โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ประเทศนอร์เวย์

ดัชนี ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

865 ความสัมพันธ์: บริตนีย์ สเปียส์บลูบอยพาโบลบอร์นดิสเวย์บอลบัลร็อค รูเน่ชาวมอญชาวซามีชาวนอร์เวย์ชาวแวนดัลชาวแคนาดาชาวไวกิงบิวด์-อะ-แบร์ เวิร์กช็อปชิน จง-โอชื่อบุคคลไอซ์แลนด์บียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สันบีเวอร์บทบาททางเพศบ็อบบี้ ฟาร์เรลฟยอร์ดฟรานซ์ โยนาสฟริดท์จอฟ นันเซนฟัวกราฟาสต์ฟิลิป เปแตงฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปฟุตบอลหญิงทีมชาติสวีเดนฟุตบอลหญิงทีมชาตินอร์เวย์ฟุตบอลทีมชาติซานมารีโนฟุตบอลทีมชาตินอร์เวย์ฟุตบอลทีมชาติแคเมอรูนฟุตบอลโลกหญิง 1995พ.ศ. 1578พ.ศ. 2455พ.ศ. 2475พ.ศ. 2480พ.ศ. 2483พ.ศ. 2549พ.ศ. 2551พ.ศ. 2554พรมแดนของประเทศรัสเซียพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กพระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑฺโฒ)พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์พระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ดพระเจ้าออสการ์ที่ 1 แห่งสวีเดนพระเจ้าคริสเตียนที่ 4 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าคริสเตียนที่ 6 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก...พระเจ้าคาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดนพระเจ้าคาร์ลที่ 14 โยฮันแห่งสวีเดนพระเจ้าคนุตมหาราชพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 4 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 5 แห่งเดนมาร์กพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์กพอล พ็อตส์พัพพาร์ ขาลสาพันเซอร์ 3พาราลิมปิกฤดูหนาว 1980พาราลิมปิกฤดูหนาว 1994พิพิธภัณฑ์ไวกิงโลโฟตร์พิกเซล (แก้ความกำกวม)พิสุทธินิยมทางภาษากฎหมายปกครองท้องถิ่นกรกฎาคม พ.ศ. 2548กริฟฟิน ไมนอสกรุงเทพมหานครกรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ปกฤษณา ไกรสินธุ์กลอมากลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะไดกลุ่มกูอิงบรากลุ่มตะวันตกกลุ่มนอร์ดิกกล็อคกวางมูสกวางน้อย...แบมบี้กษัตริย์อาเธอร์กองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)กองทัพเรือนอร์เวย์กันยายน พ.ศ. 2548กันยายน พ.ศ. 2549การบุกครองนอร์ม็องดีการฝังศพในเรือการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009การรั่วไหลของน้ำมันที่มอนทาราการลงประชามติขยายประชาคมเศรษฐกิจยุโรปการลงโทษทางกายการล้อมไซดอนการวิเคราะห์การใช้การสำรวจการอยู่กินด้วยกันการทัพนอร์เวย์การท่องเที่ยวในประเทศสวีเดนการตีฝ่าช่องแคบการประกวดเพลงยูโรวิชันการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983การประมงการปรุรู (แสตมป์)การ์สการ์ตูนเน็ตเวิร์คการ์นิเย่การใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซลการเยือนต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูหนาว 2014กิลเบิร์ต คูมสันกูเกิลกีฬาพาราลิมปิกกีฬาโอลิมปิกฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนกภาพยนตร์ชีวประวัติภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆภาวะเหล็กเกินภาษา Samiภาษาฟินแลนด์ภาษานอร์เวย์ภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพภูมิศาสตร์ยุโรปภูเขาโทรเกโฮเทนภีรนีย์ คงไทยมกุฎสาธารณรัฐมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหาสมุทรแอตแลนติกมอร์เตน กัมส์ท พีเดอร์เซ่นมามเมะมาริอุส บอร์ก เฮออิบีมาริต ลาร์เซนมารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กมาร์คัส แรชฟอร์ดมาเรียแห่งเท็คมิชชั่น:อิมพอสซิเบิ้ล ฟอลล์เอาท์มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017มิสไซง่อนมิสเวิลด์ 2016มิสเวิลด์ 2017มิสเอิร์ธ 2016มิเชล วอกอร์ดมนต์รักเพลงสวรรค์ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ยอห์น อาร์เน รีเซ่ยา, วีเอลสเกอร์เดทเทลันเดทยาส 39ยานไมเอนยุงงันยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครองยุโรปตะวันตกยุโรปเหนือยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพยูฟ่าคัพ 2001 นัดชิงชนะเลิศยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2016ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ยูเลียนา มารีอาแห่งบราวน์ชไวก์-โวลเฟ่นบึทเท่ล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์รอยก์ซอปป์รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนลระบบรัฐสภาระบบสภาเดี่ยวระเบิดพลาสติกรัฐร่วมประมุขรัฐล้มเหลวรัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์กราชวงศ์โอลเดินบูร์กราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียรายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอนรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติรายชื่อสนธิสัญญารายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลรายชื่อผลงานอัลบั้มเพลงของเซลีน ดิออนรายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลกรายชื่อธงในประเทศนอร์เวย์รายชื่อทุพภิกขภัยรายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวงรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวงรายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมายรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรมรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัวรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามประชากรรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียมรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแร่เหล็กรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิลรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี พ.ศ. 1543รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทยรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออกรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวารายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนียรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดนรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุสรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนียรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดรายชื่อเรือสำราญที่ติดอันดับยาวที่สุดในโลกรายชื่อเรือสำราญที่ใหญ่ที่สุดในโลกรายชื่อเทศบาลในประเทศนอร์เวย์รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาลรายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดนรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์กรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีรายพระนามรัชทายาทรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สวีเดนรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์กรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิกรายการภาพธงชาติรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลียรายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งรายนามผู้ได้รับรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพริอ็อตออนแอนเอมพีตีสตรีตรถไฟใต้ดินออสโลลองเยียร์เบียนลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)ลิฟวิงทิงส์ลิลเลฮัมเมร์ลิสการ์ดส์แบคเคินลิเวอร์พูลลุยส์ ซัวเรซวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือกวอตไอฟ์ดันวัดไทยนอร์เวย์วันชาติวันพ่อวันรัฐธรรมนูญนอร์เวย์วันแม่วันแรงงานวาลคิรีวาฬบรูด้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2017วิลเลียม วอลเลซวิทยาศาสตรบัณฑิตวุลเวอรีนศิลปศาสตรบัณฑิตสฟาลบาร์สฟาลบาร์และยานไมเอนสภาล่างสภาแห่งชาติลาวสมาคมการค้าเสรียุโรปสมาคมโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์สมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์กสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์สมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีสรุปเหรียญโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016สวีตดรีมส์สวีเดนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองสหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สหภาพยุโรปสหภาพคาลมาร์สหภาพโซเวียตสหรัฐสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สัญญาว่าจะให้สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสามก๊ก (แก้ความกำกวม)สายการบินประจำชาติสาวเอ๊าะเดือดร้อนสาธารณรัฐมอลโดวาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐสโลวักในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐสโลวีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐคีร์กีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐโครเอเชียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐเช็กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994สำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรปสุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558สถาปัตยกรรมกอทิกสงครามครูเสดนอร์เวย์สงครามต่อต้านการก่อการร้ายสงครามประกาศอิสรภาพสกอตแลนด์สตอฟสตาร์บัคส์สตาร์เกต (ทีมโปรดิวเซอร์)สตาวังเงร์สปิตส์เบอร์เกนสนามกีฬาบิสเลตต์สนธิสัญญาสฟาลบาร์สแกนดิเนเวียสแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็มสแกเกอร์แรกสแตตินสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2013–14สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2013–14สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2016–17สโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์ในฤดูกาล 2016–17สโมสรฟุตบอลโมลเดสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2015–16สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2016–17สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ดสเต็ปเพ็นวูล์ฟสเปรย์ละอองลอยหมากรุกลูอิสหมู่เกาะแฟโรหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุลหลุยส์แห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์หนูบ้านหนูหริ่งหนูหรั่งผจญเพชรตาปีศาจออร์กนีย์ออลล์ฟอลส์ดาวน์ (เพลงแอลัน วอล์กเกอร์)ออลโฮฟอิสโกนออสโลอองซาน ซูจีอะพาไทต์อักษรรูนอัลดริช เอมส์อันเนอ ฟรังค์อา-ฮาอาร์กติกอาดอล์ฟ ชเตรคเคอร์อาเนอยาอิกอร์ สตราวินสกีอิมมอร์ทัล (วงดนตรี)อินอะโมเมนต์ไลก์ดิสอิเกร์ กาซิยัสอุรัสยา เสปอร์บันด์อุทยานแห่งชาติรอนดาเนออุทยานโอลิมปิกอุโมงค์เมล็ดพันธุ์พืชแห่งสฟาลบาร์อูเล กุนนาร์ ซูลแชร์อีริส มีเตอนาร์อีลิทซีเรียน (ฟุตบอล)องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปรายอนุสัญญาแรมซาร์อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดลอเล็กซานเดอร์ รืยบัคฮอนนิงสโวกฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซินฮานะ & อลิซ ปริศนาโรงเรียนหลอนฮิสทรีเวิลด์ทัวร์ฮีโร (เพลงมารายห์ แครี)ฮีโรส์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์)ผลต่อสุขภาพจากเสียงผู้ลี้ภัยจอห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์จุดผลิตน้ำมันสูงสุดธันวาคม พ.ศ. 2548ธุรกิจแบบพีระมิดธงชาติสหราชอาณาจักรคาลมาร์ธงชาตินอร์เวย์ธงชาติเกาะแมนธงชาติเดนมาร์กถนนหนังสือสายคาบูลทรอนด์เฮมทรามวัยกับไอ้ตูบทรายดำทริลเลอร์ 25ทรุมเซอทรูแฟนเทเชียทวิกีฬาฤดูหนาวทวีปยุโรปทวีปแอนตาร์กติกาทะเลนอร์วีเจียนทะเลแบเร็นตส์ทะเลเหนือทาดาโนบุ อาซาโนะทางด่วนทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิกท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอนขบวนการต่อต้านเดนมาร์กขั้วโลกใต้ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น)ข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลกดรัมเมนดริตอน รามาดวงอาทิตย์เที่ยงคืนดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์คดิมมูบอร์เกียร์ดิอะเมซิ่งเรซดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)ดิอะเมซิ่งเรซ 17ดิอะเมซิ่งเรซ 6ดิอิมพอสซิเบิ้ลดินแดนอเมริกันซามัวในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ดีน คุนซ์คราเคนคริสต์สหัสวรรษที่ 3คริสเตียนซานคริสเตียนเมทัลความตกลงเชงเกนควีนม็อดแลนด์คองเงอซังเงินคอนิกเส็กก์คัฟแฟะมัคคียาโตคัตติงครูว์คาบสมุทรสแกนดิเนเวียคาฮูท!คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศคิลบิล บูโจ พ่อซามูไรสุดเพี้ยนคิงส์ออฟคอนวีเนียนซ์คณะมนตรีนอร์ดิกคนุท ฮัมซุนงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 85ตราสารยอมจำนนของเยอรมนีตราแผ่นดินของนอร์เวย์ตราแผ่นดินในทวีปยุโรปตัวแบบนอร์ดิกต้นสมัยกลางซานตาลูชีอาปฏิบัติการบอดีการ์ดปฏิบัติการบาร์บารอสซาปฏิบัติการวิลเฟรดปฏิบัติการความทรหดปฏิบัติการเวแซร์รืบุงประชาธิปไตยสังคมนิยมประชาธิปไตยเสรีนิยมประมุขแห่งรัฐประวัติการบินไทยประวัติศาสตร์รัสเซียประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ตประวัติศาสตร์เดนมาร์กประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศฟินแลนด์ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศฟีจีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศยูเครนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศรัสเซียประเทศสวิตเซอร์แลนด์ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศสวีเดนประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศอาร์มีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศจอร์เจียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศจีนไทเปในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศคาซัคสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศนอร์เวย์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1814ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1815ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1817ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1820ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1823ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1826ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1829ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1832ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1835ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1838ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1841ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1844ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1847ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1850ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1853ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1856ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1859ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1862ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1865ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1868ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1870ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1873ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1876ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1879ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1882ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1885ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1888ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1891ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1894ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1897ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1900ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1903ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1906ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1907ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1908ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1909ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1910ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1912ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1913ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1915ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1916ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1918ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1919ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1920ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1921ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1922ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1924ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1925ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1927ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1928ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1930ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1931ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1932ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1933ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1934ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1936ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1937ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1945ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1947ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1949ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1951ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1952ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1953ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1955ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1956ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1957ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1959ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1960ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1961ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1963ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1964ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1965ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1967ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1968ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1969ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1971ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1972ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1973ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1975ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1976ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1977ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1979ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1981ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1983ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1984ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1985ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1987ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1988ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1989ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1991ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1992ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1993ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1995ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1996ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1997ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1999ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2000ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2001ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2003ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2004ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2005ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2007ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2008ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2009ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2011ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2012ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2013ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2015ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2016ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1984ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศไอซ์แลนด์ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเดนมาร์กประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ปลาฉลามหางไหม้ (ไทย)ปลาฉลามครุยปลาเทราต์สีน้ำตาลปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994ปืนใหญ่อัตตาจรอาร์เชอร์ปีเตอร์ ซุนเดนอร์ดออสต์ลานเดตนักวิทยุสมัครเล่นนางงามจักรวาล 1952นางงามจักรวาล 1956นางงามจักรวาล 1958นางงามจักรวาล 1974นางงามจักรวาล 1976นางงามจักรวาล 1990นางงามจักรวาล 1997นางงามจักรวาล 1998นางงามจักรวาล 1999นางงามจักรวาล 2000นางงามจักรวาล 2011นางงามจักรวาล 2012นางงามนานาชาติ 2014นิติภาวะนี-โยนีลส์ คริสตีนีลส์ เฮนริก อาเบลนีนา โซลไฮม์นีโอนาซีนีโครโนมิคอนนีโนสลาฟ มารีนาแบร์เกนแบล็กเมทัลแบ็กสตรีตบอยส์แฟดด์ (เพลงแอลัน วอล์กเกอร์)แกร์ฮาร์ท เฮาพ์ทมันน์แม็ทธิว แพริสแลร์คันดัลสตาดีโอนแลนโซเมโดส์แวร์วีอาร์แหลม มอริสันแหลมนูร์ดคืนแหลมเหนือแหล่งน้ำแอร์ลิง ลอเรนต์ซันแอลัน วอล์กเกอร์แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษแอนเดอส์ เบห์ริง เบรวิกแอ็กเซิล เอฟแฮฟเนียมแฮนด์บอลหญิงชิงแชมป์โลกแคว้นนอร์ม็องดีแคทริน บิเกโลว์แคทเธอรีน ดัชเชสแห่งเคนต์แคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กแคโรไลน์ อเมลีแห่งออกัสเตนเบิร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กแซนดี้ เคราแก้ว สตูวิคแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)โบสถ์หอกลมโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์โพโรโระ เพนกวินป่วน ก๊วนขั้วโลกโยชูอา คิมมิชโยสไตน์ กอร์เดอร์โยเซฟ แทร์โบเฟินโรลส์-รอยซ์ แฟนทอมโรอัลด์ อะมุนด์เซนโรอาลด์ ดาห์ลโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีลโลกที่หนึ่งโลกของโซฟีโอลิมปิกฤดูหนาวโอลิมปิกฤดูหนาว 1952โอลิมปิกฤดูหนาว 1992โอลิมปิกฤดูหนาว 1994โอลิมปิกฤดูหนาว 2022โอลิมปิกฤดูหนาว 2026โอลิมปิกหมากรุกสากลครั้งที่ 41โอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016โอลิวีนโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2017โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2018โอเปร่า (เว็บเบราว์เซอร์)โฮกุ้น ลอเรนต์ซันโฮยเตอ ฟัน โฮยเตอมาโจตันโทบุเวิลด์สแควร์โทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1954โทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1960โทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1996โทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2007โดนต์เซย์ยูเลิฟมีโดโรเธียแห่งบรันเดินบวร์คโฆษณาโทรทัศน์โปเกมอน โกไพรม์ไทม์ไกลบ้านไมโลไนต์ไมเคิล (อัลบั้ม)ไวน์ร้อนไฮนซ์ บาร์เมตเทิลร์ไทยรัฐทีวีไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์กไทเทเนียมไข่ (อาหาร)ไดโอรามาเบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์)เบรเด ฮังเกลันด์เบลล์ 214เบอร์ซัมเชดส์ออฟเพอร์เพิลเพลงเกียรติยศเพื่อนแท้ในป่าใหญ่เกมล่าเกม 2 แคชชิ่งไฟเออร์เกาะบูเวเกาะปีเตอร์ที่ 1เมย์เฮมเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปเมเรียน เรเวนเยื่อหุ้มสมองอักเสบเรือดำน้ำเรน่าเรนโบว์วอร์ริเออร์เรเน่ เซลเวเกอร์เลฟ ลาร์เซินเลขาธิการสหประชาชาติเลตอิตบี (เพลง)เลนา เมเยอร์-ลันดรุทเวลายุโรปกลางเวลาออมแสงยุโรปกลางเวสท์ไลฟ์ (อัลบั้ม)เวสต์วอกอยเศรษฐกิจยุโรปเสียงเรียกของคธูลูเหยี่ยวออสเปรเหรียญฟิลด์สเหตุระเบิดที่แมนเชสเตอร์อะรีนา พ.ศ. 2560เหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554เอชแอนด์เอ็มเอมิล เคร็บส์เอย์ดืร์ กวึดยอนแซนเอลฟ์จิฟูแห่งนอร์แธมตันเอวัน (วงดนตรี)เอวาริสต์ กาลัวเอาสต์วอเกออีเอ็กซ์พีเดีย (เว็บไซต์)เอ็มทูเอ็มเอ็ดเวิร์ด มุงค์เอ็ดเวิด กริกเอ็นอาร์เค1เฮเลนา ไมเคิลเซนเจ้าชายกุสตาฟ ดยุกแห่งอัปป์ลันด์เจ้าชายราดูแห่งโรมาเนียเจ้าชายวัลเดมาร์แห่งเดนมาร์กเจ้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดนเจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์เจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์เจ้าหญิงสเตฟานีแห่งโมนาโกเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์เจ้าหญิงคริสตินาแห่งเดนมาร์กเจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายโทโมฮิโตะเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์เทลล์ฮิมเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอตเทศมณฑลบุสเครุดเทศมณฑลฟินน์มาร์กเทศมณฑลลอสแอนเจอลิสเขตเวลาเขตเศรษฐกิจยุโรปเดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์เดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์เดอะสเปกทรี (เพลง)เดอะแลนซิตเดนมาร์ก–นอร์เวย์เดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศเคลพีเคานัสเปียโนคอนแชร์โต (กริก)เนโทISO 3166-2:SJKitchen StoriesSASUTC+02:00Wiki Loves Monuments.no1 กุมภาพันธ์1 ตุลาคม1 E4 m1 E7 m10 มิถุนายน12 กรกฎาคม17 พฤษภาคม21 กุมภาพันธ์25 กันยายน7 พฤษภาคม7 มีนาคม9 เมษายน ขยายดัชนี (815 มากกว่า) »

บริตนีย์ สเปียส์

ำหรับอัลบั้มเพลงในชื่อเดียวกันนี้ ดูที่ บริตนีย์ (อัลบั้ม) บริตนีย์ จีน สเปียส์ (Britney Jean Spears) เป็นศิลปินเพลงป็อปหญิงชาวอเมริกัน เกิดเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และบริตนีย์ สเปียส์ · ดูเพิ่มเติม »

บลู

ลู คือวงบอยแบนด์ จากอังกฤษ ประกอบด้วยสมาชิก 4 คน คือ ลี ไรอัน, ดันแคน เจมส์, อาโทนี่ คอสต้า และไซมอน เว็บบ์ ยอดขายของวงนี้มากกว่า 7 ล้านแผ่น ปัจจุบันได้แยกวงเพื่อทำงานดนตรีของแต่ละคนแล้ว แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2550 เดอะวัน รายงานว่าทั้ง 4 คนอาจจะมีการจัดคอนเสิร์ตทัวร์ร่วมกัน และออกอัลบั้มใหม่ร่วมกันอีกครั้ง ซึ่งอาจจะออกในช่วงเทศกาลคริสต์ม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และบลู · ดูเพิ่มเติม »

บอยพาโบล

อยพาโบล (Boy Pablo) เป็นวงจากนอร์เวย์ นำโดยนิโคลัส พลาโบล มูโญซ นักร้อง-นักแต่งเพลงจากแบร์เกน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และบอยพาโบล · ดูเพิ่มเติม »

บอร์นดิสเวย์บอล

อะบอร์นดิสเวย์บอล (อังกฤษ: The Born This Way Ball) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตที่ 3 ของศิลปินนักร้องอเมริกันเลดี้ กาก้า โดยในการสนับสนุนของอัลบั้มที่ 2 บอร์นดิสเวย์ ที่ประกอบด้วยทัวร์ 110 รายการในเอเชีย โอเซียเนียและต่อด้วยในยุโรปในเดือนสิงหาคมปี 2555 ตามด้วยในละตินอเมริกาในช่วงปลายปี ทัวร์เริ่มต้นที่อเมริกาเหนือ ในเดือนมกราคม 2556 และดำเนินการต่อจนสิ้นสุดในเดือนมีนาคม ซึ่งหนึ่งในทัวร์รอบโลกของเธอ ประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในทัวร์ โดยจัดการแสดงวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ณ สนามราชมังคลากีฬาสถาน โดยผู้จัด บริษัท บีอีซี เทโร เอนเตอร์เทนเม้นท์ เป็นผู้รับผิดชอบจัดคอนเสิร์ตนี้ นับเป็นคอนเสิร์ตที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ในรอบ 10 ปี หลังจาก ไมเคิล แจ็กสัน เคยมาแสดงในประเทศไทยเมื่อหลายปีก่อน เมื่อเดือน ธันวาคม ภาพประชาสัมพันธ์คอนเสิร์ต ปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และบอร์นดิสเวย์บอล · ดูเพิ่มเติม »

บัลร็อค รูเน่

ัลร็อค รูเน่ หรือ บัลรอน รูเน่ เป็นตัวละครในเซนต์เซย่าภาคเจ้านรกฮาเดส เป็น 1 ใน 108 สเป็คเตอร์ มีบทบาทในภาคอินเฟอร์โน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และบัลร็อค รูเน่ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และชาวมอญ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวซามี

ธงสัญลักษณ์ของชาวซามี ชาวซามี เป็นชนพื้นเมืองในทวีปยุโรป อาศัยอยู่ในเขตแลปแลนด์หรือแซปมิ ซึ่งอยู่ในประเทศนอร์เวย์ สวีเดน ฟินแลนด์ และคาบสมุทรโกลา รัสเซีย ชาวซามีพูดภาษากลุ่มซามี ซึ่งอยู่ในภาษากลุ่มฟินโน-ยูกริก ตระกูลภาษายูราลิก ปัจจุบัน ประมาณการกันว่ามีชาวซามีทั้งหมด 75,000 คน โดยส่วนใหญ่อยู่ในนอร์เวย์ วันชาติซามีตรงกับวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ซึ่งในปีพ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1917) ได้มีการประชุมสภาชาวซามีขึ้นครั้งแรกที่ Trondheim ประเทศนอร์เวย์ ซึ่งการประชุมนี้ เป็นครั้งแรกที่ชาวซามีจากนอร์เวย์และสวีเดนได้ร่วมกันทำงานเพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน การประชุมชาวซามีครั้งที่ 15 ที่เฮลซิงกิในปีพ.ศ. 2536 ได้ประกาศให้วันที่ 6 กุมภาพันธ์เป็นวันชาติชาวซามี ซามี หมวดหมู่:ประเทศกลุ่มนอร์ดิก หมวดหมู่:ประเทศนอร์เวย์ หมวดหมู่:ประเทศสวีเดน หมวดหมู่:ประเทศฟินแลนด์ หมวดหมู่:สแกนดิเนเวีย.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และชาวซามี · ดูเพิ่มเติม »

ชาวนอร์เวย์

วนอร์เวย์ (Nordmenn) คือประชาชนที่เกิดในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และชาวนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแวนดัล

การโจมตีกรุงโรม โดยไฮน์ริช ลอยเตอมันน์ ราว ค.ศ. 1860–ค.ศ. 1880 กลุ่มชนเจอร์แมนิกในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 1 แวนดัล/ลูกีอี สีเขียวในบริเวณโปแลนด์ปัจจุบัน แวนดัล (Vandals) เป็นสาขาหนึ่งของกลุ่มชาติพันธุ์เจอร์แมนิกตะวันออกที่เข้ามามีบทบาทในตอนปลายสมัยจักรวรรดิโรมัน ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 5 กษัตริย์ชาวกอทพระเจ้าธีโอดอริคมหาราชพระเจ้าแผ่นดินของชาวออสโตรกอทและผู้สำเร็จราชการของชาววิซิกอทเป็นพันธมิตรของแวนดัลโดยการสมรส และเป็นพันธมิตรกับเบอร์กันดีและแฟรงก์ภายใต้การปกครองของโคลวิสที่ 1 แวนดัลอาจจะมีชื่อเสียงจากการโจมตีกรุงโรม (Sack of Rome) ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และชาวแวนดัล · ดูเพิ่มเติม »

ชาวแคนาดา

วแคนาดา (Canadians) เป็นการบ่งบอกถึงบุคคลจากประเทศแคนาดา โดยความหมายนี้อาจสื่อถึงทางพันธุกรรม, ที่อยู่อาศัย, กฎหมาย, ประวัติศาสตร์, วัฒนธรรม หรือชาติพันธุ์ สำหรับชาวแคนาดาส่วนใหญ่ บ่อยครั้งมักจะสื่อถึงการดำรงอยู่และแหล่งที่มาของพวกเขาเพื่อการพิจารณาว่าเป็น ชาวแคนาดา นอกเหนือจากชาวอะบอริจินอล ที่ปรากฏตามสำรวจสำมะโนประชากรใน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และชาวแคนาดา · ดูเพิ่มเติม »

ชาวไวกิง

แผนที่แสดงการตั้งถิ่นฐานสแกนดิเนเวียของชาวไวกิง สีแดงเข้ม-ระว่าง ค.ศ.701-800, สีแดง-ระหว่าง ค.ศ. 801-900, สีส้มเข้ม-ระว่าง ค.ศ. 901-1000, และสีเหลือง-ระว่าง ค.ศ. 1001-1100, บริเวณสีเขียวแสดงพื้นที่ที่มักถูกโจมตีโดยพวกไวกิงบ่อยแต่ไม่มีการตั้งถิ่นฐานมาก ไวกิง (Vikings) ในความหมายหลักหมายถึงชนเผ่านักรบ นักการค้า และนักตั้งถิ่นฐานจากนอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก ซึ่งบุกรบชนะ ยึดครอง และตั้งอาณานิคมอาณาเขตในส่วนใหญ่ของอังกฤษ นอร์ม็องดี และรัสเซียเมื่อระหว่างประมาณ..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และชาวไวกิง · ดูเพิ่มเติม »

บิวด์-อะ-แบร์ เวิร์กช็อป

ร้าน "เมคยัวร์โอนเฟนาติค" ที่ ซิติเซนส์แบงค์พาร์ค ใน ฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย บิวด์-อะ-แบร์ เวิร์กช็อป (Build-A-Bear Workshop) เป็นร้านค้าปลีกสัญชาติอเมริกัน มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี ที่ซึ่งจำหน่ายตุ๊กตาหมีเท็ดดี้ และตุ๊กตาสัตว์อื่นๆ โดยลูกค้าสามารถเดินทางไปทำกิจกรรมกับการผลิตตุ๊กตาสัตว์ตามทางเลือกของตนเองได้ และสามารถกำหนดได้เองในระหว่างการเยี่ยมชมของพวกเขา และถือเป็นสิ่งดึงดูดขนาดใหญ่ที่สุดของการดำเนินการในรูปแบบนี้ บริษัทได้รับรางวัลสำหรับคุณภาพด้านสภาพแวดล้อมการทำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในฐานะเป็นสถานที่ทำงานสำหรับวัยรุ่น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และบิวด์-อะ-แบร์ เวิร์กช็อป · ดูเพิ่มเติม »

ชิน จง-โอ

น จง-โอ (진종오; Jin Jong-oh) เกิดวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 1979 ที่จังหวัดคังว็อน เป็นนักกีฬายิงปืนชาวเกาหลีใต้ผู้ซึ่งนับถือศาสนาพุทธ เขาเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2004, 2008 และ 2012 โดยเป็นแชมป์โอลิมปิกสามรายการ และเป็นหนึ่งในนักกีฬาประเภทบุคคลที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในกีฬาโอลิมปิก รวมถึงเป็นนักกีฬาเพียงคนเดียวเท่านั้นที่ได้รับรางวัลเหรียญทองในกีฬาปืนพก 50 เมตรชาย วันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2004 จินได้รับรางวัลเหรียญเงินในกีฬาปืนพก 50 ม. ชาย ของการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 โดยได้คะแนนน้อยกว่าอันดับแรกสองคะแนนในรอบไฟนอล หลังจากเป็นผู้ชนะในรอบคัดเลือก วันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 2008 จินได้รับรางวัลเหรียญทองในกีฬาปืนพก 50 ม. ชาย ของการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 นอกจากนี้ เขายังได้รับรางวัลเหรียญเงินจากปืนลม 10 ม. ชาย ในวันที่ 9 สิงหาคม ของปีเดียวกันนี้ วันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 จินได้รับรางวัลเหรียญทองในกีฬาปืนลม 10 ม. ชาย ของการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 และในวันที่ 5 สิงหาคม เขาได้รับรางวัลเหรียญทองในกีฬาปืนพก 50 ม. ชาย โดยกลายเป็นนักกีฬาชายคนแรกที่ประสบความสำเร็จในการรักษาตำแหน่งของกีฬาโอลิมปิกรายการปืนพก 50 เมตรเอาไว้ได้ และในลักษณะเดียวกันนี้ จินยังเป็นบุคคลแรกที่ได้รับรางวัลเหรียญทองรายการปืนลม 10 เมตรชาย และปืนพก 50 เมตรชายภายในโอลิมปิกครั้งเดียวกัน และเป็นหนึ่งในห้านักยิงปืนที่ได้รับรางวัลสองเหรียญทองภายในโอลิมปิกครั้งเดียวกัน นับจากชายคนแรกที่สามารถทำได้สำเร็จอย่าง ออตโต โอลเซ่น จากทีมชาตินอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1920 เขาเป็นหนึ่งในสามของนักยิงปืนที่ได้รับรางวัลสามเหรียญทองโอลิมปิก เช่นเดียวกับ ราล์ฟ ชูมันน์ จากประเทศเยอรมนี และ คิม โรด จากสหรัฐอเมริกา เขากลายเป็นนักกีฬาชาวเกาหลีคนแรกที่ชนะรางวัลสามเหรียญทองโอลิมปิกในประเภทบุคคล โดยชนะห้ารายการแข่งขันโอลิมปิก จากการเข้าแข่งขันสี่ครั้ง ของการป้องกันตำแหน่งในโอลิมปิกฤดูร้อน (ในขณะที่ ซิม กวอนโฮ ได้รับรางวัลจากมวยปล้ำเกรกโก-โรมัน ใน ค.ศ. 1996 และ 2000 ที่ซึ่งเขาชนะในสองรุ่นน้ำหนักที่ต่างกัน) รวมถึงได้รับสองเหรียญทองในประเภทบุคคลภายในกีฬาโอลิมปิกครั้งเดียวกัน และเป็นผู้ชนะกีฬาโอลิมปิกสามครั้งติดต่อกัน (ในขณะที่ คิม ซูนยอง ได้รับรางวัลเหรียญทอง, เหรียญเงิน และเหรียญทองแดงตามลำดับในกีฬายิงธนู ใน ค.ศ. 1988, 1992 และ 2000 แต่ก็ไม่ได้ต่อเนื่องกันในกีฬาโอลิมปิก).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และชิน จง-โอ · ดูเพิ่มเติม »

ชื่อบุคคลไอซ์แลนด์

แผนผังแสดงระบบการตั้งชื่อรองของไอซ์แลนด์ ชื่อบุคคลไอซ์แลนด์ แตกต่างไปจากระบบของชาวตะวันตกส่วนใหญ่ โดยจะมีชื่อรองเป็นชื่อที่มาจากชื่อตัวของบิดา (หรือมารดา) และไม่มีนามสกุล ไอซ์แลนด์มีวัฒนธรรมโดยทั่วไปร่วมกับนอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก และหมู่เกาะแฟโร แต่ไอซ์แลนด์เป็นประเทศเดียวที่ยังคงใช้ระบบการเรียกชื่อแบบดั้งเดิม ซึ่งเคยใช้ในหมู่ชาวสแกนดิเนเวียทั้งหมด ในไอซ์แลนด์ก็มีการใช้นามสกุลอยู่บ้าง ซึ่งบุคคลที่ใช้นามสกุลมักจะมีบรรพบุรุษเป็นชาวต่างชาติ เช่น อดีตนายกรัฐมนตรี Geir Haarde หรือนักฟุตบอล Eiður Smári Guðjohnsen ก่อนปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และชื่อบุคคลไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

บียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน

ียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน (Bjørnstjerne Martinus Bjørnson) (8 ธันวาคม พ.ศ. 2375 - 26 เมษายน พ.ศ. 2453) ชาวนอรเวย์ เป็นทั้งกวี นักเขียนบทละคร นวนิยาย นักหนังสือพิมพ์ บรรณาธิการ ผู้กำกับการแสดงละคร และบุคคลที่มีชื่อเสียงโดดเด่นที่สุดคนหนึ่งในยุคนั้นของนอร์เวย์ โดยเป็นที่รู้จักในฐานะหนึ่งในสี่ของผู้ยิ่งใหญ่แห่งวรรณกรรมนอร์เวย์ยุคนั้น อีกสามคนคือ เฮนริก อิบเซน (Henrik Ibsen) อเล็กซานเดอร์ คีลแลนด์ (Alexander Kielland) และโยนัส ไล (Jonas Lie) บทกวีของเขาชื่อ Ja, vi elsker dette landet (ใช่แล้ว เรารักแผ่นดินนี้) ยังถูกนำไปแต่งเป็นเพลงชาติของนอร์เวย์ด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และบียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน · ดูเพิ่มเติม »

บีเวอร์

รงกระดูกของบีเวอร์ บีเวอร์ (beaver) เป็นสัตว์กินพืชเลี้ยงลูกด้วยนมจัดเป็นสัตว์ฟันแทะชนิดหนึ่งเช่นเดียวกับหนูยักษ์ พวกมันมีอยู่ด้วยกันสองสายพันธุ์คือ พันธุ์ยูเรเชียน (Eurasian beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Castor fiber) กับพันธุ์อเมริกาเหนือ (North American beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์ก็คือ Castor Canadensis) ถึงแม้จะมีขนาดและรูปร่างหน้าตาที่คล้ายคลึงกัน แต่ทั้งสองสายพันธุ์แยกขาดจากกันตั้งแต่เมื่อ 24,000 ปีที่แล้ว พวกมันจึงไม่สามารถผสมพันธุ์กันเองได้อีก บีเวอร์มีขนาดตัวที่ใหญ่ตัวโตเต็มวัยจะมีขนาดใหญ่พอ ๆ กับเด็กอายุ 8 ขวบ ตัวผู้สามารถมีน้ำหนักได้มากกว่า 25 กิโลกรัมส่วนตัวเมียอาจมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ในช่วงอายุเท่ากัน นอกจากนี้บีเวอร์มีอายุยืนยาวได้ถึง 24 ปี พวกมันยังมีอีกสายพันธุ์หนึ่งในอดีตคือสายพันธุ์บีเวอร์ยักษ์ (Giant beaver ชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Castor ohioensis) ที่สูญพันธุ์ไปเมื่อประมาณ 10,000 ปีก่อน พวกมันส่วนมากอาศัยอยู่ในบริเวณซีกโลกเหนือมีจำนวนประชากรในแถบอเมริกาเหนือมากกว่า 60 ล้านตัว แต่เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และบีเวอร์ · ดูเพิ่มเติม »

บทบาททางเพศ

ทบาททางเพศ (gender role หรือ sex role) คือบทบาททางสังคม ครอบคลุมทั้งพฤติกรรมและทัศนคติของแต่ละคนที่เชื่อว่าเหมาะสม เป็นที่ยอมรับและน่าชื่นชมโดยใช้เพศสภาพเป็นตัวกำหนด บทบาททางเพศนั้นเน้นแนวคิดของความเป็นผู้หญิงและความเป็นผู้ชาย แม้ว่าจะมีข้อยกเว้นและรูปแบบหลากหลาย ซึ่งอาจแตกต่างไปแล้วแต่วัฒนธรรม หลายกลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มเคลื่อนไหวสิทธิสตรีพยายามเปลี่ยนแปลงบทบาททางเพศนี้ที่พวกเขาเชื่อว่าเป็นการกดขี่หรือไม่ถูกต้อง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และบทบาททางเพศ · ดูเพิ่มเติม »

บ็อบบี้ ฟาร์เรล

รเบอร์โต "บ็อบบี้" อัลฟองโซ ฟาร์เรล (Roberto "Bobby" Alfonso Farrell) (6 ตุลาคม ค.ศ. 1949 - 30 ธันวาคม ค.ศ. 2010) เป็นนักร้องและนักเต้น 1ในสมาชิกของวง Boney M. วงป๊อบ-ดิสโก้ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในยุค 70 เขาออกจากอารูบา เมื่ออายุ15 เพื่อไปเป็นกะลาสีเรือ และใช้ชีวิตอยู่ใน นอร์เวย์ ฮอลแลนด์ แล้วย้ายมาอยู่ที่เยอรมัน ที่เขาได้งานเป็นดีเจ และได้เข้าร่วมกับ Boney M เมื่อ แฟรงค์ ฟาเรี่ยน โปรดิวเซอร์ของวง ที่กำลังต้องการตัวสมาชิกผู้ชาย ได้รับคำแนะนำจาก เมซี่ย์ วิลเลี่ยมส์ หนึ่งในนักร้องของวง ให้ชักชวนฟาร์เรล เข้าวง ในปี..1976 อย่างไรก็ตามบทบาทของบ็อบบี้ ก็คือนักเต้นในวง ส่วนเสียงร้องนั้น ในเวลาต่อมา แฟรงค์ ฟาเรี่ยน ได้เปิดเผยว่า เสียงร้องผู้ชายนั้น แฟรงค์เป็นคนร้องเอง บ็อบบี้เป็นแค่เพียงลิปซิงค์เท่านั้น เพราะเสียงของเขาไม่ดีเลย อย่างไรก็ตาม เวลาแสดงสด บ็อบบี้ก็ร้องเพลงเองได้ บ็อบบี้ถูกแฟรงค์ไล่ออกในปี 1981 ในชุด Boonononoos เนื่องจากมีปัญหาความขัดแย้งกัน เนื่องจากบ็อบบี้ต้องการมีบทบาทในวงมากกว่าที่เป็นอยู่ ภายหลังจากที่ถูกไล่ออก เขาพยายามเป็นศิลปินเดี่ยวแต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในปี1984 แฟรงค์ให้บ็อบบี้กลับมาเข้าวงอีกครั้ง เพื่อดึงความสนใจให้กลับมาสู่Boney M เช่นเดิม กับเพลง "Happy Song" ที่บ็อบบี้ได้ร้องท่อนแร็ปในช่วงแยกของเพลง และอยู่กับBoney M จนถึงปี1985 ที่เป็นปีสุดท้ายของวงกับชุด "Eye Dance" หลังจากนั้นในปี 1991 บ็อบบี้ก็ได้ฟอร์มวง Boney M Featuring Bobby Farrell ขึ้นมา เพื่อออกทัวร์ตามคอนเสิร์ตต่างๆจนถึงปัจจุบัน โดยเขาเองยอมรับว่า ทำเพื่อหารายได้ เพราะหลังจากBoney M ยุบไป เขามีปัญหาเรื่องการเงินและความเป็นอยู่อย่างมาก โดยสาเหตุหลักมาจากการที่แฟรงค์ ฟาเรี่ยน ไม่ยอมให้ค่าRoyalty กับเขา เพราะเห็นว่าเขาไม่ได้มีส่วนร่วมในการบันทึกเสียงใดๆ (ซึ่ง เมซี่ย์ วิลเลี่ยมส์เองก็เจอปัญหานี้เช่นกัน) บ็อบบี้เสียชีวิตระหว่างการทัวร์คอนเสิร์ต ณ ประเทศรัสเซีย เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และบ็อบบี้ ฟาร์เรล · ดูเพิ่มเติม »

ฟยอร์ด

ฟยอร์ด เป็นอ่าวเล็ก ๆ บริเวณชายฝั่งทะเลซึ่งถูกน้ำกัดเซาะจนเว้าแหว่งมีลักษณะแคบและยาว เว้าลึกเข้าไปในฝั่งระหว่างแผ่นดินสูงชันหรือระหว่างหน้าผาสูงชันตามเชิงเขา ฟยอร์ดเกิดจากการกัดเซาะของธารน้ำแข็งฟยอร์ดสามารถพบได้หลายที่ในบริเวณชายฝั่งเช่น อะแลสกา, บริติชโคลัมเบีย, ชิลี, กรีนแลนด์, ไอซ์แลนด์, นิวซีแลนด์, นอร์เวย์, สก็อตแลนด์, ลาบราดอร์, นูนาวุต, นิวฟันด์แลนด์รวมถึงรัฐวอชิงตัน ฟยอร์ดสามรถพบได้มากในบริเวณชายฝั่งของประเทศนอร์เวย์ซึ่งมีความยาวประมาณและมีฟยอร์ดกว่า 1,190 แห่ง แต่มีพื้นที่ชายฝั่งประมาณเท่านั้นที่ไม่มีฟยอร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟยอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

ฟรานซ์ โยนาส

ฟรานซ์ โยเซฟ โยนาส (4 ตุลาคม พ.ศ. 2442 - 24 เมษายน พ.ศ. 2517) เป็นนักการเมืองชาวออสเตรีย เขาได้ดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีออสเตรียคนที่ 7 ดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟรานซ์ โยนาส · ดูเพิ่มเติม »

ฟริดท์จอฟ นันเซน

ฟริดท์จอฟ เวเดล จาร์ลสเบิร์ก นันเซน (Fridtjof Wedel-Jarlsberg Nansen) เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ปี พ.ศ. 2404 ที่หมู่บ้านโฟรน ใกล้เมืองคริสเตียนเนีย ประเทศนอร์เวย์ และเสียชีวิตเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ปี พ.ศ. 2473 นอกกรุงออสโล) เป็นชาวนอร์เวย์ซึ่งเป็นทั้งนักสำรวจ นักวิทยาศาสตร์ และนักการทูต นันเซนได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี พ.ศ. 2465 หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2404 หมวดหมู่:นักสำรวจชาวนอร์เวย์ หมวดหมู่:นักวิทยาศาสตร์ชาวนอร์เวย์ หมวดหมู่:นักการทูตชาวนอร์เวย์ หมวดหมู่:ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟริดท์จอฟ นันเซน · ดูเพิ่มเติม »

ฟัวกรา

ฟัวกรา เสิร์ฟแบบปิกนิกพร้อมขนมปัง ฟัวกรา เทียบกับตับห่านปกติ ฟัวกรา (foie gras; แปลว่า "ตับอ้วน") คือตับห่านหรือเป็ดที่ขุนให้อ้วนเป็นพิเศษ ฟัวกราได้ชื่อว่าเป็นอาหารฝรั่งเศสที่ดีที่สุดเช่นเดียวกับทรัฟเฟิล มีลักษณะนุ่มมันและมีรสชาติที่แตกต่างจากตับของเป็ดหรือห่านธรรมดา ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟัวกรา · ดูเพิ่มเติม »

ฟาสต์

ฟาสต์ (FAST คำย่อแบบกล่าวซ้ำจาก Fast Search & Transfer) เป็นบริษัทเทคโนโลยีสารสนเทศจากออสโล ประเทศนอร์เวย์ ในด้านการค้นหาข้อมูล ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2540 ฟาสต์ยังมีสาขาในหลายประเทศได้แก่ เยอรมนี อิตาลี ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา บราซิล เม็กซิโก ในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2551 ไมโครซอฟท์ได้ซื้อกิจการของฟาสต์ การบริการของฟาสต์ประกอบด้วยเครื่องมือค้นหาสำหรับติดตั้งในหน่วยงานหรือบริษัท FAST Enterprise Search Platform.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟาสต์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟิลิป เปแตง

อองรี ฟิลิป เบนโอนี โอแมร์ โจเซฟ เปแตง (24 April 1856 – 23 July 1951),ได้เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในชื่อว่า ฟิลิป เปแตง หรือ จอมพล เปแตง (Maréchal Pétain),เป็นนายพลฝรั่งเศสที่แตกต่างจากจอมพลแห่งฝรั่งเศส,และต่อมาในภายหลังได้ทำหน้าที่เป็นประมุขรัฐของวิชีฝรั่งเศสที่เป็นที่รู้จักกันคือชาตินิยมฝรั่งเศสหรือรัฐฝรั่งเศส (Chef de l'État Français),ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟิลิป เปแตง · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป

ฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป (UEFA Women's European Championship; ชื่อเดิม: ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปสำหรับผู้หญิง; European Competition for Women's Football) เป็นการแข่งขันชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปสำหรับผู้หญิงในวงการฟุตบอล เดิมแข่งกันทั้งหมด 4 ทีม และได้พัฒนามาเป็น 8 ทีม 12 ทีม ตามลำดับ และในปี 2017 นี้จะเพิ่มเป็น 16 ทีม ที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยแชมป์มากที่สุดได้แก่ทีมชาติเยอรมันที่เรียกได้ว่าแทบจะเป็นรายการไว้ฝึกซ้อมของพวกเขากันเลยทีเดียวเมื่อได้ไปถึง 8 สมัย โดยเป็นแชมป์ 6 ครั้งล่าสุดแบบซ้อน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลหญิงทีมชาติสวีเดน

ฟุตบอลหญิงทีมชาติสวีเดน (Damlandslaget; Sweden women's national football team) เป็นตัวแทนของประเทศสวีเดนในการแข่งขันฟุตบอลหญิงอย่างเป็นทางการ โดยทีมชาติสวีเดนได้ชนะการแข่งฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปในปี ค.ศ. 1984 ความสำเร็จยังไม่ได้มีเพียงเท่านั้น ทีมนี้ยังได้ตำแหน่งรองชนะเลิศอันดับ 1 จากการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2003 รวมถึงได้ตำแหน่งรองชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1987, 1995 และ 2001 ตลอดจนเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสามสมัย, ฟุตบอลโลกหญิงสี่สมัย ตลอดจนฟุตบอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปถึงเจ็ดสมัย นอกจากนี้ ฟุตบอลหญิงทีมชาติสวีเดนยังได้รองชนะเลิศ อันดับ 2 ในการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2011 ในการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2003 เมื่อครั้งที่ได้ตำแหน่งรองชนะเลิศ ทีมนี้ได้รับการจับตามองมากที่สุดในประเทศสวีเดนสำหรับปีนั้น โดยลอตตา ฟีลีน ได้รับการยกให้เป็นผู้ทำประตูสูงสุดในประวัติศาสตร์ของประเทศสวีเดน โดยสามารถทำได้ถึง 73 ประตู ซึ่งฟีลีน สามารถทำผลงานแซงสถิติของฮานนา ยุงไบก์ ซึ่งเคยทำไว้ที่ 72 ประตู เมื่อครั้งที่ได้พบกับฟุตบอลหญิงทีมชาติเยอรมนี ณ วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 2014 ส่วนนักฟุตบอลที่ลงแข่งมากที่สุดคือเธเลส แควกรอน ที่ลงแข่งถึง 200 ครั้ง และทีมนี้มีผู้ฝึกสอนคือโธมัส เดนนาร์บี ซึ่งเข้าทำหน้าที่ในช่วงปี ค.ศ. 2005 ถึง 2012 และเพีย ซุนด์ฮาแก ที่เข้าร่วมทีมในปี ค.ศ. 2012 หลังจากที่เคยพาทีมสหรัฐอเมริกาชนะรางวัลเหรียญทองโอลิมปิกที่กรุงลอนดอน โดยข้อสัญญาของซุนด์ฮาแกมีผลในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2012 หลังจากชนะการแข่งขันฟุตบอลหญิงในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 รอบคัดเลือก เมื่อครั้งที่พบกับฟุตบอลหญิงทีมชาติเดนมาร์ก ทีมนี้ก็สามารถผ่านเข้าสู่การแข่งฟุตบอลในโอลิมปิก 2008 ทางคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศสวีเดนจึงได้อนุมัติเพิ่มงบการลงทุนให้แก่ทีมหญิง ซึ่งงบใหม่ที่ได้รับเป็นจำนวนถึงกว่าหนึ่งล้านโครนาสวีเดน (หรือประมาณ 150,000 ดอลลาร์สหรัฐ) สำหรับทีม และ 150,000 โครนาสวีเดน (หรือประมาณ 25,000 ดอลลาร์สหรัฐ) ต่อผู้เล่นสำหรับการพัฒนาสมรรถภาพทางกาย โดยทุนใหม่นี้ได้เพิ่มขึ้นเกือบ 100 เปอร์เซ็นต์ของกองทุนฤดูกาล 2005 และ 2006.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟุตบอลหญิงทีมชาติสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลหญิงทีมชาตินอร์เวย์

ฟุตบอลหญิงทีมชาตินอร์เวย์ (Norges kvinnelandslag i fotball) เป็นทีมตัวแทนการแข่งขันฟุตบอลหญิงระหว่างประเทศของประเทศนอร์เวย์ ทีมนี้ได้รับการควบคุมโดยสมาพันธ์ฟุตบอลนอร์เวย์ และเป็นอดีตทีมแชมป์โลก, ยุโรป รวมถึงโอลิมปิก ทีมนี้จึงเป็นหนึ่งในทีมชาติที่ประสบความสำเร็จสูงสุด แต่ก็ประสบความสำเร็จน้อยลงตั้งแต่สมัยฟุตบอลโลกหญิง 2011.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟุตบอลหญิงทีมชาตินอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติซานมารีโน

ฟุตบอลทีมชาติซานมารีโน (Nazionale di calcio di San Marino) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของสาธารณรัฐซานมารีโน ควบคุมและบริหารงานโดยสหพันธ์ฟุตบอลซ​​านมารีโน (FSGC) โดยเป็นชาติสมาชิกที่มีจำนวนประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับสองของยูฟ่า รองจากทีมชาติยิบรอลตาร์ ทีมชาติซานมารีโนลงแข่งขันอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน..1990 ในรายการฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1992 รอบคัดเลือก โดยแพ้ให้กับทีมชาติสวิตเซอร์แลนด์ 0–4 ซึ่งก่อนหน้าการแข่งขันนัดดังกล่าวทีมชาติซานมารีโนเคยลงแข่งขันอย่างไม่เป็นทางการกับทีมชาติแคนาดาชุดโอลิมปิกและแพ้ไป 0–1 หลังจากลงแข่งขันอย่างเป็นทางการ ทีมชาติซานมารีโนก็ได้เข้าร่วมลงแข่งขันในรอบคัดเลือกของฟุตบอลโลกและฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปอยู่ทุกสมัย แต่ยังไม่เคยประสบกับชัยชนะเลยแม้แต่นัดเดียว โดยชัยชนะเพียงครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ของทีมชาติซานมารีโนเกิดขึ้นเมื่อเดือนเมษายน..2004 ในการแข่งขันฟุตบอลนัดกระชับมิตรกับทีมชาติลิกเตนสไตน์ ซึ่งซานมารีโนเอาชนะไปได้ 1–0 ในเดือนพฤศจิกายน..2014 ทีมชาติซานมารีโน เคยถูกจัดให้อยู่ในอันดับสุดท้ายของอันดับโลกฟีฟ่าร่วมกับทีมชาติภูฏาน และมักจะถูกวิจารณ์ให้เป็นทีมชาติที่มีผลงานย่ำแย่ที่สุดในวงการกีฬาอยู่เสมอๆ โดยนับตั้งแต่ที่ก่อตั้งทีมชาติมาประสบกับชัยชนะเพียงแค่ครั้งเดียวซึ่งเป็นการแข่งขันนัดกระชับมิตร เสียประตูไปแล้วมากเกินกว่า 600 ลูก และยิงประตูได้เพียง 23 ประตู มีค่าเฉลี่ยในการเสียประตูมากถึงนัดละ 4 ประตู.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟุตบอลทีมชาติซานมารีโน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาตินอร์เวย์

ฟุตบอลทีมชาตินอร์เวย์ (Norges herrelandslag i fotball) เป็นฟุตบอลทีมชาติจากประเทศนอร์เวย์ ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟุตบอลทีมชาตินอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติแคเมอรูน

ฟุตบอลทีมชาติแคเมอรูน (Cameroon national football team) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศแคเมอรูน อยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลแคเมอรูน และเป็นทีมจากแอฟริกาที่ประสบความสำเร็จที่สุด โดยทีมชาติแคเมอรูนเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลโลก 6 ครั้ง คือในปี 1982, 1990, 1994, 1998, 2002 และ 2010 มากกว่าชาติใดในแอฟริกา นอกจากนั้นยังเป็นทีมที่เข้ารอบ 8 ทีมสุดท้ายในฟุตบอลโลก โดยในปี 1990 ทีมชาติแคเมอรูนพ่ายให้กับฟุตบอลทีมชาติอังกฤษในช่วงต่อเวลาพิเศษ พวกเขาชนะการแข่งขันแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 4 ครั้ง และยังได้รเหรียญทองในกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2000.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟุตบอลทีมชาติแคเมอรูน · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลโลกหญิง 1995

ฟุตบอลโลกหญิง 1995 เป็นฟุตบอลโลกหญิง ครั้งที่ 2 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 5-18 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฟุตบอลโลกหญิง 1995 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 1578

ทธศักราช 1578 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพ.ศ. 1578 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2455

ทธศักราช 2455 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1912 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพ.ศ. 2455 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2475

ทธศักราช 2475 ตรงกั.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพ.ศ. 2475 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2480

ทธศักราช 2480 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1937.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพ.ศ. 2480 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพ.ศ. 2483 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

พรมแดนของประเทศรัสเซีย

หลักพรมแดน ของ รัสเซีย ประเทศรัสเซีย มี พรมแดนระหว่างประเทศ ถึง 16 ประเทศ รวมถึงพรมแดนทางน้ำอีกสองประเทศ (สหรัฐ, ญี่ปุ่น) นอกจากนี่ยังติดกับ ประเทศที่ไม่ได้รับการรับรอง อย่าง เซาท์ออสซีเชีย และ อับคาเซีย โดยพรมแดนภาคพื้นดินมีความยาวโดยรวมถึง รัสเซียเป็นประเทศที่มีพรมแดนติดกับทุกประเทศรองจากจีน;รายชื่อประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศรัสเซีย;If Abkhazia and South Ossetia are counted as sovereign states:Georgia and the majority of the world does not recognize the independence of Abkhazia and South Ossetia, considering the Russian border with these countries as part of the Russian–Georgian border.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพรมแดนของประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

นับตั้งแต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นประมุขแห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

พระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 เจ้าหญิงหลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 (Descendants of King Christian IX) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 6 พระองค์ในสมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก (8 เมษายน พ.ศ. 2361 - 29 มกราคม พ.ศ. 2449 เสวยราชสมบัติ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2406) โดยมีพระราชนัดดา 39 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 84 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ของทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก โดยทรงเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์อังกฤษ นอร์เวย์ เบลเยียม กรีซ โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย สเปน และรัสเซีย จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า พระสัสสุระแห่งยุโรป (Father-in-Law of Europe) สมเด็จพระราชาธิบดีคริสเตียนที่ 9 ทรงครองราชบัลลังก์แห่งเดนมาร์กเป็นเวลานานเกือบ 50 ปี ในระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระราชสันตติวงศ์ในพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑฺโฒ)

ระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑโฒ)อดีตที่ปรึกษาเจ้าคณะอำเภอเมืองสุรินทร์ อดีตเจ้าอาวาสวัดแสงบูรพา ตำบลสวาย อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ และเป็นอดีตเจ้าคณะอำเภอเมืองสุรินทร์-กิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์ รูปสุดท้าย กิ่งอำเภอเขวาสินรินทร์ได้รับการยกฐานะให้เป็นอำเภอเขวาสินรินทร์ ก็มีการกำหนดเขตปกครองคณะสงฆ์ในระดับอำเภอใหม่ด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระครูปัญญาวุฒิสุนทร (คุน ปญฺญาวุฑฺโฒ) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์

นายพันเอก พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ (2 ธันวาคม พ.ศ. 2426 - 12 สิงหาคม พ.ศ. 2478) มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ อดีตประธานคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ด

มเด็จพระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ด หรือ สมเด็จพระเจ้าสเวนที่ 1 แห่งเดนมาร์ก (Sweyn I Forkbeard หรือ Sweyn Forkbeard) (ราว ค.ศ. 960 - ค.ศ. 1014) เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ราชอาณาจักรนอร์เวย์ และ ราชอาณาจักรอังกฤษ สมเด็จพระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ด เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ ราว ค.ศ. 960 ในประเทศเดนมาร์กปัจจุบัน เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าฮารัลด์ที่ 1 แห่งเดนมาร์ก (ฮาราลด์ บลูทูธ) และ กิริธ โอลาฟสดอทเทียร์ ทรงเสกสมรสกับกันฮิลด์แห่งเว็นเด็นและต่อมาอาจจะกับซิกริดผู้ทรนง และทรงราชย์บัลลังก์เดนมาร์กระหว่างค.ศ. 986 ถึง 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014, ราชย์บัลลังก์นอร์เวย์ระหว่างค.ศ. 999 ถึง 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014 และ ราชย์บัลลังก์อังกฤษระหว่างค.ศ. 1014 ถึง 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014 พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ดเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1014 พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ด ทรงมีหลายพระนาม ในพงศาวดารแองโกล-แซ็กซอน (Anglo-Saxon Chronicles) ใช้ “Sven the Dane” หรือ “Swegen” หรือ “Tuck”; ในภาษานอร์เวย์โบราณ “Sveinn Tjúguskegg”; ในภาษานอร์เวย์ “Svein Tjugeskjegg”; ในภาษาสวีเดน “Sven Tveskägg”; ในภาษาเดนมาร์ก “Svend Tveskæg” จาก “Tjugeskæg” เดิม หรือ “Tyvskæg” พระเจ้าสเวน ฟอร์คเบียร์ดทรงเป็นผู้นำไวกิงและเป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้าคานูทมหาราช เมื่อพระเจ้าฮาโรลด์ที่ 1พระราชบิดาเสด็จสวรรคตราวปลายปี ค.ศ. 986 หรือต้นปี ค.ศ. 987 สเวน ฟอร์คเบียร์ดก็ขึ้นครองราชย์เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งเดนมาร์ก ในปี ค.ศ. 1000 ทรงเป็นพันธมิตรกับ Trondejarl Erik of Lade ซึ่งทำให้ได้ครองราชอาณาจักรนอร์เวย์เกือบทั้งหมด และเมื่อไม่นานก่อนที่จะเสด็จสวรรคตก็ได้รับชัยชนะต่ออังกฤษและได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินแห่งราชอาณาจักรอังกฤษในปี ค.ศ. 1013 ในเดือนสุดท้ายก่อนที่จะเสด็จสวรรคตเป็นพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิทะเลเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าสเวน ฟอร์กเบียร์ด · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าออสการ์ที่ 1 แห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 1 แห่งสวีเดน (Oscar I) (4 กรกฎาคม 1799 - 8 กรกฎาคม 1859) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสวีเดนและนอร์เวย์ ตั้งแต่ปี 1844 ไปสู่การเสด็จสวรรคต ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1810 พระบิดาของพระองค์ ฌ็อง-บาติสต์ เบอร์นาดอตต์ ได้รับเลือกเป็นมกุฎราชกุมารแห่งสวีเดน พระบิดของพระองค์เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกจากราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ พระองค์ครองราชย์หลังจากที่พระบิดาสวรรคต เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่สองจากราชวงศ์เบอร์นาดอตต.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าออสการ์ที่ 1 แห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 4 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าคริสเตียนที่ 4 แห่งเดนมาร์ก (Christian IV of Denmark) (12 เมษายน ค.ศ. 1577 - 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1648) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1588 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1648 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระเจ้าคริสเตียนที่ 4 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 1577 พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 2 และ โซฟีแห่งเม็คเคลนบวร์ก-กึสโทรว์ พระองค์ทรงเสกสมรสกับแอนน์ แคทเธอรินแห่งบรานเดนบวร์ก พระองค์เป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 3 พระเจ้าคริสเตียนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1648 ในเดนมาร์ก พระบรมศพได้รับการบรรจุที่มหาวิหารรอสคิล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าคริสเตียนที่ 4 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 6 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 6 แห่งเดนมาร์ก (Christian VI of Denmark) (30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1699 - 6 สิงหาคม ค.ศ. 1746) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์เดนมาร์กระหว่างปี ค.ศ. 1730 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1746 เป็นพระมหากษัตริย์ผู้มีชื่อว่าเป็นผู้เคร่งศาสนา คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระเจ้าคริสเตียนที่ 6 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1699 ที่ปราสาทโคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าเฟรเดริคที่ 4 แห่งเดนมาร์ก และ พระราชินีหลุยส์แห่งเม็คเคลนบวร์ก-กึสโทรว์ และทรงเสกสมรสกับโซเฟีย แมกดาเลนแห่งบรานเดนบวร์ก-คุล์มบาค เป็นพระราชบิดาของพระเจ้าเฟรเดริคที่ 5 พระเจ้าคริสเตียนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 1746 ที่พระราชวังเฮิร์ชโฮล์มในเดนมาร์ก พระบรมศพได้รับการบรรจุที่มหาวิหารรอสคิล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าคริสเตียนที่ 6 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก (Christian VII of Denmark) (29 มกราคม ค.ศ. 1749 - 12/13 มีนาคม ค.ศ. 1808) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเมื่อพระชนมายุ 17 พรรษาในปี ค.ศ. 1766 จนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1808 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระเจ้าคริสเตียนที่ 7 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 29 มกราคม ค.ศ. 1749 ที่โคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดริคที่ 5 แห่งเดนมาร์ก และ หลุยส์แห่งเกรตบริเตนพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่ และทรงเสกสมรสกับคาโรไลน์ มาทิลดาแห่งเกรตบริเตนพระขนิษฐาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1766 พระองค์เป็นพระราชบิดาของพระเจ้าเฟรเดริคที่ 6 พระเจ้าคริสเตียนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 12/13 มีนาคม ค.ศ. 1808 ในเดนมาร์ก พระบรมศพได้รับการบรรจุที่มหาวิหารรอสคิล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก (คริสเตียน เฟรเดอริค) (18 กันยายน พ.ศ. 2329 - 20 มกราคม พ.ศ. 2391) ทรงเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเดนมาร์ก ระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีชาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดน (Konung Karl XII) ทรงเป็นประมุขแห่งราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์ในช่วงมหาสงครามเหนือ เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1682 ทรงครองราชย์เมื่อพระชนมายุ 15 พรรษา พระองค์มีพระปรีชาสามารถในเรื่องการทหารและด้านการเมือง พระองค์ได้นำทัพสวีเดนเข้ารบโจมตีกองทัพของรัสเซียซึ่งมีพระเจ้าปีเตอร์มหาราชเป็นแม่ทัพและได้รับชัยชนะที่ยุทธการนาร์วาเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าคาร์ลที่ 12 แห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคาร์ลที่ 14 โยฮันแห่งสวีเดน

มเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลโยฮันที่ 14 (Konung Karl XIV Johan) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์ในช่วงสงครามนโปเลียน เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 26 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าคาร์ลที่ 14 โยฮันแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าคนุตมหาราช

ระเจ้าคนุตมหาราช (Canute the Great หรือ Cnut the Great; นอร์สโบราณ: Knútr inn ríki; Knut den mektige; Knut den Store; Knud den Store) หรือ คานุต กษัตริย์แห่งอังกฤษตั้งแต่ปี..1016 เดนมาร์ตั้งแต่ปี..1018 และสวีเดนตั้งแต่ปี..1028 พระองค์เริ่มต้นชีวิตวัยหนุ่มด้วยการเป็นนักรบไวกิ้งและกลายเป็นผู้ปกครองของจักรวรรดิที่ในยุคที่รุ่งเรืองที่สุดประกอบด้วยอังกฤษ เดนมาร์ก นอร์เวย์ และส่วนหนึ่งของสวีเดน คานุตรุกรานอังกฤษในปี..1013 ร่วมกับพระราชบิดา สเวน กษัตริย์แห่งเดนมาร์ก หลังการสวรรคตของสเวนในปี..1014 พระองค์ได้รับการยกย่องเป็นกษัตริย์โดยกองกำลังไวกิ้ง คานุตปราบเอ็ดมุนด์ที่ 2 จอมพลังที่อาสซานดุน เอสเซ็กซ์ ในปี..1016 พระองค์กับเอ็ดมุนด์จอมพลังแยกอังกฤษออกจากกัน คานุตได้ปกครองเมอร์เซียและนอร์ธัมเบรียจนกระทั่งพระองค์ได้ขึ้นเป็นกษัตริย์ของอังกฤษทั้งหมดหลังการสวรรคตของเอ็ดมุนด์ พระองค์สืบสันตติวงศ์เป็นกษัตริย์แห่งเดนมาร์กต่อจากพระเชษฐา ฮารัลด์ ในปี..1018 ทรงบังคับให้พระเจ้าแมลคอล์มถวายความจงรักภักดีด้วยการรุกรานสก็อตแลนด์ในช่วงราวปี..1027 และพิชิตนอร์เวย์ในปี..1028 พระองค์ได้รับการสืบสันตติวงศ์โดยพระโอรสนอกกฎหมาย แฮโรลด์ที่ 1 ภายใต้การปกครองของคานุต การค้าของอังกฤษเจริญรุ่งเรืองขึ้น และพระองค์ได้รับความนิยมจากไพร่ฟ้าชาวอังกฤษจากการส่งทหารกลับเดนมาร์ก ทว่าจักรวรรดิทะเลเหนือที่ประกอบด้วยเดนมาร์ก อังกฤษ และนอร์เวย์ล่มสลายหลังการสวรรคตของพระองค์ ทรงถูกฝังที่วินเชสเตอร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าคนุตมหาราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Frederick II of Denmark; 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1534 - 4 เมษายน ค.ศ. 1588) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1699 จนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1588 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 2 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1534 พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 3 และ โดโรเทียแห่งแซ็กซ-เลาเอินบวร์ก พระองค์ทรงเสกสมรสกับโซฟีแห่งเม็คเคลนบวร์ก-กึสโทรว์ พระองค์เป็นพระราชบิดาของสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 4 และ แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ พระเจ้าคริสเตียนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1588 ในเดนมาร์ก พระบรมศพได้รับการบรรจุที่มหาวิหารรอสคิล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 4 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 4 แห่งเดนมาร์ก (Frederick IV of Denmark) (11 ตุลาคม ค.ศ. 1671 - 12 ตุลาคม ค.ศ. 1730) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1699 จนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1730 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ สมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 4 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม ค.ศ. 1671 ที่โคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 5 และ ชาร์ลอตต์ อมาลีแห่งเฮสส์-คาสเซล พระองค์ทรงเสกสมรสกับหลุยส์แห่งเม็คเคลนบวร์ก-กึสโทรว์ ต่อมาทั้งที่ยังมิได้ทรงหย่ากับพระราชินีหลุยส์ พระองค์ก็ทรงไปเสกสมรสอีกสองครั้ง และในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 4 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 5 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระเจ้าเฟรเดริคที่ 5 แห่งเดนมาร์ก (Frederick V of Denmark) (31 มีนาคม ค.ศ. 1723 - 13/14 มกราคม ค.ศ. 1766) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์แห่งราชวงศ์โอลเดนบวร์ก ผู้ทรงครองราชบัลลังก์ระหว่างปี ค.ศ. 1746 จนเสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1766 คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระเจ้าเฟรเดริคที่ 5 เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1723 ในโคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก พระองค์เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 6 แห่งเดนมาร์ก และ พระราชินีโซเฟีย แมกดาเลนแห่งบรานเดนบวร์ก-คุล์มบาค และทรงเสกสมรสกับเจ้าหญิงหลุยส์แห่งเกรตบริเตนพระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม ค.ศ. 1743 พระองค์และพระราชินีหลุยส์มีพระราชโอรสธิดาด้วยกันหกพระองค์ ห้าพระองค์รอดมาจนเจริญพระชันษา พระราชินีหลุยส์สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ. 1751 หลังจากนั้นพระองค์ก็ทรงเสกสมรสกับยูเลียนา มารีอาแห่งบราวน์ชไวก์-โวลเฟ่นบึทเท่ลธิดาของแฟร์ดีนันด์ อัลเบร็คท์ที่ 2 ดยุกแห่งเบราน์ชไวก์-โวลเฟนบึทเทิล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 5 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก

ระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 (28 มกราคม พ.ศ. 2311 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2382) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก (13 มีนาคม พ.ศ. 2351 - 3 ธันวาคม พ.ศ. 2382)และพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ เป็นพระราชโอรสในพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ ซึ่งเป็นพระขนิษฐาในพระเจ้าจอร์จที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร การปกครองของพระองค์เป็นการอธิบายถึงการเป็น พระประมุขสูงสุดที่ทรงภูมิธรรม (An enlightened despot) ในยุคเรืองปัญญา คติพจน์ประจำรัชกาลของพระองค์คือ พระผู้เป็นเจ้าและความยุติธรรม (Gud og den retfærdige sag).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 6 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

พอล พ็อตส์

อล โรเบิร์ต พ็อตส์ (Paul Robert Potts) เป็นนักร้องโอเปร่าระดับเสียงเทเนอร์ ชาวอังกฤษ เกิดเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม ค.ศ. 1970 เป็นผู้ชนะเลิศรายการแข่งขันทางโทรทัศน์ชุด Britain's Got Talent โดยร้องเพลงโอเปร่า "Nessun Dorma" จาก Turandot.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพอล พ็อตส์ · ดูเพิ่มเติม »

พัพพาร์ ขาลสา

ัพพาร์ ขาลสา (Babbar Khalsa International; ภาษาปัญจาบ: ਬੱਬਰ ਖ਼ਾਲਸਾ, babbar ḵẖālsā) เป็นองค์กรทางทหารที่เก่าที่สุดในบรรดาองค์กรของผู้นับถือศาสนาสิกข์ เพื่อเรียกร้องการจัดตั้งรัฐสิกข์อิสระในชื่อขาลิสถาน (ดินแดนแห่งความบริสุทธิ์) ซึ่งรวมรัฐปัญจาบและบริเวณที่มีผู้พูดภาษาปัญจาบในรัฐหรยณะ หิมาจัลประเทศ และราชสถาน กลุ่มนี้มีกิจกรรมมากในช่วง..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพัพพาร์ ขาลสา · ดูเพิ่มเติม »

พันเซอร์ 3

ันเซอร์คัมพฟ์วาเกิน 3 (Panzerkampfwagen (อักษรย่อ Pz.Kpfw. III)) หรือที่เรียกในอีกชื่อหนึ่งคือ พันเซอร์ 3 เป็นรถถังเบาขนาดใหญ่ซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยเยอรมันในช่วงยุคปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพันเซอร์ 3 · ดูเพิ่มเติม »

พาราลิมปิกฤดูหนาว 1980

ราลิมปิกฤดูหนาว 1980 (1980 Winter Paralympic) หรือการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 2 เป็นการแข่งขันกีฬาคนพิการระดับโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่กีลโล ประเทศนอร์เวย์ ระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2523.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพาราลิมปิกฤดูหนาว 1980 · ดูเพิ่มเติม »

พาราลิมปิกฤดูหนาว 1994

ราลิมปิกฤดูหนาว 1994 (1994 Winter Paralympic) หรือการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6 เป็นการแข่งขันกีฬาคนพิการระดับโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่ลีลล์แฮมเมอร์ ประเทศนอร์เวย์ ระหว่างวันที่ 10 มีนาคม ถึง 19 มีนาคม พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพาราลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

พิพิธภัณฑ์ไวกิงโลโฟตร์

ัณฑ์ไวกิงโลโฟตร์ พิพิธภัณฑ์ไวกิงโลโฟตร์ (Lofotr Vikingmuseum) เป็นพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ที่อยู่บนพื้นฐานของการฟื้นฟูและการขุดค้นทางโบราณคดีของหมู่บ้านเผ่าไวกิงในหมู่เกาะนอร์เวย์เหนือของลูฟฟูเทน ประเทศนอร์เวย์ ซึ่งตั้งอยู่ในหมู่บ้านเล็ก ๆ ของบอร์ก ใกล้กับหมู่บ้านเบอสตัดของเกาะเวสต์วอกอ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพิพิธภัณฑ์ไวกิงโลโฟตร์ · ดูเพิ่มเติม »

พิกเซล (แก้ความกำกวม)

กเซล (อังกฤษ: PIXEL) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพิกเซล (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

พิสุทธินิยมทางภาษา

หน้าแรกของพจนานุกรมภาษาฝรั่งเศสฉบับที่ 6 ของบัณฑิตยสถานฝรั่งเศส (Académie française) ตีพิมพ์เมื่อปีค.ศ. 1835 วัตถุประสงค์หลักของบัณฑิตยสถานนี้ คือ การทำให้ภาษาฝรั่งเศสบริสุทธิ์ พิสุทธินิยมทางภาษา หรือ ความพิถีพิถันในภาษา (linguistic purism, linguistic protectionism) เป็นคตินิยมที่มีจุดมุ่งหมายจะทำให้ภาษาใดภาษาหนึ่ง "บริสุทธิ์" หรือ "สะอาด" ที่สุด โดยนิยาม “ภาษาบริสุทธิ์” หรือ “ภาษาสะอาด” ว่าเป็นภาษาที่ปราศจากคุณสมบัติทางภาษาจากภาษาต่างชาติ ในคตินิยมนี้ จึงมีการอนุรักษ์ภาษาโดยการขจัดสิ่ง ที่เห็นว่ามาจากภาษาต่างชาติ ซึ่งสามารถอยู่ในทุกระดับของระบบภาษา เช่น ไวยากรณ์ การออกเสียง หรือ คำศัพท์ เป็นต้น แต่ส่วนใหญ่วัตถุประสงค์หลักในการกำจัด มักจะเป็นคำศัพท์ พิสุทธินิยมทางภาษา มักมีความเกี่ยวข้องกับชาตินิยม ซึ่งมักเกิดขึ้นควบคู่กับการสถาปนารัฐชาต.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และพิสุทธินิยมทางภาษา · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายปกครองท้องถิ่น

กฎหมายปกครองท้องถิ่น เป็นสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกฎหมายปกครองท้องถิ่น · ดูเพิ่มเติม »

กรกฎาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกรกฎาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กริฟฟิน ไมนอส

กริฟฟิน ไมนอส หรือ กริฟฟอน มินอส เป็นตัวละครในการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง "เซนต์เซย่า ภาคเจ้านรกฮาเดส" เป็น 1 ใน 108 สเป็คเตอร์ เป็น 1 ใน 3 ขุนพลผู้พิพากษาแห่งยมโลก คู่กับ ไวเวิร์น ราดาแมนทีส และ การูด้า ไออาคอ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกริฟฟิน ไมนอส · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกรุงเทพมหานคร · ดูเพิ่มเติม »

กรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ป

กรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ป ในวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2549 ระหว่างการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สองของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ ได้ขายหุ้นที่ครอบครองอยู่ทั้งหมดในกลุ่มบริษัท ชินคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (ชินคอร์ป) ให้แก่บริษัทเทมาเส็ก โฮลดิ้งส์ (พีทีอี) จำกัด (เทมาเส็ก) หรือ กองทุนเพื่อการลงทุนของรัฐบาลสิงคโปร์ ผ่านบริษัท ซีดาร์ โฮลดิ้งส์ จำนวน 1,487,740,000 หุ้น (49.595% ของจำนวนหุ้นทั้งหมด) มูลค่าหุ้นละ 49.25 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 73,271,200,910 บาท ซึ่งเป็นการขายหุ้นที่มีมูลค่าสูงที่สุดในประเทศไทย ผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทำให้เกิดเสียงวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากในสังคมไท.ต.ท. ทักษิณ ชี้แจงว่า เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นจุดที่ทำให้ การขับไล่ ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ขยายตัวออกไปในวงกว้าง ซึ่งนำไปสู่การยุบสภาผู้แทนราษฎรในที่สุด เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกรณีตระกูลชินวัตรและดามาพงศ์ขายหุ้นกลุ่มบริษัทชินคอร์ป · ดูเพิ่มเติม »

กฤษณา ไกรสินธุ์

ตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ เกิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 เป็นเภสัชกรชาวไทยที่อุทิศตนช่วยเหลือผู้ป่วยในการผลิตยาในทวีปแอฟริกาและเอเชีย กฤษณาเป็นชาวเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี บิดาและมารดาเป็นบุคลากรทางสาธารณสุขทั้งคู่ จึงเป็นแรงบันดาลใจให้เธอประกอบวิชาชีพทางสาธารณสุขเช่นกัน ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง กฤษณา ไกรสินธุ์ หรือ ศาสตราจารย์พิเศษ เภสัชกรหญิง ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ จบการศึกษาระดับอุดมศึกษา ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังจากนั้นได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาเภสัชวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสตราห์ไคลด์ และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ สหราชอาณาจักร หลังจากจบการศึกษาแล้ว กฤษณาได้กลับมาดำรงตำแหน่งอาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมี ในปี พ.ศ. 2524 ต่อมาได้ทำงานในองค์การเภสัชกรรมและเป็นผู้ริเริ่มการวิจัยยาต้านเอดส์จนสามารถผลิตยาสามัญชื่อ "ยาเอดส์" ได้เป็นครั้งแรกในประเทศกำลังพัฒนา เรียกข้อมูลวันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกฤษณา ไกรสินธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

กลอมา

แม่น้ำกลอมา (Glomma หรือ Glåma) เป็นแม่น้ำสายยาวที่สุดและใหญ่ที่สุดของประเทศนอร์เวย์ มีความยาว 598 กม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกลอมา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได

กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได หรือบางครั้งเรียกว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไต-ไท เป็นชื่อเรียกโดยรวมของกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดในตระกูลภาษาไท-กะได กลุ่มชาติพันธุ์ ไท-กะได กระจายตัวอยู่ในภูมิภาคอุษาคเนย์ รับประทานข้าวเจ้า หรือข้าวเหนียว เป็นอาหารหลัก นิยมปลูกเรือนเสาสูง มีใต้ถุน อาศัยทั้งในที่ราบลุ่ม และบนภูเขา ประเพณีศพเป็นวิธีเผาจนเป็นเถ้าแล้วเก็บอัฐิไว้ให้ลูกหลานบูชา ศาสนาดั้งเดิมเป็นการนับถือผี นับถือบรรพบุรุษ และบูชาแถน (ผีฟ้า หรือเสื้อเมือง) มีประเพณีสำคัญคือ ประเพณีสงกรานต์ ซึ่งเป็นประเพณีเฉลิมฉลองวสันตวิษุวัต และการขึ้นปีใหม่ ทั้งนี้ คำเรียก ไต เป็นคำที่กลุ่มชนตระกูลไทใหญ่ใช้เรียกตนเอง ส่วน ไท เป็นคำเดียวกัน แต่เป็นสำเนียงของชาวไทน้อย และ ไทยสยาม บางครั้ง การใช้คำ ไต-ไท ในวงแคบจะหมายถึงเฉพาะผู้ที่ใช้ภาษาในกลุ่มภาษาไท (ไม่รวมกลุ่มภาษากะได เช่น ลักเกีย แสก คำ ต้ง หลี เจียมาว ฯลฯ).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มกูอิงบรา

กลุ่มกูอิงบรา (Coimbra Group) เป็นเครือข่ายมหาวิทยาลัยของยุโรป ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1985 และจดทะเบียนอย่างเป็นทางการเมื่อ ค.ศ. 1987 ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงที่สุดของทวีปจำนวน 39 แห่ง ชื่อของกลุ่มมาจากชื่อเมืองกูอิงบรา ประเทศโปรตุเกส และชื่อมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในเมืองนั้น ซึ่งเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดของยุโรป มหาวิทยาลัยกูอิงบรามีอายุครบรอบ 700 ปี ในปีที่ก่อตั้งกลุ่ม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกลุ่มกูอิงบรา · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มตะวันตก

นการณ์ทางการเมืองของโลกตะวันตกในยุคสงครามเย็น. สีน้ำเงินคือฝ่ายตะวันตก ค่ายตะวันตก (อังกฤษ: Western Bloc) เป็นชื่อเรียกที่หมายถึงประเทศรัฐซึ่งปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในยุโรปตะวันตก และอาจหมายรวมถึงประเทศที่เข้าร่วมสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือหรือนาโต้ด้วยเช่นกัน คำว่า "ค่ายตะวันตก" เป็นชื่อที่ใช้เรียกในยุคสงครามเย็น (ค.ศ. 1946 - ค.ศ. 1989) ประเทศรัฐต่างๆ ที่อยู่ในโลกตะวันตกส่วนใหญ่เป็นรัฐที่ถูกสหรัฐอเมริกาและสัมพันธมิตรทำการช่วยเหลือปลดปล่อยให้พ้นจากการปกครองของนาซีเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกลุ่มตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มนอร์ดิก

แผนที่ภูมิศาสตร์การเมืองของกลุ่มนอร์ดิก กลุ่มประเทศนอร์ดิก (อังกฤษ: Nordic countries) หรือรวมเรียกเป็นภูมิภาคนอร์ดิก (อังกฤษ: Nordic region) หมายถึงภูมิภาคในยุโรปเหนือ ประกอบด้วย เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน และดินแดนปกครองตนเองในสังกัดประเทศเหล่านั้นสามแห่ง ได้แก่ กรีนแลนด์ (เดนมาร์ก) หมู่เกาะแฟโร (เดนมาร์ก) และหมู่เกาะโอลันด์ (ฟินแลนด์) ประเทศในกลุ่มนอร์ดิกมีประวัติศาสตร์ร่วมกันมายาวนาน และมีสิ่งต่างๆที่คล้ายคลึงกันในสังคม เช่น ระบบการเมืองการปกครอง กลุ่มนอร์ดิกมีประชากรรวมกันราว 24 ล้านคน คำว่านอร์ดิก มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า Pays Nordiques ซึ่งเทียบเท่ากับคำภาษาท้องถิ่นว่า Norden (ภาษากลุ่มสแกนดิเนเวีย – สวีเดน นอร์เวย์ เดนมาร์ก) Pohjola/Pohjoismaat (ภาษาฟินแลนด์) และ Norðurlönd (ภาษาไอซ์แลนด์และภาษาแฟโร) โดยมีความหมายว่า (ดินแดนทาง)ทิศเหนือ ปัจจุบัน มีการใช้คำว่าสแกนดิเนเวีย ในความหมายของกลุ่มนอร์ดิกในภาษาอังกฤษ ซึ่งส่งผลมาถึงการใช้ในภาษาไทยด้วยเช่นกัน กลุ่มนอร์ดิกมีความสัมพันธ์กันในทางการเมือง ในองค์กรที่เรียกว่าคณะมนตรีนอร์ดิก ในระยะหลัง ประเทศเอสโตเนียได้วางภาพตัวเองเป็นประเทศนอร์ดิก แต่โดยทั่วไปแล้วมักถือว่าเอสโตเนียเป็นรัฐบอลติก เอสโตเนียมีความใกล้ชิดทางด้านภาษา เชื้อชาติ และวัฒนธรรมกับฟินแลนด์ และมีความสัมพันธ์ทางการค้าและการลงทุนจำนวนมากกับกลุ่มประเทศนอร์ดิก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกลุ่มนอร์ดิก · ดูเพิ่มเติม »

กล็อค

กล็อก (Glock GmbH) เป็นบริษัทผู้ผลิตอาวุธสัญชาติออสเตรีย มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมือง Deutsch-Wagram ทางตอนเหนือของออสเตรีย ก่อตั้งโดยนายแกสตัน กล็อก (Gaston Glock) เมื่อ ค.ศ. 1963 มีชื่อเสียงในฐานะเป็นผู้ผลิตปืนกล็อก ซึ่งเป็นปืนพกที่มีโครงสร้างเป็นโพลิเมอร์ มีน้ำหนักเบา บำรุงรักษาง่าย เพราะมีชิ้นส่วนที่เป็นสนิม น้อยกว่าปืนพกยุคก่อนที่ใช้โครงสร้างเหล็ก นอกจากนี้กล็อกยังเป็นผู้ผลิตมีดพก และพลั่วสนาม สำหรับใช้ในกองทัพ บริษัทกล็อกเริ่มสายการผลิตอาวุธ จากการผลิตระเบิดมือสำหรับซ้อม แมกาซีน มีดพก และพลั่วสนามให้กับกองทัพออสเตรียในช่วงทศวรรษ 1970 จนกระทั่งได้ออกแบบปืนพกขนาด 9 มม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกล็อค · ดูเพิ่มเติม »

กวางมูส

กวางมูส (moose) คือกวางขนาดใหญ่ที่พบในป่าเขตหนาวและอบอุ่นซีกโลกเหนือ สายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดคือสายพันธุ์อะแลสกา สามารถพบได้ในบริเวณป่าไทกา ในทวีปอเมริกาเหนือจะเรียกว่า มูส ในยูเรเชียจะเรียกว่า เอลก์ พบมากในบริเวณประเทศแคนาดา, ประเทศลัตเวีย, ประเทศเอสโตเนีย และประเทศรัสเซีย พวกมันเป็นสัตว์ที่ไม่รวมกันเป็นฝูงและมีขนาดใหญ่แถมยังมีเขาที่ค่อนข้างใหญ่ทำให้มันเคลื่อนที่ได้ค่อยข้างช้าทำให้พวกมันตกเป็นเหยื่อของนักล่าอย่างหมาป่าและมนุษย์ โดยปกติพวกมันจะเคลือนไหวช้าแต่ถ้าพวกมันโกรธหรือตกใจพวกมันก็สามารถวิ่งได้เร็วเช่นกัน พวกมันจะผสมพันธุ์กันในช่วงฤดูใบไม้ร่วงซึ่งช่วงนั้นมันจะมีการต่อสู้อย่างดุเดือดของตัวผู้เพื่อแย่งตัวเมี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกวางมูส · ดูเพิ่มเติม »

กวางน้อย...แบมบี้

กวางน้อ...แบมบี้ (อังกฤษ:Bambi) คือภายนตร์การ์ตูนของวอลท์ดิสนีย์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกวางน้อย...แบมบี้ · ดูเพิ่มเติม »

กษัตริย์อาเธอร์

รูปปั้นกษัตริย์อาเธอร์ ที่โบสถ์ Hofkirche, Innsbruck, ออสเตรีย ออกแบบโดย Albrecht Dürer และสร้างโดย Peter Vischer ผู้พ่อ ในคริสต์ทศวรรษ 1520Barber, Richard (2004), ''The Holy Grail: Imagination and Belief'', London: Allen Lane, ISBN 978-0713992069. กษัตริย์อาเธอร์ (King Arthur) เป็นกษัตริย์อังกฤษผู้มีชื่อเสียงโด่งดังในตำนานเล่าขานในฐานะวีรบุรุษในยุคกลาง ซึ่งได้ปกป้องเกาะบริเตนจากการรุกรานของชาวแซกซันในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 5ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 6 รายละเอียดส่วนใหญ่เกี่ยวกับกษัตริย์อาเธอร์ปรากฏอยู่ในเรื่องเล่าขาน ตำนานพื้นบ้าน และวรรณกรรมที่แต่งขึ้น นักประวัติศาสตร์ยังคงถกเถียงกันอยู่ว่ากษัตริย์อาเธอร์มีตัวตนอยู่ในประวัติศาสตร์จริงหรือไม่Higham, N. J. (2002), King Arthur, Myth-Making and History, ลอนดอน: Routledge, ISBN 978-0415213059.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกษัตริย์อาเธอร์ · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์)

กองทัพบกเยอรมันหรือเรียกว่า เฮร์ (Heer) เป็นกองทัพบกเยอรมันในส่วนหนึ่งของกองทัพเวร์มัคท์,กองทัพประจำของเยอรมันในปี 1935 จนกระทั่งถูกปลดและสลายตัวในเดือนสิงหาคม ปี 1946.กองทัพเวร์มัคฺได้รวมถึงครีกซมารีเนอ (กองทัพเรือ),และลุฟท์วัฟเฟอ (กองทัพอากศ).ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง,จำนวนทหารทั้งหมด 13 ล้านนายรับใช้ในกองทัพเยอรมัน.บุคลากรของกองทัพส่วนใหญ่มาจากการเกณฑ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกองทัพบกเยอรมัน (เวร์มัคท์) · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือนอร์เวย์

กองทัพเรือนอร์เวย์ ('''''Sjøforsvaret'''''., "the naval defence (forces)") เป็นส่วนหนึ่งของกองทัพนอร์เวย์ มีหน้าที่รับผิดชอบต่อการปฏิบัติการทางทหารในทะเล ลำน้ำ และพื้นที่บริเวณชายฝั่งของ ประเทศนอร์เวย์ ในปี 2008 กองทัพเรือนอร์เวย์ มีกำลังพลประมาณ 3,700 นาย และมีเรือรบในประจำการ 70 ลำแบ่งเป็น เรือฟรีเกรตหนัก 5 ลำ, เรือดำน้ำ 6 ลำ, เรือตรวจการ 14 ลำ และ เรือเก็บกวาดทุ่นระเบิด 4 ลำ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกองทัพเรือนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2548

อห์น โรเบิร์ต.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกันยายน พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

กันยายน พ.ศ. 2549

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกันยายน พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองนอร์ม็องดี

การรุกรานนอร์ม็องดี คือการรบระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะนาซีเยอรมนีที่ประจำการอยู่ในยุโรปตะวันตก กับกองกำลังสัมพันธมิตรกว่า 3 ล้านนายที่ทำการบุกข้ามช่องแคบอังกฤษมาจากฐานที่ตั้งชั่วคราวในแนวรบที่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษ (ส่วนใหญ่มาจากเมืองพอร์ทสมัธ) มายังหัวหาดนอร์ม็องดีในฝรั่งเศสที่กองทัพเยอรมันยึดมาได้ ภายใต้ชื่อแผนปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด (Operation Overlord) เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 6 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการบุกครองนอร์ม็องดี · ดูเพิ่มเติม »

การฝังศพในเรือ

็นริค เซียมราดสกี (ค.ศ. 1843-ค.ศ. 1902) การฝังศพในเรือ (Ship burial หรือ boat grave) เป็นการฝังศพโดยการใช้เรือที่อาจจะเป็นทั้งที่บรรจุศพและที่ฝังสมบัติของผู้ตาย หรือ เป็นส่วนหนึ่งของสมบัติของผู้ตายเท่านั้น ถ้าเป็นเรือลำเล็กก็จะเรียกว่า “boat grave” ลักษณะของการฝังทำกันในสมัยเวนเดล (ค.ศ. 550-ค.ศ. 793) และโดยแองโกล-แซ็กซอน, เมโรแว็งเชียง, ไวกิง, ชาวรุส, ชาวบอลติก (โดยเฉพาะ ชาวคิวโรเนียน) และบางครั้งก็พบในอียิปต์โบราณ ตามประเพณีของกลุ่มชนเจอร์มานิคแล้วการฝังโดยวิธีนี้เป็นการใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทางไปยังท้องพระโรงวาลฮาลลา และการฝังโดยวิธีนี้เป็นเกียรติยศอันสูงส่งต่อผู้เสียชีวิต.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการฝังศพในเรือ · ดูเพิ่มเติม »

การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009

การระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 เป็นการระบาดทั่วโลกของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น 1 สายพันธุ์ใหม่ หรือโดยทั่วไปมักเรียกว่า "ไข้หวัดหมู" เริ่มพบการระบาดตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการระบาดของไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 · ดูเพิ่มเติม »

การรั่วไหลของน้ำมันที่มอนทารา

วเทียมการรั่วไหลของน้ำมันที่มอนทาราในทะเลติมอร์ การรั่วไหลของน้ำมันที่มอนทารา เป็นการรั่วไหลของน้ำมันและแก๊ส รวมถึงคราบน้ำมัน (slick) ในภายหลัง ซึ่งเกิดขึ้นที่บ่อน้ำมันมอนทาราในทะเลติมอร์ นอกชายฝั่งทางเหนือของรัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย ถูกมองว่าเป็นหนึ่งในภัยพิบัติด้านน้ำมันครั้งเลวร้ายที่สุดของออสเตรเลีย คราบน้ำมันถูกปล่อยออกมาหลังการระเบิดออกจากแท่นหลุมผลิตมอนทาราเมื่อวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการรั่วไหลของน้ำมันที่มอนทารา · ดูเพิ่มเติม »

การลงประชามติขยายประชาคมเศรษฐกิจยุโรป

การลงประชามติขยายประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (Référendum sur l'élargissement de la CEE) จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2515 เป็นการลงประชามติเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในการผนวกสหราชอาณาจักร เดนมาร์ก ไอร์แลนด์ และนอร์เวย์เข้ากับประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (Communauté économique européenne (CEE)).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการลงประชามติขยายประชาคมเศรษฐกิจยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

การลงโทษทางกาย

การลงโทษทางกาย(corporal punishment) คือ การลงโทษโดยการเฆี่ยนตีตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเพื่อทำให้เกิดความเจ็บปวด อาจใช้ไม้เรียว สายหนัง หรือเข็มขัด เช่นการลงโทษเด็กนักเรียนในโรงเรียนหรือแม้แต่ที่บ้าน ซึ่งปัจจุบันหลายประเทศถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย อีกทั้งยังเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนประการหนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการลงโทษทางกาย · ดูเพิ่มเติม »

การล้อมไซดอน

การล้อมไซดอน (Siege of Sidon) เป็นการสู้รบที่เมืองไซดอน (ปัจจุบันอยู่ในประเทศเลบานอน) ระหว่างฝ่ายนักรบครูเสดกับฝ่ายมุสลิมแห่งราชวงศ์ฟาติมียะห์ ระหว่างวันที่ 19 ตุลาคม–5 ธันวาคม ค.ศ. 1110 ยุทธการครั้งนี้เกิดขึ้นหลังจากสงครามครูเสดครั้งที่ 1 และเป็นส่วนหนึ่งของสงครามครูเสดนอร์เวย์ ช่วงฤดูร้อนของปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการล้อมไซดอน · ดูเพิ่มเติม »

การวิเคราะห์การใช้

การวิเคราะห์การใช้ หรือ การวิเคราะห์การสื่อสาร (Traffic analysis) เป็นกระบวนการดักฟังและตรวจสอบข่าวสาร/ข้อความ เพื่อสรุปหาข้อมูลจากรูปแบบการสื่อสาร ที่ทำได้แม้ข้อความจะเข้ารหัสลับและไม่สามารถถอดรหัสได้ โดยทั่วไป ยิ่งได้ข้อความจำนวนมากขึ้นเท่าไร รวมทั้งที่ดักฟังแล้วเก็บเอาไว้ ก็ยิ่งสามารถหาข้อมูลจากการใช้ระบบยิ่งขึ้นเท่านั้น เป็นสิ่งที่อาจทำในบริบทของข่าวกรองทางทหาร การต่อต้านการสืบราชการลับ การวิเคราะห์นิสัย และเป็นประเด็นปัญหาอย่างหนึ่งในความมั่นคงของระบบคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์อาจอำนวยด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ ๆ เทคนิคที่ก้าวหน้าอาจรวมการวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคมในรูปแบบต่าง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการวิเคราะห์การใช้ · ดูเพิ่มเติม »

การสำรวจ

นักสำรวจ คาซิเมียร์ โนวัก การสำรวจ (Exploration) คือการค้นหาเพื่อบรรลุเป้าหมายของการค้นพบหรือทรัพยากร การสำรวจเกิดขึ้นในทุกสิ่งมีชีวิตที่มีการเคลื่อนไหวรวมถึงมนุษย์ ในประวัติศาสตรของมนุษย์การสำรวจที่มีอิทธิพลมากที่สุดอยู่ในช่วงยุคแห่งการค้นพบเมื่อนักสำรวจชาวยุโรปแล่นเรือและเขียนแผนที่ในพื้นที่ส่วนที่เหลือของโลกด้วยเหตุผลหลายประการ ตั้งแต่นั้นมาการสำรวจครั้งใหญ่หลังยุคแห่งการสำรวจเกิดขึ้นจากการค้นพบข้อมูลสำคัญเป็นเหตุผลส่วนใหญ่ ในระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจเป็นหนึ่งในสามวัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประจักษ์ (อีกสองอย่างคือการพรรณาและการอธิบาย).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการสำรวจ · ดูเพิ่มเติม »

การอยู่กินด้วยกัน

คู่ชีวิต (Civil union) หรือรู้จักกันในภายใต้ชื่ออื่นๆ คือการรับรองความสัมพันธ์ทางกฎหมายที่คล้ายคลึงกับการสมรส โดยคู่ชีวิตนี้ได้จัดตั้งขึ้นในประเทศต่างๆ ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษที่ 1990 เป็นต้นมา ซึ่งมักจะพัฒนามาจากการรับรองความสัมพันธ์แบบคู่อาศัย (Domestic partnership) ที่มีสถานะเป็นทางการน้อยกว่า ในประเทศเดนมาร์ก ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน ได้ทำการแทนที่ความสัมพันธ์แบบคู่ชีวิตด้วยการสมรสเพศเดียวกัน ในขณะที่ประเทศอื่นได้เสริมการสมรสเพศเดียวกันเข้าไปในระบบกฎหมาย ความสัมพันธ์แบบคู่ชีวิตนั้นมักถูกมองว่าเป็น "ก้าวแรก" ที่จะนำไปสู่ความเท่าเทียมกันทางการสมรสสำหรับบุคคลเพศเดียวกัน ในบางประเทศคู่ชีวิตนั้นสามารถรับรองบุคคลต่างเพศและบุคคลเพศเดียวกันได้ แต่ทว่า บางประเทศความสัมพันธ์รูปแบบนี้เปิดโอกาสให้กับคู่ชีวิตเพศเดียวกันเท่านั้น ส่วนในประเทศกรีซ ความสัมพันธ์คู่ชีวิตเปิดโอกาสให้กับคู่ชีวิตต่างเพศเท่านั้น หมวดหมู่:สิทธิของกลุ่มบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการอยู่กินด้วยกัน · ดูเพิ่มเติม »

การทัพนอร์เวย์

การทัพนอร์เวย์ หรือปฏิบัติการเวแซร์รืบุง (9 เมษายน - 10 มิถุนายน ค.ศ. 1940) นั้นเป็นการเผชิญหน้ากันอย่างเต็มรูปแบบเป็นครั้งแรกของสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรกับนาซีเยอรมนี เยอรมนีนั้นต้องการที่จะครอบครองนอร์เวย์เพื่อเหล็กและโลหะจากสวีเดนอีกต่อหนึ่ง ซึ่งขนส่งทางเรือจากเมืองท่านาร์วิก ด้วยการยึดครองเมืองท่าอย่างสมบูรณ์ ก็จะทำให้การขนส่งทรัพยากรดังกล่าวเพื่อป้อนเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม แม้ว่าจะถูกขัดขวางด้วยการปิดล้อมทางทะเลจากอังกฤษ นอกจากนั้นแล้ว มันยังทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรและเยอรมนีสามารถรบกันได้ด้วยการรบแบบสนามเพลาะซึ่งทั้งสองฝ่ายหวาดกลัว ต่อมาเมื่อยุทธนาวีมหาสมุทรแอตแลนติกขยายออกไป สนามบินของนอร์เวย์ เช่น สนามบินโซลา ในเมืองสตาแวนเจอร์ ซึ่งเครื่องบินสำรวจเยอรมันใช้เพื่อออกปฏิบัติการในภาคพื้นมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการทัพนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

การท่องเที่ยวในประเทศสวีเดน

ทิวทัศน์จากเออลันด์ตอนใต้ หินแกะสลักที่ทานัมเชเด การท่องเที่ยวในประเทศสวีเดน ถือเป็นสัดส่วนที่ค่อนข้างเล็กของเศรษฐกิจสวีเดนในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการท่องเที่ยวในประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

การตีฝ่าช่องแคบ

การตีฝ่าช่องแคบหรือปฏิบัติการเซเบอรัส(Unternehmen Zerberus) เป็นปฏิบัติการทางทะเลของเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ครีกซมารีเนอ(กองทัพเรือเยอรมัน) กองเรือรบประกอบด้วยเรือประจัญบานสองลำคือเรือระดับชาร์นฮอร์ชต-คลาส, เรือลาดตระเวนหนัก พรินซ์ ยูจีน และเรือคุ้มกัน ได้แล่นเรือเข้าหาแนวปิดกั้นของอังกฤษจากแบร็สต์ในบริตทานี ชาร์นฮอร์ชตและไกเซเนา ได้เดินทางถึงแบร็สต์ในวันที่ 22 มีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการตีฝ่าช่องแคบ · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชัน

การประกวดเพลงชิงชนะเลิศแห่งยุโรป หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงยูโรวิชัน คือการประกวดเพลงประจำปี ในกลุ่มประเทศที่เป็นสมาชิก สหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป (European Broadcasting Union: EBU) โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดโดยใช้ผู้แสดงไม่เกินหกคน ที่จะแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง คณะกรรมการคือประชาชนในประเทศสมาชิก EBU ซึ่งอาจรวมไปถึงประเทศอิสราเอล โมร็อกโกและออสเตรเลีย แต่ไม่รวมลิกเตนสไตน์ โดยแต่ละประเทศจะใช้คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นและการโหวตจากผู้ชมทางโทรศัพท์ ซึ่งแต่ละประเทศไม่มีสิทธิตัดสินหรือโหวตให้กับประเทศของตัวเอง ทุกประเทศจะได้มีคะแนนเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงปัจจัยอื่นๆ ด้วยเหตุนั้นประเทศรัสเซียจึงมีคะแนนเท่ากับโมนาโก โดยประเทศที่ได้คะแนนมากที่สุดสองอันดับแรกจะได้คะแนน 12 และ 10 คะแนน ส่วนอันดับสามถึงสิบจะได้คะแนนตั้งแต่ 8 จนถึง 1 คะแนน มีผู้ชนะเพียงอันดับเดียว (ยกเว้นปี 1969 ที่มีผู้ชนะถึง 4 ประเทศ ได้แก่ สเปน สหราชอาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส) เท่านั้น (หากเกิดกรณีที่มีประเทศที่มีคะแนนสูงสุดเท่ากัน จะตัดสินที่จำนวนคะแนนที่ได้ เรียงจากคะแนนสูงสุดที่ได้รับไปยังคะแนนต่ำสุด หากยังเท่ากันอีก ประเทศที่มีลำดับการแสดงก่อนจะเป็นผู้ชนะ) ประเทศของผู้ชนะจะได้รับโล่หรือเหรียญรางวัล และเป็นเจ้าภาพจัดการประกวดปีต่อไป โดยประเทศเจ้าภาพกับสี่ประเทศที่ออกค่าใช้จ่ายให้กับทาง EBU มากที่สุด ได้แก่ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน จะสามารถส่งทีมเข้าประกวดในรอบชิงชนะเลิศได้โดยอัตโนมัติ (ภายหลังได้เพิ่มอิตาลีเข้าไปด้วย ส่วนออสเตรเลียได้รับสิทธิ์เข้ารอบชิงชนะเลิศโดยอัตโนมัติเป็นกรณีพิเศษในปี 2015 ในโอกาสครบรอบ 60 ปีการประกวด) ส่วนประเทศที่เหลือทั้งหมดต้องเข้าประกวดรอบคัดเลือก ซึ่งมีสองวันและคัดประเทศเข้ารอบชิงชนะเลิศวันละสิบประเทศ ทำให้รอบชิงชนะเลิศมีประเทศเข้าประกวดทั้งหมด 25 ประเทศ ผู้ชนะเลิศจากปี 2006 จากฟินแลนด์ วงลอร์ดิ การประกวดเริ่มมีการออกอากาศทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 ถือเป็นรายการโทรทัศน์ที่มีต่อเนื่องยาวที่สุดในโลก และมีผู้ชมที่ไม่ใช่การแข่งขันกีฬามากที่สุด โดยมีผู้ชมระหว่าง 100 ล้าน - 600 ล้านคน ออกอากาศทั่วทั้งยุโรป และยังแพร่ภาพใน ออสเตรเลีย แคนาดา อียิปต์ ฮ่องกง อินเดีย จอร์แดน เกาหลี นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และ สหรัฐอเมริกา ถึงแม้ประเทศเหล่านี้จะไม่ได้ร่วมแข่งขันก็ตาม ตั้งแต่ปี 2000 การแข่งขันได้มีการแพร่ภาพทางอินเทอร์เน็ต และในปี 2015 สหภาพฯ ได้เปิดช่องทางการถ่ายทอดสดผ่านยูทูบ ประเภทของเพลงในการแข่งขันมีความหลากหลายแนว ไม่ว่าจะเป็น อาหรับ, ดนตรีเคลติก, แดนซ์, โฟล์ก, ละติน, นอร์ดิก, ป็อป-แร็ป, ร็อก และอื่นๆ ศิลปินดังที่ชนะเลิศจากรายการนี้ เช่น เซลีน ดิออน (สวิสเซอร์แลนด์) ปี 1988, แอ็บบ้า (สวีเดน) ปี 1974, ดานา อินเตอร์เนชันแนล (อิสราเอล) ปี 1998, ลอร์ดิ (ฟินแลนด์) ปี 2006, มาริยา เชริโฟวิช (Marija Šerifović) จากประเทศเซอร์เบีย ปี 2007, ดิมา บิลาน (Dima Bilan) จากรัสเซีย ปี 2008 และ อเล็กซานเดอร์ รืยบัค (Alexander Rybak) จากนอร์เวย์ ปี 2009 และเลนา เมเยอร์-ลันดรุท (Lena Meyer-Landrut) จากเยอรมนี ปี 2010 และเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2005 ได้มีการจัดฉลองพิเศษครบรอบ 50 ปี ทางสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป ก็ได้คัดเลือกเพลงดังในแต่ละทศวรรษ มาจัดโชว์แข่งขันกัน โดยเพลงที่ชนะคือเพลง Waterloo ขับร้องโดยวง Abba ตัวแทนจากสวีเดนในปี 1974.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชัน · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 13 เพลง 13 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Tom Pillibi ขับร้องโดย Jacqueline Boyer ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1960 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองกาน ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Nous les amoureux ขับร้องโดย Jean-Claude Pascal ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1961 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Un premier amour ขับร้องโดย Isabelle Aubret ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Dansevise ขับร้องโดย Grethe Ingmann & Jørgen Ingmann ตัวแทนจากเดนมาร์ก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1963 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Non ho l'età ขับร้องโดย Gigliola Cinquetti ตัวแทนจากอิตาลี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1964 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเนเปิลส์ ประเทศอิตาลี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Poupée de cire, poupée de son ขับร้องโดย France Gall ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1965 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Merci, Chérie ขับร้องโดย Udo Jürgens ตัวแทนจากออสเตรี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1966 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเวียนนา ประเทศออสเตรีย จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Puppet on a String ขับร้องโดย Sandie Shaw ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1967 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ La, la, la ขับร้องโดย Massiel ตัวแทนจากสเปน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1968 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมาดริด ประเทศสเปน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะในปีนี้มีทั้งหมด 4 เพลง ได้แก่ Vivo cantando ขับร้องโดย Salomé ตัวแทนจากสเปน Boom Bang-a-Bang ขับร้องโดย Lulu ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร De troubadour ขับร้องโดย Lenny Kuhr ตัวแทนจากเนเธอร์แลนด์ และ Un jour, un enfant ขับร้องโดย Frida Boccara ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1969 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 12 เพลง 12 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ All Kinds of Everything ขับร้องโดย Dana ตัวแทนจากไอร์แลน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1970 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Un banc, un arbre, une rue ขับร้องโดย Séverine ตัวแทนจากโมนาโก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1971 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเอดินบะระ ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Après toi ขับร้องโดย Vicky Leandros ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1972 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Tu te reconnaîtras ขับร้องโดย Anne-Marie David ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1973 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองไบรตัน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 17 เพลง 17 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Waterloo ขับร้องโดย ABBA ตัวแทนจากสวีเดน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1974 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองสตอกโฮล์ม ประเทศสวีเดน จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ding-a-dong ขับร้องโดย Teach-In ตัวแทนจากเนเธอร์แลน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1975 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Save Your Kisses for Me ขับร้องโดย Brotherhood of Man ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1976 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ L'oiseau et l'enfant ขับร้องโดย Marie Myriam ตัวแทนจากฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1977 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ A-Ba-Ni-Bi ขับร้องโดย Izhar Cohen & the Alphabeta ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1978 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเยรูซาเลม ประเทศอิสราเอล จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Hallelujah ขับร้องโดย Gali Atari & Milk and Honey ตัวแทนจากอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1979 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองเดอะเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 19 เพลง 19 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ What's Another Year ขับร้องโดย Johnny Logan ตัวแทนจากไอร์แลน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1980 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Making Your Mind Up ขับร้องโดย Bucks Fizz ตัวแทนจากสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1981 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองฮาร์โรเกต ประเทศสหราชอาณาจักร จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 18 เพลง 18 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Ein bißchen Frieden ขับร้องโดย Nicole ตัวแทนจากเยอรมนี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1982 · ดูเพิ่มเติม »

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 เป็นการประกวดร้องเพลงโดยจัดขึ้นที่เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 20 เพลง 20 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Si la vie est cadeau ขับร้องโดย Corinne Hermès ตัวแทนจากลักเซมเบิร์ก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1983 · ดูเพิ่มเติม »

การประมง

การจับปลาของคนไทยที่แม่น้ำน่าน การประมง หมายถึงการจัดการของมนุษย์ด้านการจับปลาหรือสัตว์น้ำอื่นๆ การดูแลรักษาปลาสวยงามและการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ประมงเช่น น้ำมันปลา กิจกรรมการทำประมงจัดแบ่งได้ทั้งตามชนิดสัตว์น้ำและตามเขตเศรษฐกิจ เช่น การทำประมงปลาแซลมอนในอลาสก้า การทำประมงปลาคอดในเกาะลอโฟเทน ประเทศนอร์เวย์หรือการทำประมงปลาทูน่าในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก และยังรวมถึงการเพาะปลูกในน้ำ (Aquaculture) ซึ่งหมายถึงการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์บางชนิดในน้ำ เพื่อใช้เป็นอาหารคนหรือสัตว์ เช่นเดียวกับเกษตรกรรมที่ทำบนพื้นดิน การทำฟาร์มในน้ำ เช่นฟาร์มปลา ฟาร์มกุ้ง ฟาร์มหอย ฟาร์มหอยมุก การเพาะปลูกในน้ำในสภาพแวดล้อมที่ควบคุมไว้ การเพาะปลูกในน้ำจืด น้ำกร่อย ในทะเล การเพาะปลูกสาหร่าย ต่อมาได้มีการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการประมงเป็นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาขาหนึ่งเรียกว่าวิทยาศาสตร์การประมง มีพื้นฐานจากวิชาชีววิทยา นิเวศวิทยา สมุทรศาสตร์ เศรษฐศาสตร์และการจัดการ มีการจัดศึกษาด้านการประมงในแง่มุมต่างๆ ทั้งระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก และการประมงมีบทบาทสำคัญในเชิงธุรกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ จึงมีคำอื่นๆที่เกี่ยวข้องเช่น “ธุรกิจการประมง” อุตสาหกรรมประมง” เกิดขึ้น ซึ้นเราสามารถเรียนรู้ได้ต่อนี้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการประมง · ดูเพิ่มเติม »

การปรุรู (แสตมป์)

แสตมป์จากตู้หยอดเหรียญของสหรัฐอเมริกาปี พ.ศ. 2460 การปรุรู (perforation) คือการเจาะรูเล็ก ๆ รอบดวงแสตมป์เพื่อให้สะดวกแก่การฉีกแสตมป์ออกมาจากแผ่นเป็นดวง ๆ และเมื่อฉีกออกจากแผ่นแล้ว จะปรากฏรายหยักบนขอบแสตมป์ที่เรียกว่า ฟันแสตมป์ (perfs หรือ teeth) แสตมป์ที่ฉีกมาจากแผ่นมักมีการปรุรูครบทั้งสี่ด้านของแสตมป์ ส่วนแสตมป์ที่จำหน่ายในรูปแบบอื่น ๆ อาจมีรูปแบบการปรุแตกต่างจากนี้ เช่น แสตมป์ที่มาจากตู้หยอดเหรียญ (coil stamp) มักมีการปรุรูเพียงสองด้าน ในขณะที่แสตมป์ที่มาจากสมุดตราไปรษณียากรเล่มเล็ก (stamp booklet) อาจไม่ปรุรูบางด้าน ความสมบูรณ์ของฟันแสตมป์ถือเป็นสิ่งสำคัญในการสะสมแสตมป์ แสตมป์ที่มีฟันแหว่งหรือขาดไปถือว่ามีตำหนิ และมีมูลค่าต่ำลง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการปรุรู (แสตมป์) · ดูเพิ่มเติม »

การ์ส

การ์ส (Kars, Կարս Kars, Qars, Qers) เป็นเมืองทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศตุรกี เป็นเมืองหลวงของจังหวัดการ์ส มีประชากร 73,826 คน ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการ์ส · ดูเพิ่มเติม »

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค

การ์ตูนเน็ตเวิร์ค เป็นช่องสถานีโทรทัศน์เคเบิลของสหรัฐอเมริกา ภายใต้การบริหารของเทิร์นเนอร์บรอดแคสติง ซึ่งแพร่ภาพการ์ตูนแอนิเมชันเป็นหลัก การ์ตูนเน็ตเวิร์คเริ่มต้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการ์ตูนเน็ตเวิร์ค · ดูเพิ่มเติม »

การ์นิเย่

การ์นิเย่ (Garnier) อยู่ในเครือของบริษัท ลอรีอัล อินเตอร์เนชันแนล ประเทศฝรั่งเศส สำหรับในประเทศไทย บริษัท ลอรีอัล (ประเทศไทย) จำกัด ได้นำเข้าและเป็นตัวแทนจำหน่ายภายใต้แบรนด์ การ์นิเย่ เปิดตัวเป็นครั้งแรกเมื่อปี 2542 ในตลาดสินค้าอุปโภคบริโภคมีส่วนแบ่งทางการตลาดอยู่ที่ 7.7% (ข้อมูลเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2550).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการ์นิเย่ · ดูเพิ่มเติม »

การใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล

ตัวอย่างราคาน้ำมันจากประเทศเยอรมนีเมื่อปี พ.ศ. 2550 ราคาอยู่ที่ 1.319 €/L.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการใช้และการตั้งราคาแก๊สโซลีนและน้ำมันดีเซล · ดูเพิ่มเติม »

การเยือนต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ประเทศที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จเยือน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จเยือนประเทศต่าง ๆ หลายประเทศ ประเทศแรกที่เสด็จอย่างเป็นทางการ คือ สาธารณรัฐเวียดนาม ระหว่างวันที่ 18–21 ธันวาคม 2502 และประเทศสุดท้าย คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหว่างวันที่ 8–9 เมษายน 2537 การเสด็จเยือนต่างประเทศครั้งใหญ่ คือ การเสด็จพระราชดำเนินสหรัฐอเมริกาและประเทศในยุโรปรวม 14 ประเทศกับ 1 รัฐ ระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน ถึง 18 พฤศจิกายน 2503.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการเยือนต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์

250px 250px การเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ (royal intermarriage) คือการแต่งงานระหว่างสมาชิกของราชวงศ์ผู้ปกครองสองราชวงศ์ ซึ่งในอดีตถือเป็นยุทโธบายทางการทูตที่ใช้กันโดยทั่วไปเพื่อผลประโยชน์ของชาติ ในบางครั้งการเสกสมรสนี้เกิดขึ้นด้วยการบังคับใช้กระบวนการทางกฎหมายต่อบุคคลผู้สืบเชื้อสายราชวงศ์ และในหลาย ๆ ครั้งเกี่ยวข้องกับนโยบายทางการเมืองและ/หรือขนบธรรมเนียมของระบอบราชาธิปไตยเสียเป็นส่วนใหญ่ ในทวีปยุโรป การเสกสมรสในลักษณะนี้เป็นที่แพร่หลายอย่างมาก โดยเฉพาะในช่วงตั้งแต่สมัยกลางจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ในขณะที่หลักฐานของการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก สามารถสืบค้นย้อนไปได้ไกลที่สุดถึงยุคสัมฤทธิ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่พระมหากษัตริย์ในอดีตมักจะพยายามแผ่ขยายราชวงศ์ของพระองค์ออกไปทั้งในและนอกประเทศ ดังนั้นสายสัมพันธ์ทางเครือญาติซึ่งเกิดจากการเสกสมรสนี้ จึงเป็นปัจจัยที่ช่วยทั้งกระตุ้นและยับยั้งความขัดแย้งและการรุกรานระหว่างรัฐBucholz, p.228 ทั้งยังช่วยริเริ่ม ส่งเสริม และรับประกันสันติภาพระหว่างรัฐได้อีกด้วย นอกจากนี้สายสัมพันธ์ทางเครือญาติจากการเสกสมรสยังสามารถรักษามิตรไมตรีของสองราชวงศ์ ที่ต่างพยายามหลีกเลี่ยงภัยคุกคามจากการรุกรานและความขัดแย้งอันมีชนวนเหตุมาจากการยุยงของราชวงศ์ที่สาม พร้อมเสริมสร้างโอกาสที่จะผนวกรวมดินแดนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของตนจากการอ้างสิทธิ์ทางกฎหมายเหนือราชบัลลังก์ หรือแม้กระทั่งการอ้างสิทธิ์เหนือส่วนหนึ่งของรัฐ เช่น อาณานิคม ผ่านการรับช่วงสืบทอดอำนาจการปกครองในกรณีที่รัฐนั้นเกิดปัญหาไร้รัชทายาทสืบทอดราชบัลลังก์ หรือในกรณีที่พระมหากษัตริย์องค์ก่อนหน้าไม่มีรัชทายาทเพศชายไว้สืบทอดราชสมบัติโดยปราศจากข้อกังขาได้ ในบางส่วนของทวีปยุโรป ราชวงศ์ต่าง ๆ ยังคงนิยมเสกสมรสระหว่างกันเป็นปกติ (สมาชิกราชวงศ์เสกสมรสกับตระกูลขุนนางต่าง ๆ ภายในรัฐ) ไปจนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 16 และนับแต่นั้นเป็นต้นมา จึงเริ่มหันมานิยมการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ของรัฐอธิปไตยต่าง ๆ มากขึ้น แต่ในส่วนอื่น ๆ ของโลก การเสกสมรสเช่นนี้กลับได้รับความนิยมน้อยกว่ามากและเริ่มลดจำนวนลงตามกาลเวลาที่ผ่านไป หรือแปรเปลี่ยนไปตามขนบธรรมเนียมและนโยบายการต่างประเทศในขณะนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการเสกสมรสระหว่างราชวงศ์ · ดูเพิ่มเติม »

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูหนาว 2014

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 และพาราลิมปิกฤดูหนาว 2014 เป็นการเสนอตัวและคัดเลือกเจ้าภาพสำหรับการแข่งขันโอลิมปิกฤดูหนาว ครั้งที่ 22 และการแข่งขันพาราลิมปิกฤดูหนาว ครั้งที่ 11 โดยจะทำการคัดเลือก 3 เมืองที่ขอรับเป็นเจ้าภาพ ในวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2549 เพื่อเข้าไปตัดสินคัดเลือกหาเจ้าภาพในรอบสุดท้าย ที่การประชุมคณะกรรมการโอลิมปิกสากล สมัยที่ 119 ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ที่กรุงกัวเตมาลาซิตี ประเทศกัวเตมาลา โดย 3 เมืองสุดท้ายที่ได้รับคัดเลือกเพื่อไปตัดสินในรอบสุดท้าย ได้แก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 · ดูเพิ่มเติม »

กิลเบิร์ต คูมสัน

กิลเบิร์ต คูมสัน (Gilbert Koomson) เกิดวันที่ 9 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกิลเบิร์ต คูมสัน · ดูเพิ่มเติม »

กูเกิล

กูเกิล (Google Inc.) (และ) เป็นบริษัทมหาชนอเมริกัน มีรายได้หลักจากการโฆษณาออนไลน์ที่ปรากฏในเสิร์ชเอนจินของกูเกิล อีเมล แผนที่ออนไลน์ ซอฟต์แวร์จัดการด้านสำนักงาน เครือข่ายออนไลน์ และวิดีโอออนไลน์ รวมถึงการขายอุปกรณ์ช่วยในการค้นหา กูเกิลสำนักงานใหญ่ที่รู้จักในชื่อกูเกิลเพล็กซ์ตั้งอยู่ที่เมืองเมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยมีพนักงาน 16,805 คน (31 ธันวาคม 2550) โดยกูเกิลเป็นบริษัทอเมริกันที่ใหญ่ที่สุดที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของดัชนีดาวโจนส์ (ข้อมูล 31 ตุลาคม พ.ศ. 2550) กูเกิลก่อตั้งโดย แลร์รี เพจ และ เซอร์เกย์ บริน ขณะที่ทั้งคู่กำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ซึ่งภายหลังทั้งคู่ได้ก่อตั้งบริษัทเมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2541 ในโรงจอดรถของเพื่อนที่ เมืองเมนโลพาร์ก ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และมีการเสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรก เมื่อ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2547 เพิ่มมูลค่าของบริษัท 1.67 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และหลังจากนั้นทางกูเกิลได้มีการขยายตัวตลอดเวลาจากการพัฒนาซอฟต์แวร์ใหม่และการซื้อกิจการอื่นรวมเข้ามา เช่น กูเกิล ดีปไมด์ รวมถึงก่อตั้งบริษัทลูกอย่างกูเกิล เอกซ์กูเกิลได้ถูกจัดอันดับให้เป็นบริษัทที่น่าทำงานมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาโดยนิตยสารฟอร์จูน"." นิตยสารฟอร์จูน 22 มกราคม พ.ศ. 2550 เรียกข้อมูลวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2551 ซึ่งมีคติพจน์ประจำบริษัทคือ Don't be evil อย่างไรก็ตามทางบริษัทได้รับการวิพากษ์วิจารณ์ในด้านการละเมิดข้อมูลส่วนตัว การละเมิดลิขสิทธิ์ และการเซ็นเซอร์ในหลายส่วน วันที่ 10 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกูเกิล · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาพาราลิมปิก

กีฬาพาราลิมปิก (Paralympic Games) เป็นการแข่งขันกีฬาสำหรับคนพิการหลายประเภทจากทั่วโลก โดยอยู่ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการพาราลิมปิกสากล (International Paralympic Committee; IPC) โดยในปัจจุบัน กีฬาพาราลิมปิกจะจัดขึ้น หลังจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสิ้นสุดลง และประเทศเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิกครั้งนั้น ก็จะเป็นเจ้าภาพจัดแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกีฬาพาราลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาโอลิมปิก

กีฬาโอลิมปิก (อังกฤษ: Olympic Games, ฝรั่งเศส: les Jeux olympiques, JO) หรือโอลิมปิกส์ (อังกฤษ: Olympics) สมัยใหม่ เป็นการแข่งขันระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งกีฬาฤดูร้อนและฤดูหนาว โดยมีนักกีฬาหลายพันคนเข้าร่วมการแข่งขันหลายชนิดกีฬา กีฬาโอลิมปิกถูกมองว่าเป็นการแข่งขันกีฬาที่สำคัญที่สุดของโลก โดยมีประเทศเข้าร่วมกว่า 200 ประเทศ ปัจจุบัน กีฬาโอลิมปิกจัดขึ้นทุกสองปี ผลัดกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อนกับโอลิมปิกฤดูหนาว หมายความว่า โอลิมปิกฤดูร้อนและโอลิมปิกฤดูหนาวจะจัดห่างกันสี่ปี การสร้างสรรค์กีฬาโอลิมปิกได้รับแรงบันดาลใจจากกีฬาโอลิมปิกโบราณ ซึ่งจัดขึ้นในโอลิมเปีย กรีซ จากศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 บารอน ปีแยร์ เดอ กูแบร์แต็ง ก่อตั้งคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (ไอโอซี) ใน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และกีฬาโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก

รณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก เกิดที่ ฉะเชิงเทรา เป็นนางสาวไทย พ.ศ. 2531 ได้เป็นตัวแทนสาวไทยเข้าร่วมประกวดนางงามจักรวาล 1988 ที่ ไต้หวัน และได้เป็นนางงามจักรวาล คนที่ 2 ของราชอาณาจักรไทย และ คนสุดท้ายในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นอกจากนั้น เธอยังดำรงตำแหน่ง ผู้แทนองค์การสหประชาชาติสำหรับโครงการช่วยเหลือเด็กและสตรีในระดับนานาชาติ และเป็นประธานตั้งมูลนิธิช่วยเหลือเด็กอีกหลายแห่ง นอกเหนือจากการเป็นนางแบบ นักร้อง นักแสดงกิตติมศักดิ์ และนักธุรกิจที่ประสบความสำเร็.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก · ดูเพิ่มเติม »

ภาพยนตร์ชีวประวัติ

นตร์ชีวประวัติ (Biographical film หรือเรียกอย่างสั้นว่า biopic) เป็นภาพยนตร์ประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมสูง ที่เล่าเรื่องชีวิตของคน มักมีโครงสร้างที่ค่อนข้างตายตัว คือเล่าตั้งแต่เกิดจนตายโดยเน้นช่วงสำคัญในชีวิตคนแต่ละประเภทแตกต่างกัน หากเป็นศิลปิน อาจเล่าถึงแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน หากเป็นกีฬา หนังอาจถ่ายทอดความกดดันในเกมแข่งขัน หรือหากเป็นนักรบ หนังก็อาจเล่าถึงช่วงเวลาที่ถือเป็นความพ่ายแพ้ที่สุดในชีวิต ภาพยนตร์ชีวประวัติที่มีชื่อเสียงเช่น Edvard Munch (พ.ศ. 2537) เล่าชีวิตของ เอ็ดเวิร์ด มุงค์ ศิลปินชาวนอร์เวย์, American Spendor (พ.ศ. 2546) เล่าชีวิตของ ฮาร์วีย์ เพ็กการ์ นักวาดการ์ตูน, La Vie en Rose (พ.ศ. 2550) เล่าชีวิตของ อีดิธ เพียฟ นักร้องชื่อดังชาวฝรั่งเศส, Nightwatching (พ.ศ. 2550) เล่าเรื่องของจิตรกรชาวเนเธอร์แลนด์ แรมบรัง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และภาพยนตร์ชีวประวัติ · ดูเพิ่มเติม »

ภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ

ระเบียงภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ แสดงตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ ที่มีในรายชื่อประเท.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และภาพตราแผ่นดินของประเทศต่าง ๆ · ดูเพิ่มเติม »

ภาวะเหล็กเกิน

วะเหล็กเกิน หรือ ฮีโมโครมาโตซิส (Iron overload, hemochromatosis, haemochromatosis) หมายถึงการสะสมธาตุเหล็กในร่างกายเกินด้วยเหตุอะไรก็ได้ เหตุสำคัญ ๆ ก็คือเหตุทางพันธุกรรม (hereditary haemochromatosis, HHC) และเหตุการถ่ายเลือด (transfusion hemosiderosis) เพราะถ่ายเลือดซ้ำ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และภาวะเหล็กเกิน · ดูเพิ่มเติม »

ภาษา Sami

ษา Sami เป็นกลุ่มภาษาในตระกูลภาษายูรัล พูดโดยชาว Sami ในทางตอนเหนือของยุโรป (ในทางตอนเหนือของ ฟินแลนด์, นอร์เวย์, รัสเซีย, และสวีเดน).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และภาษา Sami · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาฟินแลนด์

ษาฟินแลนด์ เป็นภาษาที่พูดโดยประชากรส่วนใหญ่ของฟินแลนด์ (เป็นภาษาแม่ถึง 92%) รวมถึงชาวฟินน์ที่อาศัยนอกฟินแลนด์ด้วย เป็นภาษาทางการในฟินแลนด์และภาษาชนกลุ่มน้อยในสวีเดน ทั้งในรูปแบบมาตรฐานและ ภาษาเมแอนเคียลิ (Meänkieli) และในนอร์เวย์ในรูปของภาษาคเวน ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษากลุ่มฟินโน-ยูกริก และจัดเป็นภาษาติดต่อคำ (agglutinative language) ภาษาฟินแลนด์แปลงรูปของคำนาม คำวิเศษณ์, คำสรรพนาม, คำเลข, คำกริยา ตามบทบาทในประโยค ภาษาฟินแลนด์เป็นภาษาที่แตกจากภาษาอื่น ๆ โดยทั่วไปในยุโรปมาก จุดเด่นของภาษาตระกูลฟินโน-อูกริกคือ เป็นภาษาที่ไม่มีคำบุพบท แต่จะใช้วิธีการผันคำแทน การเขียนภาษาฟินแลนด์ ใช้ตัวอักษรละตินซึ่งประกอบด้วย29ดังนี้ A-อา B-เบ C-เซ D-เด E-เอ F-แอฟ G-เก H-โฮ I-อี J-ยี K-โก L-แอล M-แอม N-แอน O-โอ P-เป Q-กู R-แอรฺ S-แอส T-เต U-อู V-เว W-กักโชยส์-เว (Kaksois-Vee) X-แอกซ์ Y-อวี Z-เซตตา Å-โอของสวีเดน (Ruotsin-Oo) Ä-แอ Ö-เออวฺ โดยที่ตัว C Q W X Z และ Å ใช้ในคำที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศเท่านั้น การสะกดคำของภาษาฟินแลนด์เป็นลักษณะการเขียนตามเสียงที่อ่านเหมือนภาษามาเลเซีย ภาษาอินโดนีเซียและภาษาเวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และภาษาฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษานอร์เวย์

ภาษานอร์เวย์ เป็นภาษาในกลุ่มเจอร์แมนิก เป็นภาษาราชการของประเทศนอร์เวย์ และมีความใกล้ชิดกับภาษาสวีเดนและเดนมาร์ก ภาษานอร์เวย์มีรูปแบบการเขียน 2 แบบ คือ ภาษาบุ๊กมอล (Bokmål) (หมายถึง "ภาษาหนังสือ") และ ภาษานือนอชก์ (Nynorsk) (หมายถึง "ภาษานอร์เวย์ใหม่") หมวดหมู่:สแกนดิเนเวีย หมวดหมู่:ภาษาในประเทศนอร์เวย์.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และภาษานอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ

ษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ (a language is a dialect with an army and a navy) เป็นสำนวนหนึ่งVictor H. Mair, The Columbia History of Chinese Literature, p. 24: "It has often been facetiously remarked...

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และภาษาเป็นภาษาถิ่นได้เมื่อมีกองทัพ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ยุโรป

ูมิศาสตร์ยุโรป (Geography of Europe) คือลักษณะภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของทวีปยุโรปซึ่งเป็น 1 ใน 7 ทวีปบนโลกและเป็นคาบสมุทรตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชียโดยการแบ่งปวีปยุโรปกับทวีปเอเชียทางตะวันออกนั้นจะใช้เทือกเขายูรัลในประเทศรัสเซียในการแบ่งเขตส่วนในตะวันออกเฉียงใต้นั้นยังไม่มีการกำหนดอย่างแน่ชัดแต่ส่วนมากจะใช้แม่น้ำยูรัล, แม่น้ำเอ็มบาและทะเลดำในการแบ่งเขต โดยจุดสิ้นสุดของทวีปเอเชียคือช่องแคบบอสพอรัสในประเทศตุรกี ส่วนการแบ่งเขตของทวีปยุโรปกับทวีปแอฟริกานั้นจะใช้ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนโดยจุดที่ทวีปยุโรปใกล้กับทวีปแอฟริกามากที่สุดคือช่องแคบยิบรอลตาร์โดยมีความห่างกันเพียง 14.3 กิโลเมตรหรือ 8.9 ไมล์ ส่วนพรมแดนทางตะวันออกนั้นจะมีเทือกเขากลางสมุทรไอซ์แลนด์เป็นตัวแบ่งอาณาเขตระหว่างยุโรปกับอเมริกาเหนือ ส่วนประเทศไอซ์แลนด์ที่อยู่กึ่งกลางระหว่างอเมริกาเหนือกับยุโรปนั้นถือว่าอยู่ในทวีปยุโรปเพราะเหตุผลด้านวัฒนธรรมและมีพื้นที่ใกล้กับแผ่นดินใหญ่ของทวีปยุโรปมากกว่าแผ่นดินใหญ่ของทวีปอเมริกาเหนือถึง 2 เท่า นี้คือภาพถ่ายจากสถานนีอวกาศแห่งชาติโดยใช้กล้อง2ตัวโดยทางซ้ายมองไปทางเหนือและทางขวามองมาทางตรง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และภูมิศาสตร์ยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาโทรเกโฮเทน

ูเขาโทรเกโฮเทน (Torghatten) เป็นภูเขาหินแกรนิตบนเกาะทอร์เก็ตในเบรนเนอี เทศมณฑลนอร์ลันด์ ประเทศนอร์เวย์ ภูเขานี้มีลักษณะเด่นคือรูหรืออุโมงค์ธรรมชาติบริเวณกลางเขาและสามารถเดินเข้าไปอุโมงค์ตามเส้นทางที่จัดเตรียมไวให้ได้ เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และภูเขาโทรเกโฮเทน · ดูเพิ่มเติม »

ภีรนีย์ คงไทย

ีรนีย์ คงไทย ชื่อเล่น แมท (เกิด 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2532) เป็นนักแสดงลูกครึ่งไทย-นอร์เวย์ โดยบิดาเป็นชาวนอร์เวย์ มารดาเป็นชาวไทย เดิมใช้นามสกุล วงศ์ดารา มีชื่อเสียงจากผลงานการแสดงทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และภีรนีย์ คงไทย · ดูเพิ่มเติม »

มกุฎสาธารณรัฐ

มกุฎสาธารณรัฐ คือรูปแบบของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ซึ่งบทบาทของพระมหากษัตริย์เป็นในทางพิธีการ และพระราชอำนาจทุกอย่างถูกจำกัดโดยขนบธรรมเนียมและโดยกฎหมายในลักษณะที่พระองค์มีพระราชวินิจฉัยเหนือประเด็นทางการเมืองและกฎหมายเพียงเล็กน้อยหรืออาจไม่มีเลยก็ได้ โดยวาทกรรมนี้ถูกใช้อธิบายการปกครองในหลายรัฐ เช่น ราชอาณาจักรนอร์เวย์ หรือบางประเทศในอาณาจักรในเครือจักรภพ วาทกรรมนี้ยังสามารถใช้หมายถึงประเทศที่ปกครองแบบราชาธิปไตยอย่างเป็นทางการ แต่ประชาชนถือสิทธิ์ในการปกครองด้วยความเป็นพลเมืองเหนือประเด็นต่างๆ ของชาติ ซึ่งอาจจะถูกนำไปใช้กับประเทศราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ซึ่งพระประมุขมีพระราชอำนาจส่วนพระองค์ต่อการเมืองเพียงเล็กน้อย หรือไม่ว่าพระราชอำนาจตกเป็นของหน่วยงานรัฐก็ตาม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมกุฎสาธารณรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 1 ใน 5 แห่งแรกในประเทศไทยถูกสถาปนาขึ้นพร้อมกับ วิทยาลัยเกริก วิทยาลัยไทยสุริยะ วิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ และวิทยาลัยพัฒนา เริ่มแรกนั้นได้รับการก่อตั้งในชื่อ “วิทยาลัยไทยเทคนิค” เมื่อปี พ.ศ. 2505 ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น “วิทยาลัยกรุงเทพ” และได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น “มหาวิทยาลัยกรุงเทพ” เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2527 ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมหาวิทยาลัยกรุงเทพ · ดูเพิ่มเติม »

มหาสมุทรแอตแลนติก

มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) เป็นมหาสมุทรที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของโลก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 1 ใน 5 ของพื้นผิวโลก ชื่อของมหาสมุทรมาจากนิยายปรัมปรากรีก หมายถึง "ทะเลของแอตลาส" มหาสมุทรแอตแลนติกเป็นแอ่งที่มีรูปร่างเหมือนตัวเอส (S) ติดกับทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ทางตะวันตก ส่วนทางตะวันออกติดกับ ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา ปัจจุบันมีการแบ่งมหาสมุทรแอตแลนติกเป็น 2 ส่วน คือ แอตแลนติกเหนือและแอตแลนติกใต้ โดยใช้บริเวณที่เกิดการเปลี่ยนทิศของกระแสน้ำที่ละติจูด 8° เหนือเป็นแนวแบ่ง มหาสมุทรแอตแลนติกเชื่อมกับมหาสมุทรแปซิฟิกทางมหาสมุทรอาร์กติกซึ่งอยู่ทางเหนือ ส่วนทางใต้เชื่อมทางช่องแคบเดรก จุดเชื่อมต่ออีกแห่งหนึ่งที่สร้างขึ้นโดยมนุษย์ คือ คลองปานามา เส้นแบ่งระหว่างมหาสมุทรแอตแลนติกกับมหาสมุทรอินเดีย คือ เส้นเมริเดียน 20° ตะวันออก และแยกจากมหาสมุทรอาร์กติกด้วยเส้นที่ลากจากกรีนแลนด์ ผ่านตอนใต้สุดของสฟาลบาร์ (Svalbard) ไปยังตอนเหนือของนอร์เวย์ มหาสมุทรแอตแลนติกมีพื้นน้ำประมาณ 106,460,000 ตารางกิโลเมตร ปริมาตรของมหาสมุทรเมื่อรวมทะเลที่อยู่ติดกันมีค่า 310,410,900 ลูกบาศก์กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 3,646 เมตร จุดที่ลึกที่สุดคือปวยร์โตรีโกเทรนช์มีความลึก 8,486 เมตร (27,840 ฟุต).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมหาสมุทรแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

มอร์เตน กัมส์ท พีเดอร์เซ่น

มอร์เตน กัมส์ท พีเดอร์เซ่น (Morten Gamst Pedersen) เกิดเมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1981 นักฟุตบอลชาวนอร์เวย์-ซามิ ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลแบล็กเบิร์นโรเวิร์ส ในพรีเมียร์ลีก และฟุตบอลทีมชาตินอร์เวย์ หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวนอร์เวย์ หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลแบล็กเบิร์นโรเวอส์ หมวดหมู่:ผู้เล่นในพรีเมียร์ลีก หมวดหมู่:ปีกฟุตบอล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมอร์เตน กัมส์ท พีเดอร์เซ่น · ดูเพิ่มเติม »

มามเมะ

มามเมะ (Maamme) หรือโวร์ตลันด์ (Vårt land) เป็นชื่อของเพลงชาติโดยพฤตินัยของประเทศฟินแลนด์ ชื่อเพลงมีความหมายว่า "ประเทศของเรา" ประพันธ์ดนตรีโดยผู้อพยพชาวเยอรมัน ฟรีดิก ปาซิอุส และเนื้อร้องภาษาสวีเดนโดยชาวฟินแลนด์ที่ใช้ภาษาสวีเดน โยฮัน ลุดวิก รุเนเบิร์ก แสดงครั้งแรกวันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2391 เนื้อร้องภาษาฟินแลนด์ที่ใช้ในปัจจุบัน แปลจากภาษาสวีเดนโดยปาโว กายันเดร์ ในปีพ.ศ. 2432 เนื้อร้องของเพลงนั้น มาจากบทแรกของบทกวีภาษาสวีเดนเรื่อง "Fänrik Ståls sägner" โดยบทกวีเรื่องนี้แพร่กระจายไปทั่วสแกนดิเนเวีย ก่อนการประกาศเอกราชของฟินแลนด์ ทำนองเพลงของปาซิอุสและเนื้อเพลงของรุเนเบิร์กนั้น ได้ถูกนำมาร้องในเดนมาร์ก นอร์เวย์ และสวีเดนด้วย สังเกตว่าในฉบับภาษาสวีเดนนั้น ไม่มีการเอ่ยถึงประเทศฟินแลนด์ เพียงแค่ประเทศทางเหนือเท่านั้น แต่ในฉบับภาษาฟินแลนด์มีการเอ่ยถึงประเทศฟินแลนด์อย่างชัดเจน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมามเมะ · ดูเพิ่มเติม »

มาริอุส บอร์ก เฮออิบี

มาริอุส บอร์ก เฮออิบี (Marius Borg Høiby, เกิด 13 มกราคม 2540) เป็นพระโอรสในเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ ที่เกิดกับมอร์เทิน บอร์ก อดีตเพื่อนชายคนสนิท ปัจจุบันมาริอุสได้เป็นพระโอรสบุญธรรมของเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมาริอุส บอร์ก เฮออิบี · ดูเพิ่มเติม »

มาริต ลาร์เซน

มาริต เอลิซาเบท ลาร์เซน (Marit Elisabeth Larsen) หรือ มาริต ลาร์เซน (Marit Larsen) เป็นนักร้องแนวป๊อป, โฟล์คและ อคูสติค ชาวนอร์เวย์ เป็นหนึ่งในอดีตสมาชิกวง M2M วงดูโอที่มีเพื่อนร่วมวงอีกหนึ่งคน คือ Marion Raven ปัจจุบันเธอเป็นนักร้องในสังกัด EMI และ Sony Music นอกจากจะเป็นนักร้องแล้ว เธอยังมีความสามารถทางด้านดนตรีหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการ แต่งเพลง ร้องเพลง และสามารถเล่นดนตรีได้หลายชนิด เช่น กีตาร์, เปียโน, แมนโดลิน, ฮาร์โมนิกา เป็นต้น หลังจากที่ M2M ได้ประกาศแยกวงอย่างเป็นทางการแล้ว มาริต ลาร์เซน ได้ออกอัลบั้มเดี่ยวไปแล้ว 3 อัลบั้ม แนวโฟล์ค-ป๊อป ซึ่งอัลบั้มทั้งสาม ถือว่าประสบความสำเร็จและได้รับการตอบรับอย่างดี จากประเทศแถบสแกนดิเนเวีย สำหรับซิงเกิ้ลที่ประสบความสำเร็จของเธอที่สุดนั้น คือ เพลง If a Song Could Get Me You ซึ่งประสบความสำเร็จทางด้านชาร์ตเพลงทั่วยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมาริต ลาร์เซน · ดูเพิ่มเติม »

มารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงมารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล(ภาษาเยอรมัน:Marie Sophie Friederike von Hessen-Kassel,28 ตุลาคม พ.ศ. 2310 - 22 มีนาคม พ.ศ. 2395) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ และทรงดำรงพระอิศริยยศเป็น ผู้สำเร็จราชการแห่งเดนมาร์กในระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมารี โซฟีแห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

มาร์คัส แรชฟอร์ด

มาร์คัส แรชฟอร์ด (Marcus Rashford) เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมาร์คัส แรชฟอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

มิชชั่น:อิมพอสซิเบิ้ล ฟอลล์เอาท์

มิชชั่น:อิมพอสซิเบิ้ล ฟอลล์เอาท์ (Mission: Impossible – Fallout) เป็นภาพยนตร์โลดโผน/สายลับลำดับที่ 6 ในชุด มิชชั่น:อิมพอสซิเบิ้ล กำกับ เขียนและร่วมอำนวยการสร้างโดยคริสโตเฟอร์ แมคควอร์รี นำแสดงโดยทอม ครูซ, รีเบกกา เฟอร์กูสัน, ไซมอน เพกก์, วิง เรมส์, อเล็ก บอลด์วิน, ฌอน แฮร์ริส, เฮนรี แควิลล์และแองเจลา แบสเซตต์ ภาพยนตร์มีกำหนดเข้าฉายในสหรัฐอเมริกา วันที่ 27 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมิชชั่น:อิมพอสซิเบิ้ล ฟอลล์เอาท์ · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 (Miss Grand International 2013.) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนลครั้งที่ 1 กำหนดจัดประกวดรอบตัดสินในวันที่ 19 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2013 · ดูเพิ่มเติม »

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017

มิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 (Miss Grand International 2017) เป็นการประกวดมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล ครั้งที่ 5 ซึ่งการประกวดรอบสุดท้ายกำหนดจัดขึ้นในวันที่ 25 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมิสแกรนด์อินเตอร์เนชันแนล 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มิสไซง่อน

มิสไซง่อน (Miss Saigon) เป็นละครเพลง ซึ่งประพันธ์ดนตรีโดยคลอดด์-มิเชล โชนเบิร์ก (Claude-Michel Schönberg) คำร้องโดยอัลเลง บูบลิล (Alain Boublil) และริชาร์ด มอลต์บี จูเนียร์ (Richard Maltby, Jr.) โดยนำเค้าโครงเรื่องมาจากอุปรากรของจาโกโม ปุชชีนี (Giacomo Puccini) เรื่องมาดามบัตเตอร์ฟลาย (Madame Butterfly) ซึ่งทั้ง "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" และ "มิสไซง่อน" ได้ถ่ายทอดเรื่องราวโศกนาฏกรรมความรักของหญิงชาวเอเชียที่ถูกชายชาวอเมริกันทอดทิ้ง ในขณะที่เนื้อเรื่องเดิมของ "มาดามบัตเตอร์ฟลาย" เป็นเรื่องราวความรักของหญิงสาวเกอิชาชาวญี่ปุ่นและนายทหารเรือชาวอเมริกันในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1900 ซึ่งเป็นช่วงที่ญี่ปุ่นเพิ่งเริ่มเปิดประเทศ "มิสไซง่อน" เป็นเรื่องราวความรักของหญิงสาวชาวเวียดนามที่ทำงานในสถานบริการ และนายทหารชาวอเมริกันที่เข้าไปประจำการในเมืองไซง่อน (ปัจจุบันคือ นครโฮจิมินห์) ประเทศเวียดนาม ระหว่างสงครามเวียดนาม ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 มิสไซง่อนรอบปฐมทัศน์แสดงที่โรงละครเธียร์เตอร์รอยัล ถนนดรูรี่ (Theatre Royal, Drury Lane) กรุงลอนดอน เมื่อวันที่ 20 กันยายน ค.ศ. 1989 และแสดงรอบสุดท้ายเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1999 รวมทั้งหมด 4,264 รอบ แต่ยังเปิดการแสดงที่โรงละครบรอดเวย์ (The Broadway Theatre) สหรัฐอเมริกา เมื่อค.ศ. 1991 และเปิดการแสดงตามเมืองใหญ่ ๆ ทั่วโลก มิสไซง่อนได้กลับมาเปิดทำการแสดงอีกครั้งในเดือนพฤษภาคม ณ โรงละครปรินส์เอ็ดวาร์ด กรุงลอนดอน และได้สร้างสถิติใหม่เป็นละครที่สร้างรายได้มากที่สุดจากการเปิดจำหน่ายบัตรในวันแรก โดยทำรายได้ไปมากกว่าสี่ล้านปอนด์หรือกว่าหนึ่งร้อยเก้าสิบล้านบาทภายในวันเดียว มิสไซง่อน ถือเป็นละครเพลงของโชนเบิร์กและบูบลิลที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดเป็นอันดับสอง รองจากเลมีเซราบล์ (Les Misérables) ที่เป็นการแสดงในค.ศ. 1980 มิสไซง่อนยังถือเป็นละครบรอดเวย์ที่ดำเนินการแสดงเป็นระยะเวลายาวนานที่สุดเป็นอันดับ 10 ในประวัติศาสตร์ของละครเพลง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมิสไซง่อน · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2016

มิสเวิลด์ 2016 การประกวดมิสเวิลด์ครั้งที่ 66 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมิสเวิลด์ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเวิลด์ 2017

มิสเวิลด์ 2017 ครั้งที่ 67 ของการประกวดมิสเวิลด์ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมิสเวิลด์ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

มิสเอิร์ธ 2016

มิสเอิร์ธ 2016, การประกวดมิสเอิร์ธ ครั้งที่ 16 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมิสเอิร์ธ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

มิเชล วอกอร์ด

มิเชล วอกอร์ด (อังกฤษ: Michele Ronja Waagaard) เป็นนักร้อง และนางแบบชาวนอร์เวย์ ที่มีผลงานในประเทศไทย เป็นที่รู้จักในช่วงแรก จากการถ่ายแบบนิตยสารวัยรุ่น จากนั้นได้เข้ามาเป็นนักร้องภายใต้สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ออกอัลบั้มครั้งแรกจากการเป็นหนึ่งในศิลปินวง "ทีนเอจเกรดเอ" ต่อมาได้ออกอัลบั้มแนวป็อป, แดนซ์ในนาม "วงแจมป์" ภายหลังเธอได้เป็นดีเจ และเป็นที่รู้จักอีกครั้งจากการเป็นนางแบบเดินบนแคทวอล์คและถ่ายแบบแนวเซ็กซี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมิเชล วอกอร์ด · ดูเพิ่มเติม »

มนต์รักเพลงสวรรค์

มนต์รักเพลงสวรรค์ (The Sound of Music) เป็นภาพยนตร์เพลง (Musical) ที่กำกับโดย โรเบิร์ต ไวส์ แสดงนำโดย จูลี่ แอนดรูว์ ออกฉายในปี พ.ศ. 2508 โดยมีเนื้อหาตามละครเพลงบรอดเวย์ The Sound of Music ที่ออกแสดงครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และมนต์รักเพลงสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์

้าหญิงม็อดแห่งเวลส์ (ม็อด ชาร์ล็อต แมรี วิกตอเรีย ต่อมาทรงเป็น สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์; 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2412 - 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481) ทรงเป็นสมาชิกของพระราชวงศ์อังกฤษ โดยเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย และต่อมาทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ พระมเหสีในสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ พระองค์เป็นพระราชินีแห่งประเทศนอร์เวย์พระองค์แรกนับตั้งแต่ พ.ศ. 2405 ที่มิได้ทรงเป็นทั้งพระราชินีแห่งประเทศเดนมาร์กและประเทศสวีเดน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ยอห์น อาร์เน รีเซ่

John Arne Semundseth Riise (วันเกิด 24 กันยายน 1980) เป็นนักฟุตบอลชาวนอร์เวย์ ในตำแหน่งแบ๊กซ้ายและมิดฟิลด์กราบซ้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยอห์น อาร์เน รีเซ่ · ดูเพิ่มเติม »

ยา, วีเอลสเกอร์เดทเทลันเดท

, วีเอลสเกอร์เดทเทลันเดท (Ja, vi elsker dette landet; ใช่แล้ว เรารักแผ่นดินนี้) หรือในชื่อที่เรียกโดยทั่วไปอย่างย่อว่า ยา, วีเอลสเกอร์ (Ja, vi elsker; ใช่แล้ว เรารัก) เป็นชื่อเพลงชาติของประเทศนอร์เวย์ บทร้องเป็นผลงานการประพันธ์ของบียอร์สเตียร์เน มาร์ตินุส บียอร์สัน ในระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยา, วีเอลสเกอร์เดทเทลันเดท · ดูเพิ่มเติม »

ยาส 39

39 กริพเพน (JAS 39 Gripen) (อ่านในภาษาสวีเดนว่า "ยอซ แทร็กตี้นิโยะ กรีเผ่น") เป็นเครื่องบินขับไล่หลากบทบาทที่ผลิตโดยบริษัทซ้าบของประเทศสวีเดน โดยมีกริพเพน อินเตอร์เนชั่นแนล (Gripen International) ทำหน้าที่เป็นองค์กรหลักในการทำสัญญาซึ่งจะรับผิดชอบต่อการตลาด การขาย และการสนับสนุนเครื่องบินขับไล่กริพเพนทั่วโลก ปัจจุบันมันอยู่ในประจำการของกองทัพอากาศสวีเดน กองทัพอากาศเช็ก กองทัพอากาศฮังการี และกองทัพอากาศแอฟริกาใต้ และยังถูกสั่งซื้อโดยกองทัพอากาศไทยอีกด้วย มีกริพเพนทั้งหมด 236 ลำที่ถูกสั่งซื้อในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยาส 39 · ดูเพิ่มเติม »

ยานไมเอน

นไมเอน (นอร์เวย์:Jan Mayen) เป็นเกาะในมหาสมุทรอาร์กติก ระหว่างกรีนแลนด์กับนอร์เวย์ มีความยาว 55 กิโลเมตร เนื้อที่ 373 ตารางกิโลเมตร อยู่ภายใต้การปกครองของประเทศนอร์เวย์ จุดที่สูงที่สุดของยานไมเอนคือภูเขาไฟเบเรนเบร์ก 2277 เมตร ยานไมเอนไม่มีประชากรอยู่อาศัยยกเว้นเจ้าหน้าที่ในศูนย์อุตุนิยมวิทยา มีการอ้างถึงการค้นพบยานไมเอนในประวัติศาสตร์อยู่หลายครั้ง เช่นการค้นพบโดยชาวอังกฤษ เฮนรี ฮัดสัน ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยานไมเอน · ดูเพิ่มเติม »

ยุงงัน

แม่น้ำยุงงัน (Ljungan) เป็นแม่น้ำในประเทศสวีเดนมีความยาว 322 กม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยุงงัน · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง

นแดนทวีปยุโรปภายใต้การยึดครองของเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะ (ในสีน้ำเงิน) ราว ค.ศ. 1942 การยึดครองยุโรปของเยอรมนี หมายถึง ดินแดนส่วนที่อยู่ภายใต้การยึดครองโดยกำลังทหารของนาซีเยอรมนี ในช่วงเวลาที่แตกต่างกันระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ. 1939-1945) บางประเทศเป็นผู้ประกาศสงครามในฐานะฝ่ายสัมพันธมิตร อย่างเช่น สหราชอาณาจักรหรือสหภาพโซเวียต บางส่วนถูกบีบบังคับให้ยอมจำนนหรือถูกปราบปรามก่อนที่จะถูกยึดครองในภายหลัง ในบางกรณี รัฐบาลบางแห่งถูกบีบบังคับให้พลัดถิ่น หรือไม่ก็มีการจัดตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นขึ้นใหม่โดยพลเมืองของประเทศนั้น ๆ บางประเทศซึ่งถูกนาซียึดครองนั้นดำรงตนเป็นกลางอย่างเป็นทางการ ดินแดนที่ถูกยึดครองบางส่วนเคยเป็นอดีตสมาชิกของฝ่ายอักษะ และถูกยึดครองโดยกองกำลังเยอรมันในช่วงปลายของสงคราม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปตะวันตก

แผนที่ยุโรปตะวันตก ยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ติดกับทะเลเหนือ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และ มหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทำให้ดินแดนยุโรปตะวันตกนี้ไม่ห่างจากทะเลมากนัก เป็นผลทำให้มีความชื้นในอากาศสูงและอุณหภูมิหน้าหนาวไม่เย็นจัดเหมือนยุโรปที่อยู่ในภาคพื้นทวีปยุโรปเหนือ ยุโรปตะวันตกมีพื้นที่ประมาณ 36,933,412 ตารางกิโลเมตร ภาษาในภูมิภาคนี้มีมากมายเช่น กลุ่มภาษาโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส ภาษาสเปน ฯลฯ กลุ่มภาษาเยอรมานิค เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษาอังกฤษ ภาษาสวีเดน ฯลฯ และ ภาษากรีก ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ทั้งนิกายโปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิก ความแตกต่างของประเทศในยุโรปตะวันตกกับยุโรปตะวันออกคือระบอบการปกครองและการเมืองช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศที่มักจะกล่าวถึงว่าเป็นประเทศในยุโรปตะวันตก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยุโรปตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

ยุโรปเหนือ

ยุโรปเหนือ ภูมิภาคยุโรปเหนือ ประกอบไปด้วย ดินแดนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย คาบสมุทรจัตแลนด์ และเกาะไอซ์แลนด์ อยู่ประมาณละติจูดที่ 55 องศาเหนือ - 71 องศาเหนือ ประกอบไปด้วยประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ซึ่งได้แก่ประเทศนอร์เวย์ ประเทศสวีเดน ประเทศฟินแลนด์ ประเทศเดนมาร์ก ประเทศไอซ์แลนด์ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวนอร์ดิก ในปีพ.ศ. 2541 มีประชากรทั้งหมด 35,086,982 คน มีพื้นที่ทั้งหมด 1,502,7863 ตารางกิโลเมตร สำหรับภาษาที่ใช้จะเป็นภาษาติวโตนิก ได้แก่ภาษาของพวกสแกนดิเนเวีย (ยุโรปเหนืออาจหมายถึงหมู่เกาะอังกฤษ และบางประเทศที่อยู่ใกล้เคียงก็ได้)เ่รรร หมวดหมู่:ภูมิภาคในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยุโรปเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ

ตราสัญลักษณ์ประจำทัวร์นาเมนต์ ยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ (UEFA Intertoto Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลของสโมสรฟุตบอลต่างๆ ในทวีปยุโรป จัดการแข่งขันโดยสมาคมฟุตบอลยุโรปหรือยูฟ่า เริ่มก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1961 ในอดีตเคยเป็นการแข่งขันฟุตบอลเพื่อคัดเลือกหาทีมเข้าไปแข่งขันในรายการยูฟ่าคัพ โดยทีมที่จะเข้าแข่งขันจะต้องทำการลงทะเบียนสมัครล่วงหน้า ซึ่งต่างจากฟุตบอลรายการอื่นๆของยุโรปที่ถูกจัดแบ่งสัดส่วนไว้อัตโนมัติ หลังเสร็จสิ้นการแข่งขันประจำปี 2008 รายการนี้ได้ถูกสหพันธ์ฟุตบอลยุโรปยุบลง เพื่อไปเป็นส่วนหนึ่งของ ยูฟ่ายูโรปาลีก รอบคัดเลือก หรือยูฟ่าคัพ เดิม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยูฟ่าอินเตอร์โตโตคัพ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าคัพ 2001 นัดชิงชนะเลิศ

ูฟ่าคัพ 2001 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันฟุตบอลระหว่างลิเวอร์พูลของอังกฤษ และ เดปอร์ตีโบอาลาเบสของสเปน เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2001 เพื่อหาผู้ชนะของ ยูฟ่าคัพ ฤดูกาล 2000-01 ณ สนาม เวสท์ฟาเลนชตาดิโยนในเมืองดอร์ทมุนด์ ประเทศเยอรมัน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยูฟ่าคัพ 2001 นัดชิงชนะเลิศ · ดูเพิ่มเติม »

ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2016

ูฟ่าซูเปอร์คัพ 2016เป็นการแข่งขัน ยูฟ่าซูเปอร์คัพ ครั้งที่ 41 โดยทีมที่จะได้แข่งในรายการนี้นั่นจะมาจากแชมป์ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 และ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2015–16 โดยการแข่งขันจะจัดขึ้นในวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ สนามแลร์คันดัลสตาดีโอน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ูโกสลาเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยูโกสลาเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ยูเลียนา มารีอาแห่งบราวน์ชไวก์-โวลเฟ่นบึทเท่ล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์

ัสเชสยูเลียนา มารีอาแห่งบราวน์ชไวก์-โวลเฟ่นบึทเท่ล (4 กันยายน พ.ศ. 2272 - 10 ตุลาคม พ.ศ. 2339) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ ระหว่าง..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และยูเลียนา มารีอาแห่งบราวน์ชไวก์-โวลเฟ่นบึทเท่ล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รอยก์ซอปป์

Röyksopp เป็นคู่ดูโอจากนอร์เวย์,เป็นกลุ่มดนตรีแนวดนตรีอีเลกโทรนิก, ประกอบด้วยสมาชิก Torbjørn Brundtland และ Svein Berge ก่อตั้งในปี 1998 ออกขายอัลบั้มชุดแรก ชื่ออัลบั้ม Melody A.M. ในค่าย Wall of Sound ในปี 2001.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรอยก์ซอปป์ · ดูเพิ่มเติม »

รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล

รอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชั่นแนล เป็นบริษัทเดินเรือสำราญสัญชาติอเมริกัน - นอร์เวย์ บริษัทลูกของรอยัลแคริบเบียนครูส มีสำนักงานอยู่ที่เมืองไมแอมี รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา มีเรือในสังกัดจำนวน 22 ลำ ครองสัดส่วนการตลาดของธุรกิจเดินเรือโดยสารโลก 17 % ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชันแนล · ดูเพิ่มเติม »

ระบบรัฐสภา

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ที่ไม่มีอำนาจในการปกครอง ระบบรัฐสภา เป็นกลไกการปกครอง ที่ฝ่ายบริหารหรือรัฐบาลมีที่มาจากรัฐสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติ และมีความรับผิดชอบต่อสภา ในระบบรัฐสภา ตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ และตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลมักจะแยกออกจากกัน โดยหัวหน้ารัฐบาลเป็นนายกรัฐมนตรี ในขณะที่ประมุขแห่งรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ตามการสืบสันตติวงศ์ หรือประธานาธิบดีจากการเลือกตั้ง ระบบรัฐสภาสมัยใหม่มีต้นกำเนิดในอังกฤษใน ศตวรรษที่17 โดยมีประเทศที่ใช้ระบบสาธารณรัฐระบบรัฐสภาได้แก่ เยอรมนี อิตาลี อินเดีย ออสเตรีย ฮังการี ตุรกี อิรัก อิสราเอล ปากีสถาน สิงคโปร์ ไอร์แลนด์ ไอซ์แลนด์ ฟินแลนด์ กรีซ เซอร์เบีย เช็กเกีย บัลแกเรีย เนปาล บังกลาเทศ เอธิโอเปีย ซูรินาม เป็นต้น ส่วนประเทศที่ใช้ระบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญได้แก่ สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น ไทย กัมพูชา มาเลเซีย สเปน สวีเดน นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมาร์ก แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ลักเซมเบิร์ก ลิกเตนสไตน์ โมนาโก อันดอร์รา เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และระบบรัฐสภา · ดูเพิ่มเติม »

ระบบสภาเดี่ยว

ระบบสภาเดี่ยว (unicameralism) เป็นระบบการปกครองที่มีองค์นิติบัญญัติหรือรัฐสภาแห่งเดียว ประเทศที่ใช้ระบบสภาเดียวส่วนใหญ่เป็นประเทศเล็กและเป็นรัฐที่มีความเป็นหนึ่งเดียวกัน จึงไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องมีสภาสูง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และระบบสภาเดี่ยว · ดูเพิ่มเติม »

ระเบิดพลาสติก

ระเบิดพลาสติก (Plastic explosive หรือ plastique) คือวัตถุระเบิดชนิดพิเศษอย่างหนึ่ง ที่อ่อนนุ่ม ใช้มือกดดัดให้เปลี่ยนรูปได้ ทั้งยังเก็บไว้ในช่วงอุณหภูมิสูงที่กว้างกว่าระเบิดชนิดบริสุทธิ์ ระเบิดพลาสติกนั้นเหมาะเป็นพิเศษกับการระเบิดทำลาย เพราะสามารถขึ้นรูปได้ง่าย สำหรับการตัดโครงสร้างที่แข็งแรง และมีความเร็วสูงพอสำหรับการชุดชนวนและมีความรุนแรงสำหรับการตัดโลหะ แต่จะไม่นิยมใช้ระเบิดพลาสติกสำหรับการทำลายทั่วไป เพราะระเบิดพลาสติกมีราคาแพงกว่าวัตถุระเบิดชนิดอื่นๆ ซึ่งทำงานได้ดีในขอบข่ายงานดังกล่าว นอกจากนี้เมื่อห่อระเบิดไว้ในพลาสติก อานุภาพมักจะต่ำกว่าเมื่อไม่ห่อหุ้ม ระเบิดพลาสติกที่เก่าแก่ที่สุด คือ โนเบล 808 (Nobel 808) ที่พัฒนาขึ้นมาด้วยดีก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 และใช้อย่างแพร่หลายโดยหน่วยปฏิบัติการพิเศษของอังกฤษ ในช่วงสงครามดังกล่าว นอกจากนี้ยังมีใช้โดยบรรจุในระเบิดทำลายรถถังแบบ HESH ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองและหลังจากนั้น มีการพัฒนาระเบิดแบบใหม่ขึ้นมาจำนวนหนึ่ง โดยมีส่วนประกอบเป็น RDX ได้แก่ Composition C, C2 และสุดท้ายก็เป็น C3 การใช้ระเบิดที่มี RDX เป็นส่วนประกอบ สามารถผลิตพลาสติกได้หลากหลาย เพื่อลดความไวในการระเบิด และผลิตพลาสติกเป็นส่วนประกอบ ระเบิดซีทรี (C3) มีประสิทธิภาพสูงก็จริง แต่มีจุดอ่อนเมื่ออยู่ในสภาพอากาศหนาวเย็น จะทำให้เกิดการร่วนแตกง่าย เมื่อถึงทศวรรษ 1960 จึงมีการพัฒนาระเบิดซีโฟร์ (C-4) ขึ้นมา เพื่อใช้แทนระเบิดพลาสติก ซึ่งมีส่วนผสมของอาร์ดีเอกซ์เช่นเดียวกัน แต่ใช้ร่วมกับโพลีไอโซบิวทีลีน (polyisobutylene) และได (2-เอทิลเฮกซีล) ซีเบเคต (di (2-ethylhexyl) sebacate) นอกจากนี้ ในช่วงเวลายังมีการพัฒนา Semtex ขึ้น โดยสตานิสลาฟ เบรเบรา จากการผสมสาร RDX กับ PETN และจากนั้นก็เพิ่มเครื่องห่อหุ้มและอุปกรณ์เพิ่มเสถียรภาพ ระเบิดพลาสติกที่มีใช้ในปัจจุบันด้วยกันหลายแบบ ได้แก่ ซีโฟร์ (C-4), PENO, พรีมาชีต (Primasheet) และ Semtex.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และระเบิดพลาสติก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐร่วมประมุข

ียนฉลองรัฐร่วมประมุขระหว่างโปแลนด์และลิทัวเนียเป็นสหราชอาณาจักรโปแลนด์-ลิทัวเนีย รัฐร่วมประมุข หรือ การรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักร (personal union) เป็นการรวมรัฐอิสระมากกว่าสองรัฐขึ้นไปภายใต้การปกครองของพระมหากษัตริย์องค์เดียวกัน ในขณะที่พรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายของอาณาจักรในกลุ่มยังคงเป็นตัวของตัวเอง สหราชไม่ใช่ “สหพันธรัฐ” (federation) ที่เป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นหลายรัฐที่รวมเข้ามาเป็นรัฐเดียวกันและมีพรมแดน, กฎหมาย และ นโยบายส่วนใหญ่ร่วมกัน หรือ “สหราชวงศ์” (dynastic union) ซึ่งหมายถึงการรวมภายใต้ราชวงศ์เดียวกัน แต่กระนั้นความหมายระหว่าง “สหราช” และ “สหพันธรัฐ” ก็มีความเกี่ยวพันกัน และ “สหราช” มักจะวิวัฒนาการมาเป็น “สหพันธรัฐ” การรวมตัวกันเป็น “สหราช” อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการตั้งแต่การเกิดขึ้นโดยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันเช่นการเสกสมรสระหว่าง “สมเด็จพระราชินีนาถ” (queen regnant) ของราชอาณาจักรหนึ่ง กับ พระมหากษัตริย์ของอีกราชอาณาจักรหนึ่ง ซึ่งทำให้พระราชโอรสของทั้งสองพระองค์ก็จะได้รับราชบังลังก์ของทั้งสองราชอาณาจักร ไปจนถึงการผนวกดินแดน การรวมตัวกันอาจจะเป็นตามบทบัญญัติทางกฎหมาย เช่นการผ่านพระราชบัญญัติในรัฐสภาระบุการรวมตัวกัน หรืออาจจะโดยพฤตินัยซึ่งง่ายต่อการแยกตัวกลับไปเป็นอาณาจักรเดิม เช่นในกรณีที่เกิดขึ้นหลังจากการเสด็จสวรรคตของกษัตริย์ของบรรดาอาณาจักรร่วมที่มีระบบการสืบสันตติวงศ์ที่ต่างกัน “สหราช” ส่วนใหญ่จะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบราชาธิปไตยเท่านั้น และบางครั้งก็จะใช้คำว่า “สหราชาธิปไตย” (dual monarchy) ในการแสดงแสดงว่าเป็นการรวมอาณาจักรของสองราชบัลลังก์ รายการข้างล่างแสดงให้เห็นถึงรายระเอียดของการรวมเป็นสหราชอาณาจักรตลอดมาในประวัติศาสตร์ ยกเว้นแต่ในกรณีของราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญของเครือจักรภพบริติชเช่นออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์ และแคนาดา ซึ่งไม่ใช่การรวมเป็นสหราชอาณาจักรของโลกยุคปัจจุบัน นอกจากนั้นคำว่า “การรวมสหอำนาจ” ยังใช้เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ใช้โดยนาซีเยอรมนีในการรวมตำแหน่งระดับสูงในพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน เครื่องมือทางการเมืองเดียวกันนี้นำมาใช้โดยรัฐบาลอื่นๆ เช่นสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งคล้ายกันกับ “ผู้ได้รับการแต่งตั้ง” (persona designata) ที่เป็นระบบที่เจ้าหน้าที่ทางศาลสามารถแต่งตั้งให้ผู้ไม่มีหน้าที่ทางศาลมีความรับผิดชอบในหน้าที่กึ่งเกี่ยวกับระบบยุติธรรมภายใต้ระบบคอมมอนลอว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรัฐร่วมประมุข · ดูเพิ่มเติม »

รัฐล้มเหลว

รัฐล้มเหลวหรือรัฐล่มสลาย (failed state) หมายถึง รัฐที่ไม่สามารถบริหารการปกครองได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือไม่สามารถดำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยภายใน มีความขัดแย้งทางการเมืองและสังคมอย่างรุนแรง มีการเปลี่ยนรัฐบาลบ่อย รัฐบาลและกลไกรัฐขาดความมั่นคงและประสิทธิภาพ จนไม่สามารถบริหารประเทศและแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้ประสบผลสำเร็จได้ คำว่า Failed State ถูกหยิบยกขึ้นมาใช้หลายครั้งโดยประเทศที่เรียกตัวเองว่า รัฐที่เจริญแล้ว (Enlightened State) เพื่อสร้างความชอบธรรมในการใช้ความรุนแรง โดยอ้างว่าทำไปเพื่อปกป้องประชาชนของรัฐที่ล้มละลาย รัฐอันธพาล (Rogue State) หรือรัฐก่อการร้าย (Terrorist State) โดยวิธีการที่อาจจะผิดกฎหมายแต่ก็มีความชอบธรรม (Illegal but Legitimate).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรัฐล้มเหลว · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รัฐอิสราเอล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรัฐอิสราเอลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และราชรัฐลักเซมเบิร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ราชรัฐลิกเตนสไตน์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และราชรัฐลิกเตนสไตน์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ราชรัฐอันดอร์รา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และราชรัฐอันดอร์ราในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ราชรัฐโมนาโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และราชรัฐโมนาโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก

ราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-กลึคสบวร์ก (Slesvig-Holsten-Sønderborg-Lyksborg, House of Schleswig-Holstein-Sonderburg-Glücksburg) เป็นราชตระกูลจากกลึคสบวร์กทางเหนือสุดของเยอรมนี ที่เป็นสาขาย่อยของราชวงศ์โอลเดินบูร์กที่สืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าคริสเตียนที่ 3 แห่งเดนมาร์ก สมาชิกของตระกูลนี้มาจากดยุคแห่งชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-เบ็ค ผู้สืบเชื้อสายคนสุดท้ายเป็นดยุคแห่งกลึคสบวร์กและเปลี่ยนบรรดาศักดิ์ตามฟรีดิช วิลเฮล์ม ดยุคแห่งชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-กลึคสบวร์ก ฟรีดิช วิลเฮล์มสมรสกับเจ้าหญิงหลุยส์ คาโรไลน์ แห่งเฮสส์-คาสเซิลพระราชธิดาของพระเจ้าคริสเตียนที่ 5 แห่งเดนมาร์ก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และราชวงศ์ชเลสวิจ-ฮ็อลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โอลเดินบูร์ก

ราชวงศ์โอลเดินบูร์ก (House of Oldenburg) เป็นราชตระกูลเยอรมันเหนือและเป็นราชตระกูลที่มีอิทธิพลมากที่ราชตระกูลหนึ่งของยุโรป ราชตระกูลรุ่งเรืองขึ้นมามีความสำคัญเมื่อเคานต์คริสเตียนที่ 1 แห่งโอลเดินบูร์กได้รับเลือกเป็นพระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์กในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และราชวงศ์โอลเดินบูร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์เบอร์นาดอตต์

ราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ เป็นราชวงศ์ปัจจุบันระหว่างปี ค.ศ. 1818 และ ค.ศ. 1905 เป็นการปกครองของสวีเดนและนอร์เวย์ ซึ่งมีกษัตริย์ดังต่อไปนี้ หมวดหมู่:ราชวงศ์สวีเดน หมวดหมู่:ราชวงศ์นอร์เวย์.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

มุมหนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่

นี่คือ รายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ที่ใช้เป็นภาษาแม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อภาษาเรียงตามจำนวนผู้ใช้เป็นภาษาแม่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน

แผนที่แสดงมหาวิทยาลัยในยุโรปยุคกลาง รายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน ในบทความนี้ต้องเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณสมบัติตรงตามนิยามมหาวิทยาลัย ณ วันที่ก่อตั้ง และจะต้องก่อตั้งก่อน พ.ศ. 2043 (ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 หลังสถาปนากรุงศรีอยุธยามาแล้ว 150 ปี) และจะต้องมีการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้หยุดกิจกรรมอย่างสำคัญมาถึงปัจจุบัน เนื่องจากการให้ปริญญาสำหรับการศึกษาขั้นสูงในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาเกิดขึ้นในยุโรปและตะวันออกกลางเป็นส่วนใหญ่ และนิยามมหาวิทยาลัยสมัยใหม่หมายถึงสถานศึกษาที่มีความสามารถในการให้ปริญญา มหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่มีคุณสมบัติตรงนิยามสมัยใหม่ดังกล่าวจึงอยู่ในยุโรปหรือ ตะวันออกใกล้ แต่หากขยายนิยามให้กว้างขึ้นรวมไปถึงมหาวิทยาลัยโบราณที่เดิมไม่ได้มีการให้ปริญญาในขณะนั้นแต่ให้ในปัจจุบันด้วยแล้ว รายชื่อนี้อาจมีมากขึ้นโดยรวมไปถึงสถาบันอื่นๆ ทั้งในยุโรปและส่วนอื่นของโลกอีกหลายมหาวิทยาลัย สุดท้าย แม้ด้วยบทบัญญัติของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในยุโรปก็ยังมีข้อโต้เถียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เกี่ยวกับการกำหนดว่ามหาวิทยาลัยใดกันแน่ที่เป็นมหาวิทยาลัยของแผ่นดินใหญ่ยุโรป มหาวิทยาลัยโบโลญญาที่เกิดก่อน มหาวิทยาลัยปารีสเป็นมหาวิทยาลัยที่ก่อตั้งโดยนักศึกษาที่รวมตัวกันหาครูผู้สอน ในขณะที่มหาวิทยาลัยปารีสก่อตั้งโดยคณะผู้สอนแล้วจึงหานักศึกษามาเรียน บางแห่ง (โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยปารีส) ก็ยังพยามยามอ้างว่าตนเองเริ่มต้นด้วยการเป็นมหาวิทยาลัยแท้มาแต่ต้น แต่ก็ยังเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามหาวิทยาลัยโบโลนาตั้งขึ้นก่อนมหาวิทยาลัยปารีส การศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้พบว่ามีกิจกรรมต่างๆ ในลักษณะของมหาวิทยาลัยได้มีมาแล้วตั้งแต่ พ.ศ. 1621 (ก่อนสถาปนากรุงสุโขทัย 170 ปี) ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยแห่งแรกของยุโรปอาจเป็นมหาวิทยาลัยซาลามังกา (University of Salamanca) ซึ่งเก่าแก่มากกว่าทั้งสองมหาวิทยาลัยที่กล่าวมาแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดที่ยังเปิดสอน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ

มาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ประกอบไปด้วยสมาชิกถาวร 5 ประเทศ และประเทศสมาชิกไม่ถาวร 10 ประเทศ มาจากการเลือก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล

ในหลายสังคมได้มีการห้ามหนังสือบางเล่ม รายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาลที่ปรากฏข้างล่างนี้เป็นเพียงบางส่วนของรายชื่อหนังสือทั้งหมดที่ถูกสั่งห้ามโดยรัฐบาลด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง การห้ามอาจจะเป็นการห้ามระดับชาติหรือระดับรองและบางครั้งอาจจะมีโทษทางกฎหมายถ้าละเมิด นอกจากการห้ามทางกฎหมายแล้วก็อาจจะเป็นการห้ามโดยสถาบันศาสนาโดยการห้ามไม่ให้ผู้นับถือศาสนาอ่านหนังสือที่ห้าม แต่โดยปราศจากโทษทางอาญา แต่บางครั้งการห้ามก็อาจจะได้รับการยกเลิกเมื่อมีการท้าทายกันในศาล และศาลมีคำสั่งให้ยกเลิกการห้ามเพราะเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องตามกฎหม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อหนังสือต้องห้ามโดยรัฐบาล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานอัลบั้มเพลงของเซลีน ดิออน

หน้านี้เป็นรายชื่ออัลบั้มเพลงของเซลีน ดิออน สำหรับรายชื่อซิงเกิลของเซลีน ดิออน ดูบทความที่ ผลงานซิงเกิลของเซลีน ดิออน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อผลงานอัลบั้มเพลงของเซลีน ดิออน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลก

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อผู้ชนะเลิศฮอกกี้น้ำแข็งชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อธงในประเทศนอร์เวย์

ทความนี้ว่าด้วยธงต่างๆ ในประเทศนอร์เวย์โดยสังเขป สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับธงชาติ สามารถศึกษาได้จากบทความธงชาตินอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อธงในประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทุพภิกขภัย

แสดงผู้ประสบกับทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1845 ถึงปี ค.ศ. 1849 รายชื่อทุพภิกขภัยข้างล่างเป็นรายการที่ไม่สมบูรณ์ เป็นรายชื่อของเหตุการณ์ทุพภิกขภัยที่ถือว่าเป็นครั้งสำคัญๆ ที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร์เท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อทุพภิกขภัย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง

รายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง เรียงตามลำดับตอน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อตอนในสารคดี ๑๐๐ ปี ไกลบ้าน ตามเสด็จพระพุทธเจ้าหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง

ปัจจุบันทั่วโลกมีรัฐเอกราชซึ่งเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ่ 196 รัฐ (ทั้งหมดเป็นรัฐสมาชิกสหประชาชาติ ยกเว้นนครรัฐวาติกัน ปาเลสไตน์ และคอซอวอ) และมีรัฐอีก 8 แห่งที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย

ระบบกฎหมายทั่วโลก รายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย ปัจจุบันระบบกฎหมายทั่วโลกอยู่บนพื้นฐานของระบบกฎหมายสำคัญหนึ่งในสามระบบได้แก่ ระบบซีวิลลอว์ ระบบคอมมอนลอว์ และกฎศาสนา หรือผสมกันมากกว่าสองระบบขึ้นไป อย่างไรก็ดีแต่ละประเทศอาจมีระบบกฎหมายที่มีลักษณะจำเพาะไปที่แตกต่างกันไปตามประวัติศาสตร์ของตน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศจำแนกตามระบบกฎหมาย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม

รายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม จากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศตามอัตราการเติบโตของการผลิตภาคอุตสาหกรรม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P)

ประเทศส่วนใหญ่ของโลกมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาที่แตกต่างกัน บางประเทศยังได้เกิดการเปลี่ยนแปลงชื่อด้วยเหตุผลทางการเมืองหรืออื่น ๆ บทความนี้พยายามที่จะให้ทางเลือกชื่อทั้งหมดที่รู้จักกันสำหรับทุกประเทศและรัฐอธิปไต.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศในภาษาต่าง ๆ (J–P) · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปตามจีดีพี (อำนาจซื้อ) ต่อหัว · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามประชากร

้างล่างนี้คือรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามจำนวนประชากรในประเทศของทวีปยุโรป โดยที่ข้อมูลมาจากการสำรวจประชากร รายชื่อประเทศจะพิจารณาจกสมาชิกในสภายุโรป.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศในทวีปยุโรปเรียงตามประชากร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียม

้านล่างนี้ เป็นรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียม ข้อมูลจากปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตอะลูมิเนียม · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแร่เหล็ก

ผลผลิตแร่เหล็กทั่วโลก (พันตัน) ในปี 2013/2015 ด้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแร่เหล็ก ข้อมูลจาก U.S. Geological Survey.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแร่เหล็ก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละประเทศ แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตแอปเปิลของแต่ละภูมิภาค รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตของแอปเปิล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตแอปเปิล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์

แผนที่แสดงจำนวนผลผลิตเฟลด์สปาร์ของแต่ละประเทศ (ข้อมูลจากปี 2011) รายชื่อประเทศเรียงตามการผลิตเฟลด์สปาร์ (ข้อมูลจาก เมื่อปี ค.ศ. 2013)  .

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศเรียงตามผลผลิตเฟลด์สปาร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี พ.ศ. 1543

นี้คือรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากรในปี พ.ศ. 1543 · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย

รายชื่อประเทศ (อย่างสั้น) เรียงตามลำดับตัวอักษรภาษาไท.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อประเทศเรียงตามตัวอักษรภาษาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก

รปตะวันออก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือ

รปเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในยุโรปเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศฟินแลนด์ทั้งสิ้น 7 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 6 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวา

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศมอลโดวาทั้งสิ้น 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศมอลโดวา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศยูเครนทั้งสิ้น 7 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 6 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศยูเครน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศรัสเซียทั้งสิ้น 28 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 17 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 11 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลัตเวียทั้งสิ้น 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลัตเวีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศลิทัวเนียทั้งสิ้น 4 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศลิทัวเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดน

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศสวีเดนทั้งสิ้น 15 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 13 แหล่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 1 แหล่ง และมรดกโลกแบบผสมอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศนอร์เวย์ทั้งสิ้น 8 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 7 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุส

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเบลารุสทั้งสิ้น 4 แหล่ง เป็นแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 3 แหล่ง และมรดกโลกทางธรรมชาติอีก 1 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเบลารุส · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนีย

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศเอสโตเนียทั้งสิ้น 2 แหล่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศเอสโตเนีย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเกาะเรียงตามขนาด

หน้านี้คือรายชื่อเกาะเรียงตามขนาดทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อเกาะเรียงตามขนาด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเรือสำราญที่ติดอันดับยาวที่สุดในโลก

รายชื่อเรือสำราญที่ยาวที่สุดในโลก เรียงตามช่วงเวล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อเรือสำราญที่ติดอันดับยาวที่สุดในโลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเรือสำราญที่ใหญ่ที่สุดในโลก

การวัดขนาดเรือสำราญใช้หน่วยวัดแบบ Gross tonnage โดยมีการรวบรวมการทำเป็นสถิติเรือสำราญทั่วโลกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โดยเริ่มบันทึกในปี ค.ศ. 1819หรือ พ.ศ. 2362 จนถึงปัจจุบัน โดยมีเรือที่มีขนาดใหญ่ดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อเรือสำราญที่ใหญ่ที่สุดในโลก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเทศบาลในประเทศนอร์เวย์

ทศบาลในประเทศนอร์เวย์ ประเทศนอร์เวย์ ได้แบ่งการปกครองเป็น 18 เทศมณฑล (fylker) และอีก 422 เทศบาล โดยมีกรุง ออสโล เป็นเมืองหลวง นอกเขตเทศบาล เทศบาลในนอร์เวย์ถือเป็นส่วนเล็กๆ ของรัฐบาลในแต่ละท้องถิ่น ของประเทศนอร์เวย์ซึ่งได้ดูแลรับผิดชอบเรื่องการศึกษาระดับประถม (จนถึงเกรด 10) การบริการสุขภาพผู้ป่วยนอกบริการผู้สูงอายุ, การว่างงานและบริการสังคมอื่น ๆ การแบ่งเขตการพัฒนาเศรษฐกิจและถนนเทศบาล การบังคับใช้กฎหมายในแต่ละมณฑลด้วย ในปี 1930 มีเทศบาลในประเทศนอร์เวย์อยู่ 747 เทศบาล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายชื่อเทศบาลในประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล

นี่คือ รายพระนามของพระมหากษัตริย์ที่ยังทรงครองราชย์อยู่ในปัจจุบัน เรียงตามลำดับปีที่ขึ้นครองราชสมบัติ รายพระนามนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะประมุขของรัฐ ตัวอย่างเช่น สุลต่าน อับดุล เฮลิม มูอาดซัม ชา ไม่ได้เป็นประมุขที่มีอำนาจอธิปไตยของรัฐ, รายพระนามดังกล่าวลำดับไม่นับรวมถึงผู้ปกครองที่สถานะความเป็นพระมหากษัตริย์ยังคงพิสูจน์ไม่ได้ อย่างเช่น ดาไล ลามะ เทนซิน กัทโซ และพระมหากษัตริย์ที่ถูกขับออกจากราชสมบัติ อย่างเช่น สมเด็จพระจักรพรรดิออตโตที่ 1 แห่งออสเตรีย ซึ่งอ้างว่าเป็นกษัตริย์แห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี นับตั้งแต่เดือนเมษายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์รัชกาลปัจจุบันเรียงตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดน

ตราแห่งสวีเดน พระมหากษัตริย์สวีเดน (Monarki i Sverige) เป็นประมุขของราชอาณาจักรสวีเดนมายาวนาน ถึงแม้ว่าในปัจจุบันประเทศสวีเดนมีการปกครองเป็นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและองค์กษัตริย์เองมิได้มีพระราชอำนาจทางการเมือง กระนั้นก็ยังทรงเป็นสถาบันสูงสุดรวมถึงได้รับความเคารพจากสังคมของราชอาณาจักรสวีเดนมาโดยตลอด ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์สวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์

ตราประจำพระองค์ของพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ ปี 1280 สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 กษัตริย์แห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ปี 1991 ร่วมกับพระมเหสีของพระองค์ สมเด็จพระราชินีซอนยา ในปี 2010 รายพระนามพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ระมหากษัตริย์แห่งเดนมาร์ก และ สมเด็จพระราชินีนาถแห่งเดนมาร์ก พระอิศริยยศนี้รวมด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายพระนามพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี

ประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขจำนวน 25 ประเทศจากทั้งสิ้น 29 ประเทศทั่วโลกตอบรับคำเชิญของรัฐบาลไทยที่จะมาร่วมราชพิธีอันเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ในเดือนมิถุนายนปีดังกล่าว พระประมุขจาก 13 ประเทศเสด็จพระราชดำเนินมาด้วยพระองค์เอง 12 ประเทศทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งผู้แทนพระองค์ให้ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทน ครั้งนี้นับเป็นการชุมนุมของพระประมุขจากประเทศต่าง ๆ มากที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายพระนามพระราชอาคันตุกะในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามรัชทายาท

นี้คือรายพระนามรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรงในการสืบราชบัลลังก์ทั่วโลก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายพระนามรัชทายาท · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สวีเดน

ู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์แห่งสวีเดน จะดำรงพระอิสริยยศ "สมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน" ในช่วงแรกสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนจะเป็นเพียงตำนาน ดังนั้นจนกระทั่งถึงราว..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์สวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก

ู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก จะดำรงพระอิศริยยศเป็น "สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก" ถ้าพระประมุขเป็นสตรี คู่อภิเษกสมรสจะได้รับพระอิสริยยศเป็นเจ้าชายพระราชสวามี ในระหว่างที่ยังเป็นสหภาพคาลมาร์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายพระนามคู่อภิเษกสมรสในพระมหากษัตริย์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก

2012 ณ กรุงลอนดอน, ประเทศสหราชอาณาจักร 1972 ณ เมืองซัปโปะโระ 1956 ณ เมืองกอร์ตีนาดัมเปซโซ 1936 ณ เมืองการ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชิน กีฬาโอลิมปิก ในปัจจุบันเป็นการแข่งขันหลากหลายประเภทกีฬาทั้งฤดูร้อน ฤดูหนาว รวมถึงเยาวชน โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี สลับกันระหว่างโอลิมปิกฤดูร้อน และโอลิมปิกฤดูหนาว ในระหว่างพิธีเปิดโอลิมปิก ประธานคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในสมัยนั้นๆจะกล่าวสุนทรพจน์ก่อนที่จะเชิญประธานในพิธีกล่าวเปิดอย่างเป็นทางการ ตามกฎบัตรโอลิมปิก ผู้ที่จะกล่าวเปิดกีฬาโอลิมปิกอย่างเป็นทางการจะต้องเป็นประมุขแห่งรัฐของประเทศเจ้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายพระนามและชื่อประธานในพิธีเปิดโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

รายการภาพธงชาติ

นื้อหาในหน้านี้เป็นรายการภาพธงชาติของประเทศต่าง ๆ ซึ่งแบ่งตามทวีป โดยยึดตามรายชื่อที่ปรากฏในหน้าบทความ รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง (อ้างอิงตามการบัญญัติของราชบัณฑิตยสถานของไทย) ทั้งนี้รายชื่อดังกล่าวได้มีการเรียงลำดับใหม่ตามพจนานุกรม โดยยึดตามชื่อสามัญของแต่ละประเทศในภาษาไทยเป็นหลัก ทั้งนี้ สำหรับประเทศที่ไม่ได้รับการยอมรับจากรัฐเอกราช หรือได้รับการยอมรับบางส่วนได้แยกเป็นหัวข้อย่อยอีกกลุ่มหนึ่งในบทความนี้ โดยแสดงรายชื่อด้วยอักษรตัวเอนและเรียงลำดับตามชื่อสามัญเช่นเดียวกับกลุ่มประเทศที่เป็นรัฐเอกร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายการภาพธงชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย

นี่คือ รายชื่อของตัวละครในการ์ตูนชุด พลังอักษะ เฮตาเลี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายการตัวละครในพลังอักษะ เฮตาเลีย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง

รายนามสตรีซึ่งได้รับการการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในแต่ละประเทศ โดยรายนามนี้ไม่รวมรายนามประมุขแห่งรัฐที่เป็นสตรีและไม่นับรวมหัวหน้าของระบบประธานาธิบดีที่อำนาจอยู่กับฝ่ายบริหาร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายนามหัวหน้ารัฐบาลสตรีจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้ง · ดูเพิ่มเติม »

รายนามผู้ได้รับรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล

* ดูบทความหลักที่ รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรายนามผู้ได้รับรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ

รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ (Nobels fredspris, Nobel Peace Prize) เป็นรางวัลโนเบลหนึ่งในห้าสาขา ที่ริเริ่มโดยอัลเฟร็ด โนเบล ตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ริอ็อตออนแอนเอมพีตีสตรีต

ริอ็อตออนแอนเอมพีตีสตรีต (Riot on an Empty Street) เป็นอัลบั้มชุดที่ 2 ของคู่ดูโอจากนอร์เวย์ คิงส์ออฟคอนวีเนียนซ์ ในอัลบั้มนี้มี 2 เพลงที่ร่วมงานกับศิลปินชาวแคนาดาที่ชื่อ ไฟสต์ อัลบั้มติดชาร์ตสูงสุดอันดับ 2 ในนอร์เวย์ และอันดับ 49 ในสหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และริอ็อตออนแอนเอมพีตีสตรีต · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินออสโล

รถไฟใต้ดินออสโล (Oslo T-bane หรือ Oslo Tunnelbane หรือ T-banen) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ในกรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ ดำเนินการโดย Oslo T-banedrift ปัจจุบันมีหกเส้นทาง ระยะทางทั้งสิ้น ผู้โดยสาร 221,917 คนต่อวัน (2011) ต่อจำนวนสถานีรถไฟฟ้า 95 สถานี โดย 16 สถานี เป็นสถานีใต้ดิน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และรถไฟใต้ดินออสโล · ดูเพิ่มเติม »

ลองเยียร์เบียน

ลองเยียร์เบียน (Longyearbyen) เป็นชุมชนที่ใหญ่ที่สุดและศูนย์กลางการบริหารของสฟาลบาร์ ซึ่งเป็นดินแดนของประเทศนอร์เวย์ มีประชากร 2,040 คนในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และลองเยียร์เบียน · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939)

นี่คือ ลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 1939 ถึง 31 ธันวาคม 1939.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และลำดับเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่สอง (1939) · ดูเพิ่มเติม »

ลิฟวิงทิงส์

ลิฟวิงทิงส์ (Living Things) เป็นสตูดิโออัลบั้มที่ 5 ของวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก อัลบั้มนี้ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2555 โดยวอร์เนอร์บราเธอร์ส เรคคอร์ดส และ แมชชีนช็อปเรคคอร์ดดิง โปรดิวซ์โดย ไมค์ ชิโนดะ และ ริก รูบิน ซึ่งได้ร่วมผลิตกันมา 2 สตูดิโออัลบั้มด้วยกัน ได้แก่ มินิตส์ทูมิดไนต์ (Minutes to Midnight) ในปี พ.ศ. 2550 และ อะเทาซันด์ซันส์ (A Thousand Suns) ในปี พ.ศ. 2553 ลิงคินพาร์กกล่าวว่า ลิฟวิงทิงส์ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลายอย่างจากอัลบั้มที่ผ่านมาทั้งหมดในการสร้างเสียงรูปแบบใหม่ๆ โดยวงได้คุ้นเคยในการทำอัลบั้มแบบนี้มาแล้ว หลังจากการทดลองใน 2 อัลบั้มที่ผ่านมาอย่าง มินิตส์ทูมิดไนต์ และ อะเทาซันด์ซันส์ เป็นเวลาหลายปี คำว่า ลิฟวิงทิงส์ (ที่หมายถึง สิ่งมีชีวิต) ได้ถูกตั้งขึ้นเป็นชื่ออัลบั้ม เนื่องจากเนื้อหาในเพลงเป็นเรื่องราวของประเด็นต่างๆ ในสังคม และเรื่องราวของบุคคลทั่วไป เพลงที่ปล่อยออกมาเป็นซิงเกิล ในอัลบั้มนี้ มีทั้งหมด 3 เพลง ได้แก่ "เบิร์นอิตดาวน์" (Burn It Down) ในวันที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2555, "ลอสต์อินดิเอคโค" (Lost in the Echo) ในวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2555 และ "คาสเซิลออฟกลาส" (Castle of Glass)ในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และลิฟวิงทิงส์ · ดูเพิ่มเติม »

ลิลเลฮัมเมร์

ลิลเลฮัมเมร์ เป็นเมืองในเทศมณฑลออปป์ลานด์ ประเทศนอร์เวย์ และตั้งอยู่ในภูมิภาค Gudbrandsdal ในเดือนพฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และลิลเลฮัมเมร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลิสการ์ดส์แบคเคิน

ลิสการ์ดส์แบคเคิน (Lysgårdsbakken) เป็นสนามกีฬากระโดดสกีขนาดใหญ่ในเมืองลิลล์แฮมเมอร์ ประเทศนอร์เวย์ เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และลิสการ์ดส์แบคเคิน · ดูเพิ่มเติม »

ลิเวอร์พูล

มืองลิเวอร์พูล (Liverpool) เป็นเมืองที่มีฐานะเป็นนครและเป็นเมืองเมโทรโพลิตันของเมอร์ซีย์ไซด์ในภาคการปกครองตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษ ลิเวอร์พูลตั้งอยู่ทางตะวันออกของปากน้ำเมอร์ซีย์ (Mersey Estuary) ลิเวอร์พูลก่อตั้งมาตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และลิเวอร์พูล · ดูเพิ่มเติม »

ลุยส์ ซัวเรซ

ลุยส์ อัลเบร์โต ซัวเรซ ดิอัซ (Luis Alberto Suárez Díaz) เกิดเมื่อวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1987 ที่เมืองซัลโต ประเทศอุรุกวัย เป็นนักฟุตบอลชาวอุรุกวัย ปัจจุบันเล่นให้กับสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ตำแหน่งกองหน้า ซัวเรซ เกิด ณ เมืองซัลโต ประเทศอุรุกวัย ไม่นานนักครอบครัวได้ย้ายมาตั้งรกรากที่กรุงมอนเตวิเดโอ ที่นี่เองที่เด็กชายเติบโตขึ้นมาจากการเลี้ยงดูของมารดาเพียงลำพัง ร่วมกับพี่น้อง 8 คน ต่อมา ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และลุยส์ ซัวเรซ · ดูเพิ่มเติม »

วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือก

นี้เป็นบทความเกี่ยวกับการคัดเลือกวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2017.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวอลเลย์บอลชายชิงแชมป์ยุโรป 2017 รอบคัดเลือก · ดูเพิ่มเติม »

วอตไอฟ์ดัน

"วอตไอฟ์ดัน" เป็นเพลงของวงดนตรีร็อกชาวอเมริกัน ลิงคินพาร์ก เป็นซิงเกิลแรกจากสตูดิโออัลบั้มชุดที่สามของวง มินิตส์ทูมิดไนต์ ออกจำหน่ายเป็นเรดิโอซิงเกิลในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2550 เป็นดิจิตอลดาวน์โหลดในวันที่ 2 เมษายน และซีดีซิงเกิลในวันที่ 30 เมษายน เวอร์ชันแสดงสดของเพลง "วอตไอฟ์ดัน" จากโรดทูเรโวลูชัน: ไลฟ์แอตมิลตันคีนส์ ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงในรางวัล การแสดงเพลงฮาร์ดร็อกยอดเยี่ยม ในงานประกาศผลรางวัลแกรมมี ครั้งที่ 52 แต่ก็ไม่ได้ชนะรางวัล เพลงนี้ยังเป็นเพลงประกอบหลักของภาพยนตร์เรื่อง ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส มหาวิบัติจักรกลสังหารถล่มจักรวาล รวมอยู่ในอัลบั้มซาวด์แทร็ก ทรานส์ฟอร์มเมอร์ส: เดอะอัลบั้ม และได้นำไปอยู่ในเกมกีตาร์ฮีโรเวิลด์ทัวร์ นอกจากนี้ เพลงนี้ยังเป็นบีไซด์ในซิงเกิล "อิริเดสเซนต์ ที่ออกจำหน่ายในสหราชอาณาจักรอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวอตไอฟ์ดัน · ดูเพิ่มเติม »

วัดไทยนอร์เวย์

| full_name.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวัดไทยนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

วันชาติ

วันชาติ คือวันที่กำหนดเป็นวาระเฉลิมฉลองความเป็นชาติของประเทศนั้นๆ โดยมากมักจะถือเป็นวันหยุดประจำชาติด้วย วันชาตินั้นมักจะเป็นวันก่อตั้งรัฐ หรือดินแดน หรือเป็นวันสถาปนาประเทศ หรือวันที่มีเอกราชในรัฐ (หรือได้รับเอกราชคืนจากผู้ยึดครอง) นอกจากนี้ยังอาจใช้วันที่มีความสำคัญในประวัติศาสตร์ หรือศาสนา เป็นวันชาติก็ได้ บางรัฐถือวันเกิดของประมุขแห่งรัฐเป็นวันชาติ โดยเฉพาะรัฐที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในกรณีที่เปลี่ยนพระประมุขวันชาติก็เปลี่ยนด้วย หรืออาจจะเป็นวันที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์อื่นๆ โดยทั่วไป ประเทศส่วนใหญ่จะมีวันชาติเพียงวันเดียวในหนึ่งปี แต่บางชาติ เช่น ปากีสถาน มีวันชาติมากกว่า 1 วัน นอกจากนี้เขตบริหารพิเศษของจีน เช่น ฮ่องกง และมาเก๊า จะฉลองวันที่ก่อตั้งเขตบริหารพิเศษ และฉลองในวันชาติของจีนด้วย ความสำคัญของวันชาติในแต่ละประเทศนั้นย่อมแตกต่างกันไป บ้างก็เห็นว่ามีความสำคัญมาก บ้างก็ไม่เน้นความสำคัญมากนัก เช่น ในประเทศฝรั่งเศส และสหรัฐอเมริกา จะมีการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ขณะที่ประเทศอังกฤษไม่สู้จะฉลองอย่างเอิกเกริกมากนัก นอกจากนี้วันชาติในบางประเทศอาจเปลี่ยนได้ตามเหตุการณ์สำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวันชาติ · ดูเพิ่มเติม »

วันพ่อ

วันพ่อ เป็นวันสำคัญ ในการฉลองความเป็นพ่อและบุคคลที่นับถือในการเป็นพ่อ วันพ่อแห่งชาตินั้นทั่วโลกจะมีการจัดแตกต่างกันไป โดยในประเทศไทยจัดตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี โดยในกว่า 50 ประเทศจะจัดวันอาทิตย์ที่สามของเดือนมิถุนายน จอห์น บี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวันพ่อ · ดูเพิ่มเติม »

วันรัฐธรรมนูญนอร์เวย์

วนพาเหรดในวันรัฐธรรมนูญนอร์เวย์ วันรัฐธรรมนูญนอร์เวย์ เป็นวันชาติของนอร์เวย์ที่ถือเป็นวันหยุดประจำปี ตรงกับวันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันเฉลิมฉลองที่ระลึกถึงเหตุการณ์วันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวันรัฐธรรมนูญนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

วันแม่

ในประเทศไทย เดิมมีการจัดงานวันแม่ โดยสำนักวัฒนธรรมฝ่ายหญิง สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ตามมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวันแม่ · ดูเพิ่มเติม »

วันแรงงาน

หรดวันแรงงานในโทรอนโตในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1900 วันแรงงาน (Labour Day) เป็นวันหยุดประจำปีที่เฉลิมฉลองไปทั่วโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการเคลื่อนไหวของสหภาพแรงงาน เพื่อที่จะฉลองผลงานทางการเศรษฐกิจและสังคมของผู้ใช้แรงงาน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวันแรงงาน · ดูเพิ่มเติม »

วาลคิรี

วาด "Valkyrie's Vigil" ในตำนานนอร์ส วาลคิรี (อังกฤษ: valkyrie, นอร์ส: valkyrja) เป็นเทพธิดาที่รับใช้ โอดินโดยมีหน้าที่นำนักรบที่ตายในสงครามไปที่ วัลฮัลลา (Valhalla) เพื่อพบกับโอดิน และมาเป็น Einherjar สู้ศึกในสงครามแร็กนาร็อก สงครามสิ้นโลกระหว่างเทพเจ้าและปีศาจ ในทางศิลปะ วาลคิรีมักจะถูกกล่าวถึงในสัญลักษณ์ของความสวยงาม โดยจะมีลักษณะนางฟ้าหญิง สวมหมวกนักรบถือหอกและขี่บนหลังม้าที่มีปีก วาลคิรีนั้นสามารถแปลงร่างเป็นหงส์ได้ วาลคิรีนั้นสามารถแต่งงานกับมนุษย์ได้ แต่นั่นจะทำให้เสียอำนาจวิเศษของเทพธิดาไป.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวาลคิรี · ดูเพิ่มเติม »

วาฬบรูด้า

วาฬบรูด้า หรือ วาฬแกลบ (Bryde's whale, Eden's whale; ชื่อวิทยาศาสตร์: Balaenoptera edeni) เป็นวาฬขนาดใหญ่ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จัดอยู่ในวงศ์ Balaenopteridae โดยชื่อ วาฬบรูด้า เป็นการตั้งเพื่อให้เป็นเกียรติ แก่กงสุลชาวนอร์เวย์ ในประเทศแอฟริกาใต้ ที่ชื่อโยฮัน บรูด้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวาฬบรูด้า · ดูเพิ่มเติม »

วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2017

หล่านางฟ้าและนางแบบวิกตอเรียส์ซีเคร็ต วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2017 (Victoria's Secret Fashion Show 2017) เป็นการแสดงวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ประจำปีที่ได้รับการสนับสนุนจากวิกตอเรียส์ซีเคร็ต แบรนด์ชุดชั้นในและชุดนอน วิกตอเรียส์ซีเคร็ตใช้เพื่อเป็นการโปรโมตและทำการตลาดสินค้า โดยการแสดงมีนางแบบชั้นนำของโลก เช่น นางฟ้าวิกตอเรียส์ซีเคร็ต คือ ลิลี ออลดริดจ์, เอลซา ฮอสค์, เทย์เลอร์ ฮิลล์, มาร์ธา ฮันต์, อาดรียานา ลีมา, สเตลลา แม็กซ์เวลล์, ไลส์ รีเบย์รู, ซารา ซังไปยู, โจเซฟีน สไครเวอร์, โรเม สไตรด์, กันดิส สวาเนปุล, แจสมิน ทุกส์, อาเลซังดรา อังบรอซียูที่เดินแบบให้งานวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์เป็นครั้งสุดท้ายของเธอ และเบฮาตี ปรินส์ลัวพลาดการแสดงในครั้งนี้ เนื่องจากเธอตั้งครรภ์ วิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2017 จัดแสดงขึ้นที่เซียงไฮ้, ประเทศจีน ที่สนามกีฬาเมอร์เซเดส-เบนซ์ เป็นครั้งแรกของวิคตอเรียซีเคร็ทแฟชั่นโชว์ที่จัดขึ้นในเอเชีย ร่วมการแสดงดนตรีโดย แฮร์รี่สไตล์, มิเกล, เลสลี่ โอดอม จูเนียร์ และเจน จาง มีข่าวลือก่อนหน้าบอกว่าเทย์เลอร์ สวิฟท์จะร่วมการแสดงในโชว์นี้ ซึ่งเป็นเพียงข่าวลือเท่านั้น การแสดงโดยเคที เพร์รี่ ถูกยกเลิกเนื่องจากถูกเพิกถอนวีซ่า เช่นเดียวกับจีจี ฮาดิด และนางแบบคนอื่น ๆ ที่ถูกกระทำแบบนี้อีกหลายคน ภาพโปรโมตงานวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2017 โดยมีนางแบบคือ อาเลซันดรา อัมบรอซีอู, โจเซฟีน สไครเวอร์, ซุ่ย เหอ, และหมิง ซี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวิกตอเรียส์ซีเคร็ตแฟชั่นโชว์ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลียม วอลเลซ

ซอร์ วิลเลียม วอลเลซ (William Wallace; Uilleam Uallas; Norman French: William le Waleys) (ประมาณ พ.ศ. 1813 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 1848) เป็นอัศวินและผู้รักชาติชาวสก็อต ผู้นำการต่อต้านการครอบครองสกอตแลนด์โดยอังกฤษระหว่างสงครามอิสรภาพของสกอตแลนด์ เซอร์ วิลเลียม วอลเลซได้รับการยกย่องเป็นวีรบุรุษในประวัติศาสตร์ของสก็อตแลนด์ เซอร์ วิลเลียม วอลเลซ เป็นแรงดลใจในงานกวีนิพนธ์ชื่อ "The Acts and Deeds of Sir William Wallace, Knight of Elderslie" โดยนักดนตรีเร่รอนในคริสต์ศตวรรษที่ 15 ชื่อ "แฮรี่ผู้ตาบอด" (Blind Harry) ซึ่งภาพยนตร์ฮอลลีวูดเรื่อง Braveheart..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวิลเลียม วอลเลซ · ดูเพิ่มเติม »

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิทยาศาสตรบัณฑิต (Baccalaureus Scientiae หรือ Scientiae Baccalaureus Bachelor of Science, ตัวย่อ วท.บ., B.S., BS, B.Sc., BSc, B.Sc หรือ S.B., SB, Sc.B. เป็นส่วนน้อย) คือปริญญาทางวิชาการในระดับปริญญาตรีที่ได้รับสำหรับการจบหลักสูตรซึ่งโดยทั่วไปใช้เวลาสามปีเป็นอย่างน้อยถึงห้าปี หรือบุคคลที่ถือครองปริญญาดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาจากสาขาวิชาใด ๆ อาจได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตหรือปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตแตกต่างกันไปในแต่ละมหาวิทยาลัย ตัวอย่างเช่น ปริญญาทางเศรษฐศาสตร์อาจได้รับเป็นศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) จากมหาวิทยาลัยหนึ่งแต่ได้เป็นวิทยาศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัยอื่น ๆ และบางมหาวิทยาลัยมีการเสนอตัวเลือกว่าจะรับปริญญาประเภทใด วิทยาลัยศิลปศาสตร์บางแห่งในสหรัฐมอบให้เฉพาะศิลปศาสตรบัณฑิตเท่านั้นแม้ว่าจะเป็นสาขาทางวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ในขณะที่บางมหาวิทยาลัยมอบให้เฉพาะวิทยาศาสตรบัณฑิตแม้แต่ในสาขาที่ไม่ใช่วิทยาศาสตร์ โรงเรียนการรับรองต่างประเทศของมหาวิทยาลัยจอร์จทาวน์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการรับรองต่างประเทศให้กับบัณฑิตปริญญาตรีทั้งหมด แม้ว่าจะมีสาขาวิชาเอกจำนวนมากที่มุ่งเน้นทางมนุษยศาสตร์ เช่น ประวัติศาสตร์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรม และการเมือง สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์ลอนดอนมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาแม้ว่าจะมีสาขาเกี่ยวข้องทางศิลปศาสตร์ ขณะที่มหาวิทยาลัยออกซบริดจ์เกือบทุกสาขาวิชามอบคุณวุฒิทางศิลปศาสตร์ ทั้งสองกรณีมีเหตุผลจากประวัติศาสตร์และจารีตประเพณีดั้งเดิม สำนักวิชาการสื่อสารของมหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิร์นมอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตในทุกสาขาวิชาที่ทำการเรียนการสอนตลอดจนสาขาการละคร เต้นรำ และวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยทรัพยากรธรรมชาติ ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจในสำนักวิชาธุรกิจแฮสและปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสิ่งแวดล้อมในวิทยาลัยอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยคอร์เนลล์มอบปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์และปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จากวิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแรกที่รับนักศึกษาเข้าศึกษาในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคือมหาวิทยาลัยลอนดอนใน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวิทยาศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

วุลเวอรีน

ำหรับตัวละครในมาร์เวลคอมิกส์ ดูที่ วูล์ฟเวอรีน (ตัวละคร) วุลเวอรีน (wolverine)Wozencraft, W. C. (16 November 2005).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และวุลเวอรีน · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปศาสตรบัณฑิต

ลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ., BA หรือ AB จาก baccalaureus artium และ artium baccalaureus ในภาษาละติน) คือปริญญาทางวิชาการที่ได้รับจากหลักสูตรในระดับปริญญาตรี ในสาขาศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือทั้งคู่ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตโดยทั่วไปใช้เวลาสามถึงสี่ปีขึ้นอยู่กับประเทศ สถาบัน และความเชี่ยวชาญเฉพาะ วิชาเอก หรือวิชาโท คำว่า baccalaureus (bacca หมายถึง เบอร์รี และ laureus หมายถึง "ของใบกระวาน" จากภาษาละติน) ไม่ควรสับสนกับ baccalaureatus (แปลว่า "คทาเคลือบทองคำ" จากคำว่า bacum และ aureatus ในภาษาละติน) ซึ่งมาจากการศึกษาหนึ่งถึงสองปีหลังปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิตด้วยเกียรตินิยม (Baccalaureatus in Artibus Cum Honore) ในบางประเทศ ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปประกอบด้วยชื่อของสถาบัน ลายเซ็นเจ้าหน้าที่ของสถาบัน (โดยทั่วไปเป็นอธิการบดีของของมหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับคณบดีของวิทยาลัยร่วม) ประเภทของปริญญา การมอบสิทธิ และสถานที่ที่ได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรโดยทั่วไปจะพิมพ์ลงบนกระดาษคุณภาพสูงหรือแผ่นหนัง สถาบันแต่ละแห่งจะกำหนดตัวย่อพิเศษสำหรับปริญญาของตน ศิลปศาสตรบัณฑิตโดยปกติจะสำเร็จการศึกษาในระยะเวลาสี่ปีในอัฟกานิสถาน เลบานอน อาร์เมเนีย เคนยา แคนาดา กรีซ บังคลาเทศ อาเซอร์ไบจาน อียิปต์ อิหร่าน ญี่ปุ่น คาซัคสถาน ลิทัวเนีย ไนจีเรีย เซอร์เบีย สเปน ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย รัสเซีย ไอร์แลนด์ เกาหลีใต้ อิรัก คูเวต ตุรกี ฮ่องกง สหรัฐ และส่วนใหญ่ในทวีปอเมริกา สำเร็จการศึกษาโดยทั่วไปเป็นระยะเวลาสามปีในสหภาพยุโรปเกือบทั้งหมดและแอลเบเนีย ออสเตรเลีย บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อินเดีย อิสราเอล นิวซีแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สิงคโปร์ แคริบเบียน แอฟริกาใต้ สวิตเซอร์แลนด์ และจังหวัดของรัฐควิเบกในแคนาดา ในปากีสถานศิลปศาสตรบัณฑิตสามารถสำเร็จการศึกษาในสองปีโดยได้รับเป็นปริญญาภายนอก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และศิลปศาสตรบัณฑิต · ดูเพิ่มเติม »

สฟาลบาร์

แผนที่สฟาลบาร์ สฟาลบาร์ (Svalbard; Шпицбе́рген, Свальбард) เป็นหมู่เกาะในมหาสมุทรอาร์กติก ตั้งอยู่ทางเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ระหว่างนอร์เวย์และขั้วโลกเหนือ ตั้งแต่ละติจูด 74 ถึง 81 องศาเหนือ สฟาลบาร์เป็นส่วนหนึ่งของประเทศนอร์เวย์ โดยเป็นส่วนที่อยู่เหนือที่สุดของประเทศ มีประชากรอาศัยอยู่บนสามเกาะคือ สปิตส์เบอร์เกน บีเยอร์เนอยา และโฮเปน แรกเริ่ม สฟาลบาร์ได้ถูกใช้เป็นฐานล่าวาฬในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 และ 18 หลังจากนั้นหมู่เกาะดังกล่าวได้ถูกปล่อยร้าง การทำเหมืองถ่านหินเริ่มต้นขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 และชุมชนถาวรหลายแห่งได้รับการจัดตั้งขึ้น สนธิสัญญาสฟาลบาร์ ใน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสฟาลบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สฟาลบาร์และยานไมเอน

ฟาลบาร์และยานไมเอน สฟาลบาร์และยานไมเอน (Svalbard and Jan Mayen) เป็นดินแดนของประเทศนอร์เวย์ มีศูนย์กลางการบริหารดินแดนอยู่ที่ลองเยียร์เบียน ประกอบไปด้วยหมู่เกาะสฟาลบาร์และเกาะยานไมเอน ดินแดนนี้ถือเป็นดินแดนพิเศษของนอร์เวย์ภายใต้สนธิสัญญาสฟาลบาร์ และถือว่าที่นี่เป็นเขตปลอดทหาร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสฟาลบาร์และยานไมเอน · ดูเพิ่มเติม »

สภาล่าง

ล่าง (อังกฤษ: lower house) เป็นหนึ่งในสองสภาของระบบสองสภา อีกสภาหนึ่งได้แก่ สภาสูง ในแต่ละประเทศ สภาล่างจะมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป ตัวอย่างสภาล่าง เช่น สภาผู้แทนราษฎร ถึงแม้ว่าตำแหน่งทางทฤษฎีจะอยู่ "ข้างล่าง" ของสภาสูง แต่ในความเป็นจริง "สภาล่าง" เกือบทุกประเทศในโลกกลับมีอำนาจมากกว่า "สภาสูง" ความเหนือชั้นกว่าของสภาล่างเกิดจากข้อจำกัดพิเศษที่บังคับใช้กับสภาสูง (ไม่ว่าจะเป็นไปตามกฎหมายหรือเห็นได้โดยชัดแจ้งในระเบียบวิธีการประชุม) ที่สามารถทำได้เพียงการชะลอการออกกฎหมายให้ช้าลง แต่ไม่อาจใช้อำนาจยับยั้งการออกกฎหมาย (veto)ได้ หรืออาจไม่มีอำนาจควบคุมกฎหมายเกี่ยวกับการเงิน ภายใต้ระบบรัฐสภาถือเป็นเรื่องปกติที่สภาล่างเท่านั้นที่มีอำนาจหน้าที่ในการกำหนดตัวหัวหน้ารัฐบาล หรือนายกรัฐมนตรี และยังสามารถถอดถอนผ่านการออกเสียงไม่ไว้วางใจได้อีกด้วย แต่ก็มีข้อยกเว้นอยู่บ้าง เช่น นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น ซึ่งเลือกจากการสนับสนุนของทั้งสองสภาไดเอต การร่างกฎหมายที่ทำได้โดยสภาเดียวเรียกว่า "ระบบสภาเดียว".

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสภาล่าง · ดูเพิ่มเติม »

สภาแห่งชาติลาว

แห่งชาติลาว (ສະພາແຫ່ງຊາດລາວ; The National Assembly of The Lao PDR) เป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสำคัญของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวปกครองตามระบอบประชาธิปไตยประชาชน (สังคมนิยม - คอมมิวนิสต์) แบบรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง มีองค์กรแห่งสิทธิอำนาจสูงสุด คือ “พรรคประชาชนปฏิวัติลาว” “สภาแห่งชาติ” เป็น “องค์กรนิติบัญญัติ” และเป็นองค์กรบริหารอำนาจสูงสุด ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการต่างขึ้นตรง ได้รับแต่งตั้ง และต้องรายงานผลการปฏิบัติงานต่อสภาแห่งชาติ โดยอำนาจสูงสุดในการบริหารงานของประเทศ (อำนาจในการเลือกตั้ง) ยังเป็นของประชาชน ดังนั้นจึงเป็นการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และ เพื่อประชาชน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสภาแห่งชาติลาว · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมการค้าเสรียุโรป

อดีตรัฐสมาชิก ปัจจุบันเป็นรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป สมาคมการค้าเสรียุโรปหรือเอฟตา เป็นกลุ่มการค้าของทวีปยุโรป ตั้งขึ้นในปีพ.ศ. 2503 เป็นอีกกลุ่มนอกจากประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในตอนนั้น มีสมาชิกก่อตั้งคือออสเตรีย เดนมาร์ก นอร์เวย์ โปรตุเกส สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร ปัจจุบันเอฟตามีสมาชิกคือไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ นอร์เวย์ และสวิตเซอร์แลนด์ ฟินแลนด์เริ่มเป็นสมาชิกสมทบในปีพ.ศ. 2504 และกลายมาเป็นสมาชิกเต็มในปีพ.ศ. 2529 และไอซ์แลนด์เข้าเป็นสมาชิกในปีพ.ศ. 2513 สหราชอาณาจักรและเดนมาร์กเข้าร่วมประชาคมยุโรปในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมาคมการค้าเสรียุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์

ำนักงานสมาคมโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์ ในกรุงออสโล สมาคมโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์ (Kreftforeningen; Norwegian Cancer Society) เป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรในประเทศนอร์เวย์ องค์กรนี้ได้รับการก่อตั้งขึ้นในฐานะสมาคมต่อต้านโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์ (Norsk Forening til Kreftens Bekjempelse) ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมาคมโรคมะเร็งแห่งประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (ภาษานอร์เวย์: Hans Majestet Kong Harald V) เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์ ทรงขึ้นครองราชย์หลังจากการสวรรคตของพระราชบิดา (พระเจ้าโอลาฟที่ 5) เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2534 ในฐานะพระปนัดดาของกษัตริย์เอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระราชาธิบดีซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์เดียวของพระเจ้าโอลาฟที่ 5 และเจ้าหญิงมาร์ทาแห่งสวีเดน ทรงมีสิทธิสืบราชสันตติวงศ์ราชบัลลังก์อังกฤษในลำดับที่ 48 เนื่องจากพระองค์เป็นพระราชปนัดดา(เหลน) ในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทาง ม็อดแห่งเวลส์ สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ ผู้เป็นพระอัยยิกา(ย่า) สมเด็จพระราชาธิบดีทรงได้รับปริญญาจากมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดในสาขาวิชาประวัติศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ ในปี 2511 ทรงเข้าพิธีอภิเษกสมรสกับสามัญชน นางสาวซอนยา เฮรัลด์เซ็น ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาเป็น สมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ มีพระราชโอรสพระราชธิดาคือ เจ้าหญิงมาร์ทา หลุยส์ และมกุฎราชกุมารเจ้าชายโฮกุน ซึ่งทรงอภิเษกสมรสกับ นางสาวเมตเต-มาริต ปัจจุบันได้รับสถาปนาเป็น เจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เจ้าชายโฮกุนและเจ้าหญิงเมตเต-มาริต พร้อมด้วยพระโอรสองค์เล็กคือเจ้าชายสแวร์เร แมกนัส เสด็จฯ เป็นผู้แทนพระองค์สมเด็จพระราชาธิบดีเพื่อร่วมพิธีเฉลิมฉลองครองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระราชาธิบดีทรงเป็นนักกีฬาและนักเดินเรือผู้เชี่ยวชาญ และทรงนำทีมนักกีฬานอร์เวย์ให้ได้รับชัยชนะจากการแข่งเรือใบในนามประเทศนอร์เวย์หลายครั้ง รวมทั้งจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่กรุงโตเกียวเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ

มเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ (Κωνσταντῖνος Βʹ, Konstantínos IIʹ; พระราชสมภพ 2 มิถุนายน 2483) เป็นพระมหากษัตริย์ของกรีซ ตั้งแต่ปี 1964 จนถึงการล้มล้างระบอบกษัตริย์ในปี 1973 พระองค์ขึ้นครองราชย์ต่อจากสมเด็จพระเจ้าพอลที่ 1 แห่งกรีซพระราชบิดาของพระองค์ เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งกรีซ ในราชวงศ์กลึคสบวร์ก แม้ว่าพระองค์จะทรงเป็นที่รักของประชาชน แต่ในไม่ช้าประเทศกรีซก็เกิดการขัดแย้งและนำไปสู่การรัฐประหาร เมื่อวันที่ 21 เมษายน 1967 หลังจากการรัฐประหาร พระองค์ทรงถูกเนรเทศโดยกองทัพพร้อมกับพระบรมวงศานุวงศ์ ให้ออกจากประเทศกรีซและมิให้กลับมาอีก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมเด็จพระราชาธิบดีคอนสแตนตินที่ 2 แห่งกรีซ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ (2 กรกฎาคม 1903 - 17 มกราคม 1991) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์ ตั้งแต่ปี 1957 จนกระทั่งพระองค์เสด็จสวรรคต พระองค์เป็นสมาชิกราชวงศ์ชเลสวิก-ฮอลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก สมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 เสด็จพระราชสมภพที่สหราชอาณาจักร พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีม็อดแห่งนอร์เวย์ พระองค์ทรงเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร กับ อเล็กซานดราแห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร ผ่านทางสายพระราชมาร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์

มเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ (พระนามเดิม เจ้าชายคาร์ลแห่งเดนมาร์กและไอซ์แลนด์ พระนามเต็ม คริสเตียน เฟรเดอริก คาร์ล จอร์จ วัลเดมาร์ แอกเซล; Christian Frederik Carl Georg Valdemar Axel, ต่อมาเป็นสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งนอร์เวย์) 3 สิงหาคม พ.ศ. 2415 - 21 กันยายน พ.ศ. 2500) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 8 แห่งเดนมาร์ก และ เจ้าหญิงหลุยส์แห่งสวีเดน ในปีพ.ศ. 2448 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งนอร์เวย์พระองค์แรกหลังการยุบสหภาพระหว่างนอร์เวย์และสวีเดนโดยการสลายรัฐร่วมประมุขร่วมกับสวีเดน พระองค์เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ในราชวงศ์ชเลสวิก-ฮอลชไตน์-ซอนเดอร์บูร์ก-กลึคส์บูร์ก ในฐานะที่ทรงเป็นหนึ่งในพระมหากษัตริย์ที่ได้รับการเลือกตั้ง สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนได้ทรงชนะใจพสกนิกรด้วยความเคารพและความรักจากประชาชนของพระองค์ และทรงมีบทบาทสำคัญในการเป็นศูนย์รวมจิตใจชาตินอร์เวย์ในการทำการต่อต้านกองทัพนาซีที่ทำการรุกรานและต่อมายาวนานอีกห้าปีทรงต่อต้านการที่นาซียึดครองนอร์เวย์ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ในนอร์เวย์ สมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนทรงถือเป็นหนึ่งในชาวนอร์เวย์ที่มีความสำคัญสูงสุดในศตวรรษที่ 20 และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการยอมรับในความกล้าหาญของพระองค์ในระหว่างการรุกรานของเยอรมัน พระองค์ทรงขู่ว่าจะสละราชบัลลังก์ถ้ารัฐบาลร่วมมือกับผู้รุกรานชาวเยอรมัน และสำหรับความเป็นผู้นำของพระองค์ และยังทรงรักษาความเป็นสามัคคีของนอร์เวย์ได้ในระหว่างการยึดครองของเยอรมัน พระองค์เสด็จสวรรคตขณะมีพระชนมายุ 85 พรรษา ในวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2500 หลังจากทรงครองราชสมบัติมายาวนานเกือบ 52 ปี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก

มเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก (Queen Margrethe II of Denmark; มาร์เกรเธอ อเล็กซานดรีน ธอร์ฮิลดูร์ อิงกริด; พระราชสมภพ 16 เมษายน พ.ศ. 2483) เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเดนมาร์ก ในฐานะที่เป็นพระราชธิดาองค์โตในสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์กกับเจ้าหญิงอิงกริดแห่งสวีเดน พระนางทรงสืบราชบัลลังก์เดนมาร์กหลังจากการเสด็จสวรรคตของพระราชบิดาในวันที่ 14 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์

้าหญิงเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (31 มกราคม พ.ศ. 2481) หรือพระนามเต็มว่า เบียทริกซ์ วิลเฮลมินา อาร์มการ์ด (Beatrix Wilhelmina Armgard) หรือเดิมคือ สมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ (Beatrix der Nederlanden) อดีตสมเด็จพระราชินีนาถแห่งเนเธอร์แลนด์ ครองราชสมบัติตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีนาถเบียทริกซ์แห่งเนเธอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดน

ซีเร คลารี หรือ เบอร์นาร์ดีน เออเฌนี เดซีเร คลารี (ฝรั่งเศส:Bernardine Eugénie Désirée Clary; 8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1777 - 17 ธันวาคม ค.ศ. 1860) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ โดยทรงเป็นพระมเหสีในพระเจ้าคาร์ลที่ 14 โยฮันแห่งสวีเดน อดีตนายพลชาวฝรั่งเศสและเป็นผู้สถาปนาราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ และครั้งหนึ่งพระนางทรงเคยเป็นคู่หมั้นในนโปเลียน โบนาปาร์ต พระนางทรงเปลี่ยนพระนามอย่างเป็นทางการเป็น เดซีเดอเรีย (Desideria) พระนามในภาษาละติน ซึ่งพระนางก็ไม่ทรงเคยใช้แทนพระองค์เอง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมเด็จพระราชินีเดซีเดอเรียแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

อมพลหญิง จอมพลเรือหญิง จอมพลอากาศหญิง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พระนามเดิม: หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร; พระราชสมภพ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2475) เป็นสมเด็จพระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และโดยพระชนมายุจึงนับเป็นพระกุลเชษฐ์พระองค์ปัจจุบันในพระบรมราชจักรีวงศ์ เนื่องจากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ขณะที่พระราชสวามีเสด็จออกผนวช ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2499 - 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 73, ตอน 76ก, 25 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ตราจารย์ พลเอกหญิง พลเรือเอกหญิง พลอากาศเอกหญิง นายกองใหญ่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2 เมษายน พ.ศ. 2498) เป็นพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และเป็นพระโสทรกนิษฐภคินีในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี · ดูเพิ่มเติม »

สรุปเหรียญโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016

รุปเหรียญโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016 เป็นรายชื่อประเทศที่ได้รับเหรียญรางวัลจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016 ณ เมืองลีลแฮมเมอร์ ประเทศนอร์เวย์ ตั้งแต่วันที่ 12-21 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสรุปเหรียญโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016 · ดูเพิ่มเติม »

สวีตดรีมส์

วีตดรีมส์ (Sweet Dreams) คือเพลงโดยบียอนเซ่ โนวส์ นักร้องอาร์แอนด์บี ชาวอเมริกัน จากผลงานสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 3 ไอแอม... ซาชาเฟียร์ส แต่งและดูแลการผลิตโดยโนวส์, James Scheffer, Wayne Wilkins, และ Rico Love เพลงนี้ปล่อยซิงเกิลวิทยุเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2552 โดยเป็นซิงเกิลที่ 6 จากอัลบั้ม ซิงเกิลนี้สามารถขึ้นอันดับหนึ่งบนชาร์ตของนิวซีแลนด์, แอฟริกาใต้ และอิสราเอล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสวีตดรีมส์ · ดูเพิ่มเติม »

สวีเดนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง

นแดนอื่นๆที่วางตัวเป็นกลาง สวีเดนยังคงวางตัวเป็นกลางไม่ยุ่งเกี่ยวกับสงครามในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง.เมื่องสงครามได้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 1 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสวีเดนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

หพันธรัฐรัสเซีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหพันธรัฐรัสเซียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

หพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพยุโรป

หภาพยุโรป (European Union: EU) เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 28 ประเทศซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป มีพื้นที่ 4,324,782 ตารางกิโลเมตร มีประชากรที่ประเมินกว่า 510 ล้านคน สหภาพยุโรปพัฒนาตลาดเดี่ยวภายในผ่านระบบกฎหมายทำให้เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกประเทศ นโยบายสหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรีในตลาดเดี่ยว ตรากฎหมายด้านยุติธรรมและกิจการในประเทศและธำรงนโยบายร่วมกันด้านการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาค การควบคุมหนังสือเดินทางถูกเลิกภายในพื้นที่เชงเกน มีการตั้งสหภาพการเงินในปี 2542 และมีผลบังคับเต็มที่ในปี 2545 ประกอบด้วยรัฐสมาชิกสหภาพยุโรป 19 ประเทศซึ่งใช้สกุลเงินยูโร สหภาพยุโรปดำเนินการผ่านระบบผสมระหว่างสหภาพเหนือชาติและความร่วมมือระหว่างรัฐบาล องค์กรตัดสินใจหลักเจ็ดองค์กร เรียก สถาบันของสหภาพยุโรป ได้แก่ ที่ประชุมยุโรป คณะมนตรีแห่งสหภาพยุโรป รัฐสภายุโรป คณะกรรมาธิการยุโรป ศาลยุติธรรมแห่งสหภาพยุโรป ธนาคารกลางยุโรปและศาลผู้สอบบัญชียุโรป สหภาพยุโรปกำเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเหล็กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2494 และ 2501 ตามลำดับโดยประเทศอินเนอร์ซิกส์ ประชาคมและองค์การสืบเนื่องมีขนาดเติบโตขึ้นโดยการเข้าร่วมของสมาชิกใหม่และมีอำนาจมากขึ้นโดยการเพิ่มขอบเขตนโยบายในการจัดการ สนธิสัญญามาสทริชท์สถาปนาสหภาพยุโรปในปี 2536 และนำเสนอความเป็นพลเมืองยุโรป การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญล่าสุดของสหภาพยุโรปล่าสุด สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับในปี 2552 สหภาพยุโรปมีประชากรคิดเป็น 7.3% ของประชากรโลก ในปี 2559 สหภาพยุโรปผลิตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน 16.477 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น 22.2% ของจีดีพีราคาตลาดโลก และ 16.9% เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ นอกจากนี้ ประเทศสหภาพยุโรป 26 จาก 28 ประเทศมีดัชนีการพัฒนามนุษย์สูงมาก ตามข้อมูลของโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ ในปี 2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ สหภาพยุโรปพัฒนาบทบาทด้านความสัมพันธ์ภายนอกและการกลาโหมผ่านนโยบายต่างประเทศและความมั่นคงร่วม สหภาพฯ คงคณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลกและมีผู้แทนในสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก จี7 และจี-20 เนื่องจากมีอิทธิพลทั่วโลก จึงมีการอธิบายสหภาพยุโรปเป็นอภิมหาอำนาจปัจจุบันหรืออภิมหาอำนาจในอนาคต.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหภาพยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพคาลมาร์

สหภาพคาลมาร์ (Kalmarunionen) คือรัฐร่วมประมุขที่รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 1397 จนถึง ค.ศ. 1523 เกิดจากการรวมประเทศเดนมาร์ก ประเทศนอร์เวย์ (รวมถึงไอซ์แลนด์ กรีนแลนด์ หมู่เกาะฟาโร เชตแลนด์ และออร์กนีย์) และสวีเดน (รวมบางส่วนของฟินแลนด์) เข้าอยู่ภายใต้พระมหากษัตริย์พระองค์เดียวกัน หมวดหมู่:ประเทศกลุ่มนอร์ดิก หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศสวีเดน หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศนอร์เวย์ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศเดนมาร์ก หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 14 หมวดหมู่:สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 16.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหภาพคาลมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพโซเวียต

หภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; Union of Soviet Socialist Republics - USSR) หรือย่อเป็น สหภาพโซเวียต (Soviet Union) เป็นประเทศอภิมหาอำนาจในอดีตบนทวีปยูเรเชีย ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

หรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์

หราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์ หรือ สหภาพสวีเดน–นอร์เวย์ หรือ สวีเดน–นอร์เวย์ (Svensk-norska unionen; Den svensk-norske union) คือรัฐร่วมประมุขระหว่างสวีเดนและนอร์เวย์ภายใต้การปกครองของราชวงศ์เบอร์นาดอตต์ ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหราชอาณาจักรสวีเดนและนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

หราชอาณาจักร เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสหราชอาณาจักรในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สัญญาว่าจะให้

ัญญาว่าจะให้ หรือ เดอะกิฟวิ่งเพล็ดจ์ (The Giving Pledge) เป็นองค์การรณรงค์ให้เศรษฐีบริจาคทรัพย์ของตนโดยมากเพื่อการกุศล หรือเป็นคำหมายถึง "สัญญาของบุคคลและครอบครัวที่ร่ำรวยที่สุดในโลกที่จะอุทิศทรัพย์สมบัติโดยมากของตนให้แก่การกุศล" ไม่ว่าจะเป็นในช่วงยังมีชีวิตอยู่หรือเมื่อถึงแก่กรรมไปแล้ว เดอะกิฟวิ่งเพล็ดจ์เป็นเพียงสัญญาที่ให้โดยศีลธรรม ไม่ใช่สัญญาตามกฎหมาย และโดยปี 2560 องค์กรมีผู้ลงนามให้สัญญา 158 ราย ไม่ว่าจะโดยบุคคลหรือโดยคู่ครอง มีผู้ลงนามบางท่านที่ได้เสียชีวิตแล้ว ผู้ลงนามโดยมากเป็นอภิมหาเศรษฐี และได้สัญญาว่าจะมอบทรัพย์กว่า 365,000 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 12 ล้านล้านบาท).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสัญญาว่าจะให้ · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

สามก๊ก (แก้ความกำกวม)

มก๊ก สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสามก๊ก (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

สายการบินประจำชาติ

การบินแห่งชาติ เป็นสายการบินรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นสายการบินตัวแทนของประเทศหรือดินแดนนั้น ๆ สายการบินแห่งชาติส่วนใหญ่จะมีรูปธงชาติประดับไว้บนตัวหรือหางของเครื่องบิน เกือบทุกประเทศมีสายการบินประจำชาติ ยกเว้นสหรัฐอเมริก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสายการบินประจำชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สาวเอ๊าะเดือดร้อน

นักบุญจอร์จปะทะพญานาค โดย เพาโล อูเชลโล ราว ๆ ค.ศ. 1470 แสดงแก่นเรื่องยอดนิยม ที่มีอัศวินขี่ม้าขาว สาวน้อยประสบปัญหา และอสุรกาย (damsel in distress) เป็นหญิงสาวตามท้องเรื่องแบบดั้งเดิมและยอดนิยมในวรรณกรรม ศิลปะ และภาพยนตร์ส่วนใหญ่ของโลก โดยเธอมักเป็นหญิงงาม อ่อนหวาน และอ่อนวัย กำลังถูกเหล่าร้ายหรืออสุรกายคุกคาม และต้องการวีรบุรุษโดยด่วน ปรกติแล้ว "สาวน้อย" มักเป็นมนุษย์ธรรมดา แต่ในหลาย ๆ เรื่องเป็นเทพธิดา, พราย, เงือก หรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ก็มี แต่ลักษณะสากลของสาวน้อยประสบปัญหา คือ ต้องช่วยเหลือตนเองมิได้ (helpless) และบางทีก็ "ไม่ฉลาดนัก" (partly foolish) และ "อ่อนต่อโลก" (naive) ซึ่งเป็นลักษณะที่ชายหนุ่มทั่วไปต้องใจRobert K. Klepper, Silent Films, 1877-1996, A Critical Guide to 646 Movies, pub.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาวเอ๊าะเดือดร้อน · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐมอลโดวาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐมอลโดวา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐมอลโดวาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐลัตเวีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐลัตเวียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐลิทัวเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐลิทัวเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสโลวักในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐสโลวัก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐสโลวักในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐสโลวีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐสโลวีเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐสโลวีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐอุซเบกิสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐอุซเบกิสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐคีร์กีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐคีร์กีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐคีร์กีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐซานมารีโน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐซานมารีโนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐประชาชนจีน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐประชาชนจีนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐแอฟริกาใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโครเอเชียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐโครเอเชีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐโครเอเชียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐโปรตุเกส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐโปรตุเกสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐไซปรัส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐไซปรัสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐเบลารุส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐเบลารุสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเช็กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐเช็ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐเช็กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐเอสโตเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐเอสโตเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐเซเนกัล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสาธารณรัฐเซเนกัลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

สำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรป

ำนักข่าวยูโรเปี้ยน เพรสโฟโต้ เอเจนซี่ เป็นหน่วยงานที่ทำการเผยแพร่ภาพข่าวเหตุการณ์จากประเทศต่าง ๆ ไปทั่วโลก รูปภาพจากทุกส่วนของโลกครอบคลุมข่าวการเมือง ข่าวกีฬา ข่าวธุรกิจการเงิน ตลอดจนข่าวศิลปวัฒนธรรมและการบันเทิง ซึ่งถ่ายภาพโดยช่างภาพข่าวมืออาชีพในเครือข่ายทั่วโลกกว่า 400 คนนำมารวมไว้ในบริการภาพของ epa บริการภาพข่าวของ epa ผลิตรายวันโดยช่างภาพที่เป็นพนักงานจากเครือข่ายที่สร้างขึ้นทั่วโลกรวมทั้งช่างภาพขององค์กรข่าวซึ่งเป็นสมาชิกและผู้นำการตลาดด้านภาพข่าวในแต่ละประเทศ ภาพถ่ายทั้งหมดจะถูกส่งเข้ามาที่กองบรรณาธิการใหญ่ ณ เมือง แฟรงค์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี ก่อนจะแจกจ่ายให้กับลูกค้าทั่วโลก กองบรรณาธิการภาพนี้มีการทำงานตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้ลูกค้าได้รับภาพข่าวและเหตุการณ์ที่ทันต่อสถานการณ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสำนักแพร่ภาพข่าวแห่งยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

สุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558

กิดสุริยุปราคาเต็มดวงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2558 สุริยุปราคาเกิดเมื่อดวงจันทร์ผ่านระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ ฉะนั้นจึงขวางภาพดวงอาทิตย์ทั้งหมดหรือบางส่วนแก่ผู้สังเกตบนโลก สุริยุปราคาเต็มดวงเกิดเมื่อเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงจันทร์ใหญ่กว่าเส้นผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงอาทิตย์ จึงสกัดแสงอาทิตย์โดยตรงทั้งหมด แล้วทำให้ความมืดปกคลุม คราสเต็มดวง (totality) เกิดในวิถีแคบผ่านพื้นผิวโลกโดยสามารถเห็นสุริยุปราคาบางส่วนได้เหนือภูมิภาคโดยรอบกว้างหลายพันกิโลเมตร มีโชติมาตร (magnitude) 1.045 ช่วงเวลาคราสเต็มดวงนานที่สุด คือ 2 นาที 47 วินาที นอกหมู่เกาะแฟโร เป็นสุริยุปราคาเต็มดวงสุดท้ายที่เห็นได้ในทวีปยุโรปจนอุปราคา 12 สิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสุริยุปราคา 20 มีนาคม พ.ศ. 2558 · ดูเพิ่มเติม »

สถาปัตยกรรมกอทิก

มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีสเป็นลักษณะสถาปัตยกรรมกอทิก สถาปัตยกรรมกอทิก (Gothic architecture) เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่รุ่งเรืองในช่วงกลางสมัยกลางถึงปลายสมัยกลาง โดยวิวัฒนาการมาจากสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์และตามด้วยสถาปัตยกรรมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา สถาปัตยกรรมกอทิกเกิดขึ้นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึง 16 โดยเริ่มขึ้นในประเทศฝรั่งเศสก่อนที่จะเผยแพร่ไปยังประเทศอังกฤษ และต่อไปยังทวีปยุโรปโดยทั่วไป สถาปัตยกรรมกอทิกเริ่มขึ้นในฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และรุ่งเรืองต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในระยะแรก สถาปัตยกรรมทรงนี้เรียกกันว่า "แบบฝรั่งเศส" (Opus Francigenum) คำว่า "กอทิก" มาเริ่มใช้กันในตอนปลายยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาในทางที่เป็นการหมิ่นลักษณะสถาปัตยกรรม ลักษณะเด่นของสถาปัตยกรรมแบบกอทิกที่เป็นที่รู้จักกันดีคือการใช้โค้งแหลม เพดานสัน และ ค้ำยันแบบปีก สถาปัตยกรรมกอทิกเป็นสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการสร้างอาสนวิหาร แอบบี และคริสต์ศาสนสถานอื่น ๆ ของยุโรป นอกจากนั้นก็ยังใช้ในกาสร้างปราสาท, วัง, ตึกเทศบาลเมือง, มหาวิทยาลัย และบางครั้งก็สำหรับที่อยู่อาศัยแต่ก็ไม่มากนัก สถาปัตยกรรมกอทิกที่ใช้ในการก่อสร้างโบสถ์และอาสนวิหาร และในสิ่งก่อสร้างบางสิ่งของฆราวาสที่เป็นการแสดงลักษณะการก่อสร้างอันมีพลัง ลักษณะรูปทรงของสิ่งก่อสร้างแบบกอทิกเป็นลักษณะที่ก่อให้เกิดความสะเทือนทางอารมณ์ ซึ่งทำให้เป็นสถาปัตยกรรมที่เป็นที่นิยมใช้ในการก่อสร้างสถาปัตยกรรมทางศาสนา และสิ่งก่อสร้างหลายแห่งก็มีคุณค่าสูงพอที่จะได้รับการมอบฐานะให้เป็นมรดกโลก ในอังกฤษในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ก็เริ่มมีการก่อสร้างสถาปัตยกรรมที่เลียนแบบสถาปัตยกรรมกอทิก ที่เรียกว่าสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิก ที่เผยแพร่ไปยังยุโรป ที่เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมที่นิยมใช้ในการก่อสร้างคริสต์ศาสนสถานและมหาวิทยาลัย ความนิยมสถาปัตยกรรมฟื้นฟูกอทิกดำเนินต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 สถาปัตยกรรมกอทิกพัฒนาขึ้นจากปัญหาทางโครงสร้าง โบสถ์ในสมัยนั้นได้เปลี่ยนแปลงมาใช้โครงสร้างหลังคาโค้งแหลม (point vault) แรงกดของโครงสร้างหลังคาโค้งแหลม จึงพุ่งเป็นเส้นดิ่งมากกว่าโค้งครึ่งวงกลมและถ่ายน้ำหนักจากหลังคาโค้งไปยังเสา (pier) ที่รองรับซึ่งจะสูงชะลูดและมีส่วนค้ำยันผนังเป็นครีบอยู่ภายนอกอาคาร ที่เรียกว่า ครีบยัน ซึ่งตั้งต้นจากยอดของเสาด้านในเอียงมาจดผนังครีบริมนอก ช่วยรับน้ำหนักของโค้งอีกด้วย ส่วนน้ำหนักที่พุ่งออกมาจากด้านข้างของโค้งตรงส่วนข้างของโบสถ์อาศัยผนังครีบด้านนอกรับไว้ ช่วงแต่ละช่วงจึงมีระยะห่างไม่ได้มาก ดังนั้น ส่วนสัดของช่องระหว่างเสาและรูปทรงโบสถ์สมัยกอทิกจะสูงชะลูดและแคบ และเนื่องจากไม่ได้ใช้ผนังรับน้ำหนักอีกต่อไป จึงสามารถเจาะช่องหน้าต่างซึ่งมักทำเป็นรูปวงกลมมีลวดลาย และประดับด้วยกระจกสีที่เรียกว่า หน้าต่างกุหลาบ ได้มากขึ้น ทางด้านจังหวะในงานสถาปัตยกรรม ในสมัยแรก ๆ มักใช้จังหวะตายตัวและซ้ำ ๆ กัน ภายในอาคารมักใช้เสารายเป็นแนว เพื่อดึงความสนใจไปเพียงที่แห่งเดียวคือ แท่นบูชา แต่ต่อมาก็เปลี่ยนแปลงไปจะใช้จังหวะที่เป็นอิสระมากขึ้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสถาปัตยกรรมกอทิก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามครูเสดนอร์เวย์

งครามครูเสดนอร์เวย์ (Norwegian Crusade) (ค.ศ. 1107 - ค.ศ. 1110) เป็นสงครามครูเสดที่เริ่มขึ้นใน ค.ศ. 1107 และสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1110 หลังสงครามครูเสดครั้งที่ 1 ที่นำโดยพระเจ้าซิเกิร์ดที่ 1 แห่งนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสงครามครูเสดนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามต่อต้านการก่อการร้าย

งครามต่อต้านการก่อการร้าย (War on Terror) เป็นคำที่ใช้ทั่วไปกับการทัพทางทหารระหว่างประเทศซึ่งเริ่มต้นอันเป็นผลมาจากวินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544 ต่อสหรัฐอเมริกา การทัพครั้งนี้มีเป้าหมายเพื่อกำจัดอัลกออิดะห์และองค์การก่อการร้ายอื่น ๆ สหราชอาณาจักร ประเทศสมาชิกนาโต้อื่น และประเทศนอกกลุ่มนาโต้เข้าร่วมในความขัดแย้งนี้ด้วยเช่นกัน คำว่า "สงครามต่อต้านการก่อการร้าย" นี้ ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู. บุช แห่งสหรัฐอเมริกา ใช้เป็นคนแรกเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2544 รัฐบาลบุชและสื่อตะวันตกได้ใช้คำดังกล่าวหมายถึงการต่อสู้ทางทหาร การเมือง ชอบด้วยกฎหมาย และเชิงความคิดทั่วโลก โดยมุ่งเป้าทั้งองค์การที่ถูกระบุว่าเป็นผู้ก่อการร้ายและรัฐบาลที่ถูกกล่าวหาว่าสนับสนุนการก่อการร้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสงครามต่อต้านการก่อการร้าย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามประกาศอิสรภาพสกอตแลนด์

อห์น บัลลิออล, 1292 – 1296 พระมหากษัตริย์แห่งสกอตแลนด์ กับพระชายา สงครามประกาศอิสรภาพสกอตแลนด์ เป็นเหตุการณ์ความขัดแย้งทางทหาร ระหว่างราชอาณาจักรสกอตแลนด์และราชอาณาจักรอังกฤษ ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 จนถึงต้นคริสศตวรรษที่ 14 สงครามประกาศอิสรภาพสกอตแลนด์ครั้งแรก (ปี 1296 - 1328) เปิดฉากขึ้นด้วยการรุกรานของฝ่ายอังกฤษเข้ามาในดินแดนสก็อตใน ปี 1296 และจบลงด้วยการลงนามในสนธิสัญญาเอดินบะระ-นอร์ทแธมพ์ตันใน ปี 1328 สงครามครั้งที่สอง (ปี 1332 - 1357) เป็นสงครามชิงอำนาจภายใน ซึ่งเริ่มต้นจากการยกทัพเข้ารุกรานโดยการนำของ เอ็ดเวิร์ด บัลลิออล (Edward Balliol) ทายาทผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์สก็อตของจอห์น บัลลิออล โดยมีอังกฤษเป็นฝ่ายหนุนหลัง และยุติลงด้วยการลงนามในสนธิสัญญาเบอร์วิคใน ปี 1357 หลังสงครามยุติ สก็อตแลนด์ยังคงรักษาสถานะความเป็นรัฐเอกราชของตนเอาไว้ได้ สงครามประกาศอิรภาพสกอตแลนด์เป็นเหตุการณ์ความขัดแย้ง ที่นำไปสู่การพัฒนาอาวุธและยุทธวิธีใหม่ ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การปรากฏตัวของธนูยาวอังกฤษ หรือ "ลองโบว์" (long bow) ซึ่งเป็นอาวุธที่เปลี่ยนโฉมหน้าการรบในยุคกลาง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสงครามประกาศอิสรภาพสกอตแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สตอฟ

ตอฟ (Stav) เป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวที่สอนโดย อีวา แฮฟสโยลด์ ซึ่งใช้อักษรรูนและเทพปกรณัมนอร์สในการฝึกสอนโดยอิงจากประเพณีที่เก็บรักษาไว้ในครอบครัวของเขา ใน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสตอฟ · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์บัคส์

ตาร์บัคส์ (Starbucks) เป็นร้านกาแฟจากอเมริกาในเมืองซีแอตเทิลในรัฐวอชิงตัน ในปี ค.ศ. 1971 โดย กอร์ดอน โบเคอร์, เจอรี่ บัลด์วิน และซิฟ ซีเกิ้ล โดยตอนแรกใช้โลโก้เป็นรูปไซเรน 2 หาง ก่อตั้งในฐานะร้านขายเมล็ดกาแฟคั่ว ต่อมาปี 1982 สตาร์บัคส์มีสาขา 5 สาขา และโฮเวิร์ด ชูลทส์ได้เข้ามาร่วมงานด้วย โดยดูแลด้านการตลาดและค้าปลีก ซึ่งเขาเป็นผู้แนะนำให้สตาร์บัคส์เปิดเป็นบาร์กาแฟ แต่หลายคนก็ไม่เชื่อในวิสัยทัศน์ของเขา ต่อมาชูลทส์ได้ลาออกจากบริษัท ไปเปิดบาร์กาแฟของตนเองชื่อ อิล จิออร์เนล และจำหน่ายกาแฟของสตาร์บัคส์ ในปี 1987 สตาร์บัคส์ประสบปัญหายุ่งยากจากการไม่สามารถควบคุมคุณภาพสินค้าได้ ปี 1988 อิล จิออร์เนลจึงซื้อกิจการด้านค้าปลีกไว้พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเป็น สตาร์บัคส์ คอร์ปอเรชั่น และจ้างนักบริหารมืออาชีพเข้ามาดูแล ปี 1992 สตาร์บัคส์ได้เข้าตลาดหลักทรัพย์ และในปี 1996 สตาร์บัคส์ได้เปิดสาขาแรกนอกอเมริกาเหนือที่โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ปัจจุบันมากกว่า 1 ใน 3 ของร้านสตาร์บัคส์ทั้งหมดอยู่ในต่างประเทศ โดยเฉลี่ยแล้วสตาร์บัคส์เปิดสาขาใหม่เพิ่มวันละ 2 สาขาระหว่างปี 1987 และ 2007 บริษัทได้เริ่ม Caffe Starbucks เป็นระบบบริการออนไลน์โดยอาศัยเครือข่ายของ เอโอแอล สัญลักษณ์ของสตาร์บัคส์ครั้งแรกนั้นเป็นรูปนางเงือก ซึ่งเป็น นางเงือกไซเรนสองหาง (Norse Siren) ในเทพนิยายปรัมปรา เพื่อให้นึกถึงการผจญภัยในทะเล และปรับเปลี่ยนหลายครั้งและล่าสุดคือ..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสตาร์บัคส์ · ดูเพิ่มเติม »

สตาร์เกต (ทีมโปรดิวเซอร์)

ตาร์เกต (Stargate) เป็นทีมโปรดิวเซอร์เพลง และทีมประพันธ์เพลงชาวนอร์เวย์ ประกอบด้วย Tor Erik Hermansen (เกิด 14 ตุลาคม 1972) และ Mikkel Storleer (เกิดปี 1972) มีต้นกำเนิดในนครนิวยอร์ก แนวเพลงของทีมประกอบด้วย R&B, pop, dance-pop, Europop และhip hop สตาร์เกตก่อตั้งขึ้นในทรอนด์เฮม,ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสตาร์เกต (ทีมโปรดิวเซอร์) · ดูเพิ่มเติม »

สตาวังเงร์

ตาวังเงร์ (Stavanger) เป็นเมืองในเทศมณฑลรูกาลันด์ ประเทศนอร์เวย์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ เป็นเมืองท่าทางทะเล บนสตาวังเงร์ฟยอร์ด ผลิตปลากระป๋อง ต่อเรือ เป็นศูนย์ประสานงานของการขุดเจาะน้ำมันนอกชายฝั่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสตาวังเงร์ · ดูเพิ่มเติม »

สปิตส์เบอร์เกน

ปิตส์เบอร์เกน (Spitsbergen หรือเดิมชื่อ West Spitsbergen; นอร์เวย์: Vest Spitsbergen, Vestspitsbergen) เป็นเกาะใหญ่ที่สุดและเกาะเดียวที่มีคนอาศัยอยู่ในหมู่เกาะสฟาลบาร์ ประเทศนอร์เวย์ ตั้งอยู่ทางตะวันตกสุดของหมู่เกาะ ติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทะเลนอร์วีเจียน และทะเลกรีนแลนด์ เกาะมีพื้นที่ 39,044 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสปิตส์เบอร์เกน · ดูเพิ่มเติม »

สนามกีฬาบิสเลตต์

นามกีฬาบิสเลตต์ (Bislett Stadium,Bislett stadion) ตั้งอยู่ที่กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ เริ่มก่อสร้างในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสนามกีฬาบิสเลตต์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาสฟาลบาร์

นธิสัญญาเกี่ยวข้องกับสปิตส์เบอร์เกน หรือ สนธิสัญญาสฟาลบาร์ มีการลงนามเมื่อวันที่ 9 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสนธิสัญญาสฟาลบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สแกนดิเนเวีย

แกนดิเนเวีย (Scandinavia; Skandinavia; Skandinavien) เป็นภูมิภาคทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ มีศูนย์กลางอยู่ที่คาบสมุทรสแกนดิเนเวียในยุโรปเหนือ มาจากชื่อเดิมว่า มณฑลสกาเนียน (Scanian Province) ประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย ได้แก่ ราชอาณาจักรสวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก อาจรวมถึงประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มนอร์ดิก เช่น ประเทศไอซ์แลนด์ และประเทศฟินแลนด์ จากความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภาษาและวัฒนธรรม นิยามของสแกนดิเนเวียอาจขยายไปถึงดินแดนที่เคยมีการพูดภาษานอร์เวย์โบราณและดินแดนที่มีการพูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกเหนือ ดังนั้น ในทางภาษาและวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียจึงรวมถึงประเทศไอซ์แลนด์และหมู่เกาะแฟโร นอกจากนี้ ในทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม สแกนดิเนเวียอาจรวมถึงฟินแลนด์ จากการที่ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนมายาวนาน ถึงแม้ว่าฟินแลนด์จะมีความเกี่ยวข้องทางวัฒนธรรมกับชาติสแกนดิเนเวียอื่นๆ แต่ชาวฟินแลนด์มีเชื่อชาติและภาษาแบบฟินโน-ยูกริก ซึ่งมีลักษณะของทั้งยุโรปตะวันตกและตะวันออก ถึงแม้ว่าความหมายของสแกนดิเนเวียอาจขึ้นอยู่กับบริบท กลุ่มนอร์ดิก นั้นหมายถึงนอร์เวย์ สวีเดน เดนมาร์ก ฟินแลนด์ และไอซ์แลนด์ รวมถึงหมู่เกาะแฟโร กรีนแลนด์ และหมู่เกาะโอลันด์ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันทั้งในด้านการเมืองและด้านวัฒนธรรม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสแกนดิเนเวีย · ดูเพิ่มเติม »

สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม

SAS Frösundavik Office Building) สแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม (Scandinavian Airlines System) เป็นสายการบินร่วมของประเทศในกลุ่มสแกนดิเนเวีย คือ สวีเดน นอร์เวย์ และเดนมาร์ก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 เป็นหนึ่งในสมาชิกของพันธมิตรสายการบินสตาร์อัลไลแอนซ์ อีกทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งสายการบินสแปนแอร์อีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสแกนดิเนเวียนแอร์ไลน์ซิสเต็ม · ดูเพิ่มเติม »

สแกเกอร์แรก

แกเกอร์แรก (Skagerrak) เป็นช่องแคบระหว่างชายฝั่งทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศนอร์เวย์ ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน และคาบสมุทรจัตแลนด์ เชื่อมกับทะเลเหนือและทะเลคัตเทกัต สู่ทะเลบอลติก ช่องแคบสแกเกอร์แรกมีความยาว 240 กม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสแกเกอร์แรก · ดูเพิ่มเติม »

สแตติน

pmid.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสแตติน · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2013–14

ูกาล 2013-14 ของ สโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนา ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 114 ของสโมสรและเป็นฤดูกาลที่ 83 ของการได้อยู่บนลีกสูงสุดของสเปน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาในฤดูกาล 2013–14 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2013–14

ูกาล 2013-14 เป็นฤดูกาลที่ 122 ของสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูล และเป็นฤดูกาลที่ 22 พรีเมียร์ลีก ลีกชั้นสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ โดยในครั้งนี้ลิเวอร์พูลได้มีสิทธิไปเล่นพรีเมียร์ลีก ผ่านเข้าไปเล่นในเอฟเอคัพและลีกคั.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลในฤดูกาล 2013–14 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2016–17

ูกาล 2016–17 เป็นฤดูกาลที่ 25 ของสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในพรีเมียร์ลีก และเป็นฤดูกาลที่ 97 ติดต่อกันบนลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลในฤดูกาล 2016–17 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์ในฤดูกาล 2016–17

การแข่งขัน ฤดูกาล 2016–17 จะเป็นฤดูกาลที่ 25 ของ ทอตนัมฮอตสเปอร์ ในฟุตบอล พรีเมียร์ลีก และเป็นฤดูกาลที่ 39 ที่ยังคงโลดแล่นอย่างต่อเนื่องอยู่บนลีกสูงสุดของระบบฟุตบอลอังกฤษ พร้อมกับพรีเมียร์ลีก, สโมสรจะแข่งขันใน เอฟเอคัพ, ลีกคัพ และ แชมเปียนส์ลีก ฤดูกาลเริ่มต้นระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสโมสรฟุตบอลทอตนัมฮอตสเปอร์ในฤดูกาล 2016–17 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลโมลเด

มสรฟุตบอลโมลเด (Molde Fotballklubb) เป็นสโมสรฟุตบอลของโมลเด ประเทศนอร์เวย์ ปัจจุบันเล่นอยู่ในอีลิทซีเรียน ลีกสูงสุดของประเทศนอร์เวย์ สโมสรก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสโมสรฟุตบอลโมลเด · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2015–16

การแข่งขัน ฤดูกาล 2015–16 ของ สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 112 ของสโมสร และเป็นฤดูกาลที่ 85 ของการได้อยู่บนลีกสูง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2015–16 · ดูเพิ่มเติม »

สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2016–17

การแข่งขัน ฤดูกาล 2016–17 ของ สโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริด ซึ่งเป็นฤดูกาลที่ 113 ของสโมสร และเป็นฤดูกาลที่ 86 ของการได้อยู่บนลีกสูง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดในฤดูกาล 2016–17 · ดูเพิ่มเติม »

สโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด

นว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด (Snow White and the Seven Dwarfs) คือภาพยนตร์อเมริกาออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2480 มีโครงเรื่องจากนวนิยายเรื่อง สโนว์ไวต์ ผลงานการประพันธ์ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เป็นการผลิตในรูปแบบภาพยนตร์การ์ตูนเต็มรูปแบบครั้งแรกของวอลท์ดิสนีย์ และเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ภาพยนตร์อเมริกา สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด ณ โรงละคร Carthay Circle ในวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480 ต่อมาได้จัดจำหน่ายโดย RKO Radio Pictures เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2481 เรื่องราวของเรื่องปรับปรุงมาจากแผ่นป้ายเรียบเรียงฉาก ของ Ann Blank, Richard Creedon, Merrill De Maris, Otto Englander, Earl Hurd, Dick Rickard, Ted Sears และ Webb Smith จากนวนิยายเยอรมันเรื่อง สโนว์ไวต์ ของพี่น้องตระกูลกริมม์ เดวิด แฮนด์เป็นผู้อำนวยการผลิต ส่วน William Cottrell, Wilfred Jackson, Larry Morey, Perce Pearce และ Ben Sharpsteen กำกับลำดับภาพ สโนว์ไวต์กับคนแคระทั้งเจ็ด เป็นหนึ่งใน 2 ภาพยนตร์การ์ตูนที่ติดอันดับภาพยนตร์อเมริกาที่ยิ่งใหญ่ที่สุด 100 เรื่อง จากสถาบันภาพยนตร์สหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสโนว์ไวท์กับคนแคระทั้งเจ็ด · ดูเพิ่มเติม »

สเต็ปเพ็นวูล์ฟ

ต็ปเพ็นวูล์ฟ (Steppenwolf) เป็นวงดนตรีฮาร์ดร็อคของอเมริกัน ก่อตั้งเมื่อปี..1967 ที่โตรอนโต้ ประเทศแคนาดา เดิมชื่อวง เดอะ สแปร์โรว์ ในขั้นแรก เป็นวงดนตรีแนวบลูส์ร็อค แต่ต่อมา ต้นปี..1968 ก็เปลี่ยนชื่อมาเป็น สเต็ปเพ็นวูล์ฟ และแนวดนตรีเป็นฮาร์ดร็อค มีเพลงฮิตตามมาคือ Born To Be Wild มีสมาชิกคือ จอห์น เคย์ เป็นผู้ร้องนำ วงนี้ยุบไปเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสเต็ปเพ็นวูล์ฟ · ดูเพิ่มเติม »

สเปรย์ละอองลอย

ทธิบัตร สเปรย์ละอองลอย หรือที่เรียกกันติดปากว่า กระป๋องสเปรย์ สเปรย์ละอองลอย หมายถึง กระป๋อง หรือสิ่งที่ออกมาจากกระป๋อง ซึ่งฉีดสารที่มีสภาพเป็น ละอองลอย ในภาษาพูดทั่วไป เรียกสั้นๆว่า สเปรย์ เป็นผลิตภัณฑ์บรรจุกระป๋องชนิดหนึ่ง ที่สามารถฉีดพรมของเหลวที่บรรจุออกมาในรูปฝอยของอนุภาคละอองลอย เพราะสเปรย์ละอองลอยชนิดนี้บรรจุสาร 2 กลุ่ม กลุ่มหนึ่งเป็น ของเหลวบรรจุภัณฑ์ที่ต้องการฉีดให้ฟุ้งกระจาย และอีกกลุ่มหนึ่งเป็น ไอภายใต้ความกดดันสูงจนอยู่ในรูปของเหลว ซึ่งมักเป็นแก๊สเฉื่อย ละลายรวมอยู่ในบรรจุภัณฑ์เพื่อเป็น กำลังขับดัน เมื่อลิ้นถูกเปิด ของเหลวถูกดันให้ไหลออกผ่านรูเล็ก และปรากฏเป็นอนุภาคละอองลอย คล้ายหมอก ขณะที่แก๊สขยายและขับบรรจุภัณฑ์ออก กำลังขับดันบางส่วนกลายเป็นไอภายในกระป๋อง และรักษาความดันให้คงที่ เมื่อออกนอกกระป๋อง หยดละอองของของเหลวที่เป็นกำลังขับดันกลายเป็นไออย่างรวดเร็ว ทิ้งให้หยดละอองของของเหลวบรรจุภัณฑ์ แขวนลอยในรูปของอนุภาคหรือหยดละอองที่ละเอียดมาก ของเหลวที่ผสมดังกล่าว เช่น ยาฆ่าแมลง, ยาดับกลิ่น และสีสเปรย์ เครื่องมือฉีดพ่นทางการเกษตร ก็ใช้หลักการคล้ายกันนี้ คือเพิ่มกำลังกดอากาศด้วยมือสูบ ซึ่งให้ผลดีกว่า สเปรย์ละอองลอย ซึ่งใช้เพียงแก๊สที่เก็บอัดไว้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และสเปรย์ละอองลอย · ดูเพิ่มเติม »

หมากรุกลูอิส

200px หมากรุกลูอิส (Lewis Chessmen) เป็นหนึ่งในหมากรุกที่มีชื่อเสียงที่สุดในช่วงศตวรรษที่ 12 ตัวหมากรุกหลายตัวทำจากงาของสิงโตทะเล มีรูปทั้งพระราชา พระราชินี บาทหลวง อัศวิน คาดว่าทำในนอร์เวย์ช่วงราว..1150-1200 และมีผู้ค้นพบที่เกาะ ไอส์ ออฟ ลูอิส ในประเทศสกอตแลนด์ ช่วงปล..1800 เพียง 78 ตัว ปัจจุบันถูกจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์อังกฤษในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ 67 ตัว และในพิพิธภัณฑ์แห่งชาติสกอตแลนด์ ในเมืองเอดินเบอระ ประเทศสกอตแลนด์ อีก 11 ตัว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และหมากรุกลูอิส · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะแฟโร

หมู่เกาะแฟโร (Føroyar เฟอรยาร แปลว่า "เกาะแห่งแกะ") เป็นหมู่เกาะในทวีปยุโรป ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติก ระหว่างสกอตแลนด์ นอร์เวย์ และไอซ์แลนด์ หมู่เกาะแฟโรเป็นเขตการปกครองตนเองของเดนมาร์ก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2491 โดยมีสถานภาพเหมือนกับกรีนแลนด์ มีอำนาจในการปกครองตนเองทุกด้าน ยกเว้นด้านการต่างประเทศและการทหาร (ไม่มีกองทัพ มีเพียงตำรวจและหน่วยลาดตระเวนชายฝั่งเท่านั้น) แต่อย่างไรก็ตาม หมู่เกาะแฟโรก็มีตัวแทนเป็นของตนเองในคณะมนตรีนอร์ดิก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และหมู่เกาะแฟโร · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์

หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ พลโท หม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ เป็นพระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์ กับหม่อมหวน จักรพันธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2449 โดยเพราะนาม "คัสตาวัส" นี้ มาจากภาษาสวีเดนว่า Gustavus เป็นพระนามที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานให้ เพื่อเป็นเกียรติแก่สมเด็จพระเจ้าออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ในวโรกาสที่เจ้าชายออสการ์ เบอร์นาดอตต์ เคานต์แห่งวิสบอร์ก พระราชโอรส เสด็จเยือนประเทศสยาม หม่อมเจ้าคัสตาวัสทรงเข้าศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยทหารบกในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และหม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล

ลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล มีพระนามเล่นว่า อั๋น เป็นโอรสในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการกับหม่อมพุก ประสูติเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2436 ทรงศึกษาที่โรงเรียนราชวิทยาลัย ที่บ้านสมเด็จเจ้าพระยา และจึงเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก หลังจากนั้นเสด็จไปทรงศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยโกรลิชเตเฟลเดอ ประเทศเยอรมัน ต่อจากนั้นเข้าศึกษาที่โรงเรียนรบ Kriegschule ที่เมืองเมทซ์ เดินทางกลับประเทศไทยเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และหม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงษ์ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หลุยส์แห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์

้าหญิงหลุยส์แห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์(7 ธันวาคม พ.ศ. 2267 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2294) พระนางเป็นพระราชธิดาองค์สุดท้องในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งบริเตนใหญ่กับคาร์โรไลน์แห่งอันสบาค สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักร และทรงดำรงพระอิศริยยศสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ โดยทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 5 แห่งเดนมาร์ก พระนางเป็นพระมเหสีพระองค์แรกในพระเจ้าเฟรเดอริคที่ 5 จนกระทั่งพระนางสิ้นพระชนม์ พระนางทรงเป็นที่นิยมในหมู่ชาวเดนมาร์ก เนื่องจากทรงเป็นผู้อุปถัมภ์วงการศิลปะ การดนตรี การละครเดนมาร์กที่สำคัญพระองค์หนึ่ง และทรงพยายามนำพาเดนมาร์กสู่ความทันสมั.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และหลุยส์แห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

หนูบ้าน

หนูบ้าน, หนูนอร์เวย์, หนูสีน้ำตาล หรือ หนูท่อ เป็นหนูชนิดที่พบเห็นได้บ่อยที่สุด เพราะเป็นหนูชนิดที่กระจายพันธุ์ไปอยู่ทั่วโลก พบได้ทุกสภาพแวดล้อม รวมถึงบ้านเรือนที่อาศัยของมนุษย์ สันนิษฐานว่าหนูบ้านกระจายพันธุ์มาจากประเทศนอร์เวย์ในภูมิภาคสแกนดิเนเวียที่เป็นแหล่งกำเนิดดั้งเดิม ไปทั่วทุกมุมโลกจากการติดไปกับเรือขนส่งสินค้าในยุควิคตอเรีย ซึ่งมันสามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทุกรูปแบบได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังมีอัตราการสืบพันธุ์ที่สูงและทักษะในการเอาตัวรอดที่เยี่ยมอีกด้วย หนูบ้านจัดได้ว่าเป็นหนูชนิดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล Rattus มีน้ำหนักโดยเฉลี่ยเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 300-350 กรัม (ในบางตัวอาจหนักได้ถึง 400 กรัม) ขนาดลำตัวและหัวยาวประมาณ 180-250 มิลลิเมตร หางยาวประมาณ 150-220 มิลลิเมตร เท้าหลังยาวประมาณ 35-40 มิลลิเมตร หูยาวประมาณ 17-23 มิลลิเมตร ลักษณะขนหยาบมีสีน้ำตาลปนเทา ท้องสีเทา ส่วนจมูกทู่ ใบหูเล็ก ตาเล็ก หางสั้นมี 2 สี ด้านบนสีดำ ด้านล่างสีจาง มีเกล็ดหยาบ ๆ ที่หาง และด้านบนของเท้าหลังมีสีขาว มีเต้านมรวม 6 คู่ อยู่ที่อก 3 คู่ ท้อง 3 คู่ ถ้าอยู่ในชุมชนของมนุษย์ มักอยู่ตามรูท่อระบายน้ำ ใต้ถุนตึกหรือบ้านเรือน บริเวณลำคลอง กองขยะหรือตลาดสด สามารถผสมพันธุ์และออกลูกได้ตลอดทั้งปี โดยออกลูกปีละ 4-7 ครอก ลูกหนึ่งครอกมีจำนวน 8–12 ตัว เริ่มเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์เมื่ออายุได้ 3-5 เดือน เมื่อผสมแล้วจะตั้งท้องเพียง 21-22 วัน เป็นสัตว์ที่กินอาหารได้แทบทุกอย่างและกินไม่เลือก รวมถึงมีพฤติกรรมกินซากพวกเดียวกันเองด้วย แม้จะไม่พบบ่อยมากนัก มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 2 ปี ให้ลูกได้ตลอดทั้งชีวิต 6-10 ครอก จัดเป็นสัตว์ที่สร้างความรำคาญและเป็นพาหะนำโรคระบาดร้ายแรงที่ทำให้ถึงชีวิตมาสู่มนุษย์ได้อย่างมากที่สุดชนิดหนึ่ง เช่น กาฬโรค ที่เคยระบาดอย่างรุนแรงมาแล้วในทวีปยุโรปในยุคกลาง ที่เรียกว่า ความตายสีดำ (Black Death) และโรคอื่น ๆ อีก เช่น โรคฉี่หนู หรือ เลปโตสไปโรซ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และหนูบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

หนูหริ่งหนูหรั่งผจญเพชรตาปีศาจ

หนูหริ่งหนูหรั่งผจญเพชรตาปีศาจ (The Rescuers) ออกฉายครั้งแรกวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2520 กำกับโดย Wolfgang Reitherman, John Lounsbery และ Art Stevens.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และหนูหริ่งหนูหรั่งผจญเพชรตาปีศาจ · ดูเพิ่มเติม »

ออร์กนีย์

ออร์กนีย์ (Orkney) หรือที่เรียกกันอย่างไม่ถูกต้องว่า "หมู่เกาะออร์กนีย์" (The Orkney Islands หรือ The Orkneys) เป็น "กลุ่มเกาะ" (archipelago) และที่ตั้งอยู่ทางเหนือของสกอตแลนด์ ตั้งอยู่ 16 กิโลเมตรเหนือฝั่งทะเลเคทเนสส์ (Caithness) ออร์กนีย์ประกอบด้วยเกาะทั้งหมด 70 เกาะและในจำนวนนั้น 20 มีผู้อยู่อาศัย เกาะที่ใหญ่ที่สุดของออร์กนีย์คือเกาะที่เรียกกันว่า "เมนแลนด์" (Mainland) ที่มีเนื้อที่ 523 ตารางกิโลเมตรซึ่งทำให้เป็นเกาะที่ใหญ่เป็นที่หกของบรรดาเกาะของสกอตแลนด์ และใหญ่เป็นที่สิบของบรรดาเกาะต่าง ๆ ในหมู่เกาะบริติช (British Isles) ที่ตั้งถิ่นฐานใหญ่ที่สุดที่เป็นศูนย์กลางของการปกครองอยู่ที่เคิร์กวอลล์ (Kirkwall) ออร์กนีย์เป็นหนึ่งใน 32 มณฑลของสกอตแลนด์ ผู้ที่อาศัยอยู่ที่ออร์กนีย์เรียกว่า "ออร์เคเดียน" ออร์กนีย์เป็นที่ตั้งถิ่นฐานมากว่า 5,500 ปี เดิมเป็นที่ตั้งถิ่นฐานของชนเผ่าจากยุคหินใหม่ และต่อมาโดยชาวพิกต์ (Picts) ในที่สุดออร์กนีย์ก็ถูกรุกรานและผนวกเป็นส่วนหนึ่งของนอร์เวย์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และออร์กนีย์ · ดูเพิ่มเติม »

ออลล์ฟอลส์ดาวน์ (เพลงแอลัน วอล์กเกอร์)

ออลล์ฟอลล์สดาวน์ (All Falls Down) เป็นเพลงของโปรดิวเซอร์เพลง,ดีเจชาวนอร์เวย์ แอลัน วอล์กเกอร์ โดยมีนักร้องรับเชิญ คือ โนอา ไซรัส และโปรดิวเซอร์เพลง,ดีเจชาวอังกฤษ ดิจิตอลฟาร์มแอนิมอลส์ เรียบเรียงโดย ดิจิตอลฟาร์มแอนิมอลส์,ปาบีโล โบว์แมน,ซาราห์ แบรนชาร์ด และมี เดอะซิกซ์,มูด เมโลดีส,แอลัน วอล์กเกอร์ เป็นโปรดิวเซอร์,ประพันธ์คำร้องโดย เดอะซิกซ์,ปาบีโล โบว์แมน,ซาราห์ แบรนชาร์ด และแดเนียล บอยล์ เพลงนี้ออกจำหน่ายในวันที่ 27 ตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และออลล์ฟอลส์ดาวน์ (เพลงแอลัน วอล์กเกอร์) · ดูเพิ่มเติม »

ออลโฮฟอิสโกน

ออลโฮฟอิสโกน เป็นสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 4 ของวงดนตรีเฮฟวีเมทัลชาวอเมริกัน สลิปน็อต อัลบั้มนี้ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2551 เป็นอัลบั้มต่อจาก อัลบั้ม Vol.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และออลโฮฟอิสโกน · ดูเพิ่มเติม »

ออสโล

แผนที่กรุงออสโล ออสโล (Oslo; ในภาษานอร์เวย์ออกเสียง อุสลู หรือ อุชลู) เป็นเมืองหลวงของประเทศนอร์เวย์ ออสโลมีประชากรประมาณ 811,688 (เมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 2005) โดยประชากรร้อยละ 22 เป็นผู้อพยพมาจากประเทศใกล้เคียง เขตการปกครองออสโลมีพื้นที่ทั้งหมด 115 ตารางกิโลเมตร ซึ่ง 7 ตารางกิโลเมตรใช้ทำการเกษตร ปัจจุบัน (ค.ศ. 2006) ออสโลเป็นเมืองที่มีค่าครองชีพสูงที่สุดในโลก แทนที่โตเกียว left หอคอยเทาวเวอร์ ณ เมืองออสโล รัฐสภาแห่งนอร์เวย์ สถานที่ให้เช้ารถจักรยานกลางกรุงออสโล ศาลาว่าการออสโล โรงละครแห่งชาติที่ใหญ่ที่สุดในนอร์เวย์ สถานีรถไฟกลางแห่งเมืองออสโล ออสโลตั้งอยู่ขอบด้านเหนือของอ่าวฟยอร์ด (fjord) ที่ชื่อออสโลฟยอร์ด ตัวเมืองประกอบด้วยเกาะ 40 เกาะ เกาะใหญ่ที่สุดชื่อ Malmøya นอกจากนี้ยังมีทะเลสาบ 343 แห่งซึ่งเป็นแหล่งน้ำจืดสำคัญ ตามตำนานของเผ่านอร์ส ออสโลก่อตั้งเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และออสโล · ดูเพิ่มเติม »

อองซาน ซูจี

อองซาน ซูจี (90px, เกิด 19 มิถุนายน 2488) เป็นนักการเมืองชาวพม่าและประธานพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD) ผู้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และรัฐมนตรีประจำทำเนียบประธานาธิบดี ในการเลือกตั้งทั่วไปปี 2533 NLD ได้คะแนนเสียงทั้งประเทศ 59% และที่นั่ง 81% (392 จาก 485 ที่นั่ง) ในรัฐสภา ทว่า เธอถูกควบคุมตัวในบ้านก่อนการเลือกตั้ง เธอยังอยู่ภายใต้การควบคุมตัวในบ้านในประเทศพม่าเป็นเวลาเกือบ 15 จาก 21 ปีตั้งแต่วันที่ 20 กรกฎาคม 2532 จนการปล่อยตัวครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2553 ทำให้เธอเป็นนักโทษการเมืองที่ขึ้นชื่อที่สุดคนหนึ่งของโลก ซูจีได้รับรางวัลราฟโต (Rafto Prize) และรางวัลซาฮารอฟสำหรับเสรีภาพทางความคิด (Sakharov Prize for Freedom of Thought) ในปี 2533 และรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในปี 2534 ในปี 2535 เธอได้รับรางวัลชวาหระลาล เนห์รูเพื่อความเข้าใจระหว่างประเทศ (Jawaharlal Nehru Award for International Understanding) โดยรัฐบาลอินเดีย และรางวัลซีมอง โบลีวาร์ระหว่างประเทศ (International Simón Bolívar Prize) จากรัฐบาลเวเนซุเอลา ในปี 2555 รัฐบาลปากีสถานมอบรางวัลชาฮิด เบนาซีร์ บุตโตเพื่อประชาธิปไตย (Shaheed Benazir Bhutto Award For Democracy) ในปี 2550 รัฐบาลแคนาดาประกาศให้เธอเป็นพลเมืองกิตติมศักดิ์ของประเทศ เป็นคนที่สี่ที่ได้รับเกียรตินี้ ในปี 2554 เธอได้รับเหรียญวัลเลนเบิร์ก (Wallenberg Medal) วันที่ 19 กันยายน 2555 อองซาน ซูจีได้รับเหรียญทองรัฐสภา ซึ่งร่วมกับเหรียญเสรีภาพประธานาธิบดี เป็นเกียรติยศพลเรือนสูงสุดในสหรัฐอเมริกา วันที่ 1 เมษายน 2555 พรรคสันนิบาติแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตยประกาศว่าเธอได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งในปีตูลุ้ดดอ (Pyithu Hluttaw) สภาล่างของรัฐสภาพม่า ซึ่งเป็นตัวแทนของเขตเลือกตั้งกอว์มู (Kawhmu) พรรคของเธอยังได้ที่นั่งว่าง 43 จาก 45 ที่นั่งในสภาล่าง คณะกรรมการการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการยืนยันผลการเลือกตั้งในวันรุ่งขึ้น วันที่ 6 มิถุนายน 2556 ซูจีประกาศบนเว็บไซต์ของเวิลด์อีโคโนมิกฟอรัมว่าเธอต้องการลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีในการเลือกตั้งปี 2558 ทว่า ซูจีถูกห้ามมิให้เป็นประธานาธิบดีภายใต้รัฐธรรมนูญปัจจุบัน ซึ่งมิอาจแก้ไขได้โดยปราศจากการรับรองจากสมาชิกสภานิติบัญญัติทหารอย่างน้อยหนึ่งคน ในปี 2557 นิตยสารฟอบส์จัดให้เธอเป็นหญิงทรงอำนาจที่สุดในโลกอันดับที่ 61 ในการเลือกตั้งทั่วไปปี พ.ศ. 2558 พรรค NLD ได้คะแนนเสียงทั้งประเทศ 86% (255 ที่นั่ง ในสภาผู้แทนราษฎรและ 135 ที่นั่ง ในสภาเชื้อชาติ) ทว่า เธอซึ่งเป็นประธานพรรค NLD ไม่สามารถดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเนื่องจากมีข้อห้ามในรัฐธรรมนูญ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอองซาน ซูจี · ดูเพิ่มเติม »

อะพาไทต์

อะพาไทต์ (Apatite) (Ca5 (PO4) 3 (F,Cl,OH)) เป็นแร่ที่อยู่ในกลุ่มฟอสเฟต มีค่าความแข็งที่ 5 ตามสเกลของโมส์ (Moh's scale).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอะพาไทต์ · ดูเพิ่มเติม »

อักษรรูน

รึกอักษรฟูทาร์กใหม่บน Vaksala Runestone อักษรรูน หรือ อักษรรูนิก ในภาษาพื้นเมืองเรียกฟูทาร์ก ซึ่งหมายถึงตัวอักษร ข้อความ หรือจารึก ในภาษาเยอรมันเก่าหมายถึง ประหลาดหรือความลับ อักษรนี้มีความเกี่ยวข้องกับเวทมนตร์ ทฤษฎีเกี่ยวกับจุดกำเนิดของอักษรรูน ได้แก่ อักษรนี้ถูกออกแบบโดยอิสระ ไม่ขึ้นกับอักษรอื่น การเขียนเริ่มขึ้นในยุโรปใต้และถูกนำไปทางเหนือโดยเผ่าเยอรมัน เป็นแบบให้อักษรละตินและอักษรอีทรัสคัน จารึกอักษรรูนที่เก่าที่สุดพบราว..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอักษรรูน · ดูเพิ่มเติม »

อัลดริช เอมส์

อัลดริช เฮเซน เอมส์ (Aldrich Hazen Ames; เกิด 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1941) เป็นอดีตเจ้าหน้าที่ต่อต้านการข่าวกรองและนักวิเคราะห์ของหน่วยสืบราชการลับกลางแห่งสหรัฐอเมริกา (CIA) ซึ่งใน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอัลดริช เอมส์ · ดูเพิ่มเติม »

อันเนอ ฟรังค์

อันเนอลีส มารี "อันเนอ" ฟรังค์ (Annelies Marie "Anne" Frank; 12 มิถุนายน 2472 – ประมาณมีนาคม 2488) หรือแอนน์ แฟรงค์ เป็นเด็กหญิงชาวยิว เกิดที่เมืองแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี เธอมีชื่อเสียงโด่งดังในฐานะผู้เขียนบันทึกประจำวันซึ่งต่อมาได้รับการตีพิมพ์เป็นหนังสือ บรรยายเหตุการณ์ขณะหลบซ่อนตัวจากการล่าชาวยิวในประเทศเนเธอร์แลนด์ ระหว่างที่ถูกเยอรมนีเข้าครอบครองในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ครอบครัวของเธอได้ย้ายไปยังประเทศเนเธอร์แลนด์ในปี พ.ศ. 2476 หลังจากพรรคนาซีเริ่มมีอำนาจ ต่อมาเมื่อกองทัพนาซีเข้ายึดครองเนเธอร์แลนด์ พร้อมกับออกมาตรการควบคุมชาวยิวจำนวนมาก เธอและครอบครัวกับผู้อื่นอีก 4 คนจึงต้องไปหลบซ่อนตัวอยู่ในอาคารสำนักงานในกรุงอัมสเตอร์ดัมของออทโท ฟรังค์ ผู้เป็นบิดาในห้องลับบนหลังคาตั้งแต่ พ.ศ. 2485 จนถูกหักหลังและถูกนาซีจับเข้าค่ายกักกันในปี พ.ศ. 2487 อันเนอ ฟรังค์เสียชีวิตด้วยโรคไข้รากสาดใหญ่ในเวลาใกล้เคียงกับพี่สาวในค่ายกักกันแบร์เกิน-เบลเซินประมาณเดือนกุมภาพันธ์ หรือมีนาคม พ.ศ. 2488 สมาชิกตระกูลฟรังค์มีผู้รอดชีวิตเพียงคนเดียว คือออทโทผู้เป็นพ่อ เขากลับมาอัมสเตอร์ดัมหลังสงครามสิ้นสุดและได้พบสมุดบันทึกของเธอที่เพื่อนเก็บรักษาไว้ให้ จึงพยายามนำออกตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2490 ใช้ชื่อหนังสือว่า "Het Achterhuis" หลังจากนั้นมีการแปลจากต้นฉบับภาษาดัตช์ออกไปเป็นภาษาต่าง ๆ มากมาย ฉบับภาษาอังกฤษใช้ชื่อว่า "The Diary of a Young Girl" ส่วนฉบับแปลภาษาไทยใช้ชื่อว่า "บันทึกลับของแอนน์ แฟรงค์" อันเนอ ฟรังค์ได้รับสมุดบันทึกเป็นของขวัญวันเกิดครบ 13 ขวบ เธอเริ่มเขียนบันทึกตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2485 และสิ้นสุดในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487 บันทึกได้รับการแปลจากภาษาดัตช์ออกเป็นภาษาต่าง ๆ มากมายและกลายเป็นหนังสือเล่มหนึ่งที่มีผู้อ่านมากที่สุดในโลก นอกจากภาพยนตร์แล้วยังมีการนำเรื่องราวไปสร้างเป็นภาพยนตร์ชุดโทรทัศน์ ละครเวที และแม้แต่อุปรากร งานบันทึกของอันเนอ ฟรังค์ถือว่าเป็นการเขียนงานอย่างผู้ใหญ่เต็มตัวและเต็มไปด้วยความช่างคิด แสดงให้เห็นชีวิตประจำวันที่แท้จริงภายใต้อำนาจพวกนาซี เป็นการพรรณนาถึงเหยื่อของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ที่โด่งดังที่สุด อันเนอ ฟรังค์ ได้รับเลือกจากนิตยสารไทมส์ให้เป็น 1 ใน 100 บุคคลสำคัญแห่งศตวรรษที่ 20 และกลายเป็นสัญลักษณ์แห่งการต่อสู้เพื่อเกียรติภูมิของมนุษ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอันเนอ ฟรังค์ · ดูเพิ่มเติม »

อา-ฮา

อา-ฮา (a-ha) เป็นวงดนตรีจากนอร์เวย์ มีชื่อเสียงในช่วงทศวรรษ 1980 และประสบความสำเร็จต่อเนื่องในทศวรรษ 1990 และ 2000 อา-ฮา ประสบความสำเร็จกับผลงานอัลบั้มเปิดตัวและซิงเกิ้ลในปี 1985 Hunting High and Low ขึ้นชาร์ตบิลบอร์ดสูงสุดอันดับ 15 และมีซิงเกิ้ลอันดับ 1 ในระดับนานาชาติกับเพลง "Take on Me" และยังได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแกรมมี่ในสาขาศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม และอัลบั้มนี้ถือเป็นอัลบั้มที่ขายดีที่สุดในปี 1986 ในปี 1994 พวกเขาแยกวงกัน ในปีนั้นเองพวกเขามียอดขายอัลบั้มถึง 20 ล้านอัลบั้มทั่วโลก หลังจากนั้นเขาแสดงในงานคอนเสิร์ตแจกรางวัลโนเบล ปี 1998 วงกลับมาทำผลงานเพลงอีกครั้งกับอัลบั้มในปี 2002 ชุด Minor Earth Major Sky พวกเขาออกทัวร์อีกครั้ง และในปี 2000 นี้เขามียอดขายอัลบั้มกว่า 36 ล้านชุดทั่วโลก และยอดขายซิงเกิ้ลกว่า 2 ล้านชุด ในปี 2002 พวกเขาออกผลงานสตูดิโออัลบั้มชุดที่ 7 ชื่อ Lifelines.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอา-ฮา · ดูเพิ่มเติม »

อาร์กติก

้นสีแดงในภาพเป็นบริเวณของอาร์กติกที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยเท่าๆกัน อาร์กติก (Arctic) เป็นพื้นที่ในบริเวณขั้วโลกเหนือ ซึ่งบริเวณของอาร์กติกนี้ประกอบไปด้วยพื้นที่บางส่วนของประเทศต่าง ๆ เช่น แคนาดา, กรีนแลนด์ (ดินแดนของเดนมาร์ก), รัสเซีย, สหรัฐอเมริกา (อะแลสกา), ไอซ์แลนด์, นอร์เวย์, สวีเดน และฟินแลนด์ รวมถึงบริเวณของมหาสมุทรอาร์กติกด้วย บริเวณพื้นที่ส่วนใหญ่ของอาร์กติกจะเป็นพื้นที่กว้าง มหาสมุทรปกคลุมไปด้วยน้ำแข็ง พื้นที่รอบ ๆ ปราศจากพืชพันธุ์และผืนดินก็ปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งเช่นเดียวกัน แต่กลับอุดมไปด้วยสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ทั้งที่อาศัยอยู่ในน้ำแข็ง, ปลา,สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, นก และรวมถึงมนุษย์ด้วย ตามธรรมชาติของบริเวณอาร์กติกจะเป็นที่ที่แตกต่างจากที่อื่นอย่างเห็นได้ชัด ผู้คนที่อาศัยอยู่ในอาร์กติกจะมีการปรับตัวและใช้ชีวิตอยู่ท่ามกลางความหนาวเหน็บและธรรมชาติอันโหดร้าย อาร์กติกจะมีความอ่อนไหวได้ง่ายมากจากการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนโลกของเรา เช่น อุณหภูมิบนโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ความอ่อนไหวได้ง่ายนี้ทำให้อาร์กติกนี้ถูกมองเสมือนเป็นระบบเตือนภัยล่วงหน้าให้แก่โลกของเรา คำว่า อาร์กติก มากจากภาษากรีกโบราณ αρκτος ซึ่งมีความหมายว่า หมี และยังอ้างอิงไปถึงกลุ่มดาวหมีใหญ่และหมีเล็กที่อยู่ใกล้กับดาวเหนือด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอาร์กติก · ดูเพิ่มเติม »

อาดอล์ฟ ชเตรคเคอร์

การสังเคราะห์กรดอะมิโนแบบชเตรคเคอร์ อาดอล์ฟ ชเตรคเคอร์ (Adolph Strecker; 21 ตุลาคม ค.ศ. 1822 – 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1871) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองดาร์มสตัดท์ เป็นบุตรของลุดวิจ ชเตรคเคอร์ เรียนที่โรงเรียนในเมืองดาร์มสตัดท์ ก่อนจะเรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยกีสเซิน หลังเรียนจบ ชเตรคเคอร์กลับไปเป็นครูที่ดาร์มสตัดท์ ก่อนจะทำงานเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์และอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยกีสเซิน ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอาดอล์ฟ ชเตรคเคอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อาเนอยา

อาเนอยา (Andøya) เป็นเกาะทางเหนือสุดของกลุ่มเกาะเวสเตอโรเลน ตั้งอยู่ราว 300 กม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอาเนอยา · ดูเพิ่มเติม »

อิกอร์ สตราวินสกี

อิกอร์ เฟโดโรวิช สตราวินสกี้ (И́горь Фёдорович Страви́нский; Igor Stravinsky; 17 มิถุนายน ค.ศ. 1882 — 6 เมษายน ค.ศ. 1971)) เป็นคีตกวีดนตรีคลาสสิกสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาวรัสเซีย สตราวินสกี้ ราวปี 1950 สตราวินสกี้เป็นบุตรชายของนักร้องชื่อดังแห่งโรงละครหลวง เขาเกิดที่เมืองออรานีนบาม (Oranienbaum) ซึ่งตอนนี้เปลี่ยนเป็นชื่อ โลโมโนซอฟ (Lomonosov) ใกล้กับนครเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก ในประเทศรัสเซีย เขาเรียนด้านกฎหมายกับเปียโน ก่อนที่จะมาเป็นศิษย์ของนิโคไล ริมสกี้-คอร์ซาคอฟ บทเพลงชื่อดังชิ้นแรกของเขาได้แก่ วิหคเพลิง (ค.ศ. 1910 ด้วยการจ้างของแซร์จ เดียกิเลฟ เพื่อใช้แสดงในคณะบัลเลต์รัสเซีย ตามมาด้วยเพลง เปทรูชก้า (ค.ศ. 1911) พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ (ค.ศ. 1913) และอุปรากร เรื่อง นกไนติงเกล (ค.ศ. 1914) มีเรื่องที่วิพากษ์วิจารณ์กันมากเกี่ยวกับบัลเลต์เรื่อง พิธีบูชายัญในฤดูใบไม้ผลิ ทั้งจากท่าเต้น และความไม่เหมือนใครของดนตรีประกอบ ทำให้สตราวินสกี้กลายเป็นคีตกวี ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 สตราวินสกี้เสียชีวิตที่นิวยอร์ก ศพของเขาถูกฝังไว้ที่สุสานซาน มิเชลในนครเวนิซ ประเทศอิตาลี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอิกอร์ สตราวินสกี · ดูเพิ่มเติม »

อิมมอร์ทัล (วงดนตรี)

อิมมอร์ทัล (Immortal) เป็นวงแบล็กเมทัลจากแบร์เกน, ประเทศนอร์เวย์ ก่อตั้งขึ้นในปี 1990 โดยนักร้องนำและมือกีตาร์แอ็บบาธ ดูมม ออคคัลตา (Abbath Doom Occulta) และอดีตมือกีตาร์เดมอนแนซ ดูม ออคคัลตา (Demonaz Doom Occulta) ร่วมกับมือกลองอีกหลายคนเช่น กริม (Grim) อาร์มาเกดดา (Armagedda) และเฮลล์แฮมเมอร์ (Hellhammer) ในสตูดิโออัลบั้ม 3 อัลบั้มแรก และต่อมาได้เปลี่ยนมือกลองอีกเป็น ฮอร์กห (Horgh) ในปี 1996 อิมมอร์ทัลจัดเป็นวงแบล็กเมทัลไม่สุดโต่งดังเช่นวงแบล็กเมทัลยุคแรกเป็นกัน โดยเนื้อหาเพลงของวงใช้ธีม บลาชิลฮ์ (Blashyrkh) ซึ่งเกี่ยวข้อง "ปีศาจและสงคราม" แรงบันดาลใจของบลาชิลฮ์มาจากอารมณ์อันโดดเดี่ยวของแอ็บบาธในแบร์เกน ซึ่งมาจากบรรยากาศมนนอร์เวย์ เช่น ภูมิทัศน์ในเมืองหิมะ ป่าไม้ ภูเขา ความมืด หมอก และธารน้ำแข็ง อิมมอร์ทัลไม่เคยแต่งเนื้อหาที่เกี่ยวกับลัทธิซาตาน แต่ถึงอย่างไรก็ดีในอัลบั้มแรกได้รับการอ้างถึงว่าเป็นซาตานเล็กน้อย แต่ไม่เคยมีเนื้อหาที่โจมตีศาสนาเลย อิมมอร์ทัล ได้รับการโหวตจากคนภายนอกบนเว็บไซด์เดอะท็อปเทนส์ (TheTopTens) ในหัวข้อ "วงแบล็กเมทัลที่ดีที่สุด" ด้วยอันดับ 1 และอันดับที่ 6 ในหัวข้อ "30 วงแบล็กที่ดีที่สุด" จากเว็บไซด์เรตยัวร์มิวสิก (Rate Your Music) อิมมอร์ทัล เป็นวงแบล็กเมทัลไม่กี่วงที่มีภาพลักษณ์ไม่โหดร้ายดังเช่นวงแบล็กเมทัลอื่นๆ วงมักจะถ่ายรูปแต่งกายคู่กับอาวุธยุคกลางแบบพวกไวกิง นอกจากนี้วงยังถูกนำภาพมาล้อเลียนเชิงขำขันในโลกอินเทอร์เน็ต ทั้งการนำแมวขอบตาดำมาตัดต่อใส่ภาพถ่ายร่วมสมาชิกวง และนำมาตัดต่อในรูปภาพอื่นๆอีกเป็นจำนวนมาก เป็นต้น ในเดือนมีนาคม 2015 แอ็บบาธได้ประกาศออกจากวงและออกไปตั้งวงในชื่อเดียวกับเขา "แอ็บบาธ" แต่ถึงอย่างไรก็ดี ในเดือนสิงหาคม 2015 เดมอแนซและฮอร์กหได้ออกมากล่าวว่า "วงจะไม่หยุดเพียงเท่านี้" และจะยังคงวงไว้ต่อแม้ปราศจากแอ็.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอิมมอร์ทัล (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

อินอะโมเมนต์ไลก์ดิส

อินอะโมเมนต์ไลก์ดิส (In a Moment Like This) เป็นเพลงที่ร้องโดยคริสตินา ชานี และโทมัส เนเวอร์กรีน ที่เขียนโดย โทมัส จีซอน, เฮนริก เซธซอน, อีริก เบิร์นโฮลม์ ซึ่งเป็นเพลงที่เดนมาร์กส่งเข้าแข่งขันการประกวดร้องเพลงในยูโรวิชันส์ซองคอนเทสต์ 2010 ที่จัดขึ้นในกรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 2010 บทเพลงนี้เป็นบทเพลงที่ชนะเลิศในการประกวด Dansk Melodi Grand Prix ซึ่งจัดภายในประเทศเดนมาร์ก เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ และได้นำเพลงนี้ส่งเข้าแข่งขันยูโรวิชันส์ซองคอนเทสต์ 2010 ในนามของประเทศเดนมาร์ก และได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 4 ของการประกวดครั้งนี้ ด้วยคะแนน 149 คะแนน ต่อมาวงดนตรีสกอตต์ ของประเทศสวีเดน ได้นำทำนองของเพลงอินอะโมเมนต์ไลก์ดิสมาแต่งเพลง โดยเป็นเพลงที่มีชื่อว่า Vi gör det igen.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอินอะโมเมนต์ไลก์ดิส · ดูเพิ่มเติม »

อิเกร์ กาซิยัส

อิเกร์ กาซิยัส เฟร์นันเดซ (Iker Casillas Fernández) เกิดเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1981 เป็นนักฟุตบอลชาวสเปน ผู้ซึ่งปัจจุบันเล่นให้กับโปร์ตูของโปรตุเกสในตำแหน่งผู้รักษาประตู ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอิเกร์ กาซิยัส · ดูเพิ่มเติม »

อุรัสยา เสปอร์บันด์

อุรัสยา เสปอร์บันด์ (เกิด 18 มีนาคม พ.ศ. 2536) ชื่อเล่น ญาญ่า เป็นนักแสดงและนางแบบลูกครึ่งไทย-นอร์เวย์ เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอุรัสยา เสปอร์บันด์ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานแห่งชาติรอนดาเนอ

right อุทยานแห่งชาติรอนดาเนอ (Rondane nasjonalpark) เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศนอร์เวย์ ตั้งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอุทยานแห่งชาติรอนดาเนอ · ดูเพิ่มเติม »

อุทยานโอลิมปิก

อุทยานโอลิมปิก (Olympic Park) เป็นศูนย์กีฬาสำหรับรองรับการเป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิก โดยปกติจะประกอบด้วย สนามกีฬาโอลิมปิก (Olympic Stadium) และ ศูนย์กระจายเสียงแพร่ภาพนานาชาติ (International Broadcast Center) นอกจากนี้ อาจมีหมู่บ้านนักกีฬาโอลิมปิก หรือสนามจัดการแข่งขันกีฬาอื่นๆ อีกบางส่วน อย่างเช่นศูนย์กีฬาทางน้ำในกรณีโอลิมปิกฤดูร้อน หรือลานฮอกกีน้ำแข็งสำหรับโอลิมปิกฤดูหนาว นับเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งตกทอด ซึ่งยังประโยชน์แก่นครเจ้าภาพภายหลังการแข่งขันสิ้นสุดลง ทั้งนี้อาจหมายรวมถึงสวนสาธารณะในเขตเมือง และพิพิธภัณฑ์หรืออนุสรณ์ของการเป็นเจ้าภาพจัดแข่งขัน อุทยานโอลิมปิกเริ่มมีขึ้นเป็นครั้งแรก ในการแข่งขันฤดูร้อนครั้งที่ 4 ในกรุงลอนดอนของสหราชอาณาจักร เมื่อปี พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) โดยคณะกรรมการจัดการแข่งขันระบุว่า การแข่งขันทั้งหมดเท่าที่เป็นไปได้ ซึ่งประกอบด้วย ว่ายน้ำ ยิงธนู ฟันดาบ เป็นต้น จะจัดขึ้นบนทำเลเดียวกัน ซึ่งจะมีการจัดสร้างอัฒจันทร์ สำหรับกรีฑาประเภทลู่และกีฬาจักรยาน แต่การจัดตั้งศูนย์กีฬารวมในลักษณะนี้ มิได้ปรากฏในการแข่งขันทุกครั้งแต่อย่างใด โดยในโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 16 เมื่อปี พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) และครั้งที่ 21 เมื่อปี พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) มีการกระจายสนามแข่งขันออกไปในวงกว้าง อนึ่ง ในปีหลังนี้มีสนามแข่งขันรายการนอร์ดิกสกีใช้ชื่อว่า “อุทยานโอลิมปิกวิสต์เลอร์” (Whistler Olympic Park) สำหรับในการแข่งขันฤดูร้อนครั้งที่ 31 ที่กรุงริโอเดจาเนโรของบราซิล ในปี พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016) จะแบ่งสนามแข่งขันออกเป็น 4 กลุ่ม มากกว่าจะรวมกันอยู่ในอุทยานแห่งเดียว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอุทยานโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

อุโมงค์เมล็ดพันธุ์พืชแห่งสฟาลบาร์

mk'g-hkอุโมงค์เมล็ดพันธุ์พืชแห่งสฟาลบาร์ อุโมงค์เมล็ดพันธุ์พืชแห่งสฟาลบาร์ (Svalbard globale frøhvelv, Svalbard Global Seed Vault) เป็นแหล่งสำรองเมล็ดพรรณจากทั่วโลก ตั้งอยู่บนเกาะสปีตสเบร์เกน ประเทศนอร์เวย์ ใกล้กับเมืองลองเยียร์เบียน ห่างจากขั้วโลกเหนือราว 1,300 กิโลเมตร เป็นที่รวบรวมเมล็ดพันธุ์พืชหลากหลายชนิดซึ่งเก็บไว้ในอุโมงค์ใต้ดิน โดยเมล็ดพันธุ์พืชนี้เก็บไว้เพื่อสำรอง จากพืชพันธุ์ทั่วโลก ในยามที่ขาดแคลนพืช หรือไว้หลบภัยในกรณีที่เกิดวิกฤติการณ์ไม่ว่าจะในภูมิภาคหรือระดับโลก ภายใต้การสนับสนุนจาก 3 ฝ่าย คือรัฐบาลนอร์เวย์, กองทุนความหลากหลายแห่งธัญพืชของโลก (Global Crop Diversity Trust) และศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมแห่งนอร์ดิก (Nordic Genetic Resource Center) การก่อสร้างอุโมงค์ มีมูลค่าราว 45 ล้านโครนนอร์เวย์ (9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ)"".

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอุโมงค์เมล็ดพันธุ์พืชแห่งสฟาลบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อูเล กุนนาร์ ซูลแชร์

อูเล กุนนาร์ ซูลแชร์ (Ole Gunnar Solskjær) เกิดวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1973 เป็นชาวนอร์เวย์ เคยเป็นผู้จัดการทีมสโมสรฟุตบอลคาร์ดิฟฟ์ซิตี และเคยเป็นกองหน้าของสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เจ้าของฉายา เพชฌฆาตหน้าทารก หมวดหมู่:กองหน้าฟุตบอล หมวดหมู่:ผู้เล่นในพรีเมียร์ลีก หมวดหมู่:ผู้เล่นสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด หมวดหมู่:นักฟุตบอลชาวนอร์เวย์ หมวดหมู่:ผู้เล่นในฟุตบอลโลก 1998 หมวดหมู่:ผู้จัดการทีมฟุตบอลในพรีเมียร์ลีก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอูเล กุนนาร์ ซูลแชร์ · ดูเพิ่มเติม »

อีริส มีเตอนาร์

อีริส มีเตอนาร์ (Iris Mittenaere; 25 มกราคม ค.ศ. 1993 –) เป็นนางแบบและนางงามชาวฝรั่งเศสที่ครองตำแหน่งนางงามจักรวาล 2016 เมื่อวันที่ 30 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอีริส มีเตอนาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อีลิทซีเรียน (ฟุตบอล)

อีลิทซีเรียน (Eliteserien) เป็นลีกฟุตบอลสูงสุดของประเทศนอร์เวย์ ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1937.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอีลิทซีเรียน (ฟุตบอล) · ดูเพิ่มเติม »

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ โออีซีดี (Organisation for Economic Co-operation and Development - OECD) เป็นองค์กรระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว และยอมรับระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจการค้าเสรีในการร่วมกันและพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคยุโรปและโลก แต่เดิมองค์กรนี้ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในนามองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรปหรือโออีอีซี (Organization for European Economic Co-operation: OEEC) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 (พ.ศ. 2491) ในช่วงสมัยสงครามเย็น วัตถุประสงค์คือเพื่อร่วมมือกันฟื้นฟูภาวะเศรษฐกิจของประเทศยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ให้กลับคืนมาและคงไว้อย่างมั่นคงตามแนวทางเศรษฐกิจทุนนิยมโดยแผนการมาร์แชลล์ สัญญาในการก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 16 เมษายน..1948 โดยมีสมาชิกประเทศยุโรปตะวันตกจำนวน 19 ประเทศ เป็นผู้ลงนาม ได้แก่ ออสเตรีย, เบลเยี่ยม, เดนมาร์ก, ฝรั่งเศส, กรีซ, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, อิตาลี, ลักเซมเบิร์ก, นอร์เวย์, เนเธอร์แลนด์,โปรตุเกส, อังกฤษ, สวีเดน, สวิตเซอร์แลนด์, ตุรกี, สหรัฐอเมริกา,เยอรมนีตะวันตกและแคว้นอิสระของตรีเอสเต โปสเตอร์สำหรับแผนมาร์แชลล์แสดงธงชาติของประเทศในยุโรปตะวันตก รวมไปถึงแคว้นอิสระตรีเอสเตที่มีพื้นหลังสีฟ้าอย่างเป็นทางการของสหประชาชาติ นอกจากจะเป็นการฟื้นฟูยุโรปแล้วยังเป็นการต่อต้านหยุดยั้งไม่ให้อิทธิพลของลัทธิคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตมาเผยแพร่ที่ยุโรปตะวันตกและยังเป็นการโน้มน้าวให้ยุโรปตะวันออกที่เป็นประเทศบริวารให้เห็นด้วยและเข้าร่วม แต่ในขณะเดียวกัน สหภาพโซเวียตภายใต้การนำของโจเซฟ สตาลินได้หวาดระแวงแผนการมาร์แชลล์ โดยมองว่า เป็นแผนการร้ายของสหรัฐฯที่จะขยายอิทธิพลและเผยแพร่ลัทธิระบอบประชาธิปไตยและเศรษฐกิจทุนนิยมเข้าสู่ยุโรปตะวันออกจึงทำการบีบบังคับประเทศบริวารในยุโรปตะวันออกให้ปฏิเสธแผนการดังกล่าวและได้เสนอแผนการโมโลตอฟ(Molotov Plan)ในการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวทางเศรษฐกิจของคอมมิวนิสต์ขึ้นมาแทนเพื่อเป็นการโต้ตอบแผนการมาร์แชล พร้อมก่อตั้งสภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจหรือคอมิคอน (Council for Mutual Economic Assistance, Comecon) เพื่อเป็นการคานอำนาจจากองค์กรโออีอีซีเช่นเดียวกับสนธิสัญญาวอร์ซอต่อต้านองค์กรนาโต (แต่จนกระทั่งถึงปี ค.ศ.1991 คอมิคอนก็ได้ถูกยกเลิกไปพร้อมกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต) ต่อมาในช่วงหลังสงครามเย็นก็ได้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่จากองค์กรโออีอีซีมาเป็นโออีซีดี และมีการลงนามกันใหม่อีกครั้ง ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศล เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และองค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย

อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการห้ามใช้ มีไว้ครอบครอง ผลิต ขนย้าย และกักตุนซึ่งอาวุธยุทธภัณฑ์ประเภทระเบิดลูกปราย (cluster bomb หรือ cluster monition) โดยได้รับสัตยาบันจากประเทศหนึ่งร้อยสิบเก้าประเทศในการประชุมที่กรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2551 และจะได้มีการให้ปฏิญญาอย่างเป็นทางการที่กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ ในเดือนธันวาคม ปีเดียวกัน ประเทศที่ให้สัตยาบันในการประชุมที่กรุงดับลินจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ทุกกรณี, การประชุมหารือทางการทูตเพื่อการกำหนดใช้อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย, 30 พฤษภาคม 2551.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอนุสัญญาว่าด้วยระเบิดลูกปราย · ดูเพิ่มเติม »

อนุสัญญาแรมซาร์

ปสเตอร์การประชุมอนุสัญญาแรมซาร์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2514 ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) คือสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการใช้พื้นที่ชุ่มน้ำอย่างยั่งยืน เช่น เพื่อการสกัดกั้นและยับยั้งการบุกรุกเข้าครอบครองและการลดถอยของพื้นที่ชุ่มน้ำทั้งในปัจจุบันและในอนาคต และเป็นการเพื่อรับรู้และรับรองความสำคัญพื้นฐานของพื้นที่ชุ่มน้ำในเชิงหน้าที่ทางนิเวศ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ตลอดจนคุณค่าทางนันทนาการ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอนุสัญญาแรมซาร์ · ดูเพิ่มเติม »

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล

อเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล (America's Next Top Model หรือในชื่อย่อว่า ANTM) เป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ที่ทำการคัดเลือกหญิงสาวจากรัฐต่างๆ ของสหรัฐอเมริกา ที่ใฝ่ฝันอยากที่จะเป็นนางแบบ โดยผู้เข้าแข่งขันต้องขับเคี่ยวกันจากบททดสอบมากมาย ตั้งแต่การถ่ายภาพ การถ่ายโฆษณา ที่ล้วนต้องอาศัยความสามารถระดับสูงก่อนจะมาเป็นสุดยอดนางแบบของอเมริกา ซึ่งผู้ชนะในแต่ละฤดูกาลจะได้รับรางวัลดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอเมริกาส์เน็กซต์ท็อปโมเดล · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ รืยบัค

อเล็กซานเดอร์ อีการาวิช รืยบัค (Аляксандр І́гаравіч Рыбак Alyaxandr Igaravich Rybak) เกิดเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1986 เมืองมินสค์ ในเบลารุส แต่เติบโตในเนซอดเดน ซึ่งอยู่นอกกรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ เป็นนักร้อง-นักแต่งเพลง นักไวโอลิน นักเปียโน นักเขียนและนักแสดง ชาวนอร์เวย์ เขาชนะรางวัลชนะเลิศ ในการประกวดแสดงความสามารถของนอร์เวย์ จากเพลงที่เขาแต่ง โดยในปี 2009 เขาเป็นตัวแทนของประเทศนอร์เวย์ในการแข่งขันการประกวดเพลงยูโรวิชัน‎ ในมอสโคว์ ประเทศรัสเซีย โดยเขาชนะเลิศการแข่งขันด้วยคะแนน 387 คะแนน ถือเป็นสถิติคะแนนที่สูงที่สุดในการแข่งขัน กับเพลง "Fairytale" ที่เขาทั้งเขียนทั้งเนื้อร้องและทำนอง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และอเล็กซานเดอร์ รืยบัค · ดูเพิ่มเติม »

ฮอนนิงสโวก

อนนิงสโวก (Honningsvåg) เป็นเมืองที่อยู่ทางทิศเหนือที่สุดของประเทศนอร์เวย์ จัดตั้งเป็นเมืองขึ้นเมื่อปี 2539 มีพื้นที่ 1.07 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนประชากร 2,415 คน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฮอนนิงสโวก · ดูเพิ่มเติม »

ฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน

ันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน (Hans Hendrik van Paesschen; ประมาณ ค.ศ. 1510-ค.ศ. 1582) เป็นสถาปนิกจากเมืองแอนต์เวิร์ป อาณาจักรฟลานเดอส์ (ทางตอนเหนือของประเทศเบลเยียมปัจจุบัน) ผู้ออกแบบอาคารรูปแบบคลาสสิกในหลาย ๆ อาณาจักรในเขตยุโรปเหนือ ในยุคนั้น สถาปนิกที่มีอิทธิพลสุดในอิตาลีคืออันเดรอา ปัลลาดีโอ (Andrea Palladio) ฝรั่งเศสคือฟีลีแบร์ เดอลอร์ม (Philibert Delorme) แต่จริง ๆ แล้ว ฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน ได้ออกแบบอาคารมากมายในยุโรปเหนือไม่แพ้สถาปนิกสองคนข้างต้น แต่สาเหตุที่เขาไม่ได้มีชื่อเสียงโด่งดังเพราะว่าแต่ละดินแดนที่เขาได้ไปออกแบบสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ให้นั้น ชื่อของเขาได้รับการสะกดแตกต่างกันหมด ปาสเซินได้รับการฝึกมาจากอิตาลี แล้วกลับมาทำงานในเมืองแอนต์เวิร์ป ทำงานร่วมกับประติมากรชื่อดัง โฟลริส เดอ ฟรีนต์ (Floris de Vriendt) ได้รับโครงการมาทำมากมาย ปาสเซินทำการออกแบบโครงการในฟลานเดอส์ เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ เวลส์ เดนมาร์ก นอร์เวย์ สวีเดน และคาลีนินกราด (Kaliningrad) นอกจากนี้ยังมีหลักฐานที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า เขาออกแบบอาคารในตอนเหนือของฝรั่งเศส เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย ปาสเซินมักจะออกแบบลักษณะของสถาปัตยกรรมแบบเฟลมิชแท้ ๆ โดยผสมความเป็นสถาปัตยกรรมยุโรปเหนือเล็กน้อย ซึ่งแตกต่างกับแบบอย่างในยุโรปเหนือเวลานั้นที่มักจะเป็นส่วนผสมของความเป็นกอทิก (gothic) และจริตนิยม (mannerist style) เขาได้นำองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของเมืองเวนิสมาใช้ไม่น้อย เช่น อาร์เคด (arcade) ทางเดินใต้หลังคา (loggia) โดม (dome) และโครงสร้างโค้งแบบเวนิส (Venetian arches) น่าเสียดายที่งานออกแบบส่วนใหญ่ของเขาได้พังทลายไปหมด หรือได้ถูกปรับปรุงเปลี่ยนแปลงจนไม่เหลือรูปแบบดั้งเดิมแล้ว งานที่เป็นต้นฉบับที่ไว้ให้ศึกษากันคืออยู่ในเอกสารเท่านั้น ลูกศิษย์ของเขาในอีกหลายชั่วคนต่อมาได้กลายเป็นศิลปินที่มีชื่อเสียง โดยมักจะมีการใช้นามสกุลเพื่อยกย่องปาสเซิน นามสกุลดังกล่าวเช่น เดอ ปา (de Pas) หรือฟัน เดอปัสเซอ (van de Passe).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฮันส์ แฮ็นดริก ฟัน ปาสเซิน · ดูเพิ่มเติม »

ฮานะ & อลิซ ปริศนาโรงเรียนหลอน

นะ & อลิซ ปริศนาโรงเรียนหลอน (ญี่ปุ่น: 花とアリス殺人事件; อังกฤษ: The Case of Hana & Alice) คือภาพยนตร์อะนิเมะขนาดยาว กำกับและเขียนบทโดยชุนจิ อิวะอิ เล่าเรื่องราวชีวิตของฮะนะและอลิส นักเรียนมัธยมที่พยายามสืบหาความจริงเกี่ยวกับข่าวลือเรื่องการฆาตกรรมในโรงเรียนที่ตนเรียนอยู่ โดยเรื่องราวนี้เกิดขึ้นก่อนเหตุการณ์ในภาพยนตร์เรื่อง สองหัวใจหนึ่งความทรงจำ ซึ่งเป็นภาพยนตร์ปี พ.ศ. 2547 ของอิวะอิ ที่มีตัวละครหลักเป็นฮะนะกับอลิสเช่นกัน ภาพยนตร์เรื่องนี้เข้าฉายครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558 และได้รับการดัดแปลงเป็นมังงะโดยดาวแมน เซย์แมน เผยแพร่บนนิตยสารออนไลน์ "ยะวะระกะสปิริตส์" เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฮานะ & อลิซ ปริศนาโรงเรียนหลอน · ดูเพิ่มเติม »

ฮิสทรีเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์ฮิสทรี (HIStory World Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 3 โดย นักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน โดยจัดทั้งหมด 82 รอบ และมีผู้เข้าร่วมประมาณ 4.5 ล้านคน ซึ่งก่อนหน้านี้ในคอนเสิร์ตทัวร์แบด 4.4 ล้านคน เป็นคอนเสิร์ตทัวร์ที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยโดยศิลปินเดี่ยวในแง่ของการเข้าร่วมประชุมในช่วงเวลาที่ทำรายได้รวมมากกว่ากว่า 165 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (ยกเว้นคอนเสิร์ตฟรี).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฮิสทรีเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

ฮีโร (เพลงมารายห์ แครี)

"ฮีโร" (Hero) เป็นเพลงที่เขียนและโปรดิวซ์โดยมารายห์ แครีและวอลเตอร์ อฟานาเซียฟ เป็นเพลงจากอัลบั้มชุดที่ 4 Music Box (1993) เป็นเพลงที่บรรยายถึงในบางครั้งคนเราอาจรู้สึกท้อแท้ ในความจริงแล้วพวกเขาก็คือฮีโร ถ้าเรามองดูข้างในของตัวเองและจะเห็นความแข็งแรงของเราเอง ในเวลานั้นก็จะช่วยให้เราพบหนทาง เพลงนี้เป็นซิงเกิ้ลที่ 2 ออกวางขายในปี 1993 และประสบความสำเร็จทั่วโลก ถือเป็น 1 ในเพลงประจำตัวของแครี และเธอมักแสดงเพลงนี้ในงานการกุศลและมักแสดงเพลงนี้ในคอนเสิร์ตเสมอ ถือเป็นหนึ่งในเพลงที่เธอเล่นบ่อยที่สุดในคอนเสิร์ตถัดจากเพลง "วิชันออฟเลิฟ" เพลง "ฮีโร" ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแกรมมี่ในสาขานักร้องเพลงป็อปหญิงยอดเยียม แต่แพ้ให้เพลง "ออลไอวอนนาดู" ของเชอรีล โครว์ "ฮีโร" ได้รับรางวัล ASCAP ในสาขาริทึมแอนด์โซลและสาขาเพลงป็อ และได้ 1 รางวัลจากบีเอ็มไอป็อปอวอร์ด ในสาขารางวัลนักแต่งเพลง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฮีโร (เพลงมารายห์ แครี) · ดูเพิ่มเติม »

ฮีโรส์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์)

ีโรส์ เป็นรายการซีรีส์อเมริกันที่แต่งขึ้นในแนววิทยาศาสตร์ ดรามา สร้างโดย ทิม คริง เริ่มออกฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2549 ทางช่องเอ็นบีซี ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งกล่าวถึงกลุ่มคนที่มีพลังความสามารถพิเศษเหนือคนอื่นที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วโลก ซึ่งพัฒนาความสามารถเหนือมนุษย์ของตัวเองอย่างอธิบายไม่ได้ และแสดงบทบาทของตัวเองเพื่อปกป้องจากหายนะและช่วยหมู่มวลมนุษยชาติ ซีรีส์เรื่องนี้มีลักษณะการเล่าเรื่องแบบการ์ตูนอเมริกัน ใช้เรื่องสั้นหลายตอนปะติดปะต่อจนเป็นเรื่องราวเดียวกัน ซีรีส์ผลิตโดยยูนิเวอร์ซัลมีเดียสตูดิโอส์ร่วมกับเทลวินด์โปรดักชันส์ มีสถานที่ถ่ายทำหลักในลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย ผู้อำนวยการสร้างคือ อัลลัน อาร์คุช, เดนนิส แฮมเมอร์, เกร็ก บีแมน และ ทิม คริง ในฤดูกาลแรกของ ฮีโรส์ ออกฉายด้วยจำนวน 23 ตอนมีผู้ชมเฉลี่ย 14.3 ล้านคน ในสหรัฐอเมริกา ยังสามารถครองอันดับเรตติ้งสูงสุดในรอบ 5 ปีของละครดราม่า ทางช่องเอ็นบีซี ในฤดูกาลที่ 2 มีผู้ชมเฉลี่ย 13.1 ล้านคนในสหรัฐอเมริกา ในฤดูกาลที่ 2 นี้ยังติดอันดับ 1 ของซีรีส์ทางช่องเอ็นบีซีในกลุ่มอายุ 18-49 ปี และยังติดอันดับ 1 ของรายการซีรีส์ในวันจันทร์ในทุกสถานีจากกลุ่มผู้ชมอายุ 18–49 ปี และยังติดอันดับ 1 รายการซีรีส์แบบมีบทในทุกเครือข่ายสถานีในกลุ่มอายุ 18-34 ปี นอกจากนี้ในฤดูกาลที่ 2 ยังเป็นรายการเดียวของทางเอ็นบีซีที่ติดอันดับ 20 อันดับแรกของรายการในทุกกลุ่มผู้ชมสำหรับซีรีส์ปี 2007-2008 จากการสำรวจของนีลเซนมีเดียรีเสิร์ช มีการเตรียมการว่าจะฉายฤดูกาลที่ 2 เป็นจำนวน 24 ตอน แต่ออกฉายจริงเพียง 11 ตอนเท่านี้น เนื่องจากการประท้วง 100 วันของสมาคมนักเขียนแห่งอเมริกา ความคัดแย้งนี้เองนำไปสู่การเลื่อนฉายจนในที่สุดก็ยกเลิกการฉาย 6 ตอน ที่มีชื่อตอนว่า Heroes: Origins ฮีโรส์ กลับมาฉายอีกครั้งในฤดูกาลที่ 3 เมื่อวันที่ 22 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และฮีโรส์ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์) · ดูเพิ่มเติม »

ผลต่อสุขภาพจากเสียง

การจราจรเป็นแหล่งมลภาวะทางเสียงหลักในเมือง ผลต่อสุขภาพจากเสียง (Noise health effects) เป็นผลต่าง ๆ จากการได้รับเสียงดังจากที่ทำงานหรือที่อื่น ๆ ซึ่งอาจทำให้การได้ยินพิการ เกิดความดันสูง โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ ความรำคาญ และปัญหาในการนอน นอกจากนั้น ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน และความพิการของทารกแรกเกิด อาจมีเหตุจากเสียงดัง แม้ว่า หูตึงเหตุสูงอายุ (presbycusis) ก็อาจเกิดตามธรรมชาติได้เหมือนกัน แต่ว่าในประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศ ปัญหาสะสมจากเสียงก็พอสร้างความเสียหายต่อประชากรเป็นจำนวนมากภายในชั่วชีวิตแล้ว การได้รับเสียงดังยังก่ออาการเสียงในหู (tinnitus) ความดันสูง การตีบของหลอดเลือด (vasoconstriction) และปัญหาทางหัวใจหลอดเลือดอื่น ๆ นอกจากผลเหล่านี้ เสียงดังยังสามารถทำให้เครียด เพิ่มอัตราอุบัติเหตุในที่ทำงาน และก่อความก้าวร้าวและพฤติกรรมต้านสังคมอื่น ๆ แหล่งเสียงที่สำคัญที่สุดคือจากรถยนต์กับเครื่องบิน การฟังเสียงดนตรีดัง ๆ บ่อย ๆ และเสียงจากอุตสาหกรรม ในประเทศนอร์เวย์ เสียงจราจรพบว่า เป็นเหตุต่อความรำคาญเสียงถึง 88% ที่รายงาน เสียงอาจจะมีผลให้เกิดโรคจิตอีกด้วย เช่น เสียงประทัดอาจทำทั้งสัตว์เลี้ยงสัตว์ป่า หรือบุคคลที่ได้รับความบอบช้ำทางจิตใจให้แตกตื่น (คนที่บอบช้ำทางจิตใจรวมทั้งคนที่ผ่านสงครามมา) แต่เพียงแค่กลุ่มคนเสียงดังก็อาจจะก่อการร้องทุกข์หรือปัญหาพฤติกรรมอื่น ๆ แล้ว แม้ทารกก็ตื่นเสียงได้ง่ายอีกด้วย ค่าเสียหายทางสังคมเนื่องจากเสียงจราจรในประเทศยุโรป 22 ประเทศอาจมีค่าถึง 4 หมื่นล้านยูโรต่อปีโดยปี 2550 (ประมาณ 1.5 ล้านล้านบาท) โดยรถโดยสารและรถบรรทุกเป็นเหตุหลักของปัญหา เสียงจราจรอย่างเดียวทำให้สุขภาพของคนเกือบ 1/3 ในเขตยุโรปเสียหาย โดยประชากรยุโรป 1 ใน 5 จะได้รับเสียงตอนกลางคืนเป็นปกติในระดับที่อาจทำให้สุขภาพเสียหายอย่างสำคัญ เสียงยังเป็นอัตรายต่อระบบนิเวศทั้งทางบกและทางน้ำอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และผลต่อสุขภาพจากเสียง · ดูเพิ่มเติม »

ผู้ลี้ภัย

แผนที่แสดงต้นกำเนิดของผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่พักพิงใน ค.ศ. 2007 แผนที่แสดงประเทศปลายทางของผู้ลี้ภัย ค.ศ. 2007 ผู้ลี้ภัย (refugee) หมายถึงบุคคลที่อยู่นอกประเทศต้นกำเนิดหรือประเทศที่มีถิ่นฐานประจำ เพราะเขาผู้นั้นประสบกับภัยอันเกิดแต่การตามล่า การกดขี่ด้วยเหตุทาง เชื้อชาติ ศาสนา สัญชาติ ความเห็นทางการเมือง หรือ การเป็นสมาชิกของกลุ่มสังคมที่ถูกตามล่า บางครั้งอาจเรียกผู้ลี้ภัยว่า ผู้ขอที่ลี้ภัย (asylum seeker) จนกว่าจะได้รับการยอมรับสถานภาพของผู้ลี้ภัย เด็กและสตรีผู้ลี้ภัยเป็นผู้ลี้ภัยกลุ่มย่อยที่ได้รับความสนใจเป็นพิเศษ ระบบผู้ลี้ภัยจะทำงานได้ก็ต่อเมื่อประเทศเปิดพรมแดนให้ผู้คนหนีจากความความขัดแย้ง โดยเฉพาะประเทศพื้นบ้านใกล้กับต้นกำเนิดของความขัดแย้ง ระบบผู้ลี้ภัยนี้ได้ช่วยเหลือผู้คนมากมายแต่ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่ ในหลายกรณีการหนีไปอยู่ในค่ายผู้ลี้ภัยกระทำได้ยากยิ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และผู้ลี้ภัย · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1

อห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1 (John Russell, First Earl Russell) เป็นนักการเมืองแห่งสหราชอาณาจักรในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีถึงสองสมัย ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และจอห์น รัสเซลล์ เอิร์ลรัสเซลล์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี

ักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี (شهبانو فرح پهلوی) เป็นพระมเหสีในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี แห่งอิหร่าน และจักรพรรดินีพระองค์เดียวของอิหร่านในยุคปัจจุบัน หลังจากการปฏิวัติอิหร่าน พระองค์ได้ใช้พระชนม์ชีพส่วนใหญ่อยู่ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

จุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์

รายชื่อต่อไปนี้เป็นจุดหมายปลายของสายการบินบริติช แอร์เวย์ โดยที่ไม่ได้รวมจุดหมายปลายทางของสายการบินลูก และสายการบินแฟรนไชส์ (บีเอ คอนเนคท์, จีบีแอร์เวย์, บริติชเมดิเตอร์เรเนียน แอร์เวย์).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และจุดหมายปลายทางของบริติช แอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

จุดผลิตน้ำมันสูงสุด

กราฟแสดงการผลิตน้ำมันโลก ทั้งข้อมูลตามประวัติและข้อมูลอนาคตตามที่คาดหมาย และตามที่เสนอโดยนักธรณีวิทยา ดร. คิง ฮับเบิร์ต ได้ถึงจุดสูงสุดที่ 1.5 ล้านล้านลิตร (12,500 ล้านบาร์เรล) ต่อปีที่ประมาณปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) การผลิตน้ำมันดิบของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งแสดงลักษณะคล้ายคลึงกับเส้นโค้งฮับเบิร์ต (Hubbert curve) แต่ให้สังเกตความแตกต่างที่เกิดขึ้นเมื่อไม่กีปีมานี้ จุดผลิตน้ำมันสูงสุด (Peak oil) เป็นเหตุการณ์ตามทฤษฎีจุดสูงสุดฮับเบิร์ต (Hubbert peak theory) ของ ดร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และจุดผลิตน้ำมันสูงสุด · ดูเพิ่มเติม »

ธันวาคม พ.ศ. 2548

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และธันวาคม พ.ศ. 2548 · ดูเพิ่มเติม »

ธุรกิจแบบพีระมิด

ีระมิดแบบคลาสสิกที่แสดงให้เห็นถึงความไม่ยั่งยืนของระบบเนื่องจากจะต้องหาผู้ร่วมลงทุนไม่รู้จบสิ้น ธุรกิจพีระมิด (Pyramid scheme) เป็นธุรกิจที่ทำให้ประชาชนหลายคนได้รับการหลอกลวงมากมายทั่วโลก โดยเป็นธุรกิจที่ใช้การหลอกลวงให้มีการลงทุนซึ่งผู้จัดการธุรกิจสัญญาว่าจะให้ผลตอบแทนที่สูง แต่ผู้จัดการก็มิได้นำไปประกอบการค้าหรือกิจการที่มีอยู่จริง จึงมิได้ทำให้เกิดกำไรจากการลงทุนจริงๆ แต่อย่างใด การตอบแทนให้กับผู้ร่วมลงทุนทำก็แต่โดยการอาศัยเงินที่มาจากการลงทุนของผู้ร่วมลงทุนรายหลังๆ นำไปตอบแทนผู้ร่วมลงทุนรายก่อนหน้า จึงเปรียบเสมือนกับรูปทรงพีระมิด ซึ่งผู้ร่วมลงทุนรายก่อนจะอยู่บนยอดคอยรับเงินตอบแทนจากผู้ร่วมลงทุนหลายหลัง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และธุรกิจแบบพีระมิด · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสหราชอาณาจักรคาลมาร์

ธงชาติสหราชอาณาจักรคาลมาร์ ธงชาติสหราชอาณาจักรคาลมาร์ มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีเหลือง กลางธงมีรูปกางเขนแบบนอร์ดิกสีแดง ธงนี้ได้รับอิทธิพลจากรูปแบบธงเดนินบรอกหรือธงชาติเดนมาร์กมาโดยตรง ภาพซึ่งแสดงอยู่นี้เป็นการจำลองขึ้นจากข้อมูลหลักฐานเอกสารต่างๆ ที่เหลืออยู่ เนื่องจากไม่มีธงชาติสหราชอาณาจักรคาลมาร์ของจริงหรือภาพวาดหลงเหลือมายังสมัยปัจจุบันนี้ สหราชอาณาจักรคาลมาร์เป็นการรวมกลุ่มประเทศทางการเมืองที่เกิดจากการรวมตัวของ 3 ราชอาณาจักรในแถบสแกนดิเนเวีย อันได้แก่ เดนมาร์ก นอร์เวย์ และสวีเดน โดยมีประมุขร่วมองค์เดียวกัน ซึ่งดำรงอยู่ในช่วงปี พ.ศ. 1940 – พ.ศ. 2066 ทุกวันนี้ธงนี้ไม่ได้ถือเป็นสัญลักษณ์ของภูมิภาคนอร์ดิกทั้งหมดในหมู่ประชาชนส่วนใหญ่ แม้ธงของคณะมนตรีนอร์ดิกเองก็ไม่ใช้ธงนี้เป็นสัญลักษณ์ แต่ใช้ธงมีสัญลักษณ์ที่ดัดแปลงจากรูปหงส์เป็นธงขององค์กร อย่างไรก็ตาม บรรดาขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อความเป็นเอกภาพของนอร์ดิกส่วนหนึ่ง ได้พยายามใช้หรือเผยแพร่ธงนี้ให้ประชาชนตระหนักถึงการมีอยู่ของธงชาติสหราชอาณาจักรคาลมาร์ ตั้งแต่ช่วงกลางพุทธทศวรรษที่ 2533 จนถึง พ.ศ. 2550 ธงลักษณะอย่างเดียวกับธงสหราชอาณาจักรคาลมาร์ได้ใช้เป็นธงประจำหมู่เกาะออร์คนีย์ ข้อสำคัญที่ควรทราบด้วยคือ ธงนี้มีลักษณะที่คล้ายคลึงกับธงศาสนจักรสวีเดนมาก หมวดหมู่:สหราชอาณาจักรคาลมาร์ สหราชอาณาจักรคาลมาร์ สหราชอาณาจักรคาลมาร์ สหราชอาณาจักรคาลมาร์.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และธงชาติสหราชอาณาจักรคาลมาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาตินอร์เวย์

งชาตินอร์เวย์ มีอายุนับย้อนหลังขึ้นไปถึงปี พ.ศ. 2364 เมื่อครั้งที่นอร์เวย์ยังคงเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดน จากการยอมยกดินแดนให้ของประเทศเดนมาร์กเมื่อ พ.ศ. 2357 ลักษณะของธงนี้มีรูปแบบเดียวกันกับธงชาติเดนมาร์ก แต่เพิ่มรูปไม้กางเขนสีน้ำเงินขอบขาว เพื่อเป็นการแสดงความรักชาติของชาวนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และธงชาตินอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเกาะแมน

งชาติเกาะแมน (Isle of Man) เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นสีแดง กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน กลางธงเป็นรูปสัญลักษณ์เกราะขาของมนุษย์ 3 ขา ต่อกันในลักษณะเป็นกงจักรที่บริเวณส่วนโคนขา ส่วนเท้าของขาทั้งสามนั้นหมุนไปตามเข็มนาฬิกา สัญลักษณ์ดังกล่าวมานี้มีชื่อเรียกว่า "ไทรสเกเลียน" (triskelion) ถือเป็นภาพตราสัญลักษณ์ประจำเกาะแมน ซึ่งมาจากภาพตราประจำพระองค์ของพระเจ้าแมกนัสที่ 3 (King Magnus III) กษัตริย์ชาวนอร์สเมนองค์สุดท้าย (ปัจจุบันยังปรากฏว่าใช้เป็นตราประจำตระกูล Skanke ในประเทศนอร์เวย์ ซึ่งเป็นเชื้อสายที่สืบทอดต่อมาจนถึงปัจจุบัน) รูปดังกล่าวนี้ปรากฏอยู่บนธงทั้งสองด้าน สำหรับเรือพลเรือนในบังคับของเกาะแมนนั้น จะใช้ธงเรือพลเรือนสหราชอาณาจักร (ธงพื้นแดงมีภาพธงชาติสหราชอาณาจักรที่มุมธงบนด้านคันธง) ประดับภาพตราประจำเกาะแมนที่พื้นสีแดงเป็นเครื่องหมายสำคัญ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และธงชาติเกาะแมน · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติเดนมาร์ก

งชาติเดนมาร์ก หรือ "ธงแดนเนอบรอก" (Dannebrog, IPA) เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีสีแดง มีรูปกางเขนแบบสแกนดิเนเวียสีขาวปลายจดขอบธง โดยที่ส่วนหัวของกางเขนนั้นอยู่ชิดกับทางด้านคันธง รูปกางเขนบนผืนธงดังกล่าว ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทนศาสนาคริสต์ ได้มีการนำไปปรับใช้ในธงของกลุ่มประเทศนอร์ดิก อันได้แก่ สวีเดน นอร์เวย์ ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ หมู่เกาะโอลันด์ และหมู่เกาะแฟโร เช่นเดียวกับธงของกลุ่มเกาะเชตแลนด์และออร์คนีย์ของสกอตแลนด์ ในระหว่างที่ประเทศเดนมาร์กและนอร์เวย์รวมตัวเป็นสหภาพเดียวกันนั้น ธงแดนเนอบรอกยังได้ใช้เป็นธงชาติสำหรับนอร์เวย์ และยังคงมีการใช้ต่อมาโดยมีการดัดแปลงเล็กน้อย ตราบจนกระทั่งนอร์เวย์ได้เริ่มใช้แบบธงปัจจุบันในปี ค.ศ. 1821 ธงแดนเนอบรอกนับเป็นธงประจำรัฐชาติที่เก่าแก่ที่สุดในโลกซึ่งยังคงใช้อยู่โดยรัฐชาติที่เป็นอิสร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และธงชาติเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ถนนหนังสือสายคาบูล

ถนนหนังสือสายคาบูล เป็นหนังสือสารคดีเกี่ยวกับชีวิตของคนขายหนังสือผู้หนึ่งและครอบครัวในกรุงคาบูล ประเทศอัฟกานิสถาน หนังสือเขียนโดยนักข่าวชาวนอร์เวย์ชื่อ Åsne Seierstad โดยผู้เขียนได้เขียนถึงสภาพชีวิตโดยทั่ว ๆ ไปของคนในครอบครัวนี้จากการที่ได้เข้าไปอาศัยอยู่ร่วมชายคาเดียวกันในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หมวดหมู่:สารคดี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และถนนหนังสือสายคาบูล · ดูเพิ่มเติม »

ทรอนด์เฮม

ทรอนด์เฮม (Trondheim) เป็นเมืองใน Sør-Trøndelag county ของนอร์เวย์ ก่อตั้งขึ้นเป็นเทศบาลเมื่อวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทรอนด์เฮม · ดูเพิ่มเติม »

ทรามวัยกับไอ้ตูบ

ทรามวัยกับไอ้ตูบ (Lady and the Tramp) ออกฉายวันที่ 22 กรกฎาคม, พ.ศ. 2498 กำกับโดย Clyde Geronimi, Wilfred Jackson, & Hamilton Luske.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทรามวัยกับไอ้ตูบ · ดูเพิ่มเติม »

ทรายดำ

thumb ทรายดำ (black sand) เป็นตะกอนเม็ดทรายสีดำที่พบสะสมตัวบริเวณชายหาด ที่มีการสะสมตัวของเม็ดทรายสีดำที่มีความทนทานต่อการผุพังสลายตัว และมีความหนาแน่นมากกว่าแร่ควอตซ์ เป็นชายหาดที่มีกำลังคลื่นมากเพียงพอที่จะพัดพาเอาวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าออกไป โดยที่วัตถุที่มีความหนาแน่มากกว่าจะถูกพัดพาออกไปได้ช้ากว่าหรือยังคงตกสะสมตัวอยู่กับที่ สะสมตัวจนเกิดเป็นชายหาดที่มีทรายสีดำสะสมตัวเป็นหลัก หาดทรายดำอาจเกิดจากการตกสะสมตะกอนที่แตกหักมาจากหินต้นกำเนิด แล้วถูกพัดพาไปสะสมตัวบริเวณชายหาด (placer deposit) หรืออาจเกิดจากการที่ลาวาร้อนไหลลงไปสัมผัสกับน้ำทะเลอย่างฉับพลัน จนทำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง (steam explosion หรือ littoral explosion) ทำให้เกิดเม็ดทรายและถูกพัดพาไปสะสมตัวเป็นหาดทรายสีดำ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทรายดำ · ดูเพิ่มเติม »

ทริลเลอร์ 25

ทริลเลอร์ 25 (Thriller 25) เป็นอัลบั้มชำระใหม่ในการเฉลิมฉลองครบรอบ 25 ปี จากสตูดิโออัลบั้มที่หกของนักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน ทริลเลอร์ อัลบั้มที่มียอดขายระหว่าง 51 และ 65 ล้านชุดทั่วโลก ทำให้เป็นอัลบั้มที่มียอดขายสูงสุดตลอดกาล แจ็คสันกล่าวว่าเขาจะพูดคุยความคิดที่มีการทำงานร่วมกันกับ will.i.am. ออกจำหน่ายในประเทศออสเตรเลียวันที่ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทริลเลอร์ 25 · ดูเพิ่มเติม »

ทรุมเซอ

ทรุมเซอ (Tromsø, ออกเสียง) เป็นเมืองและเทศบาลในเทศมณฑลทรุมส์ ประเทศนอร์เวย์ เป็นเมืองท่าทางทะเลบนเกาะขนาดเล็กระหว่างเกาะควาเลอยากับผืนแผ่นดินใหญ่ มีประชากรมากเป็นอันดับ 7 ของนอร์เวย์ เป็นเมืองที่มีบ้านเก่าทำจากไม้จำนวนมากที่สุดในนอร์เวย์เหนือ บ้านเก่าที่สุดสร้างตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทรุมเซอ · ดูเพิ่มเติม »

ทรูแฟนเทเชีย

ลโก้เดิม บริษัท "ยูบีซี แฟนเทเชีย" (ระหว่าง พ.ศ. 2548 - ต้นปี พ.ศ. 2550) บริษัท ทรู แฟนเทเชีย จำกัด (True Fantasia) เป็นบริษัทย่อยของบริษัททรูวิชั่นส์ มีหน้าที่ดูแลบริหารงานศิลปิน (Artist Management) จาก รายการ ทรู อะคาเดมี แฟนเทเชีย รองรับการสร้างผลงานในวงการบันเทิงทุกด้าน โดยผลงานส่วนใหญ่คือ มีหน้าที่เป็นค่ายเพลง ซึ่งผลิตงานทางด้านดนตรีของศิลปินอย่างต่อเนื่อง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทรูแฟนเทเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ทวิกีฬาฤดูหนาว

แอธลอน (Biathlon) เป็นกีฬาที่เกิดขึ้นจากกีฬาสองสาขา อย่างไรก็ตาม ไบแอธลอนมักจะหมายถึงเฉพาะกีฬาฤดูหนาวที่รวมสกีครอสคันทรีกับยิงปืนไรเฟิล ส่วนไบแอธลอนที่นิยมรูปแบบอื่น ได้แก่ ไบแอธลอนฤดูร้อน ซึ่งเป็นการวิ่งแข่งครอสคันทรีกับยิงปืนไรเฟิล และไบแอธลอนสมัยใหม่ ซึ่งเป็นการรวมระหว่างการวิ่งกับกีฬาว่ายน้ำ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทวิกีฬาฤดูหนาว · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปแอนตาร์กติกา

วเทียมของทวีปแอนตาร์กติกา แอนตาร์กติกา (Antarctica) เป็นทวีปที่อยู่ใต้สุดของโลกตั้งอยู่ในภูมิภาคแอนตาร์กติกในซีกโลกใต้และเป็นที่ตั้งขั้วโลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เกือบทั้งหมดอยู่ในวงกลมแอนตาร์กติกและล้อมลอบด้วยมหาสมุทรใต้ มีพื้นที่ประมาณ 14,000,000 ตารางกิโลเมตร เป็นทวีปที่ใหญ่เป็นอันดับ 5 ของโลกใหญ่กว่าทวีปออสเตรเลียถึง 2 เท่า พื้นที่ 98% ของทวีปปกคลุมด้วยน้ำแข็งหนาเฉลี่ย 1.9 กิโลเมตร ซึ่งครอบคลุมพื้นที่เกือบจะถึงเหนือสุดของคาบสมุทรแอนตาร์กติก โดยค่าเฉลี่ยแล้วแอนตาร์กติกาเป็นทวีปที่หนาวที่สุด แห้งแล้งที่สุด ลมแรงที่สุดและมีความสูงโดยเฉลี่ยมากที่สุด แอนตาร์กติกาเป็นทะเลทรายที่มีหยาดน้ำฟ้าเฉลี่ย 200 มิลลิเมตรต่อปีตามแนวชายฝั่งและพื้นที่ภายใน แม้ว่าช่วงที่หนาวสุดของปีจะมีอุณหภูมิเฉลี่ย −63 °C แต่อุณหภูมิอาจต่ำถึง −89.2 °C (และอาจถึง -94.7 ° C หากวัดจากอากาศ) บางสถานที่มีคนราว 1,000 ถึง 5,000 คนอาศัยในสถานีวิจัยที่กระจายอยู่ทั่วที้งทวีปตลอดทั้งปี สิ่งมีชีวิตในแอนตาร์กติกาจะเป็นพวกสาหร่าย แบคทีเรีย เห็ดรา พืช โพรทิสต์และสัตว์บางชนิดเช่นตัวเห็บ ตัวไร นีมาโทดา เพนกวิน สัตว์ตีนครีบและหมีน้ำส่วนพืชก็จะเป็นพวกทันดรา แม้ว่ามีตำนานเล่าขานเกี่ยวกับการมีอยู่ของดินแดนใต้ตั้งแต่ยุคโบราณ แอนตาร์กติกาถูกระบุว่าเป็นดินแดนสุดท้ายบนโลกในประวัติศาสตร์ที่ถูกค้นพบเพราะไม่มีใครเคยพบเลยจนกระทั่ง..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทวีปแอนตาร์กติกา · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลนอร์วีเจียน

ทะเลนอร์เวย์ ทะเลนอร์วีเจียน (Norskehavet; Norwegian Sea) เป็นทะเลที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศนอร์เวย์ ระหว่างทะเลเหนือกับทะเลกรีนแลนด์ ทะเลนอร์วีเจียนติดกับตอนเหนือของมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก และทางตะวันออกเฉียงเหนือติดกับทะเลแบเร็นตส์ (Barents Sea) และแยกจากมหาสมุทรแอตแลนติกโดยสันใต้ทะเลที่แล่นระหว่างไอซ์แลนด์และหมู่เกาะแฟโร ทางตอนเหนือสันยานไมเอนแยกทะเลนอร์เวย์ออกจากทะเลกรีนแลนด์ ทะเลนอร์วีเจียนและทะเลกรีนแลนด์บางครั้งก็เรียกรวมกันว่า ทะเลนอร์ดิก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทะเลนอร์วีเจียน · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลแบเร็นตส์

ที่ตั้งของทะเลแบเร็นตส์ ทะเลแบเร็นตส์ (Barents Sea; Barentshavet; Баренцево море) เป็นทะเลที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรอาร์กติกที่ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศนอร์เวย์และประเทศรัสเซีย เป็นทะเลที่มีไหล่ทวีป (Continental shelf) ที่ค่อนข้างลึก (เฉลี่ยความลึกราว 230 เมตร และที่บริเวณที่ลึกที่สุดลึก 450 เมตร) โดยมีทะเลนอร์เวย์ทางตะวันตก เกาะสฟาลบาร์ของนอร์เวย์ทางตะวันตกเฉียงเหนือและเกาะฟรันซ์โจเซฟแลนด์ (Franz Josef Land) และเกาะโนวายาเซมเลีย (Novaya Zemlya) ของรัสเซียทางตะวันออกเฉียงเหนือและทางตะวันออก เกาะโนวายาเซมเลียแยกทะเลคาราออกจากทะเลแบเร็นตส์ ในยุคกลาง ทะเลนี้มีชื่อเรียกว่า ทะเลมูร์มัน (murmansk Sea) ส่วนชื่อของทะเลในปัจจุบันมาจากชื่อนักเดินเรือชาวดัตช์ชื่อวิลเลิม บาเรินตส์ (Willem Barentsz) ทะเลแบเร็นตส์เป็นแหล่งที่มีน้ำมันจากซากสัตว์ดึกดำบรร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทะเลแบเร็นตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลเหนือ

ภาพถ่ายทะเลเหนือและประเทศรอบ ๆ จากอวกาศ ทะเลเหนือ (North Sea) เป็นทะเลที่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป ทางตะวันตกของนอร์เวย์และเดนมาร์ก ทางตะวันออกของเกาะบริเตนใหญ่ และทางตอนเหนือของเยอรมนี เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส เป็นบริเวณส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก และติดกับทะเลบอลติกทางด้านตะวันออก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 222,000 ตารางไมล์ หรือ 570,000 ตารางกิโลเมตร เหนือ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์ยุโรป เหนือ หมวดหมู่:ทะเลเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทะเลเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

ทาดาโนบุ อาซาโนะ

ทาดาโนบุ ซาโต (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2516) เป็นที่รู้จักในชื่อ ทาดาโนบุ อาซาโนะ เป็นนักแสดงและนักดนตรีชาวญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทาดาโนบุ อาซาโนะ · ดูเพิ่มเติม »

ทางด่วน

ทางหลวงรัฐออนแทรีโอหมายเลข 401 ในทางตอนใต้ของรัฐออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา เป็นฟรีเวย์สายสำคัญของประเทศ ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึง (controlled-access highway) หรือ ทางด่วน เป็นทางหลวงประเภทหนึ่งของที่มีความสามารถที่จะรองรับปริมาณการจราจรได้จำนวนหนึ่ง ออกแบบมาเพื่อรองรับการจราจรที่รวดเร็วอย่างปลอดภัย โดยอาจจะเปิดให้ใช้ในลักษณะถนนที่เก็บค่าผ่านทางหรือไม่ก็ได้ แต่ส่วนมากมักจะเก็บค่าผ่านทาง ซึ่งในแคนาดาและทวีปเอเชียเรียก เอกซ์เพรสเวย์ (expressway) ในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์เรียก มอเตอร์เวย์ (motorway) และในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียเรียก ฟรีเวย์ (freeway) ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึงจะไม่มีการขัดขวางของการจราจรด้วยไฟจราจร ทางแยก และไม่มีการเข้าถึงสถานที่ที่อยู่ติดถนน เป็นอิสระจากจุดตัดที่ผ่านถนน ทางรถไฟ หรือทางเท้าที่ระดับดิน โดยอาจออกแบบเป็นทางยกระดับหรือทางลอดก็ได้ สามารถเข้าและออกจากทางหลวงนี้ได้โดยทางลาดและทางแยกต่างระดับ และมีการแบ่งทิศทางการจราจรด้วยเกาะกลาง อาจเป็นแบบราว กำแพงกั้น หรือเป็นที่ว่างปลูกหญ้า การกำจัดจุดตัดในทิศทางต่าง ๆ ช่วยเพิ่มความปลอดภัยของนักเดินทาง รวมทั้งช่วยเพิ่มความสามารถในการรองรับปริมาณจราจร ทางหลวงที่ควบคุมการเข้าถึงมีการพัฒนาขึ้นในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 ประเทศอิตาลีได้เปิดใช้ เอาโตสตราดา (autostrada) เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทางด่วน · ดูเพิ่มเติม »

ทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก

ทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก (Unified Team at the Olympics) เป็นทีมเฉพาะกิจซึ่งรวมประเทศในกลุ่มเดียวกัน หรือเคยร่วมกลุ่มเดียวกันมาก่อน สำหรับเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ทั้งนี้ในประวัติศาสตร์โอลิมปิกสมัยใหม่ เคยปรากฏทีมรวมลักษณะนี้มาแล้วสองครั้งคือ ทีมรวมเยอรมนี (2499-2507) และ ทีมรวมเครือรัฐเอกราช (2535) ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และทีมรวมเฉพาะกิจในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอน

ท่าอากาศยานออสโล, การ์เดอร์มอน (Oslo lufthavn, Gardermoen) ตั้งอยู่ที่การ์เดอร์มอน ในเขตยูลเลนแซเกอร์ ประเทศนอร์เวย์ ห่างจากตัวเมืองกรุงออสโลไปทางเหนือประมาณ 48 กิโลเมตร เริ่มเปิดใช้ในเชิงพาณิชย์ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และท่าอากาศยานออสโล การ์เดอร์มอน · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการต่อต้านเดนมาร์ก

วนการต่อต้านเดนมาร์ก (Danish Resistance Movement; Modstandsbevægelsen) เป็นขบวนการใต้ดินที่ต่อต้านการยึดครองเดนมาร์กของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง พัฒนาการของขบวนการต่อต้านในเดนมาร์กจัดว่าช้ากว่าประเทศอื่น อย่างไรก็ตามส่วนใหญ่เข้าเป็นสมาชิกองค์กรนี้ตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และขบวนการต่อต้านเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ขั้วโลกใต้

ั้วโลกใต้ (South Pole) เป็นจุดที่อยู่ทางทิศใต้สุดของโลก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และขั้วโลกใต้ · ดูเพิ่มเติม »

ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น)

ตัวอย่างผลงานของขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น) ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต หรือ เปล่ง ไตรปิ่น เป็นนักเขียนปกและภาพล้อในสมัย รัชกาลที่ 6 ซึ่งภายหลังได้รับการยกย่องให้เป็นนักเขียนการ์ตูนคนแรกของเมืองไทย ทั้งยังเป็นผู้นำวิชาการทำบล็อกเข้ามาเผยแพร่ในเมืองไทย ผู้ถ่ายทำภาพยนตร์เรื่อง "ไม่คิดเลย" และครูสอนวิชาวาดเขียนในโรงเรียนเพาะช่าง ประวัติของขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิตนั้นไม่ใคร่ชัดเจนนัก ไม่มีข้อมูลว่าท่านเกิดที่ไหน เมื่อไร ทราบแต่ว่าเป็นบุตรของนายสอนกับนางเภา ท่านเคยดั้นด้นไปเรียนวิชาจิตรกรรมที่อังกฤษ แล้วเดินทางไปนอร์เวย์ เดนมาร์ก อิตาลี สหรัฐอเมริกา และออสเตรเลีย รวมระยะเวลากว่า 20 ปี ต่อมาได้เดินทางกลับเมืองไทยพร้อมคณะซื้อม้าของพระยาคทาทรธรนินทร์ (ชุ่ม อภัยวงศ์) เมื่อกลับมาแล้ว กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน อธิบดีกรมรถไฟหลวง ได้บรรจุให้เปล่งเข้าทำงานในตำแหน่งช่างถ่ายภาพกรมรถไฟหลวง แต่ลาออกในภายหลังเนื่องจากไปขัดแย้งกับเจ้าหน้าที่ฝรั่ง จากนั้นท่านจึงไปเขียนภาพล้อตามหนังสือพิมพ์ต่างเช่น กรุงเทพฯ เดลิเมล์, ไทยหนุ่ม, บางกอกไตม์ เป็นต้น แล้วจึงไปเป็นครูโรงเรียนเพาะช่าง ท่านได้รับบรรดาศักดิ์เป็นขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต เนื่องจากได้นำเทคโนโลยีการพิมพ์อย่างใหม่ คือ การทำบล็อกแม่พิมพ์ เข้ามาในเมืองไทย แนวการเขียนการ์ตูนของขุนปฏิภาคฯ นั้น เป็นแนวการ์ตูนล้อนักการเมืองสำคัญในยุคนั้น และเคยได้รับรางวัลการประกวดภาพล้อจาก ร. 6 จากการเขียนการ์ตูนแนวดังกล่าว ในปี พ.ศ. 2470 หลังจากบริษัทกรุงเทพภาพยนตร์สร้างภาพยนตร์เรื่อง โชคสองชั้น และออกฉายในเดือนกรกฎาคมของปีนั้นแล้ว บริษัทถ่ายภาพยนตร์ไทย จึงสร้างภาพยนตร์เรื่อง ไม่คิดเลย ออกมาแข่งบ้าง โดยขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต ซึ่งเคยเป็นหัวหน้าช่างถ่ายภาพยนตร์กรมรถไฟหลวงมาก่อน เป็นผู้ถ่ายภาพและกำกับการแสดงภาพยนตร์เรื่องนี้ (ต่อมาได้ออกฉายในเดือนกันยายนของปีเดียวกัน) ขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิตถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2485 ด้วยโรคลำไส้พิการ มีบุตรชายคนหนึ่งคือ.ไตรปิ่น เป็นนักเขียนนวน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และขุนปฏิภาคพิมพ์ลิขิต (เปล่ง ไตรปิ่น) · ดูเพิ่มเติม »

ข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลก

ปรดสังเกตว่า รายการจัดอันดับการตลาดนี้ขึ้นอยู่กับมูลค่าการค้าปลีก (มากกว่าหน่วย) แต่ละตลาดจะมีการสร้างเป็นรายปี มูลค่าการค้าปลีกจะแบ่งเป็นปีต่อปี ตัวเลขที่อยู่บนพื้นฐานของรายงานประจำปีของสมาพันธ์ผู้ผลิตสิ่งบันทึกเสียงระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และข้อมูลส่วนแบ่งการตลาดอุตสาหกรรมเพลงทั่วโลก · ดูเพิ่มเติม »

ดรัมเมน

รัมเมน (Drammen) เป็นเมืองอุตสาหกรรม เป็นเมืองหลวงของเทศมณฑลบุสเครุด ประเทศนอร์เวย์ เป็นเมืองท่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ตรงปากอ่าวดรัมเซลวาซึ่งเป็นสาขาของออสโลฟยอร์ด เขตเทศบาลมีประชากรมากกว่า 63,000 คน ตัวเมืองมีประชากรมากกว่า 150,000 คน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดรัมเมน · ดูเพิ่มเติม »

ดริตอน รามา

ริตอน รามา (Driton Rama) เจ้าของฉายา โกลเด้นอีเกิ้ล เกิดวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1983 เป็นนักมวยไทยชาวสวีเดน และเป็นแชมป์มวยไทยสวีเดน 2 สมัย เขาเคยเป็นผู้เข้าแข่งขันรายการเค-วัน ข่าน 2 ครั้ง ที่ประเทศเกาหลีใต้ โดยได้พบกับ ชอย ยองซู และ โน แจกิล ซึ่งได้แพ้สองครั้งติดต่อกัน ในช่วง ค.ศ. 2007 เขาเป็นนักมวยไทยที่ได้รับการคาดหวังในการผลักดันของวงการมวยไทยในสวีเดน สู่การแข่งขันระดับโลกร่วมกับ เอลียาส์ ดาเนียล ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดริตอน รามา · ดูเพิ่มเติม »

ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน

วงอาทิตย์เที่ยงคืนที่ประเทศนอร์เวย์ ดวงอาทิตย์เที่ยงคืน คือ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในฤดูร้อนของทวีปยุโรปและบริเวณใกล้เคียง ทางตอนเหนือของเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล และตอนใต้ของเส้นแอนตาร์กติกเซอร์เคิล ที่ดวงอาทิตย์ยังคงมองเห็นในเวลาเที่ยงคืน โดยมีโอกาสตามสภาพอากาศ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้สำหรับอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมงส่วนใหญ่ทางตอนเหนือของอาร์กติกเซอร์เคิลและตอนใต้ของแอนตาร์กติกเซอร์เคิล ดวงอาทิตย์เที่ยงคืนที่อาจเกิดขึ้นในจำนวนวันที่ไม่แน่นอน ไม่มีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ถาวรทางตอนใต้ของขั้วโลกเหนือ ดังนั้นประเทศและดินแดนที่สามารถมองเห็นดวงอาทิตย์เที่ยงคืนได้จะจำกัดให้คนข้ามเส้นอาร์กติกเซอร์เคิล เช่น แคนาดา (ยูคอน, นูนาวุต), สหรัฐอเมริกา (อะแลสกา), เดนมาร์ค (กรีนแลนด์), นอร์เวย์, สวีเดน, ฟินแลนด์, รัสเซีย, ไอซ์แลนด์ โดยดินแดนของ นอร์เวย์ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของอาร์กติกเซอร์เคิลเป็นจุดที่ดวงอาทิตย์ไม่ได้ตกดินเป็นเวลายาวนานที่สุด (73 วัน) ในช่วงฤดู​​ร้อนในสฟาลบาร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดวงอาทิตย์เที่ยงคืน · ดูเพิ่มเติม »

ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์ค

ับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์ค (WWE Network) เป็นช่องโทรทัศน์ผ่านอินเทอร์เน็ต ออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง เดิมทีทางดับเบิลยูดับเบิลยูอี ได้ประกาศว่าดับเบิลยูดับเบิลยูอี เนตเวิร์กจะเปิดใช้บริการในปี 2012 แต่มีเหตุต้องเลื่อนออกไป จนล่าสุดทางดับเบิลยูดับเบิลยูอี ได้ประกาศอีกครั้งว่าดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์คจะเปิดให้ใช้บริการวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2014 ในประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นที่แรก ทั้งนี้ดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์คมีคิวจะเปิดให้บริการในต่างประเทศต่อไป ไม่ว่าจะเป็น สหราชอาณาจักร, แคนาดา, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, สิงคโปร์, ฮ่องกง, เม็กซิโก, สเปน, ตุรกี และกลุ่มประเทศแถบนอร์ดิก ช่วงสิ้นปี 2014 หรือต้นปี 2015 นี้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดับเบิลยูดับเบิลยูอี เน็ตเวิร์ค · ดูเพิ่มเติม »

ดิมมูบอร์เกียร์

Shagrath ขณะแสดงสดในเทศกาลดนตรีกอดส์ออฟเมทัล ปี 2007 ดิมมูบอร์เกียร์ (Dimmu Borgir แปลว่า เมืองแห่งความมืด) เป็นวงดนตรีในแนวซิมโฟนิคแบล็กเมทัลจากประเทศนอร์เวย์ สามารถติดอันดับชาร์ตเพลงในประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวียและในประเทศเยอรมนี และจัดได้ว่าเป็นวงแบล็กเมทัลที่ประสบความสำเร็จอย่างสูง ดิมมูบอร์เกียร์ ในช่วงก่อตั้งนั้นเล่นดนตรีแนวแบล็กเมทัล ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนมาเล่นในแนวซิมโฟนิคแบล็กเมทัล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดิมมูบอร์เกียร์ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ

ลโก้รายการที่ใช้ในฉบับอเมริกา สำหรับโลโก้ในฉบับอื่น ๆ จะถูกดัดแปลงจากโลโก้นี้ ดิ อะเมซิ่ง เรซ (The Amazing Race หรือในบางครั้งรู้จักกันในตัวย่อ TAR มีชื่อภาษาไทยตามที่ออกอากาศทางช่องเอเอกซ์เอ็นในประเทศไทยว่า คนแกร่งแข่งอึด) เป็นเรียลลิตี้โชว์ ทางโทรทัศน์ ที่สมาชิกในทีม ทีมละสองคน ที่รู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันกับทีมอื่นโดยการเดินทางรอบโลก โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องพยายามเข้าเป็นทีมแรกที่จุดหยุดพักในแต่ละเลกให้ได้ เพื่อเป็นผู้ชนะในเลกนั้น ๆ และหลีกเลี่ยงการมาถึงเป็นทีมสุดท้าย ที่อาจจะทำให้ทีมถูกคัดออกจากการแข่งขัน หรืออาจทำให้ทีมประสบอุปสรรคตามมาในเลกต่อไป ผู้เข้าแข่งขันจะเดินทางระหว่างประเทศหลายประเทศ ด้วยวิธีการเดินทางที่แตกต่างกันออกไป เช่น เครื่องบิน แท็กซี่ รถเช่า รถไฟ รถประจำทาง และเรือ คำสั่งในแต่ละช่วงของเลกจะสั่งให้ทีมไปยังจุดหมายต่อไป หรือทำงาน ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือสองคนก็ตาม ซึ่งงานที่ทีมทำนั้นจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมารยาท หรือวัฒนธรรม ท้องถิ่นในประเทศที่พวกเขาไปเยือน โดยแต่ละทีมจะทะยอยถูกคัดออก จนกระทั่งเหลืออยู่ 3 ทีมสุดท้าย ณ จุดนั้น ทีมที่มาถึงเป็นทีมแรกในเลกสุดท้ายจะได้รับเงินรางวัลก้อนใหญ่ ซึ่งโดยปกติแล้วจะมีมูลค่า 1 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ในเวอร์ชันสหรัฐอเมริกา สร้างโดย อลิส ดอร์แกนเลอร์ และ เบ็นตั้น แวนด์ มัสเตอร์ และได้ออกอากาศในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ ค.ศ. 2001 มีพิธีกรชื่อดังระดับรางวัลเอ็มมี ชาวนิวซีแลนด์ ฟิล คีโอแกน เป็นพิธีกรของรายการตั้งแต่ซีซั่นแรก และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ฟอร์มยักษ์ระดับ ฮอลลีวูด เจอร์รี บรัคไฮเมอร์ เป็นผู้อำนวยการสร้างหลักของรายการ นอกจากนี้รายการนี้ยังมีการซื้อลิขสิทธิ์ ไปสร้างในหลาย ๆ ประเทศ โดยยังคงรูปแบบหลัก ๆ ของรายการอยู่ ส่วนเนื้อหาในบทความนี้จะใช้เกณฑ์และเนื้อหาของฉบับอเมริกาเป็นส่วนใหญ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดิอะเมซิ่งเรซ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน)

ัญลักษณ์รายการอย่างเป็นทางการ สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 1 สัญลักษณ์รายการรูปแบบที่ 2 ดิ อะเมซิง เรซ (The Amazing Race) หรือชื่อย่อว่า TAR เป็นรายการเรียลลิตี้เกมส์โชว์ทางโทรทัศน์ ผลิตโดยสหรัฐอเมริกา โดยแบ่งเป็นทีมละสองคน (มียกเว้น 1 ครั้ง คือครั้งที่ 8) ออกเดินทางรอบโลกเพื่อแข่งขันกับทีมอื่นๆ โดยพยายามเดินทางให้ถึงจุดหมายในแต่ละรอบให้ได้เร็วที่สุดและระหว่างเดินทางจะต้องทำภารกิจแต่ละรอบที่มอบหมายให้สำเร็จ การแข่งขันเดินทางไปในหลายประเทศ ใช้พาหนะในการเดินทางหลากหลาย เช่น เครื่องบิน, แท็กซี่, รถเช่า, รถไฟ, รถประจำทาง, เรือ ได้รางวัล แอมมี่อวอร์ด เรียลลิตี้เกมส์โชว์ประเภทพรามไทม์มาตลอดนั้นตั้งแต่เริ่มมีการประกวดรางวัลนี้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 แบบผูกขาด ซึ่งทำให้รายการนี้โด่งดังเป็นอย่างมาก จุดเด่นของรายการจะถ่ายทำยากมากและใช้งบประมาณสูงเนื่องจากค่าเดินทางและจ้างคนท้องถิ่นทำงานเพื่อถ่ายทำในแต่ละฤดูกาล โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวฉายทางซีบีเอสและเริ่มออกอากาศครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดิอะเมซิ่งเรซ (ภาพยนตร์ชุดทางโทรทัศน์อเมริกัน) · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 17

อะเมซิ่ง เรซ 17 (The Amazing Race 17) เป็นฤดูกาลที่ 17 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอส ซีบีเอสประกาศการทำรายการฤดูกาลที่ 17 ออกมาในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2553 ใบสมัครถูกแจกจ่ายออกมาในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 คัดตัวรอบแรกในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 และจะมีการคัดตัวครั้งสุดท้ายรวบถึงการไปเยือนสถานที่ต่างๆ ในเดือนเดียวกัน โดยมีกำหนดการถ่ายทำในช่วงเมษายน-พฤษภาคม พ.ศ. 2553 คู่คุณหมอ แนทกับแคท เป็นทีมที่ชนะในฤดูกาลนี้ไปและจะนำเงินรางวัลที่ได้ไปเป็นทุนการศึกษาให้กับเด็กเรียนดีที่ขาดแคลน รวมถึงทำให้พวกเธอกลายเป็นทีมหญิงล้วนทีมแรกที่ชนะรายการนี้ในเวอร์ชันอเมริกา หลังจาก 16 ฤดูกาลผ่านมาที่ไม่เคยมีทีมหญิงล้วนชนะรายการนี้เล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดิอะเมซิ่งเรซ 17 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ 6

อะเมซิ่ง เรซ 6 (The Amazing Race 6) เป็นฤดูกาลที่ 6 ของรายการ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ซึ่งเป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้โชว์ระดับรางวัลเอ็มมี 8 สมัยซ้อนทางโทรทัศน์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขันเป็นทีมๆ ละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบโลก โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยเกมส์โชว์ดังกล่าวเริ่มออกอากาศในสหรัฐอเมริกาทางสถานีโทรทัศน์ซีบีเอ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดิอะเมซิ่งเรซ 6 · ดูเพิ่มเติม »

ดิอิมพอสซิเบิ้ล

อิมพอสซิเบิ้ล หรือชื่อเรียกสั้นๆ ว่า ดิอิม เป็นวงดนตรีสตริงคอมโบวงแรกๆ ของไทย มีชื่อเสียงในยุค 70 ก่อนจะยุบวงในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดิอิมพอสซิเบิ้ล · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนอเมริกันซามัวในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

นแดนอเมริกันซามัว เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดินแดนอเมริกันซามัวในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ดีน คุนซ์

ีน คุนซ์ (Dean Koontz) เป็นนักเขียนนิยายชาวสหรัฐ เขาเริ่มมีผลงานตั้งแต่อายุเพียง 19 ปี และขายดีเรื่อยมาจนถึงปัจจุบนเฉลี่ยปีละกว่าหนึ่งล้านหกแสนเล่ม นอกจากนี้ยังเคยขายดีติดอันดับทั้งในญี่ปุ่นและนอร์เวย์มาแล้วเช่นกัน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และดีน คุนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คราเคน

ราเคนกำลังเกาะเรือ คราเคน:D (Kraken) เป็นสัตว์ยักษ์ในตำนานที่ชาวทะเลเหนือหวาดกลัว มักเล่าว่าคล้ายหมึกกล้วยขนาดยักษ์ โผล่ขึ้นจากน้ำพรวดเดียวก็สูงกว่าเสากระโดงเรือ ชอบโจมตีเรือเดินสมุทรอย่างกะทันหัน โอบหนวดของมันรัดลำเรือเอาไว้ หนวดที่เหลือมันจะรัดลูกเรือจนกระดูกแหลกเหลว บ้างก็รัดเข้ามาป้อนเข้าปากอันน่ากลัว คราเคนถูกเล่าขานมานานเท่าใดไม่ปรากฏ แต่บันทึกที่เป็นหลักฐานครั้งแรก มาจากนอร์เวย์ เป็นเรื่องราวที่อ้างถึงสิ่งมีชีวิตขนาดเท่าเกาะ ในหนังสือชื่อ "The Natural History of Norway" ที่เขียนโดยบิชอปแห่งเบอร์เก้น Erik Ludvigsen Pontoppidan ท่านได้บรรยายเกี่ยวกับคราเคนเอาไว้ว่า มันเปรียบเสมือนเกาะลอยน้ำขนาดย่อม ลำตัวยาวถึงครึ่งไมล์ เรื่องราวในช่วงถัดมาเกี่ยวกับคราเคนก็ค่อยๆ ลดขนาดของมันลงเรื่อยๆ ไม่มหึมาโอฬาร แต่ก็ยังมีขนาดยักษ์ นักชีววิทยาเชื่อว่า ที่แท้เป็นหมึกมหึมาชนิดหนึ่ง อยู่ในทะเลลึก และเมื่อตายจะเป็นซากลอยเกยหาด จนชาวประมงพบเห็นและจินตนาการเพิ่มเติมเกินจริง หมึกมหึมามีขนาดใหญ่จริง แต่ไม่เท่าเรื่องเล่าในตำนาน มีซากตัวอย่างที่ยาวเท่าเรือเร็ว และมีหลักฐานจากซาก วาฬสเปิร์ม ว่าวาฬพยายามกินหมึกชนิดนี้ และต่อสู้กัน ใน พ.ศ. 1930 มีรายงานการโจมตีเรือของหมึกดังกล่าว นักชีววิทยาและผู้ชำนาญการคาดว่า หมึกมหึมา โจมตีเพราะเรือมีลักษณะคล้ายปลาวาฬศัตรูของหมึกจนเข้าใจผิด และจากรายงานของผู้ประสบเหตุอ้างว่า หมึกดังกล่าวมีขนาดมหึมา โดยเฉลี่ยประมาณ 100 ฟุต น้ำหนักประมาณ 2-3 ตัน ส่วนมากเกิดกับเรือเดินทะเลที่ข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกเท่านั้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคราเคน · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 3

ในประวัติศาสตร์ร่วมสมัย คริสต์สหัสวรรษที่ 3 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นขึ้นในวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคริสต์สหัสวรรษที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

คริสเตียนซาน

ริสเตียนซาน (Kristiansand) เป็นเมือง เทศบาล และเมืองหลวงเทศมณฑลเวสต์-อักแดร์ ประเทศนอร์เวย์ เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 5 ของนอร์เวย์ มีประชากร 84,476 คน (ข้อมูล 1 มกราคม ค.ศ. 2013) เมืองตั้งอยู่บนอ่าวสแกเกอร์แรก ทางตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงออสโล เป็นเมืองท่าทางทะเล มีท่าเรือขนาดใหญ่ที่ปลอดน้ำแข็งในฤดูหนาว มีอุตสาหกรรมต่อเรือ งานโลหะ การทำประมง มีหาดตากอากาศชายทะเล เมืองก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคริสเตียนซาน · ดูเพิ่มเติม »

คริสเตียนเมทัล

ริสเตียนเมทัล (Christian Metal) เป็นดนตรีประเภท เฮฟวีเมทัล ชนิดหนึ่ง ที่มีเนื้อร้องและธีมที่เกี่ยวข้องกับชาวคริสเตียน คริสเตียนเมทัลเริ่มเกิดขึ้นในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1970 ในช่วง Jesus Movement (คือช่วงยุคปี 70 ที่คนอเมริกันหันมาหาพระเจ้าอย่างมาก) และบุกเบิกโดยวงอเมริกันอย่าง เรเซอร์เรกชันแบนด์ และวงจากสวีเดน เยรูซาเลม และวงสไตรเปอร์จากลอสแอนเจลิส ได้ทำให้แนวเพลงนี้เป็นที่โดดเด่นทางสื่อในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 คำว่าคริสเตียนร็อก นั้นเกิดขึ้นในปี 1984 ในช่วงที่เพลงแนวเฮฟวีเมทัลแตกแขนงแนวเพลงย่อยไปหลายแนวทาง ในช่วงเวลาเดียวกัค่ายเพลงเมทัลเบลดเรเคิดส์ เกิดขึ้นมาพร้อมกับคำว่า "ไวต์เมทัล" ในทางตรงข้ามกับการเติบโตของแบล็กเมทัล ในตลาดของวงแนวดูมเมทัล กับวงอย่าง ทรับเบิล ที่เป็นที่รู้จักในเรื่องมีเนื้อหาอิงไบเบิล เป็นผลทำให้คำว่า "ไวต์เมทัล" ได้ถูกเปลี่ยนมาเป็นคริสเตียนเมทัล ตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1990 เมื่อความนิยมในกระแสหยุดลงและเริ่มก้าวไปสู่เพลงใต้ดิน หลังจากนั้นในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษ อย่างในอเมริกาเหนือ สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และในยุโรปกลางและเหนือได้รับคำว่า คริสเตียนเมทัลไปใช้ ขณะที่คำว่า ไวต์เมทัล ยังคงใช้ในอเมริกาใต้และยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ วงทัวร์นิเกตจากแคลิฟอร์เนียและวงมอร์ติฟิเคชันจากออสเตรเลีย เป็นผู้นำแนวเพลงนี้ในคริสต์ทศวรรษ 1990 ส่วนวงเมทัลคอร์อย่าง อันเดอร์โอท เดมอนฮันเตอร์ แอสไอเลย์ดายอิง และนอร์มาจีน ก็ถูกขนานนามจากนิตยสารรีโวลเวอร์ ว่าเป็น "กองกำลังศักดิ์สิทธิ์" เป็นผู้นำฟื้นฟูเพลงแนวนี้ในคริสต์ทศวรรษ 2000 ที่ประสบความสำเร็จบนชาร์ตบิลบอร์ด 200 ถึงแม้ว่า คริสเตียนเมทัล จะใช้ในความหมายทางด้านดนตรี แต่ในบางครั้งก็การใช้คำนี้ข้ามไปแนวเพลงอื่น วงที่เป็นแนวคริสเตียนเมทัลจะคงมีความเป็นคริสเตียนเมทัลถึงแม้เพลงจะมีความหนัก แรง ซึ่งตรงข้ามกับการใช้ความหมายทั่วไปที่ คริสเตียนเมทัลมีความหมายแนวที่เบากว่าเฮฟวีเมทัล ตัวอย่างเช่น ในออลมิวสิกระบุนิยาม คริสเตียนเมทัลไว้ว่า "ระหว่างและป็อปเมทัล ถึงแม้ว่าในบางครั้งจะมีบางวงที่หนักกว่า" อย่างไรก็ตาม สิ่งเดียวที่เชื่อโยงในความเป็นวงคริสเตียนเมทัลที่สุดคือ เนื้อเพลง และในบางครั้ง ธีมของคริสเตียนจะหลอมไปกับแนวเพลงหลักของวง ที่พูดสาระสำคัญคริสเตียนเป็นหลัก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคริสเตียนเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงเชงเกน

ป้ายข้ามเขตแดนระหว่างประเทศเยอรมนีและประเทศออสเตรีย ซึ่งเป็นประเทศในกลุ่มเชงเกนซึ่งไม่มีป้อมตรวจคนเข้าเมือง ความตกลงเชงเกน (Schengen Agreement) เป็นความตกลงระหว่างประเทศส่วนใหญ่ในทวีปยุโรปอันให้สัตยาบันเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และความตกลงเชงเกน · ดูเพิ่มเติม »

ควีนม็อดแลนด์

วีนม็อดแลนด์ (Queen Maud Land) หรือ ดรอนนิงแมอุดลันด์ (Dronning Maud Land) เป็นส่วนหนึ่งของทวีปแอนตาร์กติกาที่นอร์เวย์อ้างกรรมสิทธิ์การครอบครองเมื่อวันที่ 14 มกราคม ค.ศ. 1939 ซึ่งเป็นการอ้างที่ยังไม่ได้รับการยอมรับจากประชาคมนานาชาติและยังเป็นไปตามระบบสนธิสัญญาแอนตาร์กติกา ควีนม็อดแลนด์มีเนื้อที่ประมาณ 2.5 ล้านตารางกิโลเมตร ส่วนใหญ่ปกคลุมด้วยน้ำแข็ง ตั้งชื่อตามพระนามของสมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์นอร์เวย์ หมวดหมู่:ทวีปแอนตาร์กติกา.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และควีนม็อดแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

คองเงอซังเงิน

องเงอซังเงิน (Kongesangen, "เพลงของพระเจ้าแผ่นดิน") เป็นเพลงสรรเสริญพระบารมีของนอร์เวย์ ประพันธ์โดยเฮนริก เวร์เกอลันด์ ส่วนเนื้อร้องที่ใช้อยู่ในปัจจุบันประพันธ์โดยกุสตัฟ เยนเซิน สำหรับใช้ในพิธีบรมราชาภิเษกของสมเด็จพระราชาธิบดีโฮกุนที่ 7 เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคองเงอซังเงิน · ดูเพิ่มเติม »

คอนิกเส็กก์

อนิกเส็กก์ ออโตโมทีฟ เอบี (Koenigsegg Automotive AB) เป็นบริษัทรถยนต์สัญชาติสวีเดน มีฐานการผลิตใหญ่อยู่ที่ Ängelholm เน้นการผลิตรถยนต์สมรรถนะสูง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคอนิกเส็กก์ · ดูเพิ่มเติม »

คัฟแฟะมัคคียาโต

ัฟแฟะมัคคียาโตที่กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ คัฟแฟะมัคคียาโตที่จังหวัดเชียงใหม่ คัฟแฟะมัคคียาโต (caffè macchiato) หรือบางครั้งเรียกว่า เอสเปรสโซมัคคียาโต (espresso macchiato) คือกาแฟเอสเปรสโซที่ปิดหน้าด้วยนมเพียงเล็กน้อย โดยทั่วไปจะใช้ฟองนม คำ มัคคียาโต เป็นคำคุณศัพท์ในภาษาอิตาลี แปลว่า "ซึ่งมีรอยด่าง" หรือ "ซึ่งถูกทำสัญลักษณ์ไว้" ดังนั้น คัฟแฟะมัคคียาโต จึงแปลแบบตรงตัวได้ว่า "กาแฟที่มีรอยด่าง" หรือ "กาแฟที่ทำสัญลักษณ์ไว้" แต่เดิมนิยมใช้คำ มัคคียาโต กับการเทนมร้อนธรรมดาลงไปในกาแฟ ซึ่งทำให้เกิดรอยด่างหรือรอยเปื้อนในกาแฟนั้น ภายหลังเปลี่ยนมาใช้สื่อความถึงฟองนมซึ่งผู้ชงกาแฟหยอดลงไปเพื่อให้พนักงานเสิร์ฟเห็นความแตกต่างระหว่างเอสเปรสโซธรรมดากับเอสเปรสโซที่เติมนมลงไปเล็กน้อย กาแฟประเภทหลังจึง "ถูกทำสัญลักษณ์ไว้" ไว้ด้วยนมร้อนนั่นเอง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคัฟแฟะมัคคียาโต · ดูเพิ่มเติม »

คัตติงครูว์

ัตติงครูว์ (Cutting Crew) เป็นวงร็อกจากอังกฤษ ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคัตติงครูว์ · ดูเพิ่มเติม »

คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย

แผนที่แสดงคาบสมุทรต่างๆในยุโรปเหนือ คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย (Scandinavian Peninsula) ตั้งอยู่บริเวณยุโรปเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 770,000 ตารางกิโลเมตร พื้นที่หลักๆคือดินแดนของประเทศสวีเดนและประเทศนอร์เวย์ เป็นคาบสมุทรที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป มีความยาวประมาณ 1,000 กิโลเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ยประมาณ 500 กิโลเมตร แกนกลางคาบสมุทรเป็นเทือกเขาสูงชัน ยอดเขาที่สูงที่สุดบนคาบสมุทรอยู่ในประเทศนอร์เวย์ สูงกว่า 2,400 เมตร ทิศเหนือของคาบสมุทรอยู่ในเขตอาร์กติก สามารถชมปรากฏการณ์พระอาทิตย์เที่ยงคืนได้ ทั้ง สวีเดน นอร์เวย์ และ ฟินแลนด์ แต่จุดชมที่สวยที่สุดอยู่ในนอร์เวย์บริเวณแหลมเหนือ ชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณคาบสมุทรมักจะอาศัยกระจุกตัวอยู่ทางทิศใต้ของคาบสมุทร เพราะมีอากาศที่อบอุ่นกว่า มีเมืองใหญ่ๆตั้งอยู่ อาทิเช่น สตอกโฮล์ม ออสโล เมลโม เฮลซิงบอร์ก เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย · ดูเพิ่มเติม »

คาฮูท!

ูท! (Kahoot!) เป็นแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านเกมแบบไม่มีค่าใช้จ่าย โดยใช้เป็นเทคโนโลยีการศึกษา เปิดตัวเมื่อเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคาฮูท! · ดูเพิ่มเติม »

คำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ

หภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ หรือ ITU ได้กำหนดคำนำหน้าสัญญาณเรียกขาน หรือ Prefix สำหรับสถานีวิทยุและสถานีโทรทัศน์ทุกชนิด ซึ่งเป็นข้อตกลงระหว่างประเทศที่จะเข้าใจได้อย่างตรงกัน สัญญาณเรียกขานนั้นเป็นการผสมกันระหว่างตัวหนังสือและตัวเลข ซึ่งแต่ละประเทศต้องกำหนดให้ขึ้นต้นด้วยคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานที่กำหนดมาสำหรับประเทศนั้นๆ และในแต่ละประเทศก็อาจมีวิธีการกำหนดสัญญาณเรียกขานให้กับผู้ใช้ที่อาจแตกต่างกันออกไป เช่น ประเทศไทย มีคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานคือ HS และ E2 โดยมีข้อกำหนดว่า ตัวหนังสือที่ตามมาจะเป็นเลขบอกเขต 0 - 9 และตัวหนังสือต่อจากตัวเลขถ้ากำหนดให้เป็นตัวหนังสือตัวเดียวจะใช้สำหรับุคคลสำคัญของประเทศ หรือถ้ากำหนดให้มีตัวหนังสือตาม 2 ตัวและขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A เช่น HS0AC จะสำรองให้สถานีกรณีพิเศษ เช่น สถานนีควบคุมข่ายประจำจังหวัด สถานีของชมรมหรือสมาคม (Club Station) และสถานีชั่วคราวเฉพาะก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคำนำหน้าสัญญาณเรียกขานของประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

คิลบิล บูโจ พ่อซามูไรสุดเพี้ยน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคิลบิล บูโจ พ่อซามูไรสุดเพี้ยน · ดูเพิ่มเติม »

คิงส์ออฟคอนวีเนียนซ์

งส์ออฟคอนวีเนียนซ์ (Kings of Convenience) เป็นคู่ดูโอแนวโฟล์ก-ป็อป จากเมืองแบร์เกน ประเทศนอร์เวย์ ประกอบด้วยสมาชิกคือเอริค แกลมเบ็ค โบ (Eirik Glambek Bøe) และเออร์เลนด์ โอยด์ (Erlend Øye) ทั้งสองรู้จักกันที่ประเทศอังกฤษ และได้กลับมาตั้งวงร่วมกัน เล่นดนตรีในแนวอินดี้ที่ประเทศนอร์เวย์ กับเพลงประณีต เสียงร้องสงบเสงี่ยม และเมโลดี้จากกีตาร์ที่ซับซ้อนและชาญฉลาด โดยโอยด์กับอ ทั้งคู่ ทั้งร้องและแต่งเพลง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคิงส์ออฟคอนวีเนียนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คณะมนตรีนอร์ดิก

ณะมนตรีนอร์ดิก เป็นความร่วมมือกันระหว่างสภาและรัฐบาลของประเทศกลุ่มนอร์ดิก จัดตั้งขึ้นหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง และเริ่มเห็นผลชัดเจนครั้งแรกเมื่อมีการเปิดตลาดแรงงานและระบบประกันสังคมร่วม และการอนุญาตผ่านแดนโดยไม่ต้องใช้หนังสือเดินทางในกลุ่มสมาชิก ในปีพ.ศ. 2495 คณะมนตรีนอร์ดิกมีสมาชิก 5 ชาติ ได้แก่ เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน และ 3 เขตปกครองตนเอง ได้แก่ หมู่เกาะแฟโร กรีนแลนด์ และหมู่เกาะโอลัน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคณะมนตรีนอร์ดิก · ดูเพิ่มเติม »

คนุท ฮัมซุน

นุท ฮัมซุน (Knut Hamsun; 4 สิงหาคม ค.ศ. 1859 – 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นนักเขียนชาวนอร์เวย์ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และคนุท ฮัมซุน · ดูเพิ่มเติม »

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 85

งานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 85 เป็นงานที่จะมอบรางวัลสำหรับภาพยนตร์ที่เข้าฉายในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และงานประกาศผลรางวัลออสการ์ ครั้งที่ 85 · ดูเพิ่มเติม »

ตราสารยอมจำนนของเยอรมนี

ตราสารยอมจำนนซึ่งลงนามในแรมส์ วันที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1945 ตราสารยอมจำนนของเยอรมนี เป็นตราสารจัดให้มีการหยุดยิงเป็นอันสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ตราสารดังกล่าวลงนามโดยผู้แทนจากกองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ (OKW) และกำลังรบนอกประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และตราสารยอมจำนนของเยอรมนี · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของนอร์เวย์

ตราแผ่นดินของนอร์เวย์ (Coat of arms of Norway) เป็นตราอาร์มของประเทศนอร์เวย์ที่ใช้มาตั้งแต่ค.ศ. 1280 ที่เป็นภาพสิงโตยืนผงาดสีทองสวมมงกุฎถือขวานที่มีใบขวานสีเงินบนพื้นตราสีแดง ที่เป็นตราที่มีต้นตอมาจากตราอาร์มของราชวงศ์นอร์เวย์ในยุคกลางซึ่งทำให้เป็นตราที่เก่าที่สุดตราหนึ่งของยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และตราแผ่นดินของนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินในทวีปยุโรป

ต่อไปนี้เป็นตราแผ่นดินของประเทศต่างๆในทวีปยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และตราแผ่นดินในทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

ตัวแบบนอร์ดิก

งของประเทศนอร์ดิก ตัวแบบนอร์ดิก หรือ ทุนนิยมแบบนอร์ดิก หรือ ประชาธิปไตยสังคมนิยมแบบนอร์ดิก (Nordic model, Nordic capitalismThe Nordic Way, Klas Eklund, Henrik Berggren and Lars Trägårdh.) หมายถึงนโยบายทางเศรษฐกิจและสังคมที่สามัญในประเทศกลุ่มนอร์ดิก รวมทั้งเดนมาร์ก ฟินแลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และสวีเดน ซึ่งรวมระบบทุนนิยมตลาดเสรี กับรัฐสวัสดิการและการร่วมเจรจาต่อรองของแรงงานในระดับประเทศ เป็นตัวแบบที่เริ่มได้ความสนใจหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้ประเทศต่าง ๆ จะต่างกันอย่างสำคัญ แต่ก็มีลักษณะบางอย่างเหมือนกัน รวมทั้ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และตัวแบบนอร์ดิก · ดูเพิ่มเติม »

ต้นสมัยกลาง

ักรพรรดินีธีโอโดรา พระอัครมเหสีในจักรพรรดิจัสติเนียนที่ 1 ในงานโมเสกของคริสต์ศตวรรษที่ 6 ภายในมหาวิหารซันวีตาเล เมืองราเวนนา หนังสือสำหรับพิธีศาสนาจากคริสต์ศตวรรษที่ 8 (หอสมุดวาติกัน, Reg. Lat. 316. foll. 131v/132r) ต้นสมัยกลาง (Early Middle Ages) เป็นสมัยหนึ่งในประวัติศาสตร์ยุโรป เริ่มขึ้นหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมันและดำเนินต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณห้าร้อยปีโดยเริ่มตั้งแต่ราวปี ค.ศ. 500 จนกระทั่งมาถึงราวปี ค.ศ. 1000 ต้นสมัยกลางสิ้นสุดแล้วจึงต่อด้วยสมัยกลางยุครุ่งโรจน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และต้นสมัยกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ซานตาลูชีอา

ซานตาลูชีอา (Santa Lucia) เป็นเพลงพื้นเมืองภาษานาโปลี ซึ่งได้รับการแปลงเนื้อร้องเป็นภาษาอิตาลี โดยเตโอโดโร กอตตราอู (Teodoro Cottrau; 1827–1879) ในปี ค.ศ. 1849 ที่เมืองเนเปิลส์ เนื้อร้องบรรยายถึงทัศนียภาพอันงดงามในอ่าวเนเปิลส์ ด้านหน้าย่านชุมชนบอร์โกซานตาลูชีอา คนเรือเชื้อเชิญให้ผู้คนลงเรือเพื่อชมความงามของท้องทะเลยามพระอาทิตย์ตก เพลงนี้ถูกนำไปขับร้องในภาษาต่าง ๆ มากมาย เช่นที่ขับร้องโดยเอนริโก คารูโซ, มาริโอ แลนซา และเอลวิส เพรสลีย์ ในสหรัฐอเมริกา เป็นเพลงขับร้องสรรเสริญในเทศกาลนักบุญลูซีอา (Saint Lucy) ในสวีเดน เดนมาร์ก และนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และซานตาลูชีอา · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบอดีการ์ด

ปฏิบัติการบอดีการ์ด ซึ่งดำเนินการในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นแผนการลวงทางยุทธศาสตร์โดยรวมของฝ่ายสัมพันธมิตรในทวีปยุโรป ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และปฏิบัติการบอดีการ์ด · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการวิลเฟรด

ปฏิบัติการวิลเฟรด (Operation Wilfred) เป็นแผนการของอังกฤษที่จะวางทุ่นระเบิดตามน่านน้ำระหว่างนอร์เวย์ไปจนถึงเกาะอังกฤษ เพื่อป้องกันไม่ให้กองเรือขนส่งสินค้าของเยอรมันขนส่งเหล็กอย่างดีจากสวีเดน ฝ่ายสัมพันธมิตรสันนิษฐานไว้ว่าการกระทำดังกล่าวอาจทำให้ฝ่ายเยอรมันตอบโต้ด้วยการยึดครองนอร์เวย์ และเมื่อถึงเวลานั้น ฝ่ายสัมพันธมิตรจะใช้แผนอาร์ 4 และยึดครองนอร์เวย์ หมวดหมู่:การทัพนอร์เวย์.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และปฏิบัติการวิลเฟรด · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการความทรหด

แผนที่แสดงให้เห็นแผนการความทรหดของฝ่ายสัมพันธมิตรในการหลอกลวงฝ่ายอักษะ ปฏิบัติการความทรหด(Operation Fortitude)เป็นรหัสนามสำหรับการล่อหลอกลวงทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองที่ถูกจัดการโดยฝ่ายสัมพันธมิตร เป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การหลอกลวงโดยรวม(รหัสนามว่า บอดีการ์ด) ในช่วงระหว่างการก่อตั้งขึ้นเพื่อยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดีในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และปฏิบัติการความทรหด · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการเวแซร์รืบุง

ปฏิบัติการเวแซร์รืบุงเป็นรหัสนามจากเยอรมันในการโจมตีเดนมาร์กและนอร์เวย์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและเป็นเปิดปฏิบัติการของการทัพนอร์เว.ชื่อรหัสนามนั้นมาจากภาษาเยอรมันสำหรับปฏิบัติการเวเซอร์-เอ็กเซอร์ไซค์ (Unternehmen Weserübung), เวเซอร์เป็นชื่อของแม่น้ำเยอรมัน ในช่วงเช้าวันที่ 9 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และปฏิบัติการเวแซร์รืบุง · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยสังคมนิยม

ประชาธิปไตยสังคมนิยม (Social democracy) เป็นอุดมการณ์ทางการเมือง ทางสังคม และทางเศรษฐกิจ ที่สนับสนุนการแทรกแซงของรัฐทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อความยุติธรรมทางสังคมภายในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ตลอดจนนโยบายการปกครองอันผูกมัดกับระบอบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทน การกระจายรายได้ และการควบคุมเศรษฐกิจเพื่อประโยชน์ส่วนรวมและที่เป็นไปตามเงื่อนไขของรัฐสวัสดิการ ดังนั้น จึงเป็นระบอบที่มุ่งสร้างเงื่อนไขให้กับระบอบทุนนิยมเพื่อนำไปสู่ผลลัพธ์ที่เป็นประชาธิปไตย ที่เท่าเทียมกัน และที่เป็นปึกแผ่นมากกว่า โดยบ่อยครั้งสัมพันธ์กับนโยบายทางสังคมเศรษฐกิจที่กลายเป็นเรื่องสำคัญในประเทศยุโรปตะวันตกและยุโรปเหนือ โดยเฉพาะรูปแบบที่มีในกลุ่มประเทศนอร์ดิก (คือ เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน) ในช่วงครึ่งหลังคริสต์ทศวรรษที่ 20 ระบบนี้มาจากอุดมการณ์ทางการเมืองที่สนับสนุนการปฏิรูปแบบสันติ เพื่อเปลี่ยนจากระบบทุนนิยมเป็นสังคมนิยมผ่านกระบวนการทางเมืองที่มีอยู่แล้ว เทียบกับการเปลี่ยนแปลงแบบปฏิวัติของลัทธิมากซ์ดั้งเดิม ในยุโรปตะวันตกช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พรรคประชาธิปไตยสังคมนิยมได้ปฏิเสธรูปแบบทางการเมืองและเศรษฐกิจของลัทธิสตาลินที่ตอนนั้นปฏิบัติอยู่ในสหภาพโซเวียต โดยใช้ทางเลือกเพื่อดำเนินสู่สังคมนิยมอีกแบบหนึ่ง หรือใช้ระบบอะลุ้มอล่วยระหว่างทุนนิยมและสังคมนิยม ในช่วงเวลานี้ นักประชาธิปไตยสังคมนิยมได้นำเศรษฐกิจแบบผสมมาใช้ อิงอาศัยทรัพย์สินส่วนบุคคลที่มีมากกว่า บวกกับสาธารณูปโภคที่จำเป็นและบริการสาธารณะซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐที่มีน้อยกว่า ดังนั้น ระบอบนี้จึงสัมพันธ์กับเศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์ การแทรกแซงของรัฐ และรัฐสวัสดิการ โดยได้ละทิ้งเป้าหมายสังคมนิยมดั้งเดิมที่จะแทนที่ระบบทุนนิยม (รวมทั้งตลาดการผลิต ทรัพย์สินส่วนบุคคล และแรงงานแลกกับค่าจ้าง) ด้วยระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมที่ต่างกัน ประชาธิปไตยสังคมนิยมในปัจจุบันมีลักษณะเฉพาะคือ การผูกมัดกับนโยบายที่เล็งระงับความไม่เท่าเทียมกัน ระงับการกดขี่กลุ่มคนที่ไร้อภิสิทธิ์ และระงับความยากจน รวมทั้งการสนับสนุนบริการสาธารณะที่เข้าถึงได้ทั่วกัน เช่น การดูแลผู้สูงอายุ การดูแลเด็ก การศึกษา การดูแลสุขภาพ และค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้ใช้แรงงาน ขบวนการประชาธิปไตยสังคมนิยมยังมีความสัมพันธ์ที่แข็งแรงกับขบวนการแรงงานและสหภาพแรงงาน สนับสนุนสิทธิการร่วมเจรจาต่อรองสำหรับแรงงาน ตลอดจนนโยบายที่ขยายการตัดสินใจแบบประชาธิปไตยนอกเหนือจากเรื่องการเมืองเข้าไปในประเด็นทางเศรษฐกิจ ในรูปแบบสิทธิเพื่อการเลือกผู้แทนในคณะกรรมการของบริษัท (co-determination) สำหรับทั้งลูกจ้างและผู้ได้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ ขบวนการ "ทางที่สาม" (Third Way) ซึ่งหวังเชื่อมเศรษฐกิจฝ่ายขวาเข้ากับนโยบายสวัสดิการแบบประชาธิปไตยสังคมนิยม เป็นอุดมการณ์ที่พัฒนาขึ้นต่อมาในคริสต์ทศวรรษ 1990 และบางครั้งนำมาใช้โดยพรรคการเมืองประชาธิปไตยสังคมนิยม แต่ก็มีนักวิเคราะห์ที่จัดทางที่สามว่า เท่ากับขบวนการเสรีนิยมใหม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประชาธิปไตยสังคมนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประชาธิปไตยเสรีนิยม

รัฐสภาของประเทศฟินแลนด์ (Eduskunta) - มีประเทศและอาณาเขตหลายแห่งที่เรียกได้ว่า มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปเป็นแห่งแรก รัฐ Grand Duchy of Finland (ก่อนจะเป็นประเทศฟินแลนด์) ได้มีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2449 ประชาธิปไตยเสรีนิยม หรือ ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal democracy) หรือบางครั้งเรียกว่า ประชาธิปไตยแบบตะวันตก เป็นทั้งคตินิยมทางการเมืองและระบอบการปกครองรูปแบบหนึ่ง ที่การปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนจะดำเนินการใต้หลักเสรีนิยม คือ การพิทักษ์สิทธิของปัจเจกบุคคล ซึ่งโดยทั่วไปจะระบุไว้ในกฎหมาย ระบอบมีลักษณะเฉพาะ คือ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประชาธิปไตยเสรีนิยม · ดูเพิ่มเติม »

ประมุขแห่งรัฐ

ประมุขแห่งรัฐ (head of state) เป็นคำที่ใช้ในกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายระหว่างประเทศ รัฐศาสตร์และพิธีการทูตเมื่อหมายถึงข้าราชการ (official) ที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดในรัฐเอกราชหนึ่ง ๆ และมีอำนาจเด็ดขาดหรือจำกัดที่จะปฏิบัติเป็นผู้แทนสาธารณะสูงสุด (chief public representative) ของรัฐ ประมุขแห่งรัฐในประเทศส่วนใหญ่เป็นบุคคลธรรมดาที่ดำรงตำแหน่ง หากในบางประเทศ คณะบุคคลอยู่ในตำแหน่งประมุขแห่งรัฐ เช่น สภาสหพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ ประธานาธิบดีบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และผู้ครองนครร่วม (Captains Regent) ซานมารีโน คำว่า "ประมุขแห่งรัฐ" มักใช้เพื่อแยกความแตกต่างจากคำว่า "หัวหน้ารัฐบาล" ยกตัวอย่าง ในอนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยกฎหมายสนธิสัญญา ข้อ 7 และอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและลงโทษอาชญากรรมที่กระทำต่อบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองระหว่างประเทศ รวมทั้งตัวแทนทางทูต ข้อ 1 เช่น ระบบรัฐสภาอย่างสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พระมหากษัตริย์และประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นประมุขแห่งรัฐในสองประเทศนี้ตามลำดับ ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้รับการยอมรับเป็นหัวหน้ารัฐบาล อย่างไรก็ดี ในสาธารณรัฐที่มีระบบประธานาธิบดี เช่น สหรัฐอเมริกาและสหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล ประธานาธิบดีได้รับการยอมรับเป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งบุคคลที่เป็นทั้งประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลยังอาจเกิดได้ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชและบางครั้งเช่นเดียวกับระบอบเผด็จการอื่น ๆ บทบาทของประมุขแห่งรัฐโดยทั่วไป รวมทั้งการใช้อำนาจทางการเมือง และหน้าที่ ถูกกำหนดในรัฐธรรมนูญและกฎหมายของประเทศนั้น ๆ อนุสัญญาเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางทูตปฏิบัติภายใต้ข้อสันนิษฐานว่า หัวหน้าคณะทูต (คือ เอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต) ของประเทศผู้ส่งถูกถือว่าเป็นของประมุขแห่งรัฐรัฐผู้รับ มักคิดกันว่าประมุขแห่งรัฐเป็น "ผู้นำ" อย่างเป็นทางการของรัฐชาติหนึ่ง ๆ ปัจจุบัน หลายประเทศคาดหวังให้ประมุขแห่งรัฐของตนรวมค่านิยมของชาติในแบบนิยมที่คล้ายกัน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประมุขแห่งรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติการบินไทย

ำนักงานการบินไทย สาขาท่าอากาศยานดอนเมือง ประวัติบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กำเนิดจากที่รัฐบาลไทยให้ บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด กับสายการบินสแกนดิเนเวียน ทำสัญญาร่วมทุนระหว่างกัน เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2502 จากนั้นในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503 บริษัท การบินไทย จำกัด จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นด้วยทุนประเดิม 2 ล้านบาท เพื่อดำเนินธุรกิจสายการบินระหว่างประเทศ โดยมีเที่ยวบินปฐมฤกษ์ไปยังฮ่องกง เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม ปีเดียวกัน ต่อมาในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2520 เอสเอเอสคืนหุ้นให้เดินอากาศไทย หลังจากครบระยะเวลาตามสัญญาร่วมทุน แล้วโอนให้แก่กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ตามมติคณะรัฐมนตรี และในที่สุดเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2531 เดินอากาศไทย ซึ่งดำเนินธุรกิจสายการบินภายในประเทศ ก็รวมกิจการเข้ากับการบินไทย เพื่อให้สายการบินแห่งชาติเป็นหนึ่งเดียว ตามมติคณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจ จากนั้นในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 การบินไทยเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี และจดทะเบียนแปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชน เมื่อปี พ.ศ. 2537.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประวัติการบินไทย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์รัสเซีย

ประวัติศาสตร์รัสเซีย เริ่มต้นขึ้นเมื่อชาวสลาฟตะวันออกก่อตั้งจักรวรรดิเคียฟรุส และรับเอาศาสนาคริสต์มาจากจักรวรรดิไบแซนไทน์ในปี พ.ศ. 1531 ในปีพ.ศ. 1783 อาณาจักรคีวานรุสล่มสลายโดยการรุกรานจากจักรวรรดิมองโกล หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 13 มอสโกได้ค่อยพัฒนาเป็นศูนย์กลางของศิลปะและวัฒนธรรมทีละน้อย ในคริสต์ศตวรรษที่ 15 รัฐมอสโกได้เป็นใหญ่ในจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งได้มีการขยายอาณาเขตถึงโปแลนด์ ทางด้านตะวันออกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก จนถึงสมัยพระเจ้าซาร์อีวานที่ 3 ในปี พ.ศ. 2023 พระองค์หยุดส่งเครื่องบรรณาการให้มองโกเลีย และประกาศเอกราชไม่เป็นเมืองขึ้นของมองโกเลียอีกต่อไป หลังจากการเข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่งผลให้รัสเซียเผชิญปัญหาในการพัฒนาเป็นประเทศอุตสาหกรรม ความเป็นอยู่ประชาชนลำบากแร้นแค้น กำลังทหารและเศรษฐกิจรัสเซียเข้าขั้นวิกฤต ในที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์จึงได้ก่อการปฏิวัติขึ้นในปี พ.ศ. 2460 นำไปสู่การก่อตั้งสหภาพโซเวียต เป็นประเทศแรกของโลกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตกลายมาเป็นประเทศมหาอำนาจของโลกคู่กับสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น ในสมัยนั้น นโยบายของสหภาพโซเวียตได้เน้นการป้องกันประเทศและพัฒนาด้านอุตสาหกรรม แต่การเน้นพัฒนาทหารขนานใหญ่ ส่งผลทำให้เศรษฐกิจตกต่ำอย่างรุนแรง ต่อมา เมื่อมิคาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นสู่อำนาจ เขาได้เริ่มนโยบายปฏิรูปด้านต่าง ๆ ทำให้สหภาพโซเวียตล่มสลายใน พ.ศ. 2534 สาธารณรัฐต่าง ๆ แยกตัวเป็นอิสระ สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียจึงแยกตัวออกมาเป็นเป็นสหพันธรัฐรัสเซียในปัจจุบัน โดยที่รัสเซียได้รับสถานภาพตามกฎหมายในเวทีระหว่างประเทศมาจากสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประวัติศาสตร์รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษ

ประวัติศาสตร์ของหมู่เกาะอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: History of the British Isles) เป็นประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับความขัดแย้งและความเป็นพันธมิตรระหว่างผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณต่างๆ ของบริเตนใหญ่, ไอร์แลนด์ และเกาะต่างๆ ที่รวมเป็นเกาะอังกฤษที่รวมทั้งฝรั่งเศส, เยอรมนี, เนเธอร์แลนด์, เดนมาร์ก และ สแกนดิเนเวีย ในปัจจุบันเกาะอังกฤษประกอบด้วยรัฐอิสระสองรัฐ: สาธารณรัฐไอร์แลนด์ และ สหราชอาณาจักร นอกจากนั้นยังมีรัฐที่ขึ้นกับสหราชอาณาจักร: เกิร์นซีย์, เจอร์ซีย์ และ ไอล์ออฟแมน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ต

ประวัติอินเทอร์เน็ต เป็นการศึกษาความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต ความคิดเรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายเดียวที่สามารถให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต่างระบบกันสามารถสื่อสารกันได้นั้นได้มีการพัฒนาผ่านขั้นตอนหลายขั้นตอนด้วยกัน การหลอมรวมกันของการพัฒนาเหล่านั้นได้นำไปสู่เครือข่ายของเครือข่ายทั้งหลายที่รู้จักกันในชื่อว่า อินเทอร์เน็ต การพัฒนาเหล่านั้นมีทั้งในแง่การพัฒนาเทคโนโลยี และการรวมโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่ายและระบบโทรคมนาคมที่มีอยู่เดิมเข้าด้วยกัน ความคิดเรื่องนี้ในครั้งแรก ๆ ปรากฏขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1950 หากแต่การนำแนวคิดเหล่านี้ไปปฏิบัติได้จริงนั้นเริ่มขึ้นในปลายคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 เมื่อถึงคริสต์ทศวรรษ 1980 เทคโนโลยีซึ่งนับได้ว่าเป็นพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตสมัยใหม่นั้นได้เริ่มแพร่หลายออกไปทั่วโลก ในคริสต์ทศวรรษ 1990 การมาถึงของเวิลด์ไวด์เว็บได้ทำให้การใช้อินเทอร์เน็ตกลายเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ทั่วไป.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประวัติศาสตร์อินเทอร์เน็ต · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก

ตราแผ่นดินเดนมาร์ก ประวัติศาสตร์เดนมาร์ก (History of Denmark) ประวัติศาสตร์ราชอาณาจักรเดนมาร์กมีจุดเริ่มต้นเมื่อย้อนกลับไป 12,000 ปีก่อน ในช่วงการสิ้นสุดยุคน้ำแข็งช่วงสุดท้าย ด้วยจากหลักฐานการตั้งถิ่นฐานที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ เรื่องราวของชาวเดนส์ได้มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในเอกสารครั้งแรกในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประวัติศาสตร์เดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศบราซิล เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศบราซิลในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศบัลแกเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศบัลแกเรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศบัลแกเรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศชิลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศชิลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์

ประเทศฟินแลนด์ (ซูโอมี) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐฟินแลนด์ เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนด้านตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลบอลติก ทางด้านใต้จรดอ่าวฟินแลนด์ ทางตะวันตกจรดอ่าวบอทเนีย ประเทศฟินแลนด์มีชายแดนติดกับประเทศสวีเดน นอร์เวย์ และรัสเซีย สำหรับหมู่เกาะโอลันด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้นั้น อยู่ภายใต้การปกครองของฟินแลนด์ แต่เป็นเขตปกครองตนเอง เคยถูกรัสเซียยึดครองและเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของรัสเซีย ฟินแลนด์มีประชากรเพียง 5 ล้านคน ในพื้นที่ 338,145 ตารางกิโลเมตร นับว่ามีประชากรที่เบาบาง แต่มีดัชนีการพัฒนามนุษย์ตามสถิติของสหประชาชาติ พ.ศ. 2549 อยู่ในลำดับที่ 11 ฟินแลนด์เคยเป็นส่วนหนึ่งของสวีเดนหลายศตวรรษ หลังจากนั้นก็อยู่ภายใต้จักรวรรดิรัสเซียจนถึงปี พ.ศ. 2460 ปัจจุบันฟินแลนด์เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ภาษาฟินแลนด์เป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฮังการี และภาษามอลตา ตั้งแต่ประมาณ 2,700 ปีก่อนพุทธกาล ดินแดนฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากทางใต้ของอ่าวฟินแลนด์ โดยเข้ามาทางตะวันตกเฉียงใต้ของฟินแลนด์ มีหลักฐานของเครื่องปั้นดินเผาที่มีลักษณะเฉพาะ ต่อมาในยุคสำริด พื้นที่ทางชายฝั่งของฟินแลนด์ได้รับอิทธิพลจากสแกนดิเนเวียและยุโรปกลาง ในขณะที่พื้นที่ที่อยู่ห่างจากทะเลเข้าไป ได้รับอิทธิพลการใช้สำริดมาจากทางตะวันออกมากกว่า ในพุทธศตวรรษที่ 5 พบว่ามีการค้าขายแลกเปลี่ยนกับสแกนดิเนเวียมากขึ้น และการค้นพบวัตถุแบบโรมันจากยุคนี้ด้วย ปรากฏการกล่าวถึงชาวฟินแลนด์ในเอกสารของชาวโรมันในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ 7.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศฟินแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศฟินแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศฟินแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฟีจีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศฟีจี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศฟีจีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศกรีซ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศกรีซในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศญี่ปุ่น เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศญี่ปุ่นในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศฝรั่งเศส เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศฝรั่งเศสในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

รณรัฐมองโกเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศมองโกเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศยูเครนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศยูเครน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศยูเครนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศรัสเซีย

รัสเซีย (Russia; Росси́я) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธรัฐรัสเซีย (Russian Federation; a) เป็นประเทศในยูเรเชียเหนือ และเป็นประเทศใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 10,000,000 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ที่สามารถอยู่อาศัยของโลกถึงหนึ่งในแปด รัสเซียยังเป็นชาติมีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 9 ของโลก โดยมีประชากร 143 ล้านคน รัสเซียปกครองด้วยระบอบสหพันธ์สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี ประกอบด้วย 83 เขตการปกครอง ไล่จากตะวันตกเฉียงเหนือถึงตะวันออกเฉียงใต้ รัสเซียมีพรมแดนติดกับนอร์เวย์ ฟินแลนด์ เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย และโปแลนด์ (ทั้งสองผ่านมณฑลคาลินินกราด) เบลารุส ยูเครน จอร์เจีย อาเซอร์ไบจาน คาซัคสถาน จีน มองโกเลียและเกาหลีเหนือ นอกจากนี้ยังมีพรมแดนทางทะเลติดกับญี่ปุ่นโดยทะเลโอฮอตสค์ และสหรัฐอเมริกาโดยช่องแคบแบริง อาณาเขตของรัสเซียกินเอเชียเหนือทั้งหมดและ 40% ของยุโรป แผ่ข้ามเก้าเขตเวลาและมีสิ่งแวดล้อมและธรณีสัณฐานหลากหลาย รัสเซียมีปริมาณทรัพยากรแร่ธาตุและพลังงานสำรองใหญ่ที่สุดของโลก และเป็นผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติอันดับหนึ่งของโลก เช่นเดียวกับผู้ผลิตน้ำมันอันดับหนึ่งทั่วโลก รัสเซียมีป่าไม้สำรองใหญ่ที่สุดในโลกและทะเลสาบในรัสเซียบรรจุน้ำจืดประมาณหนึ่งในสี่ของโลก ประวัติศาสตร์ของชาติเริ่มขึ้นด้วยชาวสลาฟตะวันออก ผู้ถือกำเนิดขึ้นเป็นกลุ่มที่โดดเด่นได้ในยุโรประหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 ถึงที่ 8 รัฐรุสในสมัยกลาง ซึ่งก่อตั้งและปกครองโดยอภิชนนักรบวารันเจียนและผู้สืบเชื้อสาย เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ใน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

วิตเซอร์แลนด์ (Switzerland; die Schweiz; la Suisse; Svizzera; Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (Swiss Confederation; Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับ ประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานาชาติหลายแห่ง นอกจากนี้ลักษณะของประเทศยังคล้ายกับประเทศเบลเยียม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศสวิตเซอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดน

วีเดน (Sweden; สฺแวรฺแย) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกตั้งอยู่บนคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย ในยุโรปเหนือ เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอร์เวย์ ทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศฟินแลนด์ และช่องแคบ สแกเกอร์แรก (Skagerrak) ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดช่องแคบแคทีแกต (Kattegat) และทางตะวันออกจรดทะเลบอลติก และอ่าวบอทเนีย มีกรุงสต็อกโฮล์มเป็นเมืองหลวง ประเทศสวีเดนมีประชากรที่เบาบาง เว้นแต่ในเขตเมืองใหญ่ พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศประกอบด้วยป่าไม้ และภูเขาสูง หลังจากสิ้นสุดยุคไวกิง สวีเดนกลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพคาลมาร์ ร่วมกับเดนมาร์กและนอร์เวย์ (ในช่วงเวลานี้ ฟินแลนด์เป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสวีเดน) สวีเดนได้ออกจากสหภาพในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 และได้รบสู้กับประเทศเพื่อนบ้านเป็นเวลาหลายปี โดยเฉพาะรัสเซีย และเดนมาร์กกับนอร์เวย์ที่ยังเป็นสหภาพอยู่ ซึ่งไม่ยอมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในคริสศตวรรษที่ 17 สวีเดนได้ขยายเขตด้วยสงครามและกลายเป็นมหาอำนาจด้วยขนาด 2 เท่าของปัจจุบัน ถึง..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศสวีเดน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศสวีเดนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศสเปน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศสเปนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010

ประเทศออสเตรีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 21..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศออสเตรียในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศออสเตรเลีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศออสเตรเลียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์มีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศอาร์มีเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศอาร์มีเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศอาร์เจนตินา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศอาร์เจนตินาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศอิตาลี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศอิตาลีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศฮังการี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศฮังการีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจอร์เจียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศจอร์เจีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศจอร์เจียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศจาเมกา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศจาเมกาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจีนไทเปในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศจีนไทเป เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศจีนไทเปในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคาซัคสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศคาซัคสถาน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศคาซัคสถานในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศตรินิแดดและโตเบโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศตรินิแดดและโตเบโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศตุรกี เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศตุรกีในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์

นอร์เวย์ (Norway; Norge; Noreg) มีชื่อทางการว่า ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway; Kongeriket Norge; Kongeriket Noreg) เป็นประเทศในกลุ่มนอร์ดิก ตั้งอยู่ในยุโรปเหนือ ส่วนตะวันตกของคาบสมุทรสแกนดิเนเวีย มีอาณาเขตจรดประเทศสวีเดน ฟินแลนด์ และรัสเซีย และมีอาณาเขตทางทะเลจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับประเทศเดนมาร์กและสหราชอาณาจักร นอร์เวย์เป็นประเทศที่มีชายฝั่งยาวและเป็นที่ตั้งของฟยอร์ดที่มีชื่อเสียง ดินแดนหมู่เกาะที่อยู่ใกล้เคียง ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ต่างก็อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของนอร์เวย์และถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร ในขณะที่เกาะบูแวในมหาสมุทรแอตแลนติกใต้ และเกาะปีเตอร์ที่ 1 ในมหาสมุทรแปซิฟิกใต้นั้น มีฐานะเป็นอาณานิคมของนอร์เวย์เท่านั้น ไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักร นอกจากนี้ นอร์เวย์ยังอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดรอนนิงมอดแลนด์ในทวีปแอนตาร์กติกา ซึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีวิจัยอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1814

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1814 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1814 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1815

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1815 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1815 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1817

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1817 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1817 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1820

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1820 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1820 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1823

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1823 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1823 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1826

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1826 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1826 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1829

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1829 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1829 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1832

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1832 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1832 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1835

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1835 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1835 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1838

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1838 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1838 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1841

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1841 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1841 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1844

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1844 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1844 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1847

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1847 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1847 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1850

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1850 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1850 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1853

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1853 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1853 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1856

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1856 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1856 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1859

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1859 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1859 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1862

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1862 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1862 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1865

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1865 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1865 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1868

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1868 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1868 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1870

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1870 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1870 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1873

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1873 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1873 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1876

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1876 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1876 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1879

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1879 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1879 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1882

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1882 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1882 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1885

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1885 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1885 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1888

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1888 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1888 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1891

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1891 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1891 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1894

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1894 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1894 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1897

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1897 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1897 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1900

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1900 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1900 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1903

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1903 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1903 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1906

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1906 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1906 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1907

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1907 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1907 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1908

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1908 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1909

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1909 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1909 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1910

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1910 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1910 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1912

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1912 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1912 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1913

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1913 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1913 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1915

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1915 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1915 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1916

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1916 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1916 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1918

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1918 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1918 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1919

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1919 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1919 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1920

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1920 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1921

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1921 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1921 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1922

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1922 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1922 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1924

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1924 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1924 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1925

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1925 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1925 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1927

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1927 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1927 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1928

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1928 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1928 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1930

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1930 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1930 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1931

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1931 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1931 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1932

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1932 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1933

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1933 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1933 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1934

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1934 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1934 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1936

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1936 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1936 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1937

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1937 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1937 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1945

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1945 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1945 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1947

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1947 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1947 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1949

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1949 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1949 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1951

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1951 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1951 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1952

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1953

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1953 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1953 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1955

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1955 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1955 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1956

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1956 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1957

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1957 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1957 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1959

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1959 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1959 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1960

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1960 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1961

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1961 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1961 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1963

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1963 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1963 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1964

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1964 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1965

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1965 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1965 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1967

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1967 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1967 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1968

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1968 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1969

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1969 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1969 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1971

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1971 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1971 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1972

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1972 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1973

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1973 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1973 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1975

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1975 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1975 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1976

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1976 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1977

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1977 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1977 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1979

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1979 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1979 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1981

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1981 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1981 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1983

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1983 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1983 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1984

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1985

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1985 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1985 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1987

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1987 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1987 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1988

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1988 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1989

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1989 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1989 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1991

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1991 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1991 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1992

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1992 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1993

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1993 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1993 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1995

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1995 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1995 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1997

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1997 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1997 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1999

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1999 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1999 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2000

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2000 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2001

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2001 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2001 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2003

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2003 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2003 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2004

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2004 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2005

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2005 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2005 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2007

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2007 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2007 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2008

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2008 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2009

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2009 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2009 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2011

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2011 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2011 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2012

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2012 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2013

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2013 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2013 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2015

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2015 ในประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2015 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2016

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2016 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิก

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิก นอร์เวย์ หมวดหมู่:ประเทศนอร์เวย์.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1984

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 23..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูร้อน 1984 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศนิวซีแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศนิวซีแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศแคนาดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศแคนาดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศโรมาเนีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศโรมาเนียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศโปแลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศโปแลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์

อซ์แลนด์ (Iceland; อิสตลันต์) เป็นประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือเรคยาวิก ไอซ์แลนด์มีประชากรประมาณสามแสนคน มีพื้นที่ประเทศรวม 102,775 ตารางกิโลเมตร เรียกข้อมูลวันที่ 2008-03-03 นับว่ามีประชากรเบาบาง จากดัชนีการพัฒนามนุษย์ ปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศไอซ์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศไอซ์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศไอซ์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเบลเยียม เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเบลเยียมในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเบอร์มิวดา เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเบอร์มิวดาในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเช็กโกสโลวาเกีย เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเช็กโกสโลวาเกียในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเกาหลีใต้ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเกาหลีใต้ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเม็กซิโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเม็กซิโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเลบานอน เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเลบานอนในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์ก

นมาร์ก (Denmark; แดนมาก) (Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง เดนมาร์กเป็นประเทศองค์ประกอบที่มีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป แต่ยังไม่เข้าร่วมใช้สกุลเงินยูโร เดนมาร์กเป็นสมาชิกรุ่นก่อตั้งขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเดนมาร์ก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเดนมาร์กในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ประเทศเนเธอร์แลนด์ เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และประเทศเนเธอร์แลนด์ในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามหางไหม้ (ไทย)

ปลาหางไหม้ หรือที่นิยมเรียกกันว่า ปลาฉลามหางไหม้ (Burnt-tailed barb, Siamese bala-shark) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) ปลาหางไหม้ มีรูปร่างและทรวดทรงที่เพรียวยาว ตาโต ปากเล็ก ขยับปากอยู่ตลอดเวลา ใต้คางมีแผ่นหนังเป็นถุงเปิดออกด้านท้าย ลำตัวแบนข้างเล็กน้อย เกล็ดมีขนาดเล็กสัดส่วนของครีบทุกครีบเหมาะสมกับลำตัว โดยเฉพาะครีบหางซึ่งเว้าเป็นแฉกลึก สีของลำตัวเป็นสีเงินแวววาว ด้านหลังสีเขียวปนเทา ครีบหลัง ครีบท้อง ครีบก้นและครีบหาง สีส้มแดงและขอบเป็นแถบดำ อันเป็นที่มาของชื่อ ว่ายน้ำได้ปราดเปรียวมาก และกระโดดขึ้นได้สูงจากน้ำมาก มีขนาดโตเต็มราว 20–30 เซนติเมตร นิยมอยู่เป็นฝูง หากินตามใต้พื้นน้ำ ในอดีตพบชุกชุมในเขตที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ในประเทศไทย แต่ปัจจุบันไม่พบแล้ว เชื่อว่าได้สูญพันธุ์ไปจนหมดแล้ว สันนิษฐานว่าเป็นผลมาจากการจับจากธรรมชาติเพื่อจำหน่ายเป็นปลาสวยงาม แต่ก็เพียงข้อสันนิษฐาน โดยถือว่าเป็นสิ่งมีชีวิตถิ่นเดียว แม้จะมีรายงานพบในลุ่มแม่น้ำโขง ในเวียดนาม, กัมพูชา และลาว แต่ทว่าก็ยังไม่มีหลักฐานยืนยัน และไม่เป็นที่ยอมรับจาก IUCN ซึ่งในอดีตปลาหางไหม้ได้ถูกใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ร่วมกับปลาฉลามหางไหม้ชนิดที่พบในประเทศอินโดนีเซีย (B. melanopterus) และถูกใช้ชื่อวิทยาศาสตร์และข้อมูลนี้มาโดยตลอด จนกระทั่งในปี ค.ศ. 2007 มีการจัดอนุกรมวิธานกันขึ้นมาใหม่ Ng, Heok Hee; Kottelat, Maurice (2007).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และปลาฉลามหางไหม้ (ไทย) · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามครุย

ปลาฉลามครุย (Frilled shark; ラブカ) เป็นปลาฉลามชนิดหนึ่ง ที่มีรูปร่างประหลาดมากคล้ายปลาไหล อาศัยอยู่ในน้ำลึก 1,968 – 3,280 ฟุต มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Chlamydoselachus anguineus ในอยู่ในวงศ์ Chlamydoselachidae เดิมเคยเชื่อว่าสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่มีรายงานพบในหลายพื้นที่ รวมถึงในเขตน่านน้ำของญี่ปุ่น ทำให้ปลาฉลามครุยกลายเป็น "ซากดึกดำบรรพ์มีชีวิต" อีกชนิดหนึ่งของโลก เพราะเชื่อว่ามันไม่ได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะเลยมาตั้งแต่ยุคครีเทเชียส จนกระทั่งถึงปัจจุบัน บริเวณส่วนหัว ลักษณะฟันและปาก ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2007 ปลาฉลามชนิดนี้ได้สร้างความฮือฮากลายเป็นข่าวโด่งดังไปทั้งโลก เมื่อชาวประมงชาวญี่ปุ่นสามารถจับตัวอย่างที่ยังมีชีวิตได้ตัวหนึ่งในเขตน้ำตื้นใกล้ชายฝั่งใกล้สวนน้ำอะวาชิมา ในเมืองชิซุโอะกะทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงโตเกียว ซึ่งเชื่อว่าปลาตัวนี้ลอยขึ้นมาเพราะร่างกายอ่อนแอเนื่องจากความร้อนที่ขึ้นสูงของอุณหภูมิของน้ำ ซึ่งมีชีวิตอยู่ได้ไม่นานก็ตายไป เชื่อว่าปลาฉลามชนิดนี้ กระจายพันธุ์อยู่ในเขตน้ำลึกใกล้นอร์เวย์, แอฟริกาใต้, นิวซีแลนด์, ชิลี และญี่ปุ่น มีรูปร่างเรียวยาวคลายปลาไหลหรืองูทะเล เป็นไปได้ว่าตำนานงูทะเลขนาดใหญ่ที่เป็นเรื่องเล่าขานของนักเดินเรือในสมัยอดีตอาจมีที่มาจากปลาฉลามชนิดนี้ มีผิวสีน้ำตาลหรือเทาเข้ม มีซี่กรองเหงือก 6 คู่ สีแดงสด และฟูกางออกเหมือนซาลาแมนเดอร์บางชนิด ทำให้ดูแลเหมือนครุย ซึ่งมีไว้สำหรับดูดซับออกซิเจนโดยเฉพาะ เนื่องจากในทะเลลึกมีปริมาณออกซิเจนน้อยกว่าด้านบนถึงกว่าครึ่ง ปากกว้างเลยตำแหน่งของตา ภายในปากมีฟันที่แตกเป็นดอกแหลม ๆ 3 แฉก ทำให้สันนิษฐานว่าเป็นปลาที่ล่าปลาเล็กเป็นอาหารที่เก่งฉกาจชนิดหนึ่ง ความยาวเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 6.5 ฟุต.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และปลาฉลามครุย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาเทราต์สีน้ำตาล

ปลาเทราต์สีน้ำตาล (Salmo trutta) เป็นสายพันธุ์ปลาที่มีต้นกำเนิดในยุโรป จัดอยู่ในวงศ์ปลาแซลมอน ปลาสายพันธุ์นี้มีอีกชื่อหนึ่งว่า ปลาเทราต์ทะเล โดยปกติพวกมันจะอาศัยอยู่ในน้ำทะเล แต่ในฤดูวางไข่พวกมันจะว่ายทวนแม่น้ำขึ้นมาวางไข่ในแหล่งนี้สะอาดเท่านั้น ปราเทราต์ทะเลในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์นั้นมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไปตามภูมิภาค เช่นในเวลส์เรียกว่า เซวิน, ในสก็อตแลนด์เรียกว่า ฟินน็อก, ภาคตะวันตกเรียกว่า พีล, ภาคตะวันตกเฉียงเหนือเรียกว่า มอร์ท และในไอร์แลนด์เรียกว่า ไวต์เทราต์ ซึ่งถือเป็นหนึ่งในปลาเศรษฐกิจที่ผู้คนนิยมรับประทาน ปลาเทราต์สีน้ำตาลนั้น มีการกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติตั้งแต่ตอนเหนือของนอร์เวย์และบริเวณโดยรอบทะเลขาวของรัสเซียในมหาสมุทรอาร์กติก ไปจนถึงเทือกเขาแอตลาสในแอฟริกาตอนเหนือ ทา ตะวันตกมีการกระจายพันธุ์ไม่เกินไปกว่าไอซ์แลนด์ในแอตแลนติกตอนเหนือ ในขณะที่ทางตะวันออกมีการกระจายพันธุ์ไม่เกินไปกว่าบริเวณทะเลอารัลในอัฟกานิสถานและปากีสถาน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และปลาเทราต์สีน้ำตาล · ดูเพิ่มเติม »

ปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994

ปวยร์โตรีโก เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และปวยร์โตรีโกในโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

ปืนใหญ่อัตตาจรอาร์เชอร์

ระบบปืนใหญ่อาร์เชอร์ (Archer Artillery System) รหัส FH77BW L52 เป็นระบบปืนใหญ่อัตตาจรขนาด 155 ม.ม. ของสวีเดนและนอร์เวย์ พัฒนาขึ้นโดยบริษัท Bofors (ปัจจุบันเป็นบริษัทลูกของ บีเออี ซิสเต็มส์) โดยการควบคุมของ Försvarets Materielverk (FMV) ของสวีเดน ประกอบด้วยปืนใหญ่ฮาวอิตเซอร์ขนาด 155 ม.ม. ติดตั้งบนรถบรรทุก 6 ล้อวอลโว โดยมีรถควบคุมสั่งการทางไกล และรถบรรทุกกระสุนสนับสนุน สามารถปฏิบัติการได้ด้วยเจ้าหน้าที่ 4 นาย ปัจจุบัน ระบบอาร์เชอร์มีประจำการในกองทัพสวีเดนและนอร์เวย์ http://www.fmv.se/WmTemplates/page.aspx?id.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และปืนใหญ่อัตตาจรอาร์เชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ปีเตอร์ ซุนเด

ปีเตอร์ ซุนเด โกลมิซอปปิ (Peter Sunde Kolmisoppi) เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2521 นามแฝง โบรค เป็น นักการเมือง ผู้เชี่ยวชาญคอมพิวเตอร์ และโฆษก ที่มีต้นตระกูลจากประเทศนอร์เวย์และประเทศฟินแลนด์ เขาเป็นที่รู้จักในฐานะผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตโฆษกของเว็ปไซต์เดอะไพเรตเบย์ ซึ่งเป็นเสิร์ชเอนจินบิตทอร์เรนต์ เขาเป็นผู้สนับสนุนความเท่าเทียมและแสดงความกัลวลเกี่ยวกับการรวมตัวของอำนาจในสหภาพยุโรปในบล็อกของเขา ซุนเดได้เข้าร่วม พรรคไพเรตแห่งประเทศฟินแลนด์ (Pirate Party of Finland) อีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และปีเตอร์ ซุนเด · ดูเพิ่มเติม »

นอร์ดออสต์ลานเดต

นอร์ดออสต์ลานเดต หรือ นอร์ทอีสต์แลนด์ (Nordaustlandet; North East Land) เป็นเกาะใหญ่เป็นอันดับ 2 ของหมู่เกาะสฟาลบาร์ด ประเทศนอร์เวย์ ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะสปิตสเบอร์เกน มีพื้นที่ 14,443 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนอร์ดออสต์ลานเดต · ดูเพิ่มเติม »

นักวิทยุสมัครเล่น

"นักวิทยุสมัครเล่น" ภาษาอังกฤษเรียกว่า "amateur radio operator" หมายถึงบุคคลที่ได้รับใบอนุญาตการเป็นนักวิทยุสมัครเล่นจากรัฐบาลหรือจากผู้ที่มีอำนาจของแต่ละประเทศ นักวิทยุสมัครเล่นจะใช้อุปกรณ์ต่างๆ ในสถานีของนักวิทยุสมัครเล่นสำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างนักวิทยุสมัครเล่นที่ได้รับอนุญาตเช่นเดียวกัน รวมทั้งใช้ความถี่ที่กำหนดให้เฉพาะกิจการวิทยุสมัครเล่นเท่านั้น ซึ่งการใช้งานจะต้องเป็นตามเงื่อนไขที่ได้รับอนุญาต นักวิทยุสมัครเล่นจะได้รับการกำหนดสัญญาณเรียกขาน เพื่อระบุตัวตนในการติดต่อสื่อสาร ปัจจุบันมีนักวิทยุสมัครเล่นทั่วโลกประมาณ 3 ล้านคน นักวิทยุสมัครเล่นมักเรียกตัวเองว่า "ham" สำหรับที่มาของคำว่า "ham" นั้นยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่าเริ่มใช้ตั้งแต่เมื่อใด และนักวิทยุสมัครเล่นมักจะเรียกหรือกล่าวถึงนักวิทยุสมัครเล่นที่เสียชีวิตว่า "silent key".

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนักวิทยุสมัครเล่น · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1952

นางงามจักรวาล 1952 (Miss Universe 1952) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 1 จัดขึ้นในวันที่ 29 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 1952 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1956

นางงามจักรวาล 1956 (Miss Universe 1956) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 5 จัดในวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 1956 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1958

นางงามจักรวาล 1958 (Miss Universe 1958) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 7 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 1958 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1974

นางงามจักรวาล 1974 (Miss Universe 1974) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 23 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 1974 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1976

นางงามจักรวาล 1976 (Miss Universe 1976) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 25 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 1976 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1990

นางงามจักรวาล 1990 (Miss Universe 1990) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 39 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 15 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 1990 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1997

นางงามจักรวาล 1997 (Miss Universe 1997) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 46 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 1997 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1998

นางงามจักรวาล 1998 (Miss Universe 1998) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 47 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 1998 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 1999

นางงามจักรวาล 1999 (Miss Universe 1999) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 48 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 1999 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2000

นางงามจักรวาล 2000 (Miss Universe 2000) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 49 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 2000 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2011

นางงามจักรวาล 2011 (Miss Universe 2011) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 60 จัดขึ้นในวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 2011 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามจักรวาล 2012

นางงามจักรวาล 2012 (Miss Universe 2012) เป็นการจัดประกวดนางงามจักรวาลครั้งที่ 61 จัดขึ้นในวันที่ 20 ธันวาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามจักรวาล 2012 · ดูเพิ่มเติม »

นางงามนานาชาติ 2014

นางงามนานาชาติ 2014 ป็นผลการประกวดมิสนานาชาติครั้งที่ 54 จัดโดยสมาคมวัฒนธรรมระหว่างประเทศซึ่งจัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนางงามนานาชาติ 2014 · ดูเพิ่มเติม »

นิติภาวะ

นิติภาวะ (majority, full age หรือ lawful age; sui juris) คือ ภาวะที่บุคคลเป็นผู้มีความสามารถใช้สิทธิทำนิติกรรมตามกฎหมายได้ด้วยตนเอง การบรรลุนิติภาวะย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดแล้วแต่กรณี ผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ เรียก "ผู้เยาว์" (minor) ซึ่งกฎหมายจำกัดความสามารถเอาไว้ โดยพิจารณาสรุปว่าผู้เยาว์ทั่วไปแล้วมีปรกติเป็นเด็กไม่อาจบริหารสติปัญญาได้ดีเท่าผู้ใหญ่ได้ จึงจำกัดความสามารถในการใช้สิทธิไว้ให้มีผู้ที่เรียก "ผู้แทนโดยชอบธรรม" (legal representative หรือ statutory agent) เป็นผู้ตัดสินใจใช้สิทธิแทน จนกว่าผู้เยาว์จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ก็จะมีความสามารถในการใช้สิทธิได้เต็มเปี่ยม เว้นแต่เขาจะกลายเป็นคนวิกลจริต (person of unsound mind), คนไร้ความสามารถ (incompetent person) หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ (quasi-incompetent person).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนิติภาวะ · ดูเพิ่มเติม »

นี-โย

แชฟเฟอร์ ชิเมียร์ สมิธ (Shaffer Chimere Smith) หรือเป็นที่รู้จักในนาม นี-โย (Ne-Yo) เกิดเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ. 1979 เป็นนักร้องเพลงแนวอาร์แอนด์บี นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์เพลง และนักแสดงชาวอเมริกัน นี-โยมีชื่อเสียงด้านการแต่งเพลงเมื่อเขาแต่งเพลง "เล็ตมีเลิฟยู" ให้กับมาริโอ ความสำเร็จดังกล่าวทำให้นี-โยได้พบกับหัวหน้าค่ายเดฟแจม และเซ็นสัญญาด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนี-โย · ดูเพิ่มเติม »

นีลส์ คริสตี

นีลส์ คริสตี (Nils Christie; 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471 – 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นนักสังคมวิทยาและผู้เชี่ยวชาญอาชญาวิทยาชาวนอร์เวย์ เขาเป็นศาสตราจารย์ด้านอาชญาวิทยาที่มหาวิทยาลัยออสโล ตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนีลส์ คริสตี · ดูเพิ่มเติม »

นีลส์ เฮนริก อาเบล

นีลส์ เฮนริก อาเบล (Neils Henrik Abel) เกิดเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม ค.ศ. 1802 เสียชีวิต 6 เมษายน ค.ศ. 1829 เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวนอร์เวย์ เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่มีผลงานโดดเด่นที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นอกจากนั้นบางท่านยกย่องอาเบลว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์ของสแกนดิเนเวีย อย่างไรก็ตามอาเบลเสียชีวิตด้วยอายุเพียง 26 ปี และเป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ที่มีชีวิตอาภัพที่สุดในประวัติศาสตร์ของวงการคณิตศาสตร์ เคียงคู่ไปกับ เอวารีสต์ กาลัว (เสียชีวิตเมื่ออายุ 20 ปี), รามานุจัน (เสียชีวิตเมื่ออายุ 33 ปี) และ โซฟี่ แชร์แมง (เสียชีวิตโดยที่ไม่มีโอกาสได้ทราบว่าตนเองได้รับปริญญากิตติมศักดิ์) อาเบลและเพื่อนนักคณิตศาสตร์ร่วมสมัยคือ เกาส์และโคชี่ มีส่วนร่วมเป็นอย่างสูงในการพัฒนาคณิตศาสตร์สมัยใหม่ ซึ่งแตกต่างจากคณิตศาสตร์สมัยเก่าตรงที่มีการพิสูจน์อย่างเคร่งครัดในทุกทฤษฎีบท.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนีลส์ เฮนริก อาเบล · ดูเพิ่มเติม »

นีนา โซลไฮม์

นีนา โซลไฮม์ (Nina Solheim; 니나 솔헤임) มีชื่อในภาษาเกาหลีคือ โชมีซุน (조미선) เกิดวันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1979 เป็นนักกีฬาเทควันโดชาวนอร์เวย์ ผู้ซึ่งเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน ค.ศ. 2004 กับค.ศ. 2008 โดยในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนีนา โซลไฮม์ · ดูเพิ่มเติม »

นีโอนาซี

นีโอนาซี (Neo-Nazism) คือลัทธิที่เคลื่อนไหวหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เพื่อฟื้นคืนลัทธินาซี ซึ่งโดยส่วนมากแล้ว สมาชิกกลุ่มคนเหล่านี้มักเป็นกลุ่มคนผิวขาว (คอเคซอยด์) เนื่องจากกลุ่มคนเหล่านี้ยังมีความเชื่อที่ว่าคนผิวขาวเป็นใหญ่เหนือเผ่าพันธุ์อื่นๆ สืบมาตั้งแต่ยุคล่าอาณานิคม ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของนาซี นโยบายของลัทธินีโอนาซีมีความแตกต่างกันไป แต่มักสวามิภักดิ์ต่ออดอล์ฟ ฮิตเลอร์, เหยียดเชื้อชาติต่างๆ, เหยียดสีผิว, เทิดทูนคนอารยันเยอรมัน, เหยียดเกย์ เหยียดยิว สลาฟ ฯลฯ พวกเขามักใช้สัญลักษณ์เป็นสวัสดิกะ มีบางประเทศในทวีปยุโรปมีกฎหมายห้ามลัทธินาซี การเหยียดผิว การเหยียดเชื้อชาติ กลุ่มนีโอนาซีจะพบแถวชายแดนระหว่างประเทศที่ติดกับเยอรมัน โดยเฉพาะในรัสเซียพบมากที่สุดในกรุงมอสโก เหยื่อผู้เคราะห์ร้ายของบุคคลกลุ่มนี้ได้แก่ ชนชาติที่เป็นต่างชาติและที่มีอยู่ในรัสเซียอยู่แล้วเช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส แอฟริกันอเมริกัน ลูกครึ่ง รัสเซียและกลุ่มชนชาติต่างๆ ที่อยู่ในรัสเซียและมาจากต่างประเทศ ชาวรัสเซียคนหนึ่งบอกว่า ที่ประเทศเขามีประชากรเป็นรัสเซีย 81% ต่างชาติ 19% อาทิ ยิว สลาฟ ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส เยอรมัน ฯลฯ เขาบอกว่าพวกนีโอนาซีจะเป็นพวกเยอรมันที่อยู่ในรัสเซียที่เป็นชุมชนเยอรมัน เขายังบอกอีกว่าชาวต่างชาติที่อยู่ในประเทศเขาที่ไม่ใช้เยอรมันมักถูกทำร้ายจนตายทั้งที่มาจากต่างประเทศและชนชาติกลุ่มต่างๆ ในรัสเซียที่ไม่ใช่เยอรมัน มีนีโอนาซีบางกลุ่มพยายามที่จะรื้อฟื้นลัทธินี้ อาทิ Colin Jordan, George Lincoln Rockwell, Savitri Devi, Francis Parker Yockey, William Luther Pierce, Eddy Morrison และ David Myatt นีโอนาซีมักจะโกนหัว ชื่อของทรงผมสกินเฮดที่เรียกชื่อกันอยู่นั้นมีต้นกำเนิดมาจากพวกนี้ เชื่อว่าคนขาวที่เป็นเยอรมันเป็นเผ่าพันธุ์ที่ดีที่สุด แต่งกายคล้ายพังก์ สักลาย สวัสดิกะ หรือ สัญลักษณ์นาซีไว้ที่ตัว บูชา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์, แฮร์มันน์ เกอริง, ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ บ้างไล่ตระเวนไล่ทำร้ายชาวต่างชาติ เช่น ยิว สลาฟ เอเชีย ตาตาร์ ยูเครน เบลารุส นิโกร ลูกครึ่ง รัสเซีย สเปน กรีก อิตาลี และกลุ่มชนชาติต่างๆ ซึ่งอาจรวมอังกฤษด้วย สมาชิกนีโอนาซีส่วนมากมักจะเป็นคนเชื้อสายเจอร์แมนิกในหลายประเทศ ได้แก่ เยอรมนี, สวีเดน, เดนมาร์ก, นอร์เวย์, สหราชอาณาจักร, ไอซ์แลนด์, ออสเตรีย, สวิตเซอร์แลนด์, เนเธอร์แลนด์ และเบลเยียม ส่วนเขตอิทธิพลของนีโอนาซีในประเทศอื่นๆ ได้แก่ รัสเซีย, โครเอเชีย, ฝรั่งเศส, เซอร์เบีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, เอสโตเนีย, ฮังการี, กรีซ, ยูเครน, ตุรกี, อิสราเอล, ซีเรีย, มองโกเลีย, พม่า, ไต้หวัน, เซอร์เบีย, สหรัฐอเมริกา, แคนาดา, คอสตาริกา, บราซิล และชิลี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนีโอนาซี · ดูเพิ่มเติม »

นีโครโนมิคอน

นีโครโนมิคอนจำลอง นีโครโนมิคอน (อักษรละติน: Necronomicon)เป็นตำราเวทย์สมมุติที่ปรากฏในงานประพันธ์ชุดตำนานคธูลูของเอช. พี. เลิฟคราฟท์และถูกหยิบยืมไปอ้างถึงโดยนักประพันธ์อื่นๆ โดยปรากฏครั้งแรกในเรื่องสั้น The Hound ซึ่งได้รับการตีพิมพ์ในปีพ.ศ. 2467 แต่หนึ่งปีก่อนหน้านั้น เลิฟคราฟท์ก็ได้อ้างคำพูดของตัวละคร อับดุล อัลฮาเซรด ซึ่งเป็นผู้แต่งนีโครโนมิคอนไว้แล้วในเรื่อง The Nameless City เนื้อหาในหนังสือเล่มนี้นั้นมีเรื่องราวของเกรทโอลด์วันและพิธีกรรมที่ใช้อัญเชิญอยู่ด้วย นักประพันธ์คนอื่นๆ เช่นออกัสต์ เดอเลธและคลาก แอชตัน สมิทได้ยืมเอานีโครโนมิคอนไปอ้างถึงในงานเขียนของตนเอง โดยได้รับการสนับสนุนจากเลิฟคราฟท์ซึ่งคิดว่าการยกมาใช้ร่วมกันนี้จะทำให้บรรยากาศของเรื่องสมจริงยิ่งขึ้น ทำให้มีผู้อ่านจำนวนมากเข้าใจผิดว่าหนังสือเล่มนี้มีจริง มีการสั่งซื้อหรือขอนีโครโนมิคอนผ่านทางผู้ขายหนังสือและบรรณารักษ์เป็นจำนวนมาก บางครั้งก็มีการแกล้งใส่ชื่อนีโครโนมิคอนไว้ในรายการหนังสือหายาก และเคยมีนักศึกษาแอบใส่บัตรของนีโครโนมิคอนไว้ในบัตรห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเยล หลังจากที่เลิฟคราฟท์เสียชีวิตไปแล้ว สำนักพิมพ์ต่างๆก็ได้ตีพิมพ์หนังสือโดยใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอนเป็นจำนวนมาก หนังสือรวมงานศิลป์เล่มแรกของเอช อาร์ กีเกอร์ก็ใช้ชื่อว่านีโครโนมิคอน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนีโครโนมิคอน · ดูเพิ่มเติม »

นีโนสลาฟ มารีนา

นีโนสลาฟ มารีนา (สโกเปีย, สาธารณรัฐมาซิโดเนีย, 25 สิงหาคม พ.ศ. 2517) เป็นอธิบดีมหาวิทยาลัยวิทยาการสารสนเทศและเทคโนโลยี ใน โอครีด, สาธารณรัฐมาซิโดเนี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และนีโนสลาฟ มารีนา · ดูเพิ่มเติม »

แบร์เกน

แบร์เกน แบร์เกน (Bergen) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของนอร์เวย์ มีประชากร เขตมหานครแบร์เกนตามนิยามโดย Statistics Norway มีประชากร แบร์เกนตั้งอยู่ในและเป็นศูนย์การปกครองของเทศมณฑล Hordaland บนชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของนอร์เวย์ เมืองนี้เป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรมที่สำคัญของภูมิภาค โดยถือกันอย่างไม่เป็นทางการว่าเป็นเมืองหลวงของนอร์เวย์ตะวันตก และบางครั้งถูกเรียกเป็นเมืองหลวงฝั่งแอตแลนติกของนอร์เวย์ แบร์เกนเป็นหนึ่งในเก้าเมืองที่ถูกยกย่องให้เป็นเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรปในปีสหัสวรรษ ท่าเรือซึ่งกินบริเวณข้ามเทศบาลต่าง ๆ ของแบร์เกนเป็นท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดในนอร์เวย์ และเป็นหนึ่งในท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ธุรกิจและกิจการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เกษตรใต้น้ำ และการเดินเรือในแบร์เกนนั้นใหญ่มาก สถาบันวิจัยสมุทรศาสตร์ Institute of Marine Research ในแบร์เกนนั้นใหญ่เป็นอันดับสองของยุโรป แบร์เกนเป็นฐานทัพหลักของราชนาวีนอร์เวย์ และสนามบินนานาชาติ Flesland ก็เป็นลานขึ้นลงเฮลิคอปเตอร์หลักของบริษัท North Sea oil และอุตสาหกรรมขุดเจาะน้ำมันและก๊าซ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแบร์เกน · ดูเพิ่มเติม »

แบล็กเมทัล

การเพนท์หน้าสีดำและริมฝีปาก สัญลักษณ์สำคัญของดนตรีแนวแบล็คเมทัล แบล็กเมทัล (Black metal) เป็นหนึ่งในแนวเพลงย่อยของแนวเพลงเฮฟวีเมทัล ในช่วงทศวรรษที่ 80 - 90 มีลักษณะเด่นคือการเล่นจังหวะเร็ว โดยเฉพาะการริฟฟ์กีตาร์ที่ผิดเพี้ยนไม่เป็นจังหวะแน่นอน การทำเสียงแหบเบาเหมือนเสียงภูตผีปีศาจ การเพนท์หน้าสีดำบริเวณขอบตาและริมฝีปาก เนื้อเพลงส่วนใหญ่จะอิงไปถึงการต่อต้านศาสนาคริสต์ การรังเกลียดมนุษย์ ลัทธินิยมภูตผีปีศาจ โดยเฉพาะลัทธิซาตาน จนถูกขนานนามว่าเป็น "ซาตานิกเมทัล" (Satanic metal) แบล็กเมทัล ถือกำเนิดในช่วงทศวรรษที่ 80 ในประเทศแถบยุโรป แนวเพลงนี้ได้รับองค์ประกอบหลักมาจากแนวแทรชเมทัล และ เดธเมทัล วงที่ถือเป็นผู้บุกเบิกแนวนี้ในยุคแรกเช่น เวนอม, บาโธรี, เมอร์ซีฟูลเฟต, เฮลแฮมเมอร์ และเชลติกฟรอสต์ และในยุคที่สอง (ศตวรรษ 1990) ซึ่งส่วนใหญ่ถือกำเนิดในประเทศแถบสแกนดิเนเวีย โดยเฉพาะในประเทศนอร์เวย์ วงซึ่งนับว่าเป็นแนวแบล็กเมทัลอย่างเต็มรูปแบบ เช่น เมย์เฮม, ดาร์กโทรน, อิมมอร์ทัล และเอมเพอเรอร์ คำว่า "แบล็กเมทัล" มาจากชื่ออัลบั้มของ เวนอม ปี 1982 จนถือว่าเป็นการนำคำว่าแบล็กเมทัลมาใช้เป็นครั้งแรกอีกด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแบล็กเมทัล · ดูเพิ่มเติม »

แบ็กสตรีตบอยส์

แบ็กสตรีตบอยส์ เป็นวงนักร้องชาวอเมริกัน ก่อตั้งในออร์แลนโด รัฐฟลอริดาเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแบ็กสตรีตบอยส์ · ดูเพิ่มเติม »

แฟดด์ (เพลงแอลัน วอล์กเกอร์)

แฟดด์ (Faded) เป็นเพลงของโปรดิวเซอร์เพลง,ดีเจ ชาวนอร์เวย์ แอลัน วอล์กเกอร์ประกอบด้วยเสียงร้องที่ไม่ได้รับการรับรอง โดย อิสเซลิน โซลเฮย์ม เพลงนี้เดิมที่จะวางจำหน่ายในวันที่ 25 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแฟดด์ (เพลงแอลัน วอล์กเกอร์) · ดูเพิ่มเติม »

แกร์ฮาร์ท เฮาพ์ทมันน์

แกร์ฮาร์ท โยฮัน โรแบร์ท เฮาพ์ทมันน์ แกร์ฮาร์ท โยฮัน โรแบร์ท เฮาพ์ทมันน์ (Gerhart Johann Robert Hauptmann) เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1862 ณ เมืองโอเบอร์ซาลสบรุนน์ (Obersalzbrunn) ทางตอนใต้ของแคว้นชเลเซียน (ภาษาอังกฤษเรียกว่า แคว้นซิเลเซีย ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปแลนด์) เขาเป็นบุตรคนสุดท้องของเจ้าของโรงแรมที่ทันสมัยชื่อ Zur Preussischen Krone เขาเติบโตมาในครอบครัวชนชั้นกลางที่ได้รับการศึกษา เขาเป็นเด็กที่ช่างคิดช่างฝัน ไม่ชอบคิดอะไรตามกฎเกณฑ์ และชอบวาดรูป.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแกร์ฮาร์ท เฮาพ์ทมันน์ · ดูเพิ่มเติม »

แม็ทธิว แพริส

แม็ทธิว แพริส (Matthew Paris) (ราว ค.ศ. 1200 - (ค.ศ. 1259) แม็ทธิว แพริสเป็นนักบวชเบ็นนาดิคติน, นักบันทึกพงศาวดาร (Chronicler) ของยุคกลาง, จิตรกรหนังสือวิจิตร, นักเขียนแผนที่ชาวอังกฤษผู้จำวัดอยู่ที่สำนักสงฆ์เซนต์อัลบันในฮาร์ทฟอร์ดเชอร์ในอังกฤษ แม็ทธิวเขียนงานหลายชิ้น ส่วนใหญ่เป็นงานเชิงประวัติศาสตร์ที่แม็ทธิวคัด (scribe) และวาดภาพวิจิตร (illuminate) ประกอบด้วยตนเอง งานส่วนใหญ่จะวาดบางส่วนด้วยสีน้ำที่บางครั้งก็เรียกว่า “tinted drawings” งานเขียนบางชิ้นก็เขียนเป็นภาษาละติน, บางชิ้นก็เป็นภาษาอังกฤษ-นอร์มัน หรือภาษาฝรั่งเศสสมัยกลาง บันทึกประวัติศาสตร์ “Chronica Majora” ที่แม็ทธิวเขียนเป็นหนังสือที่ได้รับการใช้ในการอ้างอิงบ่อยครั้ง แม้ว่านักประวัติศาสตร์สมัยใหม่จะทราบว่าเป็นงานเขียนที่ไม่ค่อยน่าเชื่อถือเท่าใดนักก็ตาม แม็ทธิวมักจะสรรเสริญสมเด็จพระจักรพรรดิฟรีดริชที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์อย่างเลิศลอย และจะหนักไปในทางประณามพระสันตะปาป.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแม็ทธิว แพริส · ดูเพิ่มเติม »

แลร์คันดัลสตาดีโอน

แลร์คันดัลสตาดีโอน (Lerkendal Stadion) เป็นสนามฟุตบอลแบบเป็นที่นั่งทั้งหมด ตั้งอยู่ในเมืองแลร์คันดัล ในทรอนด์เฮม ประเทศนอร์เวย์ เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลรูซันบอร์ก โดยมีความจุ 21,166 คน และ เป็นสนามฟุตบอลที่ใหญ่อันดับที่ 2 ของประเท.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแลร์คันดัลสตาดีโอน · ดูเพิ่มเติม »

แลนโซเมโดส์

แลนโซเมโดส์เมื่อ พ.ศ. 2550 จากดาวเทียมเทอร์ราของนาซา แลนโซเมโดส์ (L'Anse aux Meadows, เพี้ยนมาจาก L'Anse-aux-Méduses แปลว่า "หุบผาแมงกะพรุน") เป็นแหล่งโบราณคดีที่ปลายสุดด้านทิศเหนือของเกาะนิวฟันด์แลนด์ ในรัฐนิวฟันด์แลนด์และลาบราดอร์ แคนาดา ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2503 เป็นหมู่บ้านของชาวนอร์สที่เป็นที่รู้จักเพียงแห่งเดียวในอเมริกาเหนือนอกจากที่กรีนแลนด์ ถือว่าเป็นตัวอย่างของการติดต่อข้ามมหาสมุทรก่อนสมัยโคลัมบัสที่เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างของเพียงแห่งเดียว และมีชื่อเสียงเนื่องจากเป็นไปได้ว่าจะเกี่ยวข้องกับอาณานิคม Vindland ที่ก่อตั้งโดยเลฟ เอริกสันเมื่อประมาณ พ.ศ. 1546 หรืออาจเกี่ยวข้องกับการสำรวจทวีปอเมริกาของชาวนอร์สด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแลนโซเมโดส์ · ดูเพิ่มเติม »

แวร์วีอาร์

แวร์วีอาร์ (Where We Are) คืออัลบั้มลำดับที่ 10 ของเวสท์ไลฟ์ วงบอยแบนด์ชาวไอริช มีกำหนดการออกจำหน่ายในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ในสหราชอาณาจักรและแอฟริกาใต้ และในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ในยุโรป อัลบั้ม แวร์วีอาร์ ได้ใช้เพลง "วอตอะเบาต์นาว" เพลงเดิมของวง Daughtry เป็นซิงเกิลแรก ออกเผยแพร่เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ในรูปแบบดิจิตอลดาวน์โหลดและในรูปแบบซีดีในวันถัดมา มิวสิกวิดีโอ เพลง "วอตอะเบาต์นาว" ปฐมทัศน์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ผ่านเว็บไซต์อย่างเป็นทางการของเวสท์ไลฟ์และสถานีโทรทัศน์ดนตรีในสหราชอาณาจักร เวสท์ไลฟ์ประชาสัมพันธ์อัลบั้ม แวร์วีอาร์ ผ่านรายการ เอ็กซ์แฟกเตอร์ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2552 และให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับอัลบั้มในรายการ เดอะวันโชว์ ในวันที่ 30 ตุลาคมhttp://www.westlife.com/news/2009/10/22/westlife_on_tv_2.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแวร์วีอาร์ · ดูเพิ่มเติม »

แหลม มอริสัน

แหลม มอริสัน มีชื่อจริงว่า วิชัย นวลแจ่ม เกิดเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2487 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นที่รู้จักจากการเล่นดนตรีร็อกแอนด์โรลในสไตล์เฮฟวี่ เมทัล ตามผับหรือสถานบันเทิงต่าง ๆ ให้แก่ทหารเกณฑ์อเมริกันในช่วงสงครามเวียดนามในชื่อวง V.I.P. ที่จังหวัดอุดรธานี โดยชื่อ แหลม มอริสัน ได้มาจากเสียงร้องที่แหบแหลม เป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง และสามารถเล่นเพลงของจิม มอร์ริสัน นักร้องนำของวง เดอะ ดอร์ส วงร็อกสัญชาติอเมริกันชื่อดังในยุคนั้นได้เหมือนมาก ซึ่งหานักร้องนักดนตรีชาวไทยน้อยรายที่สามารถจะทำเช่นนี้ได้ ฉายา กีต้าร์คิง ของเมืองไทย ที่ แหลม มอริสัน มาจากการที่ได้เข้าประกวดการแข่งขันกีต้าร์และได้รับรางวัลชนะเลิศที่ประเทศเยอรมัน เมื่อปี 2523 ในรายการ Music Talent ซึ่งนักกีต้าร์หลายๆชาติที่เข้าร่วม และชาวต่างชาติจะให้เกียรติยกย่องเรียกเขาว่า กีต้าร์คิง ของเมืองไทย โดยเพลงที่ใช้ขณะแข่ง Beethoven-Symphony No.5 แหลม มอริสัน ได้ไปเล่นดนตรีในต่างประเทศหลายประเทศในแถบสแกนดิเนเวีย เช่น นอร์เวย์, สวีเดน, เดนมาร์ค และเยอรมนี และเคยร่วมเล่นกับไมเคิล แชงเกอร์ มือกีตาร์ของวง สกอร์เปี้ยน มาแล้ว ซึ่งเป็นมือกีตาร์ที่ทั่วโลกยอมรับว่าเป็นมือกีตาร์ระดับต้น ๆ ของโลก และไมเคิล แชงเกอร์ ก็ยอมรับในความสามารถของแหลม มอริสัน แหลม มอริสัน ได้เล่นดนตรีตามสถานบันเทิงต่าง ๆ ทั่วประเทศ และเคยร่วมเล่นเป็นศิลปินรับเชิญหรือแบ็กอัพให้แก่ศิลปินไทยหลายคน หลายวง เช่น คาราบาว, โดม มาร์ติน เป็นต้น และในต้นปี พ.ศ. 2539 ได้ออกอัลบั้มเดี่ยวของตนเอง มีเพลงโปรโมตชื่อ แรงต้านลม แหลม มอริสัน ได้รับการยอมรับว่าเป็นมือกีตาร์ระดับต้น ๆ คนหนึ่งของประเทศไทย จนได้รับฉายาว่า "กีตาร์คิง" ซึ่งเมื่อปลายปี พ.ศ. 2538 ในอัลบั้ม 15 ปี คาราบาว หากหัวใจยังรักควาย ของคาราบาว ได้แต่งเพลงขึ้นมาเพลงหนึ่ง ชื่อ กีตาร์คิงส์ เพื่อเป็นการยกย่องถึงแหลม มอริสัน ด้วย ปัจจุบัน ยังคงเล่นดนตรีอยู่ที่ร้าน Blue Factory พัทยาใต้ ทุกคืนตั้งแต่เวลา 23.00 น.เป็นต้นไป และห้าง The Chilled ซอยเขาน้อย ทุกวันอังคาร และ ศุกร์ เวลา 22.00 น. เป็นต้นไป ชีวิตครอบครัว สมรสกับ ตรีดาว พงศ์สุรีย์นันท์ แต่ต่อมาได้แยกทางกัน มีบุตรสาวหนึ่งคน คือ ณัฐชา นวลแจ่ม (ชื่อเล่น: แนท) เป็นนักแสดงนำในภาพยนตร์ไทยเรื่อง ซักซี้ด ห่วยขั้นเทพ ซึ่งออกฉายเมื่อต้นปี พ.ศ. 2554 และปัจจุบันเป็นนักแสดงของสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแหลม มอริสัน · ดูเพิ่มเติม »

แหลมนูร์ดคืน

นูร์ดคืน (Nordkyn) หรือ ชินนาร็อดเดน (Kinnarodden) ตั้งอยู่ที่จุดพิกัด เป็นแหลมที่อยู่ปลายเหนือสุดของคาบสมุทรนูร์ดคืน ในเทศมณฑลฟินน์มาร์ก ทางตอนเหนือของประเทศนอร์เวย์ เป็นจุดเหนือสุดของผืนแผ่นดินใหญ่ของนอร์เวย์และทวีปยุโรป หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์นอร์เวย์ หมวดหมู่:จุดที่สุดในโลก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแหลมนูร์ดคืน · ดูเพิ่มเติม »

แหลมเหนือ

แหลมเหนือที่เป็นผาชันด้านบนราบ พระอาทิตย์เที่ยงคืนที่แหลมเหนือ แหลมเหนือ (อังกฤษ: North Cape; นอร์เวย์: Nordkapp) เป็นแหลมที่อยู่ปลายเกาะมาเกโรยา ในภาคเหนือของประเทศนอร์เวย์ ตัวแหลมมีความสูง 307 เมตรจากระดับน้ำทะเลเป็นหน้าผาที่สูงชันตั้งอยู่ ณ ละติจูด 71° 10’ 21” เหนือ และลองจิจูด 25° 47’ 40” ตะวันออก ซึ่งในความเป็นจริงแล้วยังมีแหลมชื่อ “คนิฟสเกลลอดเดน” ที่อยู่ห่างออกไปทางเหนือว่า 1500 เมตรที่อยู่ขึ้นไปทางเหนือมากกว่า แหลมเหนือได้รับการตั้งชื่อโดยนักสำรวจชาวอังกฤษชื่อ ริชาร์ด ชานเซลเลอร์ เมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแหลมเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

แหล่งน้ำ

ฟยอร์ดในประเทศนอร์เวย์ แหล่งน้ำ หรือ พื้นที่น้ำ (water body) คือบริเวณที่มีการสะสมของน้ำบนพื้นผิวโลกหรือบนผิวดาวเคราะห์ เช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ ไปจนถึง คลอง หรือ พื้นที่ชุ่มน้ำ แหล่งน้ำแบ่งได้เป็นสองประเภทตามการกำเนิดคือ แหล่งน้ำที่เกิดโดยธรรมชาติเช่น มหาสมุทร ทะเล แม่น้ำ และแหล่งน้ำที่เกิดจากการสร้างโดยมนุษย์เช่น อ่างเก็บน้ำ คลอง นอกจากนี้ยังสามารถแบ่งได้ตามการเคลื่อนที่ของน้ำ เช่น แม่น้ำ และคลอง กล่าวถึงแหล่งน้ำมีการไหลจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง ในขณะที่ ทะเลสาบ น้ำจะไม่มีการไหลไปแหล่งอื่น แหล่งน้ำที่มีการสัญจรจะถูกเรียกว่าทางน้ำ สำหรับส่วนบริเวณของภูมิประเทศที่มีน้ำเป็นจำนวนหนึ่งแต่ไม่เรียกว่าแหล่งน้ำเช่น น้ำตก และไกเซอร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแหล่งน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

แอร์ลิง ลอเรนต์ซัน

แอร์ลิง ลอเรนต์ซัน เป็นพระภัสดาในเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ พระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เขาและเจ้าหญิงรัญฮิลด์มีโอรส-ธิดารวม 3 คน ด้วยการเสกสมรสต่างฐานันดร ทำให้พระชายาของเขาต้องใช้ฐานันดรในระดับ เฮอร์ ไฮนีส ตัวของเขาเองก็ถือเป็นพระบรมวงศานุวงศ์แห่งนอร์เวย์เด้วย ปัจจุบัน เจ้าหญิงรัญฮิลด์ได้สิ้นพระชนม์ลงแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแอร์ลิง ลอเรนต์ซัน · ดูเพิ่มเติม »

แอลัน วอล์กเกอร์

แอลัน วอล์กเกอร์ (Alan Walker) หรือที่รู้จักกันดีในชื่ออดีต DJ Walkzz เป็นโปรดิวเซอร์เพลง,ดีเจ ชาวนอร์เวย์ เขาเป็นที่รู้จักกันมากที่สุดในซิงเกิลปี ค.ศ. 2015 "Faded" ซึ่งได้รับการรับรองจากแพลทินัมกว่า 10 ประเทศ เขาติดอันดับที่ 17 ในชาร์ต DJ Mag's Top 100 DJs ในปี ค.ศ. 2017.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแอลัน วอล์กเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ

แอนน์แห่งเดนมาร์ก (Anne of Denmark; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1574 — 2 มีนาคม ค.ศ. 1619) เป็นพระธิดาองค์ที่สองของพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 แห่งเดนมาร์กและโซฟีแห่งเมคเลนบูร์ก-กึสโทร สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ เป็นพระมเหสีในพระเจ้าเจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษ และที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ แอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีแห่งสกอตแลนด์ระหว่างวันที่ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1589 และเป็นพระราชินีแห่งอังกฤษตั้งแต่วันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1589 กระทั่งเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1619 ที่พระราชวังแฮมป์ตันคอร์ตในอังกฤษ พระศพของพระองค์ตั้งอยู่ที่เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ แอนน์ทรงเสกสมรสกับพระเจ้าเจมส์ที่ 1 เมื่อปี ค.ศ. 1589 เมื่อพระชนมายุได้ 14 พรรษา มีพระโอรสธิดาสามพระองค์ที่รอดมาได้จนโตรวมทั้งพระเจ้าชาลส์ที่ 1 พระองค์ทรงเป็นผู้มีความเด็ดเดี่ยวพอที่จะทรงใช้ความแตกแยกของการเมืองในสกอตแลนด์เป็นเครื่องมือในการเรียกร้องสิทธิในตัวพระโอรส เฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ จากพระเจ้าเจมส์ ดูเหมือนว่าพระองค์จะทรงรักพระเจ้าเจมส์ในตอนแรก แต่ต่อมาทั้งสองพระองค์ก็ทรงห่างเหินจากกัน จนในที่สุดก็ทรงแยกกันอยู่ แต่ก็ยังคงทรงมีความนับถือซึ่งกันและกันอยู่บ้าง เมื่อประทับอยู่ในอังกฤษ พระองค์ทรงหันความสนใจจากทางด้านการเมืองที่เป็นฝักเป็นฝ่ายไปเป็นการอุปถัมภ์ศิลปะ และการสร้างราชสำนักที่หรูหราของพระองค์เอง ทรงจัดให้มีการพบปะในซาลอนที่ทำให้เป็นราชสำนักของพระองค์เป็นราชสำนักที่มีวัฒนธรรมสูงที่สุดสำนักหนึ่งในยุโรป หลังจากปี ค.ศ. 1612 พระสุขภาพพลานามัยของพระองค์ก็เริ่มเสื่อมลง จนในที่สุดก็ทรงถอนตัวจากราชสำนัก ตามทางการแล้วพระราชินีแอนน์สวรรคตในฐานะที่เป็นโปรเตสแตนต์ แต่หลักฐานบางอย่างบ่งชี้ให้เห็นว่าอาจจะทรงเปลี่ยนไปนับถือนิกายโรมันคาทอลิกขณะใดขณะหนึ่งระหว่างที่ยังมีพระชนม์อยู่ นักประวัติศาสตร์เดิมไม่ได้เห็นว่าแอนน์แห่งเดนมาร์กเป็นพระราชินีที่มีความสำคัญมากเท่าใดนัก และออกจะเป็นผู้มีความหลงพระองค์เอง แต่เมื่อไม่นานมานี้ ความเห็นเกี่ยวกับพระองค์ก็เริ่มจะเปลี่ยนไปโดยเริ่มมีความเห็นกันว่าพระองค์ทรงมีความเด็ดเดี่ยวเป็นตัวของตัวเองโดยเฉพาะทรงเป็นผู้มีความสำคัญในการเป็นผู้อุปถัมภ์ทางศิลปะระหว่างสมัยจาโคเบียน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแอนน์แห่งเดนมาร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

แอนเดอส์ เบห์ริง เบรวิก

แอนเดอส์ เบห์ริง เบรวิก (Anders Behring Breivik ออกเสียงตามภาษานอร์เวย์ อันเดิช เบห์ริง บไรวีก, เกิด 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522) เป็นมือสังหารหมู่และผู้ก่อการร้ายชาวนอร์เวย์ ในเหตุระเบิดและกราดยิงหมู่ต่อเนื่องเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแอนเดอส์ เบห์ริง เบรวิก · ดูเพิ่มเติม »

แอ็กเซิล เอฟ

แอ็กเซิล เอฟ (Axel F) เป็นเพลงบรรเลงอิเล็กทรอนิกส์ประกอบภาพยนตร์เรื่อง Beverly Hills Cop ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแอ็กเซิล เอฟ · ดูเพิ่มเติม »

แฮฟเนียม

แฮฟเนียม (Hafnium) เป็นธาตุโลหะกลุ่มโลหะทรานซิชัน ในตารางธาตุ คุณสมบัติทางเคมีคล้ายเซอร์โคเนียม เลขอะตอม 72 สัญลักษณ์คือ Hf.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแฮฟเนียม · ดูเพิ่มเติม »

แฮนด์บอลหญิงชิงแชมป์โลก

แฮนด์บอลหญิงชิงแชมป์โลก (IHF World Women's Handball Championship) เป็นการแข่งขันแฮนด์บอลหญิงระหว่างประเท.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแฮนด์บอลหญิงชิงแชมป์โลก · ดูเพิ่มเติม »

แคว้นนอร์ม็องดี

นอร์ม็องดี (Normandie; นอร์มัน: Normaundie; มาจากคำภาษาฝรั่งเศสเก่าว่า Normanz รูปพหูพจน์ของ Normant ซึ่งมีรากศัพท์มาจากคำที่แปลว่า "คนจากทางเหนือ" ในภาษาแถบสแกนดิเนเวียหลายภาษา) เป็นหนึ่งในแคว้น 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส มีอาณาบริเวณสอดคล้องกับดัชชีนอร์ม็องดีในอดีต ในทางบริหาร แคว้นนอร์ม็องดีแบ่งออกเป็น 5 จังหวัด ได้แก่ กาลวาโดส, แซน-มารีตีม, ม็องช์, ออร์น และเออร์ ครอบคลุมเนื้อที่ 30,627 ตารางกิโลเมตร (11,825 ตารางไมล์) คิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของดินแดนฝรั่งเศสทั้งหมด จำนวนประชากรของแคว้น 3.3 ล้านคนคิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของประชากรฝรั่งเศสทั้งหมด ภูมิภาคนอร์ม็องดีตามประวัติศาสตร์ประกอบด้วยแคว้นนอร์ม็องดีในปัจจุบัน รวมกับพื้นที่เล็ก ๆ ซึ่งทุกวันนี้เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดมาแยนและจังหวัดซาร์ตในแคว้นเปอีเดอลาลัวร์ หมู่เกาะแชนเนล (ฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่เรียกว่า "หมู่เกาะอังกฤษ-นอร์ม็องดี") ในอดีตก็เป็นส่วนหนึ่งของนอร์ม็องดีเช่นกัน หมู่เกาะนี้มีเนื้อที่ 194 ตารางกิโลเมตร และประกอบด้วยเขตเจ้าพนักงานศาลสองแห่ง ได้แก่ เกิร์นซีย์และเจอร์ซีย์ ซึ่งเป็นเขตสังกัดราชบัลลังก์สหราชอาณาจักร ชื่อนอร์ม็องดีมีที่มาจากการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ของชาวไวกิงหรือ "คนเหนือ" จากนอร์เวย์และเดนมาร์กตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 14 (คริสต์ศตวรรษที่ 9) ซึ่งได้รับการยืนยันโดยสนธิสัญญาในพุทธศตวรรษที่ 15 (คริสต์ศตวรรษที่ 10) ระหว่างพระเจ้าชาร์ลที่ 3 แห่งฝรั่งเศส กับรอลโลแห่งอาณาจักรเมอเรอ (ในนอร์เวย์ปัจจุบัน) หลังจากการพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มันในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแคว้นนอร์ม็องดี · ดูเพิ่มเติม »

แคทริน บิเกโลว์

แคทริน แอนน์ บิเกโลว์ หรือที่รู้จักในชื่อ แคทริน บิเกโลว์ ชาวอเมริกัน ผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้อำนวยการสร้าง และนักเขียนบท ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม สาขา Feature Film จากสมาคมผู้กำกับภาพยนตร์แห่งอเมริกา ในปี 2009 จากภาพยนตร์เรื่อง หน่วยระห่ำ ปลดล็อกระเบิดโลก (The Hurt Locker) และเป็นผู้กำกับภาพยนตร์หญิงคนแรกที่ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากออสการ์ (อะแคเดมีอะวอร์ด) ในปีเดียวกัน แคทรินเป็นสตรีคนแรกที่ได้รับรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากออสการ์ และรางวัลผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม จากแบฟตา (BAFTA) โดยสถาบันศิลปะภาพยนตร์และโทรทัศน์บริติช แคทริน บิเกโลว์ เป็นบุคคลสาธารณะที่มีความโดดเด่นและทรงอิทธิพล ใน "100 บุคคลทรงอิทธิพลของโลก" โดยนิตยสารไทม์ ประจำปี 2010.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแคทริน บิเกโลว์ · ดูเพิ่มเติม »

แคทเธอรีน ดัชเชสแห่งเคนต์

แคทเธอรีน ดัชเชสแห่งเคนต์ (Katharine, Duchess of Kent) เป็นพระชายาของ เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งเคนต์ ซึ่งเป็นพระราชนัดดาของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 ประสูติเมื่อวันที่ 22 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแคทเธอรีน ดัชเชสแห่งเคนต์ · ดูเพิ่มเติม »

แคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งเวลส์ หรือ เจ้าหญิงแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ (Caroline Mathilde; 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2294 — 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2318) ทรงดำรงพระอิศริยยศสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและนอร์เวย์ ตั้งแต..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแคโรไลน์ มาทิลดาแห่งบริเตนใหญ่ สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แคโรไลน์ อเมลีแห่งออกัสเตนเบิร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงแคโรไลน์ อเมลีแห่งชเลสวิก-โฮลชไตน์-ซอนเดอร์บวร์ก-ออกัสเตนเบิร์ก (ภาษาเยอรมัน:Caroline Amalie von Schleswig-Holstein-Sonderburg-Augustenburg)(28 มิถุนายน พ.ศ. 2339 - 9 มีนาคม พ.ศ. 2424) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์กและเป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในสมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 8 แห่งเดนมาร์ก ระหว่างปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแคโรไลน์ อเมลีแห่งออกัสเตนเบิร์ก สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

แซนดี้ เคราแก้ว สตูวิค

แซนดี้ เคราแก้ว สตูวิค เกิดเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2538 เป็นนักกีฬาแข่งรถ ลูกครึ่งไทย-นอร์เวย์ เกิดที่จังหวัดภูเก็ต เป็นบุตรชองมาร์ติน สตูวิค เป็นแชมป์จากการแข่งขันยูโรเปียนฟอร์มูลา3โอเพน 2014 และเป็นคนไทยคนแรกและเป็นนักแข่งที่อายุน้อยที่สุดที่คว้าแชมป์ในรายการนี้ด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแซนดี้ เคราแก้ว สตูวิค · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันตก ของการสู้รบบนภาคพื้นทวีปยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สองโอบล้อมบริเวณพื้นที่ตั้งแต่เดนมาร์ก นอร์เวย์ ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และภาคตะวันตกของเยอรมนี ปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สองบริเวณยุโรปตอนใต้และบริเวณอื่นๆ ถูกจัดว่าไม่เกี่ยวกับแนวรบด้านตะวันตกนี้ การต่อสู้ในแนวรบด้านตะวันตกถูกแบ่งโดยปฏิบัติการสู้รบครั้งใหญ่ๆ ด้วยกันสองครั้ง คือ ช่วงแรกที่เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส ยอมจำนนต่อกองทัพนาซีเยอรมนีในช่วงเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน ค.ศ. 1940 ภายหลังจากที่พ่ายแพ้การสู้รบในกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำและในพื้นที่กึ่งหนึ่งของฝรั่งเศสตอนเหนือ จากนั้นสงครามจึงดำเนินเข้าสู่การสู้รบทางอากาศระหว่างเยอรมนีกับสหราชอาณาจักร ซึ่งทวีความรุนแรงมากที่สุดในช่วงยุทธการที่บริเตน ช่องที่สองคือช่วงของการสู้รบภาคพื้นดินขนาดใหญ่ซึ่งเริ่มต้นขึ้นในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1944 จากการยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดี และดำเนินไปจนกระทั่งสามารถปลดปล่อยกรุงปารีสและฝรั่งเศลให้พ้นจากนาซีเยอรมัน ต่อมาสามารถเอาชนะเยอรมนีได้ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945 แม้ว่าพลทหารเยอรมันส่วนมากจะเสียชีวิตในแนวรบด้านตะวันออก แต่ความสูญเสียที่เกิดขึ้นในแนวรบด้านตะวันตกแทบจะไม่สามารถทดแทนกลับคืนมาได้ เนื่องจากทรัพยากรสงครามส่วนมากของเยอรมนีถูกโยกย้ายไปใช้ในแนวรบด้านตะวันตก ซึ่งหมายความได้ว่าในแนวรบด้านตะวันออกมีการเสริมกำลังและทรัพยากรเพื่อยืดระยะเวลาการสู้รบออกไปได้ ในขณะที่แนวรบด้านตะวันตกมีการส่งกำลังเสริมและทรัพยากรทดแทนเพื่อหยุดยั่งการรุกคืบของฝ่ายสัมพันธมิตรได้เพียงน้อยนิด การยกพลขึ้นบกที่นอร์ม็องดีนับได้ว่าส่งสัญญาณเชิงจิตวิทยาในแง่ลบให้แก่กองทัพและผู้นำของนาซีเยอรมนีอย่างมาก เนื่องจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์เกรงกลัวสถานการณ์ที่เยอรมนีถูกขนาบด้วยการสู้รบจากแนวรบทั้งสองด้าน ซึ่งเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เยอรมนีพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

โบสถ์หอกลม

วัดเซนต์ปีเตอร์, Bruisyard, ซัฟโฟล์ค โบสถ์หอกลม (Round-tower church) คือคริสต์ศาสนสถานประเภทหนึ่งที่ส่วนใหญ่ปรากฏในอังกฤษโดยเฉพาะในอีสต์แองเกลีย ที่ยังคงมีเหลืออยู่ด้วยกันทั้งสิ้นราว 185 แห่ง ในมณฑลนอร์โฟล์คมี124 แห่ง ในมณฑลซัฟโฟล์คมี 38 แห่งในมณฑลเอสเซ็กซ์มี 6 แห่ง ในมณฑลซัสเซ็กซ์มี 3 แห่ง และอีกมณฑลละ 2 แห่งในเคมบริดจ์เชอร์ และในบาร์คเชอร์ ในเยอรมนีมีหลักฐานว่ามีอยู่ราว 280 ที่มีรูปทรงคล้ายกับที่ปรากฏในอีสต์แองเกลีย ประเทศที่มีโบสถ์หอกลมก็รวมทั้งอันดอร์รา สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก ฝรั่งเศส อิตาลี สวีเดน นอร์เวย์ โปแลนด์ และแอฟริกาใต้ ลักษณะอันเป็นเอกลักษณ์ของคริสต์ศาสนสถานดังกล่าวที่เห็นได้ชัดคือการมีหอกลม แต่สาเหตุที่สร้างที่ส่วนใหญ่โดยแซ็กซอนยังคงเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู่ ข้อสันนิษฐานที่เสนอกันมาก็ได้แก่.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโบสถ์หอกลม · ดูเพิ่มเติม »

โชเน็งจัมป์รายสัปดาห์

น็งจัมป์รายสัปดาห์ (Weekly Shōnen Jump) หนังสือการ์ตูนรายสัปดาห์ที่ขายดีที่สุดของประเทศญี่ปุ่น ยอดจำหน่ายมากกว่า 3 ล้านเล่ม โชเน็งจัมป์จำหน่ายรายสัปดาห์ในประเทศญี่ปุ่น และจำหน่ายรายเดือนในทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรป ตลาดเป้าหมายหลักของโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์อยู่ที่เด็กผู้ชาย (โชเน็ง แปลว่า เด็กชาย หรือผู้ชาย) เนื้อหาภายในหนังสือการ์ตูนจะเป็นลักษณะการต่อสู้ และการผจญภัย โดยตัวละครหลักจะมีพลังพิเศษต่างๆ โชเน็งจัมป์เริ่มตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2511 โดยบริษัทชูเอชะ เคยมียอดจำหน่ายสูงถึง 6 ล้านเล่ม โชเน็งจัมป์ได้มีนำมาจำหน่ายภายใต้ชื่อโชเนนจัมป์ ในสหรัฐอเมริกา เยอรมัน สวีเดน นอร์เวย์ และการ์ตูนหลายเรื่องภายในเล่มได้มีการนำมาแปลและจำหน่ายในหลายประเทศในทวีปเอเชีย รวมทั้งประเทศเกาหลีใต้ ฮ่องกง ไต้หวัน และไทย ช่วงกลางปีทศวรรษ 1980 ถึงกลางทศวรรษ 1990 เป็นยุคที่นิตยสารมีอัตราการเติบโตไหลเวียนสูงที่สุด อย่างไรก็ตามการเติบโตนั้นก็ได้ลดลงอย่างมากในเวลาต่อมาเมื่อเข้าทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโชเน็งจัมป์รายสัปดาห์ · ดูเพิ่มเติม »

โพโรโระ เพนกวินป่วน ก๊วนขั้วโลก

รโระ เพนกวินป่วน ก๊วนขั้วโลก เป็นการ์ตูนแอนิเมชันคอมพิวเตอร์ เป็นผลงานของ ไอโคนิกเอนเตอร์เทนเมนท์, เอสเคบอร์ดแบนด์, โอคอนและอีบีเอส และยังถือเป็นผลผลิตแห่งความร่วมมือจาก Samchŏlli บริษัทผลิตแอนิเมชัน ที่ตั้งอยู่ในแคซ็อง เกาหลีเหนือด้วย โดยเริ่มสร้างแอนิเมชันเรื่องนี้ตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโพโรโระ เพนกวินป่วน ก๊วนขั้วโลก · ดูเพิ่มเติม »

โยชูอา คิมมิช

ัว คิมมิช (Joshua Kimmich) เกิดเมื่อ 8 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโยชูอา คิมมิช · ดูเพิ่มเติม »

โยสไตน์ กอร์เดอร์

Jostein Gaarder โยสไตน์ กอร์เดอร์ (นอร์เวย์: Jostein Gaarder) เป็นนักเขียนชาวนอร์เวย์ และเป็นเจ้าของผลงานชื่อดังหลายเล่ม ทั้งนวนิยาย เรื่องสั้น และหนังสือสำหรับเด็ก กอร์เดอร์มักจะเขียนงานจากมุมมองของเด็กที่สำรวจและมองเห็นความอัศจรรย์ของโลก งานหลายชิ้นของเขาเป็นงานเขียนแบบเรื่องซ้อนเรื่อง (Metafiction) ผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของกอร์เดอร์คือโลกของโซฟี ซึ่งเป็นนวนิยายเกี่ยวกับประวัติความคิดทางปรัชญา โดยงานชิ้นนี้ได้รับการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ ถึง 53 ภาษา และมียิดพิมพ์มากกว่า 30 ล้านเล่ม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโยสไตน์ กอร์เดอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โยเซฟ แทร์โบเฟิน

ซฟ อันโทนีอุส ไฮน์ริช แทร์โบเฟิน (Josef Antonius Heinrich Terboven) เป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงของนาซี ที่ได้เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้ตรวจการไรช์ประจำดินแดนนอร์เวย์ในยึดครอง ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศนอร์เวย์ถูกยึดครองโดยนาซีเยอรมนีและได้บริหารการปกครองร่วมกับรัฐบาลควิสลิง(Quisling regime) ในช่วงที่แทร์โบเฟินปกครองในนอร์เวย์ได้กระทำผิดเอาไว้มากมายด้วยการสังหารหมู่และการสร้างค่ายกักกันในนอร์เวย์ ภายหลังสงครามได้ยุติลงและเยอรมนีได้ยอมจำนน แทร์โบเฟินได้ตัดสินใจฆ่าตัวตาย เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโยเซฟ แทร์โบเฟิน · ดูเพิ่มเติม »

โรลส์-รอยซ์ แฟนทอม

รลส์-รอยซ์ แฟนท่อม (Rolls-Royce Phantom) มีชื่อเสียงในฐานะรถพรีเมียมของค่ายรถยนต์ โรลส์-รอยซ์ (ซึ่งเป็นค่ายรถยนต์ที่ผลิตรถหรูหราระดับ Luxury Car) เริ่มการผลิตรุ่นแรกใน พ.ศ. 2468 โดยเป็นรุ่นที่ออกมาทดแทนรถรุ่น โรลส์-รอยซ์ ซิลเวอร์ โกสต์ (Rolls-Royce Silver Ghost) มีการผลิตตั้งแต่รุ่นแรกถึงปัจจุบันที่ใช้ชื่อแฟนท่อม มี 7 รุ่น (แฟนท่อม ไม่ใช่การพัฒนาแบบ Generation เหมือนรถญี่ปุ่น แต่จะเป็นการใช้ชื่อรุ่นใหม่ เช่น แฟนท่อม I, II, III เป็นต้น ถือเป็นคนละโมเดล แต่มีชื่อคล้ายกัน และมีพัฒนาการจากโมเดลที่ออกมาก่อนโมเดลนั้นๆ) ดังนี้.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโรลส์-รอยซ์ แฟนทอม · ดูเพิ่มเติม »

โรอัลด์ อะมุนด์เซน

รอัลด์ อะมุนด์เซน (Roald Amundsen; 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1872 – ประมาณ 18 มิถุนายน ค.ศ. 1928) เป็นนักสำรวจชาวนอร์เวย์ และเป็นมนุษย์คนแรกที่ไปถึงขั้วโลกใต้ในวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1911.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโรอัลด์ อะมุนด์เซน · ดูเพิ่มเติม »

โรอาลด์ ดาห์ล

รอัลด์ ดาห์ล โรอัลด์ ดาห์ล (Roald Dahl, ค.ศ. 1916-1990) นักเขียนชาวเวลส์ผู้มีชื่อเสียง จากการเขียนเรื่องสั้น เนื้อหาหมิ่นเหม่ศีลธรรมและเขียนหักมุมอย่างมีชั้นเชิง กับเรื่องเด็กขำขันแต่น่าขนลุก ดาห์ลเกิดในแคว้นเวลส์ ครอบครัวของเขามีเชื้อสายนอร์เวย์ ชื่อของเขาออกเสียงตามภาษานอร์เวย์ว่า "รู-ออล" บิดาเป็นนายหน้าเรือสินค้าผู้ประสบความสำเร็จ แต่มาด่วนเสียชีวิตเมื่อดาห์ลอายุได้เพียงสี่ขวบ ชีวิตอันทรหดในโรงเรียนประจำในดาร์บีไชร์ และโรงเรียนกินนอนที่เวลส์และอังกฤษนี่เอง เป็นที่มาให้เขาเขียนเรื่องเกี่ยวกับตัวละครเด็กต่อสู้กับผู้ใหญ่ใจโหดร้าย เมื่ออายุได้ 18 ปี ดาห์ลก็เข้าร่วมกับคณะที่เดินทางไกลไปยังนิวฟันด์แลนด์ จากนั้นเข้าทำงานกับบริษัทเชลล์ ตอนแรกเขาประจำที่ลอนดอนก่อน แต่ต่อมาถูกส่งไปประจำที่แทนซาเนีย ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเข้าเป็นนักบินสังกัดกองทัพอากาศในลิเบีย กรีซ ซีเรีย เครื่องบินของเขาถูกยิงตกในประเทศลิเบีย และต่อมาดาห์ลบาดเจ็บจากการรบที่ซีเรีย จึงถูกส่งมาประจำในวอชิงตัน ดี.ซี. ในช่วงนี้เองที่เขาเริ่มเขียนเล่าเรื่องราวน่าตื่นเต้นระหว่างที่เป็นนักบินสงคราม และเริ่มเขียนหนังสือเด็กเล่มแรก คือ The Gremlins (ค.ศ. 1943) ซึ่งมีผู้หยิบมาสร้างเป็นภาพยนตร์ เช่นเดียวกับเรื่องอื่นๆ ของเขา ได้แก่ "Matilda" และ "Charlie and the Chocolate Factory" นอกจากนี้ยังมีละครซีรีส์อเมริกันที่สร้างจากเรื่องสั้นของเขาสองเล่ม คือ Someone Like You (ค.ศ. 1954) และ Kiss Kiss (ค.ศ. 1959) เมื่ออายุได้ 37 ปี โรอัลด์ ดาห์ลแต่งงานกับแพทริเซีย นีล นักแสดงสาวผู้ร่ำรวย ทั้งคู่มีบุตรธิดาด้วยกันห้าคน ทว่าชีวิตแต่งงานที่ไม่มีความสุขของคนทั้งคู่ต้องปิดฉากลงในอีกสามสิบปีให้หลัง ต่อมาดาห์ลแต่งงานใหม่อีกครั้ง ถ้าจะว่ากันในด้านคำวิจารณ์ “เด็กๆ หลงใหลเรื่องราวของดาห์ลที่สะท้อนความโหดเหี้ยมหยาบคายต่อผู้ใหญ่ และตัวละครพิลึกพิลั่นที่ตลกขบขัน แต่ผู้ใหญ่นักวิจารณ์หลายคนกลับไม่ใคร่ชอบใจเท่าไร” (Kirjasto) นอกจากนี้ น้ำเสียงต่อต้านชาวยิวและคัดค้านลัทธิเฟมินิสม์ ก็เป็นอีกสองสิ่งที่นักวิจารณ์ไม่ค่อยชอบของโรอัลด์ ดาห์ล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโรอาลด์ ดาห์ล · ดูเพิ่มเติม »

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีล

รงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีล (Державне спецiалiзоване пiдприємство "Чорнобильська АЕС", Чернобыльская АЭС) เป็นสถานีไฟฟ้านิวเคลียร์ปลดประจำการแล้วใกล้กับนครปริปยัต (Pripyat) ยูเครน ห่างจากนครเชียร์โนบีลไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ 18 กิโลเมตร ห่างจากชายแดนยูเครน-เบลารุส 16 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเคียฟไปทางเหนือราว 110 กิโลเมตร เครื่องปฏิกรณ์ที่ 4 เป็นจุดเกิดภัยพิบัติเชียร์โนบีลเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เชียร์โนบีล · ดูเพิ่มเติม »

โลกที่หนึ่ง

ติเป็นกลาง และประเทศไม่สังกัดพันธมิตรใด แนวคิดของ โลกที่หนึ่ง (First World) ถือกำเนิดขึ้นระหว่างสงครามเย็น เป็นคำซึ่งใช้เพื่ออธิบายถึงประเทศที่เข้าเป็นฝ่ายเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้มักมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการสิ้นสุดของสงครามเย็น ความหมายของคำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้เปลี่ยนไปให้สามารถปรับใช้ได้กับยุคสมัย จากการจำกัดความดั้งเดิม คำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้มามีความหมายในทำนองเดียวกับประเทศพัฒนาแล้ว (ขึ้นอยู่กับว่ากำลังใช้คำจำกัดความใด) ประเทศโลกที่หนึ่งโดยทั่วไปมักมีเศรษฐกิจที่เจริญก้าวหน้าและมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูงมาก ในอีกมุมมองหนึ่ง สหประชาชาติจำกัดความ "โลกที่หนึ่ง" ขึ้นอยู่กับความมั่งคั่งของรายรับและผลผลิตของชาติต่าง ๆ การจำกัดความของ "โลกที่หนึ่ง" ในปัจจุบัน จึงประจักษ์ชัดเจนน้อยกว่าระหว่างสงครามเย็น ความเคลื่อนไหวในระดับโลกระหว่างโลกที่หนึ่งและโลกอื่น ๆ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วน ความสัมพันธ์กับโลกที่สองเป็นไปในเชิงการแข่งขัน และความเป็นปรปักษ์ทางความคิด ความสัมพันธ์กับโลกที่สาม โดยปกติมักเป็นไปในเชิงบวกตามทฤษฎี ในขณะที่อาจมีความสัมพันธ์ในเชิงลบอยู่บ้างในทางปฏิบัติ แต่ความสัมพันธ์ระหว่างโลกในปัจจุบันมิได้เป็นไปอย่างตายตัวอย่างในอดีต ถึงแม้ว่าจะมีความไม่เสมอกันซึ่งโลกที่หนึ่งมีอิทธิพล ความมั่งคั่ง ข้อมูลข่าวสาร และความเจริญก้าวหน้าเหนือกว่าโลกอื่น ๆ โลกาภิวัตน์ได้เป็นปรากฏการณ์ที่ค่อย ๆ มีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากโลกที่หนึ่งและความเชื่อมโยงกับโลกอื่น ๆ ตัวอย่างของโลกาภิวัตน์ภายในโลกที่หนึ่ง คือ สหภาพยุโรป ซึ่งได้นำความร่วมมือและการบูรณาการเข้ามาสู่ภูมิภาคเป็นอันมาก บริษัทข้ามชาติยังเป็นตัวอย่างของผลกระทบของโลกที่หนึ่งซึ่งมีต่อโลกาภิวัตน์ เมื่อบริษัทเหล่านี้ได้นำมาซึ่งการรวมเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในหลายประเทศ ด้วยการเติบโตของบริษัทข้ามชาติมักมีปัญหาในกระบวนการติดต่อกับบุคคลที่สามในหลายประเทศโลกที่หนึ่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโลกที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

โลกของโซฟี

ลกของโซฟี (Sofies verden) เป็นวรรณกรรมเชิงปรัชญาของโยสไตน์ กอร์เดอร์ นักเขียนชาวนอร์เวย์ พิมพ์ขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโลกของโซฟี · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว

อลิมปิกฤดูหนาว (Winter Olympic Games) เป็นการแข่งขันระดับโอลิมปิกด้านกีฬาฤดูหนาวที่จัดขึ้นทุก 4 ปี ลักษณะของกีฬาฤดูหนาวจะจัดขึ้นในภูมิประเทศที่เป็นน้ำแข็งหรือหิมะ เช่นสเกตน้ำแข็งและสกี โดยคณะกรรมการโอลิมปิกของชาติต่าง ๆ (NOCs) บางประเทศนั้นจะเป็นคณะเดียวกันกับโอลิมปิกฤดูร้อนที่จะเป็นผู้ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันกับนักกีฬาของชาติอื่น เพื่อชิงเหรียญทอง เหรียญเงิน และเหรียญทองแดง สำหรับจำนวนประเทศที่มีส่วนร่วมในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวน้อยกว่าโอลิมปิกฤดูร้อน ด้วยเหตุผลชัดเจนของสภาพภูมิประเทศ และประเทศส่วนใหญ่อยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร ซึ่งไม่มีโอกาสที่จะเข้าถึงการฝึกกีฬาฤดูหนาวนั่นเอง ทั้งนี้ การแข่งขันครั้งแรก จัดขึ้นที่เมืองชาโมนิคซ์ ประเทศฝรั่งเศส เมื่อปี พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) ส่วนการแข่งขันครั้งล่าสุด จัดขึ้นที่เมืองโซชี ประเทศรัสเซีย ในปี พ.ศ. 2557 (ค.ศ. 2014) และครั้งต่อไป จะจัดขึ้นที่เมืองพย็องชัง ประเทศเกาหลีใต้ ในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอลิมปิกฤดูหนาว · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1952

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 6 ประจำปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอลิมปิกฤดูหนาว 1952 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1992

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 16 ประจำปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอลิมปิกฤดูหนาว 1992 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 1994

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 17 ประจำปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2022

ระวังสับสนกับ พาราลิมปิกฤดูหนาว 2022 กีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 24 (XXIV Olympic Winter Games) เป็นการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาวครั้งที่ 24 จัดขึ้น ณ กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน ระหว่างวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ถึง 20 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอลิมปิกฤดูหนาว 2022 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกฤดูหนาว 2026

การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 25 ประจำปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอลิมปิกฤดูหนาว 2026 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกหมากรุกสากลครั้งที่ 41

อลิมปิกหมากรุกสากลครั้งที่ 41 หรือ หมากรุกสากลโอลิมเปียดครั้งที่ 41 (41st Chess Olympiad) จัดขึ้นโดยสมาพันธ์หมากรุกโลก และประกอบไปด้วยการแข่งขันแบบโอเพ่นและการแข่งขันประเภทหญิง ตลอดจนหลายรายการที่ออกแบบมาเพื่อส่งเสริมการแข่งขันหมากรุกสากล ซึ่งจะใช้สถานที่การแข่งขัน ณ ทรมเซอ ประเทศนอร์เวย์ ช่วงฤดูร้อน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอลิมปิกหมากรุกสากลครั้งที่ 41 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016

กีฬาโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016 (2016 Winter Youth Olympic Games; Vinter-OL for ungdom 2016) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า กีฬาโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาวครั้งที่ 2 (II Winter Youth Olympic Games; YOG) เป็นการแข่งขันกีฬาหลายชนิดระหว่างประเทศสำหรับเยาวชนซึ่งจัดขึ้นในเมืองลิลเลฮัมเมร์ ประเทศนอร์เวย์ ระหว่างวันที่ 12 - 21 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว 2016 · ดูเพิ่มเติม »

โอลิวีน

'''Descripyion:''''''Mineral:''' Forsterite: Mg2SiO4 Olivine: (Mg,Fe) 2SiO4 '''Location:''' Skardu, Nooristan, Pakistan. '''Scale:''' 2.5 x 2.7 cm. '''Description:''' olivine from San Carlos Indian Reservation, Arizona-3 '''Credit:''' R.Weller/Cochise College '''Crystal structure of olivine.''''''Description:''' The dominant slip system in olivine changes with temperature from the 110 plane in the 001 direction at low temperature to 010 plane in the 100 direction at high temperature. At intermediate temperature, there are a number of slip systems in the 001 direction. '''Description:''' การแบ่งแร่โอลิวีนตามองค์ประกอบทางเคมี '''Reference:''' C. Klein and C.S. Hurlbut, Jr., Manual of Mineralogy, copyright © 1985 John Wiley & Sons, Inc., reprinted with permission of John Wiley & Sons, Inc. โอลิวีน (Olivine) เป็นภาษาโบราณ หมายถึง สีเขียวมะกอก (Olive green) และยังหมายถึงว่า เป็น แร่ประกอบหิน แต่ในลักษณะที่เป็นรัตนชาติ เรียกว่า เพริดอต (Peridot) ส่วนคำว่า คริโซไลต์ (Chysolite) ก็หมายถึง โอลิวีน เช่นกัน แร่ในกลุ่มนี้ประกอบด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอลิวีน · ดูเพิ่มเติม »

โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016

การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016 คือการแข่งขันกีฬาอีสปอตส์ประเภทเกมส์โอเวอร์วอตช์ที่กำลังจะเกิดขึ้น จัดตั้งโดยบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเกมส์ดังกล่าวขึ้น การแข่งขันนี้เป็นการแข่งขันครั้งแรกของชุด และเกิดขึ้นที่งานบลิซซ์คอน ณ ศูนย์การประชุมแอนาไฮม์ ในวันที่ 4 ถึง 5 พฤศจิกายน 2016.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2016 · ดูเพิ่มเติม »

โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2017

การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2017 คือการแข่งขันกีฬาอีสปอตส์ประเภทเกม โอเวอร์วอตช์ จัดตั้งโดยบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเกมดังกล่าวขึ้น การแข่งขันประกอบด้วยตัวแทนทีมจาก 32 ชาติทั่วโลก และจะถูกจัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมแอนาไฮม์ ในวันที่ 3 ถึง 4 พฤศจิกายน โดยการแข่งขันถูกแบ่งออกเป็น 4 ระยะต่างกัน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2017 · ดูเพิ่มเติม »

โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2018

การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2018 คือการแข่งขันกีฬาอีสปอตส์ประเภทเกม โอเวอร์วอตช์ ที่กำลังจะเกิดขึ้น จัดตั้งโดยบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ซึ่งเป็นผู้พัฒนาเกมดังกล่าวขึ้น โดยมี 20 ทีมเข้าแข่งขันในรอบแบ่งกลุ่ม ไม่รวมเจ้าภาพทั้งสี่ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ ไทย และฝรั่งเศส โดยการแข่งขันจะถูกแบ่งออกเป็น 5 ช่วงเวลาคือ ช่วงที่ 1 การคัดเลือก ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเมษายน ช่วงที่ 2 การสร้างคณะกรรมการ เดือนพฤษภาคม ช่วงที่ 3 การพิสูจน์ความสามารถผู้เล่น เดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม ช่วงที่ 4 การแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม เดือนสิงหาคมถึงกันยายน และช่วงที่ 5 การแข่งขันรอบแปดทีมสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2018 · ดูเพิ่มเติม »

โอเปร่า (เว็บเบราว์เซอร์)

อเปร่า (Opera) คือชื่อซอฟต์แวร์ ที่รวมเว็บเบราว์เซอร์และโปรแกรมสำหรับใช้งานอินเทอร์เน็ตอื่น ๆ พัฒนาโดยบริษัทโอเปร่า ประเทศนอร์เวย์ ในปัจจุบันโอเปร่าเป็นผู้นำในตลาดเว็บเบราว์เซอร์สำหรับโทรศัพท์มือถือ และพีดีเอ นอกจากนี้ยังถูกนำไปใช้ในระบบโทรทัศน์ที่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ชม (interactive television, iTV) ในบางประเทศ เมื่อไม่นานนี้ บริษัทโอเปร่าได้ร่วมมือกับบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ ผู้ผลิตซอฟต์แวร์ด้านการสร้างสรรค์สื่อ เพื่อรวมโอเปร่ากับโปรแกรมในชุด อะโดบีครีเอทีฟสวีท และเมื่อ ทาง opera (Opera Software ASA) ได้เปิดให้ opera browser (เวอร์ชันสำหรับ desktop) เป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถโหลดใช้งานได้ฟรี และไม่มี Ad Banner ใด ๆ ในตัวโปรแกรม สามารถใช้งานได้เต็มรูปแบบ ชุดโอเปร่าประกอบไปด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโอเปร่า (เว็บเบราว์เซอร์) · ดูเพิ่มเติม »

โฮกุ้น ลอเรนต์ซัน

กุ้น ลอเรนต์ซัน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโฮกุ้น ลอเรนต์ซัน · ดูเพิ่มเติม »

โฮยเตอ ฟัน โฮยเตอมา

ตอ ฟัน โฮยเตอมา (Hoyte van Hoytema; เกิดเมื่อวันที่ 04 ตุลาคม ค.ศ. 1971 เป็นผู้กำกับภาพชาวดัตช์-สวีเดน ทำงานอยู่ในสวีเดนเป็นหลัก รวมไปถึงเยอรมนี, นอร์เวย์, สหรัฐ และสหราชอาณาจักร ผลงานเด่นของเขาคือการกำกับภาพในเรื่อง รักดังฟังชัด, อินเตอร์สเตลลาร์ ทะยานดาวกู้โลก, องค์กรลับดับพยัคฆ์ร้าย, และ ดันเคิร์ก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโฮยเตอ ฟัน โฮยเตอมา · ดูเพิ่มเติม »

โจตัน

ตัน (Jotun) เป็นบริษัทผลิตสีจากประเทศนอร์เวย์ ที่ผลิตสีทาบ้านและผิวเคลือบแป้ง มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่ประเทศนอร์เวย์ มีบริษัทในเครือ 67 บริษัท และ 39 โรงงานใน สแกนดิเนเวีย, ยุโรป, ตะวันออกกลาง, เอเชีย, อเมริกา, ออสเตรเลีย และ แอฟริกา ชื่อของบริษัทโจตัน มาจากโยตุน (Jötunn) เทพในนิยายนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโจตัน · ดูเพิ่มเติม »

โทบุเวิลด์สแควร์

ทางเข้าโทบุเวิลด์สแควร์ โตเกียวสกายทรีและท่าอาการศยานนานาชาตินะริตะในโทบุเวิลด์สแควร์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติโตเกียว โตเกียวโดม สถานีรถไฟโตเกียว โทบุเวิลด์สแควร์ (Tobu World Square) คือ สวนสาธารณะแห่งหนึ่งในเมืองนิกโก จังหวัดโทะชิงิ ประเทศญี่ปุ่น เปิดทำการเมื่อวันที่ 24 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโทบุเวิลด์สแควร์ · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1954

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1954 ในโทรทัศน์ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1954 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1960

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1960 ในโทรทัศน์ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1960 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1996

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1996 ในโทรทัศน์ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 1996 · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2007

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 2007 ในโทรทัศน์ประเทศนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโทรทัศน์ประเทศนอร์เวย์ใน ค.ศ. 2007 · ดูเพิ่มเติม »

โดนต์เซย์ยูเลิฟมี

"โดนต์เซย์ยูเลิฟมี" (Don't Say You Love Me) เป็นซิงเกิลเปิดตัวของวงเอ็มทูเอ็ม ดูโอแนวป็อปจากนอร์เวย์ที่ประกอบด้วยสมาชิกคือ เมเรียน เรเวน และ มาริต ลาร์เซน เพลงออกอากาศครั้งแรกทางเรดิโอดิสนีย์ ก่อนที่จะออกอากาศอย่างเป็นทางการทางสถานีวิทยุอเมริกันและออกจำหน่ายเป็นซิงเกิลในเดือนตุลาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโดนต์เซย์ยูเลิฟมี · ดูเพิ่มเติม »

โดโรเธียแห่งบรันเดินบวร์ค

รเธียแห่งบรันเดินบวร์ค (ค.ศ. 1430/1431 - 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1495) ทรงเป็นพระมเหสีในคริสโตเฟอร์แห่งบาวาเรียและพระเจ้าคริสเตียนที่ 1 แห่งเดนมาร์ก พระนางทรงดำรงเป็นสมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก (ค.ศ. 1445 - 1448 และ ค.ศ. 1449 - 1481), สมเด็จพระราชินีแห่งนอร์เวย์ (ค.ศ. 1445 - 1448 และ ค.ศ. 1450 - 1481) และสมเด็จพระราชินีแห่งสวีเดน (ค.ศ. 1447 - 1448 และค.ศ. 1457 - 1464) ถึงสองครั้ง พระนางยังทรงดำรงเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินเดนมาร์กในช่วงที่พระสวามีเสด็จไปนอกราชอาณาจักร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโดโรเธียแห่งบรันเดินบวร์ค · ดูเพิ่มเติม »

โฆษณาโทรทัศน์

ษณาโทรทัศน์ (Television advertisement) เป็นช่วงหนึ่งของรายการโทรทัศน์ ซึ่งผลิตขึ้นและชำระเงินโดยองค์กร ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะบ่งบอกถึงข้อความเพื่อโฆษณาสินค้าหรือบริการ รายได้จากการโฆษณาจะเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของเงินทุนสำหรับเครือข่ายโทรทัศน์ของเอกชน ถึงแม้ว่าในปี พ.ศ. 2471 ระบบโทรทัศน์จะยังคงอยู่ในระยะทดสอบ แต่ก็มีศักยภาพขนาดกลางที่ต้องการจะขายสินค้าซึ่งเป็นที่คาดการณ์ไว้แล้ว ในหลาย ๆ ประเทศ อย่างเช่น สหรัฐอเมริกา การโฆษณาในลักษณะของการรณรงค์นั้น ถือว่าเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้สำหรับการรณรงค์ทางการเมือง ในประเทศอื่น ๆ เช่น ฝรั่งเศส การโฆษณาทางการเมืองผ่านโทรทัศน์ได้ถูกห้ามเป็นบางส่วน ในขณะที่บางประเทศ อย่างเช่น นอร์เวย์ จะห้ามมิให้โฆษณาทางการเมืองเลยแม้แต่ส่วนเดียว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโฆษณาโทรทัศน์ · ดูเพิ่มเติม »

โปเกมอน โก

ปเกมอน โก (Pokémon GO) เป็นเกมพกพา อิงพิกัดภูมิศาสตร์ (location-based) ผสานกับเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (augmented reality) เล่นฟรี บนสมาร์ตโฟนที่ต้องมีกล้องหลัง, มีระบบตรวจจับพิกัดตำแหน่งบนโลก (GPS), ตัวจับระดับการหมุน และจอสัมผัส พัฒนาโดยบริษัทไนแอนติก ออกจำหน่ายใน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และโปเกมอน โก · ดูเพิ่มเติม »

ไพรม์ไทม์

รม์ไทม์ (prime time) สำหรับวงการโทรทัศน์ หมายถึงช่วงเวลาที่มีผู้ชมมากที่สุด ช่วงเวลานี้จะเป็นช่วงเวลาที่สถานีโทรทัศน์ทำรายได้จากค่าโฆษณามากที่สุด ความหมายของไพรม์ไทม์นั้นอาจแตกต่างออกไปตามภูมิภาค รวมถึงช่วงเวลาก็อาจแตกต่างกันด้วย สำหรับเวลาไพรม์ไทม์ในประเทศไทย เป็นเวลาช่วง 19.00 - 22.30 น. ของทุกวัน หมวดหมู่:อภิธานศัพท์โทรทัศน์ หมวดหมู่:เวลา.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และไพรม์ไทม์ · ดูเพิ่มเติม »

ไกลบ้าน

กลบ้าน เป็นพระราชนิพนธ์ลายพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 เมื่อปี พ.ศ. 2450 พระราชทานแก่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้านิภานภดล กรมขุนอู่ทองเขตขัตติยนารี ผู้ซึ่งสนองพระเดชพระคุณสมเด็จพระบรมชนกนาถในตำแหน่งเลขาธิการฝ่ายใน รวมจำนวน 43 ฉบับ เสด็จประพาสยุโรปเป็นระยะเวลา 225 วัน ทรงพระราชนิพนธ์เกี่ยวกับพระราชภารกิจแต่ละวันนับตั้งแต่เสด็จลง เรือพระที่นั่งมหาจักรี ออกจากกรุงเทพมหานคร ผ่านประเทศต่าง ๆ โดยทางเรือและรถไฟตามลำดับ ได้แก่ ประเทศสิงคโปร์ อิตาลี สวิตเซอร์แลนด์ เยอรมนี ฝรั่งเศส อังกฤษ เบลเยี่ยม เดนมาร์ก และประเทศนอร์เวย์ เป็นการเล่าทำนองการบันทึกจดหมายเหตุ หรือรายงานประจำวัน อีกทั้งมีเกร็ดความรู้เรื่องราวต่าง ๆ พร้อมทั้งเสนอแนวพระราชดำริและพระราชวินิจฉัยส่วนพระองค์ต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ เฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องระหว่างเสด็จประพาส สะท้อนให้เห็นทัศนคติ สภาพบ้านเมือง สังคม ชีวิตความเป็นอยู่ของบุคคลในแต่ละประเทศ โดยเฉพาะทัศนียภาพ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ธรรมชาติ ตลอดจนความเจริญทางวิทยาการของนานาอารยประเท.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และไกลบ้าน · ดูเพิ่มเติม »

ไมโลไนต์

หินไมโลไนต์ (mylonite μύλος mylos, meaning mill.) เป็นหินแปรริ้วลายชนิดหนึ่ง ที่เกิดจากการแปรสภาพเนื่องจากการเกิดแรงดันที่ผิดปกติอย่างมหาศาล โดยเกิดจากกระบวนการ บด อัด เฉือน จากการเกิดรอยเลื่อน กล่าวคือ เมื่อการชนกันอย่างรุนแรงของแผ่นเปลือกโลกแผ่นเปลือกโลกแผ่นหนึ่งจะเกิดการมุดตัวลงไปภายใต้แผ่นเปลือกโลกอีกแผ่นหนึ่ง (กระบวนนี้เรียกว่าการเกิดSubduction) หินจะถูกการบด อัด เฉือน เป็นเศษชิ้นส่วนต่างๆ และความร้อนของแผ่นเปลือกโลกบริเวณที่มุดตัวลงในบริเวณนี้ทำให้เนื้อหินถูกเปลี่ยนลักษณะเป็นแบบพลาสติกหรือมีความยืดหยุ่นเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งผลึกแร่ของเนื้อหินจะเกิดการหลอมและเกิดการตกผลึกใหม่เป็นผลึกเล็กอัดตัวกันแน่น จนกระทั่งอุณหภูมิของเนื้อหินเริ่มลดลง ผลึกแร่จะเกิดการเรียงตัวตามองค์ประกอบทางเคมี มีลักษณะริ้วลายคล้ายอมยิ้ม กลายเป็นหินแปรที่มีริ้วลายเกิดขึ้น ซึ่งเรียกหินลักษณะนี้ว่า หินไมโลไนต์ ชาลส์ แลบเวิท (Charles Lapworth) เป็นผู้ตั้งชื่อหินไมโลไนต์ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และไมโลไนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ไมเคิล (อัลบั้ม)

มเคิล (Michael) เป็นอัลบั้มรวมเพลงของเพลงที่ไม่เคยได้วางจำหน่ายของ ไมเคิล แจ็กสัน หลังเสียชีวิต.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และไมเคิล (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

ไวน์ร้อน

วน์ร้อน (Mulled Wine, Glühwein) เป็นไวน์ที่ปรุงอีกแบบหนึ่ง ปัจจุบันนิยมดื่มในฤดูหนาว ไวน์เป็นเครื่องดื่มประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมในหลายประเทศทั่วโลก แต่เนื่องจากมีอายุในการจัดเก็บที่จำกัด หากเก็บรักษาไม่ดีจะไม่สามารถดื่มได้อีก การทำไวน์ร้อนเป็นวิธีหนึ่งที่ทำให้ไวน์ที่เสื่อมคุณภาพกลับมาดื่มได้อีกครั้ง โดยทั่วไปแล้วไวน์ร้อนมักหมายถึงไวน์ที่ถูกอุ่นโดยการต้ม แต่งรสด้วยน้ำตาลหรือน้ำผึ้ง และปรุงกลิ่นด้วยอ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และไวน์ร้อน · ดูเพิ่มเติม »

ไฮนซ์ บาร์เมตเทิลร์

นซ์ บาร์เมตเทิลร์ (Heinz Barmettler) เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และไฮนซ์ บาร์เมตเทิลร์ · ดูเพิ่มเติม »

ไทยรัฐทีวี

ทยรัฐทีวี เป็นช่องโทรทัศน์ระบบดิจิทัลในประเทศไทย ความคมชัดสูง ผลิตโดย บริษัท ทริปเปิลวีบรอดคาสต์ จำกัด ในเครือหนังสือพิมพ์ไทยรั.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และไทยรัฐทีวี · ดูเพิ่มเติม »

ไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก

ทยทีวีโกลบอลเน็ทเวิร์ค (TGN, Thai TV Global Network) เป็นสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก โดยได้แพร่ภาพสัญญาณโทรทัศน์ เพื่อคนไทยที่อาศัยอยู่ทั่วโลก 170 ประเทศ และต่างชาติที่ต้องการศึกษาเกี่ยวกับประเทศไทย ก่อนมีพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และไทยทีวีโกลบอลเน็ตเวิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ไทเทเนียม

ทเทเนียม (Titanium) เป็นธาตุเคมี มีสัญลักษณ์เป็น Ti มีเลขอะตอมเท่ากับ 22 มีความหนาแน่นต่ำ แข็ง ทนการกัดกร่อน (น้ำทะเล, น้ำประสานทอง (aqua regia) และ คลอรีน) เป็นโลหะทรานซิชันสีเงิน ไทเทเนียมได้รับการค้นพบในคอร์นวอลล์ บริเตนใหญ่ โดย วิลเลียม เกรเกอร์ (William Gregor) ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และไทเทเนียม · ดูเพิ่มเติม »

ไข่ (อาหาร)

ทางซ้ายคือไข่ไก่ ซึ่งโดยทั่วไปได้ใช้ในการกินมากที่สุดโดยมนุษย์ และทางขวาคือไข่นกกระทาสองฟอง ที่สุนัขจิ้งจอกมักนำมากินเป็นอาหาร สัตว์ว่าตัวเมียหลายสปีชีส์วางไข่ รวมทั้งนก สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และปลา และอาจเป็นอาหารที่มนุษย์ชาติรับประทานมานับสหัสวรรษ ไข่นกและสัตว์เลื้อยคลานประกอบด้วยเปลือกไข่ที่ทำหน้าที่ปกป้องอันตรายต่อไข่, ไข่ขาวและไข่แดง รวมกันอยู่ภายในเยื่อบาง ๆ หลายชั้น ไข่สัตว์ที่นิยมรับประทานกันมีไก่ เป็ด นกกระทา ปลาและคาเวียร์ แต่มนุษย์นิยมรับประทานไข่ไก่มากที่สุด และทิ้งช่วงห่างไข่สัตว์อื่นอยู่มาก ไข่แดงและไข่ทั้งฟองมีปริมาณโปรตีนและโคลีนอยู่มาก และพบใช้บ่อยในการครัว เนื่องจากโปรตีนที่มีอยู่ กระทรวงการเกษตรสหรัฐอเมริกาจึงจัดประเภทไข่ว่าเป็น เนื้อสัตว์ ในพีระมิดอาหาร อย่างไรก็ดี แม้ไข่จะมีคุณค่าทางโภชนาการ แต่ก็มีแนวโน้มก่อปัญหาสุขภาพบางอย่างเกิดขึ้นจากคุณภาพ การเก็บ และการเกิดการแพ้ในผู้ที่มีอาการแพ้ ไก่และสิ่งมีชีวิตวางไข่อื่น ๆ เก็บเลี้ยงอย่างกว้างขวางทั่วโลก และการผลิตไข่ไก่จำนวนมากเป็นอุตสาหกรรมระดับโลก มีปัญหาในอุปสงค์และความคาดหมายที่แตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค เช่นเดียวกับการถกเถียงกันในปัจจุบันเกี่ยวกับวิธีการผลิตจำนวนมาก โดยสหภาพยุโรปวางแผนห้ามการเลี้ยงแบบแบตเตอรี (battery farming) หลัง..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และไข่ (อาหาร) · ดูเพิ่มเติม »

ไดโอรามา

Diorama ภาพ flatboat ในการเก็บถาวรของเด็กพิพิธภัณฑ์ของอินเดียแนโพลิ ไดโอรามา คือ อุปกรณ์ที่ใช้โชว์ที่กล่าวถึงอุปกรณ์ในละครถึงสิ่งที่เคลื่อนที่ได้ถูกต้อง คือ การใช้หลักจำลองแบบ 3 มิติ ที่โดยปกติจะห่อหุ้มและเก็บไว้ในตู้โชว์ในพิพิธภัณฑ์ ดาแกรี่ ไดโอรามา แบบพื้นและหน้าตัดสำหรับไดโอรามาในลอนดอน ไดโอรามาเป็นที่นิยมในสถานบันเทิงในปารีส อังกฤษ สก๊อตแลนด์และไอร์แลนด์ ตั้งแต่ปี 1822 - 1880 และเป็นทางเลือกซึ่งเป็นที่นิยม "ทัศนียภาพทั้งหมด" ไดโอรามา คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับโรงละครโดยมุมมองของคนดูที่อยู่ในที่สูงและในชั้นพิเศษในโรงละคร ที่มีผู้ชมกว่า 350 คน ในแฟ้มเอกสารมุมมองของภูมิทัศมันสามารถเปลี่ยนภาพลักษณ์ของทั้งสองและในการแสดงละคร ที่ยืนอยู่แม้ว่าจะมีที่นั่งจำกัดหรือที่จัดหาไว้ให้ในการแสดงล่าสุด 10 - 15 นาที ก่อนหน้าที่เวลาที่ผู้ชมทั้งหมดจะเข้ามาโดยทำมุมมองทั้งสองมุมมอง ซึ่งต่อมาเป็นต้นแบบสำหรับโรงภาพยนตร์ไดโอรามา 3 มิติ ขนาดและสัดส่วนของหน้าเวที คือ กว้าง 24 ฟุต สูง 21 ฟุต (7.3*6.4 เมตร) โดยจะทำฉากและสีด้วยมือ คือ การทำให้มันโปร่งใสโดยเลือกพื้นที่ที่จะทำให้โปร่งใสและในเรื่องที่มีขั้นตอนมาก ๆ จะจัดเตรียมแผ่นลินินในส่วนของความลึกและทำให้สว่างโดยใช้แสงไฟเป็นตัจัดการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของแสงที่แสงทำงานเต็มที่จะทำให้ฉากเปลี่ยนไปโดยผลกระทบที่เกิดจากการจะทำด้วยความประณีต ทำให้นักวิจารณ์และผู้ชมประหลาดใจและเชื่อในสิ่งที่กำลังดูฉากที่เป็นธรรมชาติอยู่ นักประดิษฐ์และเจ้าของลิขสิทธิ์ของไดโอรามา คือ ลุย ฌัก ม็องเด ดาแกร์ (ในปี 1789-1815) ก่อนหน้านี้ผู้ตกแต่และผู้ผลิตกระจกสำหรับสีภูมิทัศน์และผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบด้านสีของด้านเทตนิคเวทีให้เข้าใจก่อน ต่อมาดาแกรี่ได้รับเป็นที่ปรึกษาของดาแกโรไทป์เป็นที่แรกและใช้อย่างกว้างขวางสำหรับวิธีการ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และไดโอรามา · ดูเพิ่มเติม »

เบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์)

"เบบี้" เป็นเพลงที่ร้องโดยศิลปินชาวแคนาดา จัสติน บีเบอร์ เพลงนี้เป็นเพลงครึ่งของอัลบั้มบีเบอร์ มายเวิลด์ 2.0 เพลงนี้แต่งโดยบีเบอร์ ร่วมกับ ทริกกี้ สตีวาสตร์ และดิดรีม ทั้งสองเคยร่วมแต่งเพลงของบีเบอร์ เช่น เพลงวัน ทาม (One Time) และเพลงนี้เป็นเพลงแนวอาร์แอนด์บีร่วมสมัย แร็ปโดย ลูดาคริส เพลงนี้ให้ดาวน์โหลดทางดิจิทัลเมื่อวันที่ 18 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเบบี้ (เพลงจัสติน บีเบอร์) · ดูเพิ่มเติม »

เบรเด ฮังเกลันด์

รเด พอลเซน ฮังเกลันด์ เกิดวันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ. 1981 เป็นนักฟุตบอลชาวนอร์เวย์ ปัจจุบันได้ลงเล่นให้กับ สโมสรฟุตบอลฟูลัม ใน พรีเมียร์ลีก และเขาได้ลงเล่นให้กับ ฟุตบอลทีมชาตินอร์เวย์ โดยเขาเป็นกัปตันทีมอีกด้วย โดยเล่นตำแหน่งเซ็นเตอร์แบ็ก หรือ กองหลังตัวกลาง โดยมีจุดเด่น คือความสูงที่สามารถเล่นลูกกลางอากาศได้ดี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเบรเด ฮังเกลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เบลล์ 214

ลล์ 214 (อังกฤษ: Bell 214) เป็นเฮลิคอปเตอร์ขนาดกลางเป็นส่วนหนึงของยูเอช-1 ไอระควอย เมื่อเปรียบเทียบกับเบลล์ 214STแล้วเบลล์ 214 มีขนาเครื่องทีใหญ่มากกว่าเครื่องเบลล์ 214ST"Bell 214".

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเบลล์ 214 · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ซัม

ลโก้เบอร์ซัมในปี 1991 โลโก้เบอร์ซัมในปี 2010 ผลงานจิตรกรรมของ Theodor Kittelsen ซึ่งถูกนำไปเป็นหน้าปกอัลบั้ม Hvis lyset tar oss เบอร์ซัม (Burzum) เป็นชื่อโปรเจคเพลงแนวแบล็กเมทัล โดยวาร์จ วิเคอร์เนส (Varg Vikernes) โปรเจกต์ของเข้าเริ่มต้นในปี 1991 ณ เมืองแบร์เกน ประเทศนอร์เวย์ ซึ่งต่อมากลายเป็นเอกลักษณ์ที่มีอิทธิพลมากที่สุดต่อวงการเพลงแบล็คเมทัลในประเทศนอร์เวย์ (Norwegian black metal) ในปี 1992 และ 1993 เบอร์ซัมได้ออกอัลบั้มมาทั้งหมด 4 ชุด และวิเคอร์เนส ก็ได้ถูกจำกุมในข้อหาก่อเป็นผู้ขับเคลื่นอำนาจฝั่งขวา (Axis power) เผาโบสถ์ไม้คาทอลิกสี่แห่ง โดยเขายังถ่ายรูปโบสถ์ที่เหลือแต่ซากมาออกเป็นหน้าปกอีพี "อาสค์" (Aske) ในปี 1993 และฆาตรกรรมนายเอสไตน์ ยูโรนิมัส อาร์เซธ์ (Øystein 'Euronymous' Aarseth) มือกีตาร์เลื่องชื่อของวงเมย์เฮม ที่เคยเล่นกีตาร์ร่วมบันทึกเสียงให้อัลบั้มเบอร์ซัมให้ด้วย ในระหว่างติดคุก 21 ปีวิเคอร์เนสไม่หยุดทำเพลงระหว่างอยู่ในเรือนจำ มิหนำซ้ายังได้ออกอัลบั้มอีกสองชุด คำว่า "เบอร์ซัม" ยืมมาจากภาษาของเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ในนิยายแฟนตาซีเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ซึ่งแปลว่า "ความมืด" แนวดนตรีของเบอร์ซัม อยู่บนพื้นฐานของแนว Norwegian black metal ซึ่งมีเอกลักษณ์คือ ริฟกีตาร์ที่เร็วและดุดัน เสียงร้องที่แผดแห้งเหมือนเสียงจากนรก และกระเดื่องกลองที่รัวดั่งฝีเท้าของม้าป่า เพลงส่วนใหญ่ของเบอร์ซัมนั้นจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับตำนานชาวไวกิงค์โบราณซึ่งมีพฤติกรรมและความเชื่อขัดต่อศาสนาคริสต์อย่างสิ้นเชิง ซึ่งวิเคอร์เนส หลงใหลมาก เนื้อเพลงทั้งหมดถูกถ่ายทอดออกมาในภาษาไวกิงค์ (Norse language) และภาษา Orc (ชนเผ่านักรบที่โหดร้าย นำร่างสุนัขป่าและหมีมาคลุมร่างกายระหว่างการเข้าโจมตี อาศัยอยู่ในป่าประเทศสก๊อตแลนด์) การอัดเสียงเกือบทั้งหมดทำโดยวิเคอร์เนสเพียงคนเดียว ซึ่งเขาไม่มีทั้งกีตาร์ เบส หรือกลอง แต่เขาใช้เครื่องสังเคราะห์เสียงแต่งทำนองประกอบเอาเอง เบอร์ซัมไม่เคยเล่นคอนเสิร์ต และตัววิเคอร์เนสเองก็ไม่เคยคิดที่จะลงเล่นคอนเสิร์ตด้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเบอร์ซัม · ดูเพิ่มเติม »

เชดส์ออฟเพอร์เพิล

ออฟเพอร์เพิล (Shades of Purple) เป็นอัลบั้มเปิดตัวของดูโอแนวป็อปสัญชาตินอร์เวย์ เอ็มทูเอ็ม ออกจำหน่ายในสหรัฐเมื่อ 7 มีนาคม 2000 กับสังกัดแอตแลนติกเรเคิดส์ ขึ้นอันดับ 7 ที่นอร์เวย์, อันดับ 89 ที่สหรัฐบนชาร์ตบิลบอร์ด 200 และอันดับ 1 บนชาร์ตฮีตซีกเกอส์ ซิงเกิ้ล "โดนต์เซย์ยูเลิฟมี" ที่ก่อนหน้านั้นออกเป็นซฺงเกิ้ลแรกของอัลบั้มประกอบภาพยนตร์ Pokémon: The First Movie ในเดือนตุลาคม 1999 ยังปรากฏในอัลบั้มนี้ นอกจากนี้ยังมีอีก 2 ซิงเกิ้ลคือ "Mirror Mirror" กับ "Everything You Do" ที่ออกจำหน่ายในปี 2000 อัลบั้มได้รับเสียงวิจารณ์ที่ดี รอเบิร์ต คริสต์เกา ให้อัลบั้มระดับ A- เขายังชื่นชมการร้องของทั้งคู่ ไมเคิล เพาเลตตา จากนิตยสาร บิลบอร์ด กล่าวไว้ว่า "งดงามเหมาะกับการเป็นอัลบั้มประกอบภาพยนตร์แห่งฤดูไม้ผลิ/ฤดูร้อน ปี 2000" อัลบั้ม เชดส์ออฟเพอร์เพิล ขายได้มากกว่า 1.5 ล้านชุดทั่วโลก และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงสาขาอัลบั้มเพลงป็อปจากรางวัลสเปลมานไพรเซน 2000.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเชดส์ออฟเพอร์เพิล · ดูเพิ่มเติม »

เพลงเกียรติยศ

ลงเกียรติยศ (honors music) เป็นเพลงสำหรับใช้บรรเลงเป็นเกียรติยศแก่บุคคล ผู้ดำรงตำแหน่งสำคัญ หรือผู้มียศทางทหารต่างๆ ในโอกาสต่างๆ ประมุขแห่งรัฐต่างๆ นั้นย่อมได้รับเกียรติจากบรรเลงเพลงเกียรติยศ ซึ่งในบางประเทศก็ใช้เพลงชาติในหน้าที่ดังกล่าวด้วย บางประเทศอาจใช้ "เพลงประจำตำแหน่งประธานาธิบดี" (presidential anthem) หรือ "เพลงสรรเสริญพระบารมี" (royal anthem) บรรเลงเป็นเพลงเกียรติยศแทน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเพลงเกียรติยศ · ดูเพิ่มเติม »

เพื่อนแท้ในป่าใหญ่

ื่อนแท้ในป่าใหญ่ (The Fox and the Hound) ออกฉายวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 กำกับโดย Ted Berman และ Richard Rich เป็นภาพยนตร์การ์ตูนคลาสสิกลำดับที่ 24 ของดิสนีย์ ภาพยนตร์เรื่องนี้มีโครงเรื่องมาจากหนังสือที่มีชื่อเดียวกัน ซึ่งผลงานการประพันธ์ของ Daniel P. Mannix นักเขียนชาวอเมริกัน แต่งขึ้นเมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเพื่อนแท้ในป่าใหญ่ · ดูเพิ่มเติม »

เกมล่าเกม 2 แคชชิ่งไฟเออร์

กมล่าเกม 2 แคชชิ่งไฟเออร์ (The Hunger Games: Catching Fire) เป็นภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2556 เป็นภาคต่อมาจากภาพยนตร์ "เกมล่าเกม" กำกับโดย "ฟรานซิส ลอว์เรนซ์" และนำแสดงโดย เจนนิเฟอร์ ลอว์เรนซ์, จอช ฮัทเชอร์สัน, เลียม เฮมส์เวิร์ท, วู้ดดี้ ฮาร์เรลสัน, เอลิซาเบธ แบงส์, เลนนี่ แครวิตซ์, ฟิลิป ซีมัวร์ ฮอฟฟ์แมน, สแตนลีย์ ทุชชี และ โดนัลด์ ซุทเธอร์แลนด์ อ้างอิงเนื้อเรื่องมาจานิยายของ ซูซาน คอลลินส์ ที่มีชื่อว่า "ปีกแห่งไฟ" อำนวยการสร้างโดย นิน่า จาคอบสัน และจอน คิลิค เขียนบทภาพยนตร์ใหม่โดย ไซมอน โบฟอย กับ ไมเคิล อาร์นต์ ดนตรีประกอบภาพยนตร์ประพันต์โดย เจมส์ นิวตัน ฮาเวิร์ด และจัดจำหน่ายโดย ไลออนส์เกท เนื้อเรื่องเกี่ยวกับ "แคตนิส เอฟเวอร์ดีน" และ "พีต้า เมลลาร์ค" ที่ต้องเดินทางกลับสู่เขต 12 แต่ "ประธานาธิบดีสโนว์" พบว่าถูกกลุ่มคนเล็ก ๆ ท้าทายอำนาจ รวมถึงแคตนิสด้วย จึงตัดสินใจที่จะจัดเกมล่าชีวิตครั้งที่ 75 ด้วยการนำอดีตผู้ชนะจากทั้ง 12 เขตมาต่อสู้กัน เพื่อหาผู้รอดเพียงคนเดียว ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ก็การเป็นชนวนสำคัญ ที่จะเปลี่ยนพาเน็มไปตลอดกาล การถ่ายทำภาพยนตร์เริ่มตั้งแต่วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555 จนถึงวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ที่ ฮาวาย แอตแลนตา และ ลอสแอนเจลิส ในสหรัฐอเมริกา โดยจัดฉายทั้งในโรงภาพยนตร์ทั่วไปรวมถึงโรงภาพยนตร์ดิจิตอลไอแมกซ์ โดยทำให้เสียงในภาพยนตร์มีคุณภาพ และสี่ดีเอกซ์ ซึ่งจะมีการเคลื่อนไหวของเก้าอี้ ลม สเปรย์น้ำ แฟลชฟ้าผ่า และเทคนิคกลิ่นพิเศษ ตามแต่ละฉากในภาพยนตร์ เกมล่าเกม 2 แคชชิ่งไฟเออร์ เปิดตัวในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ 2013 ในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ณ ประเทศฝรั่งเศส มีการโปรโมตภาพยนตร์ที่สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร เยอรมนี สเปน อิตาลี และฝรั่งเศส ซึ่งถือเป็นการโปรโมตเวิลด์พรีเมียร์ ภาพยนตร์เรื่องนี้ฉายครั้งแรก (ไม่นับการโปรโมตพรีเมียม) ที่บราซิลในวันที่ 15 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเกมล่าเกม 2 แคชชิ่งไฟเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

เกาะบูเว

กาะบูเว (Bouvet; Bouvetøya) เป็นเกาะอาณานิคมของประเทศนอร์เวย์ และเป็นเกาะที่ไกลที่สุดในโลก ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ที่จุดพิกัด โดยเกาะนี้เป็นเกาะที่ห่างที่สุดในโลก เพราะห่างจากแหลมกู๊ดโฮปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 1,600 กิโลเมตร (1,000 ไมล์) และห่างจากแอนตาร์กติกาทางทิศใต้ 1,600 กิโลเมตร (994 ไมล์) เกาะมีพื้นที่ 49 ตร.กม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเกาะบูเว · ดูเพิ่มเติม »

เกาะปีเตอร์ที่ 1

กาะปีเตอร์ที่ 1 เกาะปีเตอร์ที่ 1 (Peter I Island) เป็นเกาะตั้งอยู่ใกล้กับชายฝั่งทวีปแอนตาร์กติกา มีพื้นที่ 154 ตารางกิโลเมตร เกาะปีเตอร์ที่ 1 เป็นดินแดนของทวีปแอนตาร์กติกาที่นอร์เวย์อ้างสิทธิ์ เกาะนี้ไม่มีประชากรอาศัยอยู.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเกาะปีเตอร์ที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เมย์เฮม

มย์เฮม เป็นวงแบล็กเมทัลจากออสโล, นอร์เวย์ ก่อตั้งในปี 1984 มีสมาขิกดั้งเดิมคือเอสไตน์ ยูโรนิมัส อาร์เซธ์ (Øystein 'Euronymous' Aarseth) มือกีตาร์, ยอร์น 'เนโครบัดเชอร์' สตับเบรัด (Jørn 'Necrobutcher' Stubberud) มือเบส และเคอร์วิน แมนไฮม์ (Kjetil "Manheim") มือกลอง โดยในการอัดเสียงแรกของวง "เดธครัช" (Deathcrush) มีนักร้องนำชื่อ สเวน เอลิค คริสเตียนเซน (Sven Erik Kristiansen)http://www.metal-archives.com/albums/Mayhem/Deathcrush/252 ก่อนจะเปลี่ยนนักร้องนำใหม่เป็นเปอร์ "เดด" โฮลิน (Per "Dead" Ohlin) ที่ทำหน้าที่ทั้งแต่งเพลงและร้องนำ โดยในปัจจุบันนักร้องนำคือ อัตติลา ไซฮาร์ (Attila Csihar) ที่ผันตัวจากวิศวกรไฟฟ้าและครูสอนฟิสิกส์และคณิตศาสตร์ มาเป็นนักร้องนำ โดยเขายังเคยทำงานร่วมกับ "เดด" ในอัลบั้ม De Mysteriis Dom Sathanas อีกด้วย วงเริ่มจากการอัดเทปเสียงในรูปของ EP โดยปราศจากค่ายเพลง จนภายหลัง "ยูโรนิมัส" ไปตั้งค่ายเพลงเอง คือ เดธไลค์ ไซเลินซ์ โปรดักชันส์ (Deathlike Silence Productions) เมย์แฮมสะสมชื่อเสียงจากการแสดงสดที่เล่นในรูปแบบใต้ดิน และการสร้างภาพลักษณ์ฉาวโฉดต่อกระแสแฟนเพลงด้วยการเผาโบสถ์ไม้นอร์เวย์หลายแห่ง รวมถึงการใช้ความรุนแรงกับสมาชิกในวง โดย"ยูโรนิมัส" มือกีตาร์ได้ถูกวาร์จ วิเคอร์เนสมือเบสคนใหม่และสมาชิกวงเบอร์ซัมฆาตรกรรม ในปี 1993 ก่อนออกอัลบั้มแรกของเมย์แฮมเล็กน้อย และการฆ่าตัวตายของ "เดด" ด้วยการใช้ลูกซองยิงเข้าที่ศีรษะของตน ภาพการตายของเขาถูกถ่ายโดย "ยูโรนิมัส" แล้วนำไปทำเป็นปกอัลบั้มคอนเสิร์ต Dawn of the Black Hearts ในปี 1991 เมย์แฮมได้ออกอัลบั้มแรก De Mysteriis Dom Sathanas ในปี 1994 ซึ่งได้รับการพิจารณาให้เป็นอัลบั้มที่มีอิทธิพลต่อวงการแบล็กเมทัลมากที่สุด โดยมีซิงเกิล Freezing Moon เป็นเพลงหลักของอัลบั้มที่ได้รับการโหวตให้เป็นหนึ่งในเพลงแบล็กเมทัลที่ดีที่สุด ในปี 2007 เมย์แฮมได้รับรางวัลจาก Spellemannprisen ของนอร์เวย์ ในอัลบั้มที่ 4 Ordo Ad Chao สำหรับอัลบั้มเมทัลที่ดีที.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเมย์เฮม · ดูเพิ่มเติม »

เมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป

มืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป เป็นเมืองที่ได้รับเลือกจากสหภาพยุโรปเป็นช่วงเวลาหนึ่งปี ซึ่งในช่วงเวลานั้นเมืองจะได้รับโอกาสให้แสดงวัฒนธรรมและการพัฒนาวัฒนธรรมของตน เมืองในยุโรปจำนวนมากได้ใช้โอกาสนี้ในการเปลี่ยนแปลงทั้งฐานวัฒนธรรมของตนและมุมมองจากนานาชาติต่อเมืองของตนอย่างสิ้นเชิง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเมืองหลวงทางวัฒนธรรมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เมเรียน เรเวน

มาริออน เอลิเซ ราเวน (Marion Elise Ravn) หรือ มาริออน ราเวน (Marion Raven) เป็นนักร้องแนวป๊อป-ร็อค, และโฟล์ค-ร็อค ชาวนอร์เวย์ เป็นหนึ่งในอดีตสมาชิกวง M2M วงดูโอที่มีเพื่อนร่วมวงอีกหนึ่งคน คือ Marit Larsen ปัจจุบันเธอเป็นนักร้องในสังกัด Blackbird Music และ Sony Music (ในอดีต Eleven Seven, Atlantic Records) นอกจากจะเป็นนักร้องแล้ว เธอยังมีความสามารถทางด้านการแสดงและเล่นดนตรีหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการ กีตาร์ไฟฟ้า, กลอง, คีย์บอร์ด, เพอร์คัชชัน เป็นต้น หลังจากที่ M2M ได้ประกาศแยกวงอย่างเป็นทางการแล้ว มาริออน ราเวน ได้ออกอัลบั้มเดี่ยวไปแล้ว 3 อัลบั้ม แนวป๊อป-ร็อค, และโฟล์ค-ร็อค ซึ่งอัลบั้มทั้งสาม ถือว่าประสบความสำเร็จและได้รับการตอบรับอย่างดี โดยเฉพาะ อัลบั้มแรกของเธอ Here I Am ที่ประสบความสำเร็จทางด้านยอดขายในประเทศแถบตะวันออกเฉียงใต้และซิงเกิ้ล Break You ซึ่งสามารถขึ้นสู่อันดับที่ 1 โอริกอนชาร์ตของญี่ปุ่นได้สำเร็.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเมเรียน เรเวน · ดูเพิ่มเติม »

เยื่อหุ้มสมองอักเสบ

ื่อหุ้มสมองอักเสบ หรือเยื่อหุ้มสมอง(และไขสันหลัง)อักเสบ (meningitis) เป็นภาวะที่มีการอักเสบของเยื่อที่อยู่รอบสมองและไขสันหลังซึ่งเรียกรวมว่าเยื่อหุ้มสมอง การอักเสบนี้อาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย หรือจุลชีพอื่นๆ และบางครั้งเกิดจากยาบางชนิด เป็นภาวะที่อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตเนื่องจากเป็นการอักเสบที่อยู่ใกล้เนื้อสมองและไขสันหลัง ดังนั้นจึงเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ อาการที่พบบ่อยได้แก่อาการปวดศีรษะและคอแข็งเกร็งพร้อมกับมีไข้ สับสนหรือซึมลง อาเจียน ทนแสงจ้าหรือเสียงดังไม่ได้ บางครั้งอาจมีเพียงอาการแบบไม่จำเพาะเจาะจง เช่น อาการไม่สบายตัวหรือง่วงซึมได้โดยเฉพาะในเด็กเล็ก หากมีผื่นร่วมด้วยอาจบ่งชี้ถึงสาเหตุเฉพาะบางอย่างของเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เช่น เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย''เมนิงโกคอคคัส'' ซึ่งมีผื่นที่มีลักษณะเฉพาะ แพทย์อาจเจาะน้ำไขสันหลังเพื่อวินิจฉัยหรือแยกโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ทำโดยใช้เข็มเจาะเข้าช่องสันหลังเพื่อนำเอาน้ำหล่อสมองไขสันหลังออกมาตรวจทางห้องปฏิบัติการ การรักษาโดยทั่วไปทำโดยให้ยาปฏิชีวนะอย่างทันท่วงที บางครั้งอาจมีการใช้ยาสเตียรอยด์เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการอักเสบรุนแรง เยื่อหุ้มสมองอักเสบอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนระยะยาวที่รุนแรง เช่น หูหนวก โรคลมชัก โพรงสมองคั่งน้ำ และสติปัญญาเสื่อมถ่อย โดยเฉพาะหากรักษาไม่ทันท่วงที เยื่อหุ้มสมองอักเสบบางชนิดอาจสามารถป้องกันได้ด้วยการให้วัคซีน เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบที่เกิดจากเชื้อเมนิงโกคอคคัส, ''ฮีโมฟิลุส อินฟลูเอนซา'' ชนิดบี, ''นิวโมคอคคัส'' หรือไวรัสคางทูม เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเยื่อหุ้มสมองอักเสบ · ดูเพิ่มเติม »

เรือดำน้ำ

รือดำน้ำชั้นไต้ฝุ่นของกองทัพเรือรัสเซีย เรือดำน้ำขนาดเล็ก เรือดำน้ำ เป็นเรือรบที่สามารถปฏิบัติการในขณะที่อยู่ใต้ผิวน้ำได้ สร้างจากเหล็กแต่มีความสามารถในการเคลื่อนที่ภายใต้น้ำ เรือดำน้ำ ถูกนำมาใช้ในการสงครามและการค้นคว้าสำรวจใต้ทะเลลึกในบริเวณที่มนุษย์เราไม่สามารถดำลงไปได้ด้วยการสวมเพียงชุดดำน้ำ ด้วยคุณสมบัติที่พิเศษเหนือกว่ายานพาหนะชนิดอื่นคือ มันสามารถที่จะอยู่ได้ทั้งบนผิวน้ำและใต้น้ำ นับตั้งแต่ ปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเรือดำน้ำ · ดูเพิ่มเติม »

เรน่า

รน่า หรือ เรนะ สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเรน่า · ดูเพิ่มเติม »

เรนโบว์วอร์ริเออร์

รนโบว์วอร์ริเออร์ลำปัจจุบัน เรนโบว์วอร์ริเออร์ลำแรก เรนโบว์วอร์ริเออร์ (Rainbow Warrior, นักรบสายรุ้ง) เป็นชื่อของเรือธงที่ใช้ในการรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมของกรีนพีซ โดยใช้เดินทางไปทั่วโลก เพื่อรณรงค์ต่อต้านการทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นการล่าปลาวาฬ โลมา แมวน้ำ การทิ้งกากนิวเคลียร์วอร์ริเออร์ หรือการทดลองอาวุธนิวเคลียร์ เรนโบว์วอร์ริเออร์ลำปัจจุบันเป็นลำที่สอง โดยลำแรกเป็นเรือประมงสัญชาติสกอตแลนด์ ชื่อ "Sir William Hardy" ต่อขึ้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเรนโบว์วอร์ริเออร์ · ดูเพิ่มเติม »

เรเน่ เซลเวเกอร์

รเน่ เซลเวเกอร์ (Renée Zellweger) มีชื่อจริงว่า เรเน่ แคธลีน เซลเวเกอร์ (Renée Kathleen Zellweger) เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2512 เป็นนักแสดงชาวอเมริกันเชื้อสายนอร์เวย์ ในภาพยนตร์ของ คาเมรอน โครว์ เรื่อง Jerry Maguire เธอแสดงร่วมกับ ทอม ครูซ เซลเวเกอร์ได้รับคำชมในภาพยนตร์เรื่องนี้ และทำให้เธอคว้ารางวัลนักแสดงดาวรุ่งยอดเยี่ยมแห่งปี 2539 จาก The National Board of Review พร้อมกับได้รับรางวัล Blockbuster Award สาขาดาราสมทบหญิงยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์ตลก และได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลจากสมาคมนักแสดง เซลเวเกอร์ ยังแสดงนำในภาพยนตร์ที่ได้รับคำชมของยูนิเวอร์ แซลเรื่อง One True Thing ที่เธอร่วมแสดงกับ วิลเลี่ยม ฮาร์ต กับเมอริล สตรีพ ต่อมา เดอะ แบชเชอเรอร์ ผู้ชายหัวใจเวอร์จิ้นภาพยนตร์ตลกโรแมนติกที่เธอนำแสดงร่วมกับ คริส โอ'ดอนเนลล์ และภาพยนตร์ตลกเสียดสีของผู้กำกับนีล ลาบุตเรื่อง Nurse Betty ที่เธอร่วมแสดงกับคริส ร็อค และ มอร์แกน ฟรีแมน และเซลเวเกอร์ได้รับรางวัลลูกโลกทองคำสาขาดารานำหญิงยอดเยี่ยมจากภาพยนตร์ ตลก หรือภาพยนตร์เพลงประจำปี 2543 ผลงานภาพยนตร์เรื่องอื่นๆ ของเธอ ได้แก่ Me, Myself and Irene ซึ่งกำกับโดยพี่น้อง ฟาร์เรลลี และเซลเวเกอร์ ร่วมแสดงกับ จิม แคร์รี และเธอได้รับบท บริดเจ็ท โจนส์ ของ เซลวีเกอร์ ได้เริ่มต้นขึ้นด้วยภาพยนตร์รายได้ดีประจำปี 2544 เรื่อง Bridget Jones's Diary ที่ส่งผลทำให้เธอได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลออสการ์ดารานำหญิงยอดเยี่ยม, รางวัลบาฟต้า, รางวัลลูกโลกทองคำ และรางวัลจากสมาคมนักแสดง นอกจากนั้นในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเรเน่ เซลเวเกอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เลฟ ลาร์เซิน

ลฟ ฮอลเกอร์ ลาร์เซิน (Leif Holger Larsen; 27 มกราคม พ.ศ. 2497 – 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558) เป็นนักการทูตของนอร์เวย์ประจำประเทศปากีสถาน เขาเสียชีวิตเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเลฟ ลาร์เซิน · ดูเพิ่มเติม »

เลขาธิการสหประชาชาติ

ลขาธิการสหประชาชาติ เป็นหัวหน้าสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ซึ่งเป็นหนึ่งในเสาหลักของสหประชาชาติ โดยตามกฎบัตรสหประชาชาติ การแต่งตั้งเลขาธิการสหประชาชาติจะต้องได้รับมติจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติตามคำแนะนำของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่จะเป็นฝ่ายเสนอตัวบุคคลที่มารับตำแหน่งนี้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นตำแหน่งที่มีบทบาทสูงสุดในองค์การสหประชาชาติ เลขาธิการสหประชาชาติจะดำรงตำแหน่งวาระละ 5 ปี โดยจะดำรงตำแหน่งคนละหนึ่งหรือสองสมัย และตามธรรมเนียมแล้ว จะต้องไม่เป็นบุคคลจากประเทศสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง นอกจากนี้ก็เป็นที่เข้าใจกันว่า บุคคลที่จะมาดำรงตำแหน่งคนต่อไปจะต้องมาจากประเทศนอกทวีปของเลขาธิการคนล่าสุด ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนปัจจุบันคือ อังตอนีอู กูแตรึช อดีตนายกรัฐมนตรีโปรตุเกส โดยเป็นเลขาธิการแห่งสหประชาชาติคนที่ 9.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเลขาธิการสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เลตอิตบี (เพลง)

"เลตอิตบี" (Let It Be) เป็นเพลงของวงเดอะบีตเทิลส์ ออกเป็นซิงเกิลเมื่อเดือนมีนาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเลตอิตบี (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

เลนา เมเยอร์-ลันดรุท

ลนา เมเยอร์-ลันดรุท (Lena Meyer-Landrut) เกิดเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเลนา เมเยอร์-ลันดรุท · ดูเพิ่มเติม »

เวลายุโรปกลาง

ตเวลาชาติยุโรปกลาง (Central European Time; CET) เป็นชื่อของเขตเวลาที่ตรงกับมาตรฐานบบเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 1 ชั่วโมง (UTC+1) ซึ่งใช้เป็นเวลามาตรฐานส่วนใหญ่ในประเทศยุโรป และใช้ในประเทศทางตอนเหนือของทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเวลายุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เวลาออมแสงยุโรปกลาง

ตเวลาออมแสงยุโรปกลาง (Central European Summer Time; CEST) เป็นชื่อของเขตเวลาที่ตรงกับมาตรฐานเวลาสากลเชิงพิกัดบวก 2 ชั่วโมง (UTC+2) ซึ่งใช้เป็นเวลามาตรฐานส่วนใหญ่ในประเทศยุโรป และใช้ในประเทศทางตอนเหนือของทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเวลาออมแสงยุโรปกลาง · ดูเพิ่มเติม »

เวสท์ไลฟ์ (อัลบั้ม)

วสท์ไลฟ์ (Westlife) เป็นอัลบั้มชุดแรกของ เวสท์ไลฟ์ กลุ่มศิลปินบอยแบนด์จากไอร์แลนด์ ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ขึ้นชาร์ตอันดับ 2 ของสหราชอาณาจักร และอันดับที่ 129 ของสหรัฐอเมริกา และอันดับที 15 ของออสเตรเลีย เพลงที่ได้รับความนิยมของอัลบั้มนี้ได้แก่ "สะแวอิดอะเกน", "อิฟไอเล็ทยูโก", "ซีซันส์อินเดอะซัน" เป็นต้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเวสท์ไลฟ์ (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

เวสต์วอกอย

เวสต์วอกอย เวสต์วอกอย (Vestvågøy) เป็นเกาะในประเทศนอร์เวย์ และเป็นเทศบาลของนอร์แลนด์เคาน์ตี เป็นส่วนหนึ่งในเขตโลโฟเตน ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองมอสเกเนส นอกฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือ ในทะเลนอร์เวย์ เมืองมีประชากร 10,813 คน หมวดหมู่:เกาะในประเทศนอร์เวย์ หมวดหมู่:เมืองในประเทศนอร์เวย์.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเวสต์วอกอย · ดูเพิ่มเติม »

เศรษฐกิจยุโรป

รษฐกิจยุโรป ประกอบด้วยผู้คนกว่า 731 ล้านคนในประเทศต่าง ๆ 48 ประเทศ เช่นเดียวกับทวีปอื่น ๆ ความร่ำรวยของรัฐในทวีปยุโรปมีความแตกต่างกันออกไป แม้ว่าคนยากจนที่สุดของทวีปนี้จะดีกว่าคนยากจนที่สุดของทวีปอื่น ๆ ในแง่ของจีดีพีและมาตรฐานการครองชีพก็ตาม การสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สองทำให้ประเทศในยุโรปใกล้ชิดกันมากขึ้น ปิดท้ายในการก่อตัวสหภาพยุโรป (อียู) และในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเศรษฐกิจยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เสียงเรียกของคธูลู

"เสียงเรียกของคธูลู" (The Call of Cthulhu) เป็นเรื่องสั้นที่ประพันธ์โดยเอช. พี. เลิฟคราฟท์ในปีพ.ศ. 2469 และตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสาร Weird Tales ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2471.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเสียงเรียกของคธูลู · ดูเพิ่มเติม »

เหยี่ยวออสเปร

หยี่ยวออสเปร (Osprey, Sea hawk, Fish eagle) เป็นนกล่าเหยื่อที่กินปลาเป็นอาหาร มีขนาดใหญ่ ยาว 60 เซนติเมตร ช่วงปีกกว้าง 2 เมตร ขนส่วนบนเป็นสีน้ำตาล ศีรษะและส่วนล่างมีสีค่อนข้างเทา มีสีดำบริเวณตาและปีก เหยี่ยวออสเปรมีการกระจายพันธุ์เป็นวงกว้าง ชอบทำรังใกล้กับแหล่งน้ำ แม้ว่าในทวีปอเมริกาใต้จะเป็นเพียงแค่นกอพยพนอกฤดูผสมพันธุ์ แต่ก็ถือว่าสามารถพบได้ทุกทวีปยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา เหยี่ยวออสเปรกินปลาเป็นอาหาร จึงพัฒนาลักษณะทางกายภาพเฉพาะและแสดงพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เพื่อช่วยในการล่าและการจับเหยื่อ จึงส่งผลให้มีสกุลและวงศ์เป็นของตนเองคือ สกุล Pandion และ วงศ์ Pandionidae มี 4 สปีชีส์ย่อยที่ได้รับการยอมรับ แม้จะมีนิสัยชอบในการทำรังใกล้แหล่งน้ำ แต่เหยี่ยวออสเปรก็ไม่ใช่อินทรีทะเล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเหยี่ยวออสเปร · ดูเพิ่มเติม »

เหรียญฟิลด์ส

้านหน้าของเหรียญฟิลด์ส เหรียญฟิลด์ส (อังกฤษ: Fields Medal) เป็นรางวัลที่มอบให้แก่นักคณิตศาสตร์จำนวน 2-4 คน ที่มีอายุไม่เกิน 40 ปี ในการประชุมคณิตศาสตร์นานาชาติของสหภาพคณิตศาสตร์ระหว่างประเทศ (International Mathematics Union หรือ IMU) ซึ่งจัดขึ้นทุกๆ 4 ปี รางวัลเหรียญฟิลด์สได้รับการยอมรับในวงกว้างว่าเป็นรางวัลเกียรติยศสูงสุดสำหรับนักคณิตศาสตร์ รางวัลนี้มอบให้พร้อมกับเงินรางวัลเป็นจำนวน 15,000 ดอลลาร์แคนาดา (ตั้งแต่ปี 2006) เหรียญฟิลด์สก่อตั้งโดยความประสงค์ของนักคณิตศาสตร์ชาวแคนาดา จอห์น ชาร์ลส์ ฟิลด์ส (John Charles Fields) มอบรางวัลครั้งแรกในปี 1936 แก่นักคณิตศาสตร์ชาวฟินแลนด์ชื่อ ลาร์ส อาห์ลฟอร์ (Lars Ahlfors) และนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันชื่อ เจสส์ ดักลาส (Jesse Douglas) และจัดมอบทุกๆ 4 ปีมาตั้งแต่ปี 1950 โดยมีจุดประสงค์เพื่อสนับสนุนและให้เกียรตินักวิจัยวัยหนุ่มสาวที่อุทิศตนเพื่องานด้านคณิตศาสตร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเหรียญฟิลด์ส · ดูเพิ่มเติม »

เหตุระเบิดที่แมนเชสเตอร์อะรีนา พ.ศ. 2560

มื่อเวลา 22.33 น. ตามเวลาออมแสงบริติช (UTC+01:00) ของวันที่ 22 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเหตุระเบิดที่แมนเชสเตอร์อะรีนา พ.ศ. 2560 · ดูเพิ่มเติม »

เหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554

หตุโจมตีในนอร์เว..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเหตุโจมตีในนอร์เวย์ พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

เอชแอนด์เอ็ม

อช แอนด์ เอ็ม ในสตอกโฮล์ม เอช แอนด์ เอ็ม (Hennes & Mauritz AB: H&M) เป็นบริษัทเครื่องแต่งกายของประเทศสวีเดน มีสาขาจำนวนกว่า 4,351 สาขา ใน 64 ประเทศ มีพนักงานกว่า 161,000 คน เอช แอนด์ เอ็ม ออกเสียงเป็นภาษาสวีเดนว่า "โฮเอ็ม" แต่ในบางประเทศ เช่นอังกฤษ หรือ สหรัฐอเมริกาจะออกเสียงว่า "เอช แอนด์ เอ็ม".

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอชแอนด์เอ็ม · ดูเพิ่มเติม »

เอมิล เคร็บส์

อมิล เคร็บส์ (เกิดในวันที่ 15 พฤศจิกายน 1867 ใน Freiburg, Schlesien เสียชีวิตเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 1930 ในกรุงเบอร์ลิน) – ชาวเยอรมันที่เป็นต้นแบบการเรียนรู้หลายภาษา (พูดได้หลายภาษา) เป็นบุตรชายของช่างไม้ แหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือแห่งหนึ่งได้เปิดเผยว่าเขาเข้าใจ 68 ภาษาในการพูดหรือการเขียนได้ในระดับดี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอมิล เคร็บส์ · ดูเพิ่มเติม »

เอย์ดืร์ กวึดยอนแซน

อย์ดืร์ สเมารี กวึดยอนแซน (Eiður Smári Guðjohnsen; เกิดเมื่อวันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 1978) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวไอซ์แลนด์ ปัจจุบันเล่นให้กับมอลเดในประเทศนอร์เวย์ ตำแหน่งกองหน้าหรือกองกลางตัวรุก ก่อนหน้านี้เคยเล่นให้กับเชลซีของอังกฤษ และบาร์เซโลนาของสเปน และเคยเล่นให้กับโบลตันวอนเดอเรอส์มาก่อนหน้านี้แล้ว ยังเป็นกัปตันทีมชาติไอซ์แลนด์ จนกระทั่งโอว์ลาวืร์ โยว์ฮันแนสซอน เข้ามาเป็นผู้จัดการทีมชาติคนใหม่ โดย กวึดยอนแซน ถือเป็นเจ้าของสถิติการยิงประตูได้มากที่สุดในทีมชาติไอซ์แลนด์ คือ 25 ประตู และเป็นบุตรชายของอานอร์ กวึดยอนแซน อดีตนักฟุตบอลกองหน้าในตำนานของไอซ์แลนด์ โดยกวึดยอนแซนผู้ลูกติดทีมชาติครั้งแรกเมื่ออายุ 17 ปี เมื่อปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอย์ดืร์ กวึดยอนแซน · ดูเพิ่มเติม »

เอลฟ์จิฟูแห่งนอร์แธมตัน

อลฟ์จิฟูแห่งนอร์แธมตัน (ค.ศ.990-หลังค.ศ.1036) เป็นมเหสีพระองค์แรกของพระเจ้าคนุตแห่งอังกฤษและเดนมาร์ก และพระราชมารดาของพระเจ้าแฮโรลด์ที่ 1 แห่งอังกฤษ (ค.ศ.1035-1040) ทรงเป็นราชินีผู้สำเร็จราชการแทนแห่งนอร์เวย์ตั้งแต่ปี..1030-1035.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอลฟ์จิฟูแห่งนอร์แธมตัน · ดูเพิ่มเติม »

เอวัน (วงดนตรี)

อวัน (A1) เป็นกลุ่มดนตรีแนวป็อปอังกฤษ–นอร์เวย์ ก่อตั้งวงในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอวัน (วงดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

เอวาริสต์ กาลัว

อวาริสต์ กาลัว (Évariste Galois,, 25 ตุลาคม ค.ศ. 1811 – 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1832) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสในรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ขณะที่เป็นวัยรุ่น กาลัวสามารถหาเงื่อนไขจำเป็นและเงือนไขพอเพียงสำหรับการหาคำตอบของพหุนามอันดับใดๆ ผลงานของ กาลัวนับว่าเป็นรากฐานของ ทฤษฎีกาลัว ซึ่งเป็นหนึ่งในสาขาหลักของวิชา พีชคณิตนามธรรม และเป็นสาขาหนึ่งใน Galois connection นอกจากนี้ กาลัวยังเป็นบุคคลแรกที่ใช้คำว่า กรุป (Group, groupe) ในฐานะของศัพท์เฉพาะทาง เพื่อที่จะอธิบายเรื่องกลุ่มในการเรียงสับเปลี่ยน นอกเหนือจากความสนในคณิตศาสตร์แล้ว กาลัวยังเป็นผู้ที่นิยมแนวคิดสาธารณรัฐอย่างสุดโต่ง กาลัวถูกยิงเสียชีวิตจากการดวลปืนในขณะที่มีอายุได้เพียง 20 ปี.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอวาริสต์ กาลัว · ดูเพิ่มเติม »

เอาสต์วอเกออี

อาสต์วอเกออี (Austvågøy) เป็นเกาะทางตะวันออกเฉียงเหนือสุด ของหมู่เกาะโลโฟเตน ตั้งอยู่นอกฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศนอร์เวย์ มีพื้นที่ 526.7 กม² มีความยาว 40 จากทิศตะวันออก-ตะวันตก และกว้าง 30 กม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอาสต์วอเกออี · ดูเพิ่มเติม »

เอ็กซ์พีเดีย (เว็บไซต์)

อ็กซ์พีเดี.คอม (Expedia.com) เป็นเว็บไซต์ด้านการท่องเที่ยวที่ Expedia, Inc. เป็นเจ้าของ โดยเว็บไซต์นี้ให้บริการด้านการจองตั๋วเครื่องบินของสายการบิน, การสำรองที่พักในโรงแรม, การเช่ารถ, การล่องเรือ, แพ็คเกจท่องเที่ยวและสถานที่ท่องเที่ยว รวมถึงบริการต่างๆ ผ่านเวิลด์ไวด์เว็บ และตัวแทนท่องเที่ยวทางโทรศัพท์ ซึ่งทางไซต์ใช้ ระบบการจองด้วยคอมพิวเตอร์ที่หลากหลาย เช่น ระบบการจองอย่าง Amadeus หรือ Sabre สำหรับเที่ยวบินและโรงแรม รวมถึงใช้ระบบการจองอย่าง Worldspan และ Pegasus ร่วมกับระบบการจองของโรงแรมเองสำหรับการจองจำนวนมากครั้งละหลายรายการที่ได้ทำสัญญาไว้ นอกจากเว็บไซต์ของสหรัฐอเมริกา ยังมีไซต์ที่ได้รับการแปลเป็นภาษาอื่นเพื่อให้บริการในประเทศต่างๆ ได้แก่ อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย ออสเตรีย เบลเยียม บราซิล แคนาดา จีน เดนมาร์ก ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี ฮ่องกง อินโดนีเซีย อินเดีย ไอร์แลนด์ อิตาลี ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ มาเลเซีย เม็กซิโก เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ สเปน สวีเดน ไต้หวัน ประเทศไทย สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และ เวียดนาม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอ็กซ์พีเดีย (เว็บไซต์) · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มทูเอ็ม

อ็มทูเอ็ม (M2M) คือ นักร้องคู่เพลงป๊อปจากนอร์เวย์ มีสมาชิกได้แก่ Marion Raven และ Marit Larsen สังกัดแอตแลนด์ติคเรคคอร์ต และ วอร์เนอร์มิวสิก ทั้งสองคนได้ออกอัลบั้มร่วมกันทั้งหมด 2 อัลบั้ม ได้แก่ Shades of Purple, The Big Room และยังมีอัลบั้มรวม "Greatest Hits" (ออกวางจำหน่ายหลังจากที่แยกวงโดยต้นสังกัดของพวกเธอ) ก่อนหน้าที่จะมาเป็น M2M พวกเธอยังเคยร้องเพลงตอนเด็กร่วมกัน โดยมีชื่อวงว่า "Hubba Bubba" พวกเธอรู้จักกันตั้งแต่ก่อนพวกเธออายุ 5 ขวบก่อนจะรวมเป็นวงเมื่อกลางปี ค.ศ. 1990 เพลงเปิดตัวของพวกเธอได้แก่ "Don't Say You Love Me" ในปี ค.ศ. 1999 ซึ่งเพลงนี้ได้ประกอบภาพยนตร์โปเกมอน ซึ่งยังใช้เป็นเพลงเปิดตัวของอัลบั้มแรกของพวกเธอด้วย อัลบั้มที่ 2 ได้แก่ Shades of Purple เปิดตัวเมื่อปี ค.ศ. 2000 ในอัลบั้มนี้มีเพลงที่เป็นที่นิยม เช่น "Mirror Mirror", "The Day You Went Away", "Pretty Boy" และ "Everything You Do" อัลบั้มแรกของพวกเธอได้ขึ้นเป็นอันดับ 1 ใน นอร์เวย์ และ หลายๆ ประเทศในเอเชีย และยังติดอันดับ 1 ใน 40 อันดับในหลายๆ ประเท.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอ็มทูเอ็ม · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิร์ด มุงค์

อ็ดเวิร์ด มุงค์ (Edvard Munch; 12 ธันวาคม ค.ศ. 1863 – 23 มกราคม ค.ศ. 1944) ศิลปินชาวนอร์เวย์ที่โด่งดังมากที่สุดคนหนึ่ง เป็นทั้งจิตรกรและช่างภาพพิมพ์ไม้ หินและเอ็ชชิ่ง เขาเป็นหนึ่งในศิลปินลัทธิสัญลักษณ์นิยม และได้รับการกย่องให้เป็นคนสำคัญในการพัฒนาลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ (Expressionism) ในเยอรมันและยุโรปกลาง ผลงานของมุงค์สะท้อนความทุกข์ยากและความขัดแย้งต่าง ๆ ในชีวิต ความทรงจำที่โหดร้ายในวัยเด็กและแผลในจิตใจทำให้เขาแสดงทัศนคติเรื่องความรัก สุราและความเลวร้ายของชีวิตลงในผลงาน ภาพของเขามักแสดงปัญหาสังคมและความกังวลของมนุษย์ เอ็ดเวิร์ด มุงค์โด่งดังในเยอรมนีทันทีที่ผลงานของเขาร่วมแสดงในนิทรรศการ Verein Berliner Künstler ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอ็ดเวิร์ด มุงค์ · ดูเพิ่มเติม »

เอ็ดเวิด กริก

อ็ดเวิด ฮากรัป กริก (ออกเสียงนอร์เวย์: ɛdʋɑɖ ˈhɑːɡərʉp ˈɡrɪɡ, ออกเสียงอังกฤษ: Edvard Hagerup Grieg เอ็ดวาร์ด ฮากรัป กรีก) เป็นคีตกวี และนักเปียโน ชาวนอร์เวย์ เขาเป็นบุคลากรทางดนตรีที่ทรงอิทธิพลในยุคโรแมนติก หลายบทเพลงคลาสสิกของเขาล้วนเคยผ่านหูสาธารณชนทั่วโลกมาแล้ว เขาสามารถทำให้ดนตรีโฟล์กของนอร์เวย์ ก้าวขึ้นมาอยู่ในดนตรีระดับแถวหน้าของโลก บทเพลงที่โด่งดังที่สุดของเขาคือ In the Hall of the Mountain King ซึ่งล้วนเคยผ่านหูผู้คนทั่วโลกมาแล้ว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอ็ดเวิด กริก · ดูเพิ่มเติม »

เอ็นอาร์เค1

อ็นอาร์เค1 เป็นสถานีของประเทศนอร์เวย์ ดำเนินการโดยนอร์เวย์บรอดคาสติ้งคอร์ปอเรชั่น (เอ็นอาร์เค) เป็นสถานีหลัก ทดลองออกอากาศ เมื่อวันที่ 12 มกราคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเอ็นอาร์เค1 · ดูเพิ่มเติม »

เฮเลนา ไมเคิลเซน

ลนา ไมเคิลเซน (Helena Michaelsen) คือนักร้องชาวนอร์เวย์ ในวงเนเธอร์แลนด์ Sahara Dust และ Trail of Tears.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเฮเลนา ไมเคิลเซน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายกุสตาฟ ดยุกแห่งอัปป์ลันด์

้าชายกุสตาฟ ดยุกแห่งอัปป์ลัน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าชายกุสตาฟ ดยุกแห่งอัปป์ลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายราดูแห่งโรมาเนีย

้าชายราดูแห่งโรมาเนีย หรืออย่างไม่เป็นทางการคือ เจ้าชายราดู เจ้าชายพระราชสวามีแห่งโรมาเนีย (Radu, Principe al României) พระราชสมภพเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าชายราดูแห่งโรมาเนีย · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายวัลเดมาร์แห่งเดนมาร์ก

้าชายวัลเดมาร์แห่งเดนมาร์ก พระราชโอรสพระองค์สุดท้อง ใน พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก กับ หลุยส์แห่งเฮสส์-คาสเซิล สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก พระองค์เสกสมรสกับ เจ้าหญิงมารีแห่งออร์เลอ็อง รับพระราชทานพระอิสริยยศเป็น เจ้าหญิงแห่งเดนมาร์ก พระชายา มีพระบุตรร่วมกัน 5 พระองค์ ทั้งนี้ พระองค์ทรงเป็นพระราชอัยกา(ตา)ใน สมเด็จพระราชินีอานาแห่งโรมาเนีย ซึ่งเป็นพระราชธิดาใน เจ้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งเดนมาร์ก พระธิดาพระองค์สุดท้องในพระองค์ เจ้าชายวัลเดมาร์เคยได้รับการทูลเกล้าถวายราชบัลลังก์ของบัลแกเรียและนอร์เวย์จากพระราชบิดา แต่พระองค์ทรงปฏิเสธ ตราอาร์มประจำพระอง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าชายวัลเดมาร์แห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์

้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 3 ธันวาคม ค.ศ. 2005) พระโอรสในเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ และพระองค์อยู่ในลำดับที่สามของการสืบการบัลลังก์นอร์เวย์ต่อจากพระภคินี คือ เจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดร.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าชายสแวร์เรอ มักนุสแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์

้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ (พระนามเต็ม โฮกุน มักนุส, ประสูติ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1973 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์มีพระเชษฐภคินีคือ เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอ.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์

้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์ (Prinsesse Märtha Louise av Norge; ประสูติ: 22 กันยายน ค.ศ. 1971) พระราชธิดาในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เวย์ พระองค์เป็นพระเชษฐภคินีของ เจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ หลังจากการเปลี่ยนแปลงกฎมนเทียรบาลในปี ค.ศ. 1990 ส่งผลให้พระองค์อยู่ในลำดับที่ 4 ของการสืบราชบัลลังก์นอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าหญิงมาร์ธา ลุยเซอแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน

้าฟ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน (Princess Märtha of Sweden, มาร์ธา โซเฟีย โลวิซา แด็กมาร์ ไธรา; 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 - 5 เมษายน พ.ศ. 2497) ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์พระองค์แรกในยุคปัจจุบัน ซึ่งมิได้ทรงเป็นมกุฎราชกุมารีแห่งสวีเดนหรือเดนมาร์ก อีกทั้งยังทรงเป็นเจ้าหญิงแห่งนอร์เวย์มาตั้งแต่แรกประสูติจนกระทั่งถึงการแยกออกตัวออกจากการรวมตัวกันระหว่างประเทศสวีเดนและนอร์เวย์ในปี พ.ศ. 2448 พระองค์เป็นพระชายาและพระญาติชั้นที่สองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เมื่อสมัยที่ยังทรงเป็นมกุฎราชกุมาร เนื่องจากพระชนกและพระชนนีของทั้งสองพระองค์เป็นพี่น้องกัน และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน โดยทรงเกี่ยวข้องเป็นพระอัยยิกาอยู่ทางฝ่ายพระชนกของสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน เนื่องจากทรงมีศักดิ์เป็นพระญาติชั้นที่สองในเจ้าชายกุสตาฟ อดอล์ฟแห่งสวีเดน ดยุคแห่งวาสเตอร์บ็อตเต็น และเป็นพระชนนีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ เจ้าหญิงประสูติเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2444 ณ กรุงสต็อกโฮล์ม โดยเป็นพระธิดาพระองค์รองในเจ้าชายคาร์ล ดยุกแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ และ เจ้าหญิงอิงเงอร์บอร์กแห่งเดนมาร์ก ดัชเชสแห่งเวสเตร์เกิตลันด์ พระอัยกาทางฝ่ายพระชนกคือ สมเด็จพระราชาธิบดีออสการ์ที่ 2 แห่งสวีเดน ส่วนพระอัยกาฝ่ายพระชนนีคือ สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่ 8 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงมาร์กาเรธา พระภคินีองค์ใหญ่ทรงอภิเษกกับเจ้าชายแอ็กเซลแห่งเดนมาร์ก พระญาติชั้นที่หนึ่งทางฝ่ายพระชนนี ส่วนเจ้าหญิงแอสตริดแห่งสวีเดน พระขนิษฐาองค์เล็กทรงอภิเษกสมรสกับสมเด็จพระราชาธิบดีเลโอโพลด์ที่ 3 แห่งเบลเยียม ในขณะที่พระอนุชาพระองค์เล็กคือ เจ้าชายคาร์ลแห่งสวีเดน ดยุคแห่งออสเตอเกิตลานด์ ทรงอภิเษกสมรสต่างฐานันดรศักดิ์กับหญิงสาวสามัญชน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าหญิงมาร์ธาแห่งสวีเดน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์

้าหญิงมาเดอลีนแห่งสวีเดน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์ (พระนามเต็ม เมดเดลีน เธแรส อาเมลี โจเซฟีน);() 10 มิถุนายน พ.ศ. 2525 ณ พระราชวังดร็อตนิงโฮล์ม กรุงสต็อกโฮล์ม) เป็นพระราชธิดาพระองค์ที่สองและพระองค์เล็กสุดในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดนและสมเด็จพระราชินีซิลเวีย พระนามที่สี่ "โจเซฟีน" ของพระองค์มาจากบรรพสตรีนามว่า โยเซฟีนแห่งลอยช์เต็นแบร์ก (ภายหลังเป็นสมเด็จพระราชินีโยเซฟินาแห่งสวีเดนและนอร์เวย์) ธิดาของเออแชน เดอ โบนาปาร์ต พระโอรสในจักรพรรดินีโยเซฟีน พระชายาองค์แรกของนโปเลียน โบนาปาร์ต เจ้าหญิงทรงเข้ารับบัพติศมาเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2525 ณ โบสถ์ของพระราชวังหลวง กรุงสต็อกโฮล์ม โดยมีพระบิดาและพระมารดาทูนหัวคือ เจ้าชายอันเดรียสแห่งแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา วอลเตอร์ ซอมเมอร์ลาธ เจ้าหญิงเบเนดิคเตแห่งเดนมาร์ก และ เจ้าหญิงคริสตินาแห่งสวีเดน ภริยาแห่งมังนุสสัน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าหญิงมาเดอลีน ดัชเชสแห่งเฮลซิงลันด์และเยสตริคลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์

้าหญิงรัญฮิลด์ อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1930 ณ พระราชวังหลวง กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ - สิ้นพระชนม์ 16 กันยายน ค.ศ. 2012 ณ รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล) พระราชธิดาองค์แรกในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงมาร์ธา มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระเชษฐภคินีในเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ และสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์

้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์ (Prinsessan Lilian, Hertiginna av Halland; ประสูติ: 30 สิงหาคม ค.ศ. 1915 — สิ้นพระชนม์: 10 มีนาคม ค.ศ. 2013) มีพระนามเมื่อแรกประสูติว่า ลิลเลียน เมย์ เดวีส์ (Lillian May Davies) เป็นพระชายาในเจ้าชายเบร์ติล ดยุกแห่งฮัลลันด์ พระองค์เป็นพระปิตุลานี (อาสะใภ้) ในสมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟแห่งสวีเดน และเป็นพระมาตุลานี (น้าสะใภ้) ของสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก เจ้าหญิงลิเลียนถือเป็นพระบรมวงศานุวงศ์สวีเดนที่มีพระชันษายืนที่สุดในรัชกาล พระองค์สิ้นพระชนม์ลงในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าหญิงลิเลียน ดัชเชสแห่งฮัลลันด์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงสเตฟานีแห่งโมนาโก

้าหญิงสเตฟานีแห่งโมนาโก เคาน์เตสแห่งโปลีญัก (Stéphanie Marie Elisabeth Grimaldi, ประสูติ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2508 —) พระราชธิดาองค์เล็กในเจ้าชายแรนีเยที่ 3 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก กับเกรซ เคลลี นักแสดงชาวอเมริกันที่มีชื่อเสียง พระขนิษฐาในเจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 แห่งโมนาโก องค์อธิปัตย์ปัจจุบันแห่งโมนาโก และเจ้าฟ้าหญิงการอลีนแห่งฮาโนเวอร์ รัชทายาทแห่งโมนาโก เจ้าหญิงสเตฟานีมีพระปรีชาสามารถในการร้องเพลง การออกแบบชุดว่ายน้ำ และการเดินแบบ นอกจากนี้พระองค์ยังมีความสามารถในการเล่นยิมนาสติก ปัจจุบันพระองค์อยู่ในลำดับที่ 6 ในการสืบราชบัลลังก์โมนาโก หลังจากการเปลี่ยนแปลงกฎมนเทียรบาลVelde, Francois.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าหญิงสเตฟานีแห่งโมนาโก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์

้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ: 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932 ณ วิลลาซูลบักเคิน กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์) พระราชธิดาองค์รองในสมเด็จพระราชาธิบดีโอลาฟที่ 5 แห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงมาร์ธา มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ เป็นพระเชษฐภคินีในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ และเป็นพระขนิษฐาในเจ้าหญิงรัญฮิลด์แห่งนอร์เวย์ พระองค์ถือเป็นเหลนในสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 แห่งสหราชอาณาจักร พระองค์จึงอยู่ในลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้พระองค์ยังเป็นพระญาติชั้นที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร และเป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของสมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม และสมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 แห่งเบลเยียมในสายพระมารดาของพระอง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าหญิงอัสตริดแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์

้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 21 มกราคม ค.ศ. 2004) พระธิดาในเจ้าชายโฮกุ้น มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์‎ กับเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ และพระองค์อยู่ในลำดับที่สองของการสืบการบัลลังก์นอร์เวย์ต่อจากพระบิดา ซึ่งจะได้ครองราชย์เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งนอร์เวย์ในอนาคต.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าหญิงอิงกริด อเล็กซันดราแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงคริสตินาแห่งเดนมาร์ก

้าหญิงคริสตินาแห่งเดนมาร์ก (Christine af Danmark; พฤศจิกายน ค.ศ. 1521 - 10 ธันวาคม ค.ศ. 1590) เป็นเจ้าหญิงเดนมาร์ก ซึ่งได้เป็นดัชเชสพระมเหสีแห่งมิลาน จากนั้นเป็นดัชเชสพระมเหสีแห่งลอแรน พระองค์ทรงทำหน้าที่เป็นผู้สำเร็จราชการแห่งลอแรนในช่วงปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าหญิงคริสตินาแห่งเดนมาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายโทโมฮิโตะ

้าหญิงโนะบุโกะ พระชายาในเจ้าชายโทะโมะฮิโตะ มีพระนามเดิมว่า โนะบุโกะ อะโซ เป็นพระชายาหม้ายของเจ้าชายโทะโมะฮิโตะแห่งมิกะซะ เป็นหลานสาวของชิเงะรุ โยะชิดะและเป็นน้องสาวของทะโร อะโซอดีตนายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าหญิงโนบูโกะ พระชายาในเจ้าชายโทโมฮิโตะ · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์

้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ (ประสูติ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1973, พระนามเดิม เมตเต-มาริต ชีเซม เฮออิบี) พระวรชายาในเจ้าชายโฮกุน มักนุส มกุฎราชกุมารแห่งนอร์เวย์ พระราชโอรสในสมเด็จพระราชาธิบดีฮารัลด์ที่ 5 แห่งนอร์เวย์ กับสมเด็จพระราชินีซอนยาแห่งนอร์เว.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเจ้าหญิงเมตเต-มาริต มกุฎราชกุมารีแห่งนอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เทลล์ฮิม

ทลล์ฮิม (Tell Him) เป็นเพลงคู่ที่ขับร้องจากดีว่าส์สาว บาร์บรา สตรัยแซนด์ และ เซลีน ดิออน วางจำหน่ายเป็นซิงเกิลแรกของเซลีน ดิออนจากอัลบั้ม เล็ตส์ทอล์กอะเบาต์เลิฟ และของบาร์บรา สตรัยแซนด์ในอัลบั้ม ไฮเออร์กราวด์วางจำหน่ายเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2540 เซลีน ดิออนเป็นนักร้องคนแรกที่ได้ขับร้องในงานประกาศรางวัลอะคาเดมี (ออสการ์) ถึง 2 ครั้งในคืนเดียวกัน เพลงแรกเป็นเพลงของเธอเอง "บีคอสยูเลิฟด์มี" อันเป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "อัพโคลสแอนด์เพอร์โซนัล" และอีกเพลงหนึ่ง คือเพลง "ไอไฟนอลลีฟาวด์ซัมวัน" เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง "เดอะไมเรอแฮสทูเฟซ" ซึ่งเดิมขับร้องโดยบาบรา สตรัยซัน แลัไบรอัน อดัม และในคืนวันประกาศรางวัล บาบราไม่ได้เข้าร่วมงาน และนาตาลี โคลมีกำหนดการร้องเพลงของเธอแทน และต่อมาเธอปฏิเสธจนกระทั่ง 2 วันก่อนคืนวันงาน เซลีน ได้รับการขอร้องให้ช่วยร้องเพลงนี้ ซึ่งแม้เธอจะตื่นเต้นแต่ก็ยอมรับคำขอร้องและสามารถร้องเพลงนั้นได้ ไม่กี่วันถัดมา บาบรัยส่งจดหมายฉบับหนึ่งในเซลีนพร้อมดอกไม้ ในจดหมายมีใจความว่า "ฉันได้ดูเทปบันทึกการร้องของคุณแล้ว คุณร้องเพลงของฉันได้ไพเราะมาก และฉันเสียใจที่ไม่ได้อยู่ในห้องฟังคุณ ในโอกาสอยากร้องเพลงด้วยกัน ฉันปรารถนาอย่างมากที่ให้เพลงของคุณชนะการประกวด คุณเป็นนักร้องที่น่าทึ่งจริงๆ" จดหมายฉบับนั้นไม่ได้หายไปโดยปราศจากคำตอบ เรเน่ สามีและผู้จัดการส่วนตัวของเซลีน โทรศัพท์ถึงเดวิด ฟอสเตอร์ และเพลงที่ทั้งสองได้มาร้องคู่กันนั้นก็คือเพลง "เทลล์ฮิม" เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2540 "เทลล์ฮิม" ได้ออกเผยแพร่ทางวิทยุในสหรัฐอเมริกาเป็นครั้งแแรก เพลงนี้ได้ออกจากสถานีวิทยุในสถานีเพลงร่วมสมัยที่ไม่ใช่ของผู้ใหญ่ แต่กลับได้รับความนิยมอย่างมากในสถานีวิทยุของผู้ใหญ่ โซนี่มิวสิกเอ็นเตอร์เทนเมนท์ยกเลิกการส่งเพลงนี้เข้าชาร์ตสหรัฐอเมริกา เพราะมีการเปิดไม่บ่อย และไม่พอที่จะเข้าชาร์ตอันดับต้นๆ แต่อย่างไรก็ตามเพลงนี้ได้รับความนิยมอย่างมากนอกสหรัฐอเมริกา มิวสิกวิดีโอถ่ายทำโดย Scott Floyd Lochmus ออกเผยแพร่ครั้งแรกทางช่องวีเอชวันเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ซึ่งในภายหลังได้บรรจุในเพลงพิเศษของดีวิดีโอเกอร์ดูสตาด ฉบับเรดิโออีดิท และฉบับในอัลบั้มคือเพลงเดียวกัน "เทลล์ฮิม" ขึ้นสู่ชาร์ตอันดับ 1 ในเนเธอร์แลนด์, อันดับ 2 ในไอร์แลนด์, อันดับ 3 ในเบลเยี่ยม, ยุโรป, ฝรั่งเศส และสหราชอาณาจักร, อันดับ 4 ในอิตาลี และสวิตเซอร์แลนด์ และขึ้นอันดับ 1 ใน 10 ในหลายประเทศ ซิงเกิลนี้ออกจำหน่ายทั่วโลก ได้รับพลาตตินัมในเนเธอร์แลนด์ (75,000แผ่น), เบลเยี่ยม (50,000 แผ่น) และโกลด์ ในสหราชอาณาจักร (400,000 แผ่น), ฝรั่งเศส (400,000 แผ่น), ออสเตรเลีย (35,000 แผ่น), สวิตเซอร์แลนด์ (25,000 แผ่น) และนอร์เวย์ (10,000 แผ่น) "เทลล์ฮิม" ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแกรมมี่ สาขาดนตรีป๊อปร้องคู่ยอดเยี่ยม ประจำปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเทลล์ฮิม · ดูเพิ่มเติม »

เทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต

ทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต หรือเรียกโดยทั่วไปว่า การประกวดเพลงโซพอต คือการประกวดเพลงประจำปี ที่จัดขึ้นในกดัญสก์ (1961–1963) และโซพอต (1964–2009, 2012–14) โดยเครือข่ายองค์การวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์นานาชาติหรืออินเตอร์วิชันเป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยประเทศที่ร่วมเข้าแข่งขันจะเลือกเพลงและนักร้อง ประเทศละหนึ่งชุดแสดงสดทางโทรทัศน์ โดยเพลงที่เข้าประกวดต้องเป็นเพลงที่แต่งขึ้นมาใหม่ทั้งเนื้อร้องและทำนอง โดยประเทศที่สามารถส่งเข้าประกวดได้นั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศก็ได้ และเปิดกว้างให้ประเทศทั่วโลกสามารถส้งเข้าประกวดได้ จนได้ชื่อรายการเล่นว่า ยูโรวิชันโลก หรือ World Song Contest.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเทศกาลเพลงนานาชาติโซพอต · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลบุสเครุด

เทศมณฑลบุสเครุด (Buskerud) เป็นเทศมณฑลในประเทศนอร์เวย์ อยู่ติดกับอาแคร์สหุส ออสโล ออปป์ลันด์ ซองน์อ็อกฟยอร์ดาเน ฮอร์ดาลันด์ เทเลมาร์ก และ เวสต์ฟอลด์ ที่ตั้งเขตการปกครองอยู่ที่เมืองดรัมเมน หมวดหมู่:ประเทศนอร์เวย์.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเทศมณฑลบุสเครุด · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลฟินน์มาร์ก

ทศมณฑลฟินน์มาร์ก หรือ ฟินน์มาร์ก (Finnmark) เป็นเทศมณฑลปกครองตนเองในทิศตะวันออกเฉียงเหนือสุดของประเทศนอร์เวย์ ในทิศตะวันตกใกล้กับประเทศฟินแลนด์ ส่วนทิศใต้ติดกับประเทศรัสเซีย และทิศตะวันออกติดกับทะเลนอร์วีเจียน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเทศมณฑลฟินน์มาร์ก · ดูเพิ่มเติม »

เทศมณฑลลอสแอนเจอลิส

ทศมณฑลลอสแองเจอลิส หรือชื่อทางการว่า เคาน์ตีออฟลอสแองเจอลิส, เป็นเทศมณฑลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในสหรัฐ ซึ่งมีมากถึง 10 ล้านกว่าคน จากการสำมโนในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเทศมณฑลลอสแอนเจอลิส · ดูเพิ่มเติม »

เขตเวลา

ตเวลา เขตเวลา คือ พื้นที่บนผิวโลกที่ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน โดยปกติหมายถึง เวลาท้องถิ่นประยุทธ์บอก เราใช้เวลาสุริยคติท้องถิ่น (สังเกตจากดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนท้องฟ้า) ทำให้เวลาแต่ละเมืองที่ติดกันแตกต่างกันเล็กน้อย เมื่อมีการพัฒนาระบบโทรคมนาคม และการขยายตัวของการขนส่งทางรถไฟ ความแตกต่างเริ่มกลายเป็นปัญหาทีละน้อย เขตเวลามีส่วนช่วยแก้ปัญหาโดยกำหนดให้ตั้งนาฬิกาให้ตรงกันตามเวลาสุริยคติกลางของเขต โดยทั่วไปเขตเวลาจะตั้งอยู่บนเส้นเมริเดียนตามลองจิจูดต่างๆ ซึ่งจะมีช่วงห่างกัน 15° ส่งผลให้เขตเวลาที่อยู่ติดกันมีเวลาต่างกันอยู่ 1 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติไม่ได้แบ่งเขตตามเวลาที่ต่างกัน 1 ชั่วโมง จากรูปด้านล่างจะเห็นได้ว่าแต่ละเขตเวลามีรูปร่างไม่แน่นอน เป็นเพราะการคำนึงถึงแนวเขตรัฐ ประเทศ หรือเขตการปกครองอื่น ๆ ทุกๆ เขตเวลามีความสัมพันธ์กับเวลาพิกัดสากล จุดอ้างอิงของเขตเวลาคือเส้นเมริเดียนแรก (ลองจิจูด 0°) ซึ่งพาดผ่าน Royal Greenwich Observatory ในกรีนิช (กรีนิช) กรุงลอนดอนแห่งสหราชอาณาจักร ด้วยเหตุนี้จึงมักพบการใช้คำว่า เวลามาตรฐานกรีนิช เพื่อแสดงเวลาพื้นฐานซึ่งมีความสัมพันธ์กับเขตเวลาต่าง ๆ อย่างไรก็ตามทุกวันนี้ใช้ UTC เป็นหน่วยเวลาอย่างเป็นทางการ ซึ่งมีความแตกต่างจากวิธีการดั้งเดิมของกรีนิชที่ใช้การอ้างอิงเวลาตามหลักดาราศาสตร์ ทั้งนี้เวลา GMT (UTC) จะเป็นเวลาประจำกรีนิชเฉพาะในช่วง 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ถึงเวลา 01:00 UTC ของวันอาทิตย์สุดท้ายของเดือนมีนาคม ส่วนในช่วงเวลาที่เหลือของปีเวลาของกรีนิชจะเป็น UTC+1 ซึ่งในประเทศอังกฤษจะเรียกเวลานี้ว่า (BST - British Summer Time) ตัวอย่างการแสดงเวลาท้องถิ่นโดยใช้เวลาพิกัดสากล ณ เวลา 11.00 UTC.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเขตเวลา · ดูเพิ่มเติม »

เขตเศรษฐกิจยุโรป

เขตเศรษฐกิจยุโรป หรืออีอีเอ (European Economic Area หรือ EEA) เป็นผลจากข้อตกลงระหว่างรัฐสมาชิกของสมาคมการค้าเสรียุโรป (เอฟตา) ประชาคมยุโรป (อีซี) และสหภาพยุโรป (อียู) ทำให้ประเทศสมาชิกของเอฟตาสามารถเข้าร่วมตลาดร่วมกับสมาชิกสหภาพยุโรปได้ สมาชิกของเขตเศรษฐกิจยุโรปได้แก่ 27 รัฐสมาชิกอียูและอีอีซี และอีกสามประเทศจากเอฟตา ได้แก่ ไอซ์แลนด์ ลิกเตนสไตน์ และนอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์เป็นสมาชิกของเอฟตา แต่ไม่เข้าร่วมเขตเศรษฐกิจยุโรปนี้ ขเตเศรษฐกิจยุโรป ขเตเศรษฐกิจยุโรป ขเตเศรษฐกิจยุโรป.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเขตเศรษฐกิจยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

เดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์

อะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์ (The Prismatic World Tour) เป็นทัวร์คอนเสิร์ตครั้งที่สามของนักร้องชาวอเมริกัน เคที เพร์รี เพื่อส่งเสริมอัลบั้มลำดับที่สี่ ปริซึม (2013) ทัวร์เริ่มวันที่ 7 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเดอะพริสมาติกเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์

อะมูนไชน์จังเกิลทัวร์ (Moonshine Jungle Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 2 โดย นักร้องชาวอเมริกัน บรูโน มาร์ส โดยจัดทั้งหมด 154 รอบ โดยเกี่ยวโยงกับอัลบั้มที่เกี่ยวข้อง อันออร์โธดอกซ์จูกบอกซ์ (2012) หลังจากที่มีการประกาศไว้วันที่ 10 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเดอะมูนไชน์จังเกิลทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสเปกทรี (เพลง)

อะสเปกทรี (The Spectre) เป็นเพลงของโปรดิวเซอร์เพลง,ดีเจ ชาวนอร์เวย์ แอลัน วอล์กเกอร์ ประกอบด้วยเสียงร้องที่ไม่ได้รับการรับรอง โดยนักประพันธ์เพลง และโปรดิวเซอร์ชาวนอร์เวย์ เจสเปอร์ โบร์เกน เรียบเรียงโดย แอลัน วอล์กเกอร์,มาร์คัส อาร์นเบคค์,แอนเดอร์ส ฟอร์เอ็น,ลาร์ส คริสเตียน โรสเนสส์ และเจสเปอร์ โบร์เกน พร้อมด้วยผลิต,ประพันธ์คำร้องโดยผู้เรียบเรียงทั้งหมดรวมทั้ง กันนาร์ กรีฟ และทอมมี่ ลาเวอร์ดิ เพลงนี้ออกจำหน่ายในวันที่ 15 กันยายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเดอะสเปกทรี (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

เดอะแลนซิต

อะแลนซิต (The Lancet) เป็นวารสารการแพทย์ทั่วไปรายสัปดาห์ที่ทบทวนโดยผู้รู้เสมอกัน ที่เก่าแก่ที่สุดและรู้จักกันดีที่สุดวารสารหนึ่ง โดยมีการกล่าวว่า เป็นวารสารการแพทย์ที่มีเกียรติมากที่สุดวารสารหนึ่งของโลก ในปี 2557 เดอะแลนซิต จัดว่ามีอิทธิพลเป็นที่สองในบรรดาวารสารการแพทย์ทั่วไป โดยมีปัจจัยกระทบที่ 45 ต่อจากวารสารการแพทย์นิวอิงแลนด์ ที่มีปัจจัยกระทบที่ 56 หน้าต่างแบบแลนซิตที่โบสถ์แห่งหนึ่งในสหราชอาณาจักร น.ทอมัส เวคลีย์ ศัลยแพทย์ชาวอังกฤษ ได้จัดตั้งวารสารขึ้นในปี 2366 (ค.ศ. 1823) โดยตั้งชื่อวารสารตามเครื่องมือผ่าตัดที่เรียกว่า "lancet" (มีดปลายแหลมสองคมขนาดเล็กสำหรับผ่าตัด) และตามชื่อส่วนของสถาปัตยกรรมกอทิกแบบอังกฤษที่เป็นช่องหน้าต่างโค้งยอดแหลม ซึ่งหมายถึง "แสงสว่างแห่งปัญญา" หรือ "เพื่อให้แสงสว่างเข้ามา" เดอะแลนซิต พิมพ์บทความงานวิจัยดั้งเดิม บทความปริทัศน์ บทความบรรณาธิการ งานปฏิทัศน์หนังสือ การติดต่อทางจดหมาย ข่าว และรายงานเค้ส และมีสำนักพิมพ์แอ็ลเซอเฟียร์เป็นเจ้าของตั้งแต่ปี 2534 หัวหน้าบรรณาธิการคือนายริชาร์ด ฮอร์ตัน ตั้งแต่ปี 2538 วารสารมีสำนักงานบรรณาธิการในนครลอนดอน นิวยอร์ก และปักกิ่ง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเดอะแลนซิต · ดูเพิ่มเติม »

เดนมาร์ก–นอร์เวย์

นมาร์ก-นอร์เวย์ (Dänemark-Norwegen, Danmark-Norge, Denmark-Norway) เป็นรัฐร่วมประมุขที่เกิดจากการรวมตัวระหว่างประเทศเดนมาร์กและนอร์เวย์ และรวมทั้งดินแดนอิสระไอซ์แลนด์ของนอร์เวย์ หลังจากการล่มสลายของสหภาพคาลมาร์แล้ว สองราชอาณาจักรก็ทำการตกลงรวมกันเป็นราชอาณาจักรร่วมประมุขใหม่ในปี ค.ศ. 1536 และรุ่งเรืองมาจนถึง ค.ศ. 1814 บางครั้งคำว่า "ราชอาณาจักรเดนมาร์ก" ก็จะหมายถึงทั้งสองอาณาจักรระหว่างปี ค.ศ. 1536 จนถึง ค.ศ. 1814 เพราะอำนาจทางการเมืองและทางการเศรษฐกิจมีศูนย์กลางอยู่ที่โคเปนเฮเกนในเดนมาร์ก คำนี้ครอบคลุมส่วนที่เป็น "ราชอาณาจักร" โอลเดนบูร์กของปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเดนมาร์ก–นอร์เวย์ · ดูเพิ่มเติม »

เดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์

อนเสิร์ตทัวร์เดนเจอรัส (Dangerous World Tour) เป็นคอนเสิร์ตทัวร์เดี่ยวครั้งที่ 2 โดย นักร้องชาวอเมริกัน ไมเคิล แจ็กสัน สนับสนุนโดย เป๊ปซี่ โคล่า โดยจัดทั้งหมด 70 รอบ ซึ่งผลกำไรทั้งหมดจะถูกบริจาคให้กับองค์กรการกุศลต่าง ๆ รวมทั้งแจ็คสันของตัวเอง มูลนิธิฮีลเดอะเวิลด์ โดยเริ่มแสดงตั้งแต่วันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1992 - 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1993 ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1993 แจ็คสันสิ้นสุดทัวร์ลง เนื่องจากในขณะที่เขาประกาศความเจ็บป่วยที่ต้องรักษาในโรงพยาบาล นักแสดงกลายเป็นพึ่งพายาแก้ปวด,มีความทุกข์ทรมานจากการขาดน้ำ,ไมเกรน และบาดเจ็บ เดิมที่คอนเสิร์ตทัวร์เดนเจอรัส ควรจะทำงานต่อไปจนกว่าถึงวันคริสต์มาส ค.ศ. 1993.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเดนเจอรัสเวิลด์ทัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ

หรียญรางวัลสำหรับการแข่งขันเคมีโอลิมปิก ครั้งที่ 29 ที่มอนทรีออล ประเทศแคนาดา เคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Chemistry Olympiad: IChO) เป็นการแข่งขันเคมีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา และเป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการ โดยเริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกที่กรุงปราก ประเทศเชโกสโลวาเกีย ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเคมีโอลิมปิกระหว่างประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

เคลพี

ลพีในเกมเมกามิเทนเซย์ วาดโดยคาซึมะ คาเนโกะ เคลพี (Kelpie) ปีศาจจำพวกพรายน้ำในนิทานพื้นบ้านของสกอตแลนด์ มีลักษณะเป็นม้าสีขาวหรือกึ่งคนกึ่งม้า สิงสถิตย์อยู่ยังแม่น้ำ, ทะเลสาบ หรือ หนองน้ำ แหล่งน้ำจืดขนาดใหญ่ เคลพี จะล่อลวงคนที่หยุดพักที่ริมน้ำที่มันอาศัยอยู่ ขณะที่หยุดพักดื่มน้ำ มันจะปรากฏตัวเป็นม้าสีขาวที่สงบเสงี่ยม แต่เมื่อขึ้นขี่หลังมัน มันจะพาดำดิ่งสู่ก้นน้ำทันที จนบุคคลนั้นจมน้ำตาย ซึ่งเคลพีจะกินซากศพจนเหลือเพียงหัวใจหรือตับไว้ แต่ก็มีเรื่องของเคลพีที่แปลงร่างเป็นมนุษย์เพื่อแต่งงานกับหญิงสาว เคลพี ยังมีชื่อเรียกอื่น ๆ ตามท้องถิ่นต่าง ๆ เช่น นักเกิล (Nuggle) ชูพิลที (Shoopiltee) โยเกิล (Njogel) แทงกี (Tangi) ในตำนานสแกนดิเนเวียเรียกว่า Bäckahästen (แปลว่า ม้าลำธาร) ในนอร์เวย์เรียก nøkken (หมายถึง พรายน้ำ) เคลพี มีลักษณะคล้ายคลึงกับเซนทอร์, ลิมนาเดส และสคิลลา ในเทพปกรณัมกรีก และม้าบ้อง ในคติความเชื่อพื้นบ้านของล้านน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเคลพี · ดูเพิ่มเติม »

เคานัส

นัส (Kaunas) เป็นเมืองที่มีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศลิทัวเนีย และเป็นเมืองหลวงของเทศมณฑลเคานัส เคานัสเคยเป็นเมืองหลวงชั่วคราวของประเทศลิทัวเนีย ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตั้งอยู่ตรงที่บรรจบกันของแม่น้ำเนริส (Neris River) และแม่น้ำเนมาน (Neman River) ปราสาทเคานั.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเคานัส · ดูเพิ่มเติม »

เปียโนคอนแชร์โต (กริก)

ปียโนคอนแชร์โตในบันไดเสียง เอ ไมเนอร์, โอปุสที่ 16 ผลงานประพันธ์ของเอ็ดเวิด กริก นักประพันธ์ชาวนอร์เวย์ ในปี..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเปียโนคอนแชร์โต (กริก) · ดูเพิ่มเติม »

เนโท

องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty Organization; Organisation du traité de l'Atlantique nord) ย่อว่า เนโท (NATO) หรือ ออต็อง (OTAN) หรือ นาโต (ตามที่คนไทยเรียก) เป็นพันธมิตรทางทหารระหว่างรัฐบาล ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 เมษายน..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และเนโท · ดูเพิ่มเติม »

ISO 3166-2:SJ

หุบเขาแอดเว่น (Adventdalen) ในสฟาลบาร์ ISO 3166-2:SJ เป็นรายการรหัสสำหรับสฟาลบาร์และยานไมเอนในมาตรฐาน ISO 3166-2 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐาน ISO 3166 เผยแพร่โดยองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO) ซึ่งได้กำหนดรหัสสำหรับชื่อของเขตการปกครองระดับท้องถิ่นและกำหนดรหัสสำหรับทั้งประเทศด้วย ISO 3166-1 สฟาลบาร์และยานไมเอนไม่ได้อยู่ในฐานะเขตปกครองแต่เป็นดินแดนหนึ่งของนอร์เวย์ที่มีขอบเขตอำนาจศาลและกฎหมายต่างกัน เขตการปกครองระดับรองลงไปนอกจากนี้ของสฟาลบาร์และยานไมเอนจะอยู่ภายใต้รายการรหัสมาตรฐานของนอร์เวย์ (ISO 3166-2:NO) คือรหัส NO-21 สำหรับสฟาลบาร์ และรหัส NO-22 สำหรับยานไมเอน ทำให้ปัจจุบันไม่มีรหัสมาตรฐาน ISO 3166-2 สำหรับสฟาลบาร์ และยานไมเอน.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และISO 3166-2:SJ · ดูเพิ่มเติม »

Kitchen Stories

Kitchen Stories (Salmer fra Kjøkkenet) เป็นภาพยนตร์นอร์เวย์ในปี 2003 โดย Bent Hamer.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และKitchen Stories · ดูเพิ่มเติม »

SAS

SAS หรือ เอสเอเอส สามารถหมายถึง.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และSAS · ดูเพิ่มเติม »

UTC+02:00

UTC+02:00 เป็นเขตเวลาใช้ใน: UTC +2 สีน้ำเงิน (เดือนธันวาคม), สีส้ม (มิถุนายน), สีเหลือง (ตลอดทั้งปี), สีน้ำเงินอ่อน - พื้นที่ทางทะเล.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และUTC+02:00 · ดูเพิ่มเติม »

Wiki Loves Monuments

Wiki Loves Monuments (WLM) เป็นการแข่งขันประกวดภาพถ่ายในระดับนานาชาติประจำปี ในเดือนกันยายน โดยสมาชิกประชาคมวิกิพีเดีย ผู้เข้าร่วมจะถ่ายถ่ายภาพโบราณสถานและมรดกโลกในพื้นที่ของตน และอัปโหลดเข้าสู่วิกิมีเดียคอมมอนส์ วัตถุประสงค์ของการแข่งขันนี้คือเพื่อเน้นสถานที่สำคัญของประเทศที่เข้าร่วม การแข่งขัน Wiki Loves Monuments ครั้งแรกจัดเมื่อ..

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และWiki Loves Monuments · ดูเพิ่มเติม »

.no

.no เป็นโดเมนอินเทอร์เน็ตระดับบนสุดตามรหัสประเทศ (ccTLD) สำหรับประเทศนอร์เวย์ เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2530.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ.no · ดูเพิ่มเติม »

1 กุมภาพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 32 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 333 วันในปีนั้น (334 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ1 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

1 ตุลาคม

วันที่ 1 ตุลาคม เป็นวันที่ 274 ของปี (วันที่ 275 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 91 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ1 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 E4 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวที่อยู่ระหว่าง 10 กม. และ 100 กม.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ1 E4 m · ดูเพิ่มเติม »

1 E7 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวตั้งแต่ 10 Mm (10,000 กม.) ถึง 100 Mm (100,000 กม.) (106 และ 107 ม.) ---- ความยาวน้อยกว่า 107 เมตร ----.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ1 E7 m · ดูเพิ่มเติม »

10 มิถุนายน

วันที่ 10 มิถุนายน เป็นวันที่ 161 ของปี (วันที่ 162 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 204 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ10 มิถุนายน · ดูเพิ่มเติม »

12 กรกฎาคม

วันที่ 12 กรกฎาคม เป็นวันที่ 193 ของปี (วันที่ 194 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 172 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ12 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

17 พฤษภาคม

วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นวันที่ 137 ของปี (วันที่ 138 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 228 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ17 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

21 กุมภาพันธ์

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 52 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 313 วันในปีนั้น (314 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ21 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

25 กันยายน

วันที่ 25 กันยายน เป็นวันที่ 268 ของปี (วันที่ 269 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 97 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ25 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

7 พฤษภาคม

วันที่ 7 พฤษภาคม เป็นวันที่ 127 ของปี (วันที่ 128 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 238 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ7 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

7 มีนาคม

วันที่ 7 มีนาคม เป็นวันที่ 66 ของปี (วันที่ 67 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 299 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ7 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

9 เมษายน

วันที่ 9 เมษายน เป็นวันที่ 99 ของปี (วันที่ 100 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 266 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ประเทศนอร์เวย์และ9 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Kingdom of NorwayNoregNorgeNorwayราชอาณาจักรนอร์เวย์นอร์เวย์นอรเวย์

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »