โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ทะเลแคริบเบียน

ดัชนี ทะเลแคริบเบียน

แผนทีภูมิภาคอเมริกากลางและทะเลแคริบเบียน ทะเลแคริบเบียนมองจากอวกาศ (ด้านบนซ้าย) ทะเลแคริบเบียน (Caribbean Sea, หรือ; Mar Caribe) เป็นทะเลเขตร้อนในซีกโลกตะวันตก ส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของอ่าวเม็กซิโก ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของแผ่นเปลือกโลกแคริบเบียน โดยทางทิศใต้จดทวีปอเมริกาใต้ ทางทิศตะวันตกและทิศใต้จดประเทศเม็กซิโกและอเมริกากลาง และทางทิศเหนือและทิศตะวันออกจดหมู่เกาะแอนทิลลีส ได้แก่ เกาะคิวบา เกาะฮิสปันโยลา เกาะจาเมกา และเกาะเปอร์โตริโกในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีสทางทิศเหนือ ส่วนหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (เช่น เกาะแองกวิลลา เกาะดอมินีกา เกาะเซนต์ลูเซีย) อยู่ทางทิศตะวันออก พื้นที่ทั้งหมดของทะเลแคริบเบียน หมู่เกาะต่าง ๆ ในทะเลนี้ และชายฝั่งที่ติดต่อกัน รวมเรียกกันในชื่อภูมิภาคแคริบเบียน ทะเลแคริบเบียนเป็นหนึ่งในทะเลที่ใหญ่ที่สุด มีเนื้อที่ประมาณ 2,754,000 ตารางกิโลเมตร (1,063,000 ตารางไมล์) จุดที่ลึกที่สุดของทะเลนี้คือ Cayman Trough อยู่ระหว่างคิวบากับจาเมกา ที่ความลึก 7,686 เมตร (25,220 ฟุต) ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ชายฝั่งแคริบเบียนมีอ่าวอยู่หลายแห่ง เช่น อ่าวเวเนซุเอลา อ่าวดาริเอน อ่าวโมสกิโตส และอ่าวฮอนดูรั.

161 ความสัมพันธ์: บลูพอร์ตบาร์บูดาบาร์รังกิยาบาโฮนวยโวแบงก์ฟอจด์ฟรอมเดอะเลิฟออฟลิเบอร์ทีฟุตบอลทีมชาติจาเมกาฟีลิปส์บืร์คพ.ศ. 2035พ.ศ. 2046พ.ศ. 2526พลิมัท (มอนต์เซอร์รัต)พะยูนแมนนาทีพายุเฮอร์ริเคนเออร์มากัวเดอลุปการากัสการตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อนกือราเซากูมานาภาษาสเปนภูเขาไฟเปอเลมอนต์เซอร์รัตมันเสามามโบมาร์ตีนิกยุทธการแห่งแอตแลนติกรัฐกินตานาโรรัฐอารากวารัฐนวยวาเอสปาร์ตารายชื่อทะเลรายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทรรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมดรายการสถิติพายุหมุนเขตร้อนรถไฟใต้ดินซานโตโดมิงโกร่องลึกก้นสมุทรฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2556ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559ลิโอเนล เมสซิวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบาวิลเลมสตัดสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสหภาพฟุตบอลแคริบเบียนสหรัฐสาธารณรัฐโดมินิกันสาคู (ไม้ล้มลุก)สถานพักตากอากาศสงครามปฏิวัติอเมริกาหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ดหมู่เกาะบริติชเวอร์จินหมู่เกาะรูปโค้งหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ...หมู่เกาะเคย์แมนหมู่เกาะเติกส์และเคคอสอะทอลล์อัสแซสซินส์ครีด 4: แบล็กแฟล็กอารูบาอาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่าอินทรีหัวขาวอ่าวฮอนดูรัสอ่าวปานามาอ่าวเวเนซุเอลาจังหวัดอัตลันตีดาจังหวัดซันอันเดรสและโปรบีเดนเซียจันทน์เทศหอมธงชาติกัวเตมาลาธงชาติแอนติกาและบาร์บูดาถั่วผีทะเลทรายดำทะเลสาบนิการากัวดิอะเมซิ่งเรซดิอะเมซิ่งเรซเอ็นดิสคัฟเวอรีแชนแนลดินแดนของสหรัฐอเมริกาคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสคลองเดินเรือสมุทรความแพร่หลายของภาษาสเปนคอคอดปานามาตราแผ่นดินของคอสตาริกาตราแผ่นดินของเซนต์คิตส์และเนวิสตะขบฝรั่งซาบาซานฮวนซานตามาร์ตาซานโตโดมิงโกซินต์มาร์เตินซินต์เอิสตาซียึสประเทศบาร์เบโดสประเทศบาฮามาสประเทศกัวเตมาลาประเทศฝรั่งเศสประเทศสเปนประเทศฮอนดูรัสประเทศจาเมกาประเทศดอมินีกาประเทศคอสตาริกาประเทศคิวบาประเทศปานามาประเทศนิการากัวประเทศแอนติกาและบาร์บูดาประเทศโคลอมเบียประเทศเบลีซประเทศเกรเนดาประเทศเม็กซิโกประเทศเฮติประเทศเซนต์ลูเชียประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสปริศนาสมบัติอัจฉริยะปลากระเบนชายธงปลาวาฮูปลาหูช้างปลาฉลามเสือปูเสฉวนบกนิวสเปนแมงมุมทะเลแม่น้ำมักดาเลนาแองกวิลลาแอ่งพายุหมุนเขตร้อนแผ่นดินไหวในเกาะสวาน พ.ศ. 2561แซ็ง-บาร์เตเลมีใบระบาดโยทะกาโรบินสัน ครูโซโฌเซฟีน เดอ โบอาร์แนโจรสลัดเบลีซซิตีเบลีซแบร์ริเออร์รีฟเบอร์มิวดาเฟรนช์เกียนาเกาะฮิสปันโยลาเกาะนาแวสซาเกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกาเกาะเซนต์มาร์ตินเร็กเกเสาวรสเส้นขนานที่ 20 องศาเหนือเส้นเมริเดียนที่ 62 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 63 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 64 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 66 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 67 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 82 องศาตะวันตกเส้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันตกเห็บโคเอ็มเอส โอเอซิสออฟเดอะซีส์เคราดำเซร์รานียาแบงก์เซนต์จอนส์เซนต์ครอยเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลาเซนต์คิตส์เนวิสเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส1 E3 m10 พฤษภาคม25 ตุลาคม3 มกราคม3 ธันวาคม ขยายดัชนี (111 มากกว่า) »

บลูพอร์ต

ลูพอร์ต หัวหิน รีสอร์ท มอลล์ เป็นศูนย์การค้าขนาดกลางในประเทศไทย บริหารงานโดยกลุ่มเดอะมอลล์ ร่วมกับบริษัท พราว เรียลเอสเตท จำกัด ตั้งอยู่ตรงข้ามโรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล หัวหิน รีสอร์ท ในพื้นที่ตำบลหัวหิน อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กำหนดเปิดให้บริการในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2559 นับเป็นศูนย์การค้าแห่งที่สองของกลุ่มเดอะมอลล์ ที่เปิดให้บริการในจังหวัดภูมิภาค นับตั้งแต่การเปิดให้บริการศูนย์การค้าเดอะมอลล์ โคราช ใน..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและบลูพอร์ต · ดูเพิ่มเติม »

บาร์บูดา

บาร์บูดา (Barbuda) เป็นเกาะในทะเลแคริบเบียนตะวันตก ส่วนหนึ่งของประเทศแอนติกาและบาร์บูดา เกาะมีประชากรราว 1,638 คน (ค.ศ. 2011) ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเมืองคอดริงตัน (Codrington) หมวดหมู่:ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา หมวดหมู่:เลสเซอร์แอนทิลลีส.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและบาร์บูดา · ดูเพิ่มเติม »

บาร์รังกิยา

ร์รังกิยา (Barranquilla) เป็นเมืองท่าอุตสาหกรรมและเทศบาล ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศโคลอมเบีย ใกล้กับทะเลแคริบเบียน เป็นเมืองหลักของจังหวัดอัตลันติโก เป็นเมืองท่าและเมืองอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดในเมืองท่าในเขตแคริบเบียนของโคลอมเบีย มหานครมีประชากร 1,885,500 คน ในปี..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและบาร์รังกิยา · ดูเพิ่มเติม »

บาโฮนวยโวแบงก์

นวยโวแบงก์ (Bajo Nuevo Bank) เป็นเกาะของประเทศโคลอมเบีย ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน บาโฮนวยโวแบงก์เป็นเกาะที่มีข้อพิพาททางการปกครอง โดยที่นี่เป็นดินแดนที่โคลอมเบีย จาเมกา นิการากัว และสหรัฐอเมริกาต่างอ้างสิทธิ์ ที่นี่เป็นเกาะที่มีขนาดเล็ก อยู่ในแนวปะการัง ที่มีขนาดเล็กบาง เกาะเล็กเกาะน้อย ที่ปกคลุมด้วย หญ้า ที่ตั้งอยู่ในทิศตะวันตก ทะเลแคริบเบียน ที่ 15 ° 53 'n 78 ° 38 'w พิกัด: 15 ° 53 'n 78 ° 38' กับ ประภาคาร โลว เคย์ ที่ 15 ° 51 'n 78 ° 38'.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและบาโฮนวยโวแบงก์ · ดูเพิ่มเติม »

ฟอจด์ฟรอมเดอะเลิฟออฟลิเบอร์ที

ลงชาติสาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโกมีชื่อว่า ฟอจด์ฟรอมเดอะเลิฟออฟลิเบอร์ที (Forged from the love of liberty, บุกบั่นจากความรักแห่งเสรีภาพ) เดิมเพลงนี้เป็นเพลงชาติของสหพันธรัฐเวสต์อินดิส (พ.ศ. 2501 - 2505) ต่อมาเมื่อมีการยุบเลิกสหพันธรัฐดังกล่าวในปี พ.ศ. 2505 ประเทศตรินิแดดและโตเบโกซึ่งเป็นประเทศเกิดใหม่จากสหพันธรัฐแห่งนี้จึงรับเอาเพลงนี้มาใช้เป็นเพลงชาติของตนสืบมาจนถึงปัจจุบัน เพลงนี้ประพันธ์เนื้อร้องและทำนองโดย แพททริก คาสเทนจ์ (Patrick Castagne).

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและฟอจด์ฟรอมเดอะเลิฟออฟลิเบอร์ที · ดูเพิ่มเติม »

ฟุตบอลทีมชาติจาเมกา

ฟุตบอลทีมชาติจาเมกา คือทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศจาเมกา ในการแข่งขันฟุตบอลระหว่างชาติ ควบคุมและบริหารงานโดยสหพันธ์ฟุตบอลจาเมกา หรือ เจเอฟเอฟ เป็นทีมชาติที่มีผลงานดีอันดับต้นๆทีมหนึ่งในบรรดาทีมชาติที่ตั้งอยู่ในแถบทะเลแคริบเบียนและโซนคอนคาแคฟ ทีมชาติจาเมกามีผลงานชนะเลิศในการแข่งขันฟุตบอลแคริบเบียน คัพ ถึง 6 สมัย โดยในการแข่งขันแคริบเบียน คัพ 2017 ที่เกาะมาร์ตีนิก ทีมชาติจาเมกาสามารถเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศ ก่อนจะแพ้ให้กับฟุตบอลทีมชาติกือราเซา นอกจากนี้ทีมชาติจาเมกายังเป็นชาติเดียวจากทีมชาติกลุ่มประเทศในแถบทะเลแคริบเบียนที่สามารถเข้าไปถึงรอบชิงชนะเลิศในการแข่งขันคอนคาแคฟ โกลด์คัพ โดยแพ้ในรอบชิงชนะเลิศให้กับทีมชาติเม็กซิโก ในคอนคาแคฟ โกลด์คัพ 2015 ที่เมืองฟิลาเดลเฟีย สหรัฐอเมริกา สำหรับในการแข่งขันฟุตบอลโลก จาเมกาเคยผ่านเข้าไปเล่นในรอบสุดท้าย 1 ครั้ง ในฟุตบอลโลก 1998 ที่ประเทศฝรั่ง.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและฟุตบอลทีมชาติจาเมกา · ดูเพิ่มเติม »

ฟีลิปส์บืร์ค

ฟีลิปส์บืร์ค (Philipsburg) เป็นเมืองหลวงของซินต์มาร์เติน ซึ่งเป็นดินแดนในทะเลแคริบเบียนของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ มีประชากร 1,338 คน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและฟีลิปส์บืร์ค · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2035

ทธศักราช 2035 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและพ.ศ. 2035 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2046

ทธศักราช 2046 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและพ.ศ. 2046 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2526

ทธศักราช 2526 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1983 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและพ.ศ. 2526 · ดูเพิ่มเติม »

พลิมัท (มอนต์เซอร์รัต)

ลิมัท (Plymouth) เป็นเมืองหลวงโดยนิตินัยของเกาะมอนต์เซอร์รัต ซึ่งเป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในทะเลแคริบเบียน เมืองถูกทำลายจากการระเบิดของภูเขาไฟในคริสต์ทศวรรษ 1990 และถูกทิ้งร้าง ศูนย์กลางการบริหารย้ายไปตั้งอยู่ที่หมู่บ้านเบรดส์ทางตอนเหนือของเกาะ พลิมัทเคยเป็นเมืองท่าเพียงแห่งเดียวของเกาะอยู่เป็นเวลาหลายศตวรรษ.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและพลิมัท (มอนต์เซอร์รัต) · ดูเพิ่มเติม »

พะยูนแมนนาที

ูนแมนนาที บางทีเรียก พะยูนหางกลม หรือ วัวทะเล (Manatee, Sea cow) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอาศัยในน้ำขนาดใหญ่สกุลหนึ่ง สัตว์ในวงศ์ Trichechidae ต่างจากสัตว์ในวงศ์ Dugongidae หรือพะยูนตรงรูปร่างของกะโหลกศีรษะและรูปร่างของหาง โดยหางของพะยูนแมนนาทีจะมีรูปร่างแบนกลมคล้ายใบพาย ส่วนหางของพะยูนจะแยกออกเป็นส้อมคล้ายหางโลมา แมนนาทีเป็นสัตว์กินพืชซึ่งใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับการหาอาหารกินในเขตน้ำตื้น รวมถึงอาจเข้าไปหากินในแหล่งน้ำจืดที่ไกลจากทะเล 300 กิโลเมตรได้ด้วย โดยคำว่า "แมนนาที" (manatí) มาจากภาษาตีโน ซึ่งเป็นชนเผ่าพื้นเมืองในแถบแคริบเบียน หมายถึง "เต้านม" เขตอาศัยของพะยูนแมนนาทีได้แก่ พื้นที่หนองน้ำตื้นแถบชายฝั่งของอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง อเมริกาใต้ และทะเลแคริบเบียน พะยูนแมนนาทีชนิด Trichechus senegalensis (พะยูนแมนนาทีแอฟริกาตะวันตก หรือ พะยูนแมนนาทีเซเนกัล) อยู่อาศัยแถบชายฝั่งตะวันตกของทวีปแอฟริกา ส่วนชนิด T. inunguis (พะยูนแมนนาทีแอมะซอน) อยู่อาศัยแถบชายฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาใต้ ส่วนอีกชนิดหนึ่งได้แก่ T. manatus (พะยูนแมนนาทีอินเดียตะวันตก หรือ พะยูนแมนนาทีแคริบเบียน) อยู่อาศัยแถบหมู่เกาะอินเดียตะวันตกในทะเลแคริบเบียน สำหรับแมนนาทีฟลอริดานั้น นักสัตวศาสตร์บางส่วนถือว่าได้สูญพันธุ์ไปแล้ว อย่างไรก็ตาม ระบบไอทีไอเอสจัดให้พะยูนแมนนาทีฟลอริดาเป็นชนิดย่อยของ T. manatus และปัจจุบันถือเป็นที่ยอมรับทั่วไปพะยูน แมนนาทีฟลอริดามีลำตัวยาว 4.5 เมตรหรือมากกว่านั้น และอยู่ได้ทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม ในอดีตพะยูนแมนนาทีฟลอริดาเคยถูกล่าเพื่อเอาน้ำมันและหนัง แต่ปัจจุบันสัตว์ชนิดนี้ได้รับความคุ้มครองจากกฎหมายให้พ้นจากการถูกล่า พะยูนแมนนาที พะยูนแมนนาทีอินเดียตะวันตกเป็นหนึ่งในกลุ่มสัตว์ชนิดที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ แม้มันจะไม่มีผู้ล่าตามธรรมชาติ แต่การขยายดินแดนของมนุษย์ทำให้ที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติแถบบึงน้ำตื้นชายฝั่งของมันลดลง พะยูนแมนนาทีจำนวนมากยังได้รับบาดเจ็บจากการถูกใบพัดเรือบาด อีกทั้งพะยูนแมนนาทียังมักกินอุปกรณ์ตกปลาที่มนุษย์ทิ้งไว้ เช่นเบ็ดหรือตุ้มถ่วงเข้าไปบ่อย ๆ วัตถุแปลกปลอมเหล่านี้โดยมากจะไม่ทำอันตรายแก่พะยูนแมนนาที ยกเว้นแต่สายเบ็ดหรือเอ็นตกปลา ซึ่งจะเข้าไปอุดตันระบบย่อยอาหารของพะยูนแมนนาที และทำให้มันค่อย ๆ ตายอย่างช้า ๆ พะยูนแมนนาทีมักมารวมกันอยู่ใกล้โรงไฟฟ้าซึ่งน้ำในแถบนั้นจะมีอุณหภูมิสูงกว่าที่อื่น จนกระทั่งกลายเป็นการพึงพิงแหล่งน้ำอุ่นที่มนุษย์สร้างขึ้นนี้ไปในที่สุด โดยไม่ยอมอพยพไปยังแหล่งที่น้ำอุ่นกว่าเนื่องจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะให้ความร้อนตลอดทั้งปี ไม่นานมานี้ โรงไฟฟ้าหลายแห่งได้ปิดตัวลง กรมคุ้มครองสัตว์น้ำและสัตว์ป่าของสหรัฐอเมริกาซึ่งทราบถึงการพึ่งพิงแหล่งน้ำอุ่นของพะยูนแมนนาที จึงได้พยายามหาหนทางที่จะเพิ่มอุณหภูมิของน้ำเพื่อช่วยพะยูนแมนนาที.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและพะยูนแมนนาที · ดูเพิ่มเติม »

พายุเฮอร์ริเคนเออร์มา

อร์ริเคนเออร์มา (Hurricane Irma) เป็นพายุหมุนเขตร้อนที่มีกำลังแรงซึ่งได้ส่งผลกระทบต่อภูมิภาคแคริบเบียนและรัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกา เท่าที่มีการบันทึกไว้นั้น เออร์มาเป็นเฮอร์ริเคนที่มีกำลังแรงที่สุดในแอ่งแอตแลนติกนอกทะเลแคริบเบียนและอ่าวเม็กซิโก และมีความรุนแรงเทียบเท่าพายุเฮอร์ริเคนวันแรงงาน พ.ศ. 2478 ในฐานะพายุหมุนขึ้นฝั่งที่รุนแรงที่สุดในแอ่งแอตแลนติก รวมทั้งเป็นเฮอร์ริเคนแอตแลนติกที่รุนแรงที่สุดในด้านความเร็วลมสูงสุดนับตั้งแต่พายุเฮอร์ริเคนวิลมาในปี พ.ศ. 2548 และรุนแรงที่สุดในด้านความกดอากาศนับตั้งแต่พายุเฮอร์ริเคนดีนในปี พ.ศ. 2550 และเป็นลูกแรกที่มีระดับความรุนแรงเช่นนั้นที่เคลื่อนตัวขึ้นฝั่งที่ใด ๆ ในภูมิภาคแอตแลนติกนับตั้งแต่พายุเฮอร์ริเคนเฟลิกซ์ในปี..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและพายุเฮอร์ริเคนเออร์มา · ดูเพิ่มเติม »

กัวเดอลุป

กัวเดอลุป (Guadeloupe) เป็นเกาะที่มีฐานะเป็นแคว้นของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ด ทางทิศตะวันออกของทะเลแคริบเบียน มีพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ที่ 16°15′เหนือ และ 61°35′ตะวันตก มีพื้นที่ 1,628 ตารางกิโลเมตร และมีจำนวนประชากรประมาณ 400,000 คน ซึ่งมากที่สุดในบรรดาดินแดนที่อยู่ในความปกครองของประเทศในยุโรป ที่มีที่ตั้งอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ กัวเดอลุปเป็นจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เช่นเดียวกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ นอกจากนี้ยังเป็น 1 ใน 18 แคว้นของฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) ด้วย และถือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับสาธารณรั.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและกัวเดอลุป · ดูเพิ่มเติม »

การากัส

นกลางกรุงการากัส การากัส (Caracas) ชื่อทางการคือ ซานเตียโกเดเลออนเดการากัส (Santiago de León de Caracas) เป็นเมืองหลวงของเวเนซุเอลา ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ตามระดับความสูงพื้นที่ของหุบเขาแห่งหนึ่งในทิวเขาชายฝั่งของเวเนซุเอลา (Cordillera de la Costa) ภูมิประเทศของเขตตัวเมืองของหุบเขาการากัสนี้มีระดับความสูงอยู่ระหว่าง 2,500 ถึง 3,000 ฟุต (760 และ 910 เมตร) เหนือระดับน้ำทะเล และอยู่ใกล้กับทะเลแคริบเบียน โดยมีแนวเขาสูงเซร์โรอาบีลา (7,400 ฟุต หรือ 2,200 เมตร) เป็นตัวคั่นจากชายฝั่งทะเล ส่วนทางใต้ก็เป็นเนินเขาและภูเขาเช่นกัน ในปี พ.ศ. 2548 ย่านศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ของกรุงการากัส ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อเขตลีเบร์ตาดอร์ (Libertador District) มีประชากรประมาณ 2.1 ล้านคน เขตนครหลวงหรือดิสตรีโตกาปีตัล (Distrito Capital) ซึ่งเป็นที่ตั้งของเมืองนี้และครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของรัฐมีรันดา มีประชากร 3.3 ล้านคน ส่วนเขตตัวเมือง (urban area) หรือเกรตเตอร์การากัส (Greater Caracas) ซึ่งรวมเมืองที่อยู่นอกดิสตรีโตกาปีตัลด้วยนั้น มีประชากร 4.7 ล้านคน หมวดหมู่:เมืองหลวง หมวดหมู่:เมืองในประเทศเวเนซุเอลา หมวดหมู่:การากัส.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและการากัส · ดูเพิ่มเติม »

การตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อน

หมุนเขตร้อนและพายุหมุนกึ่งเขตร้อนจะได้รับการตั้งชื่อโดยศูนย์เตือนภัยต่าง ๆ เพื่อความสะดวกระหว่างนักพยากรณ์อากาศกับประชาชนทั่วไปในการคาดการณ์, ผู้สังเกตการณ์, และการเตือนภัย เนื่องจากระบบของพายุนั้น สามารถมีอายุนานกว่าสัปดาห์หรือมากกว่านั้น และในเวลาเดียวกัน ก็อาจมีพายุเกิดขึ้นได้มากกว่าหนึ่งลูกภายในแอ่งเดียวกัน การตั้งชื่อพายุจึงเกิดขึ้นเพื่อป้องกันการสับสนเกี่ยวกับพายุแต่ละลูก การใช้ชื่อที่ระบุเฉพาะตัวของพายุหมุนเขตร้อนแต่ละลูกต้องย้อนกลับไปหลายปี พร้อมกับระบบการตั้งชื่อตามชื่อสถานที่หรือสิ่งต่าง ๆ ก่อนจะมีการเริ่มต้นการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการ โดยการตั้งชื่ออย่างเป็นทางการมีใช้กับพายุที่ก่อตัวในแอ่งพายุหมุนเขตร้อนในแอตแลนติกเหนือ, พายุหมุนเขตร้อนในแปซิฟิกตะวันออก, กลาง, พายุหมุนเขตร้อนในแปซิฟิกตะวันตก, พายุหมุนเขตร้อนในแปซิฟิกใต้ ซึ่งรู้จักกันดีในชื่อพายุหมุนเขตร้อนในภูมิภาคออสเตรเลีย และพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรอินเดีย โดยชื่อต่าง ๆ จะได้รับการกำหนดไว้ล่วงหน้า โดยเมื่อมีพายุหมุนเขตร้อนมีความเร็วลมเฉลี่ยในหนึ่ง, สาม หรือ สิบนาที มากกว่า 65 กิโลเมตร/ชั่วโมง ซึ่งขึ้นอยู่กับแอ่งนั้น.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและการตั้งชื่อพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

กือราเซา

กือราเซา (Curaçao) หรือ กอร์ซอว์ (ปาเปียเมนตู: Kòrsou) มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ประเทศกือราเซา (ดัตช์: Land Curaçao; ปาเปียเมนตู: Pais Kòrsou)เป็น 1 ใน 4 ประเทศองค์ประกอบของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ อันประกอบไปด้วยกือราเซา, อารูบา, เนเธอร์แลนด์ และ ซินต์มาร์เติน โดยกือราเซาเป็นประเทศที่เป็นเกาะตั้งอยู่ในหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีสทางตอนใต้ของทะเลแคริบเบียน ห่างจากชายฝั่งตอนเหนือของประเทศเวเนซุเอลาออกไปประมาณ 65 กิโลเมตร ประเทศกือราเซาเคยเป็นส่วนหนึ่งในดินแดนกือราเซาและรัฐภายใต้ความคุ้มครองของเนเธอร์แลนด์ (Curaçao and Dependencies colony) ในช่วงระหว่างปี..1815–1954 ต่อมาได้ถูกผนวกรวมกับดินแดนอื่นๆเช่น อารูบา, ซินต์มาร์เติน, ซาบา,โบแนเรอ จัดตั้งเป็นแคว้นเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส ก่อนที่ในเดือนตุลาคม..2010 เนเธอร์แลนด์แอนทิลลิสจะถูกยุบ หลังจากยุบเนเธอร์แลนด์แอนทิลลิส ปัจจุบันกือราเซา มีสถานะเป็นประเทศปกครองตนเองที่ขึ้นตรงต่อราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เช่นเดียวกับประเทศเนเธอร์แลนด์,อารูบา และซินต์มาร์เติน มีพื้นที่ 444 ตารางกิโลเมตร (171 ตารางไมล์) และมีวิลเลมสตัดเป็นเมืองหลวง จากข้อมูลวันที่ 1 มกราคม..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและกือราเซา · ดูเพิ่มเติม »

กูมานา

กูมานา (Cumaná) คือเมืองหลวงของรัฐซูเกรของประเทศเวเนซุเอลา ตั้งอยู่ห่างจากกรุงการากัสไปทางตะวันออก 402 กิโลเมตร ก่อตั้งโดยชาวยุโรปที่อยู่บนแผ่นดินใหญ่ของอเมริกา อย่างไรก็ดีเมืองมีการก่อตั้งใหม่หลายครั้ง ทั้งจากการโจมตีแย่งชิงดินแดนและจากเหตุแผ่นดินไหว ส่วนที่เก่าแก่ที่สุดของเมืองมีอายุในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษที่ 17 ถึง 18 และแทบไม่มีสถาปัตยกรรมในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 16 หลงเหลืออยู่เลย กูนามาตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำมันซานาเรส (Manzanares) บนชายฝั่งทะเลแคริบเบียน ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเวเนซุเอลา มีประชากรประมาณ 267,672 คนในปี 2005 เป็นที่ตั้งของกองเรือจับทูนาขนาดใหญ่ที่สุดของเวเนซุเอลา เมืองนี้ตั้งอยู่ใกล้กับอุทยานแห่งชาติโมชีมา (Mochima National Park) ซึ่งกล่าวอ้างว่าเป็นชายหาดที่สวยที่สุดของเวเนซุเอล.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและกูมานา · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาสเปน

ษาสเปน (Spanish; สเปน: español) หรือ ภาษาคาสตีล (Castilian; สเปน: castellano) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาไอบีเรียนโรมานซ์ หนึ่งในภาษาทางการ 6 ภาษาขององค์การสหประชาชาติ และภาษาที่มีผู้พูดเป็นภาษาแม่มากที่สุดในโลกรองจากภาษาจีนกลาง รวมทั้งยังเป็นภาษาราชการขององค์การระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจและการเมืองที่สำคัญอีกหลายองค์การอีกด้วย เช่น สหภาพยุโรป สหภาพแอฟริกา องค์การรัฐอเมริกา องค์การรัฐไอบีเรียอเมริกา ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ และสหภาพชาติอเมริกาใต้ เป็นต้น มีผู้พูดภาษาสเปนเป็นภาษาที่หนึ่งและภาษาที่สองเป็นจำนวนระหว่าง 450-500 ล้านคนEl País.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ภูเขาไฟเปอเล

ูเขาไฟเปอเล (Montagne Pelée, Mount Pelée) เป็นภูเขาไฟมีพลังบนปลายด้านทิศเหนือของ หมู่เกาะเวสต์อินดี ฝรั่งเศส ในทะเลแคริบเบียน มีลักษณะเป็นกรวยภูเขาไฟสลับชั้น ส่วนกรวยประกอบด้วยชั้นของเถ้าธุลีภูเขาไฟและลาวาที่แข็งตัว Mount Pelée เป็นที่รู้จักเนื่องเมื่อ พ.ศ. 2445 และผลจากการทำลายซึ่งถูกจัดให้เป็นภัยพิบัติจากภูเขาไฟที่รุนแรงที่สุดในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีผู้ประสบภัยประมาณ 26,000-36,000 คน และทำให้เมือง Saint-Pierre ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดใน Martinique ถูกทำลาย รวมทั้งผู้ว่าการของเมืองได้เสียชีวิตในภัยพิบัติครั้งนั้นด้ว.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและภูเขาไฟเปอเล · ดูเพิ่มเติม »

มอนต์เซอร์รัต

มอนต์เซอร์รัต เป็นดินแดนโพ้นทะเลอังกฤษในทะเลแคริบเบียน ตั้งอยู่ในแนวหมู่เกาะแอนทิลลิสน้อย (Lesser Antilles Islands) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะลีวาร์ด ยาว 16 กิโลเมตร กว้าง 11 กิโลเมตร มีพื้นที่ 40 ตารางกิโลเมตร ชื่อของเกาะมอนเซอร์รัตนี้ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เป็นผู้ตั้งขึ้นในคราวเดินทางแสวงหาโลกใหม่ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2036.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและมอนต์เซอร์รัต · ดูเพิ่มเติม »

มันเสา

มันเสา ภาคเหนือเรียกมันเสียม ภาคใต้เรียกมันทู่ ภาคกลางเรียก มันเลือดนก เป็นพืชมีหัวในวงศ์กลอย หัวสีม่วง ทำให้บางครั้งสับสนกับเผือกและมันเทศพันธุ์ Ayamurasaki เป็นพืชพื้นเมืองในเขตร้อนของเอเชีย เป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีปลูกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทะเลแคริบเบียน และแอฟริกา เป็นอาหารของมนุษย์ตั้งแต่สมัยโบราณ.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและมันเสา · ดูเพิ่มเติม »

มามโบ

มามโบ (Mambo ออกเสียงแบบอเมริกัน /ˈmɑmboʊ/ แบบบริติช /ˈmæmbəʊ/) เป็นชื่อจังหวะดนตรีและการเต้นรำของชาวคิวบา มีความหมายว่า "conversation with the gods" มาจากชื่อหมอผีลัทธิวูดูในเฮติ แถบตะวันตกของทวีปแอฟริกา ซึ่งย้ายถิ่นฐานมาอยู่แถบทะเลแคริบเบียนพร้อมกับการค้าทาสตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ดนตรีมามโบสมัยใหม่ เริ่มต้นตั้งแต่ ค.ศ. 1938 พร้อมกับจังหวะการเต้นที่เรียกว่า "มามโบ" พัฒนามาจากรูปแบบการเต้นแบบพื้นเมืองแอฟริกา แต่งโดย Orestes López และ Cachao López พี่น้องนักดนตรีชาวคิวบา ผู้ได้รับการยกย่องเป็น ผู้ให้กำเนิดดนตรีมามโบ โดยผสมผสานดนตรีแอฟริกัน-คิวบัน กับดนตรีจังหวะสวิงของอเมริกัน มีทั้งจังหวะเร็ว และช้า ดนตรีมามโบได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง เมื่อเปเรซ ปราโด (Perez Prado) นักเปียโนและนักแต่งเพลงชาวคิวบา นำดนตรีแนวนี้มาเล่นในคาสิโนในฮาวานา เมื่อเปเรซ ปราโด ย้ายไปอยู่ที่เม็กซิโกในปี ค.ศ. 1948 เขาเริ่มบันทึกแผ่นเสียงในสังกัด RCA Victor และทำให้ดนตรีมามโบเป็นที่นิยมในวงกว้าง และข้ามฝั่งไปในสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1951 เปเรซ ปราโด ได้รับฉายาว่าเป็น "ราชาแห่งมามโบ" (หรือ Mambo King) ลักษณะเด่นของดนตรีมามโบของเปเรซ ปราโด คือ ใช้แซกโซโฟนให้จังหวะ และใช้เครื่องเป่าทองเหลือง (ทรอมโบนและทรัมเปต)ให้ทำนอง มีเปียโน กลอง และเครื่องเคาะเป็นส่วนประกอบ.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและมามโบ · ดูเพิ่มเติม »

มาร์ตีนิก

มาร์ตีนิก (Martinique) เป็นเกาะทางตะวันออกของทะเลแคริบเบียน ในหมู่เกาะวินด์เวิร์ด เป็นแคว้นโพ้นทะเลและจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ 1,128 ตารางกิโลเมตร (436 ตารางไมล์) มีเมืองหลวงชื่อ ฟอร์-เดอ-ฟร็องส์ ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งตอนเหนือของอ่าวชื่อเดียวกัน ภูมิประเทศเป็นภูเขา มีภูเขาไฟมงตาญเปอเล อยู่ทางเหนือของเกาะ เป็นแหล่งท่องเที่ยว ส่งสินค้าออก เช่น น้ำตาล เหล้ารัม กล้วย สับปะรด และซีเมนต์ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เดินทางมาพบเกาะนี้ใน..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและมาร์ตีนิก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการแห่งแอตแลนติก

ทธการแห่งแอตแลนติกเป็นการทัพทางทหารที่ยาวนานที่สุดอย่างต่อเนื่องในสงครามโลกครั้งที่สอง,ได้ดำเนินการตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและยุทธการแห่งแอตแลนติก · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกินตานาโร

รัฐกินตานาโร (Quintana Roo) เป็น 1 ใน 31 รัฐของประเทศเม็กซิโก ตั้งอยู่ทางตะวันออกของคาบสมุทรยูกาตัง อยู่ติดกับรัฐยูกาตังและรัฐกัมเปเชทางทิศเหนือและตะวันตก ติดกับทะเลแคริบเบียนทางทิศตะวันออก และติดกับประเทศเบลีซทางทิศใต้ เมืองหลวงของรัฐกินตานาโรคือเมือง เชตูมัล รัฐกินตานาโร มีเมืองพักตากอากาศอยู่หลายเมือง เช่น กังกุน, เกาะโกซูเมลและมูเคเรส, เมืองบากาลาร์, ฟีลีเปการ์รีโยปวยร์โต (Felipe Carrillo Puert), ปลายาเดลการ์เมน (Playa del Carmen), ปวยร์โตคัวเรซ (Puerto Juárez), อากูมัล (Akumal), ชกาลัก (Xcalak), และปวยร์โตมอเรโลส (Puerto Morelos) และยังมีเมืองโบราณอารยธรรมมายาอย่างเมือง Chacchoben, Chakanbakán, Chamax, Coba, Dzibanché, El Meco, Ichpaatán, Kohunlich, Muyil, Oxtankah, Tancah, Tulum, Tupak, Xel-Há, และ Xcaret รัฐครอบคลุมพื้นที่ 50,351 ตร.กม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและรัฐกินตานาโร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐอารากวา

อารากวา (Aragua) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ตอนกลางของภาคเหนือในประเทศเวเนซุเอลา เป็นที่ราบและป่าและชายหาดที่สวยงามของทะเลแคริบเบียน ที่รัฐนี้มีอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศคืออุทยานแห่งชาติอ็องรี ปีตีเย เมืองหลวงของรัฐคือ มาราไก รัฐมีพื้นที่ 7,014 ตร.กม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและรัฐอารากวา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐนวยวาเอสปาร์ตา

นวยวาเอสปาร์ตา (Nueva Esparta) เป็น 1 ใน 23 รัฐของประเทศเวเนซุเอลา ประกอบด้วยเกาะมาร์การิตา, เกาะโกเช และเกาะกูบากัวที่ไม่มีใครอาศัยอยู่ ถือเป็นรัฐที่เล็กที่สุด และตั้งอยู่นอกชายฝั่งทะเลแคริบเบียนของเวเนซุเอลา ถือเป็นรัฐที่เป็นเกาะรัฐเดียวในเวเนซุเอลา ชื่อของรัฐมาจากวีรกรรมของผู้อยู่อาศัยในช่วงระหว่างที่เกิดสงครามประกาศอิสรภาพเวเนซุเอลา ซึ่งเข้าใจว่าคล้ายกับทหารชาวสปาร์ตาของกรีกโบราณ เกาะมาร์การิตาอย่างเดียวมีพื้นที่ 934 ตร.กม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและรัฐนวยวาเอสปาร์ตา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทะเล

ทะเลคือพื้นที่น้ำเกลือที่เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทร หรือทะเลขนาดใหญ่ที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล (เช่น ทะเลแคสเปียน และทะเลเดดซี) .

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและรายชื่อทะเล · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร

้านล่างนี้เป็น รายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร ซึ่งรวมถึงรัฐเอกราชและดินแดนในภาวะพึ่งพิง.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและรายชื่อประเทศที่ติดต่อกับมหาสมุทรอย่างน้อยสองมหาสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด

นี่คือ รายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งรวมถึงรัฐอธิปไตยและเขตการปกครอง เรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด โดยยึดตามมาตรฐานสากล ISO 3166-1 เพื่อจุดประสงค์ทางสถิติ เขตการปกครองจะถูกบรรจุในรายชื่อรวมกับรัฐอธิปไตยด้วย ตัวเลขที่ปรากฏจะแสดงขนาดพื้นที่ทั้งหมด รวมทั้งพื้นดินและพื้นที่น้ำภายในดินแดนนั้นด้วย (เช่น ทะเลสาบ เขื่อน และแม่น้ำ) ซึ่งบางส่วนอาจนับรวมไปถึงพื้นที่ของน้ำภาคพื้นสมุทร (น่านน้ำชายฝั่ง) แต่ไม่นับรวมน่านน้ำอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจำเพาะ สถิติดังกล่าวไม่นับรวมเขตการปกครองซึ่งไม่มีพลเมืองอาศัยอยู่ – รวมทั้งการอ้างสิทธิ์ของหลายประเทศเหนือพื้นที่ของทวีปแอนตาร์กติกา (14,400,000 กม.²) – และการรวมกลุ่มประเทศ เช่น สหภาพยุโรป (4,324,782 กม.²) ซึ่งมีอำนาจอธิปไตย แต่ไม่สามารถพิจารณาว่าเป็นรัฐอธิปไตยหรือเขตการปกครองได้ พื้นที่ทั้งหมดของโลกคิดเป็น 148,940,000 กม.² (คิดเป็น 29.1% ของพื้นผิวโลกทั้งหมด).

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและรายชื่อประเทศและเขตการปกครองเรียงตามขนาดพื้นที่ทั้งหมด · ดูเพิ่มเติม »

รายการสถิติพายุหมุนเขตร้อน

นี่คือรายการบันทึกสถิติของพายุหมุนเขตร้อน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและรายการสถิติพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

รถไฟใต้ดินซานโตโดมิงโก

รถไฟใต้ดินซานโตโดมิงโก (Metro de Santo Domingo) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงซานโตโดมิงโก สาธารณรัฐโดมินิกัน เป็นเพียงไม่กี่ประเทศในแถบทะเลแคริบเบียนที่มีระบบรถไฟฟ้า ปัจจุบันมี 2 เส้นทาง ระยะทางทั้งสิ้น สถิติผู้โดยสารคือ 30,856,515 คนต่อปี (ค.ศ. 2012).

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและรถไฟใต้ดินซานโตโดมิงโก · ดูเพิ่มเติม »

ร่องลึกก้นสมุทร

ปลือกโลกใต้มหาสมุทรจะเกิดขึ้นที่เทือกเขากลางสมุทรขณะที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกจะถูกมุดกลับเข้าไปในชั้นฐานธรณีภาคที่ร่องลึกก้นสมุทร ร่องลึกก้นสมุทร (oceanic trench) เป็นร่องหลุมลึกของพื้นผิวท้องทะเลที่มีลักษณะภูมิประเทศยาว แคบ และโค้ง และถือว่าเป็นส่วนของมหาสมุทรที่ลึกที่สุด ร่องลึกก้นสมุทรถือเป็นหนึ่งในขอบเขตทางธรรมชาติที่สำคัญที่สุดบนพื้นผิวในส่วนที่เป็นของแข็งของโลกระหว่างแผ่นเปลือกโลกสองแผ่น ขอบเขตระหว่างแผ่นธรณีภาคชั้นนอกมี 3 ประเภท คือ ขอบเขตแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว (divergent boundary) (เป็นขอบเขตที่เกิดขึ้นที่เทือกเขากลางสมุทร) ขอบเขตแนวแผ่นเปลือกโลกลู่เข้าหากัน (convergent boundary) (เป็นขอบเขตที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกจมลงไปใต้อีกแผ่นหนึ่งกลับลงไปสู่ชั้นเนื้อโลก) และขอบเขตที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกเคลื่อนที่ผ่านซึ่งกันและกัน (transform boundary) ร่องลึกก้นสมุทรเป็นลักษณะของขอบเขตระหว่างแผ่นเปลือกโลกที่โดดเด่นชัดเจน โดยเป็นบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกมีการเคลื่อนที่เข้าหากันด้วยอัตราการลู่เข้าหากันที่แปรผันจากปีละไม่กี่มิลลิเมตรจนไปถึงสิบเซนติเมตรหรือมากกว่า ร่องลึกก้นสมุทรหนึ่งๆเป็นตำแหน่งที่แผ่นธรณีภาคชั้นนอกหนึ่งมีการโค้งมุดลงไปใต้แผ่นธรณีภาคชั้นนอกอีกแผ่นหนึ่ง โดยทั่วไปแล้วร่องลึกก้นสมุทรจะขนานไปกับแนวหมู่เกาะรูปโค้ง (volcanic arc) และอยู่ห่างจากแนวหมู่เกาะรูปโค้งออกไปประมาณ 200 กิโลเมตร โดยทั่วไปร่องลึกก้นสมุทรจะมีความลึกประมาณ 3 ถึง 4 กิโลเมตรลงไปจากพื้นมหาสมุทรรอบข้าง ส่วนที่ลึกที่สุดอยู่ที่ร่องลึกชาลเลนเจอร์ของร่องลึกก้นสมุทรมาเรียน่าซึ่งมีความลึก 10,911 เมตรใต้ระดับทะเล แผ่นธรณีภาคชั้นนอกใต้มหาสมุทรจะเคลื่อนที่หายเข้าไปในร่องลึกก้นสมุทรด้วยอัตราประมาณ 10 ตารางเมตรต่อวินาที.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและร่องลึกก้นสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2556

ูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2556 · ดูเพิ่มเติม »

ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559

ูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559 · ดูเพิ่มเติม »

ลิโอเนล เมสซิ

ลิโอเนล อันเดรส "เลโอ" เมสซิ กูซิตินิ (Lionel Andrés "Leo" Messi Cuccittini) เกิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและลิโอเนล เมสซิ · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา

ประธานาธิบดีเคนเนดี พบปะกับเอกอัครราชทูตโซเวียต อังเดร โกรมิโก ที่ทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม ก่อนเกิดการเผชิญหน้า แผนที่แสดงรัศมีของการใช้ขีปนาวุธที่คิวบา วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา (Cuban Missle Crisis) คือการเผชิญหน้าทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกาฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียตและประเทศคิวบาอีกฝ่ายหนึ่ง ในช่วงเวลาที่สงครามเย็นอยู่ในช่วงความตึงเครียดจนเกือบจะกลายไปเป็นสงครามปรมาณู ชาวรัสเซียเรียกเหตุการณ์นี้ว่าวิกฤตการณ์แคริบเบียน ส่วนชาวคิวบาเรียกมันว่าวิกฤตการณ์เดือนตุลาคม เหตุการณ์ครั้งนี้ถือเป็นหนึ่งในการเผชิญหน้าครั้งสำคัญในสงครามเย็นนอกจากการปิดล้อมเบอร์ลิน การเผชิญหน้าเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1962 เมื่อภาพถ่ายจากเครื่องบินสังเกตการณ์ ยู-2 ของสหรัฐอเมริกา เผยให้เห็นฐานปล่อยขีปนาวุธ กำลังถูกสร้างขึ้นในคิวบา ภายใต้การปกครองของฟีเดล กัสโตร เพื่อตอบโต้การสร้างฐานขีปนาวุธของสหรัฐอเมริกา ณ บริเวณพรมแดนของตุรกีและสหภาพโซเวียต ทางสหรัฐอเมริกาได้กำหนดมาตรการกักกัน ส่งเรือรบเข้าปิดล้อมคิวบา ห้ามเรือบรรทุกสินค้าทุกลำผ่านเข้ามาในน่านน้ำทะเลแคริบเบียน เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและวิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

วิลเลมสตัด

วิลเลมสตัด (Willemstad) เป็นเมืองหลวงของกือราเซา เกาะทางตอนใต้ในทะเลแคริบเบียนของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ มีประชากรอยู่ราว 140,000 คน ก่อตั้งเป็นเมืองเมื่อ..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและวิลเลมสตัด · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพฟุตบอลแคริบเบียน

*สมาชิกของสหภาพฟุตบอลแคริบเบียนอยู่ในบริเวณสีส้มเข้ม *สมาชิกทั้งหมดของคอนคาแคฟ อยู่ในบริเวณสีส้มเข้มและสีส้มอิฐ สหภาพฟุตบอลแคริบเบียน (อังกฤษ: Caribbean Football Union) หรือ ซีเอฟยู (CFU) คือองค์กรฟุตบอลประจำภูมิภาคแคริบเบียน เกิดจากการรวมตัวกันของสมาคมฟุตบอลในกลุ่มประเทศแถบทะเลแคริบเบียน รวมถึง 3 สมาคมฟุตบอลที่ตั้งอยู่ทางชายฝั่งตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้อย่างกายอานา, ซูรินาม และ เฟรนช์เกียนา มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงคิงส์ตัน ประเทศจาเมกา สหภาพฟุตบอลแคริบเบียนได้เริ่มก่อตั้งขึ้นในเดือนมกราคม..1978 และจัดการแข่งขันในระดับภูมิภาคโดยอยู่ภายใต้การควบคุมของคอนคาแคฟ ในปัจจุบันมีสมาชิก 29 สมาคมฟุตบอล โดยในจำนวนนี้มี 23 สมาคมฟุตบอลที่เป็นสมาชิกของฟีฟ่า และมี 6 สมาคมฟุตบอลจากดินแดนอาณานิคมที่ยังไม่ได้เป็นสมาชิกของฟีฟ่า การจัดการแข่งขันฟุตบอลในภูมิภาคที่จัดขึ้นโดยสหภาพฟุตบอลแคริบเบียนคือการแข่งขัน แคริบเบียน คัพ ที่เป็นการแข่งขันระดับทีมชาติ และ ซีเอฟยู คลับ แชมเปียนชิป ที่เป็นการแข่งขันระดับสโมสร โดยสโมสรที่ได้แชมป์,รองแชมป์ และอันดับ 3 ของรายการซีเอฟยู คลับ แชมเปียนชิป จะได้สิทธิแข่งขันในรายการ คอนคาแคฟแชมเปียนส์ลีก ในปี..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและสหภาพฟุตบอลแคริบเบียน · ดูเพิ่มเติม »

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

สาธารณรัฐโดมินิกัน

รณรัฐโดมินิกัน (Dominican Republic; República Dominicana) เป็นประเทศหนึ่งในทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งอยู่บนพื้นที่ 2 ใน 3 ทางทิศตะวันออกของเกาะฮิสปันโยลาซึ่งขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในหมู่เกาะเกรตเตอร์แอนทิลลีส เกาะนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางทิศตะวันตกของเปอร์โตริโก และอยู่ทางทิศตะวันออกของคิวบาและจาเมกา โดยสาธารณรัฐโดมินิกันมีอาณาเขตจรดเฮติทางทิศตะวันตก สาธารณรัฐโดมินิกันเป็นคนละประเทศกับดอมินีกา ซึ่งเป็นประเทศในทะเลแคริบเบียนอีกประเทศหนึ่ง.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและสาธารณรัฐโดมินิกัน · ดูเพิ่มเติม »

สาคู (ไม้ล้มลุก)

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและสาคู (ไม้ล้มลุก) · ดูเพิ่มเติม »

สถานพักตากอากาศ

นพักตากอากาศจะรวมโรงแรมและนันทนาการเข้าหลายอย่าง เช่นสระน้ำเป็นต้น สถานพักตากอากาศ หรือ รีสอร์ต (resort) เป็นสถานที่ที่ใช้พักผ่อนหรือนันทนาการ ผู้พักใช้ในวันหยุดหรือวันพักผ่อน รีสอร์ตเป็นสถานที่หรืออาจเป็นเมืองหรือในบางครั้งอาจะเป็นสิ่งก่อสร้างการค้าที่บริหารโดยบริษัทเดียว เป็นสถานที่ที่มีสิ่งอำนวยความสะดวกครบครันสำหรับผู้มาพัก ทั้งอาหาร ที่พัก กีฬา สิ่งบันเทิงและศูนย์การค้า เมืองที่มีรีสอร์ตอยู่หรือสถานที่ท่องเที่ยวหรือพักผ่อนเป็นส่วนสำคัญของกิจกรรมในเมือง มักจะเรียกว่าเมืองพักตากอากาศ (สถานที่พักตากอากาศ) หรือรีสอร์ตทาวน์ เมืองอย่างเช่น โซชีในรัสเซีย, ชาร์ม เอล-ชีคในอียิปต์, บาริโซในสเปน, กอร์ตีนาดัมเปซโซในอิตาลี, Druskininkai ในลิทัวเนีย, นิสหรือเฟรนช์ริวีเอราของฝรั่งเศส หรือนิวพอร์ต, โรดไอแลนด์ หรือเซนต์มอริตซ์, สวิตเซอร์แลนด์ หรือในเขตที่ใหญ่กว่าอย่าง ภูเขาอดีรอนเดค หรืออิตาเลียนริวีเอรา ที่เป็นที่รู้จักดี ส่วนวอลต์ดิสตีย์เวิลด์รีสอร์ตเป็นตัวอย่างที่โด่งดังของรีสอร์ตสมัยใหม่ รีสอร์ตถือเป็นจุดหมายปลายทางที่เพิ่มมากขึ้นกับนักท่องเที่ยวทั่วโลก ตัวอย่างเช่นประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่มีชื่อเสียง และรีสอร์ตในแถบอเมริกากลางและทะเลแคริบเบียนก็มีอยู่มากม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและสถานพักตากอากาศ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามปฏิวัติอเมริกา

งครามปฏิวัติอเมริกา (American Revolutionary War; ค.ศ. 1775–1783) หรือเรียก สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา (American War of Independence) หรือสงครามปฏิวัติในสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างบริเตนใหญ่และสิบสามอาณานิคมอเมริกาเหนือซึ่งหลังสงครามเปิดฉากประกาศอิสรภาพเป็นสหรัฐอเมริกา สงครามนี้มีจุดกำเนิดจากการต่อต้านภาษีบางชนิดและพระราชบัญญัติซึ่งชาวอเมริกันจำนวนมากอ้างว่าไม่ชอบธรรมและมิชอบด้วยกฎหมาย การประท้วงของแพทริอัต (Patriot) ลุกลามเป็นการคว่ำบาตร และในวันที่ 16 ธันวาคม 1773 พวกเขาทำลายการส่งสินค้าชาในท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนตอบโต้โดยปิดท่าบอสตัน แล้วผ่านมาตรการโดยมุ่งลงโทษอาณานิคมที่เป็นกบฏ แพทริอัตสนองโดยซัฟฟอล์กรีซอฟส์ (Suffolk Resolves) คือ การสถาปนารัฐบาลเงาซึ่งกำจัดการควบคุมมณฑลจากคราวน์นอกบอสตัน สิบสองอาณานิคมตั้งสภาภาคพื้นทวีปเพื่อประสานงานการต่อต้าน และสถาปนาคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ซึ่งยึดอำนาจชะงัด ความพยายามยึดยุทโธปกรณ์อเมริกันของบริเตนในเดือนเมษายน 1775 นำสู่การยุทธ์อย่างเปิดเผยระหว่างกำลังคราวน์และทหารอาสาสมัครแพทริอัต ทหารอาสาสมัครเดินหน้าล้อมกำลังบริติชในบอสตัน บังคับให้ต้องอพยพนครในเดือนมีนาคม 1776 สภาภาคพื้นทวีปตั้งจอร์จ วอชิงตันให้บังคับบัญชาทหารอาสาสมัคร ต่อมา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพภาคพื้นทวีปที่เพิ่งตั้ง ตลอดจนประสานงานหน่วยทหารอาสาสมัครของรัฐ ในเวลาเดียวกับการทัพบอสตัน ความพยายามบุกครองควิเบกของอเมริกาและปลุกการกบฏต่อพระมหากษัตริย์บริติชล้มเหลวโดยสิ้นเชิง วันที่ 2 กรกฎาคม 1774 สภาลงมติสนับสนุนเอกราชอย่างเป็นทางการ โดยออกคำประกาศในวันที่ 4 กรกฎาคม เซอร์วิลเลียม ฮาว (William Howe) เริ่มการตีโต้ตอบซึ่งมุ่งยึดนครนิวยอร์กคืน ฮาวชนะวอชิงตันด้วยอุบาย ทำให้ความมั่นใจของฝ่ายอเมริกาแตะจุดต่ำสุด วอชิงตันสามารถยึดกองทัพเฮชชัน (Hessian) ได้ที่เทรนตัน และขับบริเตนออกจากนิวเจอร์ซีย์ ฟื้นความมั่นใจของฝ่ายอเมริกา ในปี 1777 บริเตนส่งกองทัพใหม่โดยมีจอห์น เบอร์กอยน์ (John Burgoyne) เป็นผู้บังคับบัญชาให้ยกลงใต้จากแคนาดาและแยกอาณานิคมนิวอิงแลนด์ ทว่า ฮาวไม่สนับสนุนเบอร์กอยน์ แต่นำกองทัพของเขาในอีกการทัพหนึ่งต่อกรุงฟิลาเดลเฟีย เมืองหลวงฝ่ายปฏิวัติ เบอร์กอยน์หมดกำลังบำรุง ถูกล้อมและยอมจำนนในเดือนตุลาคม 1777 ความปราชัยของบริเตนที่ซาราโทกา (Saratoga) มีผลใหญ่หลวง ฝรั่งเศสและสเปนได้จัดหาอาวุธ เครื่องกระสุนและกำลังบำรุงอื่นให้ชาวอาณานิคมอย่างลับ ๆ ตั้งแต่เดือนเมษายน 1776 บัดนี้ฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามอย่างเป็นทางการในปี 1778 โดยลงนามพันธมิตรทางทหารซึ่งรับรองเอกราชของสหรัฐ บริเตนตัดสินใจยอมเสียอาณานิคมทางเหนือ และกู้อดีตอาณานิคมทางใต้ กำลังบริเตนโดยมีชาลส์ คอร์นวอลลิส (Charles Cornwallis) เป็นผู้บังคับบัญชายึดจอร์เจียและเซาท์แคโรไลนา ยึดกองทัพอเมริกาได้ที่ชาลส์ตัน เซาท์แคโรไลนา ยุทธศาสตร์นี้อาศัยการก่อการกำเริบของลอยัลลิสต์ (Loyalist) ติดอาวุธจำนวนมาก แต่มีผู้มาเข้าร่วมน้อยเกินไป ในปี 1779 สเปนเข้าร่วมสงครามเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสภายใต้สนธิสัญญาตระกูล (Pacte de Famille) โดยเจตนายึดยิบรอลตาร์และอาณานิคมบริติชในแคริบเบียน บริเตนประกาศสงครามต่อสาธารณรัฐดัตช์ในปี 1780 ในปี 1781 หลังปราชัยอย่างเด็ดขาดสองครั้งที่คิงส์เมาน์เทนและคาวเพนส์ คอร์นวอลลิสถอยไปเวอร์จิเนียโดยตั้งใจอพยพ ชัยทางเรืออย่างเด็ดขาดของฝรั่งเศสในเดือนกันยายนตัดทางหนีของบริเตน กองทัพร่วมฝรั่งเศส-อเมริกาโดยมีเคาต์รอช็องโบ (Count Rochambeau) และวอชิงตันเป็นผู้นำล้อมกองทัพบริติชที่ยอร์กทาวน์ เมื่อเห็นว่าไม่มีการช่วยเหลือและสถานการณ์ป้องกันไม่อยู่ คอร์นวอลลิสยอมจำนนในเดือนตุลาคม และทหารถูกจับเป็นเชลยประมาณ 8,000 คน วิกในบริเตนคัดค้านฝ่ายข้างมากทอรีนิยมสงครามในรัฐสภาอย่างยาวนาน ทว่า ความปราชัยที่ยอร์กทาวน์ทำให้วิกเป็นฝ่ายเหนือกว่า ต้นปี 1782 พวกเขาลงมติยุติปฏิบัติการบุกทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือ แต่สงครามกับฝรั่งเศสและสเปนยังดำเนินต่อ โดยบริเตนชนะทั้งสองประเทศระหว่างการล้อมใหญ่ยิบรอลตาร์ นอกเหนือจากนี้ พวกเขาชนะฝรั่งเศสทางเรือหลายครั้งทโดยที่เด็ดขาดที่สุด คือ ยุทธนาวีที่ซานต์ (Battle of the Saintes) ในแคริบเบียนปีเดียวกัน วันที่ 3 กันยายน 1783 คู่สงครามลงนามสนธิสัญญากรุงปารีสซึ่งยุติสงคราม บริเตนตกลงรับรองเอกราชของสหรัฐเหนือดินแดนโดยมีขอบเขตคร่าว ๆ อยู่ที่แคนาดาทางเหนือ ฟลอริดาทางใต้และแม่น้ำมิสซิสซิปปีทางตะวันตก แม้การเข้ามีส่วนเกี่ยวข้องของฝรั่งเศสมีผลชี้ขาดต่อสาเหตุของเอกราชอเมริกา แต่ได้ดินแดนเพียงเล็กน้อย และมีปัญหาหนี้สินมหาศาล สเปนได้อาณานิคมฟลอริดาของบริเตนและเกาะมินอร์กา แต่ไม่สามารถชิงยิบรอลตาร์คืนซึ่งเป็นเป้าหมายหลัก ฝ่ายดัตช์มีแต่เสีย โดยถูกบังคับให้ยกดินแดนบางส่วนให้บริต.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและสงครามปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด

หมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด เป็นดินแดนอาณานิคมของสหราชอาณาจักรในทะเลแคริบเบียนระหว่าง พ.ศ. 2376 ถึง พ.ศ. 2503 ซึ่งประกอบด้วยดินแดนต่างๆ ได้แก่ แอนติกา บาร์บูดา หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน มอนเซอร์รัต เซนต์คิตส์ เนวิส แองกวิลลา และดอมินีกา เฉพาะดอมินีกานั้นเป็นดินแดนของหมู่เกาะแห่งนี้จนถึง พ.ศ. 2483.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน

หมู่เกาะบริติชเวอร์จิน หรือ หมู่เกาะเวอร์จินของอังกฤษ (British Virgin Islands) เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักร ประกอบด้วยเกาะน้อยใหญ่กว่า 50 เกาะ มีที่ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน ทางตะวันออกของประเทศจาเมกา เดิมนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิดัตช์ (Dutch Empire) ภายหลังอังกฤษเข้ามาครอบครอง เมื่อ พ.ศ. 2215 ผู้ตั้งชื่อหมู่เกาะนี้คือ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส โดยตั้งชื่อนามนักบุญ Ursula ซึ่งตามตำนานกล่าวว่าท่านมีสาวกเป็นหญิงสาวพรหมจารีถึง 11,000 คน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและหมู่เกาะบริติชเวอร์จิน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะรูปโค้ง

หมู่เกาะรูปโค้ง (island arc) เป็นหมู่เกาะประเภทหนึ่งเกิดขึ้นจากเพลตเทคโทนิกด้วยแผ่นเปลือกโลกใต้มหาสมุทรมุดตัวลงใต้แผ่นเปลือกโลกอีกแผ่นหนึ่งทำให้เกิดหินหนืด (magma) หมู่เกาะรูปโค้งที่เกิดขึ้นตามขอบของแผ่นเปลือกทวีป (เช่น ส่วนใหญ่ของแอนดีส อเมริกากลาง แนวเทือกเขาแคนา) อาจเรียกว่า volcanic arc การสูญเสียของสารระเหยของแผ่นเปลือกโลกที่กำลังมุดตัวในเขตมุดตัวของเปลือกโลกทำให้สิ่งหลอมเหลวบางส่วนของเนื้อโลกด้านบนเกิดเป็นหินหนืดของแคลซ์-อัลคาไลน์ที่มีความหนาแน่นต่ำจึงเบาตัวดันแทรกซอนขึ้นมาผ่านแผ่นชั้นธรณีภาคที่อยู่ด้านบน ผลได้ทำให้เกิดเป็นแนวภูเขาไฟเรียงรายยาวขนานไปกับขอบเขตรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นที่กำลังเคลื่อนที่ลู่เข้าหากันและโค้งออกด้านนอกเข้าหาแผ่นเปลือกโลกที่กำลังมุดตัว ลักษณะนี้เป็นผลเนื่องมาจากหลักเรขาคณิตของการย่นตัวของแผ่นเปลือกโลกเป็นรูปทรงกลมไปตามแนวบนผิวทรงกลมหนึ่งๆ ด้านที่กำลังมุดตัวของหมู่เกาะรูปโค้งจะเป็นร่องลึกก้นสมุทรที่แคบและลึกซึ่งเป็นร่องรอยบนพื้นผิวโลกที่แสดงถึงขอบเขตรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกที่กำลังมุดตัวกับแผ่นเปลือกโลกที่วางขี่ทับอยู่ด้านบน แนวร่องลึกนี้เกิดขึ้นจากการดึงโดยแรงโน้มถ่วงของแผ่นเปลือกโลกที่กำลังมุดตัวซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่าลากดึงลงไป มีการเกิดแผ่นดินไหวตามแนวขอบเขตการมุดตัวนี้โดยมีจุดไฮโปเซนเตอร์ของการไหวสะเทือนอยู่ที่ระดับที่ลึกลงไปใต้แนวหมู่เกาะรูปโค้งนี้ เรียกแนวการเกิดไหวสะเทือนนี้ว่าแนววาดาติ-เบนนิออฟ (Wadati-Benioff) แอ่งมหาสมุทรที่กำลังลดขนาดลงด้วยการมุดตัวนี้เรียกว่า ‘มหาสมุทรส่วนที่เหลือ’ (remnant ocean) ด้วยมันกำลังหดตัวลงอย่างช้าๆและบดขยี้จากการชนกันของแผ่นเปลือกโลก กระบวนการนี้เกิดขึ้นครั้งแล้วครั้งเล่าตลอดประวัติทางธรณีวิทยาของโลกใบนี้.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและหมู่เกาะรูปโค้ง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ

กาะเซนต์จอห์น หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ (United States Virgin Islands; USVI) เป็นกลุ่มเกาะกลุ่มหนึ่งในทะเลแคริบเบียนซึ่งเป็นพื้นที่เกาะของสหรัฐอเมริกา ในทางภูมิศาสตร์ หมู่เกาะนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะเวอร์จินและตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ดของภูมิภาคเลสเซอร์แอนทิลลิส หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาประกอบด้วยเกาะหลัก 3 เกาะ คือ เกาะเซนต์ครอย (Saint Croix) เกาะเซนต์จอห์น (Saint John) และเกาะเซนต์ทอมัส (Saint Thomas) รวมทั้งเกาะวอเตอร์ (Water Island) และหมู่เกาะเล็ก ๆ โดยรอบอีกเป็นจำนวนหนึ่ง ดินแดนแห่งนี้มีเนื้อที่รวม 346.36 ตารางกิโลเมตร (133.73 ตารางไมล์) จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี พ.ศ. 2543 มีจำนวนประชากร 108,612 คน เกาะหลัก 3 เกาะมีชื่อเล่นซึ่งมักเรียกกันในหมู่คนท้องถิ่น คือ "ร็อกซิตี" (เซนต์ทอมัส) "เลิฟซิตี" (เซนต์จอห์น) และ "ทวินซิตี" (เซนต์ครอย).

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเคย์แมน

หมู่เกาะเคย์แมน (Cayman Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรซึ่งตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนฝั่งตะวันตก ประกอบด้วยเกาะแกรนด์เคย์แมน (Grand Cayman) เกาะเคย์แมนแบร็ก (Cayman Brac) และเกาะลิตเทิลเคย์แมน (Little Cayman) ดินแดนแห่งนี้ถือเป็นศูนย์กลางทางการเงินในภูมิภาคแคริบเบียน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและหมู่เกาะเคย์แมน · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส (Turks and Caicos Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรประกอบไปด้วยหมู่เกาะย่อยในเขตร้อน 2 หมู่เกาะ ได้แก่ หมู่เกาะเคคอสและหมู่เกาะเติกส์ อาณานิคมนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน และมีชื่อเสียงในด้านสถานที่ท่องเที่ยวและเป็นแหล่งหลบเลี่ยงภาษีของบริษัทต่างชาติ หมู่เกาะนี้อยู่ห่างจากเมืองไมแอมี รัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกาไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 970 กม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและหมู่เกาะเติกส์และเคคอส · ดูเพิ่มเติม »

อะทอลล์

กดาวเทียมของอะทอลล์อาตาฟูในโตเกเลาในมหาสมุทรแปซิฟิก อะทอลล์ (atoll) เป็นเกาะปะการังรูปวงแหวนที่ล้อมรอบลากูน ที่อาจล้อมปิดลากูนโดยสมบูรณ์หรือล้อมรอบเป็นบางส่วนก็ได้.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและอะทอลล์ · ดูเพิ่มเติม »

อัสแซสซินส์ครีด 4: แบล็กแฟล็ก

อัสแซสซินส์ครีด 4: แบล็กแฟล็ก (Assassin's Creed IV: Black Flag) เป็นซีรีส์เกมอิงประวัติศาสตร์แอ็คชันผจญภัย ที่พัฒนาโดย ยูบิซอฟจต์มอนทรีออล และเผยแพร่โดย ยูบิซอฟต์ โดยปรากฏในเครื่องเล่นเกมเพลย์สเตชัน 3, เอกซ์บ็อกซ์ 360, วียู ในเดือนตุลาคม 2013 และในเดือนพฤศจิกายน 2013 สำหรับเครื่องเล่นเกมเพลย์สเตชัน 4, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และ เอกซ์บอกซ์ วัน อัสแซสซินส์ครีด 4: แบล็กแฟล็กเป็นเกมชุดที่หกในซีรีส์ อัสแซสซินส์ครีด สืบเนื่องจาก อัสแซสซินส์ครีด 3 ในปี 2012 เนื้อเรื่องจะอยู่ในต้นศตวรรษที่ 18 ที่ทะเลแคริบเบียน ในช่วงยุคทองแห่งโจรสลัด และติดตามเรื่องราวของโจรสลัดผู้มีชื่อเสียง เอ็ดเวิร์ด เคนเวย์ ซึ่งเป็นปู่ของ ราดูนฮาเกดูน (คอนเนอร์ เคนเวย์) ตัวเอกจากภาคอัสแซสซินส์ครีด 3 อัสแซสซินส์ครีด 4: แบล็กแฟล็ก จะมุ่งเน้นในการสำรวจสถานที่ทางเรือซึ่งแตกต่างจากเกมในภาคก่อนๆ แต่ก็ยังรักษาการเล่นแบบมุมมองบุคคลที่สาม และการสำรวจภาคพื้นดินรวมถึงการต่อสู้และลักลอบเอาไว้ ระบบผู้เล่นหลายคนยังคงมีอยู่ แต่สามารถเล่นได้แค่โหมดภาคพิ้นดินเท่านั้น ไม่สามารถท่องเรือได้.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและอัสแซสซินส์ครีด 4: แบล็กแฟล็ก · ดูเพิ่มเติม »

อารูบา

อารูบา (Aruba) เป็นเกาะหนึ่งมีความยาว 32 กิโลเมตร ตั้งอยู่ในหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีสในทะเลแคริบเบียน อยู่ห่างจากคาบสมุทรปารากวานา (รัฐฟัลกอน ประเทศเวเนซุเอลา) ไปทางเหนือ 27 กิโลเมตร อารูบาเป็นหนึ่งในสี่ประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เกาะแห่งนี้มีความแตกต่างจากดินแดนส่วนใหญ่ในแถบแคริบเบียน กล่าวคือ มีอากาศแห้ง ภูมิอากาศเช่นนี้สนับสนุนการท่องเที่ยวเนื่องจากผู้มาเยือนสามารถคาดหวังว่าจะได้พบอากาศอบอุ่นและแสงแดดจัดได้แน่นอน เกาะนี้มีเนื้อที่ 193 ตารางกิโลเมตร เป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเอบีซี (ABC islands).

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและอารูบา · ดูเพิ่มเติม »

อาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่า

อาธีนาและเซนต์แห่งอาธีน่า เป็นตัวละครจากการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่อง เซนต์เซย์ย่า ซึ่งเซนต์แห่งอาธีน่าเป็นเซนต์ประจำกลุ่มดาวทั้ง 88 มีหน้าที่ปกป้องอาธีนา โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ บรอนซ์เซนต์ ซิลเวอร์เซนต์ และโกลด์เซนต์ แต่ในบรรดานั้นก็มีเซนต์บางคนที่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มดาวทั้ง 88 รวมไปถึงเซนต์ที่ไม่มีกลุ่มดาวประจำตัวอย่าง สตีลเซนต์ แบล็กเซนต์ และโกสต์เซนต์ด้ว.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและอาธีน่าและเซนต์แห่งอาธีน่า · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีหัวขาว

อินทรีหัวขาว หรือ อินทรีหัวล้าน (White-Head Eagle, Bald Eagle, American Eagle) เป็นนกอินทรีชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในจำพวกอินทรีทะเล มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Haliaeetus leucocephalus เป็นนกขนาดใหญ่ มีจุดเด่น คือ ขนส่วนหัวจนถึงลำคอเป็นสีขาว ตัดกับสีขนลำตัวและปีกซึ่งเป็นสีดำ และปลายหางสีขาว ขณะที่กรงเล็บ รวมทั้งจะงอยปากเป็นสีเหลือง มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 70-102 เซนติเมตร (28-40 นิ้ว) ความยาวปีกเมื่อกางปีก 1.8-2.3 เมตร (5.9-7.5 ฟุต) และมีน้ำหนักประมาณ 2.5 ถึง 7 กิโลกรัม (9-12 ปอนด์) ขณะที่ตัวเมียจะมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ประมาณร้อยละ 25 สามารถบินได้เร็วประมาณ 48 กิโลเมตร/ชั่วโมง และมีสายตาที่สามารถมองได้ไกลประมาณ 1 ไมล์ (1.6 กิโลเมตร) จัดเป็นนกที่มีความสวยงามและสง่างามมากชนิดหนึ่ง มีถิ่นกระจายพันธุ์ในทวีปอเมริกาเหนือตลอดไปจนถึงเม็กซิโกตอนเหนือ และทะเลแคริบเบียน มักอาศัยอยู่ใกล้แหล่งน้ำหรือชายทะเล เพราะกินปลาเป็นอาหารหลัก มีอายุขัยโดยเฉลี่ยประมาณ 25-30 ปี ในขณะที่ยังเป็นนกวัยอ่อนจนถึง 5 ขวบ ขนบริเวณหัวและปลายหางจะยังเป็นสีน้ำตาล ไม่เปลี่ยนไปเป็นสีขาว อินทรีหัวขาวมีพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีกันค่อนข้างโลดโผน โดยนกทั้งคู่จะใช้กรงเล็บเกาะเกี่ยวกันกลางอากาศ แล้วทิ้งตัวดิ่งลงสู่พื้นดิน แต่เมื่อใกล้จะถึงพื้น ก็จะผละแยกออกจากกัน ซึ่งพฤติกรรมเช่นนี้เป็นไปเพื่อต้องการทดสอบความแข็งแกร่งของคู่ของตน ซึ่งจะทำให้ได้ลูกนกที่เกิดมาใหม่นั้นเป็นนกที่แข็งแรง อีกทั้งยังเป็นคู่ที่จับคู่กันตลอดชีวิตอีกด้วย เว้นแต่ตัวใดตัวหนึ่งตายไปเสียก่อน จึงจะหาคู่ใหม่ อินทรีหัวขาวถือเป็นสัญลักษณ์ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยปรากฏในตราประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และอีกหลายหน่วยงานราชการในประเทศ อินทรีหัวขาว เป็นนกที่ได้รับการคุ้มครองในสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและอินทรีหัวขาว · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวฮอนดูรัส

อ่าวฮอนดูรัส ทางด้านขวาของภาพ อ่าวฮอนดูรัส (Gulf of Honduras; Golfo de Honduras) เป็นอ่าวตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน มีอาณาเขตติดประเทศเบลีซ กัวเตมาลา และฮอนดูรัส จากทิศเหนือลงมาตามลำดั.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและอ่าวฮอนดูรัส · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวปานามา

อ่าวปานามา อ่าวปานามา (Golfo De Panamá) เป็นอ่าวในมหาสมุทรแปซิฟิก ใก้กับชายฝั่งทางใต้ของประเทศปานามา มีความกว้างประมาณ 250 กม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและอ่าวปานามา · ดูเพิ่มเติม »

อ่าวเวเนซุเอลา

ที่ตั้งของอ่าวเวเนซุเอลา อ่าวเวเนซุเอลา (Golfo de Venezuela) เป็นอ่าวในทะเลแคริบเบียน ล้อมรอบด้วยแผ่นดินรัฐซูเลียและรัฐฟัลกอนของประเทศเวเนซุเอลา และจังหวัดกัวฮิราของประเทศโคลอมเบีย อ่าวแห่งนี้ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ระหว่างคาบสมุทรปารากัวนาในรัฐฟัลกอน ประเทศเวเนซุเอลา กับคาบสมุทรกัวฮิราในประเทศโคลอมเบีย และมีการเชื่อมต่อกับทะเลสาบมาราไกโบผ่านคลองที่ขุดขึ้นเพื่อการเดินเรือ อ่าวเวเนซุเอลาถูกค้นพบในปี..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและอ่าวเวเนซุเอลา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดอัตลันตีดา

นที่ตั้งของจังหวัดอัตลันตีดา จังหวัดอัตลันตีดา (Atlántida) เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลแคริบเบียนของประเทศฮอนดูรัส ในอเมริกากลาง มีเมืองหลวง เป็นเมืองท่าที่ชื่อ ลาเซย์บา ในทศวรรษหลัง ๆ การท่องเที่ยวได้กลายเป็นธุรกิจหลักของจังหวัด ในเขตชายฝั่ง ในปี..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและจังหวัดอัตลันตีดา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดซันอันเดรสและโปรบีเดนเซีย

กลุ่มเกาะซานอันเดรส โปรบิเดนเซีย และซานตากาตาลินา (Archipiélago de San Andrés, Providencia y Santa Catalina) หรือเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า ซานอันเดรสและโปรบิเดนเซีย (San Andrés y Providencia) เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศโคลอมเบีย ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ ในทะเลแคริบเบียน ห่างจากแผ่นดินใหญ่โคลอมเบียไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 775 กิโลเมตร (482 ไมล์) มีเมืองหลักชื่อซานอันเดรส (San Andrés) เมืองบนเกาะซานอันเดรสและเกาะโปรบิเดนเซี.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและจังหวัดซันอันเดรสและโปรบีเดนเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จันทน์เทศหอม

ันทน์เทศหอม เป็นสปีชีส์ของพืชดอกที่อยู่ในวงศ์ Myristicaceae เป็นพืชไม่ผลัดใบที่เป็นพืชท้องถิ่นในหมู่เกาะโมลุกกะในอินโดนีเซีย เป็นพืชสำคัญที่ให้ลูกจันทน์เทศและดอกจันทน์เทศ มีปลูกในกวางตุ้ง ยูนนาน ไต้หวัน อินโดนีเซีย มาเลเซีย เกรนาดาในทะเลแคริบเบียน เกระละในอินเดีย ศรีลังกา และอเมริกาใต้ สารสกัดด้วยเอทานอลจากผลและเมล็ดยับยั้งการเจริญและการงอกของถั่วเขียวผิวดำได้.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและจันทน์เทศหอม · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติกัวเตมาลา

งชาติกัวเตมาลา มีลักษณะเป็นธงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 5 ส่วน ยาว 8 ส่วน ภายในแบ่งเป็นสามแถบตามแนวตั้ง แต่ละแถบกว้างเท่ากัน แถบนอกทั้งสองแถบเป็นสีฟ้าอ่อน แถบกลางเป็นสีขาว การวางแถบสีธงเช่นนี้ก็เพื่อสะท้อนถึงลักษณะทางกายภาพของประเทศ ซึ่งเป็นแผ่นดินที่ขนาบด้วยมหาสมุทร 2 แห่ง ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลแคริบเบียนซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแอตแลนติก นอกจากนี้สีฟ้ายังหมายถึงท้องฟ้าเหนือแผ่นดินกัวเตมาลา ส่วนสีขาวนั้นก็หมายถึงสันติภาพและความบริสุทธิ์ ที่กลางแถบสีขาวของธงนั้นมีรูปตราแผ่นดินของกัวเตมาลา อันประกอบด้วยรูปนก Resplendent Quetzal ซึ่งเป็นนกประจำชาติของกัวเตมาลาและเป็นสัญลักษณ์แห่งเสรีภาพ จับอยู่บนม้วนกระดาษระบุวันที่กัวเตมาลาประกาศเอกราชจากสเปน (วันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1821) เบื้องหลังม้วนกระดาษมีรูปปืนเล็กยาวสองกระบอกไขว้กัน หมายถึงเจตจำนงอันแรงกล้าที่ชาวกัวเตมาลาจะปกป้องตนเองให้ได้ในยามที่จำเป็น พร้อมทั้งรูปดาบสองเล่มไขว้ซึ่งหมายถึงเกียรติยศ เบื้องล่างล้อมด้วยช่อลอเรลอันเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะ ธงดังกล่าวนี้ใช้เป็นธงชาติสำหรับรัฐบาลและกองทัพ หากเป็นธงดังกล่าวซึ่งไม่มีรูปตราแผ่นดินจะใช้เป็นธงชาติสำหรับพลเรือนโดยทั่วไป ธงชาติกัวเตมาลาดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนี้ เริ่มใช้อย่างเป็นทางการมานับตั้งแต่วันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1871 อันเป็นเวลา 20 ปีให้หลังจากการแยกตัวจากสหพันธ์สาธารณรัฐอเมริกากลางและได้มีการเปลี่ยนแปลงธงชาติมาหลายคราวอันเนื่องมาจากปัญหาความวุ่นวายทางการเมืองภายในประเท.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและธงชาติกัวเตมาลา · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติแอนติกาและบาร์บูดา

งชาติแอนติกาและบาร์บูดา มีลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน พื้นธงมีสีแดง ภายในมีรูปสามเหลี่ยมหัวกลับแบ่งพื้นสีแดงออกเป็นสองส่วน ในรูปสามเหลี่ยมนั้นแบ่งออกเป็นสามส่วนใหญ่ๆ ตามแนวนอน ตอนล่างเป็นสีขาว ตอนกลางเป็นสีฟ้า ตอนบนสุดเป็นพื้นสีดำมีรัศมีดวงอาทิตย์สีเหลือง รัศมีดังกล่าวมี 9 แฉก ธงนี้เป็นเป็นแบบที่ชนะเลิศการประกวดธงชาติ ออกแบบโดย เรจินัลด์ ซามูเอลส์ (Reginald Samuels) อาชีพครู และได้รับรองให้เป็นธงชาติแอนติกาและบาร์บูดาอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 ในธงชาตินั้น รูปดวงอาทิตย์หมายถึงแสงแห่งวันใหม่ของประเทศแอนติกาและบาร์บูดา สีดำหมายถึงมรดกจากชาวแอฟริกาที่สืบทอดมายังประชาชนผู้เป็นลูกหลาน สีฟ้าหมายถึงความหวัง สีแดงหมายถึงพลังงาน นอกจากนี้ สีเหลือง สีฟ้า และสีขาว ที่เรียงลำดับต่อเนื่องกัน ยังหมายถึง ดวงอาทิตย์ ทะเล (ทะเลแคริบเบียน) และหาดทราย อันเป็นลักษณะของธรรมชาติในประเทศอย่างชัดเจน รูปสามเหลี่ยมหัวกลับนั้น มีลักษณะคล้ายอักษร "V" หมายถึงคำว่า "victory" ในภาษาอังกฤษ แปลว่า ชัยชนะ สำหรับธงราชนาวีของหน่วยรักษาชายฝั่งของแอนติกาและบาร์บูดานั้น ใช้ธงพื้นขาวมีกางเขนสีแดงอยู่กลาง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีภาพธงชาติ เช่นเดียวกับธงราชนาวี.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและธงชาติแอนติกาและบาร์บูดา · ดูเพิ่มเติม »

ถั่วผีทะเล

ั่วผีทะเล เป็นพืชล้มลุกในวงศ์ถั่ว ลำต้นทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน หรือเกี่ยวพันกับต้นไม้อื่น ลำต้นเหนียว สีเขียวหรือเขียวอมขาว ใบประกอบแบบขนนก ใบย่อย 3 ใบ สีเขียวเข้ม หลังใบสีอ่อนกว่าเล็กน้อย ดอกช่อ กลีบเลี้ยงติดกันเป็นหลอดสเขียว กลีบดอกสีเหลือง ผลเดี่ยว เป็นฝัก เมื่ออ่อนสีเขียว แก่แล้วเป็นสีน้ำตาลแห้ง แตกตามตะเข็บของผล ภายในมีเมล็ดกลมรี สีน้ำตาลอ่อน พืชชนิดนี้เป็นพืชทนเค็มพบทั่วไปตามชายหาดของเขตร้อน เช่นที่ฮาวาย และเกาะอีกหลายเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก Puerto Rico และหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียน ชายฝั่งที่บราซิล ชายฝั่งทางมหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรอินเดียวของแอฟริกา มาดากัสการ์ เซเชลส์ อินเดียและศรีลังกา คาบสมุทรอินโดจีน และเกาะไหหลำ มาเลเซีย, และชายฝั่งของออสเตรเลียในควีนส์แลนด์และนอร์ทเทิร์น เทอร์ริทอร์รี publication by the Beach Protection Authority of Queensland, Australia.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและถั่วผีทะเล · ดูเพิ่มเติม »

ทรายดำ

thumb ทรายดำ (black sand) เป็นตะกอนเม็ดทรายสีดำที่พบสะสมตัวบริเวณชายหาด ที่มีการสะสมตัวของเม็ดทรายสีดำที่มีความทนทานต่อการผุพังสลายตัว และมีความหนาแน่นมากกว่าแร่ควอตซ์ เป็นชายหาดที่มีกำลังคลื่นมากเพียงพอที่จะพัดพาเอาวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อยกว่าออกไป โดยที่วัตถุที่มีความหนาแน่มากกว่าจะถูกพัดพาออกไปได้ช้ากว่าหรือยังคงตกสะสมตัวอยู่กับที่ สะสมตัวจนเกิดเป็นชายหาดที่มีทรายสีดำสะสมตัวเป็นหลัก หาดทรายดำอาจเกิดจากการตกสะสมตะกอนที่แตกหักมาจากหินต้นกำเนิด แล้วถูกพัดพาไปสะสมตัวบริเวณชายหาด (placer deposit) หรืออาจเกิดจากการที่ลาวาร้อนไหลลงไปสัมผัสกับน้ำทะเลอย่างฉับพลัน จนทำให้เกิดการระเบิดอย่างรุนแรง (steam explosion หรือ littoral explosion) ทำให้เกิดเม็ดทรายและถูกพัดพาไปสะสมตัวเป็นหาดทรายสีดำ.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและทรายดำ · ดูเพิ่มเติม »

ทะเลสาบนิการากัว

ทะเลสาบนิการากัว หรือ โกซิบอลกา หรือ กรานาดา (Lago de Nicaragua, Lago Cocibolca, Mar Dulce, Gran Lago, Gran Lago Dulce, หรือ Lago de Granada) เป็นทะเลสาบน้ำจืดขนาดใหญ่ในประเทศนิการากัว มีพื้นที่ 8,264 ตร.กม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและทะเลสาบนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซ

ลโก้รายการที่ใช้ในฉบับอเมริกา สำหรับโลโก้ในฉบับอื่น ๆ จะถูกดัดแปลงจากโลโก้นี้ ดิ อะเมซิ่ง เรซ (The Amazing Race หรือในบางครั้งรู้จักกันในตัวย่อ TAR มีชื่อภาษาไทยตามที่ออกอากาศทางช่องเอเอกซ์เอ็นในประเทศไทยว่า คนแกร่งแข่งอึด) เป็นเรียลลิตี้โชว์ ทางโทรทัศน์ ที่สมาชิกในทีม ทีมละสองคน ที่รู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันกับทีมอื่นโดยการเดินทางรอบโลก โดยผู้เข้าแข่งขันจะต้องพยายามเข้าเป็นทีมแรกที่จุดหยุดพักในแต่ละเลกให้ได้ เพื่อเป็นผู้ชนะในเลกนั้น ๆ และหลีกเลี่ยงการมาถึงเป็นทีมสุดท้าย ที่อาจจะทำให้ทีมถูกคัดออกจากการแข่งขัน หรืออาจทำให้ทีมประสบอุปสรรคตามมาในเลกต่อไป ผู้เข้าแข่งขันจะเดินทางระหว่างประเทศหลายประเทศ ด้วยวิธีการเดินทางที่แตกต่างกันออกไป เช่น เครื่องบิน แท็กซี่ รถเช่า รถไฟ รถประจำทาง และเรือ คำสั่งในแต่ละช่วงของเลกจะสั่งให้ทีมไปยังจุดหมายต่อไป หรือทำงาน ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือสองคนก็ตาม ซึ่งงานที่ทีมทำนั้นจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมารยาท หรือวัฒนธรรม ท้องถิ่นในประเทศที่พวกเขาไปเยือน โดยแต่ละทีมจะทะยอยถูกคัดออก จนกระทั่งเหลืออยู่ 3 ทีมสุดท้าย ณ จุดนั้น ทีมที่มาถึงเป็นทีมแรกในเลกสุดท้ายจะได้รับเงินรางวัลก้อนใหญ่ ซึ่งโดยปกติแล้วจะมีมูลค่า 1 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ในเวอร์ชันสหรัฐอเมริกา สร้างโดย อลิส ดอร์แกนเลอร์ และ เบ็นตั้น แวนด์ มัสเตอร์ และได้ออกอากาศในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ ค.ศ. 2001 มีพิธีกรชื่อดังระดับรางวัลเอ็มมี ชาวนิวซีแลนด์ ฟิล คีโอแกน เป็นพิธีกรของรายการตั้งแต่ซีซั่นแรก และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ฟอร์มยักษ์ระดับ ฮอลลีวูด เจอร์รี บรัคไฮเมอร์ เป็นผู้อำนวยการสร้างหลักของรายการ นอกจากนี้รายการนี้ยังมีการซื้อลิขสิทธิ์ ไปสร้างในหลาย ๆ ประเทศ โดยยังคงรูปแบบหลัก ๆ ของรายการอยู่ ส่วนเนื้อหาในบทความนี้จะใช้เกณฑ์และเนื้อหาของฉบับอเมริกาเป็นส่วนใหญ.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและดิอะเมซิ่งเรซ · ดูเพิ่มเติม »

ดิอะเมซิ่งเรซเอ็นดิสคัฟเวอรีแชนแนล

อะเมซิ่ง เรซ เอ็น ดิสคัฟเวอรี แชนแนล (The Amazing Race En Discovery Channel; The Amazing Race on Discovery Channel หรือในบางครั้งรู้จักกันในชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ ลาติน อเมริกา) เป็นเกมโชว์ประเภทเรียลลิตี้ทางโทรทัศน์ในเวอร์ชันของ ลาติน อเมริกา ที่สร้างมาจากเรียลลิตี้โชว์ชื่อดังของสหรัฐอเมริกา ที่ชื่อ ดิ อะเมซิ่ง เรซ โดย ดิสคัฟเวอรี แชนแนล ลาตินอเมริกา ด้วยความร่วมมือของดิสนีย์ รายการนี้จะมีผู้เข้าแข่งขัน 11 ทีม ทีมละ 2 คนซึ่งรู้จักกันมาก่อนแล้ว ทำการแข่งขันโดยเดินทางรอบ โดยทีมที่ชนะจะได้รับเงินรางวัล 250,000 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกา ข้อแตกต่างเล็กน้อยสำหรับเวอร์ชันนี้คือ Routmaker ได้ถูกเปลี่ยนเป็นสี น้ำเงิน-ดำและซองคำใบ้ได้ถูกเปลี่ยนเป็นสีน้ำงินแทนสีเหลืองดั่งเดิม รวมถึงชื่อทีมที่ขึ้นในรายการจะตามด้วยธงประเทศของตนเองด้วย การเดิทางทั้งหมดผ่าน 1 ทวีปโดยไม่ได้ออกนอกทวีปอเมริกาใต้แต่อย่างใด รวมถึงเป็น ดิ อะเมซิ่ง เรซ เวอร์ชันที่ 3 ถัดจากบราซิลและอิสราเอล ที่เส้นชัยนั้นไม่ได้อยู่ในประเทศแรกที่ออกเดินทาง ปัจจุบันยังคงผลิตฤดูกาลถัดๆ มาอยู่เรื่อยๆ และในฤดูกาลที่ 3 หลังจากเปลี่ยนช่องที่ทำการออกอากาศในฤดูกาลที่ 3 เป็นต้นมารายการจึงได้กลับไปใช้ Routmaker สีมาตรฐานของต้นฉบับ คือ เหลือง-แดงและซองคำใบ้สีเหลือง สำหรับฤดูกาลแรกนี้เปิดรับสมัครผู้เข้าแข่งขันเป็นชาวอเมริกาใต้ทั้งหมดหรือผู้ที่อาศัยอยู่ในทวีปอเมริกาใต้มาเป็นเวลานาน โดยอาจเป็นบุคคลที่มีเชื้อชาติอื่นก็ได้ เช่นเดียวกับการคัดเลือกของ ดิ อะเมซิ่ง เรซ เอเชีย และใบสมัครได้ประกาศออกมาตั้งแต่วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ไปจนถึงวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2552 และคาดว่าจะออกอาการทางช่อง ดิสคัฟเวอรี แชนแนล ในแถบ ลาตินอเมริกา และหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียนในช่วงปลายปี พ.ศ. 2552 เป็นจำนวน 13 ตอน โดยเริ่มออกอากาศ 20 กันยายน 2552 และมีพิธ๊กรประจำรายการคือ แฮริส วิดเบ็ค ซึ่งเป็น 1 ในผู้สื่อข่าวของสำนักข่าว ซีเอ็นเอ็น อินเตอร์เนชั่นแนลประจำทวีปอเมริกาใต้.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและดิอะเมซิ่งเรซเอ็นดิสคัฟเวอรีแชนแนล · ดูเพิ่มเติม »

ดินแดนของสหรัฐอเมริกา

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและดินแดนของสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส

ริสโตเฟอร์ โคลัมบัส (Christopher Columbus), กริสโตบัล โกลอน (Cristóbal Colón), คริสโตโฟรุส โกลุมบุส (Christophorus Columbus) หรือ กริสตอโฟโร โกลอมโบ (Cristoforo Colombo; เกิด ค.ศ. 1451 เสียชีวิตวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1506) เป็นนักทำแผนที่ นักสำรวจ นักเดินเรือ และพ่อค้า เชื่อกันว่าน่าจะเป็นชาวสาธารณรัฐเจนัว "Christopher Columbus." Encyclopædia Britannica.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส · ดูเพิ่มเติม »

คลองเดินเรือสมุทร

ลองปานามา คลองเดินเรือสมุทร (Ship canal) เป็นคลองที่วางแผนเอาไว้โดยเฉพาะเพื่ออำนวยความสะดวกแก่เรือที่ใช้มหาสมุทร ทะเล หรือทะเล.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและคลองเดินเรือสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

ความแพร่หลายของภาษาสเปน

ษาสเปนมีสถานะทางการในรัฐ เคาน์ตี และเมืองบางแห่งของสหรัฐอเมริกา ภาษาสเปนเป็นภาษาซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก โดยเป็นภาษาราชการใน 21 ประเทศ องค์การระหว่างประเทศจำนวนหนึ่ง และมีผู้พูดราว 329-500 ล้านคน คิดเป็นอันดับ 2 หรือ 3 ของโลก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและความแพร่หลายของภาษาสเปน · ดูเพิ่มเติม »

คอคอดปานามา

อคอดปานามา คอคอดปานามา (Istmo de Panamá) หรือในอดีตเรียก คอคอดดาเรียน (Istmo de Darién) เป็นแผ่นดินกิ่วคอดซึ่งอยู่กลางทะเลแคริบเบียนและมหาสมุทรแปซิฟิก และเชื่อมทวีปอเมริกาเหนือเข้ากับทวีปอเมริกาใต้ ทั้งเป็นดินแดนประเทศปานามาและเป็นแหล่งคลองปานามา นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางยุทธศาสตร์นานัปการเช่นเดียวกับคอคอดแห่งอื่น ๆ คอคอดปานาเกิดขึ้นราวสามล้านปีก่อนในยุคไพลโอซีน ซึ่งทำให้มหาสมุทรแอตแลนติกและมหาสมุทรแปซิฟิกแยกจากกัน และก่อให้เกิดกระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรดังกล่าว.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและคอคอดปานามา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของคอสตาริกา

ตราแผ่นดินของคอสตาริกา (Escudo de Costa Rica) ประกาศใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2391 (ค.ศ. 1848), แก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่1 เมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) และ ครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964), การแก้ไขครั้งล่าสุดเมื่อ..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและตราแผ่นดินของคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

ตราแผ่นดินของเซนต์คิตส์และเนวิส

ตราแผ่นดินของเซนต์คิตส์และเนวิส ประกาศใช้เป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2510 โดยรายละเอียดของตราอาร์มแผ่นดินมีดังนี้ ในโล่พื้นขาวที่มุมบนของโล่ทั้ง 2 มุมมีดอกโป๊ยเซียนวางอยู่ ใต้ดอกโป๊ยเซียน มีขีดแง่งสีแดงวางอยู่ ใต่แง่งสีแดงมีรูปเรือใบวางอยู่ ด้านบนสุดของโล่มีแถบสีนำเงินคือทะเลแคริบเบียน ในแถบบนสุดมีการวางตามรูปแบบคือ ด้านซ้ายสุด มีดอกเฟอร์ราลีลวางอยู่ ตรงกลางแถบ มีหอยแคริเบียนวางอยู่ ด้นขวาสุด มีดอกกุหลาบอังกฤษวางอยู่ด้านข้างโล้มีนกปากยาวยืนขนาบข้างโล่ โดยนกถือต้นมะพร้าวและต้นอ้อย เหนือตราโล่มีมือสีนำตาล 3 ข้างถือคบเพลิง ใต้ตราโล่มีคำขวัญเขียนว่า "Country Above Self" ซึ่งก่อนหน้านี้เป็นคำขวัญที่ชื่อว่า "Unity in Trinity".

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและตราแผ่นดินของเซนต์คิตส์และเนวิส · ดูเพิ่มเติม »

ตะขบฝรั่ง

ต้นตะขบฝรั่งในไฮเดอราบัด อินเดีย ใบและผลในไฮเดอราบัด อินเดีย ตะขบฝรั่ง เป็นพืชเพียงสปีชีส์เดียวในสกุล Muntingia เป็นไม้ยืนต้นที่มีถิ่นกำเนิดในภาคเหนือของเม็กซิโก บริเวณทะเลแคริบเบียน อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ฝั่งตะวันตก จนถึงเปรูและโบลิเวีย พบกระจายพันธุ์ทั่วประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง เช่น มาเลเซี.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและตะขบฝรั่ง · ดูเพิ่มเติม »

ซาบา

ซาบา (Saba) เป็นเกาะแห่งหนึ่งในหมู่เกาะลีเวิร์ดในทะเลแคริบเบียน และเป็นเทศบาลรูปแบบพิเศษ (เรียกอย่างเป็นทางการว่า "ทบวงการเมือง") ที่เล็กที่สุดของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตัวเกาะส่วนใหญ่ประกอบขึ้นจากเมานต์ซีเนอรี (Mount Scenery) ซึ่งเป็นภูเขาไฟที่อาจยังมีพลัง ด้วยความสูง 887 เมตร ภูเขาลูกนี้จึงเป็นจุดที่สูงที่สุดในราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เกาะซาบารวมกับเกาะกรีนมีสถานภาพเป็นเทศบาลรูปแบบพิเศษในประเทศเนเธอร์แลนด์หลังจากที่ดินแดนเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีสถูกยุบเลิกเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและซาบา · ดูเพิ่มเติม »

ซานฮวน

ตธุรกิจของซานฮวน ท่าเรือเมืองซานฮวน ท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดของแคริบเบียน ซานฮวน (San Juan) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของปวยร์โตรีโก และเป็นเมืองใหญ่อันดับที่ 42 ของสหรัฐอเมริกา มีประชากรประมาณ 434,374 คน (ปี 2543) มีพื้นที่ประมาณ 199.2 ตารางกิโลเมตร ความหนาแน่นของประชากร 3,507.5 คนต่อตารางกิโลเมตร เมืองซานฮวนเป็นเมืองเก่าแก่อันดับ 2 ของเมืองในหมู่เกาะทะเลแคริบเบียนที่ถูกสร้างโดยชาวยุโรปอีกด้วย (เมืองที่เก่าแก่ที่สุดคือซานโตโดมิงโก เมืองหลวงของสาธารณรัฐโดมินิกัน) หมวดหมู่:ปวยร์โตรีโก หมวดหมู่:เมืองหลวง.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและซานฮวน · ดูเพิ่มเติม »

ซานตามาร์ตา

ซานตามาร์ตา (Santa Marta) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดมักดาเลนา ประเทศโคลอมเบีย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและซานตามาร์ตา · ดูเพิ่มเติม »

ซานโตโดมิงโก

กรุงซานโตโดมิงโก เมืองหลวงของสาธารณรัฐโดมินิกัน ซานโตโดมิงโก (Santo Domingo) หรือชื่อเต็ม ซานโตโดมิงโกเดกุซมัน (Santo Domingo de Guzmán) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐโดมินิกัน และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของบรรดาเมืองที่ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน กรุงซานโตโดมิงโกตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำโอซามา (Ozama river) มีพื้นที่ประมาณ 104.44 ตร.กม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและซานโตโดมิงโก · ดูเพิ่มเติม »

ซินต์มาร์เติน

ซินต์มาร์เติน (Sint Maarten) เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) แห่งหนึ่งภายในราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ มีพื้นที่ครอบคลุมเฉพาะตอนใต้ของเกาะเซนต์มาร์ตินในทะเลแคริบเบียน ขณะที่พื้นที่อีกครึ่งทางตอนเหนือมีสถานะเป็นดินแดนโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส (มีชื่อว่า แซ็ง-มาร์แต็ง) ซินต์มาร์เตินมีประชากรประมาณ 37,000 คน บนเนื้อที่ 34 ตารางกิโลเมตร เมืองหลวงของดินแดนมีชื่อว่า ฟีลิปส์บืร์ค เดิมซินต์มาร์เตินมีสถานะเป็น "ดินแดนเกาะซินต์มาร์เติน" (Eilandgebied Sint Maarten) และเป็นหนึ่งในดินแดนเกาะ (eilandgebieden) ห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส ต่อมาในวันที่ 10 ตุลาคม..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและซินต์มาร์เติน · ดูเพิ่มเติม »

ซินต์เอิสตาซียึส

ซินต์เอิสตาซียึส (Sint Eustatius) หรือที่คนในท้องถิ่นเรียกกันเล่น ๆ ว่า สเตเชีย (Statia)Tuchman, Barbara W. The First Salute: A View of the American Revolution New York:Ballantine Books, 1988.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและซินต์เอิสตาซียึส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาร์เบโดส

ร์เบโดส (Barbados) เป็นประเทศที่เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติกทางตะวันตก ทางตะวันออกของทะเลแคริบเบียนเล็กน้อย ที่ 13 องศาเหนือและ 59 องศาตะวันตก ตั้งอยู่ค่อนข้างใกล้กับอเมริกาใต้โดยตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเวเนซุเอลาประมาณ 434.5 กิโลเมตร (270 ไมล์) เกาะที่อยู่ใกล้บาร์เบโดสมากที่สุดคือเซนต์ลูเซีย และเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซึ่งทั้ง 2 ประเทศตั้งอยู่ทางตะวันตก และเมื่อรวมกับบาร์เบโดสแล้ว เกาะเหล่านี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) ในภูมิภาคแคริบเบียน บาร์เบโดสเป็นหนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานชีวิตและความสามารถในการอ่านออกเขียนได้สูงที่สุดในโลกที่กำลังพัฒนา และจาก UNDP (United Nations Development Programme) บาร์เบโดสเป็นประเทศที่พัฒนาเป็นอันดับ 4 ในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนา นอกจากนี้ บาร์เบโดสยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวด้ว.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศบาร์เบโดส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศบาฮามาส

ประเทศบาฮามาส (The Bahamas) หรือชื่อทางการว่า เครือรัฐบาฮามาส (Commonwealth of the Bahamas) เป็นประเทศตั้งอยู่ในมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกของรัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา อยู่ทางตอนเหนือของประเทศคิวบาและทะเลแคริบเบียน ชื่อของประเทศมาจากคำนภาษาสเปนว่า "บาคามาร์" (baja mar) มีความหมายว่า "ทะเลน้ำตื้น" เศรษฐกิจของประเทศมากกว่าร้อยละ 60 ของจีดีพี มาจากธุรกิจการท่องเที่ยว ส่วนที่เหลือมาจากอุตสาหกรรมการเกษตร.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศบาฮามาส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศกัวเตมาลา

กัวเตมาลา (Guatemala) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐกัวเตมาลา (República de Guatemala) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ มีชายฝั่งติดกับทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน พรมแดนด้านตะวันตกจรดเม็กซิโก ตะวันออกเฉียงเหนือจรดเบลีซ และตะวันออกเฉียงใต้จรดฮอนดูรัสและเอลซัลวาดอร.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศกัวเตมาลา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศสเปน

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศสเปน · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮอนดูรัส

อนดูรัส (อังกฤษและHonduras) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐฮอนดูรัส (Republic of Honduras; República de Honduras) เป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคอเมริกากลาง (ลาตินอเมริกา) ครั้งหนึ่งเคยถูกเรียกว่า สแปนิช ฮอนดูรัส เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนกับ บริติช ฮอนดูรัส ซึ่งปัจจุบันคือประเทศเบลิซ มีอาณาเขตติดต่อกันดังนี้คือ ทิศตะวันตกติดต่อกับกัวเตมาลา ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับเอลซัลวาดอร์ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ติดต่อกับนิการากัว ทิศใต้จรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศเหนือจรดอ่าวฮอนดูรัสและทะเลแคริบเบียน และอยู่ห่างจากเบลีซ 75 กิโลเมตร (50 ไมล์) ตามชายฝั่งอ่าวฮอนดูรัส ฮอนดูรัสเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณที่สำคัญหลายแห่ง ที่โด่งดังก็คือ มายา ถูกพิชิตโดยสเปนซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลซึ่งส่งผลถึงปัจจุบันทั้งทางด้านภาษาและขนบธรรมเนียมในหลายด้านตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ฮอนดูรัสประกาศเอกราชเมื่อปี 1821 และกลายเป็นสาธารณรัฐเมื่อหมดยุคของสเปน ประเทศมีขนาด 112,492 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 8 ล้านคน เมืองหลวงชื่อว่า เตกูซิกัลปา บางส่วนทางตอนเหนือเป็นส่วนหนึ่งของแคริบเบียนตะวันตก ฮอนดูรัสมีชื่อเสียงทางด้านการส่งออกแร่ กาแฟ ผลไม้เมืองร้อน อ้อย และล่าสุดกับการส่งออกเสื้อผ้าไปยังตลาดนานาชาติมากขึ้น.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศฮอนดูรัส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศจาเมกา

มกา (Jamaica) เป็นประเทศที่อยู่บนเกาะในภูมิภาคหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่ เกาะจาเมกาเป็นเกาะที่มีความยาว 240 กม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศจาเมกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศดอมินีกา

อมินีกา (Dominica) หรือชื่อทางการคือ เครือรัฐดอมินีกา (Commonwealth of Dominica) เป็นประเทศที่เป็นเกาะที่อยู่ในทะเลแคริบเบียน ในภาษาละติน ชื่อนี้หมายถึง "วันอาทิตย์" ซึ่งเป็นวันที่คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ค้นพบเกาะนี้ ดอมินีกามีกรุงโรโซ (Roseau) เป็นเมืองหลวง.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศดอมินีกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคอสตาริกา

อสตาริกา (Costa Rica) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐคอสตาริกา (República de Costa Rica) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง มีอาณาเขตจรดประเทศนิการากัว ทางทิศเหนือ จรดประเทศปานามาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จรดมหาสมุทรแปซิฟิกทางทิศตะวันตกและทิศใต้ และจรดทะเลแคริบเบียนทางทิศตะวันออก ประเทศนี้เป็นตัวอย่างที่ดีของภูมิภาคในเรื่องการมีเสถียรภาพทางการเมือง และบางครั้งได้ชื่อว่าเป็น "สวิตเซอร์แลนด์ของอเมริกากลาง".

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศคอสตาริกา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศคิวบา

วบา (อังกฤษและCuba) มีชื่อทางการคือ สาธารณรัฐคิวบา (Republic of Cuba; República de Cuba) ประกอบด้วยเกาะคิวบา (เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะแอนทิลลิสใหญ่) เกาะคูเบนตุด (Isla de la Juventud) และเกาะเล็ก ๆ ใกล้เคียง ตั้งอยู่ในภูมิภาคแคริบเบียนเหนือ ที่จุดบรรจบของทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโก และมหาสมุทรแอตแลนติก คิวบาตั้งอยู่ทางทิศใต้ของสหรัฐอเมริกาภาคตะวันออก และหมู่เกาะบาฮามาส ทางทิศตะวันตกของหมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอสและประเทศเฮติ ทางทิศตะวันออกของเม็กซิโก และทางทิศเหนือของหมู่เกาะเคย์แมนและเกาะจาเมกา สาธารณรัฐคิวบาเป็นเพียงประเทศเดียวในบริเวณภูมิภาคนี้ที่ยังคงมีการปกครองแบบคอมมิวนิสต์อยู.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศคิวบา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศปานามา

ปานามา (Panamá) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐปานามา (República de Panamá) เป็นประเทศที่อยู่ทางใต้สุดของอเมริกากลาง มีอาณาเขตจรดประเทศคอสตาริกาทางทิศตะวันตก และจรดประเทศโคลอมเบียทางทิศตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศปานามา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศนิการากัว

นิการากัว (Nicaragua) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐนิการากัว (República de Nicaragua) เป็นประเทศที่มีพื้นที่มากที่สุดในอเมริกากลาง แต่มีความหนาแน่นของประชากรน้อยที่สุด มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศฮอนดูรัส ทางใต้จรดประเทศคอสตาริกา ชายฝั่งตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ส่วนชายฝั่งตะวันออกจรดทะเลแคริบเบียน ชื่อของประเทศมาจากการสนธิระหว่างคำว่า "นีการาโอ" (Nicarao) เป็นชื่อชนเผ่าพื้นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดขณะที่ชาวสเปนมาถึง กับคำว่า "อะกวา" (Agua) ซึ่งเป็นคำในภาษาสเปน แปลว่าน้ำ.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศนิการากัว · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา

แอนติกาและบาร์บูดา (Antigua and Barbuda) เป็นประเทศเกาะตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนตะวันออก บริเวณรอยต่อกับมหาสมุทรแอตแลนติก ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะหลักสองเกาะ คือ เกาะแอนติกาและเกาะบาร์บูดา ทั้งสองเกาะตั้งอยู่ในตอนกลางของหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) ในภูมิภาคแคริบเบียนตะวันออก ประมาณ 17 องศาเหนือเส้นศูนย์สูตร แอนติกาและบาร์บูดายังเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส โดยมีหมู่เกาะกัวเดอลุป ดอมินีกา มาร์ตีนิก เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ บาร์เบโดส เกรเนดา ตรินิแดดและโตเบโกอยู่ทางทิศใต้ เกาะมอนต์เซอร์รัตทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ หมู่เกาะเซนต์คิตส์และเนวิสทางทิศตะวันตก และมีเกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี เกาะเซนต์มาร์ติน และมีเกาะแองกวิลลาอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศแอนติกาและบาร์บูดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโคลอมเบีย

ลอมเบีย (โกลมเบีย) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐโคลอมเบีย เป็นประเทศในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ มีอาณาเขตทางทิศตะวันออกติดต่อกับเวเนซุเอลาและบราซิล ทางทิศใต้ติดต่อกับเอกวาดอร์และเปรู ทางทิศเหนือจรดทะเลแคริบเบียน ส่วนทางทิศตะวันตกติดต่อกับปานามาและมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศโคลอมเบีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลีซ

ลีซ (Belize) เป็นชาติขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของอเมริกากลาง ริมทะเลแคริบเบียน มีอาณาเขตจรดประเทศเม็กซิโกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดประเทศกัวเตมาลาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ มีประเทศฮอนดูรัสเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ห่างออกไปเพียง 75 กิโลเมตร (47 ไมล์) ตามอ่าวฮอนดูรัสทางด้านตะวันออก ชื่อประเทศมีต้นกำเนิดมาจากชื่อแม่น้ำเบลีซ ซึ่งเมืองเบลีซซิตี (เมืองหลวงเก่า) ก็ได้ชื่อมาจากแม่น้ำนี้ด้วยเช่นกัน ในภาษาสเปนมักจะเรียกว่า Belice เบลีซเป็นสมาชิกของประชาคมแคริบเบียน (CARICOM) และ the Sistema de Integracion Centro Americana (SICA) และจัดว่าตนเองอยู่ทั้งในกลุ่มประเทศแคริบเบียนและอเมริกากลาง.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศเบลีซ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเกรเนดา

กรเนดา (Grenada) เป็นประเทศบนเกาะในทะเลแคริบเบียนตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมถึงหมู่เกาะเกรนาดีนส์ (Grenadines) ทางใต้ เป็นประเทศอิสระที่มีขนาดเล็กเป็นอันดับ 2 ใน ซีกโลกตะวันตก (ประเทศที่เล็กที่สุดคือ ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส) ตั้งอยู่ทางเหนือของประเทศตรินิแดดและโตเบโก และทางใต้ของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศเกรเนดา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเม็กซิโก

ม็กซิโก (Mexico; México) หรือชื่อทางการคือ สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States; Estados Unidos Mexicanos) เป็นประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ มีพรมแดนทางทิศเหนือจรดสหรัฐอเมริกา ทิศใต้และทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศตะวันออกเฉียงใต้จรดกัวเตมาลา เบลีซ และทะเลแคริบเบียน ส่วนทิศตะวันออกจรดอ่าวเม็กซิโก เนื่องจากครอบคลุมพื้นที่ถึงเกือบ 2 ล้านตารางกิโลเมตร เม็กซิโกจึงเป็นประเทศที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 5 ของทวีปอเมริกา และเป็นอันดับที่ 15 ของโลก นอกจากนี้ยังมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 10 ของโลก โดยมีการประมาณไว้ว่า เมื่อ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ประเทศนี้มีจำนวนประชากร 128,632,000 ล้านคน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศเม็กซิโก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเฮติ

ติ (Haiti; Haïti; ครีโอลเฮติ: Ajiti) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐเฮติ (Republic of Haiti; République d'Haïti; ครีโอลเฮติ: Repiblik Ayiti) เป็นประเทศหนึ่งในกลุ่มประเทศแคริบเบียน ซึ่งอยู่ในทวีปอเมริกาเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะฮิสปันโยลาในทะเลแคริบเบียน โดยมีเกาะเล็ก ๆ ใกล้เคียงด้วย คือ ลากอนาฟว์, ลาตอร์ตูว์, เลแกมิต, อีลาวัช, ลากร็องด์แก และนาวัส (ซึ่งมีข้อพิพาทกับสหรัฐอเมริกา) โดยประเทศเฮติมีพรมแดนทางทิศตะวันออกติดกับสาธารณรัฐโดมินิกัน มีพื้นที่ 27,750 ตารางกิโลเมตร (10,714 ตารางไมล์) มีเมืองหลวงคือปอร์โตแปรงซ์ อดีตอาณานิคมของฝรั่งเศสแห่งนี้ประกาศเอกราชในปี พ.ศ. 2347 ใช้ชื่อประเทศว่าเฮติ ซึ่งมาจากชื่อเกาะในคำอาราวักเก่าว่า อายีตี (Ayiti) โดยถือว่าเป็นประเทศเอกราชแห่งที่ 2 ในทวีปอเมริกา (รองจากสหรัฐอเมริกา) และเป็นสาธารณรัฐเอกราชของคนผิวดำแห่งแรกของโลกอีกด้วย แต่ทั้ง ๆ ที่เก่าแก่และมีอายุยาวนาน เฮติกลับเป็นชาติที่ยากจนที่สุดในซีกโลกตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศเฮติ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซนต์ลูเชีย

ซนต์ลูเชีย (Saint Lucia) เป็นประเทศที่เป็นเกาะ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของทะเลแคริบเบียน และติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เซนต์ลูเชียเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) โดยอยู่ทางทิศเหนือของประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศบาร์เบโดส และทางทิศใต้ของเกาะมาร์ตินีกของฝรั่งเศส ประเทศเซนต์ลูเชียรู้จักในนาม "Helen of the West".

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศเซนต์ลูเชีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

ซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ (Saint Vincent and the Grenadines) เป็นประเทศในภูมิภาคแคริบเบียน มีลักษณะเป็นหมู่เกาะ มีทางออกสู่ทะเลและเป็นสมาชิกของเครือจักร.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส

ซนต์คิตส์และเนวิส (Saint Kitts and Nevis) หรือชื่อทางการคือ สหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิส (Federation of Saint Kitts and Nevis) ตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ด (Leeward Islands) เป็นประเทศเกาะในทะเลแคริบเบียนและเป็นประเทศที่เล็กที่สุดในซีกโลกตะวันตก เมืองหลวงและหน่วยงานรัฐบาลของสหพันธรัฐส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนเกาะเซนต์คิตส์ (หรือเซนต์คริสโตเฟอร์) ที่มีขนาดใหญ่กว่า ส่วนรัฐที่เล็กกว่าคือ เนวิส (Nevis) ตั้งอยู่ห่างจากเกาะเซนต์คิตส์ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 3 กิโลเมตร ตามประวัติศาสตร์แล้ว แองกวิลลาซึ่งเป็นอาณานิคมของอังกฤษ เป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐด้วย เรียกว่า เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา แม้ว่าทั้งเกาะเซนต์คิตส์และเกาะเนวิสตั้งอยู่ภายในหมู่เกาะลีเวิร์ด แต่ทั้ง 2 เกาะก็ตั้งอยู่ใกล้กับเกาะอื่น ๆ อีกมากมายด้วย ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือมีเกาะซินต์เอิสตาซียึส เกาะซาบา เกาะแซ็ง-บาร์เตเลมี และเกาะเซนต์มาร์ติน ทางตะวันออกเฉียงเหนือมีเกาะแอนติกาและบาร์บูดา และทางตะวันออกเฉียงใต้มีเกาะมอนต์เซอร์รัต ทั้งชื่อ Saint Christopher และ Saint Kitts ปรากฏอยู่ใน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส · ดูเพิ่มเติม »

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ

ปริศนาสมบัติอัจฉริยะ (The 39 Clues) เป็นวรรณกรรมแนวผจญภัยที่ผสมผสานกับเกมออนไลน์และการสะสมการ์ด ในสหรัฐอเมริกาจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์สกอลาสทิก ส่วนฉบับภาษาไทยจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์เนมแอนด์โนเบิล ในเครือบันลือกรุ๊ป ซึ่งเป็นเครือเดียวกับสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น เป็นวรรณกรรมชุดที่มีผู้เขียนมากกว่า 1 คน โดยมีริก ไรออร์แดน (ผู้เขียน เพอร์ซีย์ แจ็กสัน) เป็นผู้เขียนเล่มแรก หนังสือฉบับภาษาไทยตีพิมพ์มาแล้วทั้งหมด 10 เล่ม ประกอบด้วย ผจญค่ายกลกระดูก, หนึ่งโน้ตมรณะ, จอมโจรจอมดาบ, ความลับสุสานฟาโรห์, วงล้อมทมิฬ, ปฏิบัติการทะเลใต้, บุกรังอสรพิษ, รหัสลับจักรพรรดิโลกไม่ลืม, ฝ่าพายุแคริบเบียน และมหันตภัยปลายทาง.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและปริศนาสมบัติอัจฉริยะ · ดูเพิ่มเติม »

ปลากระเบนชายธง

ปลากระเบนชายธง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า ปลากระเบนธง (Cowtail stingray) ปลากระเบนชนิดหนึ่ง ที่สามารถปรับตัวให้อยู่ในน้ำจืด, น้ำกร่อย และทะเลได้ อยู่ในวงศ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae) มีรูปร่างเป็นทรงกึ่งสี่เหลี่ยมดูคล้ายชายธง จึงเป็นที่มาของชื่อ โดยความกว้างของลำตัวจะมีมากกว่าความยาวของลำตัวเสียอีก เมื่อมีขนาดเล็กผิวด้านบนจะเรียบ และผิวนี้จะขรุขระขึ้นตามอายุที่มากขึ้น โดยมีตุ่มแข็งเล็ก ๆ ปกคลุมบริเวณกลางลำตัวจนถึงโคนหาง ตามีขนาดเล็ก หางยาว ปลายหางมีแผ่นริ้วหนังเห็นได้ชัดเจน มีเงี่ยงพิษ 2 ชิ้นที่ตอนกลางของส่วนหาง สีลำตัวด้านบนเป็นสีน้ำตาลคล้ำ มีความกว้างโดยเฉลี่ยทั่วไปประมาณ 1 เมตร พบใหญ่สุดได้ถึง 3 เมตร และยาว 1.8 เมตร น้ำหนักกว่า 250 กิโลกรัม มีจุดเด่นคือ หางที่ยาวมาก โดยที่ความยาวของหางมีมากกว่าความยาวลำตัวถึง 2.5–3 เท่า ซึ่งเมื่อถูกจับ มักจะสะบัดหางด้วยความรุนแรงและเร็วเพื่อแทงเงี่ยงหางเพื่อป้องกันตัว เนื่องจากมีเงี่ยงที่อยู่ตอนกลางของส่วนหางด้วย จึงนับได้ว่ามีอันตรายกว่าปลากระเบนสกุลหรือชนิดอื่นทั่วไป ที่มีเงี่ยงอยู่ที่ส่วนโคนหาง พบกระจายพันธุ์บริเวณชายฝั่งทะเล หรือปากแม่น้ำอย่างกว้างขวาง โดยพบตั้งแต่ทวีปแอฟริกาตะวันออก, แอฟริกาเหนือ เช่น อียิปต์ และแอฟริกาใต้ เรื่อยไปจนถึงทะเลแดง, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงภูมิภาคไมโครนีเซีย และ ออสเตรเลีย รวมถึงญี่ปุ่น โดยมีรายงานพบที่แม่น้ำคงคา ประเทศอินเดีย ที่ห่างจากทะเลถึง 2,200 กิโลเมตร รวมถึงมีรายงานการพบตัวที่มีน้ำหนัก 50 กิโลกรัมที่คลองรังสิต จังหวัดปทุมธานี ของประเทศไทย แต่พฤติกรรมในทะเลจะอาศัยอยู่ได้ลึกถึง 60 เมตร สำหรับในประเทศไทย พบได้ในแหล่งน้ำจืดในแม่น้ำเจ้าพระยาช่วงจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, แม่น้ำบางปะกง และแม่น้ำแม่กลองช่วงจังหวัดกาญจนบุรี และพบได้น้อยที่ทะเลสาบสงขลาตอนใน ในเขตจังหวัดพัทลุงและสงขลา มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ คือ ใช้เนื้อเป็นอาหารในต่างประเทศ และใช้หนังทำเป็นเครื่องหนัง เช่น กระเป๋า เป็นต้น และยังเป็นตัวดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาป้อนอาหารให้ที่ชายหาดแถบทะเลแคริบเบียนด้วย เดิมปลากระเบนชายธงเคยถูกจำแนกให้มีเพียงชนิดเดียว แต่ปัจจุบันจากการศึกษาล่าสุดได้ถูกจำแนกออกเป็นถึง 5 ชนิด และในชนิด P. sephen นี้ เป็นปลาที่พบในแถบทะเลแดงและทะเลอาหรับหน้า 102-120, กระเบนน้ำจืดแห่งชาต.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและปลากระเบนชายธง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาวาฮู

ปลาวาฮู หรือ ปลาอินทรีน้ำลึก (Wahoo) เป็นปลาทะเลชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Acanthocybium solandri อยู่ในวงศ์ปลาอินทรี (Scombridae) มีรูปร่างคล้ายกับปลาในสกุลปลาอินทรี (Scomberomorus spp.) อย่างมาก โดยมีความแตกต่างกันคือ ครีบหลังของปลาวาฮูในตอนแรกจะมีความสูงกว่า และมีที่ว่างของครีบหลังตอนแรกและตอนหลังมากกว่าปลาในสกุลปลาอินทรี ครีบหางมีลักษณะเว้าที่ตื้นกว่า มีส่วนของจะงอยปากแลดูแหลมคมกว่า และรูปร่างที่เพรียวบางกว่า จัดเป็นปลาเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Acanthocybium มีความยาวเต็มที่ได้ถึง 2.5 เมตร และมีน้ำหนักถึง 83 กิโลกรัม เป็นปลาที่อาศัยอยู่เป็นฝูงในเขตน้ำลึกได้ถึง 80 เมตร ในทะเลเปิดเขตอบอุ่นและกึ่งอบอุ่นทั่วโลก โดยในฮาวายจะเรียกว่า "Ono" ขณะที่แถบทะเลแคริบเบียนและอเมริกากลางจะเรียกว่า "Peto" ว่ายน้ำได้รวดเร็วมาก เป็นปลาที่นิยมตกเป็นเกมกีฬา ในน่านน้ำไทยพบได้ทั้งฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและปลาวาฮู · ดูเพิ่มเติม »

ปลาหูช้าง

ปลาหูช้าง หรือ ปลาค้างคาว (Batfishes) เป็นสกุลของปลาทะเลในสกุล Platax จัดอยู่ในวงศ์ Ephippidae หรือวงศ์ปลาหูช้าง คำว่า Platax มาจากคำว่า "Platys" ซึ่งเป็นภาษากรีก มีความหมายว่า "แบน" หมายถึงรูปร่างที่แบนข้างโดยทั่วไปของปลาสกุลนี้ โดยมีชื่อสามัญที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า "ปลาค้างคาว" อันเนื่องจากรูปร่างที่แลดูคล้ายค้างคาวมาก โดยเฉพาะเมื่อยามเป็นปลาวัยอ่อน ปลาหูช้าง กระจายพันธุ์อยู่ตามแนวปะการังและซากเรือจมหรือเศษวัสดุต่าง ๆ ในท้องทะเล พบกระจายพันธุ์ในเขตอินโด-แปซิฟิก, ทะเลแดง จนถึงภาคตะวันออกของออสเตรเลีย, ทางเหนือของเกาะริวกิว และพบได้ในมหาสมุทรแอตแลนติก และทะเลแคริบเบียน ปลาหูช้าง ขยายพันธุ์ด้วยการออกไข่แบบปล่อยลอยตามน้ำ เมื่อฟักเป็นตัวอ่อน จะใช้ชีวิตล่องลอยแบบแพลงก์ตอน จนเจริญเติบโตขึ้นมาอีกระดับลงสู่พื้น โดยมากจะอาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลในเขตที่เป็นรอยต่อระหว่างน้ำจืดและน้ำเค็ม มีรูปร่างลักษณะคล้ายค้างคาวหรือใบไม้สีน้ำตาลแก่มาก บางชนิดเข้ามาอยู่ในแนวปะการัง มีครีบหลังและครีบท้องยาวมาก ลูกปลาหูช้างมักอยู่ตามพื้นด้านนอกแนวปะการังตอนกลางวัน กลางคืนถึงเข้ามาในแนวปะการัง อยู่ตามชายขอบแนวในที่ลึก อยู่นิ่ง ๆ ตามพื้นเพื่อหลบผู้ล่าตอนกลางคืน เนื่องจากเป็นปลาที่หากินในเวลากลางวัน ลูกปลาหูช้างที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายค้างคาว เป็นปลาที่นิยมเลี้ยงกันเป็นปลาสวยงามและเลี้ยงเพื่อแสดงตามพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ และนิยมบริโภคกันในท้องถิ่น ทำให้ในปัจจุบัน ปลาหูช้างพบได้น้อยลง แบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและปลาหูช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ปลาฉลามเสือ

ปลาฉลามเสือ (Tiger shark) ปลากระดูกอ่อนขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จำพวกฉลาม มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Galeocerdo cuvier ในวงศ์ Carcharhinidae เป็นปลาเพียงชนิดเดียวในสกุล Galeocerdo.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและปลาฉลามเสือ · ดูเพิ่มเติม »

ปูเสฉวนบก

ปูเสฉวนบก (Land hermit crabs) เป็นปูเสฉวนในสกุล Coenobita (มาจากคำในภาษาละตินว่า coenobivm และคำในภาษากรีกโบราณว่า κοινόβιον แปลว่า "ชีวิตในประชาคม, อาราม") มีทั้งหมด 15 ชนิด ขนาดโตเต็มที่ประมาณ 5 นิ้ว มีรูปร่างหน้าตาคล้ายปูเสฉวนทั่วไป และอาศัยอยู่ในเปลือกหอย แต่ไม่สามารถที่จะอาศัยอยู่ในน้ำได้ เนื่องจากระบบการหายใจถูกพัฒนาให้รับออกซิเจนโดยตรง ถ้าลงไปในน้ำจะสำลักน้ำตายได้เหมือนปูมะพร้าว (Birgus latro) แต่จะลงไปกินน้ำทะเลเพื่อต้องการเกลือแร่ อีกทั้งยังต้องการน้ำจืดอีกด้วย ปูเสฉวนบกมีถิ่นกำเนิดที่ทวีปอเมริกาเหนือ, ทะเลแคริบเบียน, หมู่เกาะเบอร์มิวดา, ออสเตรเลีย และอินโดนีเซีย จะอาศัยอยู่บนบกหรือในป่าริมชายทะเล กินอาหารจำพวกซากพืช ซากสัตว์เหมือนปูเสฉวนทั่วไป ปัจจุบันปูเสฉวนบกกำลังได้รับความนิยมในฐานะเป็นสัตว์เลี้ยง โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา ซึ่งผู้เลี้ยงนิยมใช้สีทาบนเปลือกหอยให้เป็นสีสันและลวดลายต่าง ๆ แต่เป็นปูที่ค่อนข้างมีความยุ่งยากในการเลี้ยง เนื่องจากถึงแม้ว่าจะอาศัยอยู่บนบกก็ตาม แต่ในสถานที่เลี้ยงต้องใช้ความชุ่มชื้นด้วย และปูพื้นด้วยกรวดทรายและขอนไม้หรือมะพร้าวผุ และมีความจำเป็นต้องใช้แคลเซียมเพื่อเป็นแร่ธาตุด้วย ไม่เช่นนั้นอาจตายได้.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและปูเสฉวนบก · ดูเพิ่มเติม »

นิวสเปน

เขตอุปราชแห่งนิวสเปน (Virreinato de Nueva España) คืออาณาบริเวณที่อยู่ในการปกครองของจักรวรรดิสเปนในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 ปัจจุบันเป็นอาณาเขตของประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา เบลีซ ฮอนดูรัส นิการากัว คอสตาริกา ฟิลิปปินส์ ปาเลา ไมโครนีเซีย และบางส่วนของสหรัฐอเมริกาได้แก่ รัฐแคลิฟอร์เนีย นิวเม็กซิโก เนวาดา แอริโซนา เทกซัส โคโลราโด ฟลอริดา บางส่วนของรัฐยูทาห์ โอคลาโฮมา กวม หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา รวมทั้งหมู่เกาะเกือบทั้งหมดในทะเลแคริบเบียน โดยสเปนจะส่งอุปราชซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากส่วนกลางเข้ามาปกครองดินแดนและขึ้นตรงต่อกษัตริย์สเปน ศูนย์กลางการปกครองของนิวสเปนคือ เม็กซิโกซิตี ส่วนเมืองสำคัญได้แก่ ซันโตโดมิงโกบนเกาะฮิสปันโยลา และมะนิลาบนเกาะลูซอน หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปอเมริกาเหนือ หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปเอเชีย หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในเขตโอเชียเนีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เอเชีย หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์โอเชียเนีย หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของสเปน หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 16 หมวดหมู่:สิ้นสุดในคริสต์ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและนิวสเปน · ดูเพิ่มเติม »

แมงมุมทะเล

แมงมุมทะเล (Sea spiders) หรือ พีคโนโกนิดา เป็นสัตว์ทะเลไม่มีแกนสันหลังที่ในไฟลัมอาร์โธพอด จัดอยู่ในชั้น Pycnogonida และอันดับ Pantopoda แมงมุมทะเล เป็นสัตว์ที่มีรูปร่างคล้ายกับแมงมุม ที่เป็นอาร์โธพอดจำพวกแมงที่อยู่บนพื้นผิวโลก แต่ทั้งสองมิได้เกี่ยวเนื่องอะไรกันเลยนอกจากจะอยู่ในไฟลัมเดียวกัน แมงมุมทะเลมีลักษณะเด่น คือ ส่วนขาที่ยาวที่อาจยาวได้ถึง 25 เซนติเมตร เป็นสัตว์นักล่าที่โดยดูดกินเนื้อเยื่อสัตว์อื่นเป็นอาหาร ที่อาศัยที่พื้นทะเล พบได้ในทะเลต่าง ๆ เช่น ทะเลเมดิเตอเรเนียนและทะเลแคริบเบียน รวมถึงมหาสมุทรอาร์กติก แต่พบมากที่มหาสมุทรแอนตาร์กติก โดยที่มหาสมุทรแอนตาร์กติกนั้นจะมีขนาดใหญ่กว่าที่พบในที่อื่น แมงมุมทะเลเป็นสัตว์ที่มีอัตราการเต้นของหัวใจต่ำและเบามาก โดยระบบการไหลเวียนของเลือดจะอยู่ช่วงล่างของลำตัว ขณะที่ลำไส้ที่เป็นท่อลงไปและช่วงขาที่มีความแข็งแรง ลักษณะการเดินของแมงมุมทะเล เป็นไปในลักษณะขึ้น ๆ ลง ๆ เรียกว่า เพอริสทอลซิส (Peristalsis) คือ กระบวนการที่กล้ามเนื้อบีบรัดและคลายตัวอย่างมีจังหวะ เป็นกระบวนการเช่นเดียวกับการย่อยอาหารในกระเพาะอาหารไปจนถึงลำไส้ของมนุษย์ หากแต่กระบวนนี้ในแมงมุมทะเลอยู่ไกลกว่าจะเป็นที่ต้องการสำหรับการย่อยอาหาร เพราะต้องได้รับออกซิเจนเพียงพอในร่างกายด้ว.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและแมงมุมทะเล · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำมักดาเลนา

right แม่น้ำมักดาเลนา (Magdalena River) หรือชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แม่น้ำยูมา (Río Yuma) แม่น้ำมักดาเลนามีต้นกำเนิดจากบริเวณเทือกเขาแอนดีสในประเทศโคลอมเบีย มีความยาวประมาณ 1,600 กิโลเมตร เป็นแม่น้ำสายสำคัญของประเทศโคลอมเบีย ไหลลงสู่ทะเลแคริบเบียนบริเวณภาคเหนือของโคลอมเบี.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและแม่น้ำมักดาเลนา · ดูเพิ่มเติม »

แองกวิลลา

แองกวิลลา (Anguilla) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในทะเลแคริบเบียน หนึ่งในกลุ่มเกาะที่อยู่ทางเหนือสุดของหมู่เกาะลีเวิร์ดในภูมิภาคเลสเซอร์แอนทิลลิส แองกวิลลาประกอบด้วยเกาะหลักแองกวิลลายาว 26 กิโลเมตร (16 ไมล์) กว้าง 5 กิโลเมตร (3 ไมล์) และกลุ่มเกาะเล็ก ๆ ซึ่งไม่มีคนอาศัยอย่างถาวร เมืองหลักของดินแดนแห่งนี้คือเดอะแวลลีย์ (The Valley) มีเนื้อที่รวมทั้งหมด 102 ตารางกิโลเมตร (39.4 ตารางไมล์) และมีประชากรประมาณ 13,500 คน (พ.ศ. 2549).

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและแองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

แอ่งพายุหมุนเขตร้อน

thumb ตามธรรมเนียม พายุหมุนเขตร้อนจะก่อตัวขึ้นแยกกันภายในทั้งหมดเจ็ดแอ่ง ซึ่งประกอบไปด้วย มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ, ด้านตะวันออกและตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ, ด้านตะวันตกเฉียงใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก, ด้านตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงใต้ของมหาสมุทรอินเดีย และด้านเหนือของมหาสมุทรอินเดีย (ทะเลอาหรับ และ อ่าวเบงกอล) ซึ่งในเจ็ดแอ่งนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกด้านตะวันตกมีการกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนบ่อยที่สุด และด้านเหนือของมหาสมุทรอินเดียมีกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนน้อยที่สุด ค่าเฉลี่ยของพายุหมุนเขตร้อน ที่มีความรุนแรงในระดับมากกว่าพายุโซนร้อน ทั่วโลกอยู่ที่ 86 ลูก ในจำนวนนี้ 47 ลูก มีความรุนแรงเป็นถึงพายุเฮอร์ริเคน/พายุไต้ฝุ่น และอีก 20 ลูก มีความรุนแรงเป็นถึงพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรง (อย่างน้อยมีความรุนแรงอยู่ในระดับ 3).

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและแอ่งพายุหมุนเขตร้อน · ดูเพิ่มเติม »

แผ่นดินไหวในเกาะสวาน พ.ศ. 2561

แผ่นดินไหวในเกาะสวาน..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและแผ่นดินไหวในเกาะสวาน พ.ศ. 2561 · ดูเพิ่มเติม »

แซ็ง-บาร์เตเลมี

แซ็ง-บาร์เตเลมี (Saint-Barthélemy) เป็นเขตชุมชนโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่ในหมู่เกาะลีเวิร์ดในทะเลแคริบเบียน มีเมืองหลวงคือกุสตาวียา มีพื้นที่ 22.1 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 8,902 คน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและแซ็ง-บาร์เตเลมี · ดูเพิ่มเติม »

ใบระบาด

มล็ดของใบระบาด ใบระบาด ((Burm.f.) Bojer) มีชื่อพื้นเมืองเช่น ผักบุ้งเงิน ผักระบาด หรือ เมืองมอน เป็นไม้ไม่ผลัดใบ ในวงศ์ผักบุ้ง ลำต้นสีเขียว เลื้อยพันได้ ใบสีเขียวเทา ใต้ใบและผิวนอกของกลีบดอกมีขนสีขาวแกมเงิน วงกลีบดอกรูปหลอด ภายในสีชมพูอมม่วงอ่อน ผลเป็นแบบกระเปาะมีกลีบเลี้ยงติด เป็นไม้พื้นเมืองของอินเดียมีชื่อในภาษาสันสกฤตว่า विधारा (Vidhara) มีการกระจายพันธุ์ไปทั่วโลก รวมทั้งในฮาวายและประเทศแถบทะเลแคริบเบียน พบมากที่ฮาวาย สามารถกลายเป็นพืชรุกรานได้ มีสารเออร์โกลีนและเอไมด์ของกรดไลเซอร์กิก มีฤทธิ์หลอนประสาท.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและใบระบาด · ดูเพิ่มเติม »

โยทะกา

งโคลาย หรือจงโค เป็นพืชในวงศ์ถั่ว กระจายพันธ์ตั้งแต่มาดากัสการ์ พม่า, ออสเตรเลีย, เกาะคริสต์มาส, ทะเลแคริบเบียน, ภาคใต้ของสหรัฐ และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและโยทะกา · ดูเพิ่มเติม »

โรบินสัน ครูโซ

รบินสัน ครูโซ (Robinson Crusoe หรือมีชื่อเต็มภาษาอังกฤษว่า The Life and Strange Surprizing Adventures of Robinson Crusoe of York, Mariner: Who lived Eight and Twenty Years, all alone in an un-inhabited Island on the coast of America, near the Mouth of the Great River of Oroonoque; Having been cast on Shore by Shipwreck, where-in all the Men perished but himself. With An Account how he was at last as strangely deliver'd by Pyrates. Written by Himself) เป็นนวนิยายของแดเนียล เดโฟ ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและโรบินสัน ครูโซ · ดูเพิ่มเติม »

โฌเซฟีน เดอ โบอาร์แน

ซฟีน เดอ โบอาร์แน (Joséphine de Beauharnais) หรือชื่อเกิดคือ มารี โฌแซ็ฟ โรซ ตาเช เดอ ลา ปาเฌอรี (Marie Josèphe Rose Tascher de La Pagerie) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "โรซ" เป็นจักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศสพระองค์แรก และเป็นพระมเหสีพระองค์แรกในจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่ง.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและโฌเซฟีน เดอ โบอาร์แน · ดูเพิ่มเติม »

โจรสลัด

รสลัด (Pirate, Buccaneer, Frigate) คือบุคคลที่ปล้นหรือโจรกรรมในทะเล หรือบางครั้งตามชายฝั่งหรือท่าเรือต่างๆ โจรสลัดในปัจจุบันจะแตกต่างกับโจรสลัดในอดีตที่มีลักษณะเฉพาะคือจะมีผ้าคาดหัว ใช้ดาบใบกว้างหรือปืนพกและเรือโจรสลัดขนาดใหญ่ ในปัจจุบันโจรสลัดนิยมใช้เรือเร็ว และใช้ปืนกลแทนที่ดาบ เป้าหมายส่วนใหญ่ที่โจรสลัดเลือกคือเรือสินค้าและเรือโดยสาร สำหรับรูปแบบที่ใช้ในการบุกเข้าปล้นมีทั้งชูธงหลอกล่อเป้าหมายว่าเป็นเรือสินค้าบ้าง เรือของกองทัพหรือของศาสนจักรบ้าง หรือแม้กระทั่งใช้กำลังบุกเข้าโจมตีโดยตรงเลยก็มี.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและโจรสลัด · ดูเพิ่มเติม »

เบลีซซิตี

ลีซซิตี (Belize City) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเบลีซ มีประชากรอย่างไม่เป็นทางการจำนวน 80,000 คน หรือมากกว่านั้น ตั้งอยู่บนปากแม่น้ำเบลีซบนชายฝั่งทะเลแคริบเบียน เป็นเมืองท่าที่สำคัญของประเทศ มีความสำคัญด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม มีเรือสำราญจอดนอกชายฝั่ง เมืองนี้ถูกทำลายเกือบทั้งหมดจากเฮอร์ริเคนแฮตตีในปี..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเบลีซซิตี · ดูเพิ่มเติม »

เบลีซแบร์ริเออร์รีฟ

ลีซแบร์ริเออร์รีฟ เป็นแนวปะการังที่มีชีวิตอยู่ซึ่งใหญ่เป็นอันดับสองของโลก เทือกปะการังนี้มีความยาว 300 กิโลเมตรตามแนวคาบสมุทรยูกาตัง ระบบนิเวศที่หลากหลายนี้ เริ่มนับตั้งแต่ทางตอนเหนือของเบลีซ ที่ติดกับเม็กซิโก ไล่ยาวไปจนถึงตอนใต้ที่ติดกับกัวเตมาลา รวมความยาวได้ประมาณ 300 กิโลเมตร นอกจากพืดหินปะการัง เขตอนุรักษ์นี้ยังมีเกาะปริ่มน้ำ 450 เกาะ และมีเกาะปะการังวงแหวนอีกสามเกาะ ซึ่งก็คือพืดหินปะการังรูปวงแหวนที่ล้อมรอบทะเลสาบน้ำเค็ม มีพื้นที่รวมกันทั้งหมด 960 ตารางกิโลเมตร ได้รับการคุ้มครองเป็นพิเศษภายใต้อนุสัญญามรดกโลก โดยบริเวณที่ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก มีตั้งแต่ แนวปะการังใต้น้ำ ทะเลสาบ ปากแม่น้ำ ป่าชายเลน เกาะที่เกิดจากหินปะการัง หาดทราย รวมถึงพื้นที่ชายฝั่ง แนวปะการังแห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์เป็นอย่างมาก ซึ่งถือว่าเป็นแนวปะการังที่มีขนาดใหญ่อันดับ2ของโลก รองจากเกรตแบริเออร์รีฟในออสเตรเลีย และ แนวปะการังเบลีซยังเป็นแนวปะการังที่ขนาดใหญ่ และอุดมสมบูรณ์ที่สุดในซีกโลกเหนือและซีกโลกตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเบลีซแบร์ริเออร์รีฟ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์มิวดา

อร์มิวดา เป็นดินแดนโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในมหาสมุทรแอตแลนติก ตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันออกของสหรัฐอเมริกาห่างจากรัฐนอร์ทแคโรไลนาไปทางตะวันออก 580 ไมล์ เบอร์มิวดาเป็นดินแดนโพ้นทะเลที่เก่าแก่ที่สุดของสหราชอาณาจักร ที่ยังคงเหลืออยู่ โดยมีชาวอังกฤษมาตั้งรกรากก่อนการรวมตัวเป็นสหราชอาณาจักรถึงสองศตวรรษ โดยค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2152 (ค.ศ. 1609).

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเบอร์มิวดา · ดูเพิ่มเติม »

เฟรนช์เกียนา

ฟรนช์เกียนา (French Guiana) หรือ กุยยานฟร็องแซซ (Guyane française) เป็นจังหวัดโพ้นทะเล (département d'outre-mer) ของประเทศฝรั่งเศส ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางเหนือของทวีปอเมริกาใต้ ทิศเหนือจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับประเทศบราซิล และทางทิศตะวันตกติดกับประเทศซูรินาม เช่นเดียวกับจังหวัดโพ้นทะเลของฝรั่งเศสจังหวัดอื่น ๆ เฟรนช์เกียนายังมีฐานะเป็นแคว้นโพ้นทะเล (région d'outre-mer) ซึ่งเป็น 1 ใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศสด้วย โดยถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับประเทศฝรั่งเศสในทวีปยุโรปและใช้สกุลเงินยูโรเช่นกัน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเฟรนช์เกียนา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะฮิสปันโยลา

กาะฮิสปันโยลา ฮิสปันโยลา (Hispaniola) หรือ ลาเอสปาโญลา (La Española) เป็นเกาะที่ใหญ่เป็นอันดับ 2 ในทะเลแคริบเบียนรองจากเกาะคิวบา มีความยาวประมาณ 640 กิโลเมตร ความกว้าง 250 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 76,500 ตารางกิโลเมตร เนื้อที่ส่วนใหญ่เป็นป่าและภูเขาสูง ทิศตะวันตกอยู่ใกล้ประเทศจาเมกาและประเทศคิวบา ทิศตะวันออกอยู่ใกล้กับเปอร์โตริโก บนเกาะฮิสปันโยลาประกอบด้วย 2 ประเทศ คือ ประเทศเฮติทางซีกตะวันตก และสาธารณรัฐโดมินิกันทางซีกตะวันออก มียอดเขาสูงที่สุดบนเกาะชื่อว่า ปีโกดัวร์เต (Pico Duarte) สูงถึง 3,087 เมตร อยู่ในสาธารณรัฐโดมินิกัน บนเกาะมีประชากรรวมกันประมาณ 17,000,000 เป็นประชากรในเฮติประมาณ 8,500,000 คน ประชากรในสาธารณรัฐโดมินิกันประมาณ 8,800,000 โดยทั่วไปบนเกาะมีภูมิอากาศแบบป่าฝนเมืองร้อน มีเนื้อที่ป่าประมาณร้อยละ 50 ของเกาะ ชาวยุโรปคนแรกที่รู้จักเกาะฮิสปันโยลา คือคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ในวันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ. 1492.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเกาะฮิสปันโยลา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะนาแวสซา

กาะนาแวสซา เกาะนาแวสซา (Navassa Island) หรือ ลานาวาซ (La Navase) เป็นเกาะร้างขนาดเล็กในทะเลแคริบเบียนอยู่ภายใต้การดูแลของสหรัฐอเมริกาผ่านองค์การบริหารปลาและสัตว์ป่าแห่งสหรัฐ (US Fish and Wildlife Service) นอกจากนั้นเฮติได้อ้างกรรมสิทธิ์เหนือเกาะแห่งนี้เช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเกาะนาแวสซา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา

กาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา (United States Minor Outlying Islands) เป็นชื่อเรียกขานเชิงสถิติซึ่งกำหนดโดยรหัสประเทศ ISO 3166-1 ขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน ประกอบด้วยพื้นที่เกาะของสหรัฐอเมริกาเก้าแห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ได้แก่ เกาะเบเกอร์ เกาะฮาวแลนด์ เกาะจาร์วิส จอห์นสตันอะทอลล์ คิงแมนรีฟ มิดเวย์อะทอลล์ เกาะนาวาสซา แพลไมราอะทอลล์ และเกาะเวก ส่วนดินแดนแคริบเบียน บาโฮนวยโวแบงก์และเซร์รานียาแบงก์ ก็ถูกรวมเข้ามาโดยรัฐบาลสหรัฐอเมริกาเช่นกัน แต่การอ้างสิทธิ์ยังคงเป็นข้อพิพาทกับประเทศอื่น ในจำนวนนี้ แพลไมราอะทอลล์เท่านั้นที่เป็นดินแดนที่ผนวกเข้ากับสหรัฐอเมริกา เกาะเหล่านี้ไม่มีเกาะใดที่ประชากรอาศัยอยู่อย่างถาวรจนถึง..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเกาะเล็กรอบนอกของสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเซนต์มาร์ติน

ซนต์มาร์ติน (Saint Martin), แซ็ง-มาร์แต็ง (Saint-Martin) หรือ ซินต์มาร์เติน (Sint Maarten) เป็นเกาะทางตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลแคริบเบียน ห่างจากเปอร์โตริโกทางทิศตะวันออกราว 300 กม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเกาะเซนต์มาร์ติน · ดูเพิ่มเติม »

เร็กเก

Bob Marley ศิลปินเร็กเกที่มีชื่อเสียง เร็กเก (reggae) เป็นแนวดนตรีแอฟริกา-แคริบเบียนซึ่งพัฒนาขึ้นบนเกาะจาเมกา และมีความชิดใกล้เชื่อมต่อกับลัทธิรัสตาฟาเรียน (Rastafarianism) รากดั้งเดิมของเร็กเกสามารถค้นหาได้จากดนตรีประเพณีนิยมของแอฟริกา-แคริบเบียนที่มีพอ ๆ กับดนตรีริธึ่มแอนด์บลูส์ของอเมริกัน เร็กเก้ เป็นดนตรีที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะที่เดียวในโลกของประเทศจาเมกา ซึ่งอิทธิพลทางดนตรีมาจากนิวออร์ลีนส์ ริธึ่มแอนด์บลูส์ มาจากการฟังวิทยุทรานซิสเตอร์ที่รับคลื่นสั้นจากสหรัฐอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 รากเหง้าของดนตรีคนแอฟริกา-แคริบเบียน คือเพลงโฟล์กของจาเมกาที่เรียกว่า เมนโต (Mento) มีท่วงทำนองเพลงไปในทางแนวดนตรีคาลิปโซ เนื้อหาของบทเพลงจะพูดถึงการเรียกร้องสิทธิของตัวเองและปัญหาความยากจนต่อประเทศเจ้าอาณานิคมในหมู่เกาะอินดีสตะวันตกในทะเลแคริบเบียน สำหรับจาเมกาตกอยู่ภายใต้การปกครองของอังกฤษ พลเมืองตกเป็นทาสของคนผิวขาว ก็มีการพัฒนาดนตรีเมนโตนำมาผสมกับอาร์แอนด์บีทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา พัฒนาเปลี่ยนแปลงจังหวะเพิ่มขึ้นจนกลายเป็นดนตรีสกา (Ska) โดยเปลี่ยนแปลงจังหวะให้เพิ่มขึ้น กีตาร์เล่นจังหวะยก และมีการเล่นลัดจังหวะ ถือว่าเป็นการแปลความหมายของดนตรีอาร์แอนด์บีอีกรูปแบบหนึ่ง และเป็นที่นิยมกันอย่างมากในช่วงต้นยุคทศวรรษที่ 60 และได้มีการพัฒนาขึ้นอีกขั้น บีทของดนตรีจึงถูกดึงให้ช้าลงใช้เปียโนและเบสที่มีอิทธิพลดนตรีร็อกเข้ามาจึงเรียกว่า ร็อกสเตดี้ (Rocksteady) จนมาถึงปี 1968 ก็ได้มีการพัฒนาจนถึงขีดสุด ดนตรีเร็กเก้จึงถือกำเนิดขึ้น ภายใต้แนวความคิดของลัทธิรัสตาฟาเรียน ทรงผมฟั่นเชือกหรือเดรด ล็อก และอุดมคติทางการเมืองและสังคม ในการพาชาวแอฟริกา-แคริบเบียน กลับสู่แผ่นดินในทวีปแอฟริกา สกา (Ska) และร็อกสเตดี (Rocksteady) คือพื้นฐานทางแนวดนตรีผู้มาก่อนเร็กเก้ในยุคทศวรรษที่ 60 ก่อนที่ บ็อบ มาร์เลย์ จะทำให้ดนตรีเร็กเก้เป็นที่นิยมไปทั่วโลก ก็เคยบันทึกเสียงในแนวดนตรีร็อกสเตดี้ในช่วงแรกในอาชีพของเขา สไตล์ดนตรีเร็กเก้ที่ทำให้เขามีชื่อเสียงมากเรียกกันว่า รูทส์ เร็กเก้ (roots reggae) หรือ รูทส์ ร็อก เร็กเก้ (roots rock reggae) และใช้กับศิลปินอีกมากมายที่ทำงานในแบบเดียวกันอย่าง Black Uhuru, Burning Spear, Culture, Israel Vibrations, The Skatalites and Toots และ The Maytals ซึ่งสามารถส่งอิทธิพลมาถึงวง UB40 ในสหราชอาณาจักร ในจาเมกานั้น ดนตรีแนวใหม่ได้ทวีความนิยมมากว่า โดยมีการพัฒนาไปสู่แนวเลิฟเวอร์ส ร็อก (Lovers Rock), แดนซ์ฮอลล์ (Dancehall) และแร็กกามัฟฟิน (Raggamuffin).

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเร็กเก · ดูเพิ่มเติม »

เสาวรส

วรส หรือ กะทกรกฝรั่ง หรือ กะทกรกสีดา หรือ กะทกรกยักษ์ (Passionfruit, Maracujá) เป็นไม้เถาเลื้อย ถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปอเมริกาใต้ บริเวณประเทศบราซิล ปารากวัย อาร์เจนตินา ผลเป็นรูปกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกมีหลายสีแล้วแต่พันธุ์ ทั้งสีม่วง เหลือง ส้ม ชั้นในสุดของเปลือกเป็นเยื่อสีขาวที่เรียกรก ภายในมีเมล็ดสีดำจำนวนมาก อยู่ในเยื่อหุ้มเมล็ดเป็นถุง กลิ่นคล้ายฝรั่งสุก รสเปรี้ยวจัด บางพันธุ์มีรสอมหวาน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเสาวรส · ดูเพิ่มเติม »

เส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ

้นขนานที่ 20 องศาเหนือ คือวงกลมละติจูดที่ 20 องศา ด้านเหนือของระนาบศูนย์สูตรโลก เส้นนี้ลากผ่านทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรแปซิฟิก ทวีปอเมริกาเหนือ แคริบเบียน และมหาสมุทรแอตแลนติก เส้นขนานเป็นตัวกำหนดเขตแดนระหว่างประเทศลิเบียและประเทศซูดาน และซูดานใช้กำหนดเขตแดนระหว่างรัฐเหนือและรัฐดาร์ฟูร์เหนือ ที่ละติจูดนี้ ดวงอาทิตย์จะมองเห็นได้เป็นเวลา 13 ชั่วโมง 21 นาที ในระหว่างครีษมายัน และ 10 ชั่วโมง 55 นาที ในระหว่างเหมายัน.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นขนานที่ 20 องศาเหนือ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 62 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 62 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 62 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 118 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 62 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 63 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 63 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 63 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 117 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 63 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 64 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 64 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก กรีนแลนด์ ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 64 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 116 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 64 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 115 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 65 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 66 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 66 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 66 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 114 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 66 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 67 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 67 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 67 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 113 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 67 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 110 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 70 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ สำหรับเขตเวลาตะวันออก (ขณะที่ใช้มาตรฐานเวลาที่ UTC−05:00) เส้นนี้ถือเป็นเส้นฐานของเวลาสุริยะเฉลี่ย เส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 105 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 75 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ ในแอนตาร์กติกา เส้นเมริเดียนนี้มีความหมายเป็นเส้นเขตแดนทางตะวันตกของบริติชแอนตาร์กติกเทร์ริทอรี และผ่านกลางอ้างสิทธิ์ของชิลี ซึ่งเป็นพื้นที่ทับซ้อนกัน เส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 100 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 80 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 99 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 81 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 82 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 82 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ มหาสมุทรแอตแลนติก ทะเลแคริบเบียน อเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 82 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 98 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 82 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เส้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันตก

้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันตกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปอเมริกาเหนือ อ่าวเม็กซิโก ทะเลแคริบเบียน ทวีปอเมริกากลาง มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้ เส้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันตก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 95 องศาตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเส้นเมริเดียนที่ 85 องศาตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

เห็บโค

ห็บโค (หรือ Rhipicephalus microplus) เป็นปรสิตภายนอกของสัตว์หลายชนิดเช่น ม้า ลา แพะ แกะ กวาง หมู หมา และสัตว์ป่าบางชนิด ที่มีความสำคัญต่อโคและกระบือในเขตร้อนชื้น ส่วนใหญ่พบในเอเชีย บางส่วนของออสเตรเลีย มาดากัสการ์ แอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ บริเวณทะเลแคริบเบียน อเมริกาใต้ และ อเมริกากลาง รวมทั้ง เม็กซิโก เคยพบในสหรัฐอเมริกา ตามแนวชายแดนที่ติดต่อกับเม็กซิโก เห็บทุกระยะในชีพจักรต้องการเลือด เห็บระยะตัวอ่อน (larvae) ต้องดูดกินเลือดจนอิ่มตัวก่่อนจะลอกคราบเป็นระยะตัวกลางวัย (nymph) เห็บระยะตัวเต็มวัยจะเกาะและอาศัยบนตัวโคในทุกระยะของการเจริญเติบโต จากนั้นเพศเมียจะต้องกินเลือดจนอิ่มตัว (engorge) ก่่อนที่จะลงสู่พื้นเพื่อหาที่เหมาะสมในการวางไข่ สัตว์ที่มีเห็บเกาะดูดเลือดจำนวนมากจะส่งผลต่่อสุขภาพโดยตรง ทำให้เกิดภาวะโลหิตจางในสัตว์อายุน้อยจะทำให้การเจริญเติบโตช้้า แคระแกรน ส่วนในสัตว์ที่โตเต็มที่อาจซูบผอม ผลผลิตน้ำนมลดลง นอกจากนี้เห็บยังเป็นพาหะนำโรคร้ายแรงได้แก่โรค babesiosis anaplasmosis และ theileriosis.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเห็บโค · ดูเพิ่มเติม »

เอ็มเอส โอเอซิสออฟเดอะซีส์

อ็มเอส โอเอซิสออฟเดอะซีส์ ขณะเทียบท่าที่เมืองนัสซอ ประเทศบาฮามัส โอเอซิสออฟเดอะซีส์ (อังกฤษ: MS Oasis of the Seas) เป็นเรือสำราญในชั้นโอเอซิส ของบริษัทรอยัลแคริบเบียนอินเตอร์เนชั่นแนล โดยมีเรือคู่แฝดอีกลำคืออัลลัวร์ออฟเดอะซีส์ เรือทั้งสองลำมีระวางขับน้ำ 225,282 ตัน มิติเรือกว้าง 60.5 ม. สูง 72 ม. และยาว 361.8 ม. กินน้ำลึก 22.55 ม. ตัวเรือแบ่งออกเป็น 16 ชั้น ความเร็ว 22.6 นอต บรรทุกผู้โดยสาร 5,400 คน (สูงสุด 6,296 คน) ลูกเรือ 2,165 คน ในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเอ็มเอส โอเอซิสออฟเดอะซีส์ · ดูเพิ่มเติม »

เคราดำ

อ็ดเวิร์ด ทีช (Edward Teach) หรือที่รู้จักกันดี ในชื่อ ไอ้เคราดำ หรือ แบล็คเบียร์ด (Blackbeard) เป็นโจรสลัดที่มีชื่อเสียงมากคนหนึ่ง ออกปล้นบริเวณทะเลแคริบเบียน และชายฝั่งตะวันออกของอาณานิคมอเมริกัน แถบมหาสมุทรแอตแลนติก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเคราดำ · ดูเพิ่มเติม »

เซร์รานียาแบงก์

ซร์รานียาแบงก์ (Serranilla Bank) เป็นเกาะของประเทศโคลอมเบีย ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน เซร์รานียาแบงก์เป็นเกาะที่มีข้อพิพาททางการปกครอง โดยที่นี่เป็นดินแดนที่โคลอมเบีย จาเมกา นิการากัว และสหรัฐอเมริกาต่างอ้างสิทธิ์ ที่นี่ตั้งอยู่ประมาณ 350 กิโลเมตร (220 ไมล์) ทางตะวันออกเฉียงเหนือของ ปุนตากอร์ดา นิการากัว และประมาณ 280 กิโลเมตร (170 ไมล์) ทางตะวันตกเฉียงใต้ของ จาเมกา เพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้ที่สุดคือ บาโฮนวยโวแบงก์ ตั้งอยู่ 110 กิโลเมตร (68 ไมล์) ทางตะวันออก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเซร์รานียาแบงก์ · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์จอนส์

ซนต์จอนส์ (St John's) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศแอนติกาและบาร์บูดา ประเทศที่ตั้งอยู่ในเวสต์อินดีส์ ทะเลแคริบเบียน เซนต์จอนส์ตั้งอยู่ที่จุดพิกัด กับประชากร 24,226 คน (ข้อมูลปี ค.ศ. 2000) เซนต์จอนส์เป็นจุดศูนย์กลางด้านการค้าของประเทศและเป็นเมืองท่าของเกาะแอนติก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเซนต์จอนส์ · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์ครอย

ซนต์ครอย (Saint Croix; Santa Cruz; Sint-Kruis; Sainte-Croix; Sankt Croix) เป็นเกาะในหมู่เกาะเวอร์จิน ซึ่งเป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกา ในหมู่เกาะเวสต์อินดีส ทะเลแคริบเบียน เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในหมู่เกาะเวอร์จิน มีขนาด 28 x 7 ไมล์ (45 x 11 กม.) มีประชากรประมาณ 53,000 คน เมืองสำคัญคือ เมืองคริสเตียนสเตด มีการผลิตเหล้ารัมและเป็นแหล่งท่องเที่ยว คริสโตเฟอร์ โคลัมบัสได้เดินเรือสำรวจมาพบเกาะนี้เมื่อ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1493 และตั้งชื่อเกาะนี้ว่า ซานตาครูซ หลังจากนั้นได้ตกเป็นของฮอลันดา อังกฤษ สเปน และฝรั่งเศส ตามลำดับ ในปี..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเซนต์ครอย · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา

เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา เป็นชื่ออาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งตั้งอยู่ในแถบทะเลแคริบเบียน ประกอบด้วยดินแดนของแองกวิลลาและประเทศเซนต์คิตส์และเนวิสในปัจจุบัน รัฐดังกล่าวนี้ต่อมาได้กลายเป็นมณฑลหนึ่งของสหพันธรัฐเวสต์อินดิสในปี ค.ศ. 1958 (พ.ศ. 2501) จนกระทั่งเมื่อสหพันธรัฐดังกล่าวได้ล้มเลิกลงในปี ค.ศ. 1962 (พ.ศ. 2505) เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลาก็ได้เป็นประเทศอิสระ ซึ่งได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อรวมตัวเป็นสหภาพกับประเทศอื่นอยู่หลายครั้ง ในปี ค.ศ. 1967 (พ.ศ. 2510) เซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลา ได้รับมอบอำนาจปกครองตนเองด้านกิจการภายในอย่างเต็มที่จากสหราชอาณาจักร ต่อมาในปี พ.ศ. 2514 แองกวิลลาได้พยายามก่อกบฏเพื่อแยกตัวเป็นอิสระจนสำเร็จแต่ก็เป็นประเทศเอกราชได้เพียงไม่นานนัก ถึงปี ค.ศ. 1980 (พ.ศ. 2523) แองกวิลลาจึงแยกตัวจากเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลาอย่างเป็นทางการโดยยังคงสถานะเป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรจนถึงปัจจุบัน ส่วนดินแดนที่เหลือภายหลังก็ได้รับเอกราชและสถาปนาเป็นประเทศเอกราชในชื่อเซนต์คิตส์และเนวิสเมื่อปี ค.ศ. 1983 (พ.ศ. 2526) หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในทวีปอเมริกาเหนือ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เซนต์คิสต์และเนวิส หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์แองกวิลลา หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2501 หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2526 หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของอังกฤษ.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเซนต์คริสโตเฟอร์-เนวิส-แองกวิลลา · ดูเพิ่มเติม »

เซนต์คิตส์

กาะเซนต์คิตส์ (Saint Kitts) หรือ เกาะเซนต์คริสโตเฟอร์ (Saint Christopher Island) เป็นเกาะในเวสต์อินดีส์ ของประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส ฝั่งตะวันตกของเกาะติดกับทะเลแคริบเบียน ส่วนชายฝั่งตะวันออกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก เกาะเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะลีเวิร์ด ในเลสเซอร์แอนทิลลีส ตั้งอยู่ห่างจากเมืองไมแอมี รัฐฟลอริดาทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ราว 2,100 กม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเซนต์คิตส์ · ดูเพิ่มเติม »

เนวิส

ฝั่งตะวันออกของเนวิส, ป้องกันบางส่วนโดย แนวปะการัง. เบย์ระยะยาวจะเห็นอยู่เบื้องหน้า Main Street, ชาร์ลส, เนวิส ส่วนหนึ่งของชายฝั่งตะวันตกของ Nevis รวมทั้งสถานที่ตั้งของ ฤดูใบไม้ผลิของเนลสัน เนวิส (Nevis) เป็นเกาะใน ทะเลแคริบเบียน ที่เป็นส่วนหนึ่งของเส้นโค้งด้านในของ เกาะลีเวิร์ด ห่วงโซ่ของ หมู่เกาะอินเดียตะวันตก ตั้งอยู่ใกล้ปลายด้านเหนือของเลสเซอร์แอนทิลลีส เกาะนี้ห่างออกไปประมาณ 350 กิโลเมตรจากตะวันออกเฉียงใต้ของเปอร์โตริโก และห่าง 80 กิโลเมตรทางทิศตะวันตกของแอนติกา มีพื้นที่ 93 ตารางกิโลเมตร และมีเมืองหลวงคือ ชาร์ลสทาวน์ เนวิสตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะเซนต์คิตส์ของสหพันธ์เซนต์คิตส์และเนวิส สองเกาะจะถูกแยกออกด้วยช่องแคบ ยาว 3.22 กิโลเมตร ที่เรียกว่า "The Narrows" เนวิสเป็นรูปกรวยในรูปร่างที่มียอดภูเขาไฟที่รู้จักกันเป็น Nevis Peak ที่ศูนย์กลาง เกาะเป็นฝอยบนชายฝั่งตะวันตกและทางเหนือของหาดทรายตามที่ประกอบด้วยส่วนผสมของทรายปะการังสีขาวด้วยทรายสีน้ำตาลและสีดำซึ่งได้รับการกัดเซาะและชะล้างลงจากหินภูเขาไฟที่กำเนิดขึ้นบนเกาะ ที่ราบชายฝั่งกว้าง 1 กิโลเมตร (0.6 ไมล์) มีน้ำพุน้ำจืดธรรมชาติเช่นเดียวกับที่ไม่ใช้ดื่ม ภูเขาไฟ น้ำพุร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามแนวชายฝั่งตะวันตก.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเนวิส · ดูเพิ่มเติม »

เนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส

นเธอร์แลนด์แอนทิลลีส (Nederlandse Antillen; Netherlands Antilles) เป็นส่วนหนึ่งของหมู่เกาะเลสเซอร์แอนทิลลีส (Lesser Antilles) และประกอบด้วยเกาะในทะเลแคริบเบียนสองกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรกคือ กือราเซาและโบแนเรอ ตั้งอยู่นอกชายฝั่งประเทศเวเนซุเอลา อีกกลุ่มคือ ซินต์เอิสตาซียึส ซาบา และซินต์มาร์เติน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของหมู่เกาะเวอร์จิน หมู่เกาะต่าง ๆ เหล่านี้มีฐานะเป็นดินแดนปกครองตนเองภายใต้ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ เศรษฐกิจหลักของเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีสส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับการท่องเที่ยวและปิโตรเลียม ในปี..

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและเนเธอร์แลนด์แอนทิลลีส · ดูเพิ่มเติม »

1 E3 m

ำหรับการเปรียบเทียบอันดับของขนาด (อังกฤษ: orders of magnitude) หน้านี้เป็นเป็นรายชื่อความยาวที่อยู่ระหว่าง 1 กม. และ 10 กม.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและ1 E3 m · ดูเพิ่มเติม »

10 พฤษภาคม

วันที่ 10 พฤษภาคม เป็นวันที่ 130 ของปี (วันที่ 131 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 235 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและ10 พฤษภาคม · ดูเพิ่มเติม »

25 ตุลาคม

วันที่ 25 ตุลาคม เป็นวันที่ 298 ของปี (วันที่ 299 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 67 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและ25 ตุลาคม · ดูเพิ่มเติม »

3 มกราคม

วันที่ 3 มกราคม เป็นวันที่ 3 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 362 วันในปีนั้น (363 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและ3 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

3 ธันวาคม

วันที่ 3 ธันวาคม เป็นวันที่ 337 ของปี (วันที่ 338 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 28 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ทะเลแคริบเบียนและ3 ธันวาคม · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Caribbean Sea

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »