โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ชัย ชิดชอบ

ดัชนี ชัย ชิดชอบ

ัย ชิดชอบ (5 เมษายน พ.ศ. 2471 —) เป็นสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร​แบบสัดส่วน พรรคภูมิใจไทย ได้รับเลือกเป็นตัวแทนพรรคพลังประชาชน ในการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรแทนนายยงยุทธ ติยะไพรัช ที่โดนใบแดง ก่อนหน้านี้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)หลายสมัย และสมาชิกวุฒิสภา(ส.ว.)จังหวัดบุรีรัม.

49 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2552พรรคเอกภาพกรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553กลุ่ม 24 ตุลา 51กลุ่มเพื่อนเนวินการบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551การชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2553การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554มหาวิทยาลัยรามคำแหงยงยุทธ ติยะไพรัชรายชื่อสกุลนักการเมืองไทยรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชรายนามประธานรัฐสภาไทยรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุลศักดิ์สยาม ชิดชอบศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองศุภชัย ใจสมุทรสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศสภาปฏิรูปแห่งชาติสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์อำเภอเมืองสุรินทร์จังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดสุรินทร์ที่สุดในประเทศไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59นาที รัชกิจประการโรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคมเฉลิม อยู่บำรุงเนวิน ชิดชอบ5 เมษายน

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและพ.ศ. 2552 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเอกภาพ

รรคเอกภาพ (Solidarity Party) เป็นพรรคการเมืองของประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2526ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 ตอนที่ 22ง วันที่ 14 มีนาคม 2545 ในนาม พรรคประชาไทย โดยมีนายทวี ไกรคุปต์ เป็นหัวหน้าพรรค ต่อมาในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 พรรคประชาไทยได้เปลี่ยนชื่อเป็นพรรครวมไทย และได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น พรรคเอกภาพ โดยได้ยุบรวมพรรคการเมืองขนาดเล็ก จำนวน 3 พรรค คือ พรรคกิจประชาคม ของนายบุญชู โรจนเสถียร พรรคก้าวหน้า ของนายอุทัย พิมพ์ใจชน และพรรคประชาชน ของนายเฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ เข้ามารวมกับพรรครวมไทยและมี..จากการรวมตัวในครั้งนี้จำนวน 61 คน และถือเป็นพรรคใหญ่อันดับ 2 ในสภาผู้แทนราษฎรขณะนั้น ในช่วงแรกของการจัดตั้งพรรค ได้มีการมอบหมายให้ ณรงค์ วงศ์วรรณ หัวหน้าพรรครวมไทย ซึ่งเป็นพรรคที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มเป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และมี เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ หัวหน้าพรรคประชาชน ซึ่งมีจำนวน..เป็นอันดับ 2 เป็นเลขาธิการพรรคคนแรกอีกด้วย โดยภายหลังจากการรวมพรรคกันไม่นาน พรรคก็เข้าร่วมรัฐบาล พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัน เมื่อได้รับพระบรมราชโองการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี เป็นสมัยที่ 2.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและพรรคเอกภาพ · ดูเพิ่มเติม »

กรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553

กรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและกรณีสิ่งบันทึกวีดิทัศน์ศาลรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่ม 24 ตุลา 51

กลุ่ม 24 ตุลา 51 หรือ กลุ่ม 64.ว. ก่อกำเนิดขึ้นสืบเนื่องจากการประชุมที่รัฐบาลพยายามเรียกว่าเป็นการประชุม 4 ฝ่าย โดยที่ไม่มี ผู้นำฝ่ายค้าน และประธานวุฒิสภา มีเพียงนายชัย ชิดชอบ นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ผู้แทนพรรคร่วมรัฐบาล และนายนิคม ไวยรัชพานิช รองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 โดยที่ประชุมวันนั้นเห็นขอบโมเดล..ร. 3 ที่นายนิคม เสนอ ซึ่งภาพจะออกมาดีกว่า เพราะอาจมองได้ว่าเป็น..ร.3 ที่มาจากวุฒิสภา ต่อมา เมื่อมีการประชุมวุฒิสภา ในวันศุกร์ที่ 24 ตุลาคม 2551 นายนิคม ยืนยันว่า นายประสพสุข บุญเดช เป็นผู้มอบหมายให้ไปร่วมประชุมกับนายชัย ชิดชอบ นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ และผู้แทนพรรคร่วมรัฐบาล โดยมีหนังสือมอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร ขณะที่นายประสพสุข เคยกล่าวย้ำไว้ว..ร. 3 ไม่ใช่ทางออก หลังจากนั้น ได้มีการเปิดแถลงข่าวตอบโต้กัน ของ.ว. 2 กลุ่ม โดยฝ่ายหนึ่งเรียกตัวเองว่า "กลุ่ม 24 ตุลา 51" พร้อมอ้างว่ามี 64.ว. อยู่ในมือ ขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งเรียกชื่อตัวเอง ว่า "กลุ่ม 40 ส.ว." ในขณะที่ภายหลังมีสมาชิกวุฒิสภาใน กลุ่ม 24 ตุลา 51 บางคน ซึ่งส่วนใหญ่มาจากสายสรรหา ได้ออกมากล่าวในทำนองว่าได้ลงลายมือชื่อเป็น 1 ใน 64.ว. จริง แต่ไม่ได้มีเจตนาในการสนับสนุนการแก้ไขรัฐธรรมนูญตามมติการประชุม 4 ฝ่าย แต่อย่างใด เป็นเพียงแต่การแสดงให้เห็นว่าต้องการความเป็นกลางและไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด โดยที่ไม่ทราบว่าจะนำรายชื่อของตนมาแถลงข่าวตอบโต้กันระหว่าง 2 กลุ่ม และมีภาพเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ความขัดแย้งกันทางการเมือง.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและกลุ่ม 24 ตุลา 51 · ดูเพิ่มเติม »

กลุ่มเพื่อนเนวิน

นายเนวิน ชิดชอบ และกลุ่มเพื่อนเนวิน ประกาศสนับสนุนนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี กลุ่มเพื่อนเนวิน เป็นกลุ่มของนายเนวิน ชิดชอบ เดิมมีสมาชิกกว่า 70 คน แต่ในปัจจุบันเหลือสมาชิกเพียง 23 คน กลุ่มเพื่อนเนวินเป็นกลุ่มการเมืองที่มีพลังในการต่อรองทางการเมืองสูงมากภายในพรรคพลังประชาชน และเป็นกลุ่มสำคัญที่ผลักดันให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และพรรคประชาธิปัตย์ได้จัดตั้งรัฐบาลในปลายปี พ.ศ. 2551 ภายหลังจากที่พรรคพลังประชาชนถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบพรรค ในปัจจุบันสมาชิกกลุ่มเพื่อนเนวินได้สังกัดพรรคภูมิใจไทย ซึ่งเป็นพรรคที่รองรับสมาชิกพรรคมัชฌิมาธิปไตยเดิมของนายสมศักดิ์ เทพสุทิน กลุ่มเพื่อนเนวินจึงได้รับฉายาว่า กลุ่มงูเห่า 2551.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและกลุ่มเพื่อนเนวิน · ดูเพิ่มเติม »

การบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551

กลุ่มพันธมิตรฯปักหลักชุมนุมในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ การบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไท..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและการบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551

หตุการณ์ 7 ตุลาคม..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภาไทย 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 17 กันยายน..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย กันยายน พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และ พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก บรรยายกาศการลงมติ การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2551 เป็นการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีไทย ธันวาคม พ.ศ. 2551 · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2553

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย พ.ศ. 2553 · ดูเพิ่มเติม »

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554

การอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไท..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีไทย มีนาคม พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ รับสนองพระบรมราชโองการเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 27 ของประเทศไทย ที่พรรคประชาธิปัตย์ นายกรัฐมนตรีกล่าวสุนทรพจน์ในหัวข้อ การศึกษาไร้พรมแดน เพื่อพลเมืองและผู้นำโลกในอนาคต พร้อมฟังการอภิปราย และถามคำถาม ในงานนิทรรศการศึกษาต่อสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2552 ในวันพุธที่ 17 ธันวาคม..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญฉบับ ปี..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 · ดูเพิ่มเติม »

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มหาวิทยาลัยรามคำแหง (Ramkhamhaeng University; ชื่อย่อ: ม.ร. - RU) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐและมหาวิทยาลัยตลาดวิชาแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งรับบุคคลเข้าศึกษาโดยไม่สอบคัดเลือกและไม่จำกัดจำนวน ทำการเรียนการสอนแบบตลาดวิชา คือมีการเรียนการสอนในชั้นเรียนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยปกติ แต่ไม่บังคับเข้าชั้นเรียน อันเป็นระบบเดียวกันกับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองในอดีต มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศไทย และมีชื่อเสียงในด้านนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างมาก.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและมหาวิทยาลัยรามคำแหง · ดูเพิ่มเติม »

ยงยุทธ ติยะไพรัช

ร.ยงยุทธ ติยะไพรัช อดีตประธานรัฐสภา และอดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงร.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและยงยุทธ ติยะไพรัช · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสกุลนักการเมืองไทย

้านล่างนี้คือสกุลนักการเมืองไทย ที่บุคคลในตระกูลมีนักการเมืองระดับชาติและท้องถิ่นตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป หมายเหตุ: ตัวหนาหมายถึงบุคคลที่กำลังหรือเคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการ หรือรัฐมนตรีช่วยว่าการ หรือเทียบเท.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและรายชื่อสกุลนักการเมืองไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

right รายชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงจาก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและรายนามบุคคลจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานรัฐสภาไทย

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและรายนามประธานรัฐสภาไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

ทความนี้รวบรวมรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน โดยลำดับประธานสภาในบทความนี้ระบุเฉพาะประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งและแต่งตั้ง ไม่นับประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ที่มาจากการแต่งตั้ง หลังการเกิดรัฐประหาร.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและรายนามประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล

นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่ สังกัดพรรคเพื่อไทย เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล · ดูเพิ่มเติม »

ศักดิ์สยาม ชิดชอบ

นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เลขาธิการพรรคภูมิใจไทย และเป็นอดีตประธานคณะทำงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ชวรัตน์ ชาญวีรกูล) ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีว.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและศักดิ์สยาม ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

แผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในศาลฎีกา เป็นแผนกที่จัดตั้งขึ้นใหม่ในศาลฎีกา เกิดขึ้นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ส่วนที่ 3 มาตรา 272 โดยระบุให้มีแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองขึ้นในศาลฎีกา ให้องค์คณะผู้พิพากษาประกอบด้วย ผู้พิพากษาในศาลฎีกาซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่าผู้พิพากษาศาลฎีกา จำนวน 9 คน ซึ่งได้รับเลือกโดยที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาโดยวิธีลงคะแนนลับ และให้เลือกเป็นรายคดี อำนาจหน้าที่ของศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง อย่างไรก็ตามในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550) ก็ยังคงแผนกนี้ไว้เช่นเดียวกัน.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง · ดูเพิ่มเติม »

ศุภชัย ใจสมุทร

นายศุภชัย ใจสมุทร รองเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคภูมิใจไทย อดีตรองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตโฆษกพรรคภูมิใจไท.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและศุภชัย ใจสมุทร · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 (10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 219 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2512 โดยมาจากการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดโดย จอมพลถนอม กิตติขจร เข้ายึดอำนาจตัวเอง เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 10 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 (22 เมษายน พ.ศ. 2522 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 301 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบทางตรงและแบบผสม จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2522 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 19 มีนาคม..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 13 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 (24 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 324 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบรวมเขตและแบ่งเขต จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2526 ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎรหนึ่งคน สภาชุดนี้สิ้นสุดสมาชิกภาพลง เนื่องจากการยุบสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 14 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 (27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 347 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ในแต่ละเขตเลือกตั้งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน ถือเกณฑ์ราษฏร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 15 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 (13 กันยายน พ.ศ. 2535 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 360 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 18 เกิดขึ้นภายหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ หลังจากนายอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 และถือเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 ในรอบปี หรือที่เรียกกันติดปากว่า "การเลือกตั้ง 2535/2" นั่นเอง การเลือกตั้งในครั้งนี้ ยังคงเป็นรูปแบบทางตรง แบบแบ่งเขตและรวมเขต ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งหนึ่งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่เกินกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่า 2 คน มีจำนวน..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 18 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 (2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 391 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 19 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 (17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 393 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตทั้งหมด จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 20 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 (6 มกราคม พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 500 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 375 คน และการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ 125 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 24 · ดูเพิ่มเติม »

สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ

ับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) (13 ตุลาคม พ.ศ. 2558 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560) ตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2558 มาตรา 39/2 ทำหน้าที่ศึกษาและปฏิรูปทั้ง 11 ด้านสืบต่อจาก สภาปฏิรูปแห่งชาติ ที่ถูกยุบไปตามมาตรา 39/1 โดยสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศนั้นประกอบด้วยบุคคลจากหลากหลายอาชีพทั้งสิ้นไม่เกิน 200 คนซึ่งทั้งหมดมาจากการแต่งตั้งโดย นายกรัฐมนตรี โดยนายกรัฐมนตรีสามารถแต่งตั้งโดยไม่ต้องนำรายชื่อขึ้นทูลเกล้าฯเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย วันที่ 5 ตุลาคม 2558 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้เรียกประชุมที่บ้านเกษะโกมล และได้มีการลงนามแต่งตั้งสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศทั้ง 200 คนพร้อมกับ คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ทั้ง 21 คน ซึ่งสมาชิกทั้ง 200 คนประกอบไปด้วยอดีตสมาชิก สภาปฏิรูปแห่งชาติ,นักวิชาการ,นายทหารนายตำรวจทั้งในและนอกราชการ,ตัวแทนกลุ่มการเมืองและตัวแทนพรรคการเมืองโดยสมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูประเทศเป็นชาย 183 คนและหญิง 17 คนโดยในวันเดียวกัน ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีเรื่องแต่งตั้งสมาชิกสภาปฏิรูปประเทศทั้ง 200 คน วันที่ 13 ตุลาคม 2558 มีพิธีเปิดประชุมสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศที่ อาคารรัฐสภา โดยมีนาย ชัย ชิดชอบ สมาชิกสภาที่อาวุโสสูงสุดทำหน้าที่เป็นประธานสภาชั่วคราวเพื่อเลือกประธานสภาผลปรากฏว่าศาสตราจารย์เกียรติคุณ ร้อยเอก ดร.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ · ดูเพิ่มเติม »

สภาปฏิรูปแห่งชาติ

ปฏิรูปแห่งชาติ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 6 กันยายน พ.ศ. 2558) หรือ สป.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสภาปฏิรูปแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์

นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ (27 มิถุนายน 2497 —) อดีตประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎร รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย แกนนำกลุ่มขุนค้อน ประธานสภาสถาบันพระปกเกล้า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น พรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์

มาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ มี 9 เขตการเลือกตั้ง (ปี พ.ศ. 2554) และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตได้ 9 คน จากทั้งหมด 375 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไท.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

อำเภอเมืองสุรินทร์

มืองสุรินทร์ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและอำเภอเมืองสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดบุรีรัมย์

ังหวัดบุรีรัมย์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 5 รองจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดขอนแก่น และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 17 ของประเทศไท.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและจังหวัดบุรีรัมย์ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดสุรินทร์

รินทร์ (เขมรถิ่นไทย: ซเร็น) เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ "อีสานใต้" มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูยและลาวหรือไทยอีสาน มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 และมีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและจังหวัดสุรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

ที่สุดในประเทศไทย

ติที่สุดในประเทศไทยเรื่องต่าง.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและที่สุดในประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58

ณะรัฐมนตรีคณะที่ 58 (24 กันยายน พ.ศ. 2551 - 19 ธันวาคม พ.ศ. 2551) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีสมชาย (ครม.สมชาย 1) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 58 · ดูเพิ่มเติม »

คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59

ณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 (20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 9 สิงหาคม พ.ศ. 2554) มีนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี ตามประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ โดยมีนายชัย ชิดชอบ ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และในวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งคณะรัฐมนตรี โดยมี นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ คณะรัฐมนตรีไทย คณะนี้ เป็นคณะที่ ประกาศใช้ พระราชกำหนดบริหารราชการแผ่นดินในสถานการณ์ฉุกเฉิน..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 59 · ดูเพิ่มเติม »

นาที รัชกิจประการ

นาที รัชกิจประการ เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคภูมิใจไทย เป็นอดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดพัทลุง และอดีตประธานสภาพัฒนาสตรีจังหวัดพัทลุง.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและนาที รัชกิจประการ · ดูเพิ่มเติม »

โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม

รงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม เป็นโรงเรียนรัฐบาลประจำจังหวัดบุรีรัมย์ ก่อตั้งในปี..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและโรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม · ดูเพิ่มเติม »

เฉลิม อยู่บำรุง

ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง นักการเมืองไทย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝั่งธนบุรีหลายสมัย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน อดีตรองนายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ สังกัดพรรคเพื่อไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และหัวหน้าพรรคมวลชน ระหว่างวันที่ 21 มกราคม 2557 ถึง 18 มีนาคม 2557 เขาเป็นผู้อำนวยการศูนย์รักษาความสงบ ตามคำสั่งคำสั่งที่ พิเศษ 1/2557 เรื่องจัดตั้งศูนย์รักษาความสงบ โดย ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและเฉลิม อยู่บำรุง · ดูเพิ่มเติม »

เนวิน ชิดชอบ

นวิน ชิดชอบ ปัจจุบันเป็นประธานบริหารสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด อดีตเคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและรัฐมนตรีหลายสมัย และเคยเป็นหนึ่งในบุคคลใกล้ชิดคนสำคัญของอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร และเป็นบุคคลสำคัญ ที่ทำให้นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในปี..

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและเนวิน ชิดชอบ · ดูเพิ่มเติม »

5 เมษายน

วันที่ 5 เมษายน เป็นวันที่ 95 ของปี (วันที่ 96 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 270 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: ชัย ชิดชอบและ5 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »