โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2471

ดัชนี พ.ศ. 2471

ทธศักราช 2471 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1928 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

462 ความสัมพันธ์: บัญชา ล่ำซำชัย ชิดชอบบิลลี ฮอลิเดย์ชุบ นิกกูรัธบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์บ่อเหล็กน้ำพี้ช้าง (ภาพยนตร์)ฟิลิป เค. ดิกฟิเดล รามอสฟุตบอลในประเทศเกาหลีใต้ฟ่ง ไสหยกพ.ศ. 2415พ.ศ. 2505พ.ศ. 2517พ.ศ. 2525พ.ศ. 2527พ.ศ. 2531พ.ศ. 2532พ.ศ. 2542พ.ศ. 2545พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2555พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2561พร ภิรมย์พรรคชาตินิยมเวียดนามพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์พระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ)พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)พระมหามนตรีศรีองครักษ์สมุห (ฉัตร โชติกเสถียร)พระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท)พระมงคลสิทธิการ (พูล อตฺตรกฺโข)พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)พระราชพิธีราชาภิเษกของจักรพรรดิญี่ปุ่นพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก...พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากรพระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์)พระอาจารย์ดี ฉนฺโนพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)พระครูพิพิธชลธรรม (หลาย อาภรโณ)พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตพระครูธรรมาภินันท์ (ปล้อง สุสีโล)พระปรางค์วัดมหาธาตุพระโกศทองใหญ่พระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้าพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซพระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนียพระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)พลาสมา (สถานะของสสาร)พิพิธภัณฑ์มีชีวิตพูนสวัสดิ์ ธีมากรพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ดพนัส หันนาคินทร์กระชากปมปริศนาคดีอำพรางกลอนการบุกครองโปแลนด์การเลิกล้มราชาธิปไตยภาพยนตร์ภาพยนตร์ไทยภาษาลักภาษาโนเวียลมหาวิทยาลัยแห่งชาติไต้หวันมอริซ แฟลนากันมาเรียแห่งเท็คมิกกี้ เมาส์มุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวีมนัส ปิติสานต์ยุพา อุดมศักดิ์ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ยงยุทธ สัจจวาณิชย์รัชทายาทที่ได้รับสมมุติรัฐบาลเป่ยหยางรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทยราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ราชวงศ์โซกูราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียราชอาณาจักรอียิปต์รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2471รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถานรายชื่อธงในประเทศจีนรายชื่อธงในประเทศแอฟริกาใต้รายชื่อธงในประเทศแอลเบเนียรายชื่อทุพภิกขภัยรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายกรายพระนามพระมหากษัตริย์แอลเบเนียรายพระนามพระมหากษัตริย์โตโรรายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาลรายพระนามสมเด็จพระราชินีและจักรพรรดินีแห่งเกาหลีรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทยรายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากรรายนามสมุหราชองครักษ์ของไทยรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยรายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทยรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีนรายนามประธานาธิบดีคอสตาริการายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทยรางวัลออสการ์รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาเคมีรถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดงรถไฟใต้ดินออสโลลาร์รี่ บาตานลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อดีตออสเตรีย-ฮังการีลีวีส ลาติเมอร์ว.ณ เมืองลุงวรนุช อารีย์วอลเตอร์ มอนเดลวัดบูรพารามใต้วัดสุทธจินดาวรวิหารวัดจันทาราม (ท่าซุง)วัดท้ายตลาด (จังหวัดอุตรดิตถ์)วัดป่าวิเวกธรรมวัดป่าสุนทรารามวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหารวังบูรพาภิรมย์วันข้าราชการพลเรือนวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทยศาสนาพุทธในประเทศไทยสมบูรณ์ จีระมะกรสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านอัซลัน มูฮิบบุดดิน ชาห์สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์สมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนียสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ดสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928สหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1928สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1928สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928สะพานพระพุทธยอดฟ้าสะพานไทน์สัญญา ธรรมศักดิ์สังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชูสันติ์ เทพมณีสามก๊กสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สาธารณรัฐมอลตาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สาธารณรัฐโรดีเชียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928สาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928สำราญ ทรัพย์นิรันดร์สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวงสึเนะซะบุโร มะกิงุชิสุภาว์ เทวกุลสุรใจ ศิรินุพงศ์สุธี สิงห์เสน่ห์สุดจิตต์ อนันตกุลสถานีวิทยุกระจายเสียงสนามกีฬาโอลิมปิกสนามกีฬาเอลลิสปาร์กสแตนลีย์ คูบริกสโมสรกีฬาเลกาเนสส้วมในประเทศไทยหม่อมราชวงศ์แสงสูรย์ ลดาวัลย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุลหม่อมเจ้าปิยะภักดีนาถ สุประดิษฐ์หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัชหลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโมหลี่ เผิงอัลฟาโรเมโออาเรียล ชารอนอำเภอบ้านไผ่อำเภอเมืองนนทบุรีอิกอร์ สตราวินสกีอินโดเนซียารายาอีเลฟเทริออส เวนิเซลอสองค์การนิทรรศการนานาชาติฮุสนี มุบาร็อกจรูญ สืบแสงจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)จักรพรรดินีโคจุงจักรพรรดิโชวะจักรยานยนต์จังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดนนทบุรีจังหวัดเชียงใหม่จำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยาจู หรงจี้จู้อินธงชาติสาธารณรัฐจีนธงชาติอัฟกานิสถานธงชาติอินโดนีเซียธงชาติจอร์แดนธงชาติแอลจีเรียธนาคารแห่งประเทศจีนถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีถนนวิสุทธิกษัตริย์ถนนประชาราษฎร์ทวีป วรดิลกทะเกะโอะ อุโงะทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือทาเคโอะ ยูโกะขวัญแก้ว วัชโรทัยณัฐ ภมรประวัติดับเบิลยูอาร์จีบีดีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกาคลองปานามาคำพูน บุญทวีคธูลูงานประกาศผลรางวัลออสการ์ตราบุรฉัตรซอมองซัลฟิการ์ อาลี บุตโตซาดิเย ทอปตานีซีบีเอสประพนธ์ สุนทรจามรประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย)ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประวัติกระทรวงการคลังไทยประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1928ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1928ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1928ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1928ประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1928ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1928ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศสวีเดนใน ค.ศ. 1928ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1928ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1928ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1928ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1928ประเทศนิวซีแลนด์ใน ค.ศ. 1928ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศไทยใน พ.ศ. 2471ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศเม็กซิโกประเทศเม็กซิโกใน ค.ศ. 1928ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928ปลาสลิดหินฟ้าหางเหลืองปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ปลาเทวดาสกาแลร์ปาเลสไตน์ในอาณัติปาเต๊ะ (บริษัท)นารถ โพธิประสาทนีกอลา ซาร์กอซีนีลส์ คริสตีนโยบายเศรษฐกิจใหม่แก้วขวัญ วัชโรทัยแมนรัตน์ ศรีกรานนท์แม่ชีเทเรซาแอนอเมริกันอินปารีสแฮร์มันน์ รีเดอร์แฮ็นดริก โลเรินตส์แขไข เทวิณแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 155โมฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัลโยะชิโระ นะกะมะสึโยโย่โรสแมรี คลูนีย์โรอัลด์ อะมุนด์เซนโรงเรียนชุมชนวัดเสด็จโรงเรียนพิบูลวิทยาลัยโรงเรียนมัธยมปลายโทะคิวะงิโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัยโรงเรียนราชินีโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพโรงเรียนวัดราชโอรสโรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัยโรงเรียนสตรีภูเก็ตโรงเรียนอุตรดิตถ์โรงเรียนขอนแก่นวิทยายนโรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายนโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญโอลิมปิกฤดูร้อน 1928โอลิมปิกฤดูหนาว 1928โจ แจ็กสัน (ผู้จัดการ)โจเซฟ คิททินเจอร์โนม ชอมสกีไพโรจน์ นิงสานนท์ไมเคิล ชาราไสว พัฒโนไดซะกุ อิเกะดะไดโอดเปล่งแสงเบ-ลอ บอร์โตกเชาวน์ ณศีลวันต์เบตตี เพจเฟรนช์โอเพ่นเพลิงโอลิมปิกเกรทโอลด์วันเกวันด์เฮาส์เสียงเรียกของคธูลูเส้นเวลาของยุคใหม่เส้นเวลาของคณิตศาสตร์เห้ง โสภาพงศ์เอลเดอร์ก็อดเอะบิซุเอเดน อับดุลลาห์ ออสมัน ดาร์เฮอร์เบิร์ต ฮูเวอร์เฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์กเจมส์ ดี. วัตสันเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุเจ้าชายโทมิสลาฟแห่งยูโกสลาเวียเจ้าชายเคลาส์แห่งเนเธอร์แลนด์เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดนเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารีเจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลนเจ้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซียเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตเจ้าเดชา ณ ลำปางเทศบาลนครหาดใหญ่เทะซึกะ โอะซะมุเขมรแดงเขตพระนครเดอะวอลต์ดิสนีย์เดือน บุนนาคเต่าหัวค้อนเปาลู เมงจิส ดา รอชา1 กรกฎาคม1 มกราคม10 พฤศจิกายน10 มกราคม10 มีนาคม10 ตุลาคม11 กุมภาพันธ์11 มกราคม11 มิถุนายน11 ตุลาคม12 กุมภาพันธ์13 มกราคม13 มิถุนายน14 มิถุนายน15 พฤษภาคม15 กันยายน15 มกราคม16 พฤษภาคม16 กรกฎาคม16 ธันวาคม17 พฤษภาคม18 พฤศจิกายน18 มิถุนายน19 สิงหาคม2 กรกฎาคม2 มกราคม2 มีนาคม22 ตุลาคม23 พฤษภาคม25 มกราคม25 สิงหาคม26 กรกฎาคม26 กุมภาพันธ์26 มกราคม26 มิถุนายน27 กุมภาพันธ์28 (แก้ความกำกวม)28 พฤษภาคม28 กุมภาพันธ์29 สิงหาคม3 พฤศจิกายน3 กันยายน31 สิงหาคม4 พฤษภาคม4 เมษายน5 พฤษภาคม5 ธันวาคม5 เมษายน6 สิงหาคม6 ตุลาคม7 มีนาคม7 สิงหาคม9 กุมภาพันธ์9 มิถุนายน9 ตุลาคม ขยายดัชนี (412 มากกว่า) »

บัญชา ล่ำซำ

ัญชา ล่ำซำ (12 มกราคม พ.ศ. 2468 - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2535) ผู้ก่อตั้งบริษัทเมืองไทยประกันชีวิต กรรมการผู้จัดการธนาคารกสิกรไทย ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหารธนาคารกสิกรไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติสมัยที่ 1 และสมัยที่ 2 ในสมัยที่บัญชายังมีชีวิตอยู่สามารถขยายกิจการธนาคารกสิกรไทย จากการที่มีสินทรัพย์ 700 ล้านบาทมาเป็น 600,000 ล้านบาท จนได้การยกย่องเป็นนายธนาคารแห่งปี 2527 จาก วารสารการเงินธนาคารและนิตยสารดอกเบี้ย และยังได้รับรางวัลนักการตลาดไทยแห่งปี 2534 จากสมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบัญชา ล่ำซำ · ดูเพิ่มเติม »

ชัย ชิดชอบ

ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และชัย ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

บิลลี ฮอลิเดย์

ลลี ฮอลิเดย์ (Billie Holiday) (7 เมษายน ค.ศ. 1915 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1959) นักร้องผิวสีชาวอเมริกัน เจ้าของฉายา เลดี้เดย์ (Lady Day) เป็นนักร้องเพลงแจ๊ซ สวิงและบลูส์ที่มีน้ำเสียงและวิธีการร้องที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร ด้วยน้ำเสียงแหบหยาบ หม่นเศร้า ประกอบกับเพลงส่วนใหญ่ที่เธอเลือกร้อง มักมีเนื้อหาเกี่ยวกับความผิดหวัง เศร้าหมอง ขมขื่น สอดคล้องกับชีวิตจริงของเธอเอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบิลลี ฮอลิเดย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชุบ นิกกูรัธ

นิกกูรัธและดาร์คยัง ชุบ นิกกูรัธ (Shub-Niggurath) เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เอาเตอร์ก็อด ในงานประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ โดยกล่าวถึงครั้งแรกในเรื่อง The Last Test (พ.ศ. 2471) ชุบ นิกกูรัธมีฉายาว่า แพะดำแห่งป่าผู้มีบุตรหนึ่งพัน (The Black Goat of the Woods with a Thousand Young) และเป็นเอาเตอร์ก็อดที่มักกล่าวถึงในฐานะเพศหญิง เลิฟคราฟท์เองไม่ได้ระบุลักษณะของชุบ นิกกูรัธ เพียงแต่ให้ตัวละครเอ่ยถึงในลักษณะของคำอุทาน พัฒนาการของชุบ นิกกูรัธส่วนใหญ่จึงมาจากนักเขียนรุ่นหลังเช่น ออกัสต์ เดอเลธ โรเบิร์ต บลอค หรือ แรมซีย์ แคมเบล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และชุบ นิกกูรัธ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 เดวิด โบอี ทฤษฎี สหวงษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

บ่อเหล็กน้ำพี้

ในศาลเจ้าพ่อบ่อเหล็กน้ำพี้ตั้งรูปเจ้าพ่อ 3 ตน เชื่อว่าเป็นผู้พิทักษ์รักษาเหล็กน้ำพี้มาตั้งแต่โบราณ บ่อเหล็กน้ำพี้ เป็นแหล่งสินแร่เหล็กตามธรรมชาติ ตั้งอยู่ที่บ้านน้ำพี้ หมู่ 1 ตำบลน้ำพี้ อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ประมาณ 56 กิโลเมตร โดยเป็นบ่อเหล็กกล้า มีอยู่ด้วยกันหลายบ่อ และปรากฏเตาถลุงเหล็กโบราณนับพัน ๆ แห่งในพื้นที่หลายตารางกิโลเมตร แต่บ่อที่สำคัญและสงวนใช้สำหรับพระมหากษัตริย์ มีอยู่ 2 บ่อ คือ บ่อพระแสง และ บ่อพระขรรค์ มีการนำแร่เหล็กจากบ่อเหล็กน้ำพี้ไปถลุงทำอาวุธเพื่อใช้ในการศึกสงครามมาตั้งแต่สมัยโบราณ ดังปรากฏหลักฐานทางประวัติศาตร์มากมายถึงความสำคัญของเหล็กน้ำพี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความเชื่อมาแต่โบราณว่าเหล็กจากแหล่งแร่เหล็กน้ำพี้มีความแข็งแกร่ง ความศักดิ์สิทธิ์และอาถรรพ์ในตัวสมิธ, เฮอร์เบิร์ท วาริงตัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และบ่อเหล็กน้ำพี้ · ดูเพิ่มเติม »

ช้าง (ภาพยนตร์)

้าง (Chang: A Drama of the Wilderness) เป็นภาพยนตร์สารคดี เรื่องแรกที่เข้ามาถ่ายทำในประเทศไทย โดยบริษัท พาราเมาท์ กำกับโดย มีเรียน ซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และช้าง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิป เค. ดิก

200px ฟิลิป คินเดรด ดิก (Philip Kindred Dick; 16 ธันวาคม ค.ศ. 1928 — 2 มีนาคม ค.ศ. 1982) เป็นนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน ที่ได้รับการยกย่องมากที่สุดคนหนึ่งทั้งจากผู้อ่านทั่วไปและนักวิจารณ์ งานของเขามีอิทธิพลต่อนิยายวิทยาศาสตร์ในยุคหลัง โดยเฉพาะแนวไซเบอร์พังก์ไม่น้อย งานเขียนหลายเรื่องของเขาได้รับการดัดแปลงเป็นภาพยนตร์ หมวดหมู่:นักเขียนบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์ หมวดหมู่:ผู้ที่เป็นโรคจิตเภท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และฟิลิป เค. ดิก · ดูเพิ่มเติม »

ฟิเดล รามอส

ลเอก ฟิเดล รามอส (เกิด 18 มีนาคม พ.ศ. 2471) เป็นประธานาธิบดีคนที่ 12 ของฟิลิปปินส์ ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และฟิเดล รามอส · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลในประเทศเกาหลีใต้

ฟุตบอลในประเทศเกาหลีใต้ เป็นกีฬาที่นิยมมากที่สุดในประเทศ ควบคุมและดูแลโดยสมาคมฟุตบอลเกาหลีใต้ โดยมีการจัดการแข่งขันที่สำคัญหลายอย่างได้แก่ เค-ลีก เกาหลีเนชันนอลลีก และเกาหลีเอฟเอคัพ นอกจากนี้แล้วฟุตบอลทีมชาติเกาหลีใต้ยังเป็นทีมชาติในเอเชียทีมหนึ่งที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และฟุตบอลในประเทศเกาหลีใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ฟ่ง ไสหยก

ฟ่ง ไสหยก (อังกฤษ: Fong Sai-yuk) หรือ ปึง ซีเง็ก (ตามสำเนียงแต้จิ๋ว) หรือ ฟาง ซื่ออี้ (ตามสำเนียงจีนกลาง) เป็นวีรบุรุษมวยกังฟูอีกคนหนึ่งที่ระบือชื่อของจีน เป็นตำนานเล่าขานจวบจนปัจจุบันเช่นเดียวกับ หง ซีกวน (洪熙官) หรือ อั้ง อีกัว และ โอว ฮู้ยเคียง ผู้เป็นศิษย์ร่วมสำนักเส้าหลิน หากแต่เรื่องราวของฟ่ง ไสหยก นั้นเชื่อว่าเป็นเพียงเรื่องแต่ง ซึ่งทั้ง ฟ่ง ไสหยก, หง ซีกวน และ โอว ฮุ้ยเคียง นั้น บางครั้งจะถูกเรียกว่า 3 พยัคฆ์เส้าหลิน เช่นเดียวกับ 10 พยัคฆ์เส้าหลิน (廣東十虎) ซึ่งเรื่องราวทั้ง 3 คนนี้นั้นปรากฏในนิยายกำลังภายใน เรื่อง เฉียนหลงประพาสกังหนำ ซึ่งเป็นเรื่องราวของฮ่องเต้เฉียนหลงเมื่อครั้งทรงประพาสภาคใต้ของจีน พร้อมกับได้ทรงกำจัดผู้ต่อต้านชาวฮั่นไปทั้งหมด ด้วยการส่งยอดฝีมือจากบู๊ตึ้งและง้อไบ๊ให้มาร่วมกำจัดศิษย์ของสำนักเส้าหลิน ประวัติของ ฟ่ง ไสหยก ตามที่ปรากฏ เกิดที่มณฑลกวางตุ้ง เป็นบุตรชายของ ฟ่ง ตั๊ก (方德) คณบดีที่ร่ำรวย ส่วนมารดานั้นคือ เหมียว ชุ่ยฮัว เป็นบุตรสาวของจอมยุทธที่มีชื่อ สรุปคือ ฟ่ง ไสหยก นั้นมีสายเลือดของชาวยุทธมาแต่กำเนิด และฝึกวิทยายุทธมาตั้งแต่อายุ 3 ขวบ เมื่ออายุได้ 14 ได้ประลองฝีมือเอาชนะศิษย์อันธพาลของสำนักบู๊ตึ้งได้ และสร้างวีรกรรมไว้มากมาย รวมถึงการต่อต้านราชวงศ์ชิงด้วย บางเรื่องเล่าว่า ฟ่ง ไสหยกได้เข้าร่วมกับสมาคมดอกไม้แดงด้วย จนในที่สุดทางราชสำนักชิงต้องส่งมือสังหารมาสังหาร ซึ่งกล่าวกันว่า คือ แม่ชีอู่เหมย ระหว่างเผาวัดเส้าหลิน จนถึงแก่ความตายด้วยวัยเพียง 24 ปี เรื่องราวฟ่ง ไสหยก นั้น เชื่อกันว่าไม่มีตัวตนจริง เป็นเพียงบุคคลในอุดมคติเช่นเดียวกับ หง ซีกวน ซึ่งเป็นตำนานร่วมกัน แต่อย่างไรก็ดี เพลงหมัดมวยในแบบของฟ่ง ไสหยก นั้น คือ มวยสกุลหง และมวยหย่งซุน ก็กลายเป็นมรดกตกทอดมายังผู้ฝึกกังฟูในยุคถัดมา เช่น หวง เฟยหง และ ยิปมัน ซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวตนจริง โดยภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับฟ่ง ไสหยก เรื่องแรกนั้น คือ Fong Sze Yu's Battle in the Boxing Ring ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1928 ส่วนในยุคปัจจุบันได้แก่ Fong Sai-yuk ในปี ค.ศ. 1993 นำแสดงโดย หลี่ เหลียนเจี๋ย และจ้าว เหวินจั๋ว และในแบบซีรีส์ นำแสดงโดย จาง เหว่ยเจี้ยน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และฟ่ง ไสหยก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2415

ทธศักราช 2415 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1872 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2415 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2505

ทธศักราช 2505 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1962 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2505 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2527

ทธศักราช 2527 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1984 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2527 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2532

ทธศักราช 2532 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1989 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2532 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2542

ทธศักราช 2542 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1999 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และสหประชาชาติกำหนดให้เป็น ปีสากลแห่งผู้สูงอายุและเป็นปีมหามงคลในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ (พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนม์พรรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๒).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2542 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2545 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2561

ทธศักราช 2561 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2018 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

พร ภิรมย์

ี่ทหารเสือของวงดนตรีจุฬารัตน์ จากซ้าย ปอง ปรีดา, นคร ถนอมทรัพย์, ทูล ทองใจ, พร ภิรมย์ พร ภิรมย์ (ปุญญวังโสภิกขุ) (29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2553) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลงชาวไทย ที่ใช้ดนตรีไทยเดิมเป็นพื้นฐาน เนื้อเพลงแนวนิทานชาดกแฝงธรรมะ มีชื่อเสียงจากเพลง "น้ำตาลาไทร" "บัวตูมบัวบาน" และ "ดาวลูกไก่" พร ภิรมย์ มีชื่อจริงว่า บุญสม มีสมวงษ์ เป็นบุตรของนายประเสริฐ และนางสัมฤทธิ์ มีสมวงษ์ ชาวอำเภอพระนครศรีอยุธยา จบชั้นมัธยม 3 จากโรงเรียนวัดบพิตรพิมุข มีความเชี่ยวชาญการร้องและเล่นดนตรีไทย ทำขวัญนาค พากย์หนัง และเข้ามาเล่นลิเก ใช้ชื่อคณะว่า "บุญสม อยุธยา" เล่นกับเสน่ห์ โกมารชุน มีชื่อเสียงโด่งดังจนครูมงคล อมาตยกุล ชักชวนมาอยู่ วงดนตรีจุฬารัตน์ พร ภิรมย์ ร้องเพลงอยู่กับวงดนตรีจุฬารัตน์หลายปี มีผลงานบันทึกเสียงประมาณ 200 เพลง เพลงที่ร้องส่วนใหญ่เป็นผู้แต่งเอง ในแนวนิทานชาดกแฝงธรรมะ ด้วยเทคนิคการแหล่เป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร เพลงแรกที่ได้รับความนิยมคือ "บัวตูมบัวบาน" ตามด้วย "ดาวลูกไก่", "ดาวจระเข้", "วังแม่ลูกอ่อน", "กลับเถิดลูกไทย" เป็นต้น พร ภิรมย์ ได้รับรางวัลแผ่นเสียงทองคำพระราชทาน ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพร ภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาตินิยมเวียดนาม

รรคชาตินิยมเวียดนาม (Việt Nam Quốc Dân Đảng; 越南國民黨) หรือเหวียตโกว๊ก (Việt Quốc 越國) เป็นพรรคการเมืองชาตินิยมในเวียดนามที่ได้พยายามกอบกู้เอกราชเวียดนามจากฝรั่งเศสในระหว่างต้นศตวรรษที่ 20 โดยได้กำเนิดในช่วงยุค 1920 เมื่อปัญญาชนวัยหนุ่มได้เริ่มเผยแผ่หลักการปฏิวัติ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพรรคชาตินิยมเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថមុនីវង្ស) เอกสารไทยในบางแห่งเรียกว่า สมเด็จพระศรีสวัสดิ์มณีวงศ์ เสด็จพระราชสมภพเมี่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2414 ที่พนมเปญ และเสด็จสวรรคตเมี่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2484 ทรงเป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์รองของ พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (นักองสีสุวัตถิ์) กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ที่ 3 ทรงศึกษาที่โรงเรียนอาณานิคมและโรงเรียนทหารบกที่ซังแม็จซ็อง เมื่อจบการศึกษา ทรงได้รับยศเป็นร้อยตรีสังกัดกองทหารในฝรั่งเศสบัญญัติ สาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ)

ระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ) เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองฝ่ายมหานิกาย ผู้สร้างคุณูปการให้กับพระพุทธศาสนาอีกท่านหนึ่ง ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปญฺญาวุโธ) · ดูเพิ่มเติม »

พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)

ระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ หรือ หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม (27 มกราคม พ.ศ. 2432 - 8 กันยายน พ.ศ. 2504) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี พระป่ากรรมฐานศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็นพระภิกษุผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ตามพระธรรมวินัย เอาใจใส่การศึกษาปฏิบัติธรรม มีความรู้ความเห็นลึกซึ้ง มีปฏิภาณเทศนาแจ่มแจ้ง โวหารไพเราะจับใจ มีชื่อเสียงด้านวิปัสสนาธุระ ธรรมบาลี อักษรสมัย และวิทยาคม เป็นบุคคลที่มีจิตใจหนักแน่ ประพฤติพรหมจรรย์ บำเพ็ญวิปัสสนาธุระตลอดชีวิต มุ่งดีต่อหมู่คณะและพระศาสนา รับภารธุระครูบาอาจารย์ ฟื้นฟูทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ เมื่อรับตำแหน่งฝ่ายบริหาร ยินดีรับภารธุระและเอาใจใส่ด้วยความเต็มใจ ยังกิจการคณะสงฆ์ให้เจริญรุ่งเรื่อง มีพระสงฆ์สามเณรและฆราวาสเป็นศิษย์มากมาย จนได้รับขนานนามว่า แม่ทัพธรรมพระกรรมฐาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระมหามนตรีศรีองครักษ์สมุห (ฉัตร โชติกเสถียร)

ระมหามนตรีศรีองครักษ์สมุห (ฉัตร โชติกเสถียร) เป็นบุตรพระยาธรรมจรรยานุกูลมนตรี (ทองดี โชติกเสถียร) กับท่านผิว เกิดเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2439 เข้ารับราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณต่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2457 โปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นนายรองสนิท พ.ศ. 2461 เป็นรองหัวหมื่นหลวงเดชนายเวร พ.ศ. 2465 เป็นจมื่นมหาดเล็ก ในสมัยรัชกาลที่ 7 ในปี พ.ศ. 2471 เป็นเจ้ากรมมหาดเล็กในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระมหามนตรีศรีองครักษ์สมุห (ฉัตร โชติกเสถียร) · ดูเพิ่มเติม »

พระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท)

หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดศรีสะเกษ‎ ค หมวดหมู่:พระภิกษุในนิกายเถรวาท (ธรรมยุติกนิกาย).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระมงคลวุฒ (เครื่อง สุภทฺโท) · ดูเพิ่มเติม »

พระมงคลสิทธิการ (พูล อตฺตรกฺโข)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระมงคลสิทธิการ (พูล อตฺตรกฺโข) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2423 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2507) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ อดีตอธิบดีกรมต่างๆ อาทิ เช่น อธิบดีกรมที่ดินและโลหะกิจ เป็นต้น อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล)

ระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี มีนามเดิมว่า บุญช่วย วณิกกุล (15 มิถุนายน พ.ศ. 2432 - 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 7 อดีตเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระยาเทพวิทุรพหุลศรุตบดี (บุญช่วย วณิกกุล) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีราชาภิเษกของจักรพรรดิญี่ปุ่น

พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของ จักรพรรดิไทโช ณ พระราชวังหลวงเคียวโตะ เมื่อปี พ.ศ. 2458 จักรพรรดิโชวะ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเมื่อปี พ.ศ. 2471 พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของจักรพรรดิญี่ปุ่น (Enthronement of the Japanese Emperor) พระราชพิธีโบราณของ ประเทศญี่ปุ่น ที่แสดงถึงการประกอบพระราชพิธีราชาภิเษกขึ้นสืบ ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ ของจักรพรรดิองค์ใหม่ ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ '''ทะกะมิกุระ''' ที่ใช้ในพระราชพิธีราชาภิเษก ซึ่งพระราชพิธีราชาภิเษกครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 โดยเป็นพระราชพิธีราชาภิเษกขึ้นสืบราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศของ จักรพรรดิอะกิฮิโตะ ซึ่งพระราชพิธีในครั้งนั้นมิได้จัดขึ้น ณ พระราชวังหลวงเคียวโตะ แต่ได้จัดขึ้นที่ พระราชวังหลวงโตเกียว หรือ พระราชวังอิมพีเรียล แทนโดยครั้งนั้นนับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการถ่ายทอดสดพระราชพิธีราชาภิเษกผ่านทางโทรทัศน์ หมวดหมู่:จักรพรรดิญี่ปุ่น หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระราชพิธีราชาภิเษกของจักรพรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร ประสูติเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2418 เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากฤษดาภินิหาร กรมพระนเรศร์วรฤทธิ์ กับหม่อมสุภาพ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าจรูญศักดิ์ กฤดากร หลังจากนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ สถาปนาขึ้นเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร เมื่อ พ.ศ. 2455 พระองค์มีหม่อม 2 คนคือหม่อมเชื่อมและหม่อมปรุง พระองค์จบการศึกษาวิชาทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์และเนติบัณฑิต อังกฤษ เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาทรงรับราชการตำแหน่งเลขานุการพิเศษ กระทรวงต่างประเทศ เลขานุการพิเศษ กระทรวงมหาดไทย ปลัดมณฑลนครศรีธรรมราช ผู้ว่าการเมืองสงขลา อัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีส มาดริด ลิสบอน เสนาบดีว่าการกระทรวงยุติธรรม อัครราชทูตพิเศษผู้มีอำนาจเต็มประจำกรุงปารีส เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจรูญศักดิ์กฤดากร · ดูเพิ่มเติม »

พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์)

ระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์) แพทย์ใหญ่ศิริราชพยาบาลคนแรก เมื่อ พ.ศ. 2435 พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บรัดเลย แมคฟาร์แลนด์; อังกฤษ: George Bradley McFarland) 1 ธันวาคม พ.ศ. 2409 - 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2485 แพทย์ใหญ่โรงพยาบาลศิริราช บิดาแห่งการแพทย์แผนปัจจุบันและอิฐก้อนแรกของโรงเรียนแพทย์ ผู้เผยแพร่และค้นคว้าเครื่องพิมพ์ดีดให้เป็นภาษาไทยคนแรก ผู้เรียบเรียงตำราแพทย์และเริ่มบัญญัติศัพท์แพทย์ขึ้นใช้เป็นคนแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์) · ดูเพิ่มเติม »

พระอาจารย์ดี ฉนฺโน

ระอาจารย์ดี ฉนฺโน หรือ หลวงปู่ดี ฉนฺโน เป็นพระภิกษุฝ่ายวิปัสสนาธุระ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ลูกศิษย์องค์สำคัญของ พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) และ พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต พระอาจารย์ดี ฉนฺโน ท่านเป็นผู้มีอุปนิสัยใจคอหนักแน่น เด็ดเดียว เก่งในด้านวิปัสสนากรรมฐาน ชำนาญด้านกสิณและอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ เป็นนักเทศนาโวหาร เป็นผู้มีวิชาคาถาอาคมเก่งกล้า เป็นนักอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังชำนาญในด้านช่างไม้ ช่างก่อสร้าง ช่างปั้นดินเผา งานแกะสลัก และงานเขียนภาพ อีกทั้งยังมีความรู้ด้านยาสมุนไพร ถือได้ว่าท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญทางการช่างและแพทย์แผนโบราณอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระอาจารย์ดี ฉนฺโน · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

ระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายุได้ 20 ปี ที่วัดบ้านเกิด จากนั้นได้เข้ามาศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่านพุทธทาสภิกขุก็พบว่าสังคมพระพุทธศาสนาแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้นแปดเปื้อนเบือนบิดไปมาก และไม่อาจทำให้เข้าถึงหัวใจของศาสนาพุทธได้เลย ท่านจึงตัดสินใจหันหลังกลับมาปฏิบัติธรรมที่อำเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมของท่านอีกครั้ง พร้อมปวารณาตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจากต้องการถวายตัวรับใช้พระพุทธศาสนาให้ถึงที่สุด ผลงานเด่นของทาสพุทธทาสคืองานหนังสือ อาทิ หนังสือพุทธธรรม, ตามรอยพระอรหันต์ และคู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกการใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับการเผยแพร่ธรรมะ และท่านมีสหายธรรมคนสำคัญ คือ ปัญญานันทภิกขุ วัดชลประทานรังสฤษฎ์ และท่าน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูพิพิธชลธรรม (หลาย อาภรโณ)

ระครูพิพิธชลธรรม (หลวงพ่อหลาย อาภรโณ) เจ้าอาวาสวัดนาจอมเทียน และเจ้าคณะตำบลนาจอมเทียน เกจิดังของตำบลนาจอมเทียน อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระครูพิพิธชลธรรม (หลาย อาภรโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต

หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หรือนามตามสมณศักดิ์ว่า พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต (20 มกราคม พ.ศ. 2413 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี ผู้เป็นบูรพาจารย์สายพระป่าในประเทศไทย พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ได้ปฏิบัติตนตามแนวทางคำสอนพระศาสดาอย่างเคร่งครัด และยึดถือธุดงควัตรด้วยจริยวัตรปฏิปทางดงาม จนได้รับการยกย่องจากผู้ศรัทธาทั้งหลายว่าเป็นพระผู้เลิศทางธุดงควัตร ท่านวางแนวทางในการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนาตามหลักธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาพุทธเจ้าให้แก่สมณะประชาชนอย่างกว้างขวาง จนมีพระสงฆ์และฆราวาสเป็นลูกศิษย์จำนวนมาก แนวคำสอนของท่านเป็นที่รู้จักกันดีในนามว่า คำสอนพระป่า (สายพระอาจารย์มั่น) หลังจากท่านมรณภาพลง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต · ดูเพิ่มเติม »

พระครูธรรมาภินันท์ (ปล้อง สุสีโล)

ระครูธรรมาภินันท์ หรือ หลวงพ่อปล้อง สุสีโล (ตุลาคม พ.ศ. 2419 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2484) ผู้มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายทั่วประเทศ นอกจากหลวงพ่อจะเป็นพระที่มีศีลาจารวัตรน่าศรัทธาเลื่อมใสแล้ว ยังมีคุณลักษณะพิเศษได้รับการยกย่องให้เป็นพระเกจิอาจารย์ 1 ใน 108 รูป ของประเทศไทยในขณะนั้นด้วย ชื่อเสียงของหลวงพ่อปล้องโด่งดังมากในช่วงสมัยสงครามอินโดจีน (พ.ศ. 2483 - 2484) กรณีไทยเรียกร้องดินแดนบางส่วนคืนจากฝรั่งเศส ทหารประจำการและทหารกองหนุนทุกคนต้องออกไปรบ หน่วยทหารจากจังหวัดราชบุรีก็เช่นเดียวกันผู้ที่วัตถุมงคลของท่านต่างรอดพ้นอันตรายกลับมาทุกคน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระครูธรรมาภินันท์ (ปล้อง สุสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระปรางค์วัดมหาธาตุ

ระปรางค์วัดมหาธาตุ ตั้งอยู่ที่ตำบลคลองกระแซง อำเภอเมืองเพชรบุรี (อำเภอคลองกระแชง) สร้างมามากกว่า 1,900 ปี มีพระปรางค์ห้ายอด ล้อมรอบด้วยพระระเบียงคด ที่หน้าบันพระวิหารหลวงประดับลวดลายปูนปั้นศิลปะสมัยอยุธยา ใบเสมาคู่สมัยอยุธยาตอนปลาย ทำด้วยหินทรายแดง จำหลักลวดลายทั้งใบ ความสูงถึงยอดนภศูลประมาณ 55 เมตร รอบฐานยาว 120 เมตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระปรางค์วัดมหาธาตุ · ดูเพิ่มเติม »

พระโกศทองใหญ่

ระโกศทองใหญ่ รัชกาลที่ 5 ในงานพระบรมศพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระโกศทองใหญ่ ทรงพระศพสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ขณะประดิษฐานบนพระมหาพิชัยราชรถในพระราชพิธีเชิญพระโกศทรงพระศพออกพระเมรุ พระโกศทองใหญ่ หรือ พระลองทองใหญ่ เป็นพระโกศสำหรับทรงพระบรมศพของพระมหากษัตริย์และพระศพของพระบรมวงศ์ชั้นสูง สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช นับเป็นพระโกศที่มีลำดับยศสูงที่สุด โดยได้ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงศรีสุนทรเทพเป็นพระองค์แรก (แต่ในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 1 ฉบับเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ฉบับตัวเขียน ระบุว่าพระศพสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงศรีสุนทรเทพนั้น ใช้พระโกศไม้สิบสอง และเมื่อเสร็จการพระศพจึงลอกทองที่หุ้มพระโกศไม้สิบสองมาหุ้มทำพระโกศทองใหญ่และทรงพระบรมศพของรัชกาลที่ 1 เป็นพระองค์แรก) พระโกศทองใหญ่ใช้ทรงพระศพของสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดีเป็นพระองค์ล่าสุด นอกจากนี้ พระโกศทองใหญ่ยังใช้เป็นเครื่องประกอบพระอิสริยยศพระศพสำหรับพระบรมวงศานุวงศ์ที่บรรจุพระบรมศพและพระศพลงในหีบพระศพแทนการลงพระโกศ เช่น พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระโกศทองใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

พระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก)

ระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กฺปปโก) เป็นพระภิกษุฝ่ายวิปัสสนาธุระ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย พระกรรมฐานสายพระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต อดีตเจ้าอาวาสวัดป่าวิเวกธรรม หลวงปู่บุญเพ็ง กปฺปโก เป็นที่รู้จักในฐานะพระนักปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานผู้มีศีลาจารวัตรอันงดงาม และเป็นพระนักเทศนาโวหารผู้มีปฏิภาณไหวพริบดี เทศนาอบรมจิตภาวนาวิปัสสนากรรมฐาน นอกจากนี้ ท่านยังเป็นพระนักพัฒนารับอุปการะการสร้างและปฏิสังขรณ์เสนาสนะของวัดต่างๆ บำเพ็ญคุณูปการแก่คณะสงฆ์และเมตตาเกื้อกูลแก่สังคมและประเทศชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน

นายพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน หรือ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร (23 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 กันยายน พ.ศ. 2479) พระบิดาแห่งกิจการวิทยุกระจายเสียงไทย พระบิดาแห่งการรถไฟไทย พระบิดาแห่งการท่องเที่ยวไทย และ พระบิดาแห่งโรตารีไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์

นายพันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2426 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478) มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ อดีตประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า (16 ธันวาคม พ.ศ. 2402 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2480) เป็นพระราชวงศ์ในราชสกุล ชมพูนุท ดำรงสมณศักดิ์สมเด็จพระสังฆราชเป็นพระองค์ที่ 11 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปี พ.ศ. 2465 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายกอยู่ 16 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ

ระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ (Κωνσταντῖνος Αʹ, Βασιλεὺς τῶν Ἑλλήνων, Konstantínos Αʹ, Vasiléfs ton Ellínon; 12 สิงหาคม พ.ศ. 2411 – 11 มกราคม พ.ศ. 2466) เป็นพระมหากษัตริย์กรีซตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระเจ้าคอนสแตนตินที่ 1 แห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย

มเด็จพระเจ้าซ็อกที่ 1 สคันเดอร์เบ็กที่ 3 แห่งแอลเบเนีย (Zog I, Skanderbeg III) พระนามเดิม อาเหม็ด มุห์ตา เบย์ โซโกลลี ภายหลังเปลี่ยนเป็น อาเหม็ด โซกู (8 ตุลาคม พ.ศ. 2438 - 9 เมษายน พ.ศ. 2504) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งแอลเบเนียตั้งแต่ พ.ศ. 2471 ถึง พ.ศ. 2482 ก่อนหน้านั้นพระองค์ทรงเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งแอลเบเนีย (พ.ศ. 2465 - 2467) และประธานาธิบดีแห่งแอลเบเนีย (พ.ศ. 2468 - 2471).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)

นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) เป็นนายทหารนักบินไทยในสงครามโลกครั้งที่ 1 และอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดินคนแรก เดิมชื่อ "หลี" เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พุทธศักราช 2438 ณ บ้านเลขที่ 6 ตำบลบางเลน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวนบุตรธิดาทั้งหมด 4 คน ของนายคำและนางยวง สุวรรณานุช ภายหลังสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกในปีพุทธศักราช 2457 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนายร้อยตรีแล้ว ได้เข้ารับราชการในตำแหน่งผู้บังคับหมวดในกองร้อยที่ 1 กรมทหารราบที่ 3 พุทธศักราช 2460 ได้สมัครเข้าเป็นกองทหารอาสาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเข้าร่วมรบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในตำแหน่งนายร้อยโท ผู้บังคับหมวดในกองย่อยรถยนต์ กองใหญ่รถยนต์ที่ 4 พุทธศักราช 2461 เดินทางไปราชการในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำการ ณ ประเทศฝรั่งเศส และด้วยที่มีใจรักทางการบิน จึงเข้าฝึกเป็นนักบินในโรงเรียนการบินทหารบกและโรงเรียนการทิ้งระเบิดแห่งประเทศฝรั่งเศส พุทธศักราช 2462 สำเร็จการฝึกเป็นนักบิน เข้าประจำการในกองทัพยึดดินแดนเมืองนอยสตาดท์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทำหน้าที่เป็นนักบินและผู้ทิ้งลูกระเบิด โดยปฏิบัติการอยู่ประมาณ 4 เดือน เมื่อสงครามสงบได้เดินทางกลับประเทศไทยแล้วย้ายสังกัดไปอยู่ กรมอากาศยานทหารบก ในตำแหน่งผู้บังคับหมวด กองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งกรมอากาศยานทหารบกนี้ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กรมอากาศยาน” และได้มีการพัฒนาปรับเปลี่ยนขยายหน่วยงานจนได้รับการยกฐานะเป็น “กองทัพอากาศ” ในปัจจุบัน พุทธศักราช 2464 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นเรืออากาศเอก ตำแหน่งผู้ช่วยผู้บังคับกองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2467 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงเทวัญอำนวยเดช” และเป็นผู้รั้งตำแหน่งปลัดกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2468 เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บังคับกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2469 เป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 2 กองบินใหญ่ที่ 3 ปีพุทธศักราช 2470 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศตรี และเป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 1 กองบินใหญ่ที่ 2 พุทธศักราช 2473 ประจำกองอากาศยานเพื่อเข้าศึกษาในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก พุทธศักราช 2474 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศโท พุทธศักราช 2475 เข้าศึกษาในโรงเรียนการบินขั้นสูง และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระเทวัญอำนวยเดช” พุทธศักราช 2476 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยเจ้ากรมอากาศยาน ฝ่ายธุรการ และได้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองกรณี “กบฏบวรเดช” มีการใช้กำลังทหารต่อสู้กันระหว่างฝ่ายของ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช กับฝ่ายรัฐบาลของคณะราษฎร เป็นผลให้นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ต้องพ้นจากราชการ และเปลี่ยนฐานะเป็น “นักโทษการเมือง” ต่อมา พุทธศักราช 2480 ได้มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมนักโทษการเมืองในกรณีดังกล่าว และพิจารณาให้กลับเข้ารับราชการ โดยให้ไปเป็นข้าราชการพลเรือนปฏิบัติงานในกระทรวงทบวงกรมอื่น พุทธศักราช 2481 ได้รับบรรจุเป็นเสมียนพนักงาน กองสหกรณ์ภาคใต้ กรมสหกรณ์ แล้วเข้าศึกษาในโรงเรียนการอบรมกรมสหกรณ์ที่ดิน หลังจากนั้นได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งพนักงานสหกรณ์จัตวา กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2482 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพนักงานสหกรณ์ตรี กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ ปฏิบัติหน้าที่ประจำเขตอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พุทธศักราช 2489 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองขยายการสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2494 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองสหกรณ์นิคม กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2495 ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศปรับปรุงการจัดตั้งกระทรวงทบวงกรม ให้มีการจัดตั้งกระทรวงการสหกรณ์ขึ้น และมี กรมสหกรณ์ที่ดิน เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด โดย นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการในตำแหน่งอธิบดี พุทธศักราช 2496 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดิน โดยนับเป็นอธิบดีคนแรกเมื่อมีการประกาศแบ่งส่วนราชการนี้ขึ้น (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อหน่วยงานเป็น "กรมส่งเสริมสหกรณ์" สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) พุทธศักราช 2501 เกษียณอายุราชการเพื่อรับบำนาญ ในตอนปลายของชีวิต นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ใช้เวลาอยู่กับการปลูกและดูแลต้นไม้ซึ่งเป็นสิ่งที่รักเป็นชีวิตจิตใจ ต่อมาสุขภาพทรุดโทรมลง และเริ่มมีอาการป่วยจนถึงแก่กรรมในที่สุดจากเหตุตับวาย ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พุทธศักราช 2514 เวลา 19.05 นาฬิกา สิริอายุ 76 ปี 6 เดือน จัดการพระราชทานเพลิงศพ ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร ราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2516.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) · ดูเพิ่มเติม »

พลาสมา (สถานะของสสาร)

หลอดไฟพลาสมา แสดงปรากฏการณ์ที่ซับซ้อนบางประการ รวมทั้งปรากฏการณ์ "ฟิลาเมนเตชั่น" (filamentation) พลาสมา ในทางฟิสิกส์และเคมี คือ แก๊สที่มีสภาพเป็นไอออน และมักจะถือเป็นสถานะหนึ่งของสสาร การมีสภาพเป็นไอออนดังกล่าวนี้ หมายความว่า จะมีอิเล็กตรอนอย่างน้อย 1 ตัว ถูกดึงออกจากโมเลกุล ประจุไฟฟ้าอิสระทำให้พลาสมามีสภาพการนำไฟฟ้าเกิดขึ้น สถานะที่ 4 ของสสารนี้ มีการเอ่ยถึงครั้งแรก โดยเซอร์ วิลเลียม ครูกส์ (Sir William Crookes) เมื่อ ค.ศ. 1879 และในปี ค.ศ. 1928 นั้น เออร์วิง แลงเมียร์ (Irving Langmuir) คิดคำว่าพลาสมา (plasma) ขึ้นมาแทนสถานะของสสารนี้เนื่องจากเขานึกถึงพลาสมาของเลือด พลาสมาจัดได้ว่าเป็นสถานะที่ 4 ของสสาร เนื่องจากมีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างไปจากสถานะอื่นอย่างชัดเจน พลาสมาประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุทั้งประจุบวกและลบ ในสัดส่วนที่ทำให้ประจุสุทธิเป็นศูนย์ การอยู่รวมกันของอนุภาคเหล่านี้เป็นแบบประหนึ่งเป็นกลาง (quasineutral) ซึ่งหมายความว่าอิเล็กตรอนและไอออนในบริเวณนั้น โดยรวมแล้วมีจำนวนเท่า ๆ กัน และแสดงพฤติกรรมร่วม (collective behavior) พฤติกรรมร่วมนี้หมายถึง การเคลื่อนที่ของอนุภาคในพลาสมา ไม่เพียงแต่จะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในบริเวณนั้นๆ เท่านั้น แต่เป็นผลโดยรวมจากพลาสมาส่วนใหญ่ มากกว่าจะเป็นผลมาจากการชนกันของอนุภาคที่อยู่ใกล้เคียงกัน เนื่องจากอนุภาคในพลาสมาที่สถานะสมดุล จะมีการสั่นด้วยความถี่ที่สูงกว่าความถี่ในการชนกันของอนุภาค 2 ตัวที่อยู่ใกล้กัน ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าพฤติกรรมร่วมนี้เป็นพฤติกรรมที่กลุ่มพลาสมาแสดงออกมาร่วมกัน พลาสมาสามารถเกิดได้โดย การให้สนามไฟฟ้าปริมาณมากแก่ก๊าซที่เป็นกลาง เมื่อพลังงานส่งผ่านไปยังอิเล็กตรอนอิสระมากพอ จะทำให้อิเล็กตรอนอิสระชนกับอะตอม และทำให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอม กระบวนการนี้เรียกว่ากระบวนการแตกตัวเป็นไอออน (ionization) ซึ่งจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้จำนวนอิเล็กตรอนที่หลุดออกมานี้เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากซึ่งจะทำให้ก๊าซแตกตัวและกลายเป็นพลาสมาในที่สุด พลาสมามีความแตกต่างจากสถานะของแข็ง สถานะของเหลว และสถานะก๊าซ โดยมีเงื่อนไข 3 ประการ ในเรื่องดังต่อไปนี้คือ ความยาวคลื่นเดอบาย จำนวนอนุภาค และความถี่พลาสมา ซึ่งทำให้พลาสมามีความจำเพาะเจาะจงที่แตกต่างจากสถานะอื่นออกไป หมวดหมู่:ฟิสิกส์พลาสมา หมวดหมู่:ฟิสิกส์ หมวดหมู่:เคมี หมวดหมู่:สถานะของสสาร หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพลาสมา (สถานะของสสาร) · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์มีชีวิต

The Old Town พิพิธภัณฑ์กลางแจ้งแห่งหนึ่งในประเทศเดนมาร์ก พิพิธภัณฑ์มีชีวิต หรือ พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง เป็นลักษณะชนิดหนึ่งของพิพิธภัณฑ์ที่แสดงในบริเวณกว้าง ซึ่งพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งแห่งแรกเกิดขึ้นที่สแกนดิเนเวีย ซึ่งต่อมาแนวคิดเรื่องพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งได้แพร่กระจายไปทั่วทวีปยุโรปและทวีปอเมริกาเหนือ พิพิธภัณฑ์กลางแจ้งรู้จักกันในหลายชื่อว่า พิพิธภัณฑ์มีชีวิต พิพิธภัณฑ์สิ่งก่อสร้าง หรือ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน พิพิธภัณฑ์มีชีวิตเป็นลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งของพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งที่บุคคลในบริเวณนั้น จะมีการแต่งกายและการแสดงในลักษณะของยุคสมัยเก่า โดยบุคคลจะประพฤติปฏิบัติตัวราวกับว่าพักอาศัยอยู่ในโบราณ โดยมีจุดประสงค์เพื่อแสดงวัฒนธรรมสมัยก่อนให้กับผู้ชมในยุคปัจจุบันได้เห็น พิพิธภัณฑ์มีชีวิตส่วนใหญ่จะมีการแสดงหลายอย่างไม่ว่า การตีเหล็ก การตีดาบ การทำเหมือง การรีดนมวัว การทอผ้า หรือ การวาดรูป เป็นต้น จุดหลักของพิพิธภัณฑ์มีชีวิตที่ำสำคัญคือ (1) วัฒนธรรม ธรรมชาติ และประวัติศาสตร์ (2) ข้อมูลความรู้ และ (3) กิจกรรมของชุมนุม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพิพิธภัณฑ์มีชีวิต · ดูเพิ่มเติม »

พูนสวัสดิ์ ธีมากร

ูนสวัสดิ์ ธีมากร (พ.ศ. 2471-พ.ศ. 2545) อดีตนักแสดงละครเวทีและภาพยนตร์ ที่มีความสามารถรอบด้าน นอกจากการแสดงแล้ว ยังเป็นผู้กำกับแสง ผู้กำกับภาพ ช่างถ่ายภาพ นักแสดงตั้งแต่ยุคละครเวทีคณะศิวารมย์ คณะอัศวินการละคร และเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการถ่ายภาพที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในฝีมือความสามารถระดับสากล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพูนสวัสดิ์ ธีมากร · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด

''พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด'' ฉบับตีพิมพ์ พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด (Oxford English Dictionary; OED) เป็นพจนานุกรม ที่ตีพิมพ์โดย สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด ปกติถือเป็นพจนานุกรมภาษาอังกฤษเชิงวิชาการและละเอียดที่สุด โดยมีรายการหลักประมาณ 301,100 รายการ (สถิติล่าสุด 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2005) และมีตัวอักษรทั้งหมดมากกว่า 350 ล้านตัว นอกจากคำหลักของรายการหลักแล้ว ยังมีคำประสม และคำแผลงพิมพ์ตัวหนา 157,000 คำ ขณะที่มีวลีและวลีย่อยพิมพ์ตัวหนา 169,000 รายการ ทำให้มีลูกคำทั้งหมด 616,500 คำ นอกจากนี้ยังมีการเขียนคำอ่าน 137,000 คำ, รากศัพท์หรือที่มา 249,300 คำ ศัพท์เชื่อมโยง (cross-references) 577,000 มีจำนวนหน้า 21,730 หน้า และรายการศัพท์ทั้งหมด 291,500 รายการ นโยบายของพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด คือ พยายามที่จะบันทึกการใช้งานและลักษณะแปรผันทั้งหมดเท่าที่ทราบ ในทุกลักษณะของปลีกย่อยของภาษาอังกฤษ ที่ใช้กันทั่วโลก ทั้งในอดีตและปัจจุบัน ส่วนหนึ่งของคำนำฉบับพิมพ์ ค.ศ. 1933 มีดังนี้ พจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด คือจุดเริ่มต้นของงานที่เน้นวิชาการที่เข้มข้น ซึ่งต้องเกี่ยวข้องกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษ การเลือกลำดับในการสะกดแบบต่างๆ ของคำหลักนั้น มีอิทธิพลต่อการเขียนภาษาอังกฤษในหลายประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพจนานุกรมภาษาอังกฤษ ฉบับออกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

พนัส หันนาคินทร์

ตราจารย์ ดร.พนัส หันนาคินทร์ ศาสตราจารย์ ดร.พนัส หันนาคินทร์ (19 มกราคม พ.ศ. 2471 - 30 มกราคม พ.ศ. 2549) อดีตอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนมัธยมสาธิตวิทยาลัยวิชาการศึกษาคนแรก (ปัจจุบัน คือ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร) อดีตรองอธิการ วิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก และอดีตรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลกคนแรก เป็นผู้บุกเบิก และก่อตั้งวิทยาลัยวิชาการพิษณุโลก จนกระทั่งเป็นมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก และมหาวิทยาลัยนเรศวร ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และพนัส หันนาคินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

กระชากปมปริศนาคดีอำพราง

กระชากปมปริศนาคดีอำพราง (Changeling) เป็นภาพยนตร์แนวดรามา (ชีวิต) มีโครงเรื่องจากเรื่องจริงที่เคยเกิดขึ้นในเมือง ลอสแอนเจลิส ใน ค.ศ. 1928 เป็นเรื่องเกี่ยวกับแม่คนหนึ่งที่ตามหาบุตรชายที่หายตัวไป และเชื่อมโยงไปจนถึงคดีฆาตกรรมต่อเนื่องสะเทือนขวัญแห่งยุค ซึ่งเปิดโปงถึงการทุจริตคอร์รัปชันและการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายกาจของกรมตำรวจลอสแอนเจลิส (LAPD:Los Angeles Police Department) ในยุคนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และกระชากปมปริศนาคดีอำพราง · ดูเพิ่มเติม »

กลอน

กลอน เป็นลักษณะคำประพันธ์ไทยที่ฉันทลักษณ์ประกอบด้วยลักษณะบังคับ 3 ประการคือ คณะ จำนวนคำ และสัมผัสกรมศิลปากร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และกลอน · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองโปแลนด์

การบุกครองโปแลนด์ หรือเรียกการทัพกันยายน (Kampania wrześniowa) หรือสงครามตั้งรับปี 1939 (Wojna obronna 1939 roku) ในโปแลนด์ และ การทัพโปแลนด์ (Polenfeldzug) หรือ ฟัลล์ไวสส์ (Fall Weiss) ในเยอรมนี เป็นการบุกครองโปแลนด์ร่วมโดยเยอรมนี สหภาพโซเวียตและสโลวาเกียซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป การบุกครองของเยอรมนีเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน 1939 หนึ่งสัปดาห์ให้หลังการลงนามสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ขณะที่การบุกครองของโซเวียตเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 17 กันยายน 1939 หลังความตกลงโมโลตอฟ-โตโก ซึ่งยุติความเป็นปรปักษ์ระหว่างสหภาพโซเวียตและญี่ปุ่นในภาคตะวันออกเมื่อวันที่ 16 กันยายน การทัพดังกล่าวสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคมด้วยเยอรมนีและสหภาพโซเวียตแบ่งแยกและผนวกโปแลนด์ทั้งประเทศตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเขตแดนเยอรมนี–โซเวียต กำลังเยอรมนีบุกครองโปแลนด์จากทิศเหนือ ใต้ และตะวันตกในเช้าหลังเกิดกรณีกลิวิซ ขณะที่เวร์มัคท์รุกคืบ กำลังโปแลนด์ถอนจากฐานปฏิบัติการส่วนหน้าติดกับพรมแดนโปแลนด์–เยอรมนีไปแนวป้องกันที่จัดตั้งดีกว่าทางตะวันออก หลังโปแลนด์แพ้ยุทธการที่บึซราเมื่อกลางเดือนกันยายน ทำให้เยอรมนีได้เปรียบแน่นอน จากนั้นกำลังโปแลนด์ถอนตัวไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ที่ซึ่งพวกเขาเตรียมการป้องกันระยะยาวที่หัวสะพานโรมาเนียและคอยการสนับสนุนและการช่วยเหลือที่คาดจากฝรั่งเศสและสหราชอาณาจักร ทั้งสองประเทศมีสนธิสัญญากับโปแลนด์และประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อวันที่ 3 กันยายน แต่สุดท้ายแล้วทั้งสองช่วยเหลือโปแลนด์แต่เพียงเล็กน้อย การบุกครองโปแลนด์ตะวันออกของกองทัพแดงโซเวียตเมื่อวันที่ 17 กันยายนตามพิธีสารลับในสนธิสัญญาโมโลตอฟ-ริบเบนทรอพ ทำให้แผนการตั้งรับของโปแลนด์ต้องเลิกไป เมื่อเผชิญกับแนวรบที่สอง รัฐบาลโปแลนด์สรุปว่าการป้องกันหัวสะพานโรมาเนียเป็นไปไม่ได้อีกต่อไปและสั่งอพยพกำลังพลฉุกเฉินทั้งหมดไปยังประเทศโรมาเนียที่เป็นกลาง วันที่ 6 ตุลาคม หลังโปแลนด์ปราชัยที่ยุทธการที่ค็อก (Kock) กำลังเยอรมนีและโซเวียตก็ควบคุมโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ ความสำเร็จของการบุกครองนี้เป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐโปแลนด์ที่สอง แม้โปแลนด์จะไม่เคยยอมจำนนอย่างเป็นทางการก็ตาม วันที่ 8 ตุลาคม หลังสมัยการบริหารทหารทหารช่วงต้น เยอรมนีได้ผนวกโปแลนด์ตะวันตกและอดีตนครเสรีดันซิกโดยตรง และกำหนดให้ดินแดนส่วนที่เหลืออยู่ภายใต้การบริหารของรัฐบาลทั่วไป (General Government) สหภาพโซเวียตรวมพื้นที่ที่เพิ่งได้มาเข้ากับสาธารณรัฐองค์ประกอบเบลารุสและยูเครนของตน และเริ่มการรณรงค์ปลูกฝังความเป็นโซเวียตทันที หลังการบุกครองดังกล่าว องค์การขัดขืนใต้ดินหลายกลุ่มได้ตั้งรัฐใต้ดินโปแลนด์ขึ้นในดินแดนของอดีตรัฐโปแลนด์ ในเวลาเดียวกับที่ทหารลี้ภัยจำนวนมากซึ่งสามารถหลบหนีออกนอกประเทศได้ก็เข้าร่วมกับกองทัพโปแลนด์ในทิศตะวันตก ซึ่งเป็นกองทัพที่ภักดีต่อรัฐบาลพลัดถิ่นโปแลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และการบุกครองโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และการเลิกล้มราชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาลัก

ษาลัก (лакку маз, lakku maz) เป็นภาษาที่พูดในสาธารณรัฐดาเกสตัน ที่อยู่ในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดประมาณ 120,000 คน ก่อนปี พ.ศ. 2471 ภาษาลักใช้อักษรอาหรับในการเขียน ต่อมาได้เปลี่ยนมาใช้อักษรละตินเป็นเวลาประมาณ 10 ปี และหลังจาก พ.ศ. 2481 ได้ใช้อักษรซีริลลิกในการเขียน คำในภาษาลักจำนวนมากเป็นคำยืมมาจากภาษาตุรกี ภาษาเปอร์เซีย และภาษารัสเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และภาษาลัก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาโนเวียล

ภาษาโนเวียล (Novial) เป็น ภาษาประดิษฐ์ ที่คิดค้นโดย ศาสตราจารย์ ออตโต เจสเปอร์เซน ชาวเดนมาร์กซึ่งเคยร่วมงานในการคิดค้นภาษาอิดอมาก่อนหน้านี้ โดยคำศัพท์ส่วนใหญ่จะมีพื้นฐานจากภาษากลุ่มโรมานซ์ และ ภาษากลุ่มเจอร์แมนิก และไวยากรณ์ได้รับอิทธิพลจากภาษาอังกฤษ นโนเวียล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และภาษาโนเวียล · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแห่งชาติไต้หวัน

มหาวิทยาลัยแห่งชาติไต้หวัน (กั๋วลี่ไถวานต้าเสวีย นิยมเรียกย่อว่า ไถต้า; National Taiwan University ย่อว่า NTU) เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติที่มีชื่อเสียงมากสุดในไต้หวันมีวิทยาเขตกลางตั้งอยู่ในนครไทเป และจัดว่าเป็นมหาวิทยาลัยอันดับหนึ่งในไต้หวันจากการรายงานของ QS University Ranking 2015-2016 มหาวิทยาลัยแห่งชาติไต้หวันอยู่ในลำดับที่ 70 ของโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และมหาวิทยาลัยแห่งชาติไต้หวัน · ดูเพิ่มเติม »

มอริซ แฟลนากัน

ซอร์มอริซ แฟลนากัน (Sir Maurice Flanagan; 17 ตุลาคม พ.ศ. 2471 – 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นผู้ก่อตั้งเอมิเรตส์แอร์ไลน์ และเป็นรองประธานกรรมการบริษัทเดอะเอมิเรตส์กรุ๊ป เขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และมอริซ แฟลนากัน · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มิกกี้ เมาส์

มิกกี้ เมาส์ มิกกี้ เมาส์ เป็นตัวละครการ์ตูนที่ครองใจเด็กๆทั่วโลก มีลักษณะเป็นหนูสีดำ สวมกางเกงเอี๊ยมสีแดง ถือกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 โดยว และอับ ไอเวิร์กส ให้เสียงโดยวอลต์ ดิสนีย์ จุดกำเนิดของมิกกี้ เมาส์ เกิดขึ้นขณะที่วอลต์ ดิสนีย์ นั่งอยู่บนรถไฟระหว่างทางมุ่งสู่ลอสแอนเจลิส เขาลงมือสเก็ตช์ภาพคาแรกเตอร์หนูเล็ก ๆ สวมกางเกงสีแดง ขึ้นมา โดยมีอับ ไอเวิร์กส ออกแบบรูปร่างลักษณะ การ์ตูนเสียงเรื่องแรก "เรือกลไฟวิลลี่" (Steamboat Willie) เข้าฉายครั้งแรกที่ มอสส์โคโลนี่เธียเตอร์ โดยทางนิวยอร์กไทม์เขียนไว้ว่า "เป็นผลงานที่มีความคิดสร้างสรรค์เยี่ยมยอดและสนุก" บุคลิกของมิกกี้ เมาส์ คือ มองโลกในแง่ดี มีความกระตือรือร้น ถ่อมตัวและเรียบง่าย ซื่อสัตย์ ชอบร้องอุทาน "Gosh" หรือบางครั้งก็ "Oh be","Uh-Oh!" ชอบอ่าน มีหวานใจชื่อว่ามินนี่เมาส์ซึ่งเป็นตัวการ์ตูนที่ครองใจเด็กๆทั่วโลกเช่นกัน นอกจากนี้มิกกี้เมาส์ยังมีสุนัขสีน้ำตาลแสนรัก ชื่อว่า พลูโตที่เป็นสุนัขที่ซื่อสัตย์ ฉลาดและแสนรู้ มิกกี้ เมาส์ เป็นตัวการ์ตูนของค่ายดิสนีย์ ถือกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..1928 (พ.ศ. 2471) โดย วอลเตอร์ อีลิส ดิสนีย์ และอับ ไอเวิร์กส เดิมทีพวกเขาเรียกมันว่า "มอร์ติเมอร์ เมาส์" ก่อนจะเปลี่ยนชื่อตัวการ์ตูนนี้ใหม่เป็น มิกกี้ เมาส์ จากการแนะนำของภรรยาวอลต์ ดิสนีย์ เนื่องจากเธอเห็นว่ามันเป็นชื่อที่ดูจริงจังจนเกินไป ทั้งนี้ จุดกำเนิดของ มิกกี้ เมาส์ เกิดขึ้นขณะที่ วอล์ต อีลิส ดิสนีย์ (ขณะนั้นอายุ 27 ปี) นั่งอยู่บนรถไฟระหว่างทางมุ่งสู่ลอสแอนเจลิส เขาลงมือสเก็ตช์ภาพคาแรกเตอร์หนูเล็ก ๆ สวมกางเกงสีแดงขึ้นมา โดยมี อับ ไอเวิร์กส ออกแบบรูปร่างลักษณะ หลังจากนั้นในปี..1928 (พ.ศ. 2471) มิกกี้ เมาส์ ก็ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังการ์ตูนเงียบที่ชื่อว่า Plane Crazy แต่ก่อนที่การ์ตูนเรื่องนี้จะออกฉายนั้น ก็เริ่มมีการนำเสียงมาใส่ในภาพยนตร์ ทำให้ มิคกี้ เมาส์ เป็นหนังการ์ตูนที่มีการใส่เสียงเรื่องแรกในโลก ในชื่อเรื่องว่า Steamboat Willie การเปิดตัวครั้งแรกของ มิกกี้เมาส์ ในเรื่อง "Steamboat Willie" ในวันที่ 18 พฤศจิกายน..1928 (พ.ศ. 2471) ทำให้ มิกกี้เมาส์ กลายเป็นขวัญใจของเด็ก ๆ จวบจนปัจจุบัน โดยทางนิวยอร์กไทม์ เคยเขียนชื่นชมว่า มิกกี้ เมาส์ เป็นผลงานที่มีความคิดสร้างสรรค์เยี่ยมยอดและสนุก เพราะการ์ตูนเรื่องนี้มีจุดเด่นที่เพลงประกอบที่ไพเราะ ภาพ และฉากที่สวยงาม ลักษณะเด่นของ มิกกี้ เมาส์ เป็นเพียงหนูตัวเล็ก ๆ หูกลมใหญ่สีดำ แขนขาเล็กมาก สวมกางเกงเอี๊ยมสีแดง รองเท้าสีเหลือง มีบุคลิกที่มีความอดทน อดกลั้น ฉลาดหลักแหลม มองโลกในแง่ดี และกล้าหาญ ที่สำคัญ มิกกี้ เมาส์ มีสัญชาตญาณพิเศษในเรื่องของการสืบสวนสอบสวน และด้วยบุคลิกที่โดดเด่นในแง่นี้เองทำให้ตัวการ์ตูนตัวนี้ชอบที่จะใช้เหตุผลเพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ โดยไม่ต้องใช้กำลังเข้าสู้ จนสามารถเอาชนะศัตรูที่มีร่างกายที่แข็งแรงกว่า ทำให้ มิกกี้เมาส์ สามารถเป็นที่รักและครองหัวใจของเด็ก ๆ และผู้คนทั่วโลกได้เป็นเวลาหลายทศวรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และมิกกี้ เมาส์ · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวี

มุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวี (Muhammad Sayyid Tantawi; محمد سيد طنطاوي; 28 ตุลาคม ค.ศ. 1928-10 มีนาคม ค.ศ. 2010) ท่องจำกุรอานที่เมืองอะเล็กซานเดรีย เคยดำรงตำแหน่งอิหม่ามคนสำคัญแห่งมัสยิดอัลอัซฮัร และผู้นำสูงสุดแห่งอัซฮัร เสียชีวิตระหว่างการเดินทางเยือนกรุงริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และมุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวี · ดูเพิ่มเติม »

มนัส ปิติสานต์

มนัส ปิติสานต์ (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2471 -) เป็นนักดนตรี และนักแต่งเพลง ที่มีชื่อเสียง เกิดที่อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี เป็นบุตรของนายมูล และนางจำเริญ ปิติสานต์ บิดารับราชการจึงติดตามบิดามาเรียนหนังสือที่อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ แล้วย้ายมาเรียนต่อชั้นมัธยมที่โรงเรียนเนติศึกษา ย่านราชวัตร จนกระทั่งเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง ได้ย้ายไปเรียนที่กองดุริยางค์ทหารอากาศ เป็นลูกศิษย์ของพระเจนดุริยางค์ รุ่นเดียวกับสง่า อารัมภีร ปรีชา เมตไตรย์ และชลหมู่ ชลานุเคราะห์ และเข้ารับราชการ เป็นนักดนตรีของกองดุริยางค์ทหารอากาศ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และมนัส ปิติสานต์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุพา อุดมศักดิ์

ร.ยุพา อุดมศักดิ์ (เกิด 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2471) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร 4 สมัย โดยเป็นผู้หญิงไทยคนแรกที่ได้เป็นรัฐมนตรีในคณะรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง (สส.หญิงคนแรกจากการเลือกตั้งที่ได้เป็นรัฐมนตรี).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และยุพา อุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ สัจจวาณิชย์

ตราจารย์ เรือโท นายแพทย์ ยงยุทธ สัจจวาณิชย์ ร.น. (8 มกราคม พ.ศ. 2471 -) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข 2 สมัย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อดีตผู้อำนวยการองค์การเภสัชกรรม และเป็นคณะแพทย์คณะแรกในโครงการหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ พอ.สว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และยงยุทธ สัจจวาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ

มส์ ฟรานซิส เอ็ดเวิร์ด สจวต รัชทายาทที่ได้รับสมมุติแห่งอังกฤษและสกอตแลนด์ ผู้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ (pretender) คือ ผู้อ้างการมีสิทธิ์ในตำแหน่งเกียรติหรือยศที่ไม่มีอยู่แล้ว ใช้กับอดีตพระมหากษัตริย์ หรือผู้สืบเชื้อสายอดีตพระมหากษัตริย์ซึ่งราชบัลลังก์มีผู้ครองแล้วหรือมีคู่แข่งอ้าง หรือถูกเลิกไปแล้วมากที่สุด ภาษาอังกฤษคำว่า “Pretend” มาจากภาษาฝรั่งเศส “prétendre” ที่แปลว่า ยื่นเสนอ เสนอ หรืออ้าง นอกจากนั้นคำว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติ” ยังใช้กับกลุ่มผู้ที่พยายามอ้างสิทธิในนามของผู้อื่นไม่ว่าผู้นั้นจะทราบหรือทำการอ้างเองหรือไม่ และเป็นคำที่ใช้ได้ทั้งสำหรับผู้อ้างที่มีสิทธิที่แท้จริงในราชบัลลังก์ เช่น กรณีผู้อ้างหลายคนระหว่างสงครามดอกกุหลาบ หรือผู้ประดิษฐ์ข้ออ้างขึ้นเองในกรณีของแลมเบิร์ต ซิมเนล (Lambert Simnel) ผู้อ้างว่ามีสิทธิในราชบัลลังก์ของสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษ บุคคลในกลุ่มหลังนี้มักจะอ้างใช้ชื่อของบุคคลที่เสียชีวิตไปแล้วหรือพระญาติพระวงศ์ที่หายสาบสูญไป ซึ่งบางที่ก็จะเรียกว่า “รัชทายาทที่ได้รับสมมุติเท็จ” (false pretender) รัชทายาทที่ได้รับสมมุติของพระสันตะปาปา เรียก “พระสันตะปาปาเท็จ” (antipope).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรัชทายาทที่ได้รับสมมุติ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลเป่ยหยาง

รัฐบาลเป่ยหยาง (北洋政府) หรือ รัฐบาลขุนศึก รวมหมายถึงชุดระบอบทหารที่ปกครองกรุงปักกิ่งระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรัฐบาลเป่ยหยาง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการของ กระทรวงมหาดไทย โดยตำแหน่งนี้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 ในสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยในช่วงนั้น เรียกตำแหน่งนี้ว่า เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย จนกระทั่งหลังจากเหตุการณ์ การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลื่ยนชื่อตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 เป็นต้นมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมีฐานะเป็นประธานกรรมการและผู้บัญชาการ กองอาสารักษาดินแดน โดยตำแหน่ง และมียศเป็นนายกองใหญ่ ซึ่งเป็นชั้นยศสูงสุดของกองอาสารักษาดินแดน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย

รายพระนาม รายนามเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ราชรัฐโมนาโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โซกู

ราชวงศ์โซกู เป็นพระราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ที่ก่อตั้งโดยโซกู ปาชา ข้าราชการระดับสูงของออตโตมันที่อพยพเข้ามาปกครองเขตแคว้นมัท เขตดินแดนประเทศแอลเบเนียในปัจจุบันในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยทำหน้าที่ปกครองแคว้นมัทในฐานะเมืองขึ้นของจักรวรรดิออตโตมัน การสืบทอดตำแหน่งผู้ปกครองแคว้นมัท จึงตกอยู่ภายใต้การปกครองของตระกูลโซกูตลอดมา และมีพระราชวังประจำตระกูลคือ พระราชวังบูร์กาเยท (Castle Burgajet) บุคคลจากราชวงศ์โซกูที่มีชื่อเสียงมากที่สุด คือ พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนีย ที่เป็นพระมหากษัตริย์จากราชวงศ์โซกูพระองค์แรกที่ขึ้นมาปกครองราชอาณาจักรแอลเบเนีย ก่อนที่สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 แห่งอิตาลีที่จะเข้ามาบุกรุกประเทศแอลเบเนียในปี ค.ศ. 1939 และขึ้นมาปกครองแอลเบเนียแทน แม้ว่าปัจจุบันในประเทศแอลเบเนียเองได้ยกเลิกระบอบกษัตริย์ลงแล้ว และปกครองในระบอบสาธารณรัฐแล้ว แต่ก็ยังมีการสืบทอดอำนาจภายในราชวงศ์โซกูต่อไป โดยอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ของประเทศแอลเบเนียจนถึงปัจจุบัน โดยผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์องค์ปัจจุบันคือ เจ้าชายเลก้า มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย โดยพระองค์ก็เรียกตัวเองว่าพระองค์เป็นกษัตริย์และอ้างว่าพร้อมที่จะปกครองประเทศแอลเบเนียอยู่เสมอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และราชวงศ์โซกู · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอียิปต์

ราชอาณาจักรอียิปต์ (المملكة المصرية) เป็นชื่อของรัฐอิยิปต์สมัยใหม่รัฐแรก ซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1922 - ค.ศ. 1953 ราชอาณาจักรได้รับสถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1922 เมื่อสหราชอาณาจักรตัดสินใจจะให้อียิปต์พ้นจากฐานะความเป็นรัฐในอารักขาของตนซึ่งเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1914 สุลต่านฟูอัดที่ 1 เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกของราชอาณาจักรแห่งนี้ ต่อมาพระเจ้าฟารุกที่ 1 จึงทรงสืบราชสมบัติต่อจากพระราชบิดาในปี ค.ศ. 1936 ก่อนหน้าสมัยราชอาณาจักร ประเทศอียิปต์ได้ถูกยึดครองและควบคุมโดยสหราชอาณาจักรนับตั้งแต่ ค.ศ. 1882 เมื่อมหาอำนาจยุโรปได้ส่งกองทัพเข้ามาสนับสนุนการปกครองระบอบเคดีฟเพื่อต่อต้านการลุกฮือของขบวนการชาตินิยม เหตุการณ์ดังกล่าวได้เป็นจุดเริ่มต้นให้สหราชอาณาจักรเข้าควบคุมอียิปต์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมันแต่เพียงในนาม ในปี ค.ศ. 1914 ผลจากการประกาศสงครามต่อจักรวรรดิออตโตมันได้ทำให้สหราชอาณาจักรต้องประกาศให้อียิปต์เป็นรัฐในอารักขาและถอดถอนเคดีฟออกจากตำแหน่ง พร้อมทั้งแต่งตั้งฮุสเซน กามิล พระญาติของเคดีฟ ขึ้นเป็นสุลต่านแห่งอียิปต์แทน อียิปต์ได้รับการสถาปนาและได้รับการยอมรับโดยสหราชอาณาจักรในปี ค.ศ. 1922 โดยมีพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต์ ทรงเป็นปฐมกษัตริย์ และได้ต่อสู้ทางการเมืองกับพรรควาฟด์ (Wafd) อันเป็นพรรคการเมืองขนาดใหญ่แนวทางชาตินิยมที่ต่อต้านทั้งอิทธิพลของสหราชอาณาจักรและประเทศสหราชอาณาจักร ซึ่งพรรคดังกล่าวต้องการจะให้อียิปต์เข้าควบคุมคลองสุเอซโดยตรง นอกจากนั้นยังมีขบวนการทางการเมืองอื่นๆ ที่เคลื่อนไหวในยุคนี้ เช่น พรรคคอมมิวนิสต์อียิปต์ (ก่อตั้ง ค.ศ. 1925) และขบวนการภราดรภาพมุสลิม (Muslim Brotherhood - ก่อตั้ง ค.ศ. 1928) ซึ่งขบวนการหลังนี้เป็นขบวนการที่ทรงอำนาจทั้งทางการเมืองและศาสนา พระเจ้าฟูอัดที่ 1 เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1936 ราชสมบัติจึงตกอยู่กับเจ้าชายฟารุกซึ่งขณะนั้นมีพระชนม์ได้ 16 พรรษา การรุกรานเอธิโอเปียโดยอิตาลีในระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน เป็นสัญญานเตือนให้พระองค์ต้องลงพระนามในสนธิสัญญาอังกฤษ-อียิปต์ เพื่อให้สหราชอาณาจักรถอนทหารออกไปจากอียิปต์ทั้งหมด โดยยกเว้นเพียงบริเวณคลองสุเอซ ซึ่งสหราชอาณาจักรได้ตกลงถอนทหารในปี ค.ศ. 1949 ราชอาณาจักรอียิปต์ประสบความยุ่งยากจากภาวะการฉ้อราษฎร์บังหลวงและการที่พลเมืองของตนเองมองว่าประเทศของตนเป็นเพียงหุ่นเชิดของสหราชอาณาจักร จากเหตุเหล่านี้ และซ้ำเติมด้วยสงครามอาหรับ-อิสราเอล ในปี ค.ศ. 1948 ได้นำไปสู่การปฏิวัติอียิปต์ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และราชอาณาจักรอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2471

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน พ.ศ. 2471.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน

หน้านี้คือรายการธงที่มีการใช้ในประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศจีน

หน้านี้คือรายการของธงต่างๆ ของประเทศจีน ที่เคยใช้ในอดีตและมีการใช้อยู่ในปัจจุบัน ทั้งในสาธารณรัฐประชาชนจีน ฮ่องกง มาเก๊า และสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายชื่อธงในประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศแอฟริกาใต้

งต่าง ๆ ในหน้านี้ เป็นธงชาติ และธงอื่น ๆ ที่มีการใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายชื่อธงในประเทศแอฟริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศแอลเบเนีย

ตารางข้างล่างนี้แสดงชนิดธงชาติประเภทต่างๆที่ใช้ในแอลเบเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายชื่อธงในประเทศแอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แอลเบเนีย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายพระนามพระมหากษัตริย์แอลเบเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โตโร

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายพระนามพระมหากษัตริย์โตโร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาล

ระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรเนปาล เรียกโดยราชประเพณีว่า "ศรีปัญจมหาราชธิราช" (เนปาลี: श्री ५ महाराजधिराज, Śrī Pañca Mahārājdhirāj) ส่วนสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรเนปาล เรียก "ศรีปัญจพฑามหารานี" (เนปาลี: श्री ५ बडामहारानी, Śrī Pañca Badāmahārānī) ทั้งนี้ การปกครองประเทศเนปาลตามระบอบราชาธิปไตยนั้นได้ยกเลิกไปโดยมติของสภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งเนปาลซึ่งให้เปลี่ยนแปลงเป็นระบอบสาธารณรัฐตั้งแต่วันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายพระนามพระมหากษัตริย์เนปาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามสมเด็จพระราชินีและจักรพรรดินีแห่งเกาหลี

มเด็จพระจักรพรรดินีแห่งเกาหลี หรือ สมเด็จพระราชินีแห่งเกาหลี คือตำแหน่งของคู่สมรสของสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งเกาหลี ตั้งแต่สมัยที่เริ่มก่อตั้งอาณาจักรโชซ็อนและจักรวรรดิเกาหลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายพระนามสมเด็จพระราชินีและจักรพรรดินีแห่งเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทย

และนี่คือรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายพระนามและรายนามอภิรัฐมนตรีและกรรมการองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร

้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร · ดูเพิ่มเติม »

รายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย

มุหราชองครักษ์ กำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ซึ่งเดิมเรียกว่า "นายทหารรักษาพระองค์" โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิบัติหน้าที่รับใช้เบื้องพระยุคลบาท พิทักษ์รักษาความปลอดภัยแด่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในกาลต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญและคุณประโยชน์ที่จะต้องมีราชองครักษ์ไว้ปฏิบัติราชการสนองพระเดชพระคุณโดยใกล้ชิด จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คัดเลือก นายทหารรักษาพระองค์มาจากกรมทหามหาดเล็กรักษาพระองค์และทรงพระราชทานนามนายทหารเหล่านี้ว่า "ราช-แอด-เดอ-แกมป์" จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายนามสมุหราชองครักษ์ของไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย

รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย

้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามเจ้ากรมรถไฟ ผู้บัญชาการกรมรถไฟหลวง อธิบดีกรมรถไฟและผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายนามผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน

งสาธารณรัฐจีน ทำเนียบที่ทำการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีนที่กรุงไทเป ไต้หวัน รายนามต่อไปนี้เป็นรายนาม ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน ตั้งแต่ (ค.ศ. 1912 ถึง ปัจจุบัน) ในสาธารณรัฐจีนตำแหน่งประธานาธิบดีจะเรียกว่า (ซ่งถ่ง) และตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีคอสตาริกา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายนามประธานาธิบดีคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย

รายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนสาตดสอ ตรีไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรายนามและรายพระนามอภิรัฐมนตรีและองคมนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลออสการ์

รางวัลออสการ์ อะแคเดมีอะวอร์ด ("รางวัลสถาบัน") หรืิอ ออสการ์ เป็นรางวัลทางภาพยนตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก จัดโดยสถาบันศิลปะและวิชาการทางภาพยนตร์ (หรือ) เริ่มจัดครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรางวัลออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดง

รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดง เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบการคมนาคมอ่าวแมสซาชูเซตส์ บอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ เชื่อมต่อกับ รถไฟชานเมืองบอสตัน รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีเขียว รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีส้ม และรถโดยสารประจำทางบอสตัน สายสีเงิน เป็นเพียงเส้นทางเดียวที่ผ่านมหาวิทยาลัยฮาร์วาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินออสโล

รถไฟใต้ดินออสโล (Oslo T-bane หรือ Oslo Tunnelbane หรือ T-banen) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ในกรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ ดำเนินการโดย Oslo T-banedrift ปัจจุบันมีหกเส้นทาง ระยะทางทั้งสิ้น ผู้โดยสาร 221,917 คนต่อวัน (2011) ต่อจำนวนสถานีรถไฟฟ้า 95 สถานี โดย 16 สถานี เป็นสถานีใต้ดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และรถไฟใต้ดินออสโล · ดูเพิ่มเติม »

ลาร์รี่ บาตาน

ลาร์รี่ บาร์ตาน หรือ เฟเดอริโก ลอเรนโซ่ นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์ เกิดเมื่อ 6 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และลาร์รี่ บาตาน · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อดีตออสเตรีย-ฮังการี

นี่คือลำดับการสืบสันตติวงศ์แห่งราชบัลลังก์อิมพีเรียลออสเตรีย-ฮังการี ประมุขแห่งราชวงศ์ฮับส์บูร์กองค์ปัจจุบันคืออาร์คดยุคคาร์ล มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการี พระราชโอรสองค์แรกในสมเด็จพระจักรพรรดิอ๊อตโต้ที่ 1 แห่งออสเตรีย (สมเด็จพระราชาธิบดีอ๊อตโต้ที่ 2 แห่งฮังการี)กับ เจ้าหญิงเรจิน่าแห่งแซ็กซ์-ไมนินเจน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อดีตออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

ลีวีส ลาติเมอร์

ลีวีส ลาติเมอร์ เมื่อ พ.ศ. 2425 ลีวีส ฮาวาร์ด ลาติเมอร์ (Lewis Howard Latimer, เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2391, เสียชีวิต 11 ธันวาคม พ.ศ. 2471) นักประดิษฐ์และนักเขียนแบบผิวดำชาวอเมริกัน หลอดไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไปและมีประโยชน์มากมาย โดยผู้ผลิตหลอดไฟฟ้าขึ้นครั้งแรกคือ ทอมัส อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) แต่ก็ยังไม่มีประสิทธิภาพพอที่จะใช้งานได้นานๆ เนื่องจากใส้หลอดมีอายุการใช้งานน้อย ลีวีส ลาติเมอร์ ได้ประดิษฐ์ไส้หลอดไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพที่ดีกว่า และ จดลิขสิทธิ์ เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และลีวีส ลาติเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ว.ณ เมืองลุง

ว.ณ เมืองลุง เป็นนามปากกาของ ชิน บำรุงพงศ์ (11 กันยายน 2471- 26 กรกฎาคม 2547) เป็นนักเขียน และนักแปลหนังสือไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และว.ณ เมืองลุง · ดูเพิ่มเติม »

วรนุช อารีย์

วรนุช อารีย์ จากรายการเสียงสวรรค์เมื่อวันวาน วรนุช อารีย์ (เดิมชื่อ นุชวรา อารีย์; 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 - 20 ธันวาคม พ.ศ. 2560) นักร้องหญิงวงดนตรีกรมประชาสัมพันธ์และวงสุนทราภรณ์ (เดิมชื่อ นุชวรา อารีย์) เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 ที่ธนบุรี เป็นบุตรของ นายนุช และ นางเจริญ อารีย์ มีน้องชาย 1 คน คือ นายนริศ อารีย์ จบการศึกษาเบื้องต้นที่ โรงเรียนวัดจักรวรรดิราชาวาส สมรสเมื่อปี 2514 มีบุตรสาว 1 คน และ มีบุตรบุญธรรม 1 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวรนุช อารีย์ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเตอร์ มอนเดล

วอลเตอร์ เฟรดเดอริก "ฟริตซ์" มอนเดล (Walter Frederick "Fritz" Mondale; เกิดเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2471) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 42 ระหว่าง พ.ศ. 2520 ถึง 2524 ในสมัยประธานาธิบดีจิมมี คาร์เตอร์ หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายแคนาดา หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษ หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายนอร์เวย์ หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายสกอตแลนด์ จ หมวดหมู่:พรรคเดโมแครต (สหรัฐอเมริกา) หมวดหมู่:นักการเมืองอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐมินนิโซตา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวอลเตอร์ มอนเดล · ดูเพิ่มเติม »

วัดบูรพารามใต้

วัดบูรพารามใต้ ตั้งอยู่เลขที่ 1/1 หมู่ที่ 4 บ้านทรายมูล ตำบลทรายมูล อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร รหัสไปรษณีย์ 35170 โทรศัพท์ 0-4578-7032, 0-4578-7230 สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 34 ไร่ อาณาเขตของวัด ทิศเหนือ ติดทุ่งนา ทิศใต้ ติดถนนสาธารณประโยชน์และหมู่บ้าน ทิศตะวันออก ติดถนนสาธารณประโยชน์และหมู่บ้าน และทิศตะวันตก ติดถนนสาธารณประโยชน์และหมู่บ้าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวัดบูรพารามใต้ · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุทธจินดาวรวิหาร

วัดสุทธจินดาวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ขอพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2470 ตกมาและปักเขตเสร็จปี พ.ศ. 2471 มีเขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตรยาว 80 เมตร ทำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 11 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2474 และได้สถาปนาเป็นพระอารามหลวง เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2478 ในรัชกาลที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีเนื้อที่ประมาณ 24 ไร่ 3 งาน 9 ตารางวา ตั้งอยู่ ถนนราชดำเนิน ด้านทิศตะวันดก ตรงข้ามศาลากลางจังหวัด ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เจ้าอาวาสวัดคือ พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวัดสุทธจินดาวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดจันทาราม (ท่าซุง)

วัดจันทาราม หรือวัดท่าซุง ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 ตำบลน้ำซึม อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ 510 ไร่ โดยแยกเป็นเนื้อที่วัด 280 ไร่ เนื้อที่ป่า 230 ไร่ อาณาเขต ทิศเหนือประมาณ 3 เส้น จดถนนสาธารณะ ทิศใต้ประมาณ 3 เส้น จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออกประมาณ 3 เส้น 16 วา จดถนนสาธารณะ ทิศตะวันออกประมาณ 3 เส้น 16 วา จดถนนสาธารณะ วัดจันทาราม (วัดท่าซุง) ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2471 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2482 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวัดจันทาราม (ท่าซุง) · ดูเพิ่มเติม »

วัดท้ายตลาด (จังหวัดอุตรดิตถ์)

วัดท้ายตลาด หรือชื่อที่ชาวบ้านเรียก วัดท้ายตลาด (ชื่อเดิม วัดท่าทราย) ถนนสำราญรื่น บ้านท่าอิฐ ตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดเขตการปกครองคณะสงฆ์ตำบลท่าเสา ตัววัดมีเนื้อที่ 19 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวา ปัจจุบันวัดท้ายตลาด เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างและวัดพัฒนาดีเด่น มี พระครูสังฆรักษ์สิน ฐิตธมฺโม เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบันพระประกิต สุทธิธฺมโม (ชัยสิทธิ์) และพระมหาเทวประภาส วชิรญาณเมธี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวัดท้ายตลาด (จังหวัดอุตรดิตถ์) · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าวิเวกธรรม

วัดป่าวิเวกธรรม หรือ วัดเหล่างา เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งวัดเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยคณะพระกรรมฐานลูกศิษย์หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต นำโดย หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม มาเผยแผ่พระพุทธศาสนาสายวิปัสสนากรรมฐาน และตั้งสำนักสงฆ์อบรมปฎิบัติกรรมฐานขึ้น ซึ่งกลายเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาฝ่ายอรัญวาสีของภาคอีสานตอนกลางในขณะนั้น ต่อมาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวัดป่าวิเวกธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าสุนทราราม

วัดป่าสุนทราราม หรือ วัดบ้านกุดแห่ เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยพระอาจารย์ดี ฉนฺโน ลูกศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต โดยมี พระอธิการอินทร์ สุนฺทโร เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ต่อได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวัดป่าสุนทราราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย ๕ พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ ๕.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วังบูรพาภิรมย์

วังบูรพาภิรมย์ นักเรียนโรงเรียนภานุทัต สมัยที่อยู่วังบูรพาภิรมย์ วังบูรพาภิรมย์ เป็นวังที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นพระราชทาน สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์สุดท้องในสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวังบูรพาภิรมย์ · ดูเพิ่มเติม »

วันข้าราชการพลเรือน

วันข้าราชการพลเรือน ตรงกับวันที่ 1 เมษายน ของทุกปี สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนพุทธศักราช 2471 ซึ่งเป็นการจัดระเบียบข้าราชการฝ่ายพลเรือนให้เป็นมาตรฐาน มีผลใช้บังคับในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2471 จึงได้ถือวันนี้เป็นวันข้าราชพลเรื่อนตั้งแต่นั้นมา การจัดงานในวันข้าราชการพลเรือน มีเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2522 หัวใจของงานส่วนใหญ่ เป็นการมอบเกียรติบัตรยกย่อง สดุดีข้าราชการดีเด่น ในส่วนกลางนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ในส่วนภูมิภาค ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ข้าราชการพลเรือน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวันข้าราชการพลเรือน · ดูเพิ่มเติม »

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีชื่อย่อว่า วสท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย ถือกำเนิดขึ้นระยะแรก ราวปี พ.ศ. 2470-2472 โดยพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ซึ่งทรงริเริ่มทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง เป็นครั้งแรกในประเทศสยาม โดยทรงตั้งชื่อว่า “สถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท” เนื่องจากส่งกระจายเสียงจากพระราชวังพญาไท และยังทรงมอบหมายให้กรมไปรษณีย์โทรเลข โดยกองช่างวิทยุ ดำเนินการทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง เป็นการคู่ขนานกับสถานีส่วนพระองค์ โดยผู้ฟังนิยมเรียกว่า “สถานีวิทยุศาลาแดง” เนื่องจากสถานีส่งกระจายเสียง ตั้งอยู่ในบริเวณย่านที่เรียกว่าศาลาแดง และต่อมาสถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท เปิดกระจายเสียงอย่างเป็นทางการ เริ่มด้วยการถ่ายทอดเสียงสด กระแสพระราชดำรัส เนื่องในการพระราชพิธีฉัตรมงคล ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อวันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 จากพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 กองช่างวิทยุต้องดำเนินการขนย้าย เครื่องส่งวิทยุกระจายเสียง ของสถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท เข้าไปไว้รวมกันที่สถานีวิทยุศาลาแดง เนื่องจากทางกองทัพบกต้องการนำที่ดิน บริเวณพระราชวังพญาไท เพื่อไปใช้สอยในราชการ (ก่อตั้งเป็นโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า) และเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2482 คณะรัฐมนตรีซึ่งนำโดยนายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ลงมติให้โอนกิจการวิทยุกระจายเสียง ซึ่งกรมไปรษณีย์โทรเลขดำเนินการอยู่นั้น ไปขึ้นตรงกับกรมโฆษณาการ สำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือกรมประชาสัมพันธ์) โดยให้ชื่อใหม่ว่า “สถานีวิทยุกรุงเทพฯ” ซึ่งใช้อยู่เพียงเวลาสั้นๆ ก่อนจะเปลี่ยนอีกครั้งเป็น “สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย” หลังจากมีประกาศรัฐนิยมฉบับที่ 1 เปลี่ยนชื่อประเทศจากสยามเป็นไทย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 สืบเนื่องจากในช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2488 ระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา เครื่องบินต่างชาติทิ้งระเบิดลงมา ยังโรงไฟฟ้าทั้งสองแห่งของจังหวัดพระนคร จนเกิดความเสียหายเป็นอย่างมาก กรมโฆษณาการจึงไม่มีกระแสไฟฟ้า สำหรับส่งกระจายเสียงวิทยุ เป็นเวลาหลายวัน ดังนั้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2489 กองช่างวิทยุ กรมไปรษณีย์โทรเลข จึงดำเนินการก่อตั้ง “สถานีวิทยุ 1 ป.ณ.” ที่อาคารกรมไปรษณีย์โทรเลขหลังเก่า บริเวณเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ฝั่งพระนคร ช่วงหน้าวัดราชบุรณราชวรวิหาร (วัดเลียบ) เพื่อส่งกระจายเสียงโดยคู่ขนาน กับสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ตามคำสั่งของกระทรวงคมนาคม ที่ให้รื้อฟื้นการส่งวิทยุกระจายเสียงขึ้นใหม่ เพื่อสำรองใช้ในราชการ หากสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ของกรมโฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์) ไม่สามารถส่งกระจายเสียงได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมบูรณ์ จีระมะกร

นายสมบูรณ์ จีระมะกร (เต๊กเล้งหยวน) (เกิด 7 กันยายน พ.ศ. 2471) กรรมการที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 3 สมัย เป็นคนจีนโพ้นทะเล มีถิ่นกำเนิดที่มณฑลเสี้ยะหยาง เดิมสกุลเล้ง ซึ่งแปลว่ามังกร ตอนหลังจึงตั้งนามสกุลว่า "จีระมังกร" และเปลี่ยนเป็น 'จีระมะกร' ในภายหลังเพื่อลดความเชื่อมโยงกับสัญชาติจีน มีบุตร 1 คน คือนายนรุตน์ จีระมะกร(เต๊กหงี).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมบูรณ์ จีระมะกร · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย

มาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (Thai Contractors Association Under H.M. The King’s Patronage) เดิมมีชื่อว่า สมาคมนายช่างแห่งกรุงสยาม จดทะเบียนเป็นสมาคมตามพระราชบัญญัติเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2471 และได้อัญเชิญ นายพลเอกพระเจ้าพี่ยาเธอกรมหลวง กำแพงเพ็ชรอรรคโยธิน ทรงเป็นนายกสมาคมฯ พระองค์แรก มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความรู้ทางด้านช่างให้มีความเจริญ สร้างความสามัคคีในระหว่างนายช่าง รักษาฐานและความประพฤติของนายช่างให้เป็นที่นับถือ โดยไม่เป็นปรปักษ์แก่พระราชกำหนดกฎหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ฟื้น พลายภู่ ฉายา ชุตินฺธโร (20 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะใหญ่หนกลาง อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง และอดีตเจ้าอาวาสวัดสามพร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)

มเด็จพระพุฒาจารย์ นามเดิม เกี่ยว โชคชัย ฉายา อุปเสโณ (11 มกราคม พ.ศ. 2471 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย อดีตเจ้าอาวาสวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช ประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช และประธานสมัชชามหาคณิสสร เป็นพระเถระที่มีอาวุโสโดยสมณศักดิ์สูงสุดของมหาเถรสมาคมเดลินิวส์, 30 ธันวาคม 2547มติชน, 15 ม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านอัซลัน มูฮิบบุดดิน ชาห์

มเด็จพระราชาธิบดี สุลต่าน อัซลัน มุฮิบบุดดิน ชาห์ แห่งเประก์ มีพระนามเดิมว่า รายา อัซลัน ประสูติเมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2471 เป็นพระราชโอรสใน สุลต่านยูซุฟ อิซซุดดิน อิบนิ อัลมรหุม สุลต่าน อับดุล จาอิล นาสรุดดิน มัคห์ตารัม ชาห์ และโต๊ะ ปวน เดวังซา คอดิยะห์ บินติ อะหมัด ณ เมืองบาตูกายะห์ รัฐเประก์ ทรงสำเร็จการศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม ประเทศอังกฤษ สมเด็จพระราชาธิบดี สุลต่าน อัซลัน มุฮิบบุดดิน ชาห์ ได้รับการเสนอพระนามในที่ประชุมเพื่อคัดเลือกสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซียเป็นพระองค์ที่ 9 ต่อจาก อิสกันดาร์แห่งยะโฮร์ จากทั้งหมด 9 รัฐในมาเลเซีย (ไม่รวมซาบะฮ์ ซาราวะก์ มะละกา และปีนังซึ่งไม่มีสุลต่านเป็นประมุข) ได้รับพระบรมราชาภิเษกเมื่อ วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2532 และทรงดำรงตำแหน่งจนครบวาระในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2537 สมเด็จพระราชาธิบดี สุลต่าน อัซลัน มุฮิบบุดดิน ชาห์ ทรงราชาภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชินี ประไหมสุหรี ตวนกู บัยนุน บินติ โมห์ด อาลี มีพระราชโอรสพระราชธิดาดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านอัซลัน มูฮิบบุดดิน ชาห์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม

้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน (Princess Astrid of Sweden พระนามเต็ม อัสตริด โซเฟีย โลวิซา ธือรา; 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 29 สิงหาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาในฝ่ายพระชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระราชชนนีของกษัตริย์แห่งเบลเยียมสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย เจ้าหญิงประสูติในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์เล็กในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ กับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีทรงอภิเษกกับสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ส่วนเจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งในฝ่ายพระชนนี ขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม จ่าย ฉายา ปุณฺณทตฺโต เป็นสมเด็จพระราชาคณะ เจ้าอาวาสรูปแรกของวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร และอดีตเจ้าคณะใหญ่หนใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระวันรัต (จ่าย ปุณฺณทตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)

มเด็จพระวันรัต นามเดิม เฮง ฉายา เขมจารี เป็นสมเด็จพระราชาคณะฝ่ายมหานิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าคณะใหญ่หนใต้ เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร และแม่กองบาลีสนามหลวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

มเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ. 2488 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ. 2487) ชาววังออกพระนามโดยลำลองว่า ทูลกระหม่อมชาย หรือ ทูลกระหม่อมบริพัตร ทรงดำรงตำแหน่งที่สำคัญทางการทหาร ตำแหน่งเสนาธิการทหารบก ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เสนาธิการทหารบก เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร ทรงดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังทรงพระปรีชาสามารถในงานดนตรี ทรงได้รับการขนานพระนามเป็น "พระบิดาแห่งเพลงไทยเดิม" ทรงพระนิพนธ์เพลงไทย เพลงฝรั่งและเพลงไทยเดิมไว้มากมาย ทรงนิพนธ์เพลง วอทซ์ปลื้มจิต, วอทซ์ชุมพล, สุดเสนาะ, เพลงมหาฤกษ์, เพลงพญาโศก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์

นายพลเอก มหาอำมาตย์เอก นายพลเสือป่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ (HRH Prince Yugala Dighambara, Prince of Lopburi) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา ประสูติเมื่อ วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2425 พระองค์ทรงสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในสาขาวิชารัฐศาสตร์ การปกครองและสาขาวิชาประวัติศาสตร์ เคยทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และอภิรัฐมนตรี ในรัชกาลที่ 7 พระองค์สิ้นพระชนม์วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2475 และทรงเป็นต้นราชสกุลยุคล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

ตราจารย์ (พิเศษ) พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (ประสูติ: 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน ฉบับกาญจนาภิเษก,; สิ้นพระชนม์: 2 มกราคม พ.ศ. 2551 โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร) เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า) และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (หม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา) เป็นสมเด็จพระเชษฐภคินีในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลกับพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีโครงการในพระอุปถัมภ์หลายร้อยโครงการ ทั้งด้านการศึกษา การสังคมสงเคราะห์ การแพทย์และการสาธารณสุข การต่างประเทศ การศาสนา และอื่น ๆ กับทั้งยังมีพระปรีชาสามารถด้านการเขียน ด้านการกีฬา และด้านการถ่ายภาพ พระองค์มีพระอาการผิดปกติเกี่ยวกับพระนาภี และได้เข้าประทับรักษาพระอาการประชวร ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช จนกระทั่งวันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2551 พระอาการประชวรได้ทรุดลงตามลำดับ และสิ้นพระชนม์เมื่อเวลา 02:54 นาฬิกา สิริพระชนมายุ 84 พรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย (15 ตุลาคม/16 ตุลาคม พ.ศ. 2436 - 4 เมษายน พ.ศ. 2496) ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราขอาณาจักรโรมาเนียตั้งแต่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2473 จนกระทั่ง 6 กันยายน พ.ศ. 2483 เป็นโอรสพระองค์โตใน สมเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย กับพระมเหสี สมเด็จพระราชินีมารีแห่งเอดินบะระ ซึ่งเป็นพระธิดาในเจ้าฟ้าชายอัลเฟรด ดยุคแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา ผู้ซึ่งเป็นพระโอรสพระองค์ที่สองของ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร พระองค์เป็นเชื้อพระวงศ์โรมาเนียพระองค์แรกที่ทรงทำพิธีแบ็ปติสท์ตามแบบอีสเติร์นออร์ทอด็อกซ์ มกุฎราชกุมารคาโรลทรงประสูติที่ปราสาทเปเรส ในเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสมเด็จพระเจ้าคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด

วนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด คือ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี 80 พรรษา ลำดับที่ 3 ตั้งอยู่หน้าศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ด ตำบลในเมือง อำเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด นับได้ว่าอยู่ใจกลางเมือง มีเนื้อที่ 123 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวาสมเด็จพระศรีนครินทาบรมราชชนนีพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จมาเป็นประธานเปิดสวนเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2529 หน่วยงานรับผิดชอบในการดูแลรักษา คือ เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ต้นไม้ประจำสวน คือ กันเกร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานพระพุทธยอดฟ้า

มุมสูงของสะพานพระพุทธยอดฟ้าและสะพานพระปกเกล้า สะพานพระพุทธยอดฟ้า หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (Phra Phuttha Yodfa Bridge, Memorial Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่เชื่อมการคมนาคมติดต่อระหว่างฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรีของกรุงเทพมหานคร ที่ปลายถนนตรีเพชร แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กับปลายถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสะพานพระพุทธยอดฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

สะพานไทน์

นไทน์ สะพานไทน์ (Tyne Bridge) เป็นสะพานข้ามแม่น้ำไทน์ ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอังกฤษ ระหว่างเมืองนิวคาสเซิลอัพพอนไทน์และเกตเฮดจ์ เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการเมื่อ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1928 โดยสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสะพานไทน์ · ดูเพิ่มเติม »

สัญญา ธรรมศักดิ์

ตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ (5 เมษายน พ.ศ. 2450 — 6 มกราคม พ.ศ. 2545) เคยดำรงตำแหน่งประธานศาลฎีกา, คณบดีคณะนิติศาสตร์ และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรรมการข้าราชการพลเรือนผู้ทรงคุณวุฒิ,ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ปลัดกระทรวงยุติธรรมรองประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ, ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และได้รับพระราชทานแต่งตั้งเป็นประธานองคมนตรี ถึงแก่อสัญกรรม ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2545 สิริอายุรวมได้ 94 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสัญญา ธรรมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชู

ระนิชิเนียว โชนิง สังฆนายกรูปปัจจุบันแห่งนิชิเรนโชชู ในนิกายนิชิเร็งโชชู สังฆนายก เป็นตำแหน่งของผู้นำและประมุขสุงสุดของนิกาย ซึ่งมีสานุศิษย์อยู่ทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย มีผู้นับถือส่วนมากในประเทศ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน กานา มาเลเซีย บราซิล ศรีลังกา และประเทศไทย สังฆนายกรูปปัจจุบันคือ พระนิชิเนียว โชนิง สังฆนายกรูปที่ 68.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสังฆนายกแห่งนิชิเร็งโชชู · ดูเพิ่มเติม »

สันติ์ เทพมณี

นายสันติ์ เทพมณี เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน 3 สมัย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดลำพูนคนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง และเป็นอดีตนายกเทศมนตรีเมืองลำพูน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสันติ์ เทพมณี · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

รณรัฐฟิลิปปินส์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐมอลตาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

รณรัฐมอลตา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐมอลตาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

รณรัฐลัตเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

รณรัฐลัตเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

รณรัฐลิทัวเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

รณรัฐลิทัวเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

รณรัฐแอฟริกาใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโรดีเชียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

รณรัฐโรดีเชีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐโรดีเชียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

รณรัฐไอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐไอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

รณรัฐเอสโตเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

รณรัฐเอสโตเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

รณรัฐเฮติ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสาธารณรัฐเฮติในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

สำราญ ทรัพย์นิรันดร์

ำราญ ทรัพย์นิรันดร์ (เกิด พ.ศ. 2471 -) เป็นนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ นักจัดรายการวิทยุ เจ้าของนามปากกา หลวงเมือง และเขียนคอลัมน์ทำนายโชคชะตา ในนาม หมอทรัพย์ สวนพลู สำราญ ทรัพย์นิรันดร์ เกิดที่ย่านตลาดพลู ฝั่งธนบุรี กำพร้ามารดาตั้งแต่เด็ก และอาศัยอยู่กับบิดาสองคน จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนวัดนวลนรดิศ และเรียนวิชาการหนังสือพิมพ์ภาคค่ำ ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสำราญ ทรัพย์นิรันดร์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

ำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.) เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่เป็นองค์กรเลขานุการและการบริหารงานของ "คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน" ซึ่งมีหน้าที่ในการกำกับดูแลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือน ภายใต้ "พระราชบัญญัติข้าราชการพลเรือน".

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง

ำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง เป็นหน่วยงานจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย ภายใต้การดูแลของมหาเถรสมาคม (คู่กับสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง) ซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย หน้าที่หลักคือกำหนดเปลี่ยนแปลงการใช้คัมภีร์เรียนในหลักสูตรเปรียญธรรม 1-9 ให้เหมาะสมกับชั้นเรียนของแต่ละประโยค รวมทั้งการจัดสอบประเมินผลการศึกษาบาลีระดับชาติ โดยมีสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติเป็นผู้รับสนองงาน ภายใต้การกำกับดูแลของมหาเถรสมาคม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง

ำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง (Central Dharma Testing Service Headquarters of Thailand.) คู่กับสำนักงานแม่กองบาลีสนามหลวงของคณะสงฆ์ไทย เป็นหน่วยงานภายใต้การดูแลของมหาเถรสมาคมซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของรัฐบาลไทย มีหน้าที่หลักคือดำเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษา ชั้นตรี โท เอกของชาติ และจัดให้มีการสอบไล่วัดผลประจำปีตามหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาที่เปิดสอนไปทั่วราชอาณาจักรไทยและต่างประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง · ดูเพิ่มเติม »

สึเนะซะบุโร มะกิงุชิ

Tsunesaburo Makiguchi, founder and first president of Soka Gakkai สึเนะซะบุโร มะกิงุชิ เกิดเมื่อวันที่ เกรกอเรียน 23 กรกฎาคม ปี ค.ศ. 1871 เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นนายกสมาคมสร้างคุณค่าคนแรก อุทิศชีวิตแด่สัทธรรมปุณฑรีกสูตร ทำให้สมาคมสร้างคุณค่ายืดหยัดมาจนถึงปัจจุบัน ก่อนที่จะถึงแก่มรณกรรมในเรือนจำซุงะโมะเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1944 สิริอายุ 73 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสึเนะซะบุโร มะกิงุชิ · ดูเพิ่มเติม »

สุภาว์ เทวกุล

ว์ เทวกุล เป็นนามปากกาของ สุภาว์ เทวกุล ณ อยุธยา (7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471 - 5 กันยายน พ.ศ. 2536) นักเขียนนวนิยาย และเรื่องสั้น เป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย และดำรงตำแหน่งเลขาธิการสมาคมติดต่อกันมาหลายปี และได้รับเลือกเป็นนายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย คนที่ 6 ต่อจากครูแก้ว อัจฉริยะกุล ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสุภาว์ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

สุรใจ ศิรินุพงศ์

รใจ ศิรินุพงศ์ (เกิด 23 สิงหาคม พ.ศ. 2471) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 2 สมัย และ อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสงขล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสุรใจ ศิรินุพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุธี สิงห์เสน่ห์

ตราจารย์ ดร.สุธี สิงห์เสน่ห์ (22 กรกฎาคม 2471 - 3 สิงหาคม 2556) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อดีตผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ อดีตสมาชิกวุฒิสภา อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี อดีตคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และอดีตกรรมการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสุธี สิงห์เสน่ห์ · ดูเพิ่มเติม »

สุดจิตต์ อนันตกุล

นางสุดจิตต์ อนันตกุล หรือ สุดจิตต์ ดุริยประณีต (16 กรกฎาคม พ.ศ. 2471 - 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (คีตศิลป์) พ.ศ. 2536 อดีตหัวหน้างานบันเทิงดนตรีไทย ฝ่ายกระจายเสียงในประเทศ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ อดีตหัวหน้าคณะดุริยประณีต แห่งบ้านบางลำภู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสุดจิตต์ อนันตกุล · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุกระจายเสียง

งสัญญาณวิทยุกระจายเสียง สถานีวิทยุกระจายเสียง เป็นสถานที่ของหน่วยงาน ซึ่งทำหน้าที่สื่อสารมวลชน ด้วยการใช้เครื่องส่งกระจายเสียงผ่านคลื่นวิทยุ โดยใช้เสากระจายสัญญาณ ออกไปยังผู้ฟังผ่านเครื่องรับวิท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสถานีวิทยุกระจายเสียง · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาโอลิมปิก

นามกีฬาโอลิมปิก (Olympic Stadium) เป็นชื่อที่มักจะตั้งให้กับสนามกีฬากลางขนาดใหญ่ สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน โดยตามธรรมเนียมปฏิบัติ เป็นสนามซึ่งใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด รวมถึงการแข่งขันประเภทลู่และลาน ซึ่งส่วนใหญ่มักใช้คำว่า “สนามกีฬาโอลิมปิก” เป็นส่วนหนึ่งของชื่อสนามแข่งขันเหล่านี้ อนึ่ง สนามกีฬากลางของโอลิมปิกฤดูหนาวไม่ใช้ชื่อนี้ อย่างไรก็ตาม อาคารกีฬาบางแห่งอาจใช้ชื่อนี้ก็ได้ ซึ่งมักจะใช้เป็นสถานที่ประกอบพิธีเปิดและพิธีปิด โดยสนามกีฬาโอลิมปิกแต่ละแห่ง ใช้รองรับการแข่งขันเพียงครั้งเดียว ดังนั้นจึงมีสนามกีฬาโอลิมปิกมากกว่าหนึ่งแห่ง ในเมืองซึ่งเป็นเจ้าภาพมาแล้วสองครั้งขึ้นไป ขณะที่มีเพียง โคลิเซียมอนุสรณ์แห่งลอสแอนเจลิส (Los Angeles Memorial Coliseum) แห่งเดียวที่เป็นสนามกีฬาหลักถึงสองครั้ง สำหรับพิธีเปิดและพิธีปิดการแข่งขันครั้งที่ 30 ในปี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) ไม่ได้จัดขึ้นที่สนามกีฬาเวมบลีย์ซึ่งสร้างขึ้นใหม่ ที่เคยเป็นสนามกีฬาหลักในครั้งที่ 14 เมื่อปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) แต่เป็นที่สนามกีฬาแห่งใหม่ในแขวงสแตรตเฟิร์ด อย่างไรก็ตาม เวมบลีย์คงเป็นสนามแข่งขันฟุตบอลบางนัด และกลายเป็นสนามกีฬาแห่งที่สอง ซึ่งใช้แข่งขันในโอลิมปิกสองครั้ง แต่เป็นศูนย์กลางเพียงครั้งเดียว ต่อจากสนามคริกเก็ตเมลเบิร์น ซึ่งใช้เป็นสนามแข่งขันกรีฑา ฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศ กับฮอกกีในครั้งที่ 16 เมื่อปี พ.ศ. 2499 (ค.ศ. 1956) และเป็นสนามเหย้านัดแรก ของการแข่งขันฟุตบอลในครั้งที่ 27 เมื่อปี พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสนามกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาเอลลิสปาร์ก

นามเอลลิสพาร์ก (Ellis Park Stadium) เป็นสนามกีฬา ตั้งอยู่ที่ โยฮันเนสเบิร์ก แอฟริกาใต้ เคยใช้เป็นสถานที่แข่งรักบี้ระดับโลก เปิดใช้บริการในปี พ.ศ. 2471.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสนามกีฬาเอลลิสปาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สแตนลีย์ คูบริก

สแตนลีย์ คูบริก (Stanley Kubrick) (26 กรกฎาคม ค.ศ. 1928 – 7 มีนาคม ค.ศ. 1999) เป็นผู้สร้างภาพยนตร์ทรงอิทธิพลชาวอเมริกัน-อังกฤษ นักเขียนบท ผู้สร้าง และนักถ่ายภาพ เขามีผลงานกำกับที่มักมีข้อวิพากษ์วิจารณ์ขัดแย้งอยู่หลายเรื่อง การทำงานของเขามีความละเอียดละออใส่ใจในการเลือกคัดสรร การทำงานที่เชื่องช้า และมีความหลากหลายในประเภทของภาพยนตร์ที่เขาทำ เขานิยมใช้ชีวิตอย่างสันโดษในชีวิตส่วนตัว หมวดหมู่:ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน หมวดหมู่:ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายยิว หมวดหมู่:บุคคลจากแมนแฮตตัน หมวดหมู่:บุคคลจากมณฑลฮาร์ทฟอร์ดเชอร์ หมวดหมู่:เสียชีวิตจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หมวดหมู่:ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวอเมริกัน หมวดหมู่:นักเขียนบทชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสแตนลีย์ คูบริก · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรกีฬาเลกาเนส

ลับ เดปอติโบ เลกาเนส เอสเอดี เป็นสโมสรฟุตบอลในเมืองเลกาเนส แคว้นมาดริด ประเทศสเปน ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 1928 ปัจจุบันเล่นอยู่ในลาลีกา มีสนามเหย้าคือ บรูตาเค้ มีความจุ 8,138 ที่นั่ง โดยมีสีหลักคือขาว - น้ำเงิน be-tarask:Леганэс (футбольны клюб).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และสโมสรกีฬาเลกาเนส · ดูเพิ่มเติม »

ส้วมในประเทศไทย

้วมชักโครกของส้วมสาธารณะ ในประเทศไทย ส้วมในประเทศไทย มีมาแต่โบราณ โดยในสมัยก่อน ผู้ที่ใช้ส้วมแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มของกษัตริย์ เจ้านาย ขุนนางและผู้มีฐานะดี กลุ่มของพระที่อยู่ภายใต้พระธรรมวินัย กลุ่มของชาวบ้านที่เป็นคนส่วนใหญ่ในสังคม โดยกลุ่มชาวบ้านมักจะไปถ่ายทุกข์ตามที่เหมาะ ๆ เนื่องจากยังไม่มีส้วมใช้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2440 รัฐได้ออก มีผลบังคับให้คนไทยต้องขับถ่ายในส้วม กระทั่งช่วงปี พ.ศ. 2460-2471 ประเทศไทยได้รับความช่วยเหลือทางการแพทย์และสาธารณสุขจากมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลเอกชนของสหรัฐอเมริกา โดยส่งเสริมให้มีการสร้างส้วมในจังหวัดต่าง ๆ และยังเกิดการประดิษฐ์คิดค้นส้วมรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับท้องถิ่นของไทย เช่น "ส้วมหลุมบุญสะอาด" ที่มีกลไกป้องกันปัญหาการลืมปิดฝาหลุมถ่ายและส้วมคอห่านที่ใช้ร่วมกับระบบบ่อเกรอะบ่อซึม ต่อมาเริ่มมีผู้ใช้ส้วมชักโครกมากขึ้นในช่วงที่มีการก่อสร้างบ้านแบบสมัยใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง กระทั่งต้นพุทธทศวรรษ 2500 โถส้วมชนิดนี้ก็ได้รับความนิยม มีผู้ใช้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนในปัจจุบัน จากอดีตที่ผ่านมาส้วมสาธารณะในประเทศไทยเป็นปัญหาพื้นฐานที่สำคัญทางด้านสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย และทางกรมอนามัยเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดำเนินการในเรื่องนี้ มีการสำรวจและประเมินผลมาตรฐานส้วมสาธารณะ พบว่าส้วมสาธารณะในประเทศไทยผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่มาก ในปี พ.ศ. 2549 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ งานประชุมส้วมโลก 2006 หรือ World Toilet Expo & Forum 2006 ซึ่งถือเป็นจุดสำคัญในการพัฒนาส้วมสาธารณะ และมีโครงการหลายโครงการเกี่ยวกับส้วมสาธารณะอีกหลายโครงการ ประเทศไทยได้ใช้มาตรการหลายอย่าง รวมทั้งมาตรการทางกฎหมายซึ่งมีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับส้วม ปรากฏอยู่ในกฎหมายหลายฉบับที่เริ่มมีการออกพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 ซึ่งถือเป็นกฎหมายฉบับแรกเกี่ยวกับการสุขาภิบาลของคนกรุงเทพฯ และต่อมาได้ออกกฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 รวมถึงกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และส้วมในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์แสงสูรย์ ลดาวัลย์

หม่อมราชวงศ์แสงสูรย์ ลดาวัลย์ (5 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2536) เป็นโอรสคนสุดท้ายของหม่อมเจ้าเพิ่ม ลดาวัลย์ กับหม่อมหวาน เป็นน้องชายต่างมารดาของเจ้าจอมหม่อมราชวงศ์สดับ ในรัชกาลที่ 5 เข้ารับราชการในกรมวัง กระทรวงวัง เมื่อปี พ.ศ. 2471 จนเกษียณอายุเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และหม่อมราชวงศ์แสงสูรย์ ลดาวัลย์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล

ตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล (24 ตุลาคม พ.ศ. 2446 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2538) บุคคลสำคัญของโลกและศิลปินแห่งชาติ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาลัยวิชาการศึกษาและผู้ก่อตั้งโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าปิยะภักดีนาถ สุประดิษฐ์

มหาอำมาตย์โท หม่อมเจ้าปิยะภักดีนาถ สุประดิษฐ์ (15 มกราคม พ.ศ. 2400 - 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุประดิษฐ์ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร และเป็นพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หม่อมเจ้าปิยะภักดีนาถ สุประดิษฐ์ ประสูติเมื่อ 15 มกราคม พ.ศ. 2400 ต่อมาในรัชกาลที่ 6 ได้เข้ารับราชการในกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ มียศเป็นมหาอำมาตย์โท ทรงเริ่มรับราชการตำแหน่ง เสมียนเอก กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ แล้วเป็นนายเวร ต่อมาเป็นผู้ช่วยตรวจบัญชีกลาง,เลขานุการเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ,อธิบดีกรมสรรพภาษี,อธิบดีกรมเก็บ และตำแหน่งสุดท้ายในราชการคือ ปลัดทูลฉลองกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และหม่อมเจ้าปิยะภักดีนาถ สุประดิษฐ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช

อำมาตย์เอก หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2472) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ กับหม่อมอุ่ม ทรงเข้าพิธีเกศากันต์ ณ วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2432 หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช ทรงเข้ารับราชการเป็นเลขานุการมณฑลอิสาณ พ.ศ. 2443 เป็นปลัดจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2454 รับพระราชทานยศเป็นรองอำมาตย์โท ผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2456 เลื่อนยศเป็นอำมาตย์โท ผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง พ.ศ. 2467 ผู้ว่าราชการจังหวัดสวรรคโลก พ.ศ. 2470 อำมาตย์เอก ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2471 หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช ประชวรโรคเส้นโลหิตในสมองแตก ถึงชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2472 สิริชันษาได้ 51 ปี ได้รับพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และหม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช · ดูเพิ่มเติม »

หลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา)

ตราจารย์พรต เดชา หรือ อำมาตย์โท ศาสตราจารย์ หลวงพรตพิทยพยัต (Luang Brata) เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438 เป็นอาจารย์ชาวไทย เริ่มดำรงตำแหน่งเป็นอาจารย์พิเศษสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พรตเคยดำรงตำแหน่งสำคัญทางการศึกษาเป็นคณบดีคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และหลวงพรตพิทยพยัต (พรต เดชา) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และหลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม · ดูเพิ่มเติม »

หลี่ เผิง

หลี่ เผิง (ภาษาจีน: 李鹏, 李鵬, พินอิน: Lĭ Péng) เกิดเดือนตุลาคม พ.ศ. 2471 เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน คนที่ 4 ระหว่าง พ.ศ. 2530 - พ.ศ. 2541 และประธานสภาประชาชนแห่งชาติจีน ระหว่าง พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2546 ในช่วงเวลาที่ดำรงตำแหน่งถือว่าเป็นบุคคลผู้มีอำนาจเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากประธานาธิบดีเจียง เจ๋อหมินเท่านั้น หลี่ เผิงเกิดที่เมืองเฉิงตู มณฑลเสฉวน ภายหลังเขาได้เป็นบุตรบุญธรรมของนายกรัฐมนตรีโจวเอินไหล ซึ่งเป็นรัฐมนตรีคนแรก เขาสืบทอดตำแหน่งนายกรัฐมนตรีจากจ้าว จื่อหยาง ดำรงตำแหน่งเป็นเวลา 11 ปี ก่อนจะส่งมอบให้กับจู หรงจี หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีจีน ผ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และหลี่ เผิง · ดูเพิ่มเติม »

อัลฟาโรเมโอ

อัลฟาโรเมโอ (Alfa Romeo) ในนามบริษัท Alfa Romeo Automobiles S.p.A. บางครั้งก็นิยมเรียกชื่อสั้นๆเข้าใจง่ายว่า "อัลฟา" เป็นผู้ผลิตรถยนต์สัญชาติอิตาลี แห่งเมืองมิลาน ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1910 สร้างชื่อเสียงมาจากการผลิตรถสปอร์ตราคาแพง และการแข่งขันกีฬามอเตอร์สปอร์ต ปัจจุบันอยู่ภายใต้การครอบครองของ FCA Italy S.p.A. ในเครือบริษัท Fiat Chrysler Automobiles, NV.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และอัลฟาโรเมโอ · ดูเพิ่มเติม »

อาเรียล ชารอน

อาเรียล ชารอน (Ariel Sharon, אֲרִיאֵל שָׁר‏וֹן, أرئيل شارون) เกิดเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอิสราเอล เป็นคนที่ 11 ต่อจากเอฮุด บารัค ตั้งแต่วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2544 จนถึงวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2549 หลังจากที่เขาได้เกิดอาการภาวะเลือดคั่งในสมอง เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2549 โดยเอฮุด โอลเมิร์ตได้รักษาการแทน หลังจากอยู่ในสภาพผักเรื้อรังกว่าแปดปี อาเรียลถึงแก่อสัญกรรมจากภาวะไตวายเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2557 ด้วยอายุ 85 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และอาเรียล ชารอน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอบ้านไผ่

อำเภอบ้านไผ่ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดขอนแก่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และอำเภอบ้านไผ่ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนนทบุรี

มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และอำเภอเมืองนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อิกอร์ สตราวินสกี

อิกอร์ เฟโดโรวิช สตราวินสกี้ (И́горь Фёдорович Страви́нский; Igor Stravinsky; 17 มิถุนายน ค.ศ. 1882 — 6 เมษายน ค.ศ. 1971)) เป็นคีตกวีดนตรีคลาสสิกสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาวรัสเซีย สตราวินสกี้ ราวปี 1950 สตราวินสกี้เป็นบุตรชายของนักร้องชื่อดังแห่งโรงละครหลวง เขาเกิดที่เมืองออรานีนบาม (Oranienbaum) ซึ่งตอนนี้เปลี่ยนเป็นชื่อ โลโมโนซอฟ (Lomonosov) ใกล้กับนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย เขาเรียนด้านกฎหมายกับเปียโน ก่อนที่จะมาเป็นศิษย์ของนิโคไล ริมสกี้-คอร์ซาคอฟ บทเพลงชื่อดังชิ้นแรกของเขาได้แก่ วิหคเพลิง (ค.ศ. 1910 ด้วยการจ้างของแซร์จ เดียกิเลฟ เพื่อใช้แสดงในคณะบัลเลต์รัสเซีย ตามมาด้วยเพลง เปทรูชก้า (ค.ศ. 1911) พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ (ค.ศ. 1913) และอุปรากร เรื่อง นกไนติงเกล (ค.ศ. 1914) มีเรื่องที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากเกี่ยวกับบัลเลต์เรื่อง พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ ทั้งจากท่าเต้น และความไม่เหมือนใครของดนตรีประกอบ ทำให้สตราวินสกี้กลายเป็นคีตกวี ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 สตราวินสกี้เสียชีวิตที่นิวยอร์ก ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานซาน มิเชลในนครเวนิซ ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และอิกอร์ สตราวินสกี · ดูเพิ่มเติม »

อินโดเนซียารายา

อินโดเนซียารายา (สะกดอย่างเก่า: "Indonesia Raja"; สะกดอย่างปัจจุบัน: "Indonesia Raya", แปลว่า อินโดนีเซียอันยิ่งใหญ่) เป็นชื่อของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย ประพันธ์โดยวาเก รูดอล์ฟ ซูปรัตมัน ซึ่งได้นำเสนอครั้งแรกในงานสันนิบาตยุวชนแห่งชาติครั้งที่ 2 ที่เมืองปัตตาเวีย (ปัจจุบันคือจาการ์ตา เมืองหลวงของประเทศอินโดนีเซีย) เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2471 (ค.ศ. 1928) เพื่อใช้เป็นเพลงประจำพรรคชาตินิยมอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชจากเนเธอร์แลนด์ ต่อมาเมื่ออินโดนีเซียประกาศเอกราชในวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) เพลงนี้จึงได้รับเลือกให้ใช้เป็นเพลงชาติอินโดนีเซียสืบมาจนถึงทุกวันนี้ ภายหลังคีตกวีชื่อ โจเซฟ เคลเบอร์ ได้เรียบเรียงดนตรีเพลงนี้ใหม่ สำหรับใช้บรรเลงด้วยวงดนตรีฟิลฮาร์โมนิกออร์เคสตรา เมื่อ พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และอินโดเนซียารายา · ดูเพิ่มเติม »

อีเลฟเทริออส เวนิเซลอส

อีเลฟเทริออส เวนิเซลอส (Eleftherios Venizelos; ชื่อเต็ม: อีเลฟเทรีออส คีรีอาคู เวนิเซลอส;Elefthérios Kyriákou Venizélos, กรีก: Ἐλευθέριος Κυριάκου Βενιζέλος; 23 สิงหาคม ค.ศ. 1864 - 18 มีนาคม ค.ศ. 1936) เป็นผู้นำชาวกรีกที่ประสบความสำเร็จในขบวนการปลดปล่อยชาติกรีกและเป็นรัฐบุรุษที่มีเสน่ห์ในช่วงยุคต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นที่จดจำจากการส่งเสริมนโยบายแนวเสรีนิยมประชาธิปไตยKitromilides, 2006, p. 178, Time, Feb.18,1924 เขาได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีแห่งกรีซหลายสมัย โดยดำรงตำแหน่งระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และอีเลฟเทริออส เวนิเซลอส · ดูเพิ่มเติม »

องค์การนิทรรศการนานาชาติ

องค์การนิทรรศการนานาชาติ (Bureau of International Expositions; Bureau International des Expositions, บูโรแองแตร์นาชียงนาลเดแซ็กซ์โปซีชียง; ย่อ: BIE) ภาษาปากว่า "สำนักงานมหกรรมโลก" เป็นองค์การระหว่างประเทศ ก่อตั้งขึ้นตามอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดแสดงนิทรรศการนานาชาติ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 เพื่อดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดนิทรรศการระดับนานาชาติ ปัจจุบัน มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงปารีส และมีประเทศสมาชิก 170 ประเท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และองค์การนิทรรศการนานาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ฮุสนี มุบาร็อก

นี มุบาร็อก หรือชื่อเต็มว่า มุฮัมมัด ฮุสนี ซัยยิด มุบาร็อก (محمد حسني سيد مبارك‎,; Muhammad Hosni Sayyid Mubarak) ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 4 แห่งสาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ เคยดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดี ในปี ค.ศ. 1975 ในสมัยประธานาธิบดี อันวัร อัสซาดาต และเข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดี เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1981 จนกระทั่งลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 หลังจากการประท้วงนาน 18 วัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และฮุสนี มุบาร็อก · ดูเพิ่มเติม »

จรูญ สืบแสง

รูญ สืบแสง จรูญ สืบแสง อดีตนักการเมืองชาวไทย และหนึ่งในคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 นายจรูญ เกิดเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 ที่ตำบลอาเนาะรู อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรของขุนวรเวชวิชกิจ (ซุ้ย สืบเแสง) และนางอุ่น สืบแสง มีศักดิ์เป็นน้องชายของนายเจริญ สืบแสง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) จังหวัดปัตตานี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 จากโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี, มัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย และมัธยมศึกษาปีที่ 8 จากโรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2466 และสำเร็จการศึกษาได้รับเกษตรศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์แห่งลอส บานอส ประเทศฟิลิปปินส์ พ.ศ. 2470 นายจรูญ เริ่มรับราชการเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 ในตำแหน่งผู้ช่วยผู้อำนวยการเพาะปลูก กรมเพาะปลูก กระทรวงเกษตราธิการ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และจรูญ สืบแสง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)

ักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Empress Maria Feodorovna of Russia) พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติคือ เจ้าหญิงดักมาร์แห่งเดนมาร์ก (พระนามรูปเต็ม มารี โซฟี เฟรเดริคเค ดักมาร์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2390 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระจักรพรรดินีมเหสีแห่งรัสเซีย เจ้าหญิงดักมาร์เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และสมเด็จพระราชินีหลุยส์แห่งเฮสส์ - คาสเซิล หลังอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย จึงทรงได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีมเหสี หรือ ซาริน่าแห่งรัสเซีย ด้วยพระนามใหม่หลังจากการเข้ารีตในศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซียว่า มารีเยีย ฟอโดรอฟนา (อักษรซีริลลิก: Mapия Фёдopoвна) พระราชโอรสพระองค์โตของพระองค์คือ สมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย องค์พระประมุขรัสเซีย พระองค์สุดท้ายที่พระจักรพรรดินีทรงดำรงพระชนม์ชีพยืนยาวกว่าเป็นเวลาสิบปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีโคจุง

ักรพรรดินีโคจุง (6 มีนาคม พ.ศ. 2446 – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2543) พระนามเดิม เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระราชมารดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ถือเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นDowner, Lesely.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และจักรพรรดินีโคจุง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2532 (63 ปี) ในตอนต้นรัชสมัยของพระองค์ จักรวรรดิญี่ปุ่นในขณะนั้น ได้กลายเป็นชาติมหาอำนาจของโลกแล้ว ด้วยขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก จักรพรรดิฮิโระฮิโตะทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น ในรัชสมัยของพระองค์ ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งทำให้ในห้วงเวลานั้น จักรวรรดิญี่ปุ่นแผ่อำนาจและดินแดนไปทั่วเอเชียบูรพาโดยที่ไม่มีชาติใด ๆ จะสามารถต้านทาน ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงบนความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น พระองค์ไม่ได้ถูกดำเนินคดีในข้อหาอาชญากรสงครามดังเช่นผู้นำคนอื่น ๆ ของชาติฝ่ายอักษะ และภายหลังสงคราม พระองค์ทรงเป็นสัญลักษณ์ของรัฐใหม่ในการกอบกู้ประเทศชาติที่ได้รับความเสียหายจากสงคราม ในตอนปลายรัชกาล ประเทศญี่ปุ่นก็สามารถกลับมายืนหยัดในฐานะชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และจักรพรรดิโชวะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรยานยนต์

Crocker ปี 1941 จักรยานยนต์ยามาฮ่า จักรยานยนต์ หรือ มอเตอร์ไซค์ (motorcycle หรือ motorbike) คือยานพาหนะสองล้อที่ใช้เครื่องยนต์หรือมอเตอร์ในการขับเคลื่อน ประเภทของจักรยานยนต์ขึ้นอยู่กับลักษณะการออกแบบใช้งาน เช่น ระยะทาง สภาพจราจร การท่องเที่ยว กีฬา และ การแข่งขัน เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และจักรยานยนต์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย นักการปกครอง และนักเขียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และจำนง เทพหัสดิน ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

จู หรงจี้

ู หรงจี้ เกิดวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2471 เป็นนายกรัฐมนตรีของสาธารณรัฐประชาชนจีน คนที่ 9 ดำรงตำแหน่งระหว่าง พ.ศ. 2541 - พ.ศ. 2546 จูหรงจีเคยเป็นนายกเทศมนตรีนครเซี่ยงไฮ้ระหว่าง พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2534 และได้รับการสนับสนุนจากเจียง เจ๋อหมินกับหลี่ เผิง ประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลานั้น จู หรงจี้มีเชื้อสายจากราชวงค์หมิง แต่ทว่าเองไม่เคยประกาศอ้างสิทธิในราชสมบัติ ซึ่งสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิหงหวู่ (จูหยวนจาง).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และจู หรงจี้ · ดูเพิ่มเติม »

จู้อิน

ู้อินพื้นฐาน เทียบกับพินอิน จู้อิน หรือ จู้อินฝูเฮ่า (แปลว่า เครื่องหมายกำกับเสียง) เป็นระบบสัทอักษรสำหรับการถอดเสียงในภาษาจีน โดยเฉพาะภาษาจีนกลาง เป็นระบบกึ่งพยางค์ที่มีใช้อย่างกว้างขวางในสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ประกอบด้วยอักษร 37 ตัวและวรรณยุกต์ 4 ตัว ซึ่งเพียงพอที่จะใช้ถอดเสียงที่เป็นไปได้ในภาษาจีนกลาง ถึงแม้ว่าจู้อินจะถูกจัดว่าเป็นชุดตัวอักษร (alphabet) อย่างหนึ่ง ระบบนี้ก็ไม่ได้ประกอบด้วยพยัญชนะกับสระ แต่ประกอบด้วยต้นพยางค์ (syllable onset) กับสัมผัสพยางค์ (syllable rime) ระบบนี้มีพื้นฐานจากตารางสัมผัส (rime table) ของภาษาจีน แต่ใช้เครื่องหมายเสริมสัทอักษร (diacritics) แทนเสียงวรรณยุกต์แยกออกจากเสียงสัมผัส ในฐานะชุดตัวอักษร พยัญชนะต้นพยางค์มีอักษรใช้แทน 21 ตัว ที่เหลือเป็นสระเดี่ยว สระประสม และสระที่มีพยัญชนะสะกดซึ่งใช้อักษรแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น luan จะเขียนเป็น ㄌㄨㄢ (l-u-an) ซึ่งอักษรตัวสุดท้ายใช้แทนสระที่มีพยัญชนะสะกด -an ทั้งชุด เป็นต้น (อย่างไรก็ตาม พยัญชนะสะกด -p, -t, -k ไม่มีการใช้ในภาษาจีนกลาง แต่มีในสำเนียงอื่น สามารถเขียนเป็นตัวห้อยของพยัญชนะเหล่านี้หลังเสียงสระแทน) ในภาษาพูดทุกวันนี้ จู้อินมักถูกเรียกว่า ปอพอมอฟอ (ㄅㄆㄇㄈ: bopomofo) ซึ่งเป็นอักษรชุดแรกในระบบนี้ เอกสารอย่างเป็นทางการในบางโอกาสจะเรียกว่า Mandarin Phonetic Symbols I (國語注音符號第一式) หรือย่อเป็น MPS I (注音一式) ซึ่งชื่อนี้ไม่ค่อยปรากฏการใช้ในภาษาอื่น เลขโรมันที่ปรากฏหลังชื่อมีไว้เพื่อแยกแยะออกจากระบบ MPS II ที่คิดค้นขึ้นในยุคเดียวกันแต่ไม่มีการใช้งานแล้วในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และจู้อิน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐจีน

งชาติสาธารณรัฐจีน เป็นสัญลักษณ์ของสาธารณรัฐจีนซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีตั้งแต่สมัยที่สาธารณรัฐจีนยังอยู่บนจีนแผ่นดินใหญ่ กระทั่งภายหลังได้ตั้งมั่นอยู่ที่เกาะไต้หวันนับแต่ พ.ศ. 2492 พรรคก๊กมินตั๋งได้เริ่มใช้ธงดังกล่าวเป็นครั้งแรกในจีนแผ่นดินใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2460 และใช้เป็นธงชาติสาธารณรัฐจีนอย่างเป็นทางการนับตั้งแต่ พ.ศ. 2471 ธงนี้มีชื่อเรียกในภาษาจีนว่า ชิงเทียน ไป๋รื่อ หม่านตี้ หงฉี แปลว่า ธงท้องฟ้าสีคราม ตะวันสาดส่อง ปฐพีแดง แผ่นดินอุดม และมีชื่อที่รู้จักกันดีในภาษาอังกฤษว่า "Blue Sky, White Sun, and a Wholly Red Earth".

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และธงชาติสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอัฟกานิสถาน

งชาติสาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน แบบปัจจุบันนี้ ประกาศใช้ในสมัยรัฐบาลชุดถ่ายโอนอำนาจของรัฐอิสลามของอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2547) ลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวตั้ง เป็นสีดำ-แดง-เขียว กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน กลางธงมีรูปตราแผ่นดินของอัฟกานิสถาน ในลักษณะภาพลายเส้นสีขาว ลักษณะของธงชาติยุคนี้ คล้ายคลึงกับธงชาติในสมัยราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน ช่วง พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2516 โดยมีความแตกต่างสำคัญที่มีการบรรจุภาพอักษรที่เรียกว่า ชะฮาดะฮ์ เป็นข้อความซึ่งแปลเป็นภาษาไทยได้ว่า "ข้าพเจ้านับถือว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกเหนือจากอัลลอหฺ และศาสดามุฮัมมัดคือ​ศาสนทูตแห่งอัลลอหฺ" ที่ตอนบนของภาพตรา วันที่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการคือวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2547 ในยุดก่อนสมัยการปกครองของกลุ่มตอลิบานและแนวร่วมอิสลามเพื่อการปลดปล่อยอัฟกานิสถาน ธงชาติในยุคนี้มีการใช้ภาพตราแผ่นดินแบบเดียวกับกับธงยุคปัจจุบัน แต่แถบสีนั้นเป็นแถบสีดำ-ขาว-เขียว เรืยงแถบสีธงตามแนวนอน ประเทศอัฟกานิสถาน ถือได้ว่าเป็นประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบธงชาติในสมัยต่างๆ ตลอดช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 มากครั้งที่สุด มากกว่าชาติอื่นใดในโลกนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และธงชาติอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอินโดนีเซีย

งชาติอินโดนีเซีย หรือ ซังเมราห์ปูติห์ (Sang Merah Putih, สีแดง-ขาว) เป็นธงที่มีต้นแบบมาจากธงประจำอาณาจักรมัชปาหิตในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นสองส่วนตามแนวนอน ครึ่งบนสีแดง หมายถึงความกล้าหาญและอิสรภาพ ครึ่งล่างสีขาว หมายถึงความบริสุทธิ์ยุติธรรม ธงนี้มึความคล้ายคลึงกับธงชาติโปแลนด์และธงชาติสิงคโปร์ และเหมือนกับธงชาติโมนาโกเกือบทุกประการ แต่ต่างกันที่สัดส่วนธงเท่านั้น ธงฉานอินโดนีเซียซึ่งธงผืนนี้ใช้โดยกองทัพเรืออินโดนีเซีย จากภาพธงนี้ชักขึ้นที่เสาธงฉานหน้าหัวเรือรบ ธงผืนนี้มีลักษณะเป็นธงลายแถบแดงและขาว9แ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และธงชาติอินโดนีเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติจอร์แดน

งชาติจอร์แดน (علم الأردن) เป็นธงที่ดัดแปลงลักษณะมาจากธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ ซึ่งใช้เป็นสัญลักษณ์ในการต่อต้านจักรวรรดิออตโตมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นเป็นแถบสีดำ สีเขียว และสีขาว แบ่งตามแนวนอนของธง ความกว้างเท่ากันทุกแถบ ที่ด้านคันธงนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วสีแดง ภายในรูปนั้นมีดาวเจ็ดแฉกสีขาว 1 ดวง สีของธงนี้ทั้งหมดเป็นสีพันธมิตรอาหรับ ในธงนี้ แถบสีดำหมายถึงแคว้นกาหลิบอับบาซิด (Abbasid Caliphate) แถบสีเขียวหมายถึงแคว้นกาหลิบอูมายยัด (Umayyad Caliphate) แถบสีขาว หมายถึง แคว้นกาหลิบฟาติมิด (Fatimid Caliphate) รูปสามเหลี่ยมสีแดงหมายถึงอาณาจักรฮัชไมต์ (Hashemite) และการปฏิวัติอาหรับ ดาวเจ็ดแฉกสีขาว ซึ่งเป็นสิ่งเดียวที่ทำให้แยกความแตกต่างของธงนี้จากธงชาติปาเลสไตน์ได้ มีความหมายอยู่ 2 นัย นัยหนึ่งหมายถึงบทสวดในซูเราะฮ์ 7 บทแรกในพระคัมภีร์อัลกุรอาน อีกนัยหนึ่งหมายถึงความสามัคคีของชนชาวอาหรับ ทั้งนี้ ส่วนหนึ่งยังเชื่อกันว่าดาวนี้หมายถึงเนินเขา 7 ลูกซึ่งอยู่ในที่ตั้งของกรุงอัมมาน เมืองหลวงของประเทศ ธงนี้เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2460 เพื่อใช้เป็นสัญลักษณ์ของความเป็นอาหรับ ต่อมาจึงได้เพิ่มรูปดาวลงในธงเมื่อปี พ.ศ. 2471 เมื่อสหราชอาณาจักรได้มอบเอกราชบางส่วนแก่ประเทศจอร์แดน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และธงชาติจอร์แดน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติแอลจีเรีย

งชาติแอลจีเรีย (علم الجزائر; Drapeau de l' Algérie) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ภายในแบ่งครึ่งเป็น 2 แถบตามแนวตั้ง ครึ่งซ้ายพื้นสีเขียว ครึ่งขวาพื้นสีขาว ที่กลางธงประดับด้วยรูปเดือนเสี้ยวและดาว แต่เดิมรัฐบาลเฉพาะกาลของแอลจีเรียได้ใช้ธงชาติในรูปลักษณ์ที่ใกล้เคียงกับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน (มีความแตกต่างกันที่แถบสีขาวมีความกว้างมากกว่าแถบสีเขียว) ก่อนที่จะได้มีการปรับปรุงแก้ไขและยอมรับเป็นธงชาติแอลจีเรียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1962 ความหมายของสัญลักษณ์ในธงมีดังนี้ สีเขียวหมายถึงธรรมชาติ สีขาวหมายถึงสันติภาพ สีแดงหมายถึงเลือดของผู้ที่เสียชีวิตในสงครามประกาศเอกราชจากฝรั่งเศส (ระหว่างปี ค.ศ. 1954 - 1962) รูปจันทร์เสี้ยวและดาวหมายถึงศาสนาอิสลาม ซึ่งเป็นศาสนาของชนส่วนใหญ่ในประเทศ บรรดาเรือต่างๆ ในบังคับของแอลจีเรียจะใช้ธงชาติเป็นธงประจำเรือ เว้นแต่เรือในสังกัดกองทัพเรือจะชักธงนาวี ซึ่งมีการเพิ่มเติมรูปสมอคู่สีแดงไขว้ไว้ที่มุมธงบนด้านคันธง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และธงชาติแอลจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารแห่งประเทศจีน

และธนาคารกลางแห่งประเทศจีน ธนาคารแห่งประเทศจีนจำกัด (หุ้นฮ่องกง) (หรือเขียนเป็นตัวย่อว่า 中行; Bank of China หรือ BOC) คือหนึ่งในสี่ธนาคารพาณิชย์ใหญ่ที่รัฐบาลจีนเป็นเจ้าของ ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และธนาคารแห่งประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี

นนกรุงเทพฯ-นนทบุรี (Thanon Krung Thep - Nonthaburi) เป็นถนนเชื่อมระหว่างพื้นที่เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร กับอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มีระยะทางเริ่มต้นจากถนนประชาราษฎร์ สาย 2 (ทางแยกเตาปูน) ในพื้นที่แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ ตรงไปทางทิศเหนือ ตัดผ่านทางรถไฟสายใต้ เข้าพื้นที่แขวงวงศ์สว่าง จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนวงศ์สว่าง (ทางแยกวงศ์สว่าง) ข้ามคลองบางเขนเข้าสู่เขตตำบลบางเขน อำเภอเมืองนนทบุรี ข้ามคลองบางตะนาวศรีเข้าเขตตำบลตลาดขวัญ และไปสิ้นสุดที่จุดตัดระหว่างถนนสายนี้กับถนนติวานนท์และถนนนครอินทร์ (ทางแยกติวานนท์) โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนประชาราษฎร์ ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีเป็นถนนขนาด 4 ช่องทางจราจร (เกาะกลางเป็นที่ตั้งของรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม) ระยะทางรวม 5.358 กิโลเมตร ความกว้างประมาณ 25 เมตร ตัดขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นเพื่อตัดถนนเชื่อมคมนาคมกรุงเทพพระมหานครกับจังหวัดนนทบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2474 โดยมีแนวเส้นทางเริ่มจากถนนพระรามที่ 5 (แต่เมื่อก่อสร้างจริงนั้นเริ่มที่ถนนประชาราษฎร์ สาย 2) ไปถึงบริเวณเหนือวัดลานวัว ทั้งนี้เพื่อให้การจราจรทางบกระหว่างสองจังหวัดรวดเร็วยิ่งขึ้น หลังจากเมื่อปี พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศาลากลางจังหวัดนนทบุรีจากปากคลองบางซื่อลงมาตั้งที่ตำบลบางขวาง รวมทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือนจำมหันตโทษกลางขึ้นที่นั่นด้วย ในปีต่อมา (พ.ศ. 2475) พระองค์โปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนสายนี้รวมกับถนนที่มาจากตัวจังหวัดนนทบุรีถึงวัดลานวัวว่า ถนนประชาราษฎร์ จนกระทั่งภายหลังได้มีการเปลี่ยนชื่อถนนช่วงทางแยกเตาปูนถึงทางแยกติวานนท์เป็น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ปัจจุบันถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีในเขตบางซื่ออยู่ในการดูแลของสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร มีระยะทาง 3.617 กิโลเมตร ส่วนช่วงที่อยู่ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรีนั้นถือเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 301 สายคลองบางเขน - ติวานนท์ และเป็นเขตควบคุมของหมวดทางหลวงนนทบุรี แขวงทางหลวงนนทบุรี (หน่วยงานของกรมทางหลวง) ระยะทาง 1.741 กิโลเมตร อนึ่ง การใช้ชื่อซอยย่อยของถนนระหว่างสองพื้นที่ยังมีความแตกต่างกันอีกด้วย กล่าวคือ กรุงเทพมหานครใช้ชื่อซอยว่า "กรุงเทพ-นนทบุรี" ฝั่งขาออก (ฝั่งซอยเลขคี่) มี 24 ซอย และฝั่งขาเข้า (ฝั่งซอยเลขคู่) มี 31 ซอย ส่วนเทศบาลนครนนทบุรีจะเริ่มนับตัวเลขใหม่เมื่อเข้าเขตจังหวัดนนทบุรี โดยใช้ชื่อซอยว่า "กรุงเทพนนท์" ฝั่งขาออกมี 8 ซอย และฝั่งขาเข้ามี 7 ซอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

ถนนวิสุทธิกษัตริย์

นนวิสุทธิกษัตริย์ (Thanon Wisut Kasat) เริ่มต้นตั้งแต่ถนนราชดำเนินนอก (สี่แยก จ.ป.ร.) ในท้องที่แขวงบางขุนพรหมและแขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนประชาธิปไตย (สี่แยกวิสุทธิกษัตริย์) และถนนสามเสน (สี่แยกบางขุนพรหม) จนถึงท่าเรือสะพานพระราม 8 (บางขุนพรหม) ในท้องที่แขวงวัดสามพระยา ถนนวิสุทธิกษัตริย์เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ สร้างขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศล พระราชทานสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล กรมหลวงวิสุทธิกษัตริย์ พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี และเป็นพระขนิษฐาร่วมพระชนนีเดียวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งสิ้นพระชนม์ขณะพระชันษา 9 ปี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อถนนว่า ถนนวิสุทธิกษัตริย์ การตัดถนนวิสุทธิกษัตริย์นี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริว่า แต่เดิมการสร้างถนนต้องใช้พระราชทรัพย์ในการก่อสร้าง รวมทั้งการดูแลรักษา การตัดถนนในกรุงเทพฯ มักผ่านไปในเขตที่มีเจ้าของถือที่ดินอยู่ ถนนผ่านไปในที่ใดเจ้าของที่ดินย่อมได้รับประโยชน์เรื่องราคาที่ดินที่เพิ่มสูงขึ้น จึงสมควรให้เจ้าของที่ดิน ซึ่งถือครองที่ดินอยู่ตามแนวถนนซึ่งจะตัดผ่านช่วยกันออกทุนในการทำถนน เว้นแต่ผู้ที่ต้องเสียที่ดินทั้งหมดจนไม่ได้รับประโยชน์ในการตัดถนน ควรได้รับประโยชน์ราคาที่ดินของตนเป็นค่าเสียหาย โดยโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติสร้างถนนหลวงภายในบริเวณกรุงเทพฯ ขึ้นใน พ.ศ. 2447 (ร.ศ. 123) สำหรับการสร้างถนนวิสุทธิกษัตริย์ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ “ประกาศการสร้างถนนวิสุทธิ์กระษัตริย์” ว่า ที่ดินตำบลบางขุนพรหมและหลังวัดมกุฏกษัตริย์ สมควรจะตัดเป็นถนนใหญ่ให้เดินไปมาติดต่อกันได้ ตั้งแต่วงเวียนบางขุนพรหม ตัดตรงไปทางหลังวัดมกุฏกษัตริยาราม ออกถนนราชดำเนินนอก ต่อมาใน พ.ศ. 2471 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนจากวิสุทธิกษัตริย์ต่อจากที่ตัดไว้แต่เดิม ตั้งแต่แม่น้ำเจ้าพระยา มาบรรจบถนนสามเสน ตำบลบางขุนพรหม โดยตัดผ่านเข้าไปในตำบลบางขุนพรหม บริเวณถนนวิสุทธิ์กษัตริย์จนถึงสี่แยกวิสุทธิ์กษัตริย์ถือได้ว่าเป็นย่านที่ขึ้นชื่ออย่างมากในการประกวดนางงามในช่วงเทศกาลสงกรานต์ของทุกปี ที่รู้จักกันดีในชื่อ "เทพีสงกรานต์วิสุทธิ์กษัตริย์" ซึ่งจัดโดยชาวชุมชนท้องถิ่นและใกล้เคียง โดยจัดมาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และถนนวิสุทธิกษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

ถนนประชาราษฎร์

นนประชาราษฎร์ (Thanon Pracha Rat) เป็นเส้นทางการคมนาคมในท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มีระยะทางเริ่มต้นจากแยกติวานนท์ ซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนติวานนท์และถนนนครอินทร์กับถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรีในพื้นที่ตำบลตลาดขวัญ ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ โค้งและตรงไปทางทิศตะวันตก จนกระทั่งตัดกับถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี (แยกประชาราษฎร์-เลี่ยงเมือง) และเข้าเขตตำบลสวนใหญ่ จากนั้นเบี่ยงลงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้เล็กน้อย ก่อนตัดกับถนนพิบูลสงคราม (แยกศรีพรสวรรค์) และไปสิ้นสุดที่วงเวียนหอนาฬิกาท่าน้ำนนทบุรี ถนนประชาราษฎร์เป็นถนนสายแรก ๆ ของจังหวัดนนทบุรี ตัดขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่นเพื่อตัดถนนจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลบางขวางขึ้นไปถึงวัดลานวัว จังหวัดนนทบุรีเมื่อปี พ.ศ. 2474 โดยมีแนวเส้นทางเริ่มจากแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลบางขวาง (ปัจจุบันคือตำบลสวนใหญ่) ไปทางทิศตะวันออกจนถึงบริเวณเหนือวัดลานวัว (ปัจจุบันคือวัดลานนาบุญ) ทั้งนี้เพื่อให้การจราจรทางบกในจังหวัดนนทบุรีมีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น หลังจากที่เมื่อปี พ.ศ. 2471 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศาลากลางจังหวัดนนทบุรีจากปากคลองบางซื่อลงมาตั้งที่ตำบลบางขวาง รวมทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเรือนจำมหันตโทษกลางขึ้นที่นั่นด้วย ในปีต่อมา (พ.ศ. 2475) พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนสายนี้รวมกับถนนที่ตัดมาจากตำบลบางซื่อ กรุงเทพพระมหานคร (ซึ่งตัดขึ้นในช่วงเดียวกัน) ว่า ถนนประชาราษฎร์ จนกระทั่งภายหลังได้มีการแบ่งถนนประชาราษฎร์ช่วงตั้งแต่แยกเตาปูนถึงแยกติวานนท์ออกไปเป็นถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ถนนประชาราษฎร์จึงมีระยะทางอยู่ในจังหวัดนนทบุรีเท่านั้น ปัจจุบันช่วงตั้งแต่แยกติวานนท์ถึงแยกศรีพรสวรรค์เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 และอยู่ในเขตควบคุมของหมวดทางหลวงนนทบุรี แขวงทางหลวงนนทบุรี (หน่วยงานของกรมทางหลวง).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และถนนประชาราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีป วรดิลก

ทวีป วรดิลก (25 สิงหาคม พ.ศ. 2471 - 8 เมษายน พ.ศ. 2548) นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ ได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และทวีป วรดิลก · ดูเพิ่มเติม »

ทะเกะโอะ อุโงะ

() นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 29 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และทะเกะโอะ อุโงะ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ

ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ แยกออกจากทางรถไฟสายเหนือที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี โดยในเส้นทางตอนล่าง จะผ่านจังหวัดสระบุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ สุดปลายทางที่สถานีรถไฟอุบลราชธานี อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี รวมระยะทาง 575 กิโลเมตร ส่วนเส้นทางตอนบนแยกจากเส้นทางตอนล่างที่สถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ จังหวัดนครราชสีมา ผ่านจังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองคาย ข้ามสะพานมิตรไทย-ลาวแห่งที่ 1 และสุดปลายทางที่สถานีรถไฟท่านาแล้ง ประเทศลาว รวมระยะทาง 628 กิโลเมตร และที่สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย จะมีเส้นทางลัดไปเชื่อมที่สถานีรถไฟชุมทางบัวใหญ่ อำเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ของเส้นทางตอนบน ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นเส้นทางที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์รถไฟไทย เนื่องจากเป็นเส้นทางที่เปิดเดินรถสายแรก จากสถานีรถไฟกรุงเทพ เดินรถถึงสถานีรถไฟนครราชสีม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทาเคโอะ ยูโกะ

ทาเคโอะ อูโก (Takeo Ugo) หรือ โคซากุ มูโตะ นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น เกิดเมื่อ 29 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และทาเคโอะ ยูโกะ · ดูเพิ่มเติม »

ขวัญแก้ว วัชโรทัย

นายขวัญแก้ว วัชโรทัย (ขวา) และนายแก้วขวัญ วัชโรทัย (ซ้าย) ขวัญแก้ว วัชโรทัย (3 กันยายน พ.ศ. 2471 - 28 มกราคม พ.ศ. 2560) เป็นอดีตรองเลขาธิการพระราชวัง เป็นคู่แฝดกับแก้วขวัญ วัชโรทัย อดีตเลขาธิการพระราชวัง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และขวัญแก้ว วัชโรทัย · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐ ภมรประวัติ

ตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์ ณัฐ ภมรประวัติ (29 พฤศจิกายน 2471 – 16 กุมภาพันธ์ 2547) อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล อดีตกรรมการมูลนิธิจุฬาภรณ์ ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำปี พ.ศ. 2536 สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ จากผลงานเด่นด้านพยาธิวิทยาของโรคตับ ศาสตราจารย์ ดร.ณัฐ ภมรประวัติ เป็นชาวเชียงใหม่ เกิดในตระกูลแพทย์ประจำราชสำนัก ท่านเป็นบุตรคนที่ 1 ในจำนวน 2 คน ของหลวงอายุรกิจโกศล และท่านผู้หญิงยุภา อายุรกิจโกศล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และณัฐ ภมรประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลยูอาร์จีบี

ับเบิลยูอาร์จีบี (WRGB) เป็นสถานีโทรทัศน์ในสเกอเนคเทอดี รัฐนิวยอร์ก ออกอากาศทางช่อง 6 (ดิจิตอล ช่อง 39) เป็นแม่ส่งของซีบีเอส ถือหุ้นโดยซินแคลร์บรอดแคสต์กรุป เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 ปัจจุบันออกอากาศครอบคลุมพื้นที่สเกอเนคเทอดี, ออลบานี และ ทรอย สถานีนี้กล่าวได้ว่าเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกของโลก นับตั้งแต่การทดลองออกอากาศโทรทัศน์ด้วยระบบเครื่องกล ในชื่อ ดับเบิลยูทูเอกซ์บี (W2XB) เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2471 ส่งสัญญาณจากที่ตั้งบริษัทเจเนอรัลอิเล็กทริก แต่ไม่นานต้องหยุดชะงักไป ดับเบิลยูอาร์จีบี เคยเป็นสถานีแม่ให้กับเอ็นบีซีมาก่อน ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และดับเบิลยูอาร์จีบี · ดูเพิ่มเติม »

ดีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกา

ีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกา (Die Stem van Suid-Afrika, เสียงเพรียกแห่งแอฟริกาใต้) เป็นเพลงชาติของประเทศแอฟริกาใต้ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และดีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกา · ดูเพิ่มเติม »

คลองปานามา

แผนที่การเดินทางในคลองปานามา โดยมีรายชื่อประตูกั้นน้ำประกอบ สถานที่ตั้งของคลองปานามาระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน โดยตัวคลองตั้งอยู่บริเวณตรงกลางของแผนที่ คลองปานามา (Panama Canal) เป็นคลองเดินเรือสมุทรความยาว 77 กิโลเมตร สร้างขึ้นบริเวณคอคอดปานามาในประเทศปานามา เพื่อเชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยย่นระยะเวลาที่ต้องไปอ้อมช่องแคบเดรกและแหลมฮอร์น ทางใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ คิดเป็นระยะทางกว่า 22,500 กิโลเมตร ซึ่งมีผลอย่างยิ่งต่อการเดินเรือระหว่างสองมหาสมุทร โดยถูกใช้เป็นเส้นทางเดินเรือหลักสำหรับการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ตั้งแต่เปิดทำการ คลองปานามาประสบความสำเร็จและเป็นกุญแจสำคัญในการขนส่งสินค้าทั่วโลก จำนวนเรือที่ผ่านคลองปานามาเพิ่มขึ้นจาก 1,000 ลำต่อปีในยุคแรกเริ่ม มาเป็น 14,702 ลำต่อปี ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และคลองปานามา · ดูเพิ่มเติม »

คำพูน บุญทวี

ำพูน บุญทวี (26 มิถุนายน 2471 - 4 เมษายน 2546) นักเขียนสารคดี เรื่องสั้น และนวนิยายเกี่ยวกับชีวิตของชาวไทอีสานและชีวิตคนในคุก ได้รับรางวัลซีไรต์เป็นคนแรกของไทยเมื่อ พ.ศ. 2522 จากนวนิยายเรื่อง ลูกอีสาน และได้รับยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ประจำปี พ.ศ. 2544.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และคำพูน บุญทวี · ดูเพิ่มเติม »

คธูลู

ูลูในนครรุลูเยห์ คธูลู (Cthulhu), คธุลฮู, คุลลูหรือธูลู (ชื่อจริงของคธูลูนั้นเป็นภาษาที่มนุษย์ไม่สามารถออกเสียงได้ถูกต้อง) เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เกรทโอลด์วัน ในงานประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ คธูลูปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น "เสียงเรียกของคธูลู" (The Call of Cthulhu) ซึ่งตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2471 และมีบทบาทเล็กๆในงานเขียนเรื่องอื่นๆของเลิฟคราฟท์ ออกัสต์ เดอเลธใช้ศัพท์คำว่า ตำนานคธูลู (Cthulhu Mythos) เพื่อจำแนกงานเขียนของเลิฟคราฟท์และตัวเขาเองที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกัน ซึ่งในเวลาต่อมาได้รวมถึงงานประพันธ์ของคนอื่นๆซึ่งใช้ตัวละครและเนื้อหาแบบเดียวกันทั้งหมด (เรียกได้อีกอย่างว่าเรื่องสยองขวัญแนวเลิฟคราฟท์ (Lovecraftian horror) ชื่อของคธูลูมักใช้เปรียบเทียบในความหมายของสิ่งที่น่าสะพรึงกลัว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์

รายการประกาศผลรางวัลออสการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราบุรฉัตร

ตราบุรฉัตร ตราบุรฉัตร เป็นตราวงกลมทำจากเหล็กหล่อสีแดงน้ำหมาก สร้างขึ้นเพื่อเป็นการน้อมรำลึกถึง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน ในการที่พระองค์ทรงนำรถจักรดีเซลคันแรกมาใช้งานเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยตราบุรฉัตรจะติดข้างรถจักรดีเซลไฟฟ้าทุกคัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และตราบุรฉัตร · ดูเพิ่มเติม »

ซอมอง

ลเอกอาวุโส ซอมอง (Saw Maung; ဗိုလ်ချုပ်မှူးကြီးစောမောင်) (พ.ศ. 2471 - 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตประธานสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (State Law and Order Restoration Council - SLORC) เป็นผู้นำเผด็จการของรัฐบาลทหารของพม่า หลังการรัฐประหารล้มอำนาจนายพลเนวีนเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และซอมอง · ดูเพิ่มเติม »

ซัลฟิการ์ อาลี บุตโต

ซัลฟิการ์ อาลี บุตโต ซัลฟิการ์ อาลี บุตโต (5 มกราคม พ.ศ. 2471 - 4 เมษายน พ.ศ. 2522) ประธานาธิบดีปากีสถานคนที่ 4 ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และซัลฟิการ์ อาลี บุตโต · ดูเพิ่มเติม »

ซาดิเย ทอปตานี

ซาดิเย ทอปตานี (Sadijé Toptani หรือ Nëna Mbretëreshë e Shqiptarëve) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 1876 ณ กรุงติรานา โดยพระองค์เป็นบุตรสาวของนายซาละห์ เบย์ ทอปตานี ซึ่งเป็นญาติของนายอาซาด ปาชา ทอปตานีซึ่งเป็นสมาชิกที่มีชื่อเสียงผู้หนึ่งในตระกูลทอปตานี ส่วนซาดิเย ทอปตานีเองก็ได้เป็นภรรยาคนที่สองของจามาล ปาชา โซกู ภายหลังจากการเสียชีวิตของมะลัก ฮานิม (Melek Hanem) ภรรยาคนแรก หลังจากพระราชโอรสของพระองค์ พระเจ้าซ็อกที่ 1 แห่งแอลเบเนียได้เสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์ของประเทศแอลเบเนียในปี ค.ศ. 1928 ซาดิเย ทอปตานีจึงได้รับการสถาปนาให้ดำรงพระราชอิสริยยศเป็น สมเด็จพระบรมราชชนนี (Queen Mother) โดยซาดิเย ทอปตานีได้ดำรงตำแหน่งนี้จนกระทั่งเสด็จสวรรคต โดยพระองค์ได้เป็นผู้คุมต้นเครื่องเสวยที่ส่งถวายให้พระราชโอรสของพระองค์เสวย เพื่อให้แน่ใจว่าอาหารที่พระราชโอรสจะเสวยจะไม่ปนเปื้อนยาพิษ ซาดิเย ทอปตานี เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1934 โดยประกอบพิธีปลงพระบรมศพ ในกรุงติรานา ประเทศแอลเบเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และซาดิเย ทอปตานี · ดูเพิ่มเติม »

ซีบีเอส

ซีบีเอส (CBS หรือ CBS Broadcasting Inc.) เป็นเครือข่ายสถานีโทรทัศน์อเมริกัน หนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่ แห่งวงการโทรทัศน์ของสหรัฐอเมริกา โดยอีกสองสถานีคือ เอ็นบีซี และเอบีซี และเช่นเดียวกับทั้งเอ็นบีซี ทางซีบีเอสเริ่มจากการเป็นสถานีวิทยุมาก่อน ชื่อมาจากชื่อเก่าของสถานีที่ใช้ชื่อว่า โคลัมเบีย บรอดแคสติง ซิสเตม (Columbia Broadcasting System) ในบางครั้งจะเรียกว่าสถานี "อายเน็ตเวิร์ก" (Eye Network) หรือเรียกง่าย ๆ ว่า "ดิอาย" (The Eye) เนื่องจากรูปร่างโลโก้ของบริษัทที่มีลักษณะเป็นดวงตา หรือในบางครั้งก็เรียกว่า "ทิฟฟานีเน็ตเวิร์ก" (Tiffany Network) เช่นกัน ที่หมายถึงความมีคุณภาพสูงของรายการของซีบีเอสในช่วงระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งของผู้ก่อตั้ง วิลเลียม เอส. แพเลย์ (1927–1990) (พ.ศ. 2470-2533) และยังอาจหมายถึงการเริ่มออกอากาศทางโทรทัศน์สีครั้งแรกของช่องอีกด้วย ที่เกิดขึ้นในตึก ทิฟฟานี แอน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และซีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

ประพนธ์ สุนทรจามร

ประพนธ์ สุนทรจามร มีชื่อจริงว่า นาวาอากาศเอก ประพนธ์ โตจำเริญ เกิดเมื่อ พ.ศ. 2471 เป็นศิษย์ครูเวส สุนทรจามร มีผลงานเพลงมากมาย เช่น เสียงสวาท (คู่ พิทยา บุณยรัตพันธุ์) หาดผาแดง ผู้ที่พระเจ้าสาป บุพเพสันนิวาส ชีวิตการทำงานของประพนธ์ เริ่มต้นที่ตำแหน่งลูกจ้างชั่วคราว กระทรวงกลาโหมและกระทรวงพาณิชย์ หลังจากนั้นได้ทำงานอยู่บริษัท นครหลวงประกันชีวิต ในช่วงนี้ ครูเวส สุนทรจามร ได้เห็นความสามารถด้านร้องเพลง จึงได้ชักชวนมาร่วมวงดนตรีศิษย์จามร ซึ่งครู ธนิต ผลประเสริฐตั้งขึ้น ประพนธ์เล่าว่า เมื่อครั้งที่มาพบครูเวส สุนทรจามร ครูเวสได้ถามว่าร้องเพลงอะไรได้บ้าง ประพนธ์ก็ได้นำชื่อเพลงที่ร้องได้มาให้ครูเวสดู พอดีกับวินัย จุลละบุษปะ ผ่านเข้ามา แล้วพูดว่า "เพลงของผมทั้งนั้นเลยนี่ครู" ครูเวสเลยให้ร้อง เมื่อเป็นที่ถูกใจแล้ว จึงได้ประพันธ์เพลงให้ร้อง สำหรับเพลงบุพเพสันนิวาสที่สร้างชื่อเสียงให้กับประพนธ์อย่างมากมายนั้น เป็นผลงานที่ครูสุรัฐ พุกกะเวส แต่งร่วมกับครู เวส สุนทรจามร แต่งไว้แต่ยังไม่มีคนร้อง ประพนธ์จึงได้เข้ามาร้อง เมื่อ พ.ศ. 2495 หลังจากนั้น ประพนธ์ก็มีผลงานเพลงออกมาเรื่อย ๆ เช่น หาดผาแดง ดวงใจของพี่ เสียงสวาท กระต่ายกับดวงจันทร์ (คู่ พิทยา บุณยรัตพันธุ์) ปี พ.ศ. 2497 ประพนธ์ สุนทรจามร ได้ลาออกจากบริษัท นครหลวงประกันชีวิต เพื่อเข้ารับราชการทหาร สังกัดกรมสารบัญทหารอากาศ โดยมิได้ร่วมขับร้องเพลงอยู่ในวงดนตรีสุนทราภรณ์เลย ดังนั้น ประพนธ์จึงไม่ใช่นักร้องของสุนทราภรณ์ ในระยะนี้ประพนธ์ได้ร้องเพลงอยู่กับคณะจารุกนก และคณะศิษย์จามรอยู่เนือง ๆ พ.ศ. 2512 ประพนธ์ได้ร้องเพลงหาดผาแดงของ "พรพิรุณ" ทำให้มีชื่อเสียงโด่งดังอีกครั้ง และรับร้องเพลงอยู่ตามไนต์คลับและภัตตาคารอยู่บ้าง ภายหลังจึงได้รับร้องเพลงกับวงธนิตสรณ์ ของครูธนิต ผลประเสริฐ วงดนตรีไตรทิพย์ ของ บุญเลื่อน ไตรพิพัฒน์ และวงดนตรีเอื้อสัมพันธ์ ของ ปรีชา เกียรติประวัติ ปัจจุบัน ประพนธ์ สุนทรจามร ได้เกษียณอายุราชการจากกองทัพอากาศแล้ว เมื่อ พ.ศ. 2531 แต่รับร้องเพลงอยู่เสมอ ในนามวงดนตรี คีตกานต์ โดยพักอาศัยอยู่ที่ย่านบึงกุ่ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประพนธ์ สุนทรจามร · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย)

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแห่งประเทศไทย (ย่อ: ป.วิ.อ.) เป็นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อันเป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติ (procedural law) ของประเทศไทย เป็นหนึ่งในบรรดาประมวลกฎหมายที่รัฐบาลไทย (แต่ครั้งที่ยังเรียกชื่อประเทศว่า "สยาม") เร่งผลิตใช้ เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำไว้กับต่างประเทศ อันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาลแสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552: 204.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ย่อ: ป.พ.พ.) เป็นประมวลกฎหมายแพ่ง อันเป็นกฎหมายสารบัญญัติ (substantive law) แห่งประเทศไทย เริ่มร่างครั้งแรกใน ร.ศ. 127 ตรงกับ พ.ศ. 2451 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ภายหลังการประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาเมื่อปีเดียวกัน เพื่อริเริ่มขอยกเลิกบรรดาสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำไว้กับต่างประเทศอันมีผลให้สยามต้องเสียเปรียบในด้านสิทธิสภาพนอกอาณาเขตและเอกราชทางการศาลแสวง บุญเฉลิมวิภาศ, 2552: 204.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติกระทรวงการคลังไทย

กระทรวงการคลัง คือหนึ่งใน 12 กระทรวงของประเทศไทย เป็นกระทรวงที่มีมาตั้งแต่โบราณ ในฐานะหนึ่งในจตุสดม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประวัติกระทรวงการคลังไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ฟิสิกส์

''Table of Mechanicks'', 1728 ''Cyclopaedia''. ประวัติศาสตร์ของฟิสิกส์ คือ การศึกษาการเติบโตของฟิสิกส์ไม่ได้นำมาเพียงแค่การเปลี่ยนแปลงแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับโลกแห่งวัตถุ คณิตศาสตร์ และ ปรัชญา เท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี และการเปลี่ยนรูปแบบของสังคม ฟิสิกส์ถูกพิจารณาในแง่ของทั้งตัวเนื้อความรู้และการปฏิบัติที่สร้างและส่งผ่านความรู้ดังกล่าว การปฏิวัติวิทยาศาสตร์ ซึ่งเริ่มต้นประมาณปี ค.ศ. 1600 เป็นขอบเขตง่าย ๆ ระหว่างแนวคิดโบราณกับฟิสิกส์คลาสสิก ในปี ค.ศ. 1900 จึงเป็นจุดเริ่มต้นของฟิสิกส์ยุคใหม่ ทุกวันนี้วิทยาศาสตร์ยังไม่มีอะไรแสดงถึงจุดสมบูรณ์ เพราะการค้นพบที่มากขึ้นนำมาซึ่งคำถามที่เกิดขึ้นจากอายุของเอกภพ ไปถึงธรรมชาติของสุญญากาศ และธรรมชาติในที่สุดของสมบัติของอนุภาคที่เล็กกว่าอะตอม ทฤษฎีบางส่วนเป็นสิ่งที่ดีที่สุดที่ฟิสิกส์ได้เสนอในปัจจุบันนี้ อย่างไรก็ตามรายนามของปัญหาที่ยังแก้ไม่ได้ของฟิสิกส์ ก็ยังคงมีมากอยู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประวัติศาสตร์ฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศบัลแกเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศพม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศพม่าใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศกรีซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศกรีซใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศมองโกเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศสวีเดน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศสวีเดนใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศออสเตรเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศออสเตรเลียใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศอาร์เจนติน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศอินเดีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศอินเดียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศอุรุกวัย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศอุรุกวัยในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศอียิปต์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศอียิปต์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศคิวบา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศคิวบาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศตุรกี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศปานามา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศปานามาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศนิการากัว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศนิการากัวใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศนิวซีแลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศนิวซีแลนด์ใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2471

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2471 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศไทยใน พ.ศ. 2471 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศไทยใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศเช็กโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศเช็กโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประเทศนี้มีจำนวนประชากร 128,632,000 ล้านคน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศเม็กซิโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเม็กซิโกใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ซอร์เบียและมอนเตเนโกร (Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึง พ.ศ. 2549 ตั้งอยู่บนคาบสมุทรบอลข่านตอนตะวันตกกลาง ซึ่งแต่เดิมมีชื่อประเทศว่า สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศในปี2003 ในชื่อ สหภาพรัฐเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกรมีความร่วมมือกันเฉพาะบางด้านในการเมือง (เช่น ผ่านสหพันธ์การป้องกันประเทศ) ทั้ง 2 รัฐมีนโยบายเศรษฐกิจและหน่วยเงินของตนเอง และประเทศไม่มีเมืองหลวงรวมอีกต่อไป โดยที่แบ่งแยกสถาบันที่ใช้ร่วมกันระหว่างเมืองเบลเกรดในเซอร์เบียและเมืองพอดกอรีตซาในมอนเตเนโกร ทั้งสองรัฐแยกออกจากกันหลังจากมอนเตเนโกรจัดให้มีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ปีเดียวกัน ทำให้เกิดประเทศใหม่คือประเทศมอนเตเนโกร ส่วนประเทศเซอร์เบียก็กลายเป็นผู้สืบสิทธิ์ต่าง ๆ ของประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินฟ้าหางเหลือง

ปลาสลิดหินฟ้าหางเหลือง หรือ ปลาแดมเซลฟ้าหางเหลือง (Yellow-tail damsel, Smith's damsel) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาสลิดหินหางเหลืองนอก (Chrysiptera parasema) ซึ่งอยู่ในวงศ์เดียวกัน คือ มีลำตัวและครีบทุกครีบสีน้ำเงินเข้ม ยกเว้นครีบหางและโคนครีบหางที่เป็นสีเหลือง และมีรูปร่างที่ยาวกว่า มีขนาดลำตัวโตเต็มที่ประมาณ 7 เซนติเมตร พบกระจายพันธุ์ทั่วไปในทะเลอันดามัน และพบได้จนถึงทะเลฟิลิปปิน และทะเลอินโดนีเซีย เป็นปลาที่ได้รับความนิยมในการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ปัจจุบันสามารถเพาะขยายพันธุได้แล้ว แต่ปลาส่วนใหญ่ที่มีการซื้อขายกันในตลาดปลาสวยงามในประเทศไทยนั้นจะเป็นปลาที่จับมาจากแหล่งธรรมชาติในอินโดนีเซีย โดยมีชื่อเรียกในวงการว่า "ปลาแดมเซลหางเหลืองไทย".

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และปลาสลิดหินฟ้าหางเหลือง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์

ปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ (Siamese freshwater batfish, Siamese bat catfish) ปลาน้ำจืดขนาดเล็กในอันดับปลาหนังชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาแค้ (Sisoridae).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และปลาค้างคาวดอยอินทนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเทวดาสกาแลร์

ปลาเทวดาสกาแลร์ หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาเทวดา (Angelfish, Freshwater angelfish, Lesser angelfish) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) เป็นปลาเทวดาชนิดที่รู้จักกันดีที่สุด เนื่องจากเป็นต้นสายพันธุ์ของปลาเทวดาทั้งหมดที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม โดยปลาเทวดาสกาแลร์มีสีลำตัวเป็นสีเทาอมเขียวและมีประกายสีเงินเคลือบทับทั่วตัว ปลาที่พบในบางแหล่งจะมีจุดสีแดงเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วบริเวณไหล่ บริเวณหลังจะเป็นสีน้ำตาลเขียวมะกอก เมื่อต้องแสงไฟหรือแสงแดดจะเห็นประกายสีน้ำตาลแดงแวววาว มีโครงสร้างลำตัวเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแบนข้างมากโดยส่วนยาวจากปลายปากถึงโคนหางจะยาวกว่าแนวตั้งของลำตัวเล็กน้อย แถวเกล็ดจากขอบเหงือกลากยาวไปจรดครีบหางมีทั้งสิ้น 33-38 เกล็ด ลายบนตัวจะเป็นเส้นคาดแนวตั้งใหญ่จำนวนสี่เส้นเห็นได้ชัดเจน และจะมีเส้นเล็ก ๆ ที่สั้นและจางกว่าคั่นแต่ละเส้นใหญ่นั้นอีกรวม 3 เส้น เส้นทุกเส้นจะเป็นสีดำหรือเทาแก่ เส้นที่ดำและเข้มสุดจะเป็นเส้นคาดเอว (เส้นที่ 5) ที่ลากจากยอดครีบบนลงมาจรดปลายครีบล่าง ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 6 นิ้ว พบกระจายพันธุ์อยู่เป็นฝูง ตามแหล่งน้ำของแม่น้ำสายใหญ่ในทวีปอเมริกาใต้ อาทิ แม่น้ำอเมซอน, แม่น้ำโอริโนโค โดยเฉพาะในแหล่งน้ำที่มีพืชน้ำขึ้นหนาแน่น และสภาพความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ตั้งแต่ 6.0-7.5 ซึ่งน้ำจะมีสภาพความเป็นกรดเล็กน้อย ปลาเทวดาสกาแลร์ นับเป็นปลาเทวดาชนิดที่เป็นที่รู้จักและนิยมเลี้ยงกันอย่างแพร่หลายที่สุด ซึ่งปัจจุบันได้มีการเพาะขยายพันธุ์ไปต่าง ๆ จนมีสีสันและลวดลายผิดแผกไปจากปลาดั้งเดิมในธรรมชาติมากมาย อาท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และปลาเทวดาสกาแลร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปาเลสไตน์ในอาณัติ

ปาเลสไตน์ในอาณัติ (Mandatory Palestine; فلسطين; פָּלֶשְׂתִּינָה (א"י), where "EY" indicates "Eretz Yisrael") เป็นหน่วยภูมิรัฐศาสตร์ ภายใต้การดูแลของสหราชอาณาจักร ในส่วนที่เป็นเขต จักรวรรดิออตโตมัน และ ซีเรียตอนใต้ ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว่าง พ.ศ. 2463 จนถึง พ.ศ. 2491.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และปาเลสไตน์ในอาณัติ · ดูเพิ่มเติม »

ปาเต๊ะ (บริษัท)

ตัวอย่างฉลากแผ่นเสียงยี่ห้อปาเต๊ะ บริษัทปาเต๊ะ (Pathé, อ่านตามเสียงคือ "ปาเต" ส่วนชื่อ "ปาเต๊ะ" เป็นชื่อที่ใช้ในประเทศไทย) เป็นชื่อบริษัทจัดจำหน่ายแผ่นเสียงฝรั่งเศสซึ่งมีกิจการอยู่ทั่วโลก ก่อตั้งโดยสองพี่น้อง ชาร์ลส และเอมิลี ปาเต เมื่อ ค.ศ. 1896 (พ.ศ. 2439) ภายหลังบริษัทโคลัมเบียกราโมโฟนคอมเพนีได้ควบรวมกิจการในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1928 (พ.ศ. 2471) ปัจจุบันชื่อยี่ห้อ Pathé และ Pathé-Marconi ยังคงมีอยู่ ภายใต้การดูแลของบริษัทอีเอ็มไอ สัญลักษณ์ของแผ่นเสียงยี่ห้อปาเต๊ะที่เป็นที่รู้จักคือตรา Discobolus (รูปเทพเจ้ากรีกขว้างจานเสียง) และตราไก่ (Crowing Cock) แต่แผ่นเสียงที่จำหน่ายในประเทศไทยสมัยรัชกาลที่ 5 ใช้รูปช้างเผือกเหยียบลูกโลกเป็นสัญลักษณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และปาเต๊ะ (บริษัท) · ดูเพิ่มเติม »

นารถ โพธิประสาท

อาจารย์นารถ โพธิประสาท ภาพวาดโดยอาจารย์แสงอรุณ รัตกสิกร ตำราสถาปัตยกรรมภาษาไทยเล่มแรกแต่งโดยอาจารย์ นารถ โพธิประสาท พ.ศ. 2487 ภาพวาดอาจารย์นารถ โพธิประสาทในบั้นปลายชีวิต-ไม่ทราบชื่อผู้วาด อาจารย์นารถ โพธิประสาท (เกิด 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2497) เป็นสถาปนิก อาจารย์ชาวไทย เขาคือผู้ก่อตั้งสถาบันการศึกษาด้านสถาปัตยกรรม ระดับปริญญาแห่งแรกของประเทศไทย ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้ร่วมสถาปนาวิชาชีพสถาปัตยกรรมของประเทศ นารถยังเป็นผู้แต่งหนังสือ สถาปัตยกรรมในประเทศไทย ซึ่งถือเป็นหนังสือที่รวบรวมข้อมูล ลักษณะ ที่มาที่ไป ข้อมูลรังวัดของสถาปัตยกรรมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงยุครัตนโกสินทร์ เป็นเล่มแรกๆ และถือเป็นหนังสือเรียนเล่มแรกของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และนารถ โพธิประสาท · ดูเพิ่มเติม »

นีกอลา ซาร์กอซี

นีกอลา ซาร์กอซี (Nicolas Sarkozy;; (28 มกราคม พ.ศ. 2498 —) อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสและอดีตผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรม กระทรวงงบประมาณและนายกเทศมนตรีเมืองเนอยี-ซูร์-แซน เขาเป็นที่รู้จักดีจากทัศนคติในด้านกฎหมายและคำสั่งของเขา รวมถึงความต้องการให้เศรษฐกิจของประเทศฝรั่งเศสกลับคืนสู่สภาพเดิม ในด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เขาได้สร้างความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับสหรัฐอเมริกาและยังได้กระชับความสัมพันธ์ฉันมิตรกับประเทศอื่น ๆ อีกด้วย ชื่อเล่นที่ผู้สนับสนุนและไม่สนับสนุนต่างเรียกแทนตัวเขาคือ "ซาร์โก" (Sarko).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และนีกอลา ซาร์กอซี · ดูเพิ่มเติม »

นีลส์ คริสตี

นีลส์ คริสตี (Nils Christie; 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471 – 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นนักสังคมวิทยาและผู้เชี่ยวชาญอาชญาวิทยาชาวนอร์เวย์ เขาเป็นศาสตราจารย์ด้านอาชญาวิทยาที่มหาวิทยาลัยออสโล ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และนีลส์ คริสตี · ดูเพิ่มเติม »

นโยบายเศรษฐกิจใหม่

นโยบายเศรษฐกิจใหม่ (New Economic Policy; NEP; Новая экономическая политика, НЭП, Novaya Ekonomicheskaya Politika) เป็นนโยบายเศรษฐกิจที่เสนอโดยวลาดีมีร์ เลนิน เพื่อป้องกันมิให้เศรษฐกิจรัสเซียล่มสลาย นโยบายดังกล่าวอนุญาตให้เอกชนดำเนินกิจการบางอย่างได้ เช่น ธุรกิจขนาดเล็กหรือร้านค้า เพื่อเป็นการสร้างรายได้ให้กับเอกชนในขณะที่รัฐควบคุมธนาคาร การค้าระหว่างประเทศและอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ นโยบายได้รับการตัดสินใจในสมัยประชุมสภาที่ 10 ของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต ประกาศใช้เมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2464 กฤษฎีกาดังกล่าวบังคับให้ชาวนาให้ผลผลิตเกษตรกรรมเป็นวัตถุดิบแก่รัฐบาลแทนการจ่ายภาษี นอกจากนี้ ยังมีการออกกฤษฎีกาเพิ่มเติมเพื่อกลั่นกรองนโยบายและขยายไปรวมถึงอุตสาหกรรมบางประเภทด้วย นโยบายนี้ถูกยกเลิกโดย สตาลิน ในปี พ.ศ. 2471 รวมระยะเวลาที่ใช้ 7ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และนโยบายเศรษฐกิจใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

แก้วขวัญ วัชโรทัย

นายแก้วขวัญ วัชโรทัย (ซ้าย) และนายขวัญแก้ว วัชโรทัย (ขวา) แก้วขวัญ วัชโรทัย (3 กันยายน พ.ศ. 2471 - 15 กันยายน พ.ศ. 2559) อดีตเลขาธิการพระราชวัง ปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และแก้วขวัญ วัชโรทัย · ดูเพิ่มเติม »

แมนรัตน์ ศรีกรานนท์

รืออากาศตรี ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และแมนรัตน์ ศรีกรานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

แม่ชีเทเรซา

แม่ชีเทเรซา หรือ คุณแม่เทเรซา (26 สิงหาคม พ.ศ. 2453 – 5 กันยายน พ.ศ. 2540) เป็นนักพรตหญิงในศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ท่านมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ช่วยเหลือและผู้ต่อสู้เพื่อคนยากไร้ทั้งในประเทศที่ยากจนและร่ำรวย จนเมื่อปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) ท่านจึงได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ และหลังจากมรณกรรมก็ได้รับการประกาศเป็นบุญราศีโดยสมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 มีนามว่า "บุญราศีเทเรซาแห่งกัลกัตตา" ต่อมาในวันที่ 4 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และแม่ชีเทเรซา · ดูเพิ่มเติม »

แอนอเมริกันอินปารีส

แอนอเมริกันอินปารีส (An American in Paris) เป็นซิมโฟนิกโพเอ็ม ผลงานประพันธ์ของจอร์จ เกิร์ชวินในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และแอนอเมริกันอินปารีส · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ รีเดอร์

แฮร์มันน์ รีเดอร์ (Hermann Rieder; 3 พฤษภาคม ค.ศ. 1928 — 22 สิงหาคม ค.ศ. 2009) เป็นทั้งนักกีฬาพุ่งแหลน, ผู้ฝึกสอน และนักวิทยาศาสตร์การกีฬาชาวเยอรมัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และแฮร์มันน์ รีเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แฮ็นดริก โลเรินตส์

แฮ็นดริก อันโตน โลเรินตส์ (Hendrik Antoon Lorentz; 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1853 - 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1928) เป็นนักฟิสิกส์ชาวดัตช์ ได้รับรางวัลโนเบลเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และแฮ็นดริก โลเรินตส์ · ดูเพิ่มเติม »

แขไข เทวิณ

แขไข เทวิณ เป็นนามปากกาของ จงกลณี พุทธิแพทย์ ธิดาของขุนจักรวิจารณ์บดีและนางจักรวิจารณ์บดี เกิดเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2471 ที่เชียงใหม่ บิดารับราชการเป็นนายช่างทาง จึงต้องย้ายที่อยู่ไปตามต่างจังหวัดเสมอ ๆ จบการศึกษาชั้นต้นจาก โรงเรียนมาแตร์เดอี และจบเตรียมอุดมจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และแขไข เทวิณ · ดูเพิ่มเติม »

แซรอสดวงอาทิตย์ที่ 155

แซรอสชุดที่ 155 ของสุริยุปราคา เว้นช่วงของแต่ละเหตุการณ์ทุก ๆ 18 ปี 11 วัน มีสุริยุปราคาในชุดแซรอสนี้ทั้งหมด 71 ครั้ง ซึ่งชุดแซรอสที่ 155 ประกอบไปด้วยสุริยุปราคาบางส่วน 8 ครั้ง สุริยุปราคาเต็มดวง 33 ครั้ง สุริยุปราคาผสม 3 ครั้ง สุริยุปราคาวงแหวน 20 ครั้ง และสุริยุปราคาบางส่วน 7 ครั้ง ตามลำดับ ทั้งหมดนี้จะดำเนินอยู่ในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1928 –..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และแซรอสดวงอาทิตย์ที่ 155 · ดูเพิ่มเติม »

โมฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัล

มฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัล (Maxamed Xaaji Ibraahim Cigaal, محمد الحاج ابراهيم ايغال) (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2471 (ออดเวย์นี บริติชโซมาลีแลนด์) - 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 (พริทอเรีย แอฟริกาใต้)) เป็นนักการเมืองชาวโซมาลี เขาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองสมัย ครั้งแรกเมื่อ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโมฮัมเหม็ด ฮาจี อิบราฮิม อิกอัล · ดูเพิ่มเติม »

โยะชิโระ นะกะมะสึ

ระ นากามัตสึ เป็นนักคิด นักประดิษฐ์ และชาวญี่ปุ่น ในปัจจุบันถือได้ว่าเป็นผู้คิดค้น และประดิษฐ์สิ่งของที่ได้รับการจดสิทธิบัตรมาแล้วมากกว่า 3,000 ชิ้น ตัวอย่างเช่น ฟลอปปีดิสก์, นาฬิกาดิจิทัล, แผ่นซีดี และที่ปั้มน้ำด้วยมือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโยะชิโระ นะกะมะสึ · ดูเพิ่มเติม »

โยโย่

(ในภาษาไทยอาจเรียกว่า ลูกดิ่ง) คือของเล่นชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นลูกล้อหรือจานหมุนจำนวน 2 ชิ้นประกบเข้าด้วยกันและมีแกนยึดตรงกลาง มีเชือก 1 เส้น คล้องแกนกลางนั้น วิธีการเล่นโดยทั่วไปคือจับปลายเชือกด้านที่อิสระ แล้วพันเชือกส่วนที่เหลือรอบแกนหมุนของโยโย่ จากนั้นกระตุกปลายเชือกให้ส่วนจานหมุนเริ่มหมุนคลายเชือกที่พันไว้นั้น ด้วยความเฉื่อยของการหมุนดังกล่าว สามารถทำให้จานหมุนเคลื่อนที่ห่างออกจนสุดระยะเชือก ก่อนจะหมุนต่อเนื่องพันทบเชือกกลับมายังปลายเชือกที่ผู้เล่นจับเอาไว้ได้ นอกจากนี้ยังมีเทคนิคการเล่นอีกหลากหลาย การเล่นโยโย่เริ่มเป็นที่นิยมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2463 และยังได้รับความนิยมทั้งในเด็กและผู้ใหญ่จวบจนถึงปัจจุบัน มีการแข่งขันแสดงลีลาการเล่นโยโย่จัดเป็นประจำทุกปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโยโย่ · ดูเพิ่มเติม »

โรสแมรี คลูนีย์

รสแมรี คลูนีย์ (Rosemary Clooney) (23 พฤษภาคม ค.ศ. 1928 - 29 มิถุนายน ค.ศ. 2002) เป็นนักร้องชาวอเมริกัน นักแสดง มีชื่อเสียงในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1950 กับเพลงฮิต "Come On-a My House" รวมถึงเพลง "Botch-a-Me (Ba-Ba-Baciami Piccina)", "Mambo Italiano", และ "This Ole House" อาชีพของเธอแผ่วลงไปในคริสต์ทศวรรษ 1960 ซึ่งมีผลส่วนหนึ่งจากความตกต่ำทางเศรษฐกิจและการติดยา แต่ก็กลับมาอีกครั้งในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรสแมรี คลูนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

โรอัลด์ อะมุนด์เซน

รอัลด์ อะมุนด์เซน (Roald Amundsen; 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1872 – ประมาณ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1928) เป็นนักสำรวจชาวนอร์เวย์ และเป็นมนุษย์คนแรกที่ไปถึงขั้วโลกใต้ในวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1911.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรอัลด์ อะมุนด์เซน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ

โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ (สฤษดิ์ วิจิตรา ธนะรัชต์บำเพ็ญ) เดิมชื่อโรงเรียนประชาบาลวัดเสด็จ เปิดเรียนเมื่อวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2471 มีรองอำมาตย์เอกหลวงมหาสวัสดิ์ เป็นนายอำเภอ ขุนศรีทิพย์ศึกษากร เป็นกรรมการอำเภอ และมีนายนาด สุทธิแย้ม เป็นครูใหญ่ใช้ศาลาการเปรียญทำการสอน พ.ศ. 2497 พลเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์ แม่ทัพภาคที่ 1 ได้บริจาคเงินจำนวน 100,000 บาท สร้างอาคารเรียน พระครูลมูล ขันติพโล ได้เชิญชวนประชาชนบริจาคสมทบอีกจำนวน 144,819 บาท สร้างเป็นอาคารไม้ 2 ชั้น ออกมุขทั้งสองข้างตามแบบวัดจันทรสโมสรมี 14 ห้องเรียน สิ้นเงิน จำนวน 244,819 บาท พลเอกถนอม กิตติขจร ได้มาทำพิธีเปิด เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2499 โดยให้ชื่อโรงเรียนว่า โรงเรียนวัดเสด็จ "สฤษดิ์ วิจิตรา ธนะรัชต์บำเพ็ญ" โรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ ตั้งอยู่ที่ ตำบลสวนพริกไทย อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ชุมชนวัดเสด็จ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนชุมชนวัดเสด็จ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย

รงเรียนพิบูลวิทยาลัย เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายขนาดใหญ่พิเศษ มีพื้นที่ 109 ไร่ เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายคือชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายแห่งแรกและแห่งเดียวของกรมสามัญศึกษาในภูมิภาค มีห้องรวม 78 ห้อง นักเรียนประมาณ 3,333 คน ครูอาจารย์ 163 คน มีอาคารเรียน 7 หลัง, อาคารเกษตร 1 หลัง, อาคารสารสนเทศ 1 หลัง, อาคารคหกรรม 1 หลัง, อาคารพลศึกษา 1 หลัง, สนามฟุตบอล 1 สนาม, สนามบาสเกตบอล 1 สนาม, สระว่ายน้ำ 1 สระ และ หอประชุม 3 หลัง โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จังหวัดลพบุรี ได้รับการคัดเลือกจาก สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ให้เป็น 1 ใน30 โรงเรียนประเภท sister school ตามโครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน (spirit of asean) ให้เป็นศูนย์อาเซียนศึกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนพิบูลวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัธยมปลายโทะคิวะงิ

รงเรียนมัธยมปลายโทะคิวะงิ (常盤木学園高等学校) เป็นโรงเรียนมัธยมปลายซึ่งตั้งอยู่ที่โอะดะวะระยนโจเมะ อะโอะบะคุ เซ็นได จังหวัดมิยะงิ โรงเรียนแห่งนี้เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในชื่อ ทกคี, โทะคิวะงิ โรงเรียนแห่งนี้มีชื่อเสียงด้านทีมฟุตบอลหญิง และอะยุ นะกะดะ ซึ่งเป็นนักฟุตบอลหญิงสังกัดไอแนคโคเบะเลโอเนสซา เคยเข้ารับการศึกษาที่สถาบันแห่งนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนมัธยมปลายโทะคิวะงิ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย

วนอีกด้านหนึ่งที่สำคัญของการจัดตั้งโรงเรียน มาแมร์ราฟาเอล และมาแมร์มารี เดอ ลูร์ด ได้เตรียมหลักสูตรภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส รวมทั้งเตรียมการเรียนการสอนภาษาไทยด้วย เพราะสมัยนั้นทุกโรงเรียนจะต้องมีการจัดสอนภาษาไทยอย่างน้อยวันละหนึ่งคาบทุกวัน ประกอบกับกระทรวงธรรมการผู้รับผิดชอบดูแลการศึกษาในสมัยนั้นค่อนข้างให้อิสระในการดำเนินกิจการของโรงเรียน มีการอนุญาตให้ครูใหญ่และครูเป็นชาวต่างประเทศได้ โดยมีข้อแม้เพียงข้อเดียวคือ ครูใหญ่ต้องรู้ภาษาไทย เมื่อมาแมร์ราฟาเอลสอบภาษาไทยผ่านแล้ว ท่านจึงมีคุณสมบัติเพียงพอที่จะเป็นครูใหญ่ได้ วันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

กด้านบนบริเวณ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย 15 มีนาคม 2489 ภาพถ่ายจากด้านบนบริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ในสมัยก่อน ซึ่งน่าจะถ่ายก่อน ปี 2515 บริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย พ.ศ. 2552 (มุมสูง) บริเวณด้านหน้าตึก 1 และเป็นบริเวณเข้าแถว เสาธงต้นใหม ป็นเสาธงของสถานศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย(อักษรย่อ: ร.ส., R.S.)เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนชายล้วน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งอยู่เลขที่ 1753 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชินี

รงเรียนราชินี เป็นโรงเรียนเก่าแก่แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2447 ณ ตึกแถวมุมถนนอัษฎางค์และถนนจักรเพชร ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ตึกริมแม่น้ำเจ้าพระยาใกล้ปากคลองตลาด และมีการเปิดรับนักเรียนกินนอนขึ้นใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนราชินี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ

รงเรียนวัฒโนทัยพายัพ โรงเรียนมาตรฐานสากล(World- Class Standard School) โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ เดิมเคยเป็นโรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพมาก่อน ปัจจุบันเปิดทำการเรียนการสอนแบบสหศึกษาในระดับมัธยมศึกษา พ.ศ. 2449 โรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพ "ยุพราชวิทยาลัย" พ.ศ. 2471 โรงเรียนสตรีประจำมณฑลพายัพ "วัฒโนทัยพายัพ" พ.ศ. 2476 โรงเรียนสตรีวัฒโนทัยพายัพ พ.ศ. 2517 โรงเรียนวัฒโนทัยพายั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดราชโอรส

รงเรียนวัดราชโอรส เดิมเป็นโรงเรียนประชาบาล ตั้งอยู่ในเขตวัดราชโอรสาราม ด้านหน้าติดกับคลองสนามชัย หรือ คลองด่าน เดิมชื่อโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคม ต่อมาได้โอนเป็นโรงเรียนรัฐบาลขึ้นกับกระทรวงธรรมการ โดยรองอำมาตย์เอกหลวงพิรุณพิทยาพรรณเจ้าหน้าที่กระทรวงธรรมการกับพระธรรมุเทศาจารย์ เจ้าอาวาส ได้พิจารณาร่วมกันว่ายังไม่มีโรงเรียนมัธยมในละแวกนี้จึงเสนอให้โอนโรงเรียนประสิทธิ์วิทยาคมไปขึ้นกับกระทรวงธรรมการ มีชื่อว่า โรงเรียนวัดราชโอรส ในวันที่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนวัดราชโอรส · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย

รงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย ตั้งอยู่บนเลขที่ 76 ถนนสารสิทธิ์ฯ ตำบลบ้านโป่ง อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เป็นโรงเรียนเอกชนขนาดใหญ่ประเภทสามัญศึกษาในเครือคณะซาเลเซียนของคุณพ่อบอสโก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับใบอนุญาตจัดตั้งเมื่อ พ.ศ. 2471 ซึ่งถือเป็นโรงเรียนแห่งแรกของคณะซาเลเซียนในประเทศไทย เดิมชื่อว่า "โรงเรียนเซนต์โยแซฟบ้านโป่ง" (Saint Joseph College Banpong) ต่อมาในปี.ศ 2484 เมื่อจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ชูแนวความคิดชาตินิยมไทยขึ้นมา กระทรวงศึกษาธิการจึงบังคับเปลื่ยนชื่อโรงเรียนให้เป็นภาษาไทยทั้งหมด ดังนั้น โรงเรียนเซนต์โยแซฟบ้านโป่งได้เปลื่ยนชื่อโรงเรียนเป็น "โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย" (Sarasit Phithayalai School) โดยคำว่า สารสิทธิ์ (Sarasit) แผลงมาจากคำว่า ซาเลเซียน (Salesian) อันเป็นชื่อของคณะซาเลเซียนของคุณพ่อบอสโก ซึ่งชื่อนี้ได้รับการประพันธ์มาจาก ศาสตราจารย์ นาวาเอก พระเรี่ยมวิรัชชพากย์ (เรี่ยม ทรรทรานนท์) อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปารีสในสมัยนั้น ปัจจุบัน โรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัยเปิดรับเฉพาะนักเรียนชาย (โรงเรียนชายล้วน) ตั้งแต่ชั้นเตรียมอนุบาล ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วยกัน 7 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรสามัญ, หลักสูตรเตรียมอนุบาล, หลักสูตร STEM (IP), หลักสูตร 3 ภาษา (SME), หลักสูตรติวเข้มเพื่อเข้ามหาลัยในฝัน (Uni), หลักสูตรการออกแบบ, และหลักสูตรดนตรี โดยมีทั้งแผนกนักเรียนไป - กลับ และแผนกนักเรียนนักเรียนประจำ ภาพถ่ายทางอากาศโรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัยสมัยก่อน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนสารสิทธิ์พิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีภูเก็ต

รงเรียนสตรีภูเก็ต ตั้งขึ้นโดยพระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี สมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต ร่วมกับคณะกรรมการสตรี ได้จัดหาเงินเพื่อสร้างโรงเรียนสำหรับสตรีขึ้น ณ สถานที่บริเวณถนนสตูลเชิงเขารัง เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนสตรีภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนอุตรดิตถ์

รงเรียนอุตรดิตถ์ เป็น โรงเรียนชายประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2452 เดิมชื่อ "โรงเรียนประจำจังหวัดอุตรดิตถ์ " ก่อนจะย้ายไปยังที่ตั้งโรงเรียนอนุบาลจังหวัดอุตรดิตถ์ และย้ายมายังที่ตั้งปัจจุบันในปี พ.ศ. 2484 โรงเรียนอุตรดิตถ์ เป็นสถานศึกษาที่เคยได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทานประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ปัจจุบันโรงเรียนแบ่งการเปิดการสอนเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายเปิดสอนแบบ "สหศึกษา" เป็นโรงเรียนประเภท มัธยมศึกษาตอนต้น-ตอนปลาย โรงเรียนอุตรดิตถ์ในปัจจุบันจัดเป็นสถานมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ และเป็นส่วนราชการในบังคับของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีสถานะเป็นนิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน

ก่อนชื่อพระราชทาน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน

รงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน (อังกฤษ:Deebukphangnga Wittayayon School)ให้การศึกษาในระดับ มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนดีบุกพังงาวิทยายน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ

ัณฑ์โรงเรียนเศรษฐบุตร โรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ เป็นโรงเรียนในสังกัดมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการสร้างโดยพระยาภักดีนรเศรษฐ (เลิศ เศรษฐบุตร) เคยเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดมีนบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูร้อน 1928

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 8 ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโอลิมปิกฤดูร้อน 1928 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1928

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2 ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโอลิมปิกฤดูหนาว 1928 · ดูเพิ่มเติม »

โจ แจ็กสัน (ผู้จัดการ)

ซฟ วอลเตอร์ "โจ" แจ็กสัน (Joseph Walter "Joe" Jackson) เกิดเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1928 - 27 june 2018 เป็นผู้จัดการความสามารถพิเศษ และเป็นบิดาของราชาเพลงป็อบไมเคิล แจ็กสัน,นักร้องเจเน็ต แจ็กสัน และเดอะแจ็กสันไฟฟ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโจ แจ็กสัน (ผู้จัดการ) · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ คิททินเจอร์

ซฟ คิททินเจอร์ หรือ โจ คิทเทนเจอร์ มีชื่อเต็มว่า โจเซฟ วิลเลี่ยม คิททินเจอร์ 2 (Joseph Kittinger หรือ Joe Kittenger; ชื่อเต็ม Joseph William Kittinger II) เป็นชาวอเมริกัน เกิดในวันที่ เป็นนักบิน และเป็นผู้ทดสอบทดลองขับ เครื่องบินรุ่นต่าง ๆ ในกองทัพอากาศของสหรัฐอเมริกา รวมไปถึงการทดสอบการบินในองค์การนาซาด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโจเซฟ คิททินเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โนม ชอมสกี

นม ชอมสกี ดร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และโนม ชอมสกี · ดูเพิ่มเติม »

ไพโรจน์ นิงสานนท์

นายแพทย์ไพโรจน์ นิงสานนท์ เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน (2 สมัย) และเป็นอดีตสมาชิกว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และไพโรจน์ นิงสานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล ชารา

ไมเคิล ชารา (Michael Shaara) (เกิด พ.ศ. 2471 (ค.ศ. 1928) - 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988)) เป็นนักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ นิยายกีฬา และนิยายประวัติศาสตร์ ชาราเริ่มขายนิยายวิทยาศาสตร์ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 โดยหลังจากนั้นได้เป็นอาจารย์สอนอยู่ มหาวิทยาลัยรัฐฟลอริดาสเตต (Florida State University) ผลงานที่มีชื่อเสียงของชาราได้แก่ Battle of Gettysburg, The Killer Angels ชาราได้รับรางวัล Pulitzer Prize ในปี พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) ชาราเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจ ในปี พ.ศ. 2531 ลูกชายของชารา เจฟฟรี ชารา (Jeffrey Shaara) ยังเป็นนักเขียนนิยายประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียง โดยเขียนเรื่องราวภาคต่อจากงานเขียนของบิดา ผลงานที่มีชื่อเสียงคือ The Killer Angels และ Gods and Generals หมวดหมู่:นักเขียนบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และไมเคิล ชารา · ดูเพิ่มเติม »

ไสว พัฒโน

ว พัฒโน อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 8 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และไสว พัฒโน · ดูเพิ่มเติม »

ไดซะกุ อิเกะดะ

ซาขุ อิเคดะ หรือ เกิดเมื่อวันที่ 2 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และไดซะกุ อิเกะดะ · ดูเพิ่มเติม »

ไดโอดเปล่งแสง

อดเปล่งแสงสีต่าง ๆ ไดโอดเปล่งแสง (light-emitting diode หรือย่อว่า LED) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกไดโอด ที่สามารถเปล่งแสงในช่วงสเปกตรัมแคบ เมื่อถูกไบอัสทางไฟฟ้าในทิศทางไปข้างหน้า ปรากฏการณ์นี้อยู่ในรูปของ electroluminescence สีของแสงที่เปล่งออกมานั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมีของวัสดุกึ่งตัวนำที่ใช้ และเปล่งแสงได้ใกล้ช่วงอัลตราไวโอเลต ช่วงแสงที่มองเห็น และช่วงอินฟราเรด ผู้พัฒนาไดโอดเปล่งแสงขึ้นเป็นคนแรก คือ นิก โฮโลยัก (Nick Holonyak Jr.) (เกิด ค.ศ. 1928) แห่งบริษัทเจเนรัล อิเล็กทริก (General Electric Company) โดยได้พัฒนาไดโอดเปล่งแสงในช่วงแสงที่มองเห็น และสามารถใช้งานได้ในเชิงปฏิบัติเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1962.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และไดโอดเปล่งแสง · ดูเพิ่มเติม »

เบ-ลอ บอร์โตก

-ลอ วิกโตร์ ยาโนช บอร์โตก (Bartók Béla Viktor János) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2424 (ค.ศ. 1881) ที่เมืองน็อจแซ็นด์มิกโลช (Nagyszentmiklós) ฮังการี (ในปัจจุบันคือเมืองซึนนีกอลาอูมาเร ประเทศโรมาเนีย) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ที่นครนิวยอร์ก) เป็นทั้งคีตกวี นักเปียโน และนักสะสมดนตรีพื้นบ้านในแถบยุโรปตะวันออก เขาเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้จัดตั้งสาขาวิชาดนตรีชาติพันธุ์วิทยา (ethnomusicology).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเบ-ลอ บอร์โตก · ดูเพิ่มเติม »

เชาวน์ ณศีลวันต์

วน์ ณศีลวันต์ (7 สิงหาคม 2471 -) อดีตองคมนตรี และอดีตประธานกรรมการบริษัทเครือซีเมนต์ไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร สมรสกับคุณหญิงไขศรี ณศีลวันต์ (ถึงแก่อสัญกรรมโดยอุบัติเหตุเครื่องบินตกในปี พ.ศ. 2523) มีบุตรชาย 1 คน คือ นายไชย ณศีลวันต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเชาวน์ ณศีลวันต์ · ดูเพิ่มเติม »

เบตตี เพจ

ตตี เพจ (22 เมษายน ค.ศ. 1928 - 11 ธันวาคม ค.ศ. 2008) นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงในช่วงทศวรรษ 1950 จากการถ่ายแบบโปสเตอร์พิน-อัพ ในชุดเซ็กซี่ และชุดหนัง นอกจากนี้เธอยังเป็นนางแบบหน้ากลาง (เพลย์เมท) คนแรกของนิตยสารเพลย์บอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเบตตี เพจ · ดูเพิ่มเติม »

เฟรนช์โอเพ่น

ฟรนช์โอเพน การแข่งขันเทนนิสเฟรนช์โอเพ่น หรือในชื่ออย่างเป็นทางการว่า โรลังด์ การ์รอส (ฝรั่งเศส: Tournoi de Roland-Garros, อังกฤษ: Roland Garros Tournament) เป็นการแข่งขันเทนนิสที่จัดการแข่งขันขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายนของทุกปี ที่สนามโรลังด์ การ์รอส กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เฟนช์โอเพนเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1891 โดยมีแชมป์คนแรกในประเภทชายเดี่ยวคือ Henry Briggs ชาวฝรั่งเศส ส่วนในประเภทหญิงเดี่ยว เริ่มมีการจัดการแข่งขันครั้งแรกขึ้นในปี..1897 โดยมีแชมป์คนแรกคือ Adine Masson ชาวฝรั่งเศส เฟรนช์โอเพน หรือ โรลังด์ การ์รอส เป็นการแข่งขันแกรนด์สแลมรายการที่สองของปี ถัดจากออสเตรเลียนโอเพน และเป็นการแข่งขันแกรนด์สแลมรายการเดียวที่แข่งบนคอร์ทดิน ด้วยลักษณะพื้นฐานของคอร์ทดินที่แตกต่างไปจากประเภทอื่น ทั้งความเร็วและการกระดอนของลูก ทักษะการเคลื่อนไหวของนักเทนนิสบนผิวคอร์ทดินจึงแตกต่าง ทำให้เฟรนช์โอเพน มักเป็นรายการที่ขัดขวางนักเทนนิสหลายคน เช่น พีท แซมพราส จิมมี คอนเนอร์ มาร์ตินา ฮินกิส และรวมไปถึง โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ในการเป็นผู้ชนะเลิศรายการแกรนด์สแลมครบทั้งสี่รายการ หลังจากก่อนหน้านี้เข้าถึงรอบชิงชนะเลิศมาแล้ว 3 ปีติดต่อกัน (2006, 2007, 2008) แล้วแพ้ให้กับ ราฟาเอล นาดาล ทั้ง 3 ปีที่เข้าชิงชนะเลิศ ได้แค่ตำแหน่งรองแชมป์ ไม่เคยได้ตำแหน่งแชมป์เฟรนช์โอเพนเลย จนกระทั่งปี..2009 โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ที่เข้าถึงรอบชิงชนะเลิศเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน (2006, 2007, 2008, 2009) จึงคว้าแชมป์เฟรนช์โอเพนได้สำเร็จ เมื่อ ราฟาเอล นาดาล ไปพลาดท่าตกรอบ 16 คนสุดท้าย โดยแพ้ให้กับ โรบิน โซเดอลิง 1-3 เซต 2-6, 7-6(2), 4-6, 6-7(2) ทำให้ในรอบชิงชนะเลิศ โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ ชนะ โรบิน โซเดอลิง 3-0 เซตรวด 6-1, 7-6(1), 6-4 คว้าแชมป์เฟรนช์โอเพ่นมาครองได้สำเร็จเป็นครั้งแรก และเป็นผู้ชนะเลิศรายการแกรนด์สแลมครบทั้งสี่รายการเป็นคนที่ 6 ต่อจาก อังเดร แอกอัซซี ผู้ครองตำแหน่งชนะเลิศคนปัจจุบันในประเภทชายเดี่ยวคือ ราฟาเอล นาดาล ส่วนประเภทหญิงเดี่ยวคือ มาเรีย ชาราโปว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเฟรนช์โอเพ่น · ดูเพิ่มเติม »

เพลิงโอลิมปิก

ลิงโอลิมปิกในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว ณ เมืองซอลต์เลกซิตี (Salt Lake City) รัฐยูทาห์ สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2545 เพลิงโอลิมปิก (Olympic Flame, Olympic Fire, Olympic Torch, Olympic Light, Olympic Eye, Olympic Sun) คือเพลิงที่ใช้จุดในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก เป็นสัญลักษณ์และอนุสรณ์ถึงเพลิงที่เทพโพรมีเทียสขโมยจากเทพเจ้าซุสมามอบให้แก่มนุษยชาติมีไว้บริโภคเป็นครั้งแรก การจุดคบเพลิงโอลิมปิกเป็นประเพณีปฏิบัติตั้งแต่สมัยกรีกโบราณที่ต้องรักษาให้เพลิงโชติช่วงตลอดการแข่งขันกีฬาดังกล่าว สำหรับการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกยุคปัจจุบัน ประเพณีการจุดเพลิงเช่นว่านี้ได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม พ.ศ. 2471 สืบมาจนทุกวันนี้ ส่วนการส่งผ่านและวิ่งซึ่งคบเพลิงโอลิมปิกจากประเทศกรีซผ่านประเทศเครือข่ายต่าง ๆ ไปยังประเทศเจ้าภาพจัดการแข่งขันนั้นมีนายคาร์ล ไดเอ็ม (Carl Diem) และนายโยเซฟ เกิบเบลส์ (Joseph Goebbels) เป็นผู้ริเริ่มในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงเบอร์ลิน พ.ศ. 2479.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเพลิงโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

เกรทโอลด์วัน

กรทโอลด์วัน หรือ เฒ่าผู้ยิ่งใหญ่ เป็นศัพท์ซึ่งใช้เรียกสิ่งสมมุติในวรรณกรรมกลุ่มตำนานคธูลู ซึ่งมีที่มาจากบทประพันธ์ของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ แม้เกรทโอลด์วันที่มีชื่อเสียงที่สุดจะมาจากผลงานของเลิฟคราฟท์เอง แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นตัวละครจากงานเขียนของนักประพันธ์คนอื่น โดยรวมแล้ว เกรทโอลด์วัน (ซึ่งบางครั้งถูกเรียกว่า โอลด์วัน โดยนักประพันธ์) มีอำนาจที่ด้อยกว่าเอาเตอร์ก็อด แต่ก็ได้รับการบูชาจากลัทธิต่างๆทั้งที่เป็นมนุษย์และอมนุษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเกรทโอลด์วัน · ดูเพิ่มเติม »

เกวันด์เฮาส์

กวันด์เฮาส์ (Gewandhaus) เมืองไลพ์ซิจ เป็นห้องจัดแสดงคอนเสิร์ตที่มีความสำคัญแห่งหนึ่งของเมือง นอกจากนี้ ยังเป็นสถานที่จัดแสดงคอนเสิร์ตของวงออร์เคสตราเกวันด์เฮาส์อีกด้วย ปัจจุบันเกวันด์เฮาส์เมืองไลพ์ซิจ ตั้งอยู่ ณ ลานจัตุรัสเอากุสตุส อาคารเกวันด์เฮาส์หลังปัจจุบันถูกสร้างเพื่อทดแทนหลังเก่าที่ถูกทำลายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เกวันด์เฮาส์ หลังแรก ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1781 เกวันด์เฮาส์ หลังที่สอง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1884 เกวันด์เฮาส์ หลังปัจจุบัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเกวันด์เฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเรียกของคธูลู

"เสียงเรียกของคธูลู" (The Call of Cthulhu) เป็นเรื่องสั้นที่ประพันธ์โดยเอช. พี. เลิฟคราฟท์ในปีพ.ศ. 2469 และตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสาร Weird Tales ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเสียงเรียกของคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของคณิตศาสตร์

้นเวลาของคณิตศาสตร์บริสุทธิ์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ (timeline of mathematics).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเส้นเวลาของคณิตศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เห้ง โสภาพงศ์

ห้ง โสภาพงศ์ นายเห้ง โสภาพงศ์ ศิลปินแห่งชาติ ประจำปี 2529 สาขาทัศนศิลป์ (เครื่องถม).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเห้ง โสภาพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

เอลเดอร์ก็อด

อลเดอร์ก็อด หรือ เทพโบราณ (Elder God) เป็นศัพท์ซึ่งใช้เรียกเทพสมมุติในวรรณกรรมกลุ่มตำนานคธูลู (Cthulhu Mythos) ซึ่งมีที่มาจากบทประพันธ์ของ เอช. พี. เลิฟคราฟท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเอลเดอร์ก็อด · ดูเพิ่มเติม »

เอะบิซุ

ทิวทัศน์ของย่านเอะบิซุ มองจากโรงแรม Westing รูปหล่อของเทพเอะบิซุที่หน้าสถานีรถไฟเอะบิซุ Yebisu Garden Place มองจากหอคอยโตเกียว Yebisu Garden Place เอะบิซุ เป็นย่านหนึ่งในเขตชิบุยะในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ใกล้กับย่านรปปงงิและชิบุยะส่วนกลาง เดินทางเข้าถึงได้สะดวกโดยรถไฟสาย JR ยะมะโนะเตะ และสายฮิบิยะ ซึ่งจะจอดที่สถานีรถไฟเอะบิซุ จากสถานีสามารถเดินเท้าเข้าถึงย่านนี้ได้อย่างสะดวก มีร้านเครื่องแต่งกายนำสมัย ร้านเหล้าองุ่น และร้านขายขนม เช่นเดียวกับย่านนำสมัยอย่างไดคังยะมะและฮิโระโอะ สถานที่ท่องเที่ยวหลักของย่านเอะบิซุจะอยู่รอบ Yebisu Garden Place และโรงแรม Westin เดินเท้าได้จากทางออกด้านตะวันออกของสถานีเอะบิซุผ่านทาง Yebisu Skywalk ตัวอย่างสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญ เช่น สำนักงานใหญ่ของ Sapporo Breweries พิพิธภัณฑ์เบียร์เอะบิซุ และ Tokyo Metropolitan Museum of Photography เอะบิซุเป็นจุดเปลี่ยนรถไฟของผู้ใช้บริการสายยะมะโนะเตะและฮิบิยะ จึงมีบาร์และร้านอาหารมากมาย ตั้งแต่ร้านอาหารแบบ izakaya ไปจนถึงผับแบบอังกฤษ รวมถึง old-fashioned tachinomi ("stand and drink) bars ร้านอาหารเหล่านี้ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในย่านเก่าที่อยู่ถัดจากทางออกด้านตะวันตกของสถานีรถไฟ แยกออกจากถนนโคะมะสะวะ อาคาร Yebisu Garden Place Tower มีจุดชมทิวทัศน์ของกรุงโตเกียวอยู่บนภัตตาคารบนชั้นที่ 38 เอะบิซุถือกำเนิดขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2471 โดยขณะนั้นเป็นชุมชนที่พัฒนาขึ้นรอบๆอาคารของ Japan Beer Brewery Company ซึ่ง Yebisu Garden Place ตั้งอยู่ในปัจจุบัน Yebisu Beer ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2433 โดย Japan Beer ตั้งชื่อตามเทพเอะบิซุ หนึ่งในเจ็ดเทพแห่งโชคลาภของญี่ปุ่น และเป็นเบียร์ที่เป็นที่นิยมของคนในท้องที่มายาวนาน ย่านนี้ได้ชื่อตามสถานีรถไฟที่สร้างขึ้นโดย Japan Beer Brewery Company เมื่อ พ.ศ. 2444 เพื่ออำนวยความสะดวกในการขนส่งเบียร์ ตั้งแต่นั้น Japan Beer ได้จัดระบบองค์กรใหม่และเปลี่ยนชื่อเป็น Sapporo Breweries Ltd.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเอะบิซุ · ดูเพิ่มเติม »

เอเดน อับดุลลาห์ ออสมัน ดาร์

อเดน อับดุลลาห์ ออสมัน ดาร์ (Aadan Cabdulle Cismaan Daar, آدم عبد الله عثمان دار) (พ.ศ. 2471 – 8 มิถุนายน พ.ศ. 2550) หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม เอเดน อับดี เป็นนักการเมืองชาวโซมาเลีย เขาเป็นประธานาธิบดีคนแรกของโซมาเลีย ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเอเดน อับดุลลาห์ ออสมัน ดาร์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮอร์เบิร์ต ฮูเวอร์

เฮอร์เบิร์ต คลาร์ก ฮูเวอร์ (Herbert Clark Hoover) (10 สิงหาคม 2417 – 20 ตุลาคม 2507) เป็นอดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนที่ 31 และรวมถึงนักวิศวกรเหมือนแร่ และนักประพันธ์ ในสมัยของเขาได้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ไปทั่วทั้งอเมริกาและยุโรป หมวดหมู่:ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐไอโอวา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐออริกอน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเฮอร์เบิร์ต ฮูเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงเฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์ก (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนียและเป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ ดี. วัตสัน

มส์ ดี. วัตสัน เจมส์ ดิวอี วัตสัน (James Dewey Watson; 6 เมษายน พ.ศ. 2471) นักอณูชีววิทยาชาวอเมริกัน ได้รับการยอบรับว่าเป็นผู้ค้นพบโครงสร้างโมเลกุลของดีเอ็นเอร่วมกับฟรานซิส คริกและมอริส วิลคินส์ โดยได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ มีผลงานการตีพิมพ์คือบทความ โครงสร้างโมเลกุลของกรดนิวคลีอิก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจมส์ ดี. วัตสัน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ

้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ (秩父宮 雍仁, Chichibu no miya Yasuhito Shinnō?, 25 มิถุนายน พ.ศ. 2444 - 4 มกราคม พ.ศ. 2496) หรือ เจ้าชายยะสุฮิโตะ เป็นพระราชโอรสพระองค์รองในสมเด็จพระจักรพรรดิไทโช และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิโชวะ พระองค์ทรงเป็นผู้อุปถัมป์ ด้านกีฬา, การแพทย์ โดยก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ทรงสามารถตรัสภาษาอังกฤษได้ จึงได้ทรงดูแลความสัมพันธ์ระหว่าง พระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชวงศ์ญี่ปุ่น พระองค์ได้ทรงเข้าประจำการในกองทัพญี่ปุ่น พระองค์นั้นก็เหมือนกับเจ้าชายพระองค์อื่นๆในราชวงศ์ที่ญี่ปุ่นที่ได้รับการอภัยโทษไม่ต้องเป็นอาชญากรสงคราม หลังจากแพ้สงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชิชิบุ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโทมิสลาฟแห่งยูโกสลาเวีย

้าชายโทมิสลาฟแห่งยูโกสลาเวีย (เซอร์เบียนซีริลลิก: Томислав Карађорђевић) พระราชโอรสพระองค์ที่ 2 ใน สมเด็จพระราชาธิบดีอเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งยูโกสลาเวีย และ มาเรียแห่งโรมาเนีย สมเด็จพระราชินียูโกสลาเวี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าชายโทมิสลาฟแห่งยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเคลาส์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าชายเคลาส์แห่งเนเธอร์แลนด์ (His Royal Highness Prince Claus of the Netherlands) ทรงเป็นเจ้าชายพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าชายเคลาส์แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน)

ลเอก เจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม พิชเยนทรโยธิน) เกิดเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2411 ที่บ้านถนนพระสุเมรุ บางลำพูบน ในกำแพงพระนคร เป็นบุตรนายเสงี่ยม อินทรโยธิน มีตำแหน่งเป็นมหาดเล็กวิเศษอยู่เวรศักดิ์ และคุณหญิงชม้าย อินทรโยธิน มีพี่น้องรวมท่านด้วยทั้งสิ้น 8 คน เป็นหญิงคนโต นอกนั้นเป็นชายทั้งหมด โดยท่านเป็นคนที่ 3 ได้รับการศึกษาชั้นต้นที่โรงเรียนหลวงในพระบรมมหาราชวัง ในสำนักพระยาอนุกูล (ชม) และได้เข้าศึกษาวิชาทหารในสำนักพระยาวิเศษสัจธาดา ได้ศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักครูลำดัส ได้ถวายตัวเป็นทหารรักษาพระองค์ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ในปี พ.ศ. 2427 ได้บวชเป็นสามเณรอยู่วัดรังสีในสำนักท่านอาจารย์สี เมื่อสึกจากสามเณรแล้วได้ไปศึกษาวิชาภาษาอังกฤษในสำนักหมอแมกฟาร์แลนด์เป็นเวลา 3 ปี แล้วสมัครเข้าเป็นนักเรียนนายร้อยทหารบก วังสราญรมย์เมื่อเรียนจบหลักสูตรแล้วก็เข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 4 เมื่อปี 2433 ได้ย้ายเข้าประจำกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ได้ไปในกองข้าหลวงใหญ่เพื่อปราบโจรผู้ร้ายหัวเมืองฝ่ายตะวันออก เมื่อครั้งที่ พลเอกเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ผู้บัญชาการทหารบก ได้รับโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เป็นข้าหลวงใหญ่ในการปราบปรามโจรผู้ร้ายนั้น จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยโทปลัดกองโรงเรียนนายร้อยทหารบก ในปี พ.ศ. 2435 ได้ย้ายไปรับราชการประจำกองร้อยที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากนั้นก็ได้เลื่อนยศเป็นว่าที่ร้อยเอกเป็นผู้บังคับกองร้อยที่ 4 กองพันที่ 1 ในกรมทหารราบที่ 3 ของพระยาอนุชิตชาญไชย ไปราชการทัพมณฑลอีสานที่เมืองอุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2437 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็นร้อยเอกในกรมทหารบก มีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสรสิทธยานุภาพ เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณทิศฯ ทิวงคต ก็ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกไปรับราชการเป็นองครักษ์ประจำองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งทรงศึกษาอยู่ในประเทศอังกฤษ พร้อมกับ พลตรีพระยาเสมอใจราช ข้าหลวงผู้เชิญเครื่องราชอิสริยยศไปทูลเกล้าฯ ที่กรุงลอนดอน ในการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ของสมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ ระหว่างที่รับราชการประจำพระองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ประทับอยู่ที่ประเทศอังกฤษ ก็ได้ตามเสด็จพระราชดำเนินไปทุกหนทุกแห่ง และได้ศึกษาวิชาทหารบางวิชาโดยเสด็จ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมารด้วย ในปี พ.ศ. 2443 ได้ตามเสด็จฯ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 1 แห่งอิตาลี ในเดือน กันยายน 2444 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานพระบรมศพสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ในเดือนพฤษภาคม 2445 ได้ตามเสด็จฯ ไปในงานบรมราชาภิเษก พระเจ้าอัลฟังโซแห่งสเปน ในเดือน มิถุนายน 2445 ได้รับพระราชทานสัญญาบัตรเป็น.ต. และได้ตามเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไปประเทศนอร์เวย์ และประเทศเดนมาร์ก เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงสำเร็จการศึกษาแล้ว ได้เสด็จประพาสไปเยี่ยมเยียนพระราชสำนักและเมืองต่างๆ ในยุโรป อเมริกา และญี่ปุ่น ก็ได้ตามเสด็จฯ ไปด้วย ได้เสด็จฯ นิวัตกลับกรุงเทพฯ ทางอเมริกาถึงกรุงเทพฯ เมื่อปลายเดือน ก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน (อุ่ม อินทรโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)

รองอำมาตย์เอก พลตรี เจ้าราชบุตร หรือพระนามเดิมคือ เจ้าวงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่ เป็นเจ้าราชบุตรองค์สุดท้ายแห่งจังหวัดเชียงใหม่ อดีตผู้บังคับการพิเศษกรมผสมที่ 7 ราชองครักษ์พิเศษ อดีตสมาชิกวุฒิสภา และเป็นราชโอรสในพลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 กับแม่เจ้าจามรีวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์

้าหญิงมารีนาแห่งกรีซและเดนมาร์ก (Princess Marina of Greece and Denmark, CI, GCVO, GBE; 13 ธันวาคม พ.ศ. 2449 - 27 สิงหาคม พ.ศ. 2511) ต่อมาทรงเป็น เจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ (Princess Marina, Duchess of Kent) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษและเป็นพระวรชายาในเจ้าชายจอร์จ ดยุกแห่งเคนต์ พระราชโอรสองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และ สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระองค์ทรงเป็นเจ้าหญิงจากราชวงศ์ต่างประเทศองค์สุดท้ายที่อภิเษกสมรสเข้ามาในพระราชวงศ์อังกฤษ หลังจากนั้นมาเจ้าสาวทุกคนเป็นเพียงแค่สามัญชนทั้งหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าหญิงมารีนา ดัชเชสแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน

้าฟ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน (Princess Märtha of Sweden, มาร์ธา โซเฟีย โลวิซา แด็กมาร์ ไธรา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 5 เมษายน พ.ศ. 2497) ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์พระองค์แรกในยุคปัจจุบัน ซึ่งมิได้ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนหรือเดนมาร์ก อีกทั้งยังทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งนอร์เวย์มาตั้งแต่แรกประสูติจนกระทั่งถึงการแยกออกตัวออกจากการรวมตัวกันระหว่างประเทศสวีเดนและนอร์เวย์ในปี พ.ศ. 2448 พระองค์เป็นพระชายาและพระญาติชั้นที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เมื่อสมัยที่ยังทรงเป็นมกุฎราชกุมาร เนื่องจากพระชนกและพระชนนีของทั้งสองพระองค์เป็นพี่น้องกัน และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาอยู่ทางฝ่ายพระชนกของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เจ้าหญิงประสูติเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์รองในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ และ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาทางฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งทางฝ่ายพระชนนี ส่วนเจ้าหญิงแอสตริดแห่งสวีเดน พระขนิษฐาองค์เล็กทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโพลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ในขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี

้าหญิงวิกตอเรีย พระวรราชกุมารี หรือพระนามเต็ม วิกตอเรีย อเดเลด แมรี หลุยซา (ประสูติ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2383 สวรรคต 5 สิงหาคม พ.ศ. 2444) พระราชธิดาพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต แห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน

้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน หรือ อลิซ แมรี่ วิกตอเรีย ออกัสตา พอลีน หรือพระอิสริยยศแรกเดิม เจ้าหญิงอลิซแห่งออลบานี (Princess Alice, Countess of Athlone, VA, GCVO, GBE; พระอิสริยยศแรกเดิม Princess Alice of Albany; 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2426 - 3 มกราคม พ.ศ. 2524) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ และพระราชนัดดาของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระองค์ทรงมีจุดเด่นที่ยังคงเป็นเจ้าหญิงในเชื้อพระวงศ์ที่มีพระชนม์ชีพยืนยาวที่สุดของพระราชวงศ์อังกฤษและพระราชนัดดาที่ทรงพระชนม์ชีพอยู่เป็นองค์สุดท้ายในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย อีกทั้งยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าหญิงแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา และดัชเชสแห่งแซ็กโซนี พร้อมกับทั้งเจ้าหญิงแห่งเท็คจากการอภิเษกสมรสจนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2460 เมื่อพระองค์ต้องทรงสละฐานันดรศักดิ์ทั้งหมดตามพระบรมราชโองการของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าหญิงอลิซ เคาน์เตสแห่งแอธโลน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซีย

้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซีย (Princess Sophia of Prussia) (โซเฟีย โดโรเธีย อุลริเคอ อลิซ; 14 มิถุนายน พ.ศ. 2413 - 13 มกราคม พ.ศ. 2475) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าหญิงโซเฟียแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต

พัดแฉกงาพิเศษประดับพลอย พระราชทานแก่เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตบางรูป เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต คือเจ้าคณะใหญ่ผู้ปฏิบัติหน้าที่ในคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกายทุกภาค เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตรูปปัจจุบันคือสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร) ซึ่งที่ประชุมมหาเถรสมาคมได้ลงมติเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าเดชา ณ ลำปาง

้าเดชา ณ ลำปาง (พ.ศ. 2471 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558) เป็นราชบุตรในพระเพชรคีรีศรีสงคราม (เจ้าแก้วเมืองไท ณ ลำปาง) และเป็นผู้สืบเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าของเจ้าผู้ครองนครลำปาง และหากสยามไม่มีการยกเลิกประเพณีการแต่งตั้งเจ้าผู้ครองนครประเทศราช เจ้าเดชาจะมีสถานะขึ้นเป็นเจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ 16 แห่งทิพจักราธิวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเจ้าเดชา ณ ลำปาง · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลนครหาดใหญ่

นครหาดใหญ่ เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา หาดใหญ่ถือได้ว่าเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ และเป็นเทศบาลนครที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 3 ของประเทศไทย รองจากเทศบาลนครนนทบุรี และเทศบาลนครปากเกร็ด เนื่องจากเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า และการคมนาคมขนส่งที่สำคัญของภาคใต้ หาดใหญ่ได้ยกฐานะเป็นเทศบาลนครหาดใหญ่เมื่อวันที่ 25 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเทศบาลนครหาดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เทะซึกะ โอะซะมุ

ทะซึกะ โอะซะมุ เกิดวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1928 - 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1989 เป็นนักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น ผู้เขียนเรื่องเจ้าหนูปรมาณู และ สิงห์น้อยเจ้าป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเทะซึกะ โอะซะมุ · ดูเพิ่มเติม »

เขมรแดง

ธงแดงรูปค้อนเคียวของพรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา (ต่อมาคือพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย) เขมรแดง (เขมร: ខ្មែរក្រហម; แขฺมรกฺรหม; อ่านว่า คแมร์กรอฮอม /ฝรั่งเศสและอังกฤษ: Khmer Rouge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ “กองทัพแห่งชาติกัมพูชาประชาธิปไตย” (Armée nationale du Kampuchéa démocratique) คือ กองกำลังคอมมิวนิสต์กัมพูชา ที่เคยปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึ่งในขณะนั้นถูกเปลี่ยนชื่อเป็นกัมพูชาประชาธิปไตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522 เขมรแดงถือเป็นตัวแทนความสำเร็จเชิงอำนาจของพรรคการเมืองลัทธิคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ที่ต่อมาได้พัฒนาไปเป็น “พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา” (Communist Party of Kampuchea; Parti communiste du Kampuchéa – PCK) และ “พรรคกัมพูชาประชาธิปไตย” (Parti du Kampuchéa démocratique) รูปแบบการปกครองของเขมรแดงมีจุดประสงค์เพื่อสร้าง "สังคมใหม่" โดยใช้รากฐานทางอุดมการณ์ที่เรียกว่า "อุดมการณ์ปฏิวัติแบบเบ็ดเสร็จ" (idéologie de révolution totale) ที่มีการรักษาเผด็จการโดยชนชั้นกรรมาชีพ เป็นตัวขับเคลื่อน สิ่งแรกที่เขมรแดงกระทำหลังจากได้รับอำนาจ คือ การกวาดต้อนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดจากกรุงพนมเปญและเมืองสำคัญอื่น ๆ มาบังคับให้ทำการเกษตรและใช้แรงงานร่วมกันในพื้นที่ชนบท เพื่อจำแนกประชาชนที่ถือว่าเป็น "ศัตรูทางชนชั้น" ไม่ว่าจะเป็น ทหาร ข้าราชการ เชื้อพระวงศ์ ผู้มีการศึกษา หรือผู้มีวิชาชีพเฉพาะในด้านต่าง ๆ ออกมาเพื่อขจัดทิ้ง การกระทำดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ประชาชนชาวกัมพูชาต้องเสียชีวิตจากการถูกสังหาร ถูกบังคับใช้แรงงาน และความอดอยาก เป็นจำนวนประมาณ 850,000 ถึง 3 ล้านคน ซึ่งเมื่อเทียบอัตราส่วนของประชาชนที่เสียชีวิตต่อจำนวนประชาชนกัมพูชาทั้งหมดในขณะนั้น (ประมาณ 7.5 ล้านคน ใน พ.ศ. 2518) ถือได้ว่าระบอบการปกครองของเขมรแดงเป็นหนึ่งในระบอบที่มีความรุนแรงที่สุดในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลังจากที่เขมรแดงปกครองกัมพูชาเป็นระยะเวลา 4 ปี ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเขมรแดง · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระนคร

ตพระนคร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งพระนคร เนื่องจากมีสถานที่สำคัญทั้งทางด้านวัฒนธรรมและด้านการเมืองการปกครองตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งเขตพระนครเป็นที่ตั้งของเกาะรัตนโกสินทร์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเขตพระนคร · ดูเพิ่มเติม »

เดอะวอลต์ดิสนีย์

ริษัทเดอะวอลต์ดิสนีย์ (The Walt Disney Company-) หรือรู้จักกันในชื่อ ดิสนีย์ (Disney) บริษัทสื่อและสวนสนุกที่ใหญ่ที่สุดในโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) โดยสองพี่น้องดิสนีย์ วอลต์ ดิสนีย์ และพี่ชาย รอย ดิสนีย์ โดยเริ่มก่อตั้งจากการเป็นสตูดิโอทำภาพยนตร์การ์ตูนในฮอลลีวูด และขยายกิจการเพิ่มเติมโดยในปัจจุบันมีสวนสนุก 11 แห่ง และสถานีโทรทัศน์หลายสถานี รวมถึง เอบีซี และ อีเอสพีเอ็น สำนักงานใหญ่ของดิสนีย์ตั้งอยู่ที่ วอลต์ดิสนีย์สตูดิโอส์ ที่เมืองเบอร์แบงก์ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ซึ่งดิสนีย์ได้เข้าสู่เป็นบริษัทมหาชนเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2534 สัญลักษณ์ทางการของดิสนีย์คือ มิกกี เม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเดอะวอลต์ดิสนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

เดือน บุนนาค

ตราจารย์ เดือน บุนนาค ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ผู้ร่วมก่อตั้ง เลขาธิการ และรักษาการผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวหน้าพรรคสหชีพ มีผลงานที่สำคัญระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเดือน บุนนาค · ดูเพิ่มเติม »

เต่าหัวค้อน

ต่าหัวค้อน หรือ เต่าล็อกเกอร์เฮด หรือ เต่าจะละเม็ด (Loggerhead) เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Caretta caretta จัดเป็นเพียงสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Caretta ลักษณะทั่ว ๆ ไปคล้ายเต่าหญ้า (Lepidochelys olivacea) และเต่าตนุ (Chelonia mydas) มาก ต่างกันที่เกล็ดบนส่วนหัวตอนหน้ามี จำนวน 2 คู่ เท่ากับเต่าหญ้า แต่เกล็ดบนกระดองหลังแถวข้างมีจำนวน 5 แผ่นซึ่งต่างจากเต่าทะเลชนิดอื่น ๆ และรูปทรงของกระดองจะเรียวเล็กลงมาทางส่วนท้ายและเป็นสันแข็งเห็นชัดเจน กระดองมีสีน้ำตาลแดง น้ำตาลเหลือง หรือน้ำตาลส้ม ขอบชายโครงมีสันแข็ง ขณะที่ยังเป็นลูกเต่ากระดองจะยกสูง ที่สำคัญเป็นจุดเด่น คือ มีหัวขนาดใหญ่โตอย่างเห็นได้ชัด อันเป็นที่มาของชื่อเรียก ขาซึ่งเป็นใบพายทั้งคู่หน้าและคู่หลังมีเล็บหนึ่งเล็บในแต่ละข้าง ขนาดเมื่อโตเต็มที่มีขนาดกระดองหลังยาวประมาณ 85 เซนติเมตร กระดองท้อง 60 เซนติเมตร มีน้ำหนักตัวประมาณ 70 กิโลกรัม กินอาหารจำพวก สัตว์น้ำมีเปลือกและหอย เป็นอาหารหลัก พบน้อยมากที่มหาสมุทรแปซิฟิก แต่พบมากที่มหาสมุทรแอตแลนติก ในน่านน้ำไทยพบน้อยมาก และไม่พบรายงานว่ามีการขึ้นมาวางไข่เป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว แต่ยังพบได้บ้างที่เขตอบอุ่นทางตอนเหนือของออสเตรเลียและทะเลญี่ปุ่น หรืออินโดนีเซีย ในเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเต่าหัวค้อน · ดูเพิ่มเติม »

เปาลู เมงจิส ดา รอชา

ปาลู เมงจิส ดา รอชา (Paulo Mendes da Rocha) เกิดเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1928 ที่เมืองวีตอเรีย รัฐเอสปีรีตูซังตู เป็นสถาปนิกชาวบราซิล เคยได้รับรางวัลมีสฟานเดอร์โรห์ (2000) และรางวัลพริตซ์เกอร์ (2006) เปาลูศึกษาที่วิทยาลัยสถาปัตยกรรมแห่งมหาวิทยาลัยเพรสไบทีเรียแมกเคนซี (Universidade Presbiteriana Mackenzie) จบการศึกษาในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และเปาลู เมงจิส ดา รอชา · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤศจิกายน

วันที่ 10 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 314 ของปี (วันที่ 315 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 51 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ10 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

10 มกราคม

วันที่ 10 มกราคม เป็นวันที่ 10 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 355 วันในปีนั้น (356 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ10 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

10 มีนาคม

วันที่ 10 มีนาคม เป็นวันที่ 69 ของปี (วันที่ 70 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 296 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ10 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 ตุลาคม

วันที่ 10 ตุลาคม เป็นวันที่ 283 ของปี (วันที่ 284 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 82 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ10 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

11 มกราคม

วันที่ 11 มกราคม เป็นวันที่ 11 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 354 วันในปีนั้น (355 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ11 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

11 มิถุนายน

วันที่ 11 มิถุนายน เป็นวันที่ 162 ของปี (วันที่ 163 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 203 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ11 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

11 ตุลาคม

วันที่ 11 ตุลาคม เป็นวันที่ 284 ของปี (วันที่ 285 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 81 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ11 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 กุมภาพันธ์

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 43 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 322 วันในปีนั้น (323 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ12 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ13 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

13 มิถุนายน

วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ13 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ15 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ15 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

16 พฤษภาคม

วันที่ 16 พฤษภาคม เป็นวันที่ 136 ของปี (วันที่ 137 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 229 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ16 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 กรกฎาคม

วันที่ 16 กรกฎาคม เป็นวันที่ 197 ของปี (วันที่ 198 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 168 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ16 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

16 ธันวาคม

วันที่ 16 ธันวาคม เป็นวันที่ 350 ของปี (วันที่ 351 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 15 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ16 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤศจิกายน

วันที่ 18 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 322 ของปี (วันที่ 323 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 43 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ18 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

18 มิถุนายน

วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ18 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

19 สิงหาคม

วันที่ 19 สิงหาคม เป็นวันที่ 231 ของปี (วันที่ 232 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 134 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ19 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 กรกฎาคม

วันที่ 2 กรกฎาคม เป็นวันที่ 183 ของปี (วันที่ 184 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 182 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ2 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มกราคม

วันที่ 2 มกราคม เป็นวันที่ 2 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 363 วันในปีนั้น (364 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ2 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มีนาคม

วันที่ 2 มีนาคม เป็นวันที่ 61 ของปี (วันที่ 62 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 304 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ2 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 ตุลาคม

วันที่ 22 ตุลาคม เป็นวันที่ 295 ของปี (วันที่ 296 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 70 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ22 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 พฤษภาคม

วันที่ 23 พฤษภาคม เป็นวันที่ 143 ของปี (วันที่ 144 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 222 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ23 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 มกราคม

วันที่ 25 มกราคม เป็นวันที่ 25 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 340 วันในปีนั้น (341 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ25 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

25 สิงหาคม

วันที่ 25 สิงหาคม เป็นวันที่ 237 ของปี (วันที่ 238 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 128 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ25 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กรกฎาคม

วันที่ 26 กรกฎาคม เป็นวันที่ 207 ของปี (วันที่ 208 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 158 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ26 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ26 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ26 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

27 กุมภาพันธ์

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 58 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 307 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ27 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

28 (แก้ความกำกวม)

28 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ28 (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ28 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 กุมภาพันธ์

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 59 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 306 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ28 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

29 สิงหาคม

วันที่ 29 สิงหาคม เป็นวันที่ 241 ของปี (วันที่ 242 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 124 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ29 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 พฤศจิกายน

วันที่ 3 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 307 ของปี (วันที่ 308 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 58 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ3 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

3 กันยายน

วันที่ 3 กันยายน เป็นวันที่ 246 ของปี (วันที่ 247 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 119 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ3 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

31 สิงหาคม

วันที่ 31 สิงหาคม เป็นวันที่ 243 ของปี (วันที่ 244 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 122 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ31 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤษภาคม

วันที่ 4 พฤษภาคม เป็นวันที่ 124 ของปี (วันที่ 125 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 241 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ4 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 เมษายน

วันที่ 4 เมษายน เป็นวันที่ 94 ของปี (วันที่ 95 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 271 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ4 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

5 พฤษภาคม

วันที่ 5 พฤษภาคม เป็นวันที่ 125 ของปี (วันที่ 126 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 240 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ5 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

6 สิงหาคม

วันที่ 6 สิงหาคม เป็นวันที่ 218 ของปี (วันที่ 219 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 147 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ6 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ6 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มีนาคม

วันที่ 7 มีนาคม เป็นวันที่ 66 ของปี (วันที่ 67 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 299 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ7 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 สิงหาคม

วันที่ 7 สิงหาคม เป็นวันที่ 219 ของปี (วันที่ 220 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 146 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ7 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 กุมภาพันธ์

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 40 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 325 วันในปีนั้น (326 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ9 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

9 มิถุนายน

วันที่ 9 มิถุนายน เป็นวันที่ 160 ของปี (วันที่ 161 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 205 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ9 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

9 ตุลาคม

วันที่ 9 ตุลาคม เป็นวันที่ 282 ของปี (วันที่ 283 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 83 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2471และ9 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1928

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »