โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

พ.ศ. 1520

ดัชนี พ.ศ. 1520

ทธศักราช 1520 ใกล้เคียงกั.

5 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 1544รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษสงครามสามเฮนรี (ค.ศ. 977–978)จักรวรรดิกาสนาวิยะห์เซ็สโซและคัมปะกุ

พ.ศ. 1544

ทธศักราช 1544 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: พ.ศ. 1520และพ.ศ. 1544 · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: พ.ศ. 1520และรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งหมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามสามเฮนรี (ค.ศ. 977–978)

งครามสามเฮนรี (War of the Three Henrys) เป็นการปฏิวัติสั้นๆ ของผู้นำเยอรมันที่ชื่อ “เฮนรี” ทั้งสามคนในการต่อต้านจักรพรรดิออทโทที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ. 977 ขณะที่จักรพรรดิออทโททรงรณรงค์ต่อต้านโบเลเสลาส์ที่ 2 แห่งโบฮีเมีย (Boleslaus II of Bohemia) ก็เกิดการคบคิดขึ้นในบาวาเรีย ผู้คบคิดก็ได้แก่ไฮน์ริชที่ 1 บิชอปแห่งเอาก์สบูร์ก (Henry I, Bishop of Augsburg) ไฮน์ริชที่ 2 ดยุกแห่งบาวาเรีย (Henry II, Duke of Bavaria) ผู้ที่เพิ่งถูกปลด และไฮน์ริชที่ 1 ด่ยุกแห่งคารินเทียโดยการสนับสนุนของคริสตจักร จักรพรรดิออทโทผู้ทรงไปเป็นพันธมิตรกับออทโทที่ 1 ดยุกแห่งชวาเบียและบาวาเรีย (Otto I, Duke of Swabia and Bavaria) ก็เดินทัพไปพาสเซาที่ยึดโดยผู้ก่อการ ในเดือนกันยายนพาสเซาก็ยอมแพ้เนื่องมาจากวิธีการล้อมที่รวมทั้งการสร้างสะพานเรือเข้ามายังตัวเมืองที่อยู่บนเกาะ เมื่อถึงอีสเตอร์ปี ค.ศ. 978 ที่มักเดบูร์ก (Magdeburg) “เฮนรี” ทั้งสามคนก็ถูกลงโทษ ดยุกทั้งสองคนถูกแบน และไฮน์ริชแห่งคารินเธียก็เสียดินแดนให้แก่ออทโทที่ 1 ดยุกแห่งคารินเทียบุตรของคอนราด ดยุกแห่งลอแรน (Conrad, Duke of Lorraine) ส่วนบิชอปถูกคุมขังอยู่จนเดือนกรกฎาคม ผลของสงครามครั้งนี้ทำให้เป็นการลดอำนาจของบาวาเรียลงเป็นอันมาก.

ใหม่!!: พ.ศ. 1520และสงครามสามเฮนรี (ค.ศ. 977–978) · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิกาสนาวิยะห์

กาสนาวิยะห์ (غزنویان, Ghaznavids) เป็นราชวงศ์อิสลามและเปอร์เชียของชนเตอร์กิกมามลุค ผู้รุ่งเรืองระหว่าง..

ใหม่!!: พ.ศ. 1520และจักรวรรดิกาสนาวิยะห์ · ดูเพิ่มเติม »

เซ็สโซและคัมปะกุ

งราชวงศ์สำหรับผู้สำเร็จราชการ ในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น เซ็สโซ เป็นยศของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ สำหรับจักรพรรดิที่ยังทรงพระเยาว์เกินกว่าจะปกครองก่อนที่พระองค์จะเจริญพรรษาพอที่จะปกครองประเทศ เซ็สโซจะว่าราชการแทน และ คัมปะกุ เป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ทรงเจริญพระชนพรรษาแล้ว โดยอ้างว่าพระจักรพรรดิทรงไม่รู้เรื่องงานบริหารประเทศ จึงต้องให้คัมปะกุ คอยช่วยบริหารจัดการ ตลอดสมัยเฮอัง อำนาจการบริหารประเทศอยู่ในสองตำแหน่งนี้ คือ เซ็สโซ และคัมปะกุตลอด 500 ปี ผูกขาดโดยคนของตระกูลฟุจิวะระ และสายย่อยของตระกูลนี้ตลอด โดยเราจะเรียกตระกูลเหล่านี้ว่า เซ็สกัง หรือตระกูลผู้สำเร็จราชการนั่นเอง ภายหลังจากสมัยเฮอังอำนาจอยู่ในมือของรัฐบาลทหาร โดยโชกุนปกครองประเทศแทน โดยผู้สำเร็จราชการของโชกุนจะเรียกว่า ชิกเก็ง.

ใหม่!!: พ.ศ. 1520และเซ็สโซและคัมปะกุ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

ค.ศ. 977

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »