาต์พุต มาคำนวณค่าการควบคุม นอกจากนี้ยังอาจแบ่งได้ตามคุณลักษณะของระบบ เช่น เป็นเชิงเส้น (linear) / ไม่เป็นเชิงเส้น (nonlinear), แปรเปลี่ยนตามเวลา (time-varying) / ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา (time-invariant) และเวลาต่อเนื่อง (Continuous time) / เวลาไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous time).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และทฤษฎีระบบควบคุม · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายบางบัวทอง

ทางรถไฟสายบางบัวทอง หรือ ทางรถไฟสายพระยาวรพงษ์ เป็นทางรถไฟราษฎร์ที่เดินรถระหว่างอำเภอบางพลัด จังหวัดธนบุรี กับอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และทางรถไฟสายบางบัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

ทินพันธุ์ นาคะตะ

ตราจารย์เกียรติคุณ ร้อยเอก ทินพันธุ์ นาคะตะ เป็นประธานสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการปฏิรูปประเทศ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการยุทธศาสตร์ชาติ กรรมการในคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองตาม คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 3/2560อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลพลเอกสุจินดา คราประยูร (ครม.48) อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และเป็นนักวิชาการที่ใกล้ชิดกับกลุ่มกบฏยังเติร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และทินพันธุ์ นาคะตะ · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานเชียงใหม่

มุมสูงของท่าอากาศยานเชียงใหม่ มองจากวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร ภายในอาคารท่าอากาศยานเชียงใหม่ Boeing 737-800 ของสายการบินนกแอร์ ที่สนามบินเชียงใหม่ Airbus A319 ของสายการบินบางกอกแอร์เวย์ ที่สนามบินเชียงใหม่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่ หรือสนามบินเชียงใหม่ (Chiang Mai International Airport) ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ 4 กิโลเมตร ในตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นท่าอากาศยานนานาชาติ 1 ในจำนวนทั้งหมด 6 แห่ง ที่ดำเนินงานโดยบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เป็นศูนย์กลางทางการบินของภาคเหนือ โดยมีเที่ยวบินเข้าออกหนาแน่นเป็นลำดับสี่ รองจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยานภูเก็ต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และท่าอากาศยานเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวสุรนารี

อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ท้าวสุรนารี หรือ คุณหญิงโม (ต้นฉบับว่า ท่านผู้หญิงโม้)ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และท้าวสุรนารี · ดูเพิ่มเติม »

ขุนส่า

นส่า (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2550) มีชื่อจริงว่า จาง ซีฟู (จีน: 张奇夫; พินอิน: Zhāng Qífú จาง ฉีฝู) และมีชื่อไทยว่า จันทร์ จางตระกูล เป็นอดีตผู้นำกองทัพเมิงไตซึ่งต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชให้แก่ชนกลุ่มน้อยชาวไทใหญ่ในพม่า และเป็นผู้ผลิตและค้าเฮโรอีนและฝิ่นรายใหญ่ของโลก โดยมีที่มั่นอยู่บริเวณสามเหลี่ยมทองคำ มีอิทธิพลอยู่ในเขตรัฐฉานและว้า ขุนส่ามีบิดาเป็นชาวจีน และมีมารดาเป็นชาวไทใหญ่ ชื่อนางแสงคำ ขุนส่าเคยตั้งกองกำลังใหญ่อยู่ที่บ้านหินแตก ในเขตตำบลเทอดไทย อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และขุนส่า · ดูเพิ่มเติม »

ข้อตกลงฝรั่งเศส-อิตาลี

การทำข้อตกลงระหว่างนายพลอิตาลีและ ปิแอร์ ลาวาล ข้อตกลงฝรั่งเศส-อิตาลี (Frenco-Italian Agreement) ได้รับการลงนามเมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1935 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของฝรั่งเศส ปิแอร์ ลาวาล และนายรัฐมนตรีแห่งอิตาลี เบนิโต มุสโสลินี ได้ลงนามในข้อตกลงฝรั่งเศส-อิตาลีที่กรุงโรม ปิแอร์ ลาวาลผู้ซึ่งสืบทอดตำแหน่งจากหลุยส์ บาธู หลังจากที่เขาถูกลอบสังหารที่มาร์เซย์ จากที่นั่งข้าง พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ที่ 1 กษัตริย์แห่งยูโกสลาเวีย เมื่อวันที่ 9 กันยายน ค.ศ. 1934 เขาได้สืบทอดแนวคิดของรัฐมนตรีคนก่อนในการสร้างความปลอดภัยร่วมกัน ในความพยายามที่จะควบคุมภัยจากฮิตเลอร์ในทวีปยุโรป ในวันที่ 4 มกราคม 1935 ปิแอร์ ลาวาลได้เดินทางไปยังกรุงโรมเพื่อไปพบกับนายมุสโสลินี ซึ่งลาวาลคาดว่าจะเป็นการทูตเชิงรุกในความพยายามที่จะโดดเดี่ยวนาซีเยอรมนี เขาได้ยื่นข้อเสนอให้แก่มุสโสลินีซึ่งเป็นการเอื้อประโยชน์ให้แก่อิตาลีในการมอบบางส่วนของแคว้นโซมาลิแลนด์ของฝรั่งเศสแก่อิตาลี และเปลี่ยนสถานภาพของชาวอิตาลีในตูนิเซียอย่างเป็นทางการ รวมไปถึงปล่อยให้อิตาลีสามารถจัดการกับการรบในเอธิโอเปียได้อย่างเสรี เพื่อแลกเปลี่ยนกับสนธิสัญญาดังกล่าว ฝรั่งเศสหวังว่าอิตาลีจะมีใจออกห่างจากเยอรมนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และข้อตกลงฝรั่งเศส-อิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวทอง สิงหพัลลภ

วทอง สิงหพัลลภ หรือนายเปรม ถนอมวงศ์ เกิดเมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2477 ที่ จังหวัดระยอง สถิติการชก 7 ครั้ง ชนะ 4 (น็อค 3) แพ้ 3.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และดาวทอง สิงหพัลลภ · ดูเพิ่มเติม »

ดิวเทอเรียม

วเทอเรียม (Deuterium) สัญญลักษณ์ 2H ถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าไฮโดรเจนหนัก เป็นหนึ่งในสองของไอโซโทปของไฮโดรเจนที่เสถียร โดยที่นิวเคลียสของอะตอมมีโปรตอน 1 ตัวและนิวตรอน 1 ตัว ในขณะที่ไอโซโทปของไฮโดรเจนที่รู้จักกันทั่วไปมากกว่าที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โปรเทียม (protium) มีเพียงโปรตอนเดียวเท่านั้น ไม่มีนิวตรอน ดิวเทอเรียมมี'ความอุดมในธรรมชาติ' โดยพบในมหาสมุทรทั่วไปประมาณหนึ่งอะตอมใน 6420 อะตอมของไฮโดรเจน ทำให้ดิวเทอเรียมมีสัดส่วนที่ประมาณ 0.0156% (หรือ 0.0312% ถ้าคิดตามมวล) ของไฮโดรเจนที่เกิดในธรรมชาติทั้งหมดในมหาสมุทร ในขณะที่โปรเทียมมีสัดส่วนมากกว่า 99.98% ความอุดมของดิวเทอเรียมเปลี่ยนแปงเล็กน้อยตามชนิดของน้ำตามธรรมชาติ (ดู ค่าเฉลี่ยของน้ำในมหาสมุทรตามมาตรฐานเวียนนา) นิวเคลียสของดิวเทอเรียมเรียกว่าดิวเทอรอน เราใช้สัญลักษณ์ 2H แทนดิวเทอเรียม อย่างไรก็ตาม บ่อยครั้งที่เราใช้ D แทนดิวเทอเรียม เช่นเมื่อเราต้องการจะเขียนสัญลักษณ์แทนโมเลกุลก๊าซดิวเทอเรียม จะสามารถเขียนแทนได้ว่า 2H2 หรือ D2 ก็ได้ หากแทนที่ดิวเทอเรียมในโมเลกุลของน้ำ จะทำให้เกิดสารดิวเทอเรียมออกไซด์หรือที่เรียกว่าน้ำมวลหนักขึ้น ถึงแม้น้ำชนิดหนักจะไม่เป็นสารพิษที่ร้ายแรงมากนัก แต่ก็ไม่เคยถูกนำมาใช้ในการอุปโภคบริโภค การมีอยู่ของดิวเทอเรียมในดาวฤกษ์เป็นข้อมูลสำคัญในวิชาจักรวาลวิทยา โดยปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันในดาวฤกษ์จะทำลายดิวเทอเรียม ยังไม่พบกระบวนการในธรรมชาติใดๆที่ทำให้เกิดดิวเทอเรียมนอกจากปรากฏการณ์บิ๊กแบง ดิวเทอเรียมไม่มีอะไรต่างจากไฮโดรเจนมากนักในเชิงเคมีฟิสิกส์ นอกเสียจากว่ามีมวลที่หนักกว่า ซึ่งมวลที่หนักกว่านี้เองที่ทำให้ดิวเทอเรียมเปรียบเสมือนกับไฮโดรเจนที่เชื่องช้า เนื่องจากการที่มีมวลมากกว่า จะทำให้มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาน้อยกว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และดิวเทอเรียม · ดูเพิ่มเติม »

ครุยเซอร์ เอ็มเค I

รุยเซอร์ เอ็มเค I (Cruiser Mk I) เอ็มเค I หรือ เอ9 เป็นรถถังลาดตระเวณขนาดกลางของสหราชอาณาจักร ได้รับการออกแบบโดย เซอร์ จอห์น คาร์เดน ในปี ค.ศ. 1934 และได้รับการสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1937 เป็นจำนวนกว่า 125 คัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และครุยเซอร์ เอ็มเค I · ดูเพิ่มเติม »

ครูบาคำหล้า สังวโร

รูบาคำหล้า เป็นพระมหาเถระแห่งล้านนา ผู้ที่บูรณะพระธาตุสำคัญหลายแห่ง เช่น พระธาตุดอยตุง วัดพระธาตุดอยจอมสักสังวราราม พระธาตุดอยเขาควาย จังหวัดเชียงราย เจดีย์วัดนาหนุน จังหวัดน่าน ฯลฯ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และครูบาคำหล้า สังวโร · ดูเพิ่มเติม »

คลองปานามา

แผนที่การเดินทางในคลองปานามา โดยมีรายชื่อประตูกั้นน้ำประกอบ สถานที่ตั้งของคลองปานามาระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน โดยตัวคลองตั้งอยู่บริเวณตรงกลางของแผนที่ คลองปานามา (Panama Canal) เป็นคลองเดินเรือสมุทรความยาว 77 กิโลเมตร สร้างขึ้นบริเวณคอคอดปานามาในประเทศปานามา เพื่อเชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยย่นระยะเวลาที่ต้องไปอ้อมช่องแคบเดรกและแหลมฮอร์น ทางใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ คิดเป็นระยะทางกว่า 22,500 กิโลเมตร ซึ่งมีผลอย่างยิ่งต่อการเดินเรือระหว่างสองมหาสมุทร โดยถูกใช้เป็นเส้นทางเดินเรือหลักสำหรับการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ตั้งแต่เปิดทำการ คลองปานามาประสบความสำเร็จและเป็นกุญแจสำคัญในการขนส่งสินค้าทั่วโลก จำนวนเรือที่ผ่านคลองปานามาเพิ่มขึ้นจาก 1,000 ลำต่อปีในยุคแรกเริ่ม มาเป็น 14,702 ลำต่อปี ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และคลองปานามา · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตรา

ลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลพาเธอร์ (Κλεοπάτρα θεά φιλοπάτωρ; หรือรู้จักทั่วไปในนาม คลีโอพัตรา) (มกราคม ปีที่ 69 ก่อนคริสตกาล – 30 พฤศจิกายน ปีที่ 30 ก่อนคริสตกาล) เป็นพระราชินีแห่งอียิปต์โบราณและเชื้อพระวงศ์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทอเลมีแห่งมาซิโดเนีย ดังนั้นจึงเป็นผู้ปกครองอียิปต์ที่มีเชื้อสายกรีกคนสุดท้าย บิดาของพระนางคือทอเลมีที่ 12 ออเลติส และคาดว่าพระมารดาเป็นเชษฐภคินีของโอเลเตส ทรงพระนามว่า คลีโอพัตราที่ 5 ทรีฟาเอนา ชื่อ "คลีโอพัตรา" เป็นภาษากรีก แปลว่า "ความเจริญรุ่งเรืองของบิดา" พระนามเต็มของพระนางคือ "คลีโอพัตรา เธอา ฟิโลปาตอร์" ซึ่งหมายถึง "เทพีคลีโอพัตรา ผู้เป็นที่รักของบิดา" พระนางมีพระปรีชาสามารถมาก ทรงแตกฉานถึง 14 ภาษา เช่น ฮิบรู, ละติน, มาเซดอนโบราณ, เอธิโอเปียน, ซีเรีย, เปอร์เซีย, และ อียิปต์ ซึ่งแม้แต่ในราชวงศ์ น้อยคนนักที่จะแตกฉานภาษานี้ ปัจจุบัน คลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลปาตอร์ นับว่าเป็นผู้ปกครองอียิปต์โบราณที่มีชื่อเสียงมากที่สุด นิยมเรียกพระนามสั้น ๆ ว่า คลีโอพัตรา ซึ่งทำให้ราชินีองค์ก่อน ๆ ที่ทรงพระนามคล้ายคลึงกัน ลบเลือนไปสิ้น ในความเป็นจริง พระนางไม่เคยปกครองอียิปต์เพียงลำพัง แต่ครองราชย์ร่วมกับพระบิดา, พระอนุชา, สวามีผู้เป็นอนุชาของพระองค์ หรือไม่ก็พระโอรส การครองราชย์ร่วมกันดังกล่าวมีผู้ร่วมบัลลังก์เป็นเพียงกษัตริย์ตามพระยศเท่านั้น อำนาจแท้จริงอยู่ในมือของคลีโอพัตราเองทั้งสิ้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และคลีโอพัตรา · ดูเพิ่มเติม »

คาร์ล เซแกน

ร์ล เซแกน (Carl Sagan) นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน (ค.ศ. 1934 - 1996) เป็นผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับบรรยากาศของดาวเคราะห์ต่าง ๆ เซแกนได้ศึกษาว่าสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นและมีวิวัฒนาการบนโลกอย่างไร สนใจถึงความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตอยู่บนดาวอื่นเป็นพิเศษ เซแกนเป็นคนริเริ่มความคิดที่จะติดตั้งแผ่นป้ายบนยานสำรวจอวกาศไพโอเนียร์ 10 ที่เป็นเหมือนจดหมายจากโลก ยานไพโอเนียร์ 10 ผ่านเข้าใกล้ดาวพฤหัสบดีใน ค.ศ. 1973 ก่อนที่จะออกไปยังขอบนอกของระบบสุริยะแล้วออกสู่อวกาศ แผ่นป้ายแบบเดียวกันติดไปกับยานสำรวจอวกาศไพโอเนียร์ 11 ในปีต่อมา นอกจากงานด้านดาราศาสตร์แล้ว เซแกนยังมีชื่อเสียงจากนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง Contact ซึ่งเกี่ยวกับความพยายามของมนุษย์ในการค้นหาสิ่งมีชีวิตทรงภูมิปัญญานอกโลก นิยายเรื่องนี้ ภายหลังได้ถูกนำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ในชื่อเดียวกัน (ชื่อภาษาไทยคือ "คอนแทค อุบัติการณ์สัมผัสห้วงจักรวาล") นำแสดงโดย โจดี้ ฟอสเตอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และคาร์ล เซแกน · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ

มาชิกสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ทวีปแอฟริกาแสดงด้วยสีดำ ทวีปอเมริกาแสดงด้วยสีแดง ทวีปเอเชียแสดงด้วยสีเหลือง ทวีปยุโรปแสดงด้วยสีเขียว และทวีปโอเชียเนียแสดงด้วยสีฟ้า คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (National Olympic Committee; อักษรย่อ: NOC) เป็นองค์กรผู้มีอำนาจระดับประเทศ ในกระบวนการโอลิมปิกระดับนานาชาติ ภายใต้การควบคุมโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล นอกจากนั้น คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติทั้งหลาย ยังมีหน้าที่ส่งเสริมพัฒนาการของนักกีฬา และการฝึกอบรมผู้ฝึกสอน ตลอดจนเป็นเจ้าหน้าที่การกีฬาระดับชาติภายในภูมิภาคของตน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) มีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ซึ่งผู้แทนของทั้งประเทศเอกราช และดินแดนปกครองพิเศษต่างๆ รวมทั้งหมด 206 ชุด โดยในบรรดาสมาชิกสหประชาชาติ 193 ประเทศ รวมทั้งดินแดนอื่นอีก 9 แห่งดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 5 (16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 22 กันยายน พ.ศ. 2477) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน) ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6

ระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 (22 กันยายน พ.ศ. 2477 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480) นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 กรมพระนริศรานุวัตติวงศ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เป็นผู้ลงนาม และนายพลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2477 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นหนึ่งในสี่คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ร่วมของไทยในสาขาสถาปัตยกรรม และ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง  (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

อาคารรัตนโกสินทร์ 200 ปี คณะผลิตกรรมการเกษตร คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ถือได้ว่าเป็นคณะแรกที่เปิดสอนของมหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ · ดูเพิ่มเติม »

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นส่วนราชการระดับคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นหนึ่งในสี่ของมหาวิทยาลัยภายหลังที่ได้ยกเลิกระบบการสอนแบบธรรมศาสตร์บัณฑิต และนับเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งแรกของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์

งตัวทางคณิตศาสตร์ คือปริมาณที่มีอยู่โดยตรงในวิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งมักจะเป็นจำนวนจริงหรือจำนวนเชิงซ้อน และไม่มีการเปลี่ยนแปลง ต่างจากค่าคงตัวทางฟิสิกส์ ที่ค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์นิยามเป็นเอกเทศจากการวัดเชิงกายภาพใดๆ มีจำนวนมากมายที่มีความสำคัญเป็นพิเศษในวิชาคณิตศาสตร์ และมีอยู่ในเนื้อความแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่นในการคูณด้วยจำนวนเชิงซ้อนที่ไม่ใช่ศูนย์ จะมีฟังก์ชันเอกพันธุ์ เฉพาะตัว f ที่มี f'.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์

รายการประกาศผลรางวัลออสการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 6

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 6 เป็นการมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของออสเตรีย

ตราแผ่นดินของออสเตรีย รุ่นล่าสุดที่ปราศจากโซ่ที่ขาดออก เดิมถูกใช้โดยสาธารณรัฐออสเตรียที่หนึ่ง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1919 - 1934 และในช่วงภายใต้การปกครองนาซีเยอรมันในปี ค.ศ. 1938 ออสเตรียก็ได้ใช้ตราแผ่นดินในรุ่นที่ต่างออกไปซึ่งมีนกอินทรีสองหัวประกอบอยู่ด้วยและหลังจากการสถาปนาสาธารณรัฐออสเตรียที่สอง ในปี ค.ศ. 1945 ตราแผ่นดินรุ่นเดิมของสาธารณรัฐที่หนึ่งก็ได้มีการนำกลับมาใช้อีกครั้ง ซึ่งได้เพิ่มโซ่เหล็กที่ขาดออกเป็นสองท่อนติดอยู่ที่ปลายของขานกอินทรี อันหมายถึงความเป็นอิสระหลังจากที่ออสเตรียถูกปลดปล่อยจากภายใต้การปกครองของนาซีเยอรมันตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และตราแผ่นดินของออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเม็กซิโก

ตราแผ่นดินกลางธงชาติเม็กซิโก ได้รับแรงบัลดาลใจในการออกแบบจากตำนานชาวอัซเตก เกี่ยวกับตำนานสร้างเมืองเตนอชตีตลัน (Tenochtitlán) ตามเรื่องราวที่เล่าขานกันทั่วไปกล่าวกันว่า ชาวอัซเตกได้ออกเดินทางไปทั่วบริเวณที่เป็นประเทศเม็กซิโกในปัจจุบัน เพื่อแสวงหาที่ตั้งเมืองหลวงของพวกตน ตามนิมิตที่เทพเจ้าวิตซิลโลปอชตลี (Huitzilopochtli) ผู้เป็นเทพแห่งสงครามของชาวอัซเตกระบุไว้ว่า ที่ตั้งของเมืองหลวงใหม่นั้นจะมีนกอินทรีคาบและจับอสรพิษเกาะอยู่บนต้นกระบองเพชร ซึ่งตั้งอยู่บนโขดหินกลางทะเลสาบ 200 ปีต่อมาพวกเขาจึงพบนกอินทรีตามนิมิตดังกล่าวบนเกาะเล็กๆ ในทะเลสาบเท็กโกโก้ พวกเขาจึงสร้างเมืองเตนอชตีตลันขึ้น ณ ที่นี้ ซึ่งในเวลาต่อมาคือกรุงเม็กซิโกซิตี เมืองหลวงของประเทศเม็กซิโกในปัจจุบัน แบบของตราที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้ เป็นการปรับปรุงแบบตราใหม่เมื่อ พ.ศ. 2511 โดย ฟรานซิสโก เอปเปนส์ เฮลเกรา (Francisco Eppens Helguera) ภายใต้คำสั่งของประธานาธิบดีกุสตาโว ดิแอซ ออร์ดาซ (Gustavo Díaz Ordaz).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และตราแผ่นดินของเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ. 2369 ถึงปี พ.ศ. 2461 ชื่อ ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา อาจหมายถึงตระกูลหรือราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ซึ่งมีบทบาทสำคัญมากมายและหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์การเมืองและราชสำนักยุโรปสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

ซาดิเย ทอปตานี

ซาดิเย ทอปตานี (Sadijé Toptani หรือ Nëna Mbretëreshë e Shqiptarëve) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 1876 ณ กรุงติรานา โดยพระองค์เป็นบุตรสาวของนายซาละห์ เบย์ ทอปตานี ซึ่งเป็นญาติของนายอาซาด ปาชา ทอปตานีซึ่งเป็นสมาชิกที่มีชื่อเสียงผู้หนึ่งในตระกูลทอปตานี ส่วนซาดิเย ทอปตานีเองก็ได้เป็นภรรยาคนที่สองของจามาล ปาชา โซกู ภายหลังจากการเสียชีวิตของมะลัก ฮานิม (Melek Hanem) ภรรยาคนแรก หลังจากพระราชโอรสของพระองค์ พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนียได้เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ของประเทศแอลเบเนียในปี ค.ศ. 1928 ซาดิเย ทอปตานีจึงได้รับการสถาปนาให้ดำรงพระราชอิสริยยศเป็น สมเด็จพระบรมราชชนนี (Queen Mother) โดยซาดิเย ทอปตานีได้ดำรงตำแหน่งนี้จนกระทั่งเสด็จสวรรคต โดยพระองค์ได้เป็นผู้คุมต้นเครื่องเสวยที่ส่งถวายให้พระราชโอรสของพระองค์เสวย เพื่อให้แน่ใจว่าอาหารที่พระราชโอรสจะเสวยจะไม่ปนเปื้อนยาพิษ ซาดิเย ทอปตานี เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1934 โดยประกอบพิธีปลงพระบรมศพ ในกรุงติรานา ประเทศแอลเบเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และซาดิเย ทอปตานี · ดูเพิ่มเติม »

ซานเตียโก รามอน อี กาฮาล

ซานเตียโก รามอน อี กาฮาล (Santiago Ramón y Cajal) ForMemRS (1 พฤษภาคม 2395 – 18 ตุลาคม 2477) เป็นแพทย์ อาจารย์ พยาธิแพทย์ นักมิญชวิทยาและนักประสาทวิทยาศาสตร์ชาวสเปน ได้รับรางวัลรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ในปี..1906 (พ.ศ. 2449) จากการศึกษาระบบประสาทด้วยการย้อมสี เป็นบุตรของ คุสโต รามอน กาซาซุส กับอันโตเนีย กาฮาล การสำรวจรุ่นบุกเบิกของเขาเกี่ยวกับโครงสร้างจุลทรรศน์ของสมอง เป็นงานต้นฉบับในประสาทวิทยาศาสตร์ จึงได้รับการพิจารณาว่าเป็นบิดาของประสาทวิทยาศาสตร์ เขามีความชำนาญในการวาดรูปและภาพวาดเซลล์สมองเป็นร้อย ๆ ของเขาก็ยังถูกใช้ในการศึกษาจนกระทั่งถึงทุกวันนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และซานเตียโก รามอน อี กาฮาล · ดูเพิ่มเติม »

ซิกวาร์ด เบอร์นาดอต

้าชายซิกวาร์ดแห่งสวีเดน เจ้าชายซิกวาร์ดแห่งสวีเดน ดยุคแห่งอัปป์ลันด์ (Prince Sigvard of Sweden, Duke of Uppland) หรือว่า เค้านท์ซิกวาร์ด เบอร์นาด็อตแห่งวิสบอร์ก (Count Sigvard Bernadotte of Wisborg; ซิกวาร์ด ออสการ์ เฟรเดริค ประสูติ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2450 สิ้นพระชนม์ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545) เป็นพระราชโอรสพระองค์รองและที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟที่ 6 อดอล์ฟแห่งสวีเดน และ เจ้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งคอนน็อต และเป็นพระปิตุลาของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน และ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก นอกจากนั้นยังเป็นพระราชปนัดดาที่มีพระชนม์ชีพยืนยาวที่สุดของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และซิกวาร์ด เบอร์นาดอต · ดูเพิ่มเติม »

ซิมคา

ซิมคา (Simca; Société Industrielle de Mécanique et de Carrosserie Automobile) เป็นชื่อผู้ผลิตรถยนต์ของฝรั่งเศสในอดีต ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2477 โดย เฮนรี่ ทีโอดอร์ ปิโกซสิ และปิดกิจการในปี พ.ศ. 2522 โดยบริษัท พีเอสเอ เจ้าของรถยนต์ยี่ห้อ ซีตรอง และ เปอโยต์ ของประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และซิมคา · ดูเพิ่มเติม »

ซิดนีย์ พอลแลค

ซิดนีย์ พอลแลค (Sydney Pollack; 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 - 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2551) เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ และนักแสดงชาวอเมริกัน มีผลงานกำกับภาพยนตร์มากกว่า 21 เรื่อง และผลงานแสดงภาพยนตร์มากกว่า 30 เรื่อง มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากผลงานกำกับภาพยนตร์ Out of Africa (1985), Tootsie (1982), Three Days of the Condor (1975), The Yakuza (1975), The Way We Were และ Jeremiah Johnson (1972) และผลงานกำกับในยุคหลัง เช่น The Interpreter (2005), Sabrina (1995), The Firm (1993) และ Havana (1990) ซิดนีย์ พอลแลค เสียชีวิตอย่างสงบท่ามกลางครอบครัว เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 ด้วยโรคมะเร็ง ที่บ้านในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เขาตรวจพบว่าป่วยเป็นมะเร็ง 9 เดือนก่อนจะเสียชีวิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และซิดนีย์ พอลแลค · ดูเพิ่มเติม »

ประชา คุณะเกษม

ประชา คุณะเกษม 29 ธันวาคม พ.ศ. 2477—8 ตุลาคม พ.ศ. 2552 อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร พรรคไทยรักไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประชา คุณะเกษม · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย)

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแห่งประเทศไทย (ย่อ: ป.วิ.อ.) เป็นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อันเป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติ (procedural law) ของประเทศไทย เป็นหนึ่งในบรรดาประมวลกฎหมายที่รัฐบาลไทย (แต่ครั้งที่ยังเรียกชื่อประเทศว่า "สยาม") เร่งผลิตใช้ เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำไว้กับต่างประเทศ อันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาลแสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552: 204.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ย่อ: ป.พ.พ.) เป็นประมวลกฎหมายแพ่ง อันเป็นกฎหมายสารบัญญัติ (substantive law) แห่งประเทศไทย เริ่มร่างครั้งแรกใน ร.ศ. 127 ตรงกับ พ.ศ. 2451 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาเมื่อปีเดียวกัน เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำไว้กับต่างประเทศอันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาลแสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552: 204.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประมาณ อดิเรกสาร

ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประมาณ อดิเรกสาร · ดูเพิ่มเติม »

ประยอม ซองทอง

ประยอม ซองทอง (1 มกราคม พ.ศ. 2477 -) เป็นนักเขียนชาวไทย ที่มีชื่อเสียงจากการเขียนกลอน มีผลงานรวมเล่มตีพิมพ์เป็นจำนวนมาก และยังมีผลงานเขียนบทความรณรงค์การใช้ภาษา และบทความเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย ในหนังสือพิมพ์และนิตยสาร ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประยอม ซองทอง · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ (history; รากศัพท์ภาษากรีก ἱστορία หมายถึง "การสอบถามหาความรู้ที่ได้มาโดยการสอบสวน") เป็นการค้นพบ ค้นหา รวบรวม จัดระเบียบและนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ในอดีตประวัติศาสตร์ยังอาจหมายถึงช่วงเวลาหลังมีการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้น นักวิชาการผู้เขียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์เรียกนักประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นสาขาการวิจัยซึ่งใช้การบรรยายเพื่อพิจารณาและวิเคราะห์ลำดับของเหตุการณ์ และบางครั้งพยายามสอบสวนรูปแบบของเหตุและผลซึ่งมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์อย่างยุติธรรม นักประวัติศาสตร์ถกเถียงกันเรื่องธรรมชาติของประวัติศาสตร์และประโยชน์ของมัน ซึ่งรวมทั้งถกเถียงการศึกษาสาขาวิชาเป็นจุดจบในตัวมันเองและเป็นเสมือนวิถีการให้ "มุมมอง" ต่อปัญหาในปัจจุบันp 52 เรื่องเล่าซึ่งเป็นสิ่งธรรมดาในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ่ง แต่ไม่มีการสนับสนุนจากแหล่งข้อมูลภายนอก (เช่น ตำนานเกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์) มักจัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมมากกว่า "การสอบสวนอย่างไม่นำพา" ที่จำเป็นตามสาขาประวัติศาสตร์ เหตุการณ์ในอดีตก่อนมีบันทึกลายลักษณ์อักษรเรียกว่า ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในบรรดานักวิชาการ นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล เฮโรโดตัส ถูกพิจารณาว่าเป็น "บิดาแห่งประวัติศาสตร์" เขาร่วมกับธูซิดดิดีส0 นักประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ก่อตั้งรากฐานของการศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ อิทธิพลของพวกเขา ร่วมกับแบบแผนทางประวัติศาสตร์อื่นในส่วนอื่นของโลก ได้ก่อให้เกิดการตีความธรรมชาติของประวัติศาสตร์ไปต่าง ๆ นานา ซึ่งได้วิวัฒนามาเป็นเวลาหลายศตวรรษและยังมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ในปัจจุบัน การศึกษาประวัติศาสตร์สมัยใหม่มีหลายสาขา รวมทั้งสาขาที่มุ่งศึกษาภูมิภาคหนึ่งโดยเฉพาะ และสาขาที่มุ่งศึกษาองค์ประกอบเฉพาะหัวข้อหรือใจความของการสอบสวนประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์มักสอนเป็นส่วนหนึ่งในการศึกษาขั้นประถมและมัธยม และการศึกษาวิชาการประวัติศาสตร์เป็นสาขาหลักในระดับอุดมศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประวัติศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฟิสิกส์

''Table of Mechanicks'', 1728 ''Cyclopaedia''. ประวัติศาสตร์ของฟิสิกส์ คือ การศึกษาการเติบโตของฟิสิกส์ไม่ได้นำมาเพียงแค่การเปลี่ยนแปลงแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับโลกแห่งวัตถุ คณิตศาสตร์ และ ปรัชญา เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี และการเปลี่ยนรูปแบบของสังคม ฟิสิกส์ถูกพิจารณาในแง่ของทั้งตัวเนื้อความรู้และการปฏิบัติที่สร้างและส่งผ่านความรู้ดังกล่าว การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ซึ่งเริ่มต้นประมาณปี ค.ศ. 1600 เป็นขอบเขตง่าย ๆ ระหว่างแนวคิดโบราณกับฟิสิกส์คลาสสิก ในปี ค.ศ. 1900 จึงเป็นจุดเริ่มต้นของฟิสิกส์ยุคใหม่ ทุกวันนี้วิทยาศาสตร์ยังไม่มีอะไรแสดงถึงจุดสมบูรณ์ เพราะการค้นพบที่มากขึ้นนำมาซึ่งคำถามที่เกิดขึ้นจากอายุของเอกภพ ไปถึงธรรมชาติของสุญญากาศ และธรรมชาติในที่สุดของสมบัติของอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอม ทฤษฎีบางส่วนเป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่ฟิสิกส์ได้เสนอในปัจจุบันนี้ อย่างไรก็ตามรายนามของปัญหาที่ยังแก้ไม่ได้ของฟิสิกส์ ก็ยังคงมีมากอยู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประทิน สันติประภพ

ณะที่ พล.ต.อ.ประทิน ชกเข้าที่ใบหน้า นายอดุลย์ วันไชยธนวงศ์ พลตำรวจเอกประทิน สันติประภพ (19 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นามสกุลเดิม "ก้อนแก้ว") อดีตสมาชิกวุฒิสภากรุงเทพมหานคร อดีตอธิบดีกรมตำรวจและเป็นบิดาของ วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทยคนที่ 20.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประทิน สันติประภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกาตาร์

กาตาร์ (قطر‎) หรือชื่อทางการคือ รัฐกาตาร์ (دولة قطر) เป็นรัฐเจ้าผู้ครองนคร (emirate) ในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนคาบสมุทรขนาดเล็กที่แตกมาจากคาบสมุทรอาหรับ มีพรมแดนทางใต้ติดกับประเทศซาอุดีอาระเบีย และมีชายฝั่งริมอ่าวเปอร์เซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศมองโกเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศอัฟกานิสถานใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศอาร์เจนติน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศอิตาลีใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศอินเดียใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซาอุดีอาระเบีย

ซาอุดีอาระเบีย (Saudi Arabia; السعودية) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (المملكة العربية السعودية) เป็นรัฐอาหรับในเอเชียตะวันออกกลาง กินอาณาบริเวณกว้างขวางในคาบสมุทรอาหรับ มีพื้นที่ประมาณ 2,149,690 ตารางกิโลเมตร ประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับสองในโลกอาหรับรองจากประเทศแอลจีเรีย ประเทศซาอุดีอาระเบียมีพรมแดนติดประเทศจอร์แดนและอิรักทางเหนือ ประเทศคูเวตทางตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศกาตาร์ บาห์เรนและสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ทางตะวันออก ประเทศโอมานทางตะวันออกเฉียงใต้ และประเทศเยเมนทางใต้ เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งติดทั้งทะเลแดงและอ่าวเปอร์เซีย และภูมิประเทศส่วนใหญ่ประกอบด้วยทะเลทรายแห้งแล้ง อยู่อาศัยไม่ได้ หรือธรณีสัณฐานไม่อุดม พื้นที่ประเทศซาอุดีอาระเบียสมัยใหม่ประกอบด้วยสี่ภูมิภาคสำคัญ ได้แก่ ฮิญาซ นัจญด์ และบางส่วนของอาระเบียตะวันออกและอาระเบียใต้ ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบียก่อตั้งในปี 2475 โดย พระเจ้าอิบนุ ซะอูด (King Ibnu Saud) พระองค์ทรงรวบรวมสี่ภูมิภาคเข้าเป็นรัฐเดี่ยวผ่านชุดการพิชิตเริ่มตั้งแต่ปี 2445 ด้วยการยึดรียาด บ้านบรรพบุรุษแห่งราชวงศ์ซะอูดของพระองค์ นับแต่นั้น ประเทศเป็นสมบูรณาญาสิทธิราช เป็นเผด็จการสืบสายโลหิตที่ปกครองตามแบบอิสลาม ขบวนการศาสนาวะฮาบีย์ภายในนิกายซุนนีย์ถูกเรียกว่า "ลักษณะเด่นของวัฒนธรรมซาอุดีอาระเบีย" บ้างเรียกประเทศซาอุดีอาระเบียว่า "ดินแดนสองมัสยิดศักดิ์สิทธิ์" โดยหมายถึง อัลมัสยิดอัลฮาราม (Al-Masjid al-Haram) ในมักกะฮ์ และอัลมัสยิดอันนาบาวี (Al-Masjid al-Nabawi) ในมะดีนะฮ์ ซึ่งเป็นสองมัสยิดที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนาอิสลาม แห่งราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย มีประชากร 28.7 ล้านคน สัญชาติซาอุดีอาระเบีย 20 ล้านคน และ 8.7 ล้านคนเป็นชาวต่างประเทศ มีการค้นพบปิโตรเลียมในปี 2481 และประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้ผลิตและส่งออกน้ำมันรายใหญ่ที่สุดของโลกแต่ต่อไปน้ำมันคงไร้ความหมาย โดยควบคุมน้ำมันสำรองใหญ่ที่สุดอันดับสองของโลก ราชอาณาจักรจัดอยู่ในเศรษฐกิจรายได้สูงของธนาคารโลกโดยมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูง และเป็นประเทศอาหรับประเทศเดียวที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ จี 20 ทว่า เศรษฐกิจซาอุดีอาระเบียมีความหลากหลายน้อยที่สุดในสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรเป็นอัตตาธิปไตยราชาธิปไตยและฟรีดอมเฮาส์จัดว่า "ไม่เสรี" ประเทศซาอุดีอาระเบียมีรายจ่ายทางทหารสูงสุดเป็นอันดับ 4 ของโลก และในปี 2553–2557 SIPRI พบว่าประเทศซาอุดีอาระเบียเป็นผู้นำเข้าอาวุธรายใหญ่ที่สุดอันดับ 2 ของโลก ประเทศซาอุดีอาระเบียถือว่าเป็นอำนาจภูมิภาคและปานกลาง นอกเหนือจากสภาความร่วมมืออ่าว ราชอาณาจักรยังเป็นสมาชิกขององค์การความร่วมมืออิสลามและโอเปคและนอกจากนี้ยังเริ่มมีการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางทะเลอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศซาอุดีอาระเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกสใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศโปรตุเก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศโปรตุเกสใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2468

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2468 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2468 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2469

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2469 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2469 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2470

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2470 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2471

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2471 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2472

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2472 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2472 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2473

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2473 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2473 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2474

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2474 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2474 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2477

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2477 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2477 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2478

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2478 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2478 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2479

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2479 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2479 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2480

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2480 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2481

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2481 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2481 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2482

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2482 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2482 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2483

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2483 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2484

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2484 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2484 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2486

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2486 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2486 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2487

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2487 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2487 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2488

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2488 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศไทยใน พ.ศ. 2488 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศเบลเยียมใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศเม็กซิโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศเม็กซิโกใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ซอร์เบียและมอนเตเนโกร (Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึง พ.ศ. 2549 ตั้งอยู่บนคาบสมุทรบอลข่านตอนตะวันตกกลาง ซึ่งแต่เดิมมีชื่อประเทศว่า สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศในปี2003 ในชื่อ สหภาพรัฐเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกรมีความร่วมมือกันเฉพาะบางด้านในการเมือง (เช่น ผ่านสหพันธ์การป้องกันประเทศ) ทั้ง 2 รัฐมีนโยบายเศรษฐกิจและหน่วยเงินของตนเอง และประเทศไม่มีเมืองหลวงรวมอีกต่อไป โดยที่แบ่งแยกสถาบันที่ใช้ร่วมกันระหว่างเมืองเบลเกรดในเซอร์เบียและเมืองพอดกอรีตซาในมอนเตเนโกร ทั้งสองรัฐแยกออกจากกันหลังจากมอนเตเนโกรจัดให้มีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ปีเดียวกัน ทำให้เกิดประเทศใหม่คือประเทศมอนเตเนโกร ส่วนประเทศเซอร์เบียก็กลายเป็นผู้สืบสิทธิ์ต่าง ๆ ของประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ปลาชะโอน

ปลาชะโอน เป็นชื่อปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ompok bimaculatus อยู่ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) มีรูปร่างหัวสั้นและแบนข้างเล็กน้อย ลำตัวแบนข้าง ส่วนหลังยกสูงเล็กน้อย ปากเล็ก ตาโตอยู่เหนือมุมปาก หนวดที่ริมฝีปากยาวถึงบริเวณท้อง หนวดใต้คางสั้น ครีบหลังเล็ก ครีบอกใหญ่ ครีบหางเว้าตื้นมีปลายแฉกมน ตัวมีสีตามสภาพน้ำ ปลาที่อาศัยในแหล่งน้ำใส ตัวมักมีสีคล้ำและมีจุดประสีคล้ำ ที่เหนือครีบอกมีแต้มกลมสีคล้ำ ในบริเวณน้ำขุ่นมักมีตัวสีขุ่น ขาวซีด ครีบใส มีแต้มสีคล้ำบริเวณโคนหาง มีขนาดประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 40 เซนติเมตร อาศัยเป็นฝูงเล็ก ๆ ในแหล่งน้ำนิ่งและแม่น้ำของทุกภาค ตั้งแต่แม่น้ำแม่กลองถึงแม่น้ำโขง บริโภคโดยปรุงสด โดยเฉพาะทอดกรอบ มีรสชาติดีมาก ปลารมควัน และปลาเค็ม เคยเป็นสินค้ามีชื่อของทะเลสาบเขมรด้วย อีกทั้งยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยเฉพาะปลาที่เป็นสีเผือก ปลาชะโอน มีชื่อเรียกต่างออกไปตามถิ่นต่าง ๆ เช่น "ปลาสยุมพร", "ปลาเนื้ออ่อน" ในภาษาอีสานเรียก "ปลาเซือม" และเรียกสั้น ๆ ในภาษาใต้ว่า "ปลาโอน" เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลาชะโอน · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระสูบจุด

ปลากระสูบจุด (Eye-spot barb, Spotted hampala barb) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะรูปร่างค่อนข้างยาว แบนข้างเล็กน้อย หัวยาว ปากกว้างมาก มีหนวดสั้น 1 คู่ที่ริมฝีปาก ครีบหลังค่อนข้างเล็ก ครีบหางเว้าลึก เกล็ดค่อนข้างใหญ่ ตัวมีสีเงิน ด้านหลังสีคล้ำอมน้ำตาล ด้านท้องสีจาง ด้านข้างลำตัวมีจุดสีคล้ำข้างละหนึ่งดวง ครีบมีสีแดงเรื่อ ครีบหางมีสีแดงไม่มีแถบสีคล้ำ เป็นปลาที่พบได้เฉพาะที่ภาคอีสานของไทย ในต่างประเทศพบได้เฉพาะประเทศลาวและกัมพูชาเท่านั้น มีขนาดประมาณ 25 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 35 เซนติเมตร ชื่อวิทยาศาสตร์ dispar เป็นภาษาละตินหมายถึง "ไม่เหมือน" หรือ "ซึ่งแตกต่างกัน" อันหมายถึงสัณฐานที่แตกต่างจากปลากระสูบขีด (H. macrolepidota) ซึ่งเป็นปลากระสูบอีกชนิดหนึ่ง ที่พบได้ในประเทศไทย และเป็นชนิดต้นแบบ อนุกรมวิธานโดย ฮิว แมคคอร์มิค สมิธ สถานที่ค้นพบครั้งแรก คือ แม่น้ำมูลในจังหวัดอุดรธานี เป็นปลานักล่า กินปลาและสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร บริโภคโดยปรุงสด และทำปลาร้า, ปลาส้ม และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลากระสูบจุด · ดูเพิ่มเติม »

ปลากาแดง

ปลากาแดง ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Epalzeorhynchos frenatum อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลากาแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลามูดหน้านอ

ปลามูดหน้านอ ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Garra fuliginosa อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 18-20 เซนติเมตร โดยพบขนาดใหญ่สุดถึง 30 เซนติเมตร มีลักษณะลำตัวสั้นทรงกระบอก หัวโตและแบนราบที่ด้านล่าง ด้านหน้าของหัวเว้า และมีโหนกยื่นออกเป็นตุ่มแหลม เหมือนปากที่มีฟันเป็นซี่ ๆ ซึ่งตามจริงแล้วมันมีปากจริงเป็นแบบปากดูดอยู่ด้านล่าง ลำตัวสีคล้ำอมเขียวอ่อน ข้าวแก้มมีสีส้มแดง ท้องสีจางอมส้ม ครีบอกแผ่ออกทางแนวราบ ครีบหางเว้าลึก อาหารของปลามูดหน้านอคือ สาหร่ายและตะไคร่น้ำตามก้อนหินและท่อนไม้ใต้น้ำ โดยมักใช้ปากดูดเกาะติดกับสิ่งที่มีสาหร่ายและตะไคร่น้ำ ปลามูดหน้านอมักอาศัยอยู่ในลำธารน้ำไหลแรงและมีพื้นเป็นกรวดหิน บางแหล่งนิยมรับประทานปลามูดหน้านอ ในวัยที่เป็นลูกปลามักนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปลามูดหน้านอมีชื่ออื่น ๆ อีกว่า "มูด", "ปากจระเข้", "งาลู่"(กะเหรี่ยง), "มูดพม่า".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลามูดหน้านอ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสร้อยน้ำเงิน

ปลาสร้อยน้ำเงิน หรือ ปลาสร้อยปีกแดง ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Cirrhinus caudimaculatus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างที่เพรียวยาว ท้องป่องออก เหนือครีบหลังหลังช่องปิดเหงือกมีแถบสีน้ำเงิน ครีบหลังค่อนข้างใหญ่ โคนครีบหางมีแต้มสีคล้ำ ครีบหางสีส้มเว้าเป็นแฉกและมีขอบสีเข้ม มีขนาดประมาณ 25–30 เซนติเมตร มีพฤติกรรมการหากินเช่นเดียวกับปลาในสกุลเดียวกัน หรือปลาในสกุล Henicorhynchus ซึ่งเป็นชื่อพ้องของกันและกัน พบในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา บริเวณภาคกลางของประเทศไทย และในลุ่มแม่น้ำโขง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลาสร้อยน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตอง

ปลาตอง (Clown knifefishes, Featherbackfishes) เป็นสกุลปลากระดูกแข็งที่อยู่ใน วงศ์ปลากราย (Notoperidae) อันดับปลาลิ้นกระดูก (Osteoglossiformes) ใช้ชื่อสกุลว่า Chitala (/ไค-ตา-ลา/).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลาตอง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาตะกรับห้าแถบ

ปลาตะกรับห้าแถบ หรือ ปลาสลิดหินลายบั้ง หรือ ปลาตะกรับเขียวเหลืองหรือปลานายสิบอินโดแปซิฟิก (Indo-Pacific sergeant) เป็นปลาในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลาตะกรับห้าแถบ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวหางแดง

ปลาซิวหางแดง หรือ ปลาซิวแถบดำ หรือ ปลาซิวบอระเพ็ด (Blackline rasbora, Redline rasbora, Borapet rasbora) ปลาน้ำจืดจำพวกปลาซิวชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rasbora borapetensis อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีลักษณะเส้นข้างลำตัวไม่สมบูรณ์ ลำตัวแบนข้าง นัยน์ตาค่อนข้างโต ครีบหางแยกเป็นแฉก มีแถบสีดำพาดตามความยาวลำตัวจากหัวจนถึงโคนหาง และมีลายสีเขียวปนสีทองพาดตามแนวแถบสีดำ ครีบหางมีสีแดงสด มีขนาดความเต็มที่ประมาณ 5 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่รวมกันเป็นฝูงขนาดใหญ่ พบครั้งแรกที่บึงบอระเพ็ด ในปี ค.ศ. 1934 จึงได้มีการตั้งชื่อสายพันธุ์ตามสถานที่พบ ซึ่งนอกจากจะพบที่บึงบอระเพ็ดแล้ว ยังพบได้ที่หนองหาน จังหวัดสกลนคร, แม่น้ำโขง, กว๊านพะเยา และป่าพรุโต๊ะแดง ที่จังหวัดนราธิวาสอีกด้วย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ได้รับความนิยมทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศมาช้านาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลาซิวหางแดง · ดูเพิ่มเติม »

ปลานวลจันทร์น้ำจืด (สกุล)

ปลานวลจันทร์น้ำจืด เป็นสกุลของปลาน้ำจืดในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Cirrhinus ทั้งหมด 11 ชนิด มีลักษณะสำคัญคือ มีปากเล็ก บางชนิดไม่มีริมฝีปากล่าง บางชนิดทีริมฝีปากบางมาก มีฟันที่ลำคอ 3 แถว มีหนวด 2 คู่ หนวดที่ริมฝีปากบนยาวกว่าหนวดที่มุมปากบน ความยาวของหนวดแตกต่างกันแต่ละชนิด จุดเริ่มต้นของครีบหลังอยู่หน้าจุดเริ่มต้นของครีบท้อง มีก้านครีบแขนง 10–13 ก้าน ก้านครีบเดี่ยวมีขอบเรียบ และไม่เป็นหนามแข็ง ครีบก้นมีก้านครีบแขนง 5 ก้าน ปลาในสกุลนี้เป็นปลาที่นิยมบริโภคกันเป็นปลาเศรษฐกิจ พบกระจายพันธุ์ในทวีปเอเชีย ตั้งแต่ตอนใต้ของจีน, เกาะไต้หวัน, อนุทวีปอินเดีย และภูมิภาคอินโดจีน สำหรับในประเทศไทยมักเรียกปลาในสกุลนี้รวม ๆ กันว่า "ปลานวลจันทร์", "ปลาพอน" หรือ "ปลาพรวน" ในภาษาเขมร หรือ "ปลาสร้อย" เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลานวลจันทร์น้ำจืด (สกุล) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาน้ำฝาย

ปลาน้ำฝาย เป็นปลาน้ำจืดสกุลหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ใช้ชื่อสกุลว่า Sikukia (/สี-กุก-เอีย/).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลาน้ำฝาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแค้ติดหิน

ปลาแค้ติดหิน หรือ ปลาแค้ห้วย (Hill-stream catfish) เป็นปลาหนังในสกุล Glyptothorax (/กลีพ-โท-ทอ-แร็กซ์/) ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae) จัดเป็นปลาขนาดเล็ก มีรูปร่างโดยรวมคือ มีลำตัวเพรียวยาว ครีบหางเว้าลึก อาจมีสีเหลืองเป็นลายพาดด้านข้างลำตัว พื้นลำตัวสีน้ำตาล มีหนวด 4 คู่ โดยหนวดที่ริมฝีปากเป็นเส้นแบนและแข็ง หนวดที่จมูกสั้น หนวดใต้คางยาว ผิวสาก และมีแผ่นหนังย่นใต้อกซึ่งใช้เกาะพื้นหินได้ ครีบหลังอยู่หน้าครีบท้อง ครีบอกและครีบหลังมีก้านครีบเดี่ยวที่เป็นเงี่ยงแข็งและขอบจักเป็นฟันเลื่อย มักพบอาศัยอยู่ในลำธารน้ำตกบนภูเขาที่มีกระแสน้ำไหลเชี่ยว กินอาหารจำพวก แมลงน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ออกหากินในเวลากลางคืน มีขนาดโดยเฉลี่ยประมาณ 10-15 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ลุ่มน้ำของทะเลดำทางตอนเหนือของตุรกี ไปจนถึงเอเชียไมเนอร์, ตอนใต้ของจีนและลุ่มแม่น้ำแยงซี, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงเกาะชวาในอินโดนีเซีย มีทั้งหมดประมาณ 93 ชนิด มีชื่อเรียกโดยรวมในภาษาไทยว่า "แค้", "แค้ห้วย" หรือ "ปลาติดหิน" ในขณะที่วงการปลาสวยงามจะนิยมเรียกว่า "ฉลามทอง".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลาแค้ติดหิน · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแปบควาย

ปลาแปบควาย เป็นชื่อสกุลของปลาน้ำจืดจำพวกปลาแปบ อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Cultrinae ใช้ชื่อสกุลว่า Paralaubuca (/พา-รา-ลอ-บู-คา/) มีรูปร่างโดยรวมคือ มีรูปร่างยาว ลำตัวแบนข้างมาก ปากเล็ก ตาโต ท้องเป็นสันคม ด้านท้องค่อนข้างกว้างออก ครีบอกยาว ครีบหางเว้าลึก เกล็ดเล็กละเอียดสีเงินแวววาว เส้นข้างลำตัวไม่ต่อเนื่องกัน เกล็ดแถวที่อยู่หน้าครีบหลังไม่เลยเข้ามาถึงระหว่างนัยน์ตา เกล็ดตามเส้นข้างลำตัวมีจำนาน 50–85 แถว มีขนาดโตเต็มที่โดยเฉลี่ย 15 เซนติเมตร มักอยู่เป็นฝูงใหญ่ มีการอพยพขึ้นล่องตามแม่น้ำเพื่อวางไข่และหากินเป็นฤดูกาล มักอยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ที่ไหลเชี่ยว หากินใกล้ผิวน้ำ พบตั้งแต่แม่น้ำโขงถึงแม่น้ำเจ้าพระยาไปจนถึงมาเลเซีย กินแมลงหรือสัตว์น้ำขนาดเล็กเป็นอาหาร มีทั้งหมด 5 ชนิด โดยเป็นชนิดที่พบได้ในประเทศไทย 3 หรือ 4 ชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลาแปบควาย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเล็บมือนาง

ปลาเล็บมือนาง เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Crossocheilus reticulatus อยู่ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ์ย่อย Garrinae มีรูปร่างลำตัวเพรียว หัวเล็ก ปากเล็กอยู่ด้านล่างของจะงอยปากและมีแผ่นหนังคลุม มีหนวดสั้น 1 คู่ เกล็ดเล็ก ลำตัวสีเงินอมเหลือง มีลายสีคล้ำที่ขอบเกล็ด โคนครีบหางมีจุดสีดำเห็นชัดเจน ครีบใสสีเหลืองเรื่อ มีขนาดความยาวประมาณ 8-10 เซนติเมตร ใหญ่สุด 17 เซนติเมตร มีพฤติกรรมอยู่เป็นฝูงใหญ่ตามแก่ง ช่วงฤดูฝนมีการย้ายถิ่นเข้าสู่ทุ่งน้ำหลาก อาหารได้แก่ ตะไคร่น้ำ แพลงก์ตอน และสัตว์หน้าดินขนาดเล็ก อาศัยตามแม่น้ำสายหลักและแก่ง แหล่งน้ำหลาก เป็นปลาที่พบบ่อย นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปลาเล็บมือนาง ยังมีชื่อเรียกอื่นอีกว่า "ปลาสร้อยดอกยาง".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลาเล็บมือนาง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเสือข้างลาย

ระวังสับสนกับ ปลาเสือสุมาตรา ปลาเสือข้างลาย ปลาน้ำจืดขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Puntigrus partipentazona ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ลักษณะคล้ายกับปลาตะเพียนขนาดเล็ก มีพื้นลำตัวสีเหลืองอมส้ม มีจุดเด่นคือ แถบสีดำพาดขวางลำตัวทั้งหมด 5 แถบ 2 แถบแรกพาดผ่านตาและหน้าครีบหลัง แถบที่ 3 พาดผ่านโคนครีบหลังและสันหลัง แถบที่ 4 พาดผ่านโคนครีบก้นและลำตัว ส่วนแถบที่ 5 ที่โคนหาง ครีบหลังสั้นและครีบก้นมีสีเหลือง มีหนวดที่มุมปากบนหนึ่งคู่ แต่แถบที่ 3 นั้นสั้นพาดเพียงครึ่งนึงเท่านั้น ซึ่งปลาเสือข้างลายนั้นมีลักษณะคล้ายคลึงกับปลาเสือสุมาตรา (P. tetrazona) ซึ่งเป็นปลาที่อยู่ในสกุลเดียวกันมาก แต่ไม่พบในประเทศไทย ปลาเสือข้างลาย จัดเป็นปลาขนาดเล็กมีอุปนิสัยชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ในแหล่งน้ำทั่วประเทศไทยและประเทศกัมพูชารวมทั้งลำธารหรือน้ำตกบนภูเขาด้วย โดยมักอาศัยอยู่ในบริเวณกลางน้ำที่มีพืชพรรณไม้น้ำขึ้นหนาแน่น ขนาดโตเต็มที่ไม่เกิน 5 เซนติเมตร กินอาหารได้แก่ พืชน้ำและสัตว์น้ำขนาดเล็ก ปลาตัวผู้ในฤดูผสมพันธุ์จะมีริมฝีปากแดงเรื่อสดใสเห็นได้ชัดเจน โดยวางไข่ติดกับพืชไม้ชนิดต่าง ๆ ไข่ไว้เวลาฟักเป็นเวลาประมาณ 24 ชั่วโมง ปลาเสือข้างลาย เป็นปลาน้ำจืดไทยอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม แต่ทว่าที่พบขายกันส่วนใหญ่ในตลาดปลาสวยงาม จะเป็นปลาเสือสุมาตราเสียมากกว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และปลาเสือข้างลาย · ดูเพิ่มเติม »

ป๋วย อึ๊งภากรณ์

ตราจารย์ พันตรี ป๋วย อึ๊งภากรณ์ (ชื่อจีน: 黃培謙 Huáng Péiqiān 9 มีนาคม พ.ศ. 2459 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542) เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย เป็นอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ที่มีอายุน้อยที่สุด ด้วยวัย 43 ปี 3 เดือน และได้ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง 12 ปี 2 เดือน 4 วัน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คนที่ 10 และเป็นผู้แต่งหนังสือ "คุณภาพชีวิต ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน" ป๋วย เกิดและเติบโตจากคนจีน ด้วยฐานะที่ไม่ร่ำรวย เขาจึงดิ้นรนต่อสู้อุปสรรคในชีวิตต่างๆ จนกระทั่งสำเร็จการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเข้าร่วมพันธมิตรกับญี่ปุ่น ป๋วยก็ได้ร่วมก่อตั้งคณะเสรีไทยขึ้นในอังกฤษ และได้พยายามเจรจาไกล่เกลี่ยกับรัฐบาลอังกฤษให้ยอมรับขบวนการเสรีไทย มีครั้นหนึ่งที่ป๋วยเสี่ยงชีวิตในการลอบกระโดดร่มเข้าไทย ณ บ้านวังน้ำขาว จังหวัดชัยนาท จนได้ชื่อว่าเป็น “วีรบุรุษวังน้ำขาว” เมื่อสงครามยุติลง ประเทศไทยจึงไม่ถือเป็นผู้แพ้สงคราม ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เขาก็ได้รับหน้าที่เป็นทั้งผู้ว่าธนาคารแห่งชาติ รวมถึงยังได้รับตำแหน่งทั้งคณบดีคณะเศรษฐศาสตร์และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ป๋วยได้แสดงความกล้าหาญ หลายครั้งโดยเฉพาะการส่งจดหมายในนาม "นายเข้ม เย็นยิ่ง" ถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยให้กับสังคม จุดประกายให้กับขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ด้วยความที่เขาได้รับการชื่นชมมากมายจากสังคม ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ป๋วยก็ถูกทั้งฝ่ายซ้าย ฝ่ายขวา ออกมาโจมตีกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์ จนในที่สุดก็ต้องออกเดินทางลี้ภัยไปต่างประเทศ และเสียชีวิตลงในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ที่ประเทศอังกฤษ สเตฟาน คอลินยองส์ (Stefan Collingnon) นักวิชาการร่วมสมัยชาวเยอรมัน ได้กล่าวยกย่องป๋วยว่าเป็น "บิดาของเมืองไทยสมัยใหม่" (Founding Father of Modern Thailand) ในฐานะผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย ป๋วยได้รับ รางวัลแมกไซไซ สาขาบริการสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2508 และได้รับการยกย่องจากองค์กรยูเนสโกให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก ในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และป๋วย อึ๊งภากรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

นางสาวไทย

นางสาวไทย เป็นการประกวดนางงามรายการที่ 2 ของประเทศไทย ต่อจากนางสาวสยาม โดยในยุคแรกจัดขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมส่งเสริมงานฉลองรัฐธรรมนูญ ต่อมาจัดขึ้นเพื่อส่งผู้ชนะเลิศเป็นผู้แทนประเทศไทย ไปประกวดนางงามจักรวาล และในปัจจุบันจัดขึ้นเพื่อให้เป็นทูตวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และนางสาวไทย · ดูเพิ่มเติม »

แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์

แฟรงกลิน เดลาโน โรสเวลต์ (อังกฤษ: Franklin Delano Roosevelt) เกิดวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2425 (ค.ศ. 1882) เสียชีวิตวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 32 ของสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังเป็นประธานาธิบดีที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุด (พ.ศ. 2476-2488) และเป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวของสหรัฐอเมริกาที่ได้รับเลือกถึงสี่สมัย ก่อนการประกาศญัตติข้อที่ 22 ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก

้าหญิงโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งเบลเยียม (Princess Joséphine-Charlotte of Belgium พระนามเต็ม โจเซฟีน-ชาร์ล็อต อินเกบอร์ก เอลิซาเบธ มารี-โจเซ มาร์เกอริต แอสตริด; 11 ตุลาคม พ.ศ. 2470 - 10 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่และองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และ เจ้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน นอกจากนี้พระองค์ยังได้เป็นพระชายาในแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก และพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเบลเยียมทั้งสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย ในฝ่ายพระราชชนนี เจ้าหญิงเป็นพระญาติใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีของพระราชชนนี สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุกแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก พระธิดาในเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระญาติชั้นที่สองในพระราชวงศ์สวีเดนตามลำดั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แรมง ปวงกาเร

แรมง ปวงกาเร (Raymond Poincaré; 20 สิงหาคม พ.ศ. 2403 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2477) เป็นรัฐบุรุษชาวฝรั่งเศส ที่ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 3 สมัย และดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และแรมง ปวงกาเร · ดูเพิ่มเติม »

แอลัน ทัวริง

แอลัน แมธิสัน ทัวริง (Alan Mathison Turing; 23 มิถุนายน พ.ศ. 2455 (ค.ศ. 1912) – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954)) เป็นนักคณิตศาสตร์, นักตรรกศาสตร์, นักรหัสวิทยาและวีรบุรุษสงครามชาวอังกฤษ และเป็นที่ยอมรับว่าเป็นบิดาของวิทยาการคอมพิวเตอร์ เขาได้สร้างรูปแบบที่เป็นทางการทางคณิตศาสตร์ของการระบุขั้นตอนวิธีและการคำนวณ โดยใช้เครื่องจักรทัวริง ซึ่งตามข้อปัญหาเชิร์ช-ทัวริงได้กล่าวว่าเป็นรูปแบบของเครื่องจักรคำนวณเชิงกลที่ครอบคลุมทุก ๆ รูปแบบที่เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ทัวริงมีส่วนสำคัญในการแกะรหัสลับของฝ่ายเยอรมัน โดยเขาเป็นหัวหน้าของกลุ่ม Hut 8 ที่ทำหน้าที่ในการแกะรหัสของเครื่องอินิกมาที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ หลังจากสงครามเขาได้ออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถโปรแกรมได้เครื่องแรกๆ ของโลกที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์แห่งชาติ และได้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นจริง ๆ ที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ รางวัลทัวริงถูกก่อตั้งขึ้นเพื่อยกย่องเขาในเรื่องนี้ นอกจากนั้นแล้ว การทดสอบของทัวริงที่เขาได้เสนอนั้นมีผลอย่างสูงต่อการศึกษาเรื่องปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งในขณะมีถกเถียงที่สำคัญว่า เป็นไปได้หรือไม่ที่จะกล่าวว่าเครื่องจักรนั้นมีสำนึกและสามารถคิดได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และแอลัน ทัวริง · ดูเพิ่มเติม »

แอโรเพลนเจลลี

แอโรเพลนเจลลี เป็นยี่ห้อเยลลีในออสเตรเลียซึ่งคิดค้นโดยเบิร์ท แอปเปิลรอธ (Bert Appleroth) ในปี พ.ศ. 2548 บริษัทเทรเดอร์ส จำกัด ของแอปเปิลรอธที่เริ่มจากการประกอบธุรกิจหลังบ้าน และต่อมากลายเป็นหนึ่งในธุรกิจครอบครัวผู้ผลิตอาหารรายใหญ่รายหนึ่งของออสเตรเลีย ได้ขายธุรกิจให้กับแม็คคอมิค ฟูดส์ ออสเตรเลีย (McCormick Foods Australia) บริษัทในเครือแม็คคอมิคแอนด์คัมพานี (McCormick & Company) ของสหรัฐอเมริกา แอโรเพลนเจลลีเป็นผู้นำทางการตลาดในธุรกิจเยลลี่ของประเทศออสเตรเลีย โดยมียอดขายมากกว่า 18 ล้านห่อต่อปี มีรสแรสเบอร์รีเป็นรสชาติที่ขายดีที่สุด แอโรเพลนเจลลีได้ออกโฆษณาที่ประสบความสำเร็จ และมีเพลงโฆษณาที่ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมชาวออสเตรเลีย เพลงโฆษณาดังกล่าวเป็นหนึ่งในเพลงโฆษณาที่ออกอากาศยาวนานที่สุดในออมเตรเลีย โดยเฉพาะในทศวรรษที่ 1940 ซึ่งมีการเล่นเพลงโฆษณาผ่านสื่อวิทยุมากกว่า 100 ครั้งต่อวัน เพลงโฆษณาดังกล่าวได้รับการบันทึกไว้ยังหอภาพยนตร์และเสียงของออสเตรเลีย ในหมวดหมู่เสียงแห่งออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และแอโรเพลนเจลลี · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เกอริง

แฮร์มันน์ วิลเฮล์ม เกอริง (Hermann Wilhelm Göring) เป็นผู้นำทางทหารของไรช์ที่สามที่ตำแหน่งจอมพลไรช์ และยังเป็นผู้นำระดับสูงของพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน (พรรคนาซี) เขามีบทบาทสำคัญในการขยายระบบเผด็จการของพรรคนาซีให้ครอบคลุมทั่วเยอรมนี รวมทั้งสร้างเสริมแสนยานุภาพทางทหารของเยอรมนีโดยเฉพาะกองทัพอากาศให้มีความแข็งแกร่ง ภายหลังนาซีล่มสลาย เขาถูกตัดสินประหารชีวิตในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก แต่เขาก็จบชีวิตตนเองด้วยการกลืนไซยาไนด์ก่อนหน้าการประหารชีวิตไม่กี่ชั่วโมง และก่อนกลืนไซยาไนด์เขาได้ตระโกนว่า "ไฮล์ ฮิตเลอร์".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และแฮร์มันน์ เกอริง · ดูเพิ่มเติม »

แจ่มใส ศิลปอาชา

ณหญิง แจ่มใส ศิลปอาชา เกิดวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2477 ที่ตำบลท่าพี่เลี้ยง อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรของ นายหงวน เลขวัต และนางทับทิม เลขวัต เป็นบุตรคนสุดท้องมีพี่ชายอีก 1 คน สมรสกับนายบรรหาร ศิลปอาชา อดีตนายกรัฐมนตรี และอดีตหัวหน้าพรรคชาติไทย มีบุตร-ธิดารวม 3 คน เป็นชาย 1 คน คือ นายวราวุธ ศิลปอาชา (สมรสกับ เก๋ - สุวรรณา ไรวินท์ ทายาทตระกูลไรวินท์ เจ้าของธุรกิจ ซุปไก่ก้อนรีวอง) และเป็นหญิง 2 คน คือ น.ส. กัญจนา ศิลปอาชา และ น..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และแจ่มใส ศิลปอาชา · ดูเพิ่มเติม »

แจ็กกี วิลสัน

แจ็ก ลีรอย "แจ็กกี" วิลสัน จูเนียร์ (Jack Leroy "Jackie" Wilson, Jr.) (9 มิถุนายน ค.ศ. 1934 - 21 มกราคม ค.ศ. 1984) เป็นนักร้องชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักว่า "มร.เอกไซต์เมนต์" วิลสันมีบทบาทในการส่งผ่านเพลงริธึมแอนด์บลูส์ไปเป็นโซล เขามมีชื่อเสียงเรื่องเป็นต้นฉบับนักแสดงโชว์ และถือเป็นนักร้องนักแสดงที่ทรงพลังที่สุดคนหนึ่ง ในประวัติศาสตร์เพลงอาร์แอนด์บีและร็อก เขามีชื่อเสียงมากขึ้นในช่วงปีแรก ๆ กับการเป็นสมาชิกวงอาร์แอนด์บี ที่ชื่อ เดอะโดมิโนส์ เขาก้าวสู่ศิลปินเดี่ยวในปี 1957 และมีซิงเกิลฮิตกว่า 50 ซิงเกิล ที่มีหลากหลายแนวเพลงอย่าง อาร์แอนด์บี, ป็อป, โซล, ดู-ว็อป และอีซีลิสเซนนิง ในระหว่างแสดงคอนเสิร์ตการกุศลในปี 1975 เขาเกิดล้มลงบนเวทีกับอาการหัวใจวาย และเข้าสู่อาการโคม่า ซึ่งเขาอยู่ในอาการโคม่านี้มานานเกือบ 9 ปี จนเขาเสียชีวิตในปี 1984 วิลสันมีชื่ออยู่ในร็อกแอนด์โรลฮอลออฟเฟมในปี 1984 ในปี 2004 นิตยสารโรลลิงสโตนให้ให้เขาติดอันดับ 68 ในหัวข้อ 100 ศิลปินที่ยอดเยี่ยมที่สุดตลอดกาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และแจ็กกี วิลสัน · ดูเพิ่มเติม »

แถมสิน รัตนพันธุ์

นายแถมสิน รัตนพันธุ์ อดีตคอลัมนิสต์ผู้เขียนเรื่องราว ในวงการสังคมชั้นสูง ในหนังสือพิมพ์ และนิตยสารหลายฉบับ เช่น ไทยรัฐ ผู้จัดการรายวัน โพสต์ทูเดย์ สกุลไทย เป็นต้น โดยใช้นามปากกาว่า “ลัดดา” ซึ่งเป็นชื่อภรรยาของเขาเอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และแถมสิน รัตนพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

แคล้ว ธนิกุล

แคล้ว ธนิกุล (10 เมษายน พ.ศ. 2477 — 5 เมษายน พ.ศ. 2534) อดีตผู้กว้างขวางในพื้นที่กรุงเทพมหานครและอดีตโปรโมเตอร์และผู้จัดการในวงการมวยไทย, มวยสากลและมวยสากลสมัครเล่นในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และแคล้ว ธนิกุล · ดูเพิ่มเติม »

แปลก พิบูลสงคราม

งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และแปลก พิบูลสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

โพธิพงษ์ ล่ำซำ

นายโพธิพงษ์ ล่ำซำ กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ นักธุรกิจอดีตผู้บริหารกิจการกลุ่มประกันชีวิต-ประกันภัยของตระกูลล่ำซำ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโพธิพงษ์ ล่ำซำ · ดูเพิ่มเติม »

โรมัน แฮร์ซอก

รมาน แฮร์ซอก (Roman Herzog; 5 เมษายน พ.ศ. 2477 – 10 มกราคม พ.ศ. 2560) เป็นนักการเมืองชาวเยอรมัน ซึ่งเคยเป็นประธานาธิบดีเยอรมนีในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรมัน แฮร์ซอก · ดูเพิ่มเติม »

โรคฮีโมฟิเลียในราชวงศ์ยุโรป

รคฮีโมฟิเลียมีบทบาทสำคัญอย่างเด่นชัดมากในประวัติศาสตร์ของราชวงศ์ยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 สมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรียทรงถ่ายทอดพันธุกรรมกลายพันธุ์ไปสู่ราชวงศ์ต่างๆ บนภาคพื้นทวีปยุโรป อันรวมไปถึงราชวงศ์สเปน เยอรมนีและรัสเซีย ผ่านทางพระราชธิดาสองในห้าพระองค์ (เจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักร และ เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสหราชอาณาจักร) เจ้าฟ้าชายเลโอโพลด์ พระราชโอรสองค์เล็ก ก็ประชวรด้วยโรคฮีโมฟิเลีย ด้วยเหตุนี้โรคฮีโมฟิเลียในครั้งหนึ่งจึงเป็นที่นิยมเรียกว่า "โรคราชวงศ์" (Royal Disease) การทดสอบเถ้ากระดูกจากราชวงศ์โรมานอฟแสดงว่าลักษณะเฉพาะของโรคฮีโรคฮีโมฟิเลียที่ส่งผ่านมาจากสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียน่าจะเป็นโรคฮีโมฟีเลีย ชนิดบี (Haemophilia B) Michael Price, ScienceNOW, October 9, 2009.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรคฮีโมฟิเลียในราชวงศ์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลศรีสะเกษ

รงพยาบาลศรีสะเกษ เป็นโรงพยาบาลศูนย์ ระดับโรงพยาบาลขนาดใหญ่ อยู่ในจังหวัดศรีสะเกษ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2451 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยการริเริ่มของ ขุนเวชการบริรักษ์ ผู้ดำรงตำแหน่งสาธารณสุขจังหวัดขุขันธ์ ตั้งแต่เมื่อครั้งจังหวัดศรีสะเกษ ยังใช้ชื่อเดิมว่า "จังหวัดขุขันธ์" ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อมาเป็น "จังหวัดศรีสะเกษ" ใน พ.ศ. 2481 หลังจากนั้นโรงพยาบาลประจำจังหวัดศรีสะเกษจึงใช้ชื่อว่า "โรงพยาบาลศรีสะเกษ" ตามชื่อจังหวัดที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ ประภา ปัญญาเพียร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงพยาบาลศรีสะเกษ · ดูเพิ่มเติม »

โรงพยาบาลตำรวจ

รงพยาบาลตำรวจ (Police General Hospital) โรงพยาบาลของรัฐ ในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีฐานะเทียบเท่ากับหน่วยงานตำรวจระดับกองบัญชาการ เดิมสังกัดสำนักงานแพทย์ใหญ่ ตั้งอยู่ที่ 492/1 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงพยาบาลตำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์

รงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ (พห.) (Sacred Heart Convent School (S.H.C)) เป็นโรงเรียนหญิงขนาดใหญ่ แต่จะมีนักเรียนชายในระดับอนุบาลถึงประถมด้วย แบ่งเป็นแผนกอนุบาล แผนกประถม แผนกมัธยม และมีการแยก เป็น โปรแกรม สองภาษา หรือ English Program ในส่วนนี้จะเป็นโรงเรียนสหศึกษา ที่มีนักเรียนทั้งหญิงและชายตั้งแต่เกรด1-เกรด12.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช

รงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษเปิดสอนทั้งในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

รงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (School of Tourism and Hospitality Management, Suan Dusit University) เป็นโรงเรียนที่เทียบเท่าคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2477 จัดตั้งขึ้นตามมติของที่ประชุมสภา มหาวิทยาลัยครั้งที่3(17)/2553 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2553 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความ มีเอกภาพให้เกิดขึ้นในหลักสูตรอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการซึ่ง มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบริการมา ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

รงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (Suan Dusit School of Culinary Arts) เป็นโรงเรียนเทียบเท่าคณะวิชา สังกัดมหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2477 เดิมคือ “โรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือน” ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการที่ต้องการให้ผู้หญิงในขณะนั้นได้มีการศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับการบ้านการเรือนที่ดี เป็นโรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทยใช้สถานที่วังกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์เป็นสถานที่เรียน (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร) ต่อมาปี..2480 จึงได้ย้ายมาอยู่ที่สวนสุนันทา (ที่ตั้งปัจจุบัน) ปี..2483.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร

ก่าอาคารพระพุทธเจ้าหลวง ปัจจุบันได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน ภาพหน้าบันอาคารพระพุทธเจ้าหลวง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร (Mathayom Wat Benchamabophit School) ตั้งอยู่ในบริเวณวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ในเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ 42 ตารางวา อยู่ในเขตพระราชฐาน เป็นโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชาย (โรงเรียนชายล้วน) ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชกำเนิดเมื่อ ร..119 (พ.ศ. 2443) พระองค์ทรงกำหนดหลักสูตรแนวการสอนด้วยพระองค์เอง และเปิดสอนตั้งแต่วันที่ 5 พฤษภาคม 2444 มีนักเรียน 40 คน เป็นโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์โดยตรงไม่ขึ้นตรงต่อกระทรวงธรรมการสมัยนั้น หลังจากนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้พระบรมวงศานุวงศ์ ชั้นผู้ใหญ่และเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ร่วมกันวางแผนปรับปรุงโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร ที่สำคัญยิ่งก็คือ พระองค์ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างอาคารถาวรเป็นตึกทรงยุโรปสถาปัตยกรรมแบบ Neo-Classic และทรงห่วงใยในเรื่องการก่อสร้างเป็นอย่างยิ่ง แม้ในสิ่งเล็กๆ น้อยๆ ก็ต้องได้รับพระราชทาน บรมราชานุญาตทุกอย่าง โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตรปัจจุบันเปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

กด้านบนบริเวณ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย 15 มีนาคม 2489 ภาพถ่ายจากด้านบนบริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ในสมัยก่อน ซึ่งน่าจะถ่ายก่อน ปี 2515 บริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย พ.ศ. 2552 (มุมสูง) บริเวณด้านหน้าตึก 1 และเป็นบริเวณเข้าแถว เสาธงต้นใหม ป็นเสาธงของสถานศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย(อักษรย่อ: ร.ส., R.S.)เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนชายล้วน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งอยู่เลขที่ 1753 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดบวรนิเวศ

รงเรียนวัดบวรนิเวศ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาทั้งตอนต้นและตอนปลายเป็นโรงเรียนชายล้วน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนี้ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2436 ตามพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เพื่อจัดการศึกษาเล่าเรียนแก่พระภิกษุสามเณรในคณะธรรมยุติกนิกาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2442 การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนวัดบวรนิเวศได้ก็กลายเป็นต้นแบบของการจัดการศึกษาในโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ ตามพระราชประสงค์ที่จะขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โรงเรียนแห่งนี้ในปัจจุบันมีองค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเป็นองค์อุปถัม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนวัดบวรนิเวศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดบ้านนา (ฟินวิทยาคม)

รงเรียนวัดบ้านนา (ฟินวิทยาคม) - Wat Ban Na (Fin Witthayakom) School ตั้งอยู่ที่ 112 หมู่ 5 ถนนสุขุมวิท ตำบลทุ่งสุขลา อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนวัดบ้านนา (ฟินวิทยาคม) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดรางบัว

รงเรียนวัดรางบัว เป็น โรงเรียนรัฐบาล ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง ซึ่งเปิดสอนในระดับชั้น ม.ต้น และ ม.ปลาย ตั้งอยู่ที่ แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนวัดรางบัว · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล

รงเรียนวัดสามัคคีนุกูล เป็นโรงเรียนที่เปิดการสอนในระดับอนุบาล-ชั้นประถมศึกษาปี่ที่6ในจังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 มีประวัติความเป็นมาอันยาวนาน และเป็นโรงเรียนที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของจังหวัดนครศรีธรรมราชด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดทัพหลวง (หลวงพ่อเกิดอุปถัมภ์)

รงเรียนวัดทัพหลวง (หลวงพ่อเกิดอุปถัมภ์) เป็นโรงเรียนประถมศึกษาแบบสหศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ 74 หมู่ 4 ตำบลทัพหลวง อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนวัดทัพหลวง (หลวงพ่อเกิดอุปถัมภ์) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ

รงเรียนสมุทรสาครบูรณะ เป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดสมุทรสาคร ปรัชญาของโรงเรียน: วิชาดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม พระพุทธรูปประจำโรงเรียน: พระศรีสมุทรสาครภูมิบาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนสมุทรสาครบูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสุรนารีวิทยา

รงเรียนสุรนารีวิทยา (อักษรย่อ: ส.ร.น., S.R.N) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประจำจังหวัดนครราชสีมาประเภทโรงเรียนหญิงล้วน เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสุรนารีวิทยา ได้จัดการศึกษาจนเป็นที่ยอมรับของสังคมในการเป็นสถานศึกษาชั้นนำของโรงเรียนมัธยมศึกษาของไทย เป็นสถานศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทานระดับมัธยมศึกษาประจำปีการศึกษา 2523 และได้รับรางวัลพระราชทานระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประจำปีการศึกษา 2535 โรงเรียนสุรนารีวิทยาเป็นโรงเรียนที่มีต้นกำเนิดของโรงเรียนมัธยมแบบประสม (Comprehensive School) แห่งแรกของประเทศไทย ซึ่งได้รับการพัฒนาด้วยความเอาใส่ ทุ่มเท เสียสละอย่างต่อเนื่องจากผู้บริหาร บุคลากรของโรงเรียนตลอดจนนักเรียนและสังคมตลอดม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนสุรนารีวิทยา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีจุลนาค

รงเรียนสตรีจุลนาค โรงเรียนสหศึกษาระดับประถมศึกษา – มัธยมศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ ก่อตั้ง พ.ศ. 2469 ตั้งอยู่ที่เลขที่ 77 ถนนหลานหลวง แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนสตรีจุลนาค · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนท่าข้ามพิทยาคม

รงเรียนท่าข้ามพิทยาคม เป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาเปิดสอนชั้นอนุบาลถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 33 ห้องเรียน โรงเรียนมีเนื้อที่ 45 ไร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนท่าข้ามพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนโยธินบูรณะ

อาคารโรงเรียนโยธินบูรณะแห่งใหม่ ซึ่งสร้างเป็นอาคารรูปทรงกรวย สูง 12 ชั้น ซึ่งทางโรงเรียนได้ย้ายการเรียนการสอนเมื่อวันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม 2559 อาคารสิรินธร โรงเรียนโยธินบูรณะเดิม ก่อนย้ายการเรียนการสอนไปยังโรงเรียนแห่งใหม่ โรงเรียนโยธินบูรณะ เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 1313 ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนโยธินบูรณะ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช

รูปหล่อพระรัตนธัชมุนี (ม่วง รตนทฺธโช) ภายใน "ศาลาอนุสรณ์ ๑๐๐ ปี เบญจมฯ" ผู้ริเริ่มก่อตั้งโรงเรียน พระบรมราชนุสาวรีย์รัชกาลที่ ๕ บรรยากาศภายในโรงเรียนเบญจมราชูทิศ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ (Benjamarachutit School) เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดจังหวัดนครศรีธรรมราช ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสหวิทยาเขตเบญจมราชูทิศ สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 โดยพระรัตนธัชมุนี (ม่วง รตนทฺธโช) ตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ นครศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช

รงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำมณฑลอุบลราชธานี คู่กับโรงเรียนนารีนุกูลที่เป็นโรงเรียนหญิงล้วนประจำจังหวัดอุบลราชธานีในสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทศบาลวัดกลาง

รงเรียนเทศบาลวัดกลาง (Watklang Municipal School) เดิมมีชื่อว่าโรงเรียนประชาบาลตำบลเมืองเก่า 5 เป็นโรงเรียนที่อยู่ในความดูแลของสำนักการศึกษาเทศบาลนครขอนแก่น กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2477 ตั้งอยู่ที่ ถนนเหล่านาดี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ปัจจุบันมีนักเรียนทั้งหมด 2711 คน (ปีการศึกษา 2559).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรงเรียนเทศบาลวัดกลาง · ดูเพิ่มเติม »

โรซ เปาลา อีรีบากิซา

้าหญิงโรส เปาลา อิริบากิซาแห่งบุรุนดี (Rose Paula Iribagiza) เป็นเจ้าหญิงแห่งบุรุนดี ประสูติเมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1934 พระองค์เป็นพระราชธิดา ในพระเจ้ามวัมบุตซาที่ 4 แห่งบุรุนดีและสมเด็จพระราชินีเทเรซา คานยงกา และเป็นพระขนิษฐา ในพระเจ้านทาเรที่ 5 แห่งบุรุนดีพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายของบุรุนดี พระองค์ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์บุรุนดีหลังจากที่ พระเจ้านทาเรที่ 5 เสด็จสวรรคต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโรซ เปาลา อีรีบากิซา · ดูเพิ่มเติม »

โอภาส อรุณินท์

อภาส อรุณินท์ (เกิด 9 เมษายน พ.ศ. 2477 ที่กรุงเทพมหานคร) อดีตอัยการสูงสุด อดีตประธานคณะกรรมการอัยการ อดีตประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) มีชื่อเสียงมากในช่วงที่พิจารณาบัญชีทรัพย์สินของนักการเมือง โดยเฉพาะกรณีที่ ป.ป..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโอภาส อรุณินท์ · ดูเพิ่มเติม »

โอลึมเพียชตาดิโยน (เบอร์ลิน)

อลึมเพียชตาดิโยน (Olympiastadion แปลว่า สนามกีฬาโอลิมปิก) เป็นสนามกีฬาในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ออกแบบโดยอ็อทโท มาร์ช (Otto March) และลูกชายแวร์เนอร์ มาร์ช (Werner March) สถาปนิกชาวเยอรมัน สนามกีฬาก่อสร้างในปี ค.ศ. 1934-1936 และเปิดใช้งานในปี 1936 สำหรับกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1936 ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เยอรมนีได้พ่ายแพ้ต่อสงคราม สหราชอาณาจักรได้ยึดส่วนหนึ่งของประเทศรวมถึงสนามกีฬา จนกระทั่งปี ค.ศ. 1994 จึงได้กลับมาเป็นของเยอรมนีอีกครั้ง สนามกีฬานี้ได้จัดฟุตบอลโลก 2 ครั้งคือ ฟุตบอลโลก 1974 จัดแข่ง 3 นัด และในฟุตบอลโลก 2006 จัดแข่ง 6 นัดรวมถึงนัดชิงชนะเลิศ ในประเทศเยอรมนี มีสนามกีฬาอีกที่ที่ใช้ชื่อโอลึมเพียชตาดิโอนเช่นกัน คือ โอลึมเพียชตาดิโยน (มิวนิก) ตั้งอยู่ในเมืองมิวนิก ใช้จัดโอลิมปิกฤดูร้อน 1972.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโอลึมเพียชตาดิโยน (เบอร์ลิน) · ดูเพิ่มเติม »

โอะซะมุ โนะงุชิ

อะซะมุ โนะงุชิ หรือที่ชาวไทยรู้จักกันในชื่อ โอซามู โนกูจิ เกิดวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1934 เป็นชาวญี่ปุ่นผู้ริเริ่มกีฬาคิกบ็อกซิ่งในประเทศญี่ปุ่น และเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะโปรโมเตอร์มวยคิกบ็อกซิ่งในยุคแรกเริ่ม นิยามของคำว่าคิกบ็อกซิ่งที่โอซามู โนกูจิ คิดดัดแปลงขึ้น โดยมาจากการการที่เขาชื่นชอบศิลปะการต่อสู้และออกเดินทางไปทั่วโลกเพื่อดูการต่อสู้ของประเทศต่างๆ แล้วเขาก็มาพบกับมวยไทย ที่ประเทศไทย ซึ่งเขามีความประทับใจต่อศิลปะการต่อสู้ดังกล่าว เขาจึงดัดแปลงมวยไทยผสมกับคาราเต้ขึ้นในยุค 1950 ซึ่งคำดังกล่าวยังได้ถูกนำมาใช้ในคิกบ็อกซิ่งของชาวอเมริกัน เมื่อมีการนำศิลปะการต่อสู้มาใช้ทั้งสองชนิด ก็มักจะกล่าวถึงในลักษณะเฉพาะของกีฬาคิกบ็อกซิ่ง อย่างไรก็ตามโอซามู โนกูจิ เริ่มมีแผนการโปรโมตที่ไม่เป็นที่พอใจต่อยอดธง เสนานันท์ ซึ่งเป็นครูมวยชาวไทย ตลอดจนผู้ที่เลื่อมใสในกีฬามวยไทยเท่าใดนัก เนื่องจากเขามีแผนการโฆษณาคิกบ็อกซิ่งโดยพยายามทำให้โลกหลงเข้าใจว่ามวยไทยมีต้นกำเนิดมาจากกีฬาคิกบ็อกซิ่งจากประเทศญี่ปุ่น ทั้งที่จริงแล้วคิกบ็อกซิ่งนั้นเป็นการต่อสู้ที่ดัดแปลงรูปแบบการต่อสู้มาจากมวยไทย กับคาราเต้สายเคียวคุชินไคกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโอะซะมุ โนะงุชิ · ดูเพิ่มเติม »

โขน

น เป็นศิลปะการแสดงชั้นสูงของไทยที่มีความสง่างาม อลังการและอ่อนช้อย การแสดงประเภทหนึ่งที่ใช้ท่ารำตามแบบละครใน แตกต่างเพียงท่ารำที่มีการเพิ่มตัวแสดง เปลี่ยนทำนองเพลงที่ใช้ในการดำเนินเรื่องไม่ให้เหมือนกับละคร แสดงเป็นเรื่องราวโดยลำดับก่อนหลังเหมือนละครทุกประการ ซึ่งไม่เรียกการแสดงเหล่านี้ว่าละครแต่เรียกว่าโขนแทน มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จากหลักฐานจดหมายเหตุลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการกล่าวถึงการแสดงโขนว่า เป็นการเต้นออกท่าทาง ประกอบกับเสียงซอและเครื่องดนตรีประเภทต่าง ๆ ผู้แสดงจะสวมหน้ากากปิดบังใบหน้าตนเองและถืออาวุธว่าด้วยการแสดงและการละเล่นอย่างอื่นของชาวสยาม, มหรสพสามอย่างของชาวสยาม,จดหมายเหตุ ลา ลู แบร์ ราชอาณาจักรสยาม, เขียนโดย: มองซิเอร์ เดอ ลาลูแบร์, แปลโดย: สันต์ ท. โกมลบุตร, สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 2548, หน้า 157 โขนเป็นจุดศูนย์รวมของศาสตร์และศิลป์หลากหลายแขนงเช่น วรรณกรรม วรรณศิลป์ นาฏศิลป์ คีตศิลป์ หัตถศิลป์คำนำการแสดงโขนชุดนางลอย, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด นางลอย, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 19 -20 และ 22 -24 พฤศจิกายน 2553, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย โดยนำเอาวิธีเล่นและการแต่งตัวบางชนิดมาจากการเล่นชักนาคดึกดำบรรพ์ มีท่าทางการต่อสู้ที่โลดโผน ท่ารำ ท่าเต้นเช่น ท่าปฐมในการไหว้ครูของกระบี่กระบอง รวมทั้งการนำศิลปะการพากย์ การเจรจา หน้าพาทย์และเพลงดนตรีเข้ามาประกอบการแสดง ในการแสดงโขน ลักษณะสำคัญอยู่ที่ผู้แสดงต้องสวมหัวโขน ซึ่งเป็นเครื่องสวมครอบหุ้มตั้งแต่ศีรษะถึงคอ เจาะรูสองรูบริเวณดวงตาให้สามารถมองเห็น แสดงอารมณ์ผ่านทางการร่ายรำ สร้างตามลักษณะของตัวละครนั้น ๆ เช่น ตัวยักษ์ ตัวลิง ตัวเทวดา ฯลฯ ตกแต่งด้วยสี ลงรักปิดทอง ประดับกระจก บ้างก็เรียกว่าหน้าโขน ในสมัยโบราณ ตัวพระและตัวเทวดาต่างสวมหัวโขนในการแสดง ต่อมาภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงไม่ต้องสวมหัวโขน คงใช้ใบหน้าจริงเช่นเดียวกับละคร แต่งกายแบบเดียวกับละครใน เครื่องแต่งกายของตัวพระและตัวยักษ์ในสมัยโบราณมักมีสองสีคือ สีหนึ่งเป็นสีเสื้อ อีกสีหนึ่งเป็นสีแขนโดยสมมุติแทนเกราะ เป็นลายหนุนประเภทลายพุ่ม หรือลายกระจังตาอ้อย ส่วนเครื่องแต่งกายตัวลิงจะเป็นลายวงทักษิณาวรรต โดยสมมุติเป็นขนของลิงหรือหมี ดำเนินเรื่องด้วยการกล่าวคำนำเล่าเรื่องเป็นทำนองเรียกว่าพากย์อย่างหนึ่ง กับเจรจาเป็นทำนองอย่างหนึ่ง ใช้กาพย์ยานีและกาพย์ฉบัง โดยมีผู้ให้เสียงแทนเรียกว่าผู้พากย์และเจรจา มีต้นเสียงและลูกคู่ร้องบทให้ ใช้วงปี่พาทย์เครื่องห้าประกอบการแสดง นิยมแสดงเรื่องรามเกียรติ์และอุณรุท ปัจจุบันสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์มีหน้าที่หลักในการสืบทอดการฝึกหัดโขน และกรมศิลปากร มีหน้าที่ในการจัดการแสดงคำนำการแสดงโขนชุดพรหมมาศ, สูจิบัตรการแสดงโขนชุด พรหมมาศ, มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, ระหว่างวันที่ 25 และ 27 -28 ธันวาคม 2550, หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโขน · ดูเพิ่มเติม »

โซเฟีย ลอเรน

ซเฟีย ลอเรน (Sophia Loren) เกิดเมื่อวันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 1934 เป็นนักแสดงชาวอิตาลี ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และโซเฟีย ลอเรน · ดูเพิ่มเติม »

ไชยา สุริยัน

ริยัน หรือชื่อจริง หม่อมหลวงอภิรัฐ จรูญโรจน์ (7 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 26 ตุลาคม พ.ศ. 2533) นักแสดงเจ้าบทบาท เจ้าของรางวัลตุ๊กตาทอง นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม 3 ปี ซ้อน ระหว่างปี พ.ศ. 2505 - พ.ศ. 2507.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และไชยา สุริยัน · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล เกรฟส์

อาคารฮูมานา ในหลุยส์วิลล์ ซึ่งเป็นอาคารที่เขาได้ออกแบบ ไมเคิล เกรฟส์ (Michael Graves) (9 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 - 12 มีนาคม พ.ศ. 2558) เป็นสถาปนิกชาวอเมริกัน เป็นที่รู้จักในฐานะ 1 ใน เดอะนิวยอร์กไฟฟ์ เขายังมีงานออกแบบของใช้ภายในครัวเรือนวางขายในร้านทาร์เกตในสหรัฐอเมริกา เกรฟส์เกิดในอินเดียแนโพลิส รัฐอินดีแอนา เขาศึกษาจากโรงเรียนบรอดริปเปิลไฮสคูล ระดับ diploma ในปี 1950 เขาจบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยซินซินเนติ จากนั้นศึกษาระดับปริญญาโทจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เริ่มทำงานด้านสถาปนิก ทำงานฝึกหัดที่พรินซ์ตัน รัฐนิวเจอร์ซีย์ เขาเปิดบริษัทที่ชื่อไมเคิล เกรฟส์ แอนด์ แอสโซซิเอตส์ มีสำนักงานอยู่ในพรินซ์ตันและนครนิวยอร์ก นอกจากผลงานออกผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ในบ้านแล้ว เกรฟส์ยังมีงานในหลากหลายด้านธุรกิจและอาคารที่อยู่อาศัยรวมถึงการออกแบบภายใน เกรฟส์ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกของสถาบันสถาปนิกอเมริกันในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และไมเคิล เกรฟส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไวต์สตาร์ไลน์

ัญลักษณ์ของไวต์สตาร์ไลน์ ธงเดินเรือของไวต์สตาร์ไลน์ บริษัทโอเชียนิกสตีมแนวิเกชัน (Oceanic Steam Navigation Company) หรือ ไวต์สตาร์ไลน์ (White Star Line) คือสายการเดินเรือของอังกฤษ ผู้เป็นเจ้าของเรือไททานิก (RMS Titanic) ที่โด่งดังซึ่งอัปปางในการเดินทางครั้งแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และไวต์สตาร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮโดรเจน

รเจน (Hydrogen; hydrogenium ไฮโดรเจเนียม) เป็นธาตุเคมีที่มีเลขอะตอม 1 สัญลักษณ์ธาตุคือ H มีน้ำหนักอะตอมเฉลี่ย 1.00794 u (1.007825 u สำหรับไฮโดรเจน-1) ไฮโดรเจนเป็นธาตุที่เบาที่สุดและพบมากที่สุดในเอกภพ ซึ่งคิดเป็นมวลธาตุเคมีประมาณร้อยละ 75 ของเอกภพ ดาวฤกษ์ในลำดับหลักส่วนใหญ่ประกอบด้วยไฮโดรเจนในสถานะพลาสมา ธาตุไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหาได้ค่อนข้างยากบนโลก ไอโซโทปที่พบมากที่สุดของไฮโดรเจน คือ โปรเทียม (ชื่อพบใช้น้อย สัญลักษณ์ 1H) ซึ่งมีโปรตอนหนึ่งตัวแต่ไม่มีนิวตรอน ในสารประกอบไอออนิก โปรเทียมสามารถรับประจุลบ (แอนไอออนซึ่งมีชื่อว่า ไฮไดรด์ และเขียนสัญลักษณ์ได้เป็น H-) หรือกลายเป็นสปีซีประจุบวก H+ ก็ได้ แคตไอออนหลังนี้เสมือนว่ามีเพียงโปรตอนหนึ่งตัวเท่านั้น แต่ในความเป็นจริง แคตไอออนไฮโดรเจนในสารประกอบไอออนิกเกิดขึ้นเป็นสปีซีที่ซับซ้อนกว่าเสมอ ไฮโดรเจนเกิดเป็นสารประกอบกับธาตุส่วนใหญ่และพบในน้ำและสารประกอบอินทรีย์ส่วนมาก ไฮโดรเจนเป็นส่วนสำคัญในการศึกษาเคมีกรด-เบส โดยมีหลายปฏิกิริยาแลกเปลี่ยนโปรตอนระหว่างโมเลกุลละลายได้ เพราะเป็นอะตอมที่เรียบง่ายที่สุดเท่าที่ทราบ อะตอมไฮโดรเจนจึงได้ใช้ในทางทฤษฎี ตัวอย่างเช่น เนื่องจากเป็นอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าเพียงชนิดเดียวที่มีผลเฉลยเชิงวิเคราะห์ของสมการชเรอดิงเงอร์ การศึกษาการพลังงานและพันธะของอะตอมไฮโดรเจนได้มีบทบาทสำคัญในการพัฒนากลศาสตร์ควอนตัม มีการสังเคราะห์แก๊สไฮโดรเจนขึ้นเป็นครั้งแรกในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยการผสมโลหะกับกรดแก่ ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และไฮโดรเจน · ดูเพิ่มเติม »

ไซปรีออตเฟิสต์ดิวิชัน

ซปรีออตเฟิสต์ดิวิชัน (Cypriot First Division) เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศไซปรัส ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1934.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และไซปรีออตเฟิสต์ดิวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

เบ-ลอ บอร์โตก

-ลอ วิกโตร์ ยาโนช บอร์โตก (Bartók Béla Viktor János) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2424 (ค.ศ. 1881) ที่เมืองน็อจแซ็นด์มิกโลช (Nagyszentmiklós) ฮังการี (ในปัจจุบันคือเมืองซึนนีกอลาอูมาเร ประเทศโรมาเนีย) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ที่นครนิวยอร์ก) เป็นทั้งคีตกวี นักเปียโน และนักสะสมดนตรีพื้นบ้านในแถบยุโรปตะวันออก เขาเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้จัดตั้งสาขาวิชาดนตรีชาติพันธุ์วิทยา (ethnomusicology).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเบ-ลอ บอร์โตก · ดูเพิ่มเติม »

เบียร์

ียร์ในแก้ว เบียร์ เป็นเมรัยหลาย ๆ รูปแบบที่ผ่านกระบวนการหมัก ผลิตภัณฑ์พวกธัญพืช ประวัติศาสตร์ของเบียร์นั้นมีมายาวนาน เบียร์เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอลชนิดแรกของโลก เริ่มผลิต 6,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยชนชาติ บาบิโลเนียน เบียร์เป็นที่รู้จักในสมัยอียิปต์โบราณและเมโสโปเตเมีย และมีหลักฐานย้อนไปยาวนานถึง 4,000 ปีก่อนคริสตกาล โดยใช้ข้าวบาร์เลย์ เป็นวัตถุดิบ ในราว 1,000 ปีก่อนคริสตกาล ทีการผสมพืชอีกหนึ่งชนิดเข้าไปคือ ฮอปส์ ทำให้มีกลิ่นหอม, รสชาติขม และ สามารถรักษาคุณภาพของเบียร์ให้เก็บได้นานขึ้น แต่เบียร์เหล่านี้แตกต่างจากเบียร์ในปัจจุบัน และเนื่องจากเครื่องปรุงและกรรมวิธีในการผลิตเบียร์แตกต่างกันไปตามสถานที่ ลักษณะของเบียร์ (ชนิดของเบียร์, รสชาติ, และสี) จึงมีความแตกต่างกันได้มาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเบียร์ · ดูเพิ่มเติม »

เฟรเดอริก แบนติง

ฟรเดอริก แกร์นท์ แบนติง (Sir Frederick Grant Banting, KBE, MC, MD, FRSC - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2434 – 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2484) นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ชาวแคนาดา แพทย์และผู้ได้รับรางวัลโนเบลจากการร่วมเป็นผู้ค้นพบอินซูลิน แบนติงเกิดที่เมืองอัลลิสตัน ออนทาริโอ ประเทศแคนาดา หลังจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโทรอนโตเมื่อ พ.ศ. 2459 ได้เข้ารับราชการทหารหน่วยการแพทย์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และได้รับไม้กางเขนระหว่างสงคราม หลังสงครามได้กลับประเทศและเข้ารับการฝึกหัดเป็นศัลยแพทย์กระดูกที่โรงพยาบาลเด็กในโทรอนโตระหว่างปี พ.ศ. 2462 - พ.ศ. 2463 และในฤดูร้อนปีนั้น แบนติงได้ไปทำงานเป็นแพทย์ในออนทาริโอ ในขณะที่กำลังอ่านบทความจากวารสารการแพทย์ เขาได้บันทึกความคิดเกี่ยวกับวิธีการแยกสารหลั่งภายในของตับอ่อน ซึ่งจะเป็นขั้นตอนสำคัญมากที่จะช่วยให้การรักษาโรคเบาหวานที่ได้ผล ซึ่งในขั้นนี้เองที่ขั้นตอนทั้งหมดที่เคยทำกันมาเพื่อแยกสารเพื่อให้แก่คนไข้ล้มเหลวมาโดยตลอด ด้วยความที่แบนติงไม่ค่อยชอบการทำงานเป็นแพทย์ แต่มีความสนใจตื่นเต้นกับความคิดนี้มาก เขาจึงย้ายจากออนทาริโอไปโทรอนโตโดยได้เริ่มงานวิจัยที่มหาวิทยาลัยโทรอนโต เมือ่วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2464 ภายใต้การดูแลของศาสตราจารย์จอห์น แมคลอยด์ แบนติงได้รับมอบนักศึกษาปริญญาโทคนหนึ่งให้มาเป็นผู้ช่วย คือ ชาร์ล เบส แบนติงได้ทำการทดลองอย่างหนัก โดยการผ่าตัดสุนัขเพื่อมัดท่อตับอ่อน เพื่อทำให้เกิดการฝ่อบางส่วนแล้วจึงตัดเอาตับอ่อนออกในสัปดาห์ต่อมา โดยหวังว่าตับอ่อนจะมีสารหลั่งที่สะอาด เข้มข้นและไม่ปนเปื้อน จากนั้นจะทำการสะกัดไปรักษาสุนัขที่ป่วยเป็นเบาหวานโดยการรักษาด้วยการลดน้ำตาลในเลือดเพื่อดูว่าจะได้ผลหรือไม่ หลายเดือนต่อมา ดูเหมือนว่าวิธีการของแบนติงจะได้ผลเนื่องจากเขาสามารถทำให้สุนัขมีชีวิตอยู่ได้ด้วยการลดระดับน้ำตาลในเลือดลง และได้รีบรายงานให้แมคลอยด์ได้รับทราบ ยังมีข้อสงสัยว่าวิธีของแบนติงยังหยาบและไม่ได้ผลจริง ต่อมา จากการเข้าลงมือร่วมวิจัยโดยตรงของแมคลอยด์และนักเคมีชื่อเจมส์ คอลลิบ พบว่าการใช้ตับอ่อนของสุนัขได้ผลในทางปฏิบัติ จึงย้ายไปทำกับลูกวัวและวัว เทคนิคการผูกท่อตับอ่อนถูกยกเลิกไป หันมาใช้วิธีสะกัดที่ได้ผลดีในตับธรรมดาที่ไม่ต้องมัดท่อ และเรียกสารที่สะกัดได้นี้ในระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเฟรเดอริก แบนติง · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติกัวเตมาลา

ลงชาติกัวเตมาลา (Himno Nacional de Guatemala) ประพันธ์บทร้องโดย โจเซ่ จัวควิน ปาลมา (1844–1911) และ เรียบเรียงทำนองโดย ราฟาเอล อัลวาเรซ โอวัลเล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเพลงชาติกัวเตมาลา · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน

ลงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน (Himno Nacional Dominicano) เป็นบทเพลงซึ่งประพันธ์ทำนองโดยโคเซ รูฟีโน เรเยส เซียงกัส (José Rufino Reyes Siancas, พ.ศ. 2378 - พ.ศ. 2448) คำร้องโดยเอมีเลียว ปรูดอม (Emilio Prud'homme, พ.ศ. 2399 - พ.ศ. 2475) เพลงนี้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าว่า "กิสเกยาโนสบาเลียนเตส" (Quisqueyanos Valientes) อันมีความหมายว่า "ชาวกิสเกยาผู้กล้าหาญ" ซึ่งชื่อดังกล่าวนี้มาจากวลีในวรรคแรกสุดของเพลง และได้มีการบรรเลงในฐานะเพลงชาติครั้งแรกที่อาคารองค์กรฟรีเมสันที่มีชื่อว่า อาคารเอสเปรันซาหมายเลข 9 (Esperanza No.9) เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2426 เมื่อมีการเผยแพร่เพลงนี้ ปรากฏว่าทำนองเพลงนั้นได้รับความนิยมจากมหาชนอย่างรวดเร็ว แต่สำหรับเนื้อร้องนั้นได้ถูกตั้งคำถามจากบรรดาผู้ทรงความรู้ชาวโดมินิกันจำนวนมากจากความผิดพลาดที่ปรากฏในบทร้องนั้น ต่อในในปี พ.ศ. 2420 ปรูดอมจึงได้ส่งเนื้อร้องเพลงชาติฉบับแก้ไขใหม่ให้ทางการ ซึ่งเนื้อร้องดังกล่าวนี้คือเนื้อร้องที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน หลังจากผ่านการโต้เถียงอย่างเผ็ดร้อนถึงบทร้องที่มีการแก้ไขใหม่ สภาคองเกรสของสาธารณรัฐโดมินิกันจึงได้มีมติด้วยเสียงส่วนมาก ผ่านร่างกฎหมายรับรองเพลงนี้ให้มีฐานะเป็นเพลงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2440 แต่ว่าประธานาธิบดีอูลีส เออโร (Ulises Heureaux, พ.ศ. 2389 - 2443) ได้ใช้สิทธิยับยั้งกฎหมายฉบับนี้ ด้วยเหตุที่ปรูดอมซึ่งเป็นผู้ประพันธ์บทร้องของเพลงนี้เป็นนักการเมืองฝ่ายตรงข้ามกับตนเอง ต่อมาเมื่อประธานาธิบดีเออโรถูกฆาตกรรมในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเพลงชาติสาธารณรัฐโดมินิกัน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติไทย

ลงชาติไทย เป็นชื่อเพลงชาติของสยามและประเทศไทย ประพันธ์ทำนองโดย พระเจนดุริยางค์ ในช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อปี พ.ศ. 2475 คำร้องฉบับแรกสุดโดยขุนวิจิตรมาตรา ซึ่งแต่งขึ้นภายหลังในปีเดียวกัน ต่อมาได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อร้องอีกหลายครั้งและได้เปลี่ยนมาใช้เนื้อร้องฉบับปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2482.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเพลงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงกราวกีฬา

ป็นเพลงที่นิยม ใช้ในการเชียร์กีฬา ประพันธ์คำร้องโดย ครูเทพ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี หรือ นามจริง สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา ส่วนทำนอง ใช้ทำนองเพลงไทยเดิมคือ เพลงกราวนอก มิได้ประพันธ์โดย นารถ ถาวรบุตร ซึ่งประพันธ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2477 เพื่อใช้ในการแข่งกีฬาสีของนักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ต่อมาเพลงนี้ได้รับความนิยมและแพร่หลายออกไปสู่การแข่งขันกีฬาทั่วไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเพลงกราวกีฬา · ดูเพิ่มเติม »

เกรียงไกร อัตตะนันทน์

อมพลเกรียงไกร อัตตะนันทน์ อดีตผู้บังคับกองพันทหารอาสาสมัครของไทยชุดแรกในสงครามเกาหลี อดีตผู้บังคับการกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ท่านเป็นนายทหารที่ได้รับพระราชทานยศจอมพลเป็นคนสุดท้ายของกองทัพไทย ก่อนที่จะมีการระงับการพระราชทานยศชั้นดังกล่าวในช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเกรียงไกร อัตตะนันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

เกรทโอลด์วัน

กรทโอลด์วัน หรือ เฒ่าผู้ยิ่งใหญ่ เป็นศัพท์ซึ่งใช้เรียกสิ่งสมมุติในวรรณกรรมกลุ่มตำนานคธูลู ซึ่งมีที่มาจากบทประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ แม้เกรทโอลด์วันที่มีชื่อเสียงที่สุดจะมาจากผลงานของเลิฟคราฟท์เอง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นตัวละครจากงานเขียนของนักประพันธ์คนอื่น โดยรวมแล้ว เกรทโอลด์วัน (ซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่า โอลด์วัน โดยนักประพันธ์) มีอำนาจที่ด้อยกว่าเอาเตอร์ก็อด แต่ก็ได้รับการบูชาจากลัทธิต่างๆทั้งที่เป็นมนุษย์และอมนุษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเกรทโอลด์วัน · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเดวอน

ทิวทัศน์ในเกาะเดวอน เกาะเดวอน (Devon Island; Inuit: Tatlurutit) ตั้งอยู่ที่อ่าวบัฟฟิน,นูนาวุต,ประเทศแคนาดา มันเป็นเกาะที่อยู่ใน หมู่เกาะอาร์กติกของแคนาดา เป็นเกาะที่ใหญ่อันดับ 27 ของโลก ซึ่งเนื้อที่ 55,247 กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเกาะเดวอน · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นสมาคมผู้แทนของเภสัชกรชาวไทย จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2472 โดยเภสัชกร 64 คน ซึ่งในขณะนั้นวิชาชีพเภสัชกรรมยังมิได้รับการยอมรับหรือรู้จักกันอย่างแพร่หลาย โดยได้ใช้บ้านพักของพระมนตรีพจนกิจ (หม่อมราชวงศ์ชาย ชุมแสง) เป็นสถานที่ดำเนินการ โดยใช้ชื่อว่า "เภสัชกรรมสมาคมแห่งกรุงสยาม" ในระยะเริ่มแรก เภสัชกรรมสมาคมฯ มีบทบาทในการพัฒนางานสาธารณสุขและการศึกษาทางเภสัชศาสตร์ของประเทศ อาทิ การส่งเสริมการปรับปรุงพระราชบัญญัติยาและการยกระดับการศึกษาเภสัชศาสตร์ ปรับปรุงหลักสูตรการสอนให้ถึงระดับปริญญา นอกจากนี้เภสัชกรรมสมาคมฯ ยังถือเป็นองค์กรหลักองค์กรหนึ่งของเภสัชกรรมไทยในการติดต่อกับองค์กรอื่นๆทั้งในและนอกประเทศอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเภสัชกรรมสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

เภสัชกรรมไทย

ัชกรรมไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเภสัชกรรมไทย · ดูเพิ่มเติม »

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ

ลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 - 3 เมษายน พ.ศ. 2513) ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ · ดูเพิ่มเติม »

เมาตินี

ลงชาติอิรักในปัจจุบันมีชื่อว่า "เมาตินี" แปลว่า มาตุภูมิแห่งข้า เดิมเพลงนี้เป็นบทกวียอดนิยมที่ประพันธ์ขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2477 โดย อิบราฮิม ตูกัน (อาหรับ: إبراهيم طوقان, Ibrahim Touqan) ที่แคว้นปาเลสไตน์ ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นเนื้อเพลงชาติโดยพฤตินัยของประเทศปาเลสไตน์ อิรัก และ โมร็อกโก ส่วนทำนองนั้นประพันธ์โดย มุฮัมหมัด ฟูลิเอฟิล (อาหรับ: محمد فليفل, Muhammad Fuliefil) ซึ่งทำนองของเพลงนี้เป็นที่นิยมกันมากในโลกอาหรับเป็นเวลานานหลายปี ในปี พ.ศ. 2547 เพลงนี้ได้รับการรับรองให้ใช้เป็นเพลงชาติอิรักอีกครั้ง เพื่อใช้แทนเพลงเดิม คือ เพลง อาดุลฟุราตอยนีวาตาน อันเป็นเพลงชาติอิรักในสมัยที่ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน เรืองอำน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเมาตินี · ดูเพิ่มเติม »

เรือประจัญบานอิตาลีวิตตอริโอ เวเนโต

เรือรบวิตตอริโอ เวเนโต (Italian battleship Vittorio Veneto) เป็นเรือรบของราชอาณาจักรอิตาลีและเป็นเรือนำของเรือรบระดับชั้นเทอเรี่ยน ที่ทำหน้าที่ในกองทัพเรืออิตาลี ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่สอง เธอถูกตั้งชื่อตามชัยชนะอิตาลีที่ ยุทธการวิตตอริโอ เวเนโตในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:เรือในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:เรืออัปปางในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:เรือประจัญบาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเรือประจัญบานอิตาลีวิตตอริโอ เวเนโต · ดูเพิ่มเติม »

เสริม วินิจฉัยกุล

ริม วินิจฉัยกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตปลัดกระทรวงการคลัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเสริม วินิจฉัยกุล · ดูเพิ่มเติม »

เสนาะ เทียนทอง

นายกองใหญ่ เสนาะ เทียนทอง (1 เมษายน พ.ศ. 2477 —) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรคประชาราช ผู้นำ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเสนาะ เทียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์

กอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์ ถ่ายโดย คาร์ล แวน เวเช็น (Carl Van Vechten) ฟรานซีส สกอตต์ คีย์ ฟิตซ์เจอรัลด์ หรือ เอฟ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเอฟ. สกอตต์ ฟิตซ์เจอรัลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เอลลา ฟิทซ์เจอรัลด์

อลลา ฟิทซ์เจอรัลด์ (Ella Jane Fitzgerald) (25 เมษายน ค.ศ. 1917 - 15 มิถุนายน ค.ศ. 1996) เป็นนักร้องเพลงแจ๊สผิวสีชาวอเมริกัน เจ้าของฉายา Lady Ella และ สตรีหมายเลขหนึ่งแห่งวงการเพลง - The First Lady of Song ได้รับการยอมรับว่า มีเสียงนุ่ม ใส การเปล่งเสียงอย่างชัดถ้อยชัดคำสมบูรณ์แบบและเป็นธรรมชาติ มีพลังเสียงสามารถไล่ระดับเสียงได้ถึง 3 ออกเตฟ และมีความสามารถพิเศษในการด้น โดยเฉพาะในการสแคต (scat) เป็นพิเศษ เอลลา ฟิทซ์เจอรัลด์ อยู่ในวงการเพลงตั้งแต่ ค.ศ. 1934 จนเสียชีวิตเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเอลลา ฟิทซ์เจอรัลด์ · ดูเพิ่มเติม »

เอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม

ัชเชสอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย (พระนามเต็มเมื่อประสูติ: อลิซาเบธ กาบรีเอล วาเลรี มารี ดัชเชสแห่งบาวาเรีย) (ประสูติเมื่อ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1876 และสวรรคต 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1965) พระอัครมเหสีในสมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 แห่งเบลเยียม ทรงมีพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งชาวเบลเยียม พระองค์เป็นพระราชมารดาของสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม กับสมเด็จพระราชินีมารี-โจเซแห่งอิตาลี และยังเป็นพระอัยยิกาฝ่ายพระชนกของสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย สมเด็จพระราชินีแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เอลเซท 129 ฮินเดนบูร์ก

รือเหาะฮินเดนบูร์กขณะจอดเทียบฐานจอดที่เลคเฮิร์ทส์ นิวเจอร์ซีย์ สหรัฐ เมื่อ พ.ศ. 2479 เอลเซท 129 ฮินเดนบูร์ก (LZ 129 Hindenburg) เป็นเรือเหาะของเยอรมนีที่สร้างคู่กับเรือเหาะลำน้องที่ชื่อ กราฟ เซปเปลิน 2 นับเป็นอากาศยานที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยสร้างมา ใช้ช่วงบินให้บริการปีที่ 2 ได้เกิดไฟใหม้ระหว่างแล่นลอยตัวลงจอดที่ฐานทัพเรือเลคเฮิร์สท์ รัฐนิวเจอร์ซีย์ สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2480 มีผู้เสียชีวิต 36 คน นับเป็นเหตุการณ์ที่มีการรายงานโดยสื่อต่างๆ ทั้งภาพยนตร์ ภาพถ่ายและวิทยุกระจายเสียงมากที่สุด เรือเหาะฮินเดนบูร์กได้รับการตั้งชื่อตาม เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก (พ.ศ. 2390 – พ.ศ. 2477) ประธานาธิบดีแห่งประเทศเยอรมนีระหว่าง พ.ศ. 2468 – พ.ศ. 2477 ประธานาธิบดีคนสุดท้ายของเยอรมนีที่รับตำแหน่งจากการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตย ก่อนที่ฮิตเลอร์จะครองอำน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเอลเซท 129 ฮินเดนบูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มมาแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ สมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเอ็มมาแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ (Her Majesty Queen-Dowager Emma, Princess of Waldeck and Pyrmont.) (อเดลเฮด เอ็มมา วิลเฮลมินา เทเรเซีย แห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์)(2 สิงหาคม พ.ศ. 2401 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2477) เป็นพระมเหสีแห่งสมเด็จพระราชาธิบดีวิลเล็มที่ 3 แห่งเนเธอร์แลนด์เป็นพระราชินีตั้งแต่ พ.ศ. 2433 ถึง พ.ศ. 2441 และ สมเด็จพระราชชนนีตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเอ็มมาแห่งวัลเด็คและไพร์มอนต์ สมเด็จพระราชินีแห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงเฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์ก (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนียและเป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เจริญ เชาวน์ประยูร

นายเจริญ เชาวน์ประยูร อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 7 สมัย ได้รับเลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจริญ เชาวน์ประยูร · ดูเพิ่มเติม »

เจน กูดดอลล์

น กูดดอลล์ ที่ฮ่องกง ในปี พ.ศ. 2547 เจน กูดดอลล์ (Jane Goodall; (3 เมษายน ค.ศ. 1934 -) นักสัตววิทยา มานุษยวิทยาและวานรวิทยาชาวอังกฤษ มีชื่อเสียงจากโครงการศึกษาพฤติกรรมทางสังคมและครอบครัวของชิมแปนซี ที่อุทยานแห่งชาติกอมเบ สตรีม ประเทศแทนซาเนีย โดยเริ่มจากการเป็นผู้ช่วยของ ดร.หลุยส์ ลีกคี นักบรรพชีวินวิทยาชื่อดังชาวเคนยา ตั้งแต่ พ.ศ. 2503 เป็นเวลากว่า 45 ปี เจน กูดดอลล์ เป็นผู้ก่อตั้งสถาบันเจน กูดดอลล์ (Jane Goodall Institute - JGI) ตั้งแต่ พ.ศ. 2520 เพื่อสนับสนุนการวิจัย ปกป้องถิ่นที่อยู่อาศัย และป้องกันชิมแปนซีจากการถูกล่า กูดดอลล์ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ "Dame Commander of the British Empire" จากสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2547 และได้รับจากการแต่งตั้งจากองค์การสหประชาชาติโดยนายโคฟี อันนัน ให้เป็นทูตสันติภาพ ตั้งแต่ พ.ศ. 2545.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจน กูดดอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือพระนามเต็ม เลโอโพลด์ ชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ด จอร์จ อัลเบิร์ต (Charles Edward, Duke of Saxe-Coburg and Gotha; Carl Eduard, Herzog von Sachsen-Coburg und Gotha; 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2497) ทรงเป็นดยุคแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา ในประเทศเยอรมนี พระองค์ที่สี่และสุดท้าย (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461) และในฐานะพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ผ่านทางสายพระราชโอรส พระองค์ทรงเป็นเจ้าชายแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุคแห่งอัลบานีอีกด้วย เจ้าชายชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ดทรงเป็นบุคคลที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในประเทศอังกฤษ เนื่องจากการมีสถานภาพเป็นศัตรูในฐานะที่ทรงเป็นดยุคครองรัฐแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา อันเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 พระองค์ทรงถูกถอดถอนบรรดาศักดิ์ขุนนางและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างๆ ของอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2462 ในปี พ.ศ. 2461 พระองค์ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติ และต่อมาได้ทรงเข้าร่วมพรรคนาซีเยอรมัน ยังความเสื่อมเสียที่ใหญ่หลวงมาให้แก่เจ้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน ซึ่งเป็นพระภคินีเพียงพระองค์เดียว สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระภคินีในพระเชษฐภรรดา รวมถึงสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ซึ่งเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์

้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ (Prince George, Duke of Kent) หรือพระนามเต็ม จอร์จ เอ็ดเวิร์ด อเล็กซานเดอร์ เอ็ดมันด์ (George Edward Alexander Edmund; ประสูติ: 20 ธันวาคม พ.ศ. 2445; สิ้นพระชนม์: 25 สิงหาคม พ.ศ. 2485 - ทรงอุบัติเหตุขณะเดินทางกับกองทัพที่สกอตแลนด์) เป็นสมาชิกในราชวงศ์อังกฤษ พระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และสมเด็จพระราชินีแมรี แห่งเท็คทรงสถาปนาเป็นดยุกแห่งเคนต์ เมื่อ พ.ศ. 2477 จนกระทั่งพระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ. 2485.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี

้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี ในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (พระนามเต็ม: อ็องรี มารี ฌ็อง อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา; 11 มิถุนายน พ.ศ. 2477 - 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระองค์ประสูติที่เมืองตาลงซ์ แคว้นกีรงด์ สาธารณรัฐฝรั่งเศส เป็นโอรสในเคาต์อ็องดร์ เดอ ลาบอร์ด เดอ มงเปอซา และเรอเน ดูร์เซโน อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงมาร์เกรเธอแห่งเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1967 ในขณะที่มีพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงผู้เป็นทายาทโดยสันนิษฐานแห่งราชบัลลังก์เดนมาร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าชายเฮนริกแห่งเดนมาร์ก พระราชสวามี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาเสวกเอก เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (1 มกราคม พ.ศ. 2419 - 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486) นามเดิม สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ) ผู้วางรากฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา ผู้ร่วมดำริให้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก ผู้นำกีฬาฟุตบอลมาเผยแพร่ในประเทศไทย นักประพันธ์ (ใช้นามปากกา "ครูเทพ") ผู้ประพันธ์เพลงกราวกีฬา รวมทั้งเพลงชาติฉบับก่อนปัจจุบัน จากคำให้การของ ผ.ดร.กิตติศักดิ์ ณ ท่าพระจันทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม

้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม (HRH Princess Marie-José of Belgium; มารี-โจเซ ชาร์ล็อต โซฟี อาเมลี อ็องเรียต กาเบรียลล์; 4 สิงหาคม พ.ศ. 2449 — 27 มกราคม พ.ศ. 2544) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์สุดท้ายของประเทศอิตาลี ในช่วงการดำรงพระอิสริยยศสมเด็จพระราชินีมเหสีเป็นเวลาสามสิบห้าวันในเดือนพฤษภาคม ทำให้มีพระสมัญญาว่า "ราชินีแห่งเดือนพฤษภาคม" (The May Queen) เจ้าหญิงมารี-โจเซประสูติ ณ เมืองออสเตนด์ ประเทศเบลเยียม โดยเป็นพระราชธิดาพระองค์เล็กและพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบรต์ที่ 1 แห่งเบลเยียม กับ เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งบาวาเรีย พระมเหสี เมื่อแรกประสูติพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี จนกระทั่งการสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่ 1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าหญิงมารี-โจเซแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์

้าหญิงมารีนาแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Marina of Greece and Denmark, CI, GCVO, GBE; 13 ธันวาคม พ.ศ. 2449 - 27 สิงหาคม พ.ศ. 2511) ต่อมาทรงเป็น เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ (Princess Marina, Duchess of Kent) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษและเป็นพระวรชายาในเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ พระราชโอรสองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระองค์ทรงเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ต่างประเทศองค์สุดท้ายที่อภิเษกสมรสเข้ามาในพระราชวงศ์อังกฤษ หลังจากนั้นมาเจ้าสาวทุกคนเป็นเพียงแค่สามัญชนทั้งหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต

้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต (Princess Margaret of Connaught; มาร์กาเร็ต วิกตอเรีย ชาร์ล็อต ออกัสตา นอร่าห์ ภายหลังคือ มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน; 15 มกราคม พ.ศ. 2425 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2463) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น พระราชโอรสพระองค์ที่สามในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักรและ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี กับ เจ้าหญิงหลุยส์ มาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย พระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และมีพระนามลำลองในหมู่พระญาติสนิทและพระสหายว่า "เดซี่".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าหญิงมาร์กาเรตแห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน

้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน (Her Royal Highness Crown Princess Victoria of Sweden; Hennes Kungliga Höghet Kronprinsessan Victoria, Sveriges kronprinsessa; พระนามเต็ม วิกตอเรีย อิงกริด อลิซ เดซิเร; 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 —) เป็นรัชทายาทอันดับหนึ่งในราชบัลลังก์สวีเดน หากเมื่อเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ พระองค์จะทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถลำดับที่สี่ของประเทศ (ต่อจาก สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 1 สมเด็จพระราชินีนาถคริสตินา และสมเด็จพระราชินีนาถอุลริคา เอเลโอนอรา) ทั้งนี้พระองค์ทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติใน เจ้าชายเฟรเดอริก มกุฎราชกุมารแห่งเดนมาร์ก กับ เจ้าชายเปาโลส มกุฎราชกุมารแห่งกรีซ นอกจากนี้พระองค์ยังทรงถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 7 ของราชนิกุลรุ่นเยาว์ที่เซ็กซี่มากสุดในโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าหญิงวิกตอเรีย มกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงอเล็กซานดราแห่งเอดินบะระและซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือ อเล็กซานดรา หลุยส์ โอลกา วิกตอเรีย (HRH Princess Alexandra of Edinburgh and Saxe-Coburg and Gotha; 1 กันยายน พ.ศ. 2421 - 16 เมษายน พ.ศ. 2485) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาองค์หนึ่งในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าหญิงอเล็กซานดราแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซิบิลลาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าหญิงซิบิลลาแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา หรือ ซิบิลลา คัลมา มารี อลิซ บาธิลดิส ฟีโอดอรา (ภายหลังทรงเป็น เจ้าหญิงซิบิลลาแห่งสวีเดน ดัชเชสแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น; 18 มกราคม พ.ศ. 2451 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2515) เป็นพระชายาในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟ ดยุกแห่งเวสเตร์บอตเติน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และพระชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าหญิงซิบิลลาแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Katherine of Greece and Denmark) หรือว่า เลดี้ แคทเธอรีน แบรนด์แรม (Lady Katherine Brandram; 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2456 - 2 ตุลาคม พ.ศ. 2550) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามและองค์เล็กในสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2466) และ เจ้าหญิงโซฟีแห่งปรัสเซีย (พ.ศ. 2413 - พ.ศ. 2475) และเป็นพระราชปนัดดาหญิงซึ่งทรงพระชนม์ชีพอยู่พระองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (โดยพระราชปนัดดาชายพระองค์สุดท้ายที่ยังทรงพระชนม์ชีพอยู่ขณะนี้คือ เค้านท์ คาร์ล โยฮัน เบอร์นาด็อต (พระชนมายุ 91 ชันษา).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเจ้าหญิงแคทเธอรีนแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เดล แชนนอน

ล แชนนอน (30 ธันวาคม ค.ศ. 1934 - 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงชาวอเมริกัน ในแนวร็อกแอนด์โรล เป็นเจ้าของเพลงฮิตอันดับ 1 "Runaway" ในปี 1961 และต่อมาเขาก็มีเพลงฮิตรอง ๆ อย่าง "Little Town Flirt" ที่โด่งดังในประเทศอังกฤษมากกว่าบ้านเกิด ในช่วงระหว่างที่เขาทัวร์ยุโรปในปี 1963 เขาได้เล่นโชว์ร่วมกับเดอะบีทเทิลส์ ที่เพิ่งประสบความสำเร็จในสหราชอาณาจักร ซึ่งประทับใจเขา จนเขานำเพลงของเดอะบีทเทิลส์ "From Me to You" มาทำใหม่ และถือเป็นศิลปินอเมริกันคนแรกที่นำเพลงเดอะบีทเทิลส์มาทำใหม่ เดลมีซิงเกิลท็อปเท็นในปลายปี 1964 กับ "Keep Searchin'" ต่อมามีเพลงติดอันดับ 30 ในปี 1965 กับ "Stranger in Town" ซึ่งต่อมาเขาก็มีมีเพลงเข้าท็อป 40 อีกครั้งอีก 2 ทศวรรษ ในช่วงปลายทศวรรษ 1960 เขาได้ทำงานโดยเน้นด้านผลิตผลงานให้ศิลปินอื่น ที่เป็นที่รู้จักเช่น สมิธ และ ไบรอัน ไฮแลนด์ เขาพยายามกลับมาทำผลงานเพลงอีกครั้ง โดยมีการแสดงร่วมกับ เจฟฟ์ ลินน์ และเดฟ เอดมุนดส์ ในทศวรรษ 1970 แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จมาก แต่เมื่อต้นทศวรรษ 1980 ออกผลงานอัลบั้มโดยได้ทอม เพตตี มาเป็นโปรดิวเซอร์ให้ ทำให้เขามีเพลงติดท็อป 40 อีกครั้งก็เพลงนำมาทำใหม่ที่ชื่อ "Sea of Love" เขาเสียชีวิตด้วยการฆ่าตัวตาย เมื่อวันที่ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเดล แชนนอน · ดูเพิ่มเติม »

เดือน บุนนาค

ตราจารย์ เดือน บุนนาค ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร่วมก่อตั้ง เลขาธิการ และรักษาการผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าพรรคสหชีพ มีผลงานที่สำคัญระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเดือน บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

เดเอฟเบโพคาล

้วยรางวัล เดเอฟเบโพคาล หรือ เยอรมันคัพ (Deutscher Fußball-Bund-Pokal, Deutsche Tasse; DFB-Pokal, German Cup) เป็นฟุตบอลถ้วยของประเทศเยอรมนี เริ่มจัดในปี ค.ศ. 1934 เดิมชื่อTschammer-Pokal โดยมีสโมสรเข้าร่วม 64 สโมสร จาก 36 สโมสรของบุนเดสลีกาและลีก้า 2เยอรมัน และ 4 อันดับสูงสุดของ ลีก้า 3 จะได้เข้ารอบแรกโดยอัตโนมัติ ส่วนอีก 21 สโมสรที่เหลือจะมาจากสโมสรแชมป์ฟุตบอลถ้วยของภูมิภาคต่าง ๆ ส่วนอีก 3 สโมสรที่เหลือจะมาจากสมาพันธ์ภูมิภาคที่มีสโมสรฟุตบอลชายมากที่สุด สำหรับทีมสำรองของสโมสรต่าง ๆ ไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมการแข่งขั้น โดยแชมป์ล่าสุดคือบาเยิร์นมิวน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเดเอฟเบโพคาล · ดูเพิ่มเติม »

เคาท์ เบซี

วิลเลียม เจมส์ "เคาท์" เบซี่ (21 สิงหาคม พ.ศ. 2447 - 26 เมษายน พ.ศ. 2527) นักเปียโน นักออร์แกน หัวหน้าวงดนตรี และนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน ในแนวดนตรีแจ๊ซ และบิ๊กแบนด์ เริ่มก่อตั้งวงดนตรีของตัวเองตั้งแต่ พ.ศ. 2477 และมีชื่อเสียงควบคู่ไปกับวงดนตรีของดุค เอลลิงตัน ฉายา เคาท์ ของเบซี่ ตั้งขึ้นล้อกันไปกับฉายา ดุค ของเอลลิงตัน และ เอิร์ล ของเอิร์ล ไฮน์ส เบซี่มีผลงานดนตรีร่วมกับนักดนตรีมากมาย เช่น แฟรงค์ ซินาตรา เอลลา ฟิทซ์เจอรัลด์ เดอะ มิลส์ บราเธอร์ส แจ็กกี วิลสัน ควินซี โจนส์ และทำดนตรีประกอบภาพยนตร์เพลง รวมทั้งแสดงในภาพยนตร์ด้วยหลายเรื่อง เบซี่ ได้รับรางวัลแกรมมี่ 9 ครั้ง ช่วงบั้นปลายชีวิตป่วยด้วยโรคหัวใจจนต้องเข้าโรงพยาบาล แต่ก็ยังออกตระเวนแสดงดนตรี โดยนั่งรถเข็นขึ้นบนเวที เบซี่ เสียชีวิตที่ฟลอริดา เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2527 ด้วยโรคมะเร็งตับอ่อน ถึงแม้เบซี่จะเสียชีวิตไปแล้ว วงดนตรีเคาท์ เบซี่ ก็ยังรวมวงกันอยู่จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเคาท์ เบซี · ดูเพิ่มเติม »

เคทู

right ยอดเขาเคทู (K2; บัลตี: Kechu, Ketu; کے ٹو) เป็นยอดเขาที่สูงเป็นอันดับสองของโลกรองจากยอดเขาเอเวอเรสต์ มีความสูง 8,611 เมตร (28,251 ฟุต) เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาการาโกรัมซึ่งเชื่อมต่อกับแนวเทือกเขาหิมาลัยทางด้านตะวันตก และตั้งอยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างเขตกิลกิต-บัลติสถานของประเทศปากีสถาน กับเทศมณฑลปกครองตนเองตัชคูร์กันทาจิกในเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ของประเทศจีน รัฐบาลจีนใช้ชื่อของเคทูว่า Qogir ซึ่งเป็นคำที่มาจากนักสำรวจตะวันตก ใช้เรียกภูเขาแห่งนี้โดยตั้งชื่อตามภาษาท้องถิ่น ว่า Chogori (ภาษาบัลตี โดย Chhogo แปลว่า ใหญ่ ri แปลว่า ภูเขา).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเคทู · ดูเพิ่มเติม »

เคนจิ โยเนกุระ

นจิ โยเนกุระ (Kenji Yonekura) นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 25 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเคนจิ โยเนกุระ · ดูเพิ่มเติม »

เปนชู้กับผี

ปนชู้กับผี เป็นภาพยนตร์แนวสยองขวัญ ออกฉายในปี พ.ศ. 2549 ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่องที่ 3 ของวิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง และเป็นผลงานเรื่องแรกซึ่งวิศิษฏ์ให้ผู้อื่นเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ให้ นั่นคือ ก้องเกียรติ โขมศิริ หนึ่งใน "โรนินทีม" ซึ่งกำกับภาพยนตร์เรื่อง "ลองของ".

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และเปนชู้กับผี · ดูเพิ่มเติม »

Bangana sinkleri

Bangana sinkleri เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีชื่อสามัญว่า "ปลาเพ้า" ซึ่งเป็นชื่อเรียกรวมกับปลาบางชนิดในสกุลเดียวกัน เช่น B. lippus เป็นต้น ปลาชนิด B. sinkleri มีลักษณะลำตัวทรงกระบอก ขนาดประมาณ 19-30 เซนติเมตร หัวโต จะงอยปากสั้นและมีตุ่มเล็ก ๆ ในตัวผู้ ปากกว้างอยู่ด้านล่าง เกล็ดค่อนข้างใหญ่ ครีบหลังสูง ลำตัวสีเทาหรือเขียวมะกอก ในฤดูผสมพันธุ์จะเปลี่ยนเป็นสีม่วง มีลายจุดสีน้ำตาลแดง ท้องสีขาว อาหารได้แก่ ตะไคร่น้ำหรือสาหร่ายตามพื้นน้ำหรือแก่งหิน มักอาศัยอยู่เป็นกลุ่มเล็ก ๆ 3-9 ตัว ตามซอกหินหรือแก่งน้ำไหลเชี่ยว เป็นปลาที่พบน้อย โดยจะพบเฉพาะบริเวณแม่น้ำโขงที่เดียวเท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และBangana sinkleri · ดูเพิ่มเติม »

1 พฤษภาคม

วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันที่ 121 ของปี (วันที่ 122 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 244 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ1 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 เมษายน

วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ1 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

10 มีนาคม

วันที่ 10 มีนาคม เป็นวันที่ 69 ของปี (วันที่ 70 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 296 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ10 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ10 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 กรกฎาคม

วันที่ 11 กรกฎาคม เป็นวันที่ 192 ของปี (วันที่ 193 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 173 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ11 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 มิถุนายน

วันที่ 11 มิถุนายน เป็นวันที่ 162 ของปี (วันที่ 163 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 203 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ11 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

11 สิงหาคม

วันที่ 11 สิงหาคม เป็นวันที่ 223 ของปี (วันที่ 224 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 142 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ11 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 กุมภาพันธ์

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 43 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 322 วันในปีนั้น (323 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ12 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

12 สิงหาคม

วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันที่ 224 ของปี (วันที่ 225 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 141 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ12 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ13 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ13 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 มกราคม

วันที่ 19 มกราคม เป็นวันที่ 19 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 346 วันในปีนั้น (347 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ19 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มีนาคม

วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ2 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 สิงหาคม

วันที่ 2 สิงหาคม เป็นวันที่ 214 ของปี (วันที่ 215 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 151 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ2 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ธันวาคม

วันที่ 20 ธันวาคม เป็นวันที่ 354 ของปี (วันที่ 355 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 11 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ20 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

20 ตุลาคม

วันที่ 20 ตุลาคม เป็นวันที่ 293 ของปี (วันที่ 294 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 72 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ20 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 มีนาคม

วันที่ 21 มีนาคม เป็นวันที่ 80 ของปี (วันที่ 81 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 285 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ21 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤษภาคม

วันที่ 23 พฤษภาคม เป็นวันที่ 143 ของปี (วันที่ 144 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 222 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ23 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 กุมภาพันธ์

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 54 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 311 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ23 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

23 มกราคม

วันที่ 23 มกราคม เป็นวันที่ 23 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 342 วันในปีนั้น (343 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ23 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

24 มีนาคม

วันที่ 24 มีนาคม เป็นวันที่ 83 ของปี (วันที่ 84 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 282 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ24 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 ธันวาคม

วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่ 359 ของปี (วันที่ 360 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 6 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ25 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ26 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

27 กันยายน

วันที่ 27 กันยายน เป็นวันที่ 270 ของปี (วันที่ 271 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 95 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ27 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

27 มิถุนายน

วันที่ 27 มิถุนายน เป็นวันที่ 178 ของปี (วันที่ 179 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 187 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ27 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ28 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กันยายน

วันที่ 28 กันยายน เป็นวันที่ 271 ของปี (วันที่ 272 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 94 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ28 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

28 กุมภาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ28 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

28 มกราคม

วันที่ 28 มกราคม เป็นวันที่ 28 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 337 วันในปีนั้น (338 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ28 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

3 สมุนจอมป่วน

3 สมุนจอมป่วน หรือ 3 พี่น้องจอมยุ่ง (The Three Stooges) เป็นทีมตลกอเมริกาซึ่งเล่นกันในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 จนถึงช่วงกลางศตวรรษที่ 70 ซึ่งรู้จักกันดีในภาพยนตร์สั้นของพวกเขา ซึ่งตลกของเขาจะเน้นในทางกริยาและการเจ็บตัว ในภาพยนตร์สั้นของ 3 พี่น้องจอมยุ่ง ซึ่งเป็นทีมตลก 3 คน ซึ่งประกอบไปด้วย โม ฮาวเวอร์ด (Moe Howard) เป็นสมุนคนที่ 1, แลร์รี่ ไฟน์ (Larry Fine) เป็นสมุนคนที่ 2 และ เคอร์ลี่ ฮาวเวอร์ด (Curly Howard) เป็นสมุนคนที่ 3 ตั้งแต่ ค.ศ. 1934 ถึง ค.ศ. 1946 แต่เมื่อเคอร์ลี่ เป็นโรคหลอดเลือดสมองและเสียชีวิตเมื่อ ค.ศ. 1952 เชมพ์ ฮาวเวอร์ด (Shemp Howard) จึงเข้ามาแทนที่เป็นสมุนคนที่ 3 แต่เมื่อเชมพ์เสียชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1955 จึงใช้สตั้นท์ชื่อว่า โจ พาลมา (Joe Palma) แสดงแทนเป็นเชมพ์ และในปีเดียวกันได้ถูกแทนที่โดย โจ เบสเซอร์ (Joe Besser) และ เคอร์ลี่ "โจ" เดริต้า ("Curly-Joe" DeRita) ในปี ค.ศ. 1959 แต่เมื่อแลร์รี่ เสียชีวิตในโรคหลอดเลือดสมอง ในปี ค.ศ. 1970 จึงถูกแทนที่โดย อีมิล ซิทกา (Emil Sitka) แต่เมื่อโม ได้เสียชีวิตโดยโรคมะเร็งในปี ค.ศ. 1975 3 สมุนจอมป่วนจึงหยุดเล่นในปี ค.ศ. 1975.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ3 สมุนจอมป่วน · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤษภาคม

วันที่ 30 พฤษภาคม เป็นวันที่ 150 ของปี (วันที่ 151 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 215 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ30 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

34 (แก้ความกำกวม)

34 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ34 (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

4 กรกฎาคม

วันที่ 4 กรกฎาคม เป็นวันที่ 185 ของปี (วันที่ 186 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 180 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ4 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 กันยายน

วันที่ 4 กันยายน เป็นวันที่ 247 ของปี (วันที่ 248 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 118 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ4 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

4 ธันวาคม

วันที่ 4 ธันวาคม เป็นวันที่ 338 ของปี (วันที่ 339 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 27 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ4 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 มีนาคม

วันที่ 5 มีนาคม เป็นวันที่ 64 ของปี (วันที่ 65 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 301 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ5 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ6 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤศจิกายน

วันที่ 7 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 311 ของปี (วันที่ 312 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 54 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ7 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

8 มกราคม

วันที่ 8 มกราคม เป็นวันที่ 8 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 357 วันในปีนั้น (358 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ8 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

8 ตุลาคม

วันที่ 8 ตุลาคม เป็นวันที่ 281 ของปี (วันที่ 282 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 84 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ8 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

9 มิถุนายน

วันที่ 9 มิถุนายน เป็นวันที่ 160 ของปี (วันที่ 161 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 205 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ9 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

9 ธันวาคม

วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ9 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 ตุลาคม

วันที่ 9 ตุลาคม เป็นวันที่ 282 ของปี (วันที่ 283 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 83 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2477และ9 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1934

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »