โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศภูฏาน

ดัชนี ประเทศภูฏาน

ประเทศภูฏาน (Bhutan; บูตาน) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรภูฏาน เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีขนาดเล็ก และมีภูเขาเป็นจำนวนมาก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัยระหว่างประเทศอินเดียกับประเทศจีน ชื่อในภาษาท้องถิ่นของประเทศคือ Druk Yul แปลว่า "ดินแดนของมังกรสายฟ้า (Land of the Thunder Dragon)" นอกจากนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Druk Tsendhen และชื่อเพลงชาติ เนื่องจากที่ภูฏาน เสียงสายฟ้าฟาดถือเป็นเสียงของมังกร ส่วนชื่อ ภูฏาน (Bhutan) มาจากคำสมาสในภาษาบาลี ภู-อุฏฺฏาน อันมีความหมายว่า "แผ่นดินบนที่สูง" (ในภาษาฮินดี สะกด भूटान ถอดเป็นตัวอักษรคือ ภูฏาน).

245 ความสัมพันธ์: บริติชราชชาวทิเบตบิมสเทคบุดด้าแอร์บีบีเอส 2บีบีเอส ทีวีบีทีช้างอินเดียช้างเอเชียฟุตบอลทีมชาติภูฏานฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือกพ.ศ. 2502พ.ศ. 2517พ.ศ. 2551พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554พรรคสันติภาพและความรุ่งเรืองของภูฏานพรรคประชาธิปไตยประชาชน (ภูฏาน)กกสามเหลี่ยมใหญ่กระรอกสวนกระทิงกระซู่กระโถนพระฤๅษีกลุ่มภาษาหิมาลัยกลุ่มภาษาทิเบตกลุ่มโบราณสถานพระราชวังโปตาลาในลาซากวางดาวการพลัดถิ่นการ์ตูนเน็ตเวิร์คการเลือกตั้งทั่วไปในประเทศภูฏาน พ.ศ. 2551ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาษาสันถาลีภาษาสิกขิมภาษาสุนุวาร์ภาษาอัสสัมภาษาทิเบตภาษาทิเบตกลางภาษาตามางภาษาซองคาภาษาเลปชาภาษาเนวารีภาษาเนปาลมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2554มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009มาลาเรียมณฑลชูคามณฑลพาโรมณฑลพูนาคา...ยิดัมยิปซัมย่านพาโหมระบบจราจรซ้ายมือและขวามือรัฐกันชนรัฐสิกขิมรัฐอรุณาจัลประเทศรัฐอัสสัมรัฐในอารักขารัฐเบงกอลตะวันตกราชวงศ์ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อธงชาติในทวีปเอเชียรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิลรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศภูฏานรายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียใต้รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีรายพระนามรัชทายาทรายการภาพธงชาติรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดลิงอ้ายเงียะลิ่นจีนวันชาติวันวิสาขบูชาวันครูวิทยาลัยฟิลลิปส์ว่านหัวสืบศาสนาพุทธศาสนาพุทธแบบทิเบตศาสนาพุทธในประเทศภูฏานสกุลกฤษณาสภาผู้แทนราษฎรภูฏานสภาโอลิมปิกแห่งเอเชียสมเด็จพระราชาธิบดีอุกเยน วังชุกสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุกสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุกสมเด็จพระราชินีดอร์จิ วังโม วังชุกสมเด็จพระราชินีซังเก โชเดน วังชุกสมเด็จพระราชินีเชอริง ยังดน วังชุกสมเด็จพระราชินีเชอริง เพม วังชุกสมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุกสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์สหรัฐสะพานก๊นสะพานแขวนสุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552สุนุวาร์หมาจิ้งจอกอินเดียหมาจิ้งจอกทองหมาจิ้งจอกแดงหมูหริ่งหมีขอหมีควายหลิว เจียหลิงหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติห้อมช้างอองซาน ซูจีอักษรสันถาลีอักษรทิเบตอักษรเบรลล์ภาษาซองคาอุทยานหลวงราชพฤกษ์อีเห็นข้างลายอีเห็นเครืออนุทวีปอินเดียอ่าวเบงกอลผู้ลี้ภัยจักรวรรดิปาละจักรวรรดินิยมในเอเชียจามรีจิกมี ทินเลย์จิกมี เชอริงจุกนารีธงชาติภูฏานถั่งเช่าทวีปเอเชียทาคินทางหลวงสายเอเชียทางหลวงเอเชียสาย 48ทิมพูทินเลย์ ดอร์จีทุกปาท่าอากาศยานพาโรข้าวเม่าดรุก เซนเดนดีปลีแขกคริสต์สหัสวรรษที่ 3คำขวัญประจำชาติคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคณะผู้แทนทางทูตของประเทศภูฏานคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรงุลตรัมภูฏานตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่าตราแผ่นดินในทวีปเอเชียตรุษจีนตะโขงอินเดียตงซาปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิมประชากรศาสตร์ภูฏานประวัติศาสตร์รัฐอัสสัมประวัติศาสตร์ทิเบตประวัติศาสนาพุทธประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1907ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1974ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1988ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1992ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1996ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2000ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2004ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2012ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2016ประเทศอินเดียประเทศจีนประเทศเนปาลปรงเขาปลาช่อนเชลปลาเวียนทองปาดบ้านปุรันทาร สิงห์นกกระเต็นขาวดำใหญ่นกกะปูดใหญ่นกกางเขนนกกินปลีหางยาวเขียวนกศิวะหางสีตาลนกหัวขวานด่างแคระนกอีเสือหลังเทานกขุนทองนกแก๊กนกแซงแซวหางบ่วงเล็กนกแซงแซวหงอนขนนกเค้าแคระนกเงือกกรามช้างนางพญาเสือโคร่งนิติภาวะแบทแมน บีกินส์แพนด้าแดงแมวดาวแมวป่าแรดอินเดียแผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม พ.ศ. 2554แนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติโบโดแลนด์โมโม (อาหาร)โรงเรียนนานาชาติเดอะรีเจ้นท์โฆโปเกมอน โกไก่ฟ้าสีเลือดไมเคิล อริสไผ่หกไผ่ตงไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กเชอริง ต๊อบเกย์เพียงพอนเส้นหลังขาวเม่นใหญ่แผงคอยาวเยติเวลาสากลเชิงพิกัดเวลาในประเทศภูฏานเศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจอินเดียเสือดาวหิมะเสือปลาเสือไฟเหลียง เฉาเหว่ยเห็ดนางฟ้าเอื้องสายมรกตเอื้องเงินหลวงเอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์เอเชียใต้เอเอฟซีเพรซิเดนต์คัพเจ้าชายอุกเยน จิกมี วังชุกเจ้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏานเจ้าชายจิกเยล อุกเยน วังชุกเจ้าหญิงชิมิ ยางซอมเจ้าหญิงโซเนม เดเชน วังชุกเทศกาลกินเจเทือกเขาหิมาลัยเขตปกครองตนเองทิเบตเขตเวลาเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศเนื้อทรายHemiorchisISO 4217The Other Final.bt1 E+10 m²17 ธันวาคม21 กรกฎาคม21 กุมภาพันธ์22 กรกฎาคม8 สิงหาคม ขยายดัชนี (195 มากกว่า) »

บริติชราช

ริติชราช (British Raj; ब्रिटिश राज) หรือเรียกอย่างง่ายว่า อินเดีย หมายถึงการปกครองโดยพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในอนุทวีปอินเดียระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและบริติชราช · ดูเพิ่มเติม »

ชาวทิเบต

วทิเบต เป็นชนกลุ่มใหญ่ในเขตปกครองตนเองทิเบต ของสาธารณรัฐประชาชนจีน และถือชนชาติกลุ่มน้อย กลุ่มหนึ่งของประเทศจีน ซึ่งมีวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์อย่าง ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี และความเป็นอยู่เป็นของตนเอง แต่ความเป็นชุมชนเมืองและเศรษฐกิจของชาวจีนซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่กำลังทำลายความเป็นทิเบตดั้งเดิม ดั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศต่างๆทั่วโลก ชาวทิเบตสืบเชื้อสายจากชนเผ่าตูรัน และตังกุตในเอเชียกลาง ต่อมาได้อพยพมาจากทางตอนบนในเขตหุบเขาที่ราบลุ่มแม่น้ำยาร์ลุงซางโป และแต่งงานกับชนพื้นเมืองแถบนี้ แล้วออกลูกออกหลานเป็นชาวทิเบตในปัจจุบัน ชาวทิเบตเป็นชนเผ่าที่รักสงบ ในอดีตเคยเป็นพวกชาวเขาที่ไม่แตกต่างกับชาวเขาทั่วไป แต่พอได้รับพระพุทธศาสนาแบบวัชรยานจากพระปัทมสัมภวะ (คุรุรินโปเช่) ทำให้ทิเบตมีวัฒนธรรมที่โดดเด่น ชาวทิเบตส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธวัชรยาน นอกนั้นนับถือศาสนาอิสลามราว 2,000 คน และคริสตังทิเบตราว 600 คน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและชาวทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

บิมสเทค

ประเทศในโครงการบิมสเทค ความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอลสำหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (Bay of Bengal Initiative Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและบิมสเทค · ดูเพิ่มเติม »

บุดด้าแอร์

้าแอร์ Beechcraft 1900 at ท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน (2001) บุดด้าแอร์ (बुद्ध एयर) เป็นสายการบินสัญชาติเนปาล มีสำนักงานใหญ่ในเมือง Jawalakhel ในประเทศเนปาล ให้บริการเที่ยวบินทั้งภายในและระหว่างประเทศ ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและบุดด้าแอร์ · ดูเพิ่มเติม »

บีบีเอส 2

ีบีเอส 2 เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคภาษาอังกฤษ เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและบีบีเอส 2 · ดูเพิ่มเติม »

บีบีเอส ทีวี

  บีบีเอส 1 เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคภาษาซองคา เริ่มออกอากาศเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและบีบีเอส ทีวี · ดูเพิ่มเติม »

บีที

ีที (BT) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและบีที · ดูเพิ่มเติม »

ช้างอินเดีย

้างอินเดีย (Indian elephant) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ในวงศ์ Elephantidae หรือช้าง เป็นช้างที่ถือกำเนิดมาตั้งแต่ยุคไพลโอซีนหรือประมาณ 5 ล้านปีก่อนมาแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและช้างอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ช้างเอเชีย

้างเอเชีย (Asian elephant) จัดอยู่ในประเภทสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Elephas maximus ในวงศ์ Elephantidae มีขนาดเล็กกว่าช้างแอฟริกา รวมทั้งมีใบหูขนาดเล็กกว่า มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 60 ปี ซึ่งถือได้ว่ามีอายุยืนกว่าช้างแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและช้างเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติภูฏาน

ฟุตบอลทีมชาติภูฏาน เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจากประเทศภูฏาน อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์ฟุตบอลภูฏาน เริ่มก่อตั้งในปี พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) และเข้าร่วมกับฟีฟ่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ทีมชาติภูฏานชนะประเทศอื่นครั้งแรกในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545 โดยแข่งกับทีมชาติมอนต์เซอร์รัตในเมืองทิมพูเมืองหลวงของภูฏาน และเกมการแข่งขันนี้ถูกสร้างไปเป็นหนังภาพยนตร์เรื่อง "The Other Final" ในเวลาต่อม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและฟุตบอลทีมชาติภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก

ฟุตบอลโลก 2018 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2502

ทธศักราช 2502 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1959 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและพ.ศ. 2502 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2517

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและพ.ศ. 2517 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสันติภาพและความรุ่งเรืองของภูฏาน

รรคสันติภาพและความรุ่งเรืองของภูฏาน (Bhutan Peace and Prosperity Party) หรือ ดรุค พึนซัม ทโชกพา (འབྲུག་ཕུན་སུམ་ཚོག་པ) เป็นหนึ่งในพรรคการเมืองสำคัญในภูฏาน ก่อตั้งในวันที่ 25 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและพรรคสันติภาพและความรุ่งเรืองของภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

พรรคประชาธิปไตยประชาชน (ภูฏาน)

รรคประชาธิปไตยประชาชน (ภาษาซองคา: མི་སེར་དམངས་གཙོའི་ཚོགས་པ; People's Democratic Party; อักษรย่อ: PDP) เป็นหนึ่งในพรรคการเมืองที่สำคัญในประเทศภูฏาน โดยได้รับการก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 24 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและพรรคประชาธิปไตยประชาชน (ภูฏาน) · ดูเพิ่มเติม »

กกสามเหลี่ยมใหญ่

กกสามเหลี่ยมใหญ่ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Actinoscirpus grossus, coarse bullrush, greater club rush) เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวอยู่ในวงศ์กก มีอายุยืนหลายฤดู ลำต้นมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยม เจริญเติบโตเป็นกอ มีลำต้นใต้ดินแตกไหลได้ พุ่มสูงตั้งแต่ 1-2 เมตร ใบของกกสามเหลี่ยมใหญ่ค่อนข้างแข็ง แผ่นใบแคบ มีลักษณะเรียวยาวเป็นรูปใบหอก ยาวประมาณ 50-100 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อชนิดโคริมบ์ ประกอบด้วยช่อดอกย่อยจำนวนมาก ดอกย่อยไม่มีก้านดอก เกิดลักษณะเวียนรอบก้านดอกอย่างหนาแน่น เมื่อยังเป็นดอกอ่อนจะมีสีเหลืองอ่อนอมเขียว แต่เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ดอกออกช่วงเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม แต่อาจถึงเดือนตุลาคมได้ ขยายพันธุ์โดยใช้ไหลหรือเมล็ด จากเว็บไซด์โครงการอนุรักษ์พันธู์พืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, สืบค้นวันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 กกสามเหลี่ยมใหญ่พบในบริเวณที่มีน้ำขัง อ่างเก็บน้ำ บ่อเลี้ยงปลา และตามคลองส่งน้ำ พบได้ตั้งแต่ประเทศตุรกี อินเดีย บังคลาเทศ เนปาล ปากีสถาน ศรีลังกา ภูฏาน จีน (มณฑลกวางตุ้งและเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง) ญี่ปุ่น กกสามเหลี่ยมใหญ่เป็นพืชท้องถิ่นของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ มาเลเซีย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไปจนถึงออสเตรเลีย (นอร์เทิร์นเทร์ริทอรีและรัฐควีนส์แลนด์) รวมทั้งประเทศไทยซึ่งพบได้ทุกภาค จาก Weed Science Society of America (WSSA), สืบค้นวันที่ 21 พฤศจิกายน 2553 กกสามเหลี่ยมใหญ่สามารถนำมาทอเสื่อ จักสานเป็นฝาบ้าน ฝ้าเพดานหรือหลังคาบ้าน นอกจากนี้ยังสามารถทำเป็นตะกร้าและกระเป๋าได้.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและกกสามเหลี่ยมใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

กระรอกสวน

กระรอกสวน หรือ กระรอกท้องแดง (Pallas's squirrel, Red-bellied squirrel) เป็นกระรอกชนิดหนึ่ง เป็นกระรอกขนาดกลาง มีขนาดเล็กกว่ากระรอกหลากสี (C. finlaysonii) เล็กน้อย ทั่วไปลำตัวมีสีน้ำตาลแกมเขียว ลำตัวส่วนล่างขนสีน้ำตาลแดง, ส้ม หรือสีเหลืองนวล แบ่งออกเป็นชนิดย่อยต่าง ๆ ได้ถึง 20 ชนิดย่อย บางชนิดย่อยมีปื้นสีดำบริเวณหลังส่วนท้าย หางเป็นพวงสวยงาม มีสีแถบสีเนื้อจาง ๆ สลับดำ บางชนิดย่อยปลายหางมีสีดำ บางชนิดย่อยปลายหางเป็นสีอ่อน มีความยาวลำตัวและหัวประมาณ 20-26 เซนติเมตร ความยาวหาง 20 เซนติเมตร กระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ ภูฏาน อินเดีย จีน ประเทศไทย ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู อินโดนีเซีย ปจนถึงเอเชียตะวันออกอย่างไต้หวัน ญี่ปุ่น กระรอกสวนกินผลไม้และลูกไม้ต่าง ๆ เป็นอาหารรวมถึงสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ อย่างแมลงและหนอน หากินและอาศัยเป็นหลักบนต้นไม้ พบได้ในหลายพื้นที่ทั้งสวนสาธารณะและเมืองใหญ่ นับเป็นกระรอกที่พบได้มากและบ่อยที่สุดในประเทศไทย พบมากตามสวนผลไม้หรือสวนมะพร้าว มักถูกกำจัดหรือจับมาขายเพราะทำลายพืชผล จัดเป็นศัตรูพืชชนิดหนึ่ง ตามปกติจะอาศัยและหากินตามลำพัง เวลาหากินจะเป็นเวลากลางวัน สามารถแทะกินเปลือกไม้เปลือกแข็งหรือผลไม้เปลือกแข็งได้ นิยมเลี้ยงกันเป็นสัตว์เลี้ยง หากเลี้ยงตั้งแต่เล็ก ๆ ขณะยังไม่หย่านม จะเชื่องกับผู้เลี้ยง ถูกนำไปเป็นสัตว์เลี้ยงในหลายประเทศ จนกลายเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่น และไม่จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองหรือสัตว์ป่าสงวนในประเทศไทยแต่ประการใด Stuyck, Baert, Breyne & Adriaens (2010).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและกระรอกสวน · ดูเพิ่มเติม »

กระทิง

กระทิง หรือ เมย เป็นวัวป่าชนิด Bos gaurus ในวงศ์ Bovidae.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและกระทิง · ดูเพิ่มเติม »

กระซู่

กระซู่, แรดสุมาตรา หรือ แรดขน (Sumatran RhinocerosWilson, D. E., and Reeder, D. M. (eds), ed (2005).; ชื่อวิทยาศาสตร์: Dicerorhinus sumatrensis) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับสัตว์กีบคี่จำพวกแรด กระซู่เป็นแรดที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก และเป็นแรดเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Dicerorhinus มีลักษณะเด่นคือมี นอ 2 นอ เหมือนแรดแอฟริกา โดยนอจะไม่ตั้งยาวขึ้นมาเหมือนแรดชวา นอหน้าใหญ่กว่านอหลัง โดยทั่วไปยาว 15-25 ซม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและกระซู่ · ดูเพิ่มเติม »

กระโถนพระฤๅษี

กระโถนพระฤๅษี เป็นพืชดอกจำพวกกาฝากหรือพืชเบียนหายาก เป็นญาติใกล้ชิดกับพืชสกุลบัวผุด พบในทางตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัยAdhikari, D., Arunachalam, A., Majumder, M., Sarmah, R. & Khan, M.L. (2003) "A rare root parasitic plant (Sapria himalayana Griffith.) in Namdapha National Park, northeastern India", Current Science 85 (12), p. 1669.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและกระโถนพระฤๅษี · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาหิมาลัย

กลุ่มภาษาหิมาลัย (Himalayish) เป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ภาษาหลักของภาษาในกลุ่มนี้รวมทั้งภาษาทิเบตและภาษาเนวารี มีผู้พูดกลุ่มภาษานี้กระจายทั่วไปในแถบเทือกเขาหิมาลัยทั้งในเนปาล อินเดีย ภูฏาน ทิเบตและส่วนอื่น ๆ ของจีน หมวดหมู่:ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและกลุ่มภาษาหิมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มภาษาทิเบต

กลุ่มภาษาทิเบต (Tibetan languages) เป็นกลุ่มย่อยของภาษาที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ ของตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ที่พูดโดยชาวทิเบตที่อยู่ในบริเวณเอเชียกลางติดต่อกับเอเชียใต้ ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต ภาคเหนือของอินเดียในบัลติสถาน ลาดัก เนปาล สิกขิม และภูฏาน ส่วนใหญ่ใช้ในการเขียนงานทางศาสนาโดยเฉพาะศาสนาพุทธ ด้วยเหตุผลทางการเมือง สำเนียงของภาษาทิเบตกลาง (รวมทั้งลาซา) คาม และอัมโดในจีน ถือเป็นภาษาทิเบตเพียงภาษาเดียว ในขณะที่ภาษาซองคา ภาษาสิกขิม ภาษาเศรปาและภาษาลาดัก ถือเป็นภาษาเอกเทศต่างหาก แม้ว่าผู้พูดภาษาดังกล่าวจะถือตนว่าเป็นชาวทิเบตด้วย ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาซองคาและภาษาเศรปามีความใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสำเนียงลาซามากกว่าสำเนียงคามและอัมโด มีผู้พูดกลุ่มภาษาทิเบตทั้งหมดราว 6 ล้านคน ภาษาทิเบตสำเนียงลาซามีผู้พูดประมาณ 150,000 คนที่เป็นผู้ลี้ภัยในอินเดียและประเทศอื่นๆ ภาษาทิเบตใช้พูดโดยชนกลุ่มน้อยในทิเบตที่อยู่ใกล้เคียงกับชาวทิเบตมากว่าศตวรรษ แต่ไม่สามารถรักษาภาษาและวัฒนธรรมของตนไว้ได้ ชาวเกวียงในคามนั้น รัฐบาลจีจัดให้เป็นชาวทิเบต แต่ภาษาเกวียงอิกไม่ใช่กลุ่มภาษาทิเบต แม้จะอยู่ในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า ภาษาทิเบตคลาสสิกไม่ใช่ภาษาที่มีวรรรยุกต์ แต่บางสำเนียง เช่น ทิเบตกลางและคาม ได้พัฒนาเสียงวรรณยุกต์ขึ้น ส่วนสำเนียงอัมโดและลาดัก และภาษาบัลติไม่มีวรรณยุกต์ ลักษณะของภาษาทิเบตในปัจจุบันเป็นแบบรูปคำติดต่อแม้ว่าจะไม่พบลักษณะนี้ในภาษาทิเบตคลาสสิก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและกลุ่มภาษาทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มโบราณสถานพระราชวังโปตาลาในลาซา

กลุ่มโบราณสถานพระราชวังโปตาลาในลาซา คือแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมในนครลาซา เขตปกครองตนเองทิเบต สาธารณรัฐประชาชนจีน ได้รับคัดเลือกให้เป็นมรดกโลกเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและกลุ่มโบราณสถานพระราชวังโปตาลาในลาซา · ดูเพิ่มเติม »

กวางดาว

กวางดาว หรือ กวางทอง (Chital, Cheetal, Spotted deer, Axis deer)Grubb, Peter (16 November 2005).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและกวางดาว · ดูเพิ่มเติม »

การพลัดถิ่น

ียนแสดงการอพยพของชาวไอริช ราว ค.ศ. 1868 การพลัดถิ่น (Diaspora) คำว่า “Diaspora” มาจากภาษากรีก “διασπορά” ที่แปลว่า “การหว่าน” เป็นคำที่หมายถึงการโยกย้ายของประชากรที่มีชาติพันธุ์เดียวกันเป็นกลุ่มใหญ่ ที่อาจจะเกิดจากการถูกบังคับให้ทำการโยกย้าย หรือ เลือกที่จะโยกย้ายถิ่นฐานโดยความตั้งใจของตนเองจากถิ่นฐานที่อยู่เดิมไปตั้งถิ่นฐานและเป็นพลเมืองในดินแดนใหม่ที่มักจะไกลจากถิ่นฐานที่ตั้งอยู่เดิม “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากวัฒนธรรมของผู้เร่ร่อน และใกล้เคียงกับการเป็นผู้ลี้ภัย (Refugee) มากกว่า แต่การลี้ภัยอาจจะเป็นการโยกย้ายไปตั้งถิ่นฐานอย่างถาวรในดินแดนใหม่หรือไม่ก็ได้ คำว่า “การพลัดถิ่น” แตกต่างจากการลี้ภัยที่หมายถึงกลุ่มผู้ที่พลัดจากบ้านเกิดเมืองนอนที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนใหม่อย่างเป็นการถาวร คำนี้นิยมใช้กับการอพยพของชนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะมีสาเหตุมาจากการบังคับให้โยกย้าย หรือจากปัญหาทางเศรษฐกิจที่ทำให้มีความจำเป็นต้องไปหาที่ตั้งถิ่นฐานใหม่ก็ได้ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมของผู้พลัดถิ่นที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในดินแดนอื่น ก็อาจจะแตกต่างไปจากการวิวัฒนาการของชนกลุ่มเดียวกันในบ้านเกิดเมืองนอนที่ทิ้งมา การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี นอกจากนั้นปัจจัยต่างๆ ของแต่ละกลุ่มก็จะต่างระดับกันไป แต่แนวโน้มโดยทั่วไปแล้วความผูกพันทางวัฒนธรรมของกลุ่มผู้พลัดถิ่นมักจะดำเนินไปในรูปของการต่อต้านความเปลี่ยนแปลงของภาษาและในการรักษาประเพณีการปฏิบัติทางศาสนาเช่นที่เคยทำกันมาในประเทศบ้านเกิดอย่างเหนียวแน่นโดยเฉพาะในชั่วคนรุ่นแรก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและการพลัดถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค เป็นช่องสถานีโทรทัศน์เคเบิลของสหรัฐอเมริกา ภายใต้การบริหารของเทิร์นเนอร์บรอดแคสติง ซึ่งแพร่ภาพการ์ตูนแอนิเมชันเป็นหลัก การ์ตูนเน็ตเวิร์คเริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและการ์ตูนเน็ตเวิร์ค · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งทั่วไปในประเทศภูฏาน พ.ศ. 2551

ประเทศภูฏานจัดการเลือกตั้งทั่วไปเป็นครั้งแรกในวันที่ 24 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและการเลือกตั้งทั่วไปในประเทศภูฏาน พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสันถาลี

ภาษาสันถาลี เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมุนดา ใกล้เคียงกับภาษาโฮและภาษามุนดารี มีผู้พูด 6 ล้านคนในอินเดีย บังกลาเทศ เนปาล และภูฏาน ผู้พูดส่วนใหญ่อยู่ในอินเดีย กระจายอยู่ตามรัฐฌารขัณฑ์ อัสสัม พิหาร โอริศา ตรีปุระ และเบงกอลตะวันตก มีอักษรเป็นของตนเองเรียกอักษรสันถาลี อัตราการรู้หนังสือต่ำอยู่ระหว่าง 10 - 30% สันถาลี สันถาลี สันถาลี สันถาลี.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาษาสันถาลี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสิกขิม

ษาสิกขิม หรือ ภาษาภูเตีย เป็นภาษาย่อยของภาษาทิเบตใต้ มีผู้พูดจำนวนหนึ่งในชุมชนภูเตีย ทางภาคเหนือของสิกขิมชื่อเรียกในภาษาของตนเองคือ Dranjongke (Wylie: Bras-ljongs-skad).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาษาสิกขิม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสุนุวาร์

Sunuwar greeting ภาษาสุนุวาร์ (เป็นภาษาในกลุ่มภาษากีรันตี ใช้พูดในประเทศเนปาลโดยชาวสุนุวาร์ หรือ Kõits (कोँइच, Koinch และ Koincha มีการสะกดคำที่แตกต่างกัน) ภาษานี้ค้นพบครั้งแรกในโครงการหิมาลัย มีชื่อเรียกต่างกัน เช่น โกอีจโล, (Kõits-Lo, कोँइचलो) ซูนูวารี, (Sunuwari) กีรติ-โกอีจ, (किराँती-कोँइच),มุขียา (मुखिया, Mukhiya) ปัจจุบันเขียนด้วยอักษรเทวนาครี ส่วนระบบการเขียนแบบเดิมที่เรียกเชนติฉา ใช้น้อยลงตั้งแต่ พ.ศ. 2473.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาษาสุนุวาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอัสสัม

อัสสัม (অসমীয়া โอสัมมิยะ; Assamese Language) เป็นภาษาที่พูดโดยชาวพื้นเมืองในรัฐอัสสัม มีผู้พูดภาษานี้ในรัฐอรุณาจัลประเทศ และรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนืออื่นๆของอินเดีย รวมทั้งในประเทศภูฏาน และบังกลาเทศด้วย จัดเป็นภาษากลุ่มอินโด-ยุโรเปียนตะวันออก คำว่าอัสสัมเป็นภาษาอังกฤษหมายถึงกลุ่มชนที่อยู่ในหุบเขาพรหมบุตร แต่พวกเขาเรียกตัวเองว่า อาหม และเรียกภาษาของเขาว่า อาหมม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาษาอัสสัม · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทิเบต

ษาทิเบตเป็นภาษาในตระกูลทิเบต-พม่า ภาษาทิเบตมีภาษาถิ่นหลายกลุ่มคือ ภาษากลาง อยู่ในเขตปกครองตนเองทิเบต เช่นที่ ลาซา สำเนียงคาม อยู่ในเขตแคว้นคาม สำเนียงอัมโด อยู่ในแคว้นอัมโด ภาษาถิ่นอื่น ๆ ได้แก่ภาษาของชนเชื้อสายทิเบตในเนปาล เช่นชาวเศรป.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาษาทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาทิเบตกลาง

ังหวัดในทิเบต ภาษากลุ่มทิเบตกลาง(Central Tibetan languages) เป็นสำเนียงของภาษาทิเบต โดยเป็นกลุ่มของสำเนียงที่มีวรรณยุกต์ของภาษากลุ่มทิเบต ที่ไม่ใช่สำเนียงคาม การแบ่งแยกของภาษากลุ่มนี้ตาม Bradley (1997)ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาษาทิเบตกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาตามาง

ษาตามาง (Tamang; อักษรเทวนาครี:तामाङ) เป็นคำที่ใช้กล่าวถึงกลุ่มของสำเนียงที่ใช้พูดในเนปาลและสิกขิม ประกอบด้วย ตามางตะวันออก (ผู้พูด 759,257 คนในเนปาล) ตามางตะวันตกเฉียงเหนือ (ผู้พูด 55,000 คน) ตามางตะวันตกเฉียงใต้(ผู้พูด 109,051 คน) ตามางกุรข่าตะวันออก (ผู้พูด 3,977 คน) และตามางตะวันตก (ผู้พูด 322,598 คน) ความคล้ายคลึงระหว่างตามางตะวันออกกับตามางสำเนียงอื่นๆ อยู่ระหว่าง 81% ถึง 63% ภาษานี้เป็นตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่ากลุ่มใหญ่ที่สุดในเนปาล.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาษาตามาง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาซองคา

ษาซองคาเป็นภาษาประจำชาติของภูฏาน อยู่ในตระกูลจีน-ทิเบต สาขาทิเบต-พม่า ใกล้เคียงกับภาษาสิกขิมและภาษาอื่นๆของชาวภูฏาน ระบบเสียงใกล้เคียงกับภาษาทิเบตสมัยใหม่ เทียบได้กับความแตกต่างระหว่างภาษาสเปนกับภาษาอิตาลี พระในทิเบตและภูฏาน เรียนภาษาทิเบตโบราณเพื่อการอ่านคัมภีร์พุทธศาสนา คำว่าซองคาหมายถึง ภาษา (คา) ที่พูดในวัดที่มีลักษณะเป็นป้อมปราการ (ซอง) ภาษานี้แพร่เข้ามาในภูฏานเมื่อราว..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาษาซองคา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเลปชา

ษาเลปชา(อักษรเลปชา: ไฟล์:ᰛᰩᰵ་ᰛᰧᰶᰵ.SVG; Róng ríng)เป็นภาษาที่พูดโดยชาวเลปชา ในรัฐสิกขิม อินเดีย รวมทั้งบางส่วนของเนปาลและภูฏาน เขียนด้วยอักษรเลปชา ต้นกำเนิดของอักษรนี้ยังคลุมเครือ เริ่มแรกเขียนในแนวตั้งแบบเดียวกับอักษรจีน จัดเป็นภาษาท้องถิ่นในบริเวณที่ใช้พูด มีผู้พูดราว 50,000 คน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาษาเลปชา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเนวารี

ษาเนวารี หรือเนปาล ภาษา (नेपाल भाषा, Nepal Bhasa, Newah Bhaye) เป็นภาษาหลักภาษาหนึ่งของเนปาล อยู่ในตระกูลทิเบต-พม่า เป็นภาษาในตระกูลนี้เพียงภาษาเดียวที่เขียนด้วยอักษรเทวนาครี พูดโดยชาวเนวาร์ ซึ่งอยู่ในหุบเขากาฏมาณฑุ มีความคล้ายคลึงกับภาษากลุ่มอินโด-อิหร่านด้ว.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาษาเนวารี · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเนปาล

ษาเนปาล เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยันที่พูดในประเทศเนปาล ประเทศอินเดีย ประเทศภูฏาน และบางส่วนของประเทศพม่า เป็นภาษาราชการของประเทศเนปาล ประชากรประมาณครึ่งหนึ่งของเนปาลพูดภาษาเนปาลเป็นภาษาแม่ และชาวเนปาลอื่น ๆ หลายคนพูดเป็นภาษาที่สอง ชื่อของภาษาเนปาลในภาษาเนปาลคือ คาสกุรา (Khaskura) ชื่ออื่น ๆของภาษานี้มีมากมาย คนที่พูดภาษาอังกฤษเรียกว่า เนปาลี (Nepali) หรือ เนปาลีส (Nepalese) นอกจากนี้ คาสกุรา มีชื่ออื่น เช่น กอร์คาลี (Gorkhali) หรือ กูร์คาลี (Gurkhali) แปลว่าภาษาของชาวกุรข่า และพาร์ตาบิยา (Parbatiya) แปลว่าภาษาของภูเขาภาษาเนปาลมีวรรณกรรมขนาดเล็กในช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งรวมถึง "อัธยาตมะ รามายณะ" (Adhyatma Ramayana) ประพันธ์โดย สุนทรานันทะ พร (Sundarananda Bara) (1833) ซึ่งเป็นการรวมนิทานพื้นเมืองที่ไม่ปรากฏผู้แต่ง และรามายณะ โดย ภานุภักตะ (Bhanubhakta) นอกจากนี้ยังมีผลงานแปลจากภาษาสันสกฤต รวมถึงไบเบิลด้ว.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและภาษาเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549

ตราสัญลักษณ์งาน มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 (International Horticulture Exposition for His Majesty the King; Royal Flora Ratchapruek 2006) หรือเรียกย่อๆว่า ราชพฤกษ์ 2549 เป็นงานมหกรรมจัดแสดงด้านพืชสวนกลางแจ้ง จัดขึ้นระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 – 28 กุมภาพันธ์ 2550 ณ ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มหกรรมพืชสวนโลกจัดขึ้นโดยใช้งบประมาณทั้งสิ้น 2,404 ล้านบาท จัดขึ้นในนามของรัฐบาลไทย โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมวิชาการเกษตร และสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนของสมาพันธ์ดอกไม้โลก (WFC) และสมาคมพืชสวนระหว่างประเทศ (ISHS) และการรับรองมาตรฐานมหกรรมระดับโลก ระดับ A1 (มาตรฐานมหกรรมขั้นสูงสุด) การจัดงานจาก สมาคมพืชสวนระหว่างประเทศ (AIPH) และสำนักงานมหกรรมโลก (BIE)จดหมายข่าวมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนมกราคม พ.ศ. 2549 โดยประเทศไทยนับเป็นประเทศที่สามในทวีปเอเชีย ที่ได้รับรองการจัดงานมหกรรมระดับโลกจาก BIE ต่อจากจีน และญี่ปุ่น ตลอดช่วงการจัดงานมหกรรมพืชสวนโลก ได้ก่อให้เกิดเม็ดเงินสะพัดสู่ธุรกิจด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่คิดเป็นมูลค่าประมาณ 23,000 ล้านบาท โดยที่ร้อยละ 65 เป็นรายได้จากนักท่องเที่ยวคนไทย และร้อยละ 35 เป็นรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาต.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2554

200px มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2554 (The International Horticultural Exposition: Royal Flora Ratchaphruek 2011) หรือเรียกย่อๆว่า ราชพฤกษ์ 2554 เป็นงานมหกรรมจัดแสดงด้านพืชสวนกลางแจ้ง กำหนดเดิมจัดขึ้นระหว่างวันที่ 9 พฤศจิกายน 2554 – 15 มีนาคม 2555 แต่เนื่องจากสถานการณ์ความไม่พร้อมด้านการก่อสร้างประกอบกับปัญหาอุทกภัยครั้งใหญ่ในภาคกลาง รัฐบาลจึงเลื่อนวันจัดงาน ไปเป็นวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2554 - 14 เมษายน พ.ศ. 2555 แทน รวม 92 วัน โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2555 ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ บนเนื้อที่ 470 ไร่ ในนามของรัฐบาลไทย โดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมวิชาการเกษตร และสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนของสมาพันธ์ดอกไม้โลก (WFC) และสมาคมพืชสวนระหว่างประเทศ (ISHS) ละสมาคมพืชสวนระหว่างประเทศ (ISHS) และการรับรองมาตรฐานมหกรรมระดับโลก ระดับ A2/B1 การจัดงานจาก สมาคมพืชสวนระหว่างประเทศ (AIPH) แนวคิดหลัก (Theme) ประจำงานคือ Greenitude: Reducing Global Warming to Save Planet Earth and to Improve the Quality of Life ทัศนคติสีเขียว ร่วมสร้างสรรค์แนวคิดรักษ์โลก ตระหนักถึงการช่วยกันลดสภาวะโลกร้อน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของมนุษยชาต.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2554 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด (University of Oxford หรือ Oxford University) หรือเรียกอย่างง่าย ๆ ว่า อ๊อกซฟอร์ด เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยซึ่งตั้งอยู่ในเมืองอ๊อกซฟอร์ด ประเทศอังกฤษ สหราชอาณาจักร แม้ว่าจะไม่มีหลักฐานประวัติการก่อตั้งที่แน่นอน แต่มีหลักฐานว่าได้เริ่มสอนมาตั้งแต่ ค.ศ. 1096 ถือว่าเป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนเป็นอันดับสอง อ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในปี ค.ศ. 1167 เมื่อพระเจ้าเฮนรีที่ 2 ทรงห้ามมิให้นักศึกษาชาวอังกฤษไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยปารีส ภายหลังจากการพิพาทระหว่างนักศึกษาและชาวเมืองอ๊อกซฟอร์ดในปี ค.ศ. 1206 นักวิชาการบางส่วนได้หนีไปทางตะวันออกเฉียงเหนือสู่เมืองเคมบริดจ์ ซึ่งพวกเขาได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ขึ้น ทั้งสอง"มหาวิทยาลัยโบราณ"มักจะถูกเรียกว่า"อ๊อกซบริดจ์" มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดเติบโตขึ้นจากความหลากหลายของสถ​​าบันการศึกษาต่าง ๆ รวมถึงวิทยาลัยร่วมทั้ง 38 แห่ง และหน่วยงานทางวิชาการซึ่งแบ่งออกเป็นสี่แผนก แต่ละวิทยาลัยมีระบบการจัดการอย่างอิสระในการควบคุมสมาชิกรวมทั้งมีระบบโครงสร้างภายในและกิจกรรมเป็นของตนเอง มีลักษณะเป็นเมืองมหาวิทยาลัยซึ่งมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกกระจายอยู่ทั่วใจกลางเมือง การศึกษาระดับปริญญาตรีส่วนใหญ่ที่อ๊อกซฟอร์ดเป็นการจัดการด้วยวิธีติวเตอร์ตลอดรายสัปดาห์ไปในแต่ละวิทยาลัยและฮอลล์ต่าง ๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากชั้นเรียน การบรรยาย และการปฏิบัติการซึ่งจัดขึ้นโดยคณะและภาควิชาต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดยังดำเนินงานพิพิธภัณฑ์มหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในโลก รวมถึงสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมีระบบห้องสมุดทางวิชาการที่ใหญ่ที่สุดในบริเตน อ๊อกซฟอร์ดมีศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงจำนวนมาก รวมถึงผู้ได้รับรางวัลโนเบล 28 คน นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร 27 คน ประมุขแห่งรัฐและผู้นำรัฐบาลหลายแห่งทั่วโลก อ๊อกซฟอร์ดเป็นแหล่งที่ตั้งของทุนการศึกษาโรดส์ซึ่งเป็นหนึ่งในทุนการศึกษานานาชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีชื่อเสียงมากที่สุด ซึ่งได้นำนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมานานกว่าศตวรรษ.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009

การแข่งขันกีฬาศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแห่งเอเชีย ครั้งที่ 1 หรือ เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ 2009 เป็นการแข่งขัน เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 40 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 9 ชน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

มาลาเรีย

มาลาเรีย (malaria) หรือไข้จับสั่น ไข้ป่า ไข้ป้าง ไข้ร้อนเย็นหรือไข้ดอกสัก เป็นโรคติดเชื้อของมนุษย์และสัตว์อื่นที่มียุงเป็นพาหะ มีสาเหตุจากปรสิตโปรโตซัว (จุลินทรีย์เซลล์เดียวประเภทหนึ่ง) ในสกุล Plasmodium (พลาสโมเดียม) อาการทั่วไปคือ มีไข้ อ่อนเพลีย อาเจียนและปวดศีรษะ ในรายที่รุนแรงอาจทำให้ตัวเหลือง ชัก โคม่าหรือเสียชีวิตได้ โรคมาลาเรียส่งผ่านโดยการกัดของยุงเพศเมียในสกุล Anopheles (ยุงก้นปล่อง) และปกติอาการเริ่ม 10 ถึง 15 วันหลังถูกกัด หากไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม บุคคลอาจมีอาการของโรคในอีกหลายเดือนให้หลัง ในผู้ที่เพิ่งรอดจากการติดเชื้อ การติดเชื้อซ้ำมักมีอาการเบากว่า การต้านทานบางส่วนนี้จะหายไปในเวลาเป็นเดือนหรือปีหากบุคคลไม่ได้สัมผัสมาลาเรียอย่างต่อเนื่อง เมื่อถูกยุง Anopheles เพศเมียกัดจะนำเชื้อปรสิตจากน้ำลายของยุงเข้าสู่เลือดของบุคคล ปรสิตจะไปตับซึ่งจะเจริญเติบโตและสืบพันธุ์ มนุษย์สามารถติดเชื้อและส่งต่อ Plasmodium ห้าสปีชีส์ ผู้เสียชีวิตส่วนมากเกิดจากเชื้อ P. falciparum เพราะ P. vivax, P. ovale และ P. malariae โดยทั่วไปก่อให้เกิดมาลาเรียแบบที่รุนแรงน้อยกว่า สปีชีส์รับจากสัตว์ P. knowlesi พบมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การวินิจฉัยมาลาเรียตรงแบบทำโดยการตรวจเลือดด้วยกล้องจุลทรรศน์โดยใช้ฟิล์มเลือดหรือการวินิจฉัยชนิดรวดเร็ว (rapid diagnostic test) ที่อาศัยแอนติเจน มีการพัฒนาวิธีซึ่งใช้ปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสเพื่อตรวจจับดีเอ็นเอของปรสิต แต่ยังไม่มีใช้แพร่หลายในพื้นที่ซึ่งมีโรคมาลาเรียทั่วไปเนื่องจากราคาแพงและซับซ้อน ความเสี่ยงของโรคลดได้โดยการป้องกันไม่ให้ถูกยุงกัด โดยใช้มุ้งหรือสารขับไล่แมลง หรือด้วยมาตรการควบคุมยุง เช่น การฉีดพ่นยาฆ่าแมลงหรือการระบายน้ำนิ่ง มียารักษาโรคหลายชนิดที่ป้องกันมาลาเรียในผู้ที่เดินทางไปยังบริเวณที่พบโรคมาลาเรียทั่วไป แนะนำให้ใช้ยารักษาโรคซัลฟาด็อกซีน/ไพริเมธามีนบางครั้งในทารกและหลังไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ในบริเวณซึ่งมีโรคมาลาเรียอัตราสูง โรคมาลาเรียยังไม่มีวัคซีน แต่กำลังพัฒนา การรักษาโรคมาลาเรียที่แนะนำ คือ การใช้ยาต้านมาลาเรียหลายชนิดร่วมกันซึ่งรวมอาร์ตีมิซินิน ยาชนิดที่สองอาจเป็นเมโฟลควิน ลูมีแฟนทรีนหรือซัลฟาด็อกซีน/ไพริเมธามีน อาจใช้ควินินร่วมกับด็อกซีไซคลินได้หากไม่มีอาร์ติมิซินิน แนะนำว่าในพื้นที่ซึ่งมีโรคมาลาเรียทั่วไป ให้ยืนยันโรคมาลาเรียหากเป็นไปได้ก่อนเริ่มการรักษาเนื่องจากความกังวลว่ามีการดื้อยาเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาการดื้อยาในปรสิตต่อยาต้านมาลาเรียหลายชนิด เช่น P. falciparum ซึ่งดื้อต่อคลอโรควินได้แพร่ไปยังพื้นที่ซึ่งมีการระบาดมากที่สุด และการดื้อยาอาร์ทีมิซินินเป็นปัญหาในบางพื้นที่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โรคนี้แพร่หลายในเขตร้อนและอบอุ่นซึ่งอยู่เป็นแถบกว้างรอบเส้นศูนย์สูตร ซึ่งรวมพื้นที่แอฟริกาใต้สะฮารา ทวีปเอเชียและละตินอเมริกาบริเวณกว้าง โรคมาลาเรียมักสัมพันธ์กับความยากจนและยังอาจเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ในทวีปแอฟริกา มีการประเมินว่ามีการสูญเสีย 12,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อปีเนื่องจากค่าใช้จ่ายสาธารณสุขเพิ่มขึ้น เสียความสามารถการทำงาน และผลเสียต่อการท่องเที่ยว องค์การอนามัยโลกประเมินว่ามีผู้ป่วย 198 ล้านคน ใน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและมาลาเรีย · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลชูคา

มณฑลชูคา (ཆུ་ཁ་རྫོང་ཁག་.) เป็นหนึ่งใน 20 มณฑลของประเทศภูฏาน มีเมืองเอกคือ พันท์โชลลิง ซึ่งเป็นประตูเชื่อมระหว่างอินเดียและภาคตะวันตกของภูฏาน ชูคาเป็นศูนย์กลางทางการค้าและการเงินของภูฏาน เป็นที่ตั้งของโรงไฟฟ้าพลังน้ำที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศ เป็นที่ตั้งของสถานีไฟฟ้าพลังงานน้ำและเขื่อนทาลา ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และเป็นมณฑลที่มีมูลค่า GDP สูงที่สุดในประเทศ อีกทั้งยังมีโรงงานอุตสาหกรรมที่เก่าแก่ที่สุดหลายแห่ง อาทิ บริษัท Bhutan Carbide Chemical จำกัด (BCCL) และ บริษัท Bhutan Boards Products จำกัด (BBPL).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและมณฑลชูคา · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลพาโร

ตำแหน่งของมณฑลพาโรในภูฏาน ตัวเมืองพาโรและพาโรซองเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2549 มณฑลพาโร (སྤ་རོ་རྫོང་ཁག་) อยู่ทางตะวันตกของภูฏาน ห่างจากทิมพูไป 53 กิโลเมตร เป็นถิ่นฐานเดิมของชาวภูฏานตั้งแต่แรกสร้างอาณาจักร มีแม่น้ำไหลผ่านสามสายคือ แม่น้ำตอสา แม่น้ำวัง และแม่น้ำพูนาซอง ในสมัยที่เมืองพูนาคาเป็นเมืองหลวง เมืองนี้เป็นที่ตั้งของทำเนียบรัฐบาล และเป็นศูนย์กลางการค้.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและมณฑลพาโร · ดูเพิ่มเติม »

มณฑลพูนาคา

ตำแหน่งของมณฑลพูนาคาในภูฏาน พูนาคาซอง มณฑลพูนาคา (སྤུ་ན་ཁ་རྫོང་ཁག) เคยเป็นเมืองหลวงเก่าของภูฏาน ห่างจากทิมพูไป 70 กม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและมณฑลพูนาคา · ดูเพิ่มเติม »

ยิดัม

ัม คือเทพผู้พิทักษ์ที่เห็นพระพุทธรูปอุ้มสตรีในทิเบต หรือในภูฏาน ยิดัมนี้อาจจะเป็นธยานิโพธิสัตว์อวตารมาเพื่อปราบปีศาจร้ายก็ได้ หรือเป็นปีศาจร้ายที่เลื่อมใสพระพุทธศาสนาแล้วเลื่อนมาเป็นยิดัม ลามะชั้นสูงบางรูปอาจจะมียิดัมคอยอารักษ์ ลามะอาจเชิญมาพิทักษ์เอง หรือยิดัมปรากฏให้เห็นขณะทำภาวนาอยู่ก็ได้ ส่วนฆราวาสที่อยากมียิดัมคอยพิทักษ์ ต้องให้ลามะเชิญเท่านั้น อีกนัยหนึ่ง ยิดัม คือพระโพธิสัตว์อุ้มตำรา หรือแม้แต่พระพุทธรูปอุ้มศักติ ในคัมภีร์มรณศาสตร์ของทิเบต ยิดัมทั้งสี่ จะปรากฏกายในวันที่หกของบาร์โด คือทิศตะวันออก มีเทพวิชัย ทิศใต้คือยมานตกะ ศัตรูของพระยม ทิศตะวันตกคือ หยครีวะ หรือ หยครีพ ทิศเหนือ คือ อมฤตากุณฑสินี.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและยิดัม · ดูเพิ่มเติม »

ยิปซัม

ปซัม (Gypsum) (CaSO4·2H2O) หรือเรียกว่าเกลือจืด เป็นแร่อโลหะที่มีความเปราะมากมีสีขาว ไม่มีสีหรือสีเทา มักมีสีเหลือง แดง หรือน้ำตาล เป็นมลทินปนอยู่ มีความวาวคล้ายแก้ว มุก หรือไหม ความแข็ง 2 ความถ่วงจำเพาะ 2.7 เนื้อแร่โปร่งใสจนกระทั่งโปร่งแสง อาจเรียกชื่อต่างกันออกไปตามลักษณะของเนื้อแร่ คือ ชนิดซาตินสปาร์ (satinspar) เป็นแร่ยิปซัมลักษณะที่เป็นเนื้อเสี้ยน มีความวาวคล้ายไหม ชนิดอะลาบาสเทอร์ (alabaster) มีเนื้อเป็นมวลเม็ดอัดกันแน่น และชนิดซีลีไนต์ (selenite) ใสไม่มีสี เนื้อแร่เป็นแผ่นบางโปร่งใส เกิดจากแร่ที่ตกตะกอนในแอ่งที่มีการระเหยของน้ำสูงมากและต่อเนื่อง ทำให้น้ำส่วนที่เหลือมีความเข้มข้นสูงขึ้น ถึงจุดที่แร่กลุ่มที่เรียกว่า “อีแวพอไรต์ (evaporites) ” จะสามารถตกตะกอนออกมาตามลำดับความสามารถในการละลาย (solubility) ซึ่งโดยทั่วไปเริ่มจากพวกคาร์บอเนต (carbonates) ซัลเฟต (sulphates) และเฮไลด์ (halides) การกำเนิด แร่ยิปซัมของไทยมีเนื้อเป็นเกล็ดเล็กๆ สมานแน่น เรียกว่า “อะลาบาสเตอร์ (alabaster) ” ซึ่งมิได้เกิดจากการตกตะกอนทับถมกันในสภาพการณ์ปฐมภูมิจากการระเหยของน้ำ แต่เกิดจากการเติมน้ำ (rehydration) ให้กับช่วงบนสุดของมวลแอนไฮไดรต์ จนเกิดการเปลี่ยนแปลง ชนิดแร่ ยิปซัมในประเทศไทยมีประวัติที่ค่อนข้างซับซ้อน และการศึกษาธรณีวิทยาแหล่งแร่พบว่า เคยผ่านการเปลี่ยนแปลงชนิดแร่ไปมา ระหว่างยิปซัมกับแอนไฮไดรต์ (CaSO4) หลายครั้ง (Utha-aroon and Ratanajarurak, 1996) ก่อนจะมีสภาพเช่นในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและยิปซัม · ดูเพิ่มเติม »

ย่านพาโหม

*P.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและย่านพาโหม · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกันชน

รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรัฐกันชน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสิกขิม

รัฐสิกขิม (เทวนาครี: सिक्किम; ภาษาทิเบต: འབྲས་ལྗོངས་; Sikkim) คือรัฐหนึ่งทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย มีพื้นที่ทางตะวันตกติดต่อกับประเทศเนปาล ทางทิศเหนือติดต่อกับเขตปกครองตนเองทิเบต และประเทศจีน ทางทิศตะวันออกติดต่อกับประเทศภูฏาน และทิศใต้ติดต่อกับรัฐเบงกอลตะวันตก รัฐหนึ่งของอินเดีย แต่เดิมสิกขิมเป็นรัฐเอกราช มีขนาดใหญ่กว่าเดลีเล็กน้อย ปกครองโดยราชวงศ์นัมเกล ด้วยความเป็นรัฐเอกราชเล็ก ๆ อาจถูกบั่นทอนจากจีนซึ่งยึดทิเบตได้ เมื่ออินเดียได้รับเอกราช สิกขิมจึงยอมอยู่ใต้เอกราชเดียวกับอินเดียเมื่อ 30 กว่าปีก่อน อดีตประชากรส่วนใหญ่ของที่นี้เป็นชาวเลปชาซึ่งมีเชื้อสายเป็นชาวทิเบต แต่ปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเนปาลี ประมาณร้อยละ 75 ของประชากร.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรัฐสิกขิม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอรุณาจัลประเทศ

ประเทศ รัฐอรุณาจัลประเทศ คือ ดินแดนใต้การปกครองของประเทศอินเดีย แต่ถูกเรียกร้องจากทางการจีนว่าเป็นดินแดนของตนในชื่อว่า ทิเบตใต้ (藏南 ซั่นหนาน) รัฐอรุณาจัลประเทศมีเขตติดต่อกับ รัฐอัสสัมและรัฐนาคาแลนด์ทางใต้ รัฐกะฉิ่น ประเทศพม่าทางตะวันออก ประเทศภูฏานทางตะวันตก และเขตปกครองตนเองทิเบต ประเทศจีนทางทิศเหนือ อรุณาจัลประเทศมีความหมายว่า ดินแดนอาทิตย์อุทัย เนื่องจากตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของประเทศอินเดีย ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าที่พูดตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นเชื้อสายชาวทิเบต ชาวไท และชาวพม่า โดยมีประชากรร้อยละ 16 เป็นผู้อพยพ เป็นรัฐที่มีชื่อเสียงทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพ มีงานศิลปหัตถกรรมที่เป็นเอกลักษณ.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรัฐอรุณาจัลประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอัสสัม

รัฐอัสสัม (อัสสัม: অসম Ôxôm) เดิมภาษาไทยเรียก อาสาม เป็นรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือของสาธารณรัฐอินเดีย โดยมีเมืองหลวงคือ ทิสปุระ อยู่ในเขตเมืองคูวาหตี อยู่ทางตอนใต้ของหิมาลัยตะวันออก รัฐอัสสัมมีลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร แม่น้ำพารัก และตำบลครรพี กับเขาจาชาร์เหนือ ปัจจุบันมีพื้นที่ 78,438 ตารางกิโลเมตร เกือบเท่ากับพื้นที่ของไอร์แลนด์ หรือออสเตรีย รัฐอัสสัมรายล้อมด้วยรัฐพี่น้องทั้งเจ็ด อันได้แก่ อรุณาจัลประเทศ, นาคาแลนด์, มณีปุระ, มิโซรัม, ตริปุระ และ เมฆาลัย รัฐเหล่านี้เชื่อมต่อกับส่วนอื่นๆ ของอินเดีย โดยผ่านพื้นที่แคบ ในเบงกอลตะวันตก ที่เรียกว่า "คอไก่" อัสสัมยังมีชายแดนร่วมประเทศภูฏาน และบังกลาเทศ มีวัฒนธรรม ประชากร และภูมิอากาศในลักษณะเดียวกันกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันเป็นส่วนสำคัญของนโยบายมองตะวันออก ของอินเดีย ชาอัสสัม รัฐอัสสัมมีชื่อเสียงด้านแหล่งใบชา ปิโตรเลียม ไหมอัสสัม และความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้ยังประสบความสำเร็จในการอนุรักษ์แรดนอเดียว จากสภาพสูญพันธุ์ในอุทยานแห่งชาติกาจิรังคา (Kaziranga National Park), เสือในอุทยานแห่งชาติมนัส (Manas National Park) และจัดหาแหล่งอาศัยสุดท้ายของสัตว์ป่าสำหรับช้างเอเชียด้วย อัสสัมเริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นในฐานะแห่งท่องเที่ยวชมสัตว์ป่า และทั้งกาจิรังคาและมนัส ก็เป็นมรดกโลก นอกจากนี้ อัสสัมยังเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะป่าต้นสาละ และผลิตภัณฑ์จากป่าไม้ ซึ่งปัจจุบันมีจำนวนลดลงมาก อัสสัมเป็นพื้นที่ซึ่งมีฝนตกชุก จึงมีพืชพรรณที่อุดมสมบูรณ์ มีแม่น้ำพรหมบุตร และลำน้ำสาขา กับทะเลสาบรูปเกือกม้า ที่ให้ความชุ่มชื้นและความสวยงามแก่ภูมิประเท.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรัฐอัสสัม · ดูเพิ่มเติม »

รัฐในอารักขา

ตามกฎหมายระหว่างประเทศ รัฐในอารักขา (protectorate; protected state) หมายถึงรัฐกึ่งเอกราชซึ่งมีอิสรภาพในการปกครองตนเอง มีผู้ปกครองเป็นคนในท้องที่ แต่ยอมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของประเทศอื่นซึ่งเข้มแข็งกว่า (มีอำนาจปกครอง แต่ไม่มีอำนาจสั่งทหาร) ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการป้องกันภัยจากประเทศที่สาม รัฐในอารักขามักจะมอบสิทธิพิเศษทางการค้าและอนุญาตให้ผู้คุ้มครองเข้าใช้ดินแดนบางส่วนในรัฐของตนเพื่อเป็นการตอบแทนความคุ้มครอง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรัฐในอารักขา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเบงกอลตะวันตก

เบงกอลตะวันตก (পশ্চিমবঙ্গ, Poshchimbôŋgo) คือหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ตรงกลางเยื้อไปทางตะวันออกของประเทศ มีเขตติดต่อรัฐสิกขิม รัฐอัสสัมและประเทศภูฏานทางทิศเหนือ ติดต่อกับประเทศเนปาลทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ติดต่อกับรัฐโอริศาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ติดต่อกับประเทศบังกลาเทศทางทิศตะวันตก และอ่าวเบงกอล มหาสมุทรอินเดียทางใต้ บ หมวดหมู่:รัฐเบงกอลตะวันตก หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2499 หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของเนเธอร์แลนด์ หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรัฐเบงกอลตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์

ราชวงศ์ (Dynasty) คือ ลำดับของผู้ปกครองจากตระกูลเดียวกันOxford English Dictionary, "dynasty, n." Oxford University Press (Oxford), 1897.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ"ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ" เป็นศัพท์บัญญัติของ (constitutional monarchy) เป็นรูปแบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐโดยไม่ทรงมีบทบาททางการเมืองและทรงอยู่ในขอบเขตของรัฐธรรมนูญไม่ว่าเป็นหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์อาจมีพระราชอำนาจโดยพระบารมีและรัฐบาลอาจดำเนินการในพระนาม แต่พระมหากษัตริย์จะไม่ทรงกำหนดนโยบายสาธารณะหรือเลือกผู้นำทางการเมือง เวอร์นอน บอกดานอร์ (Vernon Bogdanor) นักรัฐศาสตร์ชาวอังกฤษ นิยามว่า ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญ คือ "องค์อธิปัตย์ที่ปกเกล้าแต่ไม่ปกครอง" (a sovereign who reigns but does not rule), excerpted from การปกครองรูปแบบนี้ต่างจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่พระมหากษัตริย์ทรงควบคุมการตัดสินใจทางการเมืองโดยไม่ทรงถูกรัฐธรรมนูญควบคุมเอาไว้ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ บางทีเรียกว่า ปรมิตตาญาสิทธิราชย์ (limited monarchy) สาธารณรัฐอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (crowned republic) หรือราชาธิปไตยแบบมีรัฐสภา (parliamentary monarchy) นอกจากเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติแล้ว ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญอาจมีพระราชอำนาจอย่างเป็นทางการ เช่น ยุบสภานิติบัญญัติ หรืออนุมัติกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วเป็นพระราชอำนาจทางพิธีการ มิใช่เป็นช่องให้พระมหากษัตริย์จัดการการเมืองได้โดยพลการ วอลเทอร์ แบกฮอต (Walter Bagehot) นักทฤษฎีการเมืองชาวอังกฤษ เขียนไว้ในหนังสือ ดิอิงลิชคอนสติติวชัน (The English Constitution) ว่า มีพระราชสิทธิ์สามประการเท่านั้นที่ราชาภายใต้รัฐธรรมนูญทรงใช้ได้ตามพระทัย คือ แสวงหาคำปรึกษา ประทานคำปรึกษา และประทานคำตักเตือน ประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่โดดเด่น เช่น สหราชอาณาจักรและอดีตเมืองขึ้นทั้งสิบห้าซึ่งล้วนใช้การปกครองที่เรียกว่า "ระบบเวสมินสเตอร์" (Westminster system) ส่วนรัฐสามแห่ง คือ กัมพูชา มาเลเซีย และสันตะสำนัก ใช้ราชาธิปไตยแบบเลือกตั้ง โดยให้อภิชนกลุ่มเล็ก ๆ เป็นคณะผู้เลือกตั้งองค์อธิปัตย์ขึ้นมาเป็นระยะ ๆ นับแต่เดือนกรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงชาติในทวีปเอเชีย

นี่คือรายชื่อธงชาติประเทศและดินแดนของทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายชื่อธงชาติในทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C)

รายชื่อประเทศในภาษาต่างๆ ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (A–C) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่

ด้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามจำนวนพื้นที่ ซึ่งทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งสิ้น 44,579,000 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายชื่อประเทศในทวีปเอเชียเรียงตามพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละประเทศ แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละภูมิภาค รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตของแอปเปิล.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศภูฏาน

ในปัจจุบัน องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนสถานที่ในประเทศภูฏานเป็นมรดกโลก อย่างไรก็ตามประเทศภูฏานมีสถานที่ที่ได้รับขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 8 แห่ง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียใต้

องค์การยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนสถานที่สำคัญใน 6 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เป็นมรดกโลก ทั้งสิ้น 60 แห่ง, UNESCO World Heritage Sites official sites.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในเอเชียใต้ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจำนวน 25 ประเทศจากทั้งสิ้น 29 ประเทศทั่วโลกตอบรับคำเชิญของรัฐบาลไทยที่จะมาร่วมราชพิธีอันเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ในเดือนมิถุนายนปีดังกล่าว พระประมุขจาก 13 ประเทศเสด็จพระราชดำเนินมาด้วยพระองค์เอง 12 ประเทศทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งผู้แทนพระองค์ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทน ครั้งนี้นับเป็นการชุมนุมของพระประมุขจากประเทศต่าง ๆ มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามรัชทายาท

นี้คือรายพระนามรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในการสืบราชบัลลังก์ทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายพระนามรัชทายาท · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด

รายชื่อบุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ลิงอ้ายเงียะ

ลิงอ้ายเงียะ, ลิงอัสสัม หรือ ลิงภูเขา (Assam macaque) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งที่อยู่ในอันดับวานร (ไพรเมต) มีรูปร่างอ้วนเทอะทะ แขนและขาสั้น ขนตามลำตัวมีสีเหลืองปนเทา บางตัวอาจมีสีเข้มมากจนดูคล้ายสีน้ำตาลดำ ส่วนหัวไหล่ ศีรษะ และแขนจะมีสีอ่อนกว่าสีขนบริเวณอื่น ๆ ของร่างกาย ขนบริเวณหัวและหางมักมีสีเทา ขนที่ไหล่มีความยาวมากกว่า 8.5 เซนติเมตร ในบางฤดูกาลผิวหนังใต้ขนจะเปลี่ยนเป็นสีเทาอมฟ้า มีความยาวลำตัวและหางรวม 51-63.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 20-38 เซนติเมตร น้ำหนัก 5-10 กิโลกรัม มักอาศัยในป่าบนภูเขาสูงหรือตามที่ราบสูงซึ่งมีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 500-3,500 เมตร ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนต้นไม้ซึ่งมีเรือนยอดไม้สูงจากพื้นดินประมาณ 10-15 เมตร จากการศึกษาพบว่ามักอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ โดยฝูงหนึ่งมีสมาชิกประมาณ 40- 60 ตัว ในระหว่างการหากินจะมีสมาชิกบางตัวทำหน้าที่ระวังภัยให้ฝูง โดยจะนั่งสังเกตการณ์อยู่บนต้นไม้ซึ่งสูงที่สุด และหากมีอันตรายเข้ามาใกล้จะส่งเสียงร้องเตือนให้หลบหนี โดยจะร้องเสียงดัง "ปิ้ว" ลิงอ้ายเงียะจัดเป็นลิงนิสัยดุร้าย สามารถกระดิกหางได้เหมือนสุนัข เริ่มผสมพันธุ์ได้เมื่อมีอายุ 3-4 ปี ระยะตั้งท้องนาน 5-6 เดือน ออกลูกครั้งละ 1 ตัว ในระหว่างเดือนเมษายน-มิถุนายน กินอาหารประกอบไปด้วย ผลไม้ ยอดไม้อ่อน แมลง และสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่า เป็นต้น มีการกระจายพันธุ์พบในเนปาล ภูฏาน สิกขิมและรัฐอัสสัมของอินเดีย ภาคใต้ของจีน ภาคเหนือของพม่า ภาคเหนือของเวียดนาม ภาคตะวันตกและภาคอีสานของไทย แบ่งเป็นชนิดย่อย 2 ชนิดได้แก่ ลิงอ้ายเงียะตะวันออก (M. a. assamensis) และลิงอ้ายเงียะตะวันตก (M. a. pelops) ซึ่งแบ่งตามสองฝั่งของแม่น้ำพรหมบุตร ลิงอ้ายเงียะในประเทศไทย ปัจจุบันนี้พบได้เพียง 9 แห่งเท่านั้น ได้แก่ วัดถ้ำปลา และวัดถ้ำผาแลนิภาราม.เชียงราย, บ้านป่าไม้.เชียงใหม่, เขตห้ามล่าสัตว์ป่าถ้ำผาท่าพล.พิษณุโลก, อุทยานแห่งชาติน้ำตกคลองลาน.กำแพงเพชร, เขตรักษาพันธ์ป่าอุ้มผาง.ตาก, อุทยานแห่งชาติภูเขียว.ชัยภูมิ, เขื่อนเขาแหลม และ อุทยานแห่งชาติน้ำตกเอราวัณ.กาญจนบุรี ซึ่งถือว่าน้อยมาก ปัจจุบัน เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและลิงอ้ายเงียะ · ดูเพิ่มเติม »

ลิ่นจีน

ลิ่นจีน (อังกฤษ: Chinese pangolin; 中華穿山甲; ชื่อวิทยาศาสตร์: Manis pentadactyla) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง จำพวกลิ่น.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและลิ่นจีน · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันวิสาขบูชา

วันที่สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญของพระพุทธศาสนามากถึง 3 เหตุการณ์ คือ เป็นวันคล้ายวันประสูติ, ตรัสรู้ และปรินิพพาน ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า '''"วันพระพุทธเจ้า"''' วันวิสาขบูชา (วิสาขปุณฺณมีปูชา; Vesak) เป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธสำหรับพุทธศาสนิกชนทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศ และวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติRequest for inclusion of an additional item in the agenda of the fifty-fourth session in United Nations (12 November 1999).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและวันวิสาขบูชา · ดูเพิ่มเติม »

วันครู

วันครู เป็นวันสำคัญสำหรับระลึกถึงความสำคัญของครู ประเทศส่วนใหญ่เป็นวันหยุดของครูและนักเรียน บางแห่งมีการเฉลิมฉลองเพื่อเป็นเกียรติและจัดงานเลี้ยงสำหรับครู วันที่มีวันครูในแต่ละประเทศมีการเฉลิมฉลองแตกต่างกันไป และแตกต่างจากวันครูโลก ซึ่งมีการเฉลิมฉลองในวันที่ 5 ตุลาคม ของทุกปี แนวคิดเรื่องการเฉลิมฉลองในวันครูมีต้นกำเนิดจากหลายประเทศในช่วงศตวรรษที่ 20 ส่วนใหญ่แล้ว จะเฉลิมฉลองแด่ผู้ให้การศึกษาของแต่ละแห่ง หรือจัดในวันที่มีเหตุการณ์สำคัญทางการศึกษา (ตัวอย่างเช่น ประเทศอาร์เจนตินามีการไว้อาลัยถึงการเสียชีวิตของ Domingo Faustino Sarmiento ในวันที่ 11 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1915 เป็นต้นมา ในขณะที่ประเทศอินเดียได้มีการฉลองวันเกิดของ ดร. สรวปัลลี ราธากฤษณัน ในวันที่ 5 กันยายน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 เป็นต้นมา) ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่ประเทศต่าง ๆ มีวันที่ที่จัดวันครูแตกต่างกัน และแตกต่างจากวันครูของสากล.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและวันครู · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาลัยฟิลลิปส์

วิทยาลัยฟิลลิปส์ หรือ ฟิลลิปส์แอนโดเวอร์ หรือ แอนโดเวอร์ (อังกฤษ: Phillips Academy, Phillips Andover, Andover, Phillips Academy Andover, หรือ PA) เป็นโรงเรียนประจำ สหศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีชื่อเสียงในสหรัฐอเมริกา รับนักเรียนเกรด 9-12 รวมทั้งนักเรียนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาแล้ว (post-graduate หรือ PG) โรงเรียนตั้งอยู่ในเมือง แอนโดเวอร์ รัฐ แมสซาชูเซตส์ ประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยอยู่ทางเหนือของเมือง บอสตัน ประมาณ 25 ไมล.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและวิทยาลัยฟิลลิปส์ · ดูเพิ่มเติม »

ว่านหัวสืบ

ว่านหัวสืบ D. Don เป็นไม้ล้มลุกในวงศ์ Colchicaceae มีเหง้าใต้ดิน รากสด ลำต้นแตกกิ่ง ใบเรียงเวียน ปลายใบแหลมยาว ช่อดอกแบบช่อซี่ร่มออกตามกิ่งด้านข้างตรงข้ามใบ ก้านช่อสั้น ก้านดอกมีริ้วและปุ่มกระจาย ดอกรูปคล้ายระฆัง สีชมพูอมแดงหรือม่วง กลีบรวม 6 กลีบ แยกกัน โคนมีเดือยทรงกระบอก เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดที่โคนกลีบรวมก้านชูอับเรณูแบน ก้านแกสรเพศเมียเรียวยาวแยกเป็น 3 แฉก บานออก ผลสด ทรงกลม สุกสีดำ ส่วนมากมี 2 เมล็ด พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม ไทย ขึ้นใต้ร่มเงาในป่าดิบแล้งและป่าดิบเขา หัวใต้ดินนำไปตากแห้ง แช่น้ำดื่ม แก้ปวดเมื่อ.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและว่านหัวสืบ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑. พระไตรปิฎกฉบับสยามรั.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธแบบทิเบต

ระพุทธศาสนาแบบทิเบตราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 587-8 (Tibetan Buddhism) คือพุทธศาสนาแบบหนึ่งซึ่งถือปฏิบัติในทิเบต และปัจจุบันได้แพร่หลายไปในหลายประเทศ ดินแดนทิเบตในอดีตมีความรุ่งเรืองทางพุทธศาสนามาก พุทธศาสนาแบบทิเบตมีเอกลักษณ์เฉพาะคือเป็นการผสมผสานระหว่างพุทธศาสนานิกายมหายานทั้งจากอินเดียและจีน ได้รับอิทธิพลจากพุทธศานานิกายตันตระของอินเดีย จนเกิดเป็นนิกายวัชรยานขึ้น ประชาชนใฝ่ธรรมะ เมื่อมีงานบุญ ประชาชนจะเดินทางไปแสวงบุญแม้จะไกลสักเพียงใด ซึ่งปัจจุบันก็มีให้เห็นอยู่มากมาย แต่เมื่อตกอยู่ในการปกครองของจีนวัดนับพันแห่งทั่วนครลาซา เหลือไม่ถึงหนึ่งร้อยแห่งในปัจจุบัน จนแทบไม่เหลือความเจริญรุ่งเรืองในอดีต.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและศาสนาพุทธแบบทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศภูฏาน

การปกครองของคณะสงฆ์ภูฏาน แบ่งออกเป็น 5 ชั้นปกครอง คือ.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและศาสนาพุทธในประเทศภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

สกุลกฤษณา

กุลกฤษณา (Aquilaria) เป็นสกุลหนึ่งของพืชวงศ์กฤษณา (Thymelaeaceae) มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียใต้ พบมากโดยเฉพาะในป่าดิบชื้นของอินโดนีเซีย, ไทย, กัมพูชา, ลาว, เวียดนาม, มาเลเซีย, อินเดียตอนเหนือ, ฟิลิปปินส์ และนิวกินี พรรณไม้ในสกุลนี้ปกติมีเนื้อไม้สีขาว เมื่อเกิดบาดแผล ต้นไม้จะหลั่งสารเคมีออกมาเพื่อรักษาบาดแผลนั้น แต่สารเคมีจะขยายวงกว้างออกไปอีก ก่อให้เกิดเนื้อไม้ซึ่งมีสีดำ กลิ่นหอม เรียกว่า "กฤษณา".

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสกุลกฤษณา · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรภูฏาน

ผู้แทนราษฎรภูฏานเป็นสภาล่างที่มีสมาชิกมาจากการเลือกตั้งของรัฐสภาภูฏานอันเป็นระบบสภาคู่ใหม่ของประเทศภูฏาน ซึ่งยังประกอบด้วยพระมหากษัตริย์และสภาแห่งชาต.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสภาผู้แทนราษฎรภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

สภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย

อลิมปิกแห่งเอเชีย (Olympic Council of Asia; OCA) เป็นองค์กรบริหารจัดการแข่งขันกีฬาระดับทวีปเอเชียในปัจจุบัน สืบต่อจากสหพันธ์เอเชียนเกมส์ ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ เมื่อวันอังคารที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) โดยมี เชค อะห์หมัด อัล-ฟาฮัด อัล-อะห์เหม็ด อัล-ซาบะห์ (Sheikh Ahmad Al-Fahad Al-Ahmed Al-Sabah) เป็นประธาน และสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ กรุงคูเวตซิตีของรัฐคูเวต.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีอุกเยน วังชุก

มเด็จพระราชาธิบดีอุกเยน วังชุก เสด็จพระราชสมภพเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสมเด็จพระราชาธิบดีอุกเยน วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก

มเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก เป็นอดีตพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรภูฎาน รัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์วังชุก เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก

มเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก (ภาษาซองคา: འཇིགས་མེད་གེ་སར་རྣམ་རྒྱལ་དབང་ཕྱུག་) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรภูฏาน รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์วังชุก ทรงได้รับการยกย่องจากชาวภูฏานรวมถึงชาวไทยส่วนใหญ่ว่ามีพระจริยวัตรที่งดงาม และเป็นที่รักยิ่งของประชาชนชาวภูฏาน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังซุก ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของพสกนิกรทุกหมู่เหล่า จากการที่ทรงวางพระองค์อย่างเป็นกันเองในหมู่ประชาชน จึงสร้างความประทับใจแก่พสกนิกรอย่างสูง ถึงแม้ว่าพระองค์ไม่ต้องทรงรับพระราชภารกิจการบริหารประเทศ เนื่องจากสมเด็จพระราชบิดาได้ทรงวางระบอบปกครองแบบประชาธิปไตยขึ้นมาอยู่ก่อนแล้ว แต่พระองค์เองก็ยังทรงเป็นสัญลักษณ์สำคัญ ในการสร้างเอกภาพและเสถียรภาพ ในประเทศที่มีประชากรเพียง 753,947 คน โดยมุ่งเน้นด้านความสุขมวลรวมของประชากรภายในประเทศเป็นสำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีดอร์จิ วังโม วังชุก

มเด็จพระราชินีดอร์จิ วังโม วังชุก พระบรมราชชนนี (Her Majesty Queen Dorji Wangmo Wangchuck, Queen Mother of Bhutan, เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 1955) เป็นพระอัครมเหสีพระองค์ที่ 1 ใน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก พระบรมราชชนก ในสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรภูฏานพระองค์ปัจจุบัน โดยสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก พระบรมราชสวามีของพระองค์ ได้ทรงสละราชสมบัติให้แด่พระราชโอรสพระองค์โตที่ประสูติกาลแด่สมเด็จพระบรมราชินีหรือพระอัครมเหสีพระองค์ที่สามขึ้นครองราชย์ โดยสมเด็จพระราชินีทั้งหมด 4 พระองค์นั้นเป็นพระพี่น้องกันทั้งหมด สมเด็จพระราชินีดอร์จิ วังโม วังชุก ทรงให้การพระประสูติกาลพระราชโอรส-ธิดาให้แด่ สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก 2 พระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสมเด็จพระราชินีดอร์จิ วังโม วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีซังเก โชเดน วังชุก

มเด็จพระราชินีซังเก โชเดน วังชุก พระบรมราชชนนี (Her Majesty Queen Sangay Choden Wangchuck, Queen Mother of Bhutan, พระราชสมภพ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1963 -) ทรงเป็นหนึ่งในพระอัครมเหสีพระองค์ที่ 4 ใน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก พระบรมราชชนกใน สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรภูฏานพระองค์ปัจจุบัน โดยสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก พระบรมราชสวามีของพระองค์ ได้ทรงสละราชสมบัติให้พระราชโอรสพระองค์โตที่พระราชสมภพในสมเด็จพระบรมราชินีหรือพระอัครมเหสีพระองค์ที่สามให้ทรงขึ้นครองราชย์ โดยสมเด็จพระราชินีทั้งหมด 4 พระองค์นั้นเป็นพระพี่น้องกันทั้งหมด สมเด็จพระราชินีซังเก โชเดน วังชุก ทรงให้การพระประสูติกาลพระราชโอรส-ธิดาให้แก่สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก 2 พระองค์ ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสมเด็จพระราชินีซังเก โชเดน วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเชอริง ยังดน วังชุก

มเด็จพระราชินีเชอริง ยังดน วังชุก พระบรมราชชนนี (เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1959) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีและพระอัครมเหสีองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก และทรงเป็นพระบรมราชชนนี ในสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก  พระองค์ทรงจบการศึกษา ที่ โรงเรียนเซนต์ โจเซฟ, ประเทศอินเดี.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสมเด็จพระราชินีเชอริง ยังดน วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเชอริง เพม วังชุก

มเด็จพระราชินีเชอริง เพม วังชุก พระบรมราชชนนี (Her Majesty Queen Tshering Pem Wangchuck, Queen Mother of Bhutan, พระราชสมภพ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498) เป็นพระอัครมเหสีพระองค์ที่ 2 ในสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเย วังชุก พระองค์และพระราชสวามีมีพระราชโอรสและพระราชธิดาร่วมกัน 3 พระอง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสมเด็จพระราชินีเชอริง เพม วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก

มเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก (རྗེ་བཙུན་པདྨ་; Wylie: rje btsun padma; Ashi Jetsun Pema Wangchuck) พระราชสมภพเมื่อวันที่ ที่กรุงทิมพู ประเทศภูฏาน เป็นสมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก ที่สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมีได้ทรงประกาศอย่างเป็นทางการ ซึ่งพระองค์เป็นนักศึกษาวัยยี่สิบเอ็ดพรรษา ทั้งสองพระองค์มีกำหนดอภิเษกสมรสในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2554 โดยการอภิเษกสมรสจัดขึ้นในวันที่ 13 ตุลาคม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์

มสมาคม หอประชุม สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งอยู่ถนนอโศกมนตรี กรุงเทพมหานคร ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานก๊น

นก๊น อยู่ในวงศ์ Caprifoliaceae เป็นไม้พุ่ม กิ่งก้านขนาดเล็ก ดอกช่อ ดอกย่อยสีขาว พบตามธรรมชาติในภูฏาน พม่า กัมพูชา จีน (ยกเว้นทางเหนือ) อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ลาว มาเลเซีย (รัฐซาบะฮ์) ฟิลิปปินส์ ภาคใต้ของไทย และเวียดนาม ใบและก้านขยี้ให้คนไข้ดม แก้ชัก ต้นต้มน้ำอาบแก้ผดผื่น ผลกินเป็นยาระบาย ช่วยให้ถ่ายท้อง ชาวโอรังอัสลีในรัฐเประก์ ประเทศมาเลเซีย นำใบบดกับน้ำใช้ทาแก้อาการอัก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสะพานก๊น · ดูเพิ่มเติม »

สะพานแขวน

นอะกะชิไคเกียวในญี่ปุ่น เป็นสะพานแขวนที่ยาวที่สุดในโลก สะพานจอร์จ วอชิงตัน เชื่อมระหว่างนครนิวยอร์กและรัฐนิวเจอร์ซีคือ สะพานแขวนที่มีการจราจรมากที่สุดในโลก ด้วยปริมาณรถ 102 ล้านคันต่อปี สะพานแขวน (Suspension bridge) คือ รูปแบบของสะพานแบบหนึ่ง ซึ่งพื้นสะพานถูกแขวนด้วยสายเคเบิลในแนวตั้ง ตัวอย่างสะพานแขวนแห่งแรกถูกสร้างขึ้นในทิเบตและภูฏานในคริสศตวรรษที่ 15 ในรูปแบบที่เรียบง่าย ซึ่งกลายเป็นรูปแบบของสะพานแขวนในศตวรรษที่ 19 สะพานที่ไม่มีสายแขวนในแนวตั้งมีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานในเขตภูเขาหลายๆ แห่งทั่วโลก สะพานแขวนมีสายเคเบิลแขวนระหว่างเสาหรือหอคอย และมีสายแขวนในแนวตั้ง ซึ่งถือน้ำหนักของพื้นสะพานด้านล่างและมีการจราจรอยู่ด้านบน โดยการก่อสร้างสะพานรูปแบบนี้ไม่ค่อยมีงานก่อสร้างที่ผิดพลาด สายเคเบิลหลักต้องถูกยึดติดที่แต่ละด้านและปลายสุดของสะพาน น้ำหนักถ่วงของสะพานจะเปลี่ยนเป็นความตึงของสายเคเบิลหลักๆ สายเคเบิลจะดึงหอคอยทั้งสองด้านไปจนถึงการรับน้ำหนักบนพื้นด้านล่าง ในบางครั้งหอคอยอาจจะตั้งอยู่บนขอบตลิ่งกว้างหรือหุบเขาที่ถนนสามารถเข้าถึงได้โดยตรง หรืออาจจะใช้สะพานที่มีเสาค้ำ (Truss bridge) ในการเชื่อมต่อกับสะพานแขวน perrow.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสะพานแขวน · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

ริยุปราคาเต็มดวง 22 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสุริยุปราคา 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

สุนุวาร์

นุวาร์ หรือ ซูนูวาร์ EngSunuwar NPसुनुवार คนสุนุวาร์เป็นส่วนหนึ่งของชนพื้นเมืองของประเทศเนปาลและบางพื้นที่ในประเทศอินเดีย ภูฏาน: ดาร์จีลิง, สิกขิม, อัสสัม ชนเผ่าได้รับอิทธิพลจากศาสนาฮินดู ส่วนใหญ่คนสุนุวาร์นับถือศาสนา 79.50% ฮินดู และ 17.4% พุทธ กีราต แต่ไม่แบ่งแยกศาสนา การสำรวจสำมะโนประชากรปี 2012 คนสุนุวาร์ ประมาณ 100,000 คน ซูนูวาร.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและสุนุวาร์ · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกอินเดีย

ำหรับหมาจิ้งจอกขนาดเล็กกว่าที่พบได้ในอินเดีย ดูที่: หมาจิ้งจอกเบงกอล หมาจิ้งจอกอินเดีย หรือ หมาจิ้งจอกหิมาลัย (Indian jackal, Himalayan jackal) เป็นชนิดย่อยของหมาจิ้งจอกทอง (C. aureus) หรือหมาจิ้งจอก หัวกะโหลกของหมาจิ้งจอกอินเดีย สีขนมี 2 สี คือ สีดำและสีขาวและสีน้ำตาลอมเหลืองบนหัวไหล่, หูและขา ในตัวที่อาศัยอยู่ในที่สูงจะมีสีลำตัวที่เข้มมากขึ้น มีขนสีดำตั้งแต่ช่วงกลางของด้านหลังและหาง หน้าท้องหน้าอกและด้านข้างของขาเป็นสีขาวครีมในขณะที่ส่วนใบหน้าและด้านล่างลำตัวจะมีลักษณะคล้ายผมหงอกด้วยขนสีเทา หมาจิ้งจอกอินเดียมีขนาดโตเต็มที่มีความยาว 100 เซนติเมตร (39 นิ้ว) มีความสูงจากหัวไหล่ถึงเท้า 35–45 เซนติเมตร (14–18 นิ้ว) และมีน้ำหนักประมาณ 8–11 กิโลกรัม (18–24 ปอนด์) พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ปากีสถาน, อินเดีย, ภูฏาน, พม่า และเนปาลLAPINI L., 2003 - Canis aureus (Linnaeus, 1758).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและหมาจิ้งจอกอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกทอง

หมาจิ้งจอกทอง หรือ หมาจิ้งจอกเอเชีย (pmc Reed wolf) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Canis aureus ในวงศ์สุนัข (Canidae) และถึงแม้ว่าจะได้ชื่อสามัญว่าในภาษาไทยว่า "หมาจิ้งจอก" แต่ก็มิได้เป็นหมาจิ้งจอกแท้ ๆ เพราะมิได้อยู่ในสกุล Vulpini แต่จัดเป็นหมาป่าที่มีขนาดเล็ก (แจ็กคัล) กว่าหมาใน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและหมาจิ้งจอกทอง · ดูเพิ่มเติม »

หมาจิ้งจอกแดง

หมาจิ้งจอกแดง (Red fox) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม อันดับสัตว์กินเนื้อ ซึ่งอยู่ในวงศ์สุนัข (Canidae) จัดได้ว่าเป็นหมาจิ้งจอกแท้ชนิดหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและหมาจิ้งจอกแดง · ดูเพิ่มเติม »

หมูหริ่ง

หมูหริ่ง, หมูหรึ่ง หรือ หมูดิน (hog badger, Indian badger) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Arctonyx collaris อยู่ในวงศ์ Mustelidae อันเป็นวงศ์เดียวกับเพียงพอนหรือวีเซล โดยที่หมูหริ่งอยู่ในสกุล Arctonyx นับเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุลนี้.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและหมูหริ่ง · ดูเพิ่มเติม »

หมีขอ

หมีขอ หรือ บินตุรง หรือ หมีกระรอก (Binturong, Bearcat;; อีสาน: เหง็นหางขอ, เหง็นหมี) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม แม้จะมีหน้าตาคล้ายหมีจนได้ชื่อว่าหมี แต่เป็นสัตว์จำพวกชะมดและอีเห็น (Viverridae) ที่ใหญ่ที่สุด จัดเป็นสัตว์เพียงชนิดเดียวในสกุล Arctictis มีหางยาวเป็นพวงคล้ายกระรอก ขนตามลำตัวค่อนข้างยาวสีดำและหยาบ สีขนบริเวณหัวอาจมีสีเทา หูกลม บริเวณขอบหูมีสีขาว หางที่ยาวสามารถใช้เกาะเกี่ยวต้นไม้ได้เป็นอย่างดี มีความยาวลำตัวและหัว 61-96.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 50-84 เซนติเมตร น้ำหนัก 9-20 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ภูฐาน, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ภาคตะวันตกของพม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, พรมแดนระหว่างเวียดนามติดกับลาวและกัมพูชา, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียวในอินโดนีเซีย และเกาะปาลาวันในฟิลิปปินส์ หมีขอเป็นสัตว์หากินในเวลากลางคืน อาศัยและหากินตามลำพัง แต่ในบางครั้งอาจอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประกอบไปด้วย แม่และลูก ในเวลากลางวันจะอาศัยโพรงไม้เป็นที่หลับนอน อาหารได้แก่ ผลไม้และสัตว์ที่มีขนาดเล็กชนิดต่าง ๆ บนต้นไม้ทั้งแมลงและสัตว์เลื้อยคลาน ปีนต้นไม้ได้เก่งมาก โดยใช้หางที่ยาวเกาะเกี่ยวกิ่งไม้จากต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่ง นอกจากนี้ยังสามารถว่ายน้ำได้อีกด้วย มีการผสมพันธุ์กันได้ตลอดทั้งปี ใช้เวลาตั้งท้องนาน 92 วัน ออกลูกครั้งละ 1-3 ตัว หมีขอตัวเมียจะมีเต้านมทั้งหมด 2 คู่ ลูกที่เกิดใหม่ยังไม่สามารถขาและหางเกี่ยวกิ่งไม้ได้ชำนาญเหมือนตัวพ่อแม่ หมีขอเป็นสัตว์ที่เลี้ยงตั้งแต่เล็กแล้วจะเชื่อง จนสามารถนำมาฝึกให้แสดงโชว์ต่าง ๆ ได้ตามสวนสัตว์ สถานะปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 2 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและหมีขอ · ดูเพิ่มเติม »

หมีควาย

หมีควาย หรือ หมีดำเอเชีย (Asian black bear, Asiatic black bear) จัดเป็นหมี 1 ใน 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย (อีกหนึ่งคือ หมีหมา (U. malayanus)).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและหมีควาย · ดูเพิ่มเติม »

หลิว เจียหลิง

หล่า ก๊าเหล่ง หรือ หลิว เจียหลิง ในสำเนียงจีนกลาง (จีนตัวเต็ม: 劉嘉玲, จีนตัวย่อ: 刘嘉玲, พินอิน: Liú Jiālíng, อังกฤษ: Carina Lau, Carina Lau Kar-ling) เป็นนักแสดงหญิงชาวฮ่องกงที่มีชื่อเสียง เกิดเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม ค.ศ. 1965 ที่เมืองซูโจว มณฑลเจียงซู ประเทศจีน หลิว เจียหลิงเป็นพี่สาวคนโตโดยมีน้องชายและน้องสาวอีกอย่างละหนึ่งคน ได้เดินทางเข้าสู่ฮ่องกงเมื่ออายุ 15 ปี จากการย้ายตามครอบครัวโดยพ่อเดินทางมาทำงานที่นี่ ซึ่งแรก ๆ เธอต้องฝึกเรียนภาษากวางตุ้ง จากที่เคยพูดแต่จีนกลางมาตลอด เข้าสู่วงการบันเทิงด้วยการเป็นนักเรียนโรงเรียนการแสดงของ TVB รุ่นที่ 12 โดยเธอมีความโดดเด่นเหนือกว่าเพื่อนร่วมชั้นคนอื่น ๆ จึงได้มีโอกาสแสดงครั้งแรกจากละครโทรทัศน์ชุด The Duke of Mount Deer หรือ อุ้ยเสี่ยวป้อ ประกบคู่กับ เหลียง เฉาเหว่ย และหลิว เต๋อหัว ที่เป็นพระเอก และตามมาด้วย Police Cadet '84 หรือ นักสู้ผู้พิทักษ์ ในปี ค.ศ. 1984 พร้อมกับมีชื่อเสียงขึ้นมา ต่อมาจึงได้แสดงนำในภาพยนตร์แอ๊คชั่นหลายเรื่อง เช่น Project A Part II ในปี ค.ศ. 1986 และ Armour of God ในปี ค.ศ. 1987 คู่กับ เฉินหลง นักแสดงระดับซูเปอร์สตาร์ทั้งสองเรื่อง ในส่วนของผลงานดราม่า ได้แก่ Days of Being Wild ร่วมกับนักแสดงชื่อดังของฮ่องกงหลายคน ในปี ค.ศ. 1991 จากการกำกับของหว่อง กาไว, The Eagle Shooting Heroes ในปี ค.ศ. 1993, Ashes of Time และC'est la vie, mon chéri ในปี ค.ศ. 1994 เป็นต้น ปัจจุบัน แม้หลิว เจียหลิงจะมีอายุมากขึ้น แต่เธอก็ยังคงรักษาสุขภาพร่างกายให้งดงามเสมอ จึงได้เป็นพรีเซ็นเตอร์ในโฆษณาผลิตภัณฑ์ประเภทบำรุงผิวหรือรักษาความงามเสมอ ๆ ด้านชีวิตส่วนตัว เมื่อปี ค.ศ. 2007 เธอตกเป็นข่าวฮือฮาเมื่อยอมรับอย่างตรงไปตรงมาว่าเมื่อปี ค.ศ. 1990 ได้ถูกแก๊งค์ยากูซ่าฉุดไปถ่ายรูปเปลือย ซึ่งในช่วงนั้นได้มีวิดีโอคลิปนี้ออกมา เธอสมรสกับ เหลียง เฉาเหว่ย นักแสดงชายชื่อดังอีกราย หลังจากที่คบหาและร่วมงานกันมากว่า 19 ปี ในกลางปี ค.ศ. 2008 ที่ประเทศภูฏาน ซึ่งทั้งคู่ได้เดินทางมาสู่ประเทศไทยด้วยกันก่อนหน้านั้นด้วย แต่ต่อมาในกลางปี ค.ศ. 2011 ก็ปรากฏภาพถ่ายของเธอกับนักแสดงรุ่นหลัง คือ เฉิน กวานซี ที่มีข่าวอื้อฉาวทำนองนี้ก่อนหน้านี้มาแล้วด้วย พร้อมกับยอมรับว่าชีวิตสมรสของเธอกับเหลียง เฉาเหว่ย กว่า 2 ปีนั้นเริ่มมีปัญหา ผลงานในระยะหลัง ๆ ได้แก่ Infernal Affairs II, Infernal Affairs III และ 2046 ในปี ค.ศ. 2003, และรับบท พระนางบูเช็คเทียน ในDetective Dee and the Mystery of the Phantom Flame จากการกำกับของ ฉีเคอะ ซึ่งเธอได้รับรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม และLet the Bullets Fly ในปี ค.ศ. 2010.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและหลิว เจียหลิง · ดูเพิ่มเติม »

หน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ

นอกจากองค์การหลักทั้ง 6 องค์กรแล้ว (ยกเว้นคณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติที่ได้ยุติการปฏิบัติงานในปี พ.ศ. 2537) ยังมีการตั้งหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติขึ้นมาทำหน้าที่พิเศษซึ่งเป็นไปตามกฎบัตรสหประชาชาติว่า องค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 สามารถตั้งหน่วยงานพิเศษขึ้นมาเพื่อการทำงานในรูปแบบต่างๆ ได้ หน่วยงานพิเศษที่ตั้งขึ้นมาจากองค์กรหลักของสหประชาชาติทั้ง 5 องค์กรนั้น หน่วยงานพิเศษบางหน่วยงานอาจจะไม่ได้ขึ้นกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งของสหประชาชาติเพียงอย่างเดียว บางหน่วยงานพิเศษที่ก่อตั้งขึ้นมานั้นอาจจะขึ้นอยู่กับองค์กรที่มีมากกว่า 1 องค์กรก็ได้หรือก็ขึ้นอยู่กับทุกๆองค์กรในสหประชาชาติก็ได้ ปัจจุบันหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติมีทั้งสิ้น 15 หน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติ รายชื่อหน่วยงานพิเศษในเครือสหประชาชาติมีดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและหน่วยงานพิเศษของสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

ห้อมช้าง

ห้อมช้าง (Wall.) เป็นไม้พุ่มในวงศ์ Acanthaceae ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามปลายกิ่ง ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ มีขนหนาแน่นด้านใน กลีบดอกรูปปากเปิด สีม่วงอมแดงหรืออมชมพู ด้านนอกมีขนละเอียด กลีบล่าง 3 กลีบ กลีบรูปรี กลีบบน 2 กลีบ สั้นกว่ากลีบล่างเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 2 อัน ติดภายในหลอดกลีบดอก ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอกเล็กน้อย ก้านชูอับเรณูเกลี้ยง กสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน ขนาดเล็ก ผลแห้งแตก รูปแถบ มีสันเป็นเหลี่ยม มีขนสั้นนุ่ม การกระจายพันธุ์ พบที่อินเดีย ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบมากทางภาคเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและห้อมช้าง · ดูเพิ่มเติม »

อองซาน ซูจี

อองซาน ซูจี (90px, เกิด 19 มิถุนายน 2488) เป็นนักการเมืองชาวพม่าและประธานพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD) ผู้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และรัฐมนตรีประจำทำเนียบประธานาธิบดี ในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2533 NLD ได้คะแนนเสียงทั้งประเทศ 59% และที่นั่ง 81% (392 จาก 485 ที่นั่ง) ในรัฐสภา ทว่า เธอถูกควบคุมตัวในบ้านก่อนการเลือกตั้ง เธอยังอยู่ภายใต้การควบคุมตัวในบ้านในประเทศพม่าเป็นเวลาเกือบ 15 จาก 21 ปีตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2532 จนการปล่อยตัวครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ทำให้เธอเป็นนักโทษการเมืองที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งของโลก ซูจีได้รับรางวัลราฟโต (Rafto Prize) และรางวัลซาฮารอฟสำหรับเสรีภาพทางความคิด (Sakharov Prize for Freedom of Thought) ในปี 2533 และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี 2534 ในปี 2535 เธอได้รับรางวัลชวาหระลาล เนห์รูเพื่อความเข้าใจระหว่างประเทศ (Jawaharlal Nehru Award for International Understanding) โดยรัฐบาลอินเดีย และรางวัลซีมอง โบลีวาร์ระหว่างประเทศ (International Simón Bolívar Prize) จากรัฐบาลเวเนซุเอลา ในปี 2555 รัฐบาลปากีสถานมอบรางวัลชาฮิด เบนาซีร์ บุตโตเพื่อประชาธิปไตย (Shaheed Benazir Bhutto Award For Democracy) ในปี 2550 รัฐบาลแคนาดาประกาศให้เธอเป็นพลเมืองกิตติมศักดิ์ของประเทศ เป็นคนที่สี่ที่ได้รับเกียรตินี้ ในปี 2554 เธอได้รับเหรียญวัลเลนเบิร์ก (Wallenberg Medal) วันที่ 19 กันยายน 2555 อองซาน ซูจีได้รับเหรียญทองรัฐสภา ซึ่งร่วมกับเหรียญเสรีภาพประธานาธิบดี เป็นเกียรติยศพลเรือนสูงสุดในสหรัฐอเมริกา วันที่ 1 เมษายน 2555 พรรคสันนิบาติแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตยประกาศว่าเธอได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งในปีตูลุ้ดดอ (Pyithu Hluttaw) สภาล่างของรัฐสภาพม่า ซึ่งเป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้งกอว์มู (Kawhmu) พรรคของเธอยังได้ที่นั่งว่าง 43 จาก 45 ที่นั่งในสภาล่าง คณะกรรมการการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการยืนยันผลการเลือกตั้งในวันรุ่งขึ้น วันที่ 6 มิถุนายน 2556 ซูจีประกาศบนเว็บไซต์ของเวิลด์อีโคโนมิกฟอรัมว่าเธอต้องการลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในการเลือกตั้งปี 2558 ทว่า ซูจีถูกห้ามมิให้เป็นประธานาธิบดีภายใต้รัฐธรรมนูญปัจจุบัน ซึ่งมิอาจแก้ไขได้โดยปราศจากการรับรองจากสมาชิกสภานิติบัญญัติทหารอย่างน้อยหนึ่งคน ในปี 2557 นิตยสารฟอบส์จัดให้เธอเป็นหญิงทรงอำนาจที่สุดในโลกอันดับที่ 61 ในการเลือกตั้งทั่วไปปี พ.ศ. 2558 พรรค NLD ได้คะแนนเสียงทั้งประเทศ 86% (255 ที่นั่ง ในสภาผู้แทนราษฎรและ 135 ที่นั่ง ในสภาเชื้อชาติ) ทว่า เธอซึ่งเป็นประธานพรรค NLD ไม่สามารถดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเนื่องจากมีข้อห้ามในรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและอองซาน ซูจี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรสันถาลี

อักษรสันถาลี (Santali) หรือ โอล สีเมต โอล สิกิ ประดิษฐ์เมื่อ พ.ศ. 2463 โดย พันดิก ราคุนาท มูร์มู ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการส่งเสริมวัฒนธรรมสันถาลี เพื่อให้ภาษาสันถาลีมีอักษรเป็นของตนเองเช่นเดียวกับภาษาสำคัญอื่น ๆ ในอินเดีย ก่อนหน้านี้ภาษาสันถาลีเขียนด้วยอักษรเบงกาลี อักษรโอริยา อักษรเทวนาครี หรืออักษรละติน อักษรนี้ได้รับการออกแบบเพื่อใช้กับภาษาสันถาลีที่ใช้พูดทางภาคใต้ของรัฐโอร.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและอักษรสันถาลี · ดูเพิ่มเติม »

อักษรทิเบต

ระอักษรทิเบต ในช่วง..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและอักษรทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

อักษรเบรลล์ภาษาซองคา

อักษรเบรลล์ภาษาซองคา หรือ อักษรเบรลล์ภาษาภูฏาน เป็นอักษรเบรลล์ ตัวอักษรของภาษาซองคา ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของประเทศภูฏาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและอักษรเบรลล์ภาษาซองคา · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานหลวงราชพฤกษ์

อุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็นสวนพฤกษศาสตร์ขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ ณ ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นสถานที่ที่ใช้จัดงาน มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2549 และ มหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์ 2554.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและอุทยานหลวงราชพฤกษ์ · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นข้างลาย

อีเห็นข้างลาย หรือ อีเห็นธรรมดา หรือ มูสังหอม ในภาษาใต้ (Asian palm civet) เป็นอีเห็นขนาดเล็ก สีขนตามลำตัวเป็นสีเทาเข้มจนเกือบดำ ยกเว้นบริเวณรอบจมูก หู ขา และปลายหางมีสีดำมีลายสีขาวพาดขวางบริเวณหน้าผาก หลังมีจุดเล็ก ๆ สีดำเรียงตัวเป็นแนวยาว 3 เส้น จากไหล่ถึงโคนหาง หางมีความยาวพอ ๆ กับลำตัว ขนปลายหางบางตัวอาจมีสีขาว มีต่อมน้ำมันและจะส่งกลิ่นออกมาเมื่อเวลาตกใจ ซึ่งต่อมน้ำมันนี้จะแตกต่างจากชะมดหรืออีเห็นชนิดอื่น ๆ ตัวเมียมีเต้านม 3 คู่ มีความยาวลำตัวและหัว 43–71 เซนติเมตร ความยาวหาง 40.6–66 เซนติเมตร น้ำหนัก 2–5 กิโลกรัม อีเห็นข้างลายมีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก โดยพบตั้งแต่รัฐชัมมูและกัศมีร์ และภาคใต้ของอินเดีย, ศรีลังกา, เนปาล, รัฐสิกขิม, ภูฏาน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, เกาะซูลาเวซี และหมู่เกาะซุนดาน้อย และมีชนิดย่อยมากถึง 30 ชนิด (ดูในตาราง) มีพฤติกรรมมักอาศัยและหากินตามลำพัง สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ ป่าดิบชื้น, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ใกล้กับพื้นที่เกษตรกรรมของมนุษย์ กินอาหารได้ทั้งพืชและสัตว์ เช่น สัตว์ขนาดเล็กจำพวกแมลง และน้ำหวานของเกสรดอกไม้ ออกหากินในเวลากลางคืน นอนหลับในเวลากลางวัน ใช้เวลาส่วนมากตามพื้นดินและจะใช้เวลาน้อยมากอยู่บนต้นไม้ ออกลูกครั้งละ 2–4 ตัว โดยจะเลี้ยงลูกอ่อนไว้ตามโพรงไม้หรือโพรงหิน อีเห็นข้างลายไม่ได้ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2546 ปัจจุบันทางสวนสัตว์เชียงใหม่ได้มีโครงการในการเพาะเลี้ยงอีเห็นข้างลาย เพื่อผลิต "กาแฟขี้ชะมด" ซึ่งเป็นกาแฟที่ได้จากมูลของอีเห็นข้างลาย มีราคาซื้อขายที่สูงมาก และในการเพาะเลี้ยงเพื่อใช้ประโยชน์ในการนี้ที่จังหวัดตรังโดยเอกชนด้วยหน้า 27, อะเมซซิง..."กาแฟขี้ชะมดตรัง" โดย มนตรี สังขาว.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและอีเห็นข้างลาย · ดูเพิ่มเติม »

อีเห็นเครือ

อีเห็นเครือ (Masked palm civet) สัตว์จำพวกชะมดและอีเห็นชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Paguma larvata จัดเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ในสัตว์จำพวกนี้ ขนตามลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ไม่มีจุดหรือลวดลายใด ๆ บริเวณท้องมีสีอ่อนกว่าส่วนหลัง หลังหูและหลังคอมีสีเข้ม ม่านตามีสีน้ำตาลแดง มีหนวดเป็นเส้นยาวบริเวณจมูกและแก้ม ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย ตัวเมียมีเต้านม 2 คู่ ขนาดลำตัวและหัวยาว 50.8-76.2 เซนติเมตร ความยาวหาง 50.8-63.6 เซนติเมตร น้ำหนัก 3-5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ภาคเหนือของอินเดีย, ปากีสถาน, ตะวันออกของอัฟกานิสถาน, ไต้หวัน, ตะวันออกของจีน, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะบอร์เนียว, ตะวันตกของพม่า, สิกขิม, ภูฐาน, เนปาล มีชนิดย่อยทั้งหมด 4 ชนิด (ดูในตาราง) สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ตั้งแต่ป่าเบญจพรรณ, ป่าดิบแล้ง ไปจนถึงชายป่าที่ติดกับพื้นที่ทำการเกษตรกรรม สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และจะใช้เวลาส่วนใหญ่บนต้นไม้ โดยจะกินทั้งพืชและสัตว์ แต่ในบางครั้งอาจมาหากินบนพื้นดินด้วย จากการศึกษาในเนปาลพบว่า มีการผสมพันธุ์กันในฤดูร้อน โดยในช่วงปลายฤดูฝนอีเห็นเครือตัวเมียจะสร้างรังในโพรงไม้ เพื่อใช้เลี้ยงดูลูกอ่อน ใช้เวลาตั้งท้องนาน 2 เดือน ออกลูกครั้งละ 2-4 ตัว อีเห็นเครือถูกสันนิษฐานว่าเป็นสัตว์ที่เป็นต้นตอแพร่เชื้อของโรคซาร์สที่ระบาดในฮ่องกงและจีนแผ่นดินใหญ่ ในช่วงปี พ.ศ. 2546 เพราะชาวจีนนิยมกินเนื้ออีเห็นเครือและสัตว์ในตระกูลนี้มาก ถูกจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและอีเห็นเครือ · ดูเพิ่มเติม »

อนุทวีปอินเดีย

วเทียมของอนุทวีปอินเดีย อนุทวีปอินเดีย เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ในเอเชียใต้ เป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย, บังกลาเทศ, ปากีสถาน, ศรีลังกา รวมทั้งบางส่วนของประเทศเนปาล, ภูฏาน, พม่า, ไทย, และดินแดนบางส่วนที่อยู่ภายใต้การปกครองของจีน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและอนุทวีปอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวเบงกอล

แผนที่แสดงตำแหน่งที่ตั้งอ่าวเบงกอล เรือประมงในอ่าวเบงกอล เกาะเซนต์มาร์ติน อ่าวเบงกอล ชายหาดมารีนา เจนไน อ่าวเบงกอล (Bay of Bengal) เป็นอ่าวที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรอินเดีย มีลักษณะคล้ายรูปสามเหลี่ยมล้อมรอบด้วยประเทศอินเดียและศรีลังกาทางด้านตะวันตก บังกลาเทศและรัฐเบงกอลตะวันตกของอินเดียทางด้านเหนือ (ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ) และประเทศพม่า ภาคใต้ของประเทศไทย หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ทางด้านตะวันออก อาณาเขตด้านใต้แผ่ถึงเส้นเขตจินตนาการที่ลากจากดอนดราเฮดตอนใต้ของศรีลังกาไปถึงปลายด้านเหนือของเกาะสุมาตรา อ่าวเบงกอลมีเนื้อที่ 2,172,000 กม² มีแม่น้ำสำคัญหลายสายไหลมาลงทะเล เช่น แม่น้ำคงคา แม่น้ำพรหมบุตร แม่น้ำอิรวดี แม่น้ำโคทาวรี แม่น้ำมหานที แม่น้ำกฤษณา และแม่น้ำกาเวรี เมืองท่าสำคัญของอ่าวเบงกอล ได้แก่ กัททะลูร์ เจนไน กากีนาทะ มะจิลีปัตนัม วิศาขปัตนัม พาราทิพ โกลกาตา จิตตะกอง และย่างกุ้ง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและอ่าวเบงกอล · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ลี้ภัย

แผนที่แสดงต้นกำเนิดของผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่พักพิงใน ค.ศ. 2007 แผนที่แสดงประเทศปลายทางของผู้ลี้ภัย ค.ศ. 2007 ผู้ลี้ภัย (refugee) หมายถึงบุคคลที่อยู่นอกประเทศต้นกำเนิดหรือประเทศที่มีถิ่นฐานประจำ เพราะเขาผู้นั้นประสบกับภัยอันเกิดแต่การตามล่า การกดขี่ด้วยเหตุทาง เชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ ความเห็นทางการเมือง หรือ การเป็นสมาชิกของกลุ่มสังคมที่ถูกตามล่า บางครั้งอาจเรียกผู้ลี้ภัยว่า ผู้ขอที่ลี้ภัย (asylum seeker) จนกว่าจะได้รับการยอมรับสถานภาพของผู้ลี้ภัย เด็กและสตรีผู้ลี้ภัยเป็นผู้ลี้ภัยกลุ่มย่อยที่ได้รับความสนใจเป็นพิเศษ ระบบผู้ลี้ภัยจะทำงานได้ก็ต่อเมื่อประเทศเปิดพรมแดนให้ผู้คนหนีจากความความขัดแย้ง โดยเฉพาะประเทศพื้นบ้านใกล้กับต้นกำเนิดของความขัดแย้ง ระบบผู้ลี้ภัยนี้ได้ช่วยเหลือผู้คนมากมายแต่ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่ ในหลายกรณีการหนีไปอยู่ในค่ายผู้ลี้ภัยกระทำได้ยากยิ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและผู้ลี้ภัย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิปาละ

ักรวรรดิปาละ (Pala Empire) เป็นจักรวรรดิที่ปกครองบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของเอเชียใต้ ปาละมักจะได้รับการบรรยายโดยศัตรูว่าเป็น “ประมุขแห่งกวาดา” (Gaur, West Bengal) คำว่า “ปาละ” ในภาษาเบงกอล (পাল pal) แปลว่า “ผู้พิทักษ์” และใช้เป็นสร้อยพระนามของกษัตริย์ทุกพระองค์ ปาละเป็นผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายานและลัทธิตันตระ พระเจ้าโคปาละทรงเป็นกษัตริย์องค์แรกของราชวงศ์ผู้ขึ้นครองราชย์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและจักรวรรดิปาละ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดินิยมในเอเชีย

ักรวรรดินิยมในเอเชียซึ่งนำเสนอในบทความนี้ว่าด้วยการเข้ามายังบริเวณที่เดิมเรียก หมู่เกาะอินเดียตะวันออก ของชาติยุโรปตะวันตก จักรวรรดินิยมในเอเชียเริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15 โดยการค้นเส้นทางการค้ากับประเทศจีนซึ่งนำไปสู่ยุคแห่งการสำรวจโดยตรง และนำการสงครามสมัยใหม่ตอนต้นมาสู่บริเวณซึ่งขณะนั้นเรียก ตะวันออกไกล เมื่อถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 ยุคแห่งการเดินเรือขยายอิทธิพลของยุโรปตะวันตกและพัฒนาการค้าเครื่องเทศภายใต้ลัทธิอาณานิคมอย่างมาก มีจักรวรรดิอาณานิคมยุโรปตะวันตกและจักรวรรดินิยมในเอเชียตลอดหกศตวรรษแห่งลัทธิอาณานิคม จนสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการเมื่อติมอร์-เลสเต ซึ่งเป็นอาณานิคมสุดท้ายของจักรวรรดิโปรตุเกส ได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและจักรวรรดินิยมในเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

จามรี

มรี (Yak, Grunting ox; як; 犛牛; พินอิน: Máoniú; มองโกล: Сарлаг; ฮินดี: याक) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในวงศ์วัวและควาย (Bovidae).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและจามรี · ดูเพิ่มเติม »

จิกมี ทินเลย์

ลียนโป จิกมี โยวเซอ ทินเลย์ (Lyonpo Jigmi Yoeser Thinley; ค.ศ. 1952 —) อดีตนายกรัฐมนตรี 2 สมัย และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของภูฏาน ปัจจุบันเป็นหัวหน้าพรรคสหภูฏาน (Druk Phuensum Tshogpa - DPP, Bhutan United Party) ซึ่งชนะการเลือกตั้ง ได้เสียงข้างมากในสภา 44 ที่นั่ง จากทั้งหมด 47 ที่นั่ง ในการเลือกตั้งครั้งแรกของภูฏาน จิกมี ทินเลย์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทสาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและจิกมี ทินเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

จิกมี เชอริง

กมี เชอริง (เกิด 18 ตุลาคม ค.ศ. 1959), เป็นนักยิงธนูชาวภูฏาน จิกมี เชอริง ได้เป็นตัวแทนประเทศภูฏานเข้าร่วมการแข่งขัน โอลิมปิกฤดูร้อน 1988 ที่ โซล, โดยได้อันดับที่ 22 ในการแข่งขัน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและจิกมี เชอริง · ดูเพิ่มเติม »

จุกนารี

อดอก มองเห็นเกสรตัวผู้ โค้งเป็นรูปตัว s ชัดเจน (ภาพ: สะเมิง เชียงใหม่) จุกนารี หรือ เอ็นอ้าขน หรือ โคลงเคลงขนเป็นพืชมีดอกในวงศ์ Melastomataceae เป็นพืชท้องถิ่นในเขตภูเขาของจีน ภูฏาน พม่า กัมพูชา ลาว อินเดียตะวันออกเฉียงเหนือ เนปาล ไทยและเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและจุกนารี · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติภูฏาน

งชาติภูฏาน มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมพื้นผ้ากว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงแบ่งเป็นสองส่วนตามแนวทแยงมุม จากมุมธงด้านปลายธงบนมายังมุมธงด้านต้นธงล่าง ครึ่งบนเป็นพื้นสีเหลือง ครึ่งล่างเป็นพื้นสีส้ม กลางธงระหว่างเส้นทแยงมุมมีรูปมังกรสายฟ้าสีขาวหรือดรุก หันหน้าไปทางด้านปลายธง ต้นแบบของธงนี้เริ่มใช้ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 ก่อนจะเปลี่ยนแปลงมาเป็นธงรูปแบบปัจจุบันเมื่อ พ.ศ. 2512.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและธงชาติภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ถั่งเช่า

อค้าในมณฑลชิงไห่ กำลังชั่งน้ำหนักถั่งเช่า ถั่งเช่า (蟲草; chóng cǎo) หรือ ตังถั่งเช่า (冬蟲草; dōng chóng cǎo) หรือ ตังถั่งแห่เช่า (冬蟲夏草; dōng chóng xià cǎo) เป็นสมุนไพรจีน มีความหมายว่า "หญ้าหนอน" หรือ "ฤดูหนาวเป็นหนอน ฤดูร้อนเป็นหญ้า" เกิดจากหนอนผีเสื้อแถบที่ราบสูงทิเบต ที่จำศีลอยู่ใต้ดินในฤดูหนาว ถูกสปอร์ของเห็ดราในสกุล Ophiocordyceps อาศัยเป็นปรสิตและเติบโตสร้างเส้นใยออกมาทางส่วนหัวของตัวหนอนในฤดูร้อน เห็ดนี้มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ophiocordyceps sinensis เห็ดถั่งเช่าพบในทิเบต มณฑลชิงไห่ มณฑลเสฉวน มณฑลกานซู มณฑลยูนนาน และแถบเทือกเขาหิมาลัยในอินเดีย ภูฏาน และเนปาล มีสรรพคุณในการบรรเทาอาการหย่อนและเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ รวมถึงเชื่อว่ารักษาโรคมะเร็งได้อีกด้วย มีความต้องการในท้องตลาดสูง และมีราคาแพง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและถั่งเช่า · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปเอเชีย

แผนที่ดาวเทียมแสดงส่วนประกอบทางภูมิศาสตร์ของทวีปเอเชีย เอเชีย (Asia; Ασία อาเซีย) เป็นทวีปใหญ่และมีประชากรมากที่สุดในโลก พื้นที่ส่วนมากตั้งอยู่ในซีกโลกเหนือและตะวันออก ทวีปเอเชียตั้งอยู่ในทวีปยูเรเชียรวมกับทวีปยุโรป และอยู่ในทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียร่วมกับยุโรปและแอฟริกา ทวีปเอเชียมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 44,579,000 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 30% ของแผ่นดินทั่วโลกหรือคิดเป็น 8.7% ของผิวโลกทั้งหมด ทวีปเอเชียเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มานานและเป็นแหล่งกำเนินอารยธรรมแรก ๆ ของโลกหลายแห่ง เอเชียไม่ได้เพียงแค่มีขนานใหญ่และมีประชากรเยอะแต่ยังมีสถานที่ ๆ ตั้งถิ่นฐานหนาแน่นและมีขนาดใหญ่เช่นเดียวกับที่ยังมีบริเวณที่ประชากรตั้งถิ่นฐานเบาบางด้วย ทั้งนี้ทวีปเอเชียมีประชากรราว 4.5 พันล้านคน คิดเป็น 60% ของประชากรโลก โดยทั้วไปทางตะวันออกของทวีปติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทางใต้ติดมหาสมุทรอินเดียและทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก บริเวณชายแดนระหว่างเอเชียและยุโรปมีประวัติศาสตร์และโครงสร้างวัฒนธรรมมากมายเพราะไม่มีการแยกกันด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่ชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณนี้แสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่ง เขตแดนที่เด่นชัดของเอเชียคือตั้งแต่ฝั่งตะวันออกของคลองสุเอซ, แม่น้ำยูรัล, เทือกเขายูรัล, ช่องแคบตุรกี, ทางใต้ของเทือกเขาคอเคซัส, ทะเลดำและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68–69); "Asia" (pp. 90–91): "A commonly accepted division between Asia and Europe is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles." จีนและอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกตั้งแต่คริสต์ศักราชที่ 1 ถึง 1800 จีนเป็นประเทศที่มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่สำคัญและดึงดูดผู้คนจำนวนมากให้ไปทางตะวันออก และตำนาน ความมั่งคั่งและความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณของอินเดียกลายเป็นสัญลักษณ์ของเอเชีย สิ่งเหล่านี้จึงดึงดูดการค้า การสำรวจและการล่าอาณานิคมของชาวยุโรป การค้นพบเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกโดยบังเอิญจากยุโรปไปอเมริกาของโคลัมบัสในขณะที่กำลังค้นหาเส้นทางไปยังอินเดียแสดงให้เห็นความดึงดูดใจเหล่านี้ เส้นทางสายไหมกลายเป็นเส้นทางการค้าหลักของฝั่งตะวันออกกับฝั่งตะวันตกในขณะที่ช่องแคบมะละกากลายเป็นเส้นทางเดินเรือที่สำคัญ ช่วงศตวรรษที่ 20 ความแข็งแรงของประชากรเอเชียและเศรษฐกิจ (โดยเฉพาะเอเชียตะวันออก) เติบโตเป็นอย่างมากแต่การเติบโตของประชากรโดยรวมลดลงเรื่อย ๆ เอเชียเป็นแหล่งกำเนิดของศาสนาหลักบนโลกหลายศาสนา อาทิศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม, ศาสนายูดาห์, ศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ลัทธิขงจื๊อ, ลัทธิเต๋า, ศาสนาเชน, ศาสนาซิกข์, ศาสนาโซโรอัสเตอร์และศาสนาอื่น ๆ อีกมากมาย เนื่องเอเชียจากมีขนาดใหญ่และมีความหลากหลายทางแนวคิด ภูมินามวิทยาของเอเชียมีตั้งแต่สมัยคลาสสิกซึ่งคาดว่าน่าจะตั้งตามลักษณะผู้คนมากกว่าลักษณะทางกายภาพ เอเชียมีความแตกต่างกันอย่างมากทั้งด้านภูมิภาค กลุ่มชาติพันธุ์ วัฒนธรรม, สภาพแวดล้อม, เศรษฐศาสตร์, ประวัติศาสตร์และระบบรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แตกต่างกันอย่างมากเช่น พื้นเขตร้อนหรือทะเลทรายในตะวันออกกลาง, ภูมิอากาศแบบอบอุ่นทางตะวันออก ภูมิอากาศแบบกึ่งอารกติกทางตอนกลางของทวีปและภูมิอากาศแบบขั่วโลกในไซบีเรี.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทาคิน

ทาคิน (Takin) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีกระดูกสันหลัง (Phylum Chordata) ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Class Mammalia) เป็นสัตว์ประจำชาติของภูฏาน ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงในพื้นที่หนาวเย็น มีหน้าและเขาคล้ายแพะ แต่ว่าไม่มีเครา ตัวใหญ่ประมาณวัว เมื่อโตเต็มที่มีน้ำหนักประมาณ 250 กิโลกรัม ทาคินจะกินใบไผ่ หน่อไม้ เป็นอาหารหลัก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและทาคิน · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงสายเอเชีย

แผนที่ทางหลวงสายเอเชีย ป้ายทางหลวงเอเชียสาย 2 ที่จังหวัดราชบุรี ประเทศไทย ป้ายทางหลวงสายเอเชีย ป้ายนี้ใช้ในทางหลวงเอเชียสาย 18 ทางหลวงสายเอเชีย หรือย่อเป็น AH เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปเอเชียและยุโรป และคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (เอสแคป) สหประชาชาติ เพื่อปรับปรุงระบบทางหลวงในเอเชีย เป็นหนึ่งในสามเสาหลักของโครงการการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งทางบกของทวีปเอเชีย อนุมัติโดยคณะกรรมการเอสแคป ในการประชุมครั้งที่ 48 ในปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและทางหลวงสายเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทางหลวงเอเชียสาย 48

ทางหลวงเอเชียสาย 48 (AH48) หรือที่รู้จักในชื่อ ถนน SAARC เป็นทางหลวงที่กำลังดำเนินการในโครงข่ายทางหลวงสายเอเชีย ระยะทางทั้งหมด จากเมือง Phuntsholing ประเทศภูฏาน และผ่านเมือง Jaigaon ประเทศอินเดีย ข้ามพรมแดนผ่าน Dooars ซึ่งเป็นพื้นที่ของรัฐเบงกอลตะวันตก และสิ้นสุดที่เมือง Changrabandha ใกล้กันกับพรมแดนประเทศบังกลาเทศ มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ด้านการค้าและการท่องเที่ยวระหว่าง 3 ประเทศ ซึ่งเป็นประเทศในสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ (SAARC).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและทางหลวงเอเชียสาย 48 · ดูเพิ่มเติม »

ทิมพู

กรุงทิมพู (ཐིམ་ཕུག) มีชื่อเป็นทางการในภูฏานว่าตาชิโชซอง เป็นเมืองหลวงของภูฏานตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและทิมพู · ดูเพิ่มเติม »

ทินเลย์ ดอร์จี

ทินเลย์ ดอร์จี (เกิด 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1995) เป็นนักฟุตบอลชาวภูฎาน โดยทินเลย์ ดอร์จีเล่นให้กับสโมสรยีดซิน ในตำแหน่งกองกลางของทีม ซึ่งเขาปรากฎตัวเป็นครั้งแรกในการแข่งขันฟุตบอลทีมชาติภูฏาน เมื่อปี ค.ศ. 2012.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและทินเลย์ ดอร์จี · ดูเพิ่มเติม »

ทุกปา

ทุกปา (ཐུག་པ) เป็นก๋วยเตี๋ยวน้ำแบบทิเบต ปกติใส่เนื้อสัตว์ เป็นที่นิยมในทิเบต ภูฏาน เนปาล สิกขิม ลาดัก อรุณาจัลประเทศและส่วนอื่นๆของอินเดีย ทุกปามีหลายแบบได้แก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและทุกปา · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานพาโร

ท่าอากาศยานพาโร (Paro Airport) คือท่าอากาศยานนานาชาติเพียงแห่งเดียวของประเทศภูฏาน เป็นหนึ่งในสนามบินสี่แห่งในประเทศ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำพาโรชชู ลึกเข้าไปในหุบเขาราว 6 กิโลเมตรจากมณฑลพาโร เนื่องจากรายล้อมไปด้วยยอดเขาที่แต่ละแห่งสูงไม่ต่ำกว่า 5,500 เมตรจากระดับน้ำทะเล จึงถูกจัดให้อยู่ในสนามบินที่มีความท้าทายมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก จากข้อมูล ณ เดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและท่าอากาศยานพาโร · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวเม่า

้าวเม่า ข้าวเม่า ได้มาจากรวงข้าวสีเขียวไล่มาจนถึงสีเขียวตกน้ำตาล การบริโภคข้าวเม่าพบในทุกประเทศที่ปลูกข้าว ตั้งแต่ไทยลาว กัมพูชา เวียดนาม พม่า ภูฏาน อินเดีย ทิเบต ในภูฏานใช้เป็นอาหารว่างกินกับน้ำชา เส้นทางขนมไท.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและข้าวเม่า · ดูเพิ่มเติม »

ดรุก เซนเดน

ลงชาติแห่งราชอาณาจักรภูฏานมีชื่อว่า ดรุก เซนเดน (ซองคา: འབྲུག་ཙན་དན་, Druk tsendhen) ชื่อของเพลงนี้มีความหมายว่า "อาณาจักรมังกรสายฟ้า" ประพันธ์ทำนองโดย อากู ตองมี (Aku Tongmi) คำร้องโดย ดาโช เยลดุน ทินเลย์ (Dasho Gyaldun Thinley) สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ดอร์จี วังชุก พระมหากษัตริย์แห่งภูฏานรัชกาลที่ 3 ได้มีพระบรมราชโองการให้ประพันธ์เพลงชาติภูฏานขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2496 แต่เพลงชาติภูฏานได้แต่งขึ้นจริงเมื่อประมาณ พ.ศ. 2501 เมื่อภูฏานจำเป็นต้องมีเพลงชาติเพื่อใช้ในพิธีการต้อนรับนายกรัฐมนตรีชวาหระลาล เนห์รู แห่งประเทศอินเดีย เนื่องในโอกาสการเยือนภูฏานอย่างเป็นทางการ ตองมีซึ่งขณะนั้นเพิ่งกลับจากการอบรมทางดนตรีในประเทศอินเดีย และได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ควบคุมวงโยธวาทิตคนแรกของกองทัพภูฏาน จึงได้ประพันธ์ทำนองเพลงชาติขึ้น โดยทำนองฉบับแรกที่เขาแต่งนั้นได้รับอิทธิพลทั้งจากเพลงชาติอินเดีย (ชนะ คณะ มนะ) และเพลงชาติสหราชอาณาจักร (ก็อดเซฟเดอะควีน) รวมทั้งปรับปรุงจากทำนองเพลงพื้นเมืองที่มีชื่อว่า "Thri nyampa med pa pemai thri" (ชื่อเพลงมีความหมายว่า "บัลลังก์ดอกบัวอันมั่นคง" หรือ "The Unchanging Lotus Throne") ต่อมาทำนองดังกล่าวนี้ได้มีการปรับปรุงอีก 2 ครั้ง โดยผู้ที่รับตำแหน่งผู้ควบคุมวงโยธวาทิตสืบต่อจากเขา สำหรับบทร้องของเพลงนี้ เดิมแต่งเป็นบทร้องความยาว 12 วรรค ต่อมาได้ย่อลงให้เหลือเพียง 6 วรรคในปี พ.ศ. 2507 เนื่องจากเนื้อร้องเดิมค่อนข้างยาว และเรียบเรียงเป็นทำนองสำหรับบรรเลงด้วยเครื่องดนตรีทองเหลืองได้ยาก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและดรุก เซนเดน · ดูเพิ่มเติม »

ดีปลีแขก

ีปลีแขก (เป็นไม้เลื้อยหรือไม้พุ่มตั้งตรง ใบรูปไข่แกมขอบขนาน เป็นพืชพื้นเมืองในป่าเขตร้อนของเทือกเขาหิมาลัยตั้งแต่เนปาลถึงภูฏาน ขนาดเล็กกว่าดีปลีและไม่มีสารพิเพอรีน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและดีปลีแขก · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คำขวัญประจำชาติ

ำขวัญประจำชาติ (state motto) คือ สิ่งที่ใช้อธิบายประเทศต่างๆ โดยใช้วลีที่สั้น และกระชับ โดยเนื้อหาจะเกี่ยวกับ แนวความคิด แรงจูงใจ การปลุกใจ เอกลักษณ์ หรือความภาคภูมิใจสำหรับชาตินั้น.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและคำขวัญประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คณะผู้แทนทางทูตของประเทศภูฏาน

ำนักงานคณะผู้แทนถาวรภูฏาน ณ นิวยอร์ก สถานทูตภูฏานนอกประเท.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและคณะผู้แทนทางทูตของประเทศภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก่อตั้งเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2537 เป็นคณะที่จัดตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 5 ของมหาวิทยาลัยนเรศวรรังสรรค์ วัฒน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร · ดูเพิ่มเติม »

งุลตรัมภูฏาน

งุลตรัมภูฏาน (དངུལ་ཀྲམ; สัญลักษณ์: Nu.; รหัสสากลตาม ISO 4217: BTN) เป็นสกุลเงินที่ใช้ในภูฏาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและงุลตรัมภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า

ตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า เป็นตระกูลย่อยของตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ใช้พูดในเอเชียกลาง และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง พม่า ทิเบต ภาคเหนือของไทย ภาคกลางของจีน ภาคเหนือของเนปาล ภูฏาน อินเดียและปากีสถาน ภาษากลุ่มนี้มี 350 ภาษา ภาษาพม่ามีผู้พูดมากที่สุด (ประมาณ 32 ล้านคน) มีผู้พูดภาษาทิเบตทุกสำเนียงอีกราว 8 ล้านคน นักภาษาศาสตร์บางคนเช่น George van Driem เสนอให้จัดตระกูลทิเบต-พม่าขึ้นเป็นตระกูลใหญ่ และให้กลุ่มภาษาจีนมาเป็นกลุ่มย่อยแทนแต่ยังไม่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศและดินแดนต่างๆในทวีปเอเชี.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและตราแผ่นดินในทวีปเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ตรุษจีน

pinoy301770 ตรุษจีน เป็นวันหยุดตามประเพณีของจีนที่สำคัญที่สุด ในประเทศจีน ยังมีอีกชื่อหนึ่งว่า "เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ" เพราะฤดูใบไม้ผลิตามปฏิทินจีนเริ่มต้นด้วยวันลีชุน ซึ่งเป็นวันแรกในทางสุริยคติของปีปฏิทินจีน วันดังกล่าวยังเป็นวันสิ้นสุดฤดูหนาว ซึ่งคล้ายกันกับงานเทศกาลของตะวันตก เทศกาลนี้เริ่มต้นในวันที่ 1 เดือน 1 (正月) ในปฏิทินจีนโบราณและสิ้นสุดลงในวันที่ 15 ด้วยเทศกาลโคมไฟ คืนก่อนตรุษจีนเป็นวันซึ่งครอบครัวจีนมารวมญาติเพื่อรับประทานอาหารเย็นเป็นประจำทุกปี ซึ่งเรียกว่า ฉูซี่ (除夕) หรือ "การผลัดเปลี่ยนยามค่ำคืน" เนื่องจากปฏิทินจีนเป็นแบบสุริยจันทรคติ ตรุษจีนจึงมักเรียกว่า "วันขึ้นปีใหม่จันทรคติ" ตรุษจีนเป็นงานเฉลิมฉลองที่ยาวที่สุดและสำคัญที่สุดในปฏิทินจีน จุดกำเนิดของตรุษจีนนั้นมีประวัติหลายศตวรรษและมีความสำคัญเพราะตำนานและประเพณีหลายอย่าง ตรุษจีนมีการเฉลิมฉลองกันในหลายประเทศและดินแดนซึ่งมีประชากรจีนอาศัยอยู่มาก อย่างเช่น จีนแผ่นดินใหญ่ ฮ่องกง อินโดนีเซีย มาเก๊า มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไต้หวัน ไทย รวมทั้งในชุมชนชาวจีนที่อื่น ตรุษจีนถูกมองว่าเป็นวันหยุดสำคัญสำหรับชาวจีนและได้มีอิทธิพลต่อการเฉลิมฉลองการขึ้นปีใหม่จันทรคติของประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งรวมทั้งเกาหลี (โซลนาล) ภูฏาน และเวียดนาม ในประเทศจีน ธรรมเนียมและประเพณีท้องถิ่นเกี่ยวกับการเฉลิมฉลองตรุษจีนนั้นหลากหลายมาก ประชาชนจะเทเงินของตนเพื่อซื้อของขวัญ ของประดับตกแต่ง วัสดุ อาหารและเครื่องนุ่งห่ม นอกจากนี้ยังมีประเพณีว่า ทุกครอบครัวจะทำความสะอาดบ้านอย่างละเอียดลออ เพื่อปัดกวาดโชคร้ายด้วยหวังว่าจะเปิดทางให้โชคดีเข้ามา มีการประดับหน้าต่างและประตูด้วยกระดาษตัดสีแดงและคู่กับธีม "โชคดี", "ความสุข", "ความมั่งคั่ง" และ "ชีวิตยืนยาว" ที่ได้รับความนิยม ในคืนก่อนตรุษจีน อาหารค่ำเป็นการกินเลี้ยงกับครอบครัว อาหารนั้นจะมีเช่น หมู เป็ด ไก่และอาหารอย่างดี (delicacies) รสหวาน ครอบครัวจะปิดท้ายค่ำคืนด้วยประทัด เช้าวันรุ่งขึ้น เด็กจะทักทายบิดามารดาของตนโดยอวยพรพวกท่านให้มีสุขภาพดีและสวัสดีปีใหม่ และได้รับเงินอั่งเปา ประเพณีตรุษจีนนั้นเพื่อการสมานฉันท์ ลืมความบาดหมางและปรารถนาสันติและความสุขแก่ทุกคนอย่างจริงใจ แม้ปฏิทินจีนแต่โบราณไม่ใช้ปีตัวเลขต่อเนื่องกัน นอกประเทศจีน ปีจีนจึงมักนับเลขนับแต่รัชสมัยจักรพรรดิเหลือง แต่เนื่องจากมีการกำหนดให้อย่างน้อยสามปีเป็นเลข 1 ที่นักวิชาการใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน จึงทำให้ปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและตรุษจีน · ดูเพิ่มเติม »

ตะโขงอินเดีย

ตะโขงอินเดีย หรือ กาเรียล (Gharial, Indian gavial, Gavial; ฮินดี: घऱियाल; มราฐี: सुसर Susar) เป็นสมาชิกเพียงไม่กี่ชนิดที่เหลืออยู่ของวงศ์ตะโขง (Gavialidae) ซึ่งเป็นกลุ่มของจระเข้ที่มีปากแหลมเรียวยาว ตะโขงอินเดียได้รับการจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ถูกคุกคามอยู่ในขั้นวิกฤตโดย IUCNChoudhury, B.C., Singh, L.A.K., Rao, R.J., Basu, D., Sharma, R.K., Hussain, S.A., Andrews, H.V., Whitaker, N., Whitaker, R., Lenin, J., Maskey, T., Cadi, A., Rashid, S.M.A., Choudhury, A.A., Dahal, B., Win Ko Ko, U., Thorbjarnarson, J & Ross, J.P. (2007) Gavialis gangeticus. In: IUCN 2010.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและตะโขงอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ตงซา

ตองสา หรือ ตงซา (ཀྲོང་གསར་, Wylie: Krong gsar) อยู่ในภาคกลางของภูฏาน เป็นเมืองหลวงของมณฑลตงซา คำว่าตงซาหมายถึงหมู่บ้านใหม่ เป็นเมืองต้นกำเนิดของราชวงศ์วังชุก ซึ่งปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์นี้เคยเป็นเจ้าเมืองตองสามาก่อน จึงเป็นธรรมเนียมว่ามกุฏราชกุมารของภูฏานต้องได้รับตำแหน่งเจ้าเมืองตองสาก่อนจึงขึ้นครองราชสมบัติ เดิมทีเมืองนี้มีชาวทิเบตอพยพมาอยู่มาก แต่ในที่สุดก็ถูกกลืนทางวัฒนธรรมเป็นชาวภูฏานไปหม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและตงซา · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิม

ปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิม (Declaration on the Rights of Indigenous Peoples) ผ่านโดยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติระหว่างสมัยประชุมที่ 62 ที่สำนักงานใหญ่สหประชาชาติในนครนิวยอร์ก เมื่อวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิม · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์ภูฏาน

ทความนี้ว่าด้วยลักษณะประชากรของประเทศภูฏาน รวมถึงความหนาแน่นของประชากร ชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา สาธารณสุข สถานภาพทางเศรษฐกิจ การนับถือศาสนา เป็นต้น  ชาวภูฏานในชุดประจำชาติรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรภูฎานได้จดทะเบียนประชากรของประเทศภูฏาน จำนวนทั้งสิ้น 752,700 คน ในปี 2003 และจากข้อมูลของ เดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก ในปี 2003 มีประชากรในประเทศภูฏาน มีจำนวนทั้งสิ้น 2,327,849 คน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประชากรศาสตร์ภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัฐอัสสัม

หรียญของอาหมออกโดยสุเร็มพา ราเชสวาร์ สิงห์ แห่งราชวงศ์อาหม (พ.ศ. 2294 - 2302) ดินแดนที่เป็นรัฐอัสสัม ประเทศอินเดียในปัจจุบันนี้ ในมหาภารตะกล่าวว่าเป็นดินแดนของแคว้นกามรูป ซึ่งปกครองบริเวณลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร ภูฏานและเบงกอลตะวันออก ในบันทึกของพระถังซำจั๋ง กล่าวถึงกษัตริย์ที่ปกครองดินแดนนี้ว่านับถือศาสนาฮินดู มีศิลาและแผ่นจารึกแสดงให้เห็นว่ามีราชวงศ์ต่างๆปกครองดินแดนในบริเวณนี้อย่างต่อเนื่องตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12-17 ในราวพุทธศตวรรษที่ 18 ไทอาหมซึ่งเป็นชาวไทใหญ่เผ่าหนึ่ง ได้เข้ามารุกรานอัสสัมใน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประวัติศาสตร์รัฐอัสสัม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ทิเบต

ทิเบต ตั้งอยู่ในใจกลางของทวีปเอเชียระหว่างประเทศจีนกับอินเดีย ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ในบริเวณที่มีภูเขาและที่ราบสูงที่สุดในโลก มีอากาศแห้งและหนาวเย็น รวมทั้งที่ราบกลางหุบเขาริมแม่น้ำอันกว้างใหญ่หลายสาย อันเป็นที่พำนักพิงของชาวธิเบต ผู้ซึ่งมีวัฒนธรรมประเพณีเป็นของตนเอง มาเป็นเวลาช้านาน และมีชีวิตความเป็นอยู่แตกต่างจากผู้คนในประเทศเพื่อนบ้าน ชาวธิเบตได้มีการพัฒนาทางวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ์ในตนเอง ทั้งยังมีการพัฒนาด้านสติปัญญาและจิตใจ ได้แก่ การมีภาษาที่โดดเด่น มีวรรณกรรมอันยิ่งใหญ่ และมีผลงานศิลปะที่น่ามหัศจรรย์ นอกจากนี้ อารยธรรมของชาวธิเบต ซึ่งสืบเนื่องมาเป็นเวลาหลายพันปีนั้น ยังเป็นอารยธรรมที่สูงส่ง และมีคุณค่าสืบทอดต่อกันมา เป็นมรดกของมนุษยชาต.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประวัติศาสตร์ทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสนาพุทธ

นาพุทธเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยม และเป็นศาสนาที่มีผู้นับถือมากศาสนาหนึ่งของโลก รองจากศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาฮินดู ประวัติความเป็นมาของศาสนาพุทธเริ่มตั้งแต่สมัยพุทธกาล ผู้ประกาศศาสนาและเป็นศาสดาของศาสนาพุทธคือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงตรัสรู้เมื่อวันขึ้น 15 ค่ำ เดือนวิสาขะหรือเดือน 6 ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย 45 ปี ก่อนพุทธศักราช ปัจจุบันสถานที่นี้ เรียกว่า พุทธคยา อยู่ห่างจากเมืองคยาประมาณ 11 กิโลเมตร ประวัติความเป็นมาของพุทธศาสนาหลังจากการประกาศศาสนา เริ่มจากการแพร่หลายไปทั่วอินเดีย หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปี จึงแตกเป็นนิกายย่อย โดยนิกายที่สำคัญคือเถรวาทและมหายาน นิกายมหายานได้แพร่หลายไปทั่วเอเชียกลาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียตะวันออก เมื่อศาสนาพุทธในอินเดียเสื่อมลง พุทธศาสนามหายานในเอเชียกลางและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เสื่อมตามไปด้วย ยังคงเหลือในจีน ทิเบต ญี่ปุ่น เวียดนาม ส่วนนิกายเถรวาทได้เฟื่องฟูขึ้นอีกครั้งในศรีลังกา และแพร่หลายไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พุทธศาสนาได้แพร่หลายไปยังโลกตะวันตกตั้งแต่ครั้งโบราณ แต่ชาวตะวันตกหันมาสนใจพุทธศาสนามากขึ้นในยุคจักรวรรดินิยมและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประวัติศาสนาพุทธ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1907

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1907 ในประเทศภูฏาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1907 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1974

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1974 ในประเทศภูฏาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1974 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศภูฏาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศภูฏาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศภูฏาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศภูฏานใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศภูฏาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศภูฏาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศภูฏาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2016 ในประเทศภูฏาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศภูฏานใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอินเดีย

อินเดีย (India; भारत, ออกเสียง) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอินเดีย (Republic of India; भारत गणराज्य) ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียใต้ เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของอนุทวีปอินเดีย มีประชากรมากเป็นอันดับที่สองของโลก และเป็นประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกว่าหนึ่งพันล้านคน มีภาษาพูดร้อยแปดสิบแปดภาษาโดยประมาณ ด้านเศรษฐกิจ อินเดียมีอำนาจการซื้อมากเป็นอันดับที่สี่ของโลก ทั้งนี้ อาณาเขตทางทิศเหนือติดกับจีน เนปาล และภูฏาน ทางตะวันตกเฉียงเหนือติดกับปากีสถาน ทางตะวันออกติดพม่า ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกเฉียงใต้ติดศรีลังกา ล้อมรอบบังกลาเทศทางทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก นอกนั้นยังมีเขตแดนทางทะเลต่อเนื่องกับน่านน้ำไทย พม่า และอินโดนีเซีย และด้วยพื้นที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร อินเดียจึงเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 7 ของโลก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีน

ประเทศจีน มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาชนจีน (People's Republic of China (PRC)) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออก เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก กว่า 1,300 ล้านคน เป็นรัฐพรรคการเมืองเดียวปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์จีน มีเมืองหลวงอยู่ที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีนแบ่งการปกครองออกเป็น 22 มณฑล (ไม่รวมพื้นที่พิพาทไต้หวัน) 5 เขตปกครองตนเอง 4 เทศบาลนคร (ปักกิ่ง เทียนจิน เซี่ยงไฮ้ และฉงชิ่ง) และ 2 เขตบริหารพิเศษ ได้แก่ ฮ่องกงและมาเก๊า ประเทศจีนมีพื้นที่ 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร นับเป็นประเทศที่มีพื้นที่ทั้งหมดใหญ่ที่สุดในโลกเป็นอันดับ 3 หรือ 4 แล้วแต่วิธีการวัด ลักษณะภูมิประเทศของจีนมีความหลากหลาย ตั้งแต่ป่าสเต็ปป์และทะเลทรายในพื้นที่แห้งแล้งทางตอนเหนือของประเทศติดกับประเทศมองโกเลียและไซบีเรียของรัสเซีย และป่าฝนกึ่งโซนร้อนในพื้นที่ชื้นทางใต้ซึ่งติดกับเวียดนาม ลาว และพม่า ส่วนภูมิประเทศทางตะวันตกนั้นขรุขระและเป็นที่สูง โดยมีเทือกเขาหิมาลัยและเทือกเขาเทียนชานกั้นเป็นพรมแดนตามธรรมชาติกับประเทศอินเดีย เนปาล และเอเชียกลาง ในทางตรงกันข้าม แนวชายฝั่งด้านตะวันออกของจีนแผ่นดินใหญ่นั้นเป็นที่ราบต่ำ และมีแนวชายฝั่งยาว 14,500 กิโลเมตร (ยาวที่สุดเป็นอันดับที่ 11 ของโลก) ซึ่งติดต่อกับทะเลจีนใต้ทางใต้ และทะเลจีนตะวันออกทางตะวันออก นอกจากนี้ยังมีประเทศที่เป็นเกาะอยู่ใกล้เคียง ได้แก่ เกาหลี และญี่ปุ่น อารยธรรมจีนโบราณ ซึ่งถือว่าเป็นหนึ่งอารยธรรมยุคแรกเริ่มของโลก เจริญรุ่งเรืองในลุ่มแม่น้ำเหลืองอันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งไหลผ่านที่ราบลุ่มจีนเหนือ จีนยึดระบบการเมืองแบบราชาธิปไตยหลายสหัสวรรษ จีนรวมกันเป็นปึกแผ่นครั้งแรกในสมัยราชวงศ์ฉินเมื่อ 221 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนราชวงศ์สุดท้าย ราชวงศ์ชิง สิ้นสุดลงในปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศจีน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนปาล

ประเทศเนปาล หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล (Federal Democratic Republic of Nepal; सङ्घीय लोकतान्त्रिक गणतन्त्र नेपाल "สงฺฆีย โลกตานฺตฺริก คณตนฺตฺร เนปาล") เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในเอเชียใต้ มีพื้นที่ 147,181 ตารางกิโลเมตร และประชากรประมาณ 27 ล้านคน ประเทศเนปาลเป็นประเทศที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 93 ของโลก และมีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 41 ของโลก ตั้งอยู่ในเทือกเขาหิมาลัย มีพรมแดนทิศเหนือติดสาธารณรัฐประชาชนจีน ทิศใต้ ตะวันออกและตะวันตกติดสาธารณรัฐอินเดีย ประเทศเนปาลแยกจากประเทศบังกลาเทศด้วยฉนวนศิลิกูริ (Siliguri Corridor) แคบ ๆ ในประเทศอินเดีย และแยกจากประเทศภูฏานด้วยรัฐสิกขิมของอินเดีย กรุงกาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศ ภาคเหนือของประเทศเนปาลซึ่งเป็นแถบภูเขามีแปดจากสิบภูเขาสูงสุดในโลก ซึ่งรวมยอดเขาเอเวอร์เรสต์ จุดสูงสุดบนโลก ยอดเขากว่า 240 แห่งซึ่งสูงเกิน 6,096 เมตร (20,000 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเลอยู่ในประเทศเนปาล ส่วนภาคใต้มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์และชื้น ชาวเนปาลประมาณ 81.3% นับถือศาสนาฮินดู เป็นสัดส่วนสูงสุดในโลก ศาสนาพุทธมีความเชื่อมโยงทางประวัติศาสตร์กับประเทศเนปาล และมีประชากรนับถือ 9% ตามด้วยศาสนาอิสลาม 4.4% Kiratism 3.1% ศาสนาคริสต์ 1.4% และวิญญาณนิยม 0.4% ประชากรสัดส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคภูเขา อาจระบุตัวว่าเป็นทั้งฮินดูและพุทธ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของธรรมชาติกลมเกลียวของทั้งสองความเชื่อในประเทศเนปาลก็เป็นได้ ประเทศเนปาลปกครองด้วยระบอบราชาธิปไตยตลอดประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ ราชวงศ์ศาหะปกครองตั้งแต่ปี 2311 เมื่อพระเจ้าปฤถวีนารายัณ ศาหะทรงรวมราชอาณาจักรเล็ก ๆ จำนวนมาก จนปี 2551 สงครามกลางเมืองนานหนึ่งทศวรรษซึ่งเกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเนปาล (ลัทธิเหมา) ตามด้วยการประท้วงใหญ่โดยพรรคการเมืองหลักทุกพรรค นำสู่ความตกลง 12 ข้อ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2548 การเลือกตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2551 ซึ่งตามมาสนับสนุนการเลิกราชาธิปไตยและการสถาปนาสหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนหลายพรรคการเมืองอย่างท่วมท้น แม้ความท้าทายทางการเมืองยังดำเนินไป แต่กรอบนี้ยังอยู่ โดยสภาร่างรัฐธรรมนูญเนปาลที่ 2 ซึ่งได้รับเลือกตั้งในปี 2556 ในความพยายามเพื่อร่างรัฐธรรมนูญใหม่ ประเทศเนปาลเป็นประเทศกำลังพัฒนาโดยมีเศรษฐกิจรายได้ต่ำ อยู่ในอันดับที่ 145 จาก 187 ประเทศในดัชนีการพัฒนามนุษย์ในปี 2557 ประเทศเนปาลยังเผชิญกับความหิวและความยากจนระดับสูง แม้ความท้าทายเหล่านี้ ประเทศเนปาลยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐบาลผูกมัดยกระดับประเทศจากสถานภาพประเทศด้อยพัฒนาภายในปี 2565.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและประเทศเนปาล · ดูเพิ่มเติม »

ปรงเขา

ปรงเขา หรือปรงอัสสัม (ชื่อสามัญ: Assam cycas; ภาษาอัสสัม:nagphal; ภาษามณีปุรี: yendang)เป็นพืชชนิดที่สี่ในสกุลปรงที่ได้รับการตั้งชื่อ ตั้งชื่อเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและปรงเขา · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนเชล

ปลาช่อนเชล หรือ ปลาช่อนบอร์นา หรือ ปลาช่อนแอมฟิเบียส (Chel snakehead, Borna snakehead) เป็นปลาช่อนชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) เป็นปลาที่อาศัยอยู่เฉพาะในแม่น้ำเชล ซึ่งเป็นสาขาของแม่น้ำพรหมบุตร ใกล้กับเชิงเทือกเขาหิมาลัยในภูฏานและปากีสถาน ซึ่งจะอาศัยอยู่ในน้ำที่มีอุณหภูมิค่อนข้างอุ่น ประมาณ 22-28 องศาเซลเซียส โดยคำว่า amphibeus ที่ใช้เป็นชื่อวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่า มาจากพฤติกรรมการขึ้นเหนือน้ำและจับแมลงกินตามพื้นดินคล้ายสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ นับเป็นปลาช่อนขนาดกลางที่มีความสวยงามอีกชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับ C. barca และ C. aurantimaculata ที่อยู่ในสกุลเดียวกัน มีสีสันที่ใกล้เคียงกัน แต่ว่ามีจำนวนก้านครีบหลัง 50 ก้าน ก้านครีบก้น 35 ครีบ มีเกล็ดข้างลำตัวมากถึง 81 เกล็ด นับว่ามากกว่าชนิดอื่น ๆ ขนาดโตเต็มที่มีความยาวประมาณ 25 เซนติเมตร ซึ่งนับว่าเล็กกว่า 2 ชนิดข้างต้น เป็นปลาช่อนที่หาได้ยากมากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก โดยมีการระบุทางวิทยาศาสตร์ครั้งแรกจาก จอห์น แมคคลีแลนด์ แพทย์ชาวอังกฤษ ด้วยการวาดภาพ และมีการเปลี่ยนสถานะหลายครั้ง จนกระทั่งในปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและปลาช่อนเชล · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเวียนทอง

ปลาเวียนทอง, ปลาเวียนยักษ์, ปลาเวียนหิมาลัย หรือในชื่อพื้นเมืองของลุ่มแม่น้ำสาละวินเรียกว่า ปลาคม (Putitor mahseer, Himalayan mahseer, Golden mahseer.) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) มีรูปร่างคล้ายปลาที่อยู่ในสกุลปลาพลวง (Neolissochilus spp.) และปลาเวียน (Tor spp.) ชนิดอื่น เพียงแต่ขนาดเมื่อโตเต็มที่สามารถยาวได้ถึง 275 เซนติเมตร น้ำหนักถึง 54 กิโลกรัม ซึ่งนับว่าใหญ่ที่สุดสำหรับปลาในสกุลนี้ และนับว่าเป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งที่ใหญ่ติดอันดับโลก มีลายแถบสีน้ำเงินนอนขวางลำตัวหนึ่งคู่ เกล็ดตลอดทั้งลำตัวมีสีเหลืองหรือสีทอง ครีบและหางมีสีเหลืองเข้ม พบในอินเดียทางตอนเหนือและตอนใต้ ในตอนเหนือพบที่เชิงเทือกเขาหิมาลัยแถบรัฐปัญจาบ และในแม่น้ำพรหมบุตร, แคว้นแคชเมียร์ในปากีสถาน, อัฟกานิสถาน, ภูฏาน และพบในแม่น้ำสาละวินแถบชายแดนพม่าติดกับไทยด้วย แต่พบน้อยมาก มีรายงานการพบเพียงแค่ 3 ครั้งเท่านั้น ในรอบ 28 ปี.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและปลาเวียนทอง · ดูเพิ่มเติม »

ปาดบ้าน

ปาดบ้าน เป็นปาดชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปาดโลกเก่า (Rhacophoridae) มีความสามารถปรับเปลี่ยนสีได้ตามสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยทั้งขาว, เหลือง, เทา, ชมพู, น้ำตาล จนถึงน้ำตาลเข้มออกดำ ปลายนิ้วทั้งหมดเป็นปุ่มกลม มีแผ่นยึดเป็นพังผืดระหว่างนิ้วเฉพาะขาหลังเท่านั้น ตีนเหนียวสามารถเกาะติดกับผนังได้ บริเวณด้านหลังระหว่างลูกตาผิวหนังจะแบนราบจนติดกับกะโหลก และมีลายเข้มคล้ายนาฬิกาทรายอยู่บนท้ายทอยพาดมาจนถึงหัวไหล่ พบได้ทั่วไปในทวีปเอเชีย ตั้งแต่บังกลาเทศ, บรูไน, กัมพูชา, จีน, อินเดีย, อินโดนีเซีย, ลาว, มาเลเซีย, เมียนมาร์, เนปาล, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, ไทย, เวียดนาม และเป็นไปได้ว่าอาจมีที่ภูฏานด้วย อีกทั้งมีการนำเข้าไปในญี่ปุ่น สำหรับในประเทศไทยพบได้ทั่วทุกภาค ปาดบ้าน มีความสามารถปรับตัวได้ดีให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทั้งที่เป็นสภาพในธรรมชาติ เช่น ป่าดิบทึบ, หนองน้ำ, ทุ่งหญ้า หรือแม้กระทั่งสภาพแวดล้อมแบบในเมือง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและปาดบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

ปุรันทาร สิงห์

นแดนของอาณาจักรอาหมในช่วงสุดท้ายก่อนการล่มสลาย ปุรันทาร สิงห์ (Purandar Singha) เป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของอาณาจักรอาหม ครองราชย์ครั้งแรก พ.ศ. 2361 - 2362 ครองราชย์ครั้งที่สองภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2377 - 2382 ภายหลังพระองค์ได้ถูกถอดออกจากตำแหน่งโดยมีผู้แทนจากเจ้าอาณานิคมขึ้นมาปกครองแทน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและปุรันทาร สิงห์ · ดูเพิ่มเติม »

นกกระเต็นขาวดำใหญ่

นกกระเต็นขาวดำใหญ่ (Crested kingfisher) เป็นนกกระเต็นชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกกระเต็นปักหลัก (Cerylidae) นกกระเต็นขาวดำใหญ่ เป็นนกกระเต็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ เพราะมีความยาวถึง 43 เซนติเมตร นับว่าเป็นนกระเต็นชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในประเทศไทย และจัดเป็นนกที่หาได้ยากมากชนิดหนึ่ง ด้วยที่เป็นนกที่มีถิ่นกระจายพันธุ์ตามแถบเทือกเขาหิมาลัย เช่น ภูฐาน และกระจายไปจนถึงภาคใต้ของจีน, คาบสมุทรเกาหลี และญี่ปุ่น สำหรับในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์จะพบได้ในประเทศไทย, ลาว และเวียดนาม ประเทศไทยจะพบได้เฉพาะผืนป่าตะวันตก เช่น อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ในเขตจังหวัดกำแพงเพชร อาศัยตามลำธารน้ำกลางป่าซึ่งเป็นแหล่งหากิน นกกระเต็นขาวดำใหญ่ มีเสียงร้องว่า "แอ๊ก-แอ๊ก-แอ๊ก".

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกกระเต็นขาวดำใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

นกกะปูดใหญ่

นกกะปูดใหญ่ หรือ นกกดเพลิง birds of Thailand (Greater coucal, Crow pheasant) เป็นนกขนาดใหญ่ในวงศ์นกคัคคู (Cuculidae) แต่ไม่ใช่นกปรสิต เป็นนกประจำถิ่นที่มีการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางในเอเชีย จากประเทศอินเดียไปทางตะวันออกถึงจีนและลงไปทางใต้ถึงอินโดนีเซีย แบ่งออกเป็นหลายชนิดย่อย นกกะปูดใหญ่มีขนาดใหญ่คล้ายอีกา มีหางยาว และมีปีกสีน้ำตาลทองแดง พบในแหล่งที่อยู่อาศัยหลากหลายจากป่าถึงพื้นเพาะปลูก และสวนในเมืองใหญ่ เป็นนกมักมีพฤติกรรมปีนป่ายตามพุ่มไม้หรือเดินอยู่ตามพื้นดินเพื่อหาแมลง ไข่ หรือลูกนกชนิดอื่นกินเป็นอาหาร.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกกะปูดใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

นกกางเขน

นกกางเขน หรือ นกกางเขนบ้าน (Oriental magpie robin) เป็นนกชนิดหนึ่งที่กินแมลง มีขนาดไม่ใหญ่นัก ยาวประมาณ 18-20 เซนติเมตร ส่วนบนลำตัวสีดำเงา ส่วนล่างตั้งแต่หน้าอกลงไปจะเป็นสีขาวหม่น ใต้หางและข้างหางมีสีขาว ปีกมีลายพาดสีขาวทั้งปีก ตัวผู้สีจะชัดกว่าตัวเมีย ส่วนที่เป็นสีดำในตัวผู้ ในตัวเมียจะเป็นสีเทาแก่ ปากและขาสีดำ มักจะพบเป็นตัวเดียวหรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ หากินแมลงตามพุ่มไม้ บางครั้งก็โฉบจับแมลงกลางอากาศ หางของมันมักกระดกขึ้นลง ร้องเสียงสูงบ้าง ต่ำบ้าง ฟังไพเราะ ทำรังตามโพรงไม้ที่ไม่สูงนัก มันจะวางไข่ครั้งละ 4-5 ฟองและตัวเมียเท่านั้นจะกกไข่ และจะฟักไข่นานประมาณ 8-14 วัน อายุ 15 วัน แล้วจะเริ่มหัดบิน ในประเทศไทยพบทั่วไปในทุกภาคแม้ในเมืองใหญ่ ๆ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 นกกางเขนเป็นนกเกาะคอน (อันดับ Passeriformes) ที่เคยจัดเป็นวงศ์นกเดินดง (Turdidae) แต่ปัจจุบันจัดอยู่ในวงศ์นกจับแมลงและนกเขน (Muscicapidae) เป็นนกสีดำขาวที่เด่น มองเห็นได้ง่าย มีหางยาวที่จะกระดกขึ้นลงเมื่อหาอาหารที่พื้นหรือจับบนต้นไม้ เป็นนกที่มีอยู่กระจายไปทั่วเอเชียใต้และบางส่วนของเอเชียอาคเนย์ เป็นนกที่สามัญทั้งตามสวนในเมืองและในป่า เป็นนกที่รู้จักกันดีเพราะร้องเสียงเพราะ และเคยเป็นนกเลี้ยงที่นิยม นกกางเขนเป็นนกประจำชาติของประเทศบังกลาเทศ ซึ่งเรียกนกว่า "Doyel" ชื่ออังกฤษของนกคือ Oriental Magpie Robin อาจจะเป็นเพราะนกดูคล้ายนกสาลิกาปากดำ (Common Magpie).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกกางเขน · ดูเพิ่มเติม »

นกกินปลีหางยาวเขียว

นกกินปลีหางยาวเขียว (Green-tailed sunbird) เป็นนกในวงศ์นกกินปลี (Nectariniidae) พบในประเทศบังกลาเทศ, ภูฏาน, จีน, อินเดีย, ลาว, พม่า, เนปาล, ไทย, และ เวียดนาม อาศัยในป่าเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนและป่าเมฆ นกเพศผู้ หัวและหางเป็นสีเขียวเหลือบ หลังแดง อกและท้องเป็นสีเหลือง มีแถบแดงที่อก หางยาว ชนิดย่อย australis ไม่มีแถบที่อก เพศเมียขนส่วนบนสีเขียว ส่วนล่างสีเหลือง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกกินปลีหางยาวเขียว · ดูเพิ่มเติม »

นกศิวะหางสีตาล

นกศิวะหางสีตาล หรือ นกศิวะหางตาล (Bar-throated minla, Chestnut-tailed minla) เป็นนกในวงศ์นกกะรางและนกหางรำ (Leiothrichidae) พบในอนุทวีปอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกศิวะหางสีตาล · ดูเพิ่มเติม »

นกหัวขวานด่างแคระ

นกหัวขวานด่างแคระ (Grey-capped pygmy woodpecker, Grey-capped woodpecker) เป็นนกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์นกหัวขวาน (Picidae) มีความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร ด้านบนลำตัวสีดำมีแถบเป็นจุดสีขาว ด้านล่างลำตัวสีขาวลายดำ ด้านบนหัวสีเทา มีแถบสีดำคาดเหนือตา ตัวผู้มีแถบสีแดงเล็ก ๆ เหนือคิ้ว ซึ่งบางครั้งมองเห็นได้ยากมาก ไม่มีหงอน มีพฤติกรรมเวลาบินจะใช้กระพือบินสลับกับการร่อนกันไป ขณะบินจะส่งเสียงร้องดัง เวลาหากินจะใช้ปากเจาะเข้าไปในต้นไม้ทั้งที่ยังมีชีวิตอยู่และตายแล้ว พร้อมกับใช้ลิ้นที่ยาวซึ่งมีน้ำลายเหนียวและหนามแหลมยื่นยาวออกไปแมลงและหนอน กินเป็นอาหาร วางไข่ครั้งละ 2-3 ฟอง มีพฤติกรรมหากินร่วมกับนกขนาดเล็กชนิดอื่น ๆ เช่น นกไต่ไม้, นกเฉี่ยวดง เรียกว่า "เบิร์ดเวฟ" นกหัวขวานด่างแคระเป็นนกที่พบได้ในป่าทุกประเภท ตั้งแต่ที่ราบไปจนถึงระดับความสูงจากน้ำทะเล 1,830 เมตร โดยเฉพาะป่าโปร่ง พบกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางตั้งแต่ภูฐาน, บังกลาเทศ, อินเดีย, เนปาล, บรูไน, กัมพูชา, อินโดนีเซีย, จีน, เกาหลี, รัสเซีย, เกาะไต้หวัน และเวียดนาม สำหรับในประเทศไทยจัดเป็นนกประจำถิ่น พบทั่วทุกภาค ยกเว้นภาคกลาง จึงสามารถแบ่งออกเป็นชนิดย่อยต่าง ๆ ได้มากถึง 15 ชนิด (ดูในตาราง) สำหรับในประเทศไทย นกที่พบทางภาคใต้จัดเป็นชนิดย่อย D. c. auritus ซึ่งมีสีเข้มกว่าชนิดย่อยหลัก D. c. canicapillus ที่พบได้ทั่วไปเล็กน้อย และขนหางคู่กลางมีลายจุดจางกว่ามาก ส่วนทางภาคตะวันออกจะสามารถพบชนิดย่อย D. c. delacouri ซึ่งมีสีจางและลายขีดที่อกไม่ชัดเจนเท่าอีก 2 ชนิดย่อยนั้น และตามกฎหมายจัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกหัวขวานด่างแคระ · ดูเพิ่มเติม »

นกอีเสือหลังเทา

นกอีเสือหลังเทา (Grey-backed shrike) เป็นนกในวงศ์นกอีเสือ (Laniidae) พบในประเทศบังกลาเทศ, ภูฏาน, กัมพูชา, จีน, อินเดีย, ลาว, พม่า, เนปาล, ปากีสถาน, รัสเซีย, ไทย, และเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกอีเสือหลังเทา · ดูเพิ่มเติม »

นกขุนทอง

แสดงให้เห็นถึงหัวของนกขุนทองชนิดย่อยต่าง ๆ ซึ่งแตกต่างกันที่เหนียง นกขุนทอง หรือ นกเอี้ยงคำ (คำเมือง) เป็นนกในวงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง (Sturnidae) มีถิ่นอาศัยอยู่ทั่วไปในเอเชียใต้และเอเชียอาคเนย์ มีความสามารถเลียนเสียงมนุษย์ได้เหมือนนกแก้ว จึงนิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยงกันสูง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกขุนทอง · ดูเพิ่มเติม »

นกแก๊ก

นกแก๊ก หรือ นกแกง (Oriental pied hornbill) เป็นนกในวงศ์นกเงือก พบใน ประเทศบังกลาเทศ, ประเทศภูฏาน, ประเทศบรูไน, ประเทศกัมพูชา, ประเทศจีน, ประเทศอินเดีย, ประเทศอินโดนีเซีย, ประเทศลาว, ประเทศมาเลเซีย, ประเทศพม่า, ประเทศเนปาล, ประเทศสิงคโปร์, ประเทศไทย, และประเทศเวียดนาม มีถิ่นอาศัยในป่าดิบเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน ปกติกินผลไม้จำพวกเงาะเป็นอาหาร.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกแก๊ก · ดูเพิ่มเติม »

นกแซงแซวหางบ่วงเล็ก

นกแซงแซวหางบ่วงเล็ก (Lesser Racket-tailed Drongo) เป็นนกที่พบได้ในป่าดงดิบ ที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 800 เมตร ขึ้นไป ของเขตเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ประเทศบังคลาเทศ ภูฏาน กัมพูชา อินเดีย ลาว มาเลเซีย เนปาล เวียดนาม พม่า ในประเทศไทยพบได้ในภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ในประเทศไทย เป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535 จึงห้ามล่า พยายามล่า ห้ามค้า ห้ามนำเข้าหรือส่งออก ห้ามครอบครอง ห้ามเพาะพันธุ์ ห้ามเก็บหรือทำอันตรายรัง การห้ามการครอบครองและการค้ามีผลไปถึงไข่และซากด้ว.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกแซงแซวหางบ่วงเล็ก · ดูเพิ่มเติม »

นกแซงแซวหงอนขน

นกแซงแซวหงอนขน (Hair-crested Drongo) เป็นนกชนิดหนึ่งในวงศ์นกแซงแซว มีการกระจายพันธุ์จากประเทศอินเดียและประเทศภูฏานพาดผ่านอินโดจีน ไปถึงประเทศจีน, ประเทศอินโดนีเซีย, และประเทศบรูไน นกมีลักษณะปากเล็กเรียวแหลมและโค้ง หน้าผากมีขนเป็นเส้นยาว ปลายหางบานออกและโค้งขึ้น ลำตัวสีดำ หัวสีดำเหลือบน้ำเงิน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกแซงแซวหงอนขน · ดูเพิ่มเติม »

นกเค้าแคระ

นกเค้าแคระ (Collared owlet, Collared pygmy owl) เป็นนกเค้าแมวขนาดเล็กชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ Strigidae สามารถพบได้ในอัฟกานิสถาน, บังกลาเทศ, ภูฏาน, บรูไน, กัมพูชา, จีน, อินเดีย, อินโดนีเซีย, ลาว, มาเลเซีย, พม่า, เนปาล, ปากีสถาน, ไต้หวัน, ไทย และเวียดนาม ที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ คือ ป่าหนาว และจัดได้ว่าเป็นนกเค้าแมวที่มีขนาดเล็กที่สุดที่พบในทวีปเอเชีย ที่ขนาด 15 เซนติเมตร (6 นิ้ว) น้ำหนัก 60 กรัม (2.1 ออนซ์) โดยจะพบบ่อยที่สุดในบริเวณป่าดิบชื้น ตั้งแต่พื้นราบไปจนถึงระดับความสูง 3,050 เมตร จากระดับน้ำทะเล ในประเทศไทยจะพบบ่อยขึ้นที่ระดับสูงเกิน 600 เมตรจากระดับน้ำทะเลขึ้นไป บริเวณภาคใต้และคาบสมุทรมลายู จะพบได้บ่อยมากในระดับสูง 395 เมตรจากระดับน้ำทะเลขึ้นไป มีทั้งหมด 4 ชนิดย่อย (ดูในตาราง) นกเค้าแคระจัดเป็นนกเค้าแมวที่บินได้ไม่เงียบเหมือนนกเค้าแมวหรือนกแสกส่วนมาก และยังเป็นนกที่หากินในเวลากลางวัน มีรูปร่างอ้วนกลม มีขนหนานุ่มปกคลุมอย่างหนาแน่น มีสีและลวดลายที่กลมกลืนไปกับต้นไม้ บริเวณคอก็มีขนอยู่อย่างหนาแน่นทำให้ดูเหมือนหัวอยู่ติดกับตัวโดยไม่มีคอ และมีหัวที่กลมโต หน้าแบน ตากลมโตสีเหลืองอยู่ด้านหน้าของใบหน้า ปากสั้นและปากบนโค้งงุ้มแหลมลง มีขนเส้นเล็ก ๆ คล้ายหนวดแมวอยู่รอบ ๆ โคนปากทำหน้าที่เป็นเครื่องนำทาง มีปีกกว้างแต่ปลายปีกมน ขนหางยาวกว่านกเค้าแม้วชนิดอื่น ๆ มีขาสั้นแต่เข็งแรงสีเหลืองนิ้วเท้าค่อนข้างใหญ่และแข็งแรง มีนิ้วตีน 4 นิ้วเวลาเกาะกิ่งจะอยู่ด้านหน้า 2 ด้านหลัง 2 นิ้ว เล็บสีดำ ตัวผู้และตัวเมียมีลักษณะเหมือนกัน จับอาหารจำพวกสัตว์ต่าง ๆ ขนาดเล็ก เช่น กิ้งก่า, หนู, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก, จักจั่น, ด้วง และตั๊กแตน รวมถึงนกด้วยกันชนิดอื่นที่มีขนาดเล็ก เมื่อจะล่านก นกเค้าแคระมักจะซ่อนตัวตามพุ่มไม้ ไม่เช่นนั้นแล้วจะถูกฝูงนกเล็ก ๆ เหล่านี้ไล่จิกตี แต่นกเค้าแคระก็สามารถจับเหยื่อที่มีขนาดตัวพอ ๆ กันหรือโตกว่าเล็กน้อยได้ด้วยกรงเล็บที่แข็งแรง หากจะหากินในเวลากลางคืน มักจะเป็นในคืนวันเพ็ญ ทำรังวางไข่ในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม โดยใช้โพรงไม้ธรรมชาติ หรือรังของนกอื่นที่ทำรังในโพรงไม้เหมือนกัน โดยโพรงอาจเป็นรังเก่า หรืออาจมาจากการแย่งชิงมาก็ได้ ในบางครั้งอาจเป็นการฆ่ากินและปล้นชิงจากนกตัวอื่นเลยก็ได้ โพรงรังที่เลือกมักอยู่สูงจากพื้นราว 2-10 เมตร วางไข่ครั้งละ 3-5 ฟอง ลูกนกจะออกจากไข่ในช่วงต้นฤดูฝนที่มีอาหารอุดมสมบูรณ์พอดีซึ่งจะเป็นผลดีต่อการรอดชีวิตของลูกนก เนื่องจากแม่นกจะกกไข่ตั้งแต่ออกไข่ฟองแรกทันที ในขณะเดียวกันก็จะออกไข่ใบอื่น ๆ ไปด้วย ดังนั้นในแต่ละรังลูกนกเค้าแคระจะมีอายุต่างกันพอสมควร ถ้าอาหารมีไม่พอเพียง ตัวที่ออกมาทีหลังตัวเล็กกว่าก็จะแย่งอาหารตัวอื่น ๆ ไม่ทันและตายไปในที่สุด จัดเป็นนกเค้าแมวอีกชนิดหนึ่งที่นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง และมีสถานะเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองในประเทศไท.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกเค้าแคระ · ดูเพิ่มเติม »

นกเงือกกรามช้าง

นกเงือกกรามช้าง หรือ นกกู๋กี้ (Wreathed hornbill, Bar-pouched wreathed hornbill) เป็นนกในวงศ์นกเงือกพบในป่าจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดียและประเทศภูฏาน, ทางตะวันออกและใต้จนถึงกลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และหมู่เกาะซุนดา ยกเว้น เกาะซูลาเวซี นกเงือกกรามช้างยาว 75–100 ซม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนกเงือกกรามช้าง · ดูเพิ่มเติม »

นางพญาเสือโคร่ง

นางพญาเสือโคร่ง (ชื่อวิทยาศาสตร์: Prunus cerasoides กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,, สืบค้นวันที่ 21 ก.ย. 2552, Wild Himalayan Cherry) เป็นพืชดอกในสกุล Prunus ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ พบทั่วไปบนภูเขาตั้งแต่ความสูง 1,200-2,400เมตรจากระดับน้ำทะเล เช่น ภูลมโล จังหวัดเลย, ดอยแม่สลอง จังหวัดเชียงราย, ดอยเวียงแหง ดอยอ่างขาง ขุนช่างเคี่ยน ขุนแม่ยะ จังหวัดเชียงใหม่, ขุนสถาน ดอยวาว ดอยภูคา มณีพฤกษ์ จังหวัดน่าน, ภูทับเบิก จังหวัดเพชรบูรณ์, ภูหินร่องกล้า จังหวัดพิษณุโลก ฯลฯ โดยเป็นดอกไม้ประจำอำเภอเวียงแหง นางพญาเสือโคร่ง เป็นพรรณไม้ที่มีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติอยู่ที่ตอนเหนือของประเทศไทย ในต่างประเทศ พบในประเทศพม่า รัฐฉานและรัฐคะฉิ่น, ประเทศอินเดียพบบนเทือกเขาหิมาลัย ในรัฐอรุณาจัลประเทศยาวไปจนถึงรัฐหิมาจัลประเทศทางตอนเหนือของอินเดีย หรือที่เรียกว่าHimalayas, ประเทศภูฏาน, ประเทศเนปาล และประเทศจีนพบในมณฑลยูนนาน นางพญาเสือโคร่งถูกนิยมเรียกว่า"ซากุระเมืองไทย" เพราะมีลักษณะคล้ายซากุระในประเทศญี่ปุ่น แม้จะเป็นคนละชนิดกันก็ตาม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนางพญาเสือโคร่ง · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

แบทแมน บีกินส์

แบทแมน บีกินส์ (อังกฤษ: Batman Begins) คือ ภาพยนตร์ชุดแบทแมนลำดับที่ 5 เข้าฉายในสหรัฐอเมริกาเมื่อปี พ.ศ. 2548 กำกับโดย คริสโตเฟอร์ โนแลน นำแสดงโดย คริสเตียน เบล, ไมเคิล เคน, เลียม นีสัน, แคที โฮล์มส์, แกรี โอลด์แมน, ซิลเลียน เมอร์ฟี, มอร์แกน ฟรีแมน, ทอม วิลคินสัน, Rutger Hauer และเค็ง วะตะนะเบะ เนื้อเรื่องของภาพยนตร์แบทแมนภาคนี้เป็นอิสระจากภาพยนตร์ชุดแบทแมนที่สร้างมาก่อนหน้าโดยสิ้นเชิง โดยมีโครงเรื่องที่กล่าวถึงจุดกำเนิดของตัวละครแบทแมน ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากเส้นเรื่องของหนังสือการ์ตูนชุดแบทแมนดั้งเดิม เช่น แบทแมน: เดอะแมนฮูฟอลส์ (Batman: The Man Who Falls) แบทแมน: เยียร์วัน (Batman: Year One) และ แบทแมน: เดอะลองฮัลโลวีน (Batman: The Long Halloween) ที่มาของภาพยนตร์เรื่องนี้ มาจากความคิดของคริสโตเฟอร์ โนแลน และเดวิด เอส. โกเยอร์ (ผู้เขียนบทภาพยนตร์) ที่มาร่วมงานกันเมื่อช่วงต้นปี พ.ศ. 2546 ซึ่งภาคนี้ถือเป็นภาพยนตร์แบทแมนเรื่องแรก หลังจากที่ภาค แบทแมนแอนด์โรบิน (Batman & Robin) เมื่อ พ.ศ. 2540 ได้รับคำวิจารณ์ในแง่ลบและประสบความล้มเหลวในเชิงพาณิชย์ โดยในภาคนี้ เขาทั้งสองคนได้ดัดแปลงให้มีโทนสีมืดและมีความสมจริงของเนื้อเรื่องมากกว่าที่ภาคที่ผ่านมา การถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ ใช้วิธีการแสดงผาดโผนแบบดั้งเดิมและอาศัยการสร้างภาพด้วยคอมพิวเตอร์ไม่มากนัก โดยสถานที่ที่ใช้ในการถ่ายทำในเบื้องต้น คือ อังกฤษและชิคาโก แบทแมน บีกินส์ ได้รับกระแสที่ดีทั้งจากคำวิจารณ์และการตอบรับเชิงพาณิชย์ โดยได้มีการสร้างภาพยนตร์ภาคต่อชื่อว่า แบทแมน อัศวินรัตติกาล (The Dark Knight) ขึ้นมา ซึ่งออกฉายในปี พ.ศ. 2551 กำกับโดยคริสโตเฟอร์ โนแลน และนำแสดงโดยคริสเตียน เบล เช่นเดิม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและแบทแมน บีกินส์ · ดูเพิ่มเติม »

แพนด้าแดง

แพนด้าแดง (Red panda, Shining cat; 小熊貓; พินอิน: Xiǎo xióngmāo) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ailurus fulgens อยู่ในวงศ์ Ailuridae จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในวงศ์นี้ที่ยังสืบทอดสายพันธุ์อยู่ จึงจัดเป็นซากดึกดำบรรพ์มีชีวิตอยู่ชนิดหนึ่ง และเป็นเพียงชนิดเดียวที่อยู่ในสกุล Ailurus มีรูปร่างหน้าตาคล้ายแรคคูนและกระรอกรวมกัน หัวมีขนาดใหญ่ จมูกแหลม ขาสั้นคล้ายหมี ขนตามลำตัวมีหลากหลาย มีทั้งสีน้ำตาลเข้ม น้ำตาลเหลืองและน้ำตาลแดง ขนบริเวณลำคอยาวและนุ่มฟู หางเป็นพวงยาวคล้ายกับหางของกระรอก มีลายปล้องสีน้ำตาลแดงสลับขาว มีความยาวของลำตัวและหัว 51-64 เซนติเมตร หางยาว 50-63 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 3-4.5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์พบตามแนวเทือกเขาหิมาลัย ตั้งแต่ภาคเหนือของประเทศอินเดีย, ทิเบต, เนปาล, ภูฏาน, จีน, ภาคเหนือของพม่า และภาคเหนือของประเทศลาวบริเวณที่ติดกับจีน โดยอาศัยอยู่ในป่าที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 1,500-4,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีพฤติกรรมออกหากินตามลำพัง มักหากินบนต้นไม้ กินอาหารเพียงไม่กี่ประเภท โดยกินเฉพาะใบไม้อ่อนเท่านั้น บางครั้งอาจกินไข่นก สัตว์ขนาดเล็กและผลไม้บางชนิดด้วย ใช้เวลาตอนกลางวันในการนอนหลับพักผ่อน แพนด้าแดงตัวผู้จะหวงอาณาเขตมากและมักเคลื่อนย้ายไปเรื่อย ๆ แต่แพนด้าแดงตัวเมียจะอาศัยอยู่ในพื้นที่ครอบครองของตัวเอง บางครั้งตัวผู้อาจเข้ามาหากินภายในอาณาเขตของตัวเมียด้วย โดยทั่วไปอาณาเขตของแพนด้าแดงตัวผู้จะกว้างประมาณ 1.1-9.6 ตารางกิโลเมตร ส่วนอาณาเขตของตัวเมียจะกว้างประมาณ 1.0-1.5 ตารางกิโลเมตร ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ โดยตัวเมียจะยอมให้ตัวผู้ผสมพันธุ์อยู่เพียง 1-3 วันเท่านั้น แม่แพนด้าแดงใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 90-145 วัน และจะออกลูกในโพรงไม้หรือถ้ำเล็ก ๆ ออกลูกครั้งละ 4 ตัว ลูกที่เกิดใหม่จะยังมองไม่เห็น มีสีขนตามลำตัวออกสีเหลืองอ่อน และจะกินนมแม่อยู่นาน 5 เดือน หลังจากนั้นจึงหย่านมและเปลี่ยนมากินใบไผ่แทน เมื่ออายุได้ 2 ปี ก็จะแยกออกไปหากินตามลำพัง มีข้อสังเกตว่า แพนด้าแดงที่อยู่บริเวณภาคเหนือของอินเดียจะมีขนาดเล็กกว่าตัวที่อยู่ค่อนมาทางเอเชียตะวันออก และมีสีที่ใบหน้าซีดจางกว่า ซึ่งเป็นชนิดย่อยที่แยกออกไป สำหรับในประเทศไทย สวนสัตว์พาต้าเคยนำเข้ามาเลี้ยงในสวนสัตว์ครั้งหนึ่ง โดยให้อยู่ในห้องปรับอากาศ ปัจจุบันมีแสดงที่สวนสัตว์ดุสิต และสวนสัตว์เปิดเขาเขียวเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและแพนด้าแดง · ดูเพิ่มเติม »

แมวดาว

แมวดาว (Leopard cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็กชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเท่า ๆ กับแมวบ้าน แต่มีความคล่องแคล่วว่องไวกว่ามาก ขนตามลำตัวมีสีน้ำตาลอมเทา ลักษณะเด่นคือ ตามลำตัวมีจุดขนาดเล็กสีดำกระจายอยู่ทั่วไป ด้านข้างของหัวมีแถบสีน้ำตาลเข้ม 4—5 แถบ ขนบริเวณท้องมีสีขาวนวล แมวดาวตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย แมวดาวมีความยาวลำตัวและหัว 44.5—55 เซนติเมตร ความยาวหาง 23—29 เซนติเมตร น้ำหนัก 3—5 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวาง พบตั้งแต่ญี่ปุ่น, ไต้หวัน, รัสเซีย, อินเดีย, ปากีสถาน, เนปาล, ภาคใต้ของจีน, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะสุมาตรา, เกาะชวา, เกาะบอร์เนียว, สิงคโปร์ แมวดาว สามารถปรับตัวให้อยู่ในพื้นที่หลากหลายสภาพได้ บางครั้งอาจพบในป่าที่ใกล้กับพื้นที่ชุมชน ล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู, สัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก เป็นอาหาร ออกหากินในเวลากลางคืน พักผ่อนในเวลากลางวัน สามารถปีนต้นไม้ได้คล่องแคล่ว และยังสามารถว่ายน้ำได้อีกด้วย ปกติอาศัยและหากินตามลำพัง ยกเว้นในช่วงผสมพันธุ์ ที่อาจพบเห็นอยู่ด้วยกัน 2 ตัว ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 65—72 วัน ออกลูกครั้งละ 2—4 ตัว จากการศึกษาในสถานที่เลี้ยงมีอายุยืนประมาณ 13 ปี นอกจากนี้แล้ว แมวดาวที่ผสมข้ามสายพันธุ์กับแมวบ้าน จะได้ลูกเป็นแมวพันทางสายพันธุ์ที่เรียกว่า แมวเบงกอล.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและแมวดาว · ดูเพิ่มเติม »

แมวป่า

แมวป่า, เสือกระต่าย หรือ เสือบอง เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็ก อยู่ในวงศ์ Felidae มีรูปร่างคล้ายแมวบ้าน มีลักษณะเด่นคือ มีหูแหลมยาวเป็นรูปสามเหลี่ยม และมีกระจุกขนยื่นออกมาจากปลายใบหูแลดูคล้ายกระต่าย จึงเป็นที่มาของชื่อสามัญว่า "เสือกระต่าย" มีขายาว หางสั้นมีลายสีเข้มสลับเป็นปล้อง ๆ ขนปลายหางมีสีดำตามลำตัวมีสีน้ำตาลเหลือง บริเวณหลังมีสีน้ำตาลเข้ม สีขนบริเวณท้องจะอ่อนกว่าลำตัว แมวป่านับเป็นเสือในสกุล Felis ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีความยาวลำตัวและหัว 50–56 เซนติเมตร ความยาวหาง 26–31 เซนติเมตร มีน้ำหนัก 4–6 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ที่กว้างขวางมาก ตั้งแต่ภาคเหนือของทวีปแอฟริกาจรดเอเชียตะวันออก พบในภาคตะวันออกของซาอุดีอาระเบีย, คูเวต, อิรัก, อิหร่าน, จอร์แดน, ภาคตะวันออกของตุรกี, อิสราเอล, ปากีสถาน, อัฟกานิสถาน, เนปาล, ภูฏาน, บังกลาเทศ, ภาคใต้ของจีน, อินเดีย, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชาและเวียดนาม มักอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือป่าเต็งรังที่ไม่รกชัฏนัก จับสัตว์ขนาดเล็กที่อาศัยบนพื้นดินกินเป็นอาหาร เช่น กระต่ายป่า, กบ, หนู, กิ้งก่า หรือนกที่อาศัยอยู่บนพื้นดินกินเป็นอาหารหลัก ออกหากินทั้งกลางวันและกลางคืน แต่มักพบบ่อยในช่วงเช้า และช่วงเย็น จากกายภาพที่มีขายาว แต่หางสั้นไม่สมดุลกันเช่นนี้ ทำให้แมวป่ามีการทรงตัวที่ไม่ดีเมื่ออยู่บนต้นไม้ ดังนั้นจึงไม่ค่อยปีนขึ้นไปบนต้นไม้นัก ในประเทศไทย นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล นักนิยมไพรและนักเขียนได้บันทึกไว้ในปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและแมวป่า · ดูเพิ่มเติม »

แรดอินเดีย

แรดอินเดีย จัดเป็นแรด 1 ใน 3 สายพันธุ์ที่พบได้ในทวีปเอเชีย และเป็นสายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดที่พบในทวีปแห่งนี้.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและแรดอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม พ.ศ. 2554

แผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและแผ่นดินไหวในรัฐสิกขิม พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

แนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติโบโดแลนด์

งของ'''แนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติโบโดแลนด์ แนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติโบโดแลนด์ (National Democratic Front of Bodoland; NDFB) เป็นองค์กรทางทหารที่ต่อสู้เพื่อแยกดินแดนโบโดแลนด์สำหรับชาวโบโดจากรัฐอัสสัม ผู้นำกลุ่มคือ รันไซกระ นาบลา ไดมารี หรือฉายา รันจัน ไดมารี จัดเป็นองค์กรก่อการร้ายและรัฐบาลอินเดียพยายามเจรจาสงบศึกกับองค์กรนี้.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและแนวร่วมประชาธิปไตยแห่งชาติโบโดแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

โมโม (อาหาร)

มโม (མོག་མོག་; Wylie: mog mog) เป็นเกี๊ยวหรือขนมจีบที่มีต้นกำเนิดในทิเบต กลายเป็นอาหารประจำชาติของชาวเนวาร์ ชาวเชอร์ปา ชาวลิมบู Gurungs และ Magars ของเนปาลและชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ ของประเทศเนปาล คล้ายกับ buuz ของมองโกเลียและ jiaozi ของจีน คำว่า "โมโม" ในภาษาทิเบตเป็นคำยืมจากภาษาจีน mómo (馍馍).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและโมโม (อาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนนานาชาติเดอะรีเจ้นท์

รงเรียนนานาชาติเดอะรีเจ้นท์ (The Regent's School) เป็นโรงเรียนนานาชาติตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานครและพัทยา ก่อตั้งโดย ดร.วีระชัย เตชะวิจิตร์ เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและโรงเรียนนานาชาติเดอะรีเจ้นท์ · ดูเพิ่มเติม »

โฆ

้าชายจิกเยล อุกเยน วังชุก ในชุดโฆ ชายภูฏานขณะสวมใส่โฆ โฆ (ภาษาซองคา: བགོ, IPA) เป็นชุดแต่งกายชายประจำชาติประเทศภูฏาน เกิดขึ้นราวคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยนาวัง นัมเกล อัตลักษณ์ที่โดดเด่นของเครื่องแต่งกายนี้คือเป็นชุดคลุมลวดลายพื้นเมือง ยาวถึงเข่า ผูกที่เอวโดยเข็มขัดผ้าที่เรียกว่าเครา (སྐེད་རགས་)  ในเทศกาลมักจะสวมใส่คู่กับคับเน รัฐบาลภูฏานต้องการให้ผู้ชายทุกคนสวมใส่ชุดโฆ ถ้าพวกเขาทำงานในสถานที่ราชการ สำนักงาน หรือโรงเรียน ผู้ชายชาวภูฏานส่วนมากต้องการใส่โฆ ในโอกาสพิเศษหรืองานพระราชพิธี.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและโฆ · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและโปเกมอน โก · ดูเพิ่มเติม »

ไก่ฟ้าสีเลือด

ก่ฟ้าสีเลือด (Blood pheasant) เป็นนกชนิดหนึ่ง จำพวกไก่ฟ้า จัดอยู่ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) จัดเป็นเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Ithaginis ไก่ฟ้าสีเลือดมีขนาดลำตัวเหมือนไก่ป่าขนาดเล็ก มีความยาวประมาณ 43 เซนติเมตร มีจะงอยปากที่แข็งแรง มีขนปกคลุมลำตัวรุงรังสีเทา แต่ที่หน้าอกเป็นสีแดงสดเหมือนเลือดไหลซึมไปทั่วเส้นขน อันเป็นที่มาของชื่อสามัญ ในตัวผู้จะมีส่วนใบหน้าและหัวเป็นสีแดง ขณะที่ตัวเมียจะเป็นสีน้ำตาลทึม ๆ พบกระจายพันธุ์ตามแถบเทือกเขาสูงตามแนวเทือกเขาหิมาลัยในหลายประเทศ เช่น ภูฐาน, เนปาล, ธิเบต, ตอนเหนือของอินเดีย, ตอนเหนือของพม่า และภาคตะวันตกของจีน มีพฤติกรรมมักชอบอาศัยในป่าสนผสมและในพื้นที่อยู่ใกล้กับยอดเขาที่มีหิมะหรือน้ำแข็งปกคลุม มีการอพยพย้ายถิ่นตามฤดูกาล โดยพบได้ในที่ ๆ ระดับความสูงที่สูงขึ้นในช่วงฤดูร้อน และด้วยปริมาณหิมะที่เพิ่มขึ้นในฤดูใบไม้ร่วงและฤดูหนาวจะย้ายไปอยู่ในระดับพื้นที่ ๆ ต่ำกว่า ไก่ฟ้าสีเลือด เป็นนกประจำรัฐสิกขิม ของอินเดีย และเป็นนกประจำชาติของคาซัคสถาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและไก่ฟ้าสีเลือด · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล อริส

มเคิล เวเลียนคอร์ท อริส (27 มีนาคม 1946 – 27 มีนาคม 1999) เป็นนักเขียนหนังสือเกี่ยวกับวัฒนธรรมภูฏาน, ธิเบตและหิมาลัย และเขียนหนังสือมากมายเกี่ยวกับศาสนาพุทธ เขาเป็นคู่สมรสของผู้นำฝ่ายค้านในพม่า ออง ซาน ซูจี.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและไมเคิล อริส · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่หก

ผ่หก เป็นไผ่ชนิดหนึ่งในสกุล Dendrocalamus เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 12–15 เซนติเมตร และสูงได้ถึง 15–18 เมตร พบในเอเชียใต้ จีน อินเดีย ภูฏาน เนปาล ปากีสถาน ภาษากะเหรี่ยงเรียก หว่าซึ มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นเหนือดินตั้งตรงเป็นกอ ลำต้นอ่อนมีขนสีขาว กาบหุ้มลำต้นเกลี้ยงหรือมีขนสีน้ำตาล ใบเดี่ยว ขอบใบสากมือและคม ผิวใบมีขน ก้านใบสั้น กาบใบเป็นสัน โคนพองและหยัก กระจังใบยาวเป็นเคียว มีขนสีม่วง ดอกช่อ ออกตามปลายยอด ในไทย หน่ออ่อนนำมาทำอาหารหน่อรับประทานได้ มีรสขมเล็กน้อย เนื้อไม้ใช้ทำเครื่องจักสาน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและไผ่หก · ดูเพิ่มเติม »

ไผ่ตง

ผ่ตง เป็นไผ่สกุลหนึ่งในวงศ์หญ้า (Poaceae) ชื่อสกุลมีที่มาจากภาษากรีกว่า "δένδρον" (déndron) แปลว่า "ต้นไม้" และ "κάλαμος" แปลว่า "พืชจำพวกกกหรืออ้อย" รวมหมายถึง "อ้อยที่เป็นกอคล้ายต้นไม้" จึงสื่อถึงลักษณะของไผ่สกุลนี้ที่มีขนาดใหญ่และนิยมปลูกเพื่อการบริโภคหน่อ ไผ่สกุลนี้มีประมาณ 50 ชนิด ในจำนวนนี้พบในไทย 4 ชนิด กระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อนของทวีปเอเชีย โดยเฉพาะในเขตอินเดีย จีน อินโดนีเซีย พม่า ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปิน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและไผ่ตง · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เชอริง ต๊อบเกย์

อริง ต๊อบเกย์ (Tshering Tobgay) เป็นนักการเมืองชาวภูฏาน ผู้เข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเชอริง ต๊อบเกย์ · ดูเพิ่มเติม »

เพียงพอนเส้นหลังขาว

ียงพอนเส้นหลังขาว หรือ เพียงพอนหลังขาว (Back-striped weasel) เป็นเพียงพอนชนิดหนึ่ง มีรูปร่างเหมือนกับเพียงพอนชนิดอื่น ๆ แต่มีลักษณะเด่น คือ มีแถบสีขาวแคบ ๆ พาดตามแนวสันหลังบริเวณกึ่งกลางหลัง ตั้งแต่ท้ายทอยจรดโคนหาง และมีอีกแถบสีคล้ายคลึงกันตามแนวกึ่งกลางของใต้ท้อง ขนตามบริเวณลำตัวและหางมีสีน้ำตาลเข้ม บริเวณใต้คางและใต้คอมีสีเหลืองอ่อน หางมีความยาวประมาณครึ่งหนึ่งของลำตัว ตัวผู้จะมีแถบขนสีขาวพาดอยู่เพียงเส้นเดียว ขณะที่ตัวเมียจะมีอยู่ด้วยกันสองเส้น มีความยาวลำตัวตั้งแต่หัวจรดโคนหางประมาณ 27.5-32.5 เซนติเมตร ส่วนหางยาว 14.5-20.5 เซนติเมตร น้ำหนักตัวประมาณ 1-2 กิโลกรัม พบกระจายพันธุ์ในป่าบนภูเขาที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,200-2,000 เมตร และเคยมีรายงานว่าพบในป่าผลับใบบนพื้นที่สูง ตั้งแต่แคว้นสิกขิมในอินเดีย, เนปาล, ภูฐาน, จีนทางตอนใต้, ลาวและเวียดนามทางตอนเหนือ และภาคเหนือและภาคอีสานของไทย มีพฤติกรรมออกล่าเหยื่อในเวลากลางวัน โดยมักล่าสัตว์ขนาดเล็ก เช่น หนู เป็นอาหาร โดยเมื่อจับได้แล้วมักจะกัดที่จมูกจนตาย ในประเทศไทย จัดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเพียงพอนเส้นหลังขาว · ดูเพิ่มเติม »

เม่นใหญ่แผงคอยาว

ม่นใหญ่แผงคอยาว (Malayan porcupine, Himalayan porcupine, Large porcupine) เป็นเม่นขนาดใหญ่ หูและหางสั้น ขนตามลำตัวสีดำหรือสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ มีขนแข็งแหลมและยาวมากบนหลังและสะโพก ซึ่งขนดังกล่าวจะชี้ตรงไปทางด้านหลัง ก้านขนมีสีขาว บางเส้นอาจมีวงสีดำสลับอยู่ ขนแผงคอยาวประมาณ 3-6 เซนติเมตร มีสีน้ำตาลเข้ม มีฟันหน้าที่ใหญ่ยาวและแข็งแรงมาก มีความยาวลำตัวและหัว 63.5-72.5 เซนติเมตร ความยาวหาง 6.4-11.4 เซนติเมตร น้ำหนัก 20-27 กิโลกรัม มีการกระจายพันธุ์ในเนปาล, อินเดีย, ภูฏาน, จีน, บังกลาเทศ, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย, เกาะบอร์เนียวและเกาะสุมาตรา สามารถปรับตัวให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลายได้ ทั้งป่าสมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรมที่ผ่านการทำลายมาแล้ว หลับนอนในโพรงที่ขุดขึ้นมาเอง บริเวณปากโพรงจะปกคลุมด้วยพืชรกชัฏเพื่ออำพราง ออกหากินในเวลากลางคืน กินอาหารจำพวกรากพืช หน่อไม้ เปลือกไม้ ผลไม้สุกที่ร่วงจากต้น กระดูกสัตว์รวมทั้งเขาสัตว์ด้วย เช่น เขาของเก้งหรือกวางที่ผลัดทิ้งเพื่อเพิ่มแคลเซี่ยมให้กับร่างกาย อีกทั้งเป็นการขัดฟันไม่ให้ยาวเกินไปในตัวด้วย นอนหลับในเวลากลางวันในโพรง โดยจะลากเอาเขาหรือกระดูกสัตว์เข้ามาแทะถึงในโพรง เมื่อพบศัตรูจะกระทืบเท้าเสียงดัง หากไม่สำเร็จจะค่อย ๆ เดินหนี หากศัตรูยังตามมา จะวิ่งหนีรวดเร็วและหยุดอย่างกะทันหัน เพื่อให้ศัตรูหยุดไม่ทันและถูกหนามแหลมทิ่ม โดยปกติจะสั่นขนของตัวเองอยู่เสมอ ทำให้มักได้ยินเสียงการกระทบกันของเส้นขนอยู่บ่อย ๆ ซึ่งเป็นการอวดศักยภาพของตัวเอง หรือแม้แต่เดินธรรมดา ๆ ก็จะได้ยินเสียงเส้นขนลากกับพื้น เม่นใหญ่แผงคอยาวออกลูกครั้งละ 2-3 ตัว มีอายุสูงสุดในที่เลี้ยง 27 ปี.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเม่นใหญ่แผงคอยาว · ดูเพิ่มเติม »

เยติ

รคดี เยติ หรือ มนุษย์หิมะ (เนปาลี: हिममानव himamānav, คำแปล "มนุษย์หิมะ") เป็นชื่อที่ใช้เรียกสัตว์ประหลาดชนิดหนึ่ง ในความเชื่อของชาวเชอร์ปา ชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่แถบเทือกเขาหิมาลัย ในประเทศเนปาล, ภูฏาน, ธิเบต, จีน จนถึงบางพื้นที่ในมองโกเลียและรัสเซีย โดยเชื่อว่าเยติ เป็นสัตว์ขนาดใหญ่สูงตั้งแต่ 5–8 ฟุต น้ำหนักประมาณ 600 ปอนด์ ที่คล้ายมนุษย์ผสมกับลิงไม่มีหางคล้าย กอริลลา มีขนยาวสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลดำหรือสีเทาหรือเทาเข้มปกคลุมทั้งลำตัว ยกเว้นใบหน้าที่มีสีคล้ำ มีเสียงร้องที่น่าสะพรึงกลัว โดยปรกติแล้ว เยติเป็นสัตว์ที่มีนิสัยสงบเสงี่ยม แต่อาจดุร้ายโจมตีใส่มนุษย์และสัตว์เลี้ยง เช่น จามรี ได้ในบางครั้ง เยติ ปรากฏอยู่ในวัฒนธรรมของชาวเชอร์ปามาอย่างช้านาน โดยถูกกล่าวถึงในนิทานและเพลงพื้นบ้าน และเรื่องเล่าขานต่อกันมาถึงผู้ที่เคยพบมัน นอกจากนี้แล้วยังปรากฏในศิลปะของพุทธศาสนานิกายมหายานแบบธิเบต โดยปรากฏเป็นภาพในพรมธิเบตที่แขวนไว้ที่ฝาผนังเหมือนจิตรกรรมฝาผนังในวัดลามะอายุกว่า 400 ปี เป็นภาพของสิ่งมีชีวิตประหลาดอย่างหนึ่งที่ขนดกอยู่ด้านมุมภาพและในมือถือกะโหลกมนุษย์อยู่ และปัจจุบันนี้ ก็มีสิ่งที่เชื่อว่าเป็นหนังหัวของเยติถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีในวัดลามะแห่งหนึ่งในคุมจุง ซึ่งนับว่าเยติเป็นสัตว์ที่ถูกกล่าวอ้างถึงยาวนานกว่าสัตว์ประหลาดที่มีลักษณะคล้ายกันชนิดอื่นที่พบในอีกซีกโลก เช่น บิ๊กฟุต หรือ ซาสควาทช์ ในทวีปอเมริกาเหนือ, ยาวี ในทวีปออสเตรเลีย หรืออัลมาส์ ในเอเชียกลาง หากแต่หลักฐานเกี่ยวกับเยติเมื่อเทียบกับบิ๊กฟุตแล้วพบน้อยกว่ามาก แต่มีหลายกรณีที่บ่งชี้ว่าเป็นสัตว์ที่ดุร้าย ก้าวร้าวกว่ามาก นอกจากคำว่าเยติแล้ว ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ ที่เรียกเยติ เช่น เธลม่า (Thelma), แปลว่า "ชายตัวเล็ก" เชื่อว่ามีนิสัยรักสงบ ชอบสะสมกิ่งไม้และชอบร้องเพลงขณะที่เดินไป, ดซูท์เทห์ (Dzuteh) เป็นเยติขนาดใหญ่ มีขนหยาบกร้านรุงรัง มีนิสัยดุร้ายชอบโจมตีใส่มนุษย์, มิห์เทห์ (Mith-teh) มีนิสัยคล้ายดซูท์เทห์ คือ ดุร้าย มีขนสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลดำ, เมียกา (Mirka) แปลว่า "คนป่า" เชื่อว่าหากมันพบเห็นสิ่งใดไม่ว่าจะเป็นมนุษย์หรือสัตว์ มันจะทำร้ายจนถึงแก่ความตาย, คัง แอดมี (Kang Admi) แปลว่า "มนุษย์หิมะ" และ โจบราน (JoBran) แปลว่า "ตัวกินคน" ขณะที่ในภูฏานเรียกว่า มิกอย (Migoi) หรือ นากอย (Nagoi) ส่วนชื่อ มนุษย์หิมะ นั้น ปรากฎขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1921 เมื่อนักสำรวจชาวตะวันตกซึ่งเป็นผู้ที่ถ่ายภาพรอยเท้าของเยติไว้ได้เป็นภาพแรก เจอกับปัญหาการแปลภาษาเชอร์ปา ซึ่งมาจากคำว่า "ดซูท์เทห์" ที่แปลได้ว่า "มนุษย์ตัวเหม็นแห่งหิมะ" ซึ่งเขาได้เขียนลงในบันทึกในฐานที่พักว่า "มนุษย์ตัวเหม็นน่ารังเกียจแห่งหิมะ" ที่ภูฏาน ชาวพื้นเมืองต่างเชื่อว่าเยติมีจริง หลายคนเคยได้พบเจอตัวหรือได้ยินเสียงของเยติ โดยกล่าวว่าเยติเป็นสัตว์ดุร้าย ที่ฆ่ามนุษย์ได้ มีรูปร่างสูงใหญ่ มีพละกำลังมาก มีขนสีน้ำตาลแดงปกคลุมทั่วร่างรวมถึงมีใบหน้าคล้ายลิง มีเขี้ยวที่ยาวและแหลมคม เสียงร้องของเยติเป็นเสียงสูง เยติอาศัยอยู่ตามถ้ำหรือในป่าลึก ออกหากินในช่วงเวลาที่อากาศอบอุ่น ทำรังด้วยการใช้กิ่งไม้ขัดสานกันเหมือนเตียงนอน และเชื่อว่าหากผู้ใดต้องการพบเห็นตัวเยติต้องทำร่างกายให้สกปรก หากเนื้อตัวสะอาดก็จะไม่ได้พบเยติ มีรายงานการพบเห็นเยติเป็นจำนวนมากทางตอนเหนือของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสากเต็ง ในเขตตราชิกัง เรเน เดอ มีล์วีลล์ นักปีนเขาชาวฝรั่งเศสเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 1976 เรื่องราวของเยติที่โจมตีใส่มนุษย์นั้น ได้ถูกทำเป็นรายงานส่งไปยังเมืองกาฐมาณฑุ เมืองหลวงของเนปาล ซึ่งปากคำของผู้ที่ตกเป็นเหยื่อถูกบันทึกโดยอาสาสมัครชาวอเมริกันที่ทำงานในเนปาล โดยผู้ถูกทำร้ายเป็น เด็กหญิงชาวเชอร์ปาคนหนึ่ง ในปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเยติ · ดูเพิ่มเติม »

เวลาสากลเชิงพิกัด

แผนที่โลกแสดงเขตเวลาในปัจจุบัน เวลาสากลเชิงพิกัด (Coordinated Universal Time; ตัวย่อ: UTC) คือ หน่วยเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงการหมุนของโลก โดยใช้เครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหน่วยเวลาสากลซึ่งเป็นระบบอ้างอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) จุดอ้างอิงของเวลาสากลเชิงพิกัดคือที่ลองจิจูด ที่ 0° ที่ตัดผ่านหอดูดาวหลวงกรีนิชในกรีนิช ลอนดอน สหราชอาณาจักร (และเป็นสาเหตุหลักที่เวลามาตรฐานกรีนิชยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบัน).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเวลาสากลเชิงพิกัด · ดูเพิ่มเติม »

เวลาในประเทศภูฏาน

วลาในประเทศภูฏาน (BTT) เป็นเขตเวลามาตรฐานของประเทศภูฏาน ซึ่งกำหนดให้เร็วกว่าเวลาสากลเชิงพิกัด 6 ชั่วโมง (UTC+6) นอกจากนี้เวลาในประเทศภูฏานไม่มีช่วงออมแสง.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเวลาในประเทศภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจพอเพียง

รษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเศรษฐกิจพอเพียง · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจอินเดีย

รษฐกิจของอินเดีย มีขนาดเป็นอันดับที่ 11 ของโลกเมื่อวัดด้วยค่าจีดีพี และเป็นอันดับ 4 ของโลกเมื่อเทียบด้วยความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ หลังจากที่ได้มีการปฏิรูปเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งโดยนักสังคมนิยมเป็นแรงบันดาลใจให้แก่เศรษฐกิจของประเทศหลังจากได้รับเอกราช อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศได้เติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยกิจกรรมตลาดเสรีซึ่งริเริ่มในปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเศรษฐกิจอินเดีย · ดูเพิ่มเติม »

เสือดาวหิมะ

ือดาวหิมะ (Snow leopard, Ounce) สัตว์ในวงศ์ Felidae ชนิดหนึ่ง เป็นสัตว์ป่าที่หายากใกล้สูญพันธุ์ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Panthera uncia เดิมทีเสือดาวหิมะ ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Uncia uncia โดยถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Uncia โดยใช้มาตั้งแต่ยุคทศวรรษที่ 30 แต่จากการศึกษาด้านจีโนไทป์พบว่าอยู่ในสกุล Panthera เช่นเดียวกับเสือใหญ่หลายชนิด ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเสือดาวหิมะ · ดูเพิ่มเติม »

เสือปลา

ือปลา หรือ เสือแผ้ว (ชื่อเรียกเสือปลาในตัวที่มีขนาดใหญ่; Fishing cat) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกเสือขนาดเล็ก จัดเป็นแมวป่าขนาดกลาง รูปร่างอ้วนป้อม ขนตามลำตัวค่อนข้างสั้นและหนา ขนสีเทาอมน้ำตาล หรือขนสีเทาอมมะกอก มีจุดสีน้ำตาลเข้มแกมดำเรียงเป็นลายแนวขนานไปกับความยาวลำตัว โดยขนแบ่งออกเป็น 2 ชั้น ซึ่งพัฒนามาเพื่อหากินกับน้ำโดยเฉพาะ ขนชั้นในสั้นเกรียนและแน่นมากจนน้ำซึมผ่านไม่ได้ ทำให้ตัวของเสือปลาแห้ง และช่วยรักษาความอบอุ่นเอาไว้ในขณะลงจับปลาในน้ำ ขนชั้นในสั้นกว่าขนชั้นนอก มีความหนาและยาวกว่าขนชั้นใน ขนชั้นนอกเป็นชั้นที่มีลวดลายและหนามันวาว หางยาวเพียงหนึ่งในสามของลำตัว มีพังผืดบาง ๆ ยึดระหว่างนิ้วเท้าหน้า ยังไม่พัฒนา เก็บเล็บไม่ได้เหมือนเสือชนิดอื่น ๆ เสือปลามีหัวขนาดใหญ่ หูสั้นมีกรอบสีดำ ดวงตาสีเขียว มีความยาวตั้งแต่หัวถึงลำตัว 70–90 เซนติเมตร หรือเกินกว่านั้น หางสั้น 20–30 เซนติเมตร น้ำหนัก 7–11 กิโลกรัม ขนาดของเสือปลาอาจมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของอาหารซึ่งก็คือความสมบูรณ์ของป่า ลูกเสือปลาขนาดเล็กมีลักษณะคล้ายแมวดาว (P. bengalensis) ซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันมาก มีการกระจายพันธุ์กว้างขวาง ในภูมิประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น มักอาศัยใกล้แหล่งน้ำตามธรรมชาติ เข่น ลำธาร, แม่น้ำ, ทะเลสาบ, ป่าชายเลน พบได้ตั้งแต่ตะวันตกเฉียงเหนือ, เหนือ, ตะวันออกเฉียงเหนือ, และตะวันตกเฉียงใต้ ของอินเดีย, บังกลาเทศ, เนปาล, ภูฏาน, จีน, รัสเซีย, พม่า, ไทย, ลาว, เวียดนาม, กัมพูชา, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, เกาะสุมาตรา และเกาะชวา เสือปลามักอาศัยหากินอยู่ตามป่าเบญจพรรณ, ป่าพรุหรือป่าละเมาะ และป่าชายเลน เพราะอาหารหลัก คือ ปลา จึงเป็นที่มาของชื่อ สามารถจับปลาหรือสัตว์น้ำ เช่น อึงอ่าง, คางคก, กบ, เขียด, ปาด, ปลาไหล, ปู และสัตว์บกขนาดเล็ก เช่น หนู, กระรอก, กระต่าย, พังพอน, ชะมดเช็ด, ไก่ป่า และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เช่น งู, นาก, ตุ่น, เป็ดน้ำ กินได้เก่งมาก โดยจะนั่งรอตะปบ หรือตะครุบปลาในแหล่งน้ำตื้น สามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้อย่างคล่องแคล่ว โดยใช้ขาหลังตีน้ำ ปีนต้นไม้ได้เก่ง มักอยู่บนต้นไม้ แต่ไม่ทำรังอาศัยอยู่บนต้นไม้ มักทำรังอยู่ในโพรงใต้ต้นไม้ เสือปลามีการผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ ตั้งท้อง 60–65 วัน ออกลูกในเดือนมีนาคม–เมษายน มีการผสมพันธุ์ช่วงเดือนพฤษภาคม–มิถุนายน ออกลูกในเดือนกันยายน–ตุลาคม ออกลูกครั้งละ 1–4 ตัว 1–15 วันแรกตายังปิดอยู่ 55–60 วัน กินปลาหรือสัตว์น้ำและสัตว์บกขนาดเล็ก 120–180 วัน ยังไม่หย่านม จนเมื่ออายุได้ 10–12 เดือน แม่จะแยกจากไป เพื่อฝึกให้หากินเองลำพังตามธรรมชาติ บางครั้ง (บางปี) ฤดูร้อนอากาศแห้งแล้งฝนขาดช่วงตกเป็นระยะเวลานาน น้ำในแหล่งน้ำตามธรรมชาติแห้งขอด มีผลทำให้ปลาและสัตว์น้ำไม่มีที่อยู่อาศัย อาหารของเสือปลาหมดไป จึงทำให้ต้องออกจากป่ามาหาอาหารกินในเขตชุมชนมนุษย์ และอาศัยอยู่ใกล้กับชุมนุมมนุษย์ เช่น ในเขตประเวศ กรุงเทพมหานคร มีวัดแห่งหนึ่งชื่อ "วัดกระทุ่มเสือปลา" แสดงถึงในอดีตเคยมีเสือปลาชุกชุม ซึ่งในตัวขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเสือแผ้วอาจคุกคามปศุสัตว์ขนาดใหญ่ของมนุษย์ได้ เช่น ลูกวัว การเลี้ยงเพื่อให้เชื่องในสถานที่เลี้ยง ไม่สามารถทำได้ เนื่องจากเสือปลาเป็นสัตว์ป่าที่มีอุปนิสัยดุมาก.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเสือปลา · ดูเพิ่มเติม »

เสือไฟ

ือไฟ (หรือ Catopuma temminckii) เป็นแมวป่าขนาดกลาง มีขนาดเล็กกว่าเสือลายเมฆ แต่ใหญ่กว่าแมวลายหินอ่อน โดยชื่อวิทยาศาสตร์ temminckii ถูกตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่กุนราด ยาโกบ แต็มมิงก์ นักสัตววิทยาชาวดัตช์ซึ่งเป็นผู้บรรยายลักษณะทางวิทยาศาสตร์ของเสือไฟแอฟริกาเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเสือไฟ · ดูเพิ่มเติม »

เหลียง เฉาเหว่ย

หลิ่ง ฉิ่วไหว หรือ เหลียง เฉาเหว่ย ในสำเนียงจีนกลาง (Loeng4 Ciu4-wai5 เลิ่ง ชี่วไหว) นักแสดงชาวฮ่องกงชื่อดัง มีชื่อภาษาอังกฤษว่า โทนี่ เหลิ่ง (Tony Leung) หรือ โทนี่ เหลิ่ง ฉิ่วไหว (Tony Leung Chiu-Wai ทั้งนี้เพื่อมิให้สับสนกับนักแสดงฮ่องกงอีกรายที่มีชื่อว่า โทนี่ เหลียง เช่นกัน คือ เหลียง เจียฮุย).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเหลียง เฉาเหว่ย · ดูเพิ่มเติม »

เห็ดนางฟ้า

ห็ดนางฟ้า หรือ เห็ดนางรมอินเดีย (Indian Oyster, Phoenix Mushroom, หรือ Lung Oyster) เป็นเห็ดในตระกูลเห็ดนางรม มีผู้พบเห็นครั้งแรกที่เมืองชัมมู ประเทศอินเดีย ในประเทศไทย กองวิจัยโรคพืช กรมวิชาการเกษตร ได้นำเชื้อเห็ดชนิดนี้มาจาก American Type Culture Collection เมื่อประมาณปี..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเห็ดนางฟ้า · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องสายมรกต

อิ้องสายมรกต เป็นกล้วยไม้ชนิดหนึ่ง เป็นพืชพื้นเมืองในจีน (กว่างซีจ้วง กุ้ยโจว ทิเบต และยูนนาน) อินโดจีน ไทย และเขตเทือกเขาหิมาลัย เช่น เนปาล ภูฏาน อัสสัม ภาษาจีนกลางเรียกหวงเฉ่าสือหู ก้านใช้ทำยาที่เรียกสือหูหรือเจี่ยฮก แก้ท้องผูก เบื่ออาหาร.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเอื้องสายมรกต · ดูเพิ่มเติม »

เอื้องเงินหลวง

อื้องเงินหลวง หรือ หวายเงินหลวง เป็นกล้วยไม้อิงอาศัยชนิดหนึ่งในสกุลหวาย เป็นพืชพื้นถิ่นตามป่าในแถบเทือกเขาหิมาลัย (เนปาล, ภูฏาน, รัฐอัสสัมของอินเดีย, บังกลาเทศ), ตอนเหนือของคาบสมุทรอินโดจีน (พม่า, ไทย, เวียดนาม) และหมู่เกาะอันดามัน นอกจากนี้ยังมีการปลูกเป็นไม้ประดับอย่างแพร่หลายในพื้นที่อื่น ดอกเอื้องเงินหลวงเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดระนอง ชื่อเรียกในท้องถิ่นคือ "โกมาซุม" มีที่มาจากชาวอังกฤษคนหนึ่งชื่อ มร.สกอต ซึ่งเข้ามาทำเหมืองแร่กับบริษัทไซมิสตินในตำบลบางริ้น อำเภอเมืองระนอง เขาได้ตัดดอกเอื้องเงินหลวงซึ่งพบในป่าแถบนั้นมาแขวนประดับไว้บริเวณบ้าน โดยเรียกว่า "ฟอร์มมาซ่อม" คาดว่าคงเป็นการเรียกชื่อตามชนิดของกล้วยไม้นี้ (formosum) จากนั้นชาวไทยในพื้นที่ได้เรียกเพี้ยนต่อ ๆ กันมาจนกลายเป็นโกมาซุม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเอื้องเงินหลวง · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์

การแข่งขันกีฬาศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแห่งเอเชีย ครั้งที่ 1 หรือ เอเชียนมาร์เชียลอาตส์เกมส์ 2009 เป็นการแข่งขันศิลปะการป้องกันตัว ในระดับทวีปเอเชีย โดยครั้งที่ 1 จัดขึ้นที่กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 1-9 สิงหาคม พ.ศ. 2552 โดยมีประเทศเข้าร่วมแข่งขัน 40 ประเทศ และมีกีฬาแข่งขันทั้งหมด 9 ชน.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเอเชียนมาร์เชียลอาร์ตสเกมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียใต้

แผนที่เอเชียใต้ สีเขียวเข้มแสดงเอเชียใต้โดยทั่วไป และสีเขียวอ่อนคือเขตที่สหประชาชาติหมายถึงเอเชียใต้ เอเชียใต้เป็นภูมิภาคของทวีปเอเชีย และเป็นที่ตั้งของประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศ ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน และมัลดีฟส์ มีพื้นที่กว้าง 4,480,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 12% ของทวีปเอเชีย ภูมิภาคนี้ยังเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า อนุทวีปอินเดีย ประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ทั้งหมดต่างก็เป็นสมาชิกขององค์กรความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ (The South Asian Association for Regional Cooperation หรือ SAARC) ในบางครั้งพื้นที่บางส่วนหรือทั้งหมดของประเทศอัฟกานิสถาน ก็ถูกจำแนกให้เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเอเชียใต้ด้วย อนุภูมิภาคเอเชียใต้แบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเอเชียใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เอเอฟซีเพรซิเดนต์คัพ

อเอฟซีเพรซิเดนต์คัพ (AFC President's Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างชาติของทีมสโมสรที่อยู่ภายใต้ เอเอฟซี โดยทีมสโมสรที่เข้าร่วมจะเป็นทีมจากประเทศที่ ระบบฟุตบอล "อยู่ในระหว่างการพัฒนา" นอกเหนือจากทีมจากประเทศที่ลงแข่งใน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก และ เอเอฟซีคัพ การแข่งขันนี้เริ่มครั้งแรกในปี 2548.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเอเอฟซีเพรซิเดนต์คัพ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอุกเยน จิกมี วังชุก

้าชาย ดาโช อุกเยน จิกมี วังชุก เกิดเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเจ้าชายอุกเยน จิกมี วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏาน

้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏาน (พระราชสมภพ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559) เป็นพระราชโอรสพระองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก และสมเด็จพระราชินีเจตซุน เพมา วังชุก นอกจากนี้พระองค์ยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น มกุฎราชกุมารแห่งภูฎาน โดยได้ทรงรับพระราชทานพระนามเมื่อวันที่ 16 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเจ้าชายจิกมี นัมเกล วังชุก มกุฎราชกุมารแห่งภูฏาน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายจิกเยล อุกเยน วังชุก

้าฟ้าชายจิกเยล อุกเยน วังชุก ประสูติเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเจ้าชายจิกเยล อุกเยน วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงชิมิ ยางซอม

้าฟ้าหญิงชิมิ ยางซอม พระราชสมภพเมื่อวันที่ 10 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเจ้าหญิงชิมิ ยางซอม · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโซเนม เดเชน วังชุก

้าฟ้าหญิงโซเนม เดเซน วังชุก ประสูติเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเจ้าหญิงโซเนม เดเชน วังชุก · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลกินเจ

ทศกาลกินเจ หรือ กินแจ (九皇勝會 Jiǔ huán Shèng huì; ฮกเกี้ยน: กิ้วอ๋องเซ่งโห่ย; Nine Emperor Gods Festival หรือ 九皇大帝誕; ฮกเกี้ยน: กิ้วอ๋องไต่เต้ตั้น) หรือบางแห่งเรียกว่า ประเพณีถือศีลกินผัก เป็นประเพณีแบบลัทธิเต๋ารวม 9 วัน กำหนดเอาวันตามจันทรคติ คือ เริ่มต้นตั้งแต่วันขึ้น 1 ค่ำ ถึง ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 ตามปฏิทินจีนของทุกปี มีจุดเริ่มต้นจากประเทศจีนมานานแล้ว โดยมีตำนานเล่าขานกันหลายตำนาน ปัจจุบัน เทศกาลกินเจจัดขึ้นในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย ตลอดจนหมู่เกาะเรียวในอินโดนีเซียและอาจมีในบางประเทศเอเชีย เช่น ภูฏาน ญี่ปุ่น เกาหลี และประเทศจีน(ประกอบด้วยฮ่องกงและมฑทณไต้หวัน) ซึ่งการกินเจในเดือน 9 นี้ เชื่อกันว่าน่าจะเกิดขึ้นเมื่อราว..

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเทศกาลกินเจ · ดูเพิ่มเติม »

เทือกเขาหิมาลัย

วเทียมของเทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาหิมาลัย (Himalaya Range) เป็นเทือกเขาในทวีปเอเชีย ที่แยกอนุทวีปอินเดียทางทิศใต้ ออกจากที่ราบสูงทิเบตทางทิศเหนือ เป็นที่ที่มียอดเขาที่สูงที่สุดในโลก เช่น ยอดเขาเอเวอเรสต์ และยอดเขากันเจนชุงคา (Kanchenjunga) และยังประกอบด้วยยอดเขาที่มีความสูงมากกว่า 7,200 เมตร (23,600 ฟุต) มากกว่าหนึ่งร้อยยอด ในทางศัพทมูลวิทยา คำว่า หิมาลัย มาจากภาษาสันสกฤต หมายถึง "ที่อยู่ของหิมะ" (หิม + อาลย) เป็นจุดกำเนิดของระบบแม่น้ำที่สำคัญของโลกหลายสาย เช่น แอ่งแม่น้ำสินธุ และแอ่งแม่น้ำคงคา-พรหมบุตร แม่น้ำสาละวิน และแม่น้ำโขง เทือกเขาหิมาลัยทอดยาวพาดผ่านพื้นที่ของ 5 ประเทศ — ปากีสถาน อินเดีย จีน ภูฏาน เนปาล — พื้นที่ลุ่มน้ำของแม่น้ำหิมาลัยเป็นที่อยู่ของผู้คนราว 750 ล้านคน ซึ่งรวมถึงชาวบังคลาเทศ เทือกเขาหิมาลัยหมายรวมถึงเทือกเขาการาโกรัม ฮินดูกูช และเทือกเขาอื่น ๆ ที่เล็กกว่า เมื่อรวมกันแล้วเทือกเขาหิมาลัยเป็นระบบที่สูงที่สุดในโลก และเป็นบ้านของยอดเขาที่สูงที่สุด ซึ่งรวมถึงยอดเขาเอเวอเรสต์และเคทู.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเทือกเขาหิมาลัย · ดูเพิ่มเติม »

เขตปกครองตนเองทิเบต

ตปกครองตนเองทิเบต (ทิเบต:བོད་- โบด์; ซีจ้าง) เป็นเขตปกครองตนเองของประเทศจีน มีเชื้อสายมาจากชาวอินเดีย ชาวทิเบต มีพระเป็นผู้นำของเขตปกครองพิเศษนี้ ชนพวกนี้นับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยาน คล้ายกับประเทศภูฏาน ทิเบตตั้งอยู่บนเทือกเขาหิมาลัย เป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก จนได้รับฉายาว่า หลังคาโลก ทิเบตมีอากาศที่หนาวเย็นมาก และมีความกดอากาศและอ๊อกซิเจนที่ต่ำ ฉะนั้นผู้ที่จะมาในทิเบตจะต้องปรับสภาพร่างกายก่อน และด้วยเหตุนี้ประชากรที่อาศัยอยู่ในทิเบตจึงน้อย พลเมืองชายของทิเบตกว่าครึ่งบวชเป็นพระ ก่อนจีนจะยึดครองทิเบต ทิเบตมีสามเณริกามากที่สุดในโลก ในทิเบตเคยมีคัมภีร์มากมาย พลเมืองนับถือศาสนาอย่างเคร่งครัด จนได้รับฉายาว่า "แดนแห่งพระธรรม" (land of dharma) ทิเบตมีเมืองหลวงชื่อ ลาซา (Lhasa).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเขตปกครองตนเองทิเบต · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ

รื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ (อังกฤษ: Supreme Order of the Chrysanthemum) เป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสุงสุดของญี่ปุ่น สถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2422 โดยสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ แห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น จัดว่าเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่สถาปนาเป็นลำดับสองของญี่ปุ่น และเป็นเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดที่สามัญชนพึงจะได้รับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ มีการพระราชทานสองแบบด้วยกันคือ แบบแรก มีสายสะพายพร้อมดาราและสังวาล สำหรับประมุขแห่งรัฐต่างประเทศและสมาชิกพระราชวงศ์ญี่ปุ่น และแบบที่สอง มีสายสะพายพร้อมดารา สำหรับพระราชวงศ์ต่างประเทศ, ผู้นำรัฐบาลต่างประเทศ และบุคคลทั่วไปที่สมควรได้รั.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ · ดูเพิ่มเติม »

เนื้อทราย

thumb เนื้อทราย หรือ ทราย หรือ ตามะแน (Hog deer) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำพวกกวางชนิดหนึ่ง มีรูปร่างอ้วนป้อม ขาสั้น เนื้อทรายจะมีสีขนเปลี่ยนไปตามสภาพภูมิอากาศ thumb thumb.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและเนื้อทราย · ดูเพิ่มเติม »

Hemiorchis

Hemiorchis เป็นสกุลของพืชในวงศ์ขิง มีสมาชิก 3 สปีชีส์ เป็นพืชท้องถิ่นทางตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัยจากประเทศเนปาลถึงประเทศพม.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและHemiorchis · ดูเพิ่มเติม »

ISO 4217

ISO 4217 เป็นมาตรฐานสากลสำหรับรหัสสกุลเงินที่ใช้ในประเทศต่างๆ มักใช้ในการแลกเปลี่ยนสกุลเงินตามธนาคาร ประกอบด้วยอักษรละตินตัวใหญ่ 3 ตัวจากชื่อประเทศและชื่อของสกุลเงินที่ใช้ในประเทศนั้น.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและISO 4217 · ดูเพิ่มเติม »

The Other Final

The Other Final เป็นภาพยนตร์สารคดี กำกับโดยโยฮัน คราเมอร์ เกี่ยวกับกำารแข่งขันฟุตบอลนัดกระชับมิตรระหว่างทีมชาติภูฏานและทีมชาติมอนต์เซอร์รัต ซึ่งเป็นทีมชาติที่มีอันดับโลกฟีฟ่าต่ำที่สุด 2 ทีมในขณะนั้น และกีฬาประจำชาติของทั้งสองชาติก็ไม่ใช่ฟุตบอล โดยทำการแข่งขันที่สนามกีฬาชังลิมิธัง เมืองทิมพู นครหลวงของประเทศภูฏาน โดยผลการแข่งขันทีมชาติภูฏานสามารถเอาชนะไปได้ 4 - 0 ผู้ตัดสินในนัดนี้คือสตีฟ เบ็นเนทท์ ชาวอังกฤษ.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและThe Other Final · ดูเพิ่มเติม »

.bt

.bt เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศภูฏาน เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและ.bt · ดูเพิ่มเติม »

1 E+10 m²

จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ 20,494 ตารางกิโลเมตร ประเทศปานามา มีพื้นที่ 78,200 ตารางกิโลเมตร ประเทศโปรตุเกส มีพื้นที่ 92,391 ตารางกิโลเมตร 1 E+10 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10,000 ถึง 100,000 ตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10,000 ตารางกิโลเมตร ----.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและ1 E+10 m² · ดูเพิ่มเติม »

17 ธันวาคม

วันที่ 17 ธันวาคม เป็นวันที่ 351 ของปี (วันที่ 352 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 14 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและ17 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กรกฎาคม

วันที่ 21 กรกฎาคม เป็นวันที่ 202 ของปี (วันที่ 203 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 163 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและ21 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

22 กรกฎาคม

วันที่ 22 กรกฎาคม เป็นวันที่ 203 ของปี (วันที่ 204 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 162 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและ22 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

8 สิงหาคม

วันที่ 8 สิงหาคม เป็นวันที่ 220 ของปี (วันที่ 221 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 145 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศภูฏานและ8 สิงหาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Bhutanภูฏานภูฐานราชอาณาจักรภูฏานประเทศภูฐาน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »