โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชาวมอญ

ดัชนี ชาวมอญ

มอญ (မွန်လူမျိုး; မန် หรือ မည်; IPA:; อังกฤษ: Mon) เป็นชนชาติเจ้าของอารยธรรมอันเก่าแก่ในแผ่นดินพม่า พูดภาษาในตระกูลมอญ-เขมร.

164 ความสัมพันธ์: ชาวพม่าชาวเขมรบางระจัน (ภาพยนตร์)พม่าตอนบนพม่าตอนล่างพรรคสหแนวร่วมมอญพระบรมราชา (มัง)พระพนัสบดี ศรีทวารวดีพระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง)พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)พระราชอุดมมงคล (เอหม่อง อุตฺตมรมฺโภ)พระสุพรรณกัลยาพระอุปคุตพระครูบวรธรรมกิจ (เทียน ปุปฺผธมฺโม)พระประยุทธชลธี (แป๊ะ วีราสา)พระนอนชเวตาลยองพระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิพระเจ้าราชาธิราชพระเจ้าอลองพญาพระเจ้าอลองสิธูพระเจ้าอะเนาะเพะลูนพระเจ้าจั่นซิตาพะสิมพะโคกฤษฎา พรเวโรจน์กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชากันยา เทียนสว่างการละเล่นพื้นเมืองการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทยการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองกุหลาบมอญภาษามอญภูมิศาสตร์ไทยมหานิกายมอญ (แก้ความกำกวม)มอญร้องไห้ย่างกุ้งรัฐกะเหรี่ยงรัฐมอญราชวงศ์จักรีราชวงศ์ตองอูราชาธิราชรายชื่อสงครามในประเทศไทยรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัดรายชื่อเพลงหน้าพาทย์ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหารวัดพรหมทินใต้วัดกลางคลองสี่...วัดภูเขาทองวัดรามพงศาวาสวัดวังก์วิเวการามวัดวังหมูวัดศรัทธาธรรมวัดสนามชัยวัดอัมพวัน (ลพบุรี)วัดทรงธรรมวรวิหารวัดตองปุ (ลพบุรี)วัดปรมัยยิกาวาสวัดโบสถ์ (อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี)วัดโกรกกรากวัดเพชรสมุทรวรวิหารวันไหลศาสนาพุทธในประเทศพม่าศาสนาพุทธในประเทศไทยศิลปะทวารวดีศูนย์ศิลปวัฒนธรรมมอญ บางกระดี่สมิงสอตุตสมิงทอพุทธกิตติสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินีสะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร)สะพานอุตตมานุสรณ์สุนิตา ลีติกุลสงกรานต์สงครามพระเจ้าอลองพญาสนธิ บุญยรัตกลินหม่อมไกรสรอรุณณภา พาณิชจรูญออสุต พะโคอาทมาตอาณาจักรพุกามอาณาจักรมอญอาณาจักรสุธรรมวดีอาณาจักรหริภุญชัยอาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอังวะอำเภอทองแสนขันอำเภอป่าแดดอำเภอแม่แจ่มอำเภอเมืองตากผู้อยู่เหนือเงื่อนไข?ผีในวัฒนธรรมไทยจังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดราชบุรีจังหวัดลพบุรีจังหวัดตากจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดนนทบุรีจำลอง สารพัดนึกจินตหรา สุขพัฒน์ทวารวดีทำเนียบท่าช้างท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทรขัตติยะ สวัสดิผลขุนรองปลัดชู (ภาพยนตร์)ขุนไกรพลพ่ายข้าวแช่ดนตรีไทยด่านเจดีย์สามองค์คลองมอญคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่าฆ้องมอญตลาดนางเลิ้งตองอูตานลยีนตำบลบ้านระกาศตำนานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสาตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหงสาตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพตุนกู อับดุล ระฮ์มันประชากรศาสตร์พม่าประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ตประวัติศาสตร์ไทยช่วงต้นประวัติศาสตร์เชียงตุงประเทศพม่าประเทศพม่าใน ค.ศ. 1612ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1757ประเทศไทยปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวินปี่พาทย์ออกสิบสองภาษาปี่มอญนภคปภา นาคประสิทธิ์นายทองสุกนครเชียงใหม่แม่น้ำบางขามแขวงบางยี่เรือแขวงท่าข้ามไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรีไทยเชื้อสายชวาเกาะเกร็ดเมาะลำเลิงเมาะตะมะเมืองแครงเย (รัฐมอญ)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เจดีย์ชเวมอดอเจดีย์ชเวดากองเจดีย์ชเวซีโกนเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนี)เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก)เจ้าหญิงเมงอทเวเจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (สุรคุปต์)เขตบางขุนเทียนเขตพะโคเขตย่างกุ้งเขตตะนาวศรีเฉลิม ม่วงแพรศรีเปิงมาง ขยายดัชนี (114 มากกว่า) »

ชาวพม่า

ม่า (บะหม่า หลุ มฺโย้, คำเมือง: ม่าน) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ส่วนใหญ่ในประเทศพม่า พบมากในประเทศพม่า ชาวพม่าส่วนใหญ่อาศัยอยู่แถบแม่น้ำอิรวดี ชาวพม่าส่วนใหญ่ใช้ภาษาพม่าเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน.

ใหม่!!: ชาวมอญและชาวพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ชาวเขมร

วเขมร (Khmer people) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีมากที่สุดในประเทศกัมพูชา คิดเป็น 90% ของทั้งประเทศ Accessed July 14, 2008.

ใหม่!!: ชาวมอญและชาวเขมร · ดูเพิ่มเติม »

บางระจัน (ภาพยนตร์)

งระจัน (Bang Rajan: The Legend of the Village's Warriors) ภาพยนตร์ไทยอิงประวัติศาสตร์ ผลงานลำดับที่ 10 ของ ธนิตย์ จิตนุกูล เข้าฉายเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ความยาว 127 นาที.

ใหม่!!: ชาวมอญและบางระจัน (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

พม่าตอนบน

ม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบน (Upper Burma; အထက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่าจริง (Real Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่า ครอบคลุมบริเวณ มัณฑะเลย์ และรอบนอก (ปัจจุบันคือ เขตมัณฑะเลย์, เขตซะไกง์ และเขตมาเกว) และอาจรวมกว้างๆเข้ากับ รัฐคะฉิ่น และรัฐชาน ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-ญา-ตา, ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา คำนี้ถูกใช้โดยบริติชเพื่ออ้างถึงพื้นที่ตอนกลางและตอนเหนือของพม่า หลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ใหม่!!: ชาวมอญและพม่าตอนบน · ดูเพิ่มเติม »

พม่าตอนล่าง

ม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่าง (Lower Burma; အောက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่านอก (Outer Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่าอยู่ในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี (เขตอิรวดี, เขตพะโค และเขตย่างกุ้ง) และพื้นที่ตามแนวชายฝั่งของประเทศ (รัฐยะไข่, รัฐมอญ และเขตตะนาวศรี) ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-เทต-ตา สำหรับผู้ชาย และ อะ-เทียต-ลฮู สำหรับผู้หญิง ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา สำหรับผู้ชาย และ เอาะธู สำหรับผู้หญิง ส่วน อะ-ญา-ตา หมายถึงประชาชนที่อาศัยอยู่ส่วนในของประเทศ ในทางประวัติศาสตร์ พม่าตอนล่างหมายถึงดินแดนของพม่าที่ถูกผนวกเข้ากับจักรวรรดิบริติชหลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ใหม่!!: ชาวมอญและพม่าตอนล่าง · ดูเพิ่มเติม »

พรรคสหแนวร่วมมอญ

รรคสหแนวร่วมมอญ (Mon United Front) เป็นกลุ่มการเมืองของชาวมอญที่รวมตัวกันเนื่องจากไม่พอใจรัฐบาลพม่าหลังได้รับเอกราช จึงหันไปร่วมมือกับชาวกะเหรี่ยงที่กำลังต่อสู้เพื่อแยกตัวออกจากพม่า ผู้ก่อตั้งกลุ่มคือนายสเว จิน กลุ่มนี้ก่อตั้งเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2490 ที่เมืองมะละแหม่ง และออกหนังสือพิมพ์ชื่อตะนาวศรี ทางรัฐบาลประกาศให้การเคลื่อนไหวของชาวมอญผิดกฎหมาย นายสเว จิน ถูกจับกุม เมื่อนายสเว จิน พ้นโทษจากการถูกจับกุมเมื่อ..

ใหม่!!: ชาวมอญและพรรคสหแนวร่วมมอญ · ดูเพิ่มเติม »

พระบรมราชา (มัง)

ระบรมราชา (มัง) (พ.ศ. 2348 - 2369) ทรงมีพระนามเต็มว่า พระบรมราชากิตติศัพท์เทพฤๅยศ ทศบุรีศรีโคตรบูรหลวง ทรงเป็นเจ้าผู้ปกครองเมืองนครบุรีราชธานีศรีโคตรบูรหลวง หรือเมืองนครพนมในอดีต และทรงเป็นเจ้าผู้ปกครองเมืองนครราชสีมาอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง แต่เมื่อครั้งนครพนมยังเป็นเมืองเจ้าหัวเศิกหรือนครประเทศราชของราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ในสมัยของสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์ (พ.ศ. 2348 - 2371) แห่งเวียงจันทน์ ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2367 - 2394) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และทรงเป็นผู้สร้างเวียงท่าแขกหรือเมืองท่าแขกของแขวงคำม่วนในประเทศลาวปัจจุบัน เมื่อครั้งสงครามสมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์ พระบรมราชา (มัง) ทรงเป็นแม่ทัพองค์สำคัญของฝ่ายนครเวียงจันทน์เช่นเดียวกันกับพระยานรินทร์สงคราม (ทองคำ) อนึ่ง พระบรมราชา (มัง) ทรงเป็นต้นสกุลพระราชทาน มังคลคีรี แห่งจังหวัดนครพนมในภาคอีสานของประเทศไทย อีกทั้งทรงเป็นเจ้าประเทศราชแห่งเมืองนครพนมองค์สุดท้ายที่ขึ้นกับนครเวียงจันทน์และได้รับพระราชทานพระนามเป็นที่ พระบรมราชา เป็นองค์สุดท้ายก่อนที่นครพนมจะตกเป็นประเทศราชของสยาม จากนั้นสยามจึงเปลี่ยนราชทินนามของเจ้าเมืองนครพนมเป็น พระยาพนมนครนุรักษ์ แทน.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระบรมราชา (มัง) · ดูเพิ่มเติม »

พระพนัสบดี ศรีทวารวดี

ระพนัสบดี ศรีทวารวดี เป็นพระพุทธรูป ที่ประดิษฐานอยู่ที่วัดพรหมทินใต้ ตำบลหลุมข้าว อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระพนัสบดี ศรีทวารวดี · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง)

ระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) เป็นหลานปู่ในหลวงรักษ์เสนา (จำรัส) ซึ่งเป็นน้องชายต่างมารดาของ เจ้าพระยามหาเสนา ต้นสกุลบุนนาค และหลานตาของเจ้าพระยารามจตุรงค์ หรือพระยารามัญวงษ์ (รามัญวงศ์) พระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) จึงมีเชื้อสายแขกเปอร์เซียทางบิดา และมีเชื้อสายมอญทางมารดา พระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) เป็นต้นสกุล ศรีเพ็ญ เป็นขุนคลังแก้วในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 มีบทบาทสำคัญในการทำสัมปทานไม้สักขอน สร้างรายได้เข้าคลังหลวงมากมายมหาศาล ในสมัยรัชกาลที่ 3 พระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) ศรีเพ็ญ ผู้นำชาว มอญ ซึ่งตั้งบ้านเรื่อนอยู่บริเวณสี่แยกพระยาศรี ที่ชาวบ้านเรียกว่า ‘สี่กั๊กพระยาศรี’ ได้รวบรวมแรงงานชาวมอญก่อสร้างสะพานข้ามคลองคูเมืองเดิม และอยู่ในละแวกเดียวกัน จึงเรียกสะพานดังกล่าวว่า ‘สะพานมอญ’.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) · ดูเพิ่มเติม »

พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน)

มหาอำมาตย์ตรี พระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) (27 มิถุนายน พ.ศ. 2433 - 8 มีนาคม พ.ศ. 2517) อดีตปลัดทูลฉลอง กระทรวงศึกษาธิการ ผู้บังคับการโรงเรียนมหาดเล็กหลวง เชียงใหม่ รักษาการณ์ผู้บังคับการโรงเรียนราชวิทยาลัย เจ้ากรมโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ในสมัยรัชกาลที่๖ อดีตผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลัย อดีตนายกสมาคมหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย เป็นบิดาของนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรีของไท.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระยาปรีชานุสาสน์ (เสริญ ปันยารชุน) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชอุดมมงคล (เอหม่อง อุตฺตมรมฺโภ)

ระราชอุดมมงคล (หลวงพ่ออุตตมะ) (พ.ศ. 2453 - 18 ตุลาคม พ.ศ. 2549) พระเกจิอาจารย์ชื่อดัง เจ้าอาวาสวัดวังก์วิเวการาม ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เป็นพระภิกษุที่ได้ความเคารพเลื่อมใสในหมู่คนไทยเชื้อสายมอญและชาวพุทธทั่วไป เป็นพระนักเดินธุดงคกรรมฐาน ออกเดินธุดงค์ไปบำเพ็ญธรรมอยู่บนเขา หลายครั้งเป็นเวลานาน.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระราชอุดมมงคล (เอหม่อง อุตฺตมรมฺโภ) · ดูเพิ่มเติม »

พระสุพรรณกัลยา

ระสุพรรณกัลยา สุวรรณกัลยา หรือ สุวรรณเทวี เป็นพระราชธิดาใน สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช และ พระวิสุทธิกษัตรีย์ และเป็นพระพี่นางใน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ สมเด็จพระเอกาทศรถ ประสูติ ณ พระราชวังจันทน์ เมืองพิษณุโลก เชื่อว่าพระนามเดิม คือ องค์ทอง.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระสุพรรณกัลยา · ดูเพิ่มเติม »

พระอุปคุต

ระอุปคุต พระอุปคุปต์ หรือ พระบัวเข็ม เป็นพระภิกษุองค์สำคัญองค์หนึ่งในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช และเป็นปฐมาจารย์แห่งนิกายสรวาสติวาทชื่อ "อุปคุต" แปลว่า ผู้คุ้มครองรักษา พระอุปคุตเป็นพระที่เป็นที่นิยมนับถือของชาวอินเดีย มอญ และชาวไทยวน และอีสาน สมัยก่อนพระมอญได้นำพระบัวเข็มมาถวายพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในตอนที่พระองค์ผนวชอยู่ แม้แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ยังทรงกล่าวถึงความเป็นมาในพระราชนิพนธ์พระราชพิธีสิบสองเดือนด้ว.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระอุปคุต · ดูเพิ่มเติม »

พระครูบวรธรรมกิจ (เทียน ปุปฺผธมฺโม)

ระครูบวรธรรมกิจ (เทียน ปุปฺผธมฺโม) หรือ หลวงปู่เทียน วัดโบสถ์ เป็นพระเถราจารย์เชื้อสายรามัญผู้มีชื่อเสียงแห่งจังหวัดปทุมธานี.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระครูบวรธรรมกิจ (เทียน ปุปฺผธมฺโม) · ดูเพิ่มเติม »

พระประยุทธชลธี (แป๊ะ วีราสา)

ระประยุทธชลธี หรือ นาวาโท พระประยุทธชลธี ราชนาวี มีชื่อจริงว่า แป๊ะ วีราสา เป็นชาวไทยเชื้อสายมอญ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดตราด และเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร ในสมัยนายควง อภัยวง.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระประยุทธชลธี (แป๊ะ วีราสา) · ดูเพิ่มเติม »

พระนอนชเวตาลยอง

ระพุทธไสยาสน์ชเวตาลยอง หรือ พระนอนชเวตาลยอง (ရွှေသာလျှောင်းဘုရား; ชื่อเต็ม) เป็นพระพุทธรูปปางไสยาสน์ขนาดใหญ่ทางทิศตะวันตกของเมืองหงสาวดี องค์พระมีความยาว สูง เป็นพุทธศิลป์แบบมอญ เชื่อว่าได้รับการสร้างขึ้นในปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและพระนอนชเวตาลยอง · ดูเพิ่มเติม »

พระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร)

ระเจนดุริยางค์ (ปีติ วาทยะกร) (มักเขียนเป็น "ปิติ") ชื่อเดิม ปีเตอร์ ไฟท์ (Peter Feit - 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2426 - 25 ธันวาคม พ.ศ. 2511) บุคคลสำคัญในวงการดนตรีของประเทศไทย ผู้ริเริ่มการบันทึกเพลงไทยเดิมด้วยโน้ตสากลโดยเทียบเสียงให้ตรงกับเครื่องดนตรีไทยทุกชิ้น เรียกว่า เพลงไทยประสานเสียง (Thai Music Harmony) ของ กรมศิลปากร เป็นอาจารย์วิชาดนตรีผู้ทุ่มเทสนับสนุนศิษย์เอก ครูเอื้อ สุนทรสนาน และ ครูชลหมู่ ชลานุเคราะห์ (นักเชลโล่,ผู้เรียบเรียงและอำนวยเพลงวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) ครูประสาน สุทัศน์ ณ อยุธยา (นัก Cello, Double Bass และผู้เรียบเรียงเสียงประสานแห่งวงดุริยางค์สากลกรมศิลปากร) รวมทั้งเป็นผู้วางรากฐานวงดุริยางค์ทหารอากาศ และ วงดุริยางค์ตำรว.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระเจนดุริยางค์ (ปิติ วาทยะกร) · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ

ระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2355 - 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2431) พระราชโอรสพระองค์ที่ 58 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเป็นต้นราชสกุลอรุณวงศ์ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ ประสูติ ณ วันอาทิตย์ เดือน 7 แรม 6 ค่ำ ปีวอก ตรงกับวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2355 ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเอม ทรงรับราชการในรัชกาลที่ 4 ว่าการกรมกองแก้วจินดา และกรมช่างหล่อ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็นกรมหมื่นวรศักดาพิศาล เมื่อปีกุน พ.ศ. 2394 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็น กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ เมื่อปีจอ พ.ศ. 2417 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ สิ้นพระชนม์เมื่อวันศุกร์ แรม 4 ค่ำ เดือน 8 ปีชวด ตรงกับวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2431 พระชันษา 76 ปี.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวงษ์ กรมหลวงวรศักดาพิศาล สุพรรฒนาการสวัสดิ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าราชาธิราช

ระเจ้าราชาธิราช (ရာဇာဓိရာဇ်, หย่าซาดะยิต; ค.ศ. 1368–1421) มีพระนามเดิมว่า พญาน้อย (ဗညားနွဲ့) ทรงเป็นกษัตริย์มอญแห่งราชอาณาจักรหงสาวดี ระหว่างปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและพระเจ้าราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอลองพญา

ระบรมราชานุสาวรีย์ของพระเจ้าอลองพญาที่หน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติใน นครย่างกุ้ง พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าอลองพญา พระเจ้าอลองพญา หรือ พระเจ้าอลองพญารี (Alaungpaya, အလောင်းမင်းတရား พระนามของพระองค์ออกสำเนียงเป็นภาษาพม่าว่า "อลองเมงตะยาจี" หรือ "อลองพะ" มีความหมายว่า "พระโพธิสัตว์"; สิงหาคม ค.ศ. 1714 — 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1760) เป็นพระมหากษัตริย์พม่าระหว่างวันที่ 21 มีนาคม..

ใหม่!!: ชาวมอญและพระเจ้าอลองพญา · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอลองสิธู

พระเจ้าอลองสิธู ในรูปลักษณ์ของนัต "เมงสิธู" พระเจ้าอลองสิธู (Alaungsithu, အလောင်းစည်သူ) กษัตริย์ในราชวงศ์พุกาม ที่ครองราชย์อย่างยาวนานถึงกว่า 54 ปี (พ.ศ. 1656 - พ.ศ. 1710) ยุคสมัยของพระองค์ อาณาจักรพุกามเจริญถึงขั้นขีดสุดในทุกด้าน พระเจ้าอลองสิธู เป็นพระโอรสของพระเจ้าซอลู พระโอรสของพระเจ้าอโนรธามังช่อกับพระธิดาของพระเจ้าจานสิตา ครองราชย์หลังการสวรรคตของพระเจ้าจานสิตา พระนามภาษาสันสกฤตเมื่อทรงครองราชย์นั้น พบในจารึกที่วัดชเวกูยี ออกพระนามว่า ศรีตรีภูวนาทิตย์บวรธรรมราชา แต่พระนามที่เป็นที่รู้จักกัน คือ "สิธู" (Sithu) ซึ่งแปลว่า "วีรบุรุษผู้ชนะ" หรือ อลองสิธู (Alaungsithu) เนื่องจากทรงประกาศพระองค์เป็นพระโพธิสัตว์ด้วยเช่นเดียวกับพระเจ้าจานสิตา พระอัยกาของพระองค์ (อลอง แปลว่าพระโพธิสัตว์) ในยุคสมัยนี้ศิลปะแบบมอญที่เคยรุ่งเรืองในสมัยแรก ๆ ของอาณาจักร ถูกปรับเปลี่ยนให้เป็นแบบของพุกามมากขึ้นจนถือได้ว่าเป็นจุดรุ่งเรืองสูงสุดของศิลปะพม่าแท้ รัชสมัยของพระองค์ เป็นรัชสมัยที่ทรงสร้างความรุ่งเรืองทางศิลปะ วรรณกรรม สถาปัตยกรรม และ การเมืองการปกครอง อย่างแท้จริง พระเจ้าอลองสิธู ทรงเป็นกษัตริย์นักเดินทางไม่แพ้พระอัยกาของพระองค์ เพราะทรงเดินทางไปเยือนดินแดนต่าง ๆ ในเขตลุ่มน้ำอิระวดี และดินแดนโพ้นทะเล เช่น ชวา สุมาตรา และศรีลังกา ในทางการเมืองการปกครอง พระองค์สามารถยึดเมืองท่าตะนาวศรีได้ จึงสามารถควบคุมการติดต่อทางทะเลที่บริเวณคอคอดกระได้ เช่น การควบคุมการค้าช้างระหว่างขอม และลังกา ทำให้อาณาจักรพุกามรุ่งเรืองเป็นอย่างยิ่ง ปลายรัชสมัยจัดเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของความเสื่อมของอาณาจักรเมื่อพระองค์ถูกปลงพระชนม์โดยเจ้าชายซึ่งเป็นพระราชโอรสของพระองค์เอง ตามตำนานเล่าว่าพระเจ้าอลองสิธูประชวรพระวาโยสิ้นพระสติ (เป็นลมจนหมดสติ) เจ้าชายนราธู พระราชโอรสจึงอัญเชิญพระองค์ไปประทับรักษาพระวรกายที่วัดแห่งหนึ่ง เมื่อฟื้นคืนพระสติเจ้าชายนราธูใช้ผ้าปูพระแท่น (ผ้าปูเตียง) อุดพระนาสิกและพระโอษฐ์จนพระเจ้าอลองสิธูสวรรคตเมื่อพระชนมายุได้ 87 พรรษา โดยที่พระองค์มิได้แต่งตั้งผู้ใดให้เป็นรัชทายาท เมื่อข่าวทราบถึงเจ้าชายมินชินสอมกุฏราชกุมารยกทัพกลับเข้าพุกามเพื่อเข้ามาจัดงานพระศพพระราชบิดา เจ้าชายนราธูถวายราชสมบัติคืนแก่พระเชษฐาโดยได้ขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้ามินชินสอ ในปี พ.ศ. 1706 แต่ก็ครองราชย์ได้เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ก็ถูกลอบปลงพระชนม์ด้วยยาพิษระหว่างงานฉลองในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกโดยเจ้าชายนราธูอีก ปัจจุบัน พระเจ้าอลองสิธูได้รับการบูชาให้เป็นนัตหลวงลำดับที่ 31 โดยเรียกว่า เมงสิธู (Min Sithu) หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์พุกาม หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกปลงพระชนม์.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระเจ้าอลองสิธู · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอะเนาะเพะลูน

ระเจ้าอะเน่าก์แพตหลุ่น (အနောက်ဖက်လွန် อะเน่าก์แพะหลุ่นมิง แปลว่า พระราชาแห่งทิศตะวันตก) หรือ พระเจ้ามหาธรรมราชา พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระเจ้าปราสาททองกลดแก้ว เป็นพระมหากษัตริย์พม่าในราชวงศ์ตองอู เมื่อสิ้นพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้านันทบุเรงแล้ว ฐานอำนาจของราชวงศ์ตองอูสั่นคลอนเนื่องจากเกิดการกบฏจากพม่าด้วยกันเองในหลายหัวเมือง อีกทั้งการรุกรานจากต่างชาติ เช่น มอญและชาวโปรตุเกส พระองค์ทรงเป็นผู้รวบรวมอาณาจักรพม่าให้กลับมายิ่งใหญ่ได้อีกครั้ง แม้ไม่ยิ่งใหญ่เท่าสมัยของพระอัยกาก็ตาม.

ใหม่!!: ชาวมอญและพระเจ้าอะเนาะเพะลูน · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจั่นซิตา

ั่นซิตา (Kyanzittha, ကျန်စစ်သား; พ.ศ. 1627 - 1656) เป็นพระเจ้ากรุงพุกาม และถือเป็นพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดพระองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์พม่าไม่แพ้พระเจ้าอโนรธามังช่อ เนื่องด้วยพระองค์ทรงเป็นธรรมกษัตริย์ที่ทำนุบำรุงศาสนาพุทธจนเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด จนเป็นที่ยอมรับทั้งจากชาวพม่าและชาวมอญ พระเจ้าจั่นซิตาเป็นขุนนางชั้นผู้ใหญ่คนหนึ่งในรัชสมัยพระเจ้าอโนรธา เมื่อพระเจ้าซอลูพระราชโอรสของพระเจ้าอโนรธาขึ้นครองราชย์ พระองค์มิได้ประกอบภารกิจอันใดด้วยความสามารถพระองค์เอง แต่จะทรงใช้และปรึกษาเหล่าเสนาอำมาตย์อยู่บ่อย ๆ ในปลายรัชสมัยพระเจ้าซอลู งะรมัน เจ้าเมืองพะโค ซึ่งเป็นชาวมอญได้ก่อกบฏขึ้นจับตัวพระเจ้าซอลูเป็นตัวประกัน จั่นซิตาซึ่งครองเมืองถิเลงอยู่ ไม่สามารถยกทัพกลับมาช่วยพระองค์ได้ทัน งะรมันได้สังหารพระเจ้าซอลูที่เมืองพวาสอ และพยายามเข้ายึดครองอาณาจักรพุกามแต่จั่นซิตาได้เข้าขัดขวาง เหล่าเสนาอำมาตย์ และพระธัมมทัสสีมหาเถระที่ปรึกษาองค์สำคัญของพระเจ้าอโนรธา จึงได้อัญเชิญจั่นซิตาขึ้นครองราชย์เป็นกษัตริย์ เมื่อขึ้นครองราชย์ จั่นซิตามีพระนามว่า ศรีตรีภูวนาทิตยธัมมมราชาTaw, Blagden 1911: 216 ในภาษาสันสกฤต ในจารึกพม่าเรียกพระองค์ว่า "ถิลุงมัง" (T’iluin Man) แปลว่า "กษัตริย์แห่งถิเลง" แต่เนื่องจากจั่นซิตามิได้มีเชื้อสายของกษัตริย์ พระองค์จึงอ้างสิทธิธรรมในการครองราชสมบัติว่าพระองค์ทรงเป็นภาคหนึ่งของพระโพธิสัตว์ และเป็นองค์อวตารของพระวิษณุของชาวปยูอีกด้วย สมัยนี้จึงถือเป็นรัชสมัยที่ศิลปศาสตร์แบบมอญเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในพุกาม ในรัชสมัยของพระเจ้าจั่นซิตา ทรงติดต่อกับต่างประเทศเป็นอย่างมาก ในปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและพระเจ้าจั่นซิตา · ดูเพิ่มเติม »

พะสิม

ม (ဖာသဳ พะแซม) หรือ บัสเซียน (Bassein) เป็นเมืองท่าสำคัญและเป็นเมืองศูนย์กลางของเขตอิรวดี ห่างจากนครย่างกุ้งมาทางตะวันตกเฉียงใต้ ริมแม่น้ำพะสิม ซึ่งเป็นแม่น้ำสาขาฝั่งตะวันตกของแม่น้ำอิรวดี เมืองนี้มีประชากร 237,089 คน (ค.ศ. 2017) ถึงแม้จะเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรมอญ แต่ปัจจุบันก็มีชาวมอญเหลืออยู่น้อยมาก กลุ่มชาติพันธุ์หลักในปัจจุบัน ได้แก่ ชาวพม่า พม่าเชื้อสายอินเดีย ชาวกะเหรี่ยง และชาว.

ใหม่!!: ชาวมอญและพะสิม · ดูเพิ่มเติม »

พะโค

(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.

ใหม่!!: ชาวมอญและพะโค · ดูเพิ่มเติม »

กฤษฎา พรเวโรจน์

กฤษฎา พรเวโรจน์ เกิดเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2520 เป็นนักแสดงและนายแบบชาวไทย อดีตสังกัดสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3.

ใหม่!!: ชาวมอญและกฤษฎา พรเวโรจน์ · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชา

แผนที่ของกลุ่มชาติพันธุ์ในกัมพูชา (พ.ศ. 2515) กลุ่มชาติพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกัมพูชาคือชาวเขมร สำหรับชนกลุ่มน้อยที่มีมากที่สุดคือชาวเวียดนาม อีกจำนวนหนึ่งเป็นลูกหลานของพ่อค้าชาวจีน และกลุ่มชาติพันธุ์พื้นเมืองเช่นชาวม้ง พนองและไทรวมทั้งกลุ่มอื่นๆที่เรียกชาวเขมรบนหรือแขมร์เลอ.

ใหม่!!: ชาวมอญและกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศกัมพูชา · ดูเพิ่มเติม »

กันยา เทียนสว่าง

กันยา เทียนสว่าง นางสาวสยาม พ.ศ. 2477 มีชื่อเล่นว่า "ลูซิล" เป็นธิดาของ นายสละ เทียนสว่าง และนางสนอม เทียนสว่าง แม่เธอมีเชื้อสายมอญ บิดาของเธอทำงานเป็นนายท่าเรืออยู่ที่ท่าเขียวไข่กา บางกระบือ พระนคร เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม..

ใหม่!!: ชาวมอญและกันยา เทียนสว่าง · ดูเพิ่มเติม »

การละเล่นพื้นเมือง

การละเล่นพื้นเมือง คือ การละเล่นที่แสดงเอกลักษณ์ของท้องถิ่นที่มีอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศไทย โดยสามารถแบ่งตามการละเล่นแต่ละภาค ได้แก.

ใหม่!!: ชาวมอญและการละเล่นพื้นเมือง · ดูเพิ่มเติม »

การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย

ษาบาลี หรือภาษามคธ เป็นภาษาที่จารึกพระไตรปิฎก ด้วยเป็นภาษาที่คนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลนิยมใช้กันทั่วไป จึงเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าใช้เผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยนั้น หลังจากพุทธปรินิพพานมีการทำปฐมสังคายนา พระเถระได้ตกลงกันใช้ภาษาบาลีสำหรับจดจำพระไตรปิฎก พระสงฆ์สายเถรวาทจึงต้องศึกษาภาษาบาลีให้เข้าใจลึกซึ้งและสามารถเทียบเคียงสอบทานกับพระไตรปิฎกที่เก็บไว้ในสถานที่ต่างกันได้ เพื่อรักษาการแปลความหมายจากพระพุทธพจน์ในพระไตรปิฎกให้ถูกต้องไม่บิดเบือน และหน้าที่นี้ก็เป็นหน้าที่ของพระสงฆ์ในประเทศไทยเช่นเดียวกันเทวประภาส มากคล้าย เปรียญ..

ใหม่!!: ชาวมอญและการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง

การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สองหรือ สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง เป็นความขัดแย้งทางทหารครั้งที่สองระหว่างราชวงศ์โกนบองแห่งพม่า กับราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งอยุธยา ในการทัพครั้งนี้ กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีคนไทยเกือบสี่ศตวรรษได้เสียแก่พม่าและถึงกาลสิ้นสุดลงไปด้วย เหตุการณ์ได้เกิดขึ้นเมื่อวันอังคาร ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีกุน ตรงกับวันที่ 7 เมษายน..

ใหม่!!: ชาวมอญและการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

กุหลาบมอญ

กุหลาบมอญ หรือ ยี่สุ่นเต็ม สมิตินันทน์ สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช,..

ใหม่!!: ชาวมอญและกุหลาบมอญ · ดูเพิ่มเติม »

ภาษามอญ

ษามอญ (เพียซาโหม่น) เป็นภาษาในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก กลุ่มภาษามอญ-เขมร ซึ่งเป็นสายหนึ่งในตระกูลภาษามอญ-เขมร 12 สาย พูดโดยชาวมอญ ที่อาศัยอยู่ในพม่า และไทย ภาษาตระกูลมอญ-เขมรมีการใช้มานานประมาณ 3,000-4,000 ปีมาแล้ว มีผู้ใช้ภาษานี้อยู่ประมาณ 5,000,000 คน อักษรมอญ ที่เก่าแก่ที่สุดนั้น ค้นพบในประเทศไทย หลักฐานที่พบคือ จารึกวัดโพธิ์ร้าง พ.ศ. 1143 เป็นอักษรมอญโบราณที่เก่าแก่ที่สุด ในบรรดาจารึกภาษามอญที่ได้ค้นพบ ในแถบเอเซียอาคเนย์ เป็นจารึกที่เขียนด้วยตัวอักษรปัลลวะ ที่ยังไม่ได้ดัดแปลงให้เป็น อักษรมอญ และได้พบอักษรที่มอญประดิษฐ์เพิ่มขึ้น เพื่อให้พอกับเสียงในภาษามอญ ในจารึกเสาแปดเหลี่ยมที่ศาลสูง เมืองลพบุรี ข้อความที่จารึกเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา สันนิษฐานว่า จารึกในพุทธศตวรรษที่ 14 ราว..

ใหม่!!: ชาวมอญและภาษามอญ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ไทย

แผนที่ประเทศไทย ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตำแหน่งที่ตั้งของประเทศได้มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ประเทศไทยยังเป็นเส้นทางทางบกเพียงทางเดียวจากทวีปเอเชียไปยังประเทศมาเลเซียและประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: ชาวมอญและภูมิศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มหานิกาย

มหานิกาย เป็นคำเรียกนิกาย หรือคณะของพระสงฆ์ไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทย เป็นฝ่ายคันถธุระ เดิมนั้น คำเรียกแบ่งแยกพระสงฆ์สายเถรวาทในประเทศไทยออกเป็นมหานิกายและธรรมยุติกนิกายยังไม่มี เนื่องจากคณะพระสงฆ์ไทยในสมัยโบราณ ก่อนหน้าที่จะมีการจัดตั้งคณะธรรมยุตขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนั้น ไม่มีการแบ่งแยกออกเป็นนิกายต่าง ๆ โดยส่วนใหญ่พระสงฆ์ไทยนั้นล้วนแต่เป็นเถรวาทสายลังกาวงศ์ทั้งสิ้น จนเมื่อพระวชิรญาณเถระ หรือเจ้าฟ้ามงกุฏ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4) ได้ก่อตั้งนิกายธรรมยุตขึ้นในปี พ.ศ. 2376 แยกออกจากคณะพระสงฆ์ไทยที่มีมาแต่เดิมซึ่งเป็นพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในสมัยนั้น จึงทำให้พระองค์คิดคำเรียกพระสงฆ์ส่วนใหญ่ในประเทศไทยที่เป็นสายเถรวาทลังกาวงศ์เดิมว่า พระส่วนมาก หรือ มหานิกาย ซึ่งคำ มหานิกาย นั้น มาจากธาตุศัพท์ภาษาบาลี มหนฺต + นิกาย แปลว่าพวกมาก กล่าวโดยสรุป มหานิกายก็คือ พระสงฆ์สายเถรวาทลังกาวงศ์ดั้งเดิมในประเทศไทยส่วนใหญ่ที่ไม่ใช่พระสงฆ์ธรรมยุติกนิก.

ใหม่!!: ชาวมอญและมหานิกาย · ดูเพิ่มเติม »

มอญ (แก้ความกำกวม)

มอญ อาจหมายถึง.

ใหม่!!: ชาวมอญและมอญ (แก้ความกำกวม) · ดูเพิ่มเติม »

มอญร้องไห้

มอญร้องไห้ในงานพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ มอญร้องไห้ หรือ นางร้องไห้ เป็นพิธีกรรมของชาวมอญ เป็นการแสดงความเคารพอาลัยและยกย่องคุณงามความดีของผู้ตาย โดยการประกอบพิธีจะมีวงปี่พาทย์มอญมาบรรเลง และจะมีคนมาร้องเพลงสวดสรรเสริญ เนื้อหาของเพลงนั้นไม่ตายตัว ขึ้นอยู่กับว่าผู้ตายเป็นใครและมีคุณงามความดีมากน้อยเพียงใ.

ใหม่!!: ชาวมอญและมอญร้องไห้ · ดูเพิ่มเติม »

ย่างกุ้ง

งกุ้ง หรือ ยานโกน (ရန်ကုန်, MLCTS rankun mrui, ยานโกน มโย; "อวสานสงคราม") หรือ ร่างกุ้ง (Rangoon) เป็นเมืองหลวงของเขตย่างกุ้ง ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกะเหรี่ยง

รัฐกะเหรี่ยง หรือ รัฐกะยีน (ကရင်ပြည်နယ်) เป็นรัฐของประเทศพม่า มีเมืองหลวงอยู่ที่พะอาน.

ใหม่!!: ชาวมอญและรัฐกะเหรี่ยง · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมอญ

รัฐมอญ (မွန်ပြည်နယ်; တွဵုရးဍုၚ်မန်၊ ရးမညဒေသ) เป็นหนึ่งในรัฐที่ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวมอญและรัฐมอญ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี เป็นราชวงศ์ที่ปกครองราชอาณาจักรสยามต่อจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจนถึงปัจจุบัน โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (พระนามเดิม ทองด้วง ทรงสืบเชื้อสายมาจากตระกูลขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา) ทรงสถาปนาราชวงศ์โดยการปราบดาภิเษกเมื่อ พ.ศ. 2325 ยุคของราชวงศ์นี้ เรียกว่า "ยุครัตนโกสินทร์".

ใหม่!!: ชาวมอญและราชวงศ์จักรี · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ตองอู

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ.

ใหม่!!: ชาวมอญและราชวงศ์ตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ราชาธิราช

ราชาธิราช หรือชื่อในภาษาพม่า ยาซาดะริต อเยดอว์บอง (ရာဇာဓိရာဇ် အရေးတော်ပုံ) เป็นชื่อของพงศาวดารพม่า ซึ่งมีเนื้อหาว่าด้วยประวัติศาสตร์ของอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญตั้งแต่ พ.ศ. 1830 ถึง พ.ศ. 1964 รายละเอียดภายในตัวพงศาวดารประกอบด้วยเรื่องราวของความขัดแย้งภายในราชสำนัก การกบฏ เรื่องราวทางการทูต การสงคราม เป็นต้น เนื้อหาประมาณกึ่งหนึ่งของเรื่องอุทิศพื้นที่ให้กับรัชกาลของพระเจ้าราชาธิราช โดยลงลึกในรายละเอียดของ สงครามสี่สิบปี ระหว่างอาณาจักรหงสาวดีของมอญ กับอาณาจักรอังวะของพม่า ภายใต้การนำของพระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง และอุปราชมังกะยอชวาThaw Kaung 2010: 29–30 ต้นฉบับของเรื่องราชาธิราชฉบับภาษาพม่ามาจากพงศาวดารภาษามอญเรื่อง "พงศาวดารกรุงหงสาวดี" ("Hanthawaddy Chronicle") และได้รับการแปลเป็นภาษาพม่าโดยพญาทะละ เสนาบดีและกวีชาวมอญซึ่งรับราชการในอาณาจักรพม่าสมัยราชวงศ์ตองอู นับได้ว่าเป็นเอกสารเกี่ยวกับชาวมอญในดินแดนพม่าตอนล่างที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่หลงเหลืออยู่Aung-Thwin 2005: 133–135 และอาจเป็นพงศาวดารมอญเพียงฉบับเดียวที่เหลือรอดจากการเผาทำลายเมืองพะโค (หงสาวดี) โดยกบฏชาวมอญภายใต้การนำของอดีตขุนนางในอาณาจักรหงสาวดีในปี พ.ศ. 2107Harvey 1925: xviii สำเนาใบลานของเรื่องราชาธิราชฉบับพญาทะละปัจจุบันเหลือรอดมาเพียง 4 ชุด สันนิษฐานว่าทำขึ้นในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ 23 (คริสต์ศตวรรษที่ 18) นอกจากนี้ยังมีฉบับแปลฉบับอื่นๆ อยู่อีก รวมทั้งสิ้น 9 ฉบับ ตามการวิเคราะห์โดยนายปันหละเมื่อปี พ.ศ. 2511 นายปันหละได้แปลราชาธิราชฉบับหนึ่งกลับเป็นภาษามอญเมื่อปี พ.ศ. 2501 และเรียบเรียงเรื่องราชาธิราชขึ้นใหม่อีก 1 ฉบับเป็นภาษาพม่า (นับเป็นราชาธิราชฉบับที่ 10) โดยสังเคราะห์ข้อมูลจากราชาธิราชฉบับพญาทละ ฉบับ "ปากลัด" และบันทึกจากพงศาวดารพม่าฉบับหอแก้ว (มานนานยาซะเวง) รวมทั้งอาศัยข้อมูลเพิ่มเติมจากการวิจัยสมัยใหม่Pan Hla 1968: 3–4.

ใหม่!!: ชาวมอญและราชาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสงครามในประเทศไทย

รายชื่อสงครามในประเทศไทย มีดังต่อไปนี้.

ใหม่!!: ชาวมอญและรายชื่อสงครามในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด

ำขวัญประจำจังหวัด เป็นคำขวัญที่แต่ละจังหวัดในประเทศไทยแต่งขึ้น เพื่อบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ ความภาคภูมิใจ และความโดดเด่นที่มีอยู่ในจังหวัดนั้น ๆ มักเป็นคำคล้องจองสั้น ๆ เพื่อให้จดจำง่าย นอกจากคำขวัญประจำจังหวัดแล้ว ปัจจุบันยังมีการแต่งคำขวัญประจำท้องถิ่นในส่วนย่อยลงไปอีก เช่น คำขวัญประจำอำเภอ คำขวัญประจำเขต (ในกรุงเทพมหานคร) เป็นต้น คำขวัญประจำจังหวัด แยกตามภาคได้ดังนี้.

ใหม่!!: ชาวมอญและรายชื่อคำขวัญประจำจังหวัด · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเพลงหน้าพาทย์

ลงหน้าพาทย์สามารถแบ่งเป็นหมวดๆได้ดังนี้.

ใหม่!!: ชาวมอญและรายชื่อเพลงหน้าพาทย์ · ดูเพิ่มเติม »

ลาว (กลุ่มชาติพันธุ์)

ลาว (ລາວ) เป็นหนึ่งในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ตระกูลภาษาไท-กะได เป็นชนชาติใหญ่ที่สุดและมีจำนวนมากที่สุดในประเทศลาว มีประชากรประมาณ 14 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นเป็นจำนวนร้อยละ 53.2 ส่วนที่อื่น ๆ อาศัยอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ชาวลาวบางส่วนได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานที่สหรัฐอเมริกาและทวีปยุโรป ชาวลาวส่วนใหญ่ใช้ภาษาลาวเป็นภาษาที่พูดกันในชีวิตประจำวัน ชาวลาวส่วนมากจะนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และบางส่วนยังนับถือควบคู่ไปกับลัทธิภูตผีวิญญาณต่าง ๆ แม้ชาวลาวจะตกอยู่ภายใต้อำนาจของชนชาติต่าง ๆ แต่ก็ยังรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีของตนได้เป็นอย่างดี.

ใหม่!!: ชาวมอญและลาว (กลุ่มชาติพันธุ์) · ดูเพิ่มเติม »

วัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร

วัดชนะสงคราม เป็นวัดโบราณสร้างในสมัยอยุธยา ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้าง เดิมเรียกว่าวัดกลางนา ต่อมาถูกยกสถานะเป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรมหาวิหาร.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดชนะสงครามราชวรมหาวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดพรหมทินใต้

วัดพรหมทินใต้ เป็นวัด ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 ตำบลหลุมข้าว อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี เป็นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งของอำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี โดยมีโบราณสถาน, แหล่งขุดค้นทางโบราณคดี, พิพิธภัณฑ์วัตถุโบราณ, หลวงพ่อพระพุทธพรหม สูง 9 เมตร (หล่อเสร็จในวันเดียว) และยังมีพระพนัสบดีที่ขุดค้นพบในบริเวณวัดซึ่งมีอายุกว่า 1,300 ปี ปัจจุบันมีพระอธิการสายันต์ อินทวัณโณ ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดพรหมทินใต้ · ดูเพิ่มเติม »

วัดกลางคลองสี่

วัดกลางคลองสี่ เดิมมีนามว่า วัดใหม่กลางคลองสี่ ตั้งอยู่ที่บ้านคลองสี่ หมู่ที่ 5 ตำบลลาดสวาย อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2453 โดยชาวไทยเชื้อสายมอญ.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดกลางคลองสี่ · ดูเพิ่มเติม »

วัดภูเขาทอง

วัดภูเขาทอง เป็นวัดโบราณในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในรัชสมัยสมเด็จพระราเมศวร เมื่อปี พ.ศ. 1930 มีเจดีย์ใหญ่ที่ชื่อว่า เจดีย์ภูเขาทอง เจดีย์ภูเขาทอง เป็นเจดีย์ที่สูงใหญ่ตั้งอยู่กลางทุ่งนา สามารถเห็นได้แต่ไกล เมื่อปี พ.ศ. 2112 พระเจ้าบุเรงนอง แห่งเมืองหงสาวดี ได้ยกทัพเข้ามาตีกรุงศรีอยุธยาได้สำเร็จ จึงได้สร้างพระเจดีย์ใหญ่แบบมอญขึ้นไว้เป็นอนุสรณ์ที่วัดนี้ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ได้ทำการปฏิสังขรณ์องค์เจดีย์ใหม่ เปลี่ยนรูปจากเจดีย์มอญเป็นรูปเจดีย์ย่อไม้สิบสองที่กำลังนิยมอยู่ในขณะนั้น ส่วนฐานนั้นเป็นศิลปะมอญอยู่ กรมโยธาธิการและผังเมืองได้ร่วมกับ กรมศิลปากรจัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงม้าไว้บริเวณด้านหน้าวัดภูเขาทอง ในบริเวณใกล้เคียงกันกับพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระสุริโยทัยที่กรมโยธาธิการฯ ได้สร้างไว้ก่อนหน้า เชื่อกันว่าบริเวณนี้เดิมเป็นทุ่งโล่งที่มีการตั้งทัพข้าศึก และเกิดการทำการยุทธหัตถีในหลายครั้งหลายสมั.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดภูเขาทอง · ดูเพิ่มเติม »

วัดรามพงศาวาส

วัดรามพงศาวาส ตั้งอยู่เลขที่ 3 หมู่ 10 ตำบลท่าหลวง อำเภอท่าเรือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ 9 ไร่ 30 ตารางวา อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับแม่น้ำแควป่าสัก ทิศใต้และทิศตะวันออกติดต่อกับที่ดินของเอกชน ทิศตะวันตกติดต่อกับถนนเข้าหมู่บ้าน พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มอยู่ริมแม่น้ำแควป่าสัก.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดรามพงศาวาส · ดูเพิ่มเติม »

วัดวังก์วิเวการาม

วัดวังก์วิเวการาม หรือ วัดหลวงพ่ออุตตมะ เป็นวัดที่หลวงพ่ออุตตมะ ร่วมกับชาวบ้านอพยพชาวกะเหรี่ยงและชาวมอญ ได้ร่วมกันสร้างขึ้น ในปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดวังก์วิเวการาม · ดูเพิ่มเติม »

วัดวังหมู

วัดวังหมูตั้งอยู่ที่บ้านวังหมู ตำบลหาดกรวด อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นวัดในพระพุทธศาสนาเถรวาท สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปรากฏหลักฐานการตั้งวัดในปี พ.ศ. 1700 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาปี พ.ศ. 1732 ในสมัยสุโขทัย มีอายุมากกว่า 800 ปี ถือเป็นวัดเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของอำเภอเมืองอุตรดิตถ์คู่กับวัดพระฝางสวางคบุรีมุนีนาถ วัดวังหมูตั้งชื่อตามหมู่บ้านที่ตั้งวัด เป็นสถานที่ประกอบศาสนพิธีของชุมชนในละแวกนี้แต่ครั้งอดีตจนถึงปัจจุบัน ในปัจจุบันวัดแห่งนี้ไม่ได้รับขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานแต่อย่างใ.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดวังหมู · ดูเพิ่มเติม »

วัดศรัทธาธรรม

วัดศรัทธาธรรม สังกัด มหานิกาย คณะสงฆ์ภาค ๑๕ ตั้งอยู่บ้านรามัญตะวันตก เลขที่ ๒๔๗ หมู่ ๑ ตำบลบางจะเกร็ง อำเภอเมืองฯ จังหวัดสมุทรสงคราม รหัสไปรษณีย์ ๗๕๐๐๐ โทร.๐๓๔-๗๖๒-๕๐๕ ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวั..

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดศรัทธาธรรม · ดูเพิ่มเติม »

วัดสนามชัย

วัดสนามชัย ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 ตำบลสนามชัย (เดิมชื่อตำบลพิหารแดง) อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรีมีเนื้อที่ประมาณ 57 ไร่ ปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดสนามชัย · ดูเพิ่มเติม »

วัดอัมพวัน (ลพบุรี)

วัดอัมพวัน เป็นวัดในตำบลบางขันหมาก อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดอัมพวัน (ลพบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

วัดทรงธรรมวรวิหาร

วัดทรงธรรมวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชั้นวรวิหาร ตั้งอยู่ที่อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เป็นวัดในพุทธศาสนารามัญนิกาย สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 2 โดยสมเด็จพระอนุชาธิราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคล (กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์) โปรดให้สร้างขึ้นพร้อมการสร้างเมืองนครเขื่อนขันธ์ พระอุโบสถเป็นเครื่องไม้ฝายกกระดาน มีพระรามัญเจดีย์องค์ใหญ่ ศิลปะรามัญ พระวิหารก่ออิฐถือปูน มีช่อฟ้าใบระกาทำด้วยไม้สัก ภายในประดิษฐานพระพุทธบาทจำลอง ต่อมาในปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดทรงธรรมวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วัดตองปุ (ลพบุรี)

วัดตองปุ เป็นวัดที่ตั้งอยู่ในเขตตำบลทะเลชุบศร อำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดตองปุ (ลพบุรี) · ดูเพิ่มเติม »

วัดปรมัยยิกาวาส

วัดปรมัยยิกาวาส เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 51 หมู่ที่ 7 ตำบลเกาะเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี วัดปรมัยยิกาวาสเป็นวัดโบราณ น่าจะสร้างหลังจากพระเจ้าท้ายสระโปรดให้ขุดคลอง เมื่อ พ.ศ. 2264 ชาวเรือเรียก วัดปากอ่าว จนปี พ.ศ. 2307 พม่าบุกยึดเมืองนนทบุรี กลายเป็นวัดร้างเมื่อปี พ.ศ. 2317 ชาวมอญที่อพยพมาในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้บูรณปฏิสังขรณ์ใหม่ คนมอญเรียกว่า "เภี่ยมู้เกี้ยเติ้ง" ในปี พ.ศ. 2417 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทอดกฐินวัดมอญ 4 วัด ได้แก่ วัดปากอ่าว วัดรามัญ (วัดเกาะพญาเจ่ง) วัดบางพัง และวัดสนาม (สนามเหนือ) ต่อมาทรงเห็นว่าวัดปากอ่าวทรุดโทรมมาก จึงโปรดเกล้าฯ ให้ปฏิสังขรณ์วัดใหม่ทั้งวัดโดยรักษารูปแบบมอญไว้ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล สนองพระคุณพระเจ้าบรมมหัยยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดารัตนราชประยูร ผู้ทรงอภิบาลพระองค์มาแต่ทรงพระเยาว์ และได้พระราชทานนามวัดว่า วัดปรมัยยิกาวาส ซึ่งมีความหมายว่า "วัดของพระบรมอัยยิกา" สิ่งสำคัญภายในวัดมีพระอุโบสถที่มีภาพจิตรกรรมฝาผนังแบบไทยประยุกต์ บานประตูหน้าต่างประดับ ลายปูนปั้นเขียนด้วยสี กำแพงแก้วรอบพระอุโบสถมีลวดลายที่สวยงาม เป็นกำแพงเหล็กอย่างดีทำมาจากยุโรป อีกทั้งด้านหลังพระอุโบสถมีพระเจดีย์รูปทรงแบบมอญซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่พระมหารามัญเจดีย์นี้ เมื่อปี พ.ศ. 2427 และใกล้กันนั้นมีพระวิหารซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ขนาดใหญ่เป็นที่สามในอำเภอปากเกร็ด ส่วนด้านหน้าพระวิหารเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหินอ่อน ซึ่งพระปฏิมากรซานซิวซูนทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และมี "พระนนทมุนินท์" เป็นพระพุทธรูปปางขัดสมาธิเพชร หน้าตักกว้าง 1 เมตร สูง 1.65 เมตร หล่อด้วยโลหะ พระศาสนโสภณ (อ่อน) เจ้าคณะมณฑลกรุงเทพสร้างเป็นพระพุทธรูปประจำเมืองนนทบุรี พระยาราชสงครามเป็นผู้อัญเชิญมาประดิษฐานไว้ด้านใต้พระวิหารพระพุทธไสยาสน์ วัดปรมัยยิกาวาสวรวิหาร มีประเพณีของเมืองสืบมาว่า เมื่อผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรีย้ายมาดำรงตำแหน่งใหม่ ได้จัดพิธีรับอย่างเป็นทางการพร้อมมีพิธีนมัสการพระพุทธรูปประจำเมืองนนทบุรีที่วัดแห่งนี้ สร้างขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นพระพุทธรูปประจำจังหวัดนนทบุรีประดิษฐานอยู่ในตู้กระจก ใต้พาไล ด้านหลังพระวิหารแห่งนี้ด้วย วัดมอญเก่าแก่แห่งนี้มีต้นไม้ใหญ่ให้ร่มเงามากมาย ทั้งยังมีม้านั่งสำหรับชมทัศนียภาพอันสวยงามริมเกาะอีกด้วย นับได้ว่า เป็นวัดที่เชิดหน้าชูตาของชาวเกาะเกร็ดเป็นอย่างมากทีเดียว.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดปรมัยยิกาวาส · ดูเพิ่มเติม »

วัดโบสถ์ (อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี)

วัดโบสถ์ ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านกลาง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา สร้างเมื่อ พ.ศ. 2164 โดยชาวมอญที่อพยพมามาจาก.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดโบสถ์ (อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี) · ดูเพิ่มเติม »

วัดโกรกกราก

วัดโกรกกราก ตั้งอยู่ริมแม่น้ำท่าจีน ตำบลโกรกกราก อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เป็นวัดเก่าแก่อายุเกือบ 200 ปี เริ่มมีปรากฏชื่อวัดครั้งแรกเมื่อเรือพระที่นั่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จอดเทียบท่าวัดโกรกกรากเมื่อครั้งเสด็จประพาสต้นจากบางปะอินไปเพชรบุรี สิ่งที่น่าสนใจของวัดโกรกกรากคือพระประธานในอุโบสถนอกจากจะมีพุทธลักษณะงดงามแล้ว ยังแปลกไปจากพระพุทธรูปที่พบเห็นทั่วไป คือสวมแว่นดำ.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดโกรกกราก · ดูเพิ่มเติม »

วัดเพชรสมุทรวรวิหาร

แผนที่วัดเพชรสมุทรวรวิหาร (วัดบ้านแหลม) วัดเพชรสมุทรวรวิหาร เดิมชื่อ วัดบ้านแหลมในอดีตชื่อ วัดศรีจำปา ตั้งอยู่ที่ ตำบลแม่กลอง อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นอารามหลวง ชั้นวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิก.

ใหม่!!: ชาวมอญและวัดเพชรสมุทรวรวิหาร · ดูเพิ่มเติม »

วันไหล

ก่อพระทรายวันไหล ณ ชายหาดบางแสน แต่เดิมมีชื่อเรียกว่า ประเพณีก่อพระทรายน้ำไหล คือ เป็นวันทำบุญขึ้นปีใหม่ที่นิยมปฏิบัติต่อๆกันมาในภาคตะวันออก และเขตภาคกลางบางจังหวัด โดยจะกำหนดหลังวันสงกรานต์ประมาณ 5-6วัน ชาวบ้านจะนิยมก่อพระเจดีย์ทรายถวายเป็นพุทธบูชา การก่อเจดีย์ทรายก็คือการขนทราย หาบทรายมากองสูงแล้วรดน้ำเอาไม้ปั้นกลึงเป็นรูปทรงเจดีย์ ปักธงทิวต่าง ๆ ตกแต่งกันอย่างวิจิตบรรจง องค์ใหญ่บ้าง เล็กบ้าง สุดแต่กำลัง บ้างก็ทำเป็นกรวยเล็ก ๆ เพื่อก่อให้ครบ ๘๔,๐๐๐ กอง เท่าจำนวนพระธรรมขันธ์ เมื่อก่อเสร็จพระเจดีย์ทรายแต่ละกองก็จะมีธงทิว พร้อมด้วยผ้าป่า ตลอดจนสมณบริขารถวายพระ พระสงฆ์ก็จะพิจารณาบังสุกุล ทำบุญเลี้ยงพระ เลี้ยงพระเสร็จก็เลี้ยงคนที่ไปร่วมงานเป็นการสนุกสนานในเทศกาลตรุษ ผลที่ได้เมื่องานเสร็จแล้ว ทางวัดก็ได้ทรายไว้สำหรับสร้างเสนาสนะ ปูชนียสถานในวัดหรือถมบริเวณวัดพระสงฆ์ก็ได้เครื่องปัจจัยไทยธรรมต่าง ๆ ช่วงปลายฤดูร้อนจะย่างเข้าฤดูฝน วัดใดที่ใกล้ห้วย หนอง คลอง บึง ญาติโยมอุบาสกอุบาสิกา วัดก็จัดประเพณีก่อพระทรายน้ำไหลขึ้น วิธีการก็คือขุดลอกทรายที่ฝนซัดไหลมาลงรวมขังอยู่ตามคลอง หนอง บึง เป็นการขนทรายเข้าวัด และเป็นการพัฒนาท้องถิ่นด้วย การรวมแรงคนเพื่อร่วมบุญขุดลอก ให้สะอาดเมื่อเข้าสู่ฤดูฝน น้ำฝนจะได้ไหลสะดวก คู คลอง หนอง บึง ไม่ตื้นเขิน หมู่บ้านสะอาด น้ำก็ไหลได้ตามปกติ ไม่ขังเจิ่งท่วมที่นั่นที่นี่ นี่คือประโยชน์ที่ได้จากการก่อพระทรายน้ำไหลในเทศกาล งานประเพณีนี้ชี้ให้เห็นความเจริญของวัฒนธรรมในท้องถิ่นเป็นอย่างดี แต่ด้วยสภาพของบ้านเมืองได้เปลี่ยนแปลงไป ความเจริญทางวิทยาการใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น การขนทราย โกยทราย หาบทราย เข้าวัดคนละหาบสองหาบก็เปลี่ยนสภาพมาเป็นซื้อทรายเป็นรถ ๆ ขนกันอย่างสะดวกสบาย และหลายวัดก็หมดความจำเป็นที่จะต้องใช้ทราย คู คลอง หนอง บึง ที่ทรายเคยซัดไหลมารวมกันก็ตัดเป็นถนนแปรสภาพจาก คู คลอง หนอง บึง ไปเกือบหมด จนแทบไม่มีการลอก คู คลอง หนอง บึง ในบริเวณใกล้ ๆ วัด งานก่อพระทรายน้ำไหลก็เปลี่ยนสภาพไป วัดต่าง ๆ หลายวัดไม่มีเจดีย์เป็นพุทธบูชา มีแต่เจดีย์ใส่กระดูกผี คำว่าเจดีย์ทรายก็หมดความหมายไป ก่อพระทรายเอาบุญก็เปลี่ยนสภาพไปพัฒนาไปตามกาลเวลา ก่อพระทรายน้ำไหล จึงเรียกสั้น ๆ ลงเหลือแค่ “วันไหล” หรือ “ประเพณีวันไหล”.

ใหม่!!: ชาวมอญและวันไหล · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศพม่า

ทธศาสนาในพม่าส่วนใหญ่เป็นนิกายเถรวาทมีผู้นับถือโดยประมาณ 89% ของประชากรภายในประเทศ เป็นประเทศที่นับถือศาสนาพุทธมากที่สุดในแง่ของสัดส่วนพระสงฆ์ต่อประชากรและสัดส่วนของรายได้ที่ใช้ในศาสนา พบการนับถือมากในหมู่ ชาวพม่า, ชาน, ยะไข่, มอญ, กะเหรี่ยง, และชาวจีนในพม่า พระภิกษุสงฆ์เป็นที่เคารพบูชาทั่วไปของสังคมพม่า ในบรรดากลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในประเทศพม่า ได้แก่ ชาวพม่า และ ชาน พุทธศาสนาเถรวาทมักเกี่ยวข้องกับการนับถือนัตและสามารถเข้าแทรกแซงกิจการทางโลกได้ พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศพม่า เมื่อคราวที่พระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย ได้อุปถัมภ์การสังคายนาครั้งที่ 3 เมื่อ..

ใหม่!!: ชาวมอญและศาสนาพุทธในประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาพุทธในประเทศไทย

ระพุทธศาสนาเข้ามาสู่ดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบัน เมื่อประมาณ พ.ศ. 236 สมัยเดียวกันกับประเทศศรีลังกา ด้วยการส่งพระสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่างๆ 9 สาย โดยการอุปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์อินเดีย ในขณะนั้นประเทศไทยรวมอยู่ในดินแดนที่เรียกว่าสุวรรณภูมิ ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวาง มีประเทศรวมกันอยู่ในดินแดนส่วนนี้ทั้ง 7 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ ไทย พม่า ศรีลังกา ญวน กัมพูชา ลาว มาเลเซีย ซึ่งสันนิษฐานว่ามีใจกลางอยู่ที่จังหวัดนครปฐมของไทย เนื่องจากได้พบโบราณวัตถุที่สำคัญ เช่นพระปฐมเจดีย์ และรูปธรรมจักรกวางหมอบเป็นหลักฐานสำคัญ แต่พม่าก็สันนิษฐานว่ามีในกลางอยู่ที่เมืองสะเทิม ภาคใต้ของพม่า พระพุทธศาสนาเข้ามาสู่สุวรรณภูมิในยุคนี้ นำโดยพระโสณะและพระอุตตระ พระเถระชาวอินเดีย เดินทางมาเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบนี้ จนเจริญรุ่งเรืองมาตามลำดับ ตามยุคสมัยต่อไปนี้.

ใหม่!!: ชาวมอญและศาสนาพุทธในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ศิลปะทวารวดี

ระพุทธรูปปางแสดงธรรมที่พระปฐมเจดีย์ อาณาจักรทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 11-16) เป็นของชนชาติมอญ ละโว้ มีศูนย์กลางอยู่บริเวณจังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี อำเภออู่ทอง และกินพื้นที่ไปจนถึงภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงหนือ แถบ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดปราจีนบุรี และขึ้นไปถึงทางเหนือ จังหวัดลำพูน มีศิลปะเป็นของตนเอง.

ใหม่!!: ชาวมอญและศิลปะทวารวดี · ดูเพิ่มเติม »

ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมมอญ บางกระดี่

กิดจากความร่วมมือของชุมชนชาวมอญ จัดตั้งขึ้นเพื่อให้เป็นพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน ศูนย์รวมการอนุรักษ์จัดแสดง เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องดนตรี เครื่องประดับโบราณ พระคัมภีร์อักษรมอญ พระพุทธรูป และภาพถ่าย ตลอดจนศิลปวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีอันเก่าแก่ของชาวไทยเชื้อสายมอญเอาไว้ สถานที่ตั้ง อยู่ในพื้นที่ของผู้ใหญ่บ้าน มีลักษณะเป็นเรือนไม้ ใต้ถุนโล่ง มีเนื้อที่ประมาณ 100 ตารางเมตร โดย นานสมชาย มอญคะ เป็นผู้รวบรวมสิ่งของจากชาวบ้าน จากวัด และคลอง หรือสิ่งของจากบรรพบุรุษของชาวมอญ บางกระดี่ เป็นหมู่บ้านของชาวมอญ ซึ่งได้อพยพหนีภัยพม่า เข้ามาตั้งถิ่นฐานบ้านเรือน ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ โดยมี วัดบางกระดี่ เป็นศูนย์กลางของ.

ใหม่!!: ชาวมอญและศูนย์ศิลปวัฒนธรรมมอญ บางกระดี่ · ดูเพิ่มเติม »

สมิงสอตุต

มิงสอตุด (သမိန်စောထွတ်,; สวรรคตสิงหาคม 1550) เป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ ราชอาณาจักรหงสาวดี และเป็นผู้ลอบสังหารพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ของราชวงศ์ตองอู เดิมเป็นขุนนางชาวมอญที่ได้รับราชการให้ไปปกครองเมืองสะโตงในรัชสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ผู้ที่พิชิตราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญได้ในปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและสมิงสอตุต · ดูเพิ่มเติม »

สมิงทอพุทธกิตติ

มิงทอพุทธกิตติ (သမိန်ထောဗုဒ္ဓကိတ္တိ สะเมงทอโบ้วด๊ะเกติ๊) เป็นพระเจ้าหงสาวดีระหว่าง..

ใหม่!!: ชาวมอญและสมิงทอพุทธกิตติ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี

มเด็จพระอมรินทราบรมราชินี (9 มีนาคม พ.ศ. 2280 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2369) หรือ สมเด็จกรมพระอมรินทรามาตย์ พระนามเดิม นาค เป็นสมเด็จพระราชินีพระองค์แรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เพราะเป็นสมเด็จพระอัครมเหสีในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระราชสมภพเมื่อวันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2280 ในรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ณ บ้านบางช้าง ตำบลอัมพวา อำเภอเมืองสมุทรสงคราม พระชนกชื่อ "ทอง" (พระชนกทอง ณ บางช้าง) พระชนนีชื่อ "สั้น" (สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี) เป็นคหบดีเชื้อสายมอญ.

ใหม่!!: ชาวมอญและสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี

มเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี (พระนามเดิม:หม่อมเจ้ารำเพย ศิริวงศ์; 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 — 9 กันยายน พ.ศ. 2404) เป็นพระมเหสีพระองค์ที่สองในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.

ใหม่!!: ชาวมอญและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร)

นมอญ เป็นสะพานข้ามคลองคูเมืองเดิม เชื่อมถนนเจริญกรุงในพื้นที่แขวงพระบรมมหาราชวังและแขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สะพานมอญเดิมเป็นสะพานช้าง (คือสะพานที่สร้างขึ้นอย่างมั่นคงแข็งแรงพอที่ช้างจะเดินข้ามได้) ซึ่งมีลักษณะเป็นสะพานไม้ข้ามคลองคูเมืองเดิมหลังวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม บริเวณนี้เคยเป็นที่อยู่อาศัยของชาวมอญที่อพยพหนีภัยสงครามจากกรุงศรีอยุธยามาพร้อม ๆ กับชาวไทย ครั้งนั้นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้ชาวมอญกลุ่มนี้ตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณคลองคูเมืองเดิมใกล้ป้อมวิชัยประสิทธิ์ ต่อมาพระยาศรีสหเทพ (ทองเพ็ง) เป็นผู้นำรวบรวมแรงงานชาวมอญ ซึ่งก็เป็นบรรดาญาติ ๆ และข้าทาสบริวารทั้งหลายที่อาศัยอยู่บริเวณนั้นสร้างสะพานข้ามคลองขึ้น จึงได้เรียกกันต่อมาว่า สะพานมอญ ในชั้นแรกสร้างด้วยไม้ธรรมดา ต่อมาเกิดเหตุเพลิงไหม้จึงได้มีการก่อสร้างใหม่ก่อด้วยอิฐถือปูนดังในยุคปัจจุบัน ภายหลังทางการได้นำชื่อสะพานมาตั้งเป็นชื่อทางแยกบริเวณที่ถนนเจริญกรุงตัดกับถนนอัษฎางค์ ระหว่างถนนสนามไชยกับถนนบ้านหม้อ ติดกับคลองคูเมืองเดิม และอยู่ใกล้กับสวนสราญรม.

ใหม่!!: ชาวมอญและสะพานมอญ (กรุงเทพมหานคร) · ดูเพิ่มเติม »

สะพานอุตตมานุสรณ์

นอุตตมานุสรณ์หรือสะพานมอญ สะพานอุตตมานุสรณ์ หรือที่นิยมเรียกกันว่า สะพานมอญ เป็นสะพานไม้ที่ยาวที่สุดในประเทศไทย มีความยาว 850 เมตร และเป็นสะพานไม้ที่ยาวเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากสะพานไม้อูเบ็ง ในประเทศพม่า เป็นสะพานที่ข้ามแม่น้ำซองกาเรีย ที่ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี สะพานนี้สร้างขึ้นโดยดำริของ หลวงพ่ออุตตมะ เจ้าอาวาสวัดวังก์วิเวการาม ในปี พ.ศ. 2529 จนถึง พ.ศ. 2530 โดยใช้แรงงานของชาวมอญ เป็นสะพานไม้ที่ใช้สัญจรไปมาของชาวมอญและชาวไทยที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ ปัจจุบันเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของจังหวัดกาญจนบุรี ในวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 เวลา 18.30 น. สะพานอุตตมานุสรณ์ได้พังทลายขาดเป็น 2 ท่อนในช่วงกลางสะพาน ความยาวประมาณ 30 เมตร เนื่องจากเกิดเหตุฝนตกหนักติดต่อกันนานถึง 3 วัน ทำให้เกิดน้ำป่าไหลเชี่ยวกรากจากทุ่งใหญ่นเรศวร พัดขยะตอไม้ลงสู่แม่น้ำซองกาเลีย ปะทะกับเสาสะพานทำให้เกิดขาดกลาง และเสียหายเพิ่มเป็น 70 เมตร ในเที่ยงของวันต่อมา หลังจากผ่านไป 1 ปี การซ่อมแซมสะพานแห่งนี้ก็ยังไม่เสร็จ และเกินสัญญาว่าจ้าง 120 วัน เนื่องจากมีปัญหาด้านบริษัทผู้รับเหมาที่มีปัญหาไม่สามารถนำไม้ที่ต้องขนส่งมาจากภาคอีสานมาซ่อมแซมได้ เนื่องจากเกรงว่าจะผิดกฎหมาย ในที่สุดสะพานอุตตมานุสรณ์ก็ได้รับการซ่อมแซม จากทหารช่างจากกองพลทหารราบที่ 9 (พล.ร.9) ค่ายสุรสีห์ ร่วมกับชาวบ้านอำเภอสังขละบุรี ใช้เวลาเพียงแค่ 29 วัน และมีพิธีเปิดใช้อีกครั้งอย่างเป็นทางการในวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ซึ่งเป็นวันครบรอบชาตกาล 104 ปี ของหลวงพ่ออุตตมะ โดยมีการแสดงแสงสีเสียงด้ว.

ใหม่!!: ชาวมอญและสะพานอุตตมานุสรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

สุนิตา ลีติกุล

นิตา ลีติกุล จรรยาธนากร (ชื่อเล่น:โบ) เกิดเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2518 เป็นนักร้องเพลงไทย โบเป็นลูกครึ่งไทยกับอัฟกานิสถาน คุณพ่อเป็นคนอัฟกานิสถาน และคุณแม่เป็นคนไทย และยังมีเชื้อสายจีน, มอญ และพม่า ด้วย หลังจากโบสอบเทียบจนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้ตัดสินใจเดินถือเทปคาสเซ็ท ที่อัดเสียงร้องของเธอ ไปยื่นให้กับทางบริษัทแกรมมี่เพื่อที่จะสมัครเป็นนักร้องในสังกัด และได้เซ็นสัญญากับแกรมมี่ในปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและสุนิตา ลีติกุล · ดูเพิ่มเติม »

สงกรานต์

ำหรับ สงกรานต์ ความหมายอื่น ดูที่: สงกรานต์ (แก้ความกำกวม) สงกรานต์ (សង្រ្កាន្ត; သင်္ကြန်; ສົງການ; 泼水节) เป็นประเพณีของประเทศไทย กัมพูชา ลาว พม่า ชนกลุ่มน้อยชาวไทแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน ศรีลังกาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย สันนิษฐานว่า สงกรานต์ได้รับอิทธิพลมาจากเทศกาลโฮลี (होली) ในอินเดีย แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน เริ่มในทุกวันแรม 1 ค่ำเดือน 4 คือ ในเดือนมีนาคม สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง "การเคลื่อนย้าย" ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี คือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สงกรานต์สืบทอดมาแต่โบราณคู่กับตรุษ จึงเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึง ส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ เดิมวันที่จัดเทศกาลกำหนดโดยการคำนวณทางดาราศาสตร์ แต่ปัจจุบันระบุแน่นอนว่า 13 ถึง 15 เมษายน วันขึ้นปีใหม่ไทยเป็นวันเริ่มปีปฏิทินของไทยจนถึง..

ใหม่!!: ชาวมอญและสงกรานต์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามพระเจ้าอลองพญา

งครามพระเจ้าอลองพญา เป็นชื่อเรียกความขัดแย้งทางทหารครั้งแรกระหว่างอาณาจักรโกนบองแห่งพม่า กับอาณาจักรอยุธยาสมัยราชวงศ์บ้านพลูหลวง สงครามครั้งนี้เป็นการจุดชนวนการสงครามนานหลายศตวรรษระหว่างทั้งสองรัฐขึ้นอีกครั้ง ซึ่งจะกินเวลานานไปอีกหนึ่งศตวรรษข้างหน้า ฝ่ายพม่านั้นอยู่ที่ "ขอบแห่งชัยชนะ" แล้วเมื่อจำต้องถอนกำลังจากการล้อมอยุธยา เนื่องจากพระเจ้าอลองพญาถูกระเบิดปืนใหญ่สิ้นพระชนม์ พระองค์สวรรคตและทำให้สงครามครั้งนี้ยุติลง ความต้องการครอบครองชายฝั่งตะนาวศรีและการค้าขายในแถบนี้เป็นชนวนเหตุของสงครามBaker, et al, p. 21James, Fall of Ayutthaya: Reassessment, p. 75 และการให้การสนับสนุนของอยุธยาต่อกบฏมอญแห่งอดีตราชอาณาจักรหงสาวดีฟื้นฟู ราชวงศ์โกนบองที่เพิ่งจะสถาปนาขึ้นใหม่นั้นต้องการจะแผ่ขยายอำนาจเข้าควบคุมชายฝั่งตะนาวศรีตอนบนอีกครั้ง (ปัจจุบันคือ รัฐมอญ) ซึ่งอยุธยาได้ให้การสนับสนุนแก่กบฏชาวมอญและจัดวางกำลังพลไว้ ฝ่ายอยุธยาปฏิเสธข้อเรียกร้องของพม่าที่จะส่งตัวผู้นำกบฏมอญหรือระงับการบุกรุกดินแดนซึ่งพม่ามองว่าเป็นดินแดนของตน สงครามครั้งนี้เริ่มต้นขึ้นในเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ชาวมอญและสงครามพระเจ้าอลองพญา · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

ใหม่!!: ชาวมอญและสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมไกรสร

หม่อมไกรสร มีพระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าไกรสร ต่อมามีพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงรักษ์รณเรศ (26 ธันวาคม พ.ศ. 2334 – 13 ธันวาคม พ.ศ. 2391) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและเจ้าจอมมารดาน้อยแก้ว ทรงเป็นต้นราชสกุล พึ่งบุญ และ สกุล อนิรุทธเทว.

ใหม่!!: ชาวมอญและหม่อมไกรสร · ดูเพิ่มเติม »

อรุณณภา พาณิชจรูญ

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ชาวมอญและอรุณณภา พาณิชจรูญ · ดูเพิ่มเติม »

ออสุต พะโค

ออสุต พะโค (Osoet Pegua; ค.ศ. 1615?–1658?), เจ้าสุต (Tjau Soet) หรือ ออสุต (Osoet) เป็นหญิงสามัญเชื้อสายมอญที่อาศัยอยู่ในกรุงศรีอยุธยาช่วงรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง เธอมีความสัมพันธ์เป็น "เมียลับ" กับพ่อค้าชาวดัตช์สามคน และมีบทบาทด้านการค้ากับบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ในสยาม โดยมีอิทธิพลจากราชสำนักฝ่ายในของกรุงศรีอยุธยาหนุนหลังเธอ.

ใหม่!!: ชาวมอญและออสุต พะโค · ดูเพิ่มเติม »

อาทมาต

อาทมาต, อาทมาฏ, อาตมาท, อาทมารถ หรือ อาจสามารถ เป็นชื่อเรียกวิชาดาบแขนงหนึ่งของไทย เชื่อกันว่าตกทอดมาครั้งแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตั้งแต่ยังมีพระอิสริยยศ เป็น พระอุปราชวังหน้ารั้งเมืองพิษณุโลก วิชาดาบอาทมาฏ มีจุดเด่นอยู่ที่ความรวดเร็วและรุนแรง สามารถสู้ได้เพียงคนเดียวต่อคู่ต่อสู้หลายคน มีท่ารุกเป็นท่าเดียวกับท่ารับ เมื่อคู่ต่อสู้ฟันมาจะรับและฟันกลับทันที ไม่มีอะไรตายตัว มีแม่ไม้ 3 ท่า คือคลุมไตรภพ ตลบสิงขร และย้อนฟองสมุทร และมีท่าไม้รำ 12 ท่า ได้แก.

ใหม่!!: ชาวมอญและอาทมาต · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรพุกาม

อาณาจักรพุกาม (Pagan Kingdom; ပုဂံခေတ်) เป็นอาณาจักรโบราณในช่วง..

ใหม่!!: ชาวมอญและอาณาจักรพุกาม · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรมอญ

อาณาจักรมอญ หรือ รามัญประเทศ เป็นอาณาจักรของชนชาติมอญซึ่ง อาจแบ่งได้เป็น 3 ยุค ยุคแรกคือยุคราชวงศ์สะเทิม อาณาจักรสุธรรมวดี มีกษัตริย์ปกครอง 59 พระองค์ เริ่มจากสมัยพระเจ้าสีหราชา มาจนถึงสมัยพระเจ้ามนูหา เชื่อว่ายุคนี้ครอบครองพื้นที่ได้ ทั้งทวารวดีและสะเทิม ยุคแรกสิ้นสุดลงเมื่อพระเจ้าอโนรธาแห่งอาณาจักรพุกาม ยกทัพมาตีเมืองสะเทิมในสมัยพระเจ้ามนูหาHtin Aung 1967: 32–33 ซึ่งนักประวัติศาสตร์ไทยบางท่านเชื่อว่าพระเจ้าอโนรธาน่าจะยกมาตีถึงนครปฐม ยุคที่สองคือยุคราชวงศ์เมาะตะมะ-หงสาวดี หรือยุคอาณาจักรหงสาวดี‎ เริ่มจากสมัยที่พม่าซึ่งอ่อนแอจากการรุกรานของมองโกล พระเจ้าวาเรรูหรือพระเจ้าฟ้ารั่ว (มะกะโท) ได้ทรงกอบกู้เอกราชมอญจากพม่าและสถาปนาอาณาจักรหงสาวดี พระองค์มีมเหสีเป็นราชธิดาของพ่อขุนรามคำแหง กษัตริย์ของไทย มีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมาะตะมะ ต่อมาในสมัยพญาอู่ ได้ย้ายราชธานีมาอยู่ ณ เมืองพะโคหรือหงสาวดี ราชบุตรของพระองค์คือพญาน้อย ซึ่งต่อมาก็คือพระเจ้าราชาธิราช ผู้ทำสงครามยาวนานกับกษัตริย์พม่าอาณาจักรอังวะ ในสมัยพระเจ้าฝรั่งมังศรีชวา กับสมัย พระเจ้าฝรั่งมังฆ้อง ขุนพลสำคัญของพระเจ้าราชาธิราช คือ สมิงพระราม สมิงนครอินทร์ และแอมูน-ทยา ในสมัยของพระเจ้าราชาธิราชนั้นหงสาวดีกลายเป็นอาณาจักรที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ ครอบคลุมตั้งแต่ชายฝั่งทะเลอ่าวเบงกอลจากแม่น้ำอิรวดีขยายลงไปทางตะวันออกถึงแม่น้ำสาละวิน และเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่ใหญ่โต มีเมืองท่าที่สำคัญหลายแห่งในหลายลุ่มน้ำ เช่น เมาะตะมะ สะโตง พะโค พะสิมHtin Aung 1967: 78–80 อาณาจักรมอญยุคนี้เจริญสูงสุดในสมัยพระนางเชงสอบูและสมัยพระเจ้าธรรมเจดีย์Myint-U 2006: 64–65 หลังจากนั้นในสมัยพระเจ้าสการะวุตพี หงสาวดีก็เสียแก่พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ ในปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและอาณาจักรมอญ · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรสุธรรมวดี

รรมวดี หรือ สะเทิม (သထုံခေတ် or) เป็นเมืองศูนย์กลางของชาวมอญในอดีต สร้างก่อน..

ใหม่!!: ชาวมอญและอาณาจักรสุธรรมวดี · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรหริภุญชัย

แผนที่อาณาจักรหริภุญชัยประมาณ พ.ศ. 1543-1643 (สีเขียว) อาณาจักรหริภุญชัย หรือ หริภุญไชย เป็นอาณาจักรมอญที่ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน ตำนานจามเทวีวงศ์โบราณได้บันทึกไว้ว่า ฤๅษีวาสุเทพเป็นผู้สร้างเมืองหริภุญชัยขึ้นในปี พ.ศ. 1310 แล้วทูลเชิญพระนางจามเทวี ซึ่งเป็นเจ้าหญิงจากอาณาจักรละโว้ ขึ้นมาครองเมืองหริภุญชัย ในครั้งนั้นพระนางจามเทวีได้นำพระภิกษุ นักปราชญ์ และช่างศิลปะต่าง ๆ จากละโว้ขึ้นไปด้วยเป็นจำนวนมากราวหมื่นคน พระนางได้ทำนุบำรุงและก่อสร้างบ้านเมือง ทำให้เมืองหริภุญชัย (ลำพูน) นั้นเป็นแหล่งศิลปวัฒนธรรมที่เจริญรุ่งเรืองยิ่ง ต่อมาพระนางได้สร้างเขลางค์นคร (ลำปาง) ขึ้นอีกเมืองหนึ่งให้เป็นเมืองสำคัญ สมัยนั้นปรากฏมีการใช้ภาษามอญโบราณในศิลาจารึกของหริภุญชัย มีหนังสือหมานซูของจีนสมัยราชวงศ์ถัง กล่าวถึงนครหริภุญชัยไว้ว่าเป็น “อาณาจักรของสมเด็จพระราชินีนาถ” (女王國 หนี่ว์ หวัง กว๋อ) ต่อมา พ.ศ. 1824 พญามังรายมหาราชผู้สถาปนาอาณาจักรล้านนา ได้ยกกองทัพเข้ายึดเอาเมืองหริภุญชัยจากพญายีบาได้ ต่อจากนั้นอาณาจักรหริภุญชัยจึงสิ้นสุดลงหลังจากรุ่งเรืองมา 618 ปี มีพระมหากษัตริย์ครองเมือง 49 พระองค์ ปัจจุบัน โบราณสถานสำคัญของอาณาจักรหริภุญชัยคือพระธาตุหริภุญไชย ที่จังหวัดลำพูน ซึ่งเป็นบริเวณที่สันนิษฐานว่าเป็นราชธานีในสมัยนั้น และยังมีเมืองโบราณเวียงมโน ตำบลหนองตอง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ โบราณสถานที่เวียงเกาะ บ้านสองแคว อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ และเวียงท่ากาน ที่ตำบลบ้านกลาง ต.สันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้มีการพบจารึกอักษรมอญโบราณ สมัยหริภุญไชย ราวพุทธศตวรรษที่ 17 จำนวน 7 หลัก ที่ลำพูน ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติหริภุญไชย จังหวัดลำพูน บางหมู่บ้านของจังหวัดลำพูนนั้นพบว่า ยังมีคนพูดภาษามอญและอนุรักษ์วัฒนธรรมมอญอยู.

ใหม่!!: ชาวมอญและอาณาจักรหริภุญชัย · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอยุธยา

ำหรับความหมายอื่น ดูที่ อยุธยา ระวังสับสนกับ อโยธยา อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน.

ใหม่!!: ชาวมอญและอาณาจักรอยุธยา · ดูเพิ่มเติม »

อาณาจักรอังวะ

อาณาจักรอังวะ (Ava Kingdom; အင်းဝခေတ်) อาณาจักรอิสระที่ปกครอง พม่าตอนบน ระหว่าง..

ใหม่!!: ชาวมอญและอาณาจักรอังวะ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอทองแสนขัน

ทองแสนขัน เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุตรดิตถ์ เดิมอยู่ในเขตปกครองของอำเภอตรอน และได้ขอแยกท้องที่เพื่อจัดตั้งกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2526 และได้ยกฐานะเป็นอำเภอตั้งแต่วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533.

ใหม่!!: ชาวมอญและอำเภอทองแสนขัน · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอป่าแดด

ป่าแดด (50px) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดเชียงราย เดิมเป็นตำบลหนึ่งในอำเภอพาน ตั้งอยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 52 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งสิ้น 333.300 ตารางกิโลเมตร.

ใหม่!!: ชาวมอญและอำเภอป่าแดด · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอแม่แจ่ม

แม่แจ่ม (55px) เป็นหนึ่งในอำเภอของจังหวัดเชียงใหม.

ใหม่!!: ชาวมอญและอำเภอแม่แจ่ม · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองตาก

อำเภอเมืองตาก เป็นอำเภอในจังหวัดตาก ศูนย์กลางทางด้านคมนาคม และจุดเชื่อมต่อไปยังอำเภอแม่สอด ศูนย์กลางค้าชายแดนไทย-พม่า อำเภอเมืองตากเดิมชื่อ "เมืองระแหง" ตัวเมืองเดิมตั้งอยู่ที่อำเภอบ้านตาก ต่อมาเมื่อได้สถาปนากรุงสุโขทัยเป็นราชธานีแล้ว เมืองตากมีฐานะเป็นเมืองหน้าด่านที่สำคัญด้านฝั่งตะวันตก ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายตัวเมืองตากจากฝั่งขวาของแม่น้ำปิงมายังฝั่งซ้ายบริเวณตำบลบ้านระแหงจนกระทั่งทุกวันนี้.

ใหม่!!: ชาวมอญและอำเภอเมืองตาก · ดูเพิ่มเติม »

ผู้อยู่เหนือเงื่อนไข?

หน้าปกหนังสือ ผู้อยู่เหนือเงื่อนไข? ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 4 ผู้อยู่เหนือเงื่อนไข? เป็นนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ที่แต่งโดย สุภา ศิริมานนท์ ใช้นามปากกา ษี บ้านกุ่ม เมื่อ..

ใหม่!!: ชาวมอญและผู้อยู่เหนือเงื่อนไข? · ดูเพิ่มเติม »

ผีในวัฒนธรรมไทย

ลเพียงตา ซึ่งเป็นสิงสถิตย์ของผีที่คุ้มครองดูแลที่ดิน ชาวไทยเชื่อว่า ผีสามารถให้คุณหรือให้โทษได้ หากเซ่นสวรวงหรือบูชาไม่ถูกต้อง เช่น ผีขุนน้ำ คือ เทพอารักษ์ประจำต้นน้ำแต่ละสาย ซึ่งสถิตอยู่บนดอยสูง ผีขุนน้ำมักอยู่ตามต้นไม้ใหญ่ ชาวบ้านจะอัญเชิญมาสถิตที่หอผีที่ปลูกอย่างค่อนข้างถาวรใต้ต้นไม้เหล่านี้ ผีขุนน้ำที่อยู่ต้นแม่น้ำใด ก็มักจะได้ชื่อตามแม่น้ำนั้น เช่น ผีปันน้ำ (เทือกเขาผีปันน้ำ ในภาคเหนือ) หรือผีมด และ ผีเมง คือ ผีบรรพบุรุษตามความเชื่อของชาวล้านนา (คำว่า "มด" หมายถึงระวังรักษา) ส่วนผีเมงนี้เข้าใจกันว่ารับมาจากชนเผ่าเม็งหรือมอญโบราณ, ผีเจ้าที่ หรือพระภูมิเจ้าที่ คือผีที่รักษาประจำอยู่ที่ใดที่หนึ่ง เป็นผู้ดูแลรักษาเขตนั้น ๆ ดังนั้น คนโบราณเมื่อเดินทางและหยุดพักที่ใด มักจะบอกขออนุญาตเจ้าที่ทุกครั้ง นอกเหนือไปจากผีดังกล่าวแล้ว ในแต่ละท้องถิ่นยังมีผีอีกหลายประเภท เช่น ผีกละ หรือ ผีจะกละ เป็นผีที่มักเข้าสิงผู้คนเพื่อเรียกร้องจะกินอาหาร เมื่อเข้าสิงใคร ก็จะแสดงกิริยาผิดปกติไป เมื่อคนสังเกตเห็นก็มักร้องขอกินอาหารและจะกินอย่างตะกละตะกลาม จึงเรียกผีกละตามลักษณะการกิน แต่มักเขียนเป็นผีกะ หรือผีกละยักษ์ เป็นผีที่อยู่รักษาสถานที่ต่างๆ เช่น วัดร้าง, ถ้ำ หรือที่ซึ่งมีสมบัติฝังหรือซ่อนอยู่ ผีกละยักษ์จะคอยพิทักษ์สมบัติเหล่านั้น จนกว่าเจ้าของจะรับทรัพย์สินเหล่านั้นไป ในกรณีผีกละยักษ์ที่อยู่ในวัด เล่ากันว่า มักจะเป็นวิญญาณของพระหรือเจ้าอาวาสที่ผิดวินัย เมื่อตายแล้วไปเกิดไม่ได้ จึงต้องทำหน้าที่พิทักษ์วัดไปจนกว่าจะสิ้นกรรม รูปร่างของผีกละยักษ์ไม่แน่นอน บ้างก็ว่าเป็นหมูตัวใหญ่ที่มีร่างกายเป็นทองแดง บ้างก็ว่าเป็นสุนัขใหญ่สีดำสนิททั้งตัว เป็นต้น ผี มีความผูกพันกับวิถีชีวิตของชาวไทยมาแต่โบราณ ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย จนเกิดเป็นข้อห้าม หรือคะลำ ในภาษาอีสานต่าง ๆ ที่เหมือนกันหรือแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาคไป เช่น ห้ามกินเลือด, ห้ามเลี้ยงนกฮูก, นกเค้าแมว, นกแสก, และค้างคาว, ห้ามเคาะจานข้าว, ห้ามกวาดบ้านตอนกลางคืน หรือห้ามเผาศพในวันศุกร์ เป็นต้น.

ใหม่!!: ชาวมอญและผีในวัฒนธรรมไทย · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดกาญจนบุรี

ังหวัดกาญจนบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตกของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 19,473 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดเชียงใหม่ และมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตก มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 129 กิโลเมตร มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าระยะทางประมาณ 370 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ทิศเหนือ จรดจังหวัดตากและจังหวัดอุทัยธานี ทิศใต้ จรดจังหวัดราชบุรี ทิศตะวันออก จรดจังหวัดสุพรรณบุรีและนครปฐม ทิศตะวันตก จรดประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวมอญและจังหวัดกาญจนบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดราชบุรี

ราชบุรี เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางภาคตะวันตก โดยเป็นศูนย์กลางในด้านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร เช่น มะพร้าว ชมพู่ ฝรั่ง มะม่วง และการปศุสัตว์ของประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์กลางในด้านพลังงานของประเทศในปัจจุบัน โดยมีเมืองราชบุรีเป็นศูนย์กลางด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และการคมนาคมในภูมิภาค ทิศเหนือติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดเพชรบุรี ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวมอญและจังหวัดราชบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

ใหม่!!: ชาวมอญและจังหวัดลพบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดตาก

นมิตรภาพ ไทย-พม่า (แม่สอด-เมียวดี) ทอดข้ามแม่น้ำเมย จังหวัดตาก (30px) เป็นจังหวัดในภาคตะวันตกหรือบางแห่งจัดอยู่ในภาคเหนือตอนล่างของไทย มีพื้นที่มากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ แต่มีประชากรเบาบางที่สุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ นับเป็นจังหวัดชายแดนที่สำคัญอีกจังหวัดหนึ่งของไทย มีประวัติศาสตร์เก่าแก่นับแต่สมัยกรุงสุโขทัย ทั้งยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่งดงามหลายแห่งด้วย นอกจากนี้จังหวัดตากยังเป็นจังหวัดที่มีอาณาเขตติดต่อจังหวัดอื่น ๆ ถึง 9 จังหวั.

ใหม่!!: ชาวมอญและจังหวัดตาก · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

ใหม่!!: ชาวมอญและจังหวัดนครราชสีมา · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ชาวมอญและจังหวัดนนทบุรี · ดูเพิ่มเติม »

จำลอง สารพัดนึก

ร.จำลอง สารพัดนึก ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.จำลอง สารพัดนึก เกิดเมื่อเดือนธันวาคม..

ใหม่!!: ชาวมอญและจำลอง สารพัดนึก · ดูเพิ่มเติม »

จินตหรา สุขพัฒน์

นตหรา สุขพัฒน์ หรือ แหม่ม มีชื่อเดิมว่า จิตติมาฆ์ สุขพัฒน์ และชื่อจริงว่า จิตติ์ธนิษา สุขขะพัฒน์ เป็นนางเอกและนักแสดงชาวไทยที่ได้รับความนิยมสูงสุดระหว่าง..

ใหม่!!: ชาวมอญและจินตหรา สุขพัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

ทวารวดี

ทวารวดี เป็นคำภาษาสันสกฤต เกิดขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 1427 โดยนายแซมมวล บีล (Samuel Beel) ได้แปลงมาจากคำว่า โถโลโปตี้ (Tolopoti) ที่มีอ้างอยู่ในบันทึกของภิกษุจีนจิ้นฮง (Hiuantsang) ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวว่า โถโลโปตี เป็นชื่อของอาณาจักรหนึ่งตั้งอยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร และอาณาจักรอิศานปุระ และเขาได้สรุปด้วยว่าอาณาจักรนี้เดิมตั้งอยู่ในดินแดนประเทศไทย(สยาม)ปัจจุบัน และยังสันนิษฐานคำอื่นๆที่มีสำเนียงคล้ายกันเช่น จวนโลโปติ (Tchouanlopoti) หรือ เชอโฮโปติ (Chohopoti) ว่าคืออาณาจักรทวารวดีด้วย ต่อมาความคิดเห็นนี้ได้มีผู้รู้หลายท่านศึกษาต่อและให้การยอมรับเช่น นายเอดัวร์ ชาวาน (Edourd Chavannes) และ นายตากากุสุ (Takakusu) ผู้แปลจดหมายเหตุการเดินทางของภิกษุอี้จิงในปี พ.ศ. 2439 และ นายโปล เปลลิโอต์ (Paul Pelliot) ผู้ขยายความอาณาจักรทวารวดีเพิ่มอีกว่ามีประชาชนเป็นชาวมอญในปี พ.ศ. 2447 เป็นต้น ดังนั้นบรรดาเมืองโบราณรวมทั้งโบราณวัตถุสถานต่างๆที่พบมากมายโดยเฉพาะในบริเวณลุ่มน้ำแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งแต่เดิมไม่สามารถจัดกลุ่มได้ว่าเป็นของขอมหรือของไทย แต่มีลักษณะคล้ายกับศิลปะอินเดียสมัยราชวงศ์คุปตะ - หลังคุปตะ ราวพุทธศตวรรษที่ 9-13 ที่พันตรีลูเนต์ เดอ ลาจองกีเยร์ (Lunet de Lajonguiere) เรียกว่า กลุ่มอิทธิพลอินเดียแต่ไม่ใช่ขอม จึงถูกนำมาสัมพันธ์กลายเป็นเรื่องเดียวกัน โดยศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ (พ.ศ. 2468) และสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (พ.ศ. 2469) เป็นกลุ่มบุคคลแรกที่กำหนดเรียกชื่อดินแดนที่เมืองโบราณเหล่านี้ตั้งอยู่ รวมทั้งงานศิลปกรรมที่พบนั้นว่าคือดินแดนแห่งอาณาจักรทวารวดี และศิลปะแบบทวารวดี โดยใช้เหตุผลของตำแหน่งที่ตั้งอาณาจักรตามบันทึกจีนกับอายุของบันทึก และอายุของงานศิลปกรรมที่ตรงกัน อาณาจักรทวารวดีจึงกลายเป็นอาณาจักรแรกในดินแดนไทย กำหนดอายุตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 12 ลงมาถึงพุทธศตวรรษที่ 16 อาณาจักรทวารวดี เป็นที่น่าเชื่อถือขึ้นอีกเมื่อพบเหรียญเงิน 2 เหรียญ มีจารึกภาษาสันสกฤตอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13 จากเมืองนครปฐมโบราณ มีข้อความว่า ศรีทวารวดีศวรปุณยะ ซึ่งแปลได้ว่า บุญกุศลของพระราชาแห่งศรีทวารวดี หรือ บุญของผู้เป็นเจ้าแห่งศรีทวารวดี หรือ พระเจ้าศรีทวารวดีผู้มีบุญอันประเสริฐ อาณาจักรทวารวดีจึงเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่ามีอยู่จริง และยังเชื่อกันอีกด้วยว่าเมืองนครปฐมโบราณน่าจะเป็นศูนย์กลางหรือเมืองหลวงของอาณาจักร (แต่ปัจจุบันพบเหรียญลักษณะคล้ายกันอีก 2 เหรียญ ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และที่อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี ความสำคัญของเมืองนครปฐมจึงเปลี่ยนไป) แต่ขณะเดียวกันนักวิชาการบางท่านก็เชื่อว่าอำเภออู่ทอง หรืออาจเป็นจังหวัดลพบุรี ที่น่าจะเป็นเมืองหลวงมากกว่ากัน.

ใหม่!!: ชาวมอญและทวารวดี · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบท่าช้าง

ทำเนียบท่าช้าง หรือ วังถนนพระอาทิตย์ ตั้งอยู่บนถนนพระอาทิตย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นบ้านของเจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี) บุตรเจ้าพระยามหาโยธานราธิบดีศรีพิชัยณรงค์ (พญาเจ่ง) ต้นสกุลคชเสนี เชื้อสายมอญ เจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรีย)เป็นปู่ของเจ้าจอมมารดากลิ่นในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเป็นมรดกตกทอดมาถึง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ (พระองค์เจ้ากฤดาภินิหาร) ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างตำหนัก 2 ชั้น เป็นที่ประทับของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทิธิ์และเจ้าจอมมารดา ต่อมาเรียกอาคารหลักนี้ว่า ตำหนักเดิม พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างตำหนักใหม่ ในปี พ.ศ. 2460 สร้างเป็นอาคารทรงยุโรปก่ออิฐถือปูน 2 ชั้น เรียกว่า วังมะลิวัลย์ จากนั้น พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์ทรงย้ายไปประทับอยู่ ณ วังมะลิวัลย์จนสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2468 ส่วนตำหนักเดิมนั้น สันนิษฐานว่าเป็นที่พำนักของเจ้าจอมมารดากลิ่น หลังจากที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศวรฤทธิ์สิ้นพระชนม์ พระโอรสองค์ใหญ่ซึ่งทรงเป็นผู้จัดการมรดก ได้ทูลเกล้าฯ ถวายร.7ขายตำหนักและที่ดินแก่พระคลังข้างที่ใน พ.ศ. 2468 ต่อมาหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตกมาเป็นกรรมสิทธิของ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ในปัจจุบัน ในรัชสมัยรัชกาลที่ 7 พระองค์พระราชทานตำหนักเดิม วังถนนพระอาทิตย์ ให้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ ต้นราชสกุลสวัสดิวัตน์ เมื่อพักได้ระยะหนึ่งจนตำหนักใหม่สูง 3 ชั้นสร้างเสร็จ ตำหนักเดิมจึงไม่มีผู้ใดอาศัย หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยคณะราษฎร์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฏ์ เสด็จออกจากวังนี้ ทรงลี้ภัยทางการเมืองสู่ ปีนัง เข้าสู่ ร.8 ประมาณปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและทำเนียบท่าช้าง · ดูเพิ่มเติม »

ท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร

อนุสาวรีย์ท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร ตราประจำจังหวัดภูเก็ต (พ.ศ. 2528 - ปัจจุบัน) แสดงภาพอนุสาวรีย์ของท้าวเทพกระษัตรี ท้าวศรีสุนทร ท้าวเทพกระษัตรี (เกิดราวปี พ.ศ. 2278 หรือ 2280 - ราวปี พ.ศ. 2336) และ ท้าวศรีสุนทร (ไม่ทราบปีเกิด) เป็นวีรสตรีไทยที่ป้องกันเมืองถลางให้พ้นจากข้าศึกได้ในสงครามเก้าทัพ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ท้าวเทพกระษัตรี มีชื่อเดิมว่า "ท่านผู้หญิงจัน" ท้าวศรีสุนทร เป็นน้องมีชื่อเดิมว่า "คุณมุก" ทั้งสองเป็นบุตรีของจอมรั้งเจ้าเมืองถลาง.

ใหม่!!: ชาวมอญและท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร · ดูเพิ่มเติม »

ขัตติยะ สวัสดิผล

ลตรี ขัตติยะ สวัสดิผล หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ.แดง (2 มิถุนายน พ.ศ. 2494 — 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2553) เป็นทหารบกชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักของคนทั่วไปเมื่อมีคดีความการรื้อบาร์เบียร์ย่านซอยสุขุมวิท 10 และถูก พล.ต.อ.สันต์ ศรุตานนท์ อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ฟ้องเรียกค่าเสียหายที่กล่าวหาว่า พล.ต.อ.สันต์ มีพฤติกรรมในการใช้อำนาจโดยมิชอบและละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งทุจริตการจัดซื้อ-จัดจ้าง การทำสำนวนคดีรื้อถอนบาร์เบียร์ที่มีพฤติการณ์ช่วยเหลือนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ และเป็นผู้มีส่วนร่วมในการอุ้มนายชูวิทย์จากโรงแรมดิเอมเมอรัลด์ รัชดาภิเษก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการเขียนหนังสือ คม....แดง ขึ้น อันเป็นหนังสืออัตชีวประวัติและรวบรวมความคิดคำพูดของ พล.ต.ขัตติยะ เอง.

ใหม่!!: ชาวมอญและขัตติยะ สวัสดิผล · ดูเพิ่มเติม »

ขุนรองปลัดชู (ภาพยนตร์)

นรองปลัดชู หรือในชื่อเต็มว่า ขุนรองปลัดชู วีรชนคนถูกลืม ภาพยนตร์ไทยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย ในสงครามพระเจ้าอลองพญา ออกฉายในช่วงกลางปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและขุนรองปลัดชู (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

ขุนไกรพลพ่าย

นไกรพลพ่าย (/ขุน-ไกรฺ-พน-ละ-พ่าย/) หรือเรียกโดยย่อว่าขุนไกร เป็นชื่อบรรดาศักดิ์ฝ่ายทหารของตัวละครตัวหนึ่งในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ขุนไกรเป็นบิดาของพลายแก้วผู้ต่อมามีบรรดาศักดิ์ว่า "ขุนแผน" และเป็นสามีของนางทองประศรี ขุนไกรต้องโทษประหารชีวิตตั้งแต่บุตรยังเล็ก.

ใหม่!!: ชาวมอญและขุนไกรพลพ่าย · ดูเพิ่มเติม »

ข้าวแช่

้าวแช่ เป็นชื่ออาหารชนิดหนึ่ง มีข้าวสุกขัดแช่น้ำเย็น ซึ่งมักเป็นน้ำดอกไม้ แล้วกินกับเครื่องกับข้าวต่าง ๆ เช่น ลูกกะปิ พริกหยวกสอดไส้ เนื้อเค็มฝอยผัดหวาน หัวหอมสอดไส้ ผักกาดเค็มผัดหวาน ปลาแห้ง และเครื่องผัดหวานต่าง ๆ นิยมรับประทานในหน้าร้อน ปัจจุบันอาจใส่น้ำแข็งในข้าวแช่ด้วย ข้าวแช่เดิมเป็นอาหารพื้นบ้านของชาวมอญ เรียกว่า เปิงด้าจก์ แปลว่า ข้าวน้ำ (เปิง หมายถึงข้าว และ ด้าจก์ หมายถึงน้ำ) นิยมทำสังเวยเทวดาและถวายพระสงฆ์ในตรุษสงกรานต์ ข้าวแช่เป็นที่รู้จักมากขึ้นจากครั้นเจ้าจอมมารดาซ่อนกลิ่น เจ้าจอมเชื้อสายมอญทางเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนี) ได้ติดตามพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวไปถวายราชการที่พระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี และได้ถ่ายทอดการทำข้าวแช่แก่บ่าวไพร่จนแพร่หลายในจังหวัดเพชรบุรีและในราชสำนัก เมื่อสิ้นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและข้าวแช่ · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีไทย

วงมโหรีโบราณเครื่องหก ดนตรีไทย เป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทย ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย, จีน, อินโดนีเซีย และอื่น ๆ เครื่องดนตรีมี 4 ประเภท ดีด สี ตี เป.

ใหม่!!: ชาวมอญและดนตรีไทย · ดูเพิ่มเติม »

ด่านเจดีย์สามองค์

ป้ายด่านเจดีย์สามองค์ ด่านเจดีย์สามองค์ (ဘုရားသုံးဆူ တောင်ကြားလမ်း) เป็นช่องเขาในทิวเขาตะนาวศรี ตั้งอยู่บนพรมแดนประเทศไทยและประเทศพม่า มีความสูง 282 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล.

ใหม่!!: ชาวมอญและด่านเจดีย์สามองค์ · ดูเพิ่มเติม »

คลองมอญ

ลองมอญ คลองมอญ เป็นคลองธรรมชาติคลองหนึ่งที่ตั้งอยู่ระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตบางกอกน้อย ที่มาของชื่อคลองมาจากที่ริมสองฝั่งคลองเป็นชุมชนชาวมอญเรียงรายกันไปตลอดแนว คลองมอญแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก พาดผ่านเป็นแนวแบ่งเขตแดนระหว่างเขตบางกอกน้อย และบางกอกใหญ่ ไปออกยังบริเวณที่คลองบางน้อยและคลองบางเชือกหนังไหลมาบรรจบกัน ในรอยต่อเขตภาษีเจริญและเขตตลิ่งชัน คลองมอญมีความยาวประมาณ 3 กิโลเมตร มีศาสนสถานและวัดสำคัญ ๆ มากมาย เช่น วัดเครือวัลย์ วัดนาคกลาง วัดพระยาทำ วัดครุฑ วัดโพธิ์เรียง วัดบางเสาธง วัดปากน้ำฝั่งใต้ วัดเกาะ คลองมอญจึงมีความสำคัญต่อการระบายน้ำและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตกรุงเทพมหานครชั้นในเป็นอย่างมาก ชื่ออื่นๆ ของคลองมอญที่นิยมเรียกกัน ก็คือคลองบางเสาธง ซึ่งเรียกกันในช่วงที่มารวมกับคลองบางน้อย และบางเชือกหนัง หรือบางครั้งก็ถือว่าคลองช่วงนี้เป็นส่วนหนึ่งของคลองบางน้อ.

ใหม่!!: ชาวมอญและคลองมอญ · ดูเพิ่มเติม »

คณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า

ณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า ในช่วงปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและคณะข้าหลวงปักปันเขตแดนไทย-พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ฆ้องมอญ

ฆ้องมอญเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับอิทธิพลมาจากมอญมีลักษณะตั้งโค้งขึ้นไป ไม่ตั้งราบกับพื้นแบบฆ้องไทย วงฆ้องทำจากไม้แกะสลักปิดทองอย่างสวยงาม ทางโค้งด้านซ้ายของผู้ตีแกะเป็นรูปต่างๆตามต้องการ แต่ส่วนใหญ่จะนิยมรูปเทวดา ทางโค้งด้านขวาทำเป็นรูปปลายหาง มีเท้ารองตรงกลางเหมือนระนาดเอก ฆ้องมอญมีลูกฆ้อง 15 ลูก แต่ฆ้องมอญจะไม่เรียงเสียงเหมือนฆ้องไทย ในบางช่วงมีการข้ามเสียง เรียกเสียงที่ข้ามว่า"หลุม" ฆ้องมอญทำหน้าที่เดินทำนองเพลงเช่นเดียวกับฆ้องวงใหญ่ของไทย ฆ้องมอญมี 2 ขนาดเหมือนกับฆ้องไทยคือ ฆ้องมอญใหญ่และฆ้องมอญเล็ก ฆ้องมอญใช้เล่นในวงปี่พาทย์มอญ หมวดหมู่:เครื่องดนตรีไทย.

ใหม่!!: ชาวมอญและฆ้องมอญ · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดนางเลิ้ง

ตลาดนางเลิ้ง เป็นชุมชนและตลาดที่ตั้งอยู่บนถนนนครสวรรค์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เป็นตลาดบกแห่งแรกของประเทศไทย มีอายุยาวนานกว่า 100 ปี ตลาดนางเลิ้งก่อตั้งมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 เปิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2443 โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดเอง แต่เดิมเรียกว่าบ้านสนามควาย ก่อนจะเรียกว่า “อีเลิ้ง” ตามชื่อคือตุ่มชนิดหนึ่งของชาวมอญ จนมาเปลี่ยนชื่ออีกครั้งในยุคจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ว่า “นางเลิ้ง” สถานที่สำคัญของตลาดนางเลิ้งได้แก่ โรงภาพยนตร์เฉลิมธานี ที่มีอายุเก่าแก่กว่า 80 ปี สร้างขึ้นสมัยรัชกาลที่ 6 เป็นที่บันเทิงที่จะได้ชมภาพยนตร์จากทุกชาติทั้งไทย, จีน อินเดีย, ฝรั่ง จากจำนวนคนดูที่เคยมากถึงรอบละ 300–400 คนก็เหลือเพียงรอบละไม่ถึง 10 คน จนต้องเลิกฉายไปเมื่อปี พ.ศ. 2536 ปัจจุบันเป็นเพียงโกดังเก็บของ ปัจจุบัน ตลาดนางเลิ้ง เป็นชุมชนที่เก่าแก่และมีชื่อเสียงแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร อาคารบ้านเรือนแถบนี้มีสถาปัตยกรรมที่สวยงาม และเป็นตลาดและย่านที่ขึ้นชื่ออย่างมากด้านอาหารนานาชนิด เช่น ขนมหวาน และที่ขึ้นชื่ออย่างมาก คือ กล้วยทอด หรือกล้วยแขก ที่มีขายกันหลายรายริมถนนรอบด้านจนเป็นที่เลื่องชื่อ ในการชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อแดงเมื่อปี พ.ศ. 2552 ตลาดนางเลิ้งเป็นแห่งหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากการชุมนุมด้วย มีผู้เสียชีวิต 2 คนเป็นบุคคลในชุมชน จากการออกมาปกป้องชุมชนแห่งนี้.

ใหม่!!: ชาวมอญและตลาดนางเลิ้ง · ดูเพิ่มเติม »

ตองอู

ตองอู หรือ ตองงู (တောင်ငူ;; เตาง์งู; คำแปล: เมืองในขุนเขา) เป็นเมืองในเขตหงสาวดี ประเทศพม่า อยู่ห่างจากย่างกุ้งไปทางเหนือ 220 กิโลเมตร ตั้งบนฝั่งแม่น้ำสะโตง เป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอิสระตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14–16 ในสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่างปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและตองอู · ดูเพิ่มเติม »

ตานลยีน

ตานลยีน (သန်လျင်, ตะหญี่น หรือ ต่าน-ลหฺยี่น) หรือ เซอัง (သေၚ်) ในอดีตไทยเรียก เสี้ยง มีชื่อเดิมที่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า สิเรียม (Syriam) เป็นเมืองท่าสำคัญของเขตย่างกุ้ง ประเทศพม่า ตั้งอยู่ปากแม่น้ำอิรวดี อดีตเป็นเมืองท่าชั้นนอกของพะโคหรือหงสาวดี เคยเป็นที่มั่นของทหารโปรตุเกส ช่วยเหลือชาวมอญทำสงครามกับพม่า ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 โดยเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่ตั้งอยู่ตอนปลายของแม่น้ำพะโค และอาณาจักรมอญ มีสภาพเป็นเมืองที่เป็นตลิ่งสูงชันริมฝั่งแม่น้ำ จัดเป็นเมืองที่มีทัศนียภาพสวยงาม ปัจจุบัน ตานลยีนมีโครงการก่อสร้างท่าเรือน้ำลึกและทางรถไฟสำหรับขนส่งสินค้.

ใหม่!!: ชาวมอญและตานลยีน · ดูเพิ่มเติม »

ตำบลบ้านระกาศ

ตำบลบ้านระกาศ เป็นตำบลหนึ่งของอำเภอบางบ่อ จังหวัดสมุทรปราการ มีเนื้อที่ประมาณ 25 ตารางกิโลเมตรหรือ 15,625 ไร่ จำนวนประชากร 6,632 คน ภาษาท้องถิ่นที่ใช้ภาษาไทยภาคกลาง ประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา จำนวนหมู่บ้าน 10 หมู่บ้าน.

ใหม่!!: ชาวมอญและตำบลบ้านระกาศ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร

ระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือ พระแก้วมรกต เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของชาวไทย ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม (หรือ วัดพระแก้ว) ในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร ประวัติความเป็นมาของพระแก้วมรกตนี้ได้มีกล่าวไว้ในตำนานซึ่งมีรายละเอียดดังนี้.

ใหม่!!: ชาวมอญและตำนานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา หรือ ภาคปฐมวัย เป็นภาพยนตร์ภาคแรกของภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดงโดย ปรัชฌา สนั่นวัฒนานนท์, จิรายุ ละอองมณี, สุชาดา เช็คลีย์, โชติ บัวสุวรรณ, สรพงษ์ ชาตรี, ปวีณา ชารีฟสกุล, สมภพ เบญจาธิกุล, ฉัตรชัย เปล่งพานิช, สันติสุข พรหมศิริ, ไพโรจน์ ใจสิงห์, เกรซ มหาดำรงค์กุล บทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: ชาวมอญและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๑ องค์ประกันหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ภาพยนตร์ภาคสองในภาพยนตร์ไตรภาคชุด ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นำแสดง.ต.วันชนะ สวัสดี, นพชัย ชัยนาม, ทักษอร ภักดิ์สุขเจริญ, จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์, นภัสกร มิตรเอม, อินทิรา เจริญปุระ,.ต.คมกริช อินทรสุวรรณ, ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง, พ.ท.วินธัย สุวารี, สรพงษ์ ชาตรี เขียนบทภาพยนตร์และกำกับการแสดงโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล.

ใหม่!!: ชาวมอญและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหงสา

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค องค์ประกันหงสา หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค ปฐมวัย เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ ภาคที่หนึ่งของละครเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ กำกับการแสดงโดย หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลที่ทำไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง ใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร์ ละครเรื่องนี้ออกอากาศตอนแรกในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2560 และออกอากาศตอนจบในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ละครเรื่องนี้มีภาคต่อคือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสร.

ใหม่!!: ชาวมอญและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหงสา · ดูเพิ่มเติม »

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพ

ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาค ประกาศอิสรภาพ หรือ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช The Series ภาค ประกาศอิสรภาพ เป็นละครโทรทัศน์อิงประวัติศาสตร์ ภาคที่สองของละครเรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ กำกับการแสดงโดย หม่อมราชวงศ์เฉลิมชาตรี ยุคล เป็นการสร้างละครที่อิงเอาเนื้อเรื่องจากภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภาค ๒ ประกาศอิสรภาพ ที่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคลได้สร้างไว้มาสร้างใหม่อีกครั้ง โดยใช้กระบวนการถ่ายทำและเทคนิคแบบภาพยนตร์ ด้วยความมุ่งหมายจะให้เนื้อเรื่องสมบูรณ์กว่าในแบบฉบับภาพยนตร์ ละครเรื่องนี้เป็นภาคต่อของ ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคองค์ประกันหง.

ใหม่!!: ชาวมอญและตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดอะซีรีส์ ภาคประกาศอิสรภาพ · ดูเพิ่มเติม »

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน

ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน ปูตรา อัล-ฮัจ อิบนี อัลมาร์ฮุม ซุลตัน อับดุล ฮามิด ฮาลิม ชะฮ์ที่ 2 (Tunku Abdul Rahman Putra Al-Haj ibni Almarhum Sultan Abdul Hamid Halim Shah II, تونكوعبدالرحمن ڤوترا الهاج ابن المرحوم سلطان عبدالحميد حاليم شه) หรือ ตุนกู อับดุล ระฮ์มัน (8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 – 6 ธันวาคม พ.ศ. 2533) เป็นผู้นำการเรียกร้องเอกราชและนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศมาเลเซีย ได้รับยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศมาเลเซียหรือ Bapa of Malaysia.

ใหม่!!: ชาวมอญและตุนกู อับดุล ระฮ์มัน · ดูเพิ่มเติม »

ประชากรศาสตร์พม่า

ทความนี้ว่าด้วยลักษณะประชากรของประเทศพม่า รวมถึงความหนาแน่นของประชากร ชาติพันธุ์ ระดับการศึกษา สาธารณสุข สถานภาพทางเศรษฐกิจ การนับถือศาสนา เป็นต้น.

ใหม่!!: ชาวมอญและประชากรศาสตร์พม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต

ตราประจำจังหวัดภูเก็ต ประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต เดิมคำว่า ภูเก็ต นั้นใช้คำว่า "ภูเก็จ" อันแปลว่าเมืองแก้ว ตรงกับความหมายเดิมซึ่งชาวทมิฬเรียก มณีคราม ตามหลักฐาน..

ใหม่!!: ชาวมอญและประวัติศาสตร์จังหวัดภูเก็ต · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์ไทยช่วงต้น

วามรู้เกี่ยวกับสมัยก่อนประวัติศาสตร์ไทย เริ่มต้นที่แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง แม้อายุที่แน่นอนนั้นยังเป็นที่ถกเถียงกัน ทว่าคนส่วนใหญ่เชื่อว่าน่าอยู่ก่อน 3600 ปีก่อนคริสต์ศักราช ผู้อาศัยได้พัฒนาเครื่องมือสัมฤทธิ์ รวมไปถึงปลูกข้าวซึ่งเป็นตัวกระตุ้นสำหรับโครงสร้างทางสังคมและการเมือง ต่อมาอารยธรรมมลายู มอญ และเขมร ได้แผ่ขยายเข้ามาในภูมิภาคก่อนการครอบครองของคนไทย โดยอารยธรรมที่มีความโดดเด่นได้แก่ อาณาจักรศรีวิชัยในทางใต้ อาณาจักรทวารวดีในภาคกลางของประเทศไทย และจักรวรรดิขแมร์ที่ตั้งอยู่ ณ เมืองพระนคร  ชาวไทยเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มชาติพันธุ์ขนาดใหญ่ที่มีชื่อว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได โดยเป็นกลุ่มที่ประกอบด้วย ชาวลาว ชาวไทใหญ่จากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศพม่า ชาวจ้วงจากกว่างซีในประเทศจีน รวมไปถึงชาวโท้และชาวนุงจากภาคเหนือของประเทศเวียดนาม การอพยพจากตอนใต้ของประเทศจีนมายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เกิดขึ้นในช่วงสหัสวรรษแรกของคริสต์ศักราช โดยมีความเป็นไปได้ว่าผ่านทางตอนเหนือของประเทศลาว  ในคริสต์สหัสวรรษที่ 1 ชาวไท-กะไดได้อาศัยอยู่เป็นกลุ่มเล็กๆที่เรียกว่า เมือง โดยได้อิทธิพลจากวัฒนธรรมโดยรอบที่มีการพัฒนา เช่น วัฒนธรรมเขมรจากทางตะวันออก และวัฒนธรรมฮินดูของอินเดียจากทางตะวันตก ชาวไท-กะไดส่วนใหญ่หันไปยึดถือรูปแบบหนึ่งในศาสนาฮินดู และยังคงปรากฏร่องรอยให้เห็นอยู่ในศาสนปฏิบัติของชาวไทยในปัจจุบัน ระหว่าง คริสต์ศตวรรษที่ 6 ถึง 9 พุทธศาสนาถูกนำเข้ามาสู่ดินแดนของชาวไท อาจจะผ่านทางประเทศพม่า และกลายเป็นศาสนาหลัก นิกายเถรวาทซึ่งนับถือในประเทศไทยถูกเผยแผ่โดยคณะสงฆ์จากประเทศศรีลังกา ในศตวรรษที่ 13  พงศาวดารเหนือ คือบันทึกประวัติศาสตร์ในช่วงเวลานี้ โดยแม้ไม่ทราบแน่ชัดว่าเริ่มบันทึกเมื่อไหร่ เนื้อหาคาดการณ์ว่าอยู่ในช่วง..

ใหม่!!: ชาวมอญและประวัติศาสตร์ไทยช่วงต้น · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เชียงตุง

นแดนเชียงตุงเป็นดินแดนที่มีความสำคัญมานานในอดีตเช่นเดียวกับเชียงใหม่และเชียงรุ่ง (สิบสองปันนา)ตามหลักฐานในประวัติศาสตร์ แต่เดิมเชียงรุ่งเป็นเมืองลูกหลวงของเชียงใหม่ จนกลายเป็นเมืองประเทศราชของพม่าในสมัยพระเจ้าบุเรงนอง หลังจากนั้น เชียงใหม่ได้แยกตัวเป็นอิสระจากพม่า มาเป็นเมืองประเทศราชของสยาม ส่วนเชียงตุงยังคงเป็นเมืองประเทศราชของพม่า ทำให้เกิดความขัดแย้งเป็นสงครามเชียงใหม่-เชียงตุงถึง 3 ครั้ง ในที่สุด เชียงตุงเป็นอาณานิคมของอังกฤษเช่นเดียวกับพม่า ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของไทยในชื่อสหรัฐไทยเดิมในเวลาสั้นๆช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อพม่าได้รับเอกราช จึงเป็นส่วนหนึ่งของรัฐฉาน ประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวมอญและประวัติศาสตร์เชียงตุง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่า

ม่า หรือ เมียนมา (မြန်မာ,, มฺยะหฺม่า) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า หรือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (ပြည်ထောင်စု သမ္မတ မြန်မာနိုင်ငံတော်, ปหฺยี่เด่าง์ซุ ตัมมะดะ มฺยะหฺม่า ไหฺน่หฺงั่นด่อ) เป็นรัฐเอกราชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนติดกับอินเดีย บังกลาเทศ จีน ลาว และไทย หนึ่งในสามของพรมแดนพม่าที่มีความยาว 1,930 กิโลเมตรเป็นแนวชายฝั่งตามอ่าวเบงกอลและทะเลอันดามัน ด้วยพื้นที่ 676,578 ตารางกิโลเมตร ประเทศพม่าเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 40 ของโลก และใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำมะโนของประเทศในปี 2557 เผยว่าประเทศพม่ามีประชากรน้อยกว่าที่คาดการณ์ โดยมีบันทึกประชากร 51 ล้านคน มีเมืองหลวง คือ กรุงเนปยีดอ และนครใหญ่สุด คือ ย่างกุ้ง อารยธรรมช่วงต้นของประเทศพม่ามีนครรัฐปยูที่พูดภาษาตระกูลทิเบต-พม่าในพม่าตอนบน และราชอาณาจักรมอญในพม่าตอนล่าง ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ชาวพม่าได้เข้าครอบครองบริเวณลุ่มแม่น้ำอิรวดีตอนบน และสถาปนาราชอาณาจักรพุกามในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1050 ภาษาและวัฒนธรรมพม่าพร้อมด้วยศาสนาพุทธนิกายเถรวาทค่อย ๆ ครอบงำในประเทศ อาณาจักรพุกามล่มสลายเพราะการบุกครองของมองโกลและรัฐหลายรัฐกำเนิดขึ้น ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ราชวงศ์ตองอูสร้างเอกภาพอีกครั้ง และช่วงสั้น ๆ เป็นจักรวรรรดิใหญ่สุดในประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต้นศตวรรษที่ 19 ราชวงศ์คองบองได้ปกครองพื้นที่ประเทศพม่าและควบคุมมณีปุระและอัสสัมในช่วงสั้น ๆ ด้วย บริติชพิชิตพม่าหลังสงครามอังกฤษ-พม่าทั้งสามครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 19 และประเทศกลายเป็นอาณานิคมบริติช ประเทศพม่าได้รับเอกราชใน..

ใหม่!!: ชาวมอญและประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1612

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1612 ในประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวมอญและประเทศพม่าใน ค.ศ. 1612 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศพม่าใน ค.ศ. 1757

หตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1757 ในประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวมอญและประเทศพม่าใน ค.ศ. 1757 · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ใหม่!!: ชาวมอญและประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน

ปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน คือ ชนิดของปลาที่พบได้ในลุ่มแม่น้ำสาละวิน ซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติระหว่างประเทศไทยและประเทศพม่า แม่น้ำสาละวิน นับเป็นแม่น้ำสายใหญ่ที่มีความยาว 2,800 กิโลเมตร มีจุดกำเนิดที่เทือกเขาหิมาลัยไหลผ่านประเทศจีน, พม่า, ไทย และไหลลงมหาสมุทรอินเดียที่อ่าวเมาะตะมะ รัฐมอญ มีความหลากหลายของชนิดปลาที่พบได้ในแม่น้ำแห่งนี้ ซึ่งรวมถึงแควสาขาของแม่น้ำด้วย เช่น แม่น้ำปาย, แม่น้ำเมย, แม่น้ำยวม, แม่น้ำกษัตริย์, แม่น้ำสุริยะ และรวมไปถึงแม่น้ำอื่นที่อยู่ใกล้เคียงกัน เช่น แม่น้ำบีคลี, แม่น้ำซองกาเลีย, แม่น้ำรันตี โดยหลายชนิดเป็นปลาในสกุลที่พบได้มากในประเทศอินเดียและอนุทวีปอินเดีย ซึ่งเป็นพื้นที่ใกล้เคียงกัน หลายชนิด หลายสกุลก็เป็นปลาที่พบเฉพาะลุ่มแม่น้ำสาละวินที่เดียวด้ว.

ใหม่!!: ชาวมอญและปลาที่พบในลุ่มแม่น้ำสาละวิน · ดูเพิ่มเติม »

ปี่พาทย์ออกสิบสองภาษา

ปี่พาทย์ออกสิบสองภาษา เป็นรูปแบบการบรรเลงดนตรีไทยอย่างหนึ่ง บรรเลงด้วยวงปี่พาทย์ไม้แข็งโดยบรรเลงเพลงสำเนียงภาษาต่าง ๆ ติดต่อกันไปแต่ไม่ต้องครบสิบสองภาษาก็ได้ คาดว่าได้รับอิทธิพลมาจากการสวดคฤหัสถ์ในงาน.

ใหม่!!: ชาวมอญและปี่พาทย์ออกสิบสองภาษา · ดูเพิ่มเติม »

ปี่มอญ

ปี่มอญ ปี่มอญ เป็นเครื่องเป่าในตระกูลปี่ ไทยได้แบบอย่างมาจากมอญ ปี่ชนิดนี้แบ่งเป็น 2 ท่อน ท่อนแรกเรียกว่า"ตัวเลา" ทำด้วยไม้จริง กลึงให้กลมเรียวยาว ภายในโปร่งตลอด ตอนปลายกลึงผายออกเล็กน้อย ถัดลงมากลึงเป็นลูกแก้วคั่นสำหรับผูกเชือกโยงกับตัวลำโพง ที่ตัวเลาด้านหน้าเจาะรู 7 รู เรียงตามลำดับเพื่อเปิดปิดนิ้วบังคับเสียง ด้านหลังตอนบนเจาะอีก 1 รูเป็น"รูนิ้วคำ" อีกท่อนหนึ่งเรียกว่าลำโพง ทำด้วยทองเหลืองหรือสแตนเลส ลักษณะคล้ายดอกลำโพง แต่ใหญ่กว่า ปลายผายบานงุ้มขึ้น ตอนกลางและตอนปลายตีเป็นลูกแก้ว ตัวเลาปี่จะสอดใส่เข้าไปในลำโพง โดยมีเชือกเคียนเป็นทักษิณาวัฏ ในเงื่อน"สับปลาช่อน" ยึดระหว่างลูกแก้วลำโพงปี่กับลูกแก้วตอนบนของตัวเลาปี่ เพื่อไม่ให้หลุดออกจากกันง่ายๆ เนื่องจากว่าปี่มอญมีขนาดใหญ่และยาวกว่าปี่อื่นๆ ทำให้กำพวดของปี่จึงต้องยาวไปตามส่วนโดยมีความยาวประมาณ 8-9 ซม.

ใหม่!!: ชาวมอญและปี่มอญ · ดูเพิ่มเติม »

นภคปภา นาคประสิทธิ์

นภคปภา นาคประสิทธิ์ (19 เมษายน พ.ศ. 2523) ชื่อเล่น มะหมี่ เป็นนักแสดงชาวไทยเชื้อสาย ไทย, มอญ, อินเดีย, จีน มีผลงานการแสดงทั้งผลงานภาพยนตร์, ละครโทรทัศน์, ละครเวที, งานโฆษณา, ถ่ายแบบ เดินแบบทั้งในเมืองไทยและต่างประเทศ สำเร็จการศึกษาสาขาธุรกิจต่างประเทศ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต ผลงานเรื่องแรกคือภาพยนตร์กึ่งสารคดีเรื่อง ปมไหม และเป็นที่รู้จักในผลงานการแสดงภาพยนตร์ไทยเรื่อง แม่เบี้ย และต่อมากับภาพยนตร์เรื่อง เจ้าสาวผัดไท ต่อจากนั้นได้ร่วมแสดงภาพยนตร์ของประเทศอังกฤษเรื่อง บัตเตอร์ ฟราย์ แมน ซึ่งทำให้เธอได้รับรางวัลดารานำหญิงยอดเยี่ยมจากการประกวดใน เทศกาลสแลมดั๊ง ฟิล์ม เฟสติวัล ของอเมริกา จากนั้นเธอได้ร่วมงานกับ ภาพยนตร์ของแคนาดาเรื่อง เฟริท์ ไบต์ และต่อด้วยภาพยนตร์สารคดีเกี่ยวกับเพื่อนเรื่อง ทรี เฟรนด์ ซึ่งได้รับคัดเลือกฉายโชว์ในงานเทศกาลโตรอนโต อินเตอร์เนชั่นแนล ฟิล์ม เฟสติวัล ปี 2005 นอกจากนั้นยังมีผลงานแสดงในมิวสิกวิดีโออย่าง เพลงรักเธอเท่าฟ้า วงเอกมัย,เพลงยิ่งโตยิ่งสวย วงแบล็คเฮด,เพลงไม่ได้รักเธอ บูโดกัน,เพลงสุดที่รัก ออดี้,เพลงหลับตาสิที่รัก มอร์กระจาย,เพลงสาละวัน โจอี้ บอย,เพลงไม่ขึ้นใจ และ ฟูมฟาย มิ้นท์ อรรถวดี.

ใหม่!!: ชาวมอญและนภคปภา นาคประสิทธิ์ · ดูเพิ่มเติม »

นายทองสุก

นายทองสุก หรือมักรู้จักในชื่อ สุกี้พระนายกอง หรือ สุกี้ เป็นชาวไทยเชื้อสายมอญ มีถิ่นฐานอยู่ ณ บ้านโพธิ์สามต้น.

ใหม่!!: ชาวมอญและนายทองสุก · ดูเพิ่มเติม »

นครเชียงใหม่

รัตนติงสาอภินวปุรีสรีคุรุรัฎฐพระนครเชียงใหม่ (200px) หรือ นครเชียงใหม่ เป็นประเทศราชในหัวเมืองเหนือของสยามตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและนครเชียงใหม่ · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำบางขาม

ลุ่มน้ำบางขาม ลพบุรี แม่น้ำบางขาม เป็นแม่น้ำสายสั้น ๆ มีความยาวเพียง 20 กิโลเมตร ซึ่งมีต้นกำเนิดจากคลอง ในเขตอำเภอบ้านหมี่ ไหลไปรวมกับแม่น้ำลพบุรี ในเขตอำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี ลุ่มแม่น้ำบางขาม ลพบุรี เป็นสายน้ำแห่งวิถีชีวิตของผู้คนซึ่งนักโบราณคดีเชือว่า เดิมชุมชนแห่งนี้มีประวัติความเป็นมาที่ยาวนานตั้งแต่สมัยทวารวดี ราวพุทธศักราช 1100- 1600 เป็นแหล่งอารยธรรมของมอญอาศัยอยู่ชื่อว่า "เมืองราม" เมื่ออิทธิพลขอมเรืองอำนาจ อาณาจักรทวารวดีล่มสลายลง และต่อมาชนเผ่าในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นผู้คนจาก จังหวัดอ่างทอง จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดลพบุรี ได้พากันอพยพมาตั้งถิ่นฐานบริเวณลุ่มแม่น้ำบางขามและเนื่องจากริมแม่น้ำดังกล่าวมีต้นไผ่ซึ่งชาวบ้านปลูกไว้เพื่อป้องกันการพังทลายของดิน และป้องกันลมจากชายน้ำ และมีจำนวนมาก ชาวบ้านจึงเรียกขานกันว่าเป็น บ้านวังไผ่ ซึ่งปัจจุบันนี้อยู่บริเวณหมู่ที่ 4 ตำบลบางพึ่ง อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ลุ่มแม่น้ำบางขาม ประกอบด้วย ต.มหาสอน ต.บางพึ่ง ต.บ้านชี ต.บางขาม อ.บ้านหมี่ และต.

ใหม่!!: ชาวมอญและแม่น้ำบางขาม · ดูเพิ่มเติม »

แขวงบางยี่เรือ

ระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชที่วงเวียนใหญ่ บางยี่เรือ เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยชื่อ "บางยี่เรือ" เป็นคำที่เรียกเพี้ยนมาจากคำว่า "บังยิงเรือ" สืบเนื่องจากพื้นที่นี้ในอดีต ก่อนการสถาปนากรุงธนบุรี โดยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชไม่นาน พระองค์ได้ใช้สถานที่แห่งนี้เป็นตำบลดักซุ่มยิงเรือพม่าในสงครามคราวกู้เอกราช เนื่องจากเป็นพื้นที่ ๆ มีชัยภูมิเหมาะสม เพราะอยู่ติดริมน้ำ คือ คลองบางหลวง (คลองบางกอกใหญ่ในปัจจุบัน), คลองบางน้ำชน และคลองท่าพระ โดยมีชาวมอญหรือรามัญที่หลบหนีกองทัพพม่ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร และปลูกบ้านเรือนอยู่แถบนี้เป็นกำลังสำคัญให้การช่วยเหลือด้วย ต่อมาในกรุงรัตนโกสินทร์ บางยี่เรือมีฐานะเป็นอำเภอ ขึ้นอยู่กับจังหวัดธนบุรี เดิมมีชื่อว่า "อำเภอราชคฤห์" ได้เปลี่ยนชื่อเมื่อปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและแขวงบางยี่เรือ · ดูเพิ่มเติม »

แขวงท่าข้าม

แขวงท่าข้าม เป็นท้องที่ในเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งเกษตรกรรม ป่าชายเลน และที่อยู่อาศั.

ใหม่!!: ชาวมอญและแขวงท่าข้าม · ดูเพิ่มเติม »

ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี

แผนที่การเสียดินแดนของไทย (หมายเลขที่ 2) ไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี หรือที่ทางราชการเรียกว่า ผู้พลัดถิ่นสัญชาติพม่าเชื้อสายไทย เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไทยสยาม ที่ถูกกวาดต้อนและอพยพมาอยู่ตั้งแต่หลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2310) หลังการยึดครองของอังกฤษ ชาวไทยเหล่านี้จึงกลายเป็นสัญชาติพม่า แต่ก็ยังไปมาหาสู่กับญาติพี่น้องฝั่งไทยตลอด และมีชาวไทยในเขตตะนาวศรีที่เข้ามาทำคลอดในฝั่งไทย และต้องการให้บุตรเป็นสัญชาติไทย เพราะมีความเกี่ยวดองกับฝั่งไทย และส่วนใหญ่ทางแถบจังหวัดเกาะสอง (วิกตอเรียพอยท์) ของพม่าก็มีชาวไทยมากมาย แต่ในปัจจุบันยังถือว่าชาวไทยกลุ่มนี้เป็นกลุ่มคนไร้สัญชาต.

ใหม่!!: ชาวมอญและไทยพลัดถิ่นในเขตตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

ไทยเชื้อสายชวา

วไทยเชื้อสายชวา คือกลุ่มคนที่สืบเชื้อสายมาจากเกาะชวา ในประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน ซึ่งในอดีตเคยเป็นที่ตั้งรัฐทางทะเล ที่มีอิทธิพลหลายแห่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มาแต่โบราณกาล ชื่อของชาวชวาปรากฏในกฎมนเทียรบาลยุคต้นกรุงศรีอยุธยา จะพบว่าชนพื้นเมืองดั้งเดิม ถูกคนอยุธยาในยุคนั้นเรียกชื่อ (ในกฎมนเทียรบาล) ว่า "แขกขอมลาวพม่าเมงมอญมสุมแสงจีนจามชว..." หลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียกรุงครั้งที่สอง ปรากฏว่าที่บางกอก และนนทบุรี มีชาวชวา และมลายูกลุ่มหนึ่งอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานก่อนหน้านั้นแล้ว โดยชุชนเรือนแพซึ่งเชื่อว่าเปป็นของชาวชวานั้น ปรากฏตั้งแต่ก่อนเสียกรุงศรีอยุธา โดยตั้งหลักแหล่งอยู่ที่ตลาดแก้ว ตลาดขวัญ เมืองนนทบุรีในปัจจุบัน แม้ว่าคนชวาในประเทศไทยจะไม่มีใครพูดภาษาชวาได้แล้ว แต่ว่าภาษาไทยเองก็รับคำชวามาใช้หลายคำ อย่างคำว่า ละคอน หรือละคร แม้แต่ใน เรื่องอิเหนา ก็ยังปรากฏให้เห็นคำชวาอยู่ประปราย บางวรรคก็เป็นคำชวาล้วน อย่าง "หยังหยังหนึ่งรัตอินดร..." ศูนย์รวมจิตใจชาวไทยเชื้อสายชวาอยู่ที่ มัสยิดยะวา กรุงเทพมหานคร หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย.

ใหม่!!: ชาวมอญและไทยเชื้อสายชวา · ดูเพิ่มเติม »

เกาะเกร็ด

กาะเกร็ด เป็นเกาะแม่น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง และมีฐานะเป็นตำบลหนึ่งในท้องที่อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีเนื้อที่ประมาณ 4.2 ตารางกิโลเมตรหรือ 2,625 ไร่ เป็นที่อยู่ของชาวไทยเชื้อสายมอญที่มีอาชีพปั้นเครื่องปั้นดินเผาเป็นส่วนใหญ่ เกาะเกร็ดเกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาเมื่อปี พ.ศ. 2265 ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ คลองลัดดังกล่าวเรียกว่า "คลองลัดเกร็ดน้อย" หรือ "คลองเตร็ดน้อย"พระราชพงศาวดารกรุงสยามฉบับบริติชมิวเซียม.

ใหม่!!: ชาวมอญและเกาะเกร็ด · ดูเพิ่มเติม »

เมาะลำเลิง

มาะลำเลิง หรือ มะละแหม่ง (မော်လမြိုင်) ในเอกสารเก่าของไทยเรียก เมืองพัน เป็นเมืองหลวงของรัฐมอญและเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับที่สี่ของประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวมอญและเมาะลำเลิง · ดูเพิ่มเติม »

เมาะตะมะ

เมาะตะมะ (မုတ္တမမြို့; Mottama) เดิมชื่อ มะตะบัน เป็นเมืองเล็ก ๆ ในรัฐมอญ ประเทศพม่า ตั้งอยู่ริมฝั่งเหนือของแม่น้ำสาละวิน เคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดี ในช่วงศตวรรษที่ 13-14 เมืองนี้ในอดีต มีความสำคัญที่ พม่าใช้รวมพลเตรียมทัพจัดขบวน ก่อนจะข้ามลำน้ำสาละวิน ด่านเจดีย์สามองค์ แล้วแบ่งกองกำลัง เพื่อเข้ามาทำสงครามตีเมืองต่างๆ เช่น อยุธยา, ธนบุรี ฯลฯ ในสยาม หมวดหมู่:เมืองในประเทศพม่า หมวดหมู่:รัฐมอญ.

ใหม่!!: ชาวมอญและเมาะตะมะ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองแครง

มืองแครงเป็นชื่อเมืองที่ปรากฏอยู่เฉพาะในพงศาวดารไทยว่า เป็นเมืองของชาวมอญที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชประกาศเอกราชจากอาณาจักรตองอูเมื่อ พ.ศ. 2127 จากการค้นคว้าข้อมูลเพื่อสร้างภาพยนตร์เรื่อง ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล และ ดร.สุเนตร ชุตินธรานนท์ ได้สันนิษฐานว่า เมืองแครงน่าจะตั้งอยู่ที่เมืองวอในประเทศพม่า มีที่ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำสะโตง และระยะทางเดินเท้าห่างจากเมืองหงสาวดีเป็นเวลา 1 วัน.

ใหม่!!: ชาวมอญและเมืองแครง · ดูเพิ่มเติม »

เย (รัฐมอญ)

(ရေးမြို့; ဍုၚ်ရေဝ်) เป็นเมืองที่อยู่ทางตอนใต้สุดของรัฐมอญ ประเทศพม่า และเป็นเมืองหลักของตำบลเย เมืองนี้ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเยซึ่งไหลลงสู่อ่าวเมาะตะมะ และล้อมรอบด้วยเทือกเขาตะนาวศรีทางตะวันออก สภาพภูมิอากาศอบอุ่นปานกลาง เศรษฐกิจของเมืองส่วนใหญ่อยู่กับการปลูกพลู, ยางพารา, การประมง และการค้า เยตั้งอยู่บนทางรถไฟสายเมาะลำเลิง-ทวาย และมีท่าเรือ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมอญ เยเป็นศูนย์กลางของการสอนภาษามอญ.

ใหม่!!: ชาวมอญและเย (รัฐมอญ) · ดูเพิ่มเติม »

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์ หรือ เอเชียอาคเนย์ เป็นอนุภูมิภาคของทวีปเอเชีย ประกอบด้วยประเทศต่าง ๆ ซึ่งทิศเหนือติดจีน ทิศตะวันตกติดอินเดีย ทิศตะวันออกติดปาปัวนิวกินี และทิศใต้ติดออสเตรเลีย ภูมิภาคดังกล่าวตั้งอยู่บนรอยต่อของแผ่นทวีปหลายแผ่นที่ยังมีการไหวสะเทือนรุนแรงและการปะทุของภูเขาไฟอยู่ต่อเนื่อง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบ่งได้ภาคภูมิศาสตร์ได้สองภาค ได้แก่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้แผ่นดินใหญ่หรืออินโดจีน ประกอบด้วย กัมพูชา ลาว พม่า ไทย เวียดนาม และมาเลเซียตะวันตก และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร ประกอบด้วยบรูไน มาเลเซียตะวันออก ติมอร์-เลสเต อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร.

ใหม่!!: ชาวมอญและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวมอดอ

ีย์ชเวมอดอ (ရွှေမောဓော ဘုရား; ကျာ်မုဟ်တ) เป็นเจดีย์สำคัญที่อยู่ในเมืองพะโค ประเทศพม่า มีความสูง ถือเป็นเจดีย์ที่สูงที่สุดในประเทศพม่า แต่เจดีย์ชเวดากอง ในเมืองย่างกุ้ง มักถูกบันทึกว่าเป็นเจดีย์ที่สูงที่สุดในประเทศ เพราะประดิษฐานบนเนินเขา เจดีย์ชเวมอดอเชื่อกันว่าเป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุและพระเขี้ยวแก้วของพระโคตมพุทธเจ้า เจดีย์ชเวมอดอ เจดีย์ชเวดากอง และพระธาตุไจทีโย เป็นเจดีย์ที่มีชื่อเสียงที่ถูกสร้างโดยชาวมอญ เทศกาลประจำปีเฉลิมฉลองเจดีย์ชเวมอดอ มักจัดในช่วงเดือนตะกู (Tagu) ตามปฏิทินพม่าแบบดั้งเดิม.

ใหม่!!: ชาวมอญและเจดีย์ชเวมอดอ · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวดากอง

ีย์ชเวดากอง (ရွှေတိဂုံစေတီတော်, เฉว่ดะโก่งเส่ดี่ด่อ) ตั้งอยู่บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยคำว่า "ชเว" (ရွှေ) หมายถึง ทอง, "ดากอง" (ဒဂုံ แผลงเป็น တိဂုံ) คือชื่อดั้งเดิมของเมืองย่างกุ้ง เชื่อกันว่าเป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้าจำนวน 8 เส้น ยอดสุดของพระเจดีย์บริเวณลูกแก้วหรือหยาดน้ำข้างประดับด้วยเครื่องประดับต่างๆและเพชร 5,448 เม็ด ชั้นบนสุดมีทับทิม 2,317 เม็ดและเพชรเม็ดใหญ่ 76 กะรัต เพื่อรับลำแสงแรกและลำแสงสุดท้ายของดวงอาทิตย์ ผู้ที่เข้ามานมัสการหรือเยี่ยมชมจะต้องถอดรองเท้าทุกครั้ง.

ใหม่!!: ชาวมอญและเจดีย์ชเวดากอง · ดูเพิ่มเติม »

เจดีย์ชเวซีโกน

ีย์ชเวซีโกน (ရွှေစည်းခုံ စေတီတော်) เป็นวัดในเมืองนยองอู อยู่ใกล้พุกามในพม่า เป็นต้นแบบเจดีย์แบบพม่า การก่อสร้างเจดีย์ชเวซีโกน เริ่มต้นขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าอโนรธามังช่อ (พ.ศ. 1587-พ.ศ. 1620) ซึ่งเป็นผู้สถาปนาอาณาจักรพุกามในปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและเจดีย์ชเวซีโกน · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนี)

้าพระยามหาโยธานราธิบดีศรีพิชัยณรงค์ (เจ่ง คชเสนี) เป็นชาวมอญ เกิดในเมืองมอญราวปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและเจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนี) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)

้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) (พ.ศ. 2176–2242) เป็นข้าราชการในอาณาจักรอยุธยาสมัยสมเด็จพระนารายณ์ เป็นเอกอัครราชทูตคนสำคัญที่เดินทางไปเจริญสัมพันธไมตรีกับราชสำนักฝรั่งเศสเมื่อ..

ใหม่!!: ชาวมอญและเจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก)

้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) เป็นบุตรชายคนโตของเจ้าแม่วัดดุสิต (พระนมในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช) กับ ขุนนางเชื้อสายมอญ เกิดในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง มีน้องชาย 1 คน คือ เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) และน้องสาว 1 คน ชื่อ แช่ม หรือ ฉ่ำ เจ้าพระยาโกษาธิบดีและน้องชายต่างเป็นข้าหลวงคนสำคัญของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กล่าวคือ เมื่อกลุ่มขุนนางอาวุโสซึ่งเป็นกลุ่มที่ให้การช่วยเหลือให้สมเด็จพระนารายณ์ได้ขึ้นครองราชย์หมดอำนาจลง กลุ่มขุนนางหนุ่มซึ่งนำโดยท่านและน้องชายจึงขึ้นมามีอำนาจแทน ท่านได้เป็นแม่ทัพ ใน ราชการสงคราม หลายครั้งในต้นแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เจ้าพระยาโกษาธิบดีถึงแก่อสัญกรรมในปี..

ใหม่!!: ชาวมอญและเจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าหญิงเมงอทเว

้าหญิงเมงอทเว หรือ เจ้าหญิงเจ้าภุ้นชิ่ เป็นพระราชธิดาในพระเจ้าบุเรงนองกับพระสุพรรณกัลยา ซึ่งพระสุพรรณกัลยาเป็นพระพี่นางในสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ เนื่องจากพระสุพรรณกัลยาทรงเป็นองค์ประกันในพม่า พระสุพรรณกัลยาจึงมีพระนามภาษาพม่าว่า อเมี๊ยวโหย่ว และเชื่อว่าเป็นมเหสีที่พระเจ้าบุเรงนองทรงโปรดปราน ส่วนพระนามของพระราชธิดา โดยได้รับพระราชทานพระนามว่า เจ้าภุ้นชิ่ ซึ่งมีความหมายว่า ผู้มีสติปัญญาและพระบารมี แต่โดยมากจะรู้จักกันในพระนาม เมงอทเว (เมง-อะ-ทเว) พระองค์นี้อันมีความหมายว่า "พระธิดาองค์สุดท้อง" (และเป็นพระธิดาองค์สุดท้ายของพระเจ้าบุเรงนองด้วย).

ใหม่!!: ชาวมอญและเจ้าหญิงเมงอทเว · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4

้าจอมมารดากลิ่น หรือเจ้าจอมมารดาซ่อนกลิ่น (บางแห่งสะกดว่า ส้อนกลิ่น).พลายน้อ.

ใหม่!!: ชาวมอญและเจ้าจอมมารดากลิ่น ในรัชกาลที่ 4 · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (สุรคุปต์)

้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 เป็นธิดาคนหนึ่งของพระยาราชสุภาวดี (ปาน) ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ที่สืบเชื้อสายมาแต่รามัญที่ตามเสด็จสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาเมื่อคราวประกาศอิสรภาพจากพม่า และมีบุตรหลานเข้ารับราชการสนองพระเดชพระคุณทั้งฝ่ายหน้าฝ่ายในมิได้ขาดศันสนีย์ วีระศิลป์ชั.

ใหม่!!: ชาวมอญและเจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (สุรคุปต์) · ดูเพิ่มเติม »

เขตบางขุนเทียน

ตบางขุนเทียน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ สภาพพื้นที่ทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเขตเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย การค้า และอุตสาหกรรม ในขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นเขตเกษตรกรรมและมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เนื่องจากเป็นเขตเดียวของกรุงเทพมหานครที่มีพื้นที่ติดกับอ่าวไทย (เป็นระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร) และยังมีป่าชายเลนหลงเหลืออยู.

ใหม่!!: ชาวมอญและเขตบางขุนเทียน · ดูเพิ่มเติม »

เขตพะโค

ตพะโค (ပဲခူးတိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศ ทางเหนือของเขตติดต่อกับเขตมาเกวและเขตมัณฑะเลย์ ทางตะวันออกกับรัฐกะเหรี่ยง รัฐมอญ และอ่าวเมาะตะมะ ทางใต้กับเขตย่างกุ้ง และทางตะวันตกกับเขตอิรวดีและรัฐยะไข่ พิกัดภูมิศาสตร์ของเขตพะโคได้แก่ 46°45' เหนือ, 19°20' เหนือ, 94°35' ตะวันออก และ 97°10' ตะวันออก.

ใหม่!!: ชาวมอญและเขตพะโค · ดูเพิ่มเติม »

เขตย่างกุ้ง

ตย่างกุ้ง (ရန်ကုန်တိုင်းဒေသကြီး) เป็นเขตการปกครองแห่งหนึ่งของประเทศพม่า ตั้งอยู่ใจกลางบริเวณพม่าตอนล่าง มีเมืองหลวงคือย่างกุ้ง ซึ่งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและอดีตเมืองหลวงของประเทศ เมืองที่สำคัญอื่น ๆ เช่น สิเรียมและตวูนเต เขตนี้เป็นพื้นที่มีการพัฒนามากที่สุดของประเทศและเป็นประตูสู่นานาชาติ เขตย่างกุ้งมีเนื้อที่ 10,276.7 ตารางกิโลเมตร (3,967.9 ตารางไมล์).

ใหม่!!: ชาวมอญและเขตย่างกุ้ง · ดูเพิ่มเติม »

เขตตะนาวศรี

ตะนาวศรี (တနင်္သာရီတိုင်းဒေသကြီး, ตะนี้นตายี; ဏၚ်ကသဳ หรือ တနၚ်သြဳ) เป็นเขตที่ตั้งอยู่ทางใต้สุดของประเทศพม.

ใหม่!!: ชาวมอญและเขตตะนาวศรี · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม ม่วงแพรศรี

นายเฉลิม ม่วงแพรศรี (2 สิงหาคม พ.ศ. 2481 - 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2557) ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย)..

ใหม่!!: ชาวมอญและเฉลิม ม่วงแพรศรี · ดูเพิ่มเติม »

เปิงมาง

เปิงมางคอก เปิงมาง หรือ เปิงมางคอก เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง แต่เดิมเป็นเครื่องดนตรีของชาวมอญ ใช้ตีหยอกล้อกับตะโพนมอญ มีลักษณะเป็นกลองขนาดต่างกัน 7 ลูกผูกเป็นราวในชุดเดียวกัน เรียงจากใหญ่ไปหาเล็ก ตัวกลองขึงด้วยหนังสองหน้า ขึ้นหน้าด้วยหนังเรียดโยงสายเร่งหนังหน้ากลองเป็นแนวยาวตลอด เวลาบรรเลงต้องติดข้าวสุกบดผสมขี้เถ้า คอกเปิงมางทำเป็นรั้ว 3 ชิ้นติดต่อกัน มีตะขอแขวนลูกเปิงเป็นระยะ คอกเป็นรูปเกือบครึ่งวงกลม เปิงมางคอกใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์มอญ ป หมวดหมู่:กลอง.

ใหม่!!: ชาวมอญและเปิงมาง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

มอญมอญ (กลุ่มชาติพันธุ์)รามัญชาวรามัญชาวไทยเชื้อสายมอญ

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »