โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 2461

ดัชนี พ.ศ. 2461

ทธศักราช 2461 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1918 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน หรือ ปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินจูเลียน.

443 ความสัมพันธ์: บอลเชวิกบอเจ พราฟเดชาลี เอี่ยมกระสินธุ์บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ชูอัน มีโรพ.ศ. 2411พ.ศ. 2457พ.ศ. 2483พ.ศ. 2530พ.ศ. 2531พ.ศ. 2533พ.ศ. 2535พ.ศ. 2549พ.ศ. 2554พ.ศ. 2556พ.ศ. 2557พ.ศ. 2558พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)พระมหามนตรีศรีองครักษ์สมุห (ฉัตร โชติกเสถียร)พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)พระราชวังบางปะอินพระราชวังเชินบรุนน์พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซียพระรามราชนิเวศน์พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนาพระศีลมงคล (ทอง สีลสุวณฺโณ)พระครูบรรณสารโกวิท (แป สุปญฺโญ)พระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต)พระครูสิทธิสารคุณ (จาด คังคสโร)พระครูนิภาวิหารกิจ (ดำ จนฺทสโร)พระครูนิยุตต์ธรรมกิจ (บุญธรรม ธมฺมปฺปสาโท)พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขาพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวีพระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2 แห่งตองงาพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรียพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย...พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)กองทัพโซเวียตกองทัพเช็กเกียกัฟรีโล ปรินซีปการล่าอาณานิคมของญี่ปุ่นการุณ เก่งระดมยิงการจลาจลข้าว ค.ศ. 1918การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนการเลิกล้มราชาธิปไตยกิตติ สีหนนทน์กุสตาฟ คลิมต์กุสตาฟ โฮลส์กีโยม อาปอลีแนร์กแดโดโมฟมูยฝ่ายมหาอำนาจกลางมหาวิทยาลัยบอลล์สเตตมหาวิทยาลัยฮกไกโดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวายมอสโกมักซ์ เวเบอร์มันเฟรด ฟอน ริชโธเฟินมาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอมาเรียแห่งเท็คมิโนะรุ ชิโระตะมณฑลพายัพมณฑลมหาราษฎร์มงคล อมาตยกุลยวี่เหยียนยอร์ช เซเดส์ยูโกสลาเวียรัฐบาวาเรียรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บราชรัฐลิพเพอราชวงศ์วิทเทลส์บัคราชวงศ์ฮาพส์บวร์คราชวงศ์จักรีราชวงศ์แฮโนเวอร์ราชวงศ์โรมานอฟราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียราชอาณาจักรบาวาเรียราชอาณาจักรยูโกสลาเวียราชอาณาจักรซัคเซินราชอาณาจักรแดลเมเชียราชอาณาจักรโบฮีเมียราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์คราชอาณาจักรเซอร์เบียราชาหนูรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทยรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อวันสำคัญของสหภาพโซเวียตรายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถานรายชื่อวันสำคัญของคีร์กีซสถานรายชื่อธงในกองทัพเรือยูเครนรายชื่อธงในประเทศฟินแลนด์รายชื่อธงในประเทศลัตเวียรายชื่อธงในประเทศลิทัวเนียรายชื่อธงในประเทศอาร์มีเนียรายชื่อธงในประเทศอาเซอร์ไบจานรายชื่อธงในประเทศฮังการีรายชื่อธงในประเทศจอร์เจียรายชื่อธงในประเทศโครเอเชียรายชื่อธงในประเทศไอซ์แลนด์รายชื่อธงในประเทศเบลารุสรายชื่อธงในประเทศเอสโตเนียรายชื่อธงในประเทศเซอร์เบียรายชื่อทุพภิกขภัยรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทยรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายกรายพระนามพระมหากษัตริย์บอสเนียรายพระนามพระมหากษัตริย์บัลแกเรียรายพระนามพระมหากษัตริย์ฮังการีรายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงารายพระนามพระมหากษัตริย์โบฮีเมียรายพระนามพระมหากษัตริย์เซอร์เบียรายพระนามสมเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซียรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรียรายพระนามจักรพรรดิจีนรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (ชั้น 1-4)รายนามประมุขแห่งรัฐโปแลนด์รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีนรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นรายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์กรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์รางวัลโนเบลสาขาเคมีราโบชายา มาร์เซลเยซาริชาร์ด ไฟน์แมนรินตินตินรถไฟฮันกีวรถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดงละองละมั่งวรศักดิ์ นิมานันท์วลาดีมีร์ เลนินวัดพระยาไกรวัดมัชฌันติการามวัดสุทธิวรารามวังศุโขทัยวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์วันพ่อวันเอกราชวิกฤตการณ์การเกณฑ์ทหารวิกตอเรียแห่งบาเดิน สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนวิลเลียม โฮลเดนวิวาห์พระสมุทรวิหค เทียมกำแหงวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮีวงศ์ปลากดอเมริกาใต้ศักดิชัย บำรุงพงศ์ศักดิ์เกษม หุตาคมสมหมาย ฮุนตระกูลสมัยเอ็ดเวิร์ดสมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงาสมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงาสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์สยามานุสสติสหภาพโซเวียตสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1918สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1918สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียสาธารณรัฐเยอรมันออสเตรียสถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาสถานีรถไฟขุนตานสงครามกลางเมืองรัสเซียสปิโร แอกนิวสนธิสัญญาแวร์ซายหม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร)หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยาหม่อมเจ้าชุมปกบุตร์ ชุมพลหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุลหลวงปู่กาหลง เตชวัณโณหลักการสิบสี่ข้ออะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซียอัลโด ฟัน ไอก์อัศนี พลจันทรอันวัร อัสซาดาตอันฮัลท์อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิก แห่งออสเตรีย (2461-2550)อาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรียอาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรียอาร์เอ็มเอส คาร์เพเทียอานิทา แบร์เวียรท์อำเภอเรณูนครอิกอร์ สตราวินสกีอุทยานแห่งชาติไซออนอุโมงค์ขุนตานอีกอน ชีเลออียอน อี. เช. บราเตียนูอนาคาริก ธรรมปาละอนุสาวรีย์ทหารอาสาอเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซินจอร์จ อีสต์แมนจอห์น เบาว์ริงจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนีจักรพรรดิออสเตรียจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรียจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซียจักรวรรดิจักรวรรดิญี่ปุ่นจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจังหวัดปทุมธานีจังหวัดเชียงใหม่จาโกโม ปุชชีนีธงชาติฟินแลนด์ธงชาติยูเครนธงชาติลัตเวียธงชาติลิทัวเนียธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวียธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวียธงชาติอาเซอร์ไบจานธงชาติจอร์เจียธงชาติไอซ์แลนด์ธงชาติไทยธงชาติเบลารุสธงชาติเยเมนธงชาติเลบานอนธงชาติเอสโตเนียธงชาติเซอร์เบียธงชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกรทรายเดือดทฤษฎีระบบควบคุมทิพย์ มงคลลักษณ์ที่สุดในประเทศไทยขรรค์ชัย กัมพลานนท์ข้อเขียนพนาโคติกณัฐวุฒิ สุทธิสงครามดัชชีสติเรียดัชชีคารินเทียดัสลีดแดร์ดอยท์เชินดุสิต (แก้ความกำกวม)ดุสิตธานีดีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกาคริสโตเฟอร์ โทลคีนคลื่นสึนามิความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐคองเกรสโปแลนด์คุวะฮะระคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลค่าปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งตระกูลเวล์ฟตราแผ่นดินของเชโกสโลวาเกียตะวันออกกลางตั้ว ลพานุกรมตุนกู อับดุล ระฮ์มันซัลเบอาตี นิการากัวซัคเซิน-อัลเทนบูร์กซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซัคเซิน-ไมนิงเงินซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซิปปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ประวัติศาสตร์รัสเซียประธานาธิบดีเยอรมนีประเสริฐ ณ นครประเทศฟินแลนด์ประเทศมอลโดวาประเทศมอนเตเนโกรประเทศมอนเตเนโกรใน ค.ศ. 1918ประเทศยูเครนประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1918ประเทศลิกเตนสไตน์ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1918ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1918ประเทศสโลวาเกียประเทศสเปนใน ค.ศ. 1918ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1918ประเทศอาเซอร์ไบจานประเทศอิหร่านประเทศจอร์เจียประเทศจีนใน ค.ศ. 1918ประเทศคอซอวอประเทศคิวบาใน ค.ศ. 1918ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1918ประเทศซานมารีโนใน ค.ศ. 1918ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1918ประเทศโมนาโกใน ค.ศ. 1918ประเทศโรมาเนียใน ค.ศ. 1918ประเทศโปรตุเกสใน ค.ศ. 1918ประเทศโปแลนด์ประเทศไอซ์แลนด์ประเทศไทยใน พ.ศ. 2461ประเทศเชโกสโลวาเกียประเทศเช็กเกียประเทศเอสโตเนียประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1918ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกรปรัมบานันปราสาทพระเทพบิดรปริศนาสมบัติอัจฉริยะปลาสลิดหินหางเหลืองนอกปลาหมอไฟร์เมาท์ปลาซิวซอ-บวาปารีสปืนกลมือปุรันทาร สิงห์นักฟิสิกส์นาดทาโทรซาบลีซกานีกีตา ครุชชอฟแกรนด์ดัชชีเฮ็สเซินแกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918)แกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียแกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซียแกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซียแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนีแองเตอร์นาซิอองนาลแฮร์มันน์ เฮสเซอแฮ็นดริก คริสโตฟเฟิล ฟัน เดอฮึลสต์แถบดาวเคราะห์น้อยแท้ ประกาศวุฒิสารแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)โบดวง เจ้าชายที่ 12 แห่งลีญโกลด เดอบูว์ซีโรคฮีโมฟิเลียในราชวงศ์ยุโรปโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรีโรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราชโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัยโรงเรียนวัดบวรนิเวศโรงเรียนศรีธรรมราชศึกษาโรงเรียนสกลราชวิทยานุกูลโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์โรงเรียนสารคามพิทยาคมโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์โรงเรียนสโมสรวิทยาลัยโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์โรงเรียนขอนแก่นวิทยายนโรงเรียนปิยะมหาราชาลัยโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชโรงเรียนเลยพิทยาคมโรงเรียนเซนต์คาเบรียลโรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ธนบุรีโรแบร์ แลงกาต์โรเบิร์ต อี. ลีโรเบิร์ต แวดโลว์โลมาแม่น้ำจีนโจเซฟ ไวส์แมนโคลงโลกนิติไสว จารุเสถียรไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์เบ็ตตี ฟอร์ดเพลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวียเพลงชาติเชโกสโลวาเกียเพลงสรรเสริญพระบารมีเกรซ เคลลีเกออร์ก คันทอร์เกออร์กี จูคอฟเมร์ ไฮเรนิกเยิร์น อุตซอนเรือหลวงพระร่วงเสนาธิการทหารอากาศ (สหราชอาณาจักร)เส้นเวลาของยุคใหม่เหรียญงานพระราชสงครามทวีปยุโรปเอ็มเพ 18เฮลซิงกิเจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาเจ้าชายโวล์ฟกังแห่งเฮสส์เจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)เจ้ากุลวงศ์ ณ เชียงใหม่เจ้าหญิงมาร์กาเรเทแห่งปรัสเซียเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มาเจ้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อตเจ้าหญิงโซฟีแห่งโฮเฮนเบิร์กเจ้าจันท์ผมหอม นิราศพระธาตุอินทร์แขวนเครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดีเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทยเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กเนลสัน แมนเดลาѲФІ1 ธันวาคม10 กันยายน11 พฤศจิกายน11 พฤษภาคม11 กุมภาพันธ์12 พฤศจิกายน12 กรกฎาคม13 มิถุนายน13 มีนาคม14 กรกฎาคม14 มีนาคม15 พฤษภาคม15 กรกฎาคม15 กันยายน15 กุมภาพันธ์15 มกราคม16 กุมภาพันธ์16 มกราคม17 กรกฎาคม17 มิถุนายน17 เมษายน18 (แก้ความกำกวม)18 พฤศจิกายน18 กรกฎาคม22 กุมภาพันธ์22 สิงหาคม23 มีนาคม25 สิงหาคม26 กุมภาพันธ์26 สิงหาคม27 พฤศจิกายน28 พฤษภาคม28 ตุลาคม29 พฤศจิกายน30 กรกฎาคม31 มีนาคม4 พฤศจิกายน4 มิถุนายน4 ธันวาคม5 มีนาคม5 ธันวาคม5 เมษายน6 พฤษภาคม6 มกราคม6 มิถุนายน6 มีนาคม8 เมษายน9 พฤศจิกายน9 ธันวาคม ขยายดัชนี (393 มากกว่า) »

บอลเชวิก

การประชุมพรรคบอลเชวิก บอลเชวิก (Bolshevik "บอลเชอวิก"; большеви́к "บาลชือวิก") แผลงมาจากคำว่าБольшинство แปลว่า ส่วนใหญ่ หรือ หมู่มาก บอลเชวิก หมายถึงสมาชิกของกลุ่ม ๆ หนึ่งภายในพรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตยรัสเซีย (RSDLP ย่อมาจาก Russian Social Democratic Labour Party) ซึ่งนิยมลัทธิมากซ์ กลุ่มนี้นำโดยเลนิน ในพรรคนี้ยังมีอีกลุ่มหนึ่งเรียกกันว่า меньшевик เมนเชวิก ซึ่งแผลงมาจากคำในภาษารัสเซีย Меньшинство แปลว่า ส่วนน้อย กลุ่มเมนเชวิกนำโดย จูเลียส มาร์ตอฟ เพื่อนสนิทและเพื่อนร่วมงานที่ใกล้ชิดคนหนึ่งของเลนิน การแตกคอกันมีขึ้นในการประชุมใหญ่ของพรรคครั้งที่ 2 ที่จัดขึ้นที่กรุงบรัสเซลส์และลอนดอน เมื่อปี ค.ศ. 1903 และท้ายที่สุดแล้วกลุ่มบอลเชวิกก็กลายมาเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต พวกบอลเชวิกมองเศรษฐกิจในแนวสัมคมนิยมสุดขั้วและเชื่อในความเป็นสากลของชนชั้นกรรมาชีพ พวกเขายึดหลักอำนาจเผด็จการพรรคเดียวและเป้าหมายสูงสุดเรื่องการปฏิวัติโลก พวกเขาปฏิเสธความเป็นชาติรัฐของรัสเซีย ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติของพวกเขามักถูกเรียกรวม ๆ ว่า ลัทธิบอลเชวิก (Bolshevism).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และบอลเชวิก · ดูเพิ่มเติม »

บอเจ พราฟเด

อเจ พราฟเด ("Боже правде" "Bože pravde"), คำแปล: "เทวะ, โปรดประทานความเป็นธรรมแก่เรา" หรือ "เทพแห่งความยุติธรรม" เป็นชื่อของเพลงชาติอย่างเป็นทางการแห่งสาธารณรัฐเซอร์เบีย ตามมาตรา 7 แห่งรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐเซอร์เบี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และบอเจ พราฟเด · ดูเพิ่มเติม »

ชาลี เอี่ยมกระสินธุ์

ลี เอี่ยมกระสินธุ์ (28 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 - 16 มิถุนายน พ.ศ. 2546) เป็นนักเขียนเรื่องสั้น และนวนิยายแนวการผจญภัยในป่าดงดิบ และบทความสารคดีชุด "ราชสำนัก" และ "เมืองไทยในอดีต" ได้รับการเชิดชูเกียรติ รางวัลนราธิป จากสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2544 ชาลี เอี่ยมกระสินธุ์ เกิดที่ตำบลเกาะหลัก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นบุตรคนโตของ นายบุญชู และนางแฉล้ม เอี่ยมกระสินธุ์ มีน้องชายชื่อชวลิต และน้องสาวชื่อชุลี เมื่ออายุ 7 ปี ได้ย้ายมาอยู่กรุงเทพมหานคร ที่บ้านพักริมแม่น้ำเจ้าพระยา ใกล้วัดบพิตรพิมุข (วัดเชิงเลน) สะพานยาว บิดาของชาลี เป็นครู และเป็นนักเขียน มีนามปากกาว่า ". เอี่ยมกระสินธุ์" ต่อมาได้ตั้งสำนักพิมพ์ อ.ก..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และชาลี เอี่ยมกระสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561

้านล่างนี้เป็นบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และบุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

บุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์

ลแห่งปี (Person of the Year หรือเดิม Man of the Year) เป็นฉบับประจำปีของนิตยสารข่าวไทม์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเสนอและพรรณนาถึงบุคคล กลุ่ม แนวคิดหรือวัตถุซึ่ง "ไม่ว่าจะเกิดอะไรก็ตาม...ได้มีอิทธิพลมากที่สุดต่อเหตุการณ์ในปีนั้น".

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และบุคคลแห่งปีของนิตยสารไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ชูอัน มีโร

ูอัน มีโร ภาพงานจิตรกรรมชื่อ "กลางคืน (Nocturne)" ของชูอัน มีโร ชูอัน มีโร อี ฟาร์รา (Joan Miró i Ferrà) เป็นจิตรกรและประติมากรชาวกาตาลา (ประเทศสเปน) ในสกุลศิลปะลัทธิเหนือจริง (surrealism) ภาพของเขาที่แสดงความเคลื่อนไหวไปมาอย่างน่าประหลาดนั้น เขาทำขึ้นจากความเคลื่อนไหวของลายเส้นที่พันกันชุลมุนและความสว่างสดใสของสี ภาพของมีโรเป็นการแปลสิ่งมหัศจรรย์ ซึ่งเป็นความแท้จริงที่พบใหม่นี้ มีความเป็นอยู่อย่างเหมาะสมดีแท้ทีเดียว เพราะโดยข้อเท็จจริงแล้ว ความแท้จริงใหม่นี้ ไม่สามารถจะจับเอาเป็นคำพูด ความคิด หรือภาพให้สมบูรณ์แบบได้เลย ศิลปินลัทธิเหนือจริงและศิลปินเอกของศิลปะนามธรรมผู้นี้ได้พัฒนามาเป็นแบบอย่างศิลปะส่วนตัวอย่างเต็มที่ กลายเป็นผลงานที่สีสันอุดมสมบูรณ์ โดยได้รับอิทธิพลมาจากคันดินสกี อาร์พ และเคล ผลงานของเขาเผยให้เห็นภาษาเชิงกวีนิพนธ์ มีโรได้รับการยอมรับว่ามีเอกลักษณ์ในการถ่ายทอดวัฒนธรรมท้องถิ่น ออกมาเป็นภาพวาดได้อย่างลงตัวและงดงามหาที่เปรียบมิได้ เป็นศิลปินยุค 1893-1983 ซึ่งถือว่าโดดเด่นมากเมื่อเทียบกับรุ่นพี่อย่างปาโบล ปีกัสโซ ร่วมพิสูจน์ภาพเขียนแนวเหนือจริงที่ฉีกจากกรอบและกฎเกณฑ์เดิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และชูอัน มีโร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2411

ทธศักราช 2411 ตรงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2411 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2457

ทธศักราช 2457 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1914 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2457 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2530

ทธศักราช 2530 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1987 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2530 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2533

ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2533 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2535 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2556

ทธศักราช 2556 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2013 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2557

ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2557 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม)

ระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ หรือ หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม (27 มกราคม พ.ศ. 2432 - 8 กันยายน พ.ศ. 2504) เป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ชาวจังหวัดอุบลราชธานี พระป่ากรรมฐานศิษย์องค์สำคัญของ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต หลวงปู่สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็นพระภิกษุผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ตามพระธรรมวินัย เอาใจใส่การศึกษาปฏิบัติธรรม มีความรู้ความเห็นลึกซึ้ง มีปฏิภาณเทศนาแจ่มแจ้ง โวหารไพเราะจับใจ มีชื่อเสียงด้านวิปัสสนาธุระ ธรรมบาลี อักษรสมัย และวิทยาคม เป็นบุคคลที่มีจิตใจหนักแน่ ประพฤติพรหมจรรย์ บำเพ็ญวิปัสสนาธุระตลอดชีวิต มุ่งดีต่อหมู่คณะและพระศาสนา รับภารธุระครูบาอาจารย์ ฟื้นฟูทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ เมื่อรับตำแหน่งฝ่ายบริหาร ยินดีรับภารธุระและเอาใจใส่ด้วยความเต็มใจ ยังกิจการคณะสงฆ์ให้เจริญรุ่งเรื่อง มีพระสงฆ์สามเณรและฆราวาสเป็นศิษย์มากมาย จนได้รับขนานนามว่า แม่ทัพธรรมพระกรรมฐาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระญาณวิศิษฏ์สมิทธิวีราจารย์ (สิงห์ ขนฺตยาคโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระมหามนตรีศรีองครักษ์สมุห (ฉัตร โชติกเสถียร)

ระมหามนตรีศรีองครักษ์สมุห (ฉัตร โชติกเสถียร) เป็นบุตรพระยาธรรมจรรยานุกูลมนตรี (ทองดี โชติกเสถียร) กับท่านผิว เกิดเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2439 เข้ารับราชการสนองพระมหากรุณาธิคุณต่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2457 โปรดเกล้าฯ พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นนายรองสนิท พ.ศ. 2461 เป็นรองหัวหมื่นหลวงเดชนายเวร พ.ศ. 2465 เป็นจมื่นมหาดเล็ก ในสมัยรัชกาลที่ 7 ในปี พ.ศ. 2471 เป็นเจ้ากรมมหาดเล็กในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระมหามนตรีศรีองครักษ์สมุห (ฉัตร โชติกเสถียร) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน)

ระยาพหลพลพยุหเสนา (แถวหน้าซ้ายมือ) นำคณะรัฐมนตรีของไทยเข้าเยือนประเทศญี่ปุ่น และพบกับ ฮิเดกิ โตโจ (แถวหน้าตรงกลาง) นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น เมื่อปี พ.ศ. 2485 ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง พลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เดิมชื่อว่า "พจน์ พหลโยธิน" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 2 เกิดวันที่ 29 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) · ดูเพิ่มเติม »

พระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์)

มหาอำมาตย์โท พระยามโนปกรณนิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทย ชื่อเดิมว่า "ก้อน หุตะสิงห์" เกิดวันที่ 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2423 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2507) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ อดีตอธิบดีกรมต่างๆ อาทิ เช่น อธิบดีกรมที่ดินและโลหะกิจ เป็นต้น อดีตนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์)

ระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2414 — 30 เมษายน พ.ศ. 2479) เป็นอดีตข้าราชการไทยสังกัดกระทรวงมหาดไทย ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า มีชื่อเสียงจากความรอบรู้ในประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา และการเป็นผู้บุกเบิกการค้นคว้าทางโบราณคดีที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์กรุงศรีอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระยาโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคุปต์) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังบางปะอิน

ระราชวังบางปะอิน ตั้งอยู่ในตำบลบ้านเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากเกาะเมืองลงมาทางทิศใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร เป็นพระราชวังโบราณตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สร้างขึ้นโดยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เนื่องจากเป็นที่ประสูติของพระองค์ ใช้เป็นสถานที่ที่ทรงใช้ประทับแรม ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ด้วยเป็นพระราชวังใกล้พระนครนั่นเอง หลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง พระราชวังบางปะอินถูกปล่อยให้รกร้างมาระยะหนึ่ง แต่กลับมาเป็นที่รู้จักอีกครั้งโดยสุนทรภู่ซึ่งได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรีได้ประพันธ์ถึงพระราชวังบางปะอินไว้ในนิราศพระบาท จนกระทั่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงได้เริ่มการบูรณะพระราชวังขึ้น และในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้บูรณะครั้งใหญ่ โดยสร้างพระที่นั่ง พระตำหนัก และตำหนักต่าง ๆ ขึ้นมากมายเพื่อใช้เป็นที่ประทับรับรองพระราชอาคันตุกะ และพระราชทานเลี้ยงในโอกาสต่าง ๆ ปัจจุบัน พระราชวังบางปะอินอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง และยังใช้เป็นสถานที่แปรพระราชฐานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์ รวมถึงประกอบพระราชพิธีสังเวยพระป้าย แต่ได้เปิดให้ประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าชมได้ โดยต้องแต่งกายให้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระราชวังบางปะอิน · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังเชินบรุนน์

ระราชวังเชินบรุนน์ (Schloss Schönbrunn) ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ในอดีตเป็นที่ประทับของจักรพรรดิแห่งราชวงศ์ฮับส์บูร์ก ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 18 จนถึง พ.ศ. 2461 ออกแบบโดย Johann Bernhard Fischer von Erlach และ Nicolaus Pacassi เป็นสถานที่รวบรวมผลงานทางศิลปะการตกแต่งชั้นเยี่ยมจำนวนมาก ภายในอุทยานเคยเป็นที่ตั้งของสวนสัตว์แห่งแรกของโลกเมื่อ พ.ศ. 2295 ปัจจุบันได้รับการประกาศให้เป็นมรดกโลก และเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมากในกรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระราชวังเชินบรุนน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย

ระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 (Descendants of Emperor Nicholas I) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิต เริ่มจากการอภิเษกสมรสของสมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 1 แห่งรัสเซีย (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2339 - 2 มีนาคม พ.ศ. 2398 เสวยราชสมบัติ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2368 สืบต่อจากสมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1 พระบรมเชษฐาธิราช) พระราชโอรสลำดับที่ 9 ในสมเด็จพระจักรพรรดิพอลที่ 1 แห่งรัสเซีย (พระราชโอรสในสมเด็จพระจักรพรรดินีแคเธอรีนที่ 2 แห่งรัสเซีย หรือ แคเธอรีนมหาราชินี) กับ สมเด็จพระจักรพรรดินีมารี เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (พระอิสริยยศเดิม เจ้าหญิงโซฟี-โดโรเธียแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ณ พระราชวังฤดูหนาว กรุงเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก กับ เจ้าฟ้าหญิงชาร์ล็อตแห่งปรัสเซีย (ฟรีเดริเค หลุยซา ชาร์ล็อต วิลเฮลมินา; 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2341 - 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2403 ซึ่งทรงเปลี่ยนพระนามเป็น แกรนด์ดัชเชสอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย หลังจากการเข้ารีตในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2460) และมีพระราชโอรสธิดาทั้งหมด 7 พระองค์ พระราชนัดดา 31 พระองค์ และพระราชปนัดดาจำนวนหลายพระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) พระราชโอรสและพระราชธิดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 2 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา นิโคไลเยฟนาแห่งรัสเซีย (สมเด็จพระราชินีแห่งเวือร์ทเท็มแบร์ก) ส่วนพระราชนัดดาที่สำคัญคือ สมเด็จพระจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย แกรนด์ดัชเชสโอลกา คอนสแตนตินอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมา สมเด็จพระราชินีแห่งกรีซ) และแกรนด์ดัชเชสอนาสตาเซีย มิคาอิลอฟนาแห่งรัสเซีย (ต่อมาคือ แกรนด์ดัชเชสแห่งเม็คเล็นบูร์ก-ชเวริน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระราชสันตติวงศ์ในซาร์นีโคไลที่ 1 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระรามราชนิเวศน์

ระรามราชนิเวศน์ หรือ วังบ้านปืน ตั้งอยู่ที่เขตบ้านปืน ริมแม่น้ำเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นประทับแปรพระราชฐานที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อเสด็จประพาสจังหวัดเพชรบุรี โดยมีนายคาร์ล ดอห์ริง สถาปนิกชาวเยอรมนีเป็นผู้เขียนแบบ, ดร.ไบเยอร์ ชาวเยอรมนี เป็นนายช่างก่อสร้าง, พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นดำรงราชานุภาพ (พระยศขณะนั้น) ทรงควบคุมการก่อสร้าง, และสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมขุนนครสวรรค์วรพินิต (พระยศขณะนั้น) ทรงควบคุมด้านการไฟฟ้า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2453.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระรามราชนิเวศน์ · ดูเพิ่มเติม »

พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา

ันเอก มหาอำมาตย์ตรี พระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา (ประสูติในรัชกาลที่ 3 เมื่อปีวอก พ.ศ. 2391 - วันที่ 9 กันยายน ปีมะเมีย พ.ศ. 2461) เป็นพระโอรสพระองค์ใหญ่ในพระเจ้าราชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารองทรง กรมหมื่นสิทธิสุขุมการ เดิมทรงพระยศเป็นหม่อมเจ้า และได้รับสถาปนาเป็นพระองค์เจ้าเมื่อเสด็จไปเป็นเทศาภิบาล ณ มณฑลอุดร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวัฒนา · ดูเพิ่มเติม »

พระศีลมงคล (ทอง สีลสุวณฺโณ)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระศีลมงคล (ทอง สีลสุวณฺโณ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูบรรณสารโกวิท (แป สุปญฺโญ)

ระครูบรรณสารโกวิท (แป สุปญฺโญ) อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอเมืองสุรินทร์-กิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์,อดีตเจ้าคณะอำเภอเมืองสุรินทร์-กิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์ และอดีตเจ้าอาวาสวัดกลางสุรินทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระครูบรรณสารโกวิท (แป สุปญฺโญ) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต)

ระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต) เป็นพระเกจิอาจารย์มหาเถระในจังหวัดเพชรบุรีที่มีชื่อเสียงมากของประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระครูญาณวิลาศ (แดง รตฺโต) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูสิทธิสารคุณ (จาด คังคสโร)

หลวงพ่อจาด (17 มีนาคม พ.ศ. 2415 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2499) ท่านเป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดบางกะเบา นามของท่านเป็นที่รู้จักในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง มีสมญานามเรียกขานคล้องจองว่า จาด จง คง อี๋ สำหรับค่านิยมอันสูงสุดของวัตถุมงคลของท่านนั้นได้แก่ เหรียญลงยานั่งเต็มองค์ปี พ.ศ. 2483 ตอกหมายเลข และที่ตามมาเป็นอันดับสองคือ เหรียญ.เจริญลาภ ทั้งสองเหรียญนี้ถ้าอยู่ในสภาพเดิมๆสวยสมบูรณ์มีค่านิยมสูงถึงหลักแสนบาทเลยทีเดียว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระครูสิทธิสารคุณ (จาด คังคสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูนิภาวิหารกิจ (ดำ จนฺทสโร)

หลวงพ่อดำ จนฺทสโร (15 เมษายน พ.ศ. 2484 — 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551) อดีตเจ้าอาวาส วัดใหม่นภาราม ผู้ที่สืบทอดวิชาการสร้างไม้ครูและพระควัมบดี (พระปิตตา) มาจากหลวงพ่อครน วัดบางแซะ (เจ้าของพระปิตตาค่านิยมหลักแสนหลักล้าน) วัตถุมงคลของหลวงพ่อดำโด่งดังไปทั่วเมืองไทย สิงคโปร์ และมาเลเซีย ปิดกันให้แซ่ดว่า ขลังยิงไม่ออก แคล้วคลาดจากอันตรายนานัปการ เป็นมหาลาภ ปลดหนี้ปลดสิน พลิกฟื้นดวงชะตาได้อย่างไม่น่าเชื่อ แม้แต่ พระมหากษัตริย์ บางรัฐของมาเลเซีย ยังแขวนพระปิตตาและถือไม้ครูของท่านด้วยความศรัทธา เนื่องจากในสมัย 10 ปีก่อน มีการทดสอบพระปิตตาของท่านในมาเลเซีย ต่อหน้ากษัตริย์แห่งรัฐนั้น ผลคือมหาอุตยิงไม่ออก เป็นที่กล่าวขานทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศที่อยู่ในเหตุการณ์ เรื่องราวทั้งหมดได้ตีพิมพ์อยู่ในหนังสือพิมพ์ ครูบาอาจารย์ของท่าน นอกจากหลวงพ่อดำ ได้ไปศึกษากับหลวงพ่อครนแล้ว ท่านยังได้ไปศึกษาเพิ่มเติมกับ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี (27 มีนาคม พ.ศ. 2430 — 5 มีนาคม พ.ศ. 2524) อีกด้วย แค่เอ่ยนามก็สามารถรับรู้ทันทีได้ว่า ท่านจะมีความเก่งกล้าเพียงใดในวิชาอาคม ส่วนสหธรรมิกของท่านได้แก่ หลวงพ่อทอง วัดสำเภาเชย (5 เมษายน พ.ศ. 2461 — 26 เมษายน พ.ศ. 2554) และพ่อท่านเหมาะ วัดรังสิตาวาส จังหวัดยะล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระครูนิภาวิหารกิจ (ดำ จนฺทสโร) · ดูเพิ่มเติม »

พระครูนิยุตต์ธรรมกิจ (บุญธรรม ธมฺมปฺปสาโท)

ระครูนิยุตต์ธรรมกิจ(บุญธรรม ธมฺมปฺปสาโท) (21 ตุลาคม พ.ศ. 2440 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2523) เป็นพระเถระชั้นผู้ใหญ่อีกท่านหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์ เป็นอดีตเจ้าอาวาสวัดเขาแก้ว อดีตเจ้าคณะตำบลพยุหะ อดีตเจ้าคณะอำเภอพยุหะคีรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระครูนิยุตต์ธรรมกิจ (บุญธรรม ธมฺมปฺปสาโท) · ดูเพิ่มเติม »

พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)

ระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) (17 มิถุนายน พ.ศ. 2461 - 16 มกราคม พ.ศ. 2535) ตรงกับ วันศุกร์ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ปีมะเมีย ณ บ้านจิกก่อ หมู่ที่ 9 ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี บิดาชื่อนายมา ช่วงโชติ มารดาชื่อ นางพิมพ์ ช่วงโชติ มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันจำนวน 10 คน หลวงปู่ชา สุภทฺโท ขณะมีชีวิตอยู่ท่านได้อุทิศชีวิตเพื่อการปฏิบัติธรรมและเผยแผ่พุทธศาสนา ทั้งแก่ชาวไทยและชาวต่างประเทศ ซึ่งบังเกิดผลทำให้ผลงานที่เป็นประโยชน์อเนกอนันต์แก่พระศาสนา ทั้งที่เป็นพระธรรมเทศนา และสำนักปฏิบัติธรรมในนามวัดสาขาวัดหนองป่าพงมากมาย ซึ่งแม้ท่านจะมรณภาพไปนานแล้ว แต่ศิษยานุศิษย์ของท่านก็ยังคงรักษาแนวทางปฏิบัติธรรมที่ท่านได้สั่งสอนไว้จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขา

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขา (21 ธันวาคม พ.ศ. 2400 — 29 มิถุนายน พ.ศ. 2461) พระราชธิดาพระองค์ที่ 36 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 กับพระองค์ที่ 5 ในเจ้าจอมมารดาเที่ยง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี (เปอร์เซีย: محمدرضا شاه پهلوی, พระราชสมภพ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1919 ณ เตหะราน ประเทศอิหร่าน – สวรรคต 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980 ณ ไคโร ประเทศอียิปต์) หรือ จักรพรรดิชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี พระองค์ทรงเป็นชาห์แห่งอิหร่านซึ่งเป็นชาห์องค์สุดท้ายที่ปกครองอิหร่าน โดยพระองค์เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวีซึ่งเป็นราชวงศ์สุดท้ายที่ปกครองประเทศอิหร่านก่อนการปฏิวัติอิสลาม พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้รับการขนานพระนามเป็น ชาฮันชาห์ (Shahanshah ราชันย์แห่งราชา เทียบเท่าตำแหน่งจักรพรรดิ), อัรยาเมหร์ (Aryamehr แสงแห่งอารยัน) และ บอซอร์ก อาร์เตสตาราน (Bozorg Arteshtārān จอมทัพ, เปอร์เซีย:بزرگ ارتشتاران).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์

ระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ (อาหรับ:فؤاد الأول‎) (26 มีนาคม ค.ศ. 1868-28 เมษายน ค.ศ. 1936) สุลต่านและกษัตริย์อียิปต์และซูดาน, องค์อธิปัตย์แห่งนิวเบีย, คูร์ดูฟาน และดาร์ฟูร์ พระองค์เป็นกษัตริย์องค์ที่เก้าแห่งราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี โดยพระองค์ครองราชย์เป็นสุลต่านแห่งอียิปต์และซูดานเมื่อ ค.ศ. 1917 โดยครองราชย์ต่อจากพระเชษฐาของพระองค์ คือ สุลต่านฮุสเซน คามิล โดยพระองค์ตั้งตนเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของอียิปต์ หลังจากพ้นจากการปกครองของสหราชอาณาจักร เมื่อ ค.ศ. 1922.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระเจ้าฟุอาดที่ 1 แห่งอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์

ระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ จางวางมหาดเล็ก มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร (6 กันยายน พ.ศ. 2421 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2475) จางวางพิเศษพระราชวังบางปะอิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสรฐวงษ์วราวัตร กรมหมื่นอนุพงษ์จักรพรรดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2 แห่งตองงา

สมเด็จพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2 แห่งตองกา แห่งราชวงศ์ตูโปอู (18 มิถุนายน พ.ศ. 2417 — 5 เมษายน พ.ศ. 2461) ทรงเป็นพระราชโอรสในเจ้าชายเซียโอซิ ฟาตาเฟหิ ตัวไตโตโกตาฮา (ตูอิเปเลหะกาลำดับที่ 4 และนายกรัฐมนตรีของตองงา) และพระราชมารดาซึ่งเป็นหลานของพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 พระองค์มีพระนามภาษาตองงาว่าเจียโอจิ ตูบู หรือเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 2 ต่อมาพระองค์ได้ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจากพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 ในปี พ.ศ. 2436 พระองค์โปรดในด้านศิลปะและเป็นกวีที่เปรื่องปราด อีกทั้งพระองค์ยังทรงไม่ชื่นชอบการบริหารประเทศ จึงทรงมอบหมายให้ เชอเลย์ ดับเบิลยู บาเกอร์ มิชชันนารีชาวคริสต์นิกายเวสเลยันมาบริหารประเทศ แต่นายเชอเลย์ คดโกงและโกงกินจึงถูกเนรเทศออกนอกประเทศ และเมื่อพระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2461 เมื่อพระชนมพรรษาได้ 43 พรรษา สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงา ก็ได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติแทน หมวดหมู่:ราชวงศ์ตูโปอู หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ตองงา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2 แห่งตองงา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (George V of the United Kingdom) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ซึ่งทรงสถาปนาขึ้นจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายอังกฤษ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ พระองค์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดียและปฐมกษัตริย์เสรีรัฐไอร์แลนด์อีกด้วย พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453 ผ่านช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2457 ถึง พ.ศ. 2461) จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2479 พระองค์ทรงปฏิบัติราชการในราชนาวีอังกฤษตั้งแต่พระชนมายุ 12 พรรษา แต่หลังจากการสิ้นพระชนม์อย่างไม่คาดฝันของเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งแคลเรนซ์และแอวันเดล พระเชษฐา ทำให้ทรงกลายเป็นรัชทายาทในราชบัลลังก์และอภิเษกสมรสกับพระคู่หมั้นของพระเชษฐาคือเจ้าหญิงแมรีแห่งเทก ถึงแม้ว่าทั้งสองพระองค์จะเสด็จประพาสจักรวรรดิอังกฤษเป็นบางโอกาส แต่พระเจ้าจอร์จที่ 5 โปรดที่จะประทับที่พระตำหนักพร้อมกับการสะสมดวงตราไปรษณียากร และทรงมีชีวิตที่ต่อมานักชีวประวัติเห็นว่าไม่น่าสนใจเนื่องจากความเป็นธรรมดาและเรียบง่าย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 พระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย

ระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย(30 มกราคม พ.ศ. 2437 - 28 สิงหาคม พ.ศ. 2489)(พระนามเต็ม:บอริส คลีเมนต์ โรเบิร์ต มาเรีย ปิอุส ลุดวิก สตานิสเลาส์ ซาเวียร์)เป็นพระโอรสในพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรียกับเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งปาร์มา พระองค์ทรงขึ้นครองราชสมบัติหลังจากพระบิดาทรงสละราชบัลลังก์ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระเจ้าซาร์บอริสที่ 3 แห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย

ระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2404 — 10 กันยายน พ.ศ. 2491; พระนามเมื่อประสูติ: เจ้าชายเฟอร์ดินานด์ แม็กซิมิลเลียน คาร์ล ลีโอโปลด์ มาเรียแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา-โคฮารี) ทรงเป็นองค์อธิปัตย์แห่งบัลแกเรีย และหลังจากนั้นทรงดำรงเป็นพระเจ้าซาร์แห่งบัลแกเรีย ทรงเป็นทั้งนักประพันธ์,นักพฤกษาศาสตร์,นักกีฏวิทยาและเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านแสตมป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระเจ้าซาร์เฟอร์ดินานด์ที่ 1 แห่งบัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช)

นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) เป็นนายทหารนักบินไทยในสงครามโลกครั้งที่ 1 และอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดินคนแรก เดิมชื่อ "หลี" เกิดเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พุทธศักราช 2438 ณ บ้านเลขที่ 6 ตำบลบางเลน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรคนที่ 4 ในจำนวนบุตรธิดาทั้งหมด 4 คน ของนายคำและนางยวง สุวรรณานุช ภายหลังสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกในปีพุทธศักราช 2457 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนายร้อยตรีแล้ว ได้เข้ารับราชการในตำแหน่งผู้บังคับหมวดในกองร้อยที่ 1 กรมทหารราบที่ 3 พุทธศักราช 2460 ได้สมัครเข้าเป็นกองทหารอาสาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเข้าร่วมรบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในตำแหน่งนายร้อยโท ผู้บังคับหมวดในกองย่อยรถยนต์ กองใหญ่รถยนต์ที่ 4 พุทธศักราช 2461 เดินทางไปราชการในสงครามโลกครั้งที่ 1 ประจำการ ณ ประเทศฝรั่งเศส และด้วยที่มีใจรักทางการบิน จึงเข้าฝึกเป็นนักบินในโรงเรียนการบินทหารบกและโรงเรียนการทิ้งระเบิดแห่งประเทศฝรั่งเศส พุทธศักราช 2462 สำเร็จการฝึกเป็นนักบิน เข้าประจำการในกองทัพยึดดินแดนเมืองนอยสตาดท์ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ทำหน้าที่เป็นนักบินและผู้ทิ้งลูกระเบิด โดยปฏิบัติการอยู่ประมาณ 4 เดือน เมื่อสงครามสงบได้เดินทางกลับประเทศไทยแล้วย้ายสังกัดไปอยู่ กรมอากาศยานทหารบก ในตำแหน่งผู้บังคับหมวด กองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งกรมอากาศยานทหารบกนี้ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “กรมอากาศยาน” และได้มีการพัฒนาปรับเปลี่ยนขยายหน่วยงานจนได้รับการยกฐานะเป็น “กองทัพอากาศ” ในปัจจุบัน พุทธศักราช 2464 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นเรืออากาศเอก ตำแหน่งผู้ช่วยผู้บังคับกองศึกษาและฝึกหัด กองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2467 ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงเทวัญอำนวยเดช” และเป็นผู้รั้งตำแหน่งปลัดกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2468 เป็นผู้รักษาการในตำแหน่งผู้บังคับกองบินใหญ่ที่ 3 พุทธศักราช 2469 เป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 2 กองบินใหญ่ที่ 3 ปีพุทธศักราช 2470 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศตรี และเป็นผู้บังคับกองบินน้อยที่ 1 กองบินใหญ่ที่ 2 พุทธศักราช 2473 ประจำกองอากาศยานเพื่อเข้าศึกษาในโรงเรียนเสนาธิการทหารบก พุทธศักราช 2474 ได้รับพระราชทานยศให้เป็นนาวาอากาศโท พุทธศักราช 2475 เข้าศึกษาในโรงเรียนการบินขั้นสูง และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระเทวัญอำนวยเดช” พุทธศักราช 2476 ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้ช่วยเจ้ากรมอากาศยาน ฝ่ายธุรการ และได้เกิดความขัดแย้งทางการเมืองกรณี “กบฏบวรเดช” มีการใช้กำลังทหารต่อสู้กันระหว่างฝ่ายของ พลเอก พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช กับฝ่ายรัฐบาลของคณะราษฎร เป็นผลให้นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ต้องพ้นจากราชการ และเปลี่ยนฐานะเป็น “นักโทษการเมือง” ต่อมา พุทธศักราช 2480 ได้มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมนักโทษการเมืองในกรณีดังกล่าว และพิจารณาให้กลับเข้ารับราชการ โดยให้ไปเป็นข้าราชการพลเรือนปฏิบัติงานในกระทรวงทบวงกรมอื่น พุทธศักราช 2481 ได้รับบรรจุเป็นเสมียนพนักงาน กองสหกรณ์ภาคใต้ กรมสหกรณ์ แล้วเข้าศึกษาในโรงเรียนการอบรมกรมสหกรณ์ที่ดิน หลังจากนั้นได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งพนักงานสหกรณ์จัตวา กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2482 ได้เลื่อนตำแหน่งเป็นพนักงานสหกรณ์ตรี กองควบคุมสหกรณ์ กรมสหกรณ์ ปฏิบัติหน้าที่ประจำเขตอำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี พุทธศักราช 2489 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองขยายการสหกรณ์ กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2494 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองสหกรณ์นิคม กรมสหกรณ์ พุทธศักราช 2495 ได้มีพระราชกฤษฎีกาประกาศปรับปรุงการจัดตั้งกระทรวงทบวงกรม ให้มีการจัดตั้งกระทรวงการสหกรณ์ขึ้น และมี กรมสหกรณ์ที่ดิน เป็นหน่วยงานหนึ่งในสังกัด โดย นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ได้รับแต่งตั้งให้รักษาการในตำแหน่งอธิบดี พุทธศักราช 2496 ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมสหกรณ์ที่ดิน โดยนับเป็นอธิบดีคนแรกเมื่อมีการประกาศแบ่งส่วนราชการนี้ขึ้น (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อหน่วยงานเป็น "กรมส่งเสริมสหกรณ์" สังกัด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) พุทธศักราช 2501 เกษียณอายุราชการเพื่อรับบำนาญ ในตอนปลายของชีวิต นาวาอากาศโท พระเทวัญอำนวยเดช ใช้เวลาอยู่กับการปลูกและดูแลต้นไม้ซึ่งเป็นสิ่งที่รักเป็นชีวิตจิตใจ ต่อมาสุขภาพทรุดโทรมลง และเริ่มมีอาการป่วยจนถึงแก่กรรมในที่สุดจากเหตุตับวาย ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พุทธศักราช 2514 เวลา 19.05 นาฬิกา สิริอายุ 76 ปี 6 เดือน จัดการพระราชทานเพลิงศพ ณ ฌาปนสถานกองทัพบก วัดโสมนัสวิหาร ราชวรวิหาร เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2516.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพระเทวัญอำนวยเดช (เสรี สุวรรณานุช) · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

ัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บริเวณพระราชวังบวรสถานมงคล หรือส่วนหนึ่งของที่ประทับวังหน้า ซึ่งก็คือพื้นที่พระราชวังของสมเด็จพระบวรราชเจ้าตั้งแต่รัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา มีอาณาเขตตั้งแต่บริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มณฑลพิธีท้องสนามหลวงตอนตะวันตก อนุสาวรีย์ทหารอาสา และโรงละครแห่งชาติในปัจจุบัน ภายในพิพิธภัณฑ์ประกอบด้วยหมู่พระที่นั่งต่าง ๆ ได้แก่ พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย หมู่พระวิมาน พระที่นั่งอิศเรศราชานุสรณ์ อาคารประพาสพิพิธภัณฑ์ และ อาคารมหาสุรสิงหนาท เดิมพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ในพระบรมมหาราชวัง ที่หอคองคอเดีย (ศาลาสหทัยสมาคม ในปัจจุบัน) เรียกว่า "มิวเซียม" หรือ "พิพิธภัณฑสถานหอคองคอเดีย" โดยมีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 19 กันยายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร · ดูเพิ่มเติม »

กระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย)

กระทรวงสาธารณสุข (Ministry of Public Health) เป็นหน่วยงานราชการไทย ประเภทกระทรวง มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคภัย การฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงสาธารณสุขหรือส่วนราชการที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขปัจจุบันตั้งอยู่ที่ ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และกระทรวงสาธารณสุข (ประเทศไทย) · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพโซเวียต

กองทัพโซเวียต หรือ กองทัพสหภาพโซเวียต มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า กองทัพแห่งสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Вооружённые Силы Союза Советских Социалистических Республик, Вооружённые Силы Советского Союза) หมายถึง กองกำลังทหารของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย (1917–1922) และสหภาพโซเวียต (1922–1991) นับแต่การเริ่มต้นหลังสงครามกลางเมืองรัสเซียสิ้นสุดกระทั่งล่มสลายในเดือนธันวาคม 1991 ตามกฎหมายราชการทหารทั่วสหภาพ เดือนกันยายน 1925 กองทัพโซเวียตประกอบด้วยห้าเหล่า ได้แก่ กองทัพบก กองทัพอากาศ กองทัพเรือ หน่วยอำนวยการการเมืองรัฐ (OGPU) และ กองกำลังภายใน (convoy guards) ภายหลัง OGPU แยกเป็นอิสระและรวมเข้ากับ NKVD ในปี 1934 หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีการเพิ่มหน่วยขีปนาวุธทางยุทธศาสตร์ (1960) กองกำลังป้องกันภัยทางอากาศ (1948) และกำลังประชาชนแห่งชาติทั่วสหภาพ (1970) ซึ่งจัดเป็นอันดับที่หนึ่ง สามและหกในการนับความสำคัญเปรียบเทียบอย่างเป็นทางการของโซเวียต (โดยกำลังภาคพื้นดินมีความสำคัญเป็นอันดับสอง กองทัพอากาศเป็นอันดับสี่ และกองทัพเรือเป็นอันดับห้า) อำนาจทางทหารของโซเวียตในขณะนั้นใหญ่ที่สุดและทรงอำนาจที่สุดของโลก โครงสร้างการบังคับบัญชาของกองทัพแห่งสหภาพ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และกองทัพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเช็กเกีย

กองทัพสาธารณรัฐเช็ก (Armáda České Republiky) เป็นกองกำลังของประเทศเช็กเกีย ประกอบไปด้วย กองทัพบก กองทัพอากาศ และ หน่วยสนับสนุน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และกองทัพเช็กเกีย · ดูเพิ่มเติม »

กัฟรีโล ปรินซีป

กัฟรีโล ปรินซีป (อักษรซีริลลิก: Гаврило Принцип Gavrilo Printsip; Gavrilo Princip; 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1894 — 28 เมษายน ค.ศ. 1918) เป็นคนชาวเซอร์เบีย กลุ่มยิว และเป็นสมาชิกกลุ่ม "มือดำ" ปรินซีปเป็นผู้ลอบปลงพระชนม์ อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดีนันด์แห่งออสเตรีย มกุฎราชกุมารแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และโซฟี ดัชเชสแห่งโฮเฮนเบิร์กพระชายาที่ เมืองซาราเยโว ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซึ่งขณะนั้น ยังเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีอยู่ ในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2457 เป็นผู้ทำให้จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รบกับ เซอร์เบีย ใน สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และกัฟรีโล ปรินซีป · ดูเพิ่มเติม »

การล่าอาณานิคมของญี่ปุ่น

มื่อ พ.ศ. 2453 ญี่ปุ่นได้ผนวกเกาหลีเป็นดินแดนของตนตามสนธิสัญญาการรวมญี่ปุ่น-เกาหลี ซึ่งสนธิสัญญานี้เป็นที่ยอมรับของญี่ปุ่นฝ่ายเดียว แต่ไม่เป็นที่ยอมรับในเกาหลี เพราะถือว่าไม่มีการลงนามของกษัตริย์เกาหลี เกาหลีถูกญี่ปุ่นปกครองจนกระทั่งญี่ปุ่นเป็นฝ่ายแพ้สงครามเมื่อ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ในระหว่างการปกครองของญี่ปุ่น มีการสร้างระบบคมนาคมแบบตะวันตก แต่ส่วนใหญ่เพื่อประโยชน์ทางการค้าของญี่ปุ่นมากกว่าประโยชน์ของชาวเกาหลี ญี่ปุ่นล้มล้างราชวงศ์โชซอน ทำลายพระราชวัง ปรับปรุงระบบภาษี ให้ส่งข้าวจากเกาหลีไปญี่ปุ่น ทำให้เกิดความอดอยากในเกาหลี มีการใช้แรงงานทาสในการสร้างถนนและทำเหมืองแร่ หลังการสวรรคตของกษัตริย์โกจง (Gojong) เมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2461 ด้วยยาพิษ ทำให้เกิดการเรียกร้องเอกราชทั่วประเทศ เมื่อ 1 มีนาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และการล่าอาณานิคมของญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

การุณ เก่งระดมยิง

.อ.(พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง พันเอก (พิเศษ) การุณ เก่งระดมยิง (11 ธันวาคม พ.ศ. 2461 - 18 ธันวาคม พ.ศ. 2547) อดีตสมาชิกขบวนการเสรีไทย อดีตโฆษกรายการโทรทัศน์และวิทยุ เช่น รายการป๊อบท็อป รายการยี่สิบคำถาม และเป็นผู้ก่อตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงกรมการทหารสื่อสารและโทรทัศน์ไทย ซึ่งกลายเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ในปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และการุณ เก่งระดมยิง · ดูเพิ่มเติม »

การจลาจลข้าว ค.ศ. 1918

ซุซุกิ โชเท็นในเมืองโกเบ ถูกเผาทำลายระหว่างการจลาจลข้าวในวันที่ 11 สิงหาคม ค.ศ. 1918 การจลาจลข้าว..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และการจลาจลข้าว ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน

การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน (Köppen climate classification) เป็นหนึ่งในระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศที่ใช้กันกว้างขวางที่สุด วลาดิเมียร์ เคิปเปนเป็นผู้เผยแพร่ระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศนี้เป็นคนแรกในปี พ.ศ. 2427 และการแก้ไขเล็กน้อยโดยเคิปเปนเองตามมาในปี พ.ศ. 2461 และ พ.ศ. 2479 ภายหลังนักกาลวิทยาชาวเยอรมนีนามว่ารูดอล์ฟ ไกเกอร์ ร่วมมือกับเคิปเปนเปลี่ยนแปลงระบบการแบ่งเขตภูมิอากาศนี้ บางครั้งจึงสามารถเรียกได้ว่าการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปนและไกเกอร์ (Köppen–Geiger climate classification system).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน · ดูเพิ่มเติม »

การเลิกล้มราชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลก มีการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ในหลายประเทศทั่วโลก สาเหตุการล่มสลายของราชวงศ์อาจเป็นผลมาจากการปฏิวัติ, การตั้งสาธารณรัฐ, การลงประชามติของประชาชน, การรัฐประหาร หรือจากสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และการเลิกล้มราชาธิปไตย · ดูเพิ่มเติม »

กิตติ สีหนนทน์

นายกิตติ สีหนนทน์ (14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453 - 24 มกราคม พ.ศ. 2527) อดีตองคมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในสมัยรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์ และอดีตรองประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และกิตติ สีหนนทน์ · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟ คลิมต์

กุสตาฟ คลิมต์ กุสตาฟ คลิมต์ (เกิด 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2405 ถึงแก่กรรม 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2461) จิตรกรชาวออสเตรียและมัณฑนากรหัวก้าวหน้าแห่งออสเตรียในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 อันเป็นช่วงเวลาที่ศิลปะแนวใหม่ หรือ Art Nouveau กำลังงอกงามในยุโรป ผลงานของเขาแสดงให้เห็นถึงจุดเหลื่อมระหว่างศิลปะประยุกต์ ที่สร้างเพื่อการตกแต่ง กับงานวิจิตรศิลป์ที่ศิลปินสร้างขึ้นเพื่อเสนอสาระและคุณค่าในตัวงาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และกุสตาฟ คลิมต์ · ดูเพิ่มเติม »

กุสตาฟ โฮลส์

องโฮลส์ ถ่ายโดย Herbert Lambert กุสตาฟ โฮลส์ (21 กันยายน ค.ศ. 187425 พฤษภาคม ค.ศ. 1934) เป็นนักดนตรีชาวอังกฤษ โดยโอสต์โด่งดังจากเพลงตับ เดอะ พลาเนตส์ โอสต์เรียนใน Royal College of Music ในกรุงลอนดอน โดยเขาได้แรงจูงใจจาก Grieg, Wagner Richard Strauss และ Ralph Vaughan Williams ชื่อเต็มของโฮลส์คือ Gustavus Theodor von Holst แต่เขาได้ตัด "von" จากชื่อของเขาเพื่อตอบสนองการต่อต้านเยอรมันในอังกฤษระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และทำให้เป็นทางการในพินัยกรรมเมื่อปี ค.ศ. 1918.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และกุสตาฟ โฮลส์ · ดูเพิ่มเติม »

กีโยม อาปอลีแนร์

Apollinaire (left) and André Rouveyre, 1914. กีโยม อาปอลีแนร์ (Guillaume Apollinaire หรือ Wilhelm Albert Vladimir Apollinaris de Kostrowitzky; 26 สิงหาคม ค.ศ. 1880 - 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918) เป็นผู้เรียกตัวเองว่า "เจ้าชายรัสเซีย" น่าจะเกิดในโรม เป็นบุตรชายของชาวโปลผู้เป็นนักผจญภัยและ (อาจจะ) เป็นขุนนางเชื้อสายสวิส-อิตาลี อาปอลีแนร์เป็นบรรณาธิการคอลัมน์วิจารณ์หนังสือ นักเขียนเรื่องโป๊ และกวีแนวทดลองผู้เข้าไปมีส่วนร่วมกับขบวนการวรรณกรรมบุกเบิกก้าวหน้าทุกแนวของฝรั่งเศสในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เขาเรียนหนังสือแบบไม่เป็นโล้เป็นพายในอิตาลีและที่ภาคใต้ของฝรั่งเศส เขาย้ายไปอยู่ปารีสเมื่ออายุ 20 เคยถูกกักตัวไว้หนึ่งอาทิตย์เพราะสงสัยว่าจะขโมยภาพโมนาลิซ่า เขาได้รับสัญชาติฝรั่งเศส ร่วมรบและบาดเจ็บจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และกีโยม อาปอลีแนร์ · ดูเพิ่มเติม »

กแดโดโมฟมูย

กแดโดโมฟมูย? (Kde domov můj?) บ้านของฉันนั้นคือที่ใด? เป็นเพลงชาติเชโกสโลวาเกียและเช็กเกีย ผลงานประพันธ์โดย František Škroup เรียบเรียงทำนองโดย Josef Kajetán Tyl.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และกแดโดโมฟมูย · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง (Central Powers) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจและเป็นพันธมิตรทางการทหารกลุ่มหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งร่วมมือกันต่อสู้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นำโดยจักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และฝ่ายมหาอำนาจกลาง · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยบอลล์สเตต

หอนาฬิกาแชเฟอร์ มหาวิทยาลัยบอลล์สเตต มหาวิทยาลัยบอลล์สเตต (Ball State University) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐในสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่เมืองมันซี ในรัฐอินดีแอนา บอลล์เสตตก่อตั้งในปี พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) เนื้อที่ของมหาวิทยาลัยมีมากกว่า 1000 เอเคอร์ โดยมีนักศึกษามากกว่า 20,000 คน มหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงในด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์ ครุศาสตร์ มานุษยวิทยา และด้านอื่นๆ ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงได้แก่ เดวิด เลตเทอร์แมน พิธีกรทอล์กโชว์ และ จอห์น ชแนตเตอร์ ผู้ก่อตั้งธุรกิจพิซซาปาปา จอห์น มหาวิทยาลัยบอลล์สเตต ได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 1 ที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตไร้สายทั่วมหาวิทยาลัยมากที่สุดในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมหาวิทยาลัยบอลล์สเตต · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยฮกไกโด

Main Gate of the Sapporo Campus (Feb. 2005) มหาวิทยาลัยฮกไกโด (หรือเรียกสั้นๆในภาษาญี่ปุ่นว่า ฮกกุได) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมหาวิทยาลัยฮกไกโด · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย (อังกฤษ: Rajamangala University of Technology Tawan-ok: Uthenthawai Campus) ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 225 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีน้ำเงิน สีขาว คติพจน์ "ถ้าเรารักสมัครจิต ก็ต้องคิดสมัครมือ ถิ่นสีน้ำเงิน คือ ที่รวมรักสมัครคง".

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย · ดูเพิ่มเติม »

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

มักซ์ เวเบอร์

ร์ล เอมิล มักซิมิเลียน "มักซ์" เวเบอร์ (Karl Emil Maximilian "Max" Weber) (21 เมษายน ค.ศ. 1864 – 14 มิถุนายน ค.ศ. 1920) เป็นนักเศรษฐศาสตร์การเมืองและนักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ถือกันว่าเวเบอร์เป็นผู้ก่อตั้งวิชาสังคมวิทยาสมัยใหม่และรัฐประศาสนศาสตร์ งานชิ้นหลัก ๆ ของเขาเกี่ยวข้องกับสังคมวิทยาศาสนาและสังคมวิทยาการปกครอง นอกจากนี้เขายังมีงานเขียนอีกหลายชิ้นในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ งานที่ผู้คนจดจำได้มากที่สุดของเวเบอร์คือ ความเรียงเรื่อง จริยธรรมโปรเตสแตนต์และจิตวิญญาณแห่งทุนนิยม ซึ่งเป็นงานชิ้นแรกของเขาในสาขาสังคมวิทยาศาสนา ในงานชิ้นดังกล่าว เวเบอร์เสนอว่าศาสนาเป็นหนึ่งในสาเหตุหลัก ๆ ที่นำไปสู่เส้นทางการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่ต่างกันระหว่างโลกประจิม (the Occident) กับโลกบูรพา (the Orient) ในงานที่มีชื่อเสียงอีกชิ้นหนึ่งของเขาที่ชื่อการเมืองในฐานะวิชาชีพ (Politik als Beruf) เวเบอร์นิยามรัฐว่ารัฐคือหน่วยองค์ (entity) ซึ่งผูกขาดการใช้กำลังทางกายภาพที่ถูกกฎหมาย ซึ่งนิยามนี้ได้กลายเป็นจุดศูนย์กลางในการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมักซ์ เวเบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

มันเฟรด ฟอน ริชโธเฟิน

มันเฟรด ฟอน ริชโธเฟิน (2 พฤษภาคม ค.ศ. 1892 - 21 เมษายน ค.ศ. 1918) เป็นนักบินเครื่องบินรบของเยอรมนีในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เจ้าของฉายา เรดบารอน (Red Baron) ได้รับการบันทึกสถิติอย่างเป็นทางการว่าสามารถยิงเครื่องบินฝ่ายตรงข้ามตกถึง 80 ลำ โดยมีข้อมูลที่ยังไม่ได้รับการยืนยัน ว่าอาจจะถึง 100 ลำ Franks, Norman L.R. and Frank W. Bailey.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมันเฟรด ฟอน ริชโธเฟิน · ดูเพิ่มเติม »

มาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอ

ลงชาติของสาธารณรัฐโปแลนด์มีชื่อว่า มาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอ (Mazurek Dąbrowskiego, สัทอักษรสากล) หรือ "บทเพลงมาเซอร์กาของดอมบรอฟสกี" เพลงนี้ยังเป็นที่รู้จักในชื่อ Pieśń Legionów Polskich we Włoszech ("เพลงของกองทหารชาวโปลในอิตาลี") และ Jeszcze Polska nie zginęła ("โปแลนด์ยังไม่สูญสิ้น") ซึ่งชื่อหลังเป็นการเรียกขานเพลงนี้ตามเนื้อร้องวรรคแรก เพลงมาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอ เป็นบทเพลงซึ่งนำมาจากทำนองของเพลงพื้นเมืองโปแลนด์ประเภทหนึ่งที่เรียกว่า "มาเซอร์กา" ("Mazurka) โดยส่วนของเนื้อร้องนั้นเป็นผลงานการประพันธ์ของนายพลยูเซฟ วีบิตสกี (Józef Wybicki) เพลงนี้ได้แต่งขึ้นที่เมืองเรจโจเนลเลมีเลีย สาธารณรัฐซิแซลไพน์ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศอิตาลี) เมื่อประมาณวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1797 อันเป็นเวลาสองปีภายหลังการแบ่งแยกโปแลนด์ครั้งที่ 3 ซึ่งเหตุการณ์ในครั้งนั้นได้ทำให้ประเทศโปแลนด์ทั้งหมดหายไปจากแผนที่โลก บทเพลงนี้แต่เดิมใช้เป็นเพลงปลุกขวัญของทหารภายใต้การบังคับบัญชาของนายพลยาน เคนริค ดอมบรอฟสกี แห่งกองทหารต่างด้าวชาวโปลในกองทัพปฏิวัติฝรั่งเศสภายใต้การนำของนโปเลียน โบนาปาร์ต ซึ่งได้ยกทัพเข้าพิชิตดินแดนอิตาลีในครั้งนั้น ในเวลาต่อมาไม่นานเพลงนี้ก็ได้กลายเป็นเพลงปลุกใจของชาวโปลเพลงหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างสูงสุด เนื้อหาของเพลงมาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอ แสดงออกถึงความคิดของชาวโปล ซึ่งแม้ว่าจะสูญสิ้นเอกราชทางการเมืองไปก็ตาม แต่โปแลนด์จะยังไม่สูญหายไป ตราบเท่าที่ประชาชนชาวโปลยังมีชีวิตอยู่และร่วมต่อสู้ภายใต้นามนั้น จากความนิยมอย่างสูงของเพลงนี้ ทำให้ได้เกิดเพลงมาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอในรูปแบบที่หลากหลาย ซึ่งชาวโปลได้นำไปขับร้องเนื่องในวาระต่าง ๆ ทั้งยังเป็นแรงบันดาลใจสำคัญให้ชนชาติอื่น ๆ ลุกขึ้นสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดก็คือเพลง "เฮ สลาฟ" (Hey Slavs) ซึ่งเป็นเพลงปลุกใจของชาวสลาฟ ได้รับอิทธิพลในการประพันธ์มาจากเพลงมาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกออย่างมาก (ภายหลังได้มีการนำไปใช้เป็นเพลงชาติของอดีตประเทศยูโกสลาเวีย) เมื่อประเทศโปแลนด์สามารถรวมตัวเป็นประเทศเอกราชได้อีกครั้งในปี ค.ศ. 1918 เพลงมาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอจึงได้กลายเป็นเพลงชาติโดยพฤตินัยของโปแลนด์ ต่อมาจึงได้มีการรับรองสถานะเป็นเพลงชาติโปลแลนด์อย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1926.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมาซูแร็กดอมบรอฟสกีแยกอ · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มิโนะรุ ชิโระตะ

มิโนรุ ชิโรตะ (23 เมษายน ค.ศ. 1899 - 10 มีนาคม ค.ศ. 1982) นายแพทย์ และนักธุรกิจ ผู้คิดค้นและก่อตั้งบริษัทเครื่องดื่ม ยาคูลท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมิโนะรุ ชิโระตะ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลพายัพ

มณฑลพายัพ เป็นมณฑลหนึ่งในการปกครองส่วนภูมิภาคระบบมณฑลเทศาภิบาลของราชอาณาจักรสยาม ครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือตอนบน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมณฑลพายัพ · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลมหาราษฎร์

มณฑลมหาราษฎร์ เป็นมณฑลหนึ่งในการปกครองส่วนภูมิภาคระบบมณฑลเทศาภิบาลของราชอาณาจักรสยามที่แบ่งออกจากมณฑลพายัพในปี พ.ศ. 2458 ครอบคลุมพื้นที่ทางด้านตะวันออกของมณฑลพายัพเดิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมณฑลมหาราษฎร์ · ดูเพิ่มเติม »

มงคล อมาตยกุล

มงคล อมาตยกุล (9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2461 - 20 กันยายน พ.ศ. 2532) นักดนตรี นักแต่งเพลง ผู้ก่อตั้งวงดนตรีมงคล อมาตยกุล และวงดนตรีจุฬารัตน์ มงคล อมาตยกุล เกิดที่อำเภอพระนคร เป็นบุตรของอำมาตย์เอก พระยาวินิตวิทยาการ (กร อมาตยกุล) กับหม่อมหลวงผาด เสนีวงศ์ จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดชนะสงคราม โรงเรียนหอวัง โรงเรียนปทุมคงคา และโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (พ.ศ. 2479 รุ่นเดียวกับพลเอกเปรม ติณสูลานนท์) เข้าศึกษาต่อที่คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนถึงชั้นปีที่ 4 จึงหยุดเรียน เพราะมหาวิทยาลัยหยุดการเรียนการสอน เนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้หันไปเล่นดนตรีสากล ตั้งคณะละครวิทยุ และแต่งบทละคร เล่นออกอากาศทางสถานีวิทยุ และได้เป็นนักแต่งเพลง เรียบเรียงเสียงประสาน และเป็นหัวหน้าวงดนตรีของเทศบาลนครกรุงเทพ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และมงคล อมาตยกุล · ดูเพิ่มเติม »

ยวี่เหยียน

องค์ชายยวี่ เหยียนในพิธีรับตำแหน่งผู้อ้างสิทธิฯ ยวี่เหยียน เกิด ณ กรุงปักกิ่ง เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 เป็นอดีตพระประมุขราชสกุลอ้ายซินเจว๋หลัว ต่อจากจักรพรรดิผู่อี๋ โดยสืบเชื้อสายจากจักรพรรดิเต้ากวง รัชกาลที่ 6 แห่งราชวงศ์ชิง และมีศักดิ์เป็นญาติกับจักรพรรดิผู่อี๋ จักรพรรดิต้าชิงพระองค์สุดท้าย ยวี่เหยียนยังอ้างสิทธิในราชบัลลังก์จักรพรรดิจีน เขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 1999 ขณะอายุได้ 80 ปี ปัจจุบันเขาให้เหิง เจิ้น หลานของเขา เป็นผู้สืบทอดตำแหน่งประมุขแห่งราชวงศ์ชิงและตำแหน่งผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์องค์พระจักรพรรดิจีนองค์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และยวี่เหยียน · ดูเพิ่มเติม »

ยอร์ช เซเดส์

รรณารักษ์ใหญ่ประจำหอสมุดวชิรญาณ พ.ศ. 2461 ยอร์ช เซเดส์ (George Cœdès;, พ.ศ. 2429-พ.ศ. 2512) เป็นนักวิชาการชาวฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียงในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ยอร์ช เซเดส์เดินทางมารับราชการในตำแหน่งบรรณารักษ์ใหญ่ประจำหอพระสมุดวชิรญาณ (ภายหลังเป็นหอสมุดแห่งชาติ) เมื่อ พ.ศ. 2461 และในปี พ.ศ. 2472 ได้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศและทำงานที่นั่นกระทั่ง พ.ศ. 2489 หลังจากนั้นได้เดินทางกลับกรุงปารีส และถึงแก่กรรมเมื่อ พ.ศ. 2512 ยอร์ช เซเดส์ได้เขียนเอกสารสัมมนาสองฉบับ เรื่อง The Indianized States of Southeast Asia (ค.ศ. 1968, 1975) และ The Making of South East Asia (ค.ศ. 1966) และบทความต่างๆ จำนวนมหาศาล ซึ่งมีส่วนในการพัฒนาแนวคิดเรื่องอาณาจักรแบบอินเดีย (Indianized kingdom) ขึ้น อย่างไรก็ตาม มีข้อเสนอในสมัยใหม่ ว่า การรับแนวคิดอินเดียดังกล่าวนั้น มีความสมบูรณ์น้อยกว่าที่ที่เซเดส์เคยเชื่อ ด้วยยังมีการปฏิบัติที่หลงเหลืออยู่มากมายในอินเดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และยอร์ช เซเดส์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกสลาเวีย

ูโกสลาเวีย (Yugoslavia; สลาวิกใต้: Jugoslavija; เซอร์เบีย: Југославија) เป็นชื่ออดีตประเทศบริเวณคาบสมุทรบอลข่านในทวีปยุโรป ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความหมายของคำว่ายูโกสลาเวียคือ "ดินแดนของชาวสลาฟตอนใต้".

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาวาเรีย

ตการปกครองในรัฐบาวาเรีย บาวาเรีย (Bavaria) หรือ ไบเอิร์น (Bayern) เป็นรัฐที่มีอาณาเขตใหญ่ที่สุดในประเทศเยอรมนี อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีประชากรประมาณ 12.5 ล้านคน มีพื้นที่ประมาณ 70,548 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงคือเมืองมิวนิก เชื้อสายประชากรเป็นชาวบาวาเรีย 6.4 ล้านคน, ฟรังโคเนีย 4.1 ล้านคน, และสวาเบีย 1.8 ล้านคน รัฐบาวาเรียเป็นหนึ่งในรัฐที่เก่าแก่ที่สุดรัฐหนึ่งในยุโรป ก่อตั้งขึ้นเป็นดัชชีในกลางคริสศตวรรษที่ 17 ดยุกแห่งบาวาเรียเป็นหนึ่งในผู้มีสิทธิสรรเจ้า (Prince-elector) แต่งตั้งจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ในช่วง ค.ศ. 1806 - ค.ศ. 1918 บาวาเรียมีสถานะเป็นราชอาณาจักรบาวาเรียต่อจากนั้นมากลายเป็นรัฐอิสระ (สาธารณรัฐ).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรัฐบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ

รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ (State of Slovenes, Croats and Serbs) เป็นรัฐที่ก่อตั้งขึ้นเพียงในระยะเวลาอันสั้น โดยตั้งอยู่ทางตอนใต้สุดของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บก่อตั้งขึ้นหลังจากการยุบตัวของจักรวรรดิหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยประชาชนชาวสโลวีน ชาวโครเอเชีย และชาวเซอร์เบีย รวมไปถึงชาวบอสนีแอก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บ · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลิพเพอ

ราชรัฐลิพเพอ (Fürstentum Lippe, Principality of Lippe) เป็นอดีตอาณาจักรที่เดิมเป็นรัฐในเครือจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ราชรัฐลิพเพอก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1123 และมาสิ้นสุดลงในปี ค.ศ. 1918 ราชรัฐลิพเพอตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำเวเซอร์และทางตอนใต้ของป่าทิวโทแบร์กในบริเวณที่ปัจจุบันอยู่ในประเทศเยอรมนี ผู้ก่อตั้งลิพเพอคือแบร์นฮาร์ดที่ 1 ผู้ได้รับพระราชทานสิทธิดินแดนจากสมเด็จพระจักรพรรดิโลแธร์ที่ 3 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1123 จากนั้นแบร์นฮาร์ดตั้งตนเป็นลอร์ดแห่งลิพเพอ ผู้สืบเชื้อสายต่อมาก็ขยายดินแดนไปรวมอาณาจักรเคานท์หลายอาณาจักร ประมุขคนแรกที่ใช้ตำแหน่งเคานท์แห่งลิพเพอคนแรกคือไซมอนที่ 5 หลังจากไซมอนที่ 6 เสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชรัฐลิพเพอ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์วิทเทลส์บัค

ราชวงศ์วิทเทลส์บัค (House of Wittelsbach) เป็นราชตระกูลเยอรมันของยุโรปจากบาวาเรีย ตำแหน่งการปกครองสำคัญของราชวงศ์วิทเทลส์บัคคือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชวงศ์วิทเทลส์บัค · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์แฮโนเวอร์

ราชวงศ์แฮโนเวอร์ หรือ ราชวงศ์ฮันโนเฟอร์ เป็นราชวงศ์เยอรมันที่ครองบัลลังก์สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่ต่อจากราชวงศ์สจวตในปี พ.ศ. 2257 ราชวงศ์นี้ยังปกครองรัฐฮันโนเฟอร์ในประเทศเยอรมนีอันเป็นดินแดนที่ราชวงศ์นี้เป็นเจ้าของ ในบางครั้งอาจเรียกราชวงศ์นี้ว่าราชวงศ์เบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก สายฮันโนเฟอร์ (House of Brunswick and Lüneburg, Hanover line).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชวงศ์แฮโนเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โรมานอฟ

งราชวงศ์โรมานอฟ ตราแผ่นดินของจักรวรรดิรัสเซีย ตราประจำพระราชวงศ์ ราชวงศ์โรมานอฟ ตามสำเนียงอังกฤษ หรือ รามานาฟ ตามสำเนียงรัสเซีย (Romanov) เป็นราชวงศ์ที่สองและราชวงศ์สุดท้ายของรัสเซีย โดยราชวงศ์นี้ปกครองจักรวรรดิรัสเซียตั้งแต่ ค.ศ. 1613 ถึง ค.ศ. 1917 กษัตริย์โรมานอฟพระองค์แรก คือพระเจ้าซาร์มิฮาอิลที่ 1 ได้รับแต่งตั้งใน ค.ศ. 1613 ภายหลังสมัยแห่งความวุ่นวาย (Time of Troubles) ราชวงศ์นี้ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เกือบตลอดเวลา โดยได้มีความพยายามร่างรัฐธรรมนูญ โดยพระจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 แต่พระองค์ก็ถูกลอบปลงพระชนม์เสียก่อน แม้ว่าจักรพรรดินีโคไลที่ 2 จะทรงตั้งสภาดูมาใน ค.ศ. 1905 ก็มิได้มีสิทธิในการออกกฎหมายอย่างเต็มที่ จนเกิดการปฏิวัติใหญ่ในรัสเซีย จักรพรรดินิโคสัสที่ 2 ต้องทรงสละราชสมบัติในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 และถูกปลงพระชนม์โดยกำลังของฝ่ายบอลเชวิกในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1918 ซึ่งสาเหตุของการปลงพระชนม์เนื่องด้วย พระจักรพรรดินิโคสัสที่ 2 เข้าร่วมสงครามและทุ่มงบประมาณไปกับสงครามมาก ทำให้เศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลให้ประชาชนก่อการปฏิวัติ และทางราชวงศ์ได้พยายามหลบหนีแต่ไม่สำเร็จ ได้ถูกนำมากักตัวและถูกลอบปลงพระชนม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชวงศ์โรมานอฟ · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรบาวาเรีย

ราชอาณาจักรบาวาเรีย (Königreich Bayern; Kingdom of Bavaria) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของเยอรมนีระหว่างปี ค.ศ. 1805 ถึงปี ค.ศ. 1918 พระเจ้าแม็กซิมิเลียนที่ 1 โจเซฟแห่งบาวาเรียแห่งราชวงศ์วิตเตลสบาคเป็นกษัตริย์องค์แรกเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชอาณาจักรบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย-โครเอเชียและสโลวีน: Kraljevina Jugoslavija, อักษรซีริลลิก: Краљевина Југославија; Kingdom of Yugoslavia) เป็นราชอาณาจักรที่มีดินแดนครอบคลุมตั้งแต่ทางตะวันตกของคาบสมุทรบอลข่านไปจนถึงยุโรปกลาง ที่รุ่งเรืองอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1918 จนถึง ค.ศ. 1945 ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่งถึงสงครามโลกครั้งที่สอง ราชอาณาจักรยูโกสลาเวียก่อตั้งขึ้นโดยการรวมตัวของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บที่เพิ่งก่อตั้งขึ้นและราชอาณาจักรเซอร์เบียที่เป็นราชอาณาจักรอิสระ ราชอาณาจักรมอนเตเนโกรตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของเซอร์เบียก่อนหน้านั้นแล้ว ขณะที่บริเวณคอซอวอ วอยวอดีนา และมาซิโดเนียเป็นส่วนหนึ่งของเซอร์เบียก่อนหน้าการรวมตัว 11 ปีแรกราชอาณาจักรเรียกตนเองอย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีน (Kraljevina Srba, Hrvata i Slovenaca, อักษรซีริลลิก: Краљевина Срба, Хрвата и Словенаца; Kraljevina Srbov, Hrvatov in Slovencev) แต่คำว่า "ยูโกสลาเวีย" เป็นชื่อเรียกกันอย่างง่าย ๆ มาตั้งแต่ต้น เมื่อวันที่ 17 เมษายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรซัคเซิน

ราชอาณาจักรซัคเซิน ในปี ค.ศ. 1900 ราชอาณาจักรซัคเซิน Königreich Sachsen) หรือ ราชอาณาจักรแซกโซนี (Kingdom of Saxony) เป็นราชอาณาจักรตั้งอยู่ในบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐเช็กในปัจจุบันระหว่างปี ค.ศ. 1806 ถึงปี ค.ศ. 1918 โดยมีพระเจ้าฟรีดิช ออกัสตัสที่ 1 แห่งซัคเซินแห่งราชวงศ์เวททินเป็นกษัตริย์องค์แรก และพระเจ้าฟรีดิช ออกัสตัสที่ 3 แห่งซัคเซินแห่งราชวงศ์เวททินเป็นกษัตริย์องค์สุดท้าย ราชอาณาจักรซัคเซินเป็นราชรัฐอิสระหลังสมัยนโปเลียนและเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมันตั้งแต่ปี ค.ศ. 1871 ก่อนที่จะถูกกลืนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐไวมาร์ในปี ค.ศ. 1918 หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เมืองหลวงตั้งอยู่ที่เดรสเดิน ในปัจจุบันราชอาณาจักรซัคเซินคือเสรีรัฐซัคเซินของประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชอาณาจักรซัคเซิน · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรแดลเมเชีย

ราชอาณาจักรแดลเมเชีย (Königreich Dalmatien; Kraljevina Dalmacija; Kingdom of Dalmatia) เป็นราชอาณาจักรหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรียระหว่าง ค.ศ. 1815 จนถึง ค.ศ. 1918 โดยมีเมืองหลวงอยู่ที่ซาดาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชอาณาจักรแดลเมเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรโบฮีเมีย

ราชอาณาจักรโบฮีเมีย (Kingdom of Bohemia; České království; Königreich Böhmen; Regnum Bohemiae) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในตอนกลางของทวีปยุโรปที่ได้รับการก่อตั้งโดยสารตราทองแห่งซิซิลีที่ออกโดยจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 1212 ที่เป็นพระราชโองการที่ยกฐานะดัชชีโบฮีเมียขึ้นเป็นราชอาณาจักร ราชอาณาจักรโบฮีเมียจึงเป็นสมาชิกอิสระของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ต่อมาก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรียและมาถูกยุบในปี ค.ศ. 1918 เมื่อจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีล่มสลายลง เมื่อพระเจ้าคาร์ลที่ 3 แห่งโบฮีเมียทรงสละราชสมบัติ การประชุมสภาแห่งชาติปลดราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-โลทริงเงินและประกาศให้เป็นสาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 1 ราชอาณาจักรโบฮีเมียเป็นส่วนหนึ่งของที่ดินของพระมหากษัตริย์โบฮีเมีย (Lands of the Bohemian Crown) ที่รวมทั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชอาณาจักรโบฮีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค

ราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค (Königreich Württemberg) เคยเป็นราชอาณาจักรหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1806 - ค.ศ. 1918 ปัจจุบันอยู่ในเขตของรัฐบาเดิน-เวือร์ทเทิมแบร์ค ประเทศเยอรมนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย (Краљевина Србија; Kingdom of Serbia) เป็นราชอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อเจ้าชายมีลาน ออเบรนอวิชประมุขของราชรัฐเซอร์เบียได้รับการราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ. 1882 ราชรัฐเซอร์เบียปกครองโดยราชวงศ์คาราจอร์เจวิช (Karadjordjevic dynasty) มาตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชอาณาจักรเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชาหนู

ราชาหนู ราชาหนู บ้างเรียก พญามุสิก (Rat kings) เป็นชื่อของกลุ่มหนูซึ่งมีส่วนหางเชื่อมติดกัน โดยหางของหนูเหล่านี้อาจถูกเลือด โคลน น้ำแข็ง หรืออุจจาระ โปะไว้ด้วยกัน หรืออาจจะถูกมัดไว้เหมือนปม เชื่อกันว่าหนูเหล่านี้ดำรงชีวิตอยู่โดยมีหางติดกันอย่างนั้น ซึ่งจำนวนของหนูในกลุ่มราชาหนูนั้นมีไม่แน่นอน รายงานการพบราชาหนูมีมากที่สุดในประเทศเยอรมนี ในประวัติศาสตร์นั้นถือว่าราชาหนูเป็นลางร้ายของโรคระบาดที่รุนแรงมาก ในปัจจุบันยังไม่มีรายงานของราชาหนูที่ยังมีชีวิตอันเชื่อถือได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราชาหนู · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย

ระราชวังและวัง คือ ที่ประทับของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป ส่วนที่อยู่ของหม่อมราชวงศ์และหม่อมหลวงนั้นไม่เรียกว่า "วัง" โดยวังใดจะเรียกว่าพระราชวังได้นั้นจะต้องมีพระบรมราชโองการสถาปนาขึ้นเป็น "พระราชวัง" เท่านั้น โดยในประเทศไทยมีพระราชวังและวัง ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อพระราชวังและวังในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญของสหภาพโซเวียต

รายชื่อวันสำคัญของสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อวันสำคัญของสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถาน

รายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถาน;วันหยุดนอกเหนือจากทางราชการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อวันสำคัญของอุซเบกิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อวันสำคัญของคีร์กีซสถาน

รายชื่อวันสำคัญของคีร์กีซสถาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อวันสำคัญของคีร์กีซสถาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในกองทัพเรือยูเครน

ตารางข้างล่างนี้แสดงธงราชการกองทัพเรือของยูเครน โดยแบ่งชนิดของธง ตามส่วนราชการของกองทัพเรือยูเครน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในกองทัพเรือยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศฟินแลนด์

นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงประเภทต่างๆ ที่ใช้ในสาธารณรัฐฟินแลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศลัตเวีย

ื้องล่างต่อไปนี้แสดงภาพธงที่มีการใช้ใช้อยู่ในประเทศลัตเวี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศลิทัวเนีย

ตารางเบื้องล่างนี้ แสดงภาพและข้อมูลธงต่างๆ ที่ปรากฏการใช้ในประเทศลิทัวเนียอย่างสังเขป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอาร์มีเนีย

ตารางต่อไปนี้แสดงภาพธงชาติและธงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ของประเทศอาร์มีเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศอาร์มีเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศอาเซอร์ไบจาน

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆที่ใช้ในประเทศอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศฮังการี

นื้อหาต่อไปนี้ว่าด้วยธงประเภทต่างๆ ที่ใช้ในฮังการี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศจอร์เจีย

นื้อหาต่อไปนี้แสดงภาพธงต่างๆ ที่ใช้ในสาธารณรัฐจอร์เจีย ธงชาติจอร์เจียกับธงสาธารณรัฐปกครองตนเองอัดจารา.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศโครเอเชีย

ตารางข้างล่างนี้แสดงภาพของธงต่างๆ ที่ใช้ใน สาธารณรัฐโครเอเชีย หรือใช้โดย ชาวโครแอท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศโครเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศไอซ์แลนด์

นื้อหาต่อไปนี้แสดงภาพธงชนิดต่างๆ ที่ใช้ในประเทศไอซ์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเบลารุส

ื้องล่างต่อไปนี้ เป็นข้อมูลอย่างสังเขป เกี่ยวกับธงชาติ และธงอื่นๆ ที่ใช้ใน สาธารณรัฐเบลารุส สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช่ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเอสโตเนีย

ตารางเบื้องล่างนี้แสดงภาพธงต่างๆ ที่ใช้ในประเทศเอสโตเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศเซอร์เบีย

รายการต่อไปนี้เป็นรายการเกี่ยวกับธงที่มีการใช้หรือเคยใช้โดยสาธารณรัฐเซอร์เบียและ/หรือชาวเซิร์บกลุ่มต่าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อธงในประเทศเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย

รายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย เป็นบทความที่รวบรวมรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดโดยจำแนกตามจังหวั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อโรงเรียนประจำจังหวัดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก

ต่อไปนี้เป็นรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครนายก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์บอสเนีย

นี่คือ รายพระนามพระมหากษัตริย์บอสเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามพระมหากษัตริย์บอสเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์บัลแกเรีย

ว่างกษัตร..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามพระมหากษัตริย์บัลแกเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ฮังการี

ระมหากษัตริย์ฮังการี (magyar király) เป็นตำแหน่งที่ปกครองราชอาณาจักรฮังการีตั้งแต่ ค.ศ. 1000 - ค.ศ. 1918 และในรัชสมัยของจักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ราชอาณาจักรฮังการีก็ได้ถูกผนวกรวมเข้ากับจักรวรรดิออสเตรียตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามพระมหากษัตริย์ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงา

ราชวงศ์ตูโปอูซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับราชวงศ์ตูอิกาโนกูโปลูปกครองประเทศตองงาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2388 เป็นต้นมา โดยใช้ระบบราชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี มาบริหารประเทศ และนายกรัฐมนตรีแต่ละสมัยของตองงามักเป็นเชื้อพระวงศ์หรือไม่ก็เป็นเหล่าขุนนางซึ่งมาจากการเลือกของขุนนางทั้งหมด 33 คน แต่ในปัจจุบันนี้ได้มีนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนแรกของตองงาคือ ดร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามพระมหากษัตริย์ตองงา · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์โบฮีเมีย

ระมหากษัตริย์แห่งโบฮีเมียเป็นตำแหน่งที่ปกครองราชอาณาจักรโบฮีเมีย ปกครองโดยดยุคในปี ค.ศ. 870 - ค.ศ. 1085, ค.ศ. 1092 - ค.ศ. 1158 และ ค.ศ. 1172 - ค.ศ. 1198 และปกครองโดยสมเด็จพระมหากษัตริย์ในปี ค.ศ. 1085 - ค.ศ. 1092, ค.ศ. 1158 - ค.ศ. 1172 และ ค.ศ. 1198 - ค.ศ. 1918.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามพระมหากษัตริย์โบฮีเมีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เซอร์เบีย

ใต้จักรวรรดิบัลแกเรี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามพระมหากษัตริย์เซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามสมเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซีย

มเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซีย(อังกฤษ: Queen of Prussia)เป็นพระอิสริยยศของพระอัครมเหสีในพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรปรัสเซียตั้งแต่เริ่มก่อตั้งในปี ค.ศ. 1701 จนถึงคราวล่มสลายในปีค.ศ. 1918 จนถึงเมื่อปีค.ศ. 1806 สมเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซียยังดำรงพระอิสริยยศเป็นพระชายาในเจ้าชายผู้คัดเลือกแห่งบรันเดนบวร์กอีกด้วย และภายหลังจากปีค.ศ. 1871 สมเด็จพระราชินีก็ยังดำรงตำแหน่งเป็นจักรพรรดินีแห่งเยอรมนี อีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามสมเด็จพระราชินีแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย

ตราอาร์มของบาวาเรีย รายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย (List of rulers of Bavaria) บาวาเรียปกครองโดยประมุขทั้งที่มีตำแหน่งเป็นดยุกและเป็นพระมหากษัตริย์ ราชอาณาจักรได้รับการรวมหรือการถูกแบ่งตลอดมาในประวัติศาสตร์ของหลายราชวงศ์ที่ปกครอง แต่ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามผู้ปกครองบาวาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามจักรพรรดิจีน

รายพระนามจักรพรรดิจีน รวมถึงรัชทายาทของประเทศจีนที่มีชื่อต่างๆ จากยุคโบราณ จนถึงราชวงศ์ชิง การปกครองมักจะถือกรรมสิทธิ์คือ กษัตริย์ (Chinese: 王 Wáng) มีการแบ่งแยกจีนในรัฐต่อสู้กันแยกเป็นสัดส่วน รายพระนามจักรพรรดิจีน มี ดังนี้ สำหรับลิงก์เหล่านี้เพื่อดูว่าเหล่าราชวงศ์มีความสัมพันธ์กัน ไดแก่ พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในยุคโบราณ → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงต้น → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงกลาง → พระราชตระกูลของจักรพรรดิจีนในช่วงปล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามจักรพรรดิจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว.

รื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนวราภรณ์ (The Ratana Varabhorn order of Merit) เรียกอย่างย่อว่า ตรารัตนาวราภรณ์ และมีอักษรย่อว่า ร.ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2454 เพื่อเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์สำหรับเชิดชูเกียรติคุณแก่ข้าราชการผู้ที่ตั้งใจรับราชการสนองพระเดชพระคุณด้วยความจงรักภักดีและมีความซื่อสัตย์สุจริตตลอดมา โดยเมื่อแรกสถาปนานั้นจะพระราชทานสำหรับฝ่ายหน้าเท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2465 พระองค์จึงสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรย์รัตนวราภรณ์สำหรับพระราชทานฝ่ายในด้วยราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๒๘, ตอน ๐ก, ๒๐ สิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ร.ว. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ.

รื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ หรือ ตราวัลลภาภรณ์ เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2461 พระราชทานให้แก่ผู้มีหน้าที่อยู่ประจำใกล้ชิดพรองค์ในพระราชสำนัก โดยตั้งใจรับราชการด้วยความจงรักภักดี ซื่อสัตย์สุจริต เป็นที่พอพระราชหฤทัย โดยพระราชทานให้ทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 20 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทาน ว.ภ. · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (ชั้น 1-4)

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี ชั้น 1-4 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบำเหน็จความดีความชอบแก่ผู้ทำความชอบพิเศษเป็นประโยชน์ยิ่งแก่ราชการทหาร ไม่ว่ายามสงบหรือยามสงคราม ตามที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๒๒ กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายพระนามและรายนามผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (ชั้น 1-4) · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประมุขแห่งรัฐโปแลนด์

รายนามประมุขแห่งรัฐของประเทศโปแลนด์ แต่ตั้ง พ.ศ. 2461 จนถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายนามประมุขแห่งรัฐโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน

งสาธารณรัฐจีน ทำเนียบที่ทำการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีนที่กรุงไทเป ไต้หวัน รายนามต่อไปนี้เป็นรายนาม ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐจีน ตั้งแต่ (ค.ศ. 1912 ถึง ปัจจุบัน) ในสาธารณรัฐจีนตำแหน่งประธานาธิบดีจะเรียกว่า (ซ่งถ่ง) และตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น

งประจำตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น รายนาม นายกรัฐมนตรีแห่งญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้นำรัฐบาลของจักรวรรดิญี่ปุ่นและประเทศญี่ปุ่น ตามราชธรรมนูญเมจิในรัชสมัยเมจิ องค์จักรพรรดิทรงเป็นผู้เลือกและแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีจวบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ภายหลังจากนั้น นายกรัฐมนตรีจึงมีที่มาจากการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร โดยมีองค์จักรพรรดิเป็นผู้แต่งตั้งตามขนบธรรมเนียม จวบจนถึงปัจจุบัน ญี่ปุ่นมีนายกรัฐมนตรีมาแล้ว 62 คน ใน 96 คณะรัฐมนตรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายนามนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก

นายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก เป็นหัวหน้ารัฐบาลแห่งเดนมาร์กและเป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรีแห่งเดนมาร์ก ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรายนามนายกรัฐมนตรีเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ (Nobelpriset i fysik, Nobel Prize in Physics) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งใน 5 สาขา ริเริ่มโดยอัลเฟรด โนเบล ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1895 โดยสถาบัน Royal Swedish Academy of Sciences แห่งประเทศสวีเดน เป็นผู้คัดเลือกผู้รับรางวัล ซึ่งมีผลงานวิจัยด้านฟิสิกส์อย่างโดดเด่น มีพิธีมอบเป็นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 1901 พิธีมอบรางวัลมีขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับวันคล้ายวันเสียชีวิตของอัลเฟรด โนเบล ที่กรุงสตอกโฮล์ม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ (Nobelpriset i fysiologi eller medicin, Nobel Prize in Physiology or Medicine) จัดโดยมูลนิธิโนเบล มีการมอบทุกปีให้แก่การค้นพบที่โดดเด่นในสาขาวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและแพทยศาสตร์ รางวัลโนเบลสาขาดังกล่าวเป็นหนึ่งในห้าสาขา ริเริ่มในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาเคมี

หรียญรางวัลโนเบล รางวัลโนเบลสาขาเคมี (Nobelpriset i kemi, Nobel Prize in Chemistry) เป็นรางวัลมอบโดยราชบัณฑิตยสถานด้านวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดนเป็นประจำทุกปีแก่นักวิทยาศาสตร์ในสาขาต่างๆ ของเคมี รางวัลนี้เป็นหนึ่งในห้ารางวัลโนเบลซึ่งก่อตั้งจากความประสงค์ของอัลเฟรด โนเบลใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรางวัลโนเบลสาขาเคมี · ดูเพิ่มเติม »

ราโบชายา มาร์เซลเยซา

ราโบชายา มาร์เซลเยซา (Рабочая Марсельеза, Rabochaya Marselyeza) หรือ มาร์แซแยซของกรรมกร เป็นเพลงชาติในสมัยของสาธารณรัฐรัสเซีย และใช้จนถึงสมัยของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงเป็นสหภาพโซเวียตอย่างเต็มตัว และเป็นเพลงที่ใช้ในช่วงของการปฏิวัติรัสเซีย เพลงชาตินี้เลิกใช้ไปในสมัยที่เปลี่ยนแปลงเป็นสหภาพโซเวียตอย่างเต็มตัว ในปี พ.ศ. 2461 และใช้เพลงแองเตอร์นาซิอองนาลแทน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และราโบชายา มาร์เซลเยซา · ดูเพิ่มเติม »

ริชาร์ด ไฟน์แมน

ริชาร์ด ฟิลลิปส์ ไฟน์แมน (Richard Phillips Feynman) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1918 เสียชีวิต 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988 เป็นหนึ่งในนักฟิสิกส์ ที่ทรงคุณค่าและมีอิทธิพลมากที่สุดของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในการจัดอันดับนักฟิสิกส์ยอดเยี่ยมตลอดกาลของโลก โดยสำนักข่าวบีบีซี ที่ให้นักฟิสิกส์ชั้นนำของโลกร่วม 100 คนช่วยกันตัดสิน ไฟน์แมน เป็นนักฟิสิกส์สมัยใหม่เพียงคนเดียว ที่ชนะใจเหล่านักฟิสิกส์ชั้นนำทั่วโลก โดยติดอันดับ 10 คนแรกของโลก (สมัยใหม่ในที่นี้ คือนับหลังจากยุคทองของทฤษฎีควอนตัม คือในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน ค.ศ. 2005) แม้แต่นักฟิสิกส์ผู้โด่งดังอย่างสตีเฟ่น ฮอว์คิง ก็ยังได้เพียงอันดับ 16 ในผลโหวต แน่นอนผลโหวตนี้ไม่สามารถตัดสินอะไรได้ แต่ก็เป็นเครื่องบ่งชี้อย่างดีว่า ไฟน์แมนมีอิทธิพลต่อวงการฟิสิกส์ยุคปัจจุบันแค่ไหน ทั้งในแง่ผลงานทางวิชาการ การสอนหนังสือ และการใช้ชีวิต ผลงานของไฟน์แมนมีมากมาย เช่น การขยายทฤษฎีพลศาสตร์ไฟฟ้าควอนตัมให้กว้างใหญ่ขึ้นมาก ซึ่งนำไปสู่รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ เมื่อปี ค.ศ. 1965 ซึ่งเขาได้ร่วมกับจูเลียน ชวิงเกอร์ และโทะโมะนะกะ ชินอิจิโร ไฟน์แมนปฏิเสธตำแหน่งนักวิจัยที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน ที่ที่ไอน์สไตน์อยู่, เพียงเพราะเขาต้องการสอนหนังสือให้กับเด็ก ครั้งหนึ่งเขาเคยพูดว่า "ผมอยากสอน เพราะในตอนที่ผมไม่มีไอเดียอะไรใหม่ ๆ ในงานวิจัย ผมก็ยังสามารถให้อะไรกับสังคมได้" ไฟน์แมนตัดสินใจรับตำแหน่งที่สถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (แคลเทค) สร้างยุคทองของมหาวิทยาลัย ร่วมกับเมอเรย์ เกลมานน์ ผู้คิดค้นทฤษฎีควาร์ก, ไลนัส พอลลิง หนึ่งในนักเคมีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในศตวรรษที่ 20 หนึ่งในผู้คิดค้นทฤษฎีควอนตัมเคมี และนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำท่านอื่นๆ ในแง่ของการเป็นอาจารย์ เขาได้เขียนคำบรรยายฟิสิกส์ของไฟน์แมน (Feynman Lectures on Physics) อันโด่งดัง ซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับผู้สอนวิชาฟิสิกส์เป็นจำนวนมาก ทั้งในแง่เนื้อหาและการนำเสนอ เป็นการพลิกการเรียนการสอนฟิสิกส์แบบเก่า ๆ ให้เข้าใจง่าย นอกจากนั้นเขายังเป็นหนึ่งในผู้พัฒนาระเบิดนิวเคลียร์ลูกแรกของโลก ในโครงการแมนฮัตตัน เป็นหนึ่งในผู้ตรวจสอบการระเบิดของกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์ และเป็นผู้ริเริ่มเสนอแนวคิดของนาโนเทคโนโลยี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และริชาร์ด ไฟน์แมน · ดูเพิ่มเติม »

รินตินติน

รินตินติน จากภาพยนตร์เรื่อง Frozen River ปี ค.ศ. 1929 รินตินติน (Rin Tin Tin) หรือชื่อเล่น Rinty (10 กันยายน พ.ศ. 2461 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นหมาพันธุ์เยอรมันเชพเพิร์ดที่มีชื่อเสียง มันปรากฏตัวในภาพยนตร์เงียบจำนวนมาก ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรินตินติน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟฮันกีว

รถไฟฮันกีว หรือ ฮันกีวเด็นเทะสึ (阪急電鉄) เป็นบริษัทรถไฟเอกชนของประเทศญี่ปุ่น ให้บริการรับส่งผู้โดยสารประจำทางและระหว่างเมืองในเขตภูมิภาคคันไซทางตอนเหนือ และเป็นธุรกิจหลักธุรกิจหนึ่งของบริษัทฮันกีวฮันชิงโฮลดิ้ง สถานีหลักของรถไฟฮันกีวอยู่ที่สถานีอุเมะดะในเมืองโอซะกะ สีประจำรถไฟคือสีน้ำตาลแดง เครือข่ายรถไฟฮันกีวให้บริการผู้โดยสาร 1,950,000 คนต่อวันในวันปกติ และมีรถไฟด่วนหลายประเภทให้บริการโดยไม่คิดค่าบริการเพิ่ม สำนักงานใหญ่ของบริษัทฮันกีวฮันชิงโฮลดิ้งและบริษัทรถไฟฮันกีวอยู่ที่ 1-16-1 ชิบะตะ เขตคิตะ โอซะก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรถไฟฮันกีว · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดง

รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดง เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบการคมนาคมอ่าวแมสซาชูเซตส์ บอสตัน รัฐแมสซาชูเซตส์ เชื่อมต่อกับ รถไฟชานเมืองบอสตัน รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีเขียว รถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีส้ม และรถโดยสารประจำทางบอสตัน สายสีเงิน เป็นเพียงเส้นทางเดียวที่ผ่านมหาวิทยาลัยฮาร์วาร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และรถไฟใต้ดินบอสตัน สายสีแดง · ดูเพิ่มเติม »

ละองละมั่ง

thumb thumb ละองละมั่ง (Eld's deer, Thamin, Brow-antlered deer; Pitraa, Fickela, Meijaard, Groves (2004). Evolution and phylogeny of old world deer. Molecular Phylogenetics and Evolution 33: 880–895.) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคู่ชนิดหนึ่ง เป็นกวางขนาดกลาง ขนตามลำตัวสีน้ำตาลแดง แต่สีขนจะอ่อนลงเมื่อเข้าสู่ฤดูร้อน ขนหยาบและยาว ในฤดูหนาวขนจะยาวมาก แต่จะร่วงหล่นจนดูสั้นลงมากในช่วงฤดูร้อน ในตัวผู้จะเรียกว่า ละอง ตัวเมียซึ่งไม่มีเขาจะเรียกว่า ละมั่ง แต่จะนิยมเรียกคู่กัน สันนิษฐานว่าเพี้ยนมาจากภาษาเขมรคำว่า "ลำเมียง" (រេបីស) ละองตัวที่ยังโตไม่เต็มวัยจะมีขนแผงคอที่ยาว ลูกแรกเกิดจะมีจุดสีขาวกระจายอยู่รอบตัว และจุดนี้จะจางหายเมื่ออายุมากขึ้น ขอบตาและริมฝีปากล่างมีสีขาว มีความยาวลำตัวและหัว 150–170 เซนติเมตร ความยาวหาง 220–250 เซนติเมตร น้ำหนัก 95–150 กิโลกรัม ถูกแบ่งออกเป็น 3 ชนิดย่อย ในประเทศไทยพบ 2 ชนิดได้แก่ ละองละมั่งพันธุ์ไทยที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ละองละมั่งพันธุ์พม่า ซันไก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และละองละมั่ง · ดูเพิ่มเติม »

วรศักดิ์ นิมานันท์

นายวรศักดิ์ นิมานันท์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ 3 สมัย สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นผู้ก่อตั้งโรงเรียนสอนคนตาบอดจังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวรศักดิ์ นิมานันท์ · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีมีร์ เลนิน

วลาดีมีร์ เลนิน (Vladimir Lenin) มีชื่อเต็มว่า วลาดีมีร์ อิลลิช อุลยานอฟ (Vladimir Ilyich Ulyanov, Владимир Ильич Ульянов) เป็นผู้นำนักปฏิวัติมาร์กซิส คนแรกของสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตที่สถาปนาเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวลาดีมีร์ เลนิน · ดูเพิ่มเติม »

วัดพระยาไกร

วัดพระยาไกร หรือ วัดโชตนาราม ในอดีตตั้งอยู่ในย่านแขวงวัดพระยาไกร เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร ก่อนมาเป็นที่ตั้งของท่าเรือและบริษัท อีสต์เอเชียติก บริษัทเดินเรือสัญชาติเดนมาร์ก ในสมัยรัชกาลที่ 5 และปัจจุบันเป็นที่ตั้งของเอเชียทีค เดอะ ริเวอร์ฟร้อนท์ วัดพระยาไกร หรือวัดโชตนาราม มีประวัติทิ้งไว้เป็นชื่อ ต่าง ๆ ในนาม "วัดพระยาไกร" และเคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากรก่อนที่จะถูกย้ายไปยังวัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร ต่อมาวัดถูกทิ้งร้างและถูกยุบตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการเมื่อ 7 สิงหาคม 2539 ตามที่ปรากฏในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 113 ตอนที่ 67 ง หน้า 20 ลงวันที่ 20 สิงหาคม 2539.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวัดพระยาไกร · ดูเพิ่มเติม »

วัดมัชฌันติการาม

วัดมัชฌันติการาม หรือ วัดน้อย เป็นวัดราษฎร์ เจ้าจอมมารดาเที่ยง ในรัชกาลที่ 4 ผู้ที่ให้การอุปถัมภ์วัด เริ่มต้นนั้นไม่ทราบแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใด มีผู้สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย เจ้าจอมมารดาเที่ยง พระสนมเอกในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เข้ามาอุปถัมภ์ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวัดมัชฌันติการาม · ดูเพิ่มเติม »

วัดสุทธิวราราม

วัดสุทธิวราราม ตั้งอยู่บน ถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 5 ไร่ 3 งาน 13 วา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. 2424 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยกรุงธนบุรี นับเป็นวัดประจำสกุล ณ สงขลา ในกรุงเทพมหานครอีกแห่งหนึ่งนอกจากวัดสุวรรณคีรี จังหวัดสงขล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวัดสุทธิวราราม · ดูเพิ่มเติม »

วังศุโขทัย

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี วังศุโขทัย ตั้งอยู่มุมถนนขาวและถนนสามเสน เป็นวังที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนสุโขทัยธรรมราชา ในครั้งนั้นสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง ในรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างวังศุโขทัยพระราชทานเป็นของขวัญในการอภิเษกสมรสของกรมขุนสุโขทัยธรรมราชากับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัตน์ เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวังศุโขทัย · ดูเพิ่มเติม »

วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์

วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ หรือ วันจักรี เป็นวันที่ระลึกถึงพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและมหาจักรีบรมราชวงศ์ ตรงกับวันที่ 6 เมษายนของทุกปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

วันพ่อ

วันพ่อ เป็นวันสำคัญ ในการฉลองความเป็นพ่อและบุคคลที่นับถือในการเป็นพ่อ วันพ่อแห่งชาตินั้นทั่วโลกจะมีการจัดแตกต่างกันไป โดยในประเทศไทยจัดตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี โดยในกว่า 50 ประเทศจะจัดวันอาทิตย์ที่สามของเดือนมิถุนายน จอห์น บี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวันพ่อ · ดูเพิ่มเติม »

วันเอกราช

วันประกาศเอกราช หรือ วันได้รับเอกราช เป็นวันเฉลิมฉลองเพื่อระลึกถึงสถานภาพความเป็นรัฐของชาติ โดยทั่วไปเกิดขึ้นหลังจากรอดพ้นจากการตกเป็นอาณานิคมของรัฐอื่น ส่วนใหญ่กำหนดให้เป็นวันหยุดของชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวันเอกราช · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเกณฑ์ทหาร

วิกฤตการณ์การเกณฑ์ทหาร (conscription crisis) เป็นข้อพิพาทของประชาชนที่เกี่ยวกับนโยบายของทหาร หรือการบังคับให้รับราชการทหาร ที่รู้จักกันทั่วไปว่า "การเกณฑ์ทหาร" ข้อพิพาทนี้สามารถที่จะกลายเป็นจุดวิกฤตได้ เมื่อส่งไปรับราชการทหารทำให้กลายเป็นที่ถกเถียงกันอย่างมากมาย และเกิดการประท้วงเป็นผลตามมา จากมุมมองหนึ่งของเจ้าหน้าที่ทหาร วิกฤตการณ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการทดแทน พวกเขาอาจจะเรียกร้องกองกำลังที่ขาดแคลนให้เพียงพอที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ทางทหารได้ ในระดับหนึ่งสูญเสียการควบคุมของความสามารถทางการเมืองของพวกเขา ในการบังคับใช้กฎหมายที่มีอยู่ในการชุมนุม เมื่อทหารเกณฑ์ถูกส่งไปยังสงครามในต่างประเทศที่ไม่ได้ส่งผลโดยตรงต่อการรักษาความปลอดภัยของประเทศ หรือภายใต้ข้ออ้างและบริบทที่มีความขัดแย้งอย่างอื่นที่ได้รับการเกณฑ์ทหารในประวัติศาสตร์ทางการเมืองที่ถกเถียงกันอย่างมากในระบอบประชาธิปไต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวิกฤตการณ์การเกณฑ์ทหาร · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรียแห่งบาเดิน สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชินีวิคตอเรียเมื่อปีพ.ศ. 2453 เมื่อพระชนมายุ 48 พรรษา เจ้าหญิงวิกตอเรียแห่งบาเดิน (โซเฟีย มาเรีย วิคตอเรีย; 7 สิงหาคม พ.ศ. 2405 - 4 เมษายน พ.ศ. 2473) ต่อมาเป็น สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน เป็นพระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีกุสตาฟที่ 5 แห่งสวีเดน (2401 - 2493).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวิกตอเรียแห่งบาเดิน สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม โฮลเดน

วิลเลียม โฮลเดน (William Holden) ชื่อเกิด วิลเลียม แฟรงคลิน บีเดิล จูเนียร์ (William Franklin, Jr.) (17 เมษายน ค.ศ. 1918 - 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1981) เป็นนักแสดงชาวอเมริกัน โฮลเดนได้รับรางวัลออสการ์ ในสาขานักแสดงนำชายยอดเยี่ยมในปี 1954 และได้รับรางวัลเอมมีในสาขานักแสดงนำยอดเยี่ยมในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวิลเลียม โฮลเดน · ดูเพิ่มเติม »

วิวาห์พระสมุทร

วิวาห์พระสมุทร เป็นบทละครพูดสลับลำ มีทั้งบทร้องและบทเจรจา เป็นพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ เมื่อ พ.ศ. 2461 เนื้อเรื่องได้เค้ามาจากนิยายกรีกเก่าเชื่อว่า ถ้าใช้หญิงงามถวายแก่พระสมุทรจะช่วยให้ชาวเมืองพ้นภัยจากทะเล จุดมุ่งหมายในการพระราชนิพนธ์ ก็เพื่อพระราชทานแก่คณะเสือป่า กองเสนาหลวงรักษาพระองค์ จัดแสดงเก็บเงินบำรุงราชนาวีสมาคมแห่งกรุงสยาม ณ พระราชวังสนามจันทร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวิวาห์พระสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

วิหค เทียมกำแหง

วิหค เทียมกำแหง เป็นนักมวยไทยชื่อดังที่มีชื่อเสียงทางด้านการไหว้ครูสวยงาม วิหคเป็นบุตรของนายไพ นางน้อย ตั้งสัตยา เริ่มหัดชกมวยไทยกับหมื่นชงัดเชิงชก โดยหัดทั้งศิลปะมวยไทยแบบโบราณที่ยังไม่ได้นำเอาการเต้นฟุตเวิร์กแบบมวยสากลมาใช้ และการรำมวยไหว้ครูซึ่งสร้างชื่อเสียงให้เขามาก เมื่อเขาขึ้นชกที่ต่างจังหวัด จะจัดให้เขาชกวันหนึ่ง รำวันหนึ่งเป็นประจำ วิหคขึ้นเปรียบมวยครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวิหค เทียมกำแหง · ดูเพิ่มเติม »

วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี

วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี หรือเจ้าชายวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี เจ้าชายพระราชสวามีแห่งตองกา (Viliami Tupoulahi Tungī Mailefihi) (พระราชสมภพ 1 พฤศจิกายน 1887) เป็นนายกรัฐมนตรีตองกาและพระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 แห่งตองกา พระองค์เป็นสมาชิกราชวงศ์ตูปูผ่านทางการอภิเษกสมรส วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮีและสมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี เป็นบุตรของซิอาโอซิ ตูกูอาโฮ นายกรัฐมนตรีของตองกาตั้งแต่ 1890 ถึง 1893 พระองค์ได้รับเลือกจากพระเจ้าจอร์จ ตูปูที่ 2 แห่งตองกา ให้อภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงสโลเต ตูปูเจ้าหญิงและรัชทายาทแห่งตองกา (ต่อมาคือ "สมเด็จพระราชินีนาถสโลเต ตูปูที่ 3 แห่งตองกา") เมื่อเจ้าหญิงสโลเต ตูปูครองราชย์ พระองค์จึงดำรงพระราชอิสริยยศเป็น "เจ้าชายพระราชสวามีแห่งตองกา" นอกจากนี้พระองค์ยังได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตองกาตั้งแต่ 1923 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี 1941.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์ปลากดอเมริกาใต้

วงศ์ปลากดอเมริกาใต้ หรือ วงศ์ปลากดหนวดยาว (Long-whiskered catfish) เป็นวงศ์ของปลาน้ำจืดกระดูกแข็งวงศ์หนึ่ง ในอันดับปลาหนัง (Siluriformes) ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pimelodidae (/พาย-มิ-โล-ดิ-ดี้/) ปลาในวงศ์นี้จะลักษณะเด่นตรงที่มีหนวด 3 คู่ มีครีบไขมัน ขณะที่ก้านครีบแข็งที่ครีบอกอาจจะมีหรือไม่มีก็ได้ ปากกว้าง ภายในปากไม่มีฟันแหลมคม แต่จะเป็นตุ่มสาก ๆ สีแดงเหมือนฟองน้ำ หลายชนิดมีพฤติกรรมการกินอาหาร โดยการเขมือบฮุบกินไปทั้งชิ้นหรือทั้งตัว โดยที่ไม่มีการกัดหรือเคี้ยว พบกระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ ในทวีปอเมริกาใต้ ขนาดลำตัวมีตั้งแต่เพียงไม่กี่เซนติเมตร แต่ส่วนมากเป็นปลาขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ โดยชนิดที่ใหญ่ที่สุด คือ ปลาพิไรบ้า (Brachyplatystoma filamentosum) ที่มีความยาวกว่า 3 เมตร จัดเป็นปลาที่ใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ และถือเป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่ที่สุดในโลกชนิดหนึ่ง เป็นปลาที่ใช้บริโภคกันเป็นปกติในท้องถิ่น และนิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม โดยแบ่งออกได้เป็น 32 สกุล ประมาณ 90 ชน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และวงศ์ปลากดอเมริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิชัย บำรุงพงศ์

ักดิชัย บำรุงพงศ์ (12 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 — 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557) นักการทูต นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ เจ้าของนามปากกา เสนีย์ เสาวพงศ์ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และศักดิชัย บำรุงพงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์เกษม หุตาคม

ักดิ์เกษม หุตาคม (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 - 21 ธันวาคม พ.ศ. 2529) นักเขียนนวนิยายรัก โศกนาฏกรรม และนักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง เจ้าของนามปากกา อิงอร ได้รับฉายาว่า นักเขียนปลายปากกาจุ่มน้ำผึ้ง ศักดิ์เกษม หุตาคม เกิดที่จังหวัดสงขลา อาศัยอยู่กับมารดาและยาย เพราะกำพร้าบิดาตั้งแต่เด็ก จบชั้นมัธยมจากโรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา แล้วเข้ามาหางานทำที่กรุงเทพ พร้อมกับเรียนกฎหมายที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จนจบอนุปริญญาเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และศักดิ์เกษม หุตาคม · ดูเพิ่มเติม »

สมหมาย ฮุนตระกูล

มหมาย ฮุนตระกูล (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2536) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารไทยพาณิชย์ และอดีตผู้ว่าการการไฟฟ้ายันฮี และอดีตกรรมการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ตั้งแต..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสมหมาย ฮุนตระกูล · ดูเพิ่มเติม »

สมัยเอ็ดเวิร์ด

มัยเอ็ดเวิร์ด (Edwardian era หรือ Edwardian period) เป็นระยะเวลาระหว่างปี ค.ศ. 1901 ถึงปี ค.ศ. 1910 ในสหราชอาณาจักรที่ตรงกับรัชสมัยของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จสวรรคตในเดือนมกราคม ค.ศ. 1901 การขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดพระราชโอรสของพระองค์เป็นการเริ่มคริสต์ศตวรรษใหม่และการสิ้นสุดของสมัยวิคตอเรีย ขณะที่พระราชินีนาถวิกตอเรียทรงหันหลังให้กับสังคม พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงเป็นผู้นำในหมู่ชนชั้นสูงในด้านแฟชั่นและสไตล์ที่มีอิทธิพลต่อศิลปะและแฟชั่นไปถึงผืนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ซึ่งอาจจะเป็นเพราะความที่โปรดการท่องเที่ยว สมัยนี้เป็นสมัยของการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเมื่อชนบางชั้นในสังคมที่ไม่มีสิทธิมีเสียงในอดีตเช่นชนชั้นแรงงานและสตรีเริ่มจะมีบทบาททางการเมืองเพิ่มขึ้น “สมัยเอ็ดเวิร์ด” มักจะยืดออกไปหลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดในปี ค.ศ. 1910 จนไปถึงปีที่เรืออาร์เอ็มเอส ไททานิกล่มในปี ค.ศ. 1912, ปีที่เริ่มสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในปี ค.ศ. 1914 หรือจนไปถึงปี ค.ศ. 1918 ซึ่งเป็นปีที่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งสิ้นสุดลง เมื่อสงครามสงบลงวิถีชีวิตของสมัยเอ็ดเวิร์ดที่เป็นสมัยของความไม่สมดุลในทางอำนาจและฐานะทางเศรษฐกิจก็กลายเป็นสิ่งล้าหมัยในสายตาของผู้ที่ประสบความทุกข์ยากจากสงครามและสิ่งแวดล้อมและผู้ที่ได้รับความรู้มากขึ้นจากสื่อมวลชนถึงความไม่ยุติธรรมอันเกิดจากการแบ่งชั้นวรรณ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสมัยเอ็ดเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงา

มเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองกา (4 มิถุนายน พ.ศ. 2461 - 10 กันยายน พ.ศ. 2549) พระมหากษัตริย์แห่งตองงา ทรงเป็นผู้หนึ่งซึ่งนิยมประชาธิปไตย ตองงา เป็นประเทศเดียวที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขในภูมิภาคโอเชียเนีย กินเนสบุคส์ได้บันทึกไว้ว่าทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีน้ำหนักพระองค์มากที่สุดในโลก คือ 201 กิโลกรัม ใน พ.ศ. 2513 แต่ต่อมาน้ำหนักพระองค์ก็ลดลงเหลือ 139 กิโลกรัม ใน พ.ศ. 2532 นอกจากนั้นพระองค์ยังเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของตองงา ระหว่างปี พ.ศ. 2492 - พ.ศ. 2508.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสมเด็จพระราชาธิบดีเตาฟาอาเฮา ตูโปอูที่ 4 แห่งตองงา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงา

สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองกา ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ องค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์ตูโปอู และทรงเป็น สมเด็จพระราชินีนาถแห่งตองกา เพียงพระองค์เดียว ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2443 เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 2และสมเด็จพระราชินีลาวิเนีย เวอิออนโก ทรงเป็นกษัตริย์นักพัฒนา ทรงพัฒนาธุรกิจและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศถือเป็นกษัตริย์นักพัฒนาอีกพระองค์หนึ่งนอกจากพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 จึงทำให้ยุคของพระนางเป็นยุคทองของประเทศตองงา นอกจากรัชสมัยของพระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับ วิเลียมี ตังกิ ไมเลฟีฮี พระองค์ทรงขึ้นครองราชย์ในวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2461 และสวรรคตในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2508 สมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 ซาโลเต หมวดหมู่:สมเด็จพระราชินีนาถ หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์จีบีอี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสมเด็จพระราชินีนาถซาโลเต ตูโปอูที่ 3 แห่งตองงา · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช

อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)

มเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม วาสน์ นิลประภา ฉายา วาสโน เป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 18 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สถิต ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2517 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงอยู่ในตำแหน่ง 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2531 สิริพระชันษา 91 ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์

มหาอำมาตย์เอก มหาเสวกเอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (ประสูติ: 22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 - สิ้นพระชนม์: 10 ธันวาคม พ.ศ. 2478) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ประสูติแต่สมเด็จพระปิยมาวดี ศรีพัชรินทรมาตา ทรงเป็นต้นราชสกุลสวัสดิวัตน์ เป็นพระอนุชาในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า เป็นพระมาตุลาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระชนกในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นเจ้านายต่างกรมพระองค์เดียวในชั้นพระองค์เจ้าที่ยังไม่ได้เป็นกรมพระยา ที่ได้รับสมเด็จ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ทรงดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมเป็นพระองค์แรก นอกจากนี้ยังทรงเคยดำรงตำแหน่งอธิบดีศาลฎีกาในระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ · ดูเพิ่มเติม »

สยามานุสสติ

ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สยามานุสสติ เป็นคำโคลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันเสาร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2461 และได้พระราชทานแก่ทหารอาสาสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 ต่อมาได้มีการนำโคลงนี้มาแต่งเป็นเพลงปลุกใจ ซึ่งประพันธ์ทำนองโดยนารถ ถาวรบุตร พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนิพนธ์โคลงสยามานุสสติมาจาก คำขวัญปลุกใจของอังกฤษในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งที่ว่า "What stands if Freedom fall? Who dies if England live?".

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสยามานุสสติ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย (Byelorussian Soviet Socialist Republic; Белару́ская Саве́цкая Сацыялісты́чная Рэспу́бліка; Белору́сская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต หลังการประกาศเอกราชของสาธารณรัฐประชาชนเบลารุสเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 1918 กลุ่มบอลเชวิคจากสหภาพโซเวียตได้เข้ายึดครองดินแดนเบลารุสและประกาศจัดตั้งสาธารณรัฐโซเวียตสังคมนิยมเบียโลรัสเซีย (Socialist Soviet Republic of Byelorussia) ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1919 ต่อมาสาธารณรัฐแห่งนี้ถูกยุบและแยกพื้นที่ไปรวมกับสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียและสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนีย-เบลารุส แต่ก็ได้รับการจัดตั้งขึ้นใหม่อีกครั้งในวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1920 โดยใช้ชื่อว่า "สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย" สาธารณรัฐสังคมนิยมเบียโลรัสเซียเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้ก่อตั้งสหภาพโซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1922 ร่วมกับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน, สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคเชีย และสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย เบียโลรัสเซียเป็นหนึ่งในสาธารณรัฐหลายแห่งในสหภาพโซเวียตที่ถูกเยอรมนีนาซียึดครองระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 นอกจากนี้ยังเป็นสมาชิกก่อตั้งองค์การสหประชาชาติในปี ค.ศ. 1945 ร่วมกับชาติอื่น ๆ รวมทั้งสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนและสหภาพโซเวียตอีกด้วย จุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียมาถึงในปี ค.ศ. 1991 เมื่อสาธารณรัฐแห่งนี้กลายเป็นรัฐเอกราชและเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น สาธารณรัฐเบลารุส เบียโลรัสเซีย หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปยุโรป หมวดหมู่:อดีตรัฐสมาชิกสหประชาชาติ หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2462 หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2463.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเยอรมันออสเตรีย

รณรัฐเยอรมัน-ออสเตรีย หรือ เยอรมัน-ออสเตรีย (Republik Deutschösterreich หรือ Deutsch-Österreich, Republic of German-Austria หรือ German-Austria) เดิมเป็นรัฐหลงเหลือ (rump state) ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งของบริเวณของผู้พูดภาษาเยอรมัน (ไม่ใช่ออสเตรียของเยอรมนี) กล่าวกันว่ามีเนื้อที่ทั้งหมด 118,311 ตารางกิโลเมตรและมีประชากร 10.4 คนที่รวมบริเวณที่ปัจจุบันคือออสเตรียและบริเวณของผู้พูดภาษาเยอรมัน (ซิสไลทาเนีย) ของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ซึ่งรวมทั้งจังหวัดโบลซาโน-โบลเซน และเมืองทาร์วิซิโอที่ปัจจุบันอยู่ในอิตาลี; ทางตอนใต้ของจังหวัดคารินเทีย และทางตอนใต้ของสไตเรียที่ปัจจุบันอยู่ในสโลวีเนียและซูเดเทินลันด์ (Sudetenland) และเยอรมันโบฮีเมีย (ต่อมาเป็นส่วนหนึ่งของซูเดเทินลันด์) ที่ปัจจุบันอยู่ในสาธารณรัฐเช็ก ออสเตรียของเยอรมัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสาธารณรัฐเยอรมันออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา

สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา หรือ แอนซี (American National Standard Institute - ANSI) คือองค์กรในสหรัฐอเมริกา มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) โดยใช้ชื่อว่า American Engineering Standards Committee และได้มีการปรับปรุงในปี พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1928) โดยเปลี่ยนชื่อเป็น American Standards Association ในปี พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ได้มีการจัดตั้งองค์กรนานาชาติขึ้นมา โดยมีประเทศ 25 ประเทศเข้าร่วม และสุดท้ายในปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น American National Standard Institute หรือ ANSI ในปัจจุบัน หมวดหมู่:องค์การมาตรฐาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีรถไฟขุนตาน

นีรถไฟขุนตาน (Khuntan Railway Station) ตั้งอยู่ที่หมู่ 8 บ้านขุนตาน ตำบลทาปลาดุก อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน อยู่ห่างจากสถานีรถไฟกรุงเทพ เป็นระยะทาง 683.140 กิโลเมตร เป็นสถานีรถไฟชั้น 3 ของทางรถไฟสายเหนือ อยู่ระหว่างสถานีรถไฟทาชมภู และ สถานีรถไฟแม่ตานน้อย ใช้สัญญาณแบบหางปลา ตัวย่อของสถานีคือ ขน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสถานีรถไฟขุนตาน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองรัสเซีย

งครามกลางเมืองรัสเซีย (Grazhdanskaya voyna v Rossiyi)Mawdsley, pp.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสงครามกลางเมืองรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

สปิโร แอกนิว

สปิโร ธีโอดอร์ "เท็ด" แอกนิว (Spiro Theodore "Ted" Agnew; 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461 - 17 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ดำรงตำแหน่งเป็นรองประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 39 ระหว่าง พ.ศ. 2512 ถึง 2516 ในสมัยประธานาธิบดีริชาร์ด นิกสัน ต่อมาได้ลาออกจากตำแหน่งรองประธานาธิบดี เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จ หมวดหมู่:พรรคริพับลิกัน (สหรัฐอเมริกา) หมวดหมู่:นักการเมืองอเมริกัน หมวดหมู่:บุคคลจากรัฐแมริแลนด์.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสปิโร แอกนิว · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร)

นาวาตรี หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร) (พ.ศ. 2408 - พ.ศ. 2461) เป็นหม่อมราชนิกูลผู้ดำรงยศ "หม่อมราโชทัย" คนที่ 3 เป็นบุตรคนที่ 9 ของหม่อมเจ้าโสภณ อิศรางกูร เป็นนัดดาของสมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าเกศ กรมขุนอิศรานุรักษ์ (ต้นราชสกุล "อิศรางกูร") และสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี (บุญรอด) ในรัชกาลที่ 2 เป็นปนัดดาของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์ (แก้ว) ซึ่งเป็นพระพี่นางในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร) เกิดตอนปลายรัชกาลที่ 4 (สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) รับราชการเป็นนายทหารพระธรรมนูญ กรมพระธรรมนูญ กระทรวงทหารเรือ ท่านเป็นพระอาจารย์ภาษาไทยของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 และพระราชโอรส พระราชธิดาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โดยเป็นพระอาจารย์ผู้ช่วย พระยาอิศรพันธุ์โสภณ คนที่ 1 (ม.ร.ว. หนู) หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร) ชอบทำสวนไม้ใบและไม้ดอก อยู่ที่ปากตรอกศาลาต้นจันท์ ด้านถนนอรุณอมรินทร์ หม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร) ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2461 ขณะมีอายุ 53 ปี พิธีพระราชทานเพลิงศพจัดขึ้นที่เมรุหน้าพระอุโบสถวัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร หมวดหมู่:ราชสกุลอิศรางกูร ราโชทัย ราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และหม่อมราโชทัย (หม่อมราชวงศ์โต๊ะ อิศรางกูร) · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา

หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ (พ.ศ. 2425 - 24 กันยายน พ.ศ. 2461) เป็นหม่อมห้ามคนสุดท้าย ในสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช หม่อมเล็ก (ยงใจยุทธ) เป็นบุตรสาวของนายกองนา (ทองดำ ยงใจยุทธ) ข้าหลวงในรัชกาลที่ 5 เป็นตระกูลชาวสวนแถบตำบลศาลายา จังหวัดนครปฐม กับคุณถม มีพี่สาวคนโตชื่อ แจ่ม ยงใจยุทธ และมีน้องชายชื่อ ร้อยเอกชั้น ยงใจยุทธ (เป็นบิดาของพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) หม่อมเล็กถวายตัวเป็นหม่อมห้ามในสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ เมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และหม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าชุมปกบุตร์ ชุมพล

หม่อมเจ้าชุมปกบุตร์ ชุมพล โอรสใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ กับ หม่อมปุก ประสูติเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และหม่อมเจ้าชุมปกบุตร์ ชุมพล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล

ันตรีหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล เป็นพระโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ กับหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (บุตรีของเจ้าพระยาสิริรัตนมนตรี (หงส์ สุจริตกุล)) ประสูติ ณ วังเดิมเชิงสะพานถ่าน (หรือเรียกโดยสามัญว่า วังสะพานถ่าน) กรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นตลาดบำเพ็ญบุญในปัจจุบันนี้ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2439 เวลา 17.25 น. ได้รับพระราชทานนาม ไตรทิพเทพสุต จากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และหม่อมเจ้าไตรทิพเทพสุต เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หลวงปู่กาหลง เตชวัณโณ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และหลวงปู่กาหลง เตชวัณโณ · ดูเพิ่มเติม »

หลักการสิบสี่ข้อ

หลักการสิบสี่ข้อของประธานาธิบดีวิลสัน เป็นการรวบรวมเอาเนื้อหาของสุนทรพจน์ของประธานาธิบดีวิลสัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 เกี่ยวกับสันติภาพของโลกหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ต่อมา หลักการสิบสี่ข้อนี้ได้กลายเป็นหลักการของสนธิสัญญาแวร์ซาย เมื่อเยอรมนียอมแพ้สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และหลักการสิบสี่ข้อ · ดูเพิ่มเติม »

อะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดุ๊กอะเลกเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย (Алексе́й Никола́евич, Alexei Nikolaevich) (12 สิงหาคม พ.ศ. 2447 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) มกุฎราชกุมารองค์สุดท้ายของรัสเซีย เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย แห่งราชวงศ์โรมานอฟ และจักรพรรดินีอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย ประสูติ ณ พระราชวังฤดูร้อนปีเตอร์ฮอฟ มีพระภคินี 4 พระองค์คือ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอะเลคเซย์ นีโคลาเยวิช ซาเรวิชแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

อัลโด ฟัน ไอก์

อัลโด ฟัน ไอก์ (Aldo Van Eyck; 16 มีนาคม พ.ศ. 2461, ดรีแบร์เคิน, จังหวัดยูเทรกต์, ประเทศเนเธอร์แลนด์ – 13 มกราคม พ.ศ. 2542, ลุเนินอานเดอแฟ็คต์) เป็นสถาปนิกชาวดัตช์ ในวัยเด็กศึกษาอยู่ที่สหราชอาณาจักร แล้วได้ศึกษาต่อด้านสถาปัตยกรรมที่สถาบันเทคโนโลยีสหพันธ์สวิสในเมืองซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ หลังจากสำเร็จการศึกษา ฟัน ไอก์ ได้เป็นอาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมอยู่ที่สถาบันสถาปัตยกรรมอัมสเตอร์ดัมระหว่างปี พ.ศ. 2497 ถึงปี พ.ศ. 2502 หลังจากนั้น ได้เป็นศาสตราจารย์อยู่ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแด็ลฟต์ในช่วงปี พ.ศ. 2509 ถึงปี พ.ศ. 2527 และเป็นบรรณาธิการนิตยสารด้านสถาปัตยกรรม Forum ในช่วงปี พ.ศ. 2502 ถึงปี พ.ศ. 2506 และปี พ.ศ. 2510 ฟัน ไอก์ ยังเป็นสมาชิกสภาสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ระหว่างประเทศ (Congrès international d'architecture moderne, CIAM) และได้ก่อตั้งกลุ่มสถาปนิก "Team10" ขึ้น ฟัน ไอก์ ได้รับรางวัลเหรียญทองจากราชสถาบันสถาปนิกอังกฤษ (Royal Institute of British Architects, RIBA) ในปี พ.ศ. 2533.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอัลโด ฟัน ไอก์ · ดูเพิ่มเติม »

อัศนี พลจันทร

อัศนี พลจันทร หรือในนามปากกาว่า นายผี และ สหายไฟ หรือ ลุงไฟ (15 กันยายน 2461 — 28 พฤศจิกายน 2530: อายุ 69 ปี) นักประพันธ์และนักปฏิวัติชาวไทย รู้จักกันในฐานะผู้แต่งเพลงเดือนเพ็ญ (คิดถึงบ้าน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอัศนี พลจันทร · ดูเพิ่มเติม »

อันวัร อัสซาดาต

มุฮัมมัด อันวัร อัสซาดาต (محمد أنور السادات; Muhammad Anwar al-Sadat; 25 ธันวาคม พ.ศ. 2461 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2524) นักการทหาร นักการเมืองและประธานาธิบดีแห่งอียิปต์ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2513 - 6 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอันวัร อัสซาดาต · ดูเพิ่มเติม »

อันฮัลท์

อันฮัลท์ (Anhalt) เดิมเป็นอาณาจักรเคานท์ที่ได้รับการเลื่อนฐานะขึ้นเป็นดัชชีในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอันฮัลท์ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิก แห่งออสเตรีย (2461-2550)

อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิกแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: คาร์ล ลุดวิก มาเรีย ฟรานซ์ โจเซฟ ไมเคิล กาเบรียล แอนโตนิอุส โรเบิร์ต สเตฟาน พิอุส เกรเกอร์ อิกเนเชียส, Carl Ludwig Maria Franz Joseph Michael Gabriel Antonius Robert Stephan Pius Gregor Ignatius von Habsburg-Lorraine) ประสูติเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2461 ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 4 และพระราชบุตรองค์ที่ 5 ในสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 และสมเด็จพระจักรพรรดินีซีต้าแห่งออสเตรีย และเป็นพระอนุชาในสมเด็จพระจักรพรรดิอ๊อตโต้อีกด้วย หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ซึ่งหลังจากการล้มล้างระบอบกษัตริย์แล้ว พระองค์และพระราชวงศ์ซึ่งนำโดยสมเด็จพระจักรพรรดิคาร์ล พระราชบิดา ๆด้เสด็จลี้ภัยไปยังประเทศสวิตเซอร์แลนด์เป็นที่แรก จากนั้นจึงทรงอพยพไปยังที่เกาะมาไดรา ประเทศโปรตุเกส ซึ่งเป็นที่ที่พระราชบิดาของพระองค์เสด็จสวรรคต พระองค์ทรงสำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยคาทอลิกลอยแวน ซึ่งเป็นที่ที่สมเด็จพระจักรพรรดิออตโต พระเชษฐาของพระองค์ก็ทรงสำเร็จการศึกษาที่มหาวิทยาลัยแห่งนี้เช่นกัน ต่อมาปีพ.ศ. 2483 พระราชวงศ์อิมพีเรียลได้อพยพไปที่ประเทศแคนาดา พระองค์จึงทรงสำเร็จการศึกษาในสาขาคณะนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยลาวัล เมืองควีเบค ในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 พระองค์ทรงช่วยเหลือผู้ยากไร้ชาวยิวซึ่งอพยพจากประเทศเยอรมนี ซึ่งขณะนั้นจอมเผด็จการอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ปกครองเยอรมนีอยู่ ต่อมาปีพ.ศ. 2486 พระองค์ทรงเข้าร่วมกับกองทัพนาวีสหรัฐ โดยตามคำเชิญของแฟรงกลิน ดี. รูสเวลต์ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา ปีต่อมา พระองค์จึงได้ทรงร่วมรบกับนายทหารคนอื่นๆ โดยได้ทรงร่วมรบในสงครามนอร์มองดี ประเทศฝรั่งเศส พระองค์ทรงเข้าร่วมกองทัพสหรัฐฯ จนถึงปีพ.ศ. 2490 เมื่อปี พ.ศ. 2501 พระองค์ได้พาครอบครัวของพระองค์มาพำนักที่ประเทศเบลเยียม พระองค์รวมทั้งอาร์ชดัชเชสมารี แอสตริด พระชายา ได้ทรงงานเพื่อสังคม โดยช่วยเหลือผู้รากไร้และคนตกงานจำนวนมาก พระองค์ทรงประทับอยู่ในประเทศเบลเยียมจนกระทั่งสิ้นพระชนม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิก แห่งออสเตรีย (2461-2550) · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย (พระนามเต็ม: ชาร์ลอต เฮ็ดวิก ฟรานซิสก้า โจเซฟ่า มาเรีย แอนโตเนีย โรเบิร์ตต้า อ๊อตโตเนีย ปีอา แอนนา อิกเนเชีย; Charlotte Hedwig Franzisca Josepha Maria Antonia Roberta Ottonia Pia Ignatia von Habsburg-Lorraine) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย และเจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการี (Her Imperial and Royal Highness Archduchess Charlotte, The Princess Imperial of Austria, and the Princess Royal of Hungary).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอาร์ชดัชเชสชาร์ลอตแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรีย

อาร์ชดัชเชสมารี-วาเลอรีแห่งออสเตรีย (en.: Archduchess Marie-Valerie of Austria, the Princess of Tuscany, de.: Erzherzogin Marie-Valerie von Österreich, Prinzessin von Toskana) (พระนามเต็ม: มารี วาเลอรี มาธิลด์, Marie-Valerie Mathilde von Habsburg-Lorraine (ราชสกุลเดิม Habsburg-Lothringen)) ทรงเป็นอาร์ชดัชเชสแห่งออสเตรีย เจ้าฟ้าหญิงแห่งฮังการีและโบฮีเมีย และทรงได้รับการสถาปนาเป็นเจ้าหญิงแห่งทัสคานี ภายหลังจากการอภิเษกสมร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอาร์ชดัชเชสมารี วาเลรีแห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เอ็มเอส คาร์เพเทีย

อาร์เอ็มเอส คาร์เพเทีย (RMS Carpathia) คือชื่อเรือเดินสมุทรของสายการเดินเรือคิวนาร์ด (Cunard Line) เริ่มก่อสร้างเมื่อ ค.ศ. 1901 สร้างเสร็จเมื่อ ค.ศ. 1903 เป็นเรือที่รู้จักกันดีในฐานะเรือที่ไปช่วยเหลือผู้รอดชีวิตจากเหตุการณ์เรืออาร์เอ็มเอส ไททานิก อัปปาง เมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1912 และเรือลำนี้ก็อัปปางลงในวันที่ 17 กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอาร์เอ็มเอส คาร์เพเทีย · ดูเพิ่มเติม »

อานิทา แบร์เวียรท์

อานิทา แบร์เวียรท์ (20 สิงหาคม ค.ศ. 1918 – 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1994) เป็นนักยิมนาสติกสากลชาวเยอรมัน โดยอานิทาเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิก 1936 ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอานิทา แบร์เวียรท์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเรณูนคร

รณูนคร เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครพนม มีสภาพภูมิประเทศที่สวยงาม มีประเพณีท้องถิ่นที่งดงาม และยังมีชื่อเสียงว่าเป็นถิ่นสาวงามอีกด้วย เรณูนครนับเป็นอำเภอที่มีชื่อเสียงมากแห่งหนึ่งในจังหวัดนครพนม และมักจะเป็นอำเภอต้น ๆ ที่ได้รับการแนะนำในฐานะแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของจังหวัดอยู่เสมอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอำเภอเรณูนคร · ดูเพิ่มเติม »

อิกอร์ สตราวินสกี

อิกอร์ เฟโดโรวิช สตราวินสกี้ (И́горь Фёдорович Страви́нский; Igor Stravinsky; 17 มิถุนายน ค.ศ. 1882 — 6 เมษายน ค.ศ. 1971)) เป็นคีตกวีดนตรีคลาสสิกสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาวรัสเซีย สตราวินสกี้ ราวปี 1950 สตราวินสกี้เป็นบุตรชายของนักร้องชื่อดังแห่งโรงละครหลวง เขาเกิดที่เมืองออรานีนบาม (Oranienbaum) ซึ่งตอนนี้เปลี่ยนเป็นชื่อ โลโมโนซอฟ (Lomonosov) ใกล้กับนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย เขาเรียนด้านกฎหมายกับเปียโน ก่อนที่จะมาเป็นศิษย์ของนิโคไล ริมสกี้-คอร์ซาคอฟ บทเพลงชื่อดังชิ้นแรกของเขาได้แก่ วิหคเพลิง (ค.ศ. 1910 ด้วยการจ้างของแซร์จ เดียกิเลฟ เพื่อใช้แสดงในคณะบัลเลต์รัสเซีย ตามมาด้วยเพลง เปทรูชก้า (ค.ศ. 1911) พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ (ค.ศ. 1913) และอุปรากร เรื่อง นกไนติงเกล (ค.ศ. 1914) มีเรื่องที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากเกี่ยวกับบัลเลต์เรื่อง พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ ทั้งจากท่าเต้น และความไม่เหมือนใครของดนตรีประกอบ ทำให้สตราวินสกี้กลายเป็นคีตกวี ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 สตราวินสกี้เสียชีวิตที่นิวยอร์ก ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานซาน มิเชลในนครเวนิซ ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอิกอร์ สตราวินสกี · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติไซออน

หุบเขาไซออน มองจากยอดของ Angels Landing ยามดวงอาทิตย์ตก อุทยานแห่งชาติไซออน (Zion National Park) เป็นอุทยานแห่งชาติทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ใกล้กับ Springdale รัฐยูทาห์ เมื่อ พ.ศ. 2452 ประธานาธิบดี William Howard Taft ได้ประกาศบริเวณนี้ให้เป็น National monument เพื่ออนุรักษ์พื้นที่หุบเขา ภายใต้ชื่อว่า Mukuntuweap National Monument ต่อมาใน พ.ศ. 2461 acting director จาก National Park Service ที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ได้เปลี่ยนชื่ออุทยานเป็น Zion เนื่องจากชื่อเดิมไม่เป็นที่ไม่เป็นที่นิยมในท้องถิ่น Zion เป็นคำในภาษาฮิบรูโบราณ หมายถึง สถานที่หลบลี้ภัย ซึ่งชื่อนี้ได้รับการต้อนรับเชิงบวกมากขึ้นจากสาธารณชน ต่อมาเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2462 United States Congress ได้ประกาศให้ monument แห่งนี้เป็นอุทยานแห่งชาติ จนกระทั่ง พ.ศ. 2480 Kolob section ได้ประกาศ Zion National Monument แยกต่างหากอย่างเป็นทางการ แต่ได้นำมาผนวกรวมเข้ากับอุทยานเมื่อ พ.ศ. 2499 อุทยานแห่งนี้มีพื้นที่ 593 ตร.กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอุทยานแห่งชาติไซออน · ดูเพิ่มเติม »

อุโมงค์ขุนตาน

อุโมงค์ขุนตาน อุโมงค์ขุนตาน เป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอดผ่านที่ยาวที่สุดในประเทศไทย จากจำนวนทั้งสิ้น 7 อุโมงค์มีความยาวถึง 1,352.15 เมตร (1 กิโลเมตร 352 เมตร 15 เซนติเมตร) ตั้งอยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล ระหว่างอำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง กับอำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน เริ่มก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2450 แล้วเสร็จ พ.ศ. 2461 โดยการรถไฟหลวงแห่งกรุงสยาม ที่มีพลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยาการ กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธินเป็นผู้บัญชาการ และมีนายช่างชาวเยอรมันชื่อ เอมิล ไอเซนโฮเฟอร์ เป็นผู้ควบคุมการก่อสร้างทั้งหมด ใช้เวลาสร้างทั้งหมด 11 ปี ค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 1,362,050 บาท อุโมงค์ขุนตาน มีขนาดกว้าง 5.20 เมตร สูง 5.50 เมตร และยาว 1,352.15 เมตร เป็นอุโมงค์ชนิดคอนกรีตเสริมเหล็กตลอดแนว อุโมงค์ด้านเหนือสูงกว่าด้านใต้ประมาณ 14 เมตร ด้านหนึ่งของอุโมงค์ขุนตาน คือ สถานีรถไฟขุนตาน บังกะโลรถไฟของการรถไฟแห่งประเทศไทย และอุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอุโมงค์ขุนตาน · ดูเพิ่มเติม »

อีกอน ชีเลอ

อีกอน ชีเลอ (Egon Schiele) (12 มิถุนายน ค.ศ. 1890 - 31 ตุลาคม ค.ศ. 1918) เป็นจิตรกรชาวออสเตรียผู้ได้รับอิทธิพลจากกุสตาฟ คลิมต์ ชีเลอเป็นจิตรกรเขียนภาพคน (figurative painter) คนสำคัญของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สิ่งที่เด่นของงานของชีเลอคือความเข้มข้น (intensity) และงานเขียนภาพเหมือนตนเองหลายภาพที่เขียนขึ้น ร่างที่บิดเบือนและเส้นที่แสดงออกทางอารมณ์เป็นลักษณะของงานเขียน และ งานวาดเส้นของชีเลอทำให้เป็นจิตรกรคนแรกๆ ของลัทธิเอ็กซเปรสชันนิสม์แม้ว่าจะยังคงมีความเกี่ยวข้องกับขบวนการอาร์ตนูโวเป็นอย่างมากก็ตาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอีกอน ชีเลอ · ดูเพิ่มเติม »

อียอน อี. เช. บราเตียนู

อียอน อี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอียอน อี. เช. บราเตียนู · ดูเพิ่มเติม »

อนาคาริก ธรรมปาละ

อนาคาริก ธรรมปาละ (Anagarika Dhammapala) (เกิด 17 กันยายน พ.ศ. 2407 มรณภาพ 29 เมษายน พ.ศ. 2476) เป็นบุคคลที่สำคัญที่สุดในการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมมหาโพธิ์ และเป็นผู้เรียกร้องเอาพุทธสถานในอินเดียกลับคืนมาเป็นของชาวพุทธ ท่านเกิดในครอบครัวผู้มั่งคั่ง บิดาชื่อว่า เดวิด เหววิตรเน เมื่อได้อ่านหนังสือเรื่องประทีปแห่งเอเชียของท่านเซอร์ เอดวินด์ อาโนลด์ ก็เกิดความซาบซึ้ง มีความคิดอยากอุทิศชีวิตถวายต่อพระพุทธองค์ในการฟื้นฟูพุทธศาสนาที่อินเดีย จึงออกเดินทางสู่อินเดีย เมื่อได้เห็นเจดีย์พุทธคยาที่ชำรุดทรุดโทรมถูกทอดทิ้ง และอยู่ในความครอบครองของพวกมหันต์ จึงเกิดความสังเวชใจ ที่ได้พบเห็นเช่นนั้น จึงทำการอธิษฐานต่อต้นพระศรีมหาโพธิ์ว่า จะถวายชีวิตเป็นพุทธบูชา เพื่อฟื้นฟูพุทธศาสนา ในอินเดียและนำพุทธคยากลับคืนมาเป็นสมบัติของชาวพุทธทั่วโลกให้ได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอนาคาริก ธรรมปาละ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสาวรีย์ทหารอาสา

อนุสาวรีย์ทหารอาสา อนุสาวรีย์ทหารอาสา เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่ ณ ถนนสามเหลี่ยมตรงมุมด้านทิศเหนือของท้องสนามหลวง ตรงข้ามพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร เป็นอนุสรณ์แก่ทหารไทยที่ไปร่วมรบในสมรภูมิยุโรป หลังจากที่สงครามโลกครั้งที่หนึ่งอุบัติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2457 โดยประเทศไทยร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร อันมีฝรั่งเศส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ประกาศสงครามกับเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460ตรี อมาตยกุล, อนุสาวรีย์วีรชนไทย, กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, กรุงเทพฯ, 2520, หน้า 58-60 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้ประกาศรับทหารอาสาสมัครเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2461 เดินทางออกจากประเทศไทยเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2461 เอกสารการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เพื่อเข้ารับการฝึกหัดเพิ่มเติมก่อนเดินทางต่อไปยังสนามรบ ทหารไทยได้ไปปฏิบัติการรบสนับสนุนกองทัพบกฝรั่งเศส และได้รบเคียงบ่าเคียงไหล่กับทหารชาติสัมพันธมิตรอย่างกล้าหาญองอาจ ทหารอาสาที่เสียชีวิตในสมรภูมิจำนวน 19 นาย ได้ฝังไว้ ณ ตำบล ฌูบ กูรท์ (Jube Court) ในยุทธบริเวณประเทศฝรั่งเศส ต่อมาจึงมีการฌาปนกิจที่สุสานในเยอรมนี - กองบัญชาการทหารสูงสุด ครั้นสงครามสงบลงซึ่งฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ ทหารอาสาได้ทยอยเดินทางกลับสู่ประเทศ ชุดสุดท้ายมาถึงเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2462 พร้อมอัฐิของทหารที่เสียชีวิต พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำริให้สร้างอนุสาวรีย์สำหรับบรรจุอัฐิของทหารหาญเหล่านั้น ได้โปรดให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัติวงศ์ (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ทรงเป็นผู้ออกแบบ อนุสาวรีย์มีรูปทรงคล้ายเจดีย์ มีซุ้ม 4 ด้าน ประดับด้วยหินอ่อน ด้านหน้าและหลังของอนุสาวรีย์จารึกเหตุผลแห่งการประกาศสงคราม การประกาศรับทหารอาสาสมัคร การจัดกำลังรบ และการเดินทาง อีกสองด้านจารึกชื่อของทหารผู้สละชีวิตจำนวน 19 คน บอกอายุ ยศ และนาม วันเดือนปีและสถานที่ที่เสียชีวิต อัฐิของทหารที่เสียชีวิตได้ถูกนำมาบรรจุ ณ อนุสาวรีย์แห่งนี้เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2462.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอนุสาวรีย์ทหารอาสา · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน

อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน (Александр Исаевич Солженицын Aleksandr Isayevich Solzhenitsyn) (11 ธันวาคม ค.ศ. 1918 - 3 สิงหาคม ค.ศ. 2008, Gazeta.ru (Russian)) อเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซินเป็นนักเขียนนวนิยาย, นักเขียนบทละคร แ ละ นักประวัติศาสตร์คนสำคัญชาวรัสเซีย โซลเซนิตซิน งานเขียนของโซลเซนิตซินทำให้โลกทราบถึงความทารุณของระบบค่ายแรงงานกูลาก (Gulag) ในสหภาพโซเวียตโดยเฉพาะในเรื่อง The Gulag Archipelago (เกาะกูลาก) และ One Day in the Life of Ivan Denisovich (วันหนึ่งในชีวิตของอิวาน เดนิโซวิค) ซึ่งเป็นงานสองชิ้นที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดของโซลเซนิตซิน งานเขียนอันสำคัญเหล่านี้เป็นผลทำให้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และอเล็กซานเดอร์ โซลเซนิตซิน · ดูเพิ่มเติม »

จอร์จ อีสต์แมน

อร์จ อีสท์แมน ผู้ก่อตั้งบริษัทโกดัก จอร์จ อีสต์แมน (George Eastman, 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2397 (ค.ศ. 1854) - 14 มีนาคม พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1932)) เป็นผู้ประดิษฐ์ฟิล์มม้วนในปี พ.ศ. 2427 และกล้องโกดัก (Kodak) ในปี พ😭😉💕😌👌😩ท นักประดิษฐ์ชาวอเมริกาผู้นี้เป็นผู้ที่เปลี่ยนแปลงการถ่ายภาพจากงานอดิเรกที่แพง และมีผู้คนเพียงเล็กน้อยที่คลั่งไคล้ ให้กลายเป็นงานอดิเรกที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง เขาเกิดในเมืองวอเทอร์วิลล์ (Waterville) รัฐนิวยอร์ก และการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจอร์จ อีสต์แมน · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เบาว์ริง

ซอร์จอห์น เบาว์ริง (Sir John Bowring; 17 ตุลาคม พ.ศ. 2335 – 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2415) เป็นเจ้าเมืองฮ่องกง (ค.ศ. 1848-1857) พ่อค้า นักการทูต นักเศรษฐศาสตร์การเมือง นักการศาสนา นักแต่งเพลงสวด กวี นักประพันธ์ บรรณาธิการ และนักภาษาศาสตร์ (โดยรู้ถึง 10 ภาษาหลัก ๆ ทั้งหมด ในยุโรป รวมทั้งภาษาจีน) ตลอดจนถึงเป็นราชทูตที่ได้รับการแต่งตั้งจาก สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งอังกฤษ เพื่อเข้ามาเจริญพระราชไมตรีและเจรจาทำสนธิสัญญากับราชสำนักไทย ในปี พ.ศ. 2398 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในที่สุดก็มีการลงนามในสนธิสัญญาเบาริง เมื่อวันที่ 18 เมษายนปีเดียวกัน สนธิสัญญาฉบับนี้มีผลให้สยามต้องเสียอำนาจอธิปไตยทางการศาลและคนในบังคับอังกฤษมีสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในสยาม นอกจากนี้ สนธิสัญญาดังกล่าวเป็นการเปิดการค้าเสรีกับต่างประเทศ ถือเป็นการสิ้นสุดของการผูกขาดการค้ากับต่างประเทศโดยกรมพระคลังสินค้าของสยาม สนธิสัญญานี้มีผลใช้บังคับอยู่นานกว่า 70 ปี ท้ายที่สุดสมัยปลายรัชกาลที่ 4 และต้นรัชกาลที่ 5 ท่านได้รับแต่งตั้งเป็นอัครราชทูตไทยประจำกรุงลอนดอนและทวีปยุโรป ถือได้ว่าเป็น “ตัวแทนประจำคนแรกของไทย” ก็ว่าได้ มีบรรดาศักดิ์เป็น “พระยาสยามมานุกูลกิจ สยามมิตรมหายศ”.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจอห์น เบาว์ริง · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี

ักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี (Wilhelm II หรือ Friedrich Wilhelm Albert Viktor von Preußen 27 มกราคม พ.ศ. 2402 - 4 มิถุนายน พ.ศ. 2484) หรือ พระเจ้าไกเซอร์วิลเฮล์มที่ 2 เป็นพระราชโอรสใน พระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 กับพระราชธิดาในสมเด็จพระราชินีวิกตอเรีย ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิเยอรมัน และพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งปรัสเซีย ทรงดำรงวาระตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2431 (ค.ศ. 1888) ถึง 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) ทรงเป็นผู้ที่มีความชื่นชมในศักยภาพทางทหารของจักรวรรดิ ทรงเห็นว่ากองทัพเป็นผู้รวมชาติเยอรมันและสร้างความยิ่งใหญ่ให้กับจักรวรรดิ หาใช่สมาชิกรัฐสภาไม่ พระองค์จึงทรงมุ่งมั่นที่จะใช้กำลังทหารเพื่อขยายอิทธิพลของจักรวรรดิเยอรมันไปทั่วโลก ซึ่งมีผลต่อสถานการณีการเมืองในยุโรปอย่างมาก ก่อให้เกิดการช่วงชิงผลประโยชน์และอำนาจซึ่งกันและกัน ตลอดจนเกิดการแบ่งแยกมหาอำนาจยุโรปเป็น 2 ค่าย จนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ในที่สุด หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุติลงใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิออสเตรีย

งประจำพระยศจักรพรรดิแห่งออสเตรีย ใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2358 จักรพรรดิแห่งออสเตรีย คือพระราชอิสริยยศที่ถูกสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2347 โดยจักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์นามว่า จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 ซึ่งพระองค์ขึ้นครองราชสมบัติเป็น จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 และทรงปกครองจักรวรรดิออสเตรียก่อนที่จะเปลี่ยนจักวรรดิและระบอบการปกครองใหม่ พระราชอิสริยยศนี้ใช้จนกระทั่ง พ.ศ. 2461 เมื่อมีการล้มล้างจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี การเผชิญหน้ากับนโปเลียน โบนาปาร์ต ที่เข้ามาก้าวก่ายบรรดาพระราชวงศ์ในยุโรป ทำให้จักรพรรดิฟรันซ์ทรงกังวลและห่วงถึงอนาคตของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และพระราชวงศ์อิมพีเรียล จักรวรรดิอาจถูกล้มล้างและเปลี่ยนระบอบการปกครองใหม่ โดยเมื่อปี พ.ศ. 2349 ออสเตรียได้ส่งกองทัพไปทำสงครามกับฝรั่งเศสในสมรภูมิออสเตอร์ลิตส์ เนื่องจากออสเตรียไม่พอใจที่นโปเลียนเข้ามาก้าวก่ายระบอบการปกครองและพระราชสำนัก ผลของสงครามคือฝรั่งเศสนำโดยนโปเลียนเป็นฝ่ายชนะ นโปเลียนเห็นว่าเป็นโอกาสเหมาะสมของตนจึงเปลี่ยนระบอบการปกครองและตำแหน่งองค์พระประมุขของบรรดาราชวงศ์ในยุโรป รวมทั้งพระราชวงศ์โรมันอันศักดิ์สิทธิ์ของจักรพรรดิฟรานซิสด้วย โดยนโปเลียนได้แยกจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ออกจากกลุ่มสมาชิกสมาพันธรัฐแห่งไรน์ แล้วทำการยุบพระอิสริยยศจักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ออก เหลือเพียงจักรพรรดิแห่งออสเตรียและกษัตริย์แห่งฮังการี พระอิสริยยศนี้ได้ถูกใช้สำหรับองค์พระประมุขออสเตรีย-ฮังการีจนถึงปี พ.ศ. 2461 จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ตลอดเวลาที่ผ่านมาไม่ปรากฏเป็นที่แน่ชัดว่าชื่ออย่างเป็นทางการของออสเตรียคือ จักรวรรดิแห่งออสเตรีย (Empire of Austria, Kaisertum Österreich).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจักรพรรดิออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย

ักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย หรือ สมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการี (พระนามเต็ม: คาร์ล ฟรันซ์ โยเซฟ ลุดวิก ฮิวเบิร์ต จอร์ช มาเรีย; Karl Franz Josef Ludwig Hubert Georg Maria von Habsburg-Lothringen, ภาษาฮังการี: Károly Ferenc József) ทรงเป็นจักรพรรดิออสเตรียและพระมหากษัตริย์ฮังการี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2459 ถึง พ.ศ. 2461 หลังจากที่ราชวงศ์ถูกโค่นอำนาจ เมื่อตอนที่ทรงเถลิงวัลย์ราชสมบัติ พระองค์ทรงได้รับพระนามอย่างเป็นทางการว่า จักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย (สมเด็จพระเจ้าคาร์ลที่ 4 แห่งฮังการี); His Imperial and Royal Apostolic Majesty the Emperor Karl I of Austria and the Apostolic King Karl IV of Hungary.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย

ระราชพิธีบรมราชาภิเษกของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 (1896) จักรพรรดินีโคไลที่ 2 (Николай II, Николай Александрович Романов, tr.) หรือ นิโคลัสที่ 2 (Nicholas II; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2411 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) เป็นจักรพรรดิแห่งรัสเซีย, แกรนด์ดยุคฟินแลนด์และกษัตริย์แห่งโปแลนด์โดยสิทธิ์พระองค์สุดท้าย เช่นเดียวกับจักรพรรดิรัสเซียองค์อื่นๆ พระองค์เป็นที่รู้จักด้วยพระอิสริยยศ ซาร์ บรรดาศักดิ์โดยย่ออย่างเป็นทางการของพระองค์ คือ นิโคลัสที่ 2 จักรพรรดิและอัตตาธิปัตย์แห่งปวงรัสเซีย ศาสนจักรออโธด็อกซ์รัสเซียออกพระนามพระองค์ว่า นักบุญนิโคลัสผู้แบกมหาทรมาน (Passion-Bearer) และถูกเรียกว่า นักบุญนิโคลัสมรณสักขี จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 ทรงปกครองตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก)

ักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Empress Maria Feodorovna of Russia) พระอิสริยยศเมื่อแรกประสูติคือ เจ้าหญิงดักมาร์แห่งเดนมาร์ก (พระนามรูปเต็ม มารี โซฟี เฟรเดริคเค ดักมาร์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2390 - 13 ตุลาคม พ.ศ. 2471) เป็นพระจักรพรรดินีมเหสีแห่งรัสเซีย เจ้าหญิงดักมาร์เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก และสมเด็จพระราชินีหลุยส์แห่งเฮสส์ - คาสเซิล หลังอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าซาร์อเล็กซานเดอร์ที่ 3 แห่งรัสเซีย จึงทรงได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีมเหสี หรือ ซาริน่าแห่งรัสเซีย ด้วยพระนามใหม่หลังจากการเข้ารีตในศาสนจักรออร์โธด็อกซ์รัสเซียว่า มารีเยีย ฟอโดรอฟนา (อักษรซีริลลิก: Mapия Фёдopoвна) พระราชโอรสพระองค์โตของพระองค์คือ สมเด็จพระจักรพรรดินิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย องค์พระประมุขรัสเซีย พระองค์สุดท้ายที่พระจักรพรรดินีทรงดำรงพระชนม์ชีพยืนยาวกว่าเป็นเวลาสิบปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจักรพรรดินีมารีเยีย ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (ดักมาร์แห่งเดนมาร์ก) · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย

ักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Александра Фёдоровна) พระอิสริยยศเดิมคือ เจ้าหญิงอลิกซ์แห่งเฮสส์และไรน์ (วิกตอเรีย อลิกซ์ เฮเลนา หลุยส์ เบียทริซ; 6 มิถุนายน พ.ศ. 2415 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) ทรงเป็นจักรพรรดินีมเหสีในซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย พระองค์เป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร และทรงเปลี่ยนพระนามเป็น อะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา เมื่อทรงรับศีลในนิกายออร์โธด็อกซ์รัสเซีย พระจักรพรรดินีอเล็กซานดราทรงเป็นที่รู้จักดีที่สุดในฐานะที่ทรงเป็นจักรพรรดินีพระองค์สุดท้ายของรัสเซีย เป็นหนึ่งในผู้ที่เป็นพาหะของโรคเฮโมฟีเลียและในเรื่องการสนับสนุนการควบคุมแบบเบ็ดเสร็จของจักรวรรดิรัสเซีย มิตรภาพในด้านลบกับกริกอรี รัสปูติน ผู้ลึกลับชาวรัสเซีย ถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อพระชนม์ชีพของพระองค์ด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจักรพรรดินีอะเลคซันดรา ฟอโดรอฟนา แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิ

ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจักรวรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดปทุมธานี

ังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจังหวัดปทุมธานี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดเชียงใหม่

ังหวัดเชียงใหม่ (40px เจียงใหม่) เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ มีประชากร 1,746,840 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจำนวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับที่สองของประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ โดยมีอำเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอำเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอำเภอลำดับที่ 25 ของจังหวัด และลำดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอำเภอล่าสุดของไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คำเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจำนวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรค์ของโลกทางด้านหัตถกรรมและศิลปะพื้นบ้าน เมื่อปี พ.ศ. 2560 ปัจจุบันกำลังพิจารณาสมัครเมืองมรดกโลกจากองค์การยูเนสโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจังหวัดเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

จาโกโม ปุชชีนี

กโม ปุชชีนี จาโกโม อันโตนีโอ โดเมนีโก มีเกเล เซกอนโด มารีอา ปุชชีนี (Giacomo Puccini 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467) เป็นคีตกวีชาวอิตาเลียน เกิดที่เมืองลูคคา ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2401 (ค.ศ. 1858) เขาเป็นที่รู้จักในนามของ ปุชชินี และได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในคีตกวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 20 อุปรากรที่โด่งดังของเขาได้แก่เรื่อง มาดามบัตเตอร์ฟลาย และ ทอสก้า ปุชชินีเสียชีวิตที่กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม ในวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และจาโกโม ปุชชีนี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติฟินแลนด์

งชาติฟินแลนด์ (Siniristilippu ธงกากบาทสีน้ำเงิน) ใช้พื้นฐานธงกากบาทแบบนอร์ดิกที่เริ่มต้นโดยธงชาติเดนมาร์ก ธงของฟินแลนด์เป็นรูปกากบาทนอร์ดิกสีฟ้าบทพื้นสีขาว โดยสีฟ้าแสดงถึงทะเลสาบและท้องฟ้า และสีขาวแสดงถึงหิมะและราตรีสีขาวของฟินแลนด์ในช่วงฤดูหนาว ธงรัฐการมีตราแผ่นดินอยู่ที่จุดตัด นอกนั้นแล้วเหมือนกับธงพลเรือนทุกประการ ธงของทหารนั้นมีปลายของกากบาทเป็นลักษณะแหลม และธงของประธานาธิบดีมีลักษณะคล้ายธงของทหาร แต่ว่ามีตราอิสริยาภรณ์กางเขนแห่งเสรีภาพ (ภาษาฟินแลนด์: Vapaudenristin ritarikunta) อยู่ที่มุมซ้ายบน ตามกฎหมายของประเทศฟินแลนด์ ธงชาติฟินแลนด์มีอัตราส่วนด้านสูงต่อด้านกว้างเท่ากับ 11:18 หากเป็นธงปลายแหลมของรัฐด้านยาวจะยาวขึ้นอีกหนึ่งส่วน โดยส่วนแหลมนั้นยาวห้าส่วน ความกว้างของกากบาทสีน้ำเงินเท่ากับสามส่วน เมื่ออยู่บนเสาธง ธงควรจะมีความกว้างเป็นเศษหนึ่งส่วนหกของความสูงของเสาธง สีของธงตามมาตรฐานสีของแพนโทนเป็นดังนี้ สีฟ้า 294C สีแดง 186C และสีเหลือง 123C กฎหมายฟินแลนด์มีการควบคุมเกี่ยวกับธงหลายอย่าง เช่น ห้ามการขีดเขียนเล่นหรือนำไปใช้ในทางที่ไม่เคารพ ห้ามนำธงออกจากเสาโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้ธงของรัฐหรือประธานาธิบดีโดยไม่ได้รับอนุญาต การเพิ่มเติมสัญลักษณ์บนธง รวมถึงการขายธงชาติที่เพี้ยนไปจากรูปร่างและสีที่ระบุตามกฎหมาย การละเมิดกฎเหล่านี้อาจมีโทษปรับได้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติยูเครน

งชาติยูเครน (державний прапор України; ถอดเป็นอักษรโรมัน: derzhavnyy prapor Ukrayiny) มีต้นกำเนิดจากธงชาติในสมัยการปกครองระยะสั้นๆ ของสาธารณรัฐประชาชนยูเครนในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติลัตเวีย

งชาติลัตเวีย เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน พื้นเป็นแถบสีแดงเข้มอย่างสีเลือดหมู ที่กลางธงมีแถบแนวนอนสีขาว กว้างเป็น 1 ใน 5 ส่วนของความกว้างธง เดิมธงนี้เป็นธงชาติลัตเวียสมัยได้รับเอกราชครั้งแรกในปี พ.ศ. 2461 (แต่ได้รับรองอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2465) ต่อมาลัตเวียถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียตในปี พ.ศ. 2483 ธงนี้จึงได้เลิกใช้นานหลายสิบปี จนกระทั่งเมื่อประเทศได้รับเอกราชอีกครั้งในปี พ.ศ. 2534 จึงได้มีการนำธงนี้กลับมาใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2533 แต่แท้จริงแล้วประวัติของธงนี้มีความเป็นมาที่ยาวนานตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13 หรือในช่วงยุคกลางของยุโรป ส่วนที่มาสีในธงชาตินั้นมาจากตำนานที่กล่าวถึงผืนผ้าซึ่งเปื้อนเลือดของผู้นำนักรบชาวลัตเวี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติลิทัวเนีย

งชาติลิทัวเนีย มีลักษณะเป็นธงสามสีแบ่งตามแนวนอน พื้นสีเหลือง สีเขียวและสีแดง เรียงจากบนลงล่าง ความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน ธงนี้เริ่มใช้เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2532 ซึ่งเป็นเวลาเกือบ 2 ปี ก่อนการล่มสลายของสหภาพโซเวียตและการประกาศเอกราช ก่อนหน้านี้ธงนี้เคยใช้เป็นธงชาติลิทัวเนียในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย

งชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย เป็นธงแถบตามยาว สีนำเงิน, สีขาว, และสีแดง ธงชาติ และ ธงพาณิชย์ เป็นธงสามสีพื้นสีอุดมการณ์ร่วมสลาฟ (Pan-Slavic colours) ธงสามสีพื้นสีอุดมการณ์ร่วมสลาฟ ประกาศใช้ที่กรุงปราก สาธารณรัฐเช็ก เมื่อปี พ.ศ. 2391.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย

งราชการของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย มีลักษณะเป็นรูปสีเหลี่ยมผืนผ้าพื้นแดง (หมายถึงธงแดงรูปค้อนเคียวของสหภาพโซเวียต) มีแถบสีฟ้าที่ด้านติดคันธงยาวตลอดด้านกว้างของธง โดยแถบนี้กว้างหนึ่งในแปดส่วนของด้านยาวของธง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย

งชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย ธงผืนนี้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2496 มีลักษณะเป็นธงพื้นสีแดง ที่มุมบนธงมีรูปค้อนเคียวกับดาวแดงขอบเหลือง มีแถบคลื่นสีน้ำเงินโดยมีแถบเล็กสีขาว-น้ำเงิน-ขาว วางซ้อน ซึ่งแถบสีที่ได้กล่าวมาแล้ว วางที่ด้านล่างสุดของธง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอาเซอร์ไบจาน

งชาติอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan bayrağı) เป็นธงสามสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน ภายในแบ่งตามแนวนอนเป็นสามแถบ แต่ละแถบซึ่งมีความกว้างเท่ากันมีสีฟ้า สีแดง และสีเขียว ตามลำดับจากบนลงล่าง กลางแถบสีแดงมีรูปจันทร์เสี้ยวและดาวแปดแฉกสีขาว ธงดังกล่าวนี้เริ่มใช้ครั้งแรกในระหว่างปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติจอร์เจีย

งชาติจอร์เจีย (საქართველოს სახელმწიფო დროშა., sakartvelos sakhelmtsipo drosha) ที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่ธงที่มีชื่อเรียกว่า "ธงห้ากางเขน" หรือ "ธงห้ากากบาท" (The five-cross flag) ซึ่งได้นำมาใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2547 หลังธงนี้ได้เลิกใช้มานานถึง 500 ปี ในอดีตธงนี้เป็นธงของอาณาจักรจอร์เจียโบราณในยุคกลางของทวีปยุโรป และเคยใช้เป็นสัญลักษณ์ของพรรคการเมืองจอร์เจียที่มีชื่อว่า พรรคขบวนการเอกภาพแห่งชาติ หรือพรรค ENM (ย่อมาจาก Ertiani Natsionaluri Modzraoba).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไอซ์แลนด์

File:IFIS Historical.svgธงชาติในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2461 และ พ.ศ. 2487, โทนสีของธงรุ่นนี้มีลักษระเป็นสีนำ้เงินรอยัลบลู "ultramarine blue." สัดส่วน 25:18. ธงชาติไอซ์แลนด์ (íslenski fáninn) มีรูปแบบคล้ายธงชาติกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย คือ มีรูปกางเขนอยู่ในธงชาติ รูปกางเขนแดงในธงชาติไอซ์แลนด์สะท้อนให้เห็นถึงอดีตที่เคยเป็นอาณานิคมของประเทศเดนมาร์ก และ ศาสนาคริสต์ ธงชาติสำหรับใช้ทั่วไปนั้นเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ส่วนธงราชการและธงทหารนั้น มีลักษณะคล้ายธงชาติ แต่ด้านปลายธงตัดเป็นหางนกแซงแซว 2 แฉก หากธงดังกล่าวมีตราแผ่นดินอยู่ตรงกลางเครื่องหมายกากบาทนั้น แสดงว่าเป็นธงประจำตำแหน่งประธานาธิบดี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติไทย

งชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง 3 สี คือ สีแดง ขาว และสีน้ำเงินขาบ ภายในแบ่งเป็นแถบ 5 แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น 2 เท่า ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ ชาติ (สีแดง) ศาสนา (สีขาว) และพระมหากษัตริย์ (สีน้ำเงิน) สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์ (ไตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติไทย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเบลารุส

งชาติเบลารุส แบบที่ใช้อยู่ปัจจุบันนั้น เริ่มบังคับใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2538 หลังจากการลงประชามติเพื่อเลือกแบบธงชาติเบลารุสในเดือนประชาชนในเดือนพฤษภาคมปีเดียวกัน ธงที่ใช้อยู่นี้ใช้แทนธงชาติเดิมในปี พ.ศ. 2461 สมัยที่ใช้ชื่อประเทศว่าสาธารณรัฐประชาชนเบลารุส ก่อนที่ประเทศเบลารุสจะมีฐานะเป็นสาธารณรัฐโซเวียต ขึ้นตรงต่อสหภาพโซเวียต ต่อมาเมื่อประเทศได้รับเอกราชก็ได้ใช้ธงในยุคดังกล่าวอีกครั้ง ธงแบบปัจจุบันนี้เป็นการดัดแปลงจากธงชาติสมัยสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซียเพียงเล็กน้อย โดยยกเอารูปค้อนเคียวและดาวแดงออก ซึ่งธงขององค์กรและหน่วยงานราชการต่างๆ ในเบลารุสหลายแห่งล้วนดัดแปลงจากรูปแบบของธงชาติด้วย อย่างในก็ตาม ยังมีคนบางกลุ่มที่ใช้ธงสีพื้นขาวและแดงเป็นเครื่องหมายในการต่อต้านรัฐบาลของประธานาธิบดีอเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค แม้ว่าธงดังกล่าวนี้ถือเป็นธงต้องห้ามในประเทศเบลารุสก็ตาม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเยเมน

งชาติเยเมน (อาหรับ:علم اليمن) แบบปัจจุบันเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นริ้ว 3 สี ความกว้างเท่ากันตามแนวนอน ได้แก่ สีแดง สีขาว และสีดำ ซึ่งเป็นสีกลุ่มชนอาหรับ (Pan-Arabic colors) ประกาศใช้เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 อันเป็นวันรวมชาติ สาธารณรัฐอาหรับเยเมน (เยเมนเหนือ) และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเยเมน (เยเมนใต้) กลับเป็นประเทศเดียวกันอีกครั้ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติเยเมน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเลบานอน

งชาติเลบานอน (علم لبنان) มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงภายในแบ่งเป็น 3 ส่วนตามแนวนอน เป็นสีแดง-ขาว-แดง ตามลำดับ โดยแถบสีขาวมีความกว้างเป็นสองเท่าของแถบสีแดง (สัดส่วนริ้วธง 1:2:1) ที่กลางธงในแถบสีขาวมีรูปต้นซีดาร์สีเขียว มีความกว้างเป็นหนึ่งในสามส่วนของด้านยาวของธง และความสูงของต้นซีดาร์นั้นจรดแถบสีแดงทั้งสองด้านพอดี ธงนี้ได้ออกแบบขึ้นที่บ้านของซาเอ็บ ซาลาม (Saeb Salam) สมาชิกรัฐสภาเลบานอน ที่เมืองมูไซเบฮ์ (Mousaitbeh) และได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแห่งเลบานอนให้ใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2486 โดยทั่วไปแล้วมักเกิดความเข้าใจผิดว่า สีของลำต้นต้นซีดาร์ในธงนี้ควรเป็นสีดำหรือสีน้ำตาล แต่ตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐเลบานอน หมวด 1 มาตรา 5 ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า รูปต้นซีดาร์ต้องเป็นสีเขียวทั้งหมดเท่านั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติเลบานอน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเอสโตเนีย

งชาติเอสโตเนีย เป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 7 ส่วน ยาว 11 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นแถบแนวนอน 3 แถบ แต่ละแถบนั้นกว้างเท่ากัน เรียงเป็นแถบสีฟ้า สีดำ และสีขาวจากบนลงล่าง (ธงชาติเอสโตเนียขนาดมาตรฐานนั้นกว้าง 105 เซนติเมตร ยาว 165 เซนติเมตร) ธงนี้มีชื่อเรียกเฉพาะในภาษาเอสโตเนียว่า "sinimustvalge" แปลว่า "ธงฟ้า-ดำ-ขาว" ตามสีที่ปรากฏบนธงชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเซอร์เบีย

งชาติเซอร์เบีย เป็นธงสามสีพื้นสีอุดมการณ์ร่วมสลาฟ (Pan-Slavic colours) โดยแบ่งภายในเป็นแถบแนวนอน 3 ริ้ว มีสีแดงอยู่บนสุด สีน้ำเงินอยู่กลาง สีขาวอยู่ล่าง ธงดังกล่าวนี้ได้ปรากฏอยู่ในประวัติศาสตร์เซอร์เบียในรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย และถือกันว่าเป็นธงชาติของชนชาวสลาฟทั้งมวล สำหรับธงที่ใช้ในราชการนั้นจะมีรูปตราอาร์มแผ่นดินอย่างย่อของเซอร์เบียอยู่ตรงกลาง โดยตำแหน่งของตรานั้นจะห่างจากด้านซ้ายของธง 1 ใน 7 ส่วนของความยาวธง ธงลักษณะข้างต้นนี้เดิมเคยใช้เป็นธงชาติของราชอาณาจักรเซอร์เบียตั้งแต่ปี ค.ศ. 1882 จนถึงปี ค.ศ. 1918 เมื่อเซอร์เบียเข้าร่วมในราชอาณาจักรเซอร์เบีย, โครเอเชีย และสโลวีเนีย ต่อมาในปี ค.ศ. 1945 เซอร์เบียได้กลายเป็นสาธารณรัฐภายใต้การปกครองของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย รูปดาวแดงของลัทธิคอมมิวนิสต์จึงได้ถูกเพิ่มลงบนธงชาติเซอร์เบียตราบจนกระทั่งได้มีการยกเลิกอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1992 สำหรับธงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้เป็นธงที่ได้รับการรับรองจากรัฐสภาเซอร์เบียอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม ค.ศ. 2004 ต่อมาเมื่อเซอร์เบียได้มีการประกาศรัฐธรรมนูญใหม่ในปี ค.ศ. 2006 การใช้ธงสามสีแดง-น้ำเงิน-ขาว เป็นธงชาติ จึงได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการตามรัฐธรรมนูญ (พร้อมกันกับตราแผ่นดินและเพลงชาติ) โดยทั้งธงชาติและธงรัฐบาลนั้นถือเป็นธงที่มีสถานะเท่าเทียมกัน ธงของเซอร์เบียแบบที่ไม่มีตราแผ่นดินนั้น เดิมเคยใช้ในฐานะของธงชาติและธงราชการ นับตั้งแต่การประกาศรัฐธรรมนูญฉบั..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติเซอร์เบีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

งชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2535 รูปแบบธงได้รับอิทธิพลจากสมัยสหพันธรัฐประชาธิปไตยยูโกสลาเวีย และได้นำกลับมาใช้อีกครั้ง หลังจากเปลี่ยนชื่อประเทศเป็นสหพันธรัฐเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เมื่อปี พ.ศ. 2546 โดยได้ใช้มาจนถึง พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และธงชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ทรายเดือด

หตุการณ์ทรายเดือดที่นิวซีแลนด์ ระหว่างที่เกิดแผ่นดินไหว 6.3 Mw ในปี 2554 ทรายเดือด หรือ แผ่นดินเหลว (liquefaction) กล่าวถึงปรากฏการณ์ที่ดินมีสภาพคล้ายกับของเหลว เนื่องจากสูญเสียกำลัง และความแข็งแรงในด้านความเค้น โดยปรากฏการณ์นี้มักเกิดขึ้นในระหว่างที่เกิดแผ่นดินไหว ในด้านกลศาสตร์ของดิน คำว่า "liquefied" ได้ถูกใช้ครั้งแรกโดย เฮเซิน อ้างอิงถึงเหตุการณ์เขื่อนถล่มในปี พ.ศ. 2461 ที่รัฐแคลิฟอร์เนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และทรายเดือด · ดูเพิ่มเติม »

ทฤษฎีระบบควบคุม

ระบบควบคุมมีความสำคัญอย่างมากในการปล่อยจรวดและยานอวกาศ ทฤษฎีระบบควบคุม (control theory) เป็นสาขาหนึ่งของคณิตศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ ในที่นี้ การควบคุมหมายถึง การควบคุมระบบพลศาสตร์ ให้มีค่าเอาต์พุตที่ต้องการ โดยการป้อนค่าอินพุตที่เหมาะสมให้กับระบบ ตัวอย่างที่เห็นได้ทั่วไป เช่น ระบบควบคุมอุณหภูมิห้องของเครื่องปรับอากาศ หรือ แม้แต่ลูกลอยในโถส้วม ที่เปิดน้ำปิดน้ำโดยอัตโนมัติเมื่อน้ำหมดและน้ำเต็ม การควบคุมการขับเคลื่อนยานพาหนะ เช่น รถยนต์ ก็ถือเป็นการควบคุมชนิดหนึ่ง โดยผู้ขับขี่เป็นผู้ควบคุมทิศทางและความเร็ว ซึ่งระบบควบคุมประเภทที่ต้องมีคนเข้ามาเกี่ยวข้องนี้ถือว่าเป็น ระบบควบคุมไม่อัตโนมัติ (manual control) แต่ทฤษฎีระบบควบคุมจะครอบคลุมเฉพาะการวิเคราะห์และออกแบบ ระบบควบคุมอัตโนมัติ (automatic control) เท่านั้น เช่น ระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ (cruise control) ระบบควบคุมยังอาจแบ่งออกได้เป็นระบบควบคุมวงเปิด (open-loop control) คือ ระบบควบคุมที่ไม่ได้ใช้สัญญาณจากเอาต์พุต มาบ่งชี้ถึงลักษณะการควบคุม ส่วนระบบควบคุมวงปิด (closed-loop control) หรือ ระบบป้อนกลับ (feedback control) นั้นจะใช้ค่าที่วัดจากเอาต์พุต มาคำนวณค่าการควบคุม นอกจากนี้ยังอาจแบ่งได้ตามคุณลักษณะของระบบ เช่น เป็นเชิงเส้น (linear) / ไม่เป็นเชิงเส้น (nonlinear), แปรเปลี่ยนตามเวลา (time-varying) / ไม่เปลี่ยนแปลงตามเวลา (time-invariant) และเวลาต่อเนื่อง (Continuous time) / เวลาไม่ต่อเนื่อง (Discontinuous time).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และทฤษฎีระบบควบคุม · ดูเพิ่มเติม »

ทิพย์ มงคลลักษณ์

นายแพทย์ทิพย์ มงคลลักษณ์ เกิดวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2461 ที่จังหวัดนครปฐม เป็นนักกีฬายิงปืนโอลิมปิกชาวไทย ผู้เข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1968 ที่ประเทศเม็กซิโก ซึ่งได้อันดับที่ 49 ในประเภทแทรป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และทิพย์ มงคลลักษณ์ · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ขรรค์ชัย กัมพลานนท์

นายขรรค์ชัย กัมพลานนท์ เป็นอดีตนายอำเภออำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา เป็นลูกชายคนแรกของนายสาย และ นางส้มจีน เกิดเมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2461 ที่บ้านในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่ต้องกำพร้าแม่ตั้งแต่อายุ 3 ขวบ ในวัยเด็กท่านเป็นเด็กเรียบร้อย อยู่ในโอวาทว่านอนสอนง่าย และขยันหมั่นเพียรในการศึกษาเล่าเรียน มีความกตัญญูกตเวที รักพี่น้อง แม้ขณะที่ท่านไปเรียนต่อที่กรุงเทพ ฯ หรือไปรับราชการห่างไกลจากบ้านเกิดเมืองนอน ก็ยังหมั่นกลับบ้านเพื่อเยี่ยมพ่อและญาติพี่น้องอยู่เป็นประจำ ทั้ง ๆ ที่สมัยนั้นการเดินทางยากลำบากมาก นายขรรค์ชัย มีพี่น้องร่วมบิดามารดา ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และขรรค์ชัย กัมพลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ข้อเขียนพนาโคติก

้อเขียนพนาโคติก (อักษรละติน: Pnakotic Manuscripts) เป็นตำราเวทสมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์ ซึ่งได้รับการกล่าวถึงครั้งแรกในเรื่องสั้น "โพลาริส" ในปี พ.ศ. 2461 และได้รับการกล่าวถึงอีกในผลงานต่อๆมาอย่าง ณ หุบเขาแห่งความวิปลาส (พ.ศ. 2479) เดอะดรีมเควสต์ออฟอันโนนคาดัธ (พ.ศ. 2469) เทพอื่น (พ.ศ. 2478) ทั้งยังได้รับการอ้างถึงโดยนักประพันธ์คนอื่นๆที่เขียนเรื่องในงานชุดนี้ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ ข้อเขียนพนาโคติก นั้นเป็นตำราเวทสมมุติเล่มแรกที่เลิฟคราฟท์นำมาใช้ในเรื่อง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และข้อเขียนพนาโคติก · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร (ส.ส.พระนคร) และกรุงเทพมหานคร (ส.ส.กรุงเทพมหานคร) พรรคประชาธิปัตย์ และนักเขียนสารคดีแนวประวัติศาสตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีสติเรีย

ัชชีสติเรีย (Duchy of Styria; Herzogtum Steiermark; Vojvodina Štajerska; Stájerország) เป็นดัชชีที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของออสเตรียและทางเหนืของสโลวีเนียปัจจุบัน ดัชชีสติเรียเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์จนกระทั่งถูกยุบในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และดัชชีสติเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ดัชชีคารินเทีย

ัชชีคารินเทียหรือดัชชีแคร์นเทิน (Herzogtum Kärnten, Vojvodina Koroška, Duchy of Carinthia) เป็นดัชชีที่เป็นรัฐบริวารของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์มาตั้งแต่ ค.ศ. 976 จนถึง ค.ศ. 1806 เมื่อจักรวรรดิถูกยุบตัว หลังจากนั้นก็ตกไปเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย จนถึง ค.ศ. 1918 เมื่อจักรวรรดิถูกยุบตัว ตามสนธิสัญญาแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล (ค.ศ. 1919) ดินแดนส่วนใหญ่ของคารินเทียก็ก่อตั้งเป็นรัฐคารินเทียของออสเตรีย ส่วนเล็กทางตะวันออกเฉียงใต้ (ราวครึ่งหนึ่งของบริเวณสโลวีน (มณฑลคารินเทีย) และเมืองเยแซร์สโค) รวมเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรแห่งชาวเซิร์บ โครแอต และสโลวีนที่ก่อตั้งขึ้นใหม่ ขณะที่บริเวณหุบเขาคานาเลและเมืองทาร์วิสซิโอตกไปเป็นของราชอาณาจักรอิตาลี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และดัชชีคารินเทีย · ดูเพิ่มเติม »

ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน

ลงชาติสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีมีชื่อว่า ดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน (Das Lied der Deutschen, แปลว่า "เพลงแห่งชาวเยอรมัน) หรือในอีกชื่อหนึ่ง คือ ดัสดอยท์ชลันด์ลีด (Das Deutschlandlied, แปลว่า "เพลงแห่งเยอรมนี") สำหรับในต่างประเทศในบางครั้งจะรู้จักกันในชื่อ "ดอยท์ชลันด์อือเบอร์อัลเลส" (Deutschland über alles, แปลว่า "เยอรมนีเหนือทุกสิ่ง") ซึ่งเป็นวรรคแรกและท่อนแยกของเพลงนี้ในบทที่ 1 แต่ชื่อดังกล่าวไม่ใช่ชื่อของเพลงนี้อย่างแท้จริง ทำนองของเพลงนี้ประพันธ์โดย โจเซฟ ไฮเดิน เมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และดัสลีดแดร์ดอยท์เชิน · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิต (แก้ความกำกวม)

ต อาจหมายถึงได้หลายสถานที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และดุสิต (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

ดุสิตธานี

มืองดุสิตธานี ดุสิตธานี เป็นเมืองจำลองรูปแบบระบอบประชาธิปไตย ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 บริเวณพระราชวังพญาไท ดุสิตธานีเป็นเมืองเล็ก ๆ มีเนื้อที่ 3 ไร่ ตั้งอยู่บริเวณรอบพระที่นั่งอุดร ในพระราชวังดุสิต มีลักษณะเป็นเมืองเล็ก ๆ คล้ายเมืองตุ๊กตา มีขนาดพื้นที่ 1 ใน 20 เท่าของเมืองจริง ประกอบด้วย พระราชวัง ศาลารัฐบาล วัดวาอาราม สถานที่ราชการ โรงทหาร โรงเรียน โรงพยาบาล ตลาดร้านค้า ธนาคาร โรงละคร ประมาณเกือบสองร้อยหลัง เพื่อเป็นแบบทดลองของการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยโปรดให้มีพระธรรมนูญการปกครองลักษณะนัคราภิบาล ซึ่งเปรียบลักษณะของเมือง มีพรรคการเมือง 2 พรรค การเลืองตั้งนัคราภิบาล หรือนายกเทศมนตรี(ตำแหน่งนี้ปัจจุบันเปรียบได้กับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปัจจุบัน) และมีสภาการเมือง(หรือรัฐสภาในปัจจุบัน)แบบระบอบประชาธิปไตย ต่อมาดุสิตธานีได้โตขึ้นอย่างรวดเร็วจนไม่มีที่จะสร้างบ้านเรือน พอดีกับเวลาที่จะสร้างพระราชฐานใหม่ที่พระราชวังพญาไทจึงได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองทั้งเมืองไปตั้งที่บริเวณพระราชวังพญาไท เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2462 ในจำนวนบ้านเล็ก ๆ นั้น มีศาลาว่าการมณฑลดุสิตธานี(ปัจจุบันเทียบเท่ากับศาลากลางจังหวัด)และมีนาคาศาลา(เทียบได้กับศาลากลางบ้านหรือศาลากลางชุมชน) ซึ่งมีความหมายว่า ศาลาของประชาชน เท่ากับว่าเป็นที่ตั้งสภาจังหวัด รัชกาลที่ 6 ทรงเป็นนาคาแห่งดุสิตธานีผู้หนึ่ง ทรงใช้พระนามแฝงว่า นายราม ณ กรุงเทพ ทรงเป็นทนายและทรงเป็นมรรคนายกวัดพระบรมธาตุ ทรงเป็นพระราชมุนี เจ้าอาวาสวัดธรรมธิปไตย และทรงแสดงพระธรรมเทศนาจริง ๆ ด้วย นอกจากนี้ทรงให้คำปรึกษาเกี่ยวกับกรณีพิพาทเรื่องที่ดิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และดุสิตธานี · ดูเพิ่มเติม »

ดีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกา

ีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกา (Die Stem van Suid-Afrika, เสียงเพรียกแห่งแอฟริกาใต้) เป็นเพลงชาติของประเทศแอฟริกาใต้ระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และดีสแต็มฟันเซยด์-อาฟรีกา · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ โทลคีน

ริสโตเฟอร์ โรนัลด์ รูเอล โทลคีน (Christopher John Reuel Tolkien, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2467 -) คือบุตรคนสุดท้ายของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ผู้เขียนลอร์ดออฟเดอะริงส์ เขาเป็นที่รู้จักกันดีจากการนำผลงานที่บิดาได้เขียนค้างไว้มาเรียบเรียงและตีพิมพ์ เขายังเป็นผู้วาดแผนที่ในเรื่องลอร์ดออฟเดอะริงส์ด้วย โดยได้ลงชื่อไว้ว่า C. J. R. T. The J. เมื่อเดือนเมษายน 2550 คริสโตเฟอร์ได้ตีพิมพ์นวนิยายที่บิดาได้เขียนเล่มใหม่ "ตำนานบุตรแห่งฮูริน (The Children of Húrin)" ซึ่งโทลคีนได้ทำการเขียนในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และคริสโตเฟอร์ โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นสึนามิ

แสดงคลื่นสึนามิพัดขึ้นฝั่ง คลื่นสึนามิ เป็นกลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่นๆ (รวมทั้งการจุดวัตถุระเบิดหรือวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำ ล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น คลื่นสึนามิไม่เหมือนกับคลื่นทะเล(tidal wave)ตามปกติ เพราะมีความยาวคลื่นยาวกว่ามาก แทนที่จะเป็นคลื่นหัวแตก (breaking wave) ตามปกติ คลื่นสึนามิเริ่มแรกอาจดูเหมือนกับว่าคลื่นน้ำเพิ่มระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และด้วยเหตุนี้ คลื่นสึนามิจึงมักเรียกว่าเป็นคลื่นยักษ์ โดยทั่วไป คลื่นสึนามิประกอบด้วยกลุ่มคลื่นซึ่งมีคาบเป็นนาทีหรืออาจมากถึงชั่วโมง มากันเรียกว่าเป็น "คลื่นขบวน" (wave train) ความสูงของคลื่นหลายสิบเมตรนั้นอาจเกิดขึ้นได้จากเหตุการณ์ขนาดใหญ่ แม้ผลกระทบของคลื่นสึนามินั้นจะจำกัดอยู่แค่พื้นที่ชายฝั่ง แต่อำนาจทำลายล้างของมันสามารถมีได้ใหญ่หลวงและสามารถมีผลกระทบต่อทั้งแอ่งมหาสมุทร คลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นหนึ่งในภัยธรรมชาติครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ โดยมีผู้เสียชีวิตกว่า 230,000 คน ใน 14 ประเทศที่ติดกับมหาสมุทรอินเดีย ธูซิดดิดีส นักประวัติศาสตร์ชาวกรีก เสนอเมื่อ 426 ปีก่อนคริสตกาล ว่า คลื่นสึนามิเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวใต้ทะเลThucydides: แต่ความเข้าใจในธรรมชาติของคลื่นสึนามิยังมีเพียงเล็กน้อยกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 20 และยังมีอีกมากที่ยังไม่ทราบในปัจจุบัน ขณะที่แผ่นดินไหวที่รุนแรงน้อยกว่ามากกลับก่อให้เกิดคลื่น พยายามพยากรณ์เส้นทางของคลื่นสึนามิข้ามมหาสมุทรอย่างแม่นยำ และยังพยากรณ์ว่าคลื่นสึนามิจะมีปฏิสัมพันธ์กับชายฝั่งแห่งหนึ่ง ๆ อย่างไร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และคลื่นสึนามิ · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

คองเกรสโปแลนด์

ราชอาณาจักรคองเกรสโปแลนด์, ค.ศ. 1815-1830 แผนที่คองเกรสดปแลนด์ (จักรวรรดิรัสเซีย) ค.ศ. 1902 ราชอาณาจักรโปแลนด์ (Królestwo Polskie; Королевство Польское, Царство Польское, Korolevstvo Polskoye, Tsarstvo Polskoye,, Carstwo Polskie, translation: อาณาจักรซาร์โปแลนด์) มีชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า คองเกรสโปแลนด์ (Królestwo Kongresowe หรือ รัสเซียโปแลนด์) สถาปนาเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และคองเกรสโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

คุวะฮะระ

ักรยานบีเอ็มเอ็กซ์ของคุวะฮะระ คุวะฮะระ เป็นบริษัทผู้ผลิตจักรยานและชิ้นส่วนจักรยาน ก่อตั้งโดยเซนทะโระ คุวะฮะระ ในปี ค.ศ. 1918 โดยเริ่มจากการเป็นธุรกิจในครอบครัว เป็นผู้ค้าส่งชิ้นส่วนจักรยานที่เมืองโอซะกะ และส่งออกสินค้าไปยังรัสเซีย จีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริษัทเริ่มทำตลาดจักรยานในสหรัฐอเมริกาในช่วงทศวรรษ 1960 คุวะฮะระมีชื่อเสียงจากจักรยานบีเอ็มเอ็กซ์ที่บริษัทร่วมพัฒนา ขึ้นในทศวรรษ 1970 มีวางจำหน่ายในอเมริกาเหนือ ยุโรป และออสเตรเลีย และเป็นที่จดจำจากความสำเร็จของภาพยนตร์ อี.ที. เพื่อนรัก ของสตีเวน สปีลเบิร์กในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และคุวะฮะระ · ดูเพิ่มเติม »

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยที่เก่าแก่ที่สุด และเป็น 1 ใน 4 คณะแรกตั้งของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถือกำเนิดมาจากโรงเรียนยันตรศึกษาแห่งโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถือเป็นคณะที่มีจำนวนรุ่นมากที่สุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในปีการศึกษา 2560 เป็นรุ่นที่ 101 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีหน้าที่หลักในการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิตและบัณฑิตศึกษา ศึกษาวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้กับประเทศ มีงานวิจัยและความร่วมมือทางวิชาการซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ ปัจจุบันมีภาควิชาทั้งหมด 12 ภาควิชาและหน่วยงานเทียบเท่าภาควิชาอีก 2 หน่วยงาน นิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มักเรียกแทนตัวเองว่า "อินทาเนีย" คณะวิศวกรรมศาสตร์ตั้งอยู่ในพื้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฝั่งตะวันออกของถนนพญาไท ด้านข้างหอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การจัดอันดับในกลุ่มสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี จาก QS world university ranking by subjecthttps://www.topuniversities.com/subject-rankings/2017 พบว่า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย อันดับที่ 147 ของโลก และเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่มีสาขาวิชาติดอันดับโลกมากที่สุดในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Arts, Chulalongkorn University) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล นับได้ว่าเป็นคณะที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของประเทศไทย โดยมีต้นกำเนิดมาจากโรงเรียนแพทยากร และพัฒนามาจนกระทั่งเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ปัจจุบันคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มีอายุ 128 ปี มีแพทย์สำเร็จการศึกษาทั้งหมด 121 รุ่น นักศึกษาแพทย์ปีการศึกษา 2560 นี้นับเป็นรุ่นที่ 128.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล · ดูเพิ่มเติม »

ค่าปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมายถึง การจ่ายค่าทดแทน การถ่ายโอนทรัพย์สินและเครื่องมือซึ่งเยอรมนีถูกบังคับให้กระทำภายหลังจากสนธิสัญญาแวร์ซาย ภายหลังจากความพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง โดยมาตรา 231 ว่าด้วยความผิดฐานเป็นผู้ริเริ่มสงคราม เยอรมนีและพันธมิตรถูกบังคับให้ต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อความสูญเสียของฝ่ายพันธมิตรทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากสงคราม และจำเป็นต้องจ่ายในรูปของค่าปฏิกรรมสงคราม ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1921 คณะกรรมการค่าปฏิกรรมสงครามระหว่างฝ่ายพันธมิตรประกาศจำนวนเงินทั้งหมดทึ่เยอรมนีต้องชดใช้คิดเป็น 269,000 ล้านมาร์ก (ทองคำบริสุทธิ์ราว 100,000 ตัน) หรือคิดเป็นกว่า 23,600 ล้านปอนด์ หรือคิดเป็นกว่า 32,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ซึ่งคิดเป็น 785,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐตามค่าเงินในปี ค.ศ. 2011) ซึ่งเป็นจำนวนเงินที่นักเศรษฐศาสตร์จำนวนมากในยุคนั้นมองว่ามากเกินกว่าจะยอมรับได้ จำนวนเงินที่เยอรมนีต้องผ่อนชำระในแต่ละปีได้รับการลดลงใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และค่าปฏิกรรมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลเวล์ฟ

ตระกูลเวลฟ หรือ ตระกูลเกลฟ (House of Welf หรือ House of Ghelf) เป็นราชตระกูลยุโรปที่มีสมาชิกหลายคนที่ได้เป็นพระมหากษัตริย์เยอรมนีและสหราชอาณาจักรระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตระกูลเวลฟเป็นสาขาเก่าของตระกูลเอสเต ผู้ที่มาจากลอมบาร์ดีในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ซึ่งทำให้บางครั้งจึงได้ชื่อว่า "ตระกูลเวลฟ-เอสเต" ผู้ก่อตั้งตระกูลคือเวลฟที่ 1 ดยุคแห่งบาวาเรีย ผู้ได้รับอสังหาริมทรัพย์จากเวลฟ ดยุคแห่งคารินเธียลุงทางแม่ของตระกูลเวลฟเก่ามาเสียชีวิตในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และตระกูลเวล์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเชโกสโลวาเกีย

ตราแผ่นดินของเชโกสโลวาเกีย ได้มีพัฒนาการตามยุคสมัยทางการเมืองในช่วงศตวรรษที่ 20 ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และตราแผ่นดินของเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันออกกลาง

แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และตะวันออกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ตั้ว ลพานุกรม

รองอำมาตย์เอก ตั้ว ลพานุกรม (21 ตุลาคม พ.ศ. 2441- 27 สิงหาคม พ.ศ. 2484)น้าชาด สำนักพิมพ์ข่าวสด ฉบับวันที่ 5 ตุลาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และตั้ว ลพานุกรม · ดูเพิ่มเติม »

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน ปูตรา อัล-ฮัจ อิบนี อัลมาร์ฮุม ซุลตัน อับดุล ฮามิด ฮาลิม ชะฮ์ที่ 2 (Tunku Abdul Rahman Putra Al-Haj ibni Almarhum Sultan Abdul Hamid Halim Shah II, تونكوعبدالرحمن ڤوترا الهاج ابن المرحوم سلطان عبدالحميد حاليم شه) หรือ ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2533) เป็นผู้นำการเรียกร้องเอกราชและนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศมาเลเซีย ได้รับยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศมาเลเซียหรือ Bapa of Malaysia.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และตุนกู อับดุล ระฮ์มัน · ดูเพิ่มเติม »

ซัลเบอาตี นิการากัว

ซัลเบอาตี นิการากัว (Salve a ti, Nicaragua) เป็นชื่อเรียกของเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐนิการากัว ประพันธ์คำร้องโดย ซาโลมอน อีบาร์รา มายอร์กา (Salomón Ibarra Mayorga) เรียบเรียงทำนองโดย ลุยส์ อ. เดลกาดีโย (Luis A. Delgadillo) เพลงนี้ได้รับการยอมรับเป็นเพลงชาตินิการากัวอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2472 ทำนองของเพลงนี้เกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยใช้เป็นเพลงสวดในคริสต์ศาสนาโดยบาทหลวงชาวสเปน ซึ่งในเวลานั้น นิการากัวยังถือเป็นแคว้นหนึ่งที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิสเปน ต่อมาในช่วงปีแรกๆ แห่งการเรียกร้องเอกราชของชาวนิการากัว เพลงนี้ก็ได้ถูกใช้เป็นเพลงสรรเสริญต่อความยุติธรรมของศาลสูงสุดแห่งรัฐของนิการากัว ซึ่งต่อมาได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกในสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลาง บทเพลงซัลเบอาตี นิการากัว ถูกแทนที่ด้วยเพลงอื่นเป็นระยะๆ ถึง 3 ครั้งระหว่างยุคแห่งความวุ่นวายทางการเมืองและการปฏิวัติ แต่ที่สุดเพลงนี้ก็ได้กลับมามีการใช้อีกครั้งในวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2461 เมื่อการปฏิวัติเสรีนิยมครั้งสุดท้ายของนิการากัวได้สิ้นสุดลง หลังจากนั้นรัฐบาลจึงได้จัดให้มีการประกวดเนื้อร้องสำหรับเพลงชาติเพลงใหม่ ซึ่งเงื่อนไขของเนื้อร้องใหม่นี้จะต้องกล่าวถึงเพียงสันติภาพและการทำงานเท่านั้น เนื่องจากประเทศในเวลานั้นเพิ่งจะสิ้นสุดภาวะสงครามกลางเมือง ซึ่งเงื่อนไขดังกล่าวทำให้นิการากัวเป็นประเทศเดียวในแถบละตินอเมริกาที่ใช้เพลงชาติซึ่งมีเนื้อหากล่าวถึงสันติภาพ มิได้กล่าวถึงสงครามอย่างชาติอื่นในบริเวณเดียวกัน รัฐบาลชุดใหม่ของนิการากัวซึ่งนิยมสเปนและมีแนวคิดอนุรักษนิยม ได้มอบรางวัลชนะเลิศให้แก่ผลงานของซาโลมอน อีบาร์รา มายอร์กา ครูและกวีชาวนิการากัว และได้ประกาศใช้เพลงซัลเบอาตี นิการากัวเป็นเพลงชาติแทนเพลง "เอร์โมซา โซเบรานา" (Hermosa Soberana - อาจแปลเอาความได้ว่า "อธิปไตยที่งดงาม") ซึ่งเป็นเพลงมาร์ชที่มีเนื้อหาปลุกเร้าให้ผู้คนเข้าสู่สงครามต่อต้านสเปน และแสดงถึงความอึดอัดใจที่ชาวนิการากัวมีรากเหง้าจากวัฒนธรรมสเปนอย่างฝังรากลึก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และซัลเบอาตี นิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก

ัชชีซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก (Herzogtum Sachsen-Altenburg, Saxe-Altenburg) เป็นอดีตดัชชีซัคเซินที่เป็นส่วนหนึ่งของดัชชีเอิร์นเนสทีนสาขาของราชวงศ์เวททินที่ในปัจจุบันอยู่ในทือริงเงิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และซัคเซิน-อัลเทนบูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha; Saxe-Coburg and Gotha) เป็นชื่อของดัชชีเยอรมันสองรัฐคือ ซัคเซิน-โคบูร์ก และ ซัคเซิน-โกทา ที่ตั้งอยู่ในประเทศเยอรมนี บริเวณรัฐบาวาเรียและรัฐเทือริงเงินปัจจุบัน ซึ่งเข้ามารวมเป็นรัฐเดียวกันในระหว่างปี พ.ศ. 2369 ถึงปี พ.ศ. 2461 ชื่อ ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา อาจหมายถึงตระกูลหรือราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา ซึ่งมีบทบาทสำคัญมากมายและหลากหลายทางด้านประวัติศาสตร์การเมืองและราชสำนักยุโรปสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-ไมนิงเงิน

ัชชีซัคเซิน-ไมนิงเงิน (Herzogtum Sachsen-Meiningen, Saxe-Meiningen) เป็นหนึ่งในดัชชีเอิร์นเนสทีน (Ernestine duchies) ที่ปกครองโดยตระกูลเว็ททิน ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1681 ดัชชีแห่งแซ็กซ์-ไมนิงเก็นดำรงอยู่จนกระทั่งเมื่อราชบัลลังก์เยอรมันสิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และซัคเซิน-ไมนิงเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค

แกรนด์ดัชชีซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค (Großherzogtum Sachsen-Weimar-Eisenach, Saxe-Weimar-Eisenach) ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1809 จากการรวมดัชชีซัคเซิน-ไวมาร์และซัคเซิน-ไอเซนัคที่รวมตัวเป็นสหอาณาจักร (personal union) มาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัค · ดูเพิ่มเติม »

ซิป

ซิปพลาสติกกับซิปไนลอน ซิป (zip หรือ zipper หรือ zip fastener) คืออุปกรณ์ที่ช่วยยึดปลายของผ้าทั้ง 2 เข้าด้วยกันไว้ชั่วคราว ใช้กับเครื่องอาภรณ์ เสื้อผ้า กางเกง กระเป๋า อุปกรณ์กีฬา อุปกรณ์ปีนเขา เข้าป่า เป็นต้น ซิปประดิษฐ์โดย วิตคัมบ์ จัดสัน วิศวกรชาวอเมริกัน ในปี ค.ศ. 1893 โดยออกแบบเป็นที่เกี่ยวห่วง ให้ติดรองเท้าบู๊ต แทนที่กลัดกระดุมที่กำลังได้รับความนิยมอยู่ขณะนั้น แต่ซิปในช่วงนั้นยังไม่ได้รับความนิยมเท่าไร ต่อมาอีก 20 ปีถัดมา กิเดียน ซุนด์แบค วิศวกรชาวสวีเดน ได้ค้นพบซิปแบบเกี่ยวที่เรียกว่า Hookless (ซึ่งแปลว่าไร้ตะขอ) มีลักษณะคล้ายซิปปัจจุบัน ทั้งสร้างเครื่องจักรผลิตฟันซิปและเครื่องติดฟันซิปเข้ากับแถบผ้าด้วย จนในปี ค.ศ. 1918 ซิปก็ได้รับความนิยมหลังจากที่กองทัพเรือสหรัฐ สั่งซื้อซิปดังกล่าวจำนวน 10,000 ชิ้น ไปติดชุดกันลมให้นักบิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และซิป · ดูเพิ่มเติม »

ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ

ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ มีอักษรย่อว่า ป..ว. เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในตระกูลเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 1 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานเฉพาะฝ่ายหน้า (บุรุษ) เท่านั้น โดยไม่จำกัดจำนวน ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษจัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติอันดับที่ 4 และถือเป็นชั้นสูงสุดของเครื่องอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์

วาดทางกายวิภาคแสดงหลอดเลือดดำในร่างกาย ในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ประวัติการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาตั้งแต่การผ่าร่างกายของเหยื่อจากการสังเวยในสมัยโบราณ ไปจนถึงการวิเคราะห์อย่างละเอียดซับซ้อนถึงการทำงานของร่างกายโดยนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ การศึกษาวิชานี้มีลักษณะเฉพาะมาเป็นเวลานาน และมีการพัฒนาถึงการทำความเข้าใจในหน้าที่และโครงสร้างของอวัยวะในร่างกายอย่างต่อเนื่อง การศึกษากายวิภาคศาสตร์มนุษย์มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่มีเกียรติและนับว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความโดดเด่นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 วิธีการศึกษาวิชากายวิภาคศาสตร์ก็มีการพัฒนาอย่างมากมายตั้งแต่การศึกษาในสัตว์ไปจนถึงการศึกษาในศพของมนุษย์ และการใช้เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประวัติวิชากายวิภาคศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ. 1531 ในปีพ.ศ. 1783 อาณาจักรคีวานรุสล่มสลายโดยการรุกรานจากจักรวรรดิมองโกล หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 มอสโกได้ค่อยพัฒนาเป็นศูนย์กลางของศิลปะและวัฒนธรรมทีละน้อย ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 รัฐมอสโกได้เป็นใหญ่ในจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งได้มีการขยายอาณาเขตถึงโปแลนด์ ทางด้านตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก จนถึงสมัยพระเจ้าซาร์อีวานที่ 3 ในปี พ.ศ. 2023 พระองค์หยุดส่งเครื่องบรรณาการให้มองโกเลีย และประกาศเอกราชไม่เป็นเมืองขึ้นของมองโกเลียอีกต่อไป หลังจากการเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้รัสเซียเผชิญปัญหาในการพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรม ความเป็นอยู่ประชาชนลำบากแร้นแค้น กำลังทหารและเศรษฐกิจรัสเซียเข้าขั้นวิกฤต ในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นในปี พ.ศ. 2460 นำไปสู่การก่อตั้งสหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกของโลกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายมาเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกคู่กับสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น ในสมัยนั้น นโยบายของสหภาพโซเวียตได้เน้นการป้องกันประเทศและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม แต่การเน้นพัฒนาทหารขนานใหญ่ ส่งผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง ต่อมา เมื่อมิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นสู่อำนาจ เขาได้เริ่มนโยบายปฏิรูปด้านต่าง ๆ ทำให้สหภาพโซเวียตล่มสลายใน พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียจึงแยกตัวออกมาเป็นเป็นสหพันธรัฐรัสเซียในปัจจุบัน โดยที่รัสเซียได้รับสถานภาพตามกฎหมายในเวทีระหว่างประเทศมาจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประวัติศาสตร์รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประธานาธิบดีเยอรมนี

ประธานาธิบดีเยอรมนี (Bundespräsident; ประธานาธิบดีแห่งสหพันธรัฐ) เป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเยอรมนี ตั้งแต่การสละราชบัลลังก์ของจักรพรรดิเยอรมันในปี ค.ศ. 1918 และการประกาศใช้รัฐธรรมนูญไวมาร์ ประธานาธิบดีก็เป็นประมุขแห่งรัฐของเยอรมนี ตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีเป็นตำแหน่งพิธีการและถูกจำกัดบทบาทด้วยองค์ประกอบกฎหมายและจารีตธรรมนูญ มีวาระครั้งละ 5 ปี ส่วนประมุขฝ่ายบริหารคือนายกรัฐมนตรีเยอรมนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประธานาธิบดีเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ประเสริฐ ณ นคร

ตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร อดีตนายกราชบัณฑิตยสถาน และนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติปี พ.ศ. 2531 เป็นผู้ประพันธ์คำร้องภาษาไทยของเพลงพระราชนิพนธ์ชะตาชีวิต ใกล้รุ่ง ในดวงใจนิรันดร์ แว่ว เพลงประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศาสตราจารย์ ประเสริฐ ณ นคร หรือ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร สนใจงานด้านคณิตศาสตร์ สถิติ การคำนวณปฏิทิน การแต่งเพลง พันธุศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษาไทยโบราณ มีผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นที่ยอมรับและอ้างถึงในวงวิชาการอย่างกว้างขวาง ที่เป็นที่รู้จัก ได้แก่ การชำระประวัติศาสตร์สุโขทัย ถิ่นเดิมและตระกูลภาษาไทย หลักการสอบค้นเมืองสมัยสุโขทัย การแบ่งกลุ่มไทยตามตัวหนังสือ พจนานุกรมไทยอาหม ตัวอักษรไทยในล้านนา ที่มาของอักษรไทยล้านนาและไทยลื้อ นอกจากนี้ ยังมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งภายในและต่างประเทศ ไม่ต่ำกว่า 100 บทความ ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร เกิดในวันวสันตวิษุวัต ของปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเสริฐ ณ นคร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอลโดวา

มอลโดวา (Moldova) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลโดวา (Republica Moldova) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ตั้งอยู่ระหว่างประเทศโรมาเนียทางทิศตะวันตก และประเทศยูเครนทางทิศตะวันออก มีพรมแดนกับโรมาเนียตามแม่น้ำพรุต (Prut River) และแม่น้ำดานูบ (Danube River) ในอดีตพื้นที่ประเทศมอลโดวาอยู่ในอาณาบริเวณของราชรัฐมอลดาเวีย (Principality of Moldavia) ต่อมาถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซียในปี พ.ศ. 2355 และได้รวมกับดินแดนโรมาเนียอื่น ๆ เป็นประเทศโรมาเนียในปี พ.ศ. 2461 หลังจากเปลี่ยนผู้มีอำนาจเหนือดินแดนนี้ไปมาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 มอลโดวาก็ได้กลายเป็นดินแดนของสหภาพโซเวียตในชื่อสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตมอลดาเวีย (Moldavian SSR) ระหว่างปี พ.ศ. 2488-2534 จนในที่สุดก็ได้ประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2534.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศมอลโดวา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอนเตเนโกร

มอนเตเนโกร (Montenegro ออกเสียง:; มอนเตเนโกร: มีความหมายว่า "ภูเขาสีดำ") เป็นประเทศเอกราชซึ่งตั้งอยู่ในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตจรดทะเลเอเดรียติกและโครเอเชียทางทิศตะวันตก จรดบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาทางทิศเหนือ จรดเซอร์เบียทางทิศตะวันออก และจรดแอลเบเนียทางทิศใต้ มีพอดกอรีตซาเป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ ในอดีต มอนเตเนโกรมีสถานะเป็นสาธารณรัฐในสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย และต่อมาได้เป็นส่วนหนึ่งในสหภาพการเมืองของเซอร์เบีย-มอนเตเนโกร หลังจากมีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 มอนเตเนโกรก็ได้ประกาศเอกราชในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน มอนเตเนโกรได้รับการกำหนดให้เป็น "รัฐประชาธิปไตย สวัสดิการ และสิ่งแวดล้อม".

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอนเตเนโกรใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศมอนเตเนโกร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศมอนเตเนโกรใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครน

ประเทศยูเครน (Ukraine) หรือ อูกรายีนะ (Україна, Ukrayina) เป็นประเทศในยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ทางใต้และตะวันออกเฉียงใต้จรดทะเลดำและทะเลอะซอฟตามลำดับ ยูเครนมีพื้นที่ 603,628 กม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศลักเซมเบิร์กใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิกเตนสไตน์

ลิกเตนสไตน์ (Liechtenstein) หรือชื่ออย่างเป็นทางการ ราชรัฐลิกเตนสไตน์ (Fürstentum Liechtenstein) เป็นประเทศเล็กๆที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ตั้งอยู่ในทวีปยุโรปกลาง มีพรมแดนด้านตะวันออกติดกับประเทศออสเตรีย และด้านตะวันตกติดกับสวิตเซอร์แลนด์ ถึงแม้ประเทศนี้จะมีขนาดเล็ก และเต็มไปด้วยภูเขาสูง แต่ก็มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย นอกจากนี้ลิกเตนสไตน์ยังเป็นที่นิยมของนักเล่นกีฬาฤดูหนาว และยังมีชื่อเสียงในฐานะเป็นประเทศที่เก็บภาษีต่ำมากประเทศหนึ่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศลิกเตนสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศลิทัวเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศลิทัวเนียใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสโลวาเกีย

ลวาเกีย (Slovakia; Slovensko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐสโลวัก (Slovak Republic; Slovenská republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางตะวันตกเฉียงเหนือติดต่อกับเช็กเกีย ทางเหนือติดต่อกับโปแลนด์ ทางตะวันออกติดต่อกับยูเครน ทางใต้ติดต่อกับฮังการี และทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับออสเตรีย เมืองใหญ่ที่สุดของประเทศคือเมืองหลวงบราติสลาวา ปัจจุบันสโลวาเกียเป็นรัฐสมาชิกรัฐหนึ่งของสหภาพยุโรป และได้เปลี่ยนสกุลเงินของประเทศจากกอรูนาสโลวักมาเป็นยูโรเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศสเปน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศสเปนใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศอาร์เจนติน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศอาร์เจนตินาใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาเซอร์ไบจาน

อาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน (Azərbaycan Respublikası) เป็นประเทศในแถบเทือกเขาคอเคซัส บริเวณที่เป็นจุดเชื่อมต่อของภูมิภาคยุโรปตะวันออกกับเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกจรดทะเลแคสเปียน ทิศเหนือติดต่อกับสหพันธรัฐรัสเซีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับจอร์เจีย ทิศตะวันตกติดต่อกับอาร์มีเนีย และทิศใต้ติดต่อกับอิหร่าน อาเซอร์ไบจานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต สาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (ดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) มีอาณาเขตติดต่อกับอาร์มีเนียทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับอิหร่านทางทิศใต้และทิศตะวันตก และติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนเขตนากอร์โน-คาราบัคทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ ได้ประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจานในปี พ.ศ. 2534 แต่ไม่เป็นที่ยอมรับจากนานาชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศอาเซอร์ไบจาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิหร่าน

อิหร่าน (ایران, อีรอน) หรือ เปอร์เซีย มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน (جمهوری اسلامی ايران) เป็นประเทศในเอเชียตะวันตก มีเขตแดนติดกับประเทศอาร์มีเนีย สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคโดยพฤตินัย และอาเซอร์ไบจานทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดประเทศคาซัคสถานและรัสเซียโดยมีทะเลแคสเปียนคั่น ติดประเทศเติร์กเมนิสถานทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถานทางทิศตะวันออก ติดอ่าวเปอร์เซียและอ่าวโอมานทางทิศใต้ และติดประเทศตุรกีและอิรักทางทิศตะวันตก มีพื้นที่ดินแดน 1,648,195 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศใหญ่ที่สุดอันดับที่สองในตะวันออกกลางและอันดับที่ 18 ในโลก มีประชากร 78.4 ล้านคน มากที่สุดเป็นอันดับที่ 17 ของโลก เป็นประเทศเดียวที่มีชายฝั่งทะเลแคสเปียนและมหาสมุทรอินเดีย ประเทศอิหร่านมีความสำคัญทางภูมิรัฐศาสตร์มาช้านานเนื่องจากที่ตั้งอยู่ในกลางยูเรเชียและเอเชียตะวันตก และอยู่ใกล้กับช่องแคบฮอร์มุซ อิหร่านเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมหลากหลายที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และภาษาต่างๆมากมาย เปอร์เซียที่ใหญ่ที่สุด (61%) อาเซอร์ไบจาน (16%), Kurds (10%) และ Lorestan (6%) ประเทศอิหร่านเป็นที่ตั้งของอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก เริ่มต้นด้วยการตั้งราชอาณาจักรก่อนเอลามและเอลามใน 3200–2800 ปีก่อน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศอิหร่าน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์เจีย

อร์เจีย (Georgia; საქართველო, Sakartvelo) เดิมระหว่างปี พ.ศ. 2534-2538 เรียกว่า สาธารณรัฐจอร์เจีย เป็นประเทศที่อยู่ทางตะวันออกของทะเลดำในคอเคซัสตอนใต้ ในอดีตเป็นสาธารณรัฐหนึ่งของสหภาพโซเวียต มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศรัสเซีย ทางใต้จรดประเทศตุรกี ประเทศอาร์มีเนีย และประเทศอาเซอร์ไบจาน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศจอร์เจีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีนใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศจีน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศจีนใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอซอวอ

อซอวอ (Косово, Kosovo; Kosovë, Kosova) เป็นภูมิภาคหนึ่งในคาบสมุทรบอลข่าน ติดกับประเทศเซอร์เบียทางทิศเหนือ มอนเตเนโกรทางตะวันตก แอลเบเนียและสาธารณรัฐมาซิโดเนียทางใต้ ไม่มีทางออกสู่ทะเล คอซอวอได้ประกาศเป็นรัฐเอกราชแบบเอกภาคีในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ใช้ชื่อว่า สาธารณรัฐคอซอวอ (Republic of Kosovo) มีการรับรองจากบางประเทศ ในขณะที่เซอร์เบียยังคงถือว่าคอซอวอเป็นจังหวัดปกครองพิเศษของตน เมืองหลวงของคอซอวอคือพริสตีนา (Priština) จำนวนประชากรทั้งจังหวัดประมาณ 2 ล้าน 1 แสนคน ส่วนใหญ่เป็นชาติพันธุ์แอลเบเนีย (ร้อยละ 92) ชาวเซิร์บ (ร้อยละ 5.3) และมีชาวตุรกี ชาวบอสนีแอก กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ อีกเล็กน้อย (รวมกันร้อยละ 2.7) คอซอวออยู่ภายใต้การบริหารของสหประชาชาติมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ในขณะที่เอกราชของเซอร์เบียนั้นเป็นที่ยอมรับในประชาคมโลก โดยแท้จริงแล้ว การปกครองของเซอร์เบียมิได้ปรากฏในจังหวัดนี้เลย องค์กรที่ปกครองคอซอวออยู่คือคณะทำงานสหประชาชาติในคอซอวอ (United Nations Mission in Kosovo: UNMIK) และสถาบันการปกครองตนเองชั่วคราวของท้องถิ่น (Provisional Institutions of Self-Government) โดยมีกองกำลังคอซอวอ (Kosovo Force: KFOR) ภายใต้การนำขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) เป็นผู้รักษาความมั่นคง จังหวัดคอซอวอเป็นประเด็นความขัดแย้งทางการเมืองและดินแดนมานานระหว่างชาวเซอร์เบีย (ก่อนหน้านี้คือชาวยูโกสลาฟ) กับชาวแอลเบเนียซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัด การเจรจาในระดับนานาชาติเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2549 เพื่อตัดสินสถานะสุดท้าย จากรายงานของสื่อแขนงต่าง ๆ คาดกันว่า การเจรจาจะนำมาซึ่งเอกราชของดินแดนแห่งนี้ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ในวันที่ 17 กุมภาพัน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศคอซอวอ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิวบาใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศคิว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศคิวบาใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตองกาใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศตองก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศตองกาใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซานมารีโนใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศซานมารีโน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศซานมารีโนใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมนาโกใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศโมนาโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศโมนาโกใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศโรมาเนี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศโรมาเนียใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปรตุเกสใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศโปรตุเก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศโปรตุเกสใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์

อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทยใน พ.ศ. 2461

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2461 ในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศไทยใน พ.ศ. 2461 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเชโกสโลวาเกีย

right right เชโกสโลวาเกีย เป็นอดีตประเทศในยุโรปกลาง ปัจจุบันแยกออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและประเทศสโลวาเกี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กเกีย

็กเกีย (Czechia; Česko) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐเช็ก (Czech Republic; Česká republika) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ในภูมิภาคยุโรปกลาง พรมแดนทางตอนเหนือจรดประเทศโปแลนด์ ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือจรดเยอรมนี ทางใต้จรดออสเตรีย และทางตะวันออกจรดสโลวาเกีย เช็กเกียประกอบด้วยภูมิภาคที่เก่าแก่สองส่วน คือ โบฮีเมียและมอเรเวีย และส่วนหนึ่งของภูมิภาคที่สาม เรียกว่า ไซลีเซีย ประเทศนี้ได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 เมืองหลวงของประเทศคือ ปราก เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศด้วย เมืองสำคัญอื่น ๆ ของประเทศ ได้แก่ เบอร์โน, ออสตราวา, เปิลเซน, ฮราเดตส์กราลอเว, เชสเกบุดเยยอวีตเซ และอูสตีนัดลาเบม นับตั้งแต่การยุบเลิกประเทศเชโกสโลวาเกียเมื่อปลายปี พ.ศ. 2535 กระทรวงการต่างประเทศและกระทรวงศึกษาธิการของสาธารณรัฐเช็กได้สนับสนุนให้ใช้ชื่อประเทศแบบสั้นเป็นภาษาอังกฤษว่า "เช็กเกีย" (Czechia) แต่ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายนัก จนกระทั่งในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีสาธารณรัฐเช็กได้มีมติเห็นชอบให้ใช้ชื่อ "เช็กเกีย" เป็นชื่อเรียกประเทศแบบสั้นอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศเช็กเกีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเอสโตเนีย

อสโตเนีย (Estonia; Eesti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเอสโตเนีย (Republic of Estonia; Eesti Vabariik) เป็นรัฐอธิปไตยในภูมิภาคบอลติก ในยุโรปเหนือ มีอาณาเขตทางทิศเหนือติดกับอ่าวฟินแลนด์ ทิศตะวันตกติดกับทะเลบอลติก มีพรมแดนทางทิศใต้ติดกับประเทศลัตเวีย (ระยะทาง 343 กิโลเมตร) และทางทิศตะวันออกติดกับประเทศรัสเซีย (ระยะทาง 338.6 กิโลเมตร) เอสโตเนียมีพื้นที่ 45,227 ตารางกิโลเมตร (17,462 ตารางไมล์) (อันดับที่ 131 ของโลก) ประเทศเอสโตเนียปกครองด้วยระบอบสาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขและมีการแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเทศมณฑลจำนวน 15 เทศมณฑล โดยมีเมืองหลวงชื่อว่า ทาลลินน์ โดยเอสโตเนียมีจำนวนประชากรของประเทศที่น้อยที่สุดในประเทศสมาชิกของสหภาพยุโรป เอสโตเนียประกาศเอกราชครั้งแรกในปีพ.ศ. 2461 ก่อนจะถูกยึดครองโดยสหภาพโซเวียต นาซีเยอรมนี และสหภาพโซเวียตอีกครั้งหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง เอสโตเนียกลับมาเป็นรัฐเอกราชอีกครั้งหลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต ต่อมาเอสโตเนียก็เข้าร่วมองค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือและสหภาพยุโรป.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศเดนมาร์ก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศเดนมาร์กใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

ซอร์เบียและมอนเตเนโกร (Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึง พ.ศ. 2549 ตั้งอยู่บนคาบสมุทรบอลข่านตอนตะวันตกกลาง ซึ่งแต่เดิมมีชื่อประเทศว่า สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อประเทศในปี2003 ในชื่อ สหภาพรัฐเซอร์เบียและมอนเตเนโกร เซอร์เบียและมอนเตเนโกรมีความร่วมมือกันเฉพาะบางด้านในการเมือง (เช่น ผ่านสหพันธ์การป้องกันประเทศ) ทั้ง 2 รัฐมีนโยบายเศรษฐกิจและหน่วยเงินของตนเอง และประเทศไม่มีเมืองหลวงรวมอีกต่อไป โดยที่แบ่งแยกสถาบันที่ใช้ร่วมกันระหว่างเมืองเบลเกรดในเซอร์เบียและเมืองพอดกอรีตซาในมอนเตเนโกร ทั้งสองรัฐแยกออกจากกันหลังจากมอนเตเนโกรจัดให้มีการลงประชามติเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 และประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน ปีเดียวกัน ทำให้เกิดประเทศใหม่คือประเทศมอนเตเนโกร ส่วนประเทศเซอร์เบียก็กลายเป็นผู้สืบสิทธิ์ต่าง ๆ ของประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร · ดูเพิ่มเติม »

ปรัมบานัน

ันดีปรัมบานัน (Candi Prambanan) หรือ จันดีราราจงกรัง (Candi Rara Jonggrang) คือเทวสถานในศาสนาฮินดูที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยู่ในเขตชวากลาง ห่างจากเมืองยกยาการ์ตาไปทางตะวันออกประมาณ 18 กิโลเมตร ตัววัดนั้นสร้างขื้นเมื่อราวปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และปรัมบานัน · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทพระเทพบิดร

ปราสาทพระเทพบิดร ปราสาทพระเทพบิดร เป็นปราสาทเพียงองค์เดียวในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เป็นปราสาทจตุรมุข ยอดปรางค์มีนภศูล และมงกุฎอยู่บนยอด ประดับกระเบื้องเคลือบ องค์เดียวในประเทศไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และปราสาทพระเทพบิดร · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ (The 39 Clues) เป็นวรรณกรรมแนวผจญภัยที่ผสมผสานกับเกมออนไลน์และการสะสมการ์ด ในสหรัฐอเมริกาจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สกอลาสทิก ส่วนฉบับภาษาไทยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เนมแอนด์โนเบิล ในเครือบันลือกรุ๊ป ซึ่งเป็นเครือเดียวกับสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เป็นวรรณกรรมชุดที่มีผู้เขียนมากกว่า 1 คน โดยมีริก ไรออร์แดน (ผู้เขียน เพอร์ซีย์ แจ็กสัน) เป็นผู้เขียนเล่มแรก หนังสือฉบับภาษาไทยตีพิมพ์มาแล้วทั้งหมด 10 เล่ม ประกอบด้วย ผจญค่ายกลกระดูก, หนึ่งโน้ตมรณะ, จอมโจรจอมดาบ, ความลับสุสานฟาโรห์, วงล้อมทมิฬ, ปฏิบัติการทะเลใต้, บุกรังอสรพิษ, รหัสลับจักรพรรดิโลกไม่ลืม, ฝ่าพายุแคริบเบียน และมหันตภัยปลายทาง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และปริศนาสมบัติอัจฉริยะ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาสลิดหินหางเหลืองนอก

ปลาสลิดหินหางเหลืองนอก หรือ ปลาแดมเซลหางเหลืองนอก (Yellowtail damsel, Goldtail demoiselle) เป็นปลาทะเลขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาสลิดหิน (Pomacentridae) มีขนาดโตเต็มที่ได้ 7 เซนติเมตร มีรูปร่างทั่วไปคล้ายกับปลาสลิดหินหางเหลือง (Pomacentrus smithi) ที่อยู่ในวงศ์เดียวกัน แต่ว่าปลาสลิดหินหางเหลืองนอกมีรูปร่างที่ป้อมสั้นกว่า และมีสีสันที่สวยสดกว่า โดยเฉพาะเมื่อกระทบถูกแสงไฟ ไม่พบในน่านน้ำไทย แต่พบในหมู่เกาะโซโลมอน, หมู่เกาะริวกิวในทะเลญี่ปุ่น, ทะเลฟิลิปปิน จนถึงเกรตแบร์ริเออร์รีฟในออสเตรเลีย เป็นปลาที่ได้รับความนิยมอย่างมากในแง่ของการเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม เพราะมีความสวย ประกอบกับการเลี้ยงง่าย นิสัยไม่ก้าวร้าว อีกทั้งยังสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว แต่ส่วนใหญ่ปลาที่มีขยายกันในตลาดค้าปลาสวยงามในประเทศไทย จะถูกนำเข้ามาจากประเทศอินโดนีเซี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และปลาสลิดหินหางเหลืองนอก · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหมอไฟร์เมาท์

ปลาหมอไฟร์เมาท์ (Firemouth, Firemouth cichlid) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Thorichthys meeki อยู่ในวงศ์ปลาหมอสี (Cichlidae) มีรูปร่างเรียวยาว แบนข้าง บริเวณปากไปจนถึงแก้มจนถึงท้องจะเป็นสีแดงสดอมน้ำตาลเขียว ตากลมมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับส่วนหัวที่มีขนาดใหญ่ รอบ ๆ ลูกตาดำจะมีจุดสีฟ้าอ่อนใส บริเวณปลายครีบหลังและครีบหางเมื่อโตเต็มที่จะยื่นยาวออกมาแลดูสวยงาม มีขนาดใหญ่เต็มที่ยาวประมาณ 15 เซนติเมตร โดยตัวผู้มีขนาดเล็กกว่าตัวเมียค่อนข้างมากพอควร พบกระจายพันธุ์ในภูมิภาคอเมริกากลาง เช่น กัวเตมาลา, เบลิซ และคาบสมุทรยูคาทานในเม็กซิโก และสามารถอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำที่เป็นน้ำกร่อยได้ด้วย เป็นปลาที่มีนิสัยดุร้ายก้าวร้าว เมื่อต้องการจะข่มขู่ จะใช้วิธีการพองเหงือกและทำปากพอง และเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ โดยเฉพาะในปลาตัวผู้จะข่มขู่ไล่กัดทุกอย่างไม่เว้นแม้กระทั่งปลาตัวเมียคู่ผสมพันธุ์ด้วย พฤติกรรมการผสมพันธุ์ คือ ตัวผู้จะเข้าไปคลอเคลียปลาตัวเมียเพื่อให้วางไข่ เมื่อไข่หลุดร่วงออกมาแล้วปลาตัวผู้จะเข้าไปฉีดน้ำเชื้อใส่ โดยวางไข่บนหินซึ่งปลาทั้งตัวผู้และตัวเมียจะช่วยกันทำความสะอาดและปรับเปลี่ยนพื้นที่ให้เหมาะกับการวางไข่ การวางไข่ในแต่ละครั้งจะได้จำนวนเฉลี่ยราว 300-500 ฟอง และทั้งคู่จะช่วยกันดูแลไข่จนกระทั่งฟักออกเป็นตัว เป็นปลาที่สวยงามชนิดหนึ่ง นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงาม และสามารถเพาะขยายพันธุ์ในตู้กระจกได้ โดยใช้ตู้ขนาดเล็กเพียง 24 นิ้วก็เพียงพอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และปลาหมอไฟร์เมาท์ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาซิวซอ-บวา

ปลาซิวซอ-บวา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Sawbwa resplendens; ซอ-บวา เป็นคำภาษาพม่า แปลว่า "เจ้าฟ้า") เป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) และเป็นปลาชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Sawbwa ปลาซิวซอ-บวาเป็นปลาถิ่นเดียวในทะเลสาบอินเล รัฐฉาน ในประเทศพม่า ในอุณหภูมิน้ำค่อนข้างเย็น คือ ประมาณ 26-28 องศาเซลเซียส มีรูปร่างเรียวยาว แบนข้าง ส่วนหัวเล็ก ปากเล็กเป็นมุมแหลม หางคอดเรียว ใบหางรูปแฉกตัววี ครีบบางใส เมื่อโตเต็มที่ปลาซิวซอ-บวามีความยาวประมาณ 35 มิลลิเมตร เพศผู้มีสีเงินเหลือบฟ้า ส่วนหัวและปลายหางมีสีแดง เพศเมียและปลาที่ยังไม่โตเต็มวัยมีสีเทา มีจุดสีดำตรงช่องทวาร ไม่มีเกล็ด กินแพลงก์ตอน, ตัวอ่อนของแมลงน้ำและตะไคร่น้ำ เป็นอาหาร มีนิสัยรักสงบ ตื่นตกใจ ชอบอยู่รวมเป็นฝูง ในแวดวงปลาสวยงามในประเทศไทยมีผู้เพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว โดยเรียกกันว่า "ปลาซิวซับวา".

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และปลาซิวซอ-บวา · ดูเพิ่มเติม »

ปารีส

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และปารีส · ดูเพิ่มเติม »

ปืนกลมือ

ปืนกลมือเฮคเลอร์แอนด์คอช เอ็มพี5ถูกใช้อย่างแพร่หลายโดยผู้คุมกฎหมาย ทีมยุทธการและกองกำลังทางทหาร ปืนกลมือหรือปกม. (Submachine Gun, SMG) เป็นปืนที่ทำงานด้วยระบบอัตโนมัติ มีขนาดกะทัดรัดสามารถประทับยิงคนเดียวได้อย่างรวดเร็ว มีระยะยิงหวังผลไม่ไกลนัก ซึ่งโดยทั่วไปแล้วปืนกลมือจะใช้กระสุนของปืนพกกึ่งอัตโนมัติ เนื่องจากนิยมใช้ในการยิงต่อสู้ระยะประชิดตัว และจะมีซองกระสุนที่สามารถบรรจุกระสุนได้ในปริมาณมากกว่าปืนพก ปืนกลมือรุ่นแรกของโลกนั้นคือ ปืนกลมือเบิร์กมันน์ เอ็มพี18 ของฝ่ายเยอรมัน ออกแบบโดย Hugo Schmeisser เมื่อปี พ.ศ. 2459 และ เปิดสายการผลิตในปี พ.ศ. 2461 โดย ธีโอดอร์ เบิร์กมันน์ (Theodor Bergmann) และ ในปีเดียวกัน ปืนกลมือรุ่นดังกล่าวได้เข้าประจำการในกองทัพบกเยอรมัน ส่วนในประเทศไทยนั้นนิยมเรียกปืนกลมือรุ่นนี้ว่า ปืนกลแบล็คมันน์ ซึ่งใช้ในการประหารชีวิตนักโทษของกรมราชทัณฑ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และปืนกลมือ · ดูเพิ่มเติม »

ปุรันทาร สิงห์

นแดนของอาณาจักรอาหมในช่วงสุดท้ายก่อนการล่มสลาย ปุรันทาร สิงห์ (Purandar Singha) เป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของอาณาจักรอาหม ครองราชย์ครั้งแรก พ.ศ. 2361 - 2362 ครองราชย์ครั้งที่สองภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2377 - 2382 ภายหลังพระองค์ได้ถูกถอดออกจากตำแหน่งโดยมีผู้แทนจากเจ้าอาณานิคมขึ้นมาปกครองแทน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และปุรันทาร สิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

นักฟิสิกส์

นักฟิสิกส์ คือนักวิทยาศาสตร์ผู้ศึกษาหรือปฏิบัติงานด้านฟิสิกส์ นักฟิสิกส์ศึกษาปรากฏการณ์ทางกายภาพอย่างกว้างขวางในทุกขนาด ตั้งแต่อนุภาคระดับต่ำกว่าอะตอม (sub atomic particles) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของสสาร (ฟิสิกส์ของอนุภาค) ไปจนถึงพฤติกรรมของวัตถุในเอกภพโดยรวม (จักรวาลวิทยา หรือ Cosmology) วิชาฟิสิกส์มีมากมายหลายสาขา แต่ละสาขามีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะในสาขานั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และนักฟิสิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

นาดทาโทรซาบลีซกา

ลงชาติสาธารณรัฐสโลวัก หรือประเทศสโลวาเกีย มีชื่อว่า "นาดทาโทรซาบลีซกา" (สโลวัก: Nad Tatrou sa blýska) อันมีความหมายว่า "สายฟ้าเหนือเขาทาทราส" ทำนองเพลงมาจากเพลงพื้นเมืองของสโลวาเกีย ส่วนเนื้อร้องประพันธ์ขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1844 (พ.ศ. 2387) โดยยานโก มาตุสกา (Janko Matúška) เพลงนี้มีต้นกำเนิดมาจากอิทธิพลความคิดโรแมนติค (จินตนิยม) และชาตินิยมในแถบยุโรปตอนกลางในเวลานั้น ซึ่งเพลงนี้ต่อมาได้รับความนิยมจากชาวสโลวาเกียทั่วไปในเหตุการณ์การปฏิวัติปี ค.ศ. 1848 (พ.ศ. 2391) เนื้อหาของเพลงโดยรวมเป็นการนำเอาภาพของสายฟ้าเหนือภูเขาทาทราสมาเปรียบเทียบกับภยันตรายที่สโลวาเกียต้องเผชิญและความปรารถนาที่จะฟันฝ่าปัญหาเหล่านั้นไปให้จงได้ ในยุคที่สโลวาเกียยังคงรวมอยู่ในประเทศเชโกสโลวาเกียนั้น ปรากฏว่ามีธรรมเนียมการบรรเลงเพลงนี้ในเวลา 12 นาฬิกาทุกวัน ในเมืองของชาวสโลวัก ต่อมาธรรมเนียมนี้ได้เลิกไปเมื่อมีการแยกตัวเป็น 2 ประเทศ ปัจจุบันนี้ เพลง "นาดทาโทรซาบลีซกา" ใช้บรรเลงเนื่องในวาระพิเศษต่างๆ เช่น การแข่งขันกีฬา เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และนาดทาโทรซาบลีซกา · ดูเพิ่มเติม »

นีกีตา ครุชชอฟ

นีกีตา เซียร์เกเยวิช ครุชชอฟ (Никита Сергеевич Хрущёв; Nikita Sergeyevich Khrushchev 17 เมษายน ค.ศ. 1894 - 11 กันยายน ค.ศ. 1971) เป็นเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากโจเซฟ สตาลิน ซึ่งได้ถึงแก่อสัญกรรมในปี 1953 ประธานสภารัฐมนตรีแห่งสหภาพโซเวียต สืบทอดตำแหน่งต่อจากนิโคไล บัลกานิน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และนีกีตา ครุชชอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน

แกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน (Großherzogtum Hessen) เคยเป็นแกรนด์ดัชชีหรือของจักรวรรดิเยอรมัน ได้รับการสถาปนาขึ้นในปี ค.ศ. 1806 หลังจากที่จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ล่มสลายจากการบุกโจมตีของนโปเลียน นโปเลียนยกฐานะจากรัฐลันด์กราฟแห่งเฮ็สเซิน-ดาร์มชตัดท์ (Landgraviate of Hesse-Darmstadt) ซึ่งเป็นรัฐหนึ่งในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ให้กลายเป็นแกรนด์ดัชชีอย่างเต็มตัว จากเหตุผลนี้ในบางครั้งผู้คนจึงเรียกอาณาจักรดยุกนี้ว่า แกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน - ดาร์มชตัดท์ (Hesse-Darmstadt).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแกรนด์ดัชชีเฮ็สเซิน · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918)

แกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา (Великая Княжна Мария Николаевна) (26 มิถุนายน พ.ศ. 2442 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สามในซาร์นีโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียกับซารีนาอะเลคซันดรา พระองค์ทรงถูกประหารในการปฏิวัติรัสเซีย พ.ศ. 2460 ในตอนแรกพระองค์ยังทรงเยาว์เกินไปที่จะไปเป็นพยาบาลอาสาในกาชาด เหมือนพระเชษฐภคินีของพระองค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง พระองค์จึงทรงอยู่เป็นผู้อุปถัมภ์ของโรงพยาบาล แทนที่จะไปออกเยี่ยมทหารที่ได้รับบาดเจ็บ ตลอดพระชนม์ชีพของพระองค์ พระองค์ทรงสนใจเรื่องเกี่ยวกัยการทหารมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแกรนด์ดัชเชสมารีเยีย นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย (1899–1918) · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา (Великая Княжна Татьяна Николаевна ประสูติ: 29 พฤษภาคม ระบบเก่า, 10 มิถุนายน ระบบใหม่ ค.ศ. 1897 - 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 ซึ่งหลังจากปี ค.ศ. 1900 จะมีการเฉลิมฉลองวันคล้ายวันประสูติของพระองค์ในวันที่ 11 มิถุนายน) เป็นพระราชธิดาองค์ที่สองในสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 และ สมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดรา พระองค์เป็นพระขนิษฐาในแกรนด์ดัชเชสโอลกา และเป็นพระภคินีในแกรนด์ดัสเชส มาเรีย แกรนด์ดัชเชสอะนัสตาซียาและมกุฏราราชกุมารซาเรวิชอะเลคเซย์ ทรงมีอุปนิสัยส่วนพระองค์คล้ายพระราชชนนีวันๆเจ้าหญิงพระองค์นี้จะเข้าออกห้องสีม่วงซึ่งเป็นห้องที่ประทับของจักรพรรดินี อเล็กซานดราและจะทรงขลุกอยู่กับพระราชชนนีถามเกี่ยวกับเรื่องผู้หญิงทุกวัน พระองค์สวรรคตในวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 พร้อมกับเชื้อพระวงศ์โรมานอฟพระองค์อื่น ๆ จากเหตุการณ์สังหารหมู่พระราชวงศ์โรมานอฟโดยพรรคบอลเชว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแกรนด์ดัชเชสตะตยานา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสโอลกา (Olga; Великая Княжна Ольга Николаевна) เป็นเจ้าหญิงในราชวงศ์โรมานอฟของจักรวรรดิรัสเซีย เป็นพระราชธิดาพระองค์แรกใน สมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 และ สมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดราประสูติก่อนที่พระบิดาจะเถลิงราชสมบัติเป็นซาร์แห่งรัสเซีย ประสูติวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1895 ซึ่งพระองค์เป็นที่โปรดปรานของพระบิดาพระพักตร์งามแบบสาวชาวรัสเซียแท้ มีพระพักตร์คล้ายกับพระบิดามีดวงพระเนตรสีฟ้า พระทัยอ่อน มีอุปนิสัยเงียบขรึม ใบหน้าบึ้งตึ้ง ฉลาด ไม่ขัดใจคน ชอบเข้าช่วยเหลือบุคคลที่มีปัญหาเสมอ อารมณ์แปรปรวนง่ายเหมือนพระมารดา ชอบอ่านหนังสือ ขี้อายเหมือนพระบิดา รักเด็ก เล่นกับน้อง เป็นที่รักของน้อง พระองค์ทรงมีสัตว์เลี้ยงส่วนพระองค์เป็นแมวชื่อวัสกา (vasga) ซึ่งพระองค์มีพระนามเล่นคือ โอลิซกา (olishka) สนิทสนมกับเจ้าหญิงทาเทียนา (Tatiana) พระขนิษฐาองค์ที่ 2 โดยพระองค์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 ที่เมืองเยคาเทนเบิร์ก, รัสเซีย สิริพระชนมายุได้ 23 พรรษ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแกรนด์ดัชเชสโอลกา นีคะลายีฟนา แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย

แกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย (Елизавета Фëдоровна; เยลิซาเวียตา เฟโยโดรอฟนา; 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2407 - 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันแห่งราชวงศ์เฮสส์และไรน์และพระชายาในแกรนด์ดยุกเซอร์เกย์ อเล็กซานโดรวิชแห่งรัสเซีย พระราชโอรสพระองค์ที่ห้าในจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 และจักรพรรดินีมารีเยีย อะเลคซันโดรฟนาแห่งรัสเซีย เจ้าหญิงเอลิซาเบธ ซึ่งเป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระจักรพรรดินีอเล็กซานดรา เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย จักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งรัสเซีย ทรงเป็นที่เลืองลือในวงสังคมรัสเซียถึงความงาม ความมีเสน่ห์ และการช่วยเหลือคนยากไร้ และเป็นนักบุญในศาสนาคริสต์นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแกรนด์ดัชเชสเอลิซาเบธ เฟโอโดรอฟนาแห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี

แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี (German East Africa; Deutsch-Ostafrika) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิเยอรมันและจักรวรรดิอาณานิคมเยอรมันมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2434 ถึง พ.ศ. 2461 ซึ่งปัจจุบันเป็น บุรุนดี รวันดา และ แทนซาเนีย อาณานิคมก่อตั้งขึ้นเมื่อกองทัพเยอรมันนั้นปฏิวัติต่อต้านอาณานิคมในยุคทศวรรษ 1880 ต่อมาได้สิ้นสุดลงด้วยการถูกพิชิตในสงครามโลกครั้งที่ 1 และถูกแบ่งให้กับอังกฤษ กับเบลเยี่ยม และมีสถานะเป็นรัฐอารักขาของสันนิบาตชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

แองเตอร์นาซิอองนาล

เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ผู้ประพันธ์คำร้องของเพลงแล็งแตร์นาซียอนาล แองเตอร์นาซิอองนาล (L'Internationale; แล็งแตร์นาซียอนาล, The Internationale; ดิอินเตอร์แนชนาล, Die Internationale; "ดี อินเทอร์นาโชนาล") เป็นเพลงปลุกใจที่ใช้ในการต่อสู้ของชนชั้นกรรมาชีพ มีที่มาจากบทกวีต้นฉบับภาษาฝรั่งเศสของ เออแฌน ปอตีเย (Eugène Pottier) ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแองเตอร์นาซิอองนาล · ดูเพิ่มเติม »

แฮร์มันน์ เฮสเซอ

แฮร์มันน์ เฮสเซอ right แฮร์มันน์ เฮสเซอ (Hermann Hesse) (2 กรกฎาคม ค.ศ. 1877 — 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นกวี นักเขียน และจิตรกรชาวเยอรมัน-สวิส เกิดที่เมืองคาลฟ์ในประเทศเยอรมนี ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1945 ผลงานที่มีชื่อเสียงคือ สิทธารถะ และ เกมลูกแก้ว เฮสเซอเริ่มสร้างสรรค์งานประพันธ์ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองเมื่อมีอายุได้ 21 ปี จนเมื่อมีอายุได้ 26 ปี จึงเริ่มเป็นที่รู้จักแพร่หลาย นอกจากความสามารถทางด้านการประพันธ์แล้ว เฮสเซอยังมีความสามารถทางจิตรกรรมสีน้ำอีกด้วย เฮสเซอเสียชีวิตเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1962 ในประเทศสวิตเซอร์แลน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแฮร์มันน์ เฮสเซอ · ดูเพิ่มเติม »

แฮ็นดริก คริสโตฟเฟิล ฟัน เดอฮึลสต์

แฮ็นดริก คริสโตฟเฟิล "แฮ็งก์" ฟัน เดอฮึลสต์ (Hendrik Christoffel "Henk" van de Hulst; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 - 31 กรกฎาคม ค.ศ. 2000) เป็นนักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวดัตช์ ในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแฮ็นดริก คริสโตฟเฟิล ฟัน เดอฮึลสต์ · ดูเพิ่มเติม »

แถบดาวเคราะห์น้อย

กราฟิกแสดงอาณาเขตของแถบดาวเคราะห์น้อย แถบดาวเคราะห์น้อย (Asteroid belt) เป็นบริเวณในระบบสุริยะที่อยู่ระหว่างวงโคจรของดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี ประกอบไปด้วยวัตถุรูปร่างไม่แน่นอนจำนวนมาก เรียกว่าดาวเคราะห์น้อย (asteroid หรือ minor planet) บางครั้งก็เรียกแถบดาวเคราะห์น้อยว่า "แถบหลัก" เพื่อแยกแยะมันออกจากดาวเคราะห์น้อยกลุ่มอื่น ๆ ที่มีอยู่ในระบบสุริยะ เช่น แถบไคเปอร์ มวลกว่าครึ่งหนึ่งของแถบดาวเคราะห์น้อยอยู่ในดาวเคราะห์น้อยที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 4 ดวง ได้แก่ ซีรีส, เวสตา, พัลลัส และไฮเจีย ทั้งสี่ดวงนี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากกว่า 400 กิโลเมตร สำหรับซีรีสซึ่งถือเป็นดาวเคราะห์แคระเพียงดวงเดียวในแถบดาวเคราะห์น้อย มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 950 กิโลเมตรKrasinsky, G. A.; Pitjeva, E. V.; Vasilyev, M. V.; Yagudina, E. I. (July 2002).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแถบดาวเคราะห์น้อย · ดูเพิ่มเติม »

แท้ ประกาศวุฒิสาร

แท้ ประกาศวุฒิสาร (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2461 -) ผู้อำนวยการสร้าง ผู้กำกับภาพยนตร์ แห่งบริษัทภาพยนตร์ไทยไตรมิตร ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้สร้างภาพยนตร์) ประจำปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแท้ ประกาศวุฒิสาร · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันตก (Western Front) คือเขตสงครามหลักในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งตั้งแต่เดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง) · ดูเพิ่มเติม »

โบดวง เจ้าชายที่ 12 แห่งลีญ

วง เจ้าชายที่ 12 แห่งลีญ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโบดวง เจ้าชายที่ 12 แห่งลีญ · ดูเพิ่มเติม »

โกลด เดอบูว์ซี

กลด เดอบูว์ซี ที่วิลลาเมดิจิ กรุงโรม ค.ศ. 1885 เดอบูว์ซีคือคนกลางแถวบน ใส่เสื้อคลุมสีขาว โกลด-อาชีล เดอบูว์ซี (Claude-Achille Debussy) เป็นคีตกวีชาวฝรั่งเศส เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2405 (ค.ศ. 1862) ที่เมืองแซ็ง-แฌร์แม็ง-อ็อง-แล และเสียชีวิตที่กรุงปารีส เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโกลด เดอบูว์ซี · ดูเพิ่มเติม »

โรคฮีโมฟิเลียในราชวงศ์ยุโรป

รคฮีโมฟิเลียมีบทบาทสำคัญอย่างเด่นชัดมากในประวัติศาสตร์ของราชวงศ์ยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และ 20 สมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรียทรงถ่ายทอดพันธุกรรมกลายพันธุ์ไปสู่ราชวงศ์ต่างๆ บนภาคพื้นทวีปยุโรป อันรวมไปถึงราชวงศ์สเปน เยอรมนีและรัสเซีย ผ่านทางพระราชธิดาสองในห้าพระองค์ (เจ้าหญิงอลิซแห่งสหราชอาณาจักร และ เจ้าหญิงเบียทริซแห่งสหราชอาณาจักร) เจ้าฟ้าชายเลโอโพลด์ พระราชโอรสองค์เล็ก ก็ประชวรด้วยโรคฮีโมฟิเลีย ด้วยเหตุนี้โรคฮีโมฟิเลียในครั้งหนึ่งจึงเป็นที่นิยมเรียกว่า "โรคราชวงศ์" (Royal Disease) การทดสอบเถ้ากระดูกจากราชวงศ์โรมานอฟแสดงว่าลักษณะเฉพาะของโรคฮีโรคฮีโมฟิเลียที่ส่งผ่านมาจากสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียน่าจะเป็นโรคฮีโมฟีเลีย ชนิดบี (Haemophilia B) Michael Price, ScienceNOW, October 9, 2009.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรคฮีโมฟิเลียในราชวงศ์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี

รงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี (Prommanusorn Phetchaburi School) (อักษรย่อ พ.บ. / P.B.) ตั้งอยู่เลขที่ 278 ถนนบันไดอิฐ ตำบลคลองกระแชง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นโรงเรียนสหศึกษาทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย อีกทั้งยังเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดเพชรบุรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช

รงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดนครศรีธรรมราชประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษเปิดสอนทั้งในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนครั้งแรกเมื่อ..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

กด้านบนบริเวณ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย 15 มีนาคม 2489 ภาพถ่ายจากด้านบนบริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ในสมัยก่อน ซึ่งน่าจะถ่ายก่อน ปี 2515 บริเวณโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย พ.ศ. 2552 (มุมสูง) บริเวณด้านหน้าตึก 1 และเป็นบริเวณเข้าแถว เสาธงต้นใหม ป็นเสาธงของสถานศึกษาระดับต่ำกว่าอุดมศึกษาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย(อักษรย่อ: ร.ส., R.S.)เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนชายล้วน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งอยู่เลขที่ 1753 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนวัดบวรนิเวศ

รงเรียนวัดบวรนิเวศ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทชายล้วน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาทั้งตอนต้นและตอนปลายเป็นโรงเรียนชายล้วน มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนี้ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2436 ตามพระดำริของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เพื่อจัดการศึกษาเล่าเรียนแก่พระภิกษุสามเณรในคณะธรรมยุติกนิกาย ต่อมาในปี พ.ศ. 2442 การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนวัดบวรนิเวศได้ก็กลายเป็นต้นแบบของการจัดการศึกษาในโรงเรียนต่างๆ ทั่วประเทศ ตามพระราชประสงค์ที่จะขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โรงเรียนแห่งนี้ในปัจจุบันมีองค์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเป็นองค์อุปถัม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนวัดบวรนิเวศ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา

AMC LOGO โรงเรียนศรีธรรมราช (Srithammarat Suksa School อักษรย่อ AMC) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2444(ปัจจุบันมีอายุ 117ปี) โดยมิชชันนารีอเมริกันเพรศไบทีเรียน เป็น โรงเรียนในมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย อดีตเคยเป็นโรงเรียนชายล้วน ปัจจุบันเป็นสหศึกษาเปิดรับนักเรียนหญิง ชาย ภายใต้การดูแลของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เปิดสอนในระดับก่อนประถมศึกษา ถึง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตั้งอยู่เลขที่ 1/5 ถนนราชดำเนิน ตำบลท่าวัง อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมร.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนศรีธรรมราชศึกษา · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล

รงเรียนสกลราชวิทยานุกูล เป็นโรงเรียนประจำจังหวัดสกลนคร เปิดสอนแบบโรงเรียนสหศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 กระทรวงศึกษาธิการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนหญิงล้วน สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ภายหลังพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสายสนิทวงศ์สิ้นพระชนม์ โดยบรรดาทายาทของพระองค์ได้บริจาคตำหนักส่วนพระองค์ และที่ดินข้างเคียงเพื่อตั้งเป็นโรงเรียนสตรีและรับโรงเรียนไว้ในอุปการะ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารังสิตประยูรศักดิ์ กรมพระยาชัยนาทนเรนทร ผู้เป็นพระนัดดา ทรงนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามโรงเรียนว่า “สายปัญญา” ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับโรงเรียนสายปัญญา ไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ปัจจุบันโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ มีอายุ ปี เปิดรับสอนเฉพาะนักเรียนหญิง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ตั้งอยู่บนถนนกรุงเกษม เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 0.6 ตารางวา มีอาคารเรียน 4 หลัง มี 53 ห้องเรียน 53  ห้องเรียน แบ่งตามแผนการจัดชั้นเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลายดังนี้ 6-6-8/11-12-10 มีครูทั้งหมด 108 คน มีนักเรียนในปีการศึกษา 2557 รวมทั้งสิ้น 2,641 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสารคามพิทยาคม

รงเรียนสารคามพิทยาคม (Sarakham Pittayakhom School) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2456 ซึ่งตั้งอยู่ที่เขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มหาสารคาม เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ที่ถนนนครสวรรค์ เทศบาลเมืองมหาสารคาม ตำบลตลาด อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม มีบริเวณพื้นที่ทั้งหมด 36 ไร่ 2 งาน เดิมเปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รับทั้งนักเรียนหญิงและนักเรียนชาย ในปีการศึกษา 2538 กรมสามัญศึกษาอนุญาตให้เปิดสอนสหศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนสารคามพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์

รงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนสตรีในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2461 ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ในปี พ.ศ. 2551 ได้ฉายานามว่าเป็น "โรงเรียนหมายเลขสอง" โดยผู้ที่เข้าเรียนจะเรียกว่า "พลเมืองหมายเลขสอง" โดยฉายานี้มีที่มาจากโรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนที่บุตรี เผือดผ่องศึกษาอยู.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนสโมสรวิทยาลัย

รงเรียนสโมสรวิทยาลัยจังหวัดเลย เป็นอดีตโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดเลย ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนสโมสรวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์

รงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (นนทบุรี-พระนครศรีอยุธยา) (สังกัดเดิมคือสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ บริเวณถนนอู่ทอง ตำบลหอรัตนไชย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลายโดยรับเฉพาะนักเรียนหญิง และเป็นโรงเรียนสตรีประจำจังหวัดพระนครศรีอ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนขอนแก่นวิทยายน

ก่อนชื่อพระราชทาน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนขอนแก่นวิทยายน · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนปิยะมหาราชาลัย

รงเรียนปิยะมหาราชาลัย (อักษรย่อ: ป.ย. อังกฤษ: Piyamaharachalai School) เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำจังหวัดนครพนม ปัจจุบันโรงเรียนมีอายุครบ 108 ปีแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนปิยะมหาราชาลัย · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช

รงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช เป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประเภทสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 (อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาสายสามัญ ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ แต่เดิมโรงเรียนนี้เคยเป็นโรงเรียนชายล้วนประจำมณฑลอุบลราชธานี คู่กับโรงเรียนนารีนุกูลที่เป็นโรงเรียนหญิงล้วนประจำจังหวัดอุบลราชธานีในสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และโรงเรียนชายล้วนประจำจังหวัดในสมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเลยพิทยาคม

รงเรียนเลยพิทยาคม (Loei Pittayakom School, (อักษรย่อ: ล.พ.ค, L.P.K) หรือเรียกอย่างย่อว่า เลยพิทย์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษประจำจังหวัดเลย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 19 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ ณ ถนนเลย-ด่านซ้าย บ้านนาหนอง ตำบลกุดป่อง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย 42000 สถาปนาเมื่อ พ.ศ. 2515 ปัจจุบัน เปิดสอนระดับชั้น ม.1 - ม.6 โรงเรียนเลยพิทยาคม เป็น 1 ใน 3 โรงเรียนของจังหวัดเลยที่เข้าร่วมในโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ของสสวท ร่วมกับโรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา และโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เลย และเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล(World Class Standard School) ขนาดใหญ่พิเศษ ซึ่งมีเพียง 3 แห่งในจังหวัดเท่านั้นคือ โรงเรียนศรีสงครามวิทยา โรงเรียนภูเรือวิทยา และโรงเรียนเลยพิทยาคม นอกจากนี้โรงเรียนเลยพิทยาคมยังเป็นโรงเรียนคู่พัฒนากับโรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา ซึ่งในทุกๆปี จะมีการแข่งขัน ฟุตบอลประเพณีโรงเรียนคู่พัฒนา เลยพิทย์-เลยอนุกูล ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2560 โดยใช้สนามกีฬาจังหวัดเลยเป็นสถานที่จัดการแข่งขัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนเลยพิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเซนต์คาเบรียล

รงเรียนเซนต์คาเบรียล (St.) เป็นโรงเรียนเอกชนโรงเรียนชายล้วนขนาดใหญ่ ในเครือคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ซึ่งเป็นคณะนักบวชคาทอลิก ตั้งอยู่บนถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เปิดสอนนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 คำว่า "เซนต์คาเบรียล" ในชื่อโรงเรียนนั้น จึงมาจากชื่อคณะภราดาเซนต์คาเบรียล ผู้ก่อตั้งโรงเรียน โรงเรียนเซนต์คาเบรียลเป็นโรงเรียนที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งในประเทศ เป็นที่ยอมรับในด้านคุณภาพการศีกษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และคุณภาพของนักเรียนและศิษย์เก่าที่จบไป โรงเรียนเซนต์คาเบรียล เป็นหนึ่งในสองของโรงเรียนในเครือฯที่ใช้สีประจำสถาบันคือ น้ำเงินขาว (อีกโรงเรียนหนึ่งที่ใช้สีน้ำเงินขาวคือโรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง) และมีเพียงวิทยาเขตเดียว เช่นเดียวกับ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัยและโรงเรียนเซนต์หลุยส์ ที่ไม่ได้ชื่อโรงเรียนว่า "อัสสัมชัญ" นำหน้า ปัจจุบันโรงเรียนเซนต์คาเบรียลมีอายุได้ ปี เป็นหนึ่งในโรงเรียนที่เก่าแก่ที่สุดในย่านดุสิต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนเซนต์คาเบรียล · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ธนบุรี

รงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ธนบุรี (Saint Peter Thonburi) เป็นโรงเรียนเอกชนขนาดใหญ่ประเภทสามัญศึกษาของฝ่ายการศึกษา ในเขตมิสซังกรุงเทพฯ สังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน เปิดทำการสอนในระดับเตรียมอนุบาล อนุบาล 1-3 ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ปัจจุบัน โรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ธนบุรี ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 148 ถนนพุทธมณฑลสาย 1 แขวงคลองขวาง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10160 มีนักเรียนทั้งหมด 1,882 คน บุคลากรทั้งหมด 180 คน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรงเรียนเซนต์ปีเตอร์ ธนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

โรแบร์ แลงกาต์

รแบร์ แลงกาต์ (Robert Lingat รอแบร์ แล็งกา) หรือ ร. แลงกาต์ (เกิด:พ.ศ. 2435; ตาย: 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2515) เป็นศาสตราจารย์ทางนิติศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส โด่งดังจากการค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับกฎหมายในภาคพื้นเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลงานของเขามีอิทธิพลต่อวงการกฎหมายไทยในอดีตอย่างยิ่ง โรแบร์ แลงการ์ต ถือกำเนิดเมื่อ พ.ศ. 2435 ณ เมืองชาร์เลอวีล-เมซีแยร์ แคว้นอาร์แดน ประเทศฝรั่งเศส ชีวิตส่วนตัวของเขาไม่เป็นที่แพร่หลายนัก ในด้านการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2462 เขาได้ศึกษาภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤต จนได้รับประกาศนียบัตรจากสถาบันภาษาตะวันออกแห่งกรุงปารีส ต่อมาได้ศึกษากฎหมายเอกชนจนได้รับปริญญานิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตในกรุงปารีสเมื่อ พ.ศ. 2474 มีผลงานเป็นวิทยานิพนธ์เรื่อง "เลสกลาวาชปรีเวดองเลอวีเยอดรัวซียามัว" (L'esclavage privé dans le vieux droit siamois, "ระบบทาสเอกชนในกฎหมายเก่าของสยาม") ในด้านการทำงาน ระหว่าง พ.ศ. 2461 ถึง พ.ศ. 2462 เขาเป็นล่ามให้กองทัพไทยในฝรั่งเศส ครั้น พ.ศ. 2467 ถึง พ.ศ. 2483 จึงย้ายมาประกอบอาชีพในกรุงเทพมหานครโดยเป็นที่ปรึกษากฎหมาย และอาจารย์วิชานิติศาสตร์ของหลายมหาวิทยาลัยในเอเชีย รวมถึงระดับปริญญาตรีและปริญญาโทของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเขาดำเนินการสอนเป็นภาษาฝรั่งเศส โดยมีล่ามถ่ายทอดเป็นภาษาไทยอีกที ณ ที่นั้น เขายังได้เป็นที่ปรึกษากระทรวงยุติธรรม และได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการอภิปรายและการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายอินเดียที่กำลังเจริญเติบโต เขาปฏิบัติหน้าที่เป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยกระทั่ง พ.ศ. 2498 จึงสิ้นสุดงานการสอนของเขาและจากมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในประเทศกัมพูชากลับไปบ้านเกิดเมืองนอนของเขา ก่อนเขาจะถึงแก่กรรม เขาได้ทำการสอนที่ศูนย์อินเดียศึกษา มหาวิทยาลัยปารีส กระทั่งจากโลกไปเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2515 หนึ่งปีก่อนที่ผลงานของเขาจะได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษและนำชื่อของเขาเข้าสู่โลกระดับสากล โรแบร์ แลงกาต์ มีชีวิตอยู่ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุล.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรแบร์ แลงกาต์ · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต อี. ลี

รเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด ลี โรเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด ลี (Robert Edward Lee) (19 มกราคม ค.ศ. 1807 – 12 ตุลาคม ค.ศ. 1870) เป็นนายพลที่มีชื่อเสียงโด่งดังคนหนึ่งของอเมริกา เขามีบทบาทสำคัญมากในสงครามเม็กซิกัน-อเมริกัน และ สงครามกลางเมืองอเมริกา โดยนายพลลีได้สละหน้าที่การงานของเขาในสหรัฐอเมริกา เพื่อกลับมาร่วมสู้กับบ้านเกิดที่เวอร์จิเนีย ซึ่งอยู่ฝ่ายสมาพันธรัฐอเมริกา เขาสามารถนำชัยชนะมาสู่ฝ่ายใต้ของเขานับไม่ถ้วน ทั้ง ๆ ที่ฝ่ายใต้มีแสนยานุภาพในหลาย ๆ ด้านด้อยกว่าฝ่ายเหนือมากก็ตาม แต่ถึงแม้นายพลลีจะเก่งกาจปานใด เขาก็ต้องฝ่ายแพ้ฝ่ายเหนือในยุทธการเกตตีสเบิร์ก นำไปสู่ความพ่ายแพ้ของฝ่ายใต้ในที.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรเบิร์ต อี. ลี · ดูเพิ่มเติม »

โรเบิร์ต แวดโลว์

แวดโลว์ (ขวา) กับพ่อของเขา (ซ้าย) โรเบิร์ต เพอร์ชิง แวดโลว์ (Robert Pershing Wadlow; 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1918 — 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1940) เป็นมนุษย์ที่สูงที่สุดในโลก โดยเขาเป็นเจ้าของความสูงถึง 2.72 เมตร และยังเป็นมนุษย์ที่สูงที่สุดตลอดกาลด้วย เพราะในปัจจุบันก็ยังไม่มีใครสามารถทำลายสถิติความสูงของเขาได้เลย เขามีน้ำหนักมากถึง 222 กิโลกรัม ซ้ำยังเป็นมนุษย์ที่มีมือและเท้ายาวที่สุด แวดโลว์มีมือที่ยาวมากกว่า 30 เซนติเมตร และเท้าที่ยาวเกือบ 50 เซนติเมตร ซึ่งการที่เขาสูงได้ขนาดนี้ ก็เพราะความผิดปกติของต่อมใต้สมองของ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโรเบิร์ต แวดโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

โลมาแม่น้ำจีน

ลมาแม่น้ำจีน หรือ โลมาแม่น้ำแยงซี หรือ โลมาครีบขาว (Chinese river dolphin, Yangtze river dolphin, White-flag dolphin; หรือ "ไป๋จี" 白鱀豚) เป็นโลมาน้ำจืด อาศัยอยู่ในแม่น้ำแยงซีตอนกลางและตอนล่างของประเทศจีน รวมทั้งแม่น้ำเชียนถังที่อยู่ใกล้เคียง จัดเป็นโลมาเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่อยู่ในสกุล Lipotes และวงศ์ Lipotidae (แต่บางข้อมูลจัดให้อยู่ในวงศ์ Iniidae).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโลมาแม่น้ำจีน · ดูเพิ่มเติม »

โจเซฟ ไวส์แมน

ซฟ ไวส์แมน ในบท ดร.จูเลียส โน ใน พยัคฆ์ร้าย 007 โจเซฟ ไวส์แมน (Joseph Wiseman) เป็นนักแสดงชาวแคนาดาคนหนึ่ง เกิดเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2461 ที่เมืองมอนทรีอัล (Montreal) รัฐคิวเบค (Quebec) ประเทศแคนาดา - died 2009.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโจเซฟ ไวส์แมน · ดูเพิ่มเติม »

โคลงโลกนิติ

ลงโลกนิติ เป็นวรรณกรรมประเภทคำสอน ในลักษณะของโคลงสุภาษิต คำว่า โลกนิติ (อ่านว่า โลก-กะ-นิด) แปลว่า ระเบียบแบบแผนแห่งโลก เนื้อหาในโคลงโลกนิติจึงมุ่งแสดงความจริงของโลกและสัจธรรมของชีวิต เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้เท่าทันต่อโลก และเข้าใจในความเป็นไปของชีวิต พร้อมเป็นแม่แบบเพื่อให้ผู้อ่านได้ดำเนินชีวิตไปในทางที่ถูกต้องดีงามสืบไป โคลงโลกนิติมีความไพเราะเหมาะสมทั้งด้านรูปแบบและเนื้อหาปรัชญาสาระ ครบคุณค่าทางวรรณกรรม ทำให้เป็นที่แพร่หลายในหมู่คนทั่วไป บางท่านกล่าวยกย่องโคลงโลกนิติว่าเป็น อมตะวรรณกรรมคำสอน หรือ ยอดสุภาษิตอมตะ, ได้รับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นบทอ่านในหนังสือแบบเรียนสำหรับนักเรียนนักศึกษาอยู่ทุกยุคสมัย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และโคลงโลกนิติ · ดูเพิ่มเติม »

ไสว จารุเสถียร

ท่านผู้หญิงไสว จารุเสถียร มีนามสกุลเดิมว่า ปานประสิทธิ์ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2461 เป็นธิดาของ เรือตรีวอน ปานประสิทธิ์ และ นางฮวย ปานประสิทธิ์ ต่อมาได้สมรสกับจอมพลประภาส จารุเสถียร อดีตรองนายกรัฐมนตรี มีบุตรธิดาทั้งสิ้น 6คน ได้แก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และไสว จารุเสถียร · ดูเพิ่มเติม »

ไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์

ล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์ เป็นชื่อของเพลงชาติจักรวรรดิเยอรมันอย่างไม่เป็นทางการ นับตั้งแต่ พ.ศ. 2414 ถึง พ.ศ. 2461 รวมระยะเวลา 47 ปี เดิมเพลงนี้เป็นเพลงชาติของราชอาณาจักรปรัสเซีย แต่ท่วงทำนองเพลงนั้นคล้ายคลึงกับเพลงก็อดเซฟเดอะควีน ซึ่งด้วยเหตุผลดังกล่าวทั้ง 2 ข้อนี่เอง ทำให้บทเพลงนี้เป็นที่ได้รับความนิยมในบางมณฑลของเยอรมนี แต่อย่างไรก็ตาม เพลงนี้กลับไม่ได้รับความนิยมในกลุ่มชาตินิยมเยอรมัน และไม่ได้รับการยอมรับจากบรรดารัฐเยอรมันตอนใต้ เช่น รัฐบาวาเรีย รัฐเวือร์ทเทมแบร์ก เป็นต้น หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดิเยอรมันได้ล่มสลายลง และมีการสถาปนาสาธารณรัฐไวมาร์ขึ้นมาแทนที่ จึงได้มีการยกเลิกเพลงชาติเดิม และให้ใช้เพลง "ดาสลีดแดร์ดอยท์เชน" เป็นเพลงชาติใหม่ของเยอรมนีแทน อนึ่ง เพลง "Die Wacht am Rhein" เป็นเพลงสรรเสริญ (hymn) อีกเพลงหนึ่งที่มีการใช้ในจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งควรนับว่าเป็นเพลงชาติเยอรมนีอีกเพลงหนึ่งในยุคนั้นด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และไฮล์เดียร์อิมซีเกอร์ครันซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เบ็ตตี ฟอร์ด

อลิซาเบธ แอน บลูมเมอร์ วอร์เรน ฟอร์ด (8 เมษายน พ.ศ. 2461 - 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554) หรือทีรู้จักกันคือ เบ็ตตี ฟอร์ด เป็นภริยาของอดีตประธานาธิบดีเจอรัลด์ ฟอร์ด และสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของสหรัฐอเมริกา ระหว่างปี พ.ศ. 2517 ถึงปี พ.ศ. 2520 เธอเป็นผู้ก่อตั้งเบ็ตตี ฟอร์ด เซ็นเตอร์ และเป็นประธานคนแรกของที่นี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเบ็ตตี ฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย

ลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย („Химна Краљевине Југославије”) กำเนิดขึ้นในปี ค.ศ. 1918 ภายหลังจากการรรวมตัวของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บที่เพิ่งก่อตั้งขึ้น และ ราชอาณาจักรเซอร์เบียที่เป็นราชอาณาจักรอิสระ โดยราชอาณาจักรมอนเตเนโกรตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของเซอร์เบียก่อนหน้านั้นแล้ว ได้ใช้เนื้อร้องที่ผสมกันระหว่าง เนื้อเพลงที่ตัดตอนจากเพลง โบเช ปราฟเด (ภาษาเซอร์เบีย), ลิเยปา นาชา โดโมวีโน (ภาษาโครเอเชีย) และ Naprej zastava slave (ภาษาสโลวีเนีย) โดยใช้จนถึง ค.ศ. 1929.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเพลงชาติราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงชาติเชโกสโลวาเกีย

ลงชาติเชโกสโลวาเกีย (Československá hymna ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2461 ภายหลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1 ประเทศเชโกสโลวาเกียได้รับการสถาปนา โดยได้นำเนื้อร้องบทแรกของเพลงคเด โดโมฟ มูย? และ นาดทาโทรซาบลีซกา (สาธารณรัฐสโลวัก) รวมเป็นเพลงเดียวกัน ในดินแดนเช็กนั้น มีกลุ่มชาติพันธุ์เยอรมัน และ ฮังการี โดยได้แปลเนื้อร้องเป็น ภาษาฮังการี และ เยอรมัน. ภายหลังจากการสลายของเชโกสโลวาเกีย โดยแบ่งออกเป็นสาธารณรัฐเช็กและสาธารณรัฐสโลวัก ในปี พ.ศ. 2535 ยังคงใช้เนื้อร้องเดิม และ บทแรกของนาดทาโทรซาบลีซกา ได้กลายมาเป็นเพลงชาติสาธารณรัฐสโลวัก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเพลงชาติเชโกสโลวาเกีย · ดูเพิ่มเติม »

เพลงสรรเสริญพระบารมี

ำว่า "เพลงสรรเสริญพระบารมี" (royal anthem) โดยการแปลเทียบเคียงจากชื่อเพลงสรรเสริญพระบารมีของไทย (แปลตามตัวว่า เพลงยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์) เพลงชนิดนี้เป็นเพลงปลุกใจชนิดหนึ่ง โดยมากจะคล้ายคลึงกับเพลงชาติ แต่มักใช้กับบรรดาพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ต่าง ๆ โดยเฉพาะ เนื้อหาของเพลงมักเป็นไปในทางถวายพระพรแด่สถาบันพระมหากษัตริย์ เพลงประเภทนี้นิยมบรรเลงในยามที่พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์เสด็จออกในที่สาธารณะ เช่น การเสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศต่าง ๆ การเสด็จออกมหาสมาคม และการเสด็จพระราชดำเนินในที่ต่าง ๆ อย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ยังใช้บรรเลงในวาระโอกาสสำคัญของพระราชวงศ์ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินี เป็นต้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเพลงสรรเสริญพระบารมี · ดูเพิ่มเติม »

เกรซ เคลลี

้าหญิงเกรซแห่งโมนาโก หรือ เกรซ แพทริเซีย เคลลี (Grace Patricia Kelly; 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 – 14 กันยายน พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงภาพยนตร์ชาวอเมริกันผู้ได้รับรางวัลอะแคเดมี ได้เสกสมรสกับเจ้าชายเรนิเยที่ 3 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2499 เจ้าหญิงเกรซเป็นพระมารดาของเจ้าชายอัลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก หลังการอภิเษกสมรสแล้ว เจ้าหญิงเกรซถือสัญชาติพร้อมกันสองสัญชาติ คือทั้งอเมริกันและโมนาโก ชีวิตที่เป็นดัง “เทพนิยาย” ทำให้พระองค์เป็นชาวอเมริกันผู้เลื่องลือและเป็นที่รักมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเกรซ เคลลี · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์ก คันทอร์

กออร์ก แฟร์ดินันด์ ลุดวิก ฟิลิพพ์ คันทอร์ (Georg Ferdinand Ludwig Philipp Cantor, 3 มีนาคม ค.ศ. 1845 เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก จักรวรรดิรัสเซีย – 6 มกราคม ค.ศ. 1918) เป็นนักคณิตศาสตร์ เกิดในประเทศรัสเซีย แต่ใช้ชีวิตอยู่ในเยอรมนี มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักในนามของผู้บัญญัติทฤษฎีเซตยุคใหม่ โดยได้ขยายขอบเขตของทฤษฎีเซตให้ครอบคลุมแนวคิดของจำนวนเชิงอนันต์ (transfinite or infinite numbers) ทั้งจำนวนเชิงการนับและจำนวนเชิงอันดับที่ นอกจากนี้ คันทอร์ยังเป็นที่รู้จักจากผลงานในเรื่อง การแทนฟังก์ชันด้วยอนุกรมตรีโกณมิติ ที่เป็นเอกลักษณ์ (unique representation of functions by means of trigonometric series) ซึ่งเป็นภาคขยายของอนุกรมฟูรี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเกออร์ก คันทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกออร์กี จูคอฟ

กออร์กี คอนสตันตีโนวิช จูคอฟ (Georgy Konstantinovich Zhukov; Гео́ргий Константи́нович Жу́ков; 1 ธันวาคม พ.ศ. 2439 – 18 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนายทหารอาชีพชาวโซเวียตในกองทัพแดง ซึ่งในห้วงสงครามโลกครั้งที่สองมีบทบาทสำคัญที่สุดในการนำกองทัพแดงยกผ่านยุโรปตะวันออกส่วนใหญ่เพื่อปลดปล่อยสหภาพโซเวียตและชาติอื่นจากการยึดครองของฝ่ายอักษะและพิชิตกรุงเบอร์ลินได้ในที่สุด เขาเป็นนายพลที่ได้รางวัลมากที่สุดในประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียตและรัสเซีย เป็นนายพลที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งได้อันดับต้น ๆ เพราะจำนวนและขนาดของชัยชนะ และคนจำนวนมากยอมรับความสามารถในการบังคับบัญชาทางปฏิบัติการและยุทธศาสตร์ของเขา สัมฤทธิภาพการรบของเขาพัฒนาความรู้ทางทหารของมนุษยชาติอย่างสำคัญ โดยมีอิทธิพลมากทั้งต่อทฤษฎีทางทหารของโซเวียตและทั้งโลก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเกออร์กี จูคอฟ · ดูเพิ่มเติม »

เมร์ ไฮเรนิก

มร์ ไฮเรนิก (Մեր Հայրենիք; อักษรโรมัน: Mer Hayrenik; แปลว่า ปิติภูมิของเรา) เป็นชื่อเพลงชาติแห่งประเทศอาร์มีเนียในปัจจุบัน ซึ่งเริ่มใช้มานับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 โดยประกาศใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรกในสมัยของสาธารณรัฐประชาธิปไตยอาร์มีเนีย (พ.ศ. 2461 - 2465) ซึ่งมีชื่อและทำนองเดียวกัน แต่ใช้เนื้อร้องต่างกัน เนื้อร้องเดิมเป็นบทกวีซึ่งประพันธ์โดยมิคาเอล นาลาบาเดียน (Mikael Nabandian, พ.ศ. 2372 - 2409) ภายหลังจึงมีการแต่งทำนองประกอบโดยบาร์เซกค์ คานาชยาน (Barsegh Kanachyan, พ.ศ. 2428 - 2510).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเมร์ ไฮเรนิก · ดูเพิ่มเติม »

เยิร์น อุตซอน

รงอุปรากรซิดนีย์ เยิร์น โอเบิร์ก อุตซอน (Jørn Oberg Utzon; 9 เมษายน ค.ศ. 1918 - 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2008) เป็นสถาปนิกชาวเดนมาร์ก เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ออกแบบโรงอุปรากรซิดนีย์ และเมื่อโรงอุปรากรซิดนีย์ได้รับการประกาศเป็นมรดกโลกเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเยิร์น อุตซอน · ดูเพิ่มเติม »

เรือหลวงพระร่วง

รือรบหลวงพระร่วง เป็นเรือหลวงลำแรกในประวัติศาสตร์ไทย ซึ่งข้าราชการและประชาชนผู้มีความจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เรี่ยไรทุนทรัพย์ซื้อเรือรบถวายเป็นราชพลี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จากการจัดตั้งจัดตั้ง ราชนาวีสมาคมแห่งกรุงสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Royal Navy League of Siam) ขึ้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2457 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีความยินดีและเห็นชอบ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานนามเรือนี้ว่า "พระร่วง" อันเป็นสิริมงคลตามวีรกษัตริย์อันเป็นที่นับถือของชาวไทยทั่วไป รัชกาลที่ 6 ทรงพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นจำนวน 80,000 บาท และพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการได้พร้อมใจกันออกทุนเรี่ยไรถวาย เมื่อครั้งจัดงานพระราชพิธีทวีธาภิเษกในรัชกาลที่ 5 ซึ่งยังเหลือจากการใช้จ่ายเป็นจำนวนเงิน 116,324 บาท ทั้งยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ซึ่งโปรดเกล้า ฯ พระราชทานทรัพย์อีกเป็นจำนวนเงิน 40,000 บาท เมื่อรวมกับเงินที่เรี่ยไรทั่วพระราชอาณาจักร ได้จำนวนรวมทั้งสิ้น 3,514,604 บาท 1 สตางค์ ในปี พ.ศ. 2463 นายพลเรือโท พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ทรงได้รับแต่งตั้งเป็นข้าหลวงพิเศษออกไปจัดซื้อเรือในภาคพื้นยุโรปพร้อมด้วยนายทหารอีก 5 นาย คณะข้าหลวงพิเศษตรวจการซื้อเรือในภาคพื้นยุโรปชุดนี้โดยได้คัดเลือกเรือพิฆาตตอร์ปิโด "เอชเอ็มเอส เรเดียนท์" (HMS Radiant) ของบริษัทธอร์นิครอฟท์ (Thornycroft Co.) สร้างที่ เมืองเซาแธมป์ตัน ประเทศอังกฤษ ซึ่งเห็นว่าเหมาะสมแก่ความต้องการของกองทัพเรือและเป็นเรือที่ต่อขึ้นเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459 ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 ครั้นสงครามยุติลงเมื่อ พ.ศ. 2461 อังกฤษจึงยินดีขาย คณะข้าหลวงพิเศษได้ตกลงซื้อเรือลำนี้เป็นเงิน 200,000 ปอนด์ ส่วนเงินที่เหลือจากการซื้เรือนั้นได้พระราชทานให้แก่กองทัพเรือไว้สำหรับใช้สอย เรือลำนี้เดินทางจากประเทศอังกฤษเข้ามาถึงประเทศไทยเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2463.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเรือหลวงพระร่วง · ดูเพิ่มเติม »

เสนาธิการทหารอากาศ (สหราชอาณาจักร)

นาธิการทหารอากาศ (Chief of the Air Staff; CAS) เป็นอีกตำแหน่งของผู้บริหารระดับสูงกองทัพอากาศสหราชอาณาจักร เสนาธิการทหารอากาศเป็นสมาชิกของสภากลาโหมกับคณะกรรมมาธิการกองทัพอากาศ ตำแหน่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปีพ.ศ. 2461 โดยมีผู้ประเดิมตำแหน่งคนแรกคือ พลอากาศตรี เซอร์ ฮิวฮ์ แทงเคอร์ ผู้ดำรงตำแหน่งปัจจุบันคือ พลอากาศเอก เซอร์ สตีฟเฟ่น เฮอรี่เออ เข้ารับราชการเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2559.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเสนาธิการทหารอากาศ (สหราชอาณาจักร) · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเวลาของยุคใหม่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเส้นเวลาของยุคใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญงานพระราชสงครามทวีปยุโรป

หรียญงานพระราชสงครามทวีปยุโรป สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2461 สำหรับพระราชทานแก่ ผู้ไปพระราชสงครามในทวีปยุโรป คือสงครามโลกครั้งที่ 1 ปัจจุบันพ้นสมัยการพระราชทานแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเหรียญงานพระราชสงครามทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มเพ 18

ร์กมันน์ เอ็มพี 18 (MP18.1) ผลิตโดย ธีโอดอร์ เบิร์กมันน์ Abteilung Waffenbau เป็นปืนกลมือชนิดแรกของโลกที่ใช้ในสงคราม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเอ็มเพ 18 · ดูเพิ่มเติม »

เฮลซิงกิ

ลซิงกิ() (Helsingfors) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศฟินแลนด์ ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศ ริมชายฝั่งอ่าวฟินแลนด์ ตัวเมืองมีประชากรประมาณ 600,000 คน เฮลซิงกิอยู่ติดกับเมืองวันตาและเอสโปซึ่งรวมตั้งเป็นเขตเมืองหลวงหรือมหานครเฮลซิงกิ มีประชากรเกือบหนึ่งล้านคน และถ้านับเขตที่อยู่อาศัยในปริมณฑลด้วยจะมีประชากรมากกว่า 1.2 ล้านคน เฮลซิงฟอร์สเป็นชื่อเมืองดั้งเดิม และยังคงเป็นชื่อเมืองในภาษาสวีเดนในปัจจุบัน ในอดีตเป็นชื่อที่ใช้ในระดับนานาชาติด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเฮลซิงกิ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา

้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา หรือพระนามเต็ม เลโอโพลด์ ชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ด จอร์จ อัลเบิร์ต (Charles Edward, Duke of Saxe-Coburg and Gotha; Carl Eduard, Herzog von Sachsen-Coburg und Gotha; 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2427 - 6 มีนาคม พ.ศ. 2497) ทรงเป็นดยุคแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา ในประเทศเยอรมนี พระองค์ที่สี่และสุดท้าย (30 กรกฎาคม พ.ศ. 2443 - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2461) และในฐานะพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ผ่านทางสายพระราชโอรส พระองค์ทรงเป็นเจ้าชายแห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ และยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุคแห่งอัลบานีอีกด้วย เจ้าชายชาร์ลส์ เอ็ดเวิร์ดทรงเป็นบุคคลที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในประเทศอังกฤษ เนื่องจากการมีสถานภาพเป็นศัตรูในฐานะที่ทรงเป็นดยุคครองรัฐแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา อันเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 พระองค์ทรงถูกถอดถอนบรรดาศักดิ์ขุนนางและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างๆ ของอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2462 ในปี พ.ศ. 2461 พระองค์ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติ และต่อมาได้ทรงเข้าร่วมพรรคนาซีเยอรมัน ยังความเสื่อมเสียที่ใหญ่หลวงมาให้แก่เจ้าหญิงอลิซ เค้านท์เตสแห่งแอธโลน ซึ่งเป็นพระภคินีเพียงพระองค์เดียว สมเด็จพระราชินีแมรี่ พระภคินีในพระเชษฐภรรดา รวมถึงสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ซึ่งเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเจ้าชายชาลส์ เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งซัคเซิน-โคบูร์กและโกทา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโวล์ฟกังแห่งเฮสส์

้าชายโวล์ฟกังแห่งเฮสส์ (Prince Wolfgang of Hesse) เป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฟินแลนด์ ตั้งแต่28 พฤษภาคม ค.ศ. 1940 ถึง 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1989 เจ้าชายโวล์ฟกัง เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1896 เป็นพระโอรสองค์ที่ 4 ของเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์กับเจ้าหญิงมาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย พระบิดาของพระองค์ได้รับเลือกให้ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฟินแลนด์ ทำให้พระองค์จะดำรงพระอิสริยยศเป็นมกุฎราชกุมาร แต่พระบิดาของพระองค์สละสิทธิ์ไปเมื่อ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1918 พระบิดาของพระองค์เลือกพระองค์ให้เป็นผู้สืบทอดการอ้างสิทธิในราชบัลลังก์ฟินแลนด์เป็นพระองค์ต่อมา แทนเจ้าชายฟิลิปพระเชษฐาของพระองค์ พระองค์เสกสมรสเมื่อ 17 กันยายน ค.ศ. 1924 กับเจ้าหญิงมาเรีย อเล็กซานดร้าแห่งบาเดินธิดาเจ้าชายแมกซีมีเลียนบาเดนกับเจ้าหญิงมารี หลุยส์แห่งฮันโนเวอร์ ทั้งสองพระองค์ไม่มีพระราชโอรส-ธิดาด้วยกัน เจ้าชายโวล์ฟกัง สิ้นพระชนม์เมื่อ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1989 ขณะมีพระชนมายุได้ 92 พรรษา เจ้าชายเฮนริชแห่งเฮสส์-คาสเซิลพระภาติยะ จึงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์พระองค์ต่อม.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเจ้าชายโวล์ฟกังแห่งเฮสส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์

้าชายเฟรเดอริก ชาร์ล หลุยส์ คอนสแตนตินแห่งเฮสส์ (Frederick Charles Louis Constantine, Prince of Hesse) (1 พฤษภาคม 1868 - 28 พฤษภาคม 1940) เป็นประมุขแห่งราชวงศ์เฮสส์ ตั้งแต่ 15 มีนาคม ค.ศ. 1925 จนถึง 28 พฤษภาคม ค.ศ. 1940 พระองค์ทรงเป็นพระเทวัน (พี่เขย) ของสมเด็จพระจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี พระองค์เคยได้รับเลือกให้ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งฟินแลนด์ เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1918 แต่พระองค์ก็ทรงสละสิทธิ์นั้นเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1918.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเจ้าชายเฟรเดอริก ชาร์ลแห่งเฮสส์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์)

้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) มีนามเดิมว่า ลออ ไกรฤกษ์ (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2417 - 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2499) อดีตองคมนตรีในรัชกาลที่ 7 อดีตเสนาบดีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตประธานศาลฎีก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา)

มหาอำมาตย์เอก เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) (30 ตุลาคม พ.ศ. 2428 - 25 กันยายน พ.ศ. 2519) ป.., ม.ป.., ม.ว.ม., ร..ม. (ศ.) ขุนนาง 5 แผ่นดิน อดีตประธานศาลฎีกา เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีหลายกระทรวง เคยดำรงตำแหน่ง ประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี ประธานองคมนตรี และเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับสถาปนาเป็นเจ้าพระยา ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ มีบทบาทในคณะรัฐมนตรีหลายคณะ โดยดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข และ กระทรวงการคลัง ภายหลังพ้นภารกิจทางการเมืองแล้ว ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งองคมนตรี และเคยดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี ในรัชกาลที่ 9 นอกจากได้รับราชการและทำงานด้านการเมือง เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศยังมีความสำคัญกับวงการประกันชีวิตของไทย โดยเมื่อ ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้ากุลวงศ์ ณ เชียงใหม่

้ากุลวงศ์ ณ เชียงใหม่ (9 ธันวาคม พ.ศ. 2461 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553) เจ้านายฝ่ายเหนือ เป็นนักการเมืองท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่สถาบันพระปกเกล้า และอดีตประธานรุ่นปรินส์รอยส์แยลวิทยาลัย 2478.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเจ้ากุลวงศ์ ณ เชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย

้าหญิงมาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย หรือ มาร์กาเรเท เบียทริซ ฟีโอดอรา (Princess Margarete of Prussia; 22 เมษายน พ.ศ. 2415 - 22 มกราคม พ.ศ. 2497) เป็นพระธิดาองค์เล็กในจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แห่งเยอรมนี (พ.ศ. 2394 - พ.ศ. 2431) และ เจ้าฟ้าหญิงวิกตอเรีย พระวรราชกุมารี (พ.ศ. 2380 - พ.ศ. 2444) พระราชธิดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียและเจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต เจ้าชายพระราชสวามี เจ้าหญิงมาร์กาเรเท หรือที่รู้จักในหมู่พระประยูรญาติว่า "มอสซี่" ประสูติในวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2415 ณ เมืองพอตสดัม ประเทศเยอรมนี โดยเป็นพระธิดาพระองค์เล็กที่สุดในบรรดาพระโอรสและธิดาทั้งแปดองค์ พระองค์ทรงใกล้ชิดกับพระชนนีและชื่นชอบความเป็นอังกฤษเช่นเดียวกับพระภคินีทั้งสองคือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย และ เจ้าหญิงโซฟี.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเจ้าหญิงมาร์กาเรเทแห่งปรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา

้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา (อังกฤษ: Princess Zita of Bourbon-Parma) (ซีตา มาเรีย เดลเล กราซี อาเดลกอนด้า มิคาเอล่า ราฟาเอลล่า กาเบรียลล่า จูเซปปิน่า อันโตเนีย หลุยซ่า แอ็กเนเซ; 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2435 - 14 มีนาคม พ.ศ. 2532) เป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งในราชวงศ์บูร์บง-ปาร์มา และพระมเหสีในจักรพรรดิคาร์ลที่ 1 แห่งออสเตรีย ดังนั้นจึงดำรงพระอิสริยยศเป็นจักรพรรดินีแห่งออสเตรีย (Empress of Austria) สมเด็จพระราชินีแห่งฮังการี (Queen of Hungary) และสมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย (Queen of Bohemia) โดยทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตกับราชวงศ์ฝรั่งเศส โปรตุเกส และสเปน เจ้าหญิงซีตา ซึ่งเป็นพระธิดาพระองค์ที่สิบเจ็ดในดยุกโรเบิร์ตที่ 1 แห่งปาร์มา ได้อภิเษกสมรสกับอาร์ชดยุกคาร์ลแห่งออสเตรียในปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต

้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต เจ้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต หรือพระนามเต็ม วิกตอเรีย แพทริเซีย เฮเลนา เอลิซาเบธ (Princess Patricia of Connaught; ภายหลังจากการอภิเษกสมรสคือ เลดี้ แพทริเซีย แรมเซย์ (Lady Patricia Ramsay); 17 มีนาคม พ.ศ. 2429 - 12 มกราคม พ.ศ. 2517) ทรงเป็นสมาชิกพระองค์หนึ่งของพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย พระองค์ทรงเป็นเชื้อพระวงศ์พระองค์แรกที่สละฐานันดรศักดิ์เจ้าหญิงแห่งสหราชอาณาจักรและพระอิสริยยศชั้นเจ้าฟ้าอย่างเป็นทางการ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเจ้าหญิงแพทริเซียแห่งคอนน็อต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโซฟีแห่งโฮเฮนเบิร์ก

้าหญิงโซฟีแห่งโฮเอ็นแบร์ก เมื่อทรงพระเยาว์และครอบครัว เจ้าหญิงโซฟีแห่งโฮเอ็นแบร์ก (Prinzessin Sophie von Hohenberg, Princess Sophie of Hohenberg) (พระนามเต็ม: โซฟี มารี ฟรานซิสก้า แอนโตเนีย อิกเนเทีย อัลเบอร์ต้า, Sophie Marie Franziska Antonia Ignatia Alberta von Hohenberg) เป็นพระธิดาองค์โตในอาร์ชดยุกฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย-เอสต์ และโซฟี ดัชเชสแห่งโฮเอ็นแบร์ก เจ้าหญิงโซฟี ประสูติเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2444 ณ ปราสาทโคโนพิสต์ โบฮีเมีย (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐเช็ก) หลังจากพระบิดา และพระมารดาทรงถูกลอบปลงพระชนม์ที่เมืองซาราเยโว บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 พระองค์และพระอนุชาอีก 2 พระองค์ได้ทรงย้ายไปประทับอยู่กับพระสหายสนิทของพระบิดา เจ้าชายยาโรสลาฟแห่งธูนและโฮเฮนสไตน์ เมื่อปลายปีพ.ศ. 2461 สิ้นสงครามโลกครั้งที่ 1 พระราชฐานของราชสกุลโฮเอ็นแบร์กในโบฮีเมีย ไม่ว่าจะเป็นปราสาทโคโรพิสต์ และพระราชวังชลูเม็ค แน็ด ซิดลีโนว์ ได้ถูกทางรัฐบาลทำการยึดริบหมด ทั้ง 3 พระองค์รวมทั้งทหารองครักษ์และนางกำนัลจำนวนหนึ่งได้ย้ายไปประทับในกรุงเวียนนา ย้ายไปปะทับอยู่ที่ปราสาทอาร์ทสเต็ทเท็น แล้วจึงกลายเป็นพระราชฐานของราชสกุลโฮเอ็นแบร์กเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน แต่เมื่อปีพ.ศ. 2481 กองทัพนาซ๊ได้รุกรานออสเตรียในสงครามโลกครั้งที่ 2 ทั้ง 3 พระองค์ทรงถูกนาซีจับกุม และถูกควบคุมตัวไปกักขังที่ค่ายชุมนุมดาชอว์ ซึ่งทรงประทับทีนั่นเป็นเวลาถึง 7 ปี เจ้าหญิงโซฟี ทรงอภิเษกสมรสกับ ท่านเค้านท์เฟรเดอริกนอสติดส์-รายเน็ค เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2463 ทั้ง 2 พระองค์มีพระโอรส 3 พระองค์ และพระธิดาอีก 1 พระองค์ ดงันี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเจ้าหญิงโซฟีแห่งโฮเฮนเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจันท์ผมหอม นิราศพระธาตุอินทร์แขวน

right เจ้าจันท์ผมหอม นิราศพระธาตุอินทร์แขวน เป็นนวนิยายขนาดสั้นของมาลา คำจันทร์ ได้รับรางวัลซีไรต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเจ้าจันท์ผมหอม นิราศพระธาตุอินทร์แขวน · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์

รื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ หรือ ตราวัลลภาภรณ์ (The Vallabhabhorn Order) เรียกโดยย่อว่า "ว.." เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นบำเหน็จในพระองค์ ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2461 พระราชทานให้แก่ผู้มีหน้าที่อยู่ประจำใกล้ชิดพรองค์ในพระราชสำนัก โดยตั้งใจรับราชการด้วยความจงรักภักดี ซื่อสัตย์สุจริต เป็นที่พอพระราชหฤทัย โดยพระราชทานให้ทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน เครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์จัดเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่มีลำดับเกียรติเป็นลำดับที่ 20 ของเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย ปัจจุบัน พ้นสมัยพระราชทานแล้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเครื่องราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี (The Honourable Order of Rama) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สร้างขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 สำหรับบำเหน็จความดีความชอบแก่ผู้ทำความชอบพิเศษเป็นประโยชน์ยิ่งแก่ราชการทหาร ไม่ว่ายามสงบหรือยามสงคราม ตามที่ทรงพระราชดำริเห็นสมควรราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม ๓๕, ตอน ๐ก, ๒๒ กรกฎาคม..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีศักดิ์รามาธิบดี · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

รื่องหมายแพรแถบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย เครื่องราชอิสริยาภรณ์ คือ เหรียญ และตรา อันเป็นเครื่องประดับยศ เกิดขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงเรียกว่า "เครื่องราชอิสริยยศ" เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ทรงสร้างเครื่องราชอิสริยยศขึ้นอีกหลายตระกูล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้เปลี่ยนจากคำว่า "เครื่องราชอิสริยยศ" มาเป็นคำว่า "เครื่องราชอิสริยาภรณ์" สำหรับพระราชทานแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ และผู้กระทำคุณความดีให้แก่ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ทั้งที่เป็นบุรุษและสตรี โดยเครื่องราชอิสริยาภรณ์ มี ๔ ประเภท ดังนี้.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก

ซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (Saint Petersburg; Санкт-Петербу́рг, เป็นเมืองท่าทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของสหพันธรัฐรัสเซีย ตั้งอยู่ปากแม่น้ำเนวา ริมอ่าวฟินแลนด์ในทะเลบอลติก เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสร้างโดยพระเจ้าซาร์ปีเตอร์มหาราช เมื่อ พ.ศ. 2246 โดยตัวเมืองเริ่มสร้างด้วยการถมทรายและหินเป็นจำนวนมากเพราะว่าพื้นที่เดิมของเมืองนั้นเป็นดินเลนของทะเล พระองค์ทรงเลือกที่จะสร้างเมืองที่บริเวณนี้เพราะว่าตัวเมืองมีทางออกทะเลบอลติกและสามารถติดต่อไปทางยุโรปและประเทศอื่นๆได้ง่าย เพื่อการปฏิรูปรัสเซียให้ทัดเทียมกับประเทศอื่น ๆ ในยุโรปได้โดยง่าย ต่อมาเมืองเซนต์ปีเตอร์เบิร์กจึงได้รับสมญานามว่าหน้าต่างแห่งยุโรป และได้เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิรัสเซียเป็นเวลา 206 ปี (หลังจากนั้นได้ย้ายเมืองหลวงไปที่มอสโก เมื่อ พ.ศ. 2461) ชื่อเดิมของเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กคือ เปโตรกราด (Petrograd, Петрогра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2457-2467) และ เลนินกราด (Leningrad, Ленингра́д, ใช้ในช่วง พ.ศ. 2467-2534) ปัจจุบันเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กมีประชากรมากกว่า 4.7 ล้านคน เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของรัสเซีย และเป็นมรดกโลกขององค์กรยูเนสโก.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เนลสัน แมนเดลา

นลสัน โรลีลาลา แมนเดลา (คอซา: Nelson Rolihlahla Mandela) เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 ที่ดินแดนปกครองตนเองทรานสไก ประเทศแอฟริกาใต้ ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในช่วงปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และเนลสัน แมนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

Ѳ

Fita (Ѳ, ѳ) เป็นอักษรซีริลลิกยุคเก่าตัวหนึ่ง มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ทีตา อักษรนี้ใช้เขียนชื่อเฉพาะที่ทับศัพท์มาจากภาษากรีกเป็นหลัก และตั้งแต่ภาษารัสเซียออกเสียงตัวอักษรนี้เป็น // แทนที่จะเป็น // เหมือนภาษากรีก เช่น คำว่า Theodore ก็อ่านเป็น Fyodor จึงมีการใช้ Ef (Ф, ф) แทนอักษร Fita ใน พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) และสำหรับกลุ่มภาษาสลาวิกอื่นๆ ซึ่งออกเสียงอักษรนี้เป็น // ก็เปลี่ยนไปใช้ Te (Т, т) ด้วยเช่นกัน ยกตัวอย่างภาษาบัลแกเรียจะอ่านคำว่า Theodore เป็น Teodor หรือ Todor เป็นต้น อักษรนี้จึงไม่มีที่ใช้ไปโดยปริยาย อักษร Fita มีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 9 และอย่าสับสนกับอักษร Oe (Ө, ө) ที่มีลักษณะคล้ายกัน (มีใช้ในภาษาคาซัค ภาษาตูวา และภาษามองโกเลีย) และบางครั้งขีดตรงกลางก็ถูกเขียนให้เป็นหยัก เป็นคลื่น หรือขีดให้เกินวงกลมออกมา ดังที่ปรากฏในฟอนต์บางตัว เพื่อให้เกิดความแตกต่างกับอักษรดังกล่าว.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และѲ · ดูเพิ่มเติม »

Ф

Ef (Ф, ф) เป็นอักษรซีริลลิกตัวหนึ่ง ใช้แทนเสียง // เหมือน f ในภาษาอังกฤษหรือ ฟ ในภาษาไทย อักษรนี้มีวิวัฒนาการโดยตรงมาจากอักษรกรีก ไฟ และใช้แทนอักษร Fita (Ѳ) ตั้งแต่ พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) ซึ่งเคยมีใช้ในภาษารัสเซีย อักษรตัวนี้สามารถถ่ายอักษรให้เป็น f ไม่ใช่ ph ถึงแม้ว่าอักษรละติน F จะมีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ไดแกมมา (Ϝ) ที่เลิกใช้ไปแล้วก็ตาม และไม่เกี่ยวข้องกับอักษรกรีก ไฟ แต่อย่างใด อักษร Ef มีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 500 และมีชื่อเดิมคือ fr̤̥tǔ.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และФ · ดูเพิ่มเติม »

І

I (І, і) หรือบางครั้งก็เรียกว่า Decimal I หรือ Dotted I เป็นอักษรหนึ่งในอักษรซีริลลิก มีใช้เฉพาะในภาษาเบลารุส ภาษาคาซัก และภาษายูเครน ใช้แทนเสียงสระ // (อี) เหมือนอักษร И ของภาษารัสเซีย อักษรนี้มีพัฒนาการมาจากอักษรกรีก ไอโอตา ชื่อเดิมของอักษรนี้คือ i และมีค่าของเลขซีริลลิกเท่ากับ 10 อักษร І เคยใช้เป็นอักษรในภาษารัสเซีย จนถึง พ.ศ. 2461 (ค.ศ. 1918) ได้เกิดการปฏิวัติอักขรวิธีโดยสหภาพโซเวียต อักษรนี้จึงถูกยกเลิกไป แต่ยังคงมีการใช้ในบางประเทศที่แยกตัวออกจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และІ · ดูเพิ่มเติม »

1 ธันวาคม

วันที่ 1 ธันวาคม เป็นวันที่ 335 ของปี (วันที่ 336 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 30 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ1 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

10 กันยายน

วันที่ 10 กันยายน เป็นวันที่ 253 ของปี (วันที่ 254 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 112 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ10 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤศจิกายน

วันที่ 11 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 315 ของปี (วันที่ 316 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 50 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ11 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

11 พฤษภาคม

วันที่ 11 พฤษภาคม เป็นวันที่ 131 ของปี (วันที่ 132 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 234 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ11 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

11 กุมภาพันธ์

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 42 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 323 วันในปีนั้น (324 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ11 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

12 พฤศจิกายน

วันที่ 12 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 316 ของปี (วันที่ 317 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 49 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ12 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

12 กรกฎาคม

วันที่ 12 กรกฎาคม เป็นวันที่ 193 ของปี (วันที่ 194 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 172 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ12 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

13 มิถุนายน

วันที่ 13 มิถุนายน เป็นวันที่ 164 ของปี (วันที่ 165 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 201 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ13 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

13 มีนาคม

วันที่ 13 มีนาคม เป็นวันที่ 72 ของปี (วันที่ 73 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 293 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ13 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 กรกฎาคม

วันที่ 14 กรกฎาคม เป็นวันที่ 195 ของปี (วันที่ 196 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 170 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ14 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

14 มีนาคม

วันที่ 14 มีนาคม เป็นวันที่ 73 ของปี (วันที่ 74 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 292 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ14 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เป็นวันที่ 135 ของปี (วันที่ 136 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 230 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ15 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กรกฎาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม เป็นวันที่ 196 ของปี (วันที่ 197 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 169 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ15 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

15 กันยายน

วันที่ 15 ก.. เป็นวันที่ 258 ของปี (วันที่ 259 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 107 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ15 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

15 กุมภาพันธ์

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 46 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 319 วันในปีนั้น (320 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ15 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

15 มกราคม

วันที่ 15 มกราคม เป็นวันที่ 15 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 350 วันในปีนั้น (351 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ15 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

16 กุมภาพันธ์

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 47 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 318 วันในปีนั้น (319 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ16 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

16 มกราคม

วันที่ 16 มกราคม เป็นวันเกิดของผมเอง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ16 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

17 กรกฎาคม

วันที่ 17 กรกฎาคม เป็นวันที่ 198 ของปี (วันที่ 199 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 167 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ17 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 มิถุนายน

วันที่ 17 มิถุนายน เป็นวันที่ 168 ของปี (วันที่ 169 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 197 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ17 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

17 เมษายน

วันที่ 17 เมษายน เป็นวันที่ 107 ของปี (วันที่ 108 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 258 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ17 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

18 (แก้ความกำกวม)

 18 อาจหมายถึง.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ18 (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

18 พฤศจิกายน

วันที่ 18 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 322 ของปี (วันที่ 323 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 43 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ18 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

18 กรกฎาคม

วันที่ 18 กรกฎาคม เป็นวันที่ 199 ของปี (วันที่ 200 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 166 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ18 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

22 กุมภาพันธ์

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 53 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 312 วันในปีนั้น (313 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ22 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

22 สิงหาคม

วันที่ 22 สิงหาคม เป็นวันที่ 234 ของปี (วันที่ 235 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 131 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ22 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

23 มีนาคม

วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ23 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 สิงหาคม

วันที่ 25 สิงหาคม เป็นวันที่ 237 ของปี (วันที่ 238 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 128 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ25 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

26 กุมภาพันธ์

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 57 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 308 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ26 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

26 สิงหาคม

วันที่ 26 สิงหาคม เป็นวันที่ 238 ของปี (วันที่ 239 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 127 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ26 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

27 พฤศจิกายน

วันที่ 27 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 331 ของปี (วันที่ 332 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 34 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ27 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

28 พฤษภาคม

วันที่ 28 พฤษภาคม เป็นวันที่ 148 ของปี (วันที่ 149 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 217 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ28 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

28 ตุลาคม

วันที่ 28 ตุลาคม เป็นวันที่ 301 ของปี (วันที่ 302 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 64 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ28 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

29 พฤศจิกายน

วันที่ 29 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 333 ของปี (วันที่ 334 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 32 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ29 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

30 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 211 ของปี (วันที่ 212 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 154 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ30 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

31 มีนาคม

วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ31 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

4 พฤศจิกายน

วันที่ 4 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 308 ของปี (วันที่ 309 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 57 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ4 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

4 มิถุนายน

วันที่ 4 มิถุนายน เป็นวันที่ 155 ของปี (วันที่ 156 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 210 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ4 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

4 ธันวาคม

วันที่ 4 ธันวาคม เป็นวันที่ 338 ของปี (วันที่ 339 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 27 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ4 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 มีนาคม

วันที่ 5 มีนาคม เป็นวันที่ 64 ของปี (วันที่ 65 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 301 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ5 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 ธันวาคม

วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันที่ 339 ของปี (วันที่ 340 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 26 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ5 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

6 พฤษภาคม

วันที่ 6 พฤษภาคม เป็นวันที่ 126 ของปี (วันที่ 127 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 239 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ6 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มกราคม

วันที่ 6 มกราคม เป็นวันที่ 6 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 359 วันในปีนั้น (360 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ6 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

6 มิถุนายน

วันที่ 6 มิถุนายน เป็นวันที่ 157 ของปี (วันที่ 158 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 208 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ6 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

6 มีนาคม

วันที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ 65 ของปี (วันที่ 66 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 300 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ6 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 เมษายน

วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ8 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

9 พฤศจิกายน

วันที่ 9 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 313 ของปี (วันที่ 314 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 52 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ9 พฤศจิกายน · ดูเพิ่มเติม »

9 ธันวาคม

วันที่ 9 ธันวาคม เป็นวันที่ 343 ของปี (วันที่ 344 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 22 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 2461และ9 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

พ.ศ.2461ค.ศ. 1918

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »