โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1693

ดัชนี พ.ศ. 1693

ทธศักราช 1693 ใกล้เคียงกั.

18 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1656พ.ศ. 1657พ.ศ. 1658พ.ศ. 1659พ.ศ. 1660พ.ศ. 1661พ.ศ. 1662พระเจ้าชัยวรมันที่ 7มหาวิหารเวเซอแลราชอาณาจักรอารากอนรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชาอาสนวิหารล็องกร์คริสต์ทศวรรษ 1150ตูอีโตงาปากนรกภูมิโมนาลิซาเก็ลเซินเคียร์เชินเซ็สโซและคัมปะกุ

พ.ศ. 1656

ทธศักราช 1656 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และพ.ศ. 1656 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1657

ทธศักราช 1657 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และพ.ศ. 1657 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1658

ทธศักราช 1658 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และพ.ศ. 1658 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1659

ทธศักราช 1659 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และพ.ศ. 1659 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1660

ทธศักราช 1660 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และพ.ศ. 1660 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1661

ทธศักราช 1661 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และพ.ศ. 1661 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1662

ทธศักราช 1662 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และพ.ศ. 1662 · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าชัยวรมันที่ 7

ระเจ้าชัยวรมันที่ 7เป็นกษัตริย์ของอาณาจักรเขมรที่ยิ่งใหญ่ (พ.ศ. 1724 - พ.ศ. 1762) ในบริเวณที่เป็นประเทศกัมพูชาในปัจจุบัน เป็นพระโอรสของพระเจ้าธรนินทรวรมันที่ 2 (ครองราชย์ พ.ศ. 1693 - พ.ศ. 1703) และพระนางศรี ชยราชจุฑามณี พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงเป็นที่รู้จักในฐานะผู้สถาปนานครธม นครหลวงแห่งสุดท้ายของอาณาจักรเขมร ในประเทศกัมพูชายังมีสระน้ำแห่งหนึ่งที่พระเจ้าชัยวรมันที่7 ทรงใช้เป็นประจำอีกด้ว.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิหารเวเซอแล

มหาวิหารนักบุญมารีย์ชาวมักดาลาแห่งเวเซอแล (Basilique Sainte-Marie-Madeleine de Vézelay) เป็นบาซิลิกา ในอดีตเดิมเป็นแอบบีย์ของคณะเบเนดิกตินและอารามกลูว์นี (Cluniac) ตั้งอยู่ที่เวเซอแล จังหวัดอียอน แคว้นบูร์กอญ-ฟร็องช์-กงเต ประเทศฝรั่งเศส ตัวสิ่งก่อสร้างประกอบด้วยการตกแต่งที่ซับซ้อนด้วยรูปสลักเสลาด้านหน้า, เหนือประตูทางเข้า และหัวเสาที่ถือกันว่าเป็นงานฝีมือชั้นเอกของสถาปัตยกรรมและศิลปะโรมาเนสก์ของบูร์กอญ แม้ว่าบางส่วนของงานศิลปะจะถูกทำลายไปในระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส มหาวิหารเวเซอแลและเนินในบริเวณเวเซอแล ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกเมื่อปี..

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และมหาวิหารเวเซอแล · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอารากอน

ราชอาณาจักรอารากอน (Reino de Aragón; Kingdom of Aragon) เป็นราชอาณาจักรที่ตั้งอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศสเปนระหว่างปี ค.ศ. 1035 ถึงปี ค.ศ. 1707 โดยมีพระเจ้ารามีโรที่ 1 แห่งอารากอนแห่งราชวงศ์อารากอนเป็นกษัตริย์องค์แรก อาณาจักรอารากอนเป็นอาณาจักรแบบราชาธิปไตย อาณาบริเวณเป็นบริเวณเดียวกับแคว้นอารากอนในประเทศสเปนปัจจุบัน ราชอาณาจักรอารากอนเดิมเป็นส่วนหนึ่งของ “ราชบัลลังก์อารากอน” (Crown of Aragon) ซึ่งรวมทั้งราชอาณาจักรบาเลนเซียและราชรัฐคาเทโลเนีย ซึ่งมีประมุขร่วมกัน อารากอนกอร์เตส (รัฐสภา) ราชอาณาจักรเดิมเป็นแคว้นฟิวดัลของชาวแฟรงก์รอบเมืองคากาซึ่งรวมตัวกับราชอาณาจักรปัมโปลนาที่ต่อมาเป็นราชอาณาจักรนาวาร์ในปี ค.ศ. 925 แคว้นอารากองแยกตัวจากราชอาณาจักรนาวาร์ในปี ค.ศ. 1035 และเลื่อนฐานะขึ้นเป็นอาณาจักรเต็มตัวโดยพระเจ้ารามีโรที่ 1 อาณาจักรอารากอนขยายตัวไปทางใต้ทางอวยสกา ในปี ค.ศ. 1096 และต่อมาซาราโกซา ในปี ค.ศ. 1118 จนกระทั่งปี ค.ศ. 1285 พรมแดนทางใต้ที่สุดของอารากอนเป็นดินแดนจากมัวร์ อาณาจักรอารากอนรวมกับราชบัลลังก์อารากอนหลังจากการเสกสมรสระหว่างสองราชวงศ์ในปี ค.ศ. 1150 ระหว่างรามอน เบเรงเกร์ที่ 4 เคานต์แห่งบาร์เซโลนา และเปโตรนีลาแห่งอารากอน พระราชินีแห่งอารากอน พระโอรสของทั้งสองพระองค์ได้รับดินแดนของทั้งสองอาณาจักร นอกจากนั้นพระเจ้าแผ่นดินแห่งอารากอนยังได้รับตำแหน่งเพิ่มเป็นเคานต์แห่งบาร์เซโลนา ปกครองดินแดนเดิมและราชรัฐคาเทโลเนีย และต่อมาหมู่เกาะแบลีแอริก ราชอาณาจักรบาเลนเซีย ราชอาณาจักรซิซิลี ราชอาณาจักรเนเปิลส์ และราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย พระเจ้าแผ่นดินแห่งอารากอนเป็นพระเจ้าแผ่นดินองค์แรกที่ทรงปกครองบริเวณอารากอนโดยตรงและทรงดำรงตำแหน่งพระเจ้าแผ่นดินแห่งบาเลนเซีย พระเจ้าแผ่นดินแห่งมายอร์กา (ชั่วระยะหนึ่ง) เคานต์แห่งบาร์เซโลนา ลอร์ดแห่งมงเปลีเย และดุ๊กแห่งเอเธนส์ (ชั่วระยะหนึ่ง) แต่ละตำแหน่งที่ได้มาหรือเสียไปก็เป็นการเพื่มหรือลดดินแดนภายใต้การปกครองในคริสต์ศตวรรษที่ 14 อำนาจของพระมหากษัตริย์แห่งอารากอนก็จำกัดลงเพียงบริเวณอารากอนเองตามข้อตกลง “สหภาพอารากอน” (Union of Aragon) ราชบัลลังก์อารากอนถูกยุบเลิกโดยปริยายหลังจากการรวมกับราชบัลลังก์คาสตีล แต่หลังจากการรวมตัวอารากอนก็ยังรักษาอำนาจบางอย่างอยู่บ้างจนกระทั่งมาสิ้นสุดลงทั้งหมดตามพระราชกฤษฎีกานวยบาปลันตา (Nueva Planta decrees) ที่ออกในปี ค.ศ. 1707.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และราชอาณาจักรอารากอน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา

250px หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และรายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

อาสนวิหารล็องกร์

อาสนวิหารล็องกร์ (Cathédrale de Langres) หรือชื่อเต็มคือ อาสนวิหารนักบุญแมมมิสแห่งล็องกร์ (Cathédrale Saint-Mammès de Langres) เป็นอาสนวิหารในนิกายโรมันคาทอลิกอันเป็นที่ตั้งของมุขนายกประจำมุขมณฑลล็องกร์ ตั้งอยู่ที่เมืองล็องกร์ในจังหวัดโอต-มาร์น แคว้นกร็องแต็สต์ ประเทศฝรั่งเศส สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแด่นักบุญแมมมิสแห่งไกซาเรอา มรณสักขีในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 3 ลักษณะเด่นของอาสนวิหารแห่งนี้อยู่ที่ความผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์แบบบูร์กอญกับสถาปัตยกรรมกอทิก อาทิ เพดานแบบโค้งสัน หน้าบันหลักทิศตะวันตกซึ่งสร้างขึ้นใหม่ในแบบสถาปัตยกรรมคลาสสิก อาสนวิหารแห่งนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นอนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เมื่อปี ค.ศ. 1840.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และอาสนวิหารล็องกร์ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1150

คริสต์ทศวรรษ 1150 (1150s) เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1150 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1159 เป็นทศวรรษของศตวรรษที่ 12 คริสต์ทศวรรษ 1150.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และคริสต์ทศวรรษ 1150 · ดูเพิ่มเติม »

ตูอีโตงา

ตูอีโตงา (Tui Tonga) เป็นราชวงศ์ที่ปกครองจักรวรรดิตูอีโตงา โดยตำนานกล่าวถึงการที่เทพเจ้าตากาโลอาพระเจ้าของชาวตองงามีพระโอรสกับหญิงมนุษย์โลก แล้วให้กำเนิดออกมาเป็นพระเจ้าอะโฮเออิตู ซึ่งพระเจ้าอะโฮเออิตูนี้เป็นต้นราชวงศ์ตูอีโตงา โดยสถาปนาราชวงศ์นี้ในประมาณปี ค.ศ. 950 ราชวงศ์ตูอีโตงาเจริญถึงขีดสุดในช่วงเวลาประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12ในรัชสมัยของพระเจ้าโมโม พระเจ้าตูอิตาตูอิและพระเจ้าตาลาตามา ซึ่งสามารถขยายอาณาเขตได้กว้างไกล จนกระทั่งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 15 ราชวงศ์ตูอีโตงาเริ่มเสื่อมอำนาจลงจากการโอนอำนาจส่วนใหญ่ให้ตูอิฮาอะตากาเลาอา จนกระทั่งหมดอำนาจไปใน ค.ศ. 1826 และเสื่อมสลายไปในปี ค.ศ. 1865 สำหรับกฎการสืบราชสมบัติของราชวงศ์นี้จะสืบจากพระบิดาสู่พระโอรสเท่านั้น ปัจจุบันเชื้อสายของราชวงศ์นี้ยังอยู่ในสายกาลานีอูวาลู.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และตูอีโตงา · ดูเพิ่มเติม »

ปากนรกภูมิ

ปากนรกภูมิ (Hellmouth หรือ Mouth of Hell) คือทางเข้าสู่ขุมนรกที่เป็นภาพปากที่อ้ากว้างของยักษาตัวใหญ่ ซึ่งเป็นภาพพจน์ที่เริ่มเขียนกันขึ้นเป็นครั้งแรกในศิลปะแองโกล-แซ็กซอน และต่อมาก็เผยแพร่ไปทั่วยุโรป และเป็นภาพที่นิยมวาดเป็นองค์ประกอบของภาพ “การตัดสินครั้งสุดท้าย” และ “ลงสู่ขุมนรก” (Harrowing of Hell) จนกระทั่งมาถึงปลายยุคกลาง และบางครั้งก็เลยมาจนถึงยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาและหลังจากนั้น การเขียน “ปากนรกภูมิ” มาฟื้นฟูกันอีกครั้งในภาพพิมพ์สมัยนิยม (Popular print) หลังการปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ เมื่อรูปลักษณ์ของผู้ที่เป็นศัตรูจะเป็นผู้ที่กำลังจะถูกกลืนหายเข้าไปในปาก งานชิ้นสำคัญในสมัยหลังเป็นงานเขียนสองชิ้นของเอลเกรโกที่เขียนราวปี ค.ศ. 1578 หรือการ์ตูนล้อการเมืองที่เป็นภาพของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 นำหน้ากองทัพไปสู่ความหายนะในปากนรก การละครของยุคกลางมักจะใช้ปากนรกภูมิเป็นฉาก หรือ เครื่องชัก เพื่อที่จะสร้างความหวั่นกลัวให้แก่ผู้ชม ในการสร้างภาพพจน์อันสยดสยองของทางเข้าสู่ขุมนรก ลักษณะที่สร้างก็มักจะเป็นทางเข้าปราสาทโบราณที่มีเชิงเทิน โดยเพราะเมื่อต้องการที่จะเปรียบเทียบกับสวรรค์ งานชิ้นโบราณที่สุดของปากนรกภูมิที่เป็นปากสัตว์เท่าที่ทราบโดยนักประวัติศาสตร์ศิลป์ชาวอเมริกันเมเยอร์ ชาพิโรเป็นงานสลักงาช้างที่สลักขึ้นราว ค.ศ. 800 (พิพิธภัณฑ์วิคตอเรียและอัลเบิร์ต, ลอนดอน) ชาพิโรกล่าวว่างานส่วนใหญ่ที่สร้างก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 12 เป็นงานที่ทำในอังกฤษ ชาพิโรสันนิษฐานว่ารูปลักษณ์ดังกล่าวอาจจะมาจากตำนานปรัมปรา “แครคเดอะดูม” ของเพกัน ที่เป็นปากของหมาป่ายักษ์เฟนเรียร์ ผู้ถูกสังหารโดยวิดาร์ ผู้ใช้สัญลักษณ์ของไครสต์บนกางเขนกอสฟอร์ธ และจากงานศิลปะแองโกล-สแกนดิเนเวียชิ้นอื่นๆ ในการผสานกลืนเข้ากับไวกิงที่ถือคริสต์ศาสนาของประชาชนทางตอนเหนือของอังกฤษ สถาบันศาสนาก็ดูเหมือนพร้อมที่จะยอมรับรูปสัญลักษณ์ที่ใช้ในประเพณีนิยมของท้องถิ่นเข้ามาผสานกับรูปสัญลักษณ์ที่ใช้ในคริสต์ศาสนาโดยมิได้ทำการขัดขวาง เช่นในการใช้หินสลักสำหรับที่หมายหลุมศพแบบไวกิงเป็นต้น ที่กล่าวถึงในวรรณกรรม “เบวูล์ฟ” ในหนังสือแองโกล-แซ็กซอน “Vercelli Homilies” (4:46-8) กล่าวถึงความเกี่ยวข้องระหว่างซาตานกับมังกรที่กลืนผู้ที่ชั่วร้าย: “...

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และปากนรกภูมิ · ดูเพิ่มเติม »

โมนาลิซา

มนาลิซา (Mona Lisa) หรือ ลาโจกอนดา (La Gioconda) หรือ ลาโชกงด์ (La Joconde) คือภาพวาดสีน้ำมัน สูง 77 เซนติเมตร กว้าง 53 เซนติเมตร วาดโดยเลโอนาร์โด ดา วินชี ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ระหว่าง พ.ศ. 2046 (ค.ศ. 1503) ถึงปี พ.ศ. 2050 (ค.ศ. 1507) เป็นภาพที่มีชื่อเสียงทั่วโลกภาพหนึ่ง เป็นที่รู้จักในฐานะภาพของสุภาพสตรีที่มีรอยยิ้มอันเป็นปริศนา ที่ไม่รู้ว่าเธอจะยิ้ม หัวเราะ หรือร้องไห้กันแน่ ปัจจุบันอยู่ในความครอบครองของรัฐบาลฝรั่งเศส และเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์ (Musée du Louvre) กรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และโมนาลิซา · ดูเพิ่มเติม »

เก็ลเซินเคียร์เชิน

เก็ลเซินเคียร์เชิน เก็ลเซินเคียร์เชิน (Gelsenkirchen) เป็นเมืองในรัฐนอร์ทไรน์-เวสต์ฟาเลียของประเทศเยอรมนี มีประชากร 274,926 คน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2002) มีหลักฐานเก่าแก่สุดว่าสร้างขึ้นประมาณ ค.ศ. 1150 แต่ดำรงฐานะเป็นเมืองขนาดเล็กมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 หลังจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม พื้นที่เขตนี้ในเยอรมนีกลายเป็นเหมืองถ่านหิน จึงทำให้มีประชากรเข้ามาอยู่อาศัยเป็นจำนวนมาก เกลเซนเคียร์เซนมีสโมสรฟุตบอลชาลเก 04 เป็นสโมสรประจำเมือง และเป็นหนึ่งใน 12 เมืองของเยอรมนีที่จัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 เกลเซนเคียร์เคิน หมวดหมู่:รัฐนอร์ดไรน์-เวสท์ฟาเลิน‎.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และเก็ลเซินเคียร์เชิน · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1693และเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 1150ค.ศ.​ 1150

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »