โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จ้าวนักเลง

ดัชนี จ้าวนักเลง

้าวนักเลง เป็นภาพยนตร์ไทย ฟิล์ม 16 มม., สี ที่สร้างจากนวนิยายของ เศก ดุสิต กำกับโดย ประทีป โกมลภิส สร้างโดย ทัศไนยภาพยนตร์ นำแสดงโดย มิตร ชัยบัญชา และ อมรา อัศวนนท์ ร่วมด้วย ปัญจะ ศุทธรินทร์, เชาว์ แคล่วคล่อง, ศรินทิพย์ ศิริวรรณ เข้าฉายครั้งแรกเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2502 ฉายที่โรงภาพยนตร์เฉลิมกรุงและเฉลิมบุรี ภาพยนตร์เล่าถึงต้นกำเนิดของ อินทรีแดง ว่าแท้ที่จริงคือ โรม ฤทธิไกร ลูกชายของมหาเศรษฐีที่ปลอมตัวเพื่อปราบเหล่าร้ายทั้งหลายนั่นเอง.

7 ความสัมพันธ์: มิตร ชัยบัญชารายชื่อผลงานการแสดงของมิตร ชัยบัญชาสมพงษ์ พงษ์มิตรอินทรีแดงทับสมิงคลาน้ำเงิน บุญหนักเริงชัย ประภาษานนท์

มิตร ชัยบัญชา

มิตร ชัยบัญชา (28 มกราคม พ.ศ. 2477 - 8 ตุลาคม พ.ศ. 2513) หรือชื่อจริง พันจ่าอากาศโท พิเชษฐ์ ชัยบัญชา (นามสกุลเดิม พุ่มเหม) เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงปล..

ใหม่!!: จ้าวนักเลงและมิตร ชัยบัญชา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผลงานการแสดงของมิตร ชัยบัญชา

มิตร ชัยบัญชาในบท อินทรีแดง ในภาพยนตร์ ''จ้าวนักเลง'' รายชื่อผลงานการแสดงของมิตร ชัยบัญชา เป็นรายชื่อผลงานแสดงของมิตร ชัยบัญชา โดยมีผลงานการแสดงภาพยนตร์ไว้กว่า 266 เรื่อง (เฉพาะที่นับได้จากการออกฉายในโรงภาพยนตร์) ส่วนใหญ่เป็นหนัง 16 ม.ม. พากย์สด ๆ ส่วนที่สร้างเป็นหนัง 35 ม.ม.เสียงในฟิล์มเพียง 16 เรื่องเท่านั้น โดยมิตร ชัยบัญชา แสดงคู่กับนางเอกมากกว่า 29 คน ในจำนวนนี้เพชรา เชาวราษฎร์ เป็นนางเอกที่แสดงคู่กันมากที่สุดถึง 172 เรื่อง หนังที่สร้างชื่อเสียงเช่นเรื่อง นกน้อย (2507) สิงห์ล่าสิงห์ (2507) เงิน เงิน เงิน (2508) เพชรตัดเพชร (2509) แสนรัก (2510) มนต์รักลูกทุ่ง (2513) ฯลฯ.

ใหม่!!: จ้าวนักเลงและรายชื่อผลงานการแสดงของมิตร ชัยบัญชา · ดูเพิ่มเติม »

สมพงษ์ พงษ์มิตร

มพงษ์ พงษ์มิตร (8 กรกฎาคม พ.ศ. 2462 – 30 พฤษภาคม 2544) เป็นนักแสดงตลกชาวไทย ได้รับเชิดชูเกียรติเป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ในปี พ.ศ. 2541.

ใหม่!!: จ้าวนักเลงและสมพงษ์ พงษ์มิตร · ดูเพิ่มเติม »

อินทรีแดง

อินทรีแดง เป็นบทประพันธ์ซูเปอร์ฮีโร่ฉบับไทยของ เศก ดุสิต โดยมีตัวเอกคือ อินทรีแดง หรือ โรม ฤทธิไกร บทประพันธ์เรื่องนี้ เศก ดุสิตได้เริ่มเขียนขึ้นในปี พ.ศ. 2498 โดยได้แนวความคิดจากภาพยนตร์ของ ร็อก ฮัตสัน ชื่อเรื่อง Captain Lightfoot ในภาพยนตร์เล่นเป็นตีนแมว ที่มีอุดมการณ์ ช่วยเหลือผู้อื่น ใส่หน้ากากสีแดง จึงสร้างเป็นเนื้อเรื่องในทำนองเดียวกัน โดยใช้เป็นนกอินทรีเพราะเป็นนกที่มีอำนาจ บินได้สูงสุด ใครก็บินไม่สูงเท่านกอินทรี มีความยิ่งใหญ่ โดยนำเรื่องราวในสมัยนั้นมาผูกเข้ากับสภาพปัญหาทางสังคม ทั้งการตัดไม้ทำลายป่า การทุจริตคอร์รัปชั่น ซึ่งกฎหมาย เอื้อมไม่ถึง บทประพันธ์ชุด อินทรีแดง ของ เศก ดุสิต เขียนขึ้นในระหว่างปี..

ใหม่!!: จ้าวนักเลงและอินทรีแดง · ดูเพิ่มเติม »

ทับสมิงคลา

ทับสมิงคลา เป็นภาพยนตร์ไทย 16 มม.

ใหม่!!: จ้าวนักเลงและทับสมิงคลา · ดูเพิ่มเติม »

น้ำเงิน บุญหนัก

น้ำเงิน บุญหนัก หรือชื่อจริงว่า สวง จารุวิจิตร และชื่อเล่นว่า เปี๊ยก (เกิด 24 มกราคม พ.ศ. 2483) เป็นนักแสดงและนักพากย์ชาวไทย จบการศึกษาจากโรงเรียนขัตติยาณีผดุงศึกษา เข้าสู่วงการการแสดงครั้งแรกเมื่อปี 2499 จากการชักนำของ ม.ล.ทรงสอางค์ ทิฆัมพร ผลงานแรกคือภาพยนตร์เรื่อง สาปสวรรค์ เมื่อปี..

ใหม่!!: จ้าวนักเลงและน้ำเงิน บุญหนัก · ดูเพิ่มเติม »

เริงชัย ประภาษานนท์

ริงชัย ประภาษานนท์ (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 -) เป็นนักเขียนชาวไทย เจ้าของนามปากกา "เศก ดุสิต" หรือ ". ดุสิต" มีผลงานเขียนนวนิยายแนวบู๊ และอาชญนิยายที่มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก มีตัวละครที่เป็นที่รู้จักกันดี ชื่อ "คมน์ พยัคฆราช" ในเรื่อง สี่คิงส์ ครุฑดำ และ "โรม ฤทธิไกร" ในเรื่องชุด อินทรีแดง อินทรีทอง เริงชัย ประภาษานนท์ เกิดที่เขตดุสิต กรุงเทพ เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาที่โรงเรียนมัธยมนันทนศึกษา เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง โรงเรียนถูกปิด ออกมาทำงานที่โรงไฟฟ้าสามเสน เมื่อโรงไฟฟ้าถูกระเบิดทำลาย ได้งานใหม่เป็นช่างเรียงพิมพ์ในโรงพิมพ์ เริ่มงานเขียนเรื่องสั้น เรื่องแรกชื่อ “พรหมบันดาล” ตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสาร "รัตนโกสินทร์" ใช้นามปากกาว่า “สุริยา” เริงชัย ประภาษานนท์ เริ่มเขียนนวนิยายแนวบู๊ ใช้นามปากกา "เศก ดุสิต" เรื่อง สี่คิงส์ และครุฑดำ ตีพิมพ์กับสำนักพิมพ์อักษรสมิต แล้วเขียนเรื่องในชุด อินทรีแดง ตีพิมพ์กับสำนักพิมพ์บรรลือสาส์น มีชื่อเสียงเป็นที่นิยมจนต้องนำตัวละครจากทั้งสองเรื่อง คือ "คมน์ พยัคฆราช" และ "โรม ฤทธิไกร" มาร่วมงานกันในเรื่อง จ้าวนักเลง ในเวลาต่อมา และเรื่อง พยัคฆ์ร้ายไทยถีบ ตีพิมพ์ในนิตยสาร "อาทิตย์รายสัปดาห์" กับสำนักพิมพ์อักษรโสภณ ผลงานทั้งหมดถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์ นอกจากงานเขียนอาชญนิยาย เริงชัย ประภาษานนท์ ยังมีผลงานเขียนในแนวอื่น ใช้นามปากกา "เกศ โกญจนาศ" "ศิรษา" "ลุงเฉี่อย" ใช้เขียนนิทานพื้นบ้าน และ "ดุสิตา" ใช้เขียนบทกวี เริงชัย ประภาษานนท์ หยุดเขียนนวนิยายตั้งแต่ พ.ศ. 2532 ต่อมาได้สนใจศึกษาวิชาโหราศาสตร์ และการพยากรณ์อย่างจริงจัง ปัจจุบันเขียนบทความเกี่ยวกับการพยากรณ์ และคอลัมน์ “รู้ชีวิต…ด้วยดวงดาว” ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห.

ใหม่!!: จ้าวนักเลงและเริงชัย ประภาษานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »