โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศลิเบีย

ดัชนี ประเทศลิเบีย

ลิเบีย (ليبيا) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ มีชายฝั่งบนทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตั้งอยู่ระหว่างประเทศอียิปต์ไปทางตะวันออก ประเทศซูดานไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศชาดและประเทศไนเจอร์ไปทางใต้ และประเทศแอลจีเรียและตูนิเซียไปทางตะวันตก มีเมืองหลวงชื่อตริโปลี ประเทศลิเบียมีพื้นที่เกือบ 1,800,000 ตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 4 ในทวีปแอฟริกา และประเทศที่ใหญ่ที่สุดในโลกอันดับที่ 17 เมืองหลวง กรุงตริโปลี มีชาวลิเบียอาศัยอยู่ 1.7 ล้านคน จากทั้งประเทศ 6.4 ล้านคน ตามข้อมูลเมื่อปี..

208 ความสัมพันธ์: บริเวณเมดิเตอร์เรเนียนบัตทุสที่ 4ชายฝั่งบาร์บารีบารัก โอบามาชนเบอร์เบอร์ฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟฟาโรห์เปดูบาสท์ที่ 1ฟุตบอลทีมชาติแอลจีเรียฟุตบอลทีมชาติเยเมนใต้ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกาพ.ศ. 2525พ.ศ. 2529พ.ศ. 2553พ.ศ. 2554พ.ศ. 2558พ.ศ. 2560กรีซโบราณกลาดิอาตอร์การบุกครองเกรเนดาการพลัดถิ่นการร้องทุกข์ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศการทัพทะเลทรายตะวันตกการทัพแอฟริกาเหนือการทิ้งระเบิดลิเบีย (พ.ศ. 2529)การแทรกแซงทางทหารในลิเบีย พ.ศ. 2554การเข้าเมืองกับอาชญากรรมกำแพงฮาดริอานุสฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษาอาหรับภาษาอาหรับยิวตริโปลีภาษาอิตาลีภาษาจามตะวันตกภาษาทัวเร็กภูมิศาสตร์เอเชียมากัสแห่งซิเรเนมุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวีมูอัมมาร์ กัดดาฟียุทธการที่กาซาลายุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์รัฐในอารักขารัฐเคดีฟอียิปต์ราชอาณาจักรลิเบียราชอาณาจักรอิตาลีราชอาณาจักรทอเลมีรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่ารายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา...รายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิลรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตรายรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิเบียรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่รายชื่อเครื่องบินพระที่นั่งในพระบรมวงศานุวงศ์ไทยรายพระนามฟาโรห์รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งซิเรเนรายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐลิเบียรายการภาพธงชาติรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อยรายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบันรูตันโวเยเจอร์ลาป่าแอฟริกาลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)ลิงบาร์บารีลิเบีย ลิเบีย ลิเบียลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1979วอลเลย์บอลชายทีมชาติลิเบียวันชาติวันครูวันแม่วิกฤตการณ์การทูตกาตาร์วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)วิทยาศาสตรบัณฑิตวงศ์โลมาแม่น้ำแอมะซอนศิลปะสกัดหินสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับสายการบินอัฟริคิยาห์ เที่ยวบินที่ 771สีกลุ่มชนอาหรับสงครามกลางเมืองลิเบียสงครามยมคิปปูร์สงครามยูกันดา-แทนซาเนียสงครามอาณานิคมโปรตุเกสสงครามโลกครั้งที่หนึ่งอักษรทิฟินาคอายุที่อยู่ในเกณฑ์สมรสได้อาร์คแองเจิ้ลอาร์เซซิลาอุสที่ 4อาหรับอาหรับวินเทอร์อิตาเลียนลิเบียอีดี อามินองศาโรเมอร์องค์กรปลดปล่อยสหปัตตานีอนุสัญญาแรมซาร์จักรพรรดิแซ็ปติมิอุส แซเวรุสจักรวรรดิอะคีเมนิดจักรวรรดิอิตาลีจักรวรรดิโรมันจามาฮิริยาจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์จุดผลิตน้ำมันสูงสุดธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศธันวาคม พ.ศ. 2548ธงชาติอียิปต์ทวีปแอฟริกาทะเลทรายสะฮาราทะเลเมดิเตอร์เรเนียนข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1970ดอนัลด์ รัมส์เฟลด์ดาการ์แรลลีดาวเทียมไทยคมดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิมดูไบคริสต์สหัสวรรษที่ 3คริสต์ทศวรรษ 1980คลื่นความเย็นในทวีปยุโรป พ.ศ. 2555คลีโอพัตราคลีโอพัตรา เซเลเนที่ 2ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534คำสั่งของฝ่ายบริหารที่ 13769คำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคณะผู้แทนทางทูตตกสิบหยิบล้าน Still Standing Thailandตริโปลิเตเนียตริโปลีตริโปลี (เลบานอน)ตะวันออกกลางซาจิตต้า เทรมี่ซิเรเนซุคฮอยปฏิบัติการครูเซเดอร์ปฏิบัติการเข็มทิศประวัติศาสตร์อานาโตเลียประเทศชาดประเทศมอลตาประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1964ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1968ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1980ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1988ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1992ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1996ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2000ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2004ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2008ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2012ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2016ประเทศลิเบียในโอลิมปิกประเทศอียิปต์ประเทศตูนิเซียประเทศซูดานประเทศแอลจีเรียประเทศไนเจอร์ปราสาทซ้อนปริมณฑลสาธารณะนอร์มันนโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาวแกะภูเขาแกนแห่งความชั่วร้ายแอฟริกา (มณฑลของโรมัน)แอฟริกาเหนือแอฟริกาเหนือของอิตาลีแอดแดกซ์แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์แนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์แนวร่วมปลดปล่อยปาเลสไตน์โรอาลด์ ดาห์ลโอเอซิสโอเปกโจตันไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กไทรทันไทรทัน (เทพปกรณัม)ไข่ดาวน้ำเบงกาซีเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับเรือดำน้ำเวลายุโรปตะวันออกเวลาแอฟริกาตะวันตกเส้นขนานที่ 20 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออกเหตุระเบิดที่แมนเชสเตอร์อะรีนา พ.ศ. 2560เหตุโจมตีในอัลมินยา พ.ศ. 2560เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์เฮอรอโดทัสเจาะเวลาหาอดีตเจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3เขตเวลาเด เวอร์มิส มิสเทรีสเซิร์ตเนลสัน แมนเดลาMENA.ly1 กันยายน15 เมษายน23 ตุลาคม5 เมษายน ขยายดัชนี (158 มากกว่า) »

บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน

ริเวณเมดิเตอร์เรเนียนที่ปลูกมะกอกได้ แผนที่การเมืองของบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean area) ประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ในความหมายทางชีวภูมิศาสตร์ (biogeography) “บริเวณเมดิเตอร์เรเนียน” หมายถึงบริเวณที่มีภูมิอากาศแบบภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียนที่อุ่น, มีฝนตกระหว่างฤดูหนาว, แห้งระหว่างหน้าร้อนที่เหมาะแก่พืชพันธุ์เมดิเตอร์เรเนียน กฎที่ว่ากันง่ายๆ คือเป็นบริเวณ “โลกเก่า” (Old World) ที่ปลูกมะกอกได้.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและบริเวณเมดิเตอร์เรเนียน · ดูเพิ่มเติม »

บัตทุสที่ 4

ัตทุสที่ 4 แห่งซิเรเน (กรีก: ΒάττοςοΚαλός, ปกครองในช่วงคริิสตศตวรรษที่ 6 และ 5 ก่อนคริสตกาล) เป็นกษัตริย์เชื้อสายกรีกพระองค์ที่เจ็ดแห่งซิเรเนในราชวงศ์บัตเทียด พระองค์เป็นกษัตริย์ซิเรเนพระองค์แรกที่ถูกจักรวรรดิเปอร์เซียยึดอำนาจเอาไว้ แต่ยังคงให้พระองค์ทรงปกครองเมืองซิเรเน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและบัตทุสที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

ชายฝั่งบาร์บารี

การซื้อเชลยคริสเตียนในบาร์บารี ชายฝั่งบาร์บารี หรือ กลุ่มรัฐบาร์บารี (Barbary Coast หรือ Barbary) เป็นคำที่ใช้โดยชาวยุโรปตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่หมายถึงบริเวณชายฝั่งทางตอนกลางและทางตะวันตกของแอฟริกาเหนือที่ปัจจุบันคือโมร็อกโก, แอลจีเรีย, ตูนิเซีย และ ลิเบีย เป็นคำที่มาจากชนเบอร์เบอร์ของแอฟริกาเหนือ คำว่า “บาร์บารี” ในบริบททางตะวันตกมักจะทำให้นึกถึงโจรสลัดบาร์บารีและการค้าทาส (Barbary Slave Trade) ที่เกิดขึ้นจากการโจมตีเรือตามบริเวณที่มีการตั้งถิ่นฐานในบริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับมหาสมุทรแอตแลนติก และการจับคนเป็นทาสและค้าทาสจากยุโรปและบริเวณภูมิภาคแอฟริกาซับ-ซาฮารา (sub-Saharan Africa) บาร์บารีมักจะไม่รวมตัวกันเป็นกลุ่มการเมือง ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 บาร์บารีแบ่งเป็นโมร็อกโก, จังหวัดแทนเจียร์ (ออตโตมัน), จังหวัดทูนิส (ออตโตมัน) และ ตริโปลิตาเนีย ประมุขสำคัญของกลุ่มรัฐบาร์บารีในช่วงนี้ก็ได้แก่ปาชา (Pasha) หรือ เดย์ (Dey) แห่งอัลเจียร์ส, เบย์แห่งตูนิส และเบย์แห่งตริโปลี ผู้ต่างก็ต้องการที่จะกำจัดสุลต่านแห่งจักรวรรดิออตโตมันแต่ตามความเป็นจริงแล้วต่างก็เป็นประมุขของรัฐอิสระ ก่อนหน้านั้นบาร์บารีมักจะแบ่งระหว่างโมร็อกโกและรัฐแอลจีเรียตอนกลางตะวันตกที่มีศูนย์กลางอยู่ที่ ทเลมเชน (Tlemcen) หรือ ทิอาเรท (Tiaret) ตระกูลบาร์บารีผู้มีอิทธิพลเช่นอัลโมฮัด (Almohad) หรือฮาฟสิด (Hafsids) มักจะรวมบาร์บารีเข้าด้วยกันอยู่ได้ชั่วระยะหนึ่ง ตามทัศนคติของชาวยุโรปเมืองหลวงหรือเมืองสำคัญของบาร์บารีอยู่ที่ตริโปลีในลีเบียปัจจุบัน แม้ว่ามาราเคช (Marrakesh) ในโมร็อกโกจะเป็นเมืองที่ใหญ่กว่าและมีความสำคัญกว่า บางครั้งก็จะเห็นว่าแอลเจียร์สในแอลจีเรีย และแทนเจียร์สในโมร็อกโกก็ถือว่าเป็นเมืองหลวง ในปี ค.ศ. 1805 สหรัฐอเมริกาพยายามทำลายโจรสลัดบาร์บารี และปลดปล่อยชาวอเมริกันที่ถูกจับเป็นท.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและชายฝั่งบาร์บารี · ดูเพิ่มเติม »

บารัก โอบามา

รัก ฮูเซน โอบามา ที่ 2 (Barack Hussein Obama II; เกิด 4 สิงหาคม ค.ศ. 1961) เป็นนักการเมืองชาวอเมริกัน ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 44 ตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและบารัก โอบามา · ดูเพิ่มเติม »

ชนเบอร์เบอร์

นเบอร์เบอร์ (Berber people) เป็นกลุ่มชาติพันธ์ของแอฟริกาเหนือทางตะวันตกของลุ่มแม่น้ำไนล์ ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานกระจัดกระจายอยู่ในบริเวณตั้งแต่มหาสมุทรแอตแลนติกไปจนถึงโอเอซิสซิวา (Siwa oasis) ในอียิปต์ และจากบริเวณเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงแม่น้ำไนเจอร์ ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ซึ่งเป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาแอโฟรเอชีแอติก ในปัจจุบันชนเบอร์เบอร์บางกลุ่มพูดภาษาอาหรับ ชนเบอร์เบอร์ที่พูดภาษากลุ่มเบอร์เบอร์ในบริเวณที่ว่านี้มีด้วยกันราว 30 ถึง 40 ล้านคนที่ส่วนใหญ่ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นอยู่ในบริเวณแอลจีเรียและโมร็อกโก และเบาบางลงไปทางตะวันออกไปทางมาเกรบ (Maghreb) และเลยไปจากนั้น บริเวณของชนเบอร์เบอร์ ชนเบอร์เบอร์เรียกตนเองด้วยชื่อต่าง ๆ ที่รวมทั้ง “Imazighen” (เอกพจน์ “Amazigh”) ที่อาจจะแปลว่า “ชนอิสระ” ตามความเห็นของนักการทูตและนักประพันธ์ชาวอาหรับเลโอ อาฟริคานัส “Amazigh” แปลว่า “คนอิสระ” แต่ความเห็นนี้ก็ยังเป็นที่โต้แย้งกันเพราะไม่มีรากของความหมายของ “M-Z-Gh” ที่แปลว่า “อิสระ” ในภาษากลุ่มเบอร์เบอร์สมัยใหม่ นอกจากนั้นก็ยังมีคำภาษา Tuareg “amajegh” ที่แปลว่า “ศักดิ์ศรี” (noble) คำเรียกนี้ใช้กันทั่วไปในโมร็อกโก แต่ในบริเวณอื่นในท้องถิ่นก็มีคำอื่นที่เฉพาะเจาะจงลงไปอีกเช่น “Kabyle” หรือ “Chaoui” ที่มักจะใช้กันมากกว่า ในประวัติศาสตร์ชนเบอร์เบอร์ก็รู้จักกันในชื่อต่างๆ เช่นในลิเบียโบราณโดยชาวกรีกโบราณ ว่า “นูมิเดียน” และ “มอเนเทเนีย” โดยโรมัน และ “มัวร์” โดยชายยุโรปในยุคกลาง ภาษาอังกฤษสมัยปัจจุบันอาจจะแผลงมาจากภาษาอิตาลีหรืออาหรับแต่รากที่ลึกไปกว่านั้นไม่เป็นที่ทราบ ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันก็ได้แก่นักประพันธ์ชาวโรมันอพูเลียส (Apuleius), จักรพรรดิโรมันเซ็พติมิอัส เซเวอรัส และ นักบุญออกัสตินแห่งฮิปโป ชาวเบอร์เบอร์ที่มีชื่อเสียงในปัจจุบันคือดารานักฟุตบอลซีเนอดีน ซีดาน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและชนเบอร์เบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟ

ซัยยิดาฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟ (فاطمة الشريف) หรือ ฟาฏิมะฮ์ อัซซานูซี (فاطمة السنوسي; ค.ศ. 1911 – 3 ตุลาคม ค.ศ. 2009) เป็นพระราชินีในพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย เป็นสมเด็จพระราชินีเพียงพระองค์เดียวของลิเบียก่อนการปฏิวัติโดยพันเอกมูอัมมาร์ กัดดาฟี ในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและฟาฏิมะฮ์ อัชชะรีฟ · ดูเพิ่มเติม »

ฟาโรห์เปดูบาสท์ที่ 1

ปดูบาสท์ที่ 1 หรือ เปดูบาสทิสที่ 1 เป็นฟาโรห์ในอียิปต์บนแห่งอียิปต์โบราณในช่วงศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล ซึ่งเป็นที่รู้กันว่าเป็นคู่แข่งทางการการเมืองในอียิปต์กับฟาโรห์ทาเคลอตที่ 2 และเป็นข้อเท็จจริงที่ว่าฟาโรห์เปดูบาสท์ที่ 1 เป็นที่รู้จักครั้งแรกในฐานะของผู้ปกครองท้องถิ่นเมืองธีบส์ในปีที่ 11 ของการปกครองของฟาโรห์ทาเคลอตที่ 2 ฟาโรห์เปดูบาสท์ที่ 1 ปกครองอียิปต์เมื่อ 835 หรือ 824 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์เปดูบาสท์ได้ถูกบันทึกว่าเป็นบรรพบุรุษของชาวลิเบียและปกครองอียิปต์เป็นระยะเวลา 25 ปีตามที่มาเนโธได้กล่าวไว้ ซึ่งพระองค์สถาปนาเป็นฟาโรห์ปกครองธีบส์ในปีที่ 8 ของการครองราชย์ของฟาโรห์โชเชงค์ที่สาม และปีที่มากที่สุดของพระองค์คือปีที่ 23 ของรัชกาลของพระองค์ ซึ่งเปรียบเทียบกันก็เท่ากับปีที่ 31 ของการปกครองของฟาโรห์โชเชงค์ที่ 3 ที่เมืองทานิสจากราชวงศ์ที่ 22 แม้กระนั้นเนื่องจากฟาโรห์โชเชงค์ที่ 2 ควบคุมแค่เฉพาะอียิปต์ล่างในเมืองเมมฟิสและบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ แต่ฟาโรห์เปดูบาสท์ที่ 1 และฟาโรห์โชเชงค์ที่ 3 ไม่ใช่คู่แข่งทางการเมืองและอาจจะสร้างความสัมพันธ์ทางทูตกันขึ้น พระโอรสของโชเชงค์ที่ 3 ที่รู้จักกันว่า ปาเซดบาสท์ B ได้สร้างประตูทางเข้าที่เมืองคาร์นัก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและฟาโรห์เปดูบาสท์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติแอลจีเรีย

ฟุตบอลทีมชาติแอลจีเรีย (Algeria national football team) หรือฉายาว่า Les Fennecs (จิ้งจอกทะเลทราย) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศแอลจีเรีย อยู่ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลแห่งแอลจีเรีย (Fédération Algérienne de Football) ทีมชาติแอลจีเรียเข้าสู่รอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกได้ 2 ครั้งติดต่อกันคือในปี 1982 และ 1986 ทีมชาติแอลจีเรียยังชนะในการแข่งขันแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ ครั้งหนึ่งในปี 1990 เมื่อเป็นประเทศเจ้าภาพในการจัด และในปี 2010 ได้เข้าสู่รอบสุดท้ายฟุตบอลโลก 2010 รวมถึงในปี 2014 ได้เข้าสู่รอบสุดท้ายฟุตบอลโลก 2014.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและฟุตบอลทีมชาติแอลจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติเยเมนใต้

ฟุตบอลทีมชาติเยเมนใต้ เป็นฟุตบอลทีมชาติของประเทศ เยเมนใต้ ระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและฟุตบอลทีมชาติเยเมนใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา

ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา (Africa Futsal Cup of Nations) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ แอฟริกันฟุตซอลแชมป์เปียนชิพ จนถึงปี 2015) เป็นการแข่งขันฟุตซอลระดับนานาชาติในทวีปแอฟริกาถูกจัดขึ้นครั้งแรกในปี 1996 โดยสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (CAF) และจัดต่อกันเรื่อย4ปีครั้ง ในวันที่ 6 สิงหาคม 2015, คณะกรรมการบริหารของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกาได้เปลี่ยนชื่อทัวร์นาเมนต์นี้จากชื่อ แอฟริกันฟุตซอลแชมป์เปียนชิพ (African Futsal Championship) เป็น ฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกาหรือแอฟริกาฟุตซอลคัพออฟเนชันส์ (Africa Futsal Cup of Nations), ให้เหมือนกับ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและฟุตซอลชิงแชมป์แอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2525

ทธศักราช 2525 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1982 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปี สมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและพ.ศ. 2525 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2529

ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและพ.ศ. 2529 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2553

ทธศักราช 2553 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2010 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีแรกในคริสต์ทศวรรษที่ 2010.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและพ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2558

ทธศักราช 2558 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2015 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2015 ตามกำหนดสากลศักร.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและพ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2560

ทธศักราช 2560 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2017 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและพ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

กรีซโบราณ

กรีซโบราณ (Ancient Greece) เป็นคำที่ใช้เรียกถึงบริเวณที่มีการพูดภาษากรีกในโลกยุคโบราณ ซึ่งไม่เพียงอ้างถึงพื้นที่คาบสมุทรของกรีซยุคปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังกล่าวรวมถึงอารยธรรมกรีกโบราณซึ่งเป็นที่ตั้งรกรากถิ่นฐานโดยชาวกรีกในยุคโบราณอันได้แก่ ไซปรัส, บริเวณชายฝั่งของทะเลอีเจียนของตุรกี (หรือที่รู้จักในนามไอโอเนีย), ซิซิลีและทางใต้ของอิตาลี (หรือที่รู้จักในนามแมกนา เกรเชีย) และถิ่นฐานซึ่งกระจายออกไปของชาวกรีกตามชายฝั่งต่างๆซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศ บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ยูเครน โรมาเนีย ลิเบีย สเปน อัลแบเนีย และอียิปต.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและกรีซโบราณ · ดูเพิ่มเติม »

กลาดิอาตอร์

ส่วนหนึ่งของภาพโมเสกซลีตันจากลิเบีย แสดงภาพการต่อสู้ของเหล่ากลาดิอาตอร์ กลาดิอาตอร์ (gladiator แปลว่า "นักรบดาบ", จาก gladivs แปลว่า "ดาบ") เป็นนักสู้ติดอาวุธที่มีหน้าที่ต่อสู้เพื่อสร้างความบันเทิงแก่ผู้ชมในสมัยสาธารณรัฐโรมันและจักรวรรดิโรมัน กลาดิอาตอร์ต้องใช้ความรุนแรงในการเผชิญหน้ากับคู่ต่อสู้ที่อาจเป็นได้ทั้งกลาดิอาตอร์คนอื่น สัตว์ป่า และนักโทษที่ได้รับคำพิพากษา กลาดิอาตอร์ส่วนใหญ่เป็นทาส บุคคลที่โตมาในสภาพแวดล้อมรุนแรง หรือบุคคลที่ถูกกีดกันจากสังคม แต่ก็มีกลาดิอาตอร์บางคนที่เป็นอิสรชนซึ่งอาสาเสี่ยงชีวิตและสิทธิพลเมืองโรมันของตนเข้าแข่งขันในสังเวียน ไม่ว่ากลาดิอาตอร์จะมีเทือกเถาเหล่ากอมาจากที่ใด พวกเขาก็สามารถนำเสนอตัวอย่างหนึ่งของจริยธรรมในการต่อสู้ของโรมแก่ผู้ชม และไม่ว่าจะต่อสู้หรือตายอย่างสมศักดิ์ศรี พวกเขาก็อาจเรียกเสียงชื่นชมและยกย่องจากมวลชนได้เช่นกัน กลาดิอาตอร์ได้รับการยกย่องทั้งในศิลปะระดับบนและศิลปะระดับล่าง และคุณค่าของพวกเขาในฐานะผู้สร้างความบันเทิงก็ได้รับการเชิดชูทั้งในวัตถุมีค่าและวัตถุธรรมดา ๆ ทั่วโลกโรมัน ต้นกำเนิดการต่อสู้ของกลาดิอาตอร์นั้นยังคงเป็นที่ถกเถียง แต่มีหลักฐานที่สามารถสันนิษฐานกันได้ว่า มีจุดเริ่มต้นมาจากการแข่งขันต่อสู้ในพิธีกรรมศพที่จัดขึ้นในช่วงสงครามพิวนิกราว 300 ปีก่อนคริสต์ศักราช และได้กลายมาเป็นส่วนสำคัญทั้งในทางการเมืองและทางสังคมของชาวโรมันอย่างรวดเร็ว ความนิยมนั้นได้ส่งผลให้มีการจัดการต่อสู้ในเกมกีฬาสาธารณะที่หรูหราฟู่ฟ่ามากขึ้นด้วย การต่อสู้ของกลาดิอาตอร์นั้นยังคงมีอยู่สืบมาเกือบหนึ่งพันปี โดยเป็นที่นิยมมากที่สุดในช่วง 100 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึงคริสต์ศตวรรษที่ 2 จนกระทั่งเสื่อมความนิยมลงในช่วงต้นของคริสต์ศตวรรษที่ 5 ภายหลังจากการที่จักรวรรดิโรมันได้ประกาศให้ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาประจำรัฐใน ค.ศ. 380 อย่างไรก็ตาม การสู้กับสัตว์ก็ยังคงดำเนินมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 6 หมวดหมู่:โรมันโบราณ หมวดหมู่:การต่อสู้.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและกลาดิอาตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองเกรเนดา

การรุกรานเกรเนดา (Invasion of Grenada, Invasión de Granada),เป็นการรุกรานนำโดยสหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและการบุกครองเกรเนดา · ดูเพิ่มเติม »

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและการพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

การร้องทุกข์ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ

ตราสัญลักษณ์ศาลอาญาระหว่างประเทศ ตามความในธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court) อันเป็นสนธิสัญญาจัดตั้งศาลอาญาระหว่างประเทศนั้น บุคคลหรือองค์กรจะแจ้งความดำเนินคดีที่อยู่ในอำนาจของศาลอาญาระหว่างประเทศต่อศาลนั้นก็ได้ ถ้าบุคคลเป็นผู้ยื่น เรียกว่า "ร้องทุกข์" (complain) ถ้ารัฐภาคีศาลก็ดี หรือเลขาธิการสหประชาชาติก็ดี เป็นผู้ยื่น เรียกว่า "เสนอข้อหา" (refer) และเรียกรวมกันว่า "กล่าวโทษ" (communicate)International Criminal Court.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและการร้องทุกข์ต่อศาลอาญาระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

การทัพทะเลทรายตะวันตก

การทัพทะเลทรายตะวันตก (สงครามทะเลทราย),เกิดขึ้นในทะเลทรายของอียิปต์และลิเบียและเป็นส่วนหลักของการทัพแอฟริกาเหนือในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.การทัพได้เริ่มขึ้นเมื่อเดือนกันยายน..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและการทัพทะเลทรายตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

การทัพแอฟริกาเหนือ

การทัพแอฟริกาเหนือ (North African Campaign) ใน สงครามโลกครั้งที่สอง เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940 ถึง 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1943 ในทะเลทรายแถบแอฟริกาเหนือ ครอบคลุมพื้นที่ทะเลทรายของประเทศลิเบีย อียิปต์ (การรบในทะเลทรายตะวันตก หรือที่รู้จักกันในชื่อ"สงครามทะเลทราย") และในประเทศแอลจีเรีย โมร็อกโก (ปฏิบัติการคบเพลิง) และตูนิเซีย(การทัพตูนิเซีย) เป็นการรบระหว่างฝ่ายอักษะ นำโดยนาซีเยอรมนีและจักรวรรดิอิตาลี กับฝ่ายสัมพันธมิตร นำโดยสหราชอาณาจักรและประเทศในเครือจักรภพ ในช่วงแรก จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมฝ่ายสัมพันธมิตรตั้งแต่ ค.ศ. 1941 และร่วมรบในแอฟริกาเหนืออย่างเต็มตัวตั้งแต่วันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1942.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและการทัพแอฟริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

การทิ้งระเบิดลิเบีย (พ.ศ. 2529)

อฟ-111 บินขึ้นเพื่อเข้าร่วมการทิ้งระเบิดลิเบีย การทิ้งระเบิดลิเบียของสหรัฐอเมริก..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและการทิ้งระเบิดลิเบีย (พ.ศ. 2529) · ดูเพิ่มเติม »

การแทรกแซงทางทหารในลิเบีย พ.ศ. 2554

รือรบสหรัฐยิงขีปนาวุธโทมาฮอว์กทำลายเป้าหมายของกองกำลังฝ่ายนิยมกัดดาฟีในลิเบีย การแทรกแซงทางทหารในลิเบี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและการแทรกแซงทางทหารในลิเบีย พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การเข้าเมืองกับอาชญากรรม

การเข้าเมืองกับอาชญากรรมหมายความถึงความสัมพันธ์ที่รับรู้หรือเป็นจริงระหว่างอาชญากรรมกับการเข้าเมือง เอกสารข้อมูลวิชาการให้ข้อค้นพบคละกันสำหรับความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าเมืองและอาชญากรรมทั่วโลก การนำเสนอเกินของผู้เข้าเมืองในระบบยุติธรรมทางอาญาของหลายประเทศอาจเป็นเนื่องจากปัจจัยทางสังคมเศรษฐกิจ การจำคุกสำหรับโทษการย้ายถิ่น และการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติโดยตำรวจและระบบยุติธรรม การวิจัยเสนอว่าบุคคลมีแนวโน้มประเมินความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าเมืองและอาชญากรรมสูงเกินจริง.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและการเข้าเมืองกับอาชญากรรม · ดูเพิ่มเติม »

กำแพงฮาดริอานุส

กำแพงฮาดริอานุส (Hadrian’s Wall; Vallum Aelium (the Aelian wall)) “กำแพงฮาดริอานุส” เป็นกำแพงหินบางส่วนและกำแพงหญ้าบางส่วนที่สร้างโดยจักรวรรดิโรมันขวางตลอดแนวตอนเหนือของเกาะอังกฤษใต้แนวพรมแดนอังกฤษและสกอตแลนด์ในปัจจุบัน การก่อสร้างกำแพงเริ่มขึ้นในรัชสมัยของจักรพรรดิฮาดริอานุสในปี ค.ศ. 122 “กำแพงฮาดริอานุส” เป็นหนึ่งในสามแนวป้องกันการรุกรานอาณานิคมบริเตนของโรมัน แนวแรกเป็นแนวตั้งแต่แม่น้ำไคลด์ไปจนถึงแม่น้ำฟอร์ธที่สร้างในสมัยจักรพรรดิอากริโคลา และแนวสุดท้ายคือกำแพงอันโตนิน (Antonine Wall) แนวกำแพงทั้งสามสร้างขึ้นเพื่อ ในบรรดากำแพงสามกำแพงฮาดริอานุสเป็นกำแพงที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุดเพราะยังคงทิ้งร่องรอยไว้ให้เห็นกันในปัจจุบัน กำแพงฮาดริอานุสเป็น “กำแพงโรมัน” (limes) ของเขตแดนทางเหนือของบริเตนและเป็นกำแพงที่สร้างเสริมอย่างแข็งแรงที่สุดในจักรวรรดิ นอกจากจะใช้ในการป้องกันศัตรูแล้วประตูกำแพงก็ยังใช้เป็นด่านศุลกากรในการเรียกเก็บภาษีสินค้าด้วย กำแพงบางส่วนยังคงเหลือให้เห็นกันในปัจจุบันโดยเฉพาะส่วนกลาง และตัวกำแพงสามารถเดินตามได้ตลอดแนวซึ่งทำให้เป็นสิ่งที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวที่นิยมกันมากที่สุดแห่งหนึ่งของทางตอนเหนือของอังกฤษ กำแพงนี้บางครั้งก็เรียกกันง่ายๆ ว่า “กำแพงโรมัน” กำแพงฮาดริอานุสได้รับฐานะเป็นมรดกโลกโดยยูเนสโกในปี ค.ศ. 1987 องค์การอนุรักษ์มรดกอังกฤษ (English Heritage) ซึ่งเป็นองค์การราชการในการบริหารสิ่งแวดล้อมทางประวัติศาสตร์ของอังกฤษบรรยายกำแพงฮาดริอานุสว่าเป็น “อนุสาวรีย์ที่สำคัญที่สุดที่สร้างโดยโรมันในบริเตน”.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและกำแพงฮาดริอานุส · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับ

ษาอาหรับ (العربية; Arabic Language) เป็นภาษากลุ่มเซมิติก ที่มีผู้พูดมากที่สุด ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดพอควรกับภาษาฮีบรูและภาษาอราเมอิก โดยพัฒนามาจากภาษาเดียวกันคือภาษาเซมิติกดั้งเดิม ภาษาอาหรับสมัยใหม่ถือว่าเป็นภาษาขนาดใหญ่ แบ่งเป็นสำเนียงย่อยได้ถึง 27 สำเนียง ในระบบ ISO 639-3 ความแตกต่างของการใช้ภาษาพบได้ทั่วโลกอาหรับ โดยมีภาษาอาหรับมาตรฐานซึ่งใช้ในหมู่ผู้นับถือศาสนาอิสลาม ภาษาอาหรับสมัยใหม่มาจากภาษาอาหรับคลาสสิกซึ่งเป็นภาษาเดียวที่เหลืออยู่ในภาษากลุ่มอาหรับเหนือโบราณ เริ่มพบในพุทธศตวรรษที่ 11 และกลายเป็นภาษาทางศาสนาของศาสนาอิสลามตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 เป็นภาษาของคัมภีร์อัลกุรอาน และภาษาของการนมาซและบทวิงวอนของชาวมุสลิมทั่วโลก ชาวมุสลิมจะเริ่มศึกษาภาษาอาหรับตั้งแต่ยังเด็ก เพื่ออ่านอัลกุรอานและทำการนมาซ ภาษาอาหรับเป็นแหล่งกำเนิดของคำยืมจำนวนมากในภาษาที่ใช้โดยมุสลิมและภาษาส่วนใหญ่ในยุโรป ภาษาอาหรับเองก็มีการยืมคำจากภาษาเปอร์เซียและภาษาสันสกฤตด้วย ในช่วงยุคกลาง ภาษาอาหรับเป็นภาษาหลักในการขับเคลื่อนวัฒนธรรมโดยเฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และปรัชญา จึงทำให้ภาษาในยุโรปจำนวนมากยืมคำไปจากภาษาอาหรับ โดยเฉพาะภาษาสเปนและภาษาโปรตุเกส ทั้งนี้เพราะอารยธรรมอาหรับเคยแผ่ขยายไปถึงคาบสมุทรไอบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและภาษาอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอาหรับยิวตริโปลี

ภาษาอาหรับยิวตริโปลี (Judeo-Tripolitanian Arabic) หรือภาษาอาหรับตริโปลี-ลิเบียของชาวยิว ภาษายูดี เป็นสำเนียงของภาษาอาหรับที่พูดโดยชาวยิวที่เคยอยู่ในลิเบีย ปัจจุบันส่วนใหญ่อยู่ในอิสราเอลและอิตาลี ส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 40 ปี ภาษานี้ต่างจากภาษาอาหรับลิเบีย ที่ได้รับอิทธิพลจากสำเนียงของชาวเบดูอินน้อยกว่า อาหรับยิวตริโปลี หมวดหมู่:ภาษาอาหรับ.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและภาษาอาหรับยิวตริโปลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอิตาลี

ษาอิตาลี (Italiano หรือ lingua italiana; Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาตะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย left.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและภาษาอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาจามตะวันตก

ษาจามตะวันตก (Western Cham) หรือภาษาจามกัมพูชา ภาษาจามใหม่ มีผู้พูดทั้งหมด 253,100 คน พบในกัมพูชา 220,000 คน (พ.ศ. 2535) ในเมืองใกล้กับแม่น้ำโขง พบในไทย 4,000 คน ในกรุงเทพฯ และอาจมีตามค่ายผู้อพยพ ส่วนใหญ่เปลี่ยนมาพูดภาษาไทย สำเนียงที่ใช้พูดในไทยได้รับอิทธิพลจากตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติกมาก พบในเวียดนาม 25,000 คน โดยอยู่ในไซ่ง่อน 4,000 คน มีผู้พูดภาษานี้ในออสเตรเลีย ฝรั่งเศส อินโดนีเซีย ลิเบีย มาเลเซีย ซาอุดิอาระเบีย สหรัฐและเยเมน ภาษานี้มีความแตกต่างจากภาษาจามตะวันออกที่ใช้พูดทางภาคกลางของเวียดนาม จัดอยู่ในตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ภาษากลุ่มมาลาโย-โพลีเนเซีย สาขามาเลย์อิก สาขาย่อยอาเจะห์-จาม เขียนด้วยอักษรจามและอักษรโรมัน ผู้พูดภาษานี้นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและภาษาจามตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทัวเร็ก

ริเวณที่มีผู้พูดภาษาทัวเร็ก ภาษาทัวเร็ก (Tuareg) หรือภาษาทามาเช็ก (Tamasheq,, Tamajaq, ⵜⴰⵎⴰⵌⴰⵆ Tamahaq) เป็นภาษาใน กลุ่มภาษาเบอร์เบอร์ พูดโดยชาวทัวเร็กใน มาลี ไนเจอร์ แอลจีเรีย ลิเบีย และ บูร์กินาฟาโซ และมีผู้พูดเล็กน้อยใน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและภาษาทัวเร็ก · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์เอเชีย

แผนที่ภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชียในปี 1730 ของ Johan Christoph Homann โดยแบ่งภูมิภาคเอเชียเป็นสีต่างๆ ภาพรวมของทวีปเอเชีย ภาพทวีปเอเชีย ภูมิศาสตร์เอเชีย (Geography of Asia) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่างๆของทวีปเอเชียซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปของโลก ทวีปเอเชียเป็นทวีปที่ใหญ่ที่สุดในโลกมีขนาด 44,579,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 8.7 ของผิวโลก (ร้อยละ 30 ของส่วนที่เป็นพื้นดิน) และมีประชากรราว 3,900 ล้านคน หรือร้อยละ 60 ของประชากรมนุษย์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและภูมิศาสตร์เอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

มากัสแห่งซิเรเน

มากัสแห่งซิเรเน (กรีก: Μάγας ὁ Κυρηναῖος; ประสูติ 317 ปีก่อนคริสตกาล - สิ้นพระชนม์ 250 ปีก่อนคริสตกาล, ปกครองระหว่าง 276 - 250 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นขุนนางชาวกรีกจากอาณาจักรมาซิโดเนียและกษัตริย์แห่งซิเรเน เกิดจากการการอภิเษกสมรสครั้งที่สองของพระนางเบเรนิซที่ 1 กับปโตเลมีที่ 1 ทำให้พระองค์เป็นหนึ่งในสมาชิกของราชวงศ์ปโตเลมี พระองค์พยายามกู้อิสรภาพเมืองซิเรเน (ในปัจจุบันคือบริเวณประเทศลิเบีย) จากราชวงศ์ปโตเลมีของอียิปต์โบราณและกลายเป็นกษัตริย์ปกครองแห่งซิเรเนระหว่าง 276 ปีก่อนคริสตกาล ถึง 250 ปีก่อนคริสตศักร.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและมากัสแห่งซิเรเน · ดูเพิ่มเติม »

มุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวี

มุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวี (Muhammad Sayyid Tantawi; محمد سيد طنطاوي; 28 ตุลาคม ค.ศ. 1928-10 มีนาคม ค.ศ. 2010) ท่องจำกุรอานที่เมืองอะเล็กซานเดรีย เคยดำรงตำแหน่งอิหม่ามคนสำคัญแห่งมัสยิดอัลอัซฮัร และผู้นำสูงสุดแห่งอัซฮัร เสียชีวิตระหว่างการเดินทางเยือนกรุงริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและมุฮัมมัด ซัยยิด ฏ็อนฏอวี · ดูเพิ่มเติม »

มูอัมมาร์ กัดดาฟี

มุอัมมัร อัลก็อษษาฟี (معمر القذافي) เป็นผู้นำประเทศลิเบียโดยพฤตินัย หลังรัฐประหารในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและมูอัมมาร์ กัดดาฟี · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่กาซาลา

ทธการที่กาซาลา(ใกล้กับเมืองปัจจุบันของ Ayn al Ghazālah) เป็นการสู้รบกันในช่วงการทัพทะเลทรายตะวันตกของสงครามโลกครั้งที่สอง,ทางตะวันตกของท่าเรือของเมืองทูบลัก(Tobruk)ในประเทศลิเบีย,ตั้งแต่วันที่ 26 พฤษภาคม ถึง 21 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและยุทธการที่กาซาลา · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง

ทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง (1–27 กรฏาคม ค.ศ. 1942) เป็นการสู้รบของการทัพทะเลทรายตะวันตกของสงครามโลกครั้งที่สอง,ซึ่งได้ทำการต่อสู้รบกันบนแผ่นดินอียิปต์ระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะ (เยอรมันและอิตาลี) ของกองทัพยานเกราะแอฟริกา (Panzerarmee Afrika, ซึ่งได้รวมถึงกองทัพน้อยแอฟริกา หรือแอฟริกา คอร์) ภายใต้การบัญชาการของจอมพลแอร์วิน รอมเมิลและกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร (จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ ซึ่งได้แก่ สหราชอาณาจักร, บริติชอินเดีย, ออสเตรเลีย, แอฟริกาใต้ และ นิวซีแลนด์) ของกองทัพที่แปด ภายใต้การบัญชาการของนายพล Claude Auchinleck.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและยุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์

รัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ (Islamic State of Iraq and the Levant, ย่อ: ISIL) หรือเรียก รัฐอิสลามอิรักและซีเรีย (Islamic State of Iraq and Syria; ย่อ: ISIS), รัฐอิสลามอิรักและอัชชาม (Islamic State of Iraq and ash-Sham) หรือรัฐอิสลาม (Islamic State; ย่อ: IS) เป็นกลุ่มนักรบสุดโต่งวะฮาบีย์/ญิฮัดสะละฟีย์ซึ่งตั้งตนเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์และรัฐอิสลาม กลุ่มนี้มีชาวอาหรับนิกายซุนนีย์จากประเทศอิรักและซีเรียเป็นผู้นำและเป็นส่วนใหญ่ ในเดือนมีนาคม 2558 กลุ่มควบคุมดินแดนที่มีประชากร 10 ล้านคนในประเทศอิรักและซีเรีย และควบคุมเหนือดินแดนขนาดเล็กในประเทศลิเบีย ไนจีเรียและอัฟกานิถสานผ่านกลุ่มท้องถิ่นที่ภักดี กลุ่มนี้ยังปฏิบัติการหรือมีสาขาในส่วนอื่นของโลก รวมถึงแอฟริกาเหนือและเอเชียใต้ วันที่ 29 มิถุนายน กลุ่มตั้งต้นเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ทั่วโลก โดยมีอะบู บักร์ อัลบัฆดาดีเป็นเคาะลีฟะฮ์ และเปลี่ยนชื่อเป็นอัดเดาละฮ์ อัลอิสลามิยะฮ์ (الدولة الإسلامية, ad-Dawlah al-Islāmiyah "รัฐอิสลาม") ด้วยเป็นรัฐเคาะลีฟะฮ์ กลุ่มนี้อ้างอำนาจทางศาสนา การเมืองและทหารเหนือมุสลิมทุกคนทั่วโลก และว่า "ความชอบด้วยกฎหมายของทุก ๆ เอมิเรต กลุ่ม รัฐและองค์การเป็นโมฆะโดยการแผ่ขยายอำนาจของเคาะลีฟะฮ์และทหารของรัฐเคาะลีฟะฮ์มาถึงพื้นที่ของสิ่งเหล่านี้" สหประชาชาติถือว่า ISIL รับผิดชอบต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชนและอาชญากรรมสงคราม และองค์การนิรโทษกรรมสากลรายงานการล้างชาติพันธุ์ของกลุ่มใน "ขนาดที่ไม่เคยมีมาก่อน" สหประชาชาติ สหภาพยุโรป สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย แคนาดา อินโดนีเซีย มาเลเซีย ตุรกี ซาอุดีอาระเบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อียิปต์ อินเดียและรัสเซียประกาศให้กลุ่มนี้เป็นองค์การก่อการร้าย กว่า 60 ประเทศกำลังทำสงครามโดยตรงหรือโดยอ้อมต่อ ISIL กลุ่มนี้กำเนิดเป็น "จามาต ตอฮิด วัล ญิฮัด" (Jama'at al-Tawhid wal-Jihad) ในปี 2542 ซึ่งสวามิภักดิ์ต่ออัลกออิดะฮ์ในปี 2547 กลุ่มนี้เข้าร่วมการก่อการกำเริบอิรักให้หลังการบุกครองอิรัก พ.ศ. 2546 โดยกำลังตะวันตก ในเดือนมกราคม 2549 กลุ่มนี้เข้ากับกลุ่มก่อการกำเริบซุนนีย์อื่นตั้งเป็นสภาชูรามุญาฮิดีน (Mujahideen Shura Council) ซึ่งประกาศตั้งรัฐอิสลามอิรัก (ISI) ในเดือนตุลาคม 2549 หลังสงครามกลางเมืองซีเรียอุบัติในเดือนมีนาคม 2554 ISI โดยมีอัลบัฆดาดีเป็นผู้นำ ส่งผู้แทนไปซีเรียในเดือนสิงหาคม 2554 นักรบเหล่านี้ตั้งชื่อตัวเองเป็นญับฮะตุลนุศเราะฮฺลิอะห์ลิอัชชาม (Jabhat an-Nuṣrah li-Ahli ash-Shām) หรือแนวอัลนุสรา (al-Nusra Front) และเข้าไปในอยู่ในพื้นที่ของซีเรียซึ่งมีมุสลิมซุนนีย์เป็นส่วนใหญ่จำนวนมาก ในผู้ว่าราชการอัรร็อกเกาะฮ์ อิดลิบ เดอีร์เอซซอร์ และอะเลปโป ในเดือนเมษายน 2556 อัลบัฆดาดีประกาศรวม ISI กับแนวร่วมอัลนุสราแล้วเปลี่ยนชื่อเป็นรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ (ISIL) อย่างไรก็ดี อะบู มุฮัมมัด อัลจูลานี (Abu Mohammad al-Julani) และอัยมัน อัซเซาะวาฮิรี ผู้นำของอัลนุสราและอัลกออิดะฮ์ตามลำดับ ปฏิเสธการรวมดังกล่าว วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2557 หลังการแย่งอำนาจนานแปดเดือน อัลกออิดะฮ์เรียกกลุ่มนี้ว่า "สุดโต่งเกิน" และตัดความสัมพันธ์ทั้งหมดกับ ISIL โดยอ้างว่าไม่สามารถปรึกษาได้และไม่ยอมอ่อนข้ออย่างเปิดเผย" ในประเทศซีเรีย กลุ่มนี้ดำเนินการโจมตีภาคพื้นดินต่อทั้งกำลังรัฐบาลและกลุ่มแยกกบฏในสงครามกลางเมืองซีเรีย กลุ่มนี้มีความสำคัญหลังขับกำลังรัฐบาลอิรักออกจากนครสำคัญในภาคตะวันตกของอิรักในการรุกที่เริ่มเมื่อต้นปี 2557 การเสียดินแดนของอิรักแทบทำให้รัฐบาลอิรักล่มและทำให้สหรัฐรื้อฟื้นการปฏิบัติทางทหารใหม่ในอิรัก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรัฐในอารักขา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคดีฟอียิปต์

รัฐเคดีฟอียิปต์ (Khedivate of Egypt; خديوية مصر; ออตโตมันเติร์ก: خدیویت مصر Hıdiviyet-i Mısır) เป็นรัฐบรรณาการของจักรวรรดิออตโตมัน ปกครองโดยราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี คำว่า "เคดีฟ" (khedive) ในภาษาตุรกีออตโตมัน หมายถึง "อุปราช" ใช้ครั้งแรกโดยมูฮัมหมัด อาลี ปาชา แต่ไม่ได้รับการยอมรับจนกระทั่งถึงปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรัฐเคดีฟอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรลิเบีย

ราชอาณาจักรลิเบีย (المملكة الليبية) เดิมมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหราชอาณาจักรลิเบีย เป็นรัฐลิเบียสมัยใหม่ซึ่งได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม ค.ศ. 1951 และ สิ้นสุดลงด้วยการรัฐประหารล้มล้างระบอบราชาธิปไตยและเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1969.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและราชอาณาจักรลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรอิตาลี

ราชอาณาจักรอิตาลี (Regno d'Italia) เป็นราชอาณาจักรบนคาบสมุทรอิตาลี ซึ่งได้มีการสถาปนาขึ้นใน ค.ศ. 1861 จากการรวมตัวกันของรัฐอิตาลีหลาย ๆ รัฐภายใต้การนำของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย และดำรงอยู่ตราบจนถึงปี ค.ศ. 1946 เมื่อประชาชนชาวอิตาลีได้มีการลงประชามติให้มีการเปลี่ยนผ่านการปกครองจากระบบราชอาณาจักรไปสู่ความเป็นสาธารณรัฐ อิตาลีได้ประกาศสงครามต่อออสเตรียในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและราชอาณาจักรอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรทอเลมี

ราชอาณาจักรทอเลมี (Πτολεμαϊκὴ βασιλεία, Ptolemaic Kingdom) ตั้งอยู่ในอียิปต์ปัจจุบัน เป็นอาณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นหลังจากที่อเล็กซานเดอร์มหาราชได้รับชัยชนะต่ออียิปต์ในปี 332 ก่อนคริสต์ศักราช และสิ้นสุดลงเมื่อคลีโอพัตราสิ้นพระชนม์ เมื่อโรมันได้รับชัยชนะต่ออียิปต์ในปี 30 ก่อนคริสต์ศักราช ราชอาณาจักรทอเลมีก่อตั้งขึ้นโดยทอเลมีที่ 1 โซเตอร์ผู้ประกาศตนเป็นฟาโรห์แห่งอียิปต์ ทอเลมีสร้างอียิปต์เป็นรัฐกรีกที่มีอาณาบริเวณตั้งแต่ทางใต้ของซีเรียซีเรียไปจนถึงไซรีนในลิเบีย และทางใต้ไปถึงนิวเบีย โดยมีอเล็กซานเดรียเป็นเมืองหลวงและเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมกรีกและการค้า เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของประชาชนในอียิปต์ทอเลมีก็ประกาศตนว่าเป็นผู้ครองต่อจากฟาโรห์ ผู้ครองราชย์ต่อมารับธรรมเนียมของอียิปต์โบราณในการเสกสมรสกับพี่น้องกันเอง ปฏิบัติตัวและแต่งตัวอย่าอียิปต์ วัฒนธรรมกรีกรุ่งเรืองในอียิปต์จนกระทั่งเมื่อถูกพิชิตโดยมุสลิม ราชวงศ์ทอเลมีต้องต่อสู้กับการปฏิวัติภายในประเทศและการสงครามกับภายนอกซึ่งนำมาซึ่งความเสื่อมโทรมของอำนาจจนกระทั่งมาถูกผนวกโดยราชอาณาจักรโรมัน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและราชอาณาจักรทอเลมี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า

รายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า เป็นรหัสประเทศสามตัวอักษรกำหนดโดยฟีฟ่า สำหรับประเทศที่เป็นและไม่เป็นสมาชิกของฟีฟ่า โดยรหัสของฟีฟ่านี้จะมีใช้สำหรับการแข่งขันของฟีฟ่า รวมถึงสหพันธ์ย่อยในแต่ละทวีป และบางครั้งมีการใช้งานในการแข่งขันย่อยของแต่ละประเทศ และรหัสของประเทศจะแตกต่างกับรหัสประเทศของที่ใช้ในการแข่งขันโอลิมปิกและรหัสประเทศตามมาตรฐานไอเอสโอ รหัสของฟีฟ่าจะมีทั้งหมด 208 ประเทศ ในขณะที่รหัสของโอลิมปิกจะมี 204 ประเทศ เนื่องจาก ทีมชาติอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และ ไอร์แลนด์เหนือ แข่งขันฟุตบอลในนามของทีมชาติสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อรหัสประเทศโดยฟีฟ่า · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์

รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ไม่ได้รับการรับรองจากรัฐสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งประเทศ การขาดการรับรองทางการทูตเป็นอุปสรรคต่อหน่วย (entity) ทางภูมิรัฐศาสตร์ร่วมสมัยซึ่งปรารถนาจะได้รับการรับรองเป็นรัฐเอกราชโดยนิตินัย ในอดีต เคยมีหน่วยที่คล้ายกัน และปัจจุบันมีหน่วยที่ประกาศอิสรภาพ ซึ่งมีการควบคุมดินแดนของตนโดยพฤตินัย โดยมีการรับรองแปรผันตั้งแต่ได้รับการรับรองจากรัฐที่ได้รับการรับรองอื่นแทบทั้งหมดไปจนถึงแทบไม่มีรัฐใดรับรองเลย มีสองลัทธิแต่เดิมที่มให้การตีความว่าเมื่อใดรัฐเอกราชโดยนิตินัยควรได้รับการรับรองเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศ ทฤษฎี "ประกาศ" (declarative) นิยามรัฐเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากเป็นไปตามเกณฑ์ต่อไปนี้: 1) มีดินแดนแน่นอน 2) มีประชากรถาวร 3) มีรัฐบาล และ 4) มีความสามารถสร้างความสัมพันธ์กับรัฐอื่น ตามทฤษฎีประกาศ สภาพเป็นรัฐของหน่วยไม่ขึ้นอยู่กับการรับรองของรัฐอื่น ทว่า ทฤษฎี "ก่อตั้ง" นิยามรัฐว่าเป็นบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศหากได้รับการรับรองจากรัฐอื่นซึ่งเป็นสมาชิกประชาคมระหว่างประเทศอยู่แล้ว หลายหน่วยอ้างลัทธิข้างต้นหนึ่งหรือทั้งสองลัทธิเพื่ออ้างความชอบของการอ้างสิทธิ์สภาพเป็นรัฐของหน่วย ตัวอย่างเช่น มีหน่วยที่เป็นไปตามเกณฑ์ทฤษฎีประกาศ (คือ มีการควบคุมเหนือดินแดนที่อ้างสิทธิ์อย่างสมบูรณ์หรือบางส่วนโดยพฤตินัย มีรัฐบาลและประชากรถาวร) แต่สภาพเป็นรัฐของหน่วยเหล่านั้นไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอย่างน้อยหนึ่งรัฐ การไม่รับรองมักเป็นผลแห่งข้อขัดแย้งกับประเทศอื่นซึ่งอ้างว่าหน่วยเหล่านั้นเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของตน ในกรณีอื่น หน่วยที่ได้รับการรับรองบางส่วนสองหน่วยหรือกว่านั้นอาจอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่เดียวกัน ซึ่งแต่ละหน่วยมีการควบคุมบางส่วนของพื้นที่นั้นโดยพฤตินัย (เช่นในกรณีสาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐจีน และเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้) หน่วยซึ่งได้รับการรับรองจากรัฐส่วนน้อยของโลกปกติอ้างอิงลัทธิประกาศเพื่อสร้างความชอบธรรมแก่การอ้างสิทธิ์ของตน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา

นลสัน แมนเดลา รายการต่อไปนี้คือ รายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา เนลสัน แมนเดลา ได้รับรางวัลรวมทั้งสิ้นมากกว่า 250 รางวัลตลอดช่วงเวลา 4 ทศวรรษ รางวัลที่สำคัญที่สุดคือ รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ซึ่งได้รับเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อรางวัลและเกียรติยศของเนลสัน แมนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

มาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ประกอบไปด้วยสมาชิกถาวร 5 ประเทศ และประเทศสมาชิกไม่ถาวร 10 ประเทศ มาจากการเลือก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ

รายชื่อสนามกีฬาฟุตบอลเรียงตามความจุ นับตามจำนวนเก้าอี้ ตามข้อกำหนดฟีฟ่าขั้นต่ำ 40,000 ที่นั่ง ที่สามารถจัดการแข่งขันรายการระดับฟุตบอลโลกได้ จำนวนรายชื่อดังกล่าวมีทั้งสนามกีฬาแห่งชาติ และสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล ส่วนใหญ่จะเป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์และสนามฟุตบอล.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อสนามฟุตบอลเรียงตามความจุ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)

ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละประเทศ แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละภูมิภาค รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตของแอปเปิล.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย

โบสถ์พระคริสตสมภพ ซึ่งถือกันว่าเป็นสถานที่ประสูติของพระเยซู เป็นหนึ่งในสถานที่ที่ถูกกำหนดให้เป็นแหล่งมรดกโลก และเป็นแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย ในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิเบีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลิเบียทั้งสิ้น 5 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่

ตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรก หมายเหตุ:ในแต่ละละติจูดในแผนที่อาจทำให้พื้นที่บิดเบือนทำให้การเปรียบเทียบกันโดยแผนที่นี้อาจมีข้อผิดพลาด นี้เป็นรายชื่อรวบรวมเขตการปกครองที่ใหญ่ที่สุด 50 อันดับแรกซึ่งนำรวมพื้นที่แหล่งน้ำในเขตการปกครองนั้นๆด้ว.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อเขตการปกครองตามขนาดพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องบินพระที่นั่งในพระบรมวงศานุวงศ์ไทย

นี่คือรายชื่อเครื่องบินพระที่นั่งในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และพระบรมวงศานุวง.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายชื่อเครื่องบินพระที่นั่งในพระบรมวงศานุวงศ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามฟาโรห์

ทความนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับราชวงศ์และฟาโรห์แห่งอียิปต์โบราณ ตั้งแต่สมัยก่อนราชวงศ์ต้น เมื่อ 3100 ปีก่อนคริสตกาลจนถึงสิ้นสมัยราชวงศ์ทอเลมีเมื่ออียิปต์กลายเป็นมณฑลแห่งโรมัน อยู่ภายใต้อำนาจจักรพรรดิออกุสตุสใน 30 ปีก่อนคริสตกาล.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายพระนามฟาโรห์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งซิเรเน

ซิเรเน หรือ ซิเรไนกา เป็นอาณานิคมของกรีกบนชายฝั่งแอฟริกาเหนือในตอนเหนือของลิเบียซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยผู้ตั้งถิ่นฐานชาวโดเรียนจากเมืองธีรา (ปัจจุบันคือ เมืองซานโตรินี) เมื่อศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล กษัตริย์แห่งซิเรเนได้รับการเทิดทูนและบูชาเช่นเดียวกับของกษัตริย์โดเรียนของสปาร์ต.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งซิเรเน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐลิเบีย

ลิเบีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ลิเบีย หมวดหมู่:ประธานาธิบดีลิเบีย ลิเบีย หมวดหมู่:ชาวลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายพระนามและรายนามประมุขแห่งรัฐลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย

รายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย นี้แก้ความเชื่อและความเข้าใจผิด ๆ ที่แพร่หลายในปัจจุบัน ในประเด็นต่าง ๆ ที่น่าสนใจ โดยมีแหล่งอ้างอิงที่ได้กำหนดความเข้าใจผิดคู่กับความจริงแต่ละอย่างแล้ว ให้สังเกตว่า แต่ละรายการเขียนโดยเป็นการแก้ไข และอาจไม่ได้กล่าวถึงความเข้าใจผิดเองตรง.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายการความเข้าใจผิดที่พบบ่อย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน

ตารางต่อไปนี้เป็นรายนามของประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลทั่วโลกในปัจจุบัน แสดงประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลซึ่งมีลักษณะต่างกันออกไปตามรูปแบบการปกครอง โดยส่วนใหญ่เป็นระบบรัฐสภา ในขณะที่บางรัฐนั้นประมุขจะอยู่ในระบบประธานาธิบดีหรือเผด็จการ และบางรัฐใช้การปกครองในระบบกึ่งประธานาธิบดี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรายนามประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลปัจจุบัน · ดูเพิ่มเติม »

รูตันโวเยเจอร์

รูตันโวเยเจอร์ (Rutan Voyager หรือ Vogerger หรือ Model 76 Voyager) เป็นเครื่องบินลำแรกของโลกที่บินรอบโลกโดยไม่ได้ลงจอด และไม่ได้มีการเติมเชื้อเพลิงกลางอากาศ มีนักบิน 2 คน คือ Dick Rutan และ Jeana Yeager (ผู้หญิง ที่ไม่ได้เป็นญาติกับชักเยเกอร์ ผู้ที่บินเร็วเหนือเสียงคนแรกของโลก) ขึ้นบินจากฐานทัพอากาศเอ็ดเวิดส์ (Edwards Air Force Base) โดยใช้ทางวิ่งยาว 15,000 ฟุต (4,600 ม.) ในทะเลทราย Mojave เมื่อวันที่ 14.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและรูตันโวเยเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาป่าแอฟริกา

ลาป่าแอฟริกา (African Wild Ass) เป็นลาป่าที่อยู่ในวงศ์ Equidae เชื่อกันว่าเป็นบรรพบุรุษของลาบ้านซึ่งปกติจัดไว้อยู่ในสปีชีส์เดียวกัน อาศัยอยู่ในทะเลทรายและพื้นที่แห้งแล้งอื่นๆทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกา ในประเทศเอริเทรีย, ประเทศเอธิโอเปียและประเทศโซมาเลีย ก่อนหน้านี้ลาป่าแอฟริกามีการกระจายพันธุ์กว้างจากทางเหนือถึงตะวันตก ในประเทศซูดาน, ประเทศอียิปต์ และ ประเทศลิเบีย ปัจจุบันเหลือประมาณ 570 ตัวในป.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและลาป่าแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941)

รียงลำดับเหตุการณ์ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างวันที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 1941 แผนที่ของเขตปฏิบัติการปฏิบัติการเข็มทิศ - ธันวาคม 1940 - กุมภาพันธ์ 1941 นายพลรอมเมลในแอฟรีกาเหนือ ประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ ลงนามในกฤษฎีกาให้เช่า-ยืม ภายหลังจากได้รับการลงคะแนนเสียงจากรัฐสภาแล้ว ทหารเยอรมันขณะทำการรบในกรีซ - เมษายน 1941 พลร่มเยอรมันถูกส่งไปยังเกาะครีต - พฤษภาคม 1941 รถถังแพนเซอร์ของเยอรมนีรุดหน้าผ่านทะเลทรายเปิด เส้นทางการรุกรานของกองทัพฝ่ายอักษะในปฏิบัติการบาร์บารอสซา - มิถุนายน 1941 เชลยศึกทหารโซเวียตถูกจับกุมหลังจากยุทธการแห่งมินสก์ ทหารเกณฑ์โซเวียตในมณฑลทหารบกเลนินกราด ประธานาธิบดีโรสเวลต์และนายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์พบกันบนดาดฟ้าของเรือรบหลวง ''พรินซ์ออฟเวลส์'' ระหว่างการประชุมเพื่อลงนามกฎบัตรแอตแลนติก - 10-12 สิงหาคม 1941 สตรีชาวโซเวียตขุดสนามเพลาะรอบกรุงมอสโกเพื่อเตรียมรับการโจมตีของกองทัพเยอรมนี กองทัพเยอรมันรุกไปตามท้องถนนของเมืองคาร์คอฟ - ตุลาคม 1941 การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์: เรือประจัญบาน ''แอริโซนา'' ถูกเพลิงไหม้หลังจากถูกโจมตีโดยเครื่องบินรบญี่ปุ่น - 7 ธันวาคม 1941.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1941) · ดูเพิ่มเติม »

ลิงบาร์บารี

ลิงบาร์บารี หรือ บาร์บารีเอป หรือ มาก็อต (Barbary macaque, Barbary ape, Magot) เป็นลิงชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) จัดเป็นลิงประเภทลิงแม็กแคกชนิดหนึ่ง จัดเป็นลิงเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่พบกระจายพันธฺุ์อยู่ทางตอนเหนือของทะเลทรายสะฮารา บริเวณยิบรอลตา, โมร็อกโก และในพื้นที่อนุรักษ์ของลิเบีย รวมถึงอาจพบได้ในทวีปยุโรปทางตอนใต้ที่กับช่องแคบยิบรอลตาได้ด้วย ซึ่งก็จัดได้อีกว่าเป็นลิงเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่พบได้ในทวีปยุโรป ซึ่งตามปกติแล้ว ทวีปยุโรปจะไม่มีลิง สันนิษฐานว่า เกิดจากการนำเข้ามาในฐานะของสัตว์เลี้ยงหรือเพื่อการละเล่นละครสัตว์ ลิงบาร์บารี มีลักษณะเหมือนลิงแม็กแคกชนิดอื่น ๆ มีขนตามลำตัวเป็นสีส้มฟูหนา เป็นลิงที่ไม่มีหาง อาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง และสามารถปรับตัวให้อยู่ได้ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี โดยสามารถพบได้ทั้งในทะเลทรายที่ร้อนระอุ รวมถึงสถานที่ ๆ อากาศเหน็บหนาวอุณหภูมิติดลบ มีหิมะและน้ำแข็งได้ด้วย กินอาหารได้หลากหลายทั้งพืช, เนืิ้อสัตว์ และสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ แต่ลิงบาร์บารี มีพฤติกรรมที่แตกต่างไปจากลิงแม็กแคกชนิดอื่น ๆ คือ ตัวผู้มักจะกระเตงลูกไปไหนมาไหนด้วย และจะปกป้องดูแลลูกลิงเป็นอย่างดี จากการศึกษาพบว่า เป็นไปเพื่อการปฏิสัมพันธ์กับลิงตัวผู้ตัวอื่น ๆ โดยใช้ลูกลิงเป็นตัวเชื่อม บางครั้งจะพบลิงตัวผู้ตกแต่งขนให้กัน รวมทั้งดูแลลูกลิงซึ่งกันและกันด้วย ลิงบาร์บารี นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง โดยกลุ่มลักลอบค้าสัตว์ป่าจะจับลูกลิงประมาณ 300 ตัวจากป่าในโมร็อกโกเพื่อส่งไปขายยังตลาดสัตว์เลี้ยงในยุโรปที่เติบโตขึ้น ส่งผลเสียต่อความยั่งยืนของจำนวนประชากร ปัจจุบันมีจำนวนประชากรอยู่เพียง 6,000 ตัว ในจำนวนนี้ 4,000-5,000 ตัวอยู่ในโมร็อกโก โดยหลักฐานทางโบราณคดีพบว่า ลิงบาร์รารีถูกเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงมานานนับพันปีมาแล้ว เพราะมีการพบโครงกระดูกของลิงชนิดนี้ใต้เถ้าถ่านของเมืองปอมเปอี, ลึกลงไปในสุสานใต้ดินของอียิปต์ รวมทั้งถูกฝังใต้ยอดเขาในไอร์แลนด์ที่ซึ่งกษัตริย์อัลส์เตอร์ในยุคสำริดเคยครองบัลลังก์อีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและลิงบาร์บารี · ดูเพิ่มเติม »

ลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย

ลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย (หรือในอีกชื่อ "ยา บิลาดี" หมายถึง "ประเทศของข้า") เป็นบทเพลงซึ่งประพันธ์ทำนองโดย โมฮัมเหม็ด อับเดล วาฮับ (Mohammed Abdel Wahab) บทร้องโดย อัล บะชีร์ อัล อะเรบี (Al Bashir Al Arebi) เดิมใช้เป็นเพลงชาติของราชอาณาจักรลิเบียนับตั้งแต่ได้รับเอกราชจากอิตาลีเมื่อ ค.ศ. 1951 จนถึง ค.ศ. 1969 เนื่องจากรัฐบาลของพระเจ้าอิดริสที่ 1 แห่งลิเบีย ได้ถูกรัฐประหารโดยคณะทหารภายใต้การนำของ พันเอก มูอัมมาร์ กัดดาฟี กัดดาฟีได้นำเอาเพลงมาร์ชของอียิปต์ชื่อ "อัลลอหุ อักบัร" มาใช้เป็นเพลงชาติแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบียซึ่งสถาปนาขึ้นแทนที่รัฐบาลเดิม ตราบจนกระทั่งลิเบียได้เกิดการลุกฮือต่อต้านรัฐบาลกัดดาฟีและบานปลายไปสู่สงครามกลางเมือง ตั้งแต่ช่วงต้นปี ค.ศ. 2011 เพลง "ลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย" ก็ได้ถูกนำมาใช้เป็นเพลงสัญลักษณ์ของฝ่ายต่อต้านรัฐบาลกัดดาฟี ภายใต้การนำของสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติมาโดยตลอด เมื่อฝ่ายสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติสามารถโค่นล้มรัฐบาลกัดดาฟีได้สำเร็จในช่วงเดือนสิงหาคมของปีเดียวกัน เพลงนี้จึงได้กลับมีสถานะเป็นเพลงชาติของลิเบียอย่างเป็นทางการอีกครั้ง.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและลิเบีย ลิเบีย ลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114

ลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114 (ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น ลิเบียนแอร์ไลน์) เป็นเที่ยวบินพาณิชย์ของลิเบีย เดินทางจากทริโปลี มุ่งหน้าสู่ไคโร เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 ระหว่างทางเกิดพายุทรายทำให้ทัศนวิสัยไม่ดี นักบินจึงทำการบินด้วยระบบอิเลคโทรนิคส์ และหลงเข้าไปในเขตยึดครองของอิสราเอลเหนือคลองสุเอซ บริเวณคาบสมุทรไซนาย และถูกสกัดกั้นโดยเครื่องบินขับไล่ แฟนทอม เอฟ-4 ของกองทัพอากาศอิสราเอล และต้องร่อนลงจอดฉุกเฉินลงบนเนินทราย ทำให้มีผู้เสียชีวิต 108 คน รอดชีวิต 5 คน รวมทั้งนักบินผู้ช่วยชาวลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและลิเบียนอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 114 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1979

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1979 (1979 Men's African Volleyball Championship) จัดขึ้นในเมืองตริโปลี, ประเทศลิเบีย มี 5 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์แอฟริกา 1979 · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายทีมชาติลิเบีย

วอลเลย์บอลชายทีมชาติลิเบีย (فريق الوطني للكرة الطائرة للرجال في ليبيا) เป็นตัวแทนของประเทศลิเบีย ในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาต.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและวอลเลย์บอลชายทีมชาติลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันครู

วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1915 เป็นต้นมา ในขณะที่ประเทศอินเดียได้มีการฉลองวันเกิดของ ดร. สรวปัลลี ราธากฤษณัน ในวันที่ 5 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 เป็นต้นมา) ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ประเทศต่าง ๆ มีวันที่ที่จัดวันครูแตกต่างกัน และแตกต่างจากวันครูของสากล.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและวันครู · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การทูตกาตาร์

วิกฤตการณ์การทูตกาตาร์ เริ่มขึ้นในวันที่ 5 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและวิกฤตการณ์การทูตกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)

Tuareg forces วิกฤตการณ์ลิเบีย หมายถึงความขัดแย้งที่ยังดำเนินอยู่ในลิเบีย เริ่มขึ้นด้วยการประท้วงและการเดินขบวนครั้งใหญ่ทั่วประเทศจากกระแสอาหรับสปริงเพื่อต่อต้านรัฐบาลของมูอัมมาร์ กัดดาฟี แล้วลุกลามกลายเป็นสงครามกลางเมืองลิเบียครั้งที่หนึ่ง เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ฝ่ายกบฏสามารถควบคุมหัวเมืองและนครชายฝั่งได้หลายแห่ง โดยที่ฝ่ายที่สนับสนุนกัดดาฟียังคงควบคุมเมืองชายฝั่งบ้านเกิดของกัดดาฟี เซิร์ทและเมืองบานีวาลิคทางตอนใต้ของกรุงตริโปลี วันที่ 22 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและวิกฤตการณ์ลิเบีย (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน) · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและวิทยาศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์โลมาแม่น้ำแอมะซอน

วงศ์โลมาแม่น้ำแอมะซอน (Amazon river dolphin) เป็นวงศ์ของโลมาแม่น้ำวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Iniidae (/อิน-นิ-ดี้/) ในปัจจุบันนี้มีเพียงสกุลเดียว คือ Inia (/อิน-เนีย/) ซึ่งพบได้เฉพาะในแม่น้ำสายใหญ่ ๆ หลายสายในทวีปอเมริกาใต้เท่านั้น แต่ได้มีประชากรในวงศ์นี้อีกจำนวนหนึ่ง แต่ได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว ซึ่งพบได้ในหลายพื้นที่ เช่น ฟลอริดา, ลิเบีย และอิตาลี (ดูในเนื้อหา) โดยวงศ์นี้ถูกตั้งขึ้นชื่อ จอห์น เอ็ดเวิร์ด เกรย์ นักสัตววิทยาชาวอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1846 ในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและวงศ์โลมาแม่น้ำแอมะซอน · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะสกัดหิน

อุทยานแห่งชาติแคนยอนแลนด์ในยูทาห์ในสหรัฐอเมริกา งานสลักลายหินที่รู้จักกันว่า "Meerkatze" ที่เป็นภาพสิงโตต่อสู้กันที่ Wadi Methkandoushที่ลิเบีย ศิลปะสกัดหิน (Petroglyph หรือ Rock engravings) เป็นแผนภูมิรูปภาพ (pictogram) และ แผนภูมิโลโก (logogram) ที่สร้างโดยการสกัด, เซาะ, ถาก, แกะ หรือ ครูดหินจนเป็นภาพ นอกทวีปอเมริกาเหนือนักวิชาการมักจะใช้คำว่า "สลัก", "แกะ" หรือคำบรรยายอื่นในการบรรยายวิธีการสร้างภาพดังกล่าว ศิลปะสกัดหินพบทั่วไปในโลกและมักจะเกี่ยวข้อง (แต่ไม่เสมอไป) กับชนยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในภาษาอังกฤษคำว่า "Petroglyph" มาจากคำสองคำในภาษากรีก คำว่า "Petros" ที่แปลว่า "หิน" และ "glyphein" ที่แปลว่า "แกะสลัก" เดิมเป็นคำที่คิดขึ้นในภาษาฝรั่งเศสว่า "pétroglyphe" "ศิลปะสกัดหิน" ไม่ควรจะสับสนกับคำว่า "ศิลปะวาดบนหิน" ซึ่งเป็นภาพที่วาดบนหน้าหิน แต่ศิลปะทั้งสองแบบจัดอยู่ในกลุ่มศิลปะหิน (Rock art) หรือ ศิลปะวางหิน (Petroform) ซึ่งเป็นศิลปะของการวางก้อนหินให้เป็นลวดลายหรือทรงต่างๆ บนพื้น หรือศิลปะก่อหิน (Inukshuk) ซึ่งเป็นศิลปะที่เป็นเอกลักษณ์อีกอย่างหนึ่งที่พบเฉพาะในบริเวณอาร์กติก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและศิลปะสกัดหิน · ดูเพิ่มเติม »

สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ

ในลิเบีย สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ (National Transitional Council; المجلس الوطني الانتقالي) เป็นองค์กรที่ก่อตั้งขึ้นโดยกลุ่มผู้ก่อการกำเริบใน พ.ศ. 2554 ต่อต้านมูอัมมาร์ กัดดาฟี ประธานาธิบดีแห่งประเทศลิเบีย ตามประกาศการจัดตั้งอันมีขึ้นในเมืองเบงกาซีเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554 ด้วยวัตถุประสงค์จะให้ปฏิบัติหน้าที่เป็น "โฉมหน้าทางการเมืองของคณะปฏิวัติ" เมื่อวันที่ 5 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ

หพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ (اتحاد الجمهوريات العربية Ittiħād Al-Jumhūriyyāt Al-`Arabiyya) เป็นความพยายามรวมลิเบีย อียิปต์และซีเรียของมูอัมมาร์ อัล-กัดดาฟี แม้จะได้รับการรับรองจาก การลงประชามติเกี่ยวกับสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรั..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและสหพันธ์สาธารณรัฐอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สายการบินอัฟริคิยาห์ เที่ยวบินที่ 771

การบินอัฟริคิยาห์ เที่ยวบินที่ 771 เป็นเที่ยวบินผู้โดยสารระหว่างประเทศของสายการบินอัฟริคิยาห์แอร์เวย์ ซึ่งประสบอุบัติเหตุตกเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและสายการบินอัฟริคิยาห์ เที่ยวบินที่ 771 · ดูเพิ่มเติม »

สีกลุ่มชนอาหรับ

ธงขบวนการปฏิวัติอาหรับhttp://www.crwflags.com/fotw/flags/xo-arabc.html Pan-Arab Colours, crwflags.comMahdi Abdul-Hadi, http://www.passia.org/palestine_facts/flag/20.htm The Great Arab Revolt, passia.org ดินแดนที่ใช้สีกลุ่มชนอาหรับบนธงชาติ สีกลุ่มชนอาหรับ (Pan-Arab colors) เป็นสีที่ใช้ในธงของประเทศหรือดินแดนที่มีกลุ่มชนอาหรับอาศัยอยู่ ประกอบด้วยสีดำ ขาว เขียว แดง โดยสีดำแทนจักรวรรดิกาหลิบรอชิดีน สีขาวแทนราชวงศ์อุมัยยะฮ์ สีเขียวแทนราชวงศ์ฟาติมียะห์ และสีแดงแทนกลุ่มเคาะวาริจญ์ สีกลุ่มชนอาหรับใช้ครั้งแรกบนธงขบวนการปฏิวัติอาหรับ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและสีกลุ่มชนอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามกลางเมืองลิเบีย

งครามกลางเมืองลิเบี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและสงครามกลางเมืองลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามยมคิปปูร์

งครามยมคิปปูร์, สงครามเราะมะฎอนหรือสงครามตุลาคม (Yom Kippur War, Ramadan War, หรือ October War; หรือ מלחמת יום כיפור) เป็นสงครามรบกันระหว่างแนวร่วมรัฐอาหรับซึ่งมีประเทศอียิปต์และซีเรียเป็นผู้นำต่ออิสราเอลตั้งแต่วันที่ 6 ถึง 25 ตุลาคม 2516 การสู้รบส่วนใหญ่เกิดในคาบสมุทรไซนายและที่ราบสูงโกลัน ดินแดนซึ่งอิสราเอลยึดครองตั้งแต่สงครามหกวันเมื่อปี 2510 ประธานาธิบดีอียิปต์ อันวัร อัสซาดาต ยังต้องการเปิดคลองสุเอซอีกครั้ง ทั้งสองประเทศมิได้วางแผนเจาะจงทำลายอิสราเอล แต่ผู้นำอิสราเอลไม่อาจมั่นใจได้ สงครามเริ่มต้นเมื่อแนวร่วมอาหรับเปิดฉากจู่โจมร่วมต่อที่ตั้งของอิสราเอลในดินแดนที่อิสราเอลยึดครองในวันยมคิปปูร์ (Yom Kippur) ซึ่งเป็นวันศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในศาสนายูดาย ซึ่งในปีนั้นยังตรงกับเดือนเราะมะฎอนศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาอิสลามด้วย กำลังอียิปต์และซีเรียข้ามเส้นหยุดยิงเข้าสู่คาบสมุทรไซนายและที่ราบสูงโกลันตามลำดับ ทั้งสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียตเริ่มความพยายามส่งกำลังบำรุงแก่พันธมิตรของตนระหว่างสงคราม และนำไปสู่การเกือบเผชิญหน้ากันระหว่างอภิมหาอำนาจนิวเคลียร์สองประเทศ สงครามเริ่มต้นด้วยการข้ามคลองสุเอซครั้งใหญ่ที่สำเร็จของอียิปต์ หลังข้ามเส้นหยุดยิง กำลังอียิปต์รุดหน้าโดยแทบไม่มีการต้านทานเข้าสู่คาบสมุทรไซนาย หลังสามวันผ่านไป อิสราเอลได้ระดมพลกำลังส่วนใหญ่และหยุดยั้งการรุกของอียิปต์ ทำให้เกิดการตรึงอำนาจทางทหาร ฝ่ายซีเรียประสานงานการโจมตีที่ราบสูงโกลันให้พร้อมกับการรุกของอียิปต์ และทีแรกได้ดินแดนเพิ่มอย่างคุกคามสู่ดินแดนที่อิสราเอลถือครอง ทว่า ภายในสามวัน กำลังอิสราเอลผลักซีเรียเข้าสู่เส้นหยุดยิงก่อนสงคราม จากนั้นกำลังป้องกันอิสราเอลเปิดฉากการตีโต้ตอบสี่วันลึกเข้าไปในประเทศซีเรีย ภายในหนึ่งสัปดาห์ ปืนใหญ่อิสราเอลเริ่มระดมยิงชานกรุงดามัสกัส เมื่อประธานาธิบดีอียิปต์ซาดาตเริ่มกังวลเกี่ยวกับบูรณภาพของพันธมิตรหลักของเขา เขาเชื่อว่าการยึดจุดผ่านยุทธศาสตร์สองจุดซึ่งตั้งอยู่ลึกในไซนายจะทำให้ฐานะของเขาแข็งแรงขึ้นระหว่างการเจรจาหลังสงคราม ฉะนั้นเขาจึงสั่งให้อียิปต์กลับไปรุกอีก แต่การเข้าตีนั้นถูกขับกลับมาอย่างรวดเร็ว จากนั้นอิสราเอลตีโต้ตอบที่แนวต่อระหว่างกองทัพอียิปต์สองกองทัพ ข้ามคลองสุเอซเข้าประเทศอียิปต์ และเริ่มรุกหน้าอย่างช้า ๆ ลงใต้และไปทางตะวันตกสู่นครสุเอซในการสู้รบอย่างหนักกว่าหนึ่งสัปดาห์ซึ่งทำให้ทั้งสองฝ่ายเสียกำลังพลมาก วันที่ 22 ตุลาคม การหยุดยิงที่สหประชาชาติเป็นนายหน้าคลี่คลายอย่างรวดเร็ว โดยต่างฝ่ายต่างโทษอีกฝ่ายว่าละเมิด ในวันที่ 24 ตุลาคม อิสราเอลพัฒนาฐานะของตนอย่างมากและสำเร็จการล้อมกองทัพที่สามของอียิปต์และนครสุเอซ การพัฒนานี้นำไปสู่ความตึงเครียดระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ผลคือ มีการกำหนดการหยุดยิงครั้งที่สองด้วยความร่วมมือตั้งแต่วันที่ 25 ตุลาคมถึงสิ้นสงคราม สงครามนี้มีการส่อความกว้างขวาง โลกอาหรับซึ่งประสบความอับอายในการแตกล่าฝ่ายเดียวของพันธมิตรอียิปต์–ซีเรีย–จอร์แดนในสงครามหกวัน รู้สึกว่าได้แก้ตัวทางจิตใจจากความสำเร็จขั้นต้นในความขัดแย้งนี้ ในประเทศอิสราเอล แม้มีความสำเร็จทางปฏิบัติการและยุทธวิธีอันน่าประทับใจในสมรภูมิ แต่สงครามนี้นำให้มีการตระหนักว่าไม่มีการรับประกันว่าประเทศอิสราเอลจะครอบงำรัฐอาหรับในทางทหารได้เสมอไป ดังที่เคยเป็นมาตลอดสงครามอาหรับ–อิสราเอลครั้งที่หนึ่ง สงครามสุเอซและสงครามหกวันก่อนหน้านี้ การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ปูทางสู่กระบวนการสันติภาพต่อมา ข้อตกลงค่ายเดวิดปี 2521 ในภายหลังนำสู่การคืนคาบสมุทรไซนายให้ประเทศอียิปต์และการคืนความสัมพันธ์ ซึ่งเป็นการรับรองอิสราเอลอย่างสันติโดยประเทศอาหรับเป็นครั้งแรก ประเทศอียิปต์ยังตีตนออกห่างจากสหภาพโซเวียตต่อไปและออกจากเขตอิทธิพลโซเวียตโดยสิ้นเชิง.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและสงครามยมคิปปูร์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามยูกันดา-แทนซาเนีย

งครามยูกันดา-แทนซาเนีย (ในยูกันดาถูกอ้างถึงในชื่อสงครามปลดแอก) เป็นสงครามระหว่างประเทศยูกันดาและประเทศแทนซาเนียระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและสงครามยูกันดา-แทนซาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอาณานิคมโปรตุเกส

ทหารโปรตุเกสในแองโกลา การฝึกอบรมของทหารของ FNLA ในซาอีร์ สงครามอาณานิคมโปรตุเกส (Portuguese Colonial War,Guerra Colonial Portuguesa), ในโปรตุเกสเรียกว่า สงครามต่างแดน (Overseas War,Guerra do Ultramar) ส่วนในอดีตอาณานิคมเรียกว่าสงครามแห่งการปลดปล่อย (War of Liberation,Guerra de Libertação), คือการต่อสู้ระหว่างทหารของโปรตุเกสกับขบวนการชาตินิยมในอาณานิคมแอฟริกาของโปรตุเกสระหว่างปี พ.ศ. 2504ถึงปี พ.ศ. 2517 เกิดการรัฐประหารล้มล้างระบอบเอสตาโด โนโว เปลี่ยนแปลงในรัฐบาลนำความขัดแย้งถึงจุดสิ้นสุด ในยุโรปในช่วงปี พ.ศ. 2493 ถึง พ.ศ. 2503, ระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวของโปรตุเกสไม่ได้ยอมถอนตัวจากการเป็นอาณานิคมแอฟริกา เป็นดินแดนเหล่านั้นได้รับการเรียกร้องเอกราชตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 ในช่วงปี พ.ศ. 2503 การเคลื่อนไหวเป็นอิสระต่าง ๆ กลายเป็นกองกำลังติดอาวุธ ในแองโกลา ขบวนการประชาชนเพื่อการปลดปล่อยแองโกลา,แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติแองโกลา,สหภาพแห่งชาติเพื่อความเป็นอิสระแองโกลา ในโปรตุเกสกินี พรรคแอฟริกันเป็นอิสระของประเทศกินีและเคปเวิร์ดและในโมซัมบิก แนวร่วมปลดปล่อโมซัมบิก ในตลอดความขัดแย้งได้มีการทารุณกรรมพลเรือนที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ตลอดระยะเวลาความขัดแย้ง โปรตุเกสเผชิญกับการคว่ำบาตรทางการค้าและมีมาตรการลงโทษอื่น ๆ ที่กำหนดโดยสหประชาชาติ ปี พ.ศ. 2516 และได้โจมตีระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวว่าไม่เป็นประชาธิปไตย การสิ้นสุดของสงครามมาพร้อมกับการทำรัฐประหารปฏิวัติคาร์เนชั่นของเดือนเมษายนปี พ.ศ. 2517 ส่งผลให้ในการอพยพของประชาชนโปรตุเกส หลายพันคนออกจากอาณานิคมเริ่มถึงบุคลากรทางทหารยุโรป, แอฟริกา และเชื้อชาติผสมจากอาณานิคมและประเทศที่เพิ่งเป็นอิสระในแอฟริกา. การอพยพครั้งนี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในการโยกย้ายที่เงียบสงบใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของโลก. ซึ่งโปรตุเกสเป็นประเทศแรกที่สร้างอาณานิคมในทวีปแอฟริกาในเซวตา พ.ศ. 1958 และก็กลายเป็นประเทศสุดท้ายที่จะออกจากดินแดนในแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและสงครามอาณานิคมโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทิฟินาค

อักษรทิฟินาค (ⵜⵉⴼⵉⵏⴰⵖ, Tifinaɣ Tifinagh) พัฒนามาจากอักษรเบอร์เบอร์โบราณ คำว่า “ทิฟินาค” หมายถึงอักษรฟินิเชีย หรืออาจมาจากภาษากรีก “pínaks” หมายถึง การเขียนป้าย อักษรนี้ใช้ในการเขียนบันทึกส่วนตัว จดหมายและการประดับตกแต่ง ส่วนเอกสารในระดับสาธารณะใช้อักษรอาหรับ นักเรียนระดับประถมศึกษาในโมร็อกโกต้องเรียนภาษาทามาไซต์ด้วยอักษรชนิดนี้ตั้งแต่ เดือนกันยายน..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและอักษรทิฟินาค · ดูเพิ่มเติม »

อายุที่อยู่ในเกณฑ์สมรสได้

อายุที่อยู่ในเกณฑ์สมรสได้ (Marriageable age, Marriage age.) เป็นอายุที่บุคคลสามารถทำการสมรสได้ ไม่ว่าจะเป็นการใช้สิทธิของตนหรือเกิดจากความยินยอมของผู้ใช้อำนาจปกครอง โดยในอายุที่อยู่ในเกณฑ์และการให้ความยินยอมดังกล่าวแตกต่างไปในแต่ละประเทศ อายุที่อยู่ในเกณฑ์สมรสได้ไม่ควรจะสับสนกับ อายุในการบรรลุนิติภาวะ หรือ อายุที่ยอมให้มีการร่วมประเวณีได้.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและอายุที่อยู่ในเกณฑ์สมรสได้ · ดูเพิ่มเติม »

อาร์คแองเจิ้ล

อาร์คแองเจิ้ล (ASSAULT MOVEMENT SPECIAL EQUIPMENT WARSHIP) เป็นยานรบที่ปรากฏในอะนิเมะเรื่องกันดั้มซี้ด สร้างโดยกองทัพโลก (OMNI Enforcer) เดิมทียานลำนี้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทำการรบในขั้นแตกหักกับฝ่ายซาฟท์ โดยตัวยานนั้นนับว่าใหญ่โตกว่ายานรบมาตรฐานทั่วไป เนื่องจากมีที่เก็บโมบิลสูทถึง 5 เครื่อง แถมยังสามารถเก็บโมบิลอาร์เมอร์ได้อีก 3 เครื่อง แต่ทว่าผู้ที่ตั้งใจจะใช้ยานลำนี้กลับเสียชีวิตไปเป็นจำนวนมาก จากการจารกรรมอาวุธลับ (กันดั้ม) ของทหารฝ่ายซาฟท์ ผู้ที่เหลือรอดจึงเป็นนายทหารที่มียศไม่สูง แถมยังมาจากหลายหน่วยงานอีกด้วย แต่กัปตันเมอร์ริว และเหล่าลูกเรือก็ไม่ยอมปล่อยให้ยานลำนี้จมลง.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและอาร์คแองเจิ้ล · ดูเพิ่มเติม »

อาร์เซซิลาอุสที่ 4

อาร์เซซิลาอุสที่ 4 แห่งซิเรเน (กรีก: Ἀρκεσίλαος, ปกครองในช่วงคริสตศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล) เป็นกษัตริย์แห่งซิเรเนและกษัตริย์พระองค์ที่แปดและพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์บัตเทียด พระองค์ทำหน้าที่เป็นกษัตริย์หุ่นซึ่งอยู่ภายใต้อำนาจของจักรวรรดิเปอร์เซี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและอาร์เซซิลาอุสที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับ

กลุ่มประเทศอาหรับ อาหรับ (عربي, ʿarabi พหูพจน์ العرب al-ʿarab, Arab) คือบุคคลกลุ่มบุคคลที่มีชาติพันธุ์ พูดภาษา หรือมีวัฒนธรรมที่เรียกว่า “อาหรับ”เป็นชนชาติหนึ่งที่อาศัยในบริเวณคาบสมุทรอาหรับที่เป็นทะเลทราย รวมทั้งชนชาติที่พูดภาษาอาหรับในเอเชียตะวันตก และแอฟริกาเหนือ ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม คำว่าอาหรับในตระกูลภาษาเซมิติกแปลว่าทะเลทรายหรือผู้อาศัยอยู่ในทะเลทราย ส่วนใหญ่ดำรงชีพแบบเร่ร่อน จึงแปลคำว่าอาหรับว่าเร่ร่อนได้ด้วย ชาวอาหรับเป็นชาวเซมิติกเช่นเดียวกับชาวยิว จัดอยู่ในพวกคอเคเซอยด์ ในคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธสัญญาเก่ากล่าวว่าอับราฮัมมีลูกชาย 2 คน คนโตชื่ออิสไมส์หรืออิสมาอีลเป็นต้นตระกูลของชาวอาหรับ คนที่ 2 ชื่อไอแซกเป็นต้นตระกูลของชาวยิว ก่อนที่มุฮัมมัดจะประกาศศาสนาอิสลามชาวอาหรับจะอยู่กันเป็นเผ่า จงรักภักดีต่อเผ่าของตนมาก วิถีชีวิตของชาวอาหรับมีสองแบบ คือแบบอยู่เป็นหมู่บ้าน มีอาชีพค้าขายและทำการเกษตร อีกกลุ่มหนึ่งใช้ชีวิตแบบเร่ร่อนเรียกว่าเบดูอิน อาศัยอยู่ในกระโจมเพื่อเคลื่อนย้ายได้สะดวก ชาวเบดูอินกับชาวอาหรับที่ตั้งถิ่นฐานมักดูถูกกัน ไม่ลงรอยกัน หลังจากมุฮัมมัดประกาศศาสนาอิสลาม จึงเกิดความสามัคคีในหมูชาวอาหรับ ผู้นับถือศาสนาอิสลามในยุคแรกๆมักถูกกลั่นแกล้งและปราบปรามจึงเกิดการทำญิฮาดหรือการต่อสู้เพื่อศาสนาขึ้น ปัจจุบันประเทศที่จัดว่าเป็นประเทศอาหรับเป็นสมาชิกของสันนิบาตอาหรับ ในปัจจุบันมีสมาชิก 21 ประเทศ ได้แก่ แอลจีเรีย จิบูตี บาห์เรน อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ลิเบีย มอริตาเนีย โมร็อกโก โอมาน ปาเลสไตน์ กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย โซมาเลีย ซูดาน ซีเรีย ตูนีเซีย อียิปต์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ เยเมน ในปัจจุบันยังมีความขัดแย้งในหมู่ชาวอาหรับอยู่ เช่น ปัญหาปาเลสไตน์ ความขัดแย้งทางศาสนา เช่น ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ในเลบานอน ความขัดแย้งระหว่างชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายสุหนี่และชีอะห์ เป็นต้น ภาษาอาหรับเป็นภาษาที่เก่ากว่าวัฒนธรรมอาหรับที่เริ่มเผยแพร่ในตะวันออกกลางตั้งแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 2 เมื่ออาหรับคริสเตียนเช่นกาสนาวิยะห์ ลักห์มิยะห์ และ Banu Judham เริ่มโยกย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานในทะเลทรายซีเรียและในบริเวณลว้าน ภาษาอาหรับเพิ่มความสำคัญมากขึ้นพร้อมกับการรุ่งเรืองของศาสนาอิสลามในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ในการเป็นภาษาของอัลกุรอาน และวัฒนธรรมอาหรับก็เริ่มเผยแพร่ออกไปพร้อมกับการขยายดินแดนของอิสลาม.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

อาหรับวินเทอร์

อาหรับวินเทอร์ (Arab Winter) เป็นคำที่ใช้อธิบายสถานการณ์ความรุนแรงและความผันผวนทางการเมืองในโลกอาหรับ ซึ่งเกิดขึ้นหลัง "อาหรับสปริง" อันได้แก่ สงครามกลางเมืองซีเรีย, เหตุจลาจลในอิรัก, วิกฤตการณ์ในอียิปต์ และวิกฤตการณ์ในเยเมน รวมไปถึงความขัดแย้งอื่นๆ ในเลบานอน, ลิเบีย, ตูนิเซียและบาห์เรน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและอาหรับวินเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อิตาเลียนลิเบีย

อิตาเลียนลิเบีย หรือ ลิเบียของอิตาลี (Italian Libya, Libia Italiana) เป็นอาณานิคมรวม (unified colony) ของดินแดนแอฟริกาเหนือของอิตาลี ก่อตั้งขึนในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและอิตาเลียนลิเบีย · ดูเพิ่มเติม »

อีดี อามิน

อีดี้ อามิน (พ.ศ. 2468 - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2546) เป็นเผด็จการทหาร และประธานาธิบดีของประเทศยูกันดาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและอีดี อามิน · ดูเพิ่มเติม »

องศาโรเมอร์

องศาโรเมอร์ (ย่อ:°Ré, °Re, °R) คือหน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นขึ้นโดย เรอเน่ อังตวน เฟโชต์ เดอ โรเมอร์ (René Antoine Ferchault de Réaumur) นักวิทยาศาสตร์และนักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส ในปี ค.ศ. 1731 โดยกำหนดให้จุดเยือกแข็งของน้ำอยู่ที่ 0 องศาโรเมอร์ และจุดเดือดของน้ำอยู่ที่ 80 องศาโรเมอร์ ดังนั้นช่วงอุณหภูมิ 1 องศาโรเมอร์จะเท่ากับ 1.25 องศาเซลเซียสหรือเคลวิน เทอร์โมมิเตอร์ของโรเมอร์นั้นจะบรรจุแอลกอฮอล์เจือจางและมีหลักการคือกำหนดให้อุณหภูมิจุดเยือกแข็งของน้ำอยู่ที่ 0 องศา และขยายตัวไปตามท่อเป็นทีละองศาซึ่งคือเศษหนึ่งส่วนพันของปริมาตรที่บรรจุไว้ในกระเปาะของหลอด ณ จุดศูนย์องศา เขาเสนอว่าคุณภาพของแอลกอฮอล์ที่ใช้นั้นจะต้องเริ่มเดือดที่ 80 องศาโรเมอร์ นั่นคือ เมื่อปริมาตรแอลกอฮอล์ได้ขยายตัวไป 8% โรเมอร์เลือกแอลกอฮอล์แทนที่จะใช้ปรอทเพราะขณะที่ขยายตัวจะเห็นได้ชัดเจนกว่า แต่ปัญหาที่พบคือ เทอร์โมมิเตอร์รุ่นดั้งเดิมของเขานั้นดูเทอะทะ และจุดเดือดที่ต่ำของแอลกอฮอล์ก็ไม่ค่อยมีประโยชน์ในการใช้งานจริงเท่าใดนัก ผู้ผลิตอุปกรณ์มักจะหันไปเลือกใช้ของเหลวชนิดอื่น แล้วใช้อุณหภูมิ 80 องศาโรเมอร์เพื่อระบุจุดเดือดของน้ำแทน ซึ่งสร้างความสับสนให้กับผู้ใช้งาน ในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและองศาโรเมอร์ · ดูเพิ่มเติม »

องค์กรปลดปล่อยสหปัตตานี

งขององค์กรกู้เอกราชสหปาตานี พ.ศ 2511 - 2532 องค์กรปลดปล่อยสหปัตตานีหรือพูโล (อังกฤษ: Patani United Liberation Organization) ก่อตั้งเมื่อ 22 มกราคม พ.ศ. 2511 โดยตวนกูบีรอ กอตอนีลอ หรือ อดุลย์ ณ วังคราม บัณฑิตจากอินเดีย ได้รวมเพื่อนๆ จัดตั้งองค์กรนี้ที่ซาอุดิอาระเบีย การดำเนินงานในระยะแรกเน้นการปลุกระดมมวลชนโดยมีกลุ่มเป้าหมายที่ผู้นำศาสนาและผู้นำท้องถิ่น พูโลจัดตั้งกองกำลังติดอาวุธสำเร็จเมื่อ พ.ศ. 2519 ผู้นำกองกำลังที่สำคัญมีหลายคน เช่น หะยียูโซะ ปากีสถาน และหะยีสะมะแอ ท่าน้ำ มีการส่งเยาวชนไปฝึกวิชาทหารและการก่อวินาศกรรมที่ลิเบียและซีเรีย องค์กรเริ่มมีปัญหาจากการปราบปรามของรัฐและนโยบายใต้ร่มเย็นในช่วงหลัง จน พ.ศ. 2525 จนนำไปสู่การแตกแยกภายในองค์กร.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและองค์กรปลดปล่อยสหปัตตานี · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิแซ็ปติมิอุส แซเวรุส

ักรพรรดิแซ็ปติมิอุส แซเวรุส มีพระนามเต็มว่า ลูเชียส แซ็ปติมิอุส แซเวรุส (Septimius Severus; ชื่อเต็ม: Lucius Septimius Severus) (11 เมษายน ค.ศ. 145 – 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 211) แซ็ปติมิอุส แซเวรุสเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันของราชวงศ์เซเวอรันหลายสมัย แซ็ปติมิอุส แซเวรุสเกิดที่ในปัจจุบันเป็นประเทศลิเบียซึ่งทำให้เป็นจักรพรรดิโรมันองค์แรกที่เกิดในจังหวัดโรมันของแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและจักรพรรดิแซ็ปติมิอุส แซเวรุส · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิอะคีเมนิด

ักรวรรดิอะคีเมนียะห์ หรือ จักรวรรดิเปอร์เชียอะคีเมนียะห์ (Achaemenid Empire หรือ Achaemenid Persian Empire, هخامنشیان) (550–330 ก.ค.ศ.) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิแรกของจักรวรรดิเปอร์เชียที่ปกครองอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของเกรตเตอร์อิหร่านที่ตามมาจากจักรวรรดิมีเดีย ในยุคที่รุ่งเรืองที่สุดจักรวรรดิอะคีเมนียะห์มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 7.5 ล้านตารางกิโลเมตร ที่ทำให้เป็นจักรวรรดิที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และเป็นจักรวรรดิที่วางรากฐานของระบบการปกครองจากศูนย์กลางSchmitt Achaemenid dynasty (i. The clan and dynasty) จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งขึ้นโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราชครอบคลุมอาณาบริเวณสามทวีปที่รวมทั้งดินแดนในอัฟกานิสถาน และ ปากีสถาน, บางส่วนของเอเชียกลาง, อานาโตเลีย, เธรซ, บริเวณริมฝั่งทะเลดำส่วนใหญ่, อิรัก, ตอนเหนือของซาอุดีอาระเบีย, จอร์แดน, ปาเลสไตน์, เลบานอน, ซีเรีย และอียิปต์ไปจนถึงลิเบีย จักรวรรดิอะคีเมนียะห์เป็นศัตรูของนครรัฐกรีกในสงครามกรีซ-เปอร์เชีย เพราะไปปล่อยชาวยิวจากบาบิโลเนีย และในการก่อตั้งให้ภาษาอราเมอิกเป็นภาษาราชการ และพ่ายแพ้ต่ออเล็กซานเดอร์มหาราชในปี 330 ก่อนคริสต์ศักราช ความสำคัญทางประวัติศาสตร์โลกของจักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราชก็คือกาวางรากฐานที่ได้รับความสำเร็จของระบบการบริหารการปกครองจากศูนย์กลาง และของรัฐบาลที่มีปรัชญาในการสร้างประโยชน์ให้แก่มวลชนSchmitt Achaemenid dynasty (i. The clan and dynasty).

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและจักรวรรดิอะคีเมนิด · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิอิตาลี

ักรวรรดิอิตาลี (Italian Empire) ก่อตั้งขึ้นโดยราชอาณาจักรอิตาลี (อิตาลีสมัยใหม่ที่เกิดขึ้นจากการรวมชาติอิตาลี (Italian unification) ที่เพิ่งเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1861) โดยอิตาลีได้ร่วมมือกับมหาอำนาจอื่นๆ ในยุโรปใน “การล่าอาณานิคมในแอฟริกา” ในช่วงนี้จักรวรรดิโปรตุเกส, สเปน, เนเธอร์แลนด์, อังกฤษ และ ฝรั่งเศส ต่างก็เป็นเจ้าของอาณานิคมกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้ว ดินแดนสุดท้ายที่ยังคงเหลือสำหรับยึดเป็นอาณานิคมคือทวีปแอฟริกาเท่านั้น เมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและจักรวรรดิอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมัน

ักรวรรดิโรมันในช่วงเวลาต่างๆกัน จักรวรรดิโรมัน (Imperivm Romanvm; Ῥωμαϊκὴ Αὐτοκρατορία หรือ Ἡ Ῥωμαίων βασιλεία; Roman Empire) เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่งของอารยธรรมโรมันโบราณซึ่งปกครองโดยรูปแบบอัตตาธิปไตย จักรวรรดิโรมันได้สืบต่อการปกครองมาจากสาธารณรัฐโรมัน (510 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตาล) ซึ่งได้อ่อนแอลงหลังจากความขัดแย้งระหว่างไกอุส มาริอุสและซุลลา และสงครามกลางเมืองระหว่างจูเลียส ซีซาร์และปอมปีย์ มีวันหลายวันที่ได้ถูกเสนอให้เป็นเส้นแบ่งของการเปลี่ยนแปลงระหว่างสาธารณรัฐและจักรวรรดิ ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและจักรวรรดิโรมัน · ดูเพิ่มเติม »

จามาฮิริยา

มาฮิริยา (جماهيرية; Jamahiriya) เป็นคำในภาษาอารบิกซึ่งมีความหมายโดยทั่วไปว่า "รัฐของปวงชน" คำดังกล่าวเป็นคำสร้างใหม่ ประดิษฐ์ขึ้นโดยมูอัมมาร์ กัดดาฟี ในเดอะกรีนบุ๊ก ซึ่งมีเจตนาที่จะใช้เป็นคำทั่วไปซึ่งสามารถใช้คำว่า "สาธารณรัฐประชาชน" แทนได้ และอธิบายถึงรูปแบบความเป็นรัฐของลิเบีย ในปรัชญาการเมืองอย่างเป็นทางการของลิเบีย ระบบนี้ถือว่าแตกต่างจากประเทศอื่นในโลก ถึงแม้ว่าจะเป็นลักษณะที่เป็นจริงของทฤษฎีสากลที่สาม ซึ่งเสนอโดยกัดดาฟีซึ่งใช้กับโลกที่สามทั้งหมดก็ตาม คำดังกล่าวใช้กับลิเบียเท่านั้นในทางปฏิบัติ ถึงแม้ว่ากัดดาฟีจะไม่ถือครองตำแหน่งทางการเมืองใด ๆ ก็ตาม เขาก็ได้รับการยกย่องว่าเป็น "ภราดาผู้นำและผู้ชี้ทางแห่งการปฏิวัติ" หรือ "ผู้ชี้นำการมหาปฏิวัติวันที่ 1 กันยายน แห่งมหาสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาชนอาหรับลิเบีย" ในแถลงการณ์ของรัฐบาลหรือสื่อทางการ.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและจามาฮิริยา · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์

ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและจุดหมายปลายทางของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดผลิตน้ำมันสูงสุด

กราฟแสดงการผลิตน้ำมันโลก ทั้งข้อมูลตามประวัติและข้อมูลอนาคตตามที่คาดหมาย และตามที่เสนอโดยนักธรณีวิทยา ดร. คิง ฮับเบิร์ต ได้ถึงจุดสูงสุดที่ 1.5 ล้านล้านลิตร (12,500 ล้านบาร์เรล) ต่อปีที่ประมาณปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) การผลิตน้ำมันดิบของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งแสดงลักษณะคล้ายคลึงกับเส้นโค้งฮับเบิร์ต (Hubbert curve) แต่ให้สังเกตความแตกต่างที่เกิดขึ้นเมื่อไม่กีปีมานี้ จุดผลิตน้ำมันสูงสุด (Peak oil) เป็นเหตุการณ์ตามทฤษฎีจุดสูงสุดฮับเบิร์ต (Hubbert peak theory) ของ ดร.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและจุดผลิตน้ำมันสูงสุด · ดูเพิ่มเติม »

ธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ

รรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ (Rome Statute of the International Criminal Court) หรือเรียกโดยย่อว่า ธรรมนูญกรุงโรม (Rome Statute) เป็นสนธิสัญญาซึ่งมีเนื้อหาสาระเป็นการจัดตั้งและจัดเขตอำนาจศาลอาญาระหว่างประเทศ ธรรมนูญนี้ได้รับความเห็นชอบจากรัฐต่าง ๆ ณ การประชุมทางการทูตที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2541 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2545 โดยในเดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

ธันวาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและธันวาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติอียิปต์

งชาติอียิปต์ (علم مصر) เป็นธงสามสีซึ่งประกอบด้วยแถบสีแนวนอนขนาดเท่ากันสามแถบ เรียงลำดับเป็นสีแดง สีขาว และสีดำ จากบนลงล่าง สีทั้งสามนี้เป็นสีที่มาจากธงขบวนการปลดแอกอาหรับ ซึ่งมีประวัติความเป็นมาย้อนหลังไปถึงเหตุการณ์การปฏิวัติในอียิปต์เมื่อปี ค.ศ. 1952 ในธงดังกล่าวได้บรรจุรูปสัญลักษณ์นกอินทรีแห่งซาลาดิน อันเป็นรูปตราแผ่นดินของอียิปต์ ไว้ที่กลางแถบสีขาว ลักษณะของธงที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ได้ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ค.ศ. 1984.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและธงชาติอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอฟริกา

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปแอฟริกา ภาพถ่ายทวีปแอฟริกาจากนอกโลก แอฟริกา (Africa) เป็นทวีปที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากทวีปเอเชีย ทั้งในแง่ของพื้นที่และจำนวนประชากร ด้วยพื้นที่ประมาณ 30.2 ล้านตารางกิโลเมตร (11.7 ล้านตารางไมล์) รวมทั้งเกาะต่าง ๆ ที่อยู่ข้างเคียง ทวีปแอฟริกามีพื้นที่ประมาณร้อยละ 6 ของพื้นผิวโลกทั้งหมด และนับเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 20.4 ของพื้นดินทั้งหมดSayre, April Pulley.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลทรายสะฮารา

ทะเลทรายสะฮารา หรือ ซาฮารา หรือ สาฮารา (Sahara) เป็นทะเลทรายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นบริเวณแห้งแล้งใหญ่สุดเป็นอันดับสามรองจากทวีปแอนตาร์กติกาและอาร์กติก มีเนื้อที่มากกว่า 9,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,500,000 ตารางไมล์ คำว่า สะฮารา ในภาษาอาหรับ (صحراء) หมายถึง ทะเลทราย อาณาเขตของทะเลทรายสะฮารา ด้านทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศเหนือคือเทือกเขาแอตลาสและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันออกจรดทะเลแดงและประเทศอียิปต์ ทิศใต้จรดประเทศซูดานและหุบเขาของแม่น้ำไนเจอร์ วิดีโอที่ถ่ายในมุมมองจากอวกาศ ของ ทะเลทรายสะฮารา และ แถวตะวันออกกลาง โดยสมาชิกนักบินอวกาศในการสำรวจที่ 29.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและทะเลทรายสะฮารา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

วเทียมของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน (Mediterranean Sea) เป็นทะเลระหว่างทวีป คั่นกลางทวีปยุโรปที่อยู่ทางเหนือ ทวีปแอฟริกาที่อยู่ทางใต้ และทวีปเอเชียที่อยู่ทางตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร คำในภาษาอังกฤษ Mediterranean มาจากภาษาละติน mediterraneus หมายถึง 'ภายในแผ่นดิน' (medius 'กลาง' terra 'แผ่นดิน, โลก') ในภาษากรีกใช้ว่า "mesogeios".

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน · ดูเพิ่มเติม »

ข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1970

้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1970 (United Nations Security Council Resolution 1970) เป็นข้อมติอันคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีขึ้นโดยเอกฉันท์เมื่อวันที่ 26 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1970 · ดูเพิ่มเติม »

ดอนัลด์ รัมส์เฟลด์

อนัลด์ เฮนรี รัมส์เฟลด์ (Donald Henry Rumsfeld) เป็นนักการเมืองและนักธุรกิจชาวอเมริกัน เขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกาคนที่ 13 ภายใต้ประธานาธิบดี เจอรัลด์ ฟอร์ด และคนที่ 21 ภายใต้ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช วาระแรกที่ตำรงตำแหน่งรัฐมนตรีกลาโหมนั้น รัมส์เฟลด์ด้วยวัย 43 ปีถือเป็นรัฐมนตรีกลาโหมที่อายุน้อยที่สุดในประวัติศาสตร์สหรัฐ นอกจากนั้น เขายังเคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสหรัฐจากรัฐอิลลินอยส์, ผู้อำนวยการสำนักงานโอกาสทางเศรษฐกิจ, ที่ปรึกษาประธานาธิบดี, ผู้แทนถาวรสหรัฐประจำนาโต้ และ เสนาธิการทำเนียบขาว.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและดอนัลด์ รัมส์เฟลด์ · ดูเพิ่มเติม »

ดาการ์แรลลี

การ์แรลลี หรือ เดอะ ดาการ์ ในอดีตรู้จักกันในชื่อ ปารีส-ดาการ์ เป็นการแข่งขันรถประจำปี ที่จัดการแข่งขันโดยองค์กรกีฬาอามอรี (Amaury Sport Organisation - ASO) บริษัทสัญชาติฝรั่งเศสที่ก่อตั้งโดยฟิลิปเป อามอรี จัดการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1978 เส้นทางการแข่งขันส่วนใหญ่เริ่มต้นจากปารีส ประเทศฝรั่งเศส มีเส้นทางผ่านภูมิประเทศทุรกันดารหลากหลายชนิดทั้งทะเลทราย บ่อโคลน ทุ่งหญ้า ทุ่งหิน หุบผาสูงชัน เนินทรายในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ไปสิ้นสุดที่ดาการ์ ประเทศเซเนกัล แต่หลังจากเกิดเหตุการณ์สังหารนักท่องเที่ยวชาวฝรั่งเศสในประเทศมอริเตเนียในช่วงปลายปี 2007 โดยกลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะฮ์ ทำให้เกิดความกังวลเรื่องความปลอดภัยของผู้ร่วมแข่งขัน จนต้องงดการแข่งขันในช่วงต้นปี 2008 และย้ายการแข่งขันไปจัดในทวีปอเมริกาใต้ ที่อาร์เจนตินาและชิลี ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและดาการ์แรลลี · ดูเพิ่มเติม »

ดาวเทียมไทยคม

วเทียมไทยคม เป็นโครงการ ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อให้บริการสื่อสารผ่านช่องสัญญาณดาวเทียม ซึ่งกระทรวงคมนาคม (ในขณะนั้น) ต้องการจัดหาดาวเทียมเพื่อรองรับการขยายตัวด้านการสื่อสารของประเทศอย่างรวดเร็ว แต่ในเวลานั้นประเทศไทยยังไม่มีดาวเทียมเป็นของตนเอง และต้องทำการเช่าวงจรสื่อสารจากดาวเทียมของประเทศต่างๆ ทำให้ให้เกิดความไม่สะดวกและสูญเสียเงินออกนอกประเทศเป็นจำนวนมาก แต่เนื่องจากการจัดสร้างดาวเทียมต้องใช้เงินลงทุนสูงมากจึงได้มีการเปิดประมูลเพื่อให้สัมปทานแก่บริษัทเอกชนเข้ามาดำเนินการแทนการใช้งบประมาณจากภาครัฐ และ บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ชินแซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของ บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานเมื่อ พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา เป็นระยะเวลา 30 ปี (ปัจจุบันอำนาจการดูแลสัญญาโอนไปที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ชื่อ "ไทยคม" (Thaicom) เป็นชื่อพระราชทาน ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน โดยย่อมาจาก Thai Communications ในภาษาอังกฤษ.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและดาวเทียมไทยคม · ดูเพิ่มเติม »

ดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิม

อินโนเซนส์ออฟมุสลิม เป็นภาพยนตร์อิสระ เกี่ยวกับศาสนาและการเมือง เข้าใจว่าเขียนและกำกับโดย นาคูลา เบสลีย์ นาคูลา (Nakoula Basseley Nakoula) โดยใช้ชื่อแฝงว่า "แซม บาซิล" (Sam Bacile) นอกจากนี้ ยังอ้างว่าเป็นนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชาวอิสราเอล-ยิว มีรายงานภายหลังว่า เขาเป็นชาวอียิปต์โดยกำเนิด นับถือศาสนาคริสต์นิกายคอปติก และในอดีตเคยใช้สมนามมาแล้วหลายชื่อ เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและดิอินโนเซนส์ออฟมุสลิม · ดูเพิ่มเติม »

ดูไบ

ูไบ (دبيّ, Dubayy; Dubai) เป็นนครใหญ่สุดของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีพื้นที่ประมาณ 4,000 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 2 ล้านคน เมืองดูไบถือได้ว่าเป็นเมืองท่าที่สำคัญแห่งหนึ่งบนโลก และมีอัตราการเจริญเติบโตของเมืองสูงมาก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและดูไบ · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1980

ริสต์ทศวรรษ 1980 (1980s) หรือยุคเอจตี้ส์ เป็นทศวรรษที่เริ่มต้นตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1980 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 1989 เป็นช่วงเวลาที่เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทั่วไปอย่างความร่ำรวย การผลิตที่เปลี่ยนไปสู่ยุคเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรม เศรษฐกิจเสรีที่พัฒนาไปทั่วโลก บริษัทข้ามชาติทางด้านอุตสาหกรรมที่เข้าสู่ประเทศอย่าง ประเทศไทย มาเลเซีย เม็กซิโก เกาหลีใต้ ไต้หวัน ประเทศจีน และเศรษฐกิจตลาดใหม่ในยุโรปตะวันออก ตามมาด้วยการล่มสลายของคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก ประเทศญี่ปุ่นและเยอรมนีถือเป็นประเทศที่เห็นเด่นชัดว่าพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วตลอดทศวรรษนี้ ประเทศกำลังพัฒนาทั่วโลกมีประสบความยากลำบากด้านความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจและสังคม ที่ประเทศเหล่านั้นพบกับปัญหาหนี้สินในคริสต์ทศวรรษ 1980 ประเทศเหล่านี้ต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศและธนาคารโลก ประเทศเอธิโอเปียประสบปัญหาความยากจนในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 ผลคือประเทศต้องการความช่วยเหลือจากต่างชาติในด้านอาหารกับประชากรและทั่วโลกต่างกันช่วยหาเงินช่วยเหลือต่อชาวเอธิโอเปีย อย่างเช่นคอนเสิร์ตไลฟ์เอด ในปี 1985 ที่จัดขึ้นเพื่อหาเงินดังกล่าว ปัญหาด้านสงคราม เกิดความรุนแรงในตะวันออกกลาง อย่างสงครามอิรัก-อิหร่าน และความขัดแย้งในเลบานอนช่วงปี 1982 ถึง 1983 และกองทัพอเมริกันเข้าบุกลิเบียในปี 1985 และ Intifada ในฉนวนกาซาและเวสต์แบงก์ คริสต์ทศวรรษ 1980 ยังเป็นยุคที่มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรอย่างมาก ไปทั่วโลก มากกว่าแม้ในคริสต์ทศวรรษ 1970 และคริสต์ทศวรรษ 1990 มีอัตราการเติบโตของจำนวนประชากรมากขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะชาวแอฟริกา ตะวันออกกลาง และเอเชียใต้ ตลอดทศวรรษ ด้วยอัตราการเพิ่มใกล้หรือมากกว่า 4% ต่อปี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและคริสต์ทศวรรษ 1980 · ดูเพิ่มเติม »

คลื่นความเย็นในทวีปยุโรป พ.ศ. 2555

นี่คือรายชื่อของ ผลกระทบจากอากาศหนาวจั..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและคลื่นความเย็นในทวีปยุโรป พ.ศ. 2555 · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตรา

ลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลพาเธอร์ (Κλεοπάτρα θεά φιλοπάτωρ; หรือรู้จักทั่วไปในนาม คลีโอพัตรา) (มกราคม ปีที่ 69 ก่อนคริสตกาล – 30 พฤศจิกายน ปีที่ 30 ก่อนคริสตกาล) เป็นพระราชินีแห่งอียิปต์โบราณและเชื้อพระวงศ์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทอเลมีแห่งมาซิโดเนีย ดังนั้นจึงเป็นผู้ปกครองอียิปต์ที่มีเชื้อสายกรีกคนสุดท้าย บิดาของพระนางคือทอเลมีที่ 12 ออเลติส และคาดว่าพระมารดาเป็นเชษฐภคินีของโอเลเตส ทรงพระนามว่า คลีโอพัตราที่ 5 ทรีฟาเอนา ชื่อ "คลีโอพัตรา" เป็นภาษากรีก แปลว่า "ความเจริญรุ่งเรืองของบิดา" พระนามเต็มของพระนางคือ "คลีโอพัตรา เธอา ฟิโลปาตอร์" ซึ่งหมายถึง "เทพีคลีโอพัตรา ผู้เป็นที่รักของบิดา" พระนางมีพระปรีชาสามารถมาก ทรงแตกฉานถึง 14 ภาษา เช่น ฮิบรู, ละติน, มาเซดอนโบราณ, เอธิโอเปียน, ซีเรีย, เปอร์เซีย, และ อียิปต์ ซึ่งแม้แต่ในราชวงศ์ น้อยคนนักที่จะแตกฉานภาษานี้ ปัจจุบัน คลีโอพัตราที่ 7 ฟิโลปาตอร์ นับว่าเป็นผู้ปกครองอียิปต์โบราณที่มีชื่อเสียงมากที่สุด นิยมเรียกพระนามสั้น ๆ ว่า คลีโอพัตรา ซึ่งทำให้ราชินีองค์ก่อน ๆ ที่ทรงพระนามคล้ายคลึงกัน ลบเลือนไปสิ้น ในความเป็นจริง พระนางไม่เคยปกครองอียิปต์เพียงลำพัง แต่ครองราชย์ร่วมกับพระบิดา, พระอนุชา, สวามีผู้เป็นอนุชาของพระองค์ หรือไม่ก็พระโอรส การครองราชย์ร่วมกันดังกล่าวมีผู้ร่วมบัลลังก์เป็นเพียงกษัตริย์ตามพระยศเท่านั้น อำนาจแท้จริงอยู่ในมือของคลีโอพัตราเองทั้งสิ้น.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและคลีโอพัตรา · ดูเพิ่มเติม »

คลีโอพัตรา เซเลเนที่ 2

ลีโอพัตรา เซเลเนที่ 2 (กรีก: Κλεοπάτρα Σελήνη; ประสูติ 40 ปีก่อนคริสตกาล - 6 ปีก่อนคริสตกาล) และยังเป็นที่รู้จักกันในนาม คลีโอพัตราที่ 8 แห่งอียิปต์หรือคลีโอพัตราที่ 8 เป็นเจ้าหญิงแห่งราชวงศ์ปโตเลมีและเป็นพระราชธิดาพระองค์เดียวของพระนางคลีโอพัตรา กับแม่ทัพมาร์ค แอนโทนี พระองค์มีพระเชษฐาฝาแฝดนามว่า เจ้าชายอเล็กซานเดอร์ เฮลิออส ชื่อที่สองของพระองค์เป็นภาษากรีกโบราณและสมัยใหม่หมายถึง ดวงจันทร์และยังหมายถึงเทพธิดาไททันนามว่า เซลีนี ซึ่งเป็นพระเชษฐาของพระองค์นามว่า เฮลิออส ซึ่งหมายถึงดวงอาทิตย์ และเทพไททันแห่งดวงอาทิตย์นามว่า เฮลิออส พระองค์มีเชื้อสายชาวกรีก-โรมัน พระองค์ทรงประสูติ ได้รับการเลี้ยงดูและการศึกษาในเมืองอเล็กซานเดรียในอียิปต์ พระองค์เป็นผู้ปกครองแห่งซิเรเนและลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและคลีโอพัตรา เซเลเนที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534

วามพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและความพยายามรัฐประหารในสหภาพโซเวียต พ.ศ. 2534 · ดูเพิ่มเติม »

คำสั่งของฝ่ายบริหารที่ 13769

ประธานาธิบดีสหรัฐดอนัลด์ ทรัมป์ กำลังลงนามคำสั่ง ขนาบโดยรองประธานาธิบดีไมก์ เพนซ์ (''ซ้าย'') และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เจมส์ แมตทิส (''ขวา'') แผนที่ประเทศที่ได้รับผลกระทบจากคำสั่งดังกล่าว ประธานาธิบดีดอนัลด์ ทรัมป์ลงนามคำสั่งของฝ่ายบริหารชื่อ การคุ้มครองชาติจากการเข้าเมืองสหรัฐของผู้ก่อการร้ายต่างด้าว (Protecting the Nation from Foreign Terrorist Entry into the United States) หรือคำสั่งของฝ่ายบริหารที่ 13769 เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2560 คำสั่งนี้จำกัดทั้งการท่องเที่ยวและการเข้าเมืองของบุคคลจากประเทศซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นมุสลิมหลายประเทศในตะวันออกกลางและทวีปแอฟริกา คำสั่งนี้ยับยั้งโครงการการรับผู้ลี้ภัยสหรัฐ (U.S. Refugee Admissions Program) เป็นเวลา 120 วันตลอดจนการเข้าเมืองของบุคคลจากประเทศลิเบีย อิหร่าน อิรัก โซมาเลีย ซูดาน ซีเรียและเยเมน โดยไม่เว้นสถานภาพตรวจลงตราหรือผู้เข้ามามีถิ่นที่อยู่ถาวรเป็นเวลา 90 วัน โดยมีการยกเว้นเป็นกรณี ๆ ไป วันที่ 28 มกราคม มีประเมินว่า ผู้เดินทาง 100–200 คนที่เข้าเมืองสหรัฐถูกกักตัวเนื่องจากคำสั่งนี้ และอีกหลายร้อยคนถูกห้ามขึ้นเที่ยวบินที่มุ่งหน้าสู่สหรัฐ คำสั่งนี้ก่อให้เกิดการวิจารณ์จากนานาประเทศ การประท้วงที่ท่าอากาศยานนานาชาติจอห์น เอฟ. เคนเนดีในรัฐนิวยอร์ก และที่ท่าอากาศยานอื่นของสหรัฐ และคดีความจากสหภาพเสรีภาพพลเมืองอเมริกัน ศาลกลางแห่งหนึ่งในนครนิวยอร์กยับยั้งคำสั่งดังกล่าวบางส่วนชั่วคราวในวันที่ 28 มกราคม 2560 แต่ศาลมิได้อนุญาตให้ผู้ได้รับผลกระทบเข้าประเทศหรือวินิจฉัยเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของตัวคำสั่ง วันที่ 29 มกราคม 2560 ศาลกลางอีกแห่งหนึ่งในบอสตันห้ามการควบคุมตัวผู้ที่ได้รับกระทบ "ซึ่งหากไม่เป็นผลจากคำสั่งของฝ่ายบริหารนี้จะได้รับอนุญาตตามกฎหมายให้เข้าเมืองสหรัฐได้" เป็นการชั่วคราว คำสั่งศาลดังกล่าวช่วยฟื้นฟูความสามารถแก่ผู้เข้าเมืองชอบด้วยกฎหมายจากชาติที่ถูกห้ามเจ็ดชาติให้เข้าเมืองสหรัฐได้.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและคำสั่งของฝ่ายบริหารที่ 13769 · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูต

ณะผู้แทนทางทูต (diplomatic mission) หรือ คณะผู้แทนต่างชาติ (foreign mission) เป็นกลุ่มบุคคลจากรัฐหรือองค์การหนึ่ง (เรียกว่า ผู้ส่ง) ซึ่งไปอยู่ในอีกรัฐหนึ่ง (เรียกว่า ผู้รับ) เพื่อเป็นปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นทางการในรัฐผู้รับ แทนรัฐหรือองค์การผู้ส่ง ในทางปฏิบัติแล้ว คณะผู้แทนทางทูตมักได้แก่กลุ่มผู้แทนที่มาพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ กลุ่มหลัก คือ คณะเอกอัครราชทูต (embassy) แต่สถานที่พำนักไม่จำเป็นต้องเป็นเมืองหลวงของรัฐผู้รับเสมอไป ส่วนคณะกงสุล (consulate) เป็นคณะผู้แทนทางทูตที่มีขนาดเล็กกว่าคณะเอกอัครราชทูต และมักตั้งอยู่นอกเมืองหลวง (แต่อาจตั้งอยู่ในเมืองหลวงได้ ถ้าไม่มีคณะเอกอัครราชทูตในเมืองหลวง) คณะผู้แทนถาวรซึ่งไม่พำนักอยู่ในรัฐผู้รับก็มี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและคณะผู้แทนทางทูต · ดูเพิ่มเติม »

ตกสิบหยิบล้าน Still Standing Thailand

ตกสิบหยิบล้าน Still Standing Thailand เป็นรายการเกมโชว์แนวควิซโชว์ที่ผู้เข้าแข่งขัน 1 คนจะต้องทำการแข่งขันกับนักสู้ทั้ง 10 คน โดยมีรูปแบบต้นฉบับมาจากรายการ "Lauf al Hamiliyon" ในประเทศอิสราเอล และบริษัท เซ้นส์ เอนเตอร์เทนเมนท์ จำกัด ซื้อลิขสิทธิ์รายการนี้จาก NBCUniversal International Television Formats และ Armoza Formats ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 โดยมีวราวุธ เจนธนากุลเป็นผู้ดำเนินรายการ.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและตกสิบหยิบล้าน Still Standing Thailand · ดูเพิ่มเติม »

ตริโปลิเตเนีย

ตริโปลิเตเนียในประเทศลิเบีย(สีเขียว) ตริโปลิเตเนีย หรือ ตริโปลิตานา (Tripolitania หรือ Tripolitana; طرابلس, Ṭarābulus) เป็นภูมิภาคในประวัติศาสตร์และอดีตจังหวัดของลิเบียที่ตั้งติดกับภูมิภาคไซเรไนกา (Cyrenaica) และภูมิภาคเฟซซัน (Fezzan) เขตปกครองนี้ยุบเลิกไปเมื่อต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 และถูกแทนที่ด้วยเขตปกครองที่มีขนาดย่อมกว่า ซึ่งก็มีการเปลี่ยนแปลงอีกหลายครั้งต่อมา ในระบบเดิมนั้น ตริโปลิเตเนียรวมตริโปลีเมืองหลวงของลิเบียและบริเวณทางตะวันตกเฉียงเหนือไว้ด้วย แต่เขตการปกครองในปัจจุบันแตกต่างจากเดิมเป็นอันมาก ฉะนั้นคำว่า “ตริโปลิเตเนีย” จึงหมายถึงภูมิภาคในประวัติศาสตร์มากกว่าที่จะหมายถึงดินแดนในปัจจุบัน ในภาษาอาหรับคำเดียวกัน (طرابلس) หมายความได้ทั้งเมืองและภูมิภาค ถ้าใช้โดยไม่มีคำขยายก็จะหมายถึงเมืองเท่านั้น ถ้าจะใช้คำว่า “ตริโปลิเตเนีย” ในภาษาอาหรับ ก็ต้องใช้คำนำหน้าเช่น “รัฐ” “จังหวัด” หรือ “sha'biyah” ประกอบด้วย หมวดหมู่:ภูมิภาคในประวัติศาสตร์ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศลิเบีย.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและตริโปลิเตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ตริโปลี

ตริโปลีในแผนที่ พีรี่ รีส ตริโปลี (طرابلس, ภาษาอาหรับลิเบีย:, ภาษาเบอร์เบอร์: Ṭrables, มาจาก Τρίπολις "สามเมือง") เป็นเมืองใหญ่ที่สุดและ เมืองหลวงของลิเบีย บางครั้งจะเรียกว่าตริโปลีตะวันตก (طرابلس الغرب) เพื่อให้ต่างจากตริโปลีในเลบานอน ตริโปลีมีประชากร 1,065,405 (พ.ศ. 2549)ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ อยู่ที่ขอบของทะเลทราย เป็นส่วนของแผ่นดินที่ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ตรงบริเวณที่เป็นอ่าว ชาวฟินิเซียก่อตั้งเมืองตริโปลีขึ้นเมื่อ 700 ปีก่อนคริสตกาล โดยตั้งชื่อว่า "เอีย" ตริโปลีเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุด มีท่าเรือ และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยแห่งลิเบีย เนื่องจากเป็นเมืองที่มีประวัติยาวนาน จึงมีแหล่งโบราณคดีในเมืองมากมาย มีภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน คือ อากาศร้อน ฤดูร้อนแล้ง ฤดูหนาวฝนตก.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและตริโปลี · ดูเพิ่มเติม »

ตริโปลี (เลบานอน)

ทิวทัศน์ของตริโปลี ตริโปลี (ภาษาอาหรับมาตรฐาน: طرابلس, และ طَرَابُلُس, Τρίπολις Tripolis)เป็นเมืองในเลบานอน ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของบัตรูนและแหลมลิโทโพรโซปอน ตริโปลีเป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าเลบานอนเหนือและเขตตริโปลี (ในเลบานอน เขตผู้ว่าเป็นหน่วยการปกครองที่ใหญ่กว่าประกอบด้วยเขตเป็นหน่วยย่อย) เมืองตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเบรุต 85 กม.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและตริโปลี (เลบานอน) · ดูเพิ่มเติม »

ตะวันออกกลาง

แผนที่แสดงที่ตั้งของประเทศต่าง ๆ ในตะวันออกกลาง ตะวันออกกลาง คือ พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ซึ่งประกอบด้วยดินแดนรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางด้านใต้และตะวันออก ซึ่งเป็นอาณาบริเวณที่ต่อเนื่องจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกไปยังอ่าวเปอร์เซีย เอเชียตะวันออกกลางเป็นอนุภูมิภาคของแอฟริกา-ยูเรเชีย หรือให้เฉพาะเจาะจงลงไปก็คือทวีปเอเชีย และบางส่วนของแอฟริกา สามวัฒนธรรมหลักของภูมิภาคเอเชียตะวันออกกลางได้แก่ วัฒนธรรมเปอร์เซีย วัฒนธรรมอาหรับ และวัฒนธรรมตุรกี อิทธิพลของวัฒนธรรมทั้งสามนี้ ได้ก่อกำเนิดเชื้อชาติและภาษาที่แตกต่างกันสามกลุ่ม คือ เปอร์เซีย เตอร์กิกและอาหรั.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและตะวันออกกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ซาจิตต้า เทรมี่

ซาจิตต้า เทรมี่ (ญี่ปุ่น: 矢座(サジッタ)Sajitta no Toremī เป็นหนึ่งในซิลเวอร์เซนต์จากตัวละครเรื่องเซนต์เซ.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและซาจิตต้า เทรมี่ · ดูเพิ่มเติม »

ซิเรเน

วเรเน หรือ ซิเรเน (Cyrene) เป็นเมืองกรีกโบราณที่มีอายุมากที่สุด และมีความสำคัญมากที่สุดในบรรดาเมืองของกรีกทั้ง 5 เมืองในลิเบียตะวันออก ภูมิภาคนี้ถูกตั้งชื่อตามชื่อเมืองว่า ไซรีนิกา (Cyrenaica) และยังคงใช้ชื่อนี้อยู่จนปัจจุบัน เมืองนี้ตั้งอยู่ในหุบเขาอันอุดมสมบูรณ์ในที่ราบสูง Jebel Akhdar.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและซิเรเน · ดูเพิ่มเติม »

ซุคฮอย

Sukhoi Superjet 100 (Campeche, Mexico) 2015 ซุคฮอย (Sukhoi, Сухой) เป็นผู้ผลิตเครื่องบินรายใหญ่ของรัสเซียมีที่มีชื่อเสียงจากเครื่องบินขับไล่ มันถูกก่อตั้งโดยพาเวล ซุคฮอยเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและซุคฮอย · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการครูเซเดอร์

ปฏิบัติการครูเซเดอร์ เป็นปฏิบัติการทางทหารในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองโดยกองทัพที่แปดของอังกฤษเข้าปะทะกับกองกำลังฝ่ายอักษะในแอฟริกาเหนือในช่วงระหว่างวันที่ 18 พฤศจิกายน และ 30 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและปฏิบัติการครูเซเดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการเข็มทิศ

ปฏิบัติการเข็มทิศ เป็นปฏิบัติการใหญ่ครั้งแรกของฝ่ายสัมพันธมิตรในการทัพทะเลทรายตะวันตกระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง กำลังอังกฤษและเครือจักรภพอื่นโจมตีกองทัพอิตาลีทางตะวันตกของอียิปต์และทางตะวันออกของลิเบียระหว่างเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและปฏิบัติการเข็มทิศ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อานาโตเลีย

ประวัติศาสตร์อานาโตเลียกล่าวถึงดินแดนที่เรียกว่าอานาโตเลียหรือเอเชียไมเนอร์ ซึ่งเป็นดินแดนทางตะวันตกของทวีปเอเชีย ในทางภูมิศาสตร์หมายถึงดินแดนส่วนใหญ่ของประเทศตุรกีในปัจจุบัน จากทะเลอีเจียนซึ่งเป็นขอบเขตทางตะวันตกจนถึงภูเขาชายแดนประเทศอาร์มีเนียทางตะวันออก และเทือกเขาทะเลดำทางเหนือจนถึงเทือกเขาเทารัสทางใต้ โดยสภาพทางภูมิศาสตร์ อานาโตเลียเป็นเสมือนสะพานที่เชื่อมระหว่างยุโรปและเอเชียตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ ดินแดนแห่งนี้จึงเป็นเส้นทางสำหรับการเดินทางไปมาระหว่างยุโรปและเอเชีย ตลอดระยะเวลากว่า 4 ถึง 5,000 ปีที่ผ่านมา มีชนหลายเผ่าพันธุ์เดินทางเข้ามายังอานาโตเลียและได้ตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนของตนบนดินแดนแห่งนี้ อาณาจักรของชนเหล่านี้ได้พัฒนาเจริญรุ่งเรืองและในที่สุดก็ต้องล่มสลายไปตามกาลเวลา ความเก่าแก่และหลากหลายของอารยธรรมที่เคยเจริญรุ่งเรืองบนผืนแผ่นดินแห่งนี้เป็น 1 ใน 3 สิ่งที่ชาวตุรกีมีความภาคภูมิใจเป็นพิเศษสำหรับดินแดนอันเป็นประเทศตนในปัจจุบัน ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่ราบสูงอานาโตเลียเคยเป็นที่อาศัยของมนุษย์มาตั้งแต่ยุคหิน ยุคประวัติศาสตร์ของอานาโตเลียเริ่มต้นขึ้นในยุคโลหะ ประมาณ 3,000 - 1,200 ก่อนคริสตกาล หากมองย้อนหลังไปในยุคดังกล่าวกลับมาจนถึงยุคปัจจุบันจะพบว่าอานาโตเลียมีลักษณะพิเศษที่ไม่เหมือนดินแดนอื่นใดในโลกคือ เป็นดินแดนที่มีอารยธรรมที่เก่าแก่และหลากหลายของชนหลายกลุ่มซึ่งได้ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครองดินแดนแห่งนี้.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประวัติศาสตร์อานาโตเลีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชาด

(Tchad; تشاد, Tshād) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในแอฟริกากลาง มีอาณาเขตทางเหนือจดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกจดประเทศซูดาน ทางใต้จดสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทางตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศแคเมอรูนและประเทศไนจีเรีย และทางตะวันตกจดประเทศไนเจอร์ เนื่องจากมีระยะไกลจากทะเลและมีภูมิอากาศเป็นแบบทะเลทรายเป็นส่วนใหญ่ ประเทศจึงได้ชื่อว่าเป็น "หัวใจตายของแอฟริกา" (dead heart of Africa) ทางเหนือมีทิวเขาทิเบสตี (Tibesti Mountains) ซึ่งเป็นเทือกเขาที่ใหญ่ที่สุดในทะเลทรายสะฮารา เดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐเฟรนช์อิเควทอเรียลแอฟริกา (Federation of French Equatorial Africa) มีชื่อตามทะเลสาบชาด (Lake Chad).

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศชาด · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมอลตา

มอลตา (Malta) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลตา (Repubblika ta' Malta) เป็นประเทศที่เป็นเกาะขนาดเล็กสองเกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แต่มีประชากรหนาแน่น (1,262 คน ต่อตารางกิโลเมตร) มีประชากรทั้งหมด (ล่าสุด พ.ศ. 2546) 399,867 คน เมืองหลวงชื่อเมืองวัลเลตตา (Valletta) ที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของยุโรป ถัดลงมาจากตอนใต้ของประเทศอิตาลี นับเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานแห่งหนึ่งในยุโรป มีผู้มาครอบครองและถูกแย่งชิงนับครั้งไม่ถ้วนในอดีต.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศมอลตา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1964

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1964 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1968

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1968 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1980

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1980 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศลิเบียในโอลิมปิก

ประเทศลิเบีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ลิเบีย หมวดหมู่:ประเทศลิเบีย.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศลิเบียในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอียิปต์

รณรัฐอาหรับอียิปต์ (Arab Republic of Egypt; جمهورية مصر العربية) หรือที่เรียกโดยทั่วไปว่า อียิปต์ (Egypt; مصر มิส-ร) เป็นประเทศในแอฟริกาตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประชากรมากที่สุด ประเทศอียิปต์มีพื้นที่ประมาณ 1,020,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งรวมถึงคาบสมุทรไซนาย (เป็นส่วนหนึ่งของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้) ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ มีพรมแดนด้านตะวันตกติดกับประเทศลิเบีย ด้านใต้ติดกับประเทศซูดาน ด้านตะวันออกเฉียงเหนือติดกับประเทศอิสราเอล ชายฝั่งทางเหนือติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และทางตะวันออกติดกับทะเลแดง ประชากรอียิปต์ส่วนใหญ่อาศัยบนทั้งสองฝั่งของแม่น้ำไนล์ (ประมาณ 40,000 ตารางกิโลเมตร) และคลองสุเอซ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นส่วนของทะเลทรายสะฮารา และมีผู้คนอาศัยอยู่เบาบาง ประเทศนี้มีชื่อเสียงในด้านอารยธรรมโบราณ รวมถึงอนุสาวรีย์โบราณที่น่าตื่นตาที่สุดในโลก ได้แก่ พีระมิด อารามคาร์นัค และหุบเขากษัตริย์ (Valley of the Kings) ในปัจจุบัน อียิปต์ถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการเมืองและวัฒนธรรมของโลกอาหรับ ชื่อ "อียิปต์" (Egypt) มาจากชื่อภาษาละตินว่า "ไอกิปตุส" (Aegyptus) และชื่อภาษากรีกว่า "ไอกึปตอส" (Αιγυπτος) ทั้งสองรูปมีที่มาอีกทอดหนึ่งจากภาษาอียิปต์ว่า "ฮิ-คุ-ปตาห์" (Hi-ku-ptah) ซึ่งเป็นชื่ออารามที่เมืองเมืองที.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตูนิเซีย

ตูนิเซีย (Tunisia; تونس‎) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐตูนิเซีย (Tunisian Republic; الجمهورية التونسية) เป็นประเทศอาหรับมุสลิมที่ตั้งอยู่ในแอฟริกาเหนือ บนชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศทางตะวันออกสุดและเล็กที่สุดของ 3 ประเทศบนเทือกเขาแอตลาส (Atlas mountains) มีอาณาเขตทางตะวันตกจรดประเทศแอลจีเรีย และทางใต้และตะวันตกจรดประเทศลิเบีย พื้นที่ร้อยละ 40 ของประเทศประกอบด้วยทะเลทรายสะฮารา ในขณะที่ส่วนที่เหลือส่วนใหญ่ประกอบด้วยพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ และชายฝั่งที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ทั้งคู่มีบทบาทอย่างมากในสมัยโบราณ เริ่มต้นด้วยการก่อตั้งเมืองคาร์เทจ (Carthage) ที่มีชื่อของชาวฟีนีเชีย (Phoenicia) และในเวลาต่อมาได้กลายเป็นพื้นที่มณฑลแอฟริกา (Africa Province) เป็นพื้นที่อู่ข้าวอู่น้ำของอาณาจักรโรมัน สันนิษฐานว่า ชื่อ ตูนิส (Tunis) มาจากภาษาเบอร์เบอร์ (Berber) แปลว่าแหลมซึ่งสอดคล้องกับสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ที่เป็นแหลมยื้นเข้าไปในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน หรือ อีกความหมายหนึ่งนั้น แปลว่า "พักแรม".

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศตูนิเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซูดาน

ซูดาน (Sudan; السودان) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐซูดาน (Republic of the Sudan; جمهورية السودان) เป็นประเทศที่ในอดีตมีพื้นที่มากที่สุดในทวีปแอฟริกา ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีป มีเมืองหลวงชื่อคาร์ทูม มีพรมแดนทางทิศเหนือติดกับประเทศอียิปต์ ทิศใต้ติดต่อกับเซาท์ซูดาน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแดง ทิศตะวันออกติดกับเอริเทรียและเอธิโอเปีย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเคนยาและยูกันดา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับคองโกและสาธารณรัฐแอฟริกากลาง ทิศตะวันตกติดกับประเทศชาด และทิศตะวันตกเฉียงเหนือติดกับลิเบีย ชื่อของประเทศมาจากภาษาอาหรับว่า Bilad-al-Sudan ซึ่งแปลว่าดินแดนของคนผิวดำ ปัจจุบันซูดานกลายเป็นประเทศที่ขาดความมั่นคงตามดัชนีความเสี่ยงของการเป็นรัฐที่ล้มเหลว เพราะการปกครองแบบเผด็จการทหารและสงครามดาร์ฟูร.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศซูดาน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอลจีเรีย

แอลจีเรีย (Algeria; الجزائر) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (People's Democratic Republic of Algeria; الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 1ในทวีปแอฟริกา หลังจากประเทศซูดานใต้ แยกออกจากประเทศซูดานมีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ. 2068.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศแอลจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไนเจอร์

นเจอร์ (อังกฤษและNiger) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐไนเจอร์ (Republic of Niger; République du Niger) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลที่อยู่ทางใต้ของทะเลทรายสะฮาราในแอฟริกาตะวันตก ตั้งชื่อตามแม่น้ำไนเจอร์ มีอาณาเขตทางใต้จดประเทศไนจีเรียและประเทศเบนิน ตะวันตกจดประเทศมาลี เหนือจดประเทศแอลจีเรียและประเทศลิเบีย ตะวันออกจดประเทศชาด ไนเจอร์มีพื้นที่เกือบ 1,270,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งร้อยละ 80 ถูกปกคลุมด้วยทะเลทรายสะฮารา มีประชากรประมาณ 15 ล้านคน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลามและอาศัยอยู่หนาแน่นบริเวณตอนใต้และตะวันตกของประเทศ เมืองหลวงชื่อนีอาเม (Niamey).

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและประเทศไนเจอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปราสาทซ้อน

ปราสาทเชวาลิเยร์เป็นตัวอย่างของปราสาทซ้อนที่สร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ปราสาทซ้อน (Concentric castle หรือ Multiple castle) คือปราสาทที่สร้างภายในปราสาทโดยมีกำแพงม่านมากกว่าสองชั้นขึ้นไปและในบางกรณีก็ไม่มีหอกลาง โดยทั่วไปแล้วกำแพงนอกสุดของปราสาทชนิดนี้จะเป็นกำแพงที่เตี้ยที่สุดและค่อยๆ สูงขึ้นไปตามลำดับของชั้นในเข้าไป กำแพงปราสาทก็จะประกอบด้วยหอยามและเชิงเทิน (bastion) และมักจะมีกำแพง (Battlement) ที่เป็นช่องๆ ที่สามารถมองลงมาดูหรือโจมตีข้าศึกได้ และประตูทางเข้าออกที่ป้องกันด้วยประตูปราสาท (barbican) ปราสาทซ้อนเข้ามาเผยแพร่ในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 13 เพื่อเพิ่มความมั่นคงของปราสาทให้มากยิ่งขึ้น การที่มีกำแพงที่สูงขึ้นสำหรับชั้นในเข้าไปก็เพื่อใช้ในการการยิงด้วยธนูไฟจากกำแพงชั้นในผ่านกำแพงชั้นนอกไปยังข้าศึกได้ ถ้าข้าศึกยึดระบบการป้องกันรอบนอกได้ก็ยังจะต้องเผชิญกับระบบการป้องกันชั้นต่อไปอีก ปราสาทครูเสดเชวาลิเยร์ในซีเรีย, ปราสาทโบมาริส (Beaumaris Castle) และปราสาทแคร์ฟิลลิ (Caerphilly Castle) ใน เวลส์เป็นตัวอย่างที่ดีของปราสาทซ้อนโดยมีเป็นปราสาทซ้อนที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ลักษณะการก่อสร้างปราสาทซ้อนสร้างกันก็ยังสร้างกันต่อมาในสมัยต่อมา เช่นในการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างในทางการทหารในสมัยต้นยุคใหม่ของเซบาสเตียง เลอ เพรส์เทรอ เดอ โวบอง ที่กำแพงป้องกันนอกป้องกันกำแพงในที่รักษาความมั่นคงของเนินปราสาทภายใน ในทางการวิวัฒนาการปราสาทซ้อนวิวัฒนาการมาจากการขยายตัวของหอกลางและเป็นปราสาทชนิดที่คู่กับปราสาทแนว (Linear castle) ที่เป็นปราสาทที่สร้างตรงตำแหน่งที่ไม่สามารถสร้างปราสาทซ้อนได้เพราะเป็นที่แคบ ฉะนั้นจึงต้องใช้แนวป้องกันเป็นระยะๆ ก่อนที่จะถึงเนินปราสาทในสุดเช่นที่ปราสาทมาร์กัตในลิเบี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและปราสาทซ้อน · ดูเพิ่มเติม »

ปริมณฑลสาธารณะ

ปริมณฑลสาธารณะ (Public Sphere) หมายถึง พื้นที่ที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปพบปะพูดคุยกันในประเด็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสาธารณะ หรือ ประเด็นสาธารณะ (Habermas, 1989).

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและปริมณฑลสาธารณะ · ดูเพิ่มเติม »

นอร์มัน

ีแดงเป็นบริเวณที่นอร์มันได้รับชัยชนะ นอกจากนั้นก็ยังได้รับชัยชนะต่อหมู่เกาะมอลตีส และบางส่วนของตูนิเซีย และลิเบีย นอร์มัน (Normans) คือกลุ่มชนผู้ให้นามแก่ดินแดนนอร์ม็องดีซึ่งเป็นบริเวณทางตอนเหนือของฝรั่งเศส ชนนอร์มันสืบเชื้อสายมาจากไวกิงผู้ได้รับชัยชนะต่อผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่แต่เดิมที่เป็นชนแฟรงค์ (Franks) และกอลล์-โรมัน (Gallo-Roman) ความเป็น “ชนนอร์มัน” เริ่มเป็นที่รู้จักกันเป็นครั้งแรกราวครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 10 และค่อยๆ วิวัฒนาการเรื่อยมาในคริสต์ศตวรรษต่อๆ มาจนกระทั่งสูญหายไปจากการเป็นกลุ่มชนที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 13 คำว่า “นอร์มัน” มาจากคำว่า “นอร์สเม็น” หรือ “นอร์ธเม็น” (Norsemen หรือ Northmen) ตามชื่อไวกิงจากสแกนดิเนเวียผู้ก่อตั้งนอร์ม็องดี หรือ “นอร์ธมานเนีย” เดิมในภาษาละติน ชนนอร์มันมีบทบาทสำคัญในทางการเมือง, การทหารและวัฒนธรรมของยุโรปและแม้แต่ในตะวันออกใกล้ (Near East) ชนนอร์มันมีชื่อเสียงในทางการรณรงค์และความศรัทธาทางคริสต์ศาสนา และยอมรับการใช้ภาษากอลล์-โรมานซ์ในดินแดนที่ไปตั้งถิ่นฐานอย่างรวดเร็ว สำเนียงการพูดและการใช้ภาษาที่ได้รับมากลายมาเป็นภาษานอร์มันซึ่งเป็นภาษาที่มีความสำคัญทางวรรณกรรม อาณาจักรดยุคแห่งนอร์ม็องดี (Duchy of Normandy) ที่เป็นดินแดนที่เกิดจากสนธิสัญญากับราชบัลลังก์ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นอาณาบริเวณการปกครองที่มีความสำคัญที่สุดบริเวณหนึ่งในยุคกลางของฝรั่งเศส ทางด้านการสงครามชนนอร์มันขยายดินแดนโดยการรุกรานและยึดครองโดยเฉพาะในการยึดครองอังกฤษในการรุกรานและยึดครองอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1066 และการรุกรานและยึดครองอิตาลีตอนใต้ นอกจากในด้านการเมืองและการปกครองแล้วชนนอร์มันก็ยังมีชื่อเสียงทางด้านการสถาปัตยกรรมที่มีพื้นฐานมาจากสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ และความสามารถทางด้านดนตรี อิทธิพลของนอร์มันในด้านต่างๆ แผ่ขยายจากบริเวณที่ยึดครองตั้งแต่อาณาจักรครูเสดต่างๆ ในตะวันออกใกล้ไปจนถึงสกอตแลนด์ และเวลส์ ในสหราชอาณาจักร และในไอร์แลนด์ ในการศึกษาประวัติศาสตร์ (historiography) ของรัสเซีย คำว่า “นอร์มัน” มักจะใช้สำหรับชนวารันเจียน (Varangians) ซึ่งมาจากไวกิง ในการศึกษาประวัติศาสตร์ของฝรั่งเศสก็เช่นกันมักจะเป็นคำที่หมายถึงไวกิงกลุ่มต่างๆ ผู้รุกรานฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ก่อนจะตั้งหลักแหล่งในนอร์ม็องดี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและนอร์มัน · ดูเพิ่มเติม »

นโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว

Lao visa ผู้เดินทางเข้ามาในประเทศลาวจะต้องถือวีซ่าที่ออกโดยคณะผู้แทนทางการทูตลาว เว้นแต่เข้าข่ายได้รับยกเว้นวีซ่าหรือเป็นประเทศที่สามารถขอรับวีซ่าเมื่อเดินทางมาถึงได้.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและนโยบายการขอรับลงตราของประเทศลาว · ดูเพิ่มเติม »

แกะภูเขา

แกะภูเขา หรือ แกะบาร์บารี (Barbary sheep) เป็นแกะชนิดหนึ่ง จัดอยู่เพียงชนิดเดียวในสกุล Ammotragus Grubb, P. (16 November 2005).

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและแกะภูเขา · ดูเพิ่มเติม »

แกนแห่งความชั่วร้าย

"แกนแห่งความชั่วร้าย" ของบุชประกอบไปด้วยอิหร่าน อิรัก และเกาหลีเหนือ (สีแดง) "แกนแห่งความชั่วร้ายถัดไป" ประกอบไปด้วยคิวบา ลิเบีย และซีเรีย (สีส้ม) สหรัฐอเมริกาสีน้ำเงิน แกนแห่งความชั่วร้าย (Axis of evil) มีที่มาจากประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ในการกล่าวสุนทรพจน์ประจำปีของประธานาธิบดีสหรัฐ ในวันที่ 29 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและแกนแห่งความชั่วร้าย · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกา (มณฑลของโรมัน)

ักรวรรดิโรมันในรัชสมัยจักรพรรดิเฮเดรียน (ปกครอง ค.ศ. 117-ค.ศ. 138) แสดงที่ตั้งของจังหวัดแอฟริกาโพรคอนซูลาริส (แอลจีเรียตะวันออก ตูนิเซีย และตริโปลิเตเนีย) แอฟริกา หรือ อาฟรีกา (อังกฤษ, Africa) เป็นจังหวัดหนึ่งของจักรวรรดิโรมัน ก่อตั้งขึ้นหลังจากที่ชาวโรมันสามารถเอาชนะคาร์เทจได้ในสงครามพิวนิกครั้งที่ 3 จังหวัดแอฟริกาประกอบด้วยดินแดนที่ในปัจจุบันคือทางตอนเหนือของตูนิเซีย ตะวันออกเฉียงเหนือของแอลจีเรีย และริมฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนทางตะวันตกของลิเบีย ในเวลาต่อมา ชาวอาหรับก็เรียกบริเวณที่เคยเป็นจังหวัดนี้ว่า "อิฟริกียะห์" ซึ่งมาจากคำว่าแอฟริกานั่นเอง.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและแอฟริกา (มณฑลของโรมัน) · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาเหนือ

นแดนแอฟริกาเหนือ แอฟริกาเหนือ หรือ แอฟริกาตอนเหนือ เป็นภูมิภาคที่อยู่ทางตอนเหนือของทวีปแอฟริกาประกอบไปด้วย 7 ประเทศคือ.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและแอฟริกาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

แอฟริกาเหนือของอิตาลี

แอฟริกาเหนือของอิตาลี (Africa Settentrionale Italiana) เป็นพื้นที่ซึ่งรวมเอาอาณานิคมและดินแดนในความปกครองของราชอาณาจักรอิตาลีในทวีปแอฟริกาเหนือ ตั้งแต่ ค.ศ. 1912 จนถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยดินแดนสองส่วนหลักคือตริโปลิเตเนียและไซเรไนกาตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและแอฟริกาเหนือของอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

แอดแดกซ์

แอดแดกซ์ หรือ แอนทิโลปขาว หรือ แอนทิโลปเขาเกลียว (addax, white antelope, screwhorn antelope) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เป็นแอนทิโลปชนิดหนึ่ง จำพวกแอนทิโลปปศุสัตว์ จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Addax โดยคำว่า "แอดแดกซ์" นั้นมาจากภาษาอาหรับแปลว่า "สัตว์ป่าเขาเบี้ยว" ขณะที่ชื่อชนิดทางวิทยาศาสตร์ nasomaculatus มาจากภาษาละตินแปลว่า "จมูกเป็นจุด" (nasus (หรืออุปสรรคว่า naso) หมายถึง "จมูก" และ macula หมายถึง "จุด" และหน่วยคำเติม atus) ขณะที่ชาวเบดูอินจะรู้จักแอดแดกซ์ดี โดยคำว่าแอดแดกซ์นั้นมาจากภาษาอาหรับเรียกว่า bakr (หรือ bagr) al wahsh หมายถึง วัว, ควาย หรือสัตว์กีบทั่วไป แอดแดกซ์มีความแตกต่างจากแอนทิโลปอื่น ๆ ที่มีฟันขนาดใหญ่รูปสี่เหลี่ยมและไร้ต่อมบนหน้า มีความสูงจากไหล่ 91–115 เซนติเมตร ความยาวลำตัว 120–130 เซนติเมตร ความยาวหาง 25–35 เซนติเมตร น้ำหนัก 60–125 กิโลกรัม ตัวเมียขนาดเล็กกว่าตัวผู้ มีขนสีน้ำตาลเทาในฤดูหนาว และเปลี่ยนเป็นสีขาวหรือสีซีดในฤดูร้อน มีขนสีน้ำตาลหรือดำรูปตัวเอ็กซ์บนจมูก ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีเขาทั้งคู่ ลักษณะเขาบิดเป็นเกลียวยาว 55–85 เซนติเมตร และมีการขด 2–3 ครั้ง มีกีบเท้าขนาดใหญ่เพื่อเดินบนพื้นทราย ที่กีบเท้าทั้งหมดมีต่อมกลิ่นอยู่ แต่เป็นสัตว์ที่มีความเชื่องช้าจึงมักตกเป็นเหยื่อของสัตว์นักล่าอยู่เสมอ ๆ เช่น หมาล่าเนื้อแอฟริกา, ไฮยีนา, ชีตาห์, เสือดาว, คาราคัล, เซอวัล โดยเป็นสัตว์ที่ไม่ก้าวร้าวแม้จะถูกรบกวนก็ตาม พบกระจายพันธุ์ในแอฟริกาเหนือ โดยเป็นสัตว์พื้นเมืองของชาด, มอริเตเนีย และไนเจอร์ ปัจจุบันนี้สูญพันธุ์ไปแล้วที่แอลจีเรีย, อียิปต์, ลิเบีย, ซูดาน และสะฮาราตะวันตก และกำลังได้รับการฟื้นฟูที่โมร็อกโกและตูนิเซีย ปัจจุบันเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตเนื่องจากพบน้อยกว่า 500 ตัว ในแถบทะเลทรายสะฮารา เป็นสัตว์ที่มีความอดทนอย่างมากจากการขาดน้ำเนื่องจากรับน้ำจากอากาศและพืชจำพวกพุ่มไม้หรืออาเคเชียที่กินเข้าไป อีกทั้งยังมีกระเพาะที่มีความพิเศษที่เก็บน้ำไว้ใช้ในคราวจำเป็น และปัสสาวะก็มีความเข้มข้นเป็นพิเศษ เป็นสัตว์ที่หากินในเวลากลางคืนโดยจะหลบนอนอยู่ตามร่มเงาของภูเขาทรายในเวลากลางวันและหลบพายุทะเลทราย แต่แอดแดกซ์เป็นสัตว์ที่มีอยู่จำนวนมากในสถานที่เลี้ยงหรือเขตอนุรักษ์ทางธรรมชาติในปัจจุบัน มีโครงการขยายพันธุ์ในหลายประเทศในหลายทวีป ทั้ง อิสราเอล, ญี่ปุ่น, อเมริกาเหนือ, ซูดาน, อียิปต์, ออสเตรเลี.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและแอดแดกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์

แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Popular Front for the Liberation of Palestine; ภาษาอาหรับ الجبهة الشعبية لتحرير فلسطين, al-Jabhah al-Sha`biyyah li-Tahrīr Filastīn) เป็นกลุ่มติดอาวุธและพรรคการเมืองนิยมลัทธิมากซ์ ก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและแนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์

แนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Democratic Front for the Liberation of Palestine; ภาษาอาหรับ: 'الجبهة الديموقراطية لتحرير فلسطين', ถอดอักษร Al-Jabha al-Dimuqratiya Li-Tahrir Filastin หรือ al-Jabha al-Dimuqratiyah; الجبهة الديموقراطية) เป็นองค์กรทางการเมืองและการทหารของปาเลสไตน์ ที่นิยมลัทธิมากซ์ เป็นองค์กรที่เป็นสมาชิกขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและแนวร่วมประชาธิปไตยเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมปลดปล่อยปาเลสไตน์

แนวร่วมปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Palestine Liberation Front; جبهة التحرير الفلسطينية) เป็นกลุ่มย่อยขององค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ที่สนับสนุนนายยัสเซอร์ อาราฟัต และเป็นกลุ่มที่แยกตัวออกมาจากกองบัญชาการใหญ่แนวร่วมประชาชนเพื่อการปลดปล่อยปาเลสไตน์ และต่อมาก็แยกตัวออกมาเป็นกลุ่มย่อยที่สนับสนุนองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ ผู้นำกลุ่มคือมูฮัมหมัด อับบาส หรือ อาบู อับบาส ซึ่งเคยเป็นสมาชิกองค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์มาก่อนและลาออกเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและแนวร่วมปลดปล่อยปาเลสไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

โรอาลด์ ดาห์ล

รอัลด์ ดาห์ล โรอัลด์ ดาห์ล (Roald Dahl, ค.ศ. 1916-1990) นักเขียนชาวเวลส์ผู้มีชื่อเสียง จากการเขียนเรื่องสั้น เนื้อหาหมิ่นเหม่ศีลธรรมและเขียนหักมุมอย่างมีชั้นเชิง กับเรื่องเด็กขำขันแต่น่าขนลุก ดาห์ลเกิดในแคว้นเวลส์ ครอบครัวของเขามีเชื้อสายนอร์เวย์ ชื่อของเขาออกเสียงตามภาษานอร์เวย์ว่า "รู-ออล" บิดาเป็นนายหน้าเรือสินค้าผู้ประสบความสำเร็จ แต่มาด่วนเสียชีวิตเมื่อดาห์ลอายุได้เพียงสี่ขวบ ชีวิตอันทรหดในโรงเรียนประจำในดาร์บีไชร์ และโรงเรียนกินนอนที่เวลส์และอังกฤษนี่เอง เป็นที่มาให้เขาเขียนเรื่องเกี่ยวกับตัวละครเด็กต่อสู้กับผู้ใหญ่ใจโหดร้าย เมื่ออายุได้ 18 ปี ดาห์ลก็เข้าร่วมกับคณะที่เดินทางไกลไปยังนิวฟันด์แลนด์ จากนั้นเข้าทำงานกับบริษัทเชลล์ ตอนแรกเขาประจำที่ลอนดอนก่อน แต่ต่อมาถูกส่งไปประจำที่แทนซาเนีย ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเข้าเป็นนักบินสังกัดกองทัพอากาศในลิเบีย กรีซ ซีเรีย เครื่องบินของเขาถูกยิงตกในประเทศลิเบีย และต่อมาดาห์ลบาดเจ็บจากการรบที่ซีเรีย จึงถูกส่งมาประจำในวอชิงตัน ดี.ซี. ในช่วงนี้เองที่เขาเริ่มเขียนเล่าเรื่องราวน่าตื่นเต้นระหว่างที่เป็นนักบินสงคราม และเริ่มเขียนหนังสือเด็กเล่มแรก คือ The Gremlins (ค.ศ. 1943) ซึ่งมีผู้หยิบมาสร้างเป็นภาพยนตร์ เช่นเดียวกับเรื่องอื่นๆ ของเขา ได้แก่ "Matilda" และ "Charlie and the Chocolate Factory" นอกจากนี้ยังมีละครซีรีส์อเมริกันที่สร้างจากเรื่องสั้นของเขาสองเล่ม คือ Someone Like You (ค.ศ. 1954) และ Kiss Kiss (ค.ศ. 1959) เมื่ออายุได้ 37 ปี โรอัลด์ ดาห์ลแต่งงานกับแพทริเซีย นีล นักแสดงสาวผู้ร่ำรวย ทั้งคู่มีบุตรธิดาด้วยกันห้าคน ทว่าชีวิตแต่งงานที่ไม่มีความสุขของคนทั้งคู่ต้องปิดฉากลงในอีกสามสิบปีให้หลัง ต่อมาดาห์ลแต่งงานใหม่อีกครั้ง ถ้าจะว่ากันในด้านคำวิจารณ์ “เด็กๆ หลงใหลเรื่องราวของดาห์ลที่สะท้อนความโหดเหี้ยมหยาบคายต่อผู้ใหญ่ และตัวละครพิลึกพิลั่นที่ตลกขบขัน แต่ผู้ใหญ่นักวิจารณ์หลายคนกลับไม่ใคร่ชอบใจเท่าไร” (Kirjasto) นอกจากนี้ น้ำเสียงต่อต้านชาวยิวและคัดค้านลัทธิเฟมินิสม์ ก็เป็นอีกสองสิ่งที่นักวิจารณ์ไม่ค่อยชอบของโรอัลด์ ดาห์ล.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและโรอาลด์ ดาห์ล · ดูเพิ่มเติม »

โอเอซิส

อเอซิสแห่งหนึ่งในลิเบีย ส่วนหนึ่งของทะเลทรายซาฮารา โอเอซิสอีกแห่งในลิเบีย ในทาง ภูมิศาสตร์ โอเอซิส หมายถึงอาณาบริเวณส่วนใดของทะเลทราย ที่มีพืชขึ้นอยู่ในลักษณะที่ไม่ใช่สังคมพืชทะเลทราย ซึ่งโดยปกติ จะปรากฏรอบๆตาน้ำ หรือแหล่งน้ำประเภทอื่นๆ โอเอซิสมักเป็นแหล่งพักพิงของสัตว์ต่างๆ และอาจรวมถึงมนุษย์ด้วย หากโอเอซิสนั้นมีพื้นที่มากพอ ตำแหน่งที่ตั้งของโอเอซิสนั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งยวด ในการค้า หรือการขนส่งผ่านทะเลทราย กองคาราวานจำเป็นที่จะต้องแวะพักยังโอเอซิสต่างๆ เพื่อสะสมน้ำและอาหาร ในการเดินทางต่อๆไป.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและโอเอซิส · ดูเพิ่มเติม »

โอเปก

ตราขององค์การประเทศผู้ส่งน้ำมันเป็นสินค้าออก (โอเปก) องค์การกลุ่มประเทศผู้ส่งน้ำมันออก (Organization of Petroleum Exporting Countries) หรือ โอเปก (OPEC) กำเนิดใน..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและโอเปก · ดูเพิ่มเติม »

โจตัน

ตัน (Jotun) เป็นบริษัทผลิตสีจากประเทศนอร์เวย์ ที่ผลิตสีทาบ้านและผิวเคลือบแป้ง มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศนอร์เวย์ มีบริษัทในเครือ 67 บริษัท และ 39 โรงงานใน สแกนดิเนเวีย, ยุโรป, ตะวันออกกลาง, เอเชีย, อเมริกา, ออสเตรเลีย และ แอฟริกา ชื่อของบริษัทโจตัน มาจากโยตุน (Jötunn) เทพในนิยายนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและโจตัน · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไทรทัน

ำสำคัญ "Triton" หรือ "ไทรทัน" สามารถหมายถึงสิ่งหลายอย่างที่ได้รับการขนานนามตามชื่อของเทวดากรีกที่ชื่อ "ไทรทัน" โอรสแห่งโพไซดอน เจ้าสมุทร.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและไทรทัน · ดูเพิ่มเติม »

ไทรทัน (เทพปกรณัม)

ปโปแคมปัส ที่น้ำพุเทรวี กรุงโรม ประเทศอิตาลี ไทรทัน (Triton) เป็นเทพองค์หนึ่งในเทพปกรณัมกรีก โดยเป็นโอรสของโพไซดอน เจ้าสมุทร กับแอมฟิไทรที มารดาแห่งท้องทะเล ไทรทันเป็นผู้แจ้งข่าวแห่งท้องทะเล มีร่างกายเป็นเงือก คือ กายท่อนบนเป็นอย่างกายมนุษย์ท่อนบนทั่ว ๆ ไป ส่วนท่อนล่างเป็นหางปลา อาวุธประจำกายของไทรทันคือตรีศูลเช่นเดียวกับบิดา แต่มักปรากฏในศิลปกรรมต่าง ๆ ว่าถือสังข์ซึ่งเมื่อใช้เป่าดั่งแตรแล้วมีอำนาจบันดาลให้เกิดคลื่นลมในทะเลหรือให้ท้องทะเลสงบลงได้ ว่ากันว่าสังข์ของไทรทันนี้มีเสียงประหลาดชอบกล เมื่อเป่าอย่างแรงแล้วจะบังเกิดเป็นพลยักษ์เตรียมพร้อมประจัน ซึ่งเชื่อว่าเป็นจินตนาการถึงเสียงคำรามของสัตว์ป่า ตามหนังสือ "เทวกำเนิด" ของเฮซิออด กวีชาวกรีก ว่า ไทรทันนั้นพำนักอยู่กับบิดา ณ สุวรรณปราสาทซึ่งประดิษฐานอยู่ใต้สมุทร ในขณะที่ตำนานของชาวอาโกนอตส์ว่า ไทรทันอยู่ตำหนักที่ชายฝั่งของประเทศลิเบีย และเมื่อพวกตนได้แล่นเรือไปถึงฝั่งทะเลเลสเซอร์ซีตส์ ก็ได้ใช้ใบต่อไปถึงทะเลสาบไทรทันนิส ณ ที่นั้นปรากฏว่าไทรทันซึ่งเป็นเทพประจำถิ่นได้มาชี้ทางให้สามารถผ่านทะเลเมดิเทอร์เรเนียนได้ ไทรทันเป็นบิดาของเทพีพัลลัส และเป็นบิดาบุญธรรมของเทพีอะทีนา ต่อมาเทพีทั้งสองเกิดทะเลาะเบาะแว้งและเข้าต่อสู้กัน สุดท้าย เทพีอะทีนาประหารเทพีพัลลัสได้ นอกจากนี้ บางทีก็มีการกล่าวว่าไทรทันเป็นบิดาของสกิลลาซึ่งเกิดแค่เทพีลาเมีย และยังเชื่อว่าไทรทันเป็นผู้ครอบครองโคตรเพชรแห่งสมุทรที่ชื่อ "ไทรทันส์" ด้วย อนึ่ง ไทรทันยังปรากฏตัวในเทพปกรณัมและมหากาพย์ของโรมันอีกหลายเรื่อง โดยในมหากาพย์อีนีด มิเซนุส ผู้บรรเลงสังข์ประจำตัวเอนีแอส เหิมเกริมบังอาจขอประลองเป่าสังข์กับเทพไทรทัน ไทรทันจึงจับเขาทุ่มดิ่งลงมหาสมุทรถึงแก่ความตาย สำหรับชาวโรมันแล้ว นิยมทำรูปปั้นไทรทันไว้คู่กับบ่อน้ำพุ เซ็กส์ทุส พรอเพรอทีอุส กวีโรมัน พรรณนาถึงบ่อน้ำพุที่ประดับด้วยรูปปั้นไทรทันว่า อุดมไปด้วย "ศัพทสำเนียงของกระแสน้ำที่พวยพุ่งตรงออกมาจากโอษฐ์แห่งไทรทันนั้นซ่านกระเซ็นไปรอบ ๆ บ่อ " สมัยต่อมายังมีการบัญญัติศัพท์สำหรับเรียกอมนุษย์ที่มีลักษณะคล้ายเงือกว่า "ไทรทันเนส" (Tritones) ซึ่งคำนี้อาจหมายถึงที่มีเพศผู้หรือเพศเมียก็ได้ ซึ่งปรากฏการบรรยายลักษณะของอมุนษย์ดังกล่าวไว้ในบันทึกของโพซาเนียส นักผจญภัย ว่า "เหล่าไทรทันเนสมีรูปพรรณดังต่อไปนี้ บนศีรษะของพวกมันมีขนคล้ายกับศีรษะของกบในหนอง ที่คล้ายไม่ใช่แต่สีสันเท่านั้น แต่การที่สามารถแยกขนเส้นหนึ่งออกจากเส้นได้ก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่คล้ายคลึงกัน ร่างกายส่วนที่เหลือเป็นแต่ตะปุ่มตะป่ำประดุจปลาฉลาม มีหงอนและจมูกอย่างของมนุษย์อยู่เบื้องล่างหูของพวกมัน แต่ส่วนปากนั้นกว้างใหญ่ และมีฟันแหลมคมอย่างของสัตว์ดุร้าย ดวงตานั้นเล่าข้าพเจ้าก็เห็นเป็นสีฟ้า นอกจากนี้ พวกมันยังมีมือ มีนิ้ว และมีเล็บสัณฐานดั่งเปลือกของทากทะเล ถัดจากแผ่นอกและช่วงท้อง แทนที่จะเป็นขาเยี่ยงคนเรา กลับปรากฏเป็นหางดั่งปลาโลมา" ต่อมาหลังยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นต้นมา มีหลายสิ่งหลายอย่างได้รับการขนานนามตามชื่อของไทรทัน ในจำนวนนั้นได้แก่ พระจันทร์ไทรทัน พระจันทร์ดวงใหญ่ที่สุดของดาวพระเกตุหรือดาวเนปจูน การตั้งชื่อนี้เป็นเชิงสัญลักษณ์ ด้วยเนปจูนนั้นเป็นอีกชื่อหนึ่งของโพไซดอน บิดาของไทรทัน บทร้อยกรองซอนเนตของวิลเลียม เวิดส์เวิร์ท ชื่อ "เดอะเวิลด์อิสทูมัชวิทอัส" (The world is too much with us) รำพันถึงความจำเจอันน่าเบื่อของโลกสมัยใหม่ โดยปรารถนาซึ่ง ชื่อของไทรทันยังได้รับการนำไปตั้งให้แก่เครื่องกลอย่าง เครื่องจักรไทรทันของฟอร์ด และรถบรรทุกแบบมีกระบะรุ่นไทรทันของมิตซูบิชิ และตั้งเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ของหอยสังข์แตรตามอย่างในเทพปกรณัมที่ไทรทันได้เป่า ว่า Charonia tritonis นอกจากนี้ เมื่อ ค.ศ. 1989 ไทรทันยังได้รับการดัดแปลงเป็นตัวละครหลักในการ์ตูนของวอลต์ดิสนีย์เรื่อง Little Mermaid โดยเป็นเจ้าสมุทรผู้ปกครองดินแดนใต้สมุทร "แอตแลนทิคา".

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและไทรทัน (เทพปกรณัม) · ดูเพิ่มเติม »

ไข่ดาวน้ำ

A poached egg in a Salad Niçoise ไข่ดาวน้ำ คือไข่ ที่ต้ม ในของเหลวที่ทำให้เดือด การปรุงอาหารแบบนี้ได้รับความนิยม เนื่องจากสามารถกะเกณฑ์และได้ไข่ที่สุกพอดีด้วยการตั้งเวลา เช่นเดียวกับการตั้งจุดเดือดของน้ำคือการนำอุณหภูมิของตัวแปรออกไปในกระบวนการปรุงอาหาร (ยกเว้นในกรณีการความแตกต่างของระดับความสูงระดับน้ำทะเล ซึ่งอาจทำให้จุดเดือดของน้ำก็จะต่ำลงหากอยู่ระดับความสูงที่มากขึ้น).

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและไข่ดาวน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เบงกาซี

งกาซี (Benghazi; Bengasi) หรือ บันฆอซี (بنغازي) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่สองในลิเบีย เป็นเมืองหลักของภูมิภาคไซเรไนกา (หรืออดีตจังหวัด) และเมืองหลวงชั่วคราวของสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ เป็นเมืองท่าริมฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ระหว่างสมัยราชอาณาจักรในประวัติศาสตร์ลิเบีย เบงกาซีมีสถานะเป็นเมืองหลวงร่วมกับตริโปลี ซึ่งอาจเนื่องมาจากพระมหากษัตริย์เคยประทับอยู่ในเมืองอัลไบดะที่อยู่ใกล้เคียง และราชวงศ์ค่อนข้างมีความสัมพันธ์อันดีกับไซเรไนกามากกว่าตริโปลิเตเนีย เบงกาซียังคงเป็นที่ตั้งของสถาบันและองค์การซึ่งมักจะเกี่ยวข้องกับเมืองหลวงของประเทศ ซึ่งได้สร้างบรรยากาศการแข่งขันและความอ่อนไหวอย่างต่อเนื่องระหว่างเบงกาซีกับตริโปลี เมื่อเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเบงกาซี · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับ

มืองหลวงทางวัฒนธรรมอาหรับ อยู่ภายใต้การจัดการขององค์การยูเนสโก ในโครงการเมืองหลวงทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมอาหรับและสร้างความร่วมมือในภูมิภาคอาหรั.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของอาหรับ · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำ

รือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่นของกองทัพเรือรัสเซีย เรือดำน้ำขนาดเล็ก เรือดำน้ำ เป็นเรือรบที่สามารถปฏิบัติการในขณะที่อยู่ใต้ผิวน้ำได้ สร้างจากเหล็กแต่มีความสามารถในการเคลื่อนที่ภายใต้น้ำ เรือดำน้ำ ถูกนำมาใช้ในการสงครามและการค้นคว้าสำรวจใต้ทะเลลึกในบริเวณที่มนุษย์เราไม่สามารถดำลงไปได้ด้วยการสวมเพียงชุดดำน้ำ ด้วยคุณสมบัติที่พิเศษเหนือกว่ายานพาหนะชนิดอื่นคือ มันสามารถที่จะอยู่ได้ทั้งบนผิวน้ำและใต้น้ำ นับตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเรือดำน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เวลายุโรปตะวันออก

วลายุโรปตะวันออก (Eastern European Time - EET) เป็นชื่อเขตเวลา UTC+2 อันหนึ่ง ใช้ในบางประเทศในทวีปยุโรป แอฟริกาเหนือ และตะวันออกกลาง ประเทศส่วนใหญ่จะใช้เวลาฤดูร้อนยุโรปตะวันออก เป็นเวลาออมแสงด้ว.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเวลายุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เวลาแอฟริกาตะวันตก

วลาแอฟริกาตะวันตก (West Africa Time) เป็นเขตเวลาที่ใช้แถบแอฟริกาตะวันตก (ยกเว้นประเทศเบนินซึ่งใช้ UTC±00:00) โดยเร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัดอยู่ 1 ชั่วโมง (UTC+1) ซึ่งใช้เวลาเดียวกับเวลายุโรปกลาง เขตเวลานี้ส่วนใหญ่ไม่มีเวลาออมแสง ยกเว้นประเทศลิเบีย และประเทศนามิเบียซึ่งจะใช้ UTC+02 ประเทศที่ใช้.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเวลาแอฟริกาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ

้นขนานที่ 20 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 20 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ แคริบเบียน และมหาสมุทรแอตแลนติก เส้นขนานเป็นตัวกำหนดเขตแดนระหว่างประเทศลิเบียและประเทศซูดาน และซูดานใช้กำหนดเขตแดนระหว่างรัฐเหนือและรัฐดาร์ฟูร์เหนือ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 13 ชั่วโมง 21 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 55 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออก

้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 155 องศาตะวันตก เส้นเมริเดียนนี้หมายถึงเส้นแบ่งเขตแดนส่วนมากทางตะวันออกระหว่างลิเบียกับอียิปต์ และเป็นเส้นแบ่งเขตแดนทั้งหมดระหว่างลิเบียกับซูดาน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเส้นเมริเดียนที่ 25 องศาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดที่แมนเชสเตอร์อะรีนา พ.ศ. 2560

มื่อเวลา 22.33 น. ตามเวลาออมแสงบริติช (UTC+01:00) ของวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเหตุระเบิดที่แมนเชสเตอร์อะรีนา พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุโจมตีในอัลมินยา พ.ศ. 2560

มื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเหตุโจมตีในอัลมินยา พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

เอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์

อไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ (AIM-54 Phoenix) เป็นขีปนาวุธอากาศสู่อากาศนำวิถีด้วยเรดาร์พิสัยใกล้ที่สามารถบรรทุกได้มากถึงหกลูก มันเคยถูกใช้ในกองทัพเรือสหรัฐฯ และในปัจจุบันใช้โดยเครื่องบินขับไล่เอฟ-14 ทอมแคทของกองทัพอากาศอิหร่านซึ่งเป็นอากาศยานลำเดียวที่สามารถบรรทุกได้ เอไอเอ็ม-54 เดิมทีถูกพัฒนาในช่วงต้นปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเอไอเอ็ม-54 ฟีนิกซ์ · ดูเพิ่มเติม »

เฮอรอโดทัส

รูปแกะสลักเฮอโรโดทัส เฮอโรโดทัส (Herodotos หรือ Herodotus – ประมาณ พ.ศ. 58-118) นักประวัติศาสตร์ชาวกรีกผู้บันทึกสงครามเปอร์เซีย ผู้เริ่มต้นประวัติศาสตร์นิพนธ์ตะวันตก เกิดที่เมืองฮาลิคาร์นาสซัส ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของเอเชียไมเนอร์ซึ่งในขณะนั้นอยู่ภายใต้การปกครองของเปอร์เซีย เฮอโรโดทัสได้เดินทางท่องเที่ยวศึกษาทั่วดินแดนในเอเชียไมเนอร์และตะวันออกกลาง และยังได้เดินทางลงใต้ไปอียิปต์ถึงเมืองเอเลแฟนทีน (อัสวานในปัจจุบัน) Oikumene) ประมาณ พ.ศ. 90 หรือ 450 ปีก่อนคริสตกาล โดยจำลองจากบันทึกของเฮอโรโดทัส เฮอโรโดทัส เคยอาศัยอยู่ที่กรุงเอเธนส์ หรืออย่างน้อยก็ตอนกลางของกรีกและได้พบกับโสโฟเคิลส์ (Sophocles) ก่อนที่จะไปเข้าเป็นพลเมืองร่วมอยู่กับอาณานิคมกรีกที่เมืองธุริ (Thurii) เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเฮอรอโดทัส · ดูเพิ่มเติม »

เจาะเวลาหาอดีต

วลาหาอดีต (Back to the Future) เป็นภาพยนตร์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเจาะเวลาหาอดีต · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3

้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา, ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3 เจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-ออสตา 28 ตุลาคม ค.ศ. 1898 — 1 มีนาคม ค.ศ. 1942) เป็นพระญาติของพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 แห่งอิตาลี และทรงเป็นดยุคแห่งเอออสตาลำดับที่ 3 พระนามหลังทรงได้รับศีลจุ่มในศาสนาคริสต์คือ "อาเมเดโอ อุมแบร์โต อิซาเบลลา ลุยจี ฟิลิปโป มาเรีย จูเซปเป โจวานนี ดี ซาวอย-เอออสตา" (Amedeo Umberto Isabella Luigi Filippo Maria Giuseppe Giovanni di Savoia-Aosta) ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 พระองค์ดำรงตำแหน่งเป็นอุปราชแห่งแอฟริกาตะวันออกของอิตาลี (Africa Orientale Italiana).

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเจ้าชายอาเมเดโอแห่งซาวอย-เอออสตา ดยุคแห่งเอออสตาที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เด เวอร์มิส มิสเทรีส

วอร์มิส มิสเทรีส (อักษรละติน: De Vermis Mysteriis) หรือ ปริศนาแห่งหนอนเป็นตำราเวทย์สมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลู.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเด เวอร์มิส มิสเทรีส · ดูเพิ่มเติม »

เซิร์ต

ซิร์ต (Sirte บางครั้งเขียน Sirt, Surt, Sert หรือ Syrte; سرت,; จาก Σύρτις), เป็นนครในประเทศลิเบีย ตั้งอยู่ทางชายฝั่งทิศใต้ของอ่าวซีดรา เซิร์ตตั้งอยู่ครึ่งทางระหว่างเมืองตริโปลีกับเบงกาซี เมืองตั้งถิ่นฐานช่วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยชาวลิเบียเชื้อสายอิตาลี บนพื้นที่ป้อมปราการศตวรรษที่ 19 ที่สร้างโดยชาวตริโปลีเชื้อสายออตโตมัน และได้เติบโตเป็นนครหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเซิร์ต · ดูเพิ่มเติม »

เนลสัน แมนเดลา

นลสัน โรลีลาลา แมนเดลา (คอซา: Nelson Rolihlahla Mandela) เกิดวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2461 ที่ดินแดนปกครองตนเองทรานสไก ประเทศแอฟริกาใต้ ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและเนลสัน แมนเดลา · ดูเพิ่มเติม »

MENA

ีน้ำเงินเข้มหมายถึงการจำกัดความมาตรฐาน ส่วนสีฟ้าหมายถึงประเทศที่ถูกรวมในการจำกัดความในความหมายกว้าง คำว่า MENA ย่อมาจาก "ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ" เป็นอักษรย่อซึ่งมักถูกใช้ในการงานเชิงวิชาการและธุรกิจ คำดังกล่าวครอบคลุมอาณาบริเวณกว้างขวาง นับตั้งแต่โมร็อกโกไปจนถึงอิหร่าน รวมไปถึงประเทศตะวันออกกลางและมาเกร็บส่วนใหญ่ คำดังกล่าวเกือบจะมีความหมายเหมือนกันกับคำว่า "มหาตะวันออกกลาง" (แต่บางครั้งคำดังกล่าวถูกใช้โดยรวมปากีสถาน อัฟกานิสถาน หรือทั้งสองประเทศเข้าไปด้วย) ประชากรของภูมิภาค MENA หากในความหมายที่กินอาณาบริเวณน้อยที่สุด จะมีประมาณ 381 ล้านคน ราว 6% ของประชากรโลกทั้งหมด และในความหมายที่กินอาณาบริเวณมากที่สุด ประชากรจะอยู่ที่ราว 531 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและMENA · ดูเพิ่มเติม »

.ly

.ly เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศลิเบีย เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2531.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและ.ly · ดูเพิ่มเติม »

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและ1 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

15 เมษายน

วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและ15 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

23 ตุลาคม

วันที่ 23 ตุลาคม เป็นวันที่ 296 ของปี (วันที่ 297 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 69 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและ23 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศลิเบียและ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Libyaลิเบียสาธารณรัฐอาหรับลิเบีย

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »