โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1713

ดัชนี พ.ศ. 1713

ทธศักราช 1713 ใกล้เคียงกั.

18 ความสัมพันธ์: ฟุตบอลในประเทศอังกฤษพระเจ้ามย็องจงแห่งโครยอพระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษพระเจ้าอีจงแห่งโครยอราชวงศ์โครยอรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์กรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์กสถาปัตยกรรมนอร์มันอาสนวิหารล็องกร์อาสนวิหารตูร์อำเภอวังเหนือทอมัส แบ็กกิตปฏิทินฮีบรูประวัติศาสตร์สเปนนักบุญดอมินิกเบเรนกาเรียแห่งนาวาร์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษเฮนรียุวกษัตริย์29 ธันวาคม

ฟุตบอลในประเทศอังกฤษ

ฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ ใช้สนามกีฬาเวมบลีย์เป็นสนามเหย้า กีฬาฟุตบอล ถือกำเนิดในประเทศอังกฤษ ทั้งยังเป็นกีฬาประจำชาติด้วย ก่อนจะมีการเล่นอย่างแพร่หลาย ในหลายประเทศทั่วโลก โดยในอังกฤษเรียกว่า ฟุตบอล โดยแทบไม่ใช้คำว่า ซอกเกอร์ อย่างในบางประเทศ เช่นสหรัฐอเมริกาเป็นต้น โดยมีการก่อตั้งสโมสรฟุตบอลเชฟฟีลด์ เป็นแห่งแรกของอังกฤษและของโลก เมื่อปี ค.ศ. 1857 ส่วนสโมสรฟุตบอลนอตส์เคาน์ตี เป็นแห่งแรกในระดับอาชีพ เมื่อปี ค.ศ. 1862 ก่อนที่จะมีการก่อตั้ง สมาคมฟุตบอลอังกฤษ (เอฟเอ) ขึ้นกำกับดูแลกิจการทั้งปวง ในปีต่อมา (ค.ศ. 1863) ต่อมา เอฟเอเริ่มจัดแข่งขันระบบฟุตบอลถ้วย โดยให้ชื่อว่า เอฟเอคัพ เป็นครั้งแรกของอังกฤษและของโลก ตั้งแต่ฤดูกาล 1871-72 จนถึงปัจจุบัน จากนั้น สโมสรฟุตบอล 12 แห่ง ริเริ่มรวมตัวกันเป็นองค์กรฟุตบอลลีก เพื่อจัดการแข่งขันระบบลีก ระหว่างกลุ่มสโมสรดังกล่าวเป็นครั้งแรก ในฤดูกาล 1888-89 และยังจัดแข่งขันฟุตบอลถ้วย โดยให้ชื่อว่า ฟุตบอลลีกคัพ ตั้งแต่ฤดูกาล 1960-61 จนถึงปัจจุบัน สำหรับระบบลีก ดำเนินมาเป็นเวลา 104 ปี จนกระทั่งสโมสรฟุตบอล 22 แห่ง (ต่อมาลดลงเหลือเพียง 20 สโมสร) ในลีกระดับชั้นที่ 1 (Division 1) ร่วมกับรูเพิร์ต เมอร์ด็อก นักธุรกิจสื่อสาร เจ้าของเครือข่ายโทรทัศน์สกาย แยกตัวออกมาก่อตั้งลีกสูงสุดขึ้นใหม่ โดยให้ชื่อว่า พรีเมียร์ลีก ตั้งแต่ฤดูกาล 1992-93 จนถึงปัจจุบัน ส่วนองค์กรฟุตบอลลีก ยังคงจัดแข่งขันลีก ในระดับรองลงไปตามเดิม.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และฟุตบอลในประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ามย็องจงแห่งโครยอ

ระเจ้ามยองจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 1131 - ค.ศ. 1202) จักรพรรดิองค์ที่ 19 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1170 - ค.ศ. 1197) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าอินจง กับมเหสีคงเย เป็นพระอนุชาของพระเจ้าอีจง ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น ท่านชายอิกยาง (익양후, 翼陽侯) ใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และพระเจ้ามย็องจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ

ปูนปั้นของพระเจ้าริชาร์ดใจสิงห์จากหลุมฝังพระศพของพระองค์ พระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ (8 กันยายน พ.ศ. 1700 – 6 เมษายน พ.ศ. 1742) ครองราชย์เป็นกษัตริย์แห่งอังกฤษระหว่างปี พ.ศ. 1732 ถึง พ.ศ. 1742 มักจะถูกเรียกพระนามว่า ริชาร์ดใจสิงห์ (Richard the Lionheart) เนื่องจากในสมัยของพระองค์ พระองค์ทรงเป็นวีรบุรุษในหมู่ชาวชนบท และในวรรณกรรมก็มักจะกล่าวถึงพระองค์ในแง่นั้น ทรงเป็นผู้บัญชาการกองทัพกลาง ใน สงครามครูเสด ครั้งที่ 3 และมีชัยชนะเหนือ ซาลาดิน โดยไม่ได้ยึดครองเยรูซาเร็ม เมื่อเทียบกับช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย พระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษมีพระชนม์ชีพตรงกับต้นสมัยอาณาจักรเชียงแสน หรือก่อนสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยประมาณ 76ปี.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และพระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอีจงแห่งโครยอ

ระเจ้าอีจงแห่งโครยอ (ค.ศ. 1127-ค.ศ. 1173) จักรพรรดิองค์ที่ 18 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 1146-ค.ศ. 1170) เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าอินจง กับสมเด็จพระราชินีคงเย เมื่อพระเจ้าอินจงสวรรคตใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และพระเจ้าอีจงแห่งโครยอ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โครยอ

ราชวงศ์โครยอ (ค.ศ. 918 - ค.ศ. 1392) ก่อตั้งใน ค.ศ. 918 และรวบรวมสามแคว้นหลังได้ใน ค.ศ. 936 จนคาบสมุทรเกาหลีเป็นหนึ่งเดียวอีกครั้งหลังสมัยชิลลา จนถูกโค่นล้มโดยลีซองเกใน ค.ศ. 1392 สมัยโครยอเป็นสมัยที่ลัทธิขงจื้อเข้ามาในเกาหลีอย่างเต็มตัว เป็นสมัยที่ทหารปกครองบ้านเมือง และการยึดครองของมองโกลก็ทำให้วัฒนธรรมมองโกลหลั่งไหลเข้าสู่เกาหลี สมัยโครยอเป็นสมัยที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองในเกาหลี มีการพิมพ์พระไตรปิฏกภาษาเกาหลีเป็นฉบับแรก คือ ไตรปิฏก โคเรียนะ เก็บไว้ที่วัดแฮอินซา Map of Goryeo คำว่า "โครยอ" มาจาก "โคกูรยอ" หนึ่งในสามอาณาจักรโบราณของคาบสมุทรเกาหลี และเป็นที่มาของคำว่า "โคเรีย" ในภาษาอังกฤษ (โดยเรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "โกเร" ที่หมายถึงอาณาจักรแห่งนี้ในความหมายของชาวอาหรับ) และ "เกาหลี" ในภาษาจีนกลางและภาษาไท.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และราชวงศ์โครยอ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก และ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระอิศริยยศนี้รวมด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก

ประเทศลักเซมเบิร์กปกครองโดยเจ้าผู้ครองราชรัฐซึ่งมีฐานันดรศักดิ์เป็นเคานต์ ดยุก และแกรนด์ดยุก ตามลำดับ ในอดีตเป็นรัฐนี้ส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรเยอรมนีและจากนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งได้ปกครองตนเองในปี พ.ศ. 2358.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และรายพระนามเจ้าผู้ครองราชรัฐลักเซมเบิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมนอร์มัน

องทางเดินกลางของมหาวิหารเดอแรมที่ใช้ซุ้มโค้งครึ่งวงกลมสองข้างแม้ว่าจะมีการใช้โค้งแหลมบนเพดานเหนือช่องทางเดินกลางที่เป็นการนำทางของสถาปัตยกรรมกอทิก สถาปัตยกรรมนอร์มัน (Norman architecture) เป็นคำที่ใช้ในการบรรยายลักษณะสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่วิวัฒนาการโดยนอร์มันในดินแดนต่างๆ ที่ได้เข้าปกครองหรือมีอิทธิพลในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 12 โดยเฉพาะในการบรรยายถึงสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบอังกฤษ นอร์มันเป็นผู้ริเริ่มการก่อสร้างปราสาท, ป้อมปราการที่รวมทั้งหอกลางแบบนอร์มัน, สำนักสงฆ์, แอบบี, คริสต์ศาสนสถาน และมหาวิหารเป็นจำนวนมากในอังกฤษ ในลักษณะการใช้โค้งกลม (โดยเฉพาะรอบหน้าต่างและประตู) และมีลักษณะหนาหนักเมื่อเทียบกับสถาปัตยกรรมท้องถิ่น ลักษณะสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ที่กล่าวนี้เริ่มขึ้นในนอร์ม็องดีและแผ่ขยายไปทั่วยุโรปโดยเฉพาะในอังกฤษซึ่งเป็นที่ที่มีการวิวัฒนาการมากที่สุดและยังคงมีสิ่งก่อสร้างจากยุคนั้นที่ยังหลงเหลืออยู่มากกว่าประเทศอื่น ในขณะเดียวกันตระกูลโอตวิลล์ (Hauteville family) ซึ่งเป็นตระกูลนอร์มันที่ปกครองซิซิลีก็สร้างลักษณะสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์อีกลักษณะหนึ่งที่มีอิทธิพลจากสถาปัตยกรรมไบแซนไทน์และซาราเซ็นที่ก็เรียกว่า “สถาปัตยกรรมนอร์มัน” เช่นกันหรือบางครั้งก็เรียกว่า “สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ซิซิลี”.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และสถาปัตยกรรมนอร์มัน · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารล็องกร์

อาสนวิหารล็องกร์ (Cathédrale de Langres) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารนักบุญแมมมิสแห่งล็องกร์ (Cathédrale Saint-Mammès de Langres) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกอันเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลล็องกร์ ตั้งอยู่ที่เมืองล็องกร์ในจังหวัดโอต-มาร์น แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญแมมมิสแห่งไกซาเรอา มรณสักขีในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 3 ลักษณะเด่นของอาสนวิหารแห่งนี้อยู่ที่ความผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบบูร์กอญกับสถาปัตยกรรมกอทิก อาทิ เพดานแบบโค้งสัน หน้าบันหลักทิศตะวันตกซึ่งสร้างขึ้นใหม่ในแบบสถาปัตยกรรมคลาสสิก อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และอาสนวิหารล็องกร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารตูร์

อาสนวิหารตูร์ (Cathédrale de Tours) เรียกชื่อเต็มว่า อาสนวิหารนักบุญกาเซียงแห่งตูร์ (Cathédrale Saint-Gatien de Tours) เป็นอาสนวิหารโรมันคาทอลิก เป็นที่ตั้งของมุขนายก ประจำมุขมณฑลตูร์ ตั้งอยู่ที่เมืองตูร์ จังหวัดแอ็งเดรลัวร์ แคว้นซ็องทร์-วาลเดอลัวร์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้นักบุญกาเซียงแห่งตูร์ อดีตมุขนายกผู้ก่อตั้งมุขมณฑลตูร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 3 อาสนวิหารแห่งตูร์ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1862.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และอาสนวิหารตูร์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอวังเหนือ

วังเหนือ (50px) เป็นอำเภอที่อยู่เหนือสุดของจังหวัดลำปาง เป็นต้นกำเนิดแม่น้ำวัง ชุมชนในท้องถิ่นมีวิถีการดำเนินชีวิตแบบเรียบง่าย อยู่กับธรรมชาต.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และอำเภอวังเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทอมัส แบ็กกิต

นักบุญทอมัส แบ็กกิต (Thomas Becket) ต่อมารู้จักกันในชื่อ Thomas à Becket เป็นนักบุญและมรณสักขีในศาสนาคริสต์ เกิดใน..

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และทอมัส แบ็กกิต · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิทินฮีบรู

ปฏิทินยิวระหว่างปีค.ศ. 1927 และ 1948 ปฏิทินฮีบรู หรือ ปฏิทินยิว (Hebrew calendar; הלוח העברי‎) เป็นปฏิทินประจำปีใช้ในศาสนายูดาห์ ภายในระบุวันหยุดทางศาสนายูดาห์ คำสอนทั่วไปในคัมภีร์โทราห์ ยาร์ทเซียส (Yahrtzeit) ซึ่งเป็นวันระลึกถึงวันตายของญาติสนิท และซาล์ม (เพลงสวด) ตามวัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และปฏิทินฮีบรู · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สเปน

ตราสัญลักษณ์ของประเทศสเปน โบสถ์ซานตามารีอาเดลนารังโก เมืองโอเบียโด ภาคเหนือ อารามหลวงเอลเอสโกเรียล กรุงมาดริด ภาคกลาง พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์ เมืองบาเลนเซีย ภาคตะวันออก ปราสาทอาลัมบรา เมืองกรานาดา ภาคใต้ ประวัติศาสตร์สเปน คือเรื่องราวความเป็นมาเกี่ยวกับอาณาบริเวณส่วนใหญ่บนคาบสมุทรไอบีเรียในภูมิภาคยุโรปใต้ซึ่งมีพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ผ่านยุครุ่งเรืองและยุคตกต่ำของจักรวรรดิสากลแห่งแรกของโลกจนกลายมาเป็นราชอาณาจักรสเปนในปัจจุบัน อันเป็นช่วงฟื้นฟูตนเองหลังสมัยการปกครองแบบเผด็จการของนายพลฟรังโกได้ผ่านพ้นไป มีอยู่หลายช่วงที่ประวัติศาสตร์การเมืองและการทหารของสเปนเต็มไปด้วยความวุ่นวายและความรุนแรง ส่วนใหญ่เกิดจากนโยบายและความพยายามที่จะจัดการกับความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา และความคิดความเชื่อในดินแดนของตนนั่นเอง มนุษย์สมัยใหม่เข้ามาในคาบสมุทรไอบีเรียเป็นเวลานานกว่า 35,000 ปีมาแล้ว ตามมาด้วยคลื่นผู้รุกรานและผู้ตั้งอาณานิคมชนชาติต่าง ๆ ได้แก่ ชาวเคลต์ ชาวฟินิเชีย ชาวคาร์เทจ และชาวกรีกตลอดระยะเวลานับพัน ๆ ปี เมื่อถึงประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช ทั้งคาบสมุทรจึงตกเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโรมัน ก่อนจะตกไปอยู่ภายใต้การปกครองจากชาววิซิกอท และในปี ค.ศ. 711 ชาวแอฟริกาเหนือซึ่งเป็นชาวมุสลิม (ชาวมัวร์) ก็เริ่มเข้ามามีอำนาจ ในที่สุดอาณาจักรอิสลามก็ได้รับการสถาปนาขึ้นบนคาบสมุทรแห่งนี้และยืนหยัดได้เป็นเวลาประมาณ 750 ปี ซึ่งพื้นที่ที่ชาวมุสลิมครอบครองนั้นเป็นที่รู้จักกันในชื่อ อัลอันดะลุส แต่ในช่วงเวลาเดียวกันนี้ยังเป็นช่วงที่เรียกว่า "เรกองกิสตา" หรือการยึดดินแดนคืนของชาวคริสต์ซึ่งค่อย ๆ รุกลงไปทางใต้ เหตุการณ์เหล่านี้ดำเนินไปถึงจุดสิ้นสุดเมื่อชาวคริสต์สามารถพิชิตที่มั่นแห่งสุดท้ายของชาวมุสลิมที่กรานาดาได้ในปี ค.ศ. 1492 จากนั้นราชอาณาจักรและรัฐคาทอลิกต่าง ๆ บนคาบสมุทรไอบีเรียก็ได้พัฒนาขึ้น รวมทั้งราชอาณาจักรคาสตีลและราชอาณาจักรอารากอนด้วย ซึ่งการรวมกันของอาณาจักรทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความเป็นปึกแผ่นของรัฐชาติสเปนในเวลาต่อมา ปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และประวัติศาสตร์สเปน · ดูเพิ่มเติม »

นักบุญดอมินิก

นักบุญดอมินิกแห่งออสมา (Saint Dominic of Osma; ค.ศ. 1170 – 6 สิงหาคม ค.ศ. 1221) นักบุญดอมินิกแห่งออสมา หรือ นักบุญดอมินิกแห่งกุซมัน เป็นบาทหลวงโรมันคาทอลิกชาวสเปน ผู้ก่อตั้งคณะดอมินิกัน เชื่อว่าเป็นบุคคลแรกที่นำสายประคำมาใช้ในการสวดภาวนาของชาวคาทอลิก และเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์นักดาราศาสตร.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และนักบุญดอมินิก · ดูเพิ่มเติม »

เบเรนกาเรียแห่งนาวาร์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

“เบเร็นเจเรียแห่งนาวาร์” เบเร็นเจเรียแห่งนาวาร์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: Berengaria of Navarre) (ราว ค.ศ. 1165-ค.ศ. 1170 – 23 ธันวาคม ค.ศ. 1230) เบเร็นเจเรียแห่งนาวาร์เป็นพระธิดาองค์โตของพระเจ้าซานโชที่ 6 แห่งนาร์วาและซานชาแห่งคาสตีล เป็นพระราชินีในสมเด็จพระเจ้าริชาร์ดที่ 1 แห่งอังกฤษระหว่างวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1191 ถึงวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1199.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และเบเรนกาเรียแห่งนาวาร์ สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

เฮนรียุวกษัตริย์

นรี หรือที่เรียกกันว่า ยุวกษัตริย์ (Henry the Young King; 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1155 — 11 มิถุนายน ค.ศ. 1183) เป็นพระราชโอรสองค์ที่สองในห้าองค์ในสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 2 แห่งอังกฤษและเอเลเนอร์แห่งอากีแตน เฮนรีทรงเป็นรองพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรอังกฤษ, ดยุคแห่งนอร์ม็องดี, เคานท์แห่งอองชู และ ไมน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และเฮนรียุวกษัตริย์ · ดูเพิ่มเติม »

29 ธันวาคม

วันที่ 29 ธันวาคม เป็นวันที่ 363 ของปี (วันที่ 364 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 2 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: พ.ศ. 1713และ29 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1170

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »