โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2470

ดัชนี พ.ศ. 2470

ทธศักราช 2470 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1927 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

361 ความสัมพันธ์: ชาลส์ เทต รีกันบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ช้าง (ภาพยนตร์)ฟอร์ด โมเดลทีฟุตบอลทีมชาติจีนไทเปพ.ศ. 2533พ.ศ. 2534พ.ศ. 2552พ.ศ. 2553พ.ศ. 2555พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พ.ศ. 2559พ.ศ. 2560พรรคชาตินิยมเวียดนามพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุพระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)พระยาศรีธรรมราช (ทองคำ กาญจนโชติ)พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุชพระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)พระอาจารย์ดี ฉนฺโนพระอินทรสมาจาร (เงิน อินทสโร)พระธรรมศีลาจารย์ (สุกรี สุตาคโม)พระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ฐิตปญฺโญ)พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)พระที่นั่งเวหาศน์จำรูญพระครูรัตนสราธิคุณ (ทอง รตนสาโร)พระครูสิทธิสารคุณ (จาด คังคสโร)พระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณพระครูเกษมธรรมนันท์ (แช่ม ฐานุสฺสโก)พระตำหนักสวนหงส์พระเศวตคชเดชน์ดิลกพระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา...พิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพลพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานพงส์ สารสินกลอนกองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์กองทัพปลดปล่อยประชาชนกัสตง เลอรูการรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาลการทรยศโดยชาติตะวันตกการแข่งขันจักรยานชิงแชมป์โลกการเปรียบเทียบแพร์ไวส์กึนเทอร์ กรัสส์กีฬาตะวันออกไกลกีฬาตะวันออกไกล 1927ฝันอเมริกันฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองภาพยนตร์ภาพยนตร์ไทยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่มหาวิทยาลัยไลพ์ซิชมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์มาร์แชลล์ วอร์เรน ไนเรนเบิร์กยอก โซธอทรอเบิร์ต ลัดลัมรัฐโอคลาโฮมาราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์ราม นารายัณรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2470รายชื่อธงในประเทศยูเครนรายชื่อธงในประเทศลิทัวเนียรายชื่อธงในประเทศสเปนรายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถานรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทยรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายกรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชารายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกสรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์กัมพูชารายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากรรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้ารายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีนรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาเคมีรถดีเซลรางรถไฟสายทางช้างเผือกรถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดงลอยส์ แม็กซ์เวลล์วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหารวัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหารวัดพระแม่สกลสงเคราะห์วัดราชพฤกษ์วัดสุทธจินดาวรวิหารวัดหนองโนเหนือวัดดาวเรือง (จังหวัดสระบุรี)วัดป่าสุนทรารามวัดเกษมจิตตารามวันชัย จิราธิวัฒน์วันชาติ (ประเทศไทย)วิลเลิม ไอนต์โฮเฟินวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทยว็อล์ฟกัง เพาลีศิลป์ พีระศรีสกุลชินวัตรสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ ซะอูดสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนียสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียมสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนีสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนียสวานเต อาร์เรเนียสสหราชอาณาจักรสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1927สะพานแห่งซานหลุยส์เรย์สัมพันธ์ พันธุ์มณีสามก๊กสำราญ เกิดผลสุรินทร์ มาศดิตถ์สี่อาชญากรสถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทราสถานีรถไฟอุเอะโนะสถานีรถไฟคะวะซะกิสนธิสัญญาว่าด้วยการจำกัดและการลดอาวุธทางรัฐนาวีสแตน เก็ตส์ส่ง เทภาสิตสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ดสโมสรฟุตบอลโรมาหมู่บ้านคุ้งตะเภาหม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรีหม่อมเจ้าวิศิษฎ์สวัสดิรักษ์ สวัสดิวัตน์หม่อมเจ้านรรยราช สวัสดิวัตน์หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัชหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณหลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)หลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญหลุยส์ อะดอลฟา เลอโบหอยเบี้ยจักจั่นหะยีสุหลงหนังสือเดินทางไทยหนานจิงอะมีเลีย แอร์ฮาร์ตอัลเบน บาร์กเลย์อัลเฟรโด เกราส์อังโตนีอู การ์ลูช โชบิงอาร์ยูโลนซัมทูไนต์? (เพลง)อาสนวิหารบลัวอาสนวิหารแซ็งต์อาจินต์ ปัญจพรรค์อำเภอชุมแพอำเภอสารภีอำเภอหันคาอำเภอปากเกร็ดอำเภอป่าโมกอำเภอเมืองนนทบุรีอิกอร์ สตราวินสกีอิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กอียอน อี. เช. บราเตียนูอดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์อดุล ภูมิณรงค์อนันต์ ฉายแสงอนันต์ เรืองกูลฮัสเทอร์ฮันส์ เชเฟอร์ฮาร์ดี อมีสฮิวโก บอลจรูญ สืบแสงจักรพรรดินีโคจุงจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จักรพรรดิโชวะจักรพรรดิไทโชจังหวัดอุตรดิตถ์จูเต๋อธานินทร์ กรัยวิเชียรธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนธงชาติอัฟกานิสถานธงชาติไทยธงชาติเยเมนธงรัฐอะแลสกาธงปาเลสไตน์ในอาณัติธนาคารไทยพาณิชย์ทฤษฎีระบบควบคุมทะกะชิ โอะกะมุระทางรถไฟสายบางบัวทองทูล ทองใจขุนทอง ภูผิวเดือนขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น)คริสตัลพาเลซเซอร์กิตความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยามคอบร้า เห่าไฟสายฟ้าคัง โหย่วเหวย์คิม กูคิโนะคูนิยะคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยงานประกาศผลรางวัลออสการ์งูกะปะตราแผ่นดินของบัลแกเรียซิดนีย์ พอยเทียร์ซูเปอร์ลีกกรีซซีบีเอสซีทรีพีโอประมวล สภาวสุประวัติศาสตร์สเปนประสิทธิ์ ศิริบรรเทิงประสงค์ สุ่นศิริประทวน รมยานนท์ประเสริฐ มะหะหมัดประเทศบัลแกเรียใน ค.ศ. 1927ประเทศฟินแลนด์ใน ค.ศ. 1927ประเทศมอลตาใน ค.ศ. 1927ประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1927ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1927ประเทศออสเตรียใน ค.ศ. 1927ประเทศออสเตรเลียประเทศตองกาใน ค.ศ. 1927ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1927ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1927ประเทศไทยใน พ.ศ. 2470ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016ประเทือง คำประกอบปรากฏการณ์คอมป์ตันปรีดี เกษมทรัพย์ปลาแมนดารินปาเลสไตน์ในอาณัตินารถ โพธิประสาทนาซลี ศ็อบรีนิวัตต์ ดารานันทน์นีโครโนมิคอนนโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวีแพตตี เพจแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์กแก๊สเรือนกระจกแม่นากพระโขนงแล้วดวงตะวันก็ฉายแสงแอนดี วิลเลียมส์แอโรเพลนเจลลีแฮร์มันน์ เฮสเซอแจ็ก เดมป์ซีย์โชคสองชั้นโรงแรมอัลกอนควินโรงเรียนบ้านโป่งแดงโรงเรียนพัทลุง จังหวัดพัทลุงโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์โรงเรียนมัญจาศึกษาโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัยโรงเรียนราชินีโรงเรียนวัดบวรนิเวศโรงเรียนขอนแก่นวิทยายนโรงเรียนปทุมวิไลโรงเรียนเผยอิงโรงเรียนเทศบาล 4 (บ้านเชียงราย)โรซาลีนน์ คาร์เตอร์โรเจอร์ มัวร์โอแคนาดาโทรคมนาคมโซชีเอตาสปอร์ตีวาลาซีโอไอบีเรียแอร์ไลน์เบ-ลอ บอร์โตกเชอร์ล็อก โฮมส์ ชุด บันทึกคดีเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์เชื้อ ทิพย์มณีเบียร์ดดราก้อนเพลงชาติบราซิลเพลงชาติเลบานอนเกอรช ฟริดริช เวเลอร์เกาะบูเวเมืองสวางคบุรีเมโทรโพลิสเวอร์นอน แอล สมิธเสน่ห์ จามริกเหมืองแม่เมาะเหรียญราชรุจิเอจิ สึบุระยะเฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์กเจวีซีเจอโรม เค. เจอโรมเจ้าชายเฮนริชแห่งเฮสส์-คาสเซิลเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้าหญิงชาร์ลอตแห่งเบลเยียมเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดนเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารีเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์เจเน็ต ลีห์เทศบาลเมืองปากพูนเขตบางซื่อเขตบางนาเขตพระโขนงเขตลาดกระบังเขตสวนหลวงเขตประเวศเดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธเดอะคิงอินเยลโลเคบีเอสเครื่องรับวิทยุเติมศักดิ์ กฤษณามระเซเรียอาเซเว่น อีเลฟเว่น1 มกราคม1 สิงหาคม10 พฤษภาคม10 เมษายน11 กรกฎาคม11 ตุลาคม12 มีนาคม12 ธันวาคม13 กันยายน13 ตุลาคม14 มิถุนายน14 ตุลาคม15 มกราคม16 เมษายน17 กรกฎาคม18 สิงหาคม19 กุมภาพันธ์19 ตุลาคม2 มิถุนายน20 พฤศจิกายน21 พฤษภาคม22 พฤศจิกายน23 สิงหาคม25 มีนาคม25 ธันวาคม25 เมษายน26 มิถุนายน29 พฤษภาคม3 ธันวาคม3 ตุลาคม30 พฤศจิกายน30 ธันวาคม5 ธันวาคม5 เมษายน6 กรกฎาคม6 ตุลาคม7 สิงหาคม8 พฤศจิกายน9 กรกฎาคม ขยายดัชนี (311 มากกว่า) »

ชาลส์ เทต รีกัน

ลส์ เทต รีกัน (Charles Tate Regan) นักมีนวิทยาชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง เกิดเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1878 ที่เมืองเชอร์บอร์น มณฑลดอร์เซต จบการศึกษาจากโรงเรียนดาร์บีและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ในปี ค.ศ. 1901 รีกันได้เข้าทำงานในพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ และเป็นนักสัตววิทยาประจำพิพิธภัณฑ์ระหว่างปี ค.ศ. 1927-ค.ศ. 1938 ต่อมาได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกราชสมาคมแห่งลอนดอนในปี ค.ศ. 1917 รีกัน เป็นนักมีนวิทยาที่มีชื่อเสียงอย่างยิ่งคนหนึ่ง โดยเป็นผู้ศึกษาและอนุกรมวิธานปลาชนิดต่าง ๆ มากมาย เช่น ปลาในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae), การบรรยายลักษณะต่าง ๆ ของปลาในวงศ์ปลาตาเหลือกยาว (Elopidae) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการอนุกรมวิธานปลากัดไทย หรือ ปลากัดสยาม (Betta splendens) ที่มีชื่อเสียง รีกันได้ร่วมทำงานกับนักมีนวิทยาชาวอังกฤษอีกคนที่มีชื่อเสียง คือ อีเทลเวนน์ เทรวาวาส ในพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติ ได้มีปลาจำนวนมากที่ถูกตั้งชื่อชนิดเพื่อเป็นเกียรติแก่รีกัน โดยจะใช้ชื่อว่า regani อาทิ Anadoras regani, Apistogramma regani, Julidochromis regani เป็นต้น ชาลส์ เทต รีกัน เสียชีวิตเมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1943.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และชาลส์ เทต รีกัน · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 เดวิด โบอี ทฤษฎี สหวงษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ช้าง (ภาพยนตร์)

้าง (Chang: A Drama of the Wilderness) เป็นภาพยนตร์สารคดี เรื่องแรกที่เข้ามาถ่ายทำในประเทศไทย โดยบริษัท พาราเมาท์ กำกับโดย มีเรียน ซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และช้าง (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ฟอร์ด โมเดลที

รถยนต์ ฟอร์ด โมเดลที ฟอร์ด โมเดลที (Ford Model T) เป็นชื่อรถยนต์ในยุคบุกเบิก ตั้งแต่ พ.ศ. 2451 ถึง พ.ศ. 2470 ผลิตและออกแบบโดย เฮนรี่ ฟอร์ด, ชิลด์ ฮารอลด์ วิลส์ และชาวฮังกาเรียนซึ่งมาตั้งรกรากอยู่ที่สหรัฐอเมริกา 2 คน คือ โจเซฟ เอ กาเลมบ์ กับ ยูจีน ฟาร์กัส เป็นรถยนต์ที่พัฒนามาจากรถยนต์ต้นแบบคือ ฟอร์ด โมเดลเอ็น (มีแค่ที่นั่งเดียว) และยังได้รับสมญานามว่า "ฟอร์ดพลังม้า" รถยนต์ ฟอร์ด โมเดลที จัดว่าเป็นรถที่มีเครื่องยนต์และทรวดทรงที่ปราณีต และยังเป็นแม่แบบให้กับรถยนต์ ฟอร์ด โมเดลเอ การมาของรถยนต์ ฟอร์ด โมเดลที ต่ออุตสาหกรรมเทคโนโลยีของชาวอเมริกัน เป็นความสำเร็จอย่างยิ่งของ เฮนรี่ ฟอร์ด และสหรัฐอเมริกา ต่อจากนั้นมา รถยนต์ของเขาเป็นที่ต้องการวงกว้างในตลาดของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีทั้งยุโรปและสหรัฐอเมริกา ซึ่งกำลังเป็นยุคที่บุกเบิกอุตสาหกรรมเทคโนโลยีทุกชนิด และยังทำเงินให้เขาขึ้นทำเนียบเศรษฐี พร้อมกับทำเงินให้ประเทศของเขา และยังเป็นความสำเร็จชิ้นแรกๆ ของบริษัทฟอร์ดที่เขาก่อตั้งขึ้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และฟอร์ด โมเดลที · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป

ฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป (Chinese Taipei national football team) เป็นตัวแทนของสาธารณรัฐจีนในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศ อยู่ภายใต้การบริหารของสมาคมฟุตบอลจีนไทเป โดยทีมมีประวัติความสำเร็จในระดับเอเชียคือคว้าอันดับ 3 เอเชียนคัพ ปี 1960 และคว้าเหรียญทองในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ เมื่อปี 1954 และ 1958 ในปี พ.ศ. 2470 ประเทศจีนเกิดสงครามกลางเมือง ทำให้ทีมชาติไต้หวันได้สิทธิ์แข่งขันฟุตบอลระหว่างประเทศแทนทีมชาติจีน และแยกออกจากกันในปี พ.ศ. 2508 ซึ่งทีมชาติจีนถูกก่อตั้งขึ้นมาอีกครั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2534

ทธศักราช 2534 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1991 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2555

ทธศักราช 2555 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2012 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีมะโรง จัตวาศก จุลศักราช 1374 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก) สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติประกาศให้..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2559

ทธศักราช 2559 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2016 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาตินิยมเวียดนาม

รรคชาตินิยมเวียดนาม (Việt Nam Quốc Dân Đảng; 越南國民黨) หรือเหวียตโกว๊ก (Việt Quốc 越國) เป็นพรรคการเมืองชาตินิยมในเวียดนามที่ได้พยายามกอบกู้เอกราชเวียดนามจากฝรั่งเศสในระหว่างต้นศตวรรษที่ 20 โดยได้กำเนิดในช่วงยุค 1920 เมื่อปัญญาชนวัยหนุ่มได้เริ่มเผยแผ่หลักการปฏิวัติ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพรรคชาตินิยมเวียดนาม · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថ; พระบาทสีสุวัตถิ์, ในเอกสารไทยเรียกว่า "สมเด็จพระศรีสวัสดิ์") พระมหากษัตริย์ผู้ปกครองพระราชอาณาจักรกัมพูชาระหว่างปี พ.ศ. 2447 - พ.ศ. 2470 พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระหริรักษ์รามาธิบดี (นักองค์ด้วง) และเป็นพระอนุชาต่างพระมารดาของพระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร (นักองค์ราชาวดี).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์

ระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ (ព្រះបាទស៊ីសុវតិ្ថមុនីវង្ស) เอกสารไทยในบางแห่งเรียกว่า สมเด็จพระศรีสวัสดิ์มณีวงศ์ เสด็จพระราชสมภพเมี่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2414 ที่พนมเปญ และเสด็จสวรรคตเมี่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2484 ทรงเป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ เป็นพระราชโอรสองค์รองของ พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (นักองสีสุวัตถิ์) กษัตริย์แห่งกัมพูชาองค์ที่ 3 ทรงศึกษาที่โรงเรียนอาณานิคมและโรงเรียนทหารบกที่ซังแม็จซ็อง เมื่อจบการศึกษา ทรงได้รับยศเป็นร้อยตรีสังกัดกองทหารในฝรั่งเศสบัญญัติ สาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

ระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ (នរោត្ដម សីហនុ; นโรตฺฎม สีหนุ ออกเสียง โนโรด็อม สีหนุ) (31 ตุลาคม พ.ศ. 2465 — 15 ตุลาคม พ.ศ. 2555)  พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 4 แห่งราชอาณาจักรกัมพูชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 - 2498 และ พ.ศ. 2536 - 2547 โดยการสละราชบัลลังก์ให้แก่พระราชโอรสนโรดม สีหมุนี และดำรงพระอิสริยยศเป็นพระมหาวีรกษัตริย์ (พระวรราชบิดา) ในท้ายสุด พระองค์เป็นกษัตริย์แห่งกัมพูชา, ประมุขแห่งรัฐกัมพูชา และนายกรัฐมนตรีแห่งกัมพูชาหลายสมัย กระทั่งบันทึกสถิติโลกกินเนสส์ได้บันทึกไว้ว่า พระองค์ทรงเป็นนักการเมือง ที่ทรงดำรงตำแหน่งทางการเมืองมากมายที่สุดในโลก (the world's greatest variety of political offices) กล่าวคือ เป็นพระมหากษัตริย์ 2 สมัย ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ (ดำรงตำแหน่งกษัตริย์โดยไม่ได้รับการบรมราชาภิเษก) 2 สมัย ประธานาธิบดี 1 สมัย นายกรัฐมนตรี 2 สมัย และประมุขแห่งรัฐของรัฐบาลพลัดถิ่นของพระองค์เองอีก 1 สมัย ทั้งนี้พระองค์เป็นหุ่นเชิดของรัฐบาลเขมรแดงช่วงปี ค.ศ. 1975–1976.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ · ดูเพิ่มเติม »

พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)

ระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ หรือ หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม (27 มกราคม พ.ศ. 2432 - 8 กันยายน พ.ศ. 2504) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี พระป่ากรรมฐานศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็นพระภิกษุผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ตามพระธรรมวินัย เอาใจใส่การศึกษาปฏิบัติธรรม มีความรู้ความเห็นลึกซึ้ง มีปฏิภาณเทศนาแจ่มแจ้ง โวหารไพเราะจับใจ มีชื่อเสียงด้านวิปัสสนาธุระ ธรรมบาลี อักษรสมัย และวิทยาคม เป็นบุคคลที่มีจิตใจหนักแน่ ประพฤติพรหมจรรย์ บำเพ็ญวิปัสสนาธุระตลอดชีวิต มุ่งดีต่อหมู่คณะและพระศาสนา รับภารธุระครูบาอาจารย์ ฟื้นฟูทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ เมื่อรับตำแหน่งฝ่ายบริหาร ยินดีรับภารธุระและเอาใจใส่ด้วยความเต็มใจ ยังกิจการคณะสงฆ์ให้เจริญรุ่งเรื่อง มีพระสงฆ์สามเณรและฆราวาสเป็นศิษย์มากมาย จนได้รับขนานนามว่า แม่ทัพธรรมพระกรรมฐาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย)

มหาอำมาตย์โท พระยาพิจารณาปฤชามาตย์ มานวธรรมศาสตร์สุปรีชา (สุหร่าย วัชราภัย) ป.ม. ท..ว. ท..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระยาพิจารณาปฤชามาตย์ (สุหร่าย วัชราภัย) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) (19 ธันวาคม พ.ศ. 2429 - 28 ธันวาคม พ.ศ. 2518) ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนที่ 2 แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ดูแลนักเรียนไทยในประเทศอังกฤษ ปลัดเทศบาลนครกรุงเทพคนแรก เทศมนตรีและสมาชิกว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระยาภะรตราชา (หม่อมหลวงทศทิศ อิศรเสนา) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีธรรมราช (ทองคำ กาญจนโชติ)

ระยาศรีธรรมราช (ทองคำ กาญจนโชติ) (18 กันยายน พ.ศ. 2427 - 16 มกราคม พ.ศ. 2497) อดีตสมุหเทศาภิบาลจังหวัดสงขลา อดีตกรรมการองคมนตรี และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 1 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระยาศรีธรรมราช (ทองคำ กาญจนโชติ) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) (12 มีนาคม พ.ศ. 2423 – 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491) นักการศึกษา ผู้บัญชาการ (อธิการบดี) คนแรกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (6 เมษายน พ.ศ. 2460 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2468) และผู้ช่วยปลัดทูลฉลองกระทรวงธรรมการ ผู้แต่งหนังสือเรียนสมัยรัชกาลที่ 5 รวมทั้งหนังสือชุดธรรมจริยาเล่ม 1 และ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระยาอนุกิจวิธูร (สันทัด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์

ลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ (24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 - 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495) อดีตรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและอดีตประธานองคมนตรี ประสูติ ณ วังท้ายวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อวันอาทิตย์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีมะโรง จุลศักราช 1242 ตรงกับวันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2423 เมื่อประสูติทรงเป็นหม่อมเจ้าลำดับที่ 5 ของจำนวนพระโอรสและพระธิดาทั้งสิ้น 37 พระองค์ ใน พลโท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศุขสวัสดี กรมหลวงอดิศรอุดมเดช และเป็นลำดับที่ 3 ในจำนวน 3 พระองค์ของหม่อมมารดา คือ หม่อมขาบ พุทธศักราช 2473 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศเป็น พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า โดยมีคำนำพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ ครุฑนาม ทรงศักดินา 3000 ตามพระราชกำหนดอย่างพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พุทธศักราช 2495 ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ให้เฉลิมพระยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรม มีพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ครุฑนาม ทรงศักดินา 11000 ตามอย่างธรรมเนียม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าต่างกรมทั้งปวง และให้ทรงตั้งเจ้ากรมเป็นหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ถือศักดินา 500 ปลัดกรมเป็นพันบริรักษ์ภูเบศร ถือศักดินา 300 สมุห์บัญชีเป็นพันวิเศษพลขันธ์ ถือศักดินา 200 พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ประชวรด้วยพระโรคไข้ไทฟอยด์ โดยมีพระอาการหนักจนถึงสิ้นพระชนม์ ณ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในวันที่ 19 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 สิริรวมพระชันษา 72 ปี 1 เดือน 26 วัน ประกอบพิธีพระราชทานเพลิงพระศพออกเมรุ ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วันที่ 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2496 ในระหว่างพระชนม์ชีพ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฎ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ ได้ทรงปฏิบัติหน้าที่ราชการสนองคุณมาตั้งแต่แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จออกไปจัดระเบียบกองทหารสำหรับประจำรักษาหัวเมืองในมณฑลภาคพายัพ ตามพระบรมราโชบายเพื่อรักษาความปลอดภัยแห่งพระราชอาณาเขต อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการก่อความไม่สงบของพวกเงี้ยวในภาคเหนือ จนได้ดำรงพระยศและพระตำแหน่งเป็นนายพลตรีผู้บัญชาการกองพลที่ 7 มณฑลพิษณุโลก ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 6 ได้ทรงเป็นแม่ทัพกองที่ 2 และนายพลโทแม่ทัพกองทัพน้อยทหารบกที่ 2 ครั้นถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 7 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายกลับเข้ามาในพระนครเพื่อให้ทรงเป็น จเรทหารบก เสนาธิการทหารบก และรองเสนาบดีกระทรวงกลาโหม จนกระทั่งพ้นจากหน้าที่ราชการเมื่อคณะราษฎรได้เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ดำรงพระฐานะเป็น "นายทหารนอกราชการ" และ "นายทหารพ้นราชการ" อยู่นานถึงประมาณ 15 ปี จนกระทั่ง ปีพุทธศักราช 2490ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช จึงทรงได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้า ฯ ให้กลับมารับพระราชทานสนองพระราชภาระงานฝ่ายพระมหากษัตริย์ให้ทรงดำรงตำแหน่งต่าง ๆ คือ อภิรัฐมนตรี คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ องคมนตรี และประธานองคมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอลงกฏ กรมหมื่นอดิศรอุดมศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ ประสูติเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2452 (พระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าอาภัสสรวงศ์ ภาณุพันธุ์) ทรงเป็นโอรสใน สมเด็จฯ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช กับหม่อมเล็ก ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็นพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2525.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภัสสรวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช

ระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช (พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 5 ธันวาคม พ.ศ. 2455) เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ กับหม่อมเอม จักรพันธุ์ ประสูติเมื่อเดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช · ดูเพิ่มเติม »

พระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล)

ระศาสนโศภน นามเดิม แจ่ม ฉายา จตฺตสลฺโล เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองคณะธรรมยุติกนิกาย ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญ เช่น เจ้าอาวาสวัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม รองประธานสังฆสภา และแม่กองธรรมสนามหลวงรูปแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระศาสนโศภน (แจ่ม จตฺตสลฺโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล)

หลวงปู่เขียน ฐิตสีโล (29 ตุลาคม พ.ศ. 2456 - 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547) เป็นพระภิกษุสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุตินิกาย ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามตามสัญญาบัตรว่า พระอริยเวที อดีตเจ้าอาวาสวัดสุทธจินดา อดีตเจ้าอาวาสวัดรังสีปาลิวัน และอดีตเจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เป็นพระเถราจารย์ผู้ปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เป็นที่น่าเคารพสักการบูชาของบรรดาศิษยานุศิษย์ ซึ่งเป็นที่ประจักษ์แก่พุทธศาสนิกชนทุกหมู่เหล่า รวมทั้ง เป็นเพื่อนสหธรรมิกกับสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และพระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน) ตั้งแต่ครั้งสมัยที่ท่านทั้งสามยังมีอายุพรรษาไม่มากนัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระอริยเวที (เขียน ฐิตสีโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระอาจารย์ดี ฉนฺโน

ระอาจารย์ดี ฉนฺโน หรือ หลวงปู่ดี ฉนฺโน เป็นพระภิกษุฝ่ายวิปัสสนาธุระ สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ลูกศิษย์องค์สำคัญของ พระครูวิเวกพุทธกิจ (เสาร์ กนฺตสีโล) และ พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโต พระอาจารย์ดี ฉนฺโน ท่านเป็นผู้มีอุปนิสัยใจคอหนักแน่น เด็ดเดียว เก่งในด้านวิปัสสนากรรมฐาน ชำนาญด้านกสิณและอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ เป็นนักเทศนาโวหาร เป็นผู้มีวิชาคาถาอาคมเก่งกล้า เป็นนักอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังชำนาญในด้านช่างไม้ ช่างก่อสร้าง ช่างปั้นดินเผา งานแกะสลัก และงานเขียนภาพ อีกทั้งยังมีความรู้ด้านยาสมุนไพร ถือได้ว่าท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญทางการช่างและแพทย์แผนโบราณอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระอาจารย์ดี ฉนฺโน · ดูเพิ่มเติม »

พระอินทรสมาจาร (เงิน อินทสโร)

หลวงพ่อเงิน อินทสโร ท่านเกิดเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2431 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ บ้านหนองน้ำขาว ตำบลคู จังหวัดราชบุรี เป็นบุตรของนายโต๊ะ และ นางแก้ว ศรีสุวรรณ อุปสมบทเป็นพระภิกษุเมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2452 พัทธสีมาวัดคูบัว ตำบลคูบัว อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระอินทรสมาจาร (เงิน อินทสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมศีลาจารย์ (สุกรี สุตาคโม)

ระธรรมศีลาจารย์ นามเดิม สุกรี ฉายา สุตาคโม เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม อดีตเจ้าอาวาสวัดหนังราชวรวิหาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระธรรมศีลาจารย์ (สุกรี สุตาคโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ฐิตปญฺโญ)

ระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ฐิตปญฺโญ) (23 มิถุนายน พ.ศ. 2452 - 10 ตุลาคม พ.ศ. 2513) เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่อีกท่านหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ เป็นเจ้าอาวาสวัดโพธาราม, อดีตสมาชิกสังฆสภา, อดีตเจ้าคณะผู้ตรวจการจังหวัดนครสวรรค์และอดีตพระธรรมทูตสาย ๓.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระธรรมคุณาภรณ์ (เช้า ฐิตปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ)

ระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปญฺโญ) หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 — 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นชาวอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2449 เริ่มบวชเรียนเมื่ออายุได้ 20 ปี ที่วัดบ้านเกิด จากนั้นได้เข้ามาศึกษาพระธรรมวินัยต่อที่กรุงเทพมหานคร จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค แต่แล้วท่านพุทธทาสภิกขุก็พบว่าสังคมพระพุทธศาสนาแบบที่เป็นอยู่ในขณะนั้นแปดเปื้อนเบือนบิดไปมาก และไม่อาจทำให้เข้าถึงหัวใจของศาสนาพุทธได้เลย ท่านจึงตัดสินใจหันหลังกลับมาปฏิบัติธรรมที่อำเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมของท่านอีกครั้ง พร้อมปวารณาตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจากต้องการถวายตัวรับใช้พระพุทธศาสนาให้ถึงที่สุด ผลงานเด่นของทาสพุทธทาสคืองานหนังสือ อาทิ หนังสือพุทธธรรม, ตามรอยพระอรหันต์ และคู่มือมนุษย์ และเป็นสงฆ์ไทยรูปแรกที่บุกเบิกการใช้โสตทัศนูปกรณ์สมัยใหม่สำหรับการเผยแพร่ธรรมะ และท่านมีสหายธรรมคนสำคัญ คือ ปัญญานันทภิกขุ วัดชลประทานรังสฤษฎ์ และท่าน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินฺทปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)

ระธรรมเจดีย์ นามเดิม จูม จันทวงศ์ ฉายา พนฺธุโล เป็นอดีตเจ้าคณะมณฑลอุดรธานี (ธรรมยุต) อดีตผู้ช่วยเจ้าคณะภาค 3-4-5 (ธรรมยุต) อดีตเจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์ ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) · ดูเพิ่มเติม »

พระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ

ระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ (ด้านหน้า) พระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ (ด้านหลัง) พระที่นั่งเวหาศจำรูญ เป็นพระที่นั่งสองชั้น สถาปัตยกรรมแบบจีน ตั้งอยู่ภายในพระราชวังบางปะอิน สร้างในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2432 พระที่นั่งองค์นี้มีนามในภาษาจีนว่า เทียน เม่ง เต้ย (天明殿 อ่านแบบจีนกลางว่า เทียน หมิง เตี้ยน) แปลเป็นไทยว่า พระที่นั่งฟ้าสว่าง (เทียน แปลว่า เวหา, เม่ง แปลว่า จำรูญ, เตี้ยน แปลว่า พระที่นั่ง) ใช้เวลาในการสร้างประมาณ 10 ปี และเป็นพระที่นั่งองค์สุดท้ายที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระที่นั่งเวหาศน์จำรูญ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูรัตนสราธิคุณ (ทอง รตนสาโร)

ระครูรัตนสราธิคุณ หรือ หลวงพ่อทอง รัตนสาโร (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 - 19 มิถุนายน พ.ศ. 2523) อดีตเจ้าคณะอำเภอสระแก้ว พระอาจารย์ผู้บุกเบิกวัดสระแก้วด้วยความลำบากตรากตรำอย่างยิ่ง ท่านได้บูรณะซ่อมแซมปฏิสังขรณ์วัดเมื่อครั้งสมัยสงครามอินโดจีนติดต่อกับสงครามโลกครั้งที่ 2 ในช่วงเวลาที่ข้าวยากหมากแพง ชาวบ้านยากจน มีโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ท่านได้ให้พระภิกษุในวัดถางไร่เพื่อปลูกข้าวและปลูกพืช จนได้ข้าวปลาอาหารเลี้ยงพระภิกษุสามเณรในวัด เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของชาวบ้าน ปัจจุบันท่านได้เกณฑ์พระภิกษุ สามเณร เด็กวัด และ ชาวบ้านร่วมกันปลูกอ้อย ปลูกข้าวโพด และพืชยืนต้นต่าง ๆ ในสวนที่นายเว่าและนางตื้อถวายแก่วัด เพื่อนำผลประโยชน์มาบำรุงวัดต่อไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระครูรัตนสราธิคุณ (ทอง รตนสาโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูสิทธิสารคุณ (จาด คังคสโร)

หลวงพ่อจาด (17 มีนาคม พ.ศ. 2415 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2499) ท่านเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดบางกะเบา นามของท่านเป็นที่รู้จักในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง มีสมญานามเรียกขานคล้องจองว่า จาด จง คง อี๋ สำหรับค่านิยมอันสูงสุดของวัตถุมงคลของท่านนั้นได้แก่ เหรียญลงยานั่งเต็มองค์ปี พ.ศ. 2483 ตอกหมายเลข และที่ตามมาเป็นอันดับสองคือ เหรียญ.เจริญลาภ ทั้งสองเหรียญนี้ถ้าอยู่ในสภาพเดิมๆสวยสมบูรณ์มีค่านิยมสูงถึงหลักแสนบาทเลยทีเดียว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระครูสิทธิสารคุณ (จาด คังคสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ

หลวงพ่อจ้อย จนฺทสุวณฺโณ (8 เมษายน พ.ศ. 2456 — 16 เมษายน พ.ศ. 2550) เทพเจ้าแห่งเมืองปากน้ำโพ อดีตเจ้าอาวาส วัดศรีอุทุมพร เป็นพระผู้เปี่ยมไปด้วยเมตตากรุณา เป็นพระนักพัฒนา ที่ชาวจังหวัดนครสวรรค์ และเขตติดต่อ ให้ความเคารพนับถือ ผู้บุกเบิกสร้างวัดและหมู่บ้าน แต่เดิมโยมท่านและตัวท่านมีภูมิลำเนาถิ่นฐานอยู่บ้านดอนหวาย ตำบลพรวงสองนาง อำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี โยมชายหญิงของท่านเห็นว่าที่ทำกินมันชักจะแคบเข้าทุกที ทำนาไม่เพียงพอลูกที่มีเพิ่มขึ้นชีวิตในโลกนี้คือการดิ้นรน คนส่วนมากของประเทศโดยเฉพาะชาวไร่ชาวนาดิ้นรนเพียงเพื่อมีชีวิตอยู่ทุ่มเทชีวิตเรี่ยวแรงหยาดเหงื่อทุกหยด เพื่อความมีชีวิตของตน สมัยนั้นมีดินป่าไม้ยังรกร้างว่างเปล่า ไม่ต้องยื้อแย่งกรรมสิทธิ์อะไรกัน ผู้คนพลเมืองยังมีน้อย “ดินดีเพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง” มีอยู่มากมายใครมีกำลังเรี่ยวแรงเท่าไรก็มาหักล้างถางพงให้เป็นไร่เป็นนาเอาตามความสามารถของตน พอทำกินเลี้ยงลูกเมียแล้วก็พอใจ มิได้กำเริบใจจะเป็นนายทุนเจ้าของที่ดินเป็นหมื่นเป็นพันไร่อย่างในปัจจุบันนี้เมื่อทราบว่าทางบ้านวังเดื่อ ตำบลหนองกรด จังหวัดนครสวรรค์ ยังมีที่ดินว่างเปล่าอยู่มาก จึงไปปรึกษาชักชวนกันอพยพจากถิ่นเดิม เอาพริก เอาเกลือ เอาข้าวใส่โคเทียมเกวียนมา จอบเสียมเครื่องมือทำกินก็เอามาพร้อมเดินทางรอนแรม ค่ำไหนนอนนั่นมาหลายวันหลายคืนผ่านมาทางหนองขุย ห้วยอีด่าง ลักเข้าหนองกล้ำเข้าดอนเพชร โนนแดง ข้ามแม่น้ำแควตากแดด ขึ้นบ้านวังหินดาร หนองกระทุ่ม เรื่อยมา ทางรถเรียบรถยนต์วิ่งได้สบายบรื๋อ อย่างเดียวนี้หามีไม่ เกวียนมีสิทธิ์ที่จะใช้ทางเกวียนอย่างเต็มที่ ก็ทางเกวียนนี่แหละ ที่เป็นเครื่องวัดนิสัยใจคอของคนไทยแต่ไรมา เมืองไทยอากาศมันร้อน จะเดินทางไปไหนก็ลดเลี้ยวเลี่ยงไปเดินตามร่มเงา หรือที่ไหนรกทึบด้วยแมกไม้ ยากเกินไปที่จะบุกป่าฝ่าหนาม ก็เลี่ยงเดินเสียที่มันเตียนไม่ต้องออกแรง ทางที่เริ่มขึ้นเป็นทางเดินเท้าต่อมาก็ขยายกว้างเป็นทางเกวียน โคกระบือเทียมเกวียนจึงพาเกวียนเลี้ยวลดไปตามทางที่มีอยู่ ที่จะลัดตัดตรงนั้นไม่มี โบราณว่าเกวียนหนีทางไม่ได้ กว่าจะพาครอบครัวอพยพถึงวังเดื่อได้ก็หลายวันเต็มที ครอบครัวของหลวงพ่อจ้อย นับว่าเป็นผู้บุกเบิกดินแดนถิ่นนี้เป็นครั้งแรก ตั้งหน้าหักร้างถางป่า อีกหลายปีจึงมีที่ดินทำไร่ไถนาได้พอเลี้ยงกัน จากนั้นก็ไปชักชวนเพื่อนพวกพี่น้องในถิ่นเดิม ให้มาบุกเบิกทำกินกันตามกำลัง “ดินดีเพราะป่าปก ป่ารกเพราะเสือยัง” เหลืออยู่อีกมากมาย ไม่หวงแหนกีดกันเอาเป็นของตนแต่ผู้เดียวเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันตามประสาไทย ใครมีแรงมากเอาให้มาก มีแรงน้อยก็เอาแต่พอแรงของตน บ้านวังเดื่อที่เคยเป็นป่า บักนี้ก็ค่อยๆกลายเป็นแหล่งชุมชนของหมู่บ้านและที่เราเรียกกันว่า “บ้านวังเดื่อ” เพราะว่าได้มีต้นมะเดื่อขนาดสูงใหญ่ขึ้นอยู่ที่ริมคลองหลังวัด และในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเหลือเพียงแต่ตอของต้นมะเดื่อที่จมอยู่ในคลองของด้านหลังวัด และเราจะสามารถเห็นตอนี้ได้ก็ต่อเมื่อน้ำในคลองได้ลดลง ต่อมาโยมพ่อโยมแม่และญาติโยมชาวบ้านวังเดื่อได้พร้อมใจกันยกที่ให้หลวงพ่อได้ทำการสร้างเป็นที่พักสงค์ เพื่อจะเอาไว้เป็น ที่สาธารณประโยชน์ในการบำเพ็ญกุศล แล้วจึงได้นิมนต์พระภิกษุสงค์มาจำพรรษาอยู่ที่สำนักสงค์แห่งนี้ ต่อมาทางคณะสงค์ได้จัด ตั้งวัดขึ้นให้เป็นวัดที่สมบูรณ์แบบถูกต้องตามกฎหมาย ชื่อว่า “วัดศรีอุทุมพร” เพราะว่าตามหลักภาษาบาลี “ไม้มะเดื่อ” นั้นแปลว่า “ไม้อุทุมพร” พอเติมคำว่า “ศรี” เข้าไปก็เป็น “วัดศรีอุทุมพร” คือวัดที่เป็นสิริงดงาม จึงเป็นมงคลนาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระครูจ้อย จนฺทสุวณฺโณ · ดูเพิ่มเติม »

พระครูเกษมธรรมนันท์ (แช่ม ฐานุสฺสโก)

ระครูเกษมธรรมนันท์ หรือ หลวงพ่อแช่ม วัดดอนยายหอม (6 มีนาคม พ.ศ. 2449 — 9 ธันวาคม พ.ศ. 2536) ท่านเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดดอนยายหอม อำเภอดอนยายหอม จังหวัดนครปฐม ท่านเป็นพระสุปฏิปันโนอีกรูปหนึ่งแห่งเมืองนครปฐม และท่านเป็นผู้ที่สืบต่อการดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดดอนยายหอมต่อจากหลวงพ่อเงิน และวัตถุมงคลของท่านแต่ละรุ่นล้วนน่าบูชาและเคราพนับถือ และท่านเป็นผู้ที่ประชาชนให้ความเคราพนับถืออีกรูปหนึ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระครูเกษมธรรมนันท์ (แช่ม ฐานุสฺสโก) · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักสวนหงส์

ระตำหนักสวนหงส์ พระตำหนักสวนหงส์ เป็นพระตำหนักภายในพระราชวังดุสิต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี ปัจจุบัน ใช้เป็นสถานที่จัดแสดงภาพงานพระราชพิธีโบราณต่าง ๆ เช่น พระราชพิธีสมโภชเดือนขึ้นพระอู่ พระราชพิธีตรียัมปวาย รวมทั้ง จัดแสดงพระฉายาลักษณ์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระตำหนักสวนหงส์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเศวตคชเดชน์ดิลก

ระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงป้อนอ้อยแก่พระเศวตคชเดชน์ดิลกฯ ที่จังหวัดเชียงใหม่ พระเศวตคชเดชน์ดิลกฯ เป็นช้างเผือกประจำรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ตกที่ป่าแม่ยางมิ้ม อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันศุกร์ แรม 11 ค่ำ เดือน 6 ปีขาล ตรงกับวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2469 เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 9 และนาย ดี.เอฟ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระเศวตคชเดชน์ดิลก · ดูเพิ่มเติม »

พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)

นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) เป็นนายทหารนักบินไทยในสงครามโลกครั้งที่ 1 และอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดินคนแรก เดิมชื่อ "หลี" เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พุทธศักราช 2438 ณ บ้านเลขที่ 6 ตำบลบางเลน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวนบุตรธิดาทั้งหมด 4 คน ของนายคำและนางยวง สุวรรณานุช ภายหลังสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกในปีพุทธศักราช 2457 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนายร้อยตรีแล้ว ได้เข้ารับราชการในตำแหน่งผู้บังคับหมวดในกองร้อยที่ 1 กรมทหารราบที่ 3 พุทธศักราช 2460 ได้สมัครเข้าเป็นกองทหารอาสาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเข้าร่วมรบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในตำแหน่งนายร้อยโท ผู้บังคับหมวดในกองย่อยรถยนต์ กองใหญ่รถยนต์ที่ 4 พุทธศักราช 2461 เดินทางไปราชการในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำการ ณ ประเทศฝรั่งเศส และด้วยที่มีใจรักทางการบิน จึงเข้าฝึกเป็นนักบินในโรงเรียนการบินทหารบกและโรงเรียนการทิ้งระเบิดแห่งประเทศฝรั่งเศส พุทธศักราช 2462 สำเร็จการฝึกเป็นนักบิน เข้าประจำการในกองทัพยึดดินแดนเมืองนอยสตาดท์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทำหน้าที่เป็นนักบินและผู้ทิ้งลูกระเบิด โดยปฏิบัติการอยู่ประมาณ 4 เดือน เมื่อสงครามสงบได้เดินทางกลับประเทศไทยแล้วย้ายสังกัดไปอยู่ กรมอากาศยานทหารบก ในตำแหน่งผู้บังคับหมวด กองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งกรมอากาศยานทหารบกนี้ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กรมอากาศยาน” และได้มีการพัฒนาปรับเปลี่ยนขยายหน่วยงานจนได้รับการยกฐานะเป็น “กองทัพอากาศ” ในปัจจุบัน พุทธศักราช 2464 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นเรืออากาศเอก ตำแหน่งผู้ช่วยผู้บังคับกองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2467 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงเทวัญอำนวยเดช” และเป็นผู้รั้งตำแหน่งปลัดกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2468 เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บังคับกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2469 เป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 2 กองบินใหญ่ที่ 3 ปีพุทธศักราช 2470 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศตรี และเป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 1 กองบินใหญ่ที่ 2 พุทธศักราช 2473 ประจำกองอากาศยานเพื่อเข้าศึกษาในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก พุทธศักราช 2474 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศโท พุทธศักราช 2475 เข้าศึกษาในโรงเรียนการบินขั้นสูง และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระเทวัญอำนวยเดช” พุทธศักราช 2476 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยเจ้ากรมอากาศยาน ฝ่ายธุรการ และได้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองกรณี “กบฏบวรเดช” มีการใช้กำลังทหารต่อสู้กันระหว่างฝ่ายของ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช กับฝ่ายรัฐบาลของคณะราษฎร เป็นผลให้นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ต้องพ้นจากราชการ และเปลี่ยนฐานะเป็น “นักโทษการเมือง” ต่อมา พุทธศักราช 2480 ได้มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมนักโทษการเมืองในกรณีดังกล่าว และพิจารณาให้กลับเข้ารับราชการ โดยให้ไปเป็นข้าราชการพลเรือนปฏิบัติงานในกระทรวงทบวงกรมอื่น พุทธศักราช 2481 ได้รับบรรจุเป็นเสมียนพนักงาน กองสหกรณ์ภาคใต้ กรมสหกรณ์ แล้วเข้าศึกษาในโรงเรียนการอบรมกรมสหกรณ์ที่ดิน หลังจากนั้นได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งพนักงานสหกรณ์จัตวา กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2482 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพนักงานสหกรณ์ตรี กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ ปฏิบัติหน้าที่ประจำเขตอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พุทธศักราช 2489 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองขยายการสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2494 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองสหกรณ์นิคม กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2495 ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศปรับปรุงการจัดตั้งกระทรวงทบวงกรม ให้มีการจัดตั้งกระทรวงการสหกรณ์ขึ้น และมี กรมสหกรณ์ที่ดิน เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด โดย นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการในตำแหน่งอธิบดี พุทธศักราช 2496 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดิน โดยนับเป็นอธิบดีคนแรกเมื่อมีการประกาศแบ่งส่วนราชการนี้ขึ้น (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อหน่วยงานเป็น "กรมส่งเสริมสหกรณ์" สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) พุทธศักราช 2501 เกษียณอายุราชการเพื่อรับบำนาญ ในตอนปลายของชีวิต นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ใช้เวลาอยู่กับการปลูกและดูแลต้นไม้ซึ่งเป็นสิ่งที่รักเป็นชีวิตจิตใจ ต่อมาสุขภาพทรุดโทรมลง และเริ่มมีอาการป่วยจนถึงแก่กรรมในที่สุดจากเหตุตับวาย ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พุทธศักราช 2514 เวลา 19.05 นาฬิกา สิริอายุ 76 ปี 6 เดือน จัดการพระราชทานเพลิงศพ ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร ราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2516.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) · ดูเพิ่มเติม »

พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา

รณ อิศรเสนา ณ อยุธยา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ อดีตวุฒิสมาชิกและสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตประธานกรรมการสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

พิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพล

ีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพล หรือภาษาปากว่า พิธีสาบานธง เป็นพิธีการทางทหารซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในวันกองทัพไทย และวันสำคัญของแต่ละเหล่าทัพ ผู้ที่เป็นทหารทุกคนจะต้องผ่านการเข้าร่วมพิธีดังกล่าว เพื่อแสดงถึงความเป็นทหารอย่างสมบูรณ์ พิธีนี้เรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า "The Ceremony of Taking the Oath of Allegiance to the Colours".

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพิธีกระทำสัตย์ปฏิญาณตนต่อธงชัยเฉลิมพล · ดูเพิ่มเติม »

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

ห้องประชุมภายในราชบัณฑิตยสถาน (ที่ทำการเดิม) หลังการประชุมชำระพจนานุกรม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เป็นพจนานุกรมอธิบายศัพท์ภาษาไทยที่ราชบัณฑิตยสภา (หรือราชบัณฑิตยสถานเดิม) จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นมาตรฐานในการเขียนหนังสือไทยให้เป็นระเบียบเดียวกัน ไม่ลักลั่น โดยมีการปรับปรุงแก้ไขตามลำดับเรื่อยมา เมื่อราชบัณฑิตยสภาจัดพิมพ์พจนานุกรมรุ่นหนึ่ง ๆ แล้วเสร็จ จะเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ออก ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ระเบียบการใช้ตัวสะกด ให้หนังสือราชการและการศึกษาเล่าเรียนใช้ตัวสะกดตามพจนานุกรมรุ่นนั้น ๆ เสมอไป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน · ดูเพิ่มเติม »

พงส์ สารสิน

นายพงส์ สารสิน (เกิด 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) อดีตรองนายกรัฐมนตรี (2 สมัย) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย และ อดีตเลขาธิการพรรคกิจสังคม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และพงส์ สารสิน · ดูเพิ่มเติม »

กลอน

กลอน เป็นลักษณะคำประพันธ์ไทยที่ฉันทลักษณ์ประกอบด้วยลักษณะบังคับ 3 ประการคือ คณะ จำนวนคำ และสัมผัสกรมศิลปากร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และกลอน · ดูเพิ่มเติม »

กองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์

กองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์ มีต้นกำเนิดจากกองทหารอินยิเนียใน พ.ศ. 2418 โดยขึ้นตรงต่อกรมทหารมหาดเล็ก ผ่านการแปรสภาพหน่วยมาหลายครั้ง จนมาใช่ชื่อหน่วยในปัจจุบัน นับตั้งแต่ พ.ศ. 2496 เป็นต้นมา และจัดให้อยู่ในสายการบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 จนถึงปัจจุบัน หน่วยทหารหน่วยนี้เคยเข้าร่วมรบในสงครามอินโดจีน สงครามมหาเอเชียบูรพา เคยเข้าร่วมการปราบปรามผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์ในยุทธการภูขวางใน พ.ศ. 2515 และมีบทบาทในภารกิจด้านการบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ หลายครั้ง ปัจจุบันนี้มีที่ตั้งหน่วยอยู่ที่ เลขที่ 471 หมู่ 3 แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และกองพันทหารช่างที่ 1 รักษาพระองค์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพปลดปล่อยประชาชน

กองทัพปลดแอกประชาชน (People's Liberation Army, PLA) เป็นกองทัพของสาธารณรัฐประชาชนจีน และเป็นกองทัพที่ใหญ่ที่สุดในโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และกองทัพปลดปล่อยประชาชน · ดูเพิ่มเติม »

กัสตง เลอรู

กัสตง หลุยส์ อาลแฟรด เลอรู (Gaston Louis Alfred Leroux; 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1868 – 15 เมษายน ค.ศ. 1927) เป็นนักหนังสือพิมพ์และนักเขียนชาวฝรั่งเศส เกิดที่กรุงปารีส เรียนที่โรงเรียนในแคว้นนอร์ม็องดีก่อนจะกลับมาเรียนวิชากฎหมายที่ปารีส หลังเรียนจบเขาทำงานเป็นเสมียนศาลและนักวิจารณ์ละคร ต่อมาเลอรูทำงานเป็นนักข่าวให้กับหนังสือพิมพ์เลอมาร์แต็ง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และกัสตง เลอรู · ดูเพิ่มเติม »

การรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาล

รถไฟของรัฐบาลเนปาลในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 บัตรรถไฟรักเสาละ-สิมรา การรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาล (ตัวย่อ: NGR) เป็นเส้นทางรถไฟสายแรกของประเทศเนปาล ดำเนินการระหว่างปี ค.ศ. 1927 จนถึง ค.ศ. 1965 เชื่อมต่อระหว่างเมืองรักเสาละกับอัมเลขคัญชะ เป็นทางรถไฟรางแคบ ขนาดความกว้าง ระยะทาง 47 กิโลเมตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และการรถไฟแห่งรัฐบาลเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

การทรยศโดยชาติตะวันตก

แฟรงกลิน โรสเวลต์ และโจเซฟ สตาลิน การทรยศโดยชาติตะวันตก (Western betrayal) หรืออาจใช้ว่า การทรยศที่ยัลตา (Yalta betrayal) เป็นคำที่มักจะใช้กันในกลุ่มประเทศยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโปแลนด์และเช็กเกีย ซึ่งหมายความถึงนโยบายด้านการต่างประเทศของกลุ่มประเทศตะวันตกหลายประเทศ ซึ่งได้ละเลยสนธิสัญญาพันธมิตรและข้อตกลงหลายฉบับนับตั้งแต่สนธิสัญญาแวร์ซาย สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง ไปจนถึงสมัยสงครามเย็น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการหลอกลวงและการทรยศ ในการใช้คำว่า "การทรยศ" นี้ เป็นผลมาจากความจริงที่ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก ซึ่งแม้ว่าจะได้สนับสนุนให้เกิดระบอบประชาธิปไตยและการวางนโยบายด้วยตนเอง ได้ลงนามในสนธิสัญญาและก่อตั้งพันธมิตรทางการทหารทั้งก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กระนั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกกลับทรยศพันธมิตรของตนในยุโรปกลางโดยการละเลยที่จะปฏฺบัติตามข้อผูกมัดตามสนธิสัญญานั้น ยกตัวอย่างเช่น ไม่ช่วยป้องกันนาซีเยอรมนีจากการยึดครองเชโกสโลวาเกีย แต่กลับยกให้ในข้อตกลงมิวนิก (ค.ศ. 1938) หรือการทอดทิ้งโปแลนด์ในรับมือกับเยอรมนีและสหภาพโซเวียตตามลำพังระหว่างการบุกครองโปแลนด์ (ค.ศ. 1939) และการลุกฮือในกรุงวอร์ซอ ในปี ค.ศ. 1944 นอกจากนี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกยังได้ลงนามในข้อตกลงยัลตา และภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ก็ไม่ให้การป้องกันหรือยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือรัฐเหล่านี้จากการตกอยู่ภายใต้อิทธิพลและการควบคุมของสหภาพโซเวียต และระหว่างการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 ฮังการีก็ไม่ได้รับทั้งการสนับสนุนทั้งทางทหารและการสนับสนุนในด้านกำลังใจจากฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเลย และทำให้การปฏิวัติถูกปราบปรามโดยกองทัพแดงในที่สุด สถานการณ์เดียวกันเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1968 เมื่อกองทัพร่วมของกลุ่มประเทศสนธิสัญญาวอร์ซอเพื่อกำจัดยุคฤดูใบไม้ผลิปรากในเชโกสโลวาเกีย และยุติการเปลี่ยนแปลงการปกครองกลับมาสู่ระบอบคอมมิวนิสต์ดังเดิม ดังที่ได้เกิดความกังวลในการประชุมยัลตา แนวคิดของมันก็ถูกโต้เถียงกัน โดยนักประวัติศาสตร์มองว่าการที่นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิลล์ และประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ไม่มีทางเลือกอื่นใดนอกจากยอมรับความต้องการของผู้นำโซเวียต โจเซฟ สตาลิน ทั้งในการประชุมเตหะรานและในการประชุมครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม ฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตกเองก็ได้ประเมินอำนาจของสหภาพโซเวียตผิดไปบ้าง เช่นเดียวกับที่ประเมินนาซีเยอรมนีผิดไปหนึ่งทศวรรษก่อนหน้านั้น แต่ผู้สนับสนุนการประชุมยอลตามีแนวคิดว่า การประชุมในครั้งนี้เป็นการทรยศกลุ่มประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก โดยไม่มีการพิจารณาถึงชะตากรรมของโปแลนด์ในอนาคต กองกำลังโปแลนด์ถือเป็นกองกำลังที่ต่อสู้กับนาซีเยอรมนีเป็นเวลายาวนานกว่าประเทศอื่นใดในสงครามโลกครั้งที่สอง และทำการรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับกองกำลังสหรัฐอเมริกา อังกฤษและโซเวียตในการทัพที่สำคัญหลายครั้ง รวมไปถึงในยุทธการที่เบอร์ลินครั้งสุดท้าย ซึ่งกองกำลังติดอาวุธโปแลนด์ทางตะวันตกมีจำนวนกว่า 249,000 นาย (กองทัพสัมพันธมิตรตะวันตกมีจำนวนกว่า 4 ล้านนาย) และ 180,000 นายทางตะวันออก (กองทัพโซเวียตมีจำนวนกว่า 6 ล้านนาย) และมีอีกกว่า 300,000 นายที่ทำการรบใต้ดิน หรือในกองกำลังกู้ชาติ ในตอนปลายสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพโปแลนด์มีจำนวนกว่า 600,000 นาย โดยที่ไม่นับกองกำลังกู้ชาติhttp://www.ww2.pl/Polish,contribution,to,the,Allied,victory,in,World,War,2,(1939-1945),132.html ซึ่งทำให้โปแลนด์มีกองกำลังขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ในสงคราม รองมาจากสหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร รัฐบาลผลัดถิ่นโปแลนด์เป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรอย่างเป็นทางการ แต่กระนั้นประธานาธิบดีโรสเวลต์ก็ยังนิ่งนอนใจได้เมื่อรัฐบาลโปแลนด์ถูกแทนที่ด้วยรัฐบาลหุ่นของโซเวียต โดยได้มีข้อสังเกตว่าโรสเวลต์ได้วางแผนที่จะมอบโปแลนด์ให้กับสตาลิน นักประวัติศาสตร์คนอื่น ๆ เสนอว่า เชอร์ชิลล์กระตุ้นให้โรสเวลต์ดำเนินกิจการทางทหารต่อในทวีปยุโรป แต่ต่อต้านสหภาพโซเวียต เพื่อป้องกันการแสวงหาดินแดนเพิ่มเติมจากพรมแดนของตน รูสเวลต์ดูเหมือนว่าจะเชื่อใจในการรับประกันของสตาลินและปฏิเสธที่จะสนับสนุนเจรนาของเชอร์ชิลล์ในการรักษาเสรีภาพของทวีปยุโรปนอกเหนือจากอิทธิพลของสหภาพโซเวียต โดยปราศจากการหนุนหลังของสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรที่เหนื่อยอ่อน อดอยาก และแทบจะสิ้นเนื้อประดาตัวจึงไม่สามารถดำเนินการตามที่ตั้งใจเอาไว้ และถึงแม้ว่าจะมีการหนุนหลังจากสหรัฐอเมริกาก็ตาม ผลจากกิจการทางทหารนั้นก็ยังคงไม่แน่นอนอยู่มาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และการทรยศโดยชาติตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การแข่งขันจักรยานชิงแชมป์โลก

ื้อสีรุ้ง สำหรับแชมป์โลก ประกอบด้วยแถบสี 5 แถบบนเสื้อสีขาว ไฟล์:Bicycle-icon.png การแข่งขันจักรยานชิงแชมป์โลก (World Cycling Championship) เป็นการแข่งขันจักรยานประเภทวันเดียวจบ ที่จัดการแข่งขันโดยสหพันธ์จักรยานนานาชาติ (Union Cycliste Internationale - UCI) จัดขึ้นครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1927 ที่เยอรมนี และหมุนเวียนไปตามเมืองต่างๆทั่วยุโรป การแข่งขันจะจัดเมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแข่งขันในแต่ละปี มักจะจัดหลังจบรายการวูเอลตา อา เอสปันญา ในเดือนกันยายน ผู้ชนะการแข่งขันรายการนี้ จะได้รับการยกย่องว่าเป็น แชมป์โลก และมีสิทธิ์สวม "เสื้อสีรุ้ง" (rainbow jersey) ในการแข่งขันรายการอื่นๆ โดยแบ่งประเภทดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และการแข่งขันจักรยานชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

การเปรียบเทียบแพร์ไวส์

การเปรียบเทียบแพร์ไวส์ (Pairwise comparison) หรือ การเปรียบเทียบเชิงคู่ เป็นการศึกษาเปรียบเทียบในเชิงจิตวิทยากล่าวถึงกระบวนการในการเปรียบเทียบสิ่งของเป็นคู่ โดยเลือกว่าของสิ่งใดในสองสิ่งมีความคุณค่ามากกว่ากันในคุณสมบัติเชิงปริมาณ วิธีการนี้ถูกนำมาใช้ในการศึกษาวิจัยในหลายหัวข้อ ได้แก่ ทัศนคติ ทางเลือกทางสังคม ทางเลือกชุมชน แอล. แอล. เธิร์สโตน นักจิตวิทยาชาวอเมริกันได้เริ่มต้นนำมาประยุกต์ใช้เมื่อ พ.ศ. 2470 โดยใช้ในชื่อว่า กฎการตัดสินเชิงเปรียบเทียบ (law of comparative judgement) โดยเขาได้ทำการเชื่อมโยงความสัมพันธ์เข้ากับทฤษฎีของ เอิร์นต์ ไฮน์ริช วีเบอร์ และ กุสตาฟ เฟชเนอร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และการเปรียบเทียบแพร์ไวส์ · ดูเพิ่มเติม »

กึนเทอร์ กรัสส์

กึนเทอร์ วิลเฮลม์ กรัสส์ (Günter Wilhelm Grass) (16 ตุลาคม พ.ศ. 2470 – 13 เมษายน พ.ศ. 2558) เป็นนักเขียนและนักเขียนบทละครชาวเยอรมันคนสำคัญ ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1999 กรัสส์เกิดที่นครรัฐอิสระดานซิก (ปัจจุบันคือ กดัญสก์ ประเทศโปแลนด์) ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และกึนเทอร์ กรัสส์ · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล

กีฬาชิงชนะเลิศแห่งตะวันออกไกล (The Far Eastern Championship Games) หรือที่รู้จักในชื่อ กีฬาตะวันออกไกล (Far East Games) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายประเภท ระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียใต้ของทวีปเอเชีย จัดขึ้นโดย สมาคมกีฬาแห่งตะวันออกไกล (Far Eastern Athletic Association) อันมีหมู่เกาะฟิลิปปินส์ในอารักขาของสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐจีน และจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้ง มีการแข่งขันในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2456 - พ.ศ. 2477 ซึ่งถือเป็นการเริ่มต้นพัฒนาไปสู่กีฬาเอเชียนเกมส์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และกีฬาตะวันออกไกล · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาตะวันออกไกล 1927

กีฬาตะวันออกไกล ครั้งที่ 5 ระหว่างเดือน สิงหาคม ค.ศ. 1927 จัดขึ้นที่ เซี่ยงไฮ้, สาธารณรัฐจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และกีฬาตะวันออกไกล 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ฝันอเมริกัน

งชาติของสหรัฐฯ ในวอชิงตัน ดี.ซี. ธงแบบเบสซี รอสที่แขวนลงเป็นธงคลาสสิก “โอลด์กลอรี” รุ่น 50 รัฐ ความหมายโดยทั่วๆ ไปแต่เดิมของ “ความฝันอเมริกัน” อาจนิยามได้ว่าเป็น “ความเท่าเทียมทางโอกาสและเสรีภาพที่เอื้อให้พลเมืองบรรลุถึงเป้าหมายในชีวิตด้วยการทำงานหนักและด้วยความมุ่งมั่น ปัจจุบัน ความหมายโดยทั่วไปได้ปรับเปลี่ยนเป็นว่า ความมั่งคั่งของบุคคลขึ้นอยู่กับขีดความสามารถและการทำงานหนัก ไม่ขึ้นอยู่กับโครงสร้างระดับชั้นที่ตายตัวของสังคม ซึ่งความหมายนี้ไปเปลี่ยนไปตามเวลาของประวัติศาสตร์ สำหรับบางคน อาจหมายถึงโอกาสที่จะบรรลุความมั่งคั่งได้มากกว่าที่เคยได้ในประเทศเดิมที่ตนย้ายถิ่นมา บางคนอาจหมายถึงโอกาสที่บุตรหลานที่จะเจริญเติบโตในสิ่งแวดล้อมที่ดีและได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นในสหรัฐฯ รวมทั้งโอกาสการได้งานที่ดี สำหรับบางคนอาจเป็นการได้โอกาสที่จะเป็นปัจจเกชนที่ปราศจากการกีดกันด้วยชนชั้นทางสังคม จากวรรณะ เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ หรือชาติพันธุ์ นิยามของความฝันอเมริกันดังกล่าว ณ ปัจจุบันยังคงเป็นหัวข้อที่ยังถกเถียงอภิปรายกันมากอยู่ และเช่นกันที่ “ชุดของความเชื่อ การตั้งข้อสมมุติฐานและรูปแบบของการประพฤติปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความฝันอเมริกันที่เกาะตัวกันอย่างหลวมๆ ในขณะนี้ ซึ่งประกอบด้วย (1) เสรีภาพของบุคคลในการเลือกวิถีการดำเนินชีวิต (2) โอกาสที่จะเข้าถึงความมั่งคั่งได้โดยเสรี และ (3) การเสาะแสวงหาและการแลกเปลี่ยนเป้าประสงค์ร่วมระหว่างบุคคลกับสังคมของตน” Zangrando, Joanna Schneider and Zangrando, Robert L. "Black Protest: A Rejection of the American Dream".

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และฝันอเมริกัน · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์

กล้องถ่ายภาพเคลื่อนไหวของฟ็อกซ์ในยุคแรก ๆ ภาพยนตร์ หรือ หนัง คือ กระบวนการบันทึกภาพด้วยฟิล์ม แล้วนำออกฉายให้เห็นภาพเคลื่อนไหว ภาพที่ปรากฏบนฟิล์มภาพยนตร์หลังจากผ่านกระบวนการถ่ายทำแล้วเป็นเพียงภาพนิ่งจำนวนมาก ที่มีอิริยาบถหรือแสดงอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละน้อยต่อเนื่องกันเป็นช่วงๆ ตามเรื่องราวที่ได้รับการถ่ายทำและตัดต่อมา ซึ่งอาจเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง หรือเป็นการแสดงให้เหมือนจริง หรืออาจเป็นการแสดงและสร้างภาพจากจินตนาการของผู้สร้างก็ได้ ไม่ว่าจะเป็นชนิดฟิล์มเนกาทีฟ (negative) หรือฟิล์มโพซิทีฟ (positive) ซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือกระทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียงหรือทั้งรูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือเสียง หรือทั้งรูปและเสียงได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์หรือเครื่องอย่างอื่นทำนองเดียวกัน และหมายความตลอดถึงฟิล์มซึ่งได้ถูกถ่าย อัด หรือทำด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏสี เพื่ออัดลงในฟิลม์ชนิดดังกล่าว เป็นสาขาที่สร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะในรูปของภาพเคลื่อนไหว และเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมบันเทิง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ไทย

นตร์ไทย มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนาน ภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกถ่ายทำในเมืองไทย คือ เรื่อง นางสาวสุวรรณ ผู้สร้าง คือ บริษัทภาพยนตร์ ยูนิเวอร์ซัล ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้ผู้แสดงทั้งหมดเป็นคนไทย"" เว็บไซต์ rimpingfunds.com พ.ศ. 2470 ภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น เป็นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-ดำ ไม่มีเสียง ได้รับการยอมรับให้เป็นภาพยนตร์ประเภทเรื่องแสดงเพื่อการค้าเรื่องแรกที่สร้างโดยคนไทย ในช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็นช่วงยุคเฟื่องฟูของภาพยนตร์ไทย สตูดิโอถ่ายทำและภาพยนตร์มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น หลังจากนั้นประเทศไทยเข้าสู่ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือเป็นช่วงซบเซาของภาพยนตร์ไทย เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ ฟื้นคืนกลับมา ได้เปลี่ยนไปสร้างเป็นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน และเมื่อบ้านเมืองเข้าสู่ภาวะคับขัน ภาพยนตร์ไทยหลายเรื่องได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญหาการเมือง และสังคม ในช่วงเวลาระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (ChiangMai Rajabhat University; ชื่อย่อ: มร.ชม. - CMRU) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่เก่าแก่ที่สุดในจังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของภาคเหนือ เป็นวิทยาลัยครูแห่งแรกที่ก่อตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค และเป็นสถาบันการศึกษาที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2467 ในนาม "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ" มีบทบาทและความรับผิดชอบในฐานะสถาบันการศึกษาและวิจัยที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาวิชาการในสาขาวิชาต่าง ๆ ตามความต้องการของท้องถิ่น และผลิตครูบุคลากรทางการศึกษา ทำการวิจัยส่งเสริมวิทยฐานะของครู อาจารย์ และบุคลากรประจำการ ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ในปี พ.ศ. 2518 "โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑลพายัพ" หรือ "โรงเรียนฝึกหัดครูเชียงใหม่" ได้ยกฐานะขึ้นเป็น "วิทยาลัยครูเชียงใหม่" ตาม "พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518" ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามวิทยาลัยครูทั่วประเทศว่า "สถาบันราชภัฏ" แปลว่า "ผู้ที่อยู่ใกล้พระราชา" ทั้งยังได้พระราชทานตราพระราชลัญจกรประจำพระองค์ เป็นตราประจำสถาบันราชภัฏ และเมื่อได้ประกาศใช้ "พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ" ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2538 "วิทยาลัยครูเชียงใหม่" จึงมีชื่อเป็น "สถาบันราชภัฏเชียงใหม่" เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมลงพระปรมาภิไธยใน "พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547" อันมีผลให้สถาบันราชภัฏ 41 แห่งทั่วประเทศ เปลี่ยนชื่อเป็น "มหาวิทยาลัยราชภัฏ" และมีสถานภาพเป็นนิติบุคคลโดยสมบูรณ์ ยังความปลาบปลื้มยินดีแก่ชาวราชภัฏทุกคน ในปี พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มีอายุครบรอบ 90 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช

มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช (Universität Leipzig; University of Leipzig) ตั้งอยู่ที่เมืองไลพ์ซิช รัฐซัคเซิน ประเทศเยอรมนี และเป็นมหาวิทยาลัยประจำเมืองไลพ์ซิช มีการเรียนการสอน 14 คณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และมหาวิทยาลัยไลพ์ซิช · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ เป็นวิทยาเขตในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2473 ตั้งอยู่ที่ตำบลนอกเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์แชลล์ วอร์เรน ไนเรนเบิร์ก

นเรนเบิร์ก (ขวา) และเจ. ไฮน์ริช แมทเทในปี ค.ศ. 1961 มาร์แชลล์ วอร์เรน ไนเรนเบิร์ก (Marshall Warren Nirenberg; 10 เมษายน ค.ศ. 1927 – 15 มกราคม ค.ศ. 2010) เป็นนักชีวเคมีและนักพันธุศาสตร์ชาวอเมริกัน เกิดที่นครนิวยอร์ก เป็นบุตรของแฮร์รี เอ็ดเวิร์ด ไนเรนเบิร์กและมิเนอร์วา บายคอฟสกี ในวัยเด็กไนเรนเบิร์กป่วยเป็นโรคไข้รูมาติก ครอบครัวจึงย้ายไปอยู่ที่เมืองออร์แลนโด รัฐฟลอริดา ไนเรนเบิร์กสนใจวิชาชีววิทยาตั้งแต่ยังเด็ก เขาเรียนจบปริญญาตรีด้านวิทยาศาสตร์และปริญญาโทด้านสัตววิทยาจากมหาวิทยาลัยฟลอริดา ก่อนจะเรียนต่อปริญญาเอกด้านชีวเคมีที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน ไนเรนเบิร์กเริ่มทำงานที่สถาบันสุขภาพแห่งชาติ (NIH) รัฐแมรีแลนด์ และเริ่มศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอและโปรตีน ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และมาร์แชลล์ วอร์เรน ไนเรนเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ยอก โซธอท

อก โซธอท (Yog-Sothoth) เป็นหนึ่งในเอาเตอร์ก็อดในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ โดยชื่อของยอก โซธอทถูกกล่าวถึงครั้งแรกในนิยายเรื่อง The Case of Charles Dexter Ward (ประพันธ์ในปีพ.ศ. 2470 ได้รับการตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2484).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และยอก โซธอท · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต ลัดลัม

รอเบิร์ต ลัดลัม (Robert Ludlum; 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1927 – 12 มีนาคม ค.ศ. 2001) เป็นนักเขียนชาวอเมริกัน เกิดที่นครนิวยอร์ก เป็นบุตรของมาร์กาเรต (นามสกุลเดิม วอดส์เวิร์ธ) กับจอร์จ ฮาร์ตฟอร์ด ลัดลัม เขาเรียนที่โรงเรียนเรกทอรี สถาบันเชสไชร์และเรียนจบด้านศิลปะการแสดงจากมหาวิทยาลัยเวสลีอิน ก่อนจะทำงานเป็นนักเขียน ลัดลัมเคยเป็นนาวิกโยธิน นักแสดงและผู้อำนวยการสร้างละคร ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรอเบิร์ต ลัดลัม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐโอคลาโฮมา

รัฐโอคลาโฮมา (Oklahoma, โอวเคฺลอะโฮ้วเม่อะ) เป็นรัฐหนึ่งใน 50 รัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา มีประชากรประมาณ 3.64 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรัฐโอคลาโฮมา · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์

ราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์ (Kingdom of Hejaz and Nejd; مملكة الحجاز ونجد) เป็นสหภาพทางการเมืองที่สถาปนาขึ้นหลังการพิชิตราชอาณาจักรฮิญาซ โดยรัฐสุลต่านนัจญด์ที่ปกครองโดยอิบน์ ซะอูด ในปี ค.ศ. 1927 มีการยกฐานะของรัฐสุลต่านนัจญด์ขึ้นมาเป็นราชอาณาจักร และ ค.ศ. 1932 อิบน์ ซะอูดทรงรวมสองอาณาจักรเข้าด้วยกันในชื่อ "ซาอุดีอาระเบีย" และพระองค์ทรงขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์องค์แรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และราชอาณาจักรฮิญาซและนัจญด์ · ดูเพิ่มเติม »

ราม นารายัณ

ราม นารายัณ (राम नारायण; Ram Narayan) เกิดเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ. 1927 เป็นบัณฑิต นักดนตรีชาวอินเดียที่มีชื่อเสียงจากการเล่นเครื่องดนตรีซารังกี้ ในฐานะนักดนตรีศิลปินเดี่ยวในคอนเสิร์ต ของดนตรีคลาสสิกฮินดูสถานและเป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติผู้แรกในฐานะผู้เล่นเครื่องดนตรีซารังกี้ ราม นารายัณเกิดที่เมืองอูไดปูร์ และเรียนการเล่นซารังกี้ตั้งแต่เล็ก เขาศึกษาการเล่นซารังกี้และเป็นนักร้องและทำงานเป็นอาจารย์ด้านดนตรีและเป็นนักดนตรีเดินทางตั้งแต่เป็นวัยรุ่น เขาได้รับการว่าจ้างเป็นผู้ร้องตามให้กับกลุ่มนักร้องในสถานีวิทยุออลอินเดียเรดิโอ เมืองละฮอร์ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และราม นารายัณ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2470

รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน พ.ศ. 2470.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศยูเครน

นื้อหาในหน้านี้ว่าด้วยธงประเภทต่าง ๆ ที่มีการใช้ในประเทศยูเครน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายชื่อธงในประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศลิทัวเนีย

ตารางเบื้องล่างนี้ แสดงภาพและข้อมูลธงต่างๆ ที่ปรากฏการใช้ในประเทศลิทัวเนียอย่างสังเขป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายชื่อธงในประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศสเปน

นี้คือธงต่างๆ ที่ใช้ในประเทศสเปน ทั้งในอดีตและปัจจุบัน สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมของธงชาติ ดูที่ ธงชาติสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายชื่อธงในประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน

หน้านี้คือรายการธงที่มีการใช้ในประเทศอัฟกานิสถาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายชื่อธงในประเทศอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกส พระอิศริยยศเริ่มขึ้นตั้งแต่โปรตุเกสประกาศอิสรภาพจากราชอาณาจักรเลออน ภายใต้การนำของอัลฟอนโซ เฮนริเก ผู้ซึ่งประกาศตั้นตนเป็นกษัตริย์แห่งโปรตุเกสในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายพระนามพระมหากษัตริย์โปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์กัมพูชา

หมวดหมู่:ราชินีแห่งกัมพูชา ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร

้านล่างนี้คือรายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายพระนามและรายนามอธิบดีกรมศุลกากร · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน)

ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ท..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานทั้งฝ่ายหน้า (บุรุษ) และฝ่ายใน (สตรี) โดยทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 13 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย สำหรับฝ่ายใน ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษมีจำนวน 100 สำรับ สตรีที่ได้รับพระราชานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นนี้ สามารถใช้คำนำหน้านามว่า "ท่านผู้หญิง" สำหรับผู้ที่สมรสแล้ว หรือ "คุณ" สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้สมรส สำหรับสตรีในราชสกุล ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไปให้ใช้คำนำพระนามตามเดิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ฝ่ายใน) · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า

ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายหน้า ปฐมจุลจอมเกล้า ฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประธานของเครื่องอิสริยาภรณ์ รวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานแก่ผู้ที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์นี้ได้ ปัจจุบัน เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า แบ่งออกสำหรับพระราชทานฝ่ายหน้าจำนวน 30 สำรับ และฝ่ายในจำนวน 20 สำรับ นอกจากนี้ ยังสามารถพระราชทานแก่เจ้านายหรือผู้มีเกียรติจากต่างประเทศซึ่งไม่นับรวมกับจำนวนดังกล่าว รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า (ไม่รวมพระนามของผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้าในชั้นที่สูงขึ้น ได้แก่ ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ) ตั้งแต่สถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เช่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานปฐมจุลจอมเกล้า · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน

งสาธารณรัฐจีน ทำเนียบที่ทำการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีนที่กรุงไทเป ไต้หวัน รายนามต่อไปนี้เป็นรายนาม ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน ตั้งแต่ (ค.ศ. 1912 ถึง ปัจจุบัน) ในสาธารณรัฐจีนตำแหน่งประธานาธิบดีจะเรียกว่า (ซ่งถ่ง) และตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น

งประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น รายนาม นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้นำรัฐบาลของจักรวรรดิญี่ปุ่นและประเทศญี่ปุ่น ตามราชธรรมนูญเมจิในรัชสมัยเมจิ องค์จักรพรรดิทรงเป็นผู้เลือกและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจวบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากนั้น นายกรัฐมนตรีจึงมีที่มาจากการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร โดยมีองค์จักรพรรดิเป็นผู้แต่งตั้งตามขนบธรรมเนียม จวบจนถึงปัจจุบัน ญี่ปุ่นมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 62 คน ใน 96 คณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

รถดีเซลราง

วนรถนำเที่ยวที่ 987 กรุงเทพ - สวนนงนุช ในชานชาลารางที่ 5 สถานีรถไฟกรุงเทพ ขบวนรถท้องถิ่นที่ 428/427 อุบลราชธานี - นครราชสีมา - อุบลราชธานี ขณะจอดเทียบที่ชานชาลารางที่ 1 สถานีรถไฟนครราชสีมา ขบวนรถท้องถิ่นที่ 428 อุบลราชธานี - นครราชสีมาช ขณะจอดเทียบที่ชานชาลารางที่ 1 สถานีรถไฟบุรีรัมย์ รถดีเซลราง (diesel railcar) เป็นรถโดยสารที่มีเครื่องยนต์ดีเซลขับเครื่องด้วยตนเอง เดิมทีการรถไฟได้นำรถชนิดนี้มาใช้งานในประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2470 ซึ่งเป็นเครื่องกลไอน้ำ สร้างโดย บริษัทบอลด์วิน สหรัฐอเมริกา รถดีเซลรางรุ่นแรก ๆ ที่นำมาใช้บริการรับส่งผู้โดยสารชานเมืองในปี พ.ศ. 2475 นั้น มีหมายเลข 11 ถึง 16 เป็นรถที่ประกอบด้วยรถกำลัง 1 คัน และรถพ่วงสำหรับผู้โดยสารล้วนอีก 1 คัน ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง รถดีเซลรางรุ่นใหม่ ๆ ได้รับการพัฒนาให้มีสมรรถนะสูง มีความคล่องตัวในการใช้งาน และสามารถพ่วงต่อกันคราวละหลายชุดได้ โดยแต่ละชุดเครื่องยนต์ทำงานพร้อมกับคันที่มีคนควบคุมที่ต้นขบวน รถดีเซลรางมีคุณสมบัติที่เหนือกว่าขบวนรถซึ่งใช้รถลากจูงหลายประการ คือ ขบวนการดีเซลรางเร่งความเร็ว และหยุดได้เร็วกว่า จึงทำให้ใช้เวลาในการเดินทางน้อยกว่า และเมื่อถึงปลายทาง พนักงานขับรถเปลี่ยนไปขับท้ายขบวนก็สามารถออกรถได้ทันที ไม่ต้องเปลี่ยนตั้งหัวขบวนใหม่เช่นการใช้รถจักร นอกจากนั้นยังสามารถพ่วงติดต่อกันได้ไม่จำกัด เพราะรถทุกชุดขับเคลื่อนด้วยตัวเอง รถที่เป็นตัวกำลังจะทำงานสัมพันธ์กันทุกเครื่องยนต์ ทำให้เฉลี่ยกำลังขับเคลื่อนออกไปตลอดขบวนขึ้นทางลาดชันได้ดีกว่า นอกจากความคล่องตัวแล้ว รถดีเซลรางยังสะดวกในการจัดทำขบวนรถสั้น ๆ เพียงชุดเดียว (2 คัน) ให้พอเหมาะกับสภาพการโดยสาร (รถคันกำลัง จุที่นั่ง 78 คน ยืน 35 คน และคันพ่วงมี 84 ที่นั่ง ยืน 35 คน) ในแง่ความปลอดภัยของผู้โดยสาร รถทุกคันมีประตูขึ้นลง เปิดปิดโดยระบบอัตโนมัติที่พนักงานขับรถจะเป็นผู้ควบคุม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรถดีเซลราง · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟสายทางช้างเผือก

รถไฟสายทางช้างเผือก (銀河鉄道の夜) เป็นวรรณกรรมเยาวชน ที่เขียนขึ้นโดย มิยาซาวะ เคนจิ เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรถไฟสายทางช้างเผือก · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดง

รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดง เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบการคมนาคมอ่าวแมสซาชูเซตส์ บอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ เชื่อมต่อกับ รถไฟชานเมืองบอสตัน รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีเขียว รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีส้ม และรถโดยสารประจำทางบอสตัน สายสีเงิน เป็นเพียงเส้นทางเดียวที่ผ่านมหาวิทยาลัยฮาร์วาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และรถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดง · ดูเพิ่มเติม »

ลอยส์ แม็กซ์เวลล์

ลอยส์ แม็กซ์เวลล์ (Lois Maxwell) เป็นดาราหญิงคนหนึ่งที่มีชื่อเสียงพอสมควร เธอเกิดเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1927 ที่เมืองคิทเชเนอร์ (Kitchener) รัฐออนตาริโอ (Ontario) ประเทศแคนาดา (Canada) บทที่เธอเล่นและเป็นที่รู้จักกันมากที่สุดเห็นจะเป็นบท มันนี่เพ็นนีในภาพยนตร์ชุด เจมส์ บอนด์ ตัวอย่างภาพยนตร์ในเรื่อง That Hagen Girl เมื่อตอนเกิด เธอมีชื่อว่า ลอยส์ ฮูเกอร์ (Lois Hooker) เธออาศัยอยู่ในเมืองคิทเชเนอร์จนอายุ 18 ปี ก่อนจะเริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงโดยการไปเล่นเป็นดารารับเชิญในละครโทรทัศน์เป็นครั้งคราวในเรื่อง The Saint และ The Persuaders ร่วมกับ โรเจอร์ มัวร์ เธอค่อยๆเข้าสู่วงการบันเทิงมากขึ้นและเจริญก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดก็ได้รับคัดเลือกในรับบท มันนี่เพ็นนี ในภาพยนตร์ชุดบอนด์เดอะซีรีส์ ที่ค่ายภาพยนตร์อีโอเอ็นโปรดักชั่นส์จะจัดทำขึ้นเป็นโปรเจกต์ซีรีส์ระยะยาว เธอได้รับบทมันนี่เพ็นนี ตั้งแต่ภาพยนตร์บอนด์ภาคแรก คือ Dr.No (พยัคฆ์ร้าย 007) ออกฉายในพ.ศ. 2505 ไปจนถึงตอนที่ 14 คือ A View to a Kill (พยัคฆ์ร้ายพญายม) ออกฉายในพ.ศ. 2528 รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 23 ปี ลอยส์ แม็กซ์เวลล์ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 2007 สิริอายุรวม 80 ปี ที่เมืองเพิร์ท,ออสเตรเลีย หมวดหมู่:นักแสดงหญิง หมวดหมู่:นักแสดงแคนาดา หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐออนแทรีโอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และลอยส์ แม็กซ์เวลล์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร

วัดชนะสงคราม เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง เดิมเรียกว่าวัดกลางนา ต่อมาถูกยกสถานะเป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง)

วัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง) (160px)หรือเรียกโดยทั่วไปว่า วัดพระธาตุดอยตุง ตั้งอยู่บริเวณส่วนที่เรียกว่าหน้าอกของดอยนางนอน ตำบลห้วยไคร้ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่ของชาวเขา ซึ่งดอยตุงมีระยะทางห่างจากอำเภอเมืองเชียงรายประมาณ 46 กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวัดพระมหาชินธาตุเจ้า (ดอยตุง) · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร

วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เดิมชื่อ วัดพระธาตุเจ้าศรีจอมทอง ตั้งอยู่ถนนเชียงใหม่-ฮอด หมู่ 2 ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากตัวจังหวัดเชียงใหม่ประมาณ 58 กิโลเมตร วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เป็น พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 บริเวณที่ตั้ง เป็นเนินดินสูง ประมาณ 10 เมตร เรียกกันมาตั้งแต่อดีตว่า ดอยจอมทอง ตามประวัติสันนิษฐานว่า เป็นวัดที่สร้างขึ้นในราว พุทธศตวรรษที่ 20 แต่จากลักษณะทางศิลปกรรมของสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ภายในวัด ปรากฏเป็นลักษณะของศิลปกรรม ในสมัยหลัง พุทธศตวรรษที่ 24 ซึ่งเป็นห้วงระยะเวลาของยุคฟื้นฟูเมืองเชียงใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระแม่สกลสงเคราะห์

วัดพระแม่สกลสงเคราะห์ (Beata Maria Virginis Omnis Gratiae Mediatricis; The Blessed Virgin Mary The Mediatrix of all Graces Church) เป็นโบสถ์โรมันคาทอลิก ขนาดใหญ่ที่สุดในเขตอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 179 หมู่ 5 ตำบลโสนลอย บนที่ดินบริเวณหลังตลาดสดเทศบาลเมืองบางบัวทอง ริมคลองขุนพระพิมลราชา ใกล้กับถนนกาญจนาภิเษก มีพิธีเสกวัดเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1927 (พ.ศ. 2470) โดยมีการจัดสร้างอาคารวัดขึ้นใหม่อีก 2 ครั้ง ในรอบ 65 ปี ทั้งนี้ วัดพระแม่สกลสงเคราะห์หลังปัจจุบัน มีพิธีเสกเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 1992 (พ.ศ. 2535) ปัจจุบัน (ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2009) มีคุณพ่อยอห์น บัปติสตา บุญเสริม เนื่องพลี ดำรงตำแหน่งอธิการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวัดพระแม่สกลสงเคราะห์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดราชพฤกษ์

วัดราชพฤกษ์ ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 ตำบลบ้านหลุม อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย เป็ดวัดราษฎร์ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย แต่เดิมวัดมีนามว่า “วัดเหนือ” สร้างขึ้นเป็นวัดนับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 1920 ได้เปลี่ยมนามวัดเป็น “วัดราชพฤกษ์” ในราว พ.ศ. 2470 ในปี พ.ศ. 2524 ได้สร้างอุโบสถขึ้น มีเนื้อที่ในการตั้งวัด จำนวน 8 ไร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวัดราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุทธจินดาวรวิหาร

วัดสุทธจินดาวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ขอพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ. 2470 ตกมาและปักเขตเสร็จปี พ.ศ. 2471 มีเขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตรยาว 80 เมตร ทำพิธีผูกพัทธสีมา เมื่อวันที่ 11 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2474 และได้สถาปนาเป็นพระอารามหลวง เมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2478 ในรัชกาลที่ 8 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีเนื้อที่ประมาณ 24 ไร่ 3 งาน 9 ตารางวา ตั้งอยู่ ถนนราชดำเนิน ด้านทิศตะวันดก ตรงข้ามศาลากลางจังหวัด ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา เจ้าอาวาสวัดคือ พระธรรมโสภณ (โกศล สิรินฺธโร).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวัดสุทธจินดาวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดหนองโนเหนือ

วัดหนองโนเหนือ ตั้งอยู่เลขที่ ๖๘ บ้านหนองโนเหนือ ตำบลหนองโน อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีฐานะเป็นวัดราษฎร์ พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มติดที่สวนที่นาของชาวบ้านรอบด้าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวัดหนองโนเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

วัดดาวเรือง (จังหวัดสระบุรี)

1.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวัดดาวเรือง (จังหวัดสระบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

วัดป่าสุนทราราม

วัดป่าสุนทราราม หรือ วัดบ้านกุดแห่ เป็นวัดป่าอรัญวาสี สังกัดนิกายเถรวาท คณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2471 โดยพระอาจารย์ดี ฉนฺโน ลูกศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต โดยมี พระอธิการอินทร์ สุนฺทโร เป็นเจ้าอาวาสรูปแรก ต่อได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวัดป่าสุนทราราม · ดูเพิ่มเติม »

วัดเกษมจิตตาราม

วัดเกษมจิตตาราม หรือชื่อเดิม วัดม่อนศัลยพงษ์ ตั้งอยู่บนเนินเขาในที่ตั้งตำบลท่าอิฐ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ บนเนินเขาเดียวกับโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ ในปี พ.ศ. 2470 เคยมีผู้พบกลองมะโหรทึกสำริดสมัยวัฒนธรรมดองซอน อายุกว่า 2,000 ปี และโบราณวัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์บนม่อนวัดเกษมจิตตารามแห่งนี้ ปัจจุบันกลองมโหรทึกดังกล่าวจัดแสดงอยู่ที่พระที่นั่งศิวโมกข์วิมาน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวัดเกษมจิตตาราม · ดูเพิ่มเติม »

วันชัย จิราธิวัฒน์

วันชัย จิราธิวัฒน์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2470 - 15 กันยายน พ.ศ. 2555) ประธานกรรมการบริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จำกัด, อดีตประธานกรรมการบริหารบริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จำกัด (มหาชน), อดีตประธานกรรมการบริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จำกัด และบริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จำกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวันชัย จิราธิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ (ประเทศไทย)

วันชาติในประเทศไทย เป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทย เดิมกำหนดเป็นวันที่ 24 มิถุนายน อันเป็นวันที่คณะราษฎรก่อการปฏิวัติสยามใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวันชาติ (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลิม ไอนต์โฮเฟิน

รื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจยุคแรก วิลเลิม ไอนต์โฮเฟิน (Willem Einthoven; 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1860 – 29 กันยายน ค.ศ. 1927) เป็นแพทย์และนักสรีรวิทยาชาวดัตช์ เกิดที่เมืองเซอมารัง หมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ (ปัจจุบันคือประเทศอินโดนีเซีย) เป็นบุตรของยาโกบ ไอนต์โฮเฟิน และลูวีเซอ มารียา มาติลเดอ กาโรลีเนอ เดอ โฟเคิล ต่อมาบิดาเสียชีวิต มารดาจึงพาบุตรทั้ง 6 คนย้ายกลับมาอาศัยในเนเธอร์แลนด์โดยตั้งรกรากที่เมืองยูเทรกต์ ไอนต์โฮเฟินเรียนวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยยูเทรกต์และดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยไลเดิน ไอน์ไทโฟนศึกษาเรื่องคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ซึ่งในสมัยนั้นมีการค้นพบแล้วว่าการเต้นของหัวใจก่อให้เกิดคลื่นไฟฟ้า แต่ยังไม่มีเครื่องมือที่ใช้วัดอย่างแม่นยำ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวิลเลิม ไอนต์โฮเฟิน · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ เป็นสถานศึกษาสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก โดยเป็นสถาบันสมทบของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยเปิดสอนนิสิตในสายพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนพรัตน์วชิระมีวิวัฒนาการมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์แห่งแรกในประเทศไทยตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2475.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย ถือกำเนิดขึ้นระยะแรก ราวปี พ.ศ. 2470-2472 โดยพลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ซึ่งทรงริเริ่มทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง เป็นครั้งแรกในประเทศสยาม โดยทรงตั้งชื่อว่า “สถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท” เนื่องจากส่งกระจายเสียงจากพระราชวังพญาไท และยังทรงมอบหมายให้กรมไปรษณีย์โทรเลข โดยกองช่างวิทยุ ดำเนินการทดลองส่งวิทยุกระจายเสียง เป็นการคู่ขนานกับสถานีส่วนพระองค์ โดยผู้ฟังนิยมเรียกว่า “สถานีวิทยุศาลาแดง” เนื่องจากสถานีส่งกระจายเสียง ตั้งอยู่ในบริเวณย่านที่เรียกว่าศาลาแดง และต่อมาสถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท เปิดกระจายเสียงอย่างเป็นทางการ เริ่มด้วยการถ่ายทอดเสียงสด กระแสพระราชดำรัส เนื่องในการพระราชพิธีฉัตรมงคล ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เมื่อวันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2473 จากพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยมไหยสูรยพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 กองช่างวิทยุต้องดำเนินการขนย้าย เครื่องส่งวิทยุกระจายเสียง ของสถานีวิทยุกรุงเทพฯ ที่พญาไท เข้าไปไว้รวมกันที่สถานีวิทยุศาลาแดง เนื่องจากทางกองทัพบกต้องการนำที่ดิน บริเวณพระราชวังพญาไท เพื่อไปใช้สอยในราชการ (ก่อตั้งเป็นโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า) และเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2482 คณะรัฐมนตรีซึ่งนำโดยนายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ลงมติให้โอนกิจการวิทยุกระจายเสียง ซึ่งกรมไปรษณีย์โทรเลขดำเนินการอยู่นั้น ไปขึ้นตรงกับกรมโฆษณาการ สำนักนายกรัฐมนตรี (ปัจจุบันคือกรมประชาสัมพันธ์) โดยให้ชื่อใหม่ว่า “สถานีวิทยุกรุงเทพฯ” ซึ่งใช้อยู่เพียงเวลาสั้นๆ ก่อนจะเปลี่ยนอีกครั้งเป็น “สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย” หลังจากมีประกาศรัฐนิยมฉบับที่ 1 เปลี่ยนชื่อประเทศจากสยามเป็นไทย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 สืบเนื่องจากในช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2488 ระหว่างสงครามมหาเอเชียบูรพา เครื่องบินต่างชาติทิ้งระเบิดลงมา ยังโรงไฟฟ้าทั้งสองแห่งของจังหวัดพระนคร จนเกิดความเสียหายเป็นอย่างมาก กรมโฆษณาการจึงไม่มีกระแสไฟฟ้า สำหรับส่งกระจายเสียงวิทยุ เป็นเวลาหลายวัน ดังนั้นเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2489 กองช่างวิทยุ กรมไปรษณีย์โทรเลข จึงดำเนินการก่อตั้ง “สถานีวิทยุ 1 ป.ณ.” ที่อาคารกรมไปรษณีย์โทรเลขหลังเก่า บริเวณเชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้า ฝั่งพระนคร ช่วงหน้าวัดราชบุรณราชวรวิหาร (วัดเลียบ) เพื่อส่งกระจายเสียงโดยคู่ขนาน กับสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ตามคำสั่งของกระทรวงคมนาคม ที่ให้รื้อฟื้นการส่งวิทยุกระจายเสียงขึ้นใหม่ เพื่อสำรองใช้ในราชการ หากสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ของกรมโฆษณาการ (กรมประชาสัมพันธ์) ไม่สามารถส่งกระจายเสียงได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ว็อล์ฟกัง เพาลี

ว็อล์ฟกัง แอนสท์ เพาลี (Wolfgang Ernst Pauli, 25 เมษายน พ.ศ. 2443 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เป็นนักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวออสเตรีย และหนึ่งในกลุ่มผู้บุกเบิกด้านฟิสิกส์ควอนตัม เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และว็อล์ฟกัง เพาลี · ดูเพิ่มเติม »

ศิลป์ พีระศรี

ตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี (15 กันยายน พ.ศ. 2435 — 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505) เดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี (Corrado Feroci) ชาวอิตาลีสัญชาติไทย เป็นประติมากรจากเมืองฟลอเรนซ์ที่เข้ามารับราชการในประเทศไทยตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยถือเป็นปูชนียบุคคลคนหนึ่งของไทยที่ได้สร้างคุณูปการในทางศิลปะและมีผลงานที่เป็นที่กล่าวขานจนเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งและอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ซึ่งภายหลังได้รับการยกฐานะให้เป็นมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยศาสตราจารย์ศิลป์ได้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัย มีความรักใคร่ ห่วงใยและปรารถนาดีต่อลูกศิษย์อยู่ตลอดจนเป็นที่รักและนับถือทั้งในหมู่ศิษย์และอาจารย์ด้วยกัน ศาสตราจารย์ศิลป์ยังเป็นผู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้แก่วงการศิลปะไทยสมัยใหม่จากการที่ได้พร่ำสอนและผลักดันลูกศิษย์ให้ได้มีความรู้ความสามารถในวิชาศิลปะทั้งงานจิตรกรรมและงานช่าง มีจุดประสงค์ให้คนไทยมีความรู้ความเข้าใจในศิลปะและสามารถสร้างสรรค์งานศิลปะได้ด้วยความสามารถของบุคลากรของตนเอง การก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเปรียบเสมือนการหว่านเมล็ดพันธุ์ให้แก่คนไทยเพื่อที่จะออกไปสร้างศิลปะเพื่อแผ่นดินของตน และถึงแม้จะริเริ่มรากฐานของความรู้ด้านศิลปะตะวันตกในประเทศไทย แต่ในขณะเดียวกันศาสตรจารย์ศิลป์ก็ได้ศึกษาศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง เนื่องจากต้องการให้คนไทยรักษาความงามของศิลปะไทยเอาไว้ จึงได้เกิดการสร้างลูกศิษย์ที่มีความรู้ทั้งงานศิลปะตะวันตกและศิลปะไทยออกไปเป็นกำลังสำคัญให้แก่วงการศิลปะไทยเป็นจำนวนมาก และเกิดรูปแบบงานศิลปะไทยสมัยใหม่ในที่สุด ด้วยคุณูปการนี้ศาสตราจารย์ศิลป์จึงได้รับการยกย่องให้เป็นปูชนียบุคคลของมหาวิทยาลัยศิลปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงานประติมากรรมที่ได้มีผลงานที่โดดเด่นมากมายที่สร้างไว้แก่ประเทศไทย ได้แก่ พระพุทธรูปประธานที่พุทธมณฑล, อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ, อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และรวมไปถึง พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ที่วงเวียนใหญ่, พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี และพระบรมราชานุสาวรีย์ของกษัตริย์ไทยอีกหลายพระองค์ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ศาสตรจารย์ศิลป์จงได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทยและเป็นบิดาแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยในวันที่ 15 กันยายน ของทุกปีจะถือเป็นวันศิลป์ พีระศรี ซึ่งมหาวิทยาลัยจะจัดงานรำลึกขึ้นทุกปีเพื่อระลึกถึงคุณงามความดีของศาสตราจารย์ศิลป์ที่มีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และศิลป์ พีระศรี · ดูเพิ่มเติม »

สกุลชินวัตร

ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี สกุลชินวัตร เป็นสกุลที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองและธุรกิจมากมายในปัจจุบัน โดยมีเส็ง แซ่คูเป็นต้นตระกูล ซึ่งอพยพย้ายถิ่นฐานมาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน มายังจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย ต่อมาได้ย้ายไปตั้งรกรากที่จังหวัดเชียงใหม่ ในพ.ศ. 2454 เชียง แซ่คู บุตรชายคนโตของครอบครัวได้เริ่มต้นธุรกิจทอผ้าไหมในจังหวัดเชียงใหม่ จนในปัจจุบันเป็นกิจการผ้าไหมที่มีมายาวนานที่สุดของประเทศไทย สกุลชินวัตรเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นเมื่อทักษิณ ชินวัตร สมาชิกรุ่นที่ 3 ได้ดำเนินธุรกิจต่างๆ อาทิเช่น เครือค่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่เอไอเอส จนประสบความสำเร็จ และได้เข้าสู่การเมืองในเวลาต่อมา พร้อมทั้งมีสมาชิกคนอื่นๆ ตามมา ซึ่งทำให้สกุลชินวัตรเป็นที่รู้จักมากในด้านของการเมืองในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสกุลชินวัตร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร)

มเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ นามเดิม ฟื้น พลายภู่ ฉายา ชุตินฺธโร (20 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539) เป็นสมเด็จพระราชาคณะ อดีตเจ้าคณะใหญ่หนกลาง อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม อดีตแม่กองบาลีสนามหลวง และอดีตเจ้าอาวาสวัดสามพร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธโร) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

มหาอำมาตย์ตรี พันเอกพิเศษ จอมพลเรือ นายกองเอกเสือป่า สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (1 มกราคม พ.ศ. 2435 – 24 กันยายน พ.ศ. 2472) เป็นพระบรมราชชนกในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และเป็นพระอัยกาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระเชษฐาและพระเชษฐภคินีที่ประสูติร่วมพระราชมารดา 7 พระองค์ พระองค์มีคุณูปการแก่กิจการแพทย์แผนปัจจุบันและการสาธารณสุขของประเทศไทยประชาชนโดยทั่วไปคุ้นเคยกับพระนามว่า "กรมหลวงสงขลานครินทร์" หรือ "พระราชบิดา" และบางครั้งก็ปรากฏพระนามว่า "เจ้าฟ้าทหารเรือ" และ "พระประทีปแห่งการอนุรักษ์สัตว์น้ำของไทย" ส่วนชาวต่างประเทศเรียกพระนามว่า "เจ้าฟ้ามหิดล" หลังพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์ทรงพระประชวรต้องประทับในพระตำหนักวังสระปทุม และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 เวลา 16.45 น. ด้วยพระโรคฝีบิดในพระยกนะ(ตับ) โดยมีโรคแทรกซ้อนคือพระปัปผาสะบวมน้ำและพระหทัยวาย พระชนมายุได้ 37 พรรษา 8 เดือน 23 วัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนีย (โรมาเนีย: Mihai I al României, Michael I al României) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโรมาเนียระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระราชาธิบดีมีไฮที่ 1 แห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์

ลต่าน อัลมูตัสสิมู บิลลาฮี มูฮิบบุดดิน ตวนกู อัลฮัจญ์ อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ อิบนี อัลมาฮูม สุลต่านบาดิร ชาฮ์ ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซียลำดับที่ 5 และ 14 และอดีตสุลต่านแห่งรัฐเกอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซัม ชาห์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ ซะอูด

มเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ อับดุรเราะห์มาน อาล ซะอูด (عبد العزيز بن عبد الرحمن آل سعود‎, Abd al-'Azīz ibn 'Abd ar-Raḥman Āl Sa'ūd)ทรงเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลแรกแห่งซาอุดีอาระเบีย เป็นพระราชบิดาในพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ของประเทศ รวมทั้ง สมเด็จพระราชาธิบดีซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ อาล ซะอูด รัชกาลปัจจุบันของประเทศ พระองค์ทรงครองราชย์เป็นเวลา 19 ปี และสวรรคตด้วยพระชนมายุ 78 พรรษา เจ้าชายซะอูด บิน อับดุลอะซีซ จึงขึ้นครองราชย์แทน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลอะซีซ อิบน์ ซะอูด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย หรือ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระ (มารี อเล็กซานดรา วิกตอเรีย, 27 ตุลาคม ค.ศ. 1875 - 18 กรกฎาคม ค.ศ. 1938) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งโรมาเนียพระองค์สุดท้าย โดยเป็นพระมเหสีในพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย ทรงประสูติในฐานะพระราชวงศ์อังกฤษ พระองค์ทรงได้รับพระอิสริยยศ เจ้าหญิงมารีแห่งเอดินเบอระเมื่อครั้งประสูติ พระบิดาและพระมารดาของพระองค์คือ เจ้าชายอัลเฟรด ดยุกแห่งเอดินเบอระและแกรนด์ดัชเชสมาเรีย อเล็กซานดรอฟนาแห่งรัสเซีย ในวัยเยาว์ เจ้าหญิงมารีทรงใช้พระชนมชีพในเคนต์, มอลตาและโคบูร์ก หลังจากการปฏิเสธข้อเสนอที่จะอภิเษกสมรสกับพระญาติของพระองค์เองคือ พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรในอนาคต พระองค์ทรงได้รับเลือกให้เป็นพระชายาในมกุฎราชกุมารเฟอร์ดินานด์แห่งโรมาเนีย องค์รัชทายาทของพระเจ้าคาโรลที่ 1 แห่งโรมาเนีย ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระราชินีมารีแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม

้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน (Princess Astrid of Sweden พระนามเต็ม อัสตริด โซเฟีย โลวิซา ธือรา; 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 - 29 สิงหาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาในฝ่ายพระชนกในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระราชชนนีของกษัตริย์แห่งเบลเยียมสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และ สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย เจ้าหญิงประสูติในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์เล็กในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ กับ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีทรงอภิเษกกับสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ส่วนเจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งในฝ่ายพระชนนี ขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงยูเลียนาเมื่อทรงพระเยาว์ เจ้าหญิงยูเลียนาและพระราชมารดา เจ้าหญิงยูเลียนา พ.ศ. 2480 สมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ หรือพระนามเต็ม ยูเลียนา เอ็มมา หลุยส์ มารี วิลเฮลมินา ฟาน ออรันเย-นัสเซา (Queen Juliana of the Netherlands,; 30 เมษายน พ.ศ. 2452 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็นพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่การสละราชสมบัติของพระราชชนนีในปี พ.ศ. 2491 จนถึงการสละราชสมบัติของพระองค์เองในปี พ.ศ. 2523 และทรงเป็นสมเด็จพระราชชนนีตั้งแต่ พ.ศ. 2523 ถึง พ.ศ. 2547 พระอิสริยยศเดิมก่อนเสวยราชสมบัติคือ เจ้าฟ้าหญิงยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ (HRH Princess Juliana of the Netherlands).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระราชินีนาถยูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี

มเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี (Queen Elizabeth, The Queen Mother), เอลิซาเบธ แองเจลา มาร์เกอริต โบวส์-ลีออน (Elizabeth Angela Marguerite Bowes-Lyon; 4 สิงหาคม พ.ศ. 2443 - 30 มีนาคม พ.ศ. 2545) เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์

มเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 13 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี พ.ศ. 2488 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16

มเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 (Benedictus XVI, Benedict XVI) พระสันตะปาปากิตติคุณ อดีตประมุขคริสตจักรโรมันคาทอลิก เป็นชาวเยอรมัน มีพระนามเดิมว่า โยเซฟ รัทซิงเงอร์ (Joseph Ratzinger) เกิดเมื่อ 16 เมษายน พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช พระนามเดิม ปุ่น สุขเจริญ ฉายา ปุณฺณสิริ เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 17 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2515 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ดำรงพระยศอยู่ 1 ปีเศษ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2516 สิริพระชันษาได้ 77 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย

มเด็จพระราชาธิบดีเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย (24 สิงหาคม พ.ศ. 2408 - 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2470) ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งราชอาณาจักรโรมาเนียตั้งแต่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2457 จนกระทั่งเสด็จสวรรคต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสมเด็จพระเจ้าเฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สวานเต อาร์เรเนียส

วานเต ออกัส อาร์เรเนียส สวานเต ออกัส อาร์เรเนียส (Svante August Arrhenius -19 กุมภาพันธ์, พ.ศ. 2402 - 12 ตุลาคม, พ.ศ. 2470) นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน เดิมเป็นนักฟิสิกส์ แต่ส่วนใหญ่ในวงการยอมรับและเรียกอาร์เรเนียสว่าเป็นนักเคมี เป็นผู้ร่วมก่อตั้งวิชาวิทยาศาสตร์สาขาเคมีฟิสิกส์ ได้มีการตั้งชื่อสมการ "สมการอาร์เรเนียส" และ "หลุมอุกกาบาตดวงจันทร์อารร์เนเนียส" เพื่อเป็นเกียรติแก่เขา นอกจากนี้อาร์เรเนียสยังเป็นผู้คำนวณและพิสูจน์หาปริมาณความร้อนในปรากฏการณ์เรือนกระจกที่โจเซฟ ฟูริเออร์เป็นผู้ค้นพบอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสวานเต อาร์เรเนียส · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (United Kingdom of Great Britain and Ireland.) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักร ในช่วงตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2343 (ค.ศ. 1801)1 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

สะพานแห่งซานหลุยส์เรย์

นแห่งซานหลุยส์เรย์ (The Bridge of San Luis Rey) เป็นนวนิยายเล่มที่สองที่เขียนโดยนักเขียนชาวอเมริกันธอร์นตัน ไวล์เดอร์ ที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1927 “สะพานแห่งซานหลุยส์เรย์” เป็นเรื่องราวของชีวิตคนหลายคนผู้ไม่มีความเกี่ยวข้องกันแต่อย่างใดที่มาเสียชีวิตพร้อมกันเมื่อสะพานเชือกในเปรูขาด และเหตุการณ์ที่นำมาสู่อุบัติเหตุ นักบวชผู้เห็นเหตุการณ์ทำการค้นคว้าเรื่องราวของบุคคลต่างๆ ที่เสียชีวิต เพื่อพยายามหาคำตอบทางปรัชญาถึงสาเหตุที่ทำให้แต่ละบุคคลมาเสียชีวิตลง “สะพานแห่งซานหลุยส์เรย์” เป็นงานวรรณกรรมชิ้นสำคัญที่โมเดิร์นไลบรารีจัดให้เป็นลำดับที่สามสิบเจ็ดของนวนิยายดีที่สุดร้อยเรื่องโดยโมเดิร์นไลบรารี (Modern Library 100 Best Novels) ในบรรดานวนิยายที่ถือว่าดีเด่นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 “สะพานแห่งซานหลุยส์เรย์” ได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์ในปี ค.ศ. 1929 และต่อมาในปี ค.ศ. 1944 และ ปี ค.ศ. 2004.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสะพานแห่งซานหลุยส์เรย์ · ดูเพิ่มเติม »

สัมพันธ์ พันธุ์มณี

ัมพันธ์ พันธุ์มณี(เกิด 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 — 6 มิถุนายน พ.ศ. 2552)ศิลปินผู้มีความรู้ความสามารถในด้านนาฏศิลป์ไทยเป็นอย่างสูง และเป็นผู้พยายาม อนุรักษ์ สืบสาน สร้างสรรค์งานนาฏศิลป์ไทยมาตลอดชีวิต เป็นผู้ที่ได้รับการยกย่องเชิดชุเกียรติจากสถาบันการศึกษา และหน่วยงานด้านวัฒนธรรมต่างๆหลากหลายรางวัล โดยเฉพาะอย่างยิ่งก็คื การได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติ ให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์)ประจำปีพุทธศักราช 2542 นางสัมพันธ์ พันธ์มณี ได้ถึงแก่กรรม เนื่องจากมีเลือดออกในสมอง เมื่อวันเสาร์ที่ 6 มิถุนายน 2552.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสัมพันธ์ พันธุ์มณี · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก

มก๊ก (Romance of the Three Kingdoms) เป็นวรรณกรรมจีนอิงประวัติศาสตร์ เป็นที่รู้จักและได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง จัดเป็นวรรณกรรมเพชรน้ำเอกของโลก เป็นมรดกทางปัญญาของปราชญ์ชาวตะวันออกที่สุดยอด มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากกว่า 10 ภาษาการแปลสามก๊กในปัจจุบัน, อินไซด์สามก๊ก, ณรงค์ชัย ปัญญานนทชัย, สำนักพิมพ์ดอกหญ้า,..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสามก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

สำราญ เกิดผล

ำราญ เกิดผล (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2470 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560) เป็นนักดนตรีชาวไทย ได้รับยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสำราญ เกิดผล · ดูเพิ่มเติม »

สุรินทร์ มาศดิตถ์

นายสุรินทร์ มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี 3 สมัย และเป็นบิดาของนายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธิปัตย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช และคุณหญิงสุพัตรา มาศดิตถ์ อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสุรินทร์ มาศดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

สี่อาชญากร

ี่อาชญากร (The Big Four) เป็นอาชญนิยาย ซึ่งเขียนโดย อกาธา คริสตี เนื้อหากล่าวถึงยอดนักสืบ เฮอร์คูล ปัวโรต์ ต้องเผชิญวายร้ายจากสี่ประเทศด้วยกัน เรื่องสี่อาชญากรนี้เป็นที่ชื่นชอบของผู้ติดตามผลงานของอกาธา คริสตี หลายราย รวมถึงโกโช อาโอยาม่า ผู้เขียนการ์ตูนเรื่องยอดนักสืบจิ๋วโคนันด้วยเช่นกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสี่อาชญากร · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา

นีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา ตั้งอยู่ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 บนทางรถไฟสายตะวันออกของการรถไฟแห่งประเทศไทย สถานีชุมทางฉะเชิงเทรา เป็นจุดรับส่งผู้โดยสาร ถึง สถานีรถไฟอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้วและ สถานีรถไฟบ้านพลูตาหลวง อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และติด 1 ใน 10 ของสถานีรถไฟขนาดใหญ่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย และเป็นสถานีที่ขบวนรถไฟสินค้าที่มาจากสายชายฝั่งทะเลตะวันออกต้องแวะ เพื่อเปลี่ยนเส้นทางไปยังอีกช่วง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟอุเอะโนะ

งหลัก ทางเข้าหนึ่งของสถานี สถานีรถไฟอุเอะโนะ เป็นสถานีรถไฟหลักในเขตไทโต กรุงโตเกียว ใช้เดินทางไปยังย่านอุเอะโนะและสวนอุเอะโนะ ซึ่งเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติโตเกียว พิพิธภัณฑ์ศิลปะตะวันตกแห่งชาติ สวนสัตว์อุเอะโนะ มหาวิทยาลัยศิลปกรรมและดนตรีแห่งชาติโตเกียว และแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมอื่นๆ เป็นทั้งศูนย์กลางหลักของรถไฟและจุดหมายปลายทางของรถไฟระยะไกลจากภูมิภาคทางเหนือของญี่ปุ่น แต่เมื่อต่อขยายเส้นทาง ชิงกันเซ็ง ไปถึงสถานีโตเกียว บทบาทการเป็นจุดหมายของสถานีอุเอะโนะก็น้อยลงไปในระยะหลัง ใกล้กับสถานีอุเอะโนะเป็นสถานีเคเซอุเอะโนะ ซึ่งเป็นปลายทางในโตเกียวของ สายหลักเคเซ ที่วิ่งไปยังสถานีท่าอากาศยานนาริต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสถานีรถไฟอุเอะโนะ · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟคะวะซะกิ

นีรถไฟคะวะซะกิ เป็นสถานีรถไฟของ บริษัทเดินรถไฟญี่ปุ่นตะวันออก (JR East) ตั้งอยู่ที่เมือง คะวะซะกิจังหวัดคะนะงะวะ ประเทศญี่ปุ่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสถานีรถไฟคะวะซะกิ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาว่าด้วยการจำกัดและการลดอาวุธทางรัฐนาวี

นธิสัญญาว่าด้วยการจำกัดและการลดอาวุธทางรัฐนาวี (Treaty for the Limitation and Reduction of Naval Armament) หรือ สนธิสัญญารัฐนาวีกรุงลอนดอน (London Naval Treaty) เป็นการตกลงระหว่างสหราชอาณาจักร จักรวรรดิญี่ปุ่น ฝรั่งเศส อิตาลี และสหรัฐอเมริกา ซึ่งลงนามเมื่อวันที่ 22 เมษายน ค.ศ. 1930 ซึ่งเป็นการวางกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการรบด้วยเรือดำน้ำ และการจำกัดจำนวนการต่อเรือรบของภาคีสนธิสัญญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสนธิสัญญาว่าด้วยการจำกัดและการลดอาวุธทางรัฐนาวี · ดูเพิ่มเติม »

สแตน เก็ตส์

แตนลีย์ กาเยทสกี (Stanley Gayetsky) (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1927 - 6 มิถุนายน ค.ศ. 1991) หรือเรียกสั้นๆ ว่า Stan Getz นักเป่าเทเนอร์แซกโซโฟนชาวอเมริกัน เจ้าของฉายา The Sound สแตนลีย์ มีเชื้อสายยูเครน-ยิว เกิดที่ฟิลาเดลเฟีย แต่ไปเติบโตที่นิวยอร์ก เริ่มเล่นแซกโซโฟนเมื่ออายุได้ 13 ปี และร่วมวงดนตรีของแจค ทีการ์เดน เมื่อปี 1943 เมื่ออายุ 16 ปี และได้ร่วมงานกับนักดนตรีอีกหลายคน เช่น เบนนี กู๊ดแมน สแตน เคนตัน จิมมี ดอร์ซีย์ วูดดี เฮอร์แมน นอกจากนี้ยังเคยร่วมงานกับ แนท คิง โคล และยังเคยบรรเลงร่วมกับ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อครั้งเสด็จราชดำเนินเยือนนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) ในช่วงทศวรรษ 1950 แสตน เก็ตส์ มีชื่อเสียงในฐานะนักดนตรีแนวคูลแจ๊ซ ในปี 1958 เขาย้ายไปอยู่ที่ โคเปนเฮเกน เดนมาร์ก เพื่อหลีเลี่ยงคดียาเสพติด และเดินทางกลับสหรัฐอเมริกาในปี 1961 สแตน เก็ตส์ หันมาเล่นดนตรีแนวบอสซาโนวา โดยร่วมกับชาร์ลี เบิร์ดซึ่งเพิ่งเดินทางกลับจากบราซิล ออกอัลบั้ม Jazz Samba ในปี ค.ศ. 1963 มีเพลงเอกชื่อเพลง Desafinado และ Samba De Uma Nota Só (One Note Samba) จากผลงานเก่าของทอม โจบิม เพลง Desafinado ได้รับรางวัลแกรมมี่ประจำปี 1963 สแตน เก็ตส์ มีผลงานร่วมกับ จาว กิลแบร์โตและแอสทรูด กิลแบร์โต ในอัลบั้ม Getz/Gilberto (1963) และ Getz/Gilberto #2 (1964) ได้รับรางวัลแกรมมี่ 2 รางวัล เพลง The Girl from Ipanema ได้รางวัลเพลงยอดเยี่ยม เหนือเพลง A Hard Day's Night ของเดอะ บีเทิลส์ ในปี 1963 สแตน เก็ตส์ มีผลงานร่วมกับนักดนตรีชั้นนำอีกหลายคน เช่น เวส มอนท์โกเมอร์รี โจ เฮนเดอร์สัน ชิค โคเรีย สแตนลีย์ คลาร์ค บิล อีแวนส์ ช่วงทศวรรษ 1980 เขาเริ่มเปลี่ยนไปเล่นดนตรีแนวทดลองอื่นๆ ทั้งฟิวชันแจ๊ซ อีเล็กตริกแจ๊ซ อะคูสติกแจ๊ซ ช่วงบั้นปลายชีวิต สแตน เก็ตส์ มีปัญหาติดยาเสพติด สุรา และมอร์ฟีน ถูกจับด้วยข้อหาพยายามปล้นร้านยา จนถูกส่งเข้าศูนย์กักกันเพื่อรักษาตัว เขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1991 ที่มาลิบู แคลิฟอร์เนีย ด้วยโรคมะเร็งตั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสแตน เก็ตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ส่ง เทภาสิต

รองอำมาตย์เอก ส่ง เทภาสิต (18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2442 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2470) นักเขียนเรื่องสั้นชาวไทย ที่มีผลงานออกมาในช่วงเวลาสั้นๆ และได้รับการยอมรับว่าเป็นผลงานสร้างสรรค์แนวใหม่ ได้รับความชื่นชม และเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักเขียนหลายคน เช่น เลียว ศรีเสวก บุญยืน โกมลบุตร ซึ่งถึงกับยอมรับว่าได้รับอิทธิพลมาจากงานเขียนของ ส่ง เทภาสิต ส่ง เทภาสิต เกิดเมื่อวันอาทิตย์ ปีกุน ตรงกับวันที่ 18 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และส่ง เทภาสิต · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด

มสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด (Newcastle United Football Club; ตัวย่อ: NUFC) เป็นทีมฟุตบอลอาชีพทีมหนึ่งในฟุตบอลลีกอังกฤษ ตั้งอยู่ที่เมืองนิวคาสเซิลอะพอนไทน์ มีชื่อเล่นของทีมว่า "แม็กพายส์" ("สาลิกาดง" หรือ "กางเขนเหล็ก" ในภาษาไทย) แฟนของทีมนิวคาสเซิลยูไนเต็ด จะมีชื่อเรียกว่า "ทูนอาร์มี" ซึ่งคำว่า "ทูน" นั้นเป็นภาษาแซกซัน คือคำว่า "ทาวน์" ที่แปลว่า "เมือง" นิวคาสเซิลยูไนเต็ดถือว่ามีคู่แข่งในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือด้วยกัน คือ ซันเดอร์แลนด์ และ มิดเดิลส์เบรอ ในฤดูกาล 2015–16 นิวคาสเซิลยูไนเต็ดต้องตกชั้นลงไปเล่นในเดอะแชมเปียนชิป หลังจากจบการเล่นนัดที่ 37 ของฤดูกาล เนื่องจากมีเพียง 34 คะแนน และอยู่ในอันดับ 18 ของตารางคะแนน ซึ่งไม่สามารถไล่ตามทันทีมที่อยู่ในอันดับ 17 คือ ซันเดอร์แลนด์ ที่มี 38 คะแนน ได้ทันแล้ว เนื่องจากเหลือการแข่งขันอีกเพียงนัดเดียว แต่เพียงฤดูกาลเดียว นิวคาสเซิลยูไนเต็ดก็ได้เลื่อนชั้นกลับขึ้นไปเล่นในพรีเมียร์ลีก โดยหลังจากชนะเปรสตันนอร์ทเอนด์ไป 4–1 และมีคะแนนทิ้งห่างจากทีมอันดับ 3 คือ เรดิงถึง 9 คะแนน และตามหลังไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียน 1 คะแนน และเมื่อจบฤดูกาล นิวคาสเซิลยูไนเต็ดได้แชมป์ โดยมี 94 คะแนน มากกว่าไบรตันแอนด์โฮฟอัลเบียนที่ได้เลื่อนชั้นไปก่อนแล้ว 1 คะแนน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสโมสรฟุตบอลนิวคาสเซิลยูไนเต็ด · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลโรมา

มสรฟุตบอลโรมา (Associazione Sportiva Roma) เรียกกันในชื่ออย่างย่อว่า อ.เอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และสโมสรฟุตบอลโรมา · ดูเพิ่มเติม »

หมู่บ้านคุ้งตะเภา

หมู่บ้านคุ้งตะเภา หรือ บ้านคุ้งตะเภา เดิมชื่อว่า "ทุ่งบ้านคุ้งตะเภา" เป็นหมู่บ้านขนาดใหญ่ในตำบลคุ้งตะเภา อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ นับเป็นหมู่บ้านในแถบลุ่มแม่น้ำน่านฝั่งขวาตอนบนที่เคยอยู่ในการปกครองของหัวเมืองพิชัยที่เก่าแก่ที่สุดหมู่บ้านหนึ่ง รองจากเมืองฝางสว่างคบุรีที่มีที่ตั้งอยู่ในแถบลุ่มแม่น้ำน่านฝั่งขวาตอนบนเช่นเดียวกัน หมู่บ้านคุ้งตะเภาเป็นชุมชนคนไทยดั้งเดิมที่ตั้งอยู่ปลายเหนือสุดของวัฒนธรรมที่ราบลุ่มภาคกลางตอนบน ตัวหมู่บ้านอยู่ติดริมแม่น้ำน่านฝั่งตะวันออก มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบสองระดับ โดยพื้นที่ติดริมแม่น้ำน่านจะเป็นที่ระดับต่ำมีชั้นลดจากที่ราบปกติ เดิมตัวหมู่บ้านตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มชั้นลดดินตะกอนแม่น้ำพัดดังกล่าว แต่ในปัจจุบันบ้านเรือนส่วนใหญ่ได้ย้ายขึ้นมาตั้งอยู่บนที่ราบภาคกลางริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลขที่ 11 โดยพื้นที่เกษตรกรรมของหมู่บ้านส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่ทิศตะวันออกของหมู่บ้านและที่ราบลุ่มตะกอนแม่น้ำพัดริมแม่น้ำน่านด้านตะวันตกของหมู่บ้าน ชาวบ้านคุ้งตะเภาในปัจจุบันส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท มีประเพณีและวัฒนธรรมคล้ายกับหมู่บ้านชนบททั่วไปในแถบภาคกลางตอนบน โดยมีวัดประจำหมู่บ้าน 1 แห่ง สถานีอนามัย 1 แห่ง และ โรงเรียนระดับพื้นฐาน 1 โรง เส้นทางคมนาคมหลักคือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ด้านเศรษฐกิจ ชาวบ้านประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ ปัจจุบันมีนายสมชาย สำเภาทอง เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่บ้านคุ้งต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหมู่บ้านคุ้งตะเภา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี

หม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 - 6 ธันวาคม พ.ศ. 2540) สถาปนิก ออกแบบสถาปัตยกรรมไทยมีความชำนาญในการออกแบบผูกลาย ได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหม่อมราชวงศ์มิตรารุณ เกษมศรี · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าวิศิษฎ์สวัสดิรักษ์ สวัสดิวัตน์

ลอากาศจัตวา หม่อมเจ้าวิศิษฎ์สวัสดิรักษ์ สวัสดิวัตน์ ท.ม.,.ป.ร.3 เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับหม่อมหุ่น สวัสดิวัตน์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม พิศลยบุตร) ประสูติเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2442 ทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกเมื่อ พ.ศ. 2442 วันที่ 30 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหม่อมเจ้าวิศิษฎ์สวัสดิรักษ์ สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านรรยราช สวัสดิวัตน์

หม่อมเจ้านรรยราช สวัสดิวัตน์ (26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 - 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2546) พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ กับหม่อมเร่ สวัสดิวัตน์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม: บุนนาค) เป็นพระอนุชาร่วมพระบิดาเดียวกันกับสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระเชษฐา พระภคินี และพระขนิษฐาและพระอนุชา ร่วมพระอุทร 10 องค์ ทรงสำเร็จการศึกษาจากสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หม่อมเจ้านรรยราช สวัสดิวัตน์ เสกสมรสกับหม่อมแสงทอง สวัสดิวัตน์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม: ดิษวนนท์) ธิดาขุนประเดิมคดี (ทับ ดิษวนนท์) และนางประเดิมคดี (ส้วน) มีโอรสธิดาคือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหม่อมเจ้านรรยราช สวัสดิวัตน์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช

อำมาตย์เอก หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2422 - 3 มีนาคม พ.ศ. 2472) เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีสิทธิธงไชย กรมขุนสิริธัชสังกาศ กับหม่อมอุ่ม ทรงเข้าพิธีเกศากันต์ ณ วันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2432 หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช ทรงเข้ารับราชการเป็นเลขานุการมณฑลอิสาณ พ.ศ. 2443 เป็นปลัดจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2454 รับพระราชทานยศเป็นรองอำมาตย์โท ผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ พ.ศ. 2456 เลื่อนยศเป็นอำมาตย์โท ผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง พ.ศ. 2467 ผู้ว่าราชการจังหวัดสวรรคโลก พ.ศ. 2470 อำมาตย์เอก ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2471 หม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช ประชวรโรคเส้นโลหิตในสมองแตก ถึงชีพิตักษัยเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2472 สิริชันษาได้ 51 ปี ได้รับพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหม่อมเจ้านิสากร ศรีธวัช · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ

ตราจารย์ หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ (9 พฤศจิกายน 2443 - 27 สิงหาคม 2524) พระโอรสองค์ที่ 20 ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ และเป็นองค์ที่ 3 ของหม่อมบุญ วรรวรรณ ณ อยุธยา สถาปนิกกรมรถไฟ ผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ อาจารย์พิเศษและต่อมาป็นอาจารย์ประจำและคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาปนิกรุ่นบุกเบิกผู้นำเอาเอกลักษณ์ไทยมาประยุกต์กับการออกแบบอาคารสมัยใหม่ ได้ทรงพัฒนาวัสดุก่อสร้างที่มีใช่ในท้องถิ่นให้เหมาะสม เช่นกระเบื้องปิดหัวจั่วกันผุ รวมทั้งการทดลองการใช้วัสดุพื้นถิ่นเช่นไม้ไผ่ ไม้ระแนงเสริมปูนฉาบซึ่งพบว่าใช้งานได้ดีในระดับเศรษฐกิจขณะนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร)

ร้อยเอก พลอากาศตรี หลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) (11 มิถุนายน พ.ศ. 2440 - 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2518) อดีตรองเสนาธิการทหารอาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหลวงอิศรางกูรเสนีย์ (หม่อมหลวงแช่ม อิศรางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ

หลวงปู่กงมา ท่านเกิดเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443 ณ บ้านโคก ตำบลตองโขบ อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร เป็นบุตรคนสุดท้องของนายบู่ และนางนวล วงศ์เครือสอน ซึ่งมีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันทั้งหมด ๖ คน มีนามเดิมว่า กงมา วงศ์เครือสอน ในช่วงชีวิตวัยหนุ่ม ท่านมีรูปร่างสัดทัด สูงใหญ่ใบหน้าคมคาย เป็นนักต่อสู้ชีวิตแบบเอางานเอาการ ในสมัยหนึ่ง ท่านได้เป็นนายฮ้อยต้อนวัวควาย หมู เที่ยวขายตามจังหวัดใกล้เคียงกับบ้านเกิด จนต่อมาได้รับหน้าที่เป็นหัวหน้านายฮ้อยพาคณะนายฮ้อยต้อนสัตว์ไปขายถึงกรุงเทพฯ โดยเดินทางด้วยเท้าเปล่า ท่านเป็นคนมีน้ำใจต่อลูกน้อง และอาญหาญช่วยป้องกันอันตรายให้กับลูกน้อง เป็นคนมีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริต และ มีความยุติธรรม ต่อมาในช่วงชีวิตแห่งความสุข บิดามารดาของท่านได้ไปสู่ขอนางเลา และได้จัดพิธีแต่งงานขึ้นในปี พ.ศ. 2468 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (2453 - 2468) จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (2468 - 2477) ขณะมีอายุได้ 25 ปี จนกระทั่งในเวลาต่อมา ภรรยาและลูกในท้องได้เสียชีวิต ทำให้ท่านรู้สึกสูญสิ้น นี่เองเป็นเหตุให้ท่านนึกถึงพระพุทธศาสนา และตัดสินใจออกบวช โดยมีพระอาจารย์โท เป็นพระอุปัชฌาย์ ภายหลังบวชได้ไปจำพรรษาที่วัดบึงทวย กับพระมีซึ่งเป็นเพื่อนรักกัน อยู่วัดนี้ได้ไม่นานด้วยความคิดว่าตนเองไม่ได้สิ่งที่ประสงค์ จึงได้เข้าไปปรึกษากับพระมี ซึ่งเป็นพระที่เคยธุดงค์ไปหลายแห่งในลาว พม่า และไทยมาแล้ว พระมีเคยเล่าให้ฟังว่า เคยได้ยินชาวบ้านพูดถึงพระศีลวัตรปฏิบัติอันงดงามของ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ว่าเป็นผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ จนหลวงปู่กงมาท่านก็เลื่อมใส หลวงปู่กงมาจึงได้ชวนสหายของท่านคือพระภิกษุมีเดินทางไปถวายตัวเป็นศิษย์ของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ และในปี พ.ศ. 2469 ได้รับตัวไว้อยู่จำพรรษากับท่านตั้งแต่นั้นมาใน ปี พ.ศ. 2470 ท่านพระอาจารย์ มั่น ภูริทัตตเถระ ได้ให้ลูกศิษย์ สองรูป คือ หลวงปู่กงมาฯ และท่านพ่อลี ได้ญัตติใหม่เป็นฝ่ายพระธรรมยุตนิกายที่วัดบูรพา อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีโดยมีท่านเจ้าคุณพระปัญญาพิศาลเถร (หนู ฐิตปญโญ) วัดสระปทุม จังหวัดพระนครเป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์เพ็ง วัดใต้ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 หลวงปู่ท่านได้ถือคำสอนของ หลวงปู่มั่น เป็นหลัก เช่น ศีล 11 ประการ และยึดถือแนวปฏิบัติและสอนธรรมเป็นหลัก และสอนให้ลูกศิษย์ ประชาชน ให้รู้ถึงว่าชีวิตนั้นอาจไม่แน่นอน จงทำวันนี้ให้ดีที่สุด และ ยึดถือหลักอริยสัจสี่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค เป็นต้น ท่านได้ถึงแก่มรณภาพเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2505.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหลวงปู่กงมา จิรปุญฺโญ · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์ อะดอลฟา เลอโบ

หลุยส์ อะดอลฟา เลอโบ (Louise Adolpha Le Beau) นักเปียโนและคีตกวีชาวเยอรมัน เกิดเมื่อ 25 เมษายน เมืองราสทาทท์ ค.ศ. 1850 ถึงแก่กรรม 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1927 เมืองบาเดิน-บาเดิน ประเทศเยอรมนี เลอโบเติบโตมาในครอบครัวที่มีพรสวรรค์ด้านดนตรี และมีความพิเศษมาก บิดาเป็นนายพลในกองทัพของดุ๊กบาเดน แต่เป็นคอนดักเตอร์และนักร้องสมัครนเล่นที่มีฝีมือด้วย ส่วนหลุยส์เองนั้นก็มีพรสวรรค์ด้านดนตรีสูง นั่นคือ สามารถร้องเพลงได้ก่อนพูดเป็นเสียอีก เมื่ออายุ 4 ขวบ หลุยส์ก็แต่งเพลงชิ้นแรก ครอบครัวจึงตัดสินใจส่งเธอเข้าศึกษาด้านดนตรีโดยเฉพาะ ด้วยเหตุนี้เธอจึงเริ่มศึกษาการร้องเพลง เปียโน และการประพันธ์ดนตรี งานแสดงดนตรีอย่างเป็นทางการครั้งแรกของเธอนั้นจัดขึ้นเมื่ออายุ 18 ปี โดยได้บรรเลง เอมเพอเรอร์ คอนแชร์โต และ เปียโนคอนแชร์โต ในบันไดเสียง ด ไมเนอร์ (หมายเลข 1) ของเมลเดลส์ซอห์น หลังจากนั้นก็เดินทางตระเวนเล่นดนตรีในเมืองต่างๆ ได้แก่ บาเซล ไฮเดลเบิร์ก และเอาก์สบูร์ก ผลงานเด่นๆ ที่บรรเลงได้แก่ คอนแชร์โต ในบันไดเสียง ดี เมเจอร์ ของโมซาร์ท (หมายเลข 26 KV. 537) และคาเดนซาที่เธอแต่งเอง ในเวลานั้น การเรียนดนตรีมักจำกัดเฉพาะนักเรียนชาย ทำให้หลุยส์ประสบความลำบากในการหาที่เรียนดนตรีไม่น้อย และเมื่อมีโอกาส เธอจึงจัดทำหลักสูตรดนตรีสอนพิเศษ สำหรับเปียโนและทฤษฎีขึ้น สำหรับนักเรียนสตรี เมื่อปี ค.ศ. 1882 หลุยส์ได้รางวัลที่ 1 ในการแข่งขันนักประพันธ์ดนตรี ผลงานที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ เป็นบทเพลง 4 เพลง สำหรับเชลโลและเปียโน โอปุส 24 มีเกร็ดเล่าว่าในประกาศนียบัตรนั้น พิมพ์คำว่า นาย (Herr) เอาไว้ก่อนแล้ว เมื่อหลุยส์ได้รับรางวัล จึงต้องขีดฆ่าคำนั้นออก แล้วเขียน นางสาว (Fräulein) แทน ทั้งนี้ในสมัยนั้น นักดนตรีและนักประพันธ์ส่วนใหญ่เป็นชายแทบทั้งสิ้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหลุยส์ อะดอลฟา เลอโบ · ดูเพิ่มเติม »

หอยเบี้ยจักจั่น

หอยเบี้ยจักจั่น หรือ หอยเบี้ยจั่น (Money cowry) เป็นหอยทะเลฝาเดียวชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Monetaria moneta (ศัพทมูลวิทยา: moneta (/โม-เน-ตา/) เป็นภาษาละตินแปลว่า "เงินตรา") ในวงศ์ Cypraeidae มีเปลือกแข็ง ผิวเป็นมัน หลังนูน ท้องแบน ช่องปากยาวแคบและไปสุดตอนปลายทั้ง 2 ข้าง เป็นลำราง ริมปากทั้ง 2 เป็นหยักคล้ายฟัน ไม่มีฝาปิด มีความยาวประมาณ 12-24 มิลลิเมตร มีถิ่นแพร่กระจายอยู่ในทะเลเขตอบอุ่นทั้งในมหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดีย อาทิ ทะเลแดง อินโด-แปซิฟิก นอกชายฝั่งทะเลด้านมหาสมุทรแปซิฟิกของอเมริกากลาง ชายฝั่งทะเลทวีปแอฟริกาตอนตะวันออกและใต้ ทะเลอันดามัน อ่าวไทย ทะเลญี่ปุ่น ไปจนถึงโอเชียเนีย ดำรงชีวิตอยู่ตามแนวปะการังใกล้ชายฝั่ง กินอาหารจำพวกแพลงก์ตอนและสาหร่ายทะเลที่ลอยมาตามกระแสน้ำ เปลือกหอยของหอยเบี้ยชนิดนี้ มีความสำคัญต่อมนุษย์มาตั้งแต่ยุคโบราณ โดยใช้เป็นเครื่องแลกเปลี่ยนสิ่งของแทนเงินตราในปัจจุบัน สันนิษฐานว่าคำว่า "เบี้ย" ในภาษาไทยก็เรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "รูปี" ซึ่งเป็นหน่วยเงินตราของอินเดียมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลคอลัมน์ Aqua Pets โดย จอม สมหวัง ปัทมคันธิน "สุดยอดแฟนพันธุ์แท้เปลือกหอย 2 สมัย" หน้า 107 นิตยสาร Aquarium Biz Vo.1 issue 6 ฉบับเดือนธันวาคม 2010 นอกจากนี้แล้ว เปลือกหอยเบี้ยจักจั่นยังใช้เป็นเครื่องรางของขลังในวัฒนธรรมไทย โดยมักนำไปบรรจุปรอทแล้วเปิดทับด้วยชันโรงใต้ดิน อาจจะมีแผ่นทองแดงลงอักขระยันต์หรือไม่ก็ได้ เชื่อกันว่า ถ้าพกเปลือกหอยเบี้ยชนิดนี้ไว้กับตัวเวลาเดินทางสัญจรในป่า จะช่วยป้องกันไข้ป่า รวมถึงป้องกันและแก้ไขภยันอันตรายจากร้ายให้กลายเป็นดีได้ หรือนำไปตกแต่งพลอยเรียกว่า "ภควจั่น" ในเด็ก ๆ เชื่อว่าช่วยป้องกันฟันผุ หรือพกใส่กระเป๋าสตางค์ เชื่อว่าทำให้เงินทองไหลเทมาและโชคดี ปัจจุบัน เปลือกหอยเบี้ยจักจั่นยังนิยมสะสมกันเป็นของประดับและของสะสมกันอีกด้วย โดยมีชนิดที่แปลกแตกต่างไปจากปกติ คือ "ไนเจอร์" (Niger) ที่หอยจะสร้างเมลานินสีดำเคลือบเปลือกไว้จนกลายเป็นสีดำหรือสีน้ำตาลคล้ำทั้งหมด และชนิดที่มีราคาสูงที่สุด เรียกว่า "โรสเตรท" (Rostrat) หรือ หอยเบี้ยจักจั่นงวง คือ เป็นหอยเบี้ยจักจั่นในตัวที่ส่วนท้ายของเปลือกมิได้กลมมนเหมือนเช่นปกติ แต่สร้างแคลเซี่ยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในเวลาหลายปี จนกระทั่งยาวยืดออกมาและม้วนขึ้นเป็นวงอย่างสวยงามเหมือนงวงช้าง ซึ่งหอยในรูปแบบนี้จะพบได้เฉพาะแถบอ่าวด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของหมู่เกาะนิวแคลิโดเนียที่เดียวในโลกเท่านั้น มีการประเมินราคาของเปลือกหอยลักษณะนี้ไว้ถึง 25 ล้านบาท ซึ่งนับเป็นราคาของเปลือกหอยที่มีค่าสูงที่สุดในโลกอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหอยเบี้ยจักจั่น · ดูเพิ่มเติม »

หะยีสุหลง

หะยีสุหลง อับดุลกาเดร์ หรือ หะยีสุหลง โต๊ะมีนา หรือที่รู้จักและนิยมเรียกชื่อกันสั้น ๆ ว่า หะยีสุหลง เป็นโต๊ะอิหม่ามที่มีชื่อเสียงในอดีต เป็นผู้นำและปัญญาชนของชาวไทยมุสลิมโดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหะยีสุหลง · ดูเพิ่มเติม »

หนังสือเดินทางไทย

หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส์ประเภทธรรมดา หนังสือเดินทางไทย เป็นหนังสือเดินทางที่ออกให้เฉพาะประชาชนไทยเท่านั้นราชกิจจานุเบกษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหนังสือเดินทางไทย · ดูเพิ่มเติม »

หนานจิง

หนานจิง หรือรู้จักกันอีกชื่อว่า นานกิง เป็นเมืองหลวงของมณฑลเจียงซู สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยหนานจิงเป็นหนึ่งในเมืองหลวงเก่าของจีน ปัจจุบันหนานจิงเป็นเมืองใหญ่อันดับสองในภาคตะวันออกของจีน รองจากช่างไห่ และหนานจิงเป็นเมืองหลวงของจีนคณะชาติสมัยปฏิวัติล้มล้างจักรพรรดิจีน ราชวงศ์ชิงหรือแมนจู หนานจิง ที่แปลว่านครหลวงใต้ เคยเป็นเมืองหลวงของหลายราชวงศ์ จนได้รับสมญานามว่า เมืองหลวงสิบแผ่นดิน และยังเป็น 1 ใน 6 นครโบราณ อันได้แก่ ปักกิ่ง หนานจิง ซีอาน ลั่วหยาง หางโจว และ ไคเฟิง เป็นเมืองหลวงครั้งสุดท้ายระหว่างปี พ.ศ. 2470 ถึง พ.ศ. 2492 โดยรัฐบาลสาธารณรัฐจีน ซึ่งมีผู้นำขณะนั้น คือ นายพลเจียงไคเช็ค หลังสถาปนาเป็นสาธารณรัฐประชาชนจีนในปี พ.ศ. 2492 รัฐบาลใหม่จึงได้ย้ายเมืองหลวงกลับมายังปักกิ่งดังเดิม บรรพบุรุษชาวหนานจิง จำนวนมากอพยพมาจากปักกิ่งตั้งแต่สมัยราชวงศ์หมิง จึงมีส่วนทำให้ภาษาหนานจิงมีสำเนียงคล้ายภาษาจีนกลางที่ฟังเข้าใจได้ทั่วไป จนทำให้ปัจจุบันหนานจิงเป็นหนึ่งในเมืองที่มีนักศึกษาต่างชาติมากที่สุดในประเทศจีน แต่เนิ่นๆการพัฒนา ตั้งแต่ 3 ราชอาณาจักรระยะเวลาหนานจิงได้กลายเป็นศูนย์แห่งอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมของหนานจิงราชวงศ์ถูกขยายเพิ่มเติมและเมืองกลายเป็นหนึ่งในเมืองที่เจริญมากที่สุดในจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และหนานจิง · ดูเพิ่มเติม »

อะมีเลีย แอร์ฮาร์ต

อะมีเลีย แมรี แอร์ฮาร์ต (Amelia Mary Earhart; 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 — หายสาบสูญ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2480; ทางการประกาศว่าเสียชีวิต 5 มกราคม พ.ศ. 2482) นักบินชาวอเมริกัน ได้ชื่อว่าเป็นนักบินสตรีคนแรก ๆ ของประเทศ เธอเป็นสตรีคนแรกที่ขึ้นบินในฐานะผู้โดยสารข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก และต่อด้วยการบินเดี่ยวเองเป็นผลสำเร็จในปี พ.ศ. 2475 พ.ศ. 2478 ได้บินเดี่ยวข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกจากฮาวายสู่แคลิฟอร์เนีย อีกสองปีต่อมาอะมีเลียได้พยายามทำสถิติในการบินรอบโลก แต่ได้หายสาบสูญไปอย่างลึกลับ เหนือน่านน้ำมหาสมุทรแปซิฟิก ในระหว่างทำการบินรอบโลกเมื่อปี พ.ศ. 2480.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอะมีเลีย แอร์ฮาร์ต · ดูเพิ่มเติม »

อัลเบน บาร์กเลย์

อัลเบน วิลเลี่ยม บาร์กเลย์ (Alben William Barkley; 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2420 - 30 เมษายน พ.ศ. 2499) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 35 ระหว่าง พ.ศ. 2492 ถึง 2496 ในสมัยประธานาธิบดีแฮร์รี เอส. ทรูแมน จ หมวดหมู่:พรรคเดโมแครต (สหรัฐอเมริกา) หมวดหมู่:นักการเมืองอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐเคนทักกี หมวดหมู่:สมาชิกวุฒิสภาสหรัฐจากรัฐเคนทักกี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอัลเบน บาร์กเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

อัลเฟรโด เกราส์

อัลเฟรโด เกราส์ ตรูคีโย (Alfredo Kraus Trujillo; 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1927 — 10 กันยายน ค.ศ. 1999) เป็นอดีตนักร้องอุปรากรของสเปน เกราส์ได้เสียชีวิตลงในวันที่ 10 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอัลเฟรโด เกราส์ · ดูเพิ่มเติม »

อังโตนีอู การ์ลูช โชบิง

อังโตนีอู การ์ลูช บราซีเลย์รู จี อัลเมย์ดา โชบิง (Antônio Carlos Brasileiro de Almeida Jobim) หรือรู้จักกันดีในอีกชื่อนึงว่า ทอม โจบิม (Tom Jobim) เกิดเมื่อวันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1927 ที่รีโอเดจาเนโร - ตายเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1994 ที่นิวยอร์กซิตี เป็นนักแต่งเพลง นักร้อง นักเปียโนและกีตาร์ชาวบราซิล ผู้บุกเบิกแนวเพลงด้านบอสซาโนวาจนเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก เพลงที่มีชื่อเสียงที่สุดของโชบิง คือเพลง The Girl from Ipanema แต่งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1962 ขับร้องโดยอัสตรุด ชิลเบร์ตู และได้รับรางวัลแกรมมี เมื่อปี ค.ศ. 1965.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอังโตนีอู การ์ลูช โชบิง · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ยูโลนซัมทูไนต์? (เพลง)

อาร์ยูโลนซัมทูไนท์? (Are You Lonesome Tonight?) เป็นเพลงที่มีชื่อเสียงพร้อมด้วยดนตรีโดย Lou Handman และคำร้องโดย Roy Turk เขียนขึ้นในปี ค.ศ. 1926 เผยแพร่ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1927 และฟื้นฟูให้โดดเด่นมากที่สุดโดย เอลวิส เพรสลีย์ ในปี ค.ศ. 1960 (ที่มีชื่อสะกดคำ Are You Lonesome To-Night?).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอาร์ยูโลนซัมทูไนต์? (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารบลัว

อาสนวิหารบลัว (Cathédrale de Blois) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญหลุยส์แห่งบลัว (Cathédrale Saint-Louis de Blois) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก และเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลบลัว ตั้งอยู่ในเขตเมืองบลัว จังหวัดลัวเรแชร์ ในแคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญหลุยส์ อาสนวิหารแรนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1906.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอาสนวิหารบลัว · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารแซ็งต์

อาสนวิหารแซ็งต์ (Cathédrale de Saintes) หรือชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญเปโตรแห่งแซ็งต์ (Cathédrale Saint-Pierre de Saintes) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิกในฐานะของอาสนวิหารร่วม (co-cathedral) ประจำมุขมณฑลลารอแชลและแซ็งต์ ตั้งอยู่ในเขตเมืองแซ็งต์ จังหวัดชาร็องต์-มารีตีม ในแคว้นนูแวลากีแตน ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่อัครทูตนักบุญเปโตร อาสนวิหารแห่งนี้เคยเป็นที่ตั้งของมุขมณฑลแซ็งตงฌ์จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1802 ถูกยุบรวมเข้ากับมุขมณฑลลารอแชล จึงได้ถูกลดฐานะเป็นเพียงแค่โบสถ์ประจำเขต ซึ่งต่อมาได้ถูกยกฐานะอีกครั้งเป็นอาสนวิหารร่วมประจำมุขมณฑลลารอแชลและแซ็งต์ โดยสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 9 เมื่อ 22 มกราคม ค.ศ. 1852 อาสนวิหารแซ็ง-ปีแยร์แซ็งต์ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์ของประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ. 1862 และบริเวณวิหารคดได้รับการขึ้นทะเบียนเมื่อ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1937.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอาสนวิหารแซ็งต์ · ดูเพิ่มเติม »

อาจินต์ ปัญจพรรค์

"อาจินต์ ปัญจพรรค์" (11 ตุลาคม 2470 -) ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอาจินต์ ปัญจพรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอชุมแพ

มแพ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดขอนแก่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอำเภอชุมแพ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอสารภี

รภี (45px) เป็นอำเภอหนึ่งในเขตปริมณฑลของนครเชียงใหม่ที่มีความเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาทุก ๆ ด้านจนเป็นอำเภอขนาดใหญ่ในแง่สถานประกอบการและอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่ของจังหวัด ได้รับประโยชน์มาจากนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ ลำพูน ปัจจุบันอำเภอสารภีถือได้ว่ามีการพัฒนาจนสภาพความเจริญเป็นเขตเมืองที่เชื่อมต่อกับนครเชียงใหม่ มีประชากรหนาแน่นรองจากอำเภอเมืองเชียงใหม่ และเป็นอำเภอที่รองรับความเจริญของนครเชียงใหม่เพื่อขยายไปยังเมืองลำพูน อำเภอสารภีเป็นอำเภอที่มีพื้นที่เล็กที่สุดและเป็นเพียงอำเภอเดียวในจังหวัดเชียงใหม่ที่ไม่มีภูเขา นอกจากนี้อำเภอสารภียังมีจุดเด่น คือ ถนนสายต้นยางซึ่งมีอายุกว่าร้อยปีเรียงรายตลอดสองข้างทาง มีความยาวเริ่มตั้งแต่เขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ไปจรดเขตอำเภอเมืองลำพูน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอำเภอสารภี · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอหันคา

อำเภอหันคา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดชัยนาท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอำเภอหันคา · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอปากเกร็ด

ปากเกร็ด เป็นเป็นอำเภอที่มีตำบลมากที่สุดในจังหวัดนนทบุรี ที่ตั้งมีแม่น้ำเจ้าพระยาตัดผ่านตัวอำเภอ สภาพพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกส่วนใหญ่เป็นสวนผลไม้ต่าง ๆ ไร่นา ท้องทุ่ง ปศุสัตว์ ดังเช่นในชนบท ส่วนทางฝั่งตะวันออกมีที่พักอาศัย อุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนตร์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และยังเป็นที่ตั้งหน่วยงานราชการส่วนกลางของประเทศ ในอดีตอำเภอปากเกร็ดเคยขึ้นกับจังหวัดพระนครอยู่ช่วงหนึ่ง และบางตำบลเคยอยู่ในอำเภอบางบัวทอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอำเภอปากเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอป่าโมก

อำเภอป่าโมก เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดอ่างทอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอำเภอป่าโมก · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองนนทบุรี

มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอำเภอเมืองนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

อิกอร์ สตราวินสกี

อิกอร์ เฟโดโรวิช สตราวินสกี้ (И́горь Фёдорович Страви́нский; Igor Stravinsky; 17 มิถุนายน ค.ศ. 1882 — 6 เมษายน ค.ศ. 1971)) เป็นคีตกวีดนตรีคลาสสิกสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาวรัสเซีย สตราวินสกี้ ราวปี 1950 สตราวินสกี้เป็นบุตรชายของนักร้องชื่อดังแห่งโรงละครหลวง เขาเกิดที่เมืองออรานีนบาม (Oranienbaum) ซึ่งตอนนี้เปลี่ยนเป็นชื่อ โลโมโนซอฟ (Lomonosov) ใกล้กับนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย เขาเรียนด้านกฎหมายกับเปียโน ก่อนที่จะมาเป็นศิษย์ของนิโคไล ริมสกี้-คอร์ซาคอฟ บทเพลงชื่อดังชิ้นแรกของเขาได้แก่ วิหคเพลิง (ค.ศ. 1910 ด้วยการจ้างของแซร์จ เดียกิเลฟ เพื่อใช้แสดงในคณะบัลเลต์รัสเซีย ตามมาด้วยเพลง เปทรูชก้า (ค.ศ. 1911) พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ (ค.ศ. 1913) และอุปรากร เรื่อง นกไนติงเกล (ค.ศ. 1914) มีเรื่องที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากเกี่ยวกับบัลเลต์เรื่อง พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ ทั้งจากท่าเต้น และความไม่เหมือนใครของดนตรีประกอบ ทำให้สตราวินสกี้กลายเป็นคีตกวี ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 สตราวินสกี้เสียชีวิตที่นิวยอร์ก ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานซาน มิเชลในนครเวนิซ ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอิกอร์ สตราวินสกี · ดูเพิ่มเติม »

อิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน (Princess Ingrid of Sweden) หรือ สมเด็จพระราชินีอิงกริดแห่งเดนมาร์ก (Queen Ingrid of Denmark; อิงกริด วิกตอเรีย โซเฟีย หลุยส์ มาร์กาเรทา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2453 - 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นพระราชินีพระมเหสีของสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และพระราชปิตุจฉาในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน อีกทั้งเป็นพระราชปนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อียอน อี. เช. บราเตียนู

อียอน อี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอียอน อี. เช. บราเตียนู · ดูเพิ่มเติม »

อดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์

อดอลฟัส แคมบริดจ์ อดีตเจ้าชายแห่งเท็ค อดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์ GCB, GCVO, CMG (Adolphus Cambridge, 1st Marquess of Cambridge; พระอิสริยยศเดิม เจ้าชายอดอลฟัสแห่งเท็ค (Prince Adolphus of Teck) ต่อมาคือ ดยุคแห่งเท็ค; อดอลฟัส ชาร์ลส์ อเล็กซานเดอร์ อัลเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด จอร์จ ฟิลิป หลุยส์ ลาดิสเลาส์; 13 สิงหาคม พ.ศ. 2411 - 24 ตุลาคม พ.ศ. 2470) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษและเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระราชินีแมรี พระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ในปี พ.ศ. 2443 พระองค์ทรงสืบทอดพระอิสริยยศต่อจากพระชนกเป็นดยุคแห่งเท็ค ภายในราชอาณาจักรเวือร์ทเท็มแบร์ก ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 พระองค์ได้ทรงสละฐานันดรศักดิ์เยอรมันทั้งหมดและทรงดำรงพระอิสริยยศใหม่เป็น มาร์ควิสแห่งแคมบร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอดอลฟัส แคมบริดจ์ มาร์ควิสที่ 1 แห่งแคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

อดุล ภูมิณรงค์

อดุล ภูมิณรงค์ (1 เมษายน พ.ศ. 2470 - 1 เมษายน พ.ศ. 2543) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา 5 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอดุล ภูมิณรงค์ · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ ฉายแสง

นายอนันต์ ฉายแสง (เกิด 20 มกราคม พ.ศ. 2470) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และกระทรวงสาธารณสุข อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา 4 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอนันต์ ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

อนันต์ เรืองกูล

ตำรวจ อนันต์ เรืองกูล (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 - ?) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 6 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และอนันต์ เรืองกูล · ดูเพิ่มเติม »

ฮัสเทอร์

ัสเทอร์ (Hastur) หรือฮัสทูลหรือฮัสโทล เป็นหนึ่งในสิ่งที่เรียกว่า เกรทโอลด์วัน ในเรื่องชุดตำนานคธูลู มีฉายาว่า ผู้มิอาจเอ่ยนาม (the Unspeakable และ Him Who Is Not to be Named) ฮัสเทอร์ปรากฏตัวครั้งแรกในเรื่องสั้น ไฮตา คนเลี้ยงแกะ (Haïta the Shepherd) ของแอมโบรส เบียร์ซซึ่งตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2436 โดยเป็นเทพของคนเลี้ยงแกะ ต่อมา โรเบิร์ต ดับเบิลยู. แคมเบอร์ได้นำฮัสเทอร์มาใช้ในงานประพันธ์ของตนเองโดยเป็นทั้งชื่อของบุคคลและสถานที่ซึ่งเชื่อมโยงกับดวงดาวต่างๆ รวมถึงดาวอัลดิบาแรน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และฮัสเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ เชเฟอร์

ันส์ เชเฟอร์ (Hans Schäfer; 19 ตุลาคม พ.ศ. 2470 – 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560), เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวเยอรมัน ซึ่งเล่นให้กับแอร์สเทอเอฟเซเคิล์น ในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และฮันส์ เชเฟอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮาร์ดี อมีส

ซอร์ เอ็ดวิน ฮาร์ดี อมีส (17 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2546) นักออกแบบเสื้อผ้าชาวอังกฤษ เป็นที่รู้จักในนามของนักออกแบบและตัดชุดให้สมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธที่ 2.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และฮาร์ดี อมีส · ดูเพิ่มเติม »

ฮิวโก บอล

วโก บอล (Hugo Ball; 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1886 – 14 กันยายน ค.ศ. 1927) เป็นนักเขียนและกวีชาวเยอรมัน เกิดในครอบครัวคาทอลิกที่เมืองเพอร์มาเซนส์Ball, Hugo (1974).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และฮิวโก บอล · ดูเพิ่มเติม »

ฃ (ขวด) เป็นพยัญชนะตัวที่ 3 จากพยัญชนะทั้งหมด 44 ตัวในอักษรไทย อยู่ในลำดับถัดจาก ข (ไข่) และก่อนหน้า ๒ค (ควาย) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูงในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฃ ขวด" เข้าในพวกกัณฐชะ (เกิดจากเพดานอ่อน-) เป็นพยัญชนะชนิดหัวหยักหรือหัวแตก ออกเสียงอย่าง ข (ไข่) เมื่อเป็นพยัญชนะต้น ให้เสียง /kʰ/ สามารถใช้เป็นพยัญชนะสะกดในมาตรากกได้ ให้เสียง /k̚/ (ในทางทฤษฎี) ซึ่งเดิมทีนั้น ได้มีการคาดกันว่าเสียงของ ฃ นั้นมีความแตกต่างจากเสียง ข แต่กลับเพี้ยนไป ปัจจุบันไม่มีคำศัพท์ในหมวดคำ ฃ ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 โดยระบุว่า ฃ เป็นอักษรที่ไม่นิยมใช้แล้ว อย่างไรก็ตาม ยังมีการใช้อักษร ฃ ในบางแวดวง นัยว่าเพื่อเป็นการอนุรักษ์ให้ตัวอักษรไทยมีใช้ครบ 44 ตัว รวมถึงมีการพูดถึงการฟื้นฟูการใช้งานอักษร ฃ ขึ้นมาใหม่ รวมทั้งในแบบเรียนอักษรไทยและบนแป้นพิมพ์ภาษาไทยก็ยังคงมีอักษร ฃ อยู่ อักษร ฃ นี้เป็นอักษรของไทยาดั้งเดิม และไม่ปรากฏในชุดอักษรภาษาอื่น ๆ ซึ่งหมายความว่า ในชุดอักษรภาษาอื่น ๆ ที่ลำดับอักษร ก ข ค ฆ ง แบบเดียวกันกับอักษรอินเดีย เช่น อักษรเทวนาครี อักษรขอม อักษรมอญ ฯลฯ ล้วนไม่มีตัวอักษร ฃ ทั้งสิ้น จึงให้เหตุผลว่า อักษร ฃ น่าจะเป็นการประดิษฐ์แทรกเช่นเดียวกับอักษร ฅ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ ฯลฯ เมื่อพ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใน พ.ศ. 1826 และก็ได้เติมพยัญชนะและวรรณยุกต์เข้าในวรรคอักษรแบบอินเดีย เพื่อใช้แทนเสียงที่ภาษาในสมัยนั้นมีอยู่ให้ครบถ้วน หรือไม่ก็คาดว่า ฃ ได้รับการดัดแปลงมาจากภาษาสันสกฤตนั่นเอง นอกจากตัวอักษร ฃ จะปรากฏในภาษาไทยแล้ว ตัวอักษร ฃ นี้ยังมีประวัติการใช้งานอยู่ในภาษาไทยถิ่นอื่นอีก เช่น คำเมืองมาลา คำจันทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และฃ · ดูเพิ่มเติม »

จรูญ สืบแสง

รูญ สืบแสง จรูญ สืบแสง อดีตนักการเมืองชาวไทย และหนึ่งในคณะราษฎร ผู้กระทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 นายจรูญ เกิดเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2447 ที่ตำบลอาเนาะรู อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เป็นบุตรของขุนวรเวชวิชกิจ (ซุ้ย สืบเแสง) และนางอุ่น สืบแสง มีศักดิ์เป็นน้องชายของนายเจริญ สืบแสง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) จังหวัดปัตตานี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 จากโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดปัตตานี, มัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย และมัธยมศึกษาปีที่ 8 จากโรงเรียนเทพศิรินทร์ เมื่อ พ.ศ. 2466 และสำเร็จการศึกษาได้รับเกษตรศาสตรบัณฑิต จาก มหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์แห่งลอส บานอส ประเทศฟิลิปปินส์ พ.ศ. 2470 นายจรูญ เริ่มรับราชการเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 ในตำแหน่งผู้ช่วยผู้อำนวยการเพาะปลูก กรมเพาะปลูก กระทรวงเกษตราธิการ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และจรูญ สืบแสง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีโคจุง

ักรพรรดินีโคจุง (6 มีนาคม พ.ศ. 2446 – 16 มิถุนายน พ.ศ. 2543) พระนามเดิม เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ เป็นพระจักรพรรดินีอัครมเหสีในจักรพรรดิโชวะ และเป็นพระราชมารดาในสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ ถือเป็นจักรพรรดินีแห่งญี่ปุ่นที่ดำรงตำแหน่งยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นDowner, Lesely.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และจักรพรรดินีโคจุง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินโปเลียนที่ 1

นโปเลียน โบนาปาร์ต (Napoléon Bonaparte) เป็นนายพลในช่วงการปฏิวัติฝรั่งเศส ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิโชวะ

มเด็จพระจักรพรรดิฮิโระฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัย คือ จักรพรรดิโชวะ (29 เมษายน 2444 - 7 มกราคม 2532) (裕仁) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 124 ของญี่ปุ่น ครองราชย์ระหว่างปี พ.ศ. 2469 - พ.ศ. 2532 (63 ปี) ในตอนต้นรัชสมัยของพระองค์ จักรวรรดิญี่ปุ่นในขณะนั้น ได้กลายเป็นชาติมหาอำนาจของโลกแล้ว ด้วยขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของโลก จักรพรรดิฮิโระฮิโตะทรงดำรงตำแหน่งประมุขแห่งรัฐของจักรวรรดิญี่ปุ่นภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น ในรัชสมัยของพระองค์ ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งทำให้ในห้วงเวลานั้น จักรวรรดิญี่ปุ่นแผ่อำนาจและดินแดนไปทั่วเอเชียบูรพาโดยที่ไม่มีชาติใด ๆ จะสามารถต้านทาน ภายหลังสงครามสิ้นสุดลงบนความพ่ายแพ้ของญี่ปุ่น พระองค์ไม่ได้ถูกดำเนินคดีในข้อหาอาชญากรสงครามดังเช่นผู้นำคนอื่น ๆ ของชาติฝ่ายอักษะ และภายหลังสงคราม พระองค์ทรงเป็นสัญลักษณ์ของรัฐใหม่ในการกอบกู้ประเทศชาติที่ได้รับความเสียหายจากสงคราม ในตอนปลายรัชกาล ประเทศญี่ปุ่นก็สามารถกลับมายืนหยัดในฐานะชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจอันดับ 2 ของโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และจักรพรรดิโชวะ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิไทโช

มเด็จพระจักรพรรดิโยะชิฮิโตะ หรือพระนามตามชื่อรัชสมัยคือ จักรพรรดิไทโช (31 สิงหาคม พ.ศ. 2422 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2469) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 123 ทรงปกครองจักรวรรดิญี่ปุ่นในฐานะสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น และพระประมุขแห่งเกาหลี เป็นเวลา 14 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และจักรพรรดิไทโช · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอุตรดิตถ์

ังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมสะกดว่า อุตรดิฐ เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศไทย ได้ชื่อว่าเมืองท่าแห่งทิศเหนือ ตำนานอันลึกลับของเมืองลับแล ดินแดนแห่งลางสาดหวานหอม อุตรดิตถ์เป็นเมืองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์มายาวนาน โดยมีการค้นพบหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของชุมชนมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เดิมทีตัวเมืองอุตรดิตถ์ในปัจจุบันนี้เป็นเพียงตำบลชื่อ "บางโพธิ์ท่าอิฐ" แต่เพราะบางโพธิ์ท่าอิฐซึ่งอยู่ริมฝั่งขวาของแม่น้ำน่านมีความเจริญรวดเร็ว เพราะเป็นท่าเรือขนถ่ายสินค้าสำคัญในหัวเมืองฝ่ายเหนือ ดังนั้นในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ย้ายเมืองหลักมาจากเมืองพิชัยมายังตำบลบางโพธิ์ท่าอิฐ และยกฐานะขึ้นเป็นเมือง "อุตรดิตถ์" ซึ่งมีความหมายว่า ท่าน้ำแห่งทิศเหนือของสยามประเทศ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 6 เมืองอุตรดิตถ์มีความเจริญขึ้น เมืองอุตรดิตถ์จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัด จังหวัดอุตรดิตถ์ตั้งอยู่ทางใต้สุดของภาคเหนือตอนล่าง โดยสภาพภูมิศาสตร์จังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดที่มีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงสลับซับซ้อน ซึ่งจะอยู่ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด เนื่องจากทำเลที่ตั้งดังกล่าวจึงทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีอากาศค่อนข้างร้อนอบอ้าวในฤดูร้อน มีอากาศฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูฝน และมีช่วงฤดูแล้งคั่นอยู่อย่างชัดเจนตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤษภาคม เดือนที่ร้อนที่สุดคือเดือนเมษายน จังหวัดอุตรดิตถ์ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นส่วนใหญ่ มรสุมตะวันออกเฉียงใต้ปกติจะมีแหล่งกำเนิดบริเวณทะเลอันดามัน ทำให้จังหวัดอุตรดิตถ์มีช่วงฤดูฝนกินระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน โดยเดือนกันยายนเป็นเดือนที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยสูงที่สุด ประชากรส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99.66 นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท โดยประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยใช้พื้นที่ในการทำการเกษตรประมาณร้อยละ 26.70 ของพื้นที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ยังประกอบอาชีพทางด้านปศุสัตว์ รวมทั้งมีการทำพืชไร่ปลูกผลไม้นานาชนิด โดยผลไม้ที่ขึ้นชื่อของจังหวัดอุตรดิตถ์คือลางสาด ส่วนการเดินทางมายังจังหวัดอุตรดิตถ์สามารถใช้เส้นทางได้หลายเส้นทาง ทั้งทางรถไฟ ทางรถโดยสารประจำทาง และทางรถยนต์ส่วนบุคคล สำหรับการเดินทางโดยเครื่องบิน จังหวัดอุตรดิตถ์เคยมีท่าอากาศยาน 1 แห่ง สำหรับการเดินทางพาณิชย์ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว สถานที่สำคัญภายในจังหวัดนั้น มีทั้งแหล่งโบราณสถาน เช่น วัดพระแท่นศิลาอาสน์ วัดพระฝางสว่างคบุรีมุนีนาถ วัดพระยืนพุทธบาทยุคล วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง ซากเมืองโบราณสมัยอาณาจักรสุโขทัย แหล่งโบราณคดีก่อนประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น อุทยานแห่งชาติภูสอยดาว อุทยานแห่งชาติต้นสักใหญ่ อุทยานแห่งชาติลำน้ำน่าน และแหล่งท่องเที่ยวอีกมากมาย ทั้งน้ำตก เขื่อนสิริกิติ์ วัด พระพุทธรูปสำคัญของจังหวัด เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และจังหวัดอุตรดิตถ์ · ดูเพิ่มเติม »

จูเต๋อ

อมพลจูเต๋อ (1 ธันวาคม 1886- 6 กรกฎาคม 1976) ผู้นำกำลังทหารสำคัญของพรรคคอมมิวนิสต์จีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และจูเต๋อ · ดูเพิ่มเติม »

ธานินทร์ กรัยวิเชียร

ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และธานินทร์ กรัยวิเชียร · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน

23x15px ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (พ.ศ. 2492–2534) ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน มีลักษณะคล้ายธงชาติสหภาพโซเวียต กล่าวคือ เป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปค้อนเคียวสีทองและดาวแดงขอบทอง แต่ที่ตอนล่างของธงนั้นมีแถบสีฟ้า กว้าง 1 ใน 3 ของความกว้างธงทั้งหมด รูปค้อนเคียวและดาวแดงนั้นประดับไว้เฉพาะที่ธงด้านหน้าเท่านั้น ธงดังกล่าวมานี้ได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 นับเป็นธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนแบบสุดท้ายที่ใช้มาจนถึงการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2534 หลังจากนั้นยูเครนจึงได้ประกาศเอกราชและเปลี่ยนธงชาติใหม่เป็นธงชาติยูเครนในปัจจุบัน ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนเริ่มปรากฏครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2462 ลักษณะเป็นธงสีแดง มีอักษรซีริลลิกย่อนามประเทศว่า УССР (เทียบเป็นอักษรโรมันคือ USSR โดยย่อมาจากชื่อประเทศในภาษารัสเซียว่า Ukrayinskaya Sotsialisticheskaya Sovetskaya Respublika) ธงลักษณะดังกล่าวได้ใช้สืบมาหลายปีโดยมีการแก้ไขรายละเอียดเล็กน้อยเกี่ยวกับแบบอักษรในปี พ.ศ. 2465 และ พ.ศ. 2470 ในเวลาถัดมาจึงได้มีการเพิ่มกรอบสี่เหลี่ยมสีทองล้อมอักษรย่อนามประเทศไว้ด้วย ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอัฟกานิสถาน

งชาติสาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน แบบปัจจุบันนี้ ประกาศใช้ในสมัยรัฐบาลชุดถ่ายโอนอำนาจของรัฐอิสลามของอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2545 - พ.ศ. 2547) ลักษณะเป็นธงสามสี รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งตามแนวตั้ง เป็นสีดำ-แดง-เขียว กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน กลางธงมีรูปตราแผ่นดินของอัฟกานิสถาน ในลักษณะภาพลายเส้นสีขาว ลักษณะของธงชาติยุคนี้ คล้ายคลึงกับธงชาติในสมัยราชอาณาจักรอัฟกานิสถาน ช่วง พ.ศ. 2473 - พ.ศ. 2516 โดยมีความแตกต่างสำคัญที่มีการบรรจุภาพอักษรที่เรียกว่า ชะฮาดะฮ์ เป็นข้อความซึ่งแปลเป็นภาษาไทยได้ว่า "ข้าพเจ้านับถือว่า ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกเหนือจากอัลลอหฺ และศาสดามุฮัมมัดคือ​ศาสนทูตแห่งอัลลอหฺ" ที่ตอนบนของภาพตรา วันที่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการคือวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2547 ในยุดก่อนสมัยการปกครองของกลุ่มตอลิบานและแนวร่วมอิสลามเพื่อการปลดปล่อยอัฟกานิสถาน ธงชาติในยุคนี้มีการใช้ภาพตราแผ่นดินแบบเดียวกับกับธงยุคปัจจุบัน แต่แถบสีนั้นเป็นแถบสีดำ-ขาว-เขียว เรืยงแถบสีธงตามแนวนอน ประเทศอัฟกานิสถาน ถือได้ว่าเป็นประเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบธงชาติในสมัยต่างๆ ตลอดช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 มากครั้งที่สุด มากกว่าชาติอื่นใดในโลกนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และธงชาติอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และธงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเยเมน

งชาติเยเมน (อาหรับ:علم اليمن) แบบปัจจุบันเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นริ้ว 3 สี ความกว้างเท่ากันตามแนวนอน ได้แก่ สีแดง สีขาว และสีดำ ซึ่งเป็นสีกลุ่มชนอาหรับ (Pan-Arabic colors) ประกาศใช้เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 อันเป็นวันรวมชาติ สาธารณรัฐอาหรับเยเมน (เยเมนเหนือ) และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเยเมน (เยเมนใต้) กลับเป็นประเทศเดียวกันอีกครั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และธงชาติเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ธงรัฐอะแลสกา

งรัฐอะแลสกา เป็นธงพื้นหลังสีน้ำเงินเข้ม ประกอบด้วยดาวสีทอง 8 ดวง เรียงตัวกันตามกลุ่มดาวหมีใหญ่ โดยดาวเหนือ (ดวงที่อยู่มุมขวาบน) มีขนาดใหญ่กว่าดาวอีก 7 ดวงที่เหลือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และธงรัฐอะแลสกา · ดูเพิ่มเติม »

ธงปาเลสไตน์ในอาณัติ

งสหภาพ ธงเรือของปาเลสไตน์ในอาณัติ ธงปาเลสไตน์ในอาณัติ ค.ศ. 1920 จนถึง ค.ศ. 1948 ในทางพฤตินัย ธงชาติสหราชอาณาจักร หรือ ธงสหภาพ สำหรับใช้ในหน่วยราชการอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และธงปาเลสไตน์ในอาณัติ · ดูเพิ่มเติม »

ธนาคารไทยพาณิชย์

นาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) (The Siam Commercial Bank Public Company Limited ชื่อย่อ: SCB) เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งแรกและเป็นหนึ่งในห้าธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ก่อตั้งโดยพระบรมราชานุญาต ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2449 ปัจจุบันมีสาขาทั้งสิ้น 1,070.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และธนาคารไทยพาณิชย์ · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีระบบควบคุม

ระบบควบคุมมีความสำคัญอย่างมากในการปล่อยจรวดและยานอวกาศ ทฤษฎีระบบควบคุม (control theory) เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ในที่นี้ การควบคุมหมายถึง การควบคุมระบบพลศาสตร์ ให้มีค่าเอาต์พุตที่ต้องการ โดยการป้อนค่าอินพุตที่เหมาะสมให้กับระบบ ตัวอย่างที่เห็นได้ทั่วไป เช่น ระบบควบคุมอุณหภูมิห้องของเครื่องปรับอากาศ หรือ แม้แต่ลูกลอยในโถส้วม ที่เปิดน้ำปิดน้ำโดยอัตโนมัติเมื่อน้ำหมดและน้ำเต็ม การควบคุมการขับเคลื่อนยานพาหนะ เช่น รถยนต์ ก็ถือเป็นการควบคุมชนิดหนึ่ง โดยผู้ขับขี่เป็นผู้ควบคุมทิศทางและความเร็ว ซึ่งระบบควบคุมประเภทที่ต้องมีคนเข้ามาเกี่ยวข้องนี้ถือว่าเป็น ระบบควบคุมไม่อัตโนมัติ (manual control) แต่ทฤษฎีระบบควบคุมจะครอบคลุมเฉพาะการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบควบคุมอัตโนมัติ (automatic control) เท่านั้น เช่น ระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ (cruise control) ระบบควบคุมยังอาจแบ่งออกได้เป็นระบบควบคุมวงเปิด (open-loop control) คือ ระบบควบคุมที่ไม่ได้ใช้สัญญาณจากเอาต์พุต มาบ่งชี้ถึงลักษณะการควบคุม ส่วนระบบควบคุมวงปิด (closed-loop control) หรือ ระบบป้อนกลับ (feedback control) นั้นจะใช้ค่าที่วัดจากเอาต์พุต มาคำนวณค่าการควบคุม นอกจากนี้ยังอาจแบ่งได้ตามคุณลักษณะของระบบ เช่น เป็นเชิงเส้น (linear) / ไม่เป็นเชิงเส้น (nonlinear), แปรเปลี่ยนตามเวลา (time-varying) / ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา (time-invariant) และเวลาต่อเนื่อง (Continuous time) / เวลาไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous time).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และทฤษฎีระบบควบคุม · ดูเพิ่มเติม »

ทะกะชิ โอะกะมุระ

ทะกะชิ โอะคะมุระ, (Takashi Okamura) (13 ธันวาคม ค.ศ. 1927 - ปัจจุบัน) ทะกะชิ โอะคะมุระเป็นช่างภาพชาวญึ่ปุ่นที่มีความเชี่ยวชาญในการถ่ายภาพศิลปะ ผลงานสำคัญของทะกะชิ โอะคะมุระคือการบันทึกภาพการบูรณะจิตรกรรมฝาผนังในชาเปลซิสติน ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และทะกะชิ โอะกะมุระ · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายบางบัวทอง

ทางรถไฟสายบางบัวทอง หรือ ทางรถไฟสายพระยาวรพงษ์ เป็นทางรถไฟราษฎร์ที่เดินรถระหว่างอำเภอบางพลัด จังหวัดธนบุรี กับอำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และทางรถไฟสายบางบัวทอง · ดูเพิ่มเติม »

ทูล ทองใจ

ฉายา เจ้าชายแห่งรัตติกาล นิคเนม พ่อระฆังฝังเพชรสี่ทหารเสือของวงดนตรีจุฬารัตน์ จากซ้าย ปอง ปรีดา, นคร ถนอมทรัพย์, ทูล ทองใจ, พร ภิรมย์ ทูล ทองใจ ชื่อจริง น้อย ทองใจ เกิดเมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2470 ที่อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม  ตอนหลังย้ายไปอยู่ที่อำเภอแม่กลอง พ่อเป็นชาวจีน “แซ่ทอง” ต่อมาพ่อเปลี่ยนนามสกุลเป็น “ทองใจ”  แม่ชื่อ “นิ่ม  ทองใจ”  มีพี่น้อง  4 คน  ชาย 3  หญิง 1 ทูลคนที่ 3 แต่พ่อมาตายตั้งแต่ลูกๆยังเล็ก แม่จึงได้แต่งงานใหม่กับพนักงานการรถไฟ และย้ายไปอยู่มหาชัย มีลูกอีกคนเป็นผู้หญิง ทูลได้ช่วยเลี้ยงน้อง และได้ช่วยแม่ขายของ และอีกอาชีพนึงคือหาบน้ำขาย ทูลจบการศึกษาชั้นมัธยมปีที่ 3 ชอบการร้องเพลงมาตั้งแต่เด็ก ร้องเพลงประกวดครั้งแรกเมื่ออายุได้ 14 ปี เพลงที่ชื่นชอบเป็นพิเศษในช่วงนั้นคือ “ค่ำแล้วในฤดูหนาว” ของครูล้วน  ควันธรรม  และเพลง “หยาดฟ้ามาดิน”  ของครูสมยศ  ทัศนพันธ์  ประกวดที่ไหนจะนำ 2เพลงนี้ขึ้นประกวดเสมอ และจะชนะเลิศทุกครั้งไป  จนกรรมการขยาด เขาจึงได้รับเกียรติให้เป็นกรรมการตัดสินการประกวดร้องเพลงซ่ะเลย นับเป็นกรรมการที่มีอายุน้อยที่สุดด้วยวัยเพียง 19 ปี ทำให้เขาภูมิใจไม่เคยลืม   หลังจากนั้นครูชาญชัย  บัวบังศร แนะนำให้ไปร้องเพลงอยู่ที่ห้องอาหารจังหวัดภูเก็ต   ทนลำบากอยู่หลายปีเหมือนกัน จึงหวลกลับกรุงเทพฯ อีกครั้งหนึ่ง ความใฝ่ฝันที่จะเป็นนักร้องอาชีพเริ่มเป็นจริง  เมื่อได้เข้ารับราชการเป็นทหาร สังกัด  .ท. ความสามารถในการร้องเพลง  ทำให้เขาได้เป็นนักร้องประจำวง “ลูกมาตุลี” ซึ่งเป็นวงดนตรีชื่อดังของกรมการขนส่งทหารบกในสมัยนั้น เมื่อออกจากวง “ลูกมาตุลี” ของ.ท. ขณะนั้นมียศสิบเอก  ครูสิทธิ์  โมรากรานต์  นำไปพบกับครู “เบญจมินทร์”  ครูเบญจมินทร์แต่งเพลงแรกให้ร้องบันทึกเสียง เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และทูล ทองใจ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนทอง ภูผิวเดือน

นายขุนทอง ภูผิวเดือน (3 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2538) อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาฬสินธุ์ 6 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และขุนทอง ภูผิวเดือน · ดูเพิ่มเติม »

ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น)

ตัวอย่างผลงานของขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น) ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต หรือ เปล่ง ไตรปิ่น เป็นนักเขียนปกและภาพล้อในสมัย รัชกาลที่ 6 ซึ่งภายหลังได้รับการยกย่องให้เป็นนักเขียนการ์ตูนคนแรกของเมืองไทย ทั้งยังเป็นผู้นำวิชาการทำบล็อกเข้ามาเผยแพร่ในเมืองไทย ผู้ถ่ายทำภาพยนตร์เรื่อง "ไม่คิดเลย" และครูสอนวิชาวาดเขียนในโรงเรียนเพาะช่าง ประวัติของขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิตนั้นไม่ใคร่ชัดเจนนัก ไม่มีข้อมูลว่าท่านเกิดที่ไหน เมื่อไร ทราบแต่ว่าเป็นบุตรของนายสอนกับนางเภา ท่านเคยดั้นด้นไปเรียนวิชาจิตรกรรมที่อังกฤษ แล้วเดินทางไปนอร์เวย์ เดนมาร์ก อิตาลี สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย รวมระยะเวลากว่า 20 ปี ต่อมาได้เดินทางกลับเมืองไทยพร้อมคณะซื้อม้าของพระยาคทาทรธรนินทร์ (ชุ่ม อภัยวงศ์) เมื่อกลับมาแล้ว กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน อธิบดีกรมรถไฟหลวง ได้บรรจุให้เปล่งเข้าทำงานในตำแหน่งช่างถ่ายภาพกรมรถไฟหลวง แต่ลาออกในภายหลังเนื่องจากไปขัดแย้งกับเจ้าหน้าที่ฝรั่ง จากนั้นท่านจึงไปเขียนภาพล้อตามหนังสือพิมพ์ต่างเช่น กรุงเทพฯ เดลิเมล์, ไทยหนุ่ม, บางกอกไตม์ เป็นต้น แล้วจึงไปเป็นครูโรงเรียนเพาะช่าง ท่านได้รับบรรดาศักดิ์เป็นขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต เนื่องจากได้นำเทคโนโลยีการพิมพ์อย่างใหม่ คือ การทำบล็อกแม่พิมพ์ เข้ามาในเมืองไทย แนวการเขียนการ์ตูนของขุนปฏิภาคฯ นั้น เป็นแนวการ์ตูนล้อนักการเมืองสำคัญในยุคนั้น และเคยได้รับรางวัลการประกวดภาพล้อจาก ร. 6 จากการเขียนการ์ตูนแนวดังกล่าว ในปี พ.ศ. 2470 หลังจากบริษัทกรุงเทพภาพยนตร์สร้างภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น และออกฉายในเดือนกรกฎาคมของปีนั้นแล้ว บริษัทถ่ายภาพยนตร์ไทย จึงสร้างภาพยนตร์เรื่อง ไม่คิดเลย ออกมาแข่งบ้าง โดยขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต ซึ่งเคยเป็นหัวหน้าช่างถ่ายภาพยนตร์กรมรถไฟหลวงมาก่อน เป็นผู้ถ่ายภาพและกำกับการแสดงภาพยนตร์เรื่องนี้ (ต่อมาได้ออกฉายในเดือนกันยายนของปีเดียวกัน) ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิตถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2485 ด้วยโรคลำไส้พิการ มีบุตรชายคนหนึ่งคือ.ไตรปิ่น เป็นนักเขียนนวน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น) · ดูเพิ่มเติม »

คริสตัลพาเลซเซอร์กิต

ริสตัลพาเลซเซอร์กิต (Crystal Palace Circuit) เป็นสนามแข่งรถ ตั้งอยู่ในคริสตัลพาเลซพาร์ก ลอนดอน ประเทศอังกฤษ บริเวณสถานที่ที่เคยจัดนิทรรศการสิ่งประดิษฐ์และอุตสาหกรรม พ.ศ. 2394 (The Great Exhibition) สนามแข่งรถแห่งนี้เปิดใช้แข่งรถจักรยานยนต์เป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 ในช่วงแรกเป็นสนามหินบด มีความยาว 1 ไมล์ (1.6 กิโลเมตร) แต่ได้รับการปรับปรุงในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และคริสตัลพาเลซเซอร์กิต · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม

วามคิดและความเคลื่อนไหวที่จะเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของราชอาณาจักรสยาม จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปเป็นประชาธิปไตยนั้น มีมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อประมาณ ร..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และความเคลื่อนไหวสู่การปฏิวัติสยาม · ดูเพิ่มเติม »

คอบร้า เห่าไฟสายฟ้า

อบร้า เห่าไฟสายฟ้า (Cobra) เป็นการ์ตูนไซไฟ ผลงานของ บูอิจิ เทราซาวะ ซึ่งมีทั้งภาพยนตร์การ์ตูนและการ์ตูนทีวี เรื่องราวของคอบร้าสลัดอวกาศที่มีแขนซ้ายเป็นปืนไซโคกัน (Psycho-gun) ซึ่งเป็นปืนเลเซอร์ที่สามารถควบคุมทิศทางลำแสงของปืนได้ด้วยพลังจิต ที่มีคอบร้าใช้เพียงคนเดียวในจักรวาล และใช้พลังงานจากร่างกายมาเป็นกระสุนของปืนไซโคกัน คอบร้าที่มีร่างกายแข็งแกร่งมากกว่าคนปกติทั่วไปมาแต่กำเนิด มีพละกำลังและความอึดมหาศาล ทำให้ปืนไซโคกัน จึงดูเหมือนยิงได้ไม่มีวันหมด คอบบร้าแต่เดิมนั้นเป็นโจรสลัดอิสระ รูปหล่อ ปล้นไปทั่วจักรวาล เป็นโจรที่ปล้นโดยไม่เคยฆ่าคนบริสุทธิ์ มีค่าหัวเป็นอันดับหนึ่งในจักรวาล มีอาวุธเป็นปืนสั้นลูกโม่ 6 นัด ยี่ห้อ โคลท์ ไพธ่อน.77 แม็กนั่ม (ด้ามสลักรูปงูเห่า)และปืนสั้นเลเซอร์ธรรมดาอีก 1 กระบอก มียานเตอร์เติลเป็นพาหนะ(เป็นยานที่ไม่มีปีกมีลักษณะเป็นแท่งสี่เหลี่ยม สร้างด้วยวิทยาการของมนุษย์ที่มีขนาดเล็กแต่ทรงอานุภาพมากที่สุดในกลุ่มยานที่เดินทางไกลในจักรวาลด้วยกัน ใช้แบตเตอรี่ที่ประจุพลังงานจากแสงสว่างและความร้อนเป็นเชื้อเพลิง ที่ใต้ท้องยานยังมียานดำน้ำขนาดเล็กติดไว้ ด้านข้างหัวยานมีช่องยิงมิสไซด์ข้างละ 2 ช่อง มีช่องยิงปืนแสงข้างละ 1 ช่อง สามารถยิงได้ทั้งเลเซอร์และพลาสม่า) มีคู่หูเป็นอาเมอร์รอย(หุ่นยนต์ที่ดัดแปลงจากคนจริง ๆ ซึ่งเป็นแฟนเก่าของคอบบร้า ด้วยวิทยาการไบโอชีวะ ชื่อเลดี้ ซึ่งมีเพียงตัวเดียวในจักรวาลเช่นกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และคอบร้า เห่าไฟสายฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

คัง โหย่วเหวย์

ัง โหย่วเหวย์ (Kang Youwei, จีนตัวเต็ม: 康有为, จีนตัวย่อ: 康有為, พินอิน: Kāng Yǒuwéi) นักคิด, นักเขียน และนักปฏิรูปคนสำคัญชาวจีนในช่วงปลายราชวงศ์ชิง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และคัง โหย่วเหวย์ · ดูเพิ่มเติม »

คิม กู

ม กู (김구; Kim Gu; 29 สิงหาคม ค.ศ. 1876 — 26 มิถุนายน ค.ศ. 1949) หรือที่รู้จักกันในนามปากกา เบ็คบอม (백범; Baekbeom) เป็นประธานาธิบดีคนที่หก และต่อมาเป็นประธานาธิบดีคนสุดท้ายของการปกครองเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐเกาหลี เขาเป็นนักการเมือง, นักการศึกษา และผู้นำของการเคลื่อนไหวเพื่อเอกราชของเกาหลี โดยต่อต้านการยึดครองเกาหลีของญี่ปุ่น ที่อยู่ในช่วง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และคิม กู · ดูเพิ่มเติม »

คิโนะคูนิยะ

ร้านหนังสือคิโนะคูนิยะสาขาแรก ชินจุกุ (โตเกียว) ประเทศญี่ปุ่น ร้านหนังสือคิโนะคูนิยะ (ราชบัณฑิตยสภา: คิโนกูนิยะ โชเต็ง) คือร้านหนังสือสัญชาติญี่ปุ่นที่มีสาขาทั่วประเทศญี่ปุ่นกว่า 72 สาขา และ 30 สาขาทั่วโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) โดยสาขาแรกตั้งอยู่ที่ชินจูกุ กรุงโตเกียว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และคิโนะคูนิยะ · ดูเพิ่มเติม »

คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ

มาชิกสมาคมคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ทวีปแอฟริกาแสดงด้วยสีดำ ทวีปอเมริกาแสดงด้วยสีแดง ทวีปเอเชียแสดงด้วยสีเหลือง ทวีปยุโรปแสดงด้วยสีเขียว และทวีปโอเชียเนียแสดงด้วยสีฟ้า คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ (National Olympic Committee; อักษรย่อ: NOC) เป็นองค์กรผู้มีอำนาจระดับประเทศ ในกระบวนการโอลิมปิกระดับนานาชาติ ภายใต้การควบคุมโดย คณะกรรมการโอลิมปิกสากล นอกจากนั้น คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติทั้งหลาย ยังมีหน้าที่ส่งเสริมพัฒนาการของนักกีฬา และการฝึกอบรมผู้ฝึกสอน ตลอดจนเป็นเจ้าหน้าที่การกีฬาระดับชาติภายในภูมิภาคของตน ในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) มีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ ซึ่งผู้แทนของทั้งประเทศเอกราช และดินแดนปกครองพิเศษต่างๆ รวมทั้งหมด 206 ชุด โดยในบรรดาสมาชิกสหประชาชาติ 193 ประเทศ รวมทั้งดินแดนอื่นอีก 9 แห่งดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Arts, Chulalongkorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์

รายการประกาศผลรางวัลออสการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

งูกะปะ

งูกะปะ เป็นงูพิษที่มีพิษรุนแรงมาก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Calloselasma rhodostoma จัดเป็นงูเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Calloselasma โดยไม่มีชนิดย่อ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และงูกะปะ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของบัลแกเรีย

ตราแผ่นดินของบัลแกเรีย (Герб на България, Gerb na Bălgariya, Coat of arms of Bulgaria) เป็นตราอาร์มของประเทศบัลแกเรีย ที่ประกอบด้วยสิงโตยืนบนโล่ที่มีพื้นสีแดง เครื่องยอดของตราเป็นมงกุฎของจักรวรรดิบัลแกเรียที่ 2 ประคองสองข้างด้วยสิงโตยืนสวมมงกุฎทอง ฐานรองเป็นกิ่งโอ้คและแถบขาวที่มีคำขวัญจารึกว่า “ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเป็นบ่อเกิดของอำนาจ”.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และตราแผ่นดินของบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ฅ (คน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 5 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ค (ควาย) และก่อนหน้า ฆ (ระฆัง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ ออกเสียงอย่าง ค (ควาย) นิยมเรียกกันว่า “ฅ คน” อักษรเป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /kʰ/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /k̚/ (ในทางทฤษฎี) ฅ เป็นอักษรที่เลิกใช้แล้ว ไม่มีคำศัพท์ในหมวดคำ ฅ ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แต่ยังมีการใช้ ฅ อยู่บ้างในบางแวดวง นัยว่าเพื่อเป็นการอนุรักษ์ให้ตัวอักษรไทยมีใช้ครบ 44 ตัว เท่าที่พบเห็น มักจะใช้ในคำว่า ฅน (คน) โดยเฉพาะในบันเทิงคดีต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม ในแบบเรียนอักษรไทย ยังคงมีอักษร ฅ อยู่ อักษร ฅ นี้เป็นอักษรที่ใช้แทนเสียงในภาษาไทดั้งเดิม ในชุดอักษรสำหรับภาษาตระกูลอื่นๆ ที่ลำดับอักษร ก ข ค ฆ ง แบบอักษรอินเดีย เช่น อักษรเทวนาครี อักษรขอม อักษรมอญ ฯลฯ มักจะไม่มีตัวอักษร ฅ น่าจะเป็นการประดิษฐ์แทรกเช่นเดียวกับอักษร ฃ ซ ฎ ด บ ฝ ฟ ฯลฯ ที่ไทยได้เติมเข้าในวรรคอักษรแบบอินเดีย โดยเหตุผลเพื่อต้องการใช้แทนเสียงที่มีอยู่ให้ครบถ้วน โดยมีพัฒนาการควบคู่กันมากับอักษร ฃ (ขวด).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และฅ · ดูเพิ่มเติม »

ซิดนีย์ พอยเทียร์

ซอร์ ซิดนีย์ พอยเทียร์, KBE (20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1927 -) (Sidney Poitier) นักแสดงชาวอเมริกันเชื้อสายบาฮามาส เจ้าของรางวัลออสการ์ รางวัลบาฟต้า รางวัลลูกโลกทองคำ และรางวัลแกรมมี ได้ชื่อว่าเป็นนักแสดงแอฟริกันอเมริกันคนแรกที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ในสาขานักแสดงนำ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และซิดนีย์ พอยเทียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ซูเปอร์ลีกกรีซ

ซูเปอร์ลีกกรีซ (Superleague Greece) เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศกรีซ ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1927.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และซูเปอร์ลีกกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

ซีบีเอส

ซีบีเอส (CBS หรือ CBS Broadcasting Inc.) เป็นเครือข่ายสถานีโทรทัศน์อเมริกัน หนึ่งในสามผู้ยิ่งใหญ่ แห่งวงการโทรทัศน์ของสหรัฐอเมริกา โดยอีกสองสถานีคือ เอ็นบีซี และเอบีซี และเช่นเดียวกับทั้งเอ็นบีซี ทางซีบีเอสเริ่มจากการเป็นสถานีวิทยุมาก่อน ชื่อมาจากชื่อเก่าของสถานีที่ใช้ชื่อว่า โคลัมเบีย บรอดแคสติง ซิสเตม (Columbia Broadcasting System) ในบางครั้งจะเรียกว่าสถานี "อายเน็ตเวิร์ก" (Eye Network) หรือเรียกง่าย ๆ ว่า "ดิอาย" (The Eye) เนื่องจากรูปร่างโลโก้ของบริษัทที่มีลักษณะเป็นดวงตา หรือในบางครั้งก็เรียกว่า "ทิฟฟานีเน็ตเวิร์ก" (Tiffany Network) เช่นกัน ที่หมายถึงความมีคุณภาพสูงของรายการของซีบีเอสในช่วงระยะเวลาที่ดำรงตำแหน่งของผู้ก่อตั้ง วิลเลียม เอส. แพเลย์ (1927–1990) (พ.ศ. 2470-2533) และยังอาจหมายถึงการเริ่มออกอากาศทางโทรทัศน์สีครั้งแรกของช่องอีกด้วย ที่เกิดขึ้นในตึก ทิฟฟานี แอน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และซีบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

ซีทรีพีโอ

ซีทรีพีโอ (C-3PO) เป็นตัวละครหุ่นยนต์ในเรื่องแต่งชุดสตาร์ วอร์ส ปรากฏตัวครั้งแรกในภาพยนตร์สตาร์ วอร์ส เอพพิโซด 4: ความหวังใหม่ โดยเป็นตัวละครตัวหนึ่งในไม่กี่ตัวที่มีบทบาทในภาพยนตร์สตาร์ วอร์ส ทุกภาค ซีทรีพีโอถูกสร้างโดยอนาคิน สกายวอล์คเกอร์ ในปีที่ 32 ก่อนยุทธการยาวิน (ก่อนเหตุการณ์ในสตาร์ วอร์ส เอพพิโซด 1: ภัยซ่อนเร้น) เขาเป็นหุ่นยนต์พิธีการ (protocol droid) และเรียกตัวเองว่า "มนุษย์ไซบอร์กสัมพันธ์" ("human-cyborg relations") และอ้างว่าสามารถเจรจาได้ถึงกว่า "หกล้านรูปแบบการสื่อสาร" และ "มีฟังก์ชันทุติยภูมิมากกว่าสามสิบฟังก์ชัน" แอนโธนี แดเนียลส์ แสดงเป็นตัวละครนี้ในภาพยนตร์สตาร์ วอร์ส ทุกภาค รูปลักษณ์ของซีทรีพีโอได้รับแรงบันดาลใจจากหุ่นยนต์ลึกลับในภาพยนตร์เรื่องเมโทรโพลิส (พ.ศ. 2470) Anthony Daniels.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และซีทรีพีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ประมวล สภาวสุ

นายประมวล สภาวสุ อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและกระทรวงอุตสาหกรรม เกิดวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สมรสกับคุณหญิงศรีประพาฬ สภาวสุ มีบุตรธิดารวม 5 คนคือ นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ, นางสาวศิริณี สภาวสุ, นายกุมพล สภาวสุ, นางจารุวรรณ กัลยางกูร และนายประโภชน์ สภาวสุ นายประมวลเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาหลายสมัย เข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประมวล สภาวสุ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประสิทธิ์ ศิริบรรเทิง

ประสิทธิ์ ศิริบรรเทิง (พ.ศ. 2470 - พ.ศ. 2529) เป็นนักเขียน นักหนังสือพิมพ์ บรรณาธิการ ผู้อำนวยการสร้างละครเวที และเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงหลายเรื่อง เช่น เล็บครุฑ มังกรแดง ภูตเหลือง ทหารเสือกรมหลวงชุมพร เพชรพระอุมา การะเกด กุหลาบแสนสวย เกล็ดแก้ว เป็นต้น และเป็นหัวหน้ากองบรรณาธิการนิตยสารจักรวาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประสิทธิ์ ศิริบรรเทิง · ดูเพิ่มเติม »

ประสงค์ สุ่นศิริ

นาวาอากาศตรี ประสงค์ สุ่นศิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พลเอกเปรม ติณสูลานนท์) และผู้อำนวยการหนังสือพิมพ์แนวหน้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประสงค์ สุ่นศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ประทวน รมยานนท์

นายประทวน รมยานนท์ (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 - 29 มีนาคม พ.ศ. 2539) อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม 3 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร 1 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 3 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประทวน รมยานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ มะหะหมัด

ประเสริฐ มะหะหมัด เป็นชาวกรุงเทพมหานคร เกิดเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 สำเร็จการศึกษาทางศาสนาจากเมืองเมกกะห์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย เป็นอาจารย์สอนศาสนาอิสลามโรงเรียนมิฟตาฮู้ลอูลูมิดดีนียะห์ และเป็นกรรมการอิสลามประจำกรุงเทพฯ เมื่ออาจารย์ต่วน สุวรรณศาสน์ถึงแก่อนิจกรรม ได้มีการประชุมประธานกรรมการอิสลามทุกจังหวัดเพื่อเลือกจุฬาราชมนตรีคนใหม่ นายประเสริฐได้รับการเสนอชื่อและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งเมื่อ 8 กันยายน พ.ศ. 2524 ในยุคของท่านมีการปรับปรุงการบริหารองค์กรอิสลามหลายอย่าง และผลักดันให้มีการออกพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 สำเร็จและได้สร้างศูนย์บริหารกิจการศาสนาอิสลามแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติ ที่เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยสำนักงานจุฬาราชมนตรี สำนักงานคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินกิจการศาสนาอิสลามอย่างเป็นการถาวรในสมัยที่ท่านเป็นจุฬาราชมนตรี ท่านถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเสริฐ มะหะหมัด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศบัลแกเรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศบัลแกเรียใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศฟินแลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศฟินแลนด์ใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอลตาใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศมอลต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศมอลตาใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศมองโกเลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศมองโกเลียใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศออสเตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศออสเตรียใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลีย

ออสเตรเลีย (Australia) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐออสเตรเลีย เป็นประเทศซึ่งประกอบด้วยแผ่นดินหลักของทวีปออสเตรเลีย, เกาะแทสเมเนีย และเกาะอื่น ๆ ในมหาสมุทรอินเดีย แปซิฟิก และมหาสมุทรใต้ มันเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับหกของโลกเมื่อนับพื้นที่ทั้งหมด ประเทศเพื่อนบ้านของออสเตรเลียประกอบด้วย อินโดนีเซีย ปาปัวนิวกินีและติมอร์-เลสเตทางเหนือ หมู่เกาะโซโลมอน วานูอาตู และนิวแคลิโดเนียทางตะวันออกเฉียงเหนือ และนิวซีแลนด์ทางตะวันออกเฉียงใต้ เป็นเวลาอย่างน้อย 40,000 ปี ก่อนที่จะตั้งถิ่นฐานครั้งแรกของอังกฤษในศตวรรษที่ 18,Davison, Hirst and Macintyre, pp.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศออสเตรเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศตองกาใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศไอซ์แลนด์ใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2470

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2470 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศไทยใน พ.ศ. 2470 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทศไทยใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทือง คำประกอบ

นายประเทือง คำประกอบ เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในรัฐบาลหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช และเป็นอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลนายชวน หลีกภัย และเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ 8 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และประเทือง คำประกอบ · ดูเพิ่มเติม »

ปรากฏการณ์คอมป์ตัน

ปรากฏการณ์คอมป์ตัน หรือ การกระเจิงคอมป์ตัน (Compton scattering) เป็นการลดพลังงาน หรือการเพิ่มความยาวคลื่นของโฟตอนของรังสีเอ็กซ์ หรือรังสีแกมมา เมื่อทำอันตกิริยากับสสาร ส่วนปรากฏการณ์ย้อนกลับ (Inverse Compton scattering) สามารถเกิดขึ้นได้เช่นกันเมื่อโฟตอนได้รับพลังงานหรือการลดลงของความยาวคลื่นนั่นเอง โดยเรียกความยาวคลื่นที่เพิ่มขึ้นในปรากฏการณ์คอมพ์ตันนี้ว่า Compton shift ถึงแม้ว่าปรากฏการณ์นี้สามารถเกิดขึ้นได้กับนิวเคลียสก็ตาม ปรากฏการณ์คอมพ์ตันนี้ยังคงเกี่ยวข้องกับอิเล็กตรอนในอะตอม ปรากฏการณ์คอมพ์ตันเกิดจากการสังเกตโดย Arthur Holly Compton ในปี ค.ศ. 1923 และได้มีการปรับปรุงเพิ่มเติมโดยลูกศิษย์ของเขา Y.H. Woo ในปีต่อมา ซึ่งต่อมา Arthur Compton ก็ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ จากการค้นพบปรากฏการณ์นี้ในปี ค.ศ. 1927.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และปรากฏการณ์คอมป์ตัน · ดูเพิ่มเติม »

ปรีดี เกษมทรัพย์

ตราจารย์ ปรีดี เกษมทรัพย์ นักกฎหมายผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายแพ่ง และนิติปรัชญา อดีตสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีตผู้ก่อตั้งและอดีตอธิการวิทยสถานแห่งวัฒนธรรมตะวันออก อดีตรองประธานสหพันธ์คีตาอาศรมแห่งโลก และอดีตประธานคีตาอาศรมแห่งประเทศไทย ท่านอาจารย์ปรีดีถือว่าเป็นปรมาจารย์ในแวดวงนิติศาสตร์ เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีกฎหมายสามชั้น และผู้ริเริ่มให้บรรยายวิชากฎหมายแพ่ง นิติปรัชญา ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย และหลักวิชาชีพนักกฎหมาย ขึ้นในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นแห่งแรกของประเทศ ปัจจุบันท่านเป็นประธานกิติมศักดิ์มูลนิธิปรีดี เกษมทรัพย์ ที่ลูกศิษย์ลูกหาร่วมกันจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นมูลนิธิเพื่อให้การสนับสนุนด้านวิชานิติศาตร์ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และปรีดี เกษมทรัพย์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาแมนดาริน

ปลาแมนดาริน (Mandarinfish, Mandarin dragonet, Common mandarin, Striped mandarin, Striped dragonet, Mandarin goby) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Synchiropus splendidus อยู่ในวงศ์ปลามังกรน้อย (Callionymidae) ซึ่งเป็นปลาทะเลขนาดเล็กที่มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) แต่มิได้อยู่ในวงศ์ปลาบู่ ปลาแมนดาริน เหตุที่ได้ชื่อนี้ก็เพราะด้วยลำตัวของที่แลดูเรียบลื่น เต็มไปด้วยเส้นสายสีเขียวทาบทับกันไปมาบนพื้นลำตัวสีส้มเป็นมัน เหมือนกับลายผ้าไหมหรือแพรชั้นดี จนดูละม้ายคล้ายคลึงกับชุดขุนนางจีนโบราณ ขณะที่ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นก็สอดคล้องเช่นกัน โดยคำว่า "Syn" มาจากภาษากรีกโบราณหมายถึง มี และ "chiropus" มีความหมายถึง มีมือเป็นเท้า เพราะปลาชนิดนี้จะใช้ครีบท้องที่มีขนาดใหญ่คืบคลานไปมาตามท้องทะเลเพื่อหาอาหารได้แก่ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กต่าง ๆ ตามพื้นทราย มากกว่าจะว่ายน้ำ และใช้ครีบหูที่ใสกระพือไปมาอยู่ตลอดเวลา ขณะที่ครีบหางใช้เสมือนหางเสือบังคับทิศทาง และ "spendidus" ที่เป็นชื่อชนิดนั้น มีความหมายว่า สีสันสดใสสวยงาม ตลอดทั้งลำตัวนั้น จะมีสีต่าง ๆ ทั้งหลายหลากสีมาก เช่น สีฟ้า, สีเขียว, สีส้ม และสีเหลือง ซึ่งเป็นสีสะท้อนแสงคล้ายกับแสงหลอดนีออน สีเหล่านี้จะปรากฏให้เห็นชัดเป็นจุดและลวดลายต่าง ๆ โค้งไปมา เป็นปลาที่พบกระจายพันธุ์ค่อนข้างกว้าง โดยพบได้ตั้งแต่ตอนใต้ของหมู่เกาะริวกิว ในประเทศญี่ปุ่น จนถึงทะเลฟิลิปปิน, ประเทศอินโดนีเซีย, หมู่เกาะไมโครนีเซีย, นิวแคลิโดเนีย จนถึงออสเตรเลีย แต่ไม่พบในน่านน้ำไทย พบอาศัยในกระแสน้ำไม่แรงนักตามกองหินและแนวปะการัง ออกหากินในเวลากลางคืน เริ่มตั้งแต่พลบค่ำ ขณะที่กลางวันจะนอนพักผ่อน มีขนาดความยาวเต็มที่ไม่เกิน 8 เซนติเมตร แต่โดยเฉลี่ยแล้วมีขนาดเล็กกว่านี้ถึงครึ่งหนึ่ง โดยสีต่าง ๆ เหล่านี้สามารถปรับให้เข้มหรืออ่อนได้ตามสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ ในปลาตัวผู้สีจะเข้มขึ้นเมื่อต่อสู้กันหรืออยู่ในช่วงผสมพันธุ์ ปลาตัวผู้และตัวเมียมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด โดย ตัวผู้จะมีครีบหลังเป็นกระโดงยาวยืดออกมา ขณะที่ตัวเมียไม่มี และตัวผู้มีส่วนหัวที่ใหญ่กว่า ปลาแมนดารินมีอุปนิสัยก้าวร้าวพอสมควร โดยเฉพาะกับปลาชนิดเดียวกัน โดยเฉพาะตัวผู้จะมีอาณาเขตที่ชัดเจน หากพบผู้บุกรุกจะกางครีบต่าง ๆ และเบ่งสีเพื่อข่มขู่ อีกทั้งยังถือเป็นปลาที่มีพิษชนิดหนึ่ง เพราะเมือกที่ปกคลุมลำตัวนั้นมีพิษ ใช้กันสำหรับเมื่อตกเป็นอาหารของสัตว์น้ำหรือปลาที่มีขนาดใหญ่กว่า พฤติกรรมเมื่อผสมพันธุ์ จะสวยงามมาก เมื่อตัวผู้เป็นฝ่ายว่ายไปรอบ ๆ ตัวเมียเพื่อเกี้ยวพาจนแลดูเหมือนกับการเต้นรำ ซึ่งถือว่าเป็นปลาที่ปล่อยไข่ให้ลอยไปตามกระแสน้ำ ก่อนที่ตัวผู้จะปล่อยน้ำเชื้อเข้าไปผสม ความที่เป็นปลาที่มีความสวยงามมาก จึงนิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามที่ได้รับความนิยมกันมาอย่างยาวนาน แต่ปลาที่มีการซื้อขายกันนั้นเป็นปลาที่ถูกจับมาจากแหล่งธรรมชาติ คือ ทะเลเท่านั้น โดยชาวประมงในบางพื้นที่เช่น ฟิลิปปินส์ จะใช้เครื่องมือจับที่ทำจากวัสดุง่าย ๆ เช่น ไม้หรือไผ่ ตัดให้คล้ายกับปืน ซึ่งตอนปลายพันด้วยเหล็กแหลมคล้ายฉมวกหรือหอก ใช้สำหรับเล็งปลาเป็นตัว ๆ ไปตามแนวปะการัง ซึ่งปลาตัวที่ถูกแทงจะได้รับบาดแผลหรือหางเป็นรู แต่สำหรับปลาแมนดารินแล้วเมื่อได้รับการพักฟื้นในสถานที่เลี้ยงไม่นาน แผลดังกล่าวก็จะหายเป็นปกติภายในเวลาไม่กี่วัน ปัจจุบัน ถือเป็นปลาที่สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง สำหรับในประเทศไทยเพิ่งเพาะได้สำเร็จเป็นครั้งแรกเมื่อกลางปี พ.ศ. 2552 โดย สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี โดยตัวผู้หนึ่งตัวสามารถผสมกับตัวเมียได้ 2-3 ตัว ปลาจะทำการจับคู่กันในเวลาพลบค่ำ และวางไข่ ถือเป็นระยะเวลาที่สั้นมาก เมื่อไข่ถูกปล่อยออกมาแล้วจะลอยขึ้นสู่ผิวน้ำ ก่อนจะนำไปอนุบาลต่อไป ซึ่งลูกปลาใช้เวลาในการฟักเป็นตัวเร็วมาก คือ ใช้เวลาไม่เกิน 14 ชั่วโมง ในอุณหภูมิน้ำราว 28 เซลเซียส เมื่อฟักออกเป็นตัวนั้น ลูกปลาจะใช้ส่วนหัวดันออกมาก่อนก่อนใช้หางดันกับผนังเปลือกไข่ จนกว่าจะหลุดออกมาได้สำเร็จ โดยแรกเกิดมีขนาดความยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตรเท่านั้น และมีขนาดของถุงไข่แดงเป็นครึ่งหนึ่งของขนาดลำตัว ขณะที่อวัยวะภายในและครีบต่าง ๆ ยังพัฒนาการไม่สมบูรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และปลาแมนดาริน · ดูเพิ่มเติม »

ปาเลสไตน์ในอาณัติ

ปาเลสไตน์ในอาณัติ (Mandatory Palestine; فلسطين; פָּלֶשְׂתִּינָה (א"י), where "EY" indicates "Eretz Yisrael") เป็นหน่วยภูมิรัฐศาสตร์ ภายใต้การดูแลของสหราชอาณาจักร ในส่วนที่เป็นเขต จักรวรรดิออตโตมัน และ ซีเรียตอนใต้ ภายหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว่าง พ.ศ. 2463 จนถึง พ.ศ. 2491.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และปาเลสไตน์ในอาณัติ · ดูเพิ่มเติม »

นารถ โพธิประสาท

อาจารย์นารถ โพธิประสาท ภาพวาดโดยอาจารย์แสงอรุณ รัตกสิกร ตำราสถาปัตยกรรมภาษาไทยเล่มแรกแต่งโดยอาจารย์ นารถ โพธิประสาท พ.ศ. 2487 ภาพวาดอาจารย์นารถ โพธิประสาทในบั้นปลายชีวิต-ไม่ทราบชื่อผู้วาด อาจารย์นารถ โพธิประสาท (เกิด 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2497) เป็นสถาปนิก อาจารย์ชาวไทย เขาคือผู้ก่อตั้งสถาบันการศึกษาด้านสถาปัตยกรรม ระดับปริญญาแห่งแรกของประเทศไทย ที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและผู้ร่วมสถาปนาวิชาชีพสถาปัตยกรรมของประเทศ นารถยังเป็นผู้แต่งหนังสือ สถาปัตยกรรมในประเทศไทย ซึ่งถือเป็นหนังสือที่รวบรวมข้อมูล ลักษณะ ที่มาที่ไป ข้อมูลรังวัดของสถาปัตยกรรมไทยตั้งแต่อดีตจนถึงยุครัตนโกสินทร์ เป็นเล่มแรกๆ และถือเป็นหนังสือเรียนเล่มแรกของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และนารถ โพธิประสาท · ดูเพิ่มเติม »

นาซลี ศ็อบรี

มเด็จพระราชินีนาซลี (الملكة نازلي; พระราชสมภพ: 25 มิถุนายน พ.ศ. 2437 – สวรรคต: 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2521) มีพระนามแต่แรกประสูติว่า นาซลี ศ็อบรี (نزلي صبري / نازلى صبرى‎ Nāzlī Ṣabrī; Nazlı Sabri) และหลังเข้ารีตคริสตังพระองค์มีพระนามทางศาสนาว่า แมรี อีลิซาเบท (Mary Elizabeth) เป็นพระราชินีและพระชายาพระองค์ที่สองในพระเจ้าฟูอัดที่ 1 แห่งอียิปต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และนาซลี ศ็อบรี · ดูเพิ่มเติม »

นิวัตต์ ดารานันทน์

ตราจารย์ นิวัตต์ ดารานันทน์ (7 กันยายน 2470 - 11 มิถุนายน 2554) อดีตกรรมการบริหารผู้ทรงคุณวุฒิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน อดีตหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลงานสำคัญคือ เป็นกรรมการบริหาร และกรรมการบริหาร โครงการธนาคาสมองของสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีน.ดร.นิวัตต์ ดารานันทน์ เป็นอาจารย์ผู้สอน นิสิต และนักศึกษา วิศวกรรม ทั้งปริญญาตรี โท และเอก ทั้งชาวไทยและชาวเอเชีย อื่น ๆ นับเป็นปูชนียบุคคลที่สำคัญของชาวไทย ซึ่งประสิทธิประสาทวิชาการ แก่วิศวกร เพื่อให้เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และนิวัตต์ ดารานันทน์ · ดูเพิ่มเติม »

นีโครโนมิคอน

นีโครโนมิคอนจำลอง นีโครโนมิคอน (อักษรละติน: Necronomicon)เป็นตำราเวทย์สมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์และถูกหยิบยืมไปอ้างถึงโดยนักประพันธ์อื่นๆ โดยปรากฏครั้งแรกในเรื่องสั้น The Hound ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2467 แต่หนึ่งปีก่อนหน้านั้น เลิฟคราฟท์ก็ได้อ้างคำพูดของตัวละคร อับดุล อัลฮาเซรด ซึ่งเป็นผู้แต่งนีโครโนมิคอนไว้แล้วในเรื่อง The Nameless City เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้นั้นมีเรื่องราวของเกรทโอลด์วันและพิธีกรรมที่ใช้อัญเชิญอยู่ด้วย นักประพันธ์คนอื่นๆ เช่นออกัสต์ เดอเลธและคลาก แอชตัน สมิทได้ยืมเอานีโครโนมิคอนไปอ้างถึงในงานเขียนของตนเอง โดยได้รับการสนับสนุนจากเลิฟคราฟท์ซึ่งคิดว่าการยกมาใช้ร่วมกันนี้จะทำให้บรรยากาศของเรื่องสมจริงยิ่งขึ้น ทำให้มีผู้อ่านจำนวนมากเข้าใจผิดว่าหนังสือเล่มนี้มีจริง มีการสั่งซื้อหรือขอนีโครโนมิคอนผ่านทางผู้ขายหนังสือและบรรณารักษ์เป็นจำนวนมาก บางครั้งก็มีการแกล้งใส่ชื่อนีโครโนมิคอนไว้ในรายการหนังสือหายาก และเคยมีนักศึกษาแอบใส่บัตรของนีโครโนมิคอนไว้ในบัตรห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเยล หลังจากที่เลิฟคราฟท์เสียชีวิตไปแล้ว สำนักพิมพ์ต่างๆก็ได้ตีพิมพ์หนังสือโดยใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอนเป็นจำนวนมาก หนังสือรวมงานศิลป์เล่มแรกของเอช อาร์ กีเกอร์ก็ใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และนีโครโนมิคอน · ดูเพิ่มเติม »

นโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวี

นโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวี (พ.ศ. 2419 - พ.ศ. 2455) เป็นสมเด็จพระราชินีแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา เป็นพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ อภิเษกสมรสในปี พ.ศ. 2438 พระองค์เสด็จพระราชสมภพเมื่อ พ.ศ. 2419 หลังจากอภิเษกสมรสกับพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ พระองค์ก็มีพระโอรสธิดา 7 พระองค์ หนึ่งในนั้นคือสมเด็จพระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์ กุสุมะ นารีรัตน์ สิริวัฒนาซึ่งต่อมาในภายหน้าทรงเป็นพระมารดาในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ นโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวีเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2455.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และนโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวี · ดูเพิ่มเติม »

แพตตี เพจ

ลารา แอน ฟาวเลอร์ (Clara Ann Fowler) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ แพตตี เพจ (Patti Page) เกิดเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1927 เสียชีวิตวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2013 เป็นนักร้องชาวอเมริกัน เป็นศิลปินหญิงในแนวเทรดิชันนอลป็อปที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคนหนึ่ง เธอเป็นศิลปินหญิงที่มียอดขายมากที่สุดในคริสต์ทศวรรษ 1950 มียอดขายมากกว่า 100 ล้านชุด เพจเซ็นสัญญากับค่ายเมอร์คิวรีเรเคิดส์ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และแพตตี เพจ · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก

้าหญิงโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งเบลเยียม (Princess Joséphine-Charlotte of Belgium พระนามเต็ม โจเซฟีน-ชาร์ล็อต อินเกบอร์ก เอลิซาเบธ มารี-โจเซ มาร์เกอริต แอสตริด; 11 ตุลาคม พ.ศ. 2470 - 10 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นพระราชธิดาพระองค์ใหญ่และองค์เดียวในสมเด็จพระเจ้าเลโอโปลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม และ เจ้าหญิงอัสตริดแห่งสวีเดน นอกจากนี้พระองค์ยังได้เป็นพระชายาในแกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก และพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเบลเยียมทั้งสองพระองค์คือ สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวง และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 อีกด้วย ในฝ่ายพระราชชนนี เจ้าหญิงเป็นพระญาติใกล้ชิดกับสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน พระภคินีของพระราชชนนี สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน ซึ่งเป็นพระโอรสในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุกแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และ สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธที่ 2 แห่งเดนมาร์ก พระธิดาในเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระญาติชั้นที่สองในพระราชวงศ์สวีเดนตามลำดั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และแกรนด์ดัชเชสโฌเซฟีน-ชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แก๊สเรือนกระจก

ice core) ล่าง: ปริมาณสุทธิของคาร์บอนที่เพิ่มในบรรยากาศเปรียบเทียบกับคาร์บอนที่ปลดปล่อยจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (fossil fuel) แก๊สเรือนกระจก (greenhouse gas) หรือบางครั้งเรียกย่อๆว่า GHG คือแก๊สในบรรยากาศที่ดูดซับและปลดปล่อยรังสีภายในช่วงความถี่(คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า)อินฟราเรดร้อน (thermal infrared range) ทำให้เกิดการสูญเสียความร้อนบางส่วนออกสู่ห้วงอวกาศภายนอกและปลดปล่อยความร้อนกลับสู่พื้นผิวโลก ขบวนการนี้จึงเป็นสาเหตุพื้นฐานของปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse effect) แก๊สเรือนกระจกมีความจำเป็นและมีความสำคัญต่อการรักษาระดับอุณหภูมิของโลก หากปราศจากแก๊สเรือนกระจก โลกจะหนาวเย็นจนสิ่งมีชีวิตอยู่อาศัยไม่ได้ อุณหภูมิในโลกจะต่ำกว่าปัจจุบันที่ 14 °C (57 °F) ลงอีก 33 °C (59 °F) แต่การมีแก๊สเรือนกระจกมากเกินไปก็เป็นเหตุให้อุณหภูมิสูงขึ้นถึงระดับเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตดังที่เป็นอยู่กับบรรยากาศของดาวศุกร์ซึ่งมีบรรยากาศที่ประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์มากถึงร้อยละ 96.5 มีผลให้อุณหภูมิผิวพื้นร้อนมากถึง 467 °C (872 °F) คำว่า “แก๊สเรือนกระจก” บนโลกหมายถึงแก๊สต่างๆ เรียงตามลำดับความอุดมคือ ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ โอโซน และ คลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon) แก๊สเรือนกระจกเกิดเองตามธรรมชาติและจากกระบวนการอุตสาหกรรมซึ่งปัจจุบันทำให้ระดับคาร์บอนไดออกไซด์มีในบรรยากาศ 380 ppmv และที่ปรากฏในแกนน้ำแข็งตัวอย่าง (ดูแผนภูมิ) จะเห็นว่าระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศปัจจุบันสูงกว่าระดับเมื่อก่อนยุคอุตสาหกรรมประมาณ 100 ppmv.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และแก๊สเรือนกระจก · ดูเพิ่มเติม »

แม่นากพระโขนง

ลแม่นากพระโขนง ในวัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในเขตสวนหลวงมิใช่เขตพระโขนง แม่นากโขนง หรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า แม่นาก (โดยมากสะกดด้วย ค.ควาย) เป็นผีตายทั้งกลมที่เป็นที่รู้จักกันดีของไทย เชื่อกันว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นจริงในสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ปัจจุบันมีศาลแม่นากตั้งอยู่ที่วัดมหาบุศย์ ซอยสุขุมวิท 77 (ถนนอ่อนนุช) เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และแม่นากพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง

แล้วดวงตะวันก็ฉายแสง (The Sun Also Rises) เป็นนวนิยายเรื่องเอกเรื่องแรกของเออร์เนสต์ เฮมิงเวย์ (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2504) ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม จัดพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2469 มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้อพยพชาวอเมริกันและชาวอังกฤษที่อาศัยอยู่ในทวีปยุโรป ในยุค ค.ศ. 1920 ชื่อเรื่องของหนังสือเล่มนี้ซึ่งตั้งโดยเฮมิงเวย์ตามคำแนะนำของสำนักพิมพ์ นำมาจากพระธรรมปัญญาจารย์ 1:5 ที่มีเนื้อความว่าThe sun also ariseth, and the sun goeth down, and hasteth to his place where he arose. คำแปลพระธรรมปัญญาจารย์ในวิกิซอร์ซ ให้คำแปลของเนื้อความดังกล่าวว่า "ดวงอาทิตย์ขึ้น และดวงอาทิตย์ตก แล้วรีบไปถึงที่ซึ่งขึ้นมานั้น"ซึ่งเป็นคัมภีร์ลำดับที่ 25นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโรมันคาทอลิก หรือ 21นับตามลำดับคัมภีร์ในนิกายโปรเตสแตนต์ของพระคริสตธรรมคัมภีร์ โดยก่อนหน้านี้เฮมิงเวย์ตั้งชื่อให้กับนวนิยายเรื่องนี้ว่า เฟียสตา (Fiesta) ซึ่งชื่อดังกล่าวได้นำไปใช้ในการจัดพิมพ์ในฉบับสหราชอาณาจักร และฉบับภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ภาษาอิตาลี และภาษาสเปนของนวนิยายเรื่องนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และแล้วดวงตะวันก็ฉายแสง · ดูเพิ่มเติม »

แอนดี วิลเลียมส์

วเวิร์ด แอนดรูว์ "แอนดี" วิลเลียมส์ (Howard Andrew "Andy" Williams) เกิดเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 1927เสียชีวิต 25 กันยายน ค.ศ. 2012 เป็นนักร้องเพลงป็อปชาวอเมริกัน แอนดี วิลเลียมส์มียอดขายอัลบั้มได้รับการยืนยันจาก RIAA ในระดับแผ่นเสียงทองคำ 18 แผ่นเสียงทองคำ และ 3 แผ่นเสียงทองคำขาว เมื่อครั้งที่ประธานาธิบดี โรนัลด์ เรแกน ดำรงตำแหน่งอยู่ เขาเอ่ยถึงเสียงร้องของแอนดีว่า "ถือเป็นสมบัติของชาติ" แอนดียังมีรายการโทรทัศน์ของตัวเองที่ได้รับความนิยม จากปี 1962-71 เขายังเป็นเจ้าของโรงละคร มูนริเวอร์ ในแบรนสัน รัฐมิสซูรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และแอนดี วิลเลียมส์ · ดูเพิ่มเติม »

แอโรเพลนเจลลี

แอโรเพลนเจลลี เป็นยี่ห้อเยลลีในออสเตรเลียซึ่งคิดค้นโดยเบิร์ท แอปเปิลรอธ (Bert Appleroth) ในปี พ.ศ. 2548 บริษัทเทรเดอร์ส จำกัด ของแอปเปิลรอธที่เริ่มจากการประกอบธุรกิจหลังบ้าน และต่อมากลายเป็นหนึ่งในธุรกิจครอบครัวผู้ผลิตอาหารรายใหญ่รายหนึ่งของออสเตรเลีย ได้ขายธุรกิจให้กับแม็คคอมิค ฟูดส์ ออสเตรเลีย (McCormick Foods Australia) บริษัทในเครือแม็คคอมิคแอนด์คัมพานี (McCormick & Company) ของสหรัฐอเมริกา แอโรเพลนเจลลีเป็นผู้นำทางการตลาดในธุรกิจเยลลี่ของประเทศออสเตรเลีย โดยมียอดขายมากกว่า 18 ล้านห่อต่อปี มีรสแรสเบอร์รีเป็นรสชาติที่ขายดีที่สุด แอโรเพลนเจลลีได้ออกโฆษณาที่ประสบความสำเร็จ และมีเพลงโฆษณาที่ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมชาวออสเตรเลีย เพลงโฆษณาดังกล่าวเป็นหนึ่งในเพลงโฆษณาที่ออกอากาศยาวนานที่สุดในออมเตรเลีย โดยเฉพาะในทศวรรษที่ 1940 ซึ่งมีการเล่นเพลงโฆษณาผ่านสื่อวิทยุมากกว่า 100 ครั้งต่อวัน เพลงโฆษณาดังกล่าวได้รับการบันทึกไว้ยังหอภาพยนตร์และเสียงของออสเตรเลีย ในหมวดหมู่เสียงแห่งออสเตรเลีย ในปี พ.ศ. 2551.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และแอโรเพลนเจลลี · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เฮสเซอ

แฮร์มันน์ เฮสเซอ right แฮร์มันน์ เฮสเซอ (Hermann Hesse) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1877 — 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นกวี นักเขียน และจิตรกรชาวเยอรมัน-สวิส เกิดที่เมืองคาลฟ์ในประเทศเยอรมนี ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1945 ผลงานที่มีชื่อเสียงคือ สิทธารถะ และ เกมลูกแก้ว เฮสเซอเริ่มสร้างสรรค์งานประพันธ์ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองเมื่อมีอายุได้ 21 ปี จนเมื่อมีอายุได้ 26 ปี จึงเริ่มเป็นที่รู้จักแพร่หลาย นอกจากความสามารถทางด้านการประพันธ์แล้ว เฮสเซอยังมีความสามารถทางจิตรกรรมสีน้ำอีกด้วย เฮสเซอเสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และแฮร์มันน์ เฮสเซอ · ดูเพิ่มเติม »

แจ็ก เดมป์ซีย์

ำหรับนักมวยแห่งศตวรรษที่ 19 ดูที่ แจ็ค "นอนพาเรียล" เดมป์ซีย์ สำหรับปลาหมอสี ดูที่ ปลาหมอแจ็ค เดมป์ซีย์ แจ็ค เดมป์ซีย์ (Jack Dempsey) อดีตนักมวยชาวอเมริกันผู้ยิ่งใหญ่ในทศวรรษที่ 1920 ผู้ที่เป็นเสมือนตำนานแห่งวงการมวยสากลระดับโลก เป็นแชมเปี้ยนโลกรุ่นเฮฟวี่เวทคนที่ 9 ของโลก แจ็ค เดมป์ซีย์ มีชื่อจริงว่า วิลเลี่ยม แฮร์ริสัน เดมป์ซีย์ (William Harrison Dempsey) เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน ค.ศ. 1895 ที่เมืองมานาสซา รัฐโคโลราโด ในครอบครัวนิกายมอร์มอนที่ยากจน เป็นบุตรชายของฮีรูน และซีเลีย เดมป์ซีย์ ที่มีพื้นเพจากรัฐเวสต์เวอร์จิเนีย เดมป์ซีย์ ทำงานครั้งแรกเมื่ออายุได้ 8 ขวบ ในฟาร์มพืชไร่ ใกล้กับเมืองโบทสปริงส์ ต่อมาได้เปลี่ยนมาทำงานในเหมืองแร่และเป็นคาวบอย ซึ่งต้องดิ้นรนเพื่อเอาชีวิตให้รอด เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ เดมป์ซีย์ ก็ยังคงทำงานทั้งสามอย่าง และในช่วงปีนี้เอง ที่ เบอร์นี เดมป์ซีย์ พี่ชายคนโตได้รับเงินพิเศษเป็นนักมวยสมัครเล่นในบ่อนการพนันของเมืองร็อกกี้ เมาเท่น ซึ่งเบอร์นีนี่เองที่เป็นผู้สอนเดมป์ซีย์ให้เคี้ยวหมากฝรั่งเพื่อสร้างความแข็งแกร่งของกราม และสร้างความทนทานให้กับผิวหน้าด้วยการแช่น้ำเกลือ ในวัยเด็กนั้น เดมป์ซีย์ทำงานหนักแทบทุกอย่าง และก้าวเข้าสู่ความเป็นนักมวยอาชีพเมื่ออายุได้ 17 ปี ในช่วงปี ค.ศ. 1911-ค.ศ. 1916 เดมป์ซีย์ได้ย้ายไปมาระหว่างเหมืองต่อเหมือง การชกครั้งแรกของเดมป์ซีย์ เกิดขึ้นที่ท้องถิ่นเป็นผู้จัด ที่เมืองซอลต์เลกซิตี ในฉายา "คิด แบล็คกี้" ซึ่งเดมป์ซีย์สามารถที่จะชนะน็อก ฮาร์ดี ดาวนีย์ ภายในหมัดเดียวที่เรียกว่า "หมัดแฮนด์ค็อก" ซึ่งก่อนชก ดาวนีย์ได้ยั่วเดมป์ซีย์ให้โมโห ก่อนที่จะยอมจ่ายเงินค่าเดิมพันให้เมื่อแพ้ โดยที่ชื่อ แจ็ค เดมป์ซีย์ นั้น เบอร์นีย์ ผู้เป็นพี่ชายเป็นผู้ตั้งให้จาก แจ็ค "นอนพาเรียล" เดมป์ซีย์ นักมวยที่มีชื่อเสียงอีกคนแห่งศตวรรษที่ 19 ในปี ค.ศ. 1917 เดมป์ซีย์ได้กลายมาเป็นนักมวยที่มีชื่อเสียงแถบซานฟรานซิสโกและชายฝั่งทะเลตะวันออก เดมป์ซีย์ ได้แชมป์โลกรุ่นเฮฟวี่เวทจากเอาชนะน็อก เจสส์ วิลลาร์ด ในยกที่ 3 ในงานฉลองวันชาติอเมริกา วันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1919 ทั้ง ๆ ที่เดมป์ซีย์มีส่วนสูงเตี้ยและช่วงชกทุกอย่างเสียเปรียบวิลลาร์ด ซึ่งการชกครั้งนี้ ภายหลังในปี ค.ศ. 1964 ได้กลายเป็นกรณีขึ้นเมื่อ แจ็ค คลีนส์ อดีตผู้จัดการของเดมป์ซีย์ได้เปิดเผยว่า เป็นผู้ให้เดมป์ซีย์ใช้ปูนพลาสเตอร์เคลือบกับผ้าพันมือ เพราะหน้าตาของวิลลาร์ดหลังการชกนั้นเต็มไปด้วยริ้วรอย เหมือนกับถูกกระทบจากวัตถุแข็งและสาก แต่จากการตรวจสอบด้วยภาพยนตร์การชกแล้ว เชื่อว่าไม่น่าจะเป็นไปได้ว่าจะมีเรื่องดังกล่าวเกิดขึ้นจริง ต่อมา เดมป์ซีย์สามารถป้องกันตำแหน่งได้ถึง 5 ครั้ง ภายในระยะเวลา 6 ปีที่เป็นแชมป์อยู่ แม้ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เดมป์ซีย์ไม่ยอมเกณฑ์เป็นทหารไปรบ ทำให้เสื่อมศรัทธาจากมหาชนไปช่วงนึง แต่กระนั้น การชกของเดมป์ซีย์ก็ยังถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นการจัดชกมวยสากลชิงแชมป์โลกอย่างในปัจจุบัน คือ การชกกับ จอร์จ ฌาปองติเยร์ นักมวยชาวฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1921 ซึ่งสามารถเก็บเงินค่าเข้าชมได้มากถึง 1,000,000 ดอลลาร์สหรัฐ ได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ จากการจัดของ จอร์จ ลูอิส ริคคาร์ด โปรโมเตอร์ชื่อดัง นอกจากนั้นแล้ว การชกครั้งนี้ยังเป็นที่มาของการก่อตั้ง สมาคมมวยแห่งสหรัฐอเมริกา (NBA) ขึ้นมา จากผลประโยชน์จำนวนมหาศาล ซึ่งต่อมาสถาบันแห่งนี้ก็ได้กลายมาเป็น สมาคมมวยโลก (WBA) อย่างในปัจจุบัน เดมป์ซีย์ ได้เสียแชมป์เมื่อเป็นฝ่ายแพ้ให้กับ จีน ทันนีย์ ในปี ค.ศ. 1926 ซึ่งต่อมาในปี ค.ศ. 1927 ทั้งคู่ก้ได้พบกันอีกครั้งในนัดล้างตา แต่ก็เป็นทันนีย์ที่เป็นฝ่ายเอาชนะไปได้อีกครั้ง แต่การชกครั้งนั้นมียอดผู้ชมมากกว่า 100,000 คน และเก็บค่าเข้าชมได้ถึง 2,658,660 ล้านดอลลาร์สหรัฐ แจ็ค เดมป์ซีย์ ได้ถูกบรรจุชื่อลงในหอเกียรติยศ เมื่อปี ค.ศ. 1951 ชีวิตส่วนตัว เดมป์ซีย์สมรสกับภรรยา 3 คน มีบุตรทั้งหมด 3 คน แจ็ค เดมป์ซีย์ ได้ชื่อว่าเป็นนักมวยที่มีหมัดหนัก มีความทนทรหด สามารถที่จะเอาชนะน็อกคู่ต่อสู้ได้ด้วยหมัดเดียวซึ่งเป็นหมัดเหวี่ยง แม้จะมีรูปร่างที่เล็กกว่านักมวยเฮฟวี่เวททั่วไป คือ มีความสูงเพียง 6 ฟุต 1 นิ้ว น้ำหนักเพียง 187 ปอนด์ จนได้รับฉายาว่า "จอมลุยแห่งมานาซา" ซึ่งในการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง Fighting Spirit ก็ได้นำหมัดเหวี่ยงของเดมป์ซีย์มาอ้างอิงไว้ในเนื้อเรื่อง ซึ่งเรียกว่า "เดมป์ซีย์โรล" แจ็ค เดมป์ซีย์ เสียชีวิตด้วยอาการหัวใจล้มเหลวเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1983 ที่เมืองนิวยอร์กซิตี สิริอายุได้ 87 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และแจ็ก เดมป์ซีย์ · ดูเพิ่มเติม »

โชคสองชั้น

องชั้น เป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรก ที่สร้างและผลิตโดยคนไทยทั้งหมด เป็นภาพยนตร์เงียบ ถ่ายทำด้วยฟิล์มขาว-ดำขนาด 35 มม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโชคสองชั้น · ดูเพิ่มเติม »

โรงแรมอัลกอนควิน

้านหน้าของโรงแรมอัลกอนควิน ในเวลากลางคืน โรงแรมอัลกอนควิน (อังกฤษ: Algonquin Hotel) เป็นโรงแรมสำคัญในประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่บนถนน 59 เวสต์ ที่ 44 ในแมนฮัตตัน นครนิวยอร์ก รัฐนิวยอร์ก เปิดให้บริการตั้งแต่ปี ค.ศ. 1902 (พ.ศ. 2445) มีจำนวนห้องทั้งสิ้น 174 ห้อง ตัวโรงแรมได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหลักเขตทางประวัติศาสต์ของนครนิวยอร์ก โรงแรมแห่งนี้ประกอบด้วยประเพณีเฉพาะมากมาย ที่คิดขึ้นมาโดย แฟรงก์ เคส เจ้าของและผู้จัดการโรงแรมคนแรก โดยประเพณีที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือ โต๊ะกลมอัลกอนควิน (Algonquin Round Table) ซึ่งเป็นประเพณีที่ผู้มีชื่อเสียงในวงการวรรณกรรม การละคร และภาพยนตร์ ต่าง ๆ มารวมกลุ่มเพื่อพบปะสังสรรค์กัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงแรมอัลกอนควิน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบ้านโป่งแดง

รงเรียนบ้านโป่งแดง (อักษรย่อ ป.ด.) ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 บ้านโป่งแดงใหม่ ตำบลทรายขาว อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เป็นโรงเรียนรัฐบาลที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ปัจจุบันมีการเรียนการสอนในระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงเรียนบ้านโป่งแดง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพัทลุง จังหวัดพัทลุง

รงเรียนพัทลุง จังหวัดพัทลุง (อักษรย่อ พ.ท., P.T.) เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ 270 ถนนราเมศวร์ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง 93000 ผู้อำนวยการโรงเรียนพัทลุงคนปัจจุบันคือ นายสาวิทย์ บุญประเสร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงเรียนพัทลุง จังหวัดพัทลุง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์

รงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ (อังกฤษ: Kalasinpittayasan School) (อักษรย่อ: ก.พ.ส,K.P.S.) เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของจังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งแต่เดิมเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันจัดอยู่ในประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ รูปแบบสหศึกษา ทำการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนมัญจาศึกษา

รงเรียนมัญจาศึกษา (อังกฤษ: Mancha Suksa School) (อักษรย่อ: ม.ศ.,M.C.) เป็นสถานศึกษาแห่งแรกของจังหวัดขอนแก่นที่ผ่านการประเมินโรงเรียนต้นแบบ โรงเรียนในฝัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงเรียนมัญจาศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

กด้านบนบริเวณ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย 15 มีนาคม 2489 ภาพถ่ายจากด้านบนบริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ในสมัยก่อน ซึ่งน่าจะถ่ายก่อน ปี 2515 บริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย พ.ศ. 2552 (มุมสูง) บริเวณด้านหน้าตึก 1 และเป็นบริเวณเข้าแถว เสาธงต้นใหม ป็นเสาธงของสถานศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย(อักษรย่อ: ร.ส., R.S.)เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนชายล้วน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งอยู่เลขที่ 1753 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชินี

รงเรียนราชินี เป็นโรงเรียนเก่าแก่แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่เลขที่ 444 ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ผู้ทรงให้กำเนิดโรงเรียนคือ สมเด็จพระศรีพัชรินทรา พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2447 ณ ตึกแถวมุมถนนอัษฎางค์และถนนจักรเพชร ต่อมาได้ย้ายไปอยู่ตึกริมแม่น้ำเจ้าพระยาใกล้ปากคลองตลาด และมีการเปิดรับนักเรียนกินนอนขึ้นใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงเรียนราชินี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดบวรนิเวศ

รงเรียนวัดบวรนิเวศ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาทั้งตอนต้นและตอนปลายเป็นโรงเรียนชายล้วน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนี้ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2436 ตามพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เพื่อจัดการศึกษาเล่าเรียนแก่พระภิกษุสามเณรในคณะธรรมยุติกนิกาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2442 การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนวัดบวรนิเวศได้ก็กลายเป็นต้นแบบของการจัดการศึกษาในโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ ตามพระราชประสงค์ที่จะขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โรงเรียนแห่งนี้ในปัจจุบันมีองค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเป็นองค์อุปถัม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงเรียนวัดบวรนิเวศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน

ก่อนชื่อพระราชทาน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนปทุมวิไล

รงเรียนปทุมวิไล เป็นโรงเรียนรัฐบาลในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (ปทุมธานี สระบุรี) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1) ประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายแบบสหศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 63/4 ถนนปทุมสัมพันธ์ ตำบลบางปรอก อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงเรียนปทุมวิไล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเผยอิง

รงเรียนเผยอิง (จีน: 培英学校; อังกฤษ: Pei-ing School) เป็นโรงเรียนเอกชนสอนภาษาจีน ที่ดำเนินงานโดย สมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย มีปรัชญาว่า "รักชาติ เพียรศึกษา ซื่อสัตย์ มีคุณธรรม", คติพจน์คือ "ความเพียรพยายาม นำไปสู่ความสำเร็จ" และคำขวัญว่า "เรียนดี กีฬาเด่น เน้นคุณธรรม" จากเว็บไซต์โรงเรียนฯ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) มีคณะผู้บริหารประกอบด้วย ดร.ไกรสร จันศิริ นายกสมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการโรงเรียน, นางสาวนงลักษณ์ เดชดำเกิงชัย ผู้อำนวยการโรงเรียน และ นางจินตนา โรจน์ขจรนภาลัย นายกสมาคมศิษย์เก่าเผยอิง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงเรียนเผยอิง · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเทศบาล 4 (บ้านเชียงราย)

รงเรียนเทศบาล 4 (บ้านเชียงราย) เป็นโรงเรียนตั้งอยู่ที่จังหวัดลำปาง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรงเรียนเทศบาล 4 (บ้านเชียงราย) · ดูเพิ่มเติม »

โรซาลีนน์ คาร์เตอร์

อเลนอร์ โรซาลีนน์ สมิธ คาร์เตอร์ (เกิดเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2470) เป็นภรรยาของประธานาธิบดีคนที่ 39 แห่งสหรัฐอเมริกา คือ ประธานาธิบดีจิมมี คาร์เตอร์ (เกิด 1 ตุลาคม พ.ศ. 2467) และเป็นสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งแห่งสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรซาลีนน์ คาร์เตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โรเจอร์ มัวร์

รเจอร์ มัวร์ ในบท เจมส์ บอนด์ ในภาพยนตร์บอนด์เรื่อง Mianly Millicent ออกฉายในค.ศ. 1964 โรเจอร์ มัวร์ กับ โทนี่ เคอร์ติส ในซีรีส์ The Persuaders! ในค.ศ. 1971 ถึง ค.ศ. 1972 A View to a Kill (ค.ศ. 1985) ภาพ โรเจอร์ มัวร์ ถ่ายเมื่อ ค.ศ. 2007 ภาพ โรเจอร์ มัวร์ ถ่ายเมื่อ ค.ศ. 2009 ภาพ โรเจอร์ มัวร์ ถ่ายเมื่อ ค.ศ. 2010 เซอร์โรเจอร์ จอร์จ มัวร์ (Roger George Moore; 14 ตุลาคม ค.ศ. 1927 – 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2017) เกิดเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโรเจอร์ มัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

โอแคนาดา

อแคนาดา หรือ โอกานาดา เป็นเพลงชาติของประเทศแคนาดา ประพันธ์ทำนองโดย กาลิซา ลาวาลเล (Calixa Lavallée) เมื่อ ค.ศ. 1880 เพื่อใช้เป็นเพลงปลุกใจสำหรับการเฉลิมฉลองวันแซงต์-ฌ็อง-บาปตีสต์ในปีนั้น (Saint-Jean-Baptiste Day) เนื้อร้องเดิมแต่งเป็นภาษาฝรั่งเศสโดย เซอร์อดอล์ฟ บาซีล รูทิเอร์ (Sir Adolphe Basile Routhier) เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโอแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

โทรคมนาคม

ผลงานเลียนแบบโทรศัพท์ต้นแบบของอเล็กซานเดอร์ แกรฮ์ม เบลล์ ที่พิพิธภัณฑ์ Musée des Arts et Métiers ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส สายอากาศการสื่อสารดาวเทียมแบบ parabolic ที่สถานีขนาดใหญ่ที่สุดใน Raisting, Bavaria, Germany โทรคมนาคม (Telecommunication) หมายถึงการสื่อสารระยะไกล โดยใช้เทคโนโลยีต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านทางสัญญาณไฟฟ้า หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เนื่องจากเทคโนโลยีที่แตกต่างกันจำนวนมากที่เกี่ยวข้องกับคำนี้ จึงมักใช้ในรูปพหูพจน์ เช่น Telecommunications เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมในช่วงต้นประกอบด้วยสัญญาณภาพ เช่น ไฟสัญญาณ, สัญญาณควัน, โทรเลข, สัญญาณธงและ เครื่องส่งสัญญาณด้วยกระจกสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ ตัวอย่างอื่นๆของการสื่อสารโทรคมนาคมก่อนช่วงที่ทันสมัยได่แก่ข้อความเสียงเช่นกลอง, แตรและนกหวีด เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคมด้วยไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้าได้แก่โทรเลข, โทรศัพท์และ โทรพิมพ์, เครือข่าย, วิทยุ, เครื่องส่งไมโครเวฟ, ใยแก้วนำแสง, ดาวเทียมสื่อสารและอินเทอร์เน็ต การปฏิวัติ ในการสื่อสารโทรคมนาคมไร้สายเริ่มต้นขึ้นในปี 190X กับการเป็นผู้บุกเบิกพัฒนาใน การสื่อสารทางวิทยุโดย Guglielmo มาร์โคนี ที่ได้รับรางวัลโนเบลในสาขาฟิสิกส์ในปี 1909 สำหรับความพยายามของเขา นักประดิษฐ์ผู้บุกเบิกและนักพัฒนาอื่นๆที่น่าทึ่งมากๆในด้านการ สื่อสารโทรคมนาคมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์รวมถึง ชาร์ลส์ วีทสโตน และ ซามูเอล มอร์ส (โทรเลข), Alexander Graham Bell (โทรศัพท์), เอ็ดวิน อาร์มสตรอง และลี เดอ ฟอเรสท์ (วิทยุ) เช่นเดียวกับที่ จอห์น โลจี แบร์ด และ Philo Farnsworth (โทรทัศน์) กำลังการผลิตที่มีประสิทธิภาพของโลกในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านทางเครือข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมสองทางเพิ่มขึ้นจาก 281 เพตาไบต์ของข้อมูล (ที่ถูกบีบอัดอย่างดีที่สุด) ในปี 1986 เป็น 471 petabytes ในปี 1993 และ 2.2 (บีบอัดอย่างดีที่สุด) เอ็กซาไบต์ ในปี 2000 และ 65 (บีบอัดอย่างดีที่สุด) exabytes ในปี 2007 นี่คือเทียบเท่าข้อมูลของสองหน้า หนังสือพิมพ์ต่อคนต่อวันในปี 1986 และ หกเต็มหน้าหนังสือพิมพ์ต่อคนต่อวันในปี 2007 ด้วยการเจริญเติบโตขนาดนี้, การสื่อสารโทรคมนาคมมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในเศรษฐกิจโลกและอุตสาหกรรมโทรคมนาคมทั่วโลกประมาณ$ 4.7 ล้านล้านภาคเศรษฐกิจในปี 2012 รายได้จากการให้บริการของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมทั่วโลกถูกประเมินไว้ที่ $1.5 ล้านล้านในปี 2010 สอดคล้องกับ 2.4% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลก (GDP).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโทรคมนาคม · ดูเพิ่มเติม »

โซชีเอตาสปอร์ตีวาลาซีโอ

ซชีเอตาสปอร์ตีวาลัตซีโย (Società Sportiva Lazio) สโมสรลัตซีโยก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1900 ตามชื่อแคว้นลัตซีโยที่ซึ่งเป็นที่ตั้งเมืองหลวงคือกรุงโรมในประเทศอิตาลี สีของทีมลัตซีโยใช้สีฟ้าขาวซึ่งได้แรงบรรดาลใจมาจากธงประเทศกรีซ ทีมฟุตบอลลัตซีโยเป็นทีมขนาดใหญ่ทีมหนึ่งในช่วง 20 ปีที่ผ่านมามีผลงานอยู่ในอันดับบนของตารางมาโดยตลอด สามารถคว้าแชมป์สคูเดตโต้ได้ 2 สมัย คือในฤดูกาลปี 1973-1974 และ ฤดูกาล 1999-2000 สโมสรกีฬาลัตซีโย (Società Sportiva Lazio, S.S. Lazio) เป็นสโมสรกีฬาที่มีทั้งหมด 37 ชนิด โดยกีฬาฟุตบอลเป็นกีฬาที่โดดเด่นที่สุดของสโมสร โดยสัญลักษณ์ที่ใช้คือ นกอินทรีฟ้าขาว ทีมฟุตบอลลัตซีโยเป็นทีมเก่าแก่ทีมแรกของกรุงโรม โดยก่อตั้งก่อนทีมสโมสรฟุตบอลโรมา 27 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และโซชีเอตาสปอร์ตีวาลาซีโอ · ดูเพิ่มเติม »

ไอบีเรียแอร์ไลน์

อบีเรีย แอร์ไลน์ (สเปน: Iberia Líneas Aéreas de España) เป็นสายการบินที่ใหญ่ที่สุดในสเปน มักเรียกสั้น ๆ ว่า ไอบีเรีย ให้บริการหลักอยู่ที่มาดริดและบาร์เซโลนา มีเส้นทางบินไปยัง 105 จุดหมายปลายทาง ใน 40 ประเทศ กรุงมาดริด ภาพ:Airbus A320-211 - Iberia - EC-FLP - LEMD.jpg|เครื่องบินแอร์บัส เอ 320-200 ภาพ:Iberia_A319_EC-HGT_MUC_2008-08-13_01.jpg|เครื่องบินแอร์บัส เอ 320-200 ภาพ:Boeing 757-256 - Iberia - EC-HDU - LEMD.jpg|เครื่องบินโบอิง 757-200 ภาพ:McDonnell Douglas MD-87 (DC-9-87) - Iberia - EC-FFI - LEMD.jpg|เครื่องบินแมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-87.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และไอบีเรียแอร์ไลน์ · ดูเพิ่มเติม »

เบ-ลอ บอร์โตก

-ลอ วิกโตร์ ยาโนช บอร์โตก (Bartók Béla Viktor János) เกิดเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2424 (ค.ศ. 1881) ที่เมืองน็อจแซ็นด์มิกโลช (Nagyszentmiklós) ฮังการี (ในปัจจุบันคือเมืองซึนนีกอลาอูมาเร ประเทศโรมาเนีย) เสียชีวิตเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ที่นครนิวยอร์ก) เป็นทั้งคีตกวี นักเปียโน และนักสะสมดนตรีพื้นบ้านในแถบยุโรปตะวันออก เขาเป็นหนึ่งในกลุ่มผู้จัดตั้งสาขาวิชาดนตรีชาติพันธุ์วิทยา (ethnomusicology).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเบ-ลอ บอร์โตก · ดูเพิ่มเติม »

เชอร์ล็อก โฮมส์ ชุด บันทึกคดี

อร์ล็อก โฮมส์ ชุด บันทึกคดี (The Case-Book of Sherlock Holmes) หรือฉบับแปลใหม่ใช้ชื่อว่าชุด แฟ้มคดีเด็ด เป็นนวนิยายรวมเรื่องสั้นเล่มที่ 5 อันเป็นเล่มสุดท้ายของเซอร์อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์‎ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเชอร์ล็อก โฮมส์ ชุด บันทึกคดี · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์

อร์ทรันด์ อาร์เทอร์ วิลเลียม รัสเซลล์ (Bertrand Arthur William Russell; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2415 - 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513) เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ นักปรัชญา นักตรรกวิทยา ที่มีอิทธิพลอย่างสูงในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเป็นนักปรัชญาการศึกษาหัวรุนแรงที่มีบทบาทสำคัญยิ่งคนหนึ่งของอังกฤษ เป็นผู้ที่ได้สร้างผลงานด้านการศึกษาในแนวปฏิรูปไว้มากมายหลายแขนง ซึ่งเป็นที่ยอมรับและมีอิทธิพลต่อการศึกษาในปัจจุบันอย่างมาก บรรดานักปรัชญารู้จักเขาในฐานะของผู้ให้กำเนิดทฤษฎีความรู้ (Epistemology หรือ Theory of Knowledge) นักคณิตศาสตร์รู้จักรัสเซลในฐานะบิดาแห่งตรรกวิทยา ผู้เขียนตำราคลาสสิกทางคณิตศาสตร์ คือหนังสือชื่อ Principia Mathematica นักฟิสิกส์รู้จักเขาในฐานะของผู้แต่งตำรา ABC of Relativity สำหรับคนทั่วไปรู้จักรัสเซลล์ในฐานะของนักจิตวิทยา นักการศึกษา นักการเมือง และนักเขียนผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเบอร์ทรันด์ รัสเซลล์ · ดูเพิ่มเติม »

เชื้อ ทิพย์มณี

นายเชื้อ ทิพย์มณี (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2470 - ???) อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา 3 สมั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเชื้อ ทิพย์มณี · ดูเพิ่มเติม »

เบียร์ดดราก้อน

ียร์ดดราก้อน หรือ มังกรเครา (Bearded dragon, Inland bearded dragon, Central bearded dragon) สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง จำพวกกิ้งก่า ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae) เบียร์ดดราก้อน มีสีลำตัวตามธรรมชาติสีน้ำตาลสลับกับลายสีครีมเข้ม ตามลำตัวจะเต็มไปด้วยเกล็ดและหนามเล็ก ๆ ใช้สำหรับป้องกันตัวจากศัตรูผู้ล่า แต่ไม่อาจทำอันตรายสัตว์อื่นใดก่อนได้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่จะมีความยาวรวมหางประมาณ 16-18 นิ้ว มีจุดเด่นที่ถุงใต้คอซึ่งเป็นหนามแหลม แลดูคล้ายเครา อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ยิ่งโดยเฉพาะในตัวผู้ในวัยเจริญพันธุ์จะมีถุงนี้เห็นได้ชัดเจน ซึ่งจะแผ่ขยายออกเป็นสีดำเวลาตื่นเต้น ตกใจ ต่อสู้ หรือใช้ในการเกี้ยวพาราสีตัวเมีย กระจายพันธุ์อยู่ในทะเลทราย ที่มีภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสลับกับเนินทรายเตี้ย ๆ ในประเทศออสเตรเลีย แถบรัฐควีนส์แลนด์, นอร์เทิร์นเทร์ริทอรี, นิวเซาท์เวลส์ และวิกตอเรีย โดยหากินและอาศัยอยู่บนพื้นมากกว่าจะปีนป่ายตามก้อนหินหรือต้นไม้ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น หนอน, แมลง, กิ้งก่าขนาดเล็ก, ผักชนิดต่าง ๆ เข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 8-12 เดือน ในช่วงผสมพันธุ์ ตัวผู้อาจจะผสมพันธุ์กับตัวเมียได้หลายตัว อาจถึงหลักสิบ ใช้เวลาตั้งท้องนาน 20-28 วัน เมื่อวางไข่ ตัวเมียจะไม่กินอาหารก่อน 2-4 วัน ซึ่งตัวเมียจะขุดหลุมกับพื้นทราย ก่อนที่จะวางไข่ในหลุมประมาณ 20-30 ฟองต่อครั้ง หลังจากวางไข่เรียบร้อยแล้ว ตัวเมียสามารถตั้งท้องได้อีกโดยที่ไม่ต้องผ่านการผสมพันธุ์อีกราว 2-4 ท้อง โดยทิ้งช่วงระยะเวลาประมาณ 20-28 วัน เท่ากับการตั้งท้อง ไข่เบียร์ดดราก้อนใช้เวลา 55-65 วัน ในการฟักเป็นตัว อุณหภูมิเป็นส่วนสำคัญในการกำหนดเพศเหมือนเช่นสัตว์เลื้อยคลานอีกหลายประเภท อุปนิสัยและพฤติกรรมของเบียร์ดดราก้อนนั้นในธรรมชาติของเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่หวงถิ่นที่อยู่มาก เบียร์ดดราก้อนไม่ว่าเพศผู้หรือเพศเมียนั้นเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่อย่างสันโดษในธรรมชาติ เบียร์ดดราก้อนไม่จับคู่อยู่ร่วมกันเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มแต่อย่างใด เบียร์ดดราก้อนนั้นไม่มีความผูกพันธ์ุทางสายเลือดและไม่อาจมีความรู้สึกรักหรือว่ารับรู้ถึงการมีความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมสายพันธ์ุได้ การที่ผู้เลี้ยงไม่ศึกษาพฤติกรรมที่ของเบียร์ดดราก้อนให้รอบคอบ อาจจะทำให้เกิดการบาดเจ็บและสูญเสียชีวิตของสัตว์เลี้ยงได้ เบียร์ดดราก้อนเพศผู้นั้นจะเข้าขู่เบียร์ดดราก้อนผู้รุกรานในทันทีที่พบเห็นโดยการฉีดสีไปในส่วนเคราให้เป็นสีดำและการยักหัวขึ้นลงอย่างรุนแรง ก่อนที่เพศผู้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่ตัวเล็กกว่าจะโบกมือขึ้นลงอย่างช้าๆแสดงความยอมแพ้และถอยหนี แต่ถ้าหากว่าเพศผู้ทั้งคู่มีความเหี้ยนกระหือรือทั้งคู่ การเข้าขู่และวิ่งไล่กัดกันย่อมเกิดขึ้น ตามมาด้วยความตายหรือบาดเจ็บของทั้งสองฝ่าย เบียร์ดดราก้อนจำนวนไม่น้อยนั้นได้สูญเสียนิ้ว ขา หรือหาง มาจากการต่อสู้ไม่ว่าในวัยเด็กเล็กหรือโตเต็มวัย หรือแย่กว่านั้นอาจทำให้แผลเกิดการติดเชื้อตามมาด้วยการเน่าและถึงแก่ความตายได้ เบียร์ดดราก้อนไม่ควรนำมาเลี้ยงด้วยกันไม่ว่าจะเพศผู้หรือเพศเมีย ช่วงเวลาที่เหมาะที่สุดที่จะให้มันมาอยู่ร่วมกันคือช่วงการผสมพันธุ์ชั่วคราวเท่านั้น การที่เบียร์ดดราก้อนสองตัวเอาตัวทับกันนั้นไม่ได้เป็นการแสดงออกถึงความรักแต่อย่างใด แต่หากเป็นการแสดงถึงความเป็นใหญ่ในอาณาเขตของตน ตัวที่เป็นใหญ่นั้นจะเอาร่างตัวมันเองบังแสงและความร้อนจากดวงอาทิตย์ทำให้อีกตัวไม่สามารถได้รับแสงได้อย่างเหมาะสม ลักษณะพฤติกรรมแบบนี้ไม่ใช่การแสดงออกทางความรักแต่อย่างใด เนื่องจากเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์เลือดเย็นไม่สามารถสร้างความร้อนเองได้ อาจส่งผลทำให้ตัวที่ด้อยกว่านั้นส่งผลเสียทางสุขภาพและความเครียดในระยะยาวอาทิ ซึมเศร้า ขาดน้ำและขาดสารอาหาร ซึ่งสามารถทำให้ถึงตายได้ เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่ไม่ค่อยแสดงออกทางอาการ ไม่ว่าจะเจ็บ หรือป่วย แต่จะตายทันทีเมื่อถึงขีดสุดที่มันจะทนได้ เบียร์ดดราก้อนที่มีอาการเครียดนั้น จะแสดงออกโดยการฉีดสีดำเข้าไปที่ใต้ท้อง มีลักษณะเป็นเส้นลายวงๆ เบียร์ดดราก้อนที่ไม่มีอาการเครียดจะมีท้องลักษณะขาวโพลน ไม่มีเส้นดำ หรือลายใดๆใต้ท้องลำตัว หากมีอาการดังกล่าวเกิดขึ้น ควรที่จะนำเบียร์ดดราก้อนไปในที่ที่มันรู้สึกปลอยภัยเช่นตู้ที่อยู่ของมันในทันที มักจะทำให้อาการเหล่านี้หายไปได้ เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่ขี้เกียจ ไม่ค่อยชอบเดินและมักจะอยู่เฉยๆตากแดดตลอดวัน เมื่อเบียร์ดดราก้อนรู้สึกร้อน มันจะอ้าปากเพื่อเป็นการคลายความร้อน เนื่องจากเบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์เลื้อยคลาน พวกมันไม่สามารถระบายความร้อนทางเหงื่อได้เฉกเช่นมนุษย์ เบียร์ดดราก้อนที่ตากแดด ควรจะมีที่กำบังขณะตากแดดบ้าง จะทำให้เบียร์ดดราก้อนสามารถเข้าไปหลบแดดได้ เพื่อหลีกเลี่ยงการช็อกตายโดยความร้อนจัดในเวลากลางวัน เบียร์ดดราก้อนเป็นสัตว์ที่เก็บน้ำในร่างกาย พวกมันกินน้ำน้อยมากต่อวันหรือไม่กินเลย เบียร์ดดราก้อนบางตัวมักไม่ยอมกินน้ำจากถ้วย แต่พวกมันสามารถได้รับน้ำจากอาหารที่กินเช่นผักหรือผลไม้ได้ ลักษณะของเบียร์ดดราก้อนที่แข็งแรงนั้นควรจะหัวเชิดตรง ดวงตาเปิดเป็นวงกลมเต็มที่ ไม่ง่วงซึมช่วงตอนกลางวันแต่อย่างใด เบียร์ดดราก้อน นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง เพราะมีอุปนิสัยไม่ดุร้าย ไม่กัดหรือทำร้ายมนุษย์ โดยสามารถเพาะขยายพันธุ์ในที่เลี้ยงได้ โดยมักจะเป็นตู้ปลาที่ปูพื้นด้วยทรายหรือกรวดแห้ง ๆ เหมือนสภาพที่อยู่ในธรรมชาติ ซึ่งปัจจุบัน สามารถเพาะเบียร์ดดราก้อนที่มีความยาวถึง 22 นิ้วได้ ซึ่งนับว่ามีความใหญ่กว่าขนาดในธรรมชาติ หรือมีสีต่าง ๆ ผิดไปจากธรรมชาติด้วย เช่น สีแดง, สีเหลืองทั้งตัว หรือหนามบนตัวหายไปหมด หรือแม้แต่ลำตัวโปร่งใสจนมองเห็นอวัยวะต่าง ๆ ภายในได้ลาง ๆ ดวงตามีแต่ส่วนตาดำ ไม่มีตาขาว เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเบียร์ดดราก้อน · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติบราซิล

ลงชาติบราซิล (Hino Nacional Brasileiro) เป็นเพลงที่เรียบเรียงโดย ฟรานซิสโก มานูเอล (Francisco Manuel) มีท่วงทำนองที่เป็นการสรรเสริญและปลุกใจ ซึ่งถือว่าเป็นเพลงประจำชาติก่อนที่จะได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการ ได้มีการเปลี่ยนแปลงมากมายแต่ก็มิได้ทำให้ความหมายบิดเบือนไป โดยให้มีระดับเสียงที่นุ่มนวล เดิมเรียบเรียงโดยวงออร์เคสตราของกองทัพ ได้มีการเพิ่มเติมเนื้อหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งของในรูปแบบของ โอโซริโอ ดุ๊ค เอสตราดา (Osorio Duque Estrada) ในปี พ.ศ. 2435 ประวัติความเป็นมาของเพลงชาตินี้เป็นเรื่องที่โต้เถียงกัน แต่รูปแบบที่เชื่อถือได้คือที่เรียบเรียงโดยนักเรียบเรียงเสียงประสานที่มีชื่อเสียงชาวบราซิล คือ อัลเบอร์โต นีโบมูซีโน (Alberto Nepomuceno) ซึ่งเป็นผู้เขียนในปีเดียวกัน (พ.ศ. 2384) บางทีอาจเป็นช่วงสูงสุดในอาชีพของเขา ฟรานซิสโก มานูเอลได้เรียบเรียงเพลงชาติเพื่อเฉลิมฉลองการครองราชย์ของจักรพรรดิ์พระองค์ที่สองของบราซิล ซึ่งแสดงตนเป็นผู้เรียบเรียงเสียงประสานที่ยิ่งใหญ่ในงานของเขาซึ่งยังคงปลุกใจคนในชาติมาจนกระทั่งทุกวันนี้ คำพิพากษาฉบับที่ 15671 วันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2465 ได้พัฒนาจากเนื้อเพลงของ โอโซริโอ ดุ๊ค เอสตราด้า ซึ่งเขียนไว้ในปี พ.ศ. 2452 ซึ่งเป็นรูปแบบแรก กฎหมายเลขที่ 259 ของวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2479 ได้ระบุให้รูปแบบของ ลีโอพอลโด ไมเกซ (Leopoldo Miguez) มากับการเล่นดนตรีของวงออเคสตร้า และรูปแบบที่เรียงเรียงโดย ร้อยโทอันโตนิโอ ปินโต จูเนียร์ (Lt. Antonio Pinto Junior) ของกองดับเพลิงกลาง ใช้เล่นกับวงโยธวาทิตด้วยคีย์ บีแฟลต และในที่สุดรูปแบบที่เขียนโดย อัลเบอร์โต นีโปมูซีโน ก้เป็นแม่แบบที่นำมาใช้ร้อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเพลงชาติบราซิล · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติเลบานอน

ลงชาติเลบานอน (النشيد الوطني اللبناني‎) เป็นผลงานการประพันธ์เนื้อร้องของราชิค นาเกลอ (Rashid Nakhle) ส่วนทำนองประพันธ์โดย วาดิฮ์ ซาบรา (Wadih Sabra) เมื่อ พ.ศ. 2468 เพลงนี้เริ่มใช้เป็นเพลงชาติของรัฐเลบานอนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2470 ขณะที่ดินแดนแห่งนี้ยังคงเป็นดินแดนในอาณัติของฝรั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเพลงชาติเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

เกอรช ฟริดริช เวเลอร์

รองอำมาตย์เอกเกอรช ฟริดริช เวเลอร์ G.F.Veler Velananda ภาพของครอบครัวเวลานนท์และเอกะนาค จากซ้ายคือ รองอำมาตย์เอกเกอรช ฟริดริช เวเลอร์, นางเสงี่ยม เวลานนท์, ด.ญ.สอาด เวลานนท์, ด.ญ.สง่า เวลานนท์, น.ร.ม.อั๋น เวลานนท์, นางสาวประยูร เอกะนาค, คุณหญิงประสงค์สรรพการ (เย็น เอกะนาค), ด.ญ.หยาด ภมรสมิต และ พ.ต.อ.พระยาประสงค์สรรพการ (ยวง เอกะนาค)ถ่ายที่ลานบ้านเอกะนาค (โรงเรียนประถมศึกษาบ้านสมเด็จ ในปัจจุบัน)ซึ่งทั้งสองครอบครัวนี้มีความสัมพันธ์เป็นญาติสนิทกัน เพราะว่า นางเสงี่ยม เวลานนท์ และ คุณหญิงเย็น เอกะนาค เป็นพี่น้องกัน รองอำมาตย์เอกเกอรช ฟริดริช เวเลอร์ (Gersh Friedrich Veler) นายตรวจเอก กรมรถไฟหลวงสายเหนือ และนายห้างในกรุงเทพฯ ชาวเยอรมัน ได้เข้ามาเป็นวิศวกรสร้างทางรถไฟในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาได้รับพระราชทานนามสกุลจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 ว่า "เวลานนท์" (Velananda) รองอำมาตย์เอกเกอร์ช ฟริดริช เวเลอร์ มีภรรยาชื่อ นางเสงี่ยม เวลานนท์ สตรีราชินิกุลมอญหงสาวดี หมู่บ้านบางไส้ไก่ (ปัจจุบันคือบริเวณหลังมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา) มีบุตรธิดาดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเกอรช ฟริดริช เวเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะบูเว

กาะบูเว (Bouvet; Bouvetøya) เป็นเกาะอาณานิคมของประเทศนอร์เวย์ และเป็นเกาะที่ไกลที่สุดในโลก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ที่จุดพิกัด โดยเกาะนี้เป็นเกาะที่ห่างที่สุดในโลก เพราะห่างจากแหลมกู๊ดโฮปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 1,600 กิโลเมตร (1,000 ไมล์) และห่างจากแอนตาร์กติกาทางทิศใต้ 1,600 กิโลเมตร (994 ไมล์) เกาะมีพื้นที่ 49 ตร.กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเกาะบูเว · ดูเพิ่มเติม »

เมืองสวางคบุรี

วางคบุรี หรือ ฝาง เป็นเมืองโบราณที่มีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานของผู้คนสืบต่อเนื่องยาวนานมากที่สุดแห่งหนึ่งในจังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัย เคยเป็นเมืองที่อยู่เหนือสุดปลายพระราชอาณาเขตและเป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่สำคัญของอาณาจักรอยุธยาโบราณ โดยอาณาเขตเมืองสวางคบุรีโบราณครอบคลุมพื้นที่ ตำบลผาจุก, ตำบลคุ้งตะเภา และตำบลแสนตอ ในปัจจุบัน เมืองสวางคบุรี ปรากฏหลักฐานการมีอยู่ในพงศาวดารเหนือ ระบุว่าเป็นที่ตั้งของพระมหาธาตุที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุส่วนพระรากขวัญของพระพุทธเจ้า และปรากฏชื่อเมืองในศิลาจารึกสุโขทัยหลายหลัก รวมถึงพระราชพงศาวดารตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์ และจากการเคยเป็นเมืองชายแดนพระราชอาณาเขต ทำให้เมืองนี้มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับผู้คนจากแคว้นล้านนาและล้านช้าง ผู้ที่อยู่อาศัยในเมืองส่วนใหญ่สืบทอดขนบวัฒนธรรมแบบคนหัวเมืองเหนือโบราณ (ภาษาถิ่นสุโขทัย) ซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่ของเมืองนี้ หลังการสิ้นสุดลงของชุมนุมเจ้าพระฝาง ระหว่างปี พ.ศ. 2310-2313 ที่มีเมืองสวางคบุรีเป็นศูนย์กลาง และการขับไล่พม่ารวบรวมหัวเมืองล้านนาไว้ภายในพระราชอาณาเขตได้ในสมัยกรุงธนบุรี ประกอบกับตำแหน่งภูมิศาสตร์ทางการค้าลุ่มแม่น้ำน่านในยุคต่อมาเปลี่ยนแปลงไป ทำให้เมืองสวางคบุรีร่วงโรยลงในระยะต่อมา เมืองสวางคบุรีได้ลดฐานะความเป็นเมืองสำคัญทางศาสนาลงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องจากเมืองสวางคบุรีไม่ได้เป็นเมืองเหนือสุดปลายพระราชอาณาเขตอีกต่อไป อีกทั้งชาวเมืองสวางคบุรีส่วนใหญ่ได้โยกย้ายไปอยู่ในบริเวณที่กลายมาเป็นเมืองบางโพ (ท่าอิฐ, ท่าเสา) และได้รับยกฐานะขึ้นเป็นจังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเมืองสวางคบุรี · ดูเพิ่มเติม »

เมโทรโพลิส

มโทรโพลิส (Metropolis) หรือในชื่อไทยว่า เมโทรโพลิส เมืองล่าหุ่นยนต์ เป็นภาพยนตร์ไซไฟ จากประเทศเยอรมนี ที่ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2470 และได้รับการยกย่องว่าเป็นภาพยนตร์วิทยาศาสตร์ที่ดีที่สุด เป็นเวลาหลายปี จนกระทั่งมีการสร้างภาพยนตร์เรื่อง 2001 จอมจักรวาล ในปี พ.ศ. 2511 จึงเสียอันดับไป เมโทรโพลิส เป็นภาพยนตร์เงียบ ขาว-ดำ ผลงานสร้างและกำกับของ ฟริทซ์ แลง นักสร้างภาพยนตร์ชาวออสเตรีย ด้วยทุนสร้างมหาศาลในขณะนั้น ใช้นักแสดงประกอบชายถึง 26,000 คน นักแสดงประกอบหญิง 11,000 คน และเด็ก 950 คน โดยมีนวนิยายชื่อเดียวกัน เขียนโดย Thea von Harbou ภรรยาชาวเยอรมันของ ฟริทซ์ แลง นำเค้าโครงเรื่องจากบทภาพยนตร์ที่ฟริทซ์ แลง เขียนไว้ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเมโทรโพลิส · ดูเพิ่มเติม »

เวอร์นอน แอล สมิธ

เวอร์นอน แอล สมิธ นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล เวอร์นอน โลแมกซ์ สมิธ (Vernon Lomax Smith) เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1927 ในเมืองวิชิทอ รัฐแคนซัส เป็นศาตราจารย์ทางด้านเศรษฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเชปแมน รัฐแคลิฟอร์เนีย และนักวิชาการของมหาวิทลัยจอร์จ เมสัน อันเป็นศูนย์กลางของการศึกษาวิทยาศาสตร์เศรษฐศาสตร์ และของศูนย์เมอร์เซตัส ซึ่งทั้งหมดนี้อยู่ในอาร์ลิงตัน รัฐเวอร์จิเนีย เวอร์นอน สมิธได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ในปี 2002 ร่วมกับดาเนียล คาห์เนแมน เขาเป็นผู้ก่อตั้งและประธานของสถาบันวิจัยนานาชาติในด้านเศรษฐศาสตร์เชิงทดลอง และนักวิชาการชั่วคราวของสถาบันคาโตในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เวอร์นอน สมิธเป็นศิษย์เก่าของวิชิตานอร์ทไฮสคูลและมหาวิทยาลัยเฟรนส์ สมิธจบปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าจากแคลเทคในปี 1949 และปริญญาโทสาขาเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแคนซัสในปี 1955 และขณะที่ศึกษาปริญญาเอกอยู่ที่ฮาร์วาร์ดนั้น เขาได้เป็นอาจารย์สอนที่สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT) ในบางรายวิชาอีกด้วย สมิธรับงานสอนครั้งแรกที่วิทยาลัยการจัดการครานเนิร์ทแห่งมหาวิทยาลัยเพอร์ดูในช่วงปี 1955 ถึง 1967 และได้เลื่อนตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์เต็มตัว และเป็นที่ทำงานที่เขาได้เริ่มทำงานทางด้านเศรษฐศาสตร์เชิงทดลอง หมวดหมู่:ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ หมวดหมู่:นักเศรษฐศาสตร์ชาวอเมริกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเวอร์นอน แอล สมิธ · ดูเพิ่มเติม »

เสน่ห์ จามริก

ตราจารย์ เสน่ห์ จามริก เกิดเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2470 ราษฎรอาวุโส นักวิชาการด้านสิทธิมนุษยชน ประะธานสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการรับข้อมูลและสืบพยานเหตุการณ์ 6 ตุลา 2519 อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และเป็นอดีตประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเสน่ห์ จามริก · ดูเพิ่มเติม »

เหมืองแม่เมาะ

ระราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว สวนพฤกษชาติแม่เมาะ สายพานลำเลียง ได้รับการคลุมปิดตลอดแนว เหมืองแม่เมาะ ตั้งอยู่อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง เป็นเหมืองถ่านหินลิกไนต์ ซึ่งใช้เป็นเชื้อเพลิงของโรงไฟฟ้าแม่เม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเหมืองแม่เมาะ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญราชรุจิ

หรียญราชรุจิ เป็นเหรียญสำหรับพระราชทานเป็นบำเหน็จในพระองค์พระมหากษัตริย์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขึ้นสำหรับพระราชทานแก่ข้าราชการในราชสำนัก นายทหารรักษาพระองค์ และผู้มีบำเหน็จความชอบในราชสำนัก รวมถึงข้าราชการในราชสำนักแห่งพระมหากษัตริย์ต่างประเทศ เป็นต้น ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสถาปนาเหรียญราชรุจิ ประจำรัชกาลของพระองค์ ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2454 และพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสถาปนาในปี พ.ศ. 2470 และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสถาปนาสำหรับหรับรัชกาลของแต่ละพระองค์ในปี พ.ศ. 2502 ส่วนพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (รัชกาลที่ 8) ไม่ได้พระราชทานไว้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเหรียญราชรุจิ · ดูเพิ่มเติม »

เอจิ สึบุระยะ

อจิ สึบุระยะ เป็นผู้กำกับภาพยนตร์เทคนิคพิเศษชาวญี่ปุ่น และผู้ก่อตั้งสึบุระยะพรอดักชันส์ และเป็นบุคคลสำคัญผู้ให้กำเนิดอุลตร้าแมน เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเอจิ สึบุระยะ · ดูเพิ่มเติม »

เฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์ก

้าหญิงเฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์ก (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 - 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525) เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีคาโรลที่ 2 แห่งโรมาเนียและเป็นพระราชชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีไมเคิลที่ 1 แห่งโรมาเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเฮเลนแห่งกรีซและเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจวีซี

เครื่องเล่นวีดีโอเทปในระบบวีเอชเอสและสัญลักษณ์ของบริษัท บริษัท วิกเตอร์แห่งญี่ปุ่น จำกัด (Victor Company of Japan, Limited, 日本ビクター株式会社, Nihon Bikutā Kabushiki-gaisha?) (TYO: 6792) มักเรียกสั้นๆ ว่า "เจวีซี" (JVC) เป็นบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ระดับผู้บริโภคและระดับมืออาชีพ ยี่ห้อเจวีซี มีสำนักงานใหญ่ในเมืองโยโกฮามา ประเทศญี่ปุ่น ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927) เจวีซีมีชื่อเสียงในฐานะผู้จัดจำหน่ายโทรทัศน์รายแรกของญี่ปุ่น และผู้ผลิตระบบภาพวีเอชเอส (VHS) หมวดหมู่:บริษัทของญี่ปุ่น หมวดหมู่:ธุรกิจเครื่องใช้ในครัวเรือน หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2470 หมวดหมู่:พานาโซนิค คอร์ปอเรชั่น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเจวีซี · ดูเพิ่มเติม »

เจอโรม เค. เจอโรม

อโรม เค. เจอโรม (Jerome K. Jerome) เจอโรม คลัปกา เจอโรม (พ.ศ. 2402 (ค.ศ. 1859) - พ.ศ. 2470 (ค.ศ. 1927)) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษ ผลงานที่ส่งให้เขาโด่งดังเป็นที่รู้จักและร่ำรวยตั้งแต่อายุ 30 ปี ได้แก่ เรื่องราวการเดินทางแนวหรรษา Three men in a boat เจอโรมมีชีวิตวัยเด็กที่ค่อนข้างยากจน ในเขตอีสต์เอนด์ของลอนดอน มารดาเสียชีวิตตอนเขาอายุ 14 ปี เจอโรมต้องออกจากโรงเรียนไปทำงานเสมียนรถไฟ, นักหนังสือพิมพ์ต๊อกต๋อย, นักแสดง และครูใหญ่ ก่อนจะเริ่มสร้างงานเขียนบทละคร, หนังสือ และบทความนิตยสาร เจอโรมแต่งงานอย่างมีความสุข ผลงานได้รับการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากมาย และได้เดินทางไปทั่วยุโรป ไปเยือนสหรัฐอเมริกากับรัสเซียอีกหลายคราว สิบเอ็ดปีต่อมาหลังจาก Three men in a boat เขาเข็นภาคต่อออกมา ชื่อว่า Three men on the bummel แต่ไม่เปรี้ยงปร้างดังที่คิด อารมณ์ขันของเขาจืดชืดล้าสมัย ทำให้เจอโรมกลายเป็นนักเขียนผู้โด่งดังด้วยหนังสือเพียงเล่มเดียว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเจอโรม เค. เจอโรม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฮนริชแห่งเฮสส์-คาสเซิล

้าชายเฮนริชแห่งเฮสส์-คาสเซิล (Prince Heinrich of Hesse-Kassel) (30 ตุลาคม 1927 - 18 พฤศจิกายน 1999) เป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฟินแลนด์ ตั้งแต่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1989 ถึง 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1999 เจ้าชายเฮนริช เสด็จพระราชสมภพในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นโอรสของเจ้าชายฟิลิป แลนด์เกรฟแห่งเฮสส์กับเจ้าหญิงมาฟัลดาแห่งซาวอย พระราชธิดาของพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 แห่งอิตาลี ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พระบิดาของพระองค์ถูกจับตัวไปโดยพวกนาซีเยอรมัน พระมารดาของพระองค์ก็ถูกคุมขังและถูกปลงพระชนม์ในค่ายกักกันบูเคนวัลด์ ในปี 1944 เจ้าชายเฮนริชและพระพี่น้องได้หลบภัยอยู่ที่นครรํฐวาติกัน หลังจากที่สงครามสงบพระองค์และพระพี่น้องก็กลับมารวมตัวกับพระบิดาเขาในประเทศเยอรมนี เจ้าชายเฮนริช ได้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฟินแลนด์ต่อจากเจ้าชายโวล์ฟกังแห่งเฮสส์ซึ่งเป็นพระมาตุลา เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์เจ้าชายฟิลิปแห่งเฮสส์พระภาติยะ จึงได้อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ต่อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเจ้าชายเฮนริชแห่งเฮสส์-คาสเซิล · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชาร์ลอตแห่งเบลเยียม

้าหญิงชาร์ลอตแห่งเบลเยียม (ภาษาอังกฤษ: Princess Charlotte of Belgium, ภาษาเยอรมัน: Prinzessin Charlotte von Belgien) (พระนามเต็ม: มารี ชาร์ลอต อเมลี่ ออกัสตีน วิคโตร์ คลีเมนตีน ลีโอโพลดีน, Marie Charlotte Amélie Augustine Victoire Clémentine Léopoldine von Habsburg-Lorraine (de Saxe-Coburg and Gotha)) ทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งเบลเยียม และสมเด็จพระจักรพรรดินีมเหสีในสมเด็จพระจักรพรรดิแม็กซีมีเลียนที่ 1 แห่งเม็กซิโกอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเจ้าหญิงชาร์ลอตแห่งเบลเยียม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน

้าฟ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน (Princess Märtha of Sweden, มาร์ธา โซเฟีย โลวิซา แด็กมาร์ ไธรา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 5 เมษายน พ.ศ. 2497) ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์พระองค์แรกในยุคปัจจุบัน ซึ่งมิได้ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนหรือเดนมาร์ก อีกทั้งยังทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งนอร์เวย์มาตั้งแต่แรกประสูติจนกระทั่งถึงการแยกออกตัวออกจากการรวมตัวกันระหว่างประเทศสวีเดนและนอร์เวย์ในปี พ.ศ. 2448 พระองค์เป็นพระชายาและพระญาติชั้นที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เมื่อสมัยที่ยังทรงเป็นมกุฎราชกุมาร เนื่องจากพระชนกและพระชนนีของทั้งสองพระองค์เป็นพี่น้องกัน และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาอยู่ทางฝ่ายพระชนกของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เจ้าหญิงประสูติเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์รองในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ และ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาทางฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งทางฝ่ายพระชนนี ส่วนเจ้าหญิงแอสตริดแห่งสวีเดน พระขนิษฐาองค์เล็กทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโพลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ในขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี

้าหญิงวิกตอเรีย พระวรราชกุมารี หรือพระนามเต็ม วิกตอเรีย อเดเลด แมรี หลุยซา (ประสูติ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2383 สวรรคต 5 สิงหาคม พ.ศ. 2444) พระราชธิดาพระองค์แรกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต แห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเจ้าหญิงวิกตอเรีย พระราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์

้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ หรือพระนามแบบเต็ม แมรี อเดเลด วิลเฮลมินา เอลิซาเบธ (Princess Mary Adelaide of Cambridge; 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2376 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2440) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 ต่อมาพระองค์ทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น ดัชเชสแห่งเท็ค (Duchess of Teck) จากการอภิเษกสมรส พระองค์เป็นพระชนนีของสมเด็จพระราชินีแมรี พระมเหสีในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 นอกจากนั้นยังเป็นหนึ่งในบรรดาพระบรมวงศ์พระองค์แรกๆ ที่ทรงอุปถัมภ์การกุศลต่างๆ มากม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเจ้าหญิงแมรี อเดเลดแห่งแคมบริดจ์ · ดูเพิ่มเติม »

เจเน็ต ลีห์

น็ต ลีห์ (Janet Leigh) อดีตนักแสดงหญิงชาวอเมริกัน มีชื่อเต็มว่า จีนเน็ต เฮเลน มอร์ริสัน (Jeanette Helen Morrison) เกิดเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1927 ที่เมืองเมอร์เซด รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยเป็นลูกคนเดียว เริ่มเข้าสู่วงการการแสดงเมื่ออายุได้ 19 ปี ขณะเรียนอยู่ระดับวิทยาลัย เมื่อมีแมวมองของบริษัท เอ็มจีเอ็ม ได้เห็นภาพถ่ายของเธอขณะเล่นสกี โดยผลงานเรื่องแรก คือ The Romance of Rosy Ridge ประกบคู่กับ แวน จอห์นสัน โดยได้รายได้ 50 ดอลลาร์สหรัฐต่อสัปดาห์ และเมื่อมีชื่อเสียงแล้วค่าตัวเปลี่ยนเป็น 150 ดอลลาร์ต่อสัปดาห์ และกลายเป็นหนึ่งในนักแสดงหญิงที่มีงานรัดตัวมากที่สุดของบริษัทเอ็มจีเอ็มเลยทีเดียว เฉพาะในปี ค.ศ. 1949 เธอรับเล่นถึง 6 เรื่องด้วยกัน เป็นที่รู้จักกันดีจากการรับบทพี่สาวคนโตในภาพยนตร์เรื่อง Little Women (สี่ดรุณี) ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเจเน็ต ลีห์ · ดูเพิ่มเติม »

เทศบาลเมืองปากพูน

ำนักงานเทศบาลเมืองปากพูน เทศบาลเมืองปากพูน ตั้งอยู่ในพื้นที่ตำบลปากพูน อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช นอกเขตเทศบาลตำบลท่าแพ เป็นเมืองที่เจริญเติบโตมาช้านาน และมีคลองท่าแพ หรือ คลองปากพูน และคลองปากพยิง ไหลผ่านตำบล มีประชากร 34,642 คน มีเนื้อที่ทั้งหมด 93.78 ตร.กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเทศบาลเมืองปากพูน · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางซื่อ

ตบางซื่อ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเขตบางซื่อ · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางนา

ตบางนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นเขตชุมชนเมืองหนาแน่นปานกลางผสมกับชุมชนการเกษตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเขตบางนา · ดูเพิ่มเติม »

เขตพระโขนง

ตพระโขนง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเขตพระโขนง · ดูเพิ่มเติม »

เขตลาดกระบัง

ตลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเขตลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

เขตสวนหลวง

ตสวนหลวง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเขตสวนหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เขตประเวศ

ตประเวศ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตศรีนครินทร์ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์ชุมชนชานเมือง แหล่งงานและการบริการเพื่อรองรับท่าอากาศยานสุวรรณภูม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเขตประเวศ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ

อะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ (The Dream-Quest of Unknown Kadath) เป็นนิยายซึ่งเอช. พี. เลิฟคราฟท์ประพันธ์เสร็จในปีพ.ศ. 2470แต่ไม่เคยมีการพิมพ์เผยแพร่ในช่วงที่เลิฟคราฟท์มีชีวิตอยู่ เรื่องนี้เป็นงานประพันธ์ในเรื่องชุดโลกแห่งความฝันที่ยาวที่สุดของเลิฟคราฟท์และมี แรนดอล์ฟ คาเตอร์เป็นตัวเอก ดรีมเควสต์นั้นมีลักษณะที่ผสมกันระหว่างเรื่องแนวแฟนตาซีระดับสูงกับนิยายสยองขวัญเข้าด้วยกัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะคิงอินเยลโล

อะคิงอินเยลโล (The King in Yellow) หรือ ราชาอาภรณ์เหลืองเป็นหนังสือรวมเรื่องสั้นซึ่งประพันธ์โดยโรเบิร์ต ดับเบิลยู. แคมเบอร์สและเผยแพร่ในพ.ศ. 2438 งานประพันธ์ชุดนี้นับได้ว่าเป็นเรื่องแนวสยองขวัญยุคแรกๆแต่ก็มีลักษณะของเรื่องปรัมปรา แฟนตาซี, นิยายลึกลับ, นิยายวิทยาศาสตร์และนิยายโรมานซ์อยู่ด้วย ชื่อเดอะคิงอินเยลโลมาจากบทละครสมมุติซึ่งถูกกล่าวถึงในเรื่องสั้นสี่เรื่องแรก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเดอะคิงอินเยลโล · ดูเพิ่มเติม »

เคบีเอส

ระบบการกระจายเสียงเกาหลี (อังกฤษ: Korean Broadcasting System; KBS, เกาหลี: 한국방송공사, Hanguk Bangsong Gongsa) เป็นเครือข่ายวิทยุโทรทัศน์ของเกาหลีใต้ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2470และเป็นเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุดในสี่สถานีชั้นนำของประเทศเกาหลีใต้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเคบีเอส · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องรับวิทยุ

รื่องรับวิทยุรุ่นเก่า เครื่องรับวิทยุ เป็นเครื่องมือสื่อสารทางเดียวชนิดหนึ่ง ทำหน้าที่รับและเลือกคลื่นวิทยุจากสายอากาศ แล้วนำไปสู่ภาคขยายต่อไป โดยมีช่วงความถี่ของคลื่นที่กว้าง แล้วแต่ประเภทของการใช้งาน โดยทั่วไป คำว่า "เครื่องวิทยุ" มักจะใช้เรียกเครื่องรับสัญญาณความถี่กระจายเสียง เพื่อส่งข่าวสาร และความบันเทิง โดยมีย่านความถี่หลักๆ คือ คลื่นสั้น คลื่นกลาง และคลื่นยาว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเครื่องรับวิทยุ · ดูเพิ่มเติม »

เติมศักดิ์ กฤษณามระ

ตราจารย์กิตติคุณ เติมศักดิ์ กฤษณามระ ผู้อำนวยการสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, อดีตอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานราชินีมูลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเติมศักดิ์ กฤษณามระ · ดูเพิ่มเติม »

เซเรียอา

กัลโชเซเรียอา (อิตาเลียนฟุตบอลแชมเปียนชิป หรือกัมปีโอนาโต หรือสกูเดตโต) เป็นชื่อของลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศอิตาลี ที่เริ่มทำการแข่งขันกันมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1898 ซึ่งเจนัว เป็นสโมสรแรกที่คว้าแชมป์ได้ ในขณะที่โดยรวมแล้ว ยูเวนตุสเป็นทีมที่ประสบความสำเร็จมากที่สุด โดยได้แชมป์ไปถึง 32 สมัย รองลงมาเป็นมิลาน กับอินเตอร์ ที่ได้แชมป์ 18 สมัยเท่ากัน ซึ่งสโมสรที่คว้าแชมป์ได้ทุก ๆ 10 สมัย จะได้รับสัญลักษณ์ดาวสีทอง ติดอยู่ด้านบนของสัญลักษณ์ทีมบนเสื้อ 1 ดวง ดังนั้น ยูเวนตุส จึงมี 3 ดาวติดอยู่ด้านบนของสัญลักษณ์ทีมบนเสื้อ ขณะที่อินเตอร์มิลาน และมิลาน มีทีมละ 1 ดาว การแข่งขันรายการนี้ในบางปีนั้นไม่มีแชมป์ ได้แก่ ในปี ค.ศ. 1915-1919 เนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 และปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเซเรียอา · ดูเพิ่มเติม »

เซเว่น อีเลฟเว่น

ร้านสะดวกซื้อ เซเว่น-อีเลฟเว่น เซเว่น-อีเลฟเว่น (7-Eleven) เป็นแฟรนไชส์ของร้านสะดวกซื้อ จำหน่ายสินค้าเครื่องใช้ทั่วไปในชีวิตประจำวัน มีสาขาอยู่ทั่วโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และเซเว่น อีเลฟเว่น · ดูเพิ่มเติม »

1 มกราคม

วันที่ 1 มกราคม เป็นวันแรกของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 364 วันในปีนั้น (365 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ1 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

1 สิงหาคม

วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ1 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤษภาคม

วันที่ 10 พฤษภาคม เป็นวันที่ 130 ของปี (วันที่ 131 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 235 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ10 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 เมษายน

วันที่ 10 เมษายน เป็นวันที่ 100 ของปี (วันที่ 101 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 265 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ10 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

11 กรกฎาคม

วันที่ 11 กรกฎาคม เป็นวันที่ 192 ของปี (วันที่ 193 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 173 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ11 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 ตุลาคม

วันที่ 11 ตุลาคม เป็นวันที่ 284 ของปี (วันที่ 285 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 81 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ11 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 มีนาคม

วันที่ 12 มีนาคม เป็นวันที่ 71 ของปี (วันที่ 72 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 294 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ12 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

12 ธันวาคม

วันที่ 12 ธันวาคม เป็นวันที่ 346 ของปี (วันที่ 347 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 19 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ12 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 กันยายน

วันที่ 13 กันยายน เป็นวันที่ 256 ของปี (วันที่ 257 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 109 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ13 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

13 ตุลาคม

วันที่ 13 ตุลาคม เป็นวันที่ 286 ในปีปรกติสุรทิน และเป็นวันที่ 287 ในปีอธิกสุรทินตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน โดยเมื่อถึงวันนี้ จะเหลือวันอีก 79 หรือ 78 วันในปีนั้นแล้วแต่กรณี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ13 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน เป็นวันที่ 165 ของปี (วันที่ 166 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 200 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ14 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

14 ตุลาคม

วันที่ 14 ตุลาคม เป็นวันที่ 287 ของปี (วันที่ 288 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 78 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ14 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ15 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

16 เมษายน

วันที่ 16 เมษายน เป็นวันที่ 106 ของปี (วันที่ 107 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 259 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ16 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ17 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

18 สิงหาคม

วันที่ 18 สิงหาคม เป็นวันที่ 230 ของปี (วันที่ 231 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 135 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ18 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

19 กุมภาพันธ์

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 50 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 315 วันในปีนั้น (316 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ19 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

19 ตุลาคม

วันที่ 19 ตุลาคม เป็นวันที่ 292 ของปี (วันที่ 293 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 73 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ19 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

2 มิถุนายน

วันที่ 2 มิถุนายน เป็นวันที่ 153 ของปี (วันที่ 154 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 212 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ2 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

20 พฤศจิกายน

วันที่ 20 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 324 ของปี (วันที่ 325 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 41 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ20 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

21 พฤษภาคม

วันที่ 21 พฤษภาคม เป็นวันที่ 141 ของปี (วันที่ 142 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 224 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ21 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 พฤศจิกายน

วันที่ 22 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 326 ของปี (วันที่ 327 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 39 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ22 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

23 สิงหาคม

วันที่ 23 สิงหาคม เป็นวันที่ 235 ของปี (วันที่ 236 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 130 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ23 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 มีนาคม

วันที่ 25 มีนาคม เป็นวันที่ 84 ของปี (วันที่ 85 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 281 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ25 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 ธันวาคม

วันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันที่ 359 ของปี (วันที่ 360 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 6 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ25 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 เมษายน

วันที่ 25 เมษายน เป็นวันที่ 115 ของปี (วันที่ 116 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 250 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ25 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

26 มิถุนายน

วันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันที่ 177 ของปี (วันที่ 178 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 188 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ26 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤษภาคม

วันที่ 29 พฤษภาคม เป็นวันที่ 149 ของปี (วันที่ 150 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 216 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ29 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ธันวาคม

วันที่ 3 ธันวาคม เป็นวันที่ 337 ของปี (วันที่ 338 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 28 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ3 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ตุลาคม

วันที่ 3 ตุลาคม เป็นวันที่ 276 ของปี (วันที่ 277 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 89 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ3 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

30 พฤศจิกายน

วันที่ 30 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 334 ของปี (วันที่ 335 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 31 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ30 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

30 ธันวาคม

วันที่ 30 ธันวาคม เป็นวันที่ 364 ของปี (วันที่ 365 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 1 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ30 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

6 กรกฎาคม

วันที่ 6 กรกฎาคม เป็นวันที่ 187 ของปี (วันที่ 188 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 178 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ6 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 ตุลาคม

วันที่ 6 ตุลาคม เป็นวันที่ 279 ของปี (วันที่ 280 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 86 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ6 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 สิงหาคม

วันที่ 7 สิงหาคม เป็นวันที่ 219 ของปี (วันที่ 220 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 146 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ7 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 พฤศจิกายน

วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ8 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

9 กรกฎาคม

วันที่ 9 กรกฎาคม เป็นวันที่ 190 ของปี (วันที่ 191 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 175 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2470และ9 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พ.ศ. ๒๔๗๐ค.ศ. 1927

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »