โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

จักรวรรดิบริติช

ดัชนี จักรวรรดิบริติช

ักรวรรดิบริติช (British Empire) หรือ จักรวรรดิอังกฤษ ประกอบด้วยประเทศในเครือจักรภพ, คราวน์โคโลนี, รัฐในอารักขา, รัฐในอาณัติ และดินแดนอื่นซึ่งสหราชอาณาจักรปกครองหรือบริหาร จักรวรรดิกำเนิดจากดินแดนอาณานิคมโพ้นทะเลและสถานีการค้าที่ราชอาณาจักรอังกฤษก่อตั้งระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 18 ในช่วงที่เจริญถึงขีดสุด จักรวรรดิบริติชเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ และเป็นมหาอำนาจโลกชั้นแนวหน้านานกว่าหนึ่งศตวรรษ ใน..

204 ความสัมพันธ์: บริติชบริแทนเนียชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2ชาในสหราชอาณาจักรพ.ศ. 2317พ.ศ. 2397พ.ศ. 2450พ.ศ. 2462พ.ศ. 2465พม่าตอนบนพม่าตอนล่างพม่าเสียเมืองพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)พระราชพิธีพัชราภิเษกพระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียพระราชวังมัณฑะเลย์พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรักพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักรพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักรพะสิมพะโคกองทัพบกสหราชอาณาจักรกองทัพอาณาจักรพม่ากองทัพอิรักการบุกครองทิเบตของอังกฤษ พ.ศ. 2446การรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียตการลูกเสือสำหรับเด็กชายการทัพบอลข่าน (สงครามโลกครั้งที่สอง)การทัพกัลลิโพลีการทัพแอฟริกาตะวันออกการปฏิวัติอเมริกาการให้เอกราชการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์การโดดเดี่ยวอย่างสง่างามกีฬาเครือจักรภพฝ่ายมหาอำนาจกลางฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งภาษาอังกฤษภูมิศาสตร์ไทยมัจจุราชมืดโหดมฤตยูมาเรียแห่งเท็คยิปมัน 2 อาจารย์บรู๊ซ ลียุทธการที่ฮ่องกงยุทธการที่ดันเคิร์กยุทธการที่แม่น้ำซอมยุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่งรอเบิร์ต ไคลฟ์ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ...รัฐบาลสหราชอาณาจักรรัฐกันชนรัฐมหาราชารัฐสุลต่านละฮิจญ์รัฐทาสและรัฐเสรีรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422รัฐเคดีฟอียิปต์ราชวงศ์ชิงราชวงศ์โกนบองราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียราชอาณาจักรราโรตองการายชื่อสนธิสัญญารายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรปรายชื่อจักรวรรดิเรียงตามพื้นที่รายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งรายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักรรายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ตรินิแดดและโตเบโกรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาลรายการแผ่นดินไหวรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรลัทธิอาณานิคมลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกาลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักรลี-เอ็นฟิลด์วันหยุดในประเทศพม่าวิกฤตการณ์สละราชสมบัติของพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8วงศ์นกปักษาสวรรค์สมัยวิกตอเรียสมาคมเฟเบียนสมเด็จพระราชินีนาถสมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักรสหพันธรัฐฉานสหภาพแอฟริกาใต้สหราชอาณาจักรสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบสิงโตซาโวสงคราม ค.ศ. 1812สงครามอังกฤษ-อิรักสงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สามสงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่หนึ่งสงครามอังกฤษ–ซูลูสงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์สงครามอิตาลี-กรีซสงครามนโปเลียนสงครามโบเออร์ครั้งที่สองสงครามโลกครั้งที่หนึ่งสงครามไครเมียสงครามเจ็ดปีสตีเวน เจอร์ราร์ดสนธิสัญญานาวิกวอชิงตันสนธิสัญญานานกิงสนธิสัญญาแวร์ซายสนธิสัญญาโลซานสนธิสัญญาไวตางีสนธิสัญญาเบอร์นีสนธิสัญญาเบาว์ริงหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ดหมู่เกาะโคโคส (คีลิง)หมู่เกาะเติกส์และเคคอสอภิมหาอำนาจอลิซาเบธ ราชินีบัลลังก์เลือดอลิซาเบธ: ราชินีบัลลังก์ทองอัคระอันดับของขนาด (พื้นที่)อาหารสหราชอาณาจักรอาหารอังกฤษอาณานิคมไนจีเรียอาณานิคมเคนยาอานัมสยามยุทธอีดี อามินอดอล์ฟ ฮิตเลอร์อเล็กซันดรา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์กอเล็กซานเดอร์ แฮมิลตันฮั่ว หยวนเจี่ยฮิเดะโยะ โนะงุชิฮ่องกงของบริเตนฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่นผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองจอห์น เอเวอเรตต์ มิเลจักรพรรดิเสียนเฟิงจักรวรรดิจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีจักรวรรดิอิตาลีจักรวรรดิโปรตุเกสจักรวรรดิไม่เป็นทางการธงชาติกาตาร์ธงชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ธงชาติสิงคโปร์ทัณฑนิคมทางรถไฟสายกาลกา–ศิมลาทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438ขี้โรคแห่งเอเชียคราวน์โคโลนีคริสต์สหัสวรรษที่ 2คริสต์ทศวรรษ 1770คลองไทยความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐความตกลงสมบูรณ์แบบความตกลงอังกฤษ-รัสเซียคอคอดกระคำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกาคำให้การชาวกรุงเก่าคณะราษฎรปฏิบัติการบาร์บารอสซาปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิมประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักรประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษประวัติศาสตร์เชียงตุงประเทศฝรั่งเศสประเทศมาเลเซียประเทศอิรักประเทศซีลอนในเครือจักรภพประเทศในเครือจักรภพประเทศเบลีซปลาช่อนบาร์กานายกรัฐมนตรีสิงคโปร์นิคมช่องแคบแพทริก เฮนรีแม่น้ำอิรวดีแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)โลกที่หนึ่งโลกตะวันตกโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์โคฟี แอนนันเชียงตุงเพชรโคอินัวร์เมืองแมนแดนสันติเรืออูเวยไห่เส้นทางการค้าเอมิเรตอัฟกานิสถานเจมส์ ไนสมิทเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์นเดอะสเตรตส์ไทมส์เครือจักรภพเครือจักรภพแห่งประชาชาติเซยุม มังกาชาเน็ด เคลลีเน็ด เคลลี่ (ภาพยนตร์)1 กรกฎาคม1 E+13 m²13 เมษายน14 กันยายน1812 โอเวอร์เชอร์19 มกราคม22 กันยายน22 มกราคม23 มีนาคม24 กันยายน26 มกราคม6 กุมภาพันธ์ ขยายดัชนี (154 มากกว่า) »

บริติช

ริติช (British) อาจหมายถึง.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและบริติช · ดูเพิ่มเติม »

บริแทนเนีย

ลวัตของเกาะบริเตน บริแทนเนีย (Britannia) เป็นชื่อที่ชาวโรมันใช้เรียกภูมิภาคบริเตนใหญ่หรือบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์อันเป็นที่อยู่อาศัยของชาวบริติช, ชาวเบลไก และชาวพิกต์ นอกจากนี้ ยังเป็นชื่อที่ตั้งให้แก่สตรีซึ่งเป็นบุคคลวัตของเกาะบริเตนใหญ่ ใน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและบริแทนเนีย · ดูเพิ่มเติม »

ชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2

ลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2 (Charles Grey, 2nd Earl Grey) หรือฐานันดรเดิมคือ ไวเคานต์ฮอวิก เป็นนักการเมืองและรัฐบุรุษชาวอังกฤษจากพรรควิก เขาเคยดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร, ผู้นำสภาขุนนาง, ผู้นำสภาสามัญชน, รัฐมนตรียุติธรรม, และรัฐมนตรีต่างประเทศ เขาผลักดันการปฏิรูปการเมืองให้ไปสู่ระบบการเลือกตั้งในอังกฤษและเวลส์โดยได้รับแรงสนับสนุนจากพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 และยังออกกฎหมายการเลิกทาสทั่วจักรวรรดิอังกฤษในปี 1833 นอกจากนี้เขายังเป็นผู้เผยแพร่ชาเอิร์ลเกรย์ให้เป็นที่รู้จัก.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและชาลส์ เกรย์ เอิร์ลเกรย์ที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

ชาในสหราชอาณาจักร

กับนม ประเพณีการดื่มชาของสหราชอาณาจักร ชาวสหราชอาณาจักรเป็นชาติที่ดื่มชาเป็นลำดับสองของโลกเมื่อเปรียบกับอัตราต่อคน ชาวสหราชอาณาจักรแต่ละคนดื่มชาคนละประมาณ 2.1 กิโลกรัมต่อปี,” Food & Drink.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและชาในสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2317

ทธศักราช 2317 ใกล้เคียงกั.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพ.ศ. 2317 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2397

ทธศักราช 2397 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1854.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพ.ศ. 2397 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพ.ศ. 2450 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพ.ศ. 2462 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2465

ทธศักราช 2465 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1922 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพ.ศ. 2465 · ดูเพิ่มเติม »

พม่าตอนบน

ม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบน (Upper Burma; အထက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่าจริง (Real Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่า ครอบคลุมบริเวณ มัณฑะเลย์ และรอบนอก (ปัจจุบันคือ เขตมัณฑะเลย์, เขตซะไกง์ และเขตมาเกว) และอาจรวมกว้างๆเข้ากับ รัฐคะฉิ่น และรัฐชาน ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-ญา-ตา, ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา คำนี้ถูกใช้โดยบริติชเพื่ออ้างถึงพื้นที่ตอนกลางและตอนเหนือของพม่า หลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพม่าตอนบน · ดูเพิ่มเติม »

พม่าตอนล่าง

ม่าตอนล่างแสดงด้วยสีชมพู พม่าตอนบนแสดงด้วยสีส้ม พม่าตอนล่าง (Lower Burma; အောက်မြန်မာပြည်) บางครั้งเรียก พม่านอก (Outer Myanmar) เป็นพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ของพม่าอยู่ในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี (เขตอิรวดี, เขตพะโค และเขตย่างกุ้ง) และพื้นที่ตามแนวชายฝั่งของประเทศ (รัฐยะไข่, รัฐมอญ และเขตตะนาวศรี) ในภาษาพม่า ประชาชนที่มาจากพม่าตอนบนมักเรียกว่า อะ-เทต-ตา สำหรับผู้ชาย และ อะ-เทียต-ลฮู สำหรับผู้หญิง ในขณะที่ประชาชนที่มาจากพม่าตอนล่างจะเรียกว่า เอาะตา สำหรับผู้ชาย และ เอาะธู สำหรับผู้หญิง ส่วน อะ-ญา-ตา หมายถึงประชาชนที่อาศัยอยู่ส่วนในของประเทศ ในทางประวัติศาสตร์ พม่าตอนล่างหมายถึงดินแดนของพม่าที่ถูกผนวกเข้ากับจักรวรรดิบริติชหลังจากสิ้นสุดสงครามพม่า-อังกฤษครั้งที่สอง ใน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพม่าตอนล่าง · ดูเพิ่มเติม »

พม่าเสียเมือง

ม่าเสียเมือง เป็นสารคดีเกี่ยวกับความผันแปรในประเทศพม่า เริ่มตั้งแต่ต้นยุคราชวงศ์คองบองราชอาณาจักรพม่ายุคที่ 3 เรื่อยมาจนถึงรัชสมัยของพระเจ้าสีป่อและพระนางศุภยาลัต ที่อาณาจักรพม่าตกเป็นเมืองขึ้นของจักรวรรดิอังกฤษ ประพันธ์โดย หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากสารคดีเรื่อง เที่ยวเมืองพม่า พระนิพนธ์ในสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พิมพ์ครั้งแรกในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2512 โดยสำนักพิมพ์ก้าวหน้า ครั้งล่าสุดเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 โดยสำนักพิมพ์นานมีบุ๊คส์ พม่าเสียเมือง เป็นเค้าโครงเรื่องของนวนิยายอีกเรื่องหนึ่ง คือ เพลิงพระนาง ซึ่งมีการนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์แล้ว 2 ครั้ง คือในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพม่าเสียเมือง · ดูเพิ่มเติม »

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  (20 กันยายน พ.ศ. 2396 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) เป็นพระมหากษัตริย์สยาม รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันอังคาร เดือน 10 แรม 3 ค่ำ ปีฉลู ตรงกับวันที่ 20 กันยายน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว · ดูเพิ่มเติม »

พระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช)

นาวาเอก พระยาศราภัยพิพัฒ (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2432 - 21 กันยายน พ.ศ. 2511) นักหนังสือพิมพ์ อดีตปลัดทูลฉลอง กระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และวุฒิสมาชิก พระยาศราภัยพิพัฒ มีชื่อจริงว่า เลื่อน ศราภัยวานิช สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญรุ่นเดียวกับพระยาอนุมานราชธน และไปศึกษาต่อด้านสื่อสารมวลชน จาก School of Journalism เมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย สมรสกับ หม่อมหลวงฉลอง ศราภัยวานิช พระยาศราภัยพิพัฒ ได้รับราชการเป็นนายเวรวิเศษ เลขาประจำตัวของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ ตำแหน่งสุดท้ายเป็นเจ้ากรมเสมียนตรา และปลัดทูลฉลอง กระทรวงกลาโหม ถูกปลดออกจากราชการหลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 พร้อมกับทำงานด้านหนังสือพิมพ์กรุงเทพเดลิเมล์ ไปพร้อมกับนายหลุย คีรีวัต นายสอ เศรษฐบุตร เป็นต้น หนังสือพิมพ์กรุงเทพเดลิเมล์ที่พระยาศราภัยพิพัฒ นั้นได้ถูกเพ่งเล็งจากฝ่ายรัฐบาล ว่าเป็นสื่อที่สนับสนุนการปกครองแบบเก่า หลังเหตุการณ์กบฏบวรเดช ในปี พ.ศ. 2476 และพระยาศราภัยพิพัฒเขียนบทความชื่อ "ฟ้องในหลวง" โจมตี กรณีนายถวัติ ฤทธิ์เดช ยื่นฟ้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อศาลอาญา อีกทั้งยังเดินทางไปเข้าเฝ้าสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต ที่ปีนัง พระยาศราภัยพิพัฒและพวกถูกหมายจับในข้อหาแจกใบปลิวเถื่อนและปลุกระดมการกบฏ จึงหลบหนีด้วยการลงเรือตังเกหนีลงทะเล แต่ถูกจับได้ที่อ่าวไทย หลังจากนั้นจึงถูกส่งไปจำคุกในฐานะนักโทษการเมือง ที่เกาะตะรุเตา พร้อมกับนักโทษคนสำคัญอีกหลายคน จนกระทั่งในวันที่ 16 ตุลาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช) · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีพัชราภิเษก

ระราชพิธีพัชราภิเษก หรือ พัชราภิเษกสมโภช (Diamond Jubilee) เป็นการเฉลิมฉลองเพื่อแสดงการครบรอบ 60 ปี ซึ่งเกี่ยวกับบุคคล (เช่น การครอบรอบแต่งงาน ระยะเวลาการครองราชสมบัติของพระมหากษัตริย์) หรือครบรอบ 75 ปี ซึ่งเกี่ยวกับเหตุการณ.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพระราชพิธีพัชราภิเษก · ดูเพิ่มเติม »

พระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

''พระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย ณ เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2430'' (พ.ศ. 2430 - 2433) โดยวิลเลียม อีวาร์ต ล็อกฮาร์ต เหรียญเงินพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ฯ มูลค่าสองฟลอริน (0.2 ปอนด์สเตอร์ลิง) พ.ศ. 2430 พระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Golden Jubilee of Queen Victoria) จัดขึ้นในวันที่ 20 มิถุนายน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพระราชพิธีกาญจนาภิเษกในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังมัณฑะเลย์

ระราชวังมัณฑะเลย์ในยามสนธยา พระราชวังมัณฑะเลย์ (Mandalay Palace, မန္တလေး နန်းတော်) เป็นพระราชวังในประเทศพม่า และเป็นพระราชวังสุดท้ายแห่งระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของพม่า ก่อนที่จะถูกทำลายโดยทหารอังกฤษ ในยุคสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพระราชวังมัณฑะเลย์ · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก

ระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก (الملك فيصل الثان, Al-Malik Fayṣal Ath-thānī) พระนามเต็ม อัลมะลิก ฟัยศ็อล อัษษานี (2 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชอาณาจักรฮัชไมต์อิรัก ระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพระเจ้าฟัยศ็อลที่ 2 แห่งอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าวิลเลียมที่ 4 (William IV) (21 สิงหาคม ค.ศ. 1765 – 20 มิถุนายน ค.ศ. 1837) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและราชอาณาจักรฮันโนเวอร์ สมัยราชวงศ์แฮโนเวอร์ แห่งระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพระเจ้าวิลเลียมที่ 4 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (George V of the United Kingdom) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ซึ่งทรงสถาปนาขึ้นจากราชวงศ์ซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาสายอังกฤษ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพแห่งอังกฤษ พระองค์เป็นสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งอินเดียและปฐมกษัตริย์เสรีรัฐไอร์แลนด์อีกด้วย พระองค์ทรงครองสิริราชสมบัติตั้งแต่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2453 ผ่านช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2457 ถึง พ.ศ. 2461) จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2479 พระองค์ทรงปฏิบัติราชการในราชนาวีอังกฤษตั้งแต่พระชนมายุ 12 พรรษา แต่หลังจากการสิ้นพระชนม์อย่างไม่คาดฝันของเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งแคลเรนซ์และแอวันเดล พระเชษฐา ทำให้ทรงกลายเป็นรัชทายาทในราชบัลลังก์และอภิเษกสมรสกับพระคู่หมั้นของพระเชษฐาคือเจ้าหญิงแมรีแห่งเทก ถึงแม้ว่าทั้งสองพระองค์จะเสด็จประพาสจักรวรรดิอังกฤษเป็นบางโอกาส แต่พระเจ้าจอร์จที่ 5 โปรดที่จะประทับที่พระตำหนักพร้อมกับการสะสมดวงตราไปรษณียากร และทรงมีชีวิตที่ต่อมานักชีวประวัติเห็นว่าไม่น่าสนใจเนื่องจากความเป็นธรรมดาและเรียบง่าย เมื่อสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 พระราชบิดาเสด็จสวรรคตในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

พะสิม

ม (ဖာသဳ พะแซม) หรือ บัสเซียน (Bassein) เป็นเมืองท่าสำคัญและเป็นเมืองศูนย์กลางของเขตอิรวดี ห่างจากนครย่างกุ้งมาทางตะวันตกเฉียงใต้ ริมแม่น้ำพะสิม ซึ่งเป็นแม่น้ำสาขาฝั่งตะวันตกของแม่น้ำอิรวดี เมืองนี้มีประชากร 237,089 คน (ค.ศ. 2017) ถึงแม้จะเคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรมอญ แต่ปัจจุบันก็มีชาวมอญเหลืออยู่น้อยมาก กลุ่มชาติพันธุ์หลักในปัจจุบัน ได้แก่ ชาวพม่า พม่าเชื้อสายอินเดีย ชาวกะเหรี่ยง และชาว.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพะสิม · ดูเพิ่มเติม »

พะโค

(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและพะโค · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพบกสหราชอาณาจักร

กองทัพบกสหราชอาณาจักร (British Army) เป็นกองกำลังภาคพื้นดินที่สำคัญของสหราชอาณาจักรซึ่งดูแลและควบคุมโดยกองทัพสหราชอาณาจักร ในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและกองทัพบกสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพอาณาจักรพม่า

กองทัพอาณาจักรพม่า (တပ်မတော်) เป็นกองกำลังทหารพม่าราชาธิปไตย ตั้งแต่ศตวรรษที่ 9 ถึง ศตวรรษที่ 19.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและกองทัพอาณาจักรพม่า · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพอิรัก

กองทัพอิรัก (Iraqi Army) มีชื่อทางการว่า กองกำลังภาคพื้นดินอิรัก (Iraqi Ground Forces) เป็นกองกำลังภาคพื้นดินและเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพทุกเหล่าทัพของอิรัก และมีบทบาทต่อชาติอิรักมากโดยเฉพาะในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึง 21 เดิมกองทัพอิรักสมัยใหม่ถูกก่อตั้งขึ้นโดยสหราชอาณาจักรในสมัยระหว่างสงครามของการควบคุมอำนาจของอิรักในอาณัติโดยพฤตินัยของอังกฤษ ภายหลังการบุกครองโดยกองกำลังของสหรัฐอเมริกาในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและกองทัพอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

การบุกครองทิเบตของอังกฤษ พ.ศ. 2446

การรุกรานทิเบตของอังกฤษ ใน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและการบุกครองทิเบตของอังกฤษ พ.ศ. 2446 · ดูเพิ่มเติม »

การรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต

การรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต หรือ การบุกครองเปอร์เซียของบริเตนและสหภาพโซเวียต เป็นการรุกรานจักรวรรรดิเปอร์เซียระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โดยกองกำลังของสหภาพโซเวียต จักรวรรดิบริเตน และเครือจักรภพ การรุกรานได้กินเวลาตั้งแต่วันที่ 25 สิงหาคม - 17 กันยายน ปี 1941 และมีการใช้รหัสนามว่า ปฏิบัติการ Countenance มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาความปลอดภัยให้กับบ่อน้ำมันของอิหร่านและการรับประกันของสัมพันธมิตรในการสนับสนุนแก่สหภาพโซเวียตที่ได้สู้รบกับกองกำลังฝ่ายอักษะในแนวรบด้านตะวันออก แม้ว่าอิหร่านได้ตั้งตัวเป็นกลางไม่ยุ่งเกี่ยวสงคราม แต่ทางฝ่ายสัมพันธมิตรได้พิจารณาเห็นว่าพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ได้มีความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรต่อฝ่ายอักษะ จึงได้บีบบังคับให้สละราชบัลลังก์ในระหว่างการยึดครองและได้แต่งตั้งพระโอรสของพระองค์มาแทนที่คือพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและการรุกรานอิหร่านของบริเตนและสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

การลูกเสือสำหรับเด็กชาย

การลูกเสือสำหรับเด็กชาย: คู่มือการสอนการเป็นพลเมืองดี หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า Scouting for Boys: A handbook for instruction in good citizenship เป็นหนังสือว่าด้วยการฝึกลูกเสือ จัดพิมพ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2451 จนถึงปัจจุบัน มีการแก้ไขหลายครั้ง ทั้งเล็กน้อยและแก้ไขอย่างมีนัยสำคัญ รวมถึงมีฉบับแปลเป็นภาษาต่าง ๆ รวมถึงภาษาไทยด้วย ฉบับแรกสุดเขียนโดยโรเบิร์ต เบเดน โพเอลล์ เนื้อหาหลักเป็นเรื่องการสังเกต การสะกดรอย พืชพรรณและสัตว์นานาชนิด การฝึกฝนตนเอง การพัฒนาตนเอง และหน้าที่พลเมือง ในหนังสือสอดแทรกประสบการณ์ของเบเดน-โพเอลล์ ตอนที่ยังเยาว์ ช่วงชีวิตการงานตอนต้น ขณะที่ไปกำกับกองเสือป่ามาฟีคิง การรบในสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง และประสบการณ์ในค่ายลูกเสือเกาะบราวน์ซี.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและการลูกเสือสำหรับเด็กชาย · ดูเพิ่มเติม »

การทัพบอลข่าน (สงครามโลกครั้งที่สอง)

การทัพบอลข่านในสงครามโลกครั้งที่สองได้เริ่มต้นด้วยอิตาลีบุกครองกรีซ เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและการทัพบอลข่าน (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

การทัพกัลลิโพลี

การทัพกัลลิโพลี (Gallipoli Campaign, Dardanelles Campaign, Battle of Gallipoli หรือ Battle of Çanakkale; Çanakkale Savaşı) เป็นหนึ่งในสมรภูมิสำคัญในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เมื่อกองทัพผสมของจักรวรรดิบริติชยกพลขึ้นบกในคาบสมุทรกัลลิโพลี จุดหมายของการทัพกัลลิโพลีคือการไปช่วยเหลือจักรวรรดิรัสเซียในแนวรบด้านตะวันออกและยึดคอนสแตนติโนเปิลเมืองหลวงของจักรวรรดิออตโตมัน แต่การยกพลในกัลลิโพลีถูกกองทัพออตโตมันต้านทานอย่างหนักในที่สุดออตโตมันสามารถชนะได้ การทัพกัลลิโพลีเป็นหนึ่งในสมรภูมิสำคัญที่จักรวรรดิออตโตมันชนะได้โดยต่อสู้เพื่อปกป้องมาตุภูมิของจักรวรรดิออตโตมัน การทัพกัลลิโพลียังเป็นหนึ่งในการรบที่อัปยศของวินสตัน เชอร์ชิล ในขณะเดียวกันกองทัพออสเตรเลียและกองทัพนิวซีแลนด์ได้รำลึกการรบในกัลลิโพลีโดยยกเอาวันที่กองทัพของเครือจักรภพยกพลขึ้นบกคือในวันที่ 25 เมษายน ของทุกปีเป็นวันแอนแซกร่วมกับ Remembrance Day.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและการทัพกัลลิโพลี · ดูเพิ่มเติม »

การทัพแอฟริกาตะวันออก

การทัพแอฟริกาตะวันออกเป็นการสู้รบในแอฟริกาตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สองโดยจักรวรรดิอังกฤษและประเทศเครือจักรภพ โดยสู้กับราชอาณาจักรอิตาลี โดยกองทัพอังกฤษและเครือจักรภพเป็นฝ่ายชนะ การทัพนี้เป็นส่วนหนึ่งของการทัพแอฟริกา หมวดหมู่:ยุทธการและปฏิบัติการทางทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง หมวดหมู่:สงครามเกี่ยวข้องกับซูดาน da:Felttoget i Østafrika.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและการทัพแอฟริกาตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

การปฏิวัติอเมริกา

รัฐแรกทั้ง 13 รัฐ การปฏิวัติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอกราชจากจักรวรรดิอังกฤษของประชาชนชาวอเมริกา จึงได้มีการสถาปนาสหรัฐอเมริกาขึ้นในเวลาต่อมาหลังจากได้รับชัยชนะในการปฏิวัติในครั้งนี้.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและการปฏิวัติอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

การให้เอกราช

การให้เอกราช (decolonization หรือ decolonisation) หมายถึงล้มล้างลัทธิล่าอาณานิคม การก่อตั้งวิธีการปกครองหรือองค์กรบริการอำนาจผ่านทางการสร้างข้อตกลงกับประเทศอื่น ๆ หรือเขตอำนาจศาล คำดังกล่าวมักหมายถึงการได้รับเอกราชของอาณานิคมและรัฐในอารักขาของชาติตะวันตกในทวีปเอเชียและแอฟริกาหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง การบรรลุการให้เอกราชเป็นผลมาจากการได้รับเอกราช การผสมผสานเข้ากับอำนาจการบริหารหรือรัฐอื่น หรือการสร้างสถานะ "การรวมตัวเสรี" คณะกรรมการพิเศษด้านการให้เอกราชของสหประชาชาติ ระบุว่า กระบวนการให้เอกราชนั้น ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากแนวคิดของการกำหนดการปกครองด้วยตนเอง การให้เอกราชอาจรวมไปถึงการเจรจาอย่างสันติ และ/หรือการปฏิบัติอย่างรุนแรง และการต่อสู้ด้วยกำลังของประชากรพื้นเมือง การให้เอกราชอาจเป็นกิจการภายในหรืออาจเกี่ยวข้องกับการแทรกแซงจากอำนาจต่างประเทศหรือองค์กรระหว่างประเทศ เช่น สันนิบาติชาติหรือสหประชาชาติ ก็ได้ ถึงแม้ว่าตัวอย่างของการให้เอกราชจะพบได้นับแต่สมัยโบราณเป็นต้นมา ในช่วงเวลาสมัยใหม่ มีช่วงเวลาการให้เอกราชที่เฉพาะเป็นจำนวนมาก อาทิ การล่มสลายของจักรวรรดิสเปนในคริสต์ศตวรรษที่ 19 การล่มสลายของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิออตโตมัน และจักรวรรดิรัสเซียภายหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง การล่มสลายของจักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิเยอรมัน และจักรวรรดิอาณานิคมอิตาลี ในช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่สอง และการล่มสลายของสหภาพโซเวียตภายหลังกำแพงเบอร์ลินถูกพังทลาย ในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและการให้เอกราช · ดูเพิ่มเติม »

การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์

การโจมตีท่าเพิร์ลเป็นการโจมตีทางทหารอย่างจู่โจมของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นต่อฐานทัพเรือสหรัฐที่ท่าเพิร์ล ดินแดนฮาวาย ในเช้าวันที่ 7 ธันวาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ · ดูเพิ่มเติม »

การโดดเดี่ยวอย่างสง่างาม

การโดดเดี่ยวอย่างสง่างาม (Splendid isolation) เป็นนโยบายการต่างประเทศซึ่งดำเนินการโดยอังกฤษในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายใต้การนำของนายกรัฐมนตรีจากพรรคอนุรักษนิยม เบนจามิน ดิสราเอลี และมาร์ควิสแห่งซอลสบรี คำดังกล่าวได้ประดิษฐ์ขึ้นมาโดยนักการเมืองชาวแคนาดาเพื่อสรรเสริญการไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวในกิจการของยุโรป ปัจจุบัน นักประวัติศาสตร์ยังโต้เถียงกันว่านโยบายดังกล่าวมีขึ้นโดยเจตนาหรืออังกฤษถูกบังคับให้อยู่ในฐานะดังกล่าวโดยเหตุการณ์ปัจจุบัน.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและการโดดเดี่ยวอย่างสง่างาม · ดูเพิ่มเติม »

กีฬาเครือจักรภพ

กีฬาเครือจักรภพ (Commonwealth Games) เป็นการแข่งขันกีฬาที่จัดขึ้นในกลุ่มประเทศเครือจักรภพทุก 4 ปี ดูแลการจัดแข่งขันโดย สหพันธ์กีฬาเครือจักรภพ (Commonwealth Games Federation; CGF) ซึ่งควบคุมกำหนดการแข่งขัน และคัดเลือกเมืองเจ้าภาพ จากเมืองในประเทศเครือจักรภพที่เสนอชื่อ การแข่งขันนี้มีชื่อเดิมว่า กีฬาเครือจักรวรรดิอังกฤษ จัดขึ้นเป็นครั้งแรก ที่เมืองแฮมิลตัน รัฐออนแทรีโอ ประเทศแคนาดา ระหว่างวันที่ 16 – 23 สิงหาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและกีฬาเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง

ฝ่ายมหาอำนาจกลาง (Central Powers) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจและเป็นพันธมิตรทางการทหารกลุ่มหนึ่งในทวีปยุโรป ซึ่งร่วมมือกันต่อสู้กับฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง นำโดยจักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และจักรวรรดิออตโตมัน.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและฝ่ายมหาอำนาจกลาง · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีเขียวคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (Forces de l'Entente / Alliés; Alleati; Союзники, Soyuzniki) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และ ลีเจียนเชกโกสโลวาเกีย เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

ภาษาอังกฤษ

ษาอังกฤษ หรือ ภาษาอังกฤษใหม่ เป็นภาษาในกลุ่มภาษาเจอร์แมนิกตะวันตกที่ใช้ครั้งแรกในอังกฤษสมัยต้นยุคกลาง และปัจจุบันเป็นภาษาที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่ในหลายประเทศ รวมทั้ง สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ และประเทศในแคริบเบียน พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ที่มีผู้พูดมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลก รองจากภาษาจีนกลางและภาษาสเปน มักมีผู้เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวาง และภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของสหภาพยุโรป หลายประเทศเครือจักรภพแห่งชาติ และสหประชาชาติ ตลอดจนองค์การระดับโลกหลายองค์การ ภาษาอังกฤษเจริญขึ้นในราชอาณาจักรแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และบริเวณสกอตแลนด์ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน หลังอิทธิพลอย่างกว้างขวางของบริเตนใหญ่และสหราชอาณาจักรตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผ่านจักรวรรดิอังกฤษ และรวมสหรัฐอเมริกาด้วยตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ภาษาอังกฤษได้แพร่หลายทั่วโลก กลายเป็นภาษาชั้นนำของวจนิพนธ์ระหว่างประเทศและเป็นภาษากลางในหลายภูมิภาค ในประวัติศาสตร์ ภาษาอังกฤษกำเนิดจากการรวมภาษาถิ่นหลายภาษาที่สัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ซึ่งปัจจุบันเรียกรวมว่า ภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งผู้ตั้งนิคมนำมายังฝั่งตะวันออกของบริเตนใหญ่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 5 คำในภาษาอังกฤษจำนวนมากสร้างขึ้นบนพื้นฐานรากศัพท์ภาษาละติน เพราะภาษาละตินบางรูปแบบเป็นภาษากลางของคริสตจักรและชีวิตปัญญาชนยุโรปDaniel Weissbort (2006).

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและภาษาอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ภูมิศาสตร์ไทย

แผนที่ประเทศไทย ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ใจกลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตำแหน่งที่ตั้งของประเทศได้มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ประเทศไทยยังเป็นเส้นทางทางบกเพียงทางเดียวจากทวีปเอเชียไปยังประเทศมาเลเซียและประเทศสิงคโปร.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและภูมิศาสตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

มัจจุราชมืดโหดมฤตยู

มัจจุราชมืดโหดมฤตยู ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์สัญชาติอเมริกัน ในชื่อภาษาอังกฤษว่า The Ghost and the Darkness ที่สร้างมาจากนิยายผจญภัยในป่าแอฟริกา เรื่อง The Man-Eaters of Tsavo ที่เขียนโดย ผู้พันจอห์น เฮนรี่ แพ็ตเตอร์สัน ที่นำเค้าโครงมาจากประสบการณ์จริงของตนเองเกี่ยวกับสิงโตกินคนที่ซาโว นำแสดงโดย วัล คิลเมอร์, ไมเคิล ดักลาส, ทอม วิลคินสัน กำกับโดย สตีเฟ่น ฮ็อปกินส์ ความยาว 135 นาที ซึ่งภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับรางวัลออสการ์ สาขาลำดับเสียงยอดเยี่ยม ประจำปี ค.ศ. 1996 ด้ว.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและมัจจุราชมืดโหดมฤตยู · ดูเพิ่มเติม »

มาเรียแห่งเท็ค

มาเรียแห่งเท็ค (Maria von Teck) หรือ เจ้าหญิงวิกตอเรีย แมรี ออกัสตา ลูอิส โอลกา พอลีน คลอดีน แอกเนสแห่งเท็ค (Princess Victoria Mary Augusta Louise Olga Pauline Claudine Agnes of Teck) เป็นเจ้าหญิงเยอรมันจากราชอาณาจักรเวือร์ทเทิมแบร์ค ผู้ซึ่งอภิเษกสมรสเข้าสู่พระราชวงศ์อังกฤษ พระนางเป็นพระอัครมเหสีในพระเจ้าจอร์จที่ 5 จึงถูกออกพระนามว่า สมเด็จพระราชินีแมรี (Queen Mary) พระนางยังทรงมีพระยศเป็นจักรพรรดินีแห่งอินเดียและพระราชินีแห่งไอร์แลนด์อีกด้วย หกสัปดาห์ภายหลังจากการหมั้นหมายกับเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ ดยุกแห่งคลาเรนซ์ รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ เจ้าชายสิ้นพระชนม์ด้วยโรคปวดบวม ในปีต่อมาเจ้าหญิงแมรีทรงหมั้นหมายกับรัชทายาทพระองค์ใหม่ พระอนุชาในเจ้าชายอัลเบิร์ต วิกเตอร์ คือ เจ้าชายจอร์จ ในฐานะสมเด็จพระราชินีอัครมเหสีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2453 พระองค์ทรงสนับสนุนพระราชสวามีตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เนื่องจากพระพลานามัยที่ไม่สมบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงทางการครั้งใหญ่ที่เกิดมาจากผลกระทบหลังสงครามและการอุบัติขึ้นของลัทธิสังคมนิยมและชาตินิยม หลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 5 พระราชสวามีเมื่อปี พ.ศ. 2479 เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระโอรสองค์โตได้ดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี-จักรพรรดิ แต่กลับสร้างความผิดหวังให้กับพระองค์ด้วยการสละราชสมบัติในปีเดียวกันเพื่ออภิเษกกับนางวอลลิส ซิมป์สัน สาวสังคมชาวอเมริกันที่หย่าร้างมาแล้วสองครั้ง พระองค์ทรงสนับสนุนเจ้าชายอัลเบิร์ต ซึ่งทรงสืบต่อราชบัลลังก์อังกฤษเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2495 พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีต่อมา ในช่วงเวลาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีแมรีทรงเป็นที่รู้จักถึงการกำหนดลีลาให้พระราชวงศ์อังกฤษดำเนินไป ในฐานะที่ทรงเป็นแบบอย่างของความเป็นระเบียบทางการและขนบธรรมเนียมของพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในงานพระราชพิธีต่าง ๆ พระองค์เป็นสมเด็จพระราชินีมเหสีที่ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกของทายาทของพระองค์ นอกจากนั้นพระองค์ที่ยังทรงเป็นที่รู้จักถึงการประดับเพชรพลอยในงานพิธีทางการต่าง ๆ ทรงทิ้งชุดเครื่องเพชรต่างๆ ซึ่งถือว่าประเมินค่ามิได้ในขณะนี้เอาไว้.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและมาเรียแห่งเท็ค · ดูเพิ่มเติม »

ยิปมัน 2 อาจารย์บรู๊ซ ลี

ปมัน 2 อาจารย์บรู๊ซ ลี ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์ฮ่องกงกำลังภายในเรื่อง Ip Man 2 ซึ่งเป็นภาคต่อของ Ip Man ในปลายปี ค.ศ. 2008 นำแสดงโดย เจิ้น จื่อตัน, หง จินเป่า, หวง เสี่ยวหมิง, ดาร์เรน ชาลาวี, สง ไต้หลิน และ เยิ่น ต๊ะหัว กำกับโดย วิลสัน ยิป.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและยิปมัน 2 อาจารย์บรู๊ซ ลี · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ฮ่องกง

ทธการที่ฮ่องกง(08-25 ธันวาคม 1941)ยังเป็นที่รู้จักคือ การป้องกันฮ่องกงและการยึดครองฮ่องกงเป็นหนึ่งในครั้งแรกของสงครามมหาสมุทรแปซิฟิกในสงครามโลกครั้งที่สอง.เช้าในวันเดียวกันกับการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์,กองทัพของจักรวรรดิญี่ปุ่นได้เข้าโจมตีคราวน์โคโลนีของบริเตนของเกาะฮ่องกง.การโจมตีในการละเมิดกฎหมายต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่นไม่ได้ประกาศสงครามกับจักรวรรดิอังกฤษ.การโจมตีของฝ่ายญี่ปุ่นนั้นก็ต้องพบการต่อต้านจากทหารในฮ่องกงประกอบไปด้วยกองกำลังท้องถิ่นอย่างทหารอังกฤษ,แคนาดาและอินเดี.ภายในสัปดาห์ กองกำลังฝ่ายป้องกันได้ถูกทอดทิ้งจากแผ่นดินใหญ่และน้อยกว่าสองสัปดาห์ต่อมา,กองกำลังฝ่ายการป้องกันบนเกราะนั้นไม่สามารถป้องกันได้,อาณานิคมจึงได้ยอมจำนนและถูกยึดครองในที.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและยุทธการที่ฮ่องกง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่ดันเคิร์ก

ทธการที่ดันเคิร์ก เป็นปฏิบัติการทางทหารซึ่งเกิดที่ดันเคิร์ก ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง การยุทธ์นี้ต่อสู้กันระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและนาซีเยอรมนี เป็นส่วนหนึ่งของยุทธการที่ฝรั่งเศสบนแนวรบด้านตะวันตก ยุทธการที่ดันเคิร์กเป็นการป้องกันและอพยพทหารบริติชและฝ่ายสัมพันธมิตรในทวีปยุโรประหว่างวันที่ 26 พฤษภาคมถึง 4 มิถุนายน 1940 หลังสงครามลวง ยุทธการที่ฝรั่งเศสเริ่มอย่างจริงจังเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 1940 ทางทิศตะวันตก กองทัพเยอรมันกลุ่มบีบุกครองประเทศเนเธอร์แลนด์และบุกไปทางทิศตะวันตก ผู้บัญชาการสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตร พลเอกฝรั่งเศส โมรีส เกมลิน (Maurice Gamelin) เริ่ม "แผนดี" และเข้าประเทศเบลเยียมเพื่อประจัญบานกับฝ่ายเยอรมันในประเทศเนเธอร์แลนด์ แผนดังกล่าวต้องพึ่งพาป้อมสนามแนวมากีโนตามชายแดนเยอรมัน–ฝรั่งเศสอย่างมาก แต่กองทัพเยอรมันข้ามแนวดังกล่าวมาแล้วผ่านประเทศเนเธอร์แลนด์ส่วนใหญ่ก่อนกองทัพฝรั่งเศสมาถึง เกมลินจึงส่งกำลังภายใต้บังคับบัญชาของเขา ได้แก่ กองทัพสนามยานเกราะ (mechanized army) สามกอง คือ กองทัพที่ 1 ที่ 7 แห่งฝรั่งเศส และกำลังรบนอกประเทศบริเตน (British Expeditionary Force) ไปแม่น้ำดิล (Dyle) วันที่ 14 พฤษภาคม กองทัพเยอรมันกลุมเอทะลวงผ่านป่าอาร์เดนและบุกไปทางทิศตะวันตกอย่างรวดเร็วสู่ซะด็อง (Sedan) แล้วหันขึ้นเหนือสู่ช่องแคบอังกฤษ การนี้จอมพลเอริช ฟอน มันชไตน์ เรียกว่า "เกี่ยวออก" (หรือเรียก "แผนเหลือง" หรือแผนมันชไตน์) ซึ่งเป็นการโอบทัพฝ่ายสัมพันธมิตร การตีโต้ตอบหลายครั้งของฝ่ายสัมพันธมิตร รวมทั้งยุทธการที่อารัส (Arras) ไม่สามารถหยุดยั้งหัวหอกของเยอรมันได้ ซึ่งไปถึงชายฝั่งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม แยกกองทหารบริติชใกล้กับแอคม็องตีแย (Armentières) กองทัพที่ 1 แห่งฝรั่งเศส และกองทัพเบลเยียมที่อยู่เหนือขึ้นไปจากกำลังฝรั่งเศสส่วนใหญ่ที่อยู่ทางใต้ของการบุกทะลวงของเยอรมัน เมื่อถึงช่องแคบแล้ว กำลังเยอรมันกวาดไปทางเหนือตามชายฝั่ง คุกคามที่จะยึดท่าและดักกองทัพบริติชและฝรั่งเศสก่อนที่จะสามารถอพยพไปบริเตน ฝ่ายเยอรมันหยุดการบุกเข้าดันเคิร์กซึ่งเป็นการตัดสินใจที่มีการถกเถียงกันมากที่สุดครั้งหน่งของสงคราม สิ่งที่เรียกว่า "คำสั่งหยุด" นั้นมิได้มาจากอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ซึ่งขัดต่อความเชื่อของมหาชน จอมพลแกร์ด ฟอน รุนด์ชเตดท์และกึนเทอร์ ฟอน คลูเกอเสนอว่ากองทัพเยอรมันรอบวงล้อมดันเคิร์กควรหยุดการบุกเข้าท่าและสะสมกำลังเพื่อเลี่ยงการตีฝ่าของฝ่ายสัมพันธมิตร ฮิตเลอร์อนุมัติคำสั่งดังกล่าวในวันที่ 24 พฤษภาคมด้วยการสนับสนุนของกองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพหยุดเป็นเวลาสามวันซึ่งทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรมีเวลาเพียงพอสำหรับจัดระเบียบการอพยพดันเคิร์กและตั้งแนวป้องกัน แม้ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรจะประเมินสถานการณ์ดังกล่าวไว้อย่างเลวร้าย โดยบริเตนถึงขั้นอภิปรายกันเรื่องยอมจำนนแบบมีเงื่อนไขต่อเยอรมนี ในบั้นปลายทหารฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับการช่วยเหลือกว่า 330,000 น.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและยุทธการที่ดันเคิร์ก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่แม่น้ำซอม

ทธการที่แม่น้ำซอม หรือที่รู้จักในชื่อ การรุกซอม เป็นหนึ่งในสมรภูมิสำคัญของแนวรบด้านตะวันตกในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเมื่อกองทัพของเครือจักรภพอังกฤษและฝรั่งเศสปะทะกับกองทัพจักรวรรดิเยอรมันที่บริเวณแม่น้ำซอมโดยในระยะเวลาเพียง 5 เดือนของยุทธการนี้ ยุทธการที่แม่น้ำซอมจัตเป็นหนึ่งในสมรภูมิที่นองเลือดที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติเนื่องจากในยุทธการนี้ทหารจากทั้งสองฝ่ายกว่าหนึ่งล้านนายเสียชีวิต.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและยุทธการที่แม่น้ำซอม · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง

ทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง (1–27 กรฏาคม ค.ศ. 1942) เป็นการสู้รบของการทัพทะเลทรายตะวันตกของสงครามโลกครั้งที่สอง,ซึ่งได้ทำการต่อสู้รบกันบนแผ่นดินอียิปต์ระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะ (เยอรมันและอิตาลี) ของกองทัพยานเกราะแอฟริกา (Panzerarmee Afrika, ซึ่งได้รวมถึงกองทัพน้อยแอฟริกา หรือแอฟริกา คอร์) ภายใต้การบัญชาการของจอมพลแอร์วิน รอมเมิลและกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร (จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ ซึ่งได้แก่ สหราชอาณาจักร, บริติชอินเดีย, ออสเตรเลีย, แอฟริกาใต้ และ นิวซีแลนด์) ของกองทัพที่แปด ภายใต้การบัญชาการของนายพล Claude Auchinleck.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและยุทธการที่เอล อาลาเมนครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รอเบิร์ต ไคลฟ์

ลตรี รอเบิร์ต ไคลฟ์ บารอนไคลฟ์ที่ 1 (Robert Clive, 1st Baron Clive) หรือเป็นที่รู้จักในนาม ไคลฟ์แห่งอินเดีย (Clive of India) เป็นหนึ่งในนักการทหารที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอังกฤษ เขาเป็นผู้บัญชาการสูงสุดของบริติชอินเดีย เขาสามารถมีชัยในยุทธการที่ปลาศีในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรอเบิร์ต ไคลฟ์ · ดูเพิ่มเติม »

ระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ

การจราจรซ้ายมือ จุดเปลี่ยนเส้นทางจราจรที่สะพานมิตรภาพไทย-ลาว การจราจรซ้ายมือ (left-hand traffic (LHT)) และการจราจรขวามือ (right-hand traffic (RHT)) เป็นกฎระเบียบที่กำหนดสำหรับการจราจรแบบสองทิศทางทุกรูปแบบให้ขับยานพาหนะชิดซ้ายหรือชิดขวาบนถนนยกเว้นในกรณีอื่น ๆ ที่กำหนด การจราจรนี้เป็นพื้นฐานของทิศทางจราจรซึ่งในบางครั้งถูกเรียกว่าเป็นกฎของถนน มี 163 ประเทศและดินแดนที่ใช้การจราจรขวามือ ในขณะที่ 76 ประเทศที่เหลือใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือคิดเป็น 1 ใน 6 ของพื้นที่และ 1 ใน 4 ของถนนบนโลก ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1900 บางประเทศรวมถึงแคนาดา สเปน และบราซิลมีกฎของการจราจรที่ต่างกันในแต่ละพื้นที่ของประเทศ และระหว่างทศวรรษที่ 1900 หลายประเทศได้กำหนดมาตรฐานในเขตอำนาจรัฐและเปลี่ยนจากการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือเพื่อให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมในแต่ละภูมิภาค ใน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและระบบจราจรซ้ายมือและขวามือ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐบาลสหราชอาณาจักร

รัฐบาลในสมเด็จฯ (Her Majesty's Government, ย่อ: HMG) มักเรียก รัฐบาลบริติช เป็นรัฐบาลกลางของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรัฐบาลสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รัฐกันชน

รัฐกันชน (Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรัฐกันชน · ดูเพิ่มเติม »

รัฐมหาราชา

การประชุมของมหาราชาในปี ค.ศ. 1941 รัฐมหาราชา (Princely state) หรือที่ชาวอังกฤษเรียกว่า รัฐพื้นเมือง (Native state) เป็นรัฐที่ปกครองโดยเจ้าพื้นเมืองอินเดียในสมัยบริติชราช โดยรัฐเหล่านี้ไม่ได้ถูกปกครองโดยตรงจากอังกฤษ แต่เป็นพันธมิตรรายย่อยที่ยอมรับอำนาจที่เหนือกว่าของพระมหากษัตริย์อังกฤษ รัฐมหาราชามีทั้งสิ้น 565 รัฐในช่วงที่อินเดียและปากีสถานได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1947 แต่รัฐเหล่านั้นส่วนใหญ่มักมีสัญญาให้อุปราชแห่งอินเดียเป็นผู้ให้บริการสาธารณะและการจัดเก็บภาษี โดยมีรัฐมหาราชาเพียง 21 รัฐเท่านั้นที่มีรัฐบาลประจำรัฐเป็นของตนเอง ในกลุ่มนี้มีรัฐมหาราชาขนาดใหญ่อยู่ 4 รัฐคือ ไฮเดอร์ราบัด ไมซอร์ บาโรดา และ รัฐชัมมูและกัศมีร์ ในขณะที่มีรัฐมหาราชาประมาณ 200 กว่ารัฐที่มีพื้นที่น้อยกว่า 25 ตารางกิโลเมตร ในช่วงที่อินเดียและปากีสถานได้รับเอกราช รัฐมหาราชาเหล่านี้จะรวมเข้าอยู่ใน 2 ชาติที่เกิดใหม่ในช่วงระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรัฐมหาราชา · ดูเพิ่มเติม »

รัฐสุลต่านละฮิจญ์

รัฐสุลต่านละฮิจญ์ (Sultanate of Lahej; سلطنة لحج) หรือ รัฐสุลต่านอับดะลี (Abdali Sultanate; سلطنة العبدلي) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของคาบสมุทรอาหรับ ปกครองโดยราชวงศ์อับดะลี จนถึงปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรัฐสุลต่านละฮิจญ์ · ดูเพิ่มเติม »

รัฐทาสและรัฐเสรี

ในประวัติศาสตร์สหรัฐ รัฐทาส หมายถึง รัฐของสหรัฐที่ความเป็นทาสชอบด้วยกฎหมาย และรัฐเสรี หมายถึง รัฐที่ห้ามความเป็นทาสหรือกำลังเลิกทาสตามกฎหมาย ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ 17 ความเป็นทาสชอบด้วยกฎหมายทั่วทั้งจักรวรรดิบริติช ความเป็นทาสมีอยู่ในอาณานิคมบริติชทุกแห่งในทวีปอเมริกาเหนือ ในสิบสามอาณานิคม ความแตกต่างระหว่างรัฐทาสและรัฐเสรีเริ่มระหว่างการปฏิวัติอเมริกา (ปี 1775–1783) ความเป็นทาสกลายเป็นประเด็นแตกแยกและเป็นสาเหตุหลักของสงครามกลางเมืองอเมริกา การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสหรัฐครั้งที่ 13 ซึ่งมีการให้สัตยาบันในปี 1865 เลิกความเป็นทาสทั่วทั้งสหรัฐ และข้อแตกต่างระหว่างรัฐเสรีและรัฐทาสยุติ หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์สหรัฐ.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรัฐทาสและรัฐเสรี · ดูเพิ่มเติม »

รัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422

รัฐประหารวังหลวงพม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรัฐประหารวังหลวงพม่า พ.ศ. 2421–2422 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐเคดีฟอียิปต์

รัฐเคดีฟอียิปต์ (Khedivate of Egypt; خديوية مصر; ออตโตมันเติร์ก: خدیویت مصر Hıdiviyet-i Mısır) เป็นรัฐบรรณาการของจักรวรรดิออตโตมัน ปกครองโดยราชวงศ์มูฮัมหมัดอาลี คำว่า "เคดีฟ" (khedive) ในภาษาตุรกีออตโตมัน หมายถึง "อุปราช" ใช้ครั้งแรกโดยมูฮัมหมัด อาลี ปาชา แต่ไม่ได้รับการยอมรับจนกระทั่งถึงปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรัฐเคดีฟอียิปต์ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและราชวงศ์ชิง · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์โกนบอง

ราชวงศ์โกนบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်,; Konbaung Dynasty) เป็นราชวงศ์ที่ 3 ในประวัติศาสตร์พม่า และเป็นราชวงศ์สุดท้ายของพม่า ก่อนที่จะตกเป็นเมืองขึ้นของสหราชอาณาจักร และสิ้นสุดการปกครองระบอบราชาธิปไตยของพม่า ราชวงศ์อลองพญานั้นได้รับการสถาปนาขึ้นโดยการเสวยราชสมบัติของพระเจ้าอลองพญาในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและราชวงศ์โกนบอง · ดูเพิ่มเติม »

ราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย

มเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามี พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย (Descendants of Queen Victoria) เป็นเรื่องราวของการสืบสายพระโลหิตของพระราชโอรสและธิดาทั้งหมด 9 พระองค์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร (อเล็กซานดรินา วิกตอเรีย; 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2362 - 22 มกราคม พ.ศ. 2444 เสวยราชสมบัติ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2380) โดยมีพระราชนัดดา 42 พระองค์ และพระราชปนัดดา (เหลน) 88 พระองค์ แต่ละพระองค์จึงเป็นทั้งพี่น้องกันหรือพระญาติชั้นที่หนึ่งซึ่งกันและกัน (first cousin) และด้วยการอภิเษกสมรสเข้าไปยังราชสำนักต่างๆ ในทวีปยุโรป พระองค์จึงทรงมีผลกระทบต่อโชคชะตาของราชวงศ์ยุโรปอย่างมาก ทรงมีความเกี่ยวข้องทางสายพระโลหิตและการอภิเษกสมรสกับราชวงศ์สเปน เยอรมนี กรีซ รัสเซีย โรมาเนีย ยูโกสลาเวีย นอร์เวย์ สวีเดน และเดนมาร์ก จึงทำให้ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า สมเด็จย่าแห่งยุโรป (Grandmother of Europe) สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ เป็นเวลา 63 ปีเศษ ระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรราโรตองกา

ราชอาณาจักรราโรตองกา (ภาษามาวรีหมู่เกาะคุก: Mātāmuatanga Rarotonga) ซึ่งตั้งชื่อตามเกาะราโรตองกา เป็นราชอาณาจักรเอกราชที่ตั้งอยู่ในหมู่เกาะคุกในปัจจุบัน ซึ่งสถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. 2401 อาณาจักรนี้ได้กลายเป็นรัฐในอารักขาของสหราชอาณาจักรในปี พ.ศ. 2432 โดยความประสงค์ของประเทศนั้นเอง และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นสหพันธรัฐหมู่เกาะคุกในปี พ.ศ. 2436.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและราชอาณาจักรราโรตองกา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อสนธิสัญญา

การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายในห้องกระจกของพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศสเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919เพื่อยุติสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง รายชื่อสนธิสัญญา เป็นรายชื่อข้อตกลงทางประวัติศาสตร์ฉบับที่สำคัญ ระหว่างรัฐ กองทัพ รัฐบาล และกลุ่มชน.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรายชื่อสนธิสัญญา · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป

ต่อไปนี้คือรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรายชื่ออดีตอาณานิคมของยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อจักรวรรดิเรียงตามพื้นที่

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรายชื่อจักรวรรดิเรียงตามพื้นที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

นี่คือ รายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ที่เสียชีวิตแบ่งตามประเทศ บุคคลที่มีชีวิตรอดในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (28 กรกฎาคม 1914 – 11 พฤศจิกายน 1918) คนสุดท้ายคือ Florence Green, เป็นพลเมืองจาก จักรวรรดิบริติช ชึ่งอยู่ใน ฝ่ายสัมพันธมิตร เธอเสียชีวิตในวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2012 ด้วยอายุ 110 ปี ส่วนทหารเรือที่ร่วมรบคนสุดท้ายคือ Claude Choules เขาสังกัด กองทัพเรือสหราชอาณาจักร (ต่อมาคือ กองทัพเรือออสเตรเลีย) เขาเสียชีวิตในวันที่ 5 พฤษภาคม 2011 ด้วยอายุ 110 ปี ส่วนทหารที่ร่วมรบใน สนามเพลาะ คนสุดท้ายคือ Harry Patch (กองทัพสหราชอาณาจักร) เขาเสียชีวิตในวันที่ 25 กรกฎาคม 2009 ด้วยอายุ 111 ปี และทหารผ่านศึกในฝ่ายมหาอำนาจกลาง ที่รอตชีวิดคนสุดท้ายคือ Franz Künstler จาก จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เขาเสียชีวิตในวันที่ 27 พฤษภาคม 2008 ด้วยอายุ 107 ปี จากข้อมูลของสารานุกรมบริตานิกา พบว่ามีทหารร่วมรบในสงครามรวม 65,038,810 นาย และมีทหารเสียชีวิตไป 9,750,103 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรายชื่อทหารผ่านศึกคนสุดท้ายในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร

สโตนเฮนจ์เป็นส่วนหนึ่งของแหล่งมรดกโลกสโตนเฮนจ์ เอฟเบอรี และสถานที่ใกล้เคียง ในสหราชอาณาจักรและอาณานิคมโพ้นทะเลมีแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นทะเบียนโดยยูเนสโกทั้งหมด 31 แห่ง โดยอยู่ในอังกฤษ 17 แห่ง, สกอตแลนด์ 5 แห่ง, อังกฤษและสกอตแลนด์ 1 แห่ง, เวลส์ 3 แห่ง, ไอร์แลนด์เหนือ 1 แห่ง และในดินแดนโพ้นทะเลเบอร์มิวดา หมู่เกาะพิตแคร์น เซนต์เฮเลนา และยิบรอลตาร์ที่ละ 1 แห่ง แหล่งมรดกโลกของสหราชอาณาจักรที่ได้ขึ้นทะเบียนในครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2529 ได้แก.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรายชื่อแหล่งมรดกโลกในสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ตรินิแดดและโตเบโก

รื่องอิสริยาภรณ์ตรินิแดดและโตเบโก ประธานาธิบดีตรินิแดดและโตเบโก ในฐานะประธานแห่งอิสริยาภรณ์ เป็นผู้มอบให้กับผู้กระทำคุณความดีให้แก่ประเทศชาติ เนื่องในวันสำคัญของชาติ มีดังนี้: ผู้ที่ได้รับอิสริยาภรณ์ สามารถใช้ชื่อย่อของอิสริยาภรณ์ต่อท้ายชื่อของตน ตามธรรมเนียมของเครื่องอิสริยาภรณ์สหราชอาณาจักร.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรายชื่อเครื่องอิสริยาภรณ์ตรินิแดดและโตเบโก · ดูเพิ่มเติม »

รายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล

นี่คือรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล ซึ่งเรียงลำดับพระมหากษัตริยที่ทรงครองราชย์ 60 ปีขึ้นไปตามรัชกาล.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรายพระนามพระมหากษัตริย์ทั่วโลกตามรัชกาล · ดูเพิ่มเติม »

รายการแผ่นดินไหว

นี่เป็นเนื้อหาของรายการแผ่นดินไหวและอันดับแผ่นดินไหวแบ่งตามแมกนิจูดและผู้เสียชีวิต.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรายการแผ่นดินไหว · ดูเพิ่มเติม »

รายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

นี่เป็นรายนามของ นายกรัฐมนตรีแห่งบริเตนใหญ่ ระหว่าง..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและรายนามนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคม

ลัทธิอาณานิคม (colonialism) เป็นการสถาปนา แสวงหาประโยชน์จากพื้นที่อื่น ธำรงรักษา ได้มาซึ่งและขยายอาณานิคมในดินแดนหนึ่งจากประชากรอีกดินแดนหนึ่ง ลัทธิอาณานิคมเป็นชุดความสัมพันธ์ไม่เท่ากันระหว่างเจ้าอาณานิคมและอาณานิคม และมักระหว่างผู้อยู่ในนิคมและประชากรพื้นเมือง สมัยอาณานิคมยุโรปอยู่ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อชาติยุโรปหลายชาติสถาปนาอาณานิคมในทวีปเอเชีย แอฟริกาและอเมริกา ทีแรก ประเทศต่าง ๆ ดำเนินนโยบายลัทธิพาณิชยนิยมซึ่งออกแบบมาเพื่อเสริมเศรษฐกิจของประเทศแม่โดยแลกกับเศรษฐกิจของคู่แข่ง ฉะนั้น ปกติอาณานิคมจึงได้รับอนุญาตให้ค้าขายเฉพาะกับประเทศแม่เท่านั้น ทว่า เมื่อถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 จักรวรรดิอังกฤษยกเลิกลัทธิพาณิชยนิยมและการจำกัดการค้า และเริ่มใช้หลักการค้าเสรี โดยมีการจำกัดหรือภาษีศุลกากรน้อ.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและลัทธิอาณานิคม · ดูเพิ่มเติม »

ลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกา

อาณานิคมที่ประเทศจากยุโรปครอบครองในปี 1913 อาณานิคมในแอฟริกา (Scramble for Africa) หรือ การอาณานิคมในแอฟริกา เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1885 จากประเทศเยอรมนีโดยการนำของออตโต ฟอน บิสมาร์ค ได้จัดให้มีการประชุมในกรุงเบอร์ลินว่าด้วยข้อตกลงเกี่ยวกับการเข้าครอบครองดินแดนในทวีปแอฟริก.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและลัทธิอาณานิคมในทวีปแอฟริกา · ดูเพิ่มเติม »

ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถแอนน์ แต่ด้วยพระนางโซฟีสิ้นพระชนม์ไปซะก่อน ราชบัลลังก์จึงต้องถูกสืบโดยทายาทของพระนางโซฟี ลำดับการสืบราชสันตติวงศ์อังกฤษ เป็นการจัดเรียงรายพระนามและนามของบุคคลในสายลำดับการสืบราชสมบัติแห่งสหราชอาณาจักร การสืบราชสมบัติบัญญัติโดย พระราชบัญญัติการสืบสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 (Act of Settlement 1701) จำกัดสิทธิแต่เพียงทายาทของเจ้าหญิงโซฟีแห่งฮันโนเฟอร์ โดยกำหนดในเรื่องการให้สิทธิบุรุษสืบราชสมบัติก่อนหน้าสตรี การนับถือศาสนา และการถือกำเนิดอย่างถูกต้องตามกฎหมาย จากบทบัญญัติของธรรมนูญเวสมินสเตอร..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและลำดับการสืบราชสันตติวงศ์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ลี-เอ็นฟิลด์

ลี-เอ็นฟิลด์เป็นปืนไรเฟิลแบบลูกเลื่อน,แบบซองกระสุนและยิงซ้ำได้อย่างรวดเร็ว(repeating rifle) มันเป็นอาวุธปืนหลักที่ถูกใช้งานโดยกองทัพจักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพในช่วงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 มันเป็นปืนไรเฟิลมาตรฐานของกองทัพบริติชจากการใช้อย่างเป็นทางการในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและลี-เอ็นฟิลด์ · ดูเพิ่มเติม »

วันหยุดในประเทศพม่า

วันหยุดราชการในประเทศพม.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและวันหยุดในประเทศพม่า · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์สละราชสมบัติของพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8

ตราสารสละราชสมบัติ ซึ่งพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8 ลงพระนามาภิไธย พร้อมด้วยพระอนุชาอีกสามพระองค์ลงพระนามเป็นพยาน วิกฤตการณ์สละราชสมบัติของพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8 (Edward VIII abdication crisis) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในจักรวรรดิอังกฤษเมื่อ พ.ศ. 2479 โดยพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8 มีพระราชประสงค์จะทรงเสกสมรสกับวอลลิส ซิมป์ซัน หญิงชาวอเมริกันที่ผ่านการหย่าร้างมาแล้วถึงสองครั้ง ส่งผลให้เกิดข้อครหาว่าชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ พระราชประสงค์ดังกล่าว รัฐบาลอังกฤษและรัฐบาลประเทศราชต่างไม่เห็นชอบด้วย กับทั้งองค์กรทางศาสนา องค์กรทางกฎหมาย องค์กรทางการเมือง และองค์กรทางศีลธรรมต่างก็สนับสนุนความไม่เห็นด้วยของรัฐบาล เนื่องจากต่างก็เห็นว่าวอลลิสไม่สมควรจะขึ้นสู่ตำแหน่งพระมเหสี เพราะนางไม่ประสบความสำเร็จในการครองคู่เลย นอกจากนี้ การซุบซิบท่ามกลางกลุ่มผู้ทรงอำนาจก็ยังทำให้เกิดความเชื่อแพร่หลายกันต่อไปอีกว่า วอลลิสนั้นจะสมรสกับพระมหากษัตริย์เพราะประสงค์จะเข้าสู่พระราชวงศ์มียศถาบรรดาศักดิ์ มากกว่าเพราะมีความรักต่อพระองค์ อย่างไรก็ดี ถึงแม้จะมีการต่อต้านคัดค้านอย่างท่วมท้น พระเจ้าเอดเวิร์ดก็ทรงประกาศว่าทรงรักวอลลิส และไม่ว่ารัฐบาลจะเห็นชอบด้วยหรือไม่ก็จะทรงเสกสมรสกับนาง การไม่ยอมรับวอลลิสอย่างกว้างขวางในสังคม ประกอบกับการที่พระเจ้าเอดเวิร์ดไม่อาจทรงเพิกพระราชหฤทัยไปจากคนรักได้ ยังให้เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2479 พระเจ้าเอดเวิร์ดจึงทรงตัดสินพระทัยสละพระราชบัลลังก์ให้แก่เจ้าฟ้าชายอัลเบิร์ต พระอนุชา เสวยราชย์ต่อเป็นพระเจ้าจอร์จที่ 6 และทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น "สมเด็จเจ้าฟ้าชายเอดเวิร์ด ดยุคแห่งวินด์เซอร์" เมื่อทรงสละพระราชบัลลังก์แล้วก็ทรงเสกสมรสกับวอลลิสในปีถัดมา และทั้งสองครองรักกันตราบจนจนสิ้นพระชนม์และถึงแก่กรรมเป็นเวลาสามสิบห้าปี.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและวิกฤตการณ์สละราชสมบัติของพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8 · ดูเพิ่มเติม »

วงศ์นกปักษาสวรรค์

นกปักษาสวรรค์ หรือ นกการเวก หรือ นกวายุภักษ์ (Bird-of-paradise) เป็นวงศ์ของนกเกาะคอนวงศ์หนึ่ง ใช้ชื่อวงศ์ว่า Paradisaeidae เป็นนกที่มีสีสันสวยงามมาก โดยเฉพาะในตัวผู้จะมีขนตามตัวสีสันฉูดฉาดสวยงาม ขนหางเหยียดยาวเป็นเส้นโค้งอ่อนช้อย หรือม้วนเป็นรูปร่างแตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิด จุดมุ่งหมายเพื่อดึงดูดตัวเมียที่มีความงามด้อยกว่า หรือบางกรณีก็เกิดพึงพอใจในตัวเมียต่างชนิดให้เข้ามาผสมพันธุ์ด้วย ขณะที่ตัวผู้บางชนิดจะเต้นไปบนพื้นดินเพื่อเกี้ยวพาราสีตัวเมีย นกปักษาสวรรค์กินลูกไม้ หรือแมลงบริเวณแหล่งอาศัยเป็นอาหาร นกปักษาสวรรค์ไม่ได้เป็นนกที่อยู่รวมกันเป็นฝูง หากแต่มักจะอยู่ตามลำพังตัวเดียว แต่ตัวผู้ทุกชนิดจะสนใจแต่เรื่องหาคู่ โดยจะเกี้ยวพาราสีตัวเมียเสมอ ๆ ตัวผู้จะมีพฤติกรรมผสมพันธุ์กับตัวเมียตัวเดิมตลอดช่วงของการเกี้ยวพาราสี หรือจะผสมพันธุ์ฺกับตัวเมียหลายตัว หรืออาจจะเป็นตัวเมียตัวเดิมซ้ำแล้วซ้ำอีกในช่วงเวลาหลายวันหรือหลายสัปดาห์ ขณะที่ตัวเมียจะไม่มีปัญหา เนื่องจากตัวเมียจะเป็นฝ่ายที่เลือกตัวผู้จากลีลาการเต้นเกี้ยวพาราสี โดยจะใช้เวลาหลายชั่วโมงในแต่ละวันเพื่อมองเฟ้นหาตัวผู้ที่เหมาะสม ซึ่งถือเป็นการคัดเลือกทางเพศที่มีมาตั้งแต่อดีต อีกทั้งยังมีการผสมข้ามสายพันธุ์จนได้เป็นนกพันทางอีกด้วย นกปักษาสวรรค์ กระจายพันธุ์อยู่ในป่าดิบชื้นของนิวกินี, หมู่เกาะโมลุกกะในอินโดนีเซีย และบางส่วนของออสเตรเลีย แบ่งออกได้เป็น 14 สกุล ประมาณ 40 ชนิด โดยกว่าครึ่งอยู่ในนิวกินี (บางข้อมูลจัดให้มี 15 สกุล) การศึกษาของนักวิทยาศาสตร์พบว่านกปักษาสวรรค์มีวิวัฒนาการเป็นของตัวเองมานานกว่า 24 ล้านปี จนมีความหลากหลายและความงามอย่างในปัจจุบัน วิวัฒนาการดังกล่าวเป็นการเดินทางทางชีววิทยาอันยาวนานกว่าจะแยกออกจากนกในวงศ์ใกล้เคียงกันที่สุด คือ อีกา (Corvidae) ซึ่งเป็นนกที่รู้จักเป็นอย่างดีว่าไม่สวย ในอดีต ขนของนกปักษาสวรรค์ถือเป็นเครื่องบรรณาการหรือสินค้ามีค่ามานานกว่า 2,000 ปี ขนนกใช้แทนเงินได้ การล่าจึงเกิดขึ้นอาจนับตั้งแต่การเริ่มมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ในถิ่นที่อยู่ของนกในวงศ์นี้ และได้กลายมาเป็นที่ต้องการของนักสะสมชาวยุโรป ภายหลังนกปักษาสวรรค์ตัวแรกเดินทางจากดินแดนหมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิกไปพร้อมกับกองเรือของเฟอร์ดินันท์ แมกเจลเลน และเทียบท่าสเปนเมื่อปี ค.ศ. 1522 มีซากนกปักษาสวรรค์ที่ได้รับมอบเป็นบรรณาการกลับไปด้วย เมื่อชาวพื้นเมืองจับนกได้มักตัดขาทิ้ง ขณะนั้นชาวยุโรปยังไม่มีใครเคยเห็นนกปักษาสวรรค์ที่มีชีวิต จึงเล่าลือกันว่านกชนิดนี้ไม่มีขา คงต้องบินลงมาจากสวรรค์ อันเป็นที่มาของชื่อเรียกสามัญ ในยุคที่ตลาดค้านกปักษาสวรรค์เฟื่องฟู เพราะความต้องการขนของนกปักษาสวรรค์มาประดับตกแต่งหมวกสตรีชาวยุโรป ตั้งแต่ช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ที่นิวกินีมียอดส่งออกนกชนิดนี้ถึงปีละ 80,000 ตัวต่อปี จนท้ายที่สุดมีกระแสอนุรักษ์ก็เกิดขึ้น มีการออกมาต่อต้านของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ รวมทั้งอีกหลายประเทศในยุโรปห้ามซื้อขาย ต่อมามีการออกกฎหมายห้ามล่า เมื่อจักรวรรดิอังกฤษเป็นเจ้าอาณานิคมของนิวกินีในปี ค.ศ. 1908 ปัจจุบันรัฐบาลนิวกินีเองก็ได้ออกกฎหมายห้ามล่า ห้ามนำนกออกจากเกาะยกเว้นเพื่อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ หรือเพื่อการเฉลิมฉลองในพิธีกรรมของชาวพื้นเมืองเท่านั้นและนกปักษาสวรรค์ยังได้ปรากฏบนมุมธงชาตินิวกินีและตราแผ่นดินของนิวกินีด้ว.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและวงศ์นกปักษาสวรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัยวิกตอเรีย

มัยวิกตอเรีย หรือ ยุควิกตอเรีย (Victorian era) ของสหราชอาณาจักรเป็นจุดสูงสุดของการปฏิวัติอุตสาหกรรมและเป็นยุคสูงสุดของจักรวรรดิอังกฤษซึ่งตรงกับสมัยการปกครองของสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสมัยวิกตอเรีย · ดูเพิ่มเติม »

สมาคมเฟเบียน

มาคมเฟเบียน (Fabian Society) เป็นองค์การสังคมนิยมบริติชโดยมีความมุ่งหมายเพื่อผลักดันหลังสังคมนิยมผ่านวิธีค่อยเป็นค่อยไปและปฏิรูป สมาคมนี้วางรากฐานจำนวนมากของพรรคแรงงานและต่อมามีผลต่อนโยบายของรัฐตั้งแต่การให้เอกราชของจักรวรรดิบริติช ที่เด่นที่สุดคือ อินเดียและสิงคโปร์ ทีแรกสมาคมเฟเบียนมุ่งมั่นสถาปนาเศรษฐกิจสังคมนิยม ร่วมกับมุ่งมั่นต่อจักรวรรดินิยมบริติชโดยเป็นกำลังก้าวหน้าและทำให้ทันสมัยDiscovering Imperialism: Social Democracy to World War I, Nov 25, 2011.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสมาคมเฟเบียน · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถ

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร พระมหากษัตริย์ในระบอบราชาธิปไตยแบบรัฐสภา สมเด็จพระราชินีนาถ (Queen Regnant) คือ พระมหากษัตริย์หญิงผู้ครองราชสมบัติด้วยสิทธิ์ของพระองค์เอง ต่างจาก "สมเด็จพระราชินี" (Queen Consort) ซึ่งเป็นพระมเหสีในพระมหากษัตริย์ที่ครองราชสมบัติ และไม่ทรงมีอำนาจในการบริหารราชกิจของบ้านเมืองอย่างเป็นทางการใด ๆ โดยหลักการแล้ว พระมหากษัตริย์มีทั้ง "สมเด็จพระราชาธิบดี" (King Regnant) และ "พระมหากษัตริย์พระราชสวามี" (King Consort) แต่เกิดขึ้นได้ยาก และมีการใช้พระอิสริยยศเพียงสองครั้งในประวัติศาสตร์ราชวงศ์อังกฤษ ระบอบราชาธิปไตยในปัจจุบันที่ให้สมเด็จพระราชินีนาถทรงครองราชบัลลังก์ พระสวามีของพระองค์จะไม่ได้มีพระอิสริยยศเป็นพระราชา แต่เป็นเพียงแค่ชั้นเจ้าชายเท่านั้น พระราชสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระสวามีคนที่สองของสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสก็อตแลนด์ ได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชสวามีในอาณาจักรของพระองค์เอง แต่ไม่เป็นที่ชื่นชอบของพสกนิกรและการอภิเษกสมรสกินเวลาเพียงไม่นาน พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 แห่งอังกฤษและไอร์แลนด์ และพระราชินีนาถแห่งชาวสก็อต ทรงได้รับการแต่งตั้งให้ขึ้นเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี พระมหากษัตริย์ที่ปกครองร่วมกันเป็น พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 แห่งอังกฤษ ที่ 2 แห่งสก็อตแลนด์ และที่ 1 แห่งไอร์แลนด์ แต่ถือเป็นพระมหากษัตริย์ปกครองร่วมกันครั้งเดียว และเป็นทางการที่สุดในประวัติศาสตร์อังกฤษ แต่หลังจากนั้นมา พระสวามีของสมเด็จพระราชินีนาถในประเทศอังกฤษได้รับการสถาปนาเป็น "เจ้าชายพระราชสวามี" (Prince Consort) (มีเพียงคนเดียวที่ได้รับการแต่งตั้งพระอิสริยยศนี้อย่างเป็นทางการคือ เจ้าชายอัลเบิร์ต พระราชสวามีในสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย) การเสวยราชสมบัติของสมเด็จพระราชินีนาถจะเกิดขึ้นเมื่อลำดับการสืบราชบัลลังก์เอื้ออำนวย วิธีการสืบราชสมบัติ (เป็นพระมหากษัตริย์ หัวหน้าเผ่า ฯลฯ) และรวมถึงการแต่งตั้ง (พระมหากษัตริย์ในรัฐสภา หรือ คณะมนตรีแต่งตั้งรัชทายาท) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติก่อนที่สุด (primogeniture) การให้สิทธิพระโอรสธิดาตามลำดับการประสูติหลังที่สุด (ultimogeniture) ขอบเขตในการสืบราชสมบัติอาจยึดจากสายทางพระชนก สายทางพระชนนีหรือทั้งสองฝ่าย หรือที่ไม่ค่อยเกิดขึ้น (เมื่อถึงคราวจำเป็น) มาจากการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิในการสืบราชสมบัติโดยตามเพศ อาจจะให้ทั้งชายและหญิง จำกัดแต่เพศชายเท่านั้น หรือจำกัดแต่เพศหญิงเท่านั้น การสืบราชบัลลังก์ที่เป็นแบบแผนมากที่สุดตั้งแต่สมัยกลางตอนปลายตลอดจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เป็นแบบการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดา (male-preference primogeniture) กล่าวคือ ลำดับการสืบราชบัลลังก์อยู่ในบรรดาพระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ตามลำดับการประสูติก่อนแล้วจึงตามมาด้วยของพระราชธิดา ในบางอาณาจักรทางประวัติศาสตร์ห้ามมิให้มีการสืบราชสมบัติโดยผู้หญิงหรือผ่านทางเชื้อสายของผู้หญิง แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีบางแห่งที่ยังคงยึดถือหลักเกณฑ์นี้ตามกฎหมายแซลิก ดังตัวอย่างเช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์เป็นแกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก แต่เมื่อกษัตริย์ดัตช์พระองค์สุดท้ายเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2433 และสืบราชบัลลังก์ต่อมาโดยพระราชธิดา กฎหมายแซลิกจึงไม่ยอมให้ลักเซมเบิร์กยอมรับพระองค์ในฐานะเป็นแกรนด์ดัชเชสผู้ปกครองตามพระราชสิทธิของพระองค์เอง เช่นเดียวกับตอนที่ สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียเสด็จขึ้นครองราชบัลลังก์แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ พระองค์ไม่ได้เป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งแฮโนเวอร์ด้วย ถึงแม้ว่าสมเด็จพระปิตุลาธิราชของพระองค์ทรงเคยเป็นกษัตริย์ของทั้งสองประเทศมาก่อน ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ประเทศสวีเดน นอร์เวย์ เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ ได้แก้ไขพระราชบัญญัติการสืบราชบัลลังก์จากการให้สิทธิพระราชโอรสก่อนพระราชธิดามาเป็นมีสิทธิสืบราชสมบัติเท่ากันตามลำดับการประสูติโดยไม่จำกัดเรื่องเพศ ในบางกรณี การเปลี่ยนแปลงอาจยังไม่ส่งผลอะไรมากมายจนกว่ารุ่นต่อจากรุ่นปัจจุบันเกิดขึ้นมา เพื่อหลีกเลี่ยงการยึดตำแหน่งของบุคคลที่อยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์มาก่อน โดยเฉพาะในพระอิสริยยศพิเศษ.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสมเด็จพระราชินีนาถ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์

มเด็จพระราชินีรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์ หรือ รานาวาโล มันจากาที่ 3 (22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 — 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2460) ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถพระองค์สุดท้ายแห่งอาณาจักรเมรีนาหรือประเทศมาดากัสการ์ปัจจุบัน ตั้งแต..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสมเด็จพระราชินีนาถรานาวาโลนาที่ 3 แห่งมาดากัสการ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร

มเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 (Elizabeth II; พระราชสมภพ 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกในเครือจักรภพแห่งชาติ พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่งคริสตจักรแห่งอังกฤษ เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

ระเจ้าจอร์จที่ 6 (George VI of the United Kingdom; 14 ธันวาคม ค.ศ. 1895 — 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952) เป็นพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรในราชวงศ์วินด์เซอร์ และเครือจักรภพอังกฤษระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สหพันธรัฐฉาน

หพันธรัฐฉาน หรือ แคว้นสหรัฐไทยใหญ่ (Federated Shan States) เป็นชื่อของหน่วยทางการบริหารในจักรวรรดิอังกฤษ ครอบคลุมดินแดนของรัฐฉานและรัฐกะเรนนีในพม่าปัจจุบัน ในขณะที่อังกฤษเข้ามาปกครองพม่า การจัดตั้งสหพันธรัฐเป็นการเตรียมการเพื่อถ่ายโอนอำนาจของเจ้าฟ้ามาสู่รัฐบาลพม่า สถานะของเจ้าฟ้าภายในระบบนี้เทียบได้กับราชรัฐในอินเดียที่ได้ตั้งขึ้นเมื่อ..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสหพันธรัฐฉาน · ดูเพิ่มเติม »

สหภาพแอฟริกาใต้

Union of South Africa Red Ensign (1912–1928) Union of South Africa Blue Ensign (1912–1928) สหภาพแอฟริกาใต้ คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ ในยุคของการถือผิว.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสหภาพแอฟริกาใต้ · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักร

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ หรือโดยทั่วไปรู้จักกันว่า สหราชอาณาจักร และ บริเตน (Britain) เป็นรัฐเอกราชตั้งอยู่นอกชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปภาคพื้นทวีป ประเทศนี้ประกอบด้วยเกาะบริเตนใหญ่ ส่วนตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะไอร์แลนด์ และเกาะที่เล็กกว่าจำนวนมาก ไอร์แลนด์เหนือเป็นเพียงส่วนเดียวของสหราชอาณาจักรที่มีพรมแดนทางบกติดต่อกับรัฐอื่น คือ ประเทศไอร์แลนด์ นอกเหนือจากนี้แล้ว สหราชอาณาจักรล้อมรอบด้วยมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตกและเหนือ ทะเลเหนือทางทิศตะวันออก ช่องแคบอังกฤษทางทิศใต้ และทะเลไอร์แลนด์ทางทิศตะวันตก รูปแบบการปกครองเป็นแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีระบบรัฐสภา เมืองหลวง คือ กรุงลอนดอน ประกอบด้วยสี่ประเทศ คือ ประเทศอังกฤษ สกอตแลนด์ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ สามประเทศหลังนี้ได้รับการถ่ายโอนการบริหาร โดยมีอำนาจแตกต่างกัน ตั้งอยู่ในเมืองหลวงของประเทศนั้น ๆ คือ เอดินบะระ คาร์ดิฟฟ์ และเบลฟัสต์ตามลำดับ ส่วนเกิร์นซีย์ เจอร์ซีย์ และเกาะแมนเป็นบริติชคราวน์ดีเพนเดนซี และมิใช่ส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรมีดินแดนโพ้นทะเล 14 แห่ง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหลืออยู่ของจักรวรรดิอังกฤษ ซึ่งขณะที่รุ่งเรืองที่สุดในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 นั้น ครอบคลุมพื้นดินของโลกเกือบหนึ่งในสี่ และเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของอังกฤษยังสามารถพบเห็นได้จากความแพร่หลายของภาษา วัฒนธรรมและระบบกฎหมายในอดีตอาณานิคมหลายแห่ง สหราชอาณาจักรเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก ตามค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ณ ราคาตลาด และเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 8 ของโลก ตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ สหราชอาณาจักรเป็นประเทศอุตสาหกรรมประเทศแรกในโลก และเป็นมหาอำนาจอันดับหนึ่งของโลกระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สหราชอาณาจักรยังถูกกล่าวขานว่าเป็นมหาอำนาจและยังมีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม ทหาร วิทยาศาสตร์และการเมืองระหว่างประเทศค่อนข้างมากอยู่ สหราชอาณาจักรได้รับรองว่าเป็นรัฐอาวุธนิวเคลียร์และมีรายจ่ายทางทหารมากเป็นอันดับที่ 4 ของโลก สหราชอาณาจักรเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาตินับแต่สมัยประชุมแรกใน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ

ัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ คือสัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งส่วนจำนวนเต็มออกจากเศษของจำนวนในเลขฐานสิบ เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จุดทศนิยม นิยมใช้มหัพภาค (.) เป็นตัวแบ่ง สำหรับมหัพภาคที่ปรากฏในเลขฐานอื่นจะไม่เรียกว่าจุดทศนิยม แต่เรียกว่า จุดฐาน (radix point) สัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบยังหมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้แบ่งตัวเลขจำนวนขนาดใหญ่ออกเป็นกลุ่มที่เรียกว่า สัญลักษณ์แบ่งหลักพัน หรือ เครื่องหมายคั่นหลักพัน นิยมใช้จุลภาค เป็นตัวแบ่งที่ทุกๆ หลักพัน แต่ในบางประเทศอาจมีการสลับการใช้งานมหัพภาคกับจุลภาค หรือแบ่งตรงหลักอื่นที่ไม่ใช่หลักพัน.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสัญลักษณ์แบ่งเลขฐานสิบ · ดูเพิ่มเติม »

สิงโตซาโว

งโตซาโวตัวผู้ สิงโตซาโว (Tsavo lion) เป็นสิงโตที่เป็นความหลากหลายทางชีวภาพของสิงโตมาไซ (Panthera leo nubica) อย่างหนึ่ง มีการกระจายพันธุ์อยู่รอบ ๆ แม่น้ำซาโว บริเวณอุทยานแห่งชาติซาโวในเคนยา ซึ่งสิงโตชนิดนี้ในเพศผู้มีความแตกต่างไปสิงโตชนิดอื่น ๆ คือ มีส่วนร่วมในการล่าเหยื่อด้วย และไม่มีแผงคอ หรือมีแต่เพียงสั้น ๆ ซึ่งขนบริเวณคอนี้จะมีสีและความหนาแตกต่างกันออกไปตามแต่ละตัว ซึ่งสันนิษฐานว่าพฤติกรรมนี้เกิดจากความขาดแคลนอาหารในพื้นที่ ๆ อาศัย เนื่องจากภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่แห้งแล้ง และแผงคอเป็นอุปสรรคเพราะมีพืชที่มีหนามแหลมขึ้นอยู่ สิงโตชนิดนี้ขึ้นชื่อว่ามีความโหดร้าย เนื่องจากเคยมีประวัติจู่โจมใส่มนุษย์มาแล้ว ที่ขึ้นชื่อที่สุด คือ เรื่องราวของสิงโตคู่หนึ่งที่เข้าโจมตีใส่มนุษย์ ระหว่างที่มีการสร้างทางรถไฟและสะพานข้ามแม่น้ำซาโว จากเคนยาไปอูกันดา ระหว่างเดือนมีนาคม-ธันวาคม ค.ศ. 1898 โดยจักรวรรดิอังกฤษขณะที่ปกครองทวีปแอฟริกาในฐานะเจ้าอาณานิคม สิงโตที่ซาโว ได้คาบเอาคนงานก่อสร้างไปกินหลายต่อหลายครั้ง ทั้งกลางวันและกลางคืน ซึ่งผิดไปจากพฤติกรรมของสิงโตและสัตว์ป่าทั่วไป ทำให้เกิดความหวาดกลัวและวุ่นวายไปทั่วไซส์งานก่อสร้าง บ้างก็เชื่อว่ามันคือ สิงโตปีศาจ ซึ่งนายทหารผู้คุมการก่อสร้าง คือ พันตรี จอห์น เฮนรี แพตเตอร์สัน ต้องหยุดการก่อสร้างและตามล่าสิงโตคู่นี้อย่างจริงจัง ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเดือนธันวาคม ในที่สุดเขาก็สามารถสังหารสิงโตตัวแรกได้เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสิงโตซาโว · ดูเพิ่มเติม »

สงคราม ค.ศ. 1812

งคราม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงคราม ค.ศ. 1812 · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอังกฤษ-อิรัก

งครามอังกฤษ-อิรัก(2-31 พฤษภาคม ค.ศ. 1941) เป็นการทัพทางทหารของอังกฤษเข้าปะทะกับรัฐบาลกบฏของ Rashid Ali ในราชอาณาจักรอิรักในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง การทัพครั้งนี้ทำให้อิรักถูกยึดครองกลับคืนโดยจักรวรรดิอังกฤษ และการกลับคืนสู่อำนาจของจักรวรรดิอังกฤษที่ถูกขับไล่ได้เป็นมิตรกับผู้สำเร็จราชการแห่งอิรัก เจ้าชาย Abd al-Ilah.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงครามอังกฤษ-อิรัก · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สาม

งครามพม่า–อังกฤษครั้งที่สาม เป็นสงครามครั้งสุดท้ายระหว่างอังกฤษกับพม่าในสมัยราชวงศ์คองบองซึ่งสิ้นสุดลงโดยอังกฤษผนวกพม่าทั้งหมดเข้าเป็นส่วนหนึ่งของบริติชอินเดี.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สาม · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่หนึ่ง

งครามพม่า–อังกฤษครั้งที่หนึ่ง (First Anglo-Burmese War) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิอังกฤษกับราชวงศ์อลองพญาของพม่า เป็นระยะเวลา 2 ปี ในระหว่าง..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอังกฤษ–ซูลู

งครามอังกฤษ–ชูลู เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิบริติชและราชอาณาจักรซูลู ในปี 1879 หลังจากลอร์ดคายร์นาร์วอนริเริ่มสหพันธรัฐในแคนนาดาได้สำเร็จ จึงมีความคิดว่าความพยายามทางการเมืองคล้ายกันกอปรกับการทัพ อาจประสบความสำเร็จกับราชอาณาจักรแอฟริกา พื้นที่ชนเผ่าและสาธารณะโบเออร์ในแแอฟริกาใต้เช่นกัน ในปี 1876 เชอร์ เฮนรี บาร์เทิล เฟรียร์ ถูกส่งไปเป็นข้าหลวงใหญ่จักรวรรดิบริติชประจำแอฟริกาใต้เพื่อนำแผนดังกล่าวไปปฏิบัติ หนึ่งในอุปสรรคนั้นคือ การมีรัฐเอกราชสาธารณะแอฟริกาใต้ ราชอาณาจักรแห่งซูลูแลนด์ และกองทัพของสองรัฐ จากความคิดริเริ่มของเฟรียร์ โดยไม่ได้รับคำยินยอมจากรัฐบาลบริติช และด้วยเจตนาเริ่มสงครามกับซูลู ยื่นคำขาดในวันที่ 11 ธันวาคม 1878 ให้กับพระมหากษัตริย์ซูลู เซเตวาโย (Cetshwayo) ซึ่งพระองค์ไม่อาจปฏิบัติตามได้ ที่ข้อตกลงนั้นรวมการปลดประจำการกองทัพและเลิกประเพณีทางวัฒนธรรมสำคัญของตน บาร์เทิล เฟรียร์ ได้ส่งลอร์ดเชล์มฟอร์ดไปบุกครองซูลูแลนด์หลังไม่ยอมปฏิบัติตามคำขาด สงครามนี้ได้เป็นที่รู้จักจากยุทธการนองเลือดเป็นพิเศษหลายครั้ง รวมถึงชัยของซูลูที่ไอแซนด์ลวานา (Isandlwana) ในขั้นแรก ตามมาด้วยความปราชัยของกองทัพซูลูขนาดใหญ่ที่ยุทธการแห่งร็อคส์ดริฟท์ด้วยด้วยกำลังบริติชเพียงหยิบมือ สุดท้ายบริเตนชนะและยุติภาวะครอบงำของซูลูในภูม.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงครามอังกฤษ–ซูลู · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์

งครามอังกฤษ-แซนซิบาร์ (Anglo-Zanzibar War) เป็นการสู้รบระหว่างสหราชอาณาจักรและรัฐสุลต่านแซนซิบาร์ในวันที่ 27 สิงหาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงครามอังกฤษ–แซนซิบาร์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามอิตาลี-กรีซ

งครามอิตาลี-กรีซเกิดขึนเมื่ออิตาลีนำโดยมุสโสลินีอยากขยายดินแดนและอำนาจแบบเดียวกับฮิตเลอร์ โดยเริ่มจากเข้ายึดอัลบาเนีย หลังจากนั้นก็จะบุกยึดกรีซด้วยกำลังพลที่มีจำนวนมากกว่า ประมาณ 2 ต่อ 1 และยุทโธปกรณ์ที่ดีกว่า และก็ประกาศตนอยู่ตรงข้ามฝ่ายอักษะซึ่งในช่วงเวลานั้นมีเพียงอังกฤษกับกรีซเท่านั้นที่ยังสู้อยู่ กรีซสามารถต้านทานการรุกของอิตาลีด้านพรมแดนอัลบาเนีย-กรีซได้ในการรุกครั้งแรกของอิตาลีระหว่างวันที่ 28 ต..-13..1940 และกลับกลายเป็นว่ากรีซเป็นฝ่ายตีโต้ตอบระหว่างวันที่ 14..1940-มี..1941 ทำเอาอิตาลีต้องถอยเข้าไปจากพรมแดนอัลบาเนีย-กรีซ ถึง 60 ก.ม. กรีซยึดดินแดนเกือบ 1 ใน 3 ของอัลบาเนียไว้ได้ กองทัพอิตาลีจำนวน 27 กองพลไม่สามารถผลักดันกองทัพกรีซจำนวน 16 กองพลในอัลบาเนียซึ่งมียุทโธปกรณ์ที่ด้อยกว่าระหว่างการรุกครั้งที่ 2 ของอิตาลีช่วง มี..1941 ถึง 23 เม..1941 สร้างความอับอายให้กับมุสโสลินีเป็นอย่างมาก.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงครามอิตาลี-กรีซ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามนโปเลียน

งครามนโปเลียน (Napoleonic Wars, Guerres napoléoniennes) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียน และพันธมิตรต่าง ๆ ของยุโรป และฝ่ายพันมิตรต่อต้านที่เริ่มขึ้นราว..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงครามนโปเลียน · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโบเออร์ครั้งที่สอง

งครามโบเออร์ครั้งที่สอง (Second Boer War) หรือ สงครามแอฟริกาใต้ (South African War) เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงครามโบเออร์ครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

งครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World War I หรือ First World War) หรือที่มักเรียกว่า "สงครามโลก" หรือ "มหาสงคราม" (Great War) ก่อน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

สงครามไครเมีย

งครามไครเมีย (Crimean War, ตุลาคม ค.ศ. 1853 – กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1856)Kinglake (1863:354)Sweetman (2001:7) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิรัสเซียฝ่ายหนึ่ง กับพันธมิตรอันประกอบด้วยจักรวรรดิฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิออตโตมัน และราชอาณาจักรซาร์ดิเนียอีกฝ่ายหนึ่ง สงครามนี้เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันอันยาวนานระหว่างมหาอำนาจยุโรปเพื่อมีอิทธิพลเหนือดินแดนของออตโตมันที่เสื่อมอำนาจลง สงครามส่วนใหญ่เกิดขึ้นในคาบสมุทรไครเมีย แต่ยังมีการทัพขนาดเล็กในอนาโตเลียตะวันตก คอเคซัส ทะเลบอลติก มหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลขาว สงครามไครเมียเป็นที่รู้จักกันเนื่องด้วยข้อผิดพลาดทางพลาธิการและยุทธวิธีระหว่างการทัพทางบกของทั้งสองฝ่าย ส่วนกองทัพเรือนั้น การทัพฝ่ายสัมพันธมิตรประสบความสำเร็จในการทำลายเรือส่วนใหญ่ของกองทัพเรือรัสเซียในทะเลดำ แม้กระนั้น บางครั้งสงครามดังกล่าวถูกมองว่าเป็นหนึ่งในสงคราม "สมัยใหม่" ครั้งแรก ๆ เพราะมัน "ได้นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางเทคนิคซึ่งส่งผลกระทบต่อเส้นทางสงครามในอนาคต" ซึ่งรวมไปถึงการใช้ทางรถไฟและโทรเลขในทางยุทธวิธีเป็นครั้งแรกด้วยRoyle.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงครามไครเมีย · ดูเพิ่มเติม »

สงครามเจ็ดปี

ำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม) สงครามเจ็ดปี (Seven Years' War) หรือ สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3 (Third Silesian War) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสงครามเจ็ดปี · ดูเพิ่มเติม »

สตีเวน เจอร์ราร์ด

ตีเวน จอร์จ เจอร์ราร์ด เอ็มบีอี (Steven George Gerrard; เกิดวันที่ 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1980) เป็นอดีตนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวอังกฤษ ปัจจุบันเป็นผู้จัดการทีมเรนเจอส์ สโมสรฟุตบอลในสกอตติชพรีเมียร์ชิป เจอร์ราร์ดอยู่กับสโมสรลิเวอร์พูล 17 ฤดูกาล ประเดิมสนามนัดแรกให้กับลิเวอร์พูลในปี 1998 และได้โอกาสเล่นทีมชุดใหญ่ของลิเวอร์พูลอย่างเต็มตัวในปี 2000 ก่อนจะได้รับแต่งตั้งให้เป็นกัปตันทีมสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลแทน ซามี ฮูเปีย แต่งตั้งโดย เฌราร์ อูลีเย ผู้จัดการทีมชาวฝรั่งเศส ในปี 2003 เจอร์ราร์ดใส่เสื้อหมายเลข 8 เจอร์ราร์ดได้รับการอวยยศเป็นสมาชิกแห่งจักรวรรดิบริเตน โดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 2007.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสตีเวน เจอร์ราร์ด · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญานาวิกวอชิงตัน

นธิสัญญานาวิกวอชิงตัน (Washington Naval Treaty) หรือ สนธิสัญญาห้ามหาอำนาจ (Five-Power Treaty) เป็นสนธิสัญญาจำกัดอาวุธยุทธภัณฑ์ทางนาวีของประเทศที่ร่วมลงนาม 5 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา, จักรวรรดิบริติช, จักรวรรดิญี่ปุ่น, สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3, และราชอาณาจักรอิตาลี โดยเป็นผลพวงจากการประชุมนาวิกวอชิงตันที่วอชิงตัน ดี.ซี. ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสนธิสัญญานาวิกวอชิงตัน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญานานกิง

นธิสัญญานานกิง เป็นสนธิสัญญาที่ได้รับการลงนามเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสนธิสัญญานานกิง · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาแวร์ซาย

''The Signing of the Peace Treaty of Versailles'' สนธิสัญญาแวร์ซาย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำนาจกลางอื่น ๆ ได้มีการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วยสนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มีการลงนามสงบศึกตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสนธิสัญญาแวร์ซาย · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาโลซาน

นธิสัญญาโลซาน เป็นสนธิสัญญาสันติภาพซึ่งลงนามในโลซาน ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสนธิสัญญาโลซาน · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาไวตางี

นธิสัญญาไวตางี (Treaty of Waitangi; เมารี: Tiriti o Waitangi) เป็นสนธิสัญญาที่ลงนามครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 กุมภาพัน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสนธิสัญญาไวตางี · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเบอร์นี

นธิสัญญาเบอร์นี (Burney Treaty) คือ สนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการพาณิชย์ฉบับแรกที่กรุงรัตนโกสินทร์ (ต่อมาคือประเทศไทย) ทำกับประเทศตะวันตกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เฮนรี เบอร์นีได้เป็นทูตอังกฤษเดินทางเข้ามายังกรุงรัตนโกสินทร์ใน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสนธิสัญญาเบอร์นี · ดูเพิ่มเติม »

สนธิสัญญาเบาว์ริง

หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษและประเทศสยาม (Treaty of Friendship and Commerce between the British Empire and the Kingdom of Siam) หรือบนปกสมุดไทย ใช้ชื่อว่า หนังสือสัญญาเซอยอนโบวริง หรือที่มักเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาเบาว์ริง (Bowring Treaty) เป็นสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทำกับสหราชอาณาจักร ลงนามเมื่อ 18 เมษายน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและสนธิสัญญาเบาว์ริง · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด

หมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด (British Windward Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรในภูมิภาคแคริบเบียนระหว่าง ค.ศ. 1833 - ค.ศ. 1960 ประกอบด้วยเกาะเกรเนดา เซนต์ลูเซีย เซนต์วินเซนต์ เกรนาดีนส์ บาร์เบโดส (ต่อมาเป็นที่ตั้งที่ว่าการอาณานิคมในปี ค.ศ. 1885 เมื่อแยกการปกครองออกมาเป็นอาณานิคมเอกเทศ) โตเบโก (ภายหลังรวมเข้ากับตรินิแดดในปี ค.ศ. 1889) และดอมินีกา (โอนการปกครองมาจากหมู่เกาะบริติชลีเวิร์ดในปี ค.ศ. 1940) ชื่ออย่างเป็นทางการของอาณานิคมตั้งแต..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและหมู่เกาะบริติชวินด์เวิร์ด · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะโคโคส (คีลิง)

หมู่เกาะโคโคส (คีลิง) (Cocos (Keeling) Islands) เป็นดินแดนภายใต้การปกครองของออสเตรเลีย ประกอบไปด้วยอะทอลล์ 2 อะทอลล์ และ 27 เกาะปะการัง ดินแดนนี้ตั้งอยู่ในมหาสมุทรอินเดีย อยู่ระหว่างครึ่งทางจากประเทศออสเตรเลียกับประเทศศรีลังกา ที่ 12°07′S 96°54′E.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและหมู่เกาะโคโคส (คีลิง) · ดูเพิ่มเติม »

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส

หมู่เกาะเติกส์และเคคอส (Turks and Caicos Islands) เป็นอาณานิคมโพ้นทะเลของสหราชอาณาจักรประกอบไปด้วยหมู่เกาะย่อยในเขตร้อน 2 หมู่เกาะ ได้แก่ หมู่เกาะเคคอสและหมู่เกาะเติกส์ อาณานิคมนี้ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียน และมีชื่อเสียงในด้านสถานที่ท่องเที่ยวและเป็นแหล่งหลบเลี่ยงภาษีของบริษัทต่างชาติ หมู่เกาะนี้อยู่ห่างจากเมืองไมแอมี รัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกาไปทางตะวันออกเฉียงใต้ 970 กม.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและหมู่เกาะเติกส์และเคคอส · ดูเพิ่มเติม »

อภิมหาอำนาจ

แผนที่อภิมหาอำนาจในปีค.ศ. 1945 สหรัฐอเมริกา (น้ำเงิน), สหภาพโซเวียต (แดง), และ จักรวรรดิอังกฤษ (เขียวน้ำเงิน) รัสเซีย อภิมหาอำนาจ (superpower) คือ รัฐซึ่งเป็นผู้นำในระบบระหว่างประเทศและความสามารถในการใช้อำนาจชักจูงให้เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนและวางแผนใช้อำนาจในระดับทั่วโลกเพื่อปกป้องผลประโยชน์เหล่านี้ รัฐ "อภิมหาอำนาจ" ถูกพิจารณาว่ามีความเหนือกว่ารัฐ "มหาอำนาจ" อลิซ ไลแมน มิลเลอร์ ศาสตราจารย์แห่งกิจการความมั่นคงแห่งชาติ ณ บัณฑิตวิทยาลัยกองทัพเรือ ให้คำจำกัดความของอภิมหาอำนาจว่า "ประเทศซึ่งมีความสามารถจะรักษาอำนาจครอบงำและส่งอิทธิพลได้ในทุกพื้นที่ในโลก และในบางครั้ง ในมากกว่าหนึ่งภูมิภาคของโลกในเวลาใดเวลาหนึ่ง และอาจกล่าวได้ว่าบรรลุสถานะความเป็นเจ้าโลก คำดังกล่าวเริ่มถูกใช้เป็นครั้งแรกในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอภิมหาอำนาจ · ดูเพิ่มเติม »

อลิซาเบธ ราชินีบัลลังก์เลือด

อลิซาเบธ ราชินีบัลลังก์เลือด ชื่อภาษาไทยของภาพยนตร์เรื่อง Elizabeth นำแสดงโดยเคต แบลนเชตต์, โจเซฟ ไฟนส์, เจฟฟรีย์ รัช, คริสโตเฟอร์ แอคเคลสตัน ร่วมด้วย ริชาร์ด แอทเทนบอรอจ และเอริก ก็องโตนา (นักแสดงรับเชิญ) กำกับการแสดงโดย เชคการ์ คาปูร.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอลิซาเบธ ราชินีบัลลังก์เลือด · ดูเพิ่มเติม »

อลิซาเบธ: ราชินีบัลลังก์ทอง

อลิซาเบธ: ราชินีบัลลังก์ทอง (Elizabeth: The Golden Age) เป็นภาคต่อของ อลิซาเบธ ราชินีบัลลังก์เลือด (Elizabeth) นำแสดงโดย เคต แบลนเชตต์, ไคลฟ์ โอเวน, เจฟฟรีย์ รัช ร่วมด้วย ซาแมนธา มอร์ตัน กำกับการแสดงโดย เชคการ์ คาปูร.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอลิซาเบธ: ราชินีบัลลังก์ทอง · ดูเพิ่มเติม »

อัคระ

อัคระ (आगरा Āgrā, آگرہ, Agra) อดีตเมืองหลวงของอินเดียในสมัยที่ยังเรียกว่า "ฮินดูสถาน" (Hindustan) เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำยมนา (Yomuna) ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย ในรัฐอุตตรประเทศ ตั้งอยู่ห่างจากเมืองลัคเนา (Lucknow) ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐอุตตรประเทศไปทางทิศตะวันตกเป็นระยะทาง และ ทางทิศใต้ของกรุงนิวเดลี เมืองอัคระมีประชากรทั้งหมด 1,686,976 คน (ปีค.ศ. 2010) ถือเป็นหนึ่งในเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในรัฐอุตตรประเทศ และอันดับที่ 19 ในประเทศอินเดี.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอัคระ · ดูเพิ่มเติม »

อันดับของขนาด (พื้นที่)

หมวดหมู่:พื้นที่ หมวดหมู่:อันดับของขนาด (พื้นที่).

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอันดับของขนาด (พื้นที่) · ดูเพิ่มเติม »

อาหารสหราชอาณาจักร

ซันเดย์โรสต์ (Sunday roast) ประกอบด้วยเนื้อวัวอบ, มันฝรั่งอบ, ผัก และยอร์กเชอร์พุดดิง (Yorkshire pudding) ฟิชแอนด์ชิปส์ (Fish and chips) อาหารเป็นที่นิยมในสหราชอาณาจักร ชายามบ่ายและสกอนซึ่งมีต้นกำเนิดในจักรวรรดิอังกฤษ อาหารสหราชอาณาจักร หรือ อาหารบริติช (British cuisine) หมายถึงอาหารที่ประกอบขึ้นตามวัฒนธรรมของสหราชอาณาจักร อาหารสหราชอาณาจักรได้รับการอธิบายว่าเป็น "อาหารที่ไม่จุกจิก ทำจากส่วนผสมที่มีคุณภาพในท้องถิ่น จับคู่กับซอสง่าย ๆ เพื่อเน้นรสชาติมากกว่าจะปิดบังมัน" อย่างไรก็ตาม อาหารสหราชอาณาจักรยังได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมของผู้ที่อพยพเข้ามาในสหราชอาณาจักร จึงเกิดเป็นอาหารลูกผสมจำนวนมาก เช่น ชิกเกนทีกกามาซาลา (chicken tikka masala) ซึ่งได้รับอิทธิพลจากอินเดี.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอาหารสหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

อาหารอังกฤษ

ชาตอนบ่ายกับฟิงเกอร์ฟูด เนย แยม และเค้กชิ้นเล็ก อาหารอังกฤษ (English cuisine) หมายถึงอาหารที่ประกอบขึ้นตามวัฒนธรรมของชาวอังกฤษ มีลักษณะเฉพาะเป็นของตัวเอง แต่ก็มีลักษณะร่วมกับอาหารสหราชอาณาจักรอยู่มาก ส่วนใหญ่เป็นเพราะการนำเข้าวัตถุดิบและความคิดจากที่อื่น ๆ เช่น อเมริกาเหนือ จีน และอินเดียในสมัยจักรวรรดิอังกฤษ รวมทั้งเป็นผลมาจากการอพยพย้ายถิ่นเข้ามาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 หมวดหมู่:อาหารอังกฤษ.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอาหารอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมไนจีเรีย

อาณานิคม และ รัฐในอารักขาไนจีเรีย เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษในแอฟริกา ตะวันตก ตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 และ ศตวรรษที่ 20 เริ่มแรกนั้นได้ตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการค้าทาส ค.ศ. 1807 เพื่อควบคุมดูแลการค้าทาส ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการจัดระเบียบการปกครอง.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอาณานิคมไนจีเรีย · ดูเพิ่มเติม »

อาณานิคมเคนยา

อาณานิคม และ รัฐในอารักขาเคนยา เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษ ในแอฟริกาตั้งแต..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอาณานิคมเคนยา · ดูเพิ่มเติม »

อานัมสยามยุทธ

อานัมสยามยุทธ คือสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างไทยกับเวียดนามเพื่อแย่งชิงกัมพูชาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอานัมสยามยุทธ · ดูเพิ่มเติม »

อีดี อามิน

อีดี้ อามิน (พ.ศ. 2468 - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2546) เป็นเผด็จการทหาร และประธานาธิบดีของประเทศยูกันดาตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอีดี อามิน · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซันดรา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์ก

อเล็กซันดรา คริสตินา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์ก (Alexandra Christina, grevinde af Frederiksborg) หรือนามเดิมว่า อเล็กซันดรา คริสตินา มันลีย์ (Alexandra Christina Manley; 30 มิถุนายน พ.ศ. 2507) อดีตพระชายาในเจ้าชายโจอาคิมแห่งเดนมาร์ก พระราชโอรสพระองค์เล็กในสมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก ภายหลังจากการหย่าเธอได้รับอิสริยยศและบรรดาศักดิ์เป็น เจ้าหญิงแห่งเดนมาร์ก และ เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์ก ตามลำดับ และท้ายที่สุดทรงสละพระอิสริยยศเพื่อเสกสมรสใหม่กับมาร์ติน เยอร์เกนเซน ชายสามัญชนชาวเดนมาร์ก ที่มีอายุห่างกับเธอถึง 14 ปี.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอเล็กซันดรา เคาน์เตสแห่งเฟรเดอริกสบอร์ก · ดูเพิ่มเติม »

อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน

อเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน (Alexander Hamilton) เกิดในวันที่ 11 มกราคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและอเล็กซานเดอร์ แฮมิลตัน · ดูเพิ่มเติม »

ฮั่ว หยวนเจี่ย

ั่ว หยวนเจี่ย ฮั่ว หยวนเจี่ย (เยฺว่พิน: Fok Yuen Gap; ค.ศ. 1868–ค.ศ. 1910) คือนักสู้ชาวจีนและผู้ร่วมก่อตั้งสมาคมชิงอู่ โรงเรียนสอนศิลปะการป้องกันตัวในเซี่ยงไฮ้ เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นวีรบุรุษจากการต่อสู้กับชาวต่างชาติในช่วงที่ประเทศจีนถูกคุกคามโดยชาวต่างชาติ ทำให้เรื่องราวของเขายากต่อการแยกแยะจริงเท็.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและฮั่ว หยวนเจี่ย · ดูเพิ่มเติม »

ฮิเดะโยะ โนะงุชิ

นะงุชิ และมารดา ฮิเดะโยะ โนะงุชิ (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2419 – 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2471) นักวิทยาแบคทีเรียชาวญี่ปุ่น ผู้สามารถเพาะเชื้อก่อโรคซิฟิลิส ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขาแพทยศาสตร์จากมหาวิทยาลัยเกียวโต ในปี พ.ศ. 2454 และสาขาวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโตเกียว ในปี พ.ศ. 2457 และในปี พ.ศ. 2547 รัฐบาลญี่ปุ่นได้ออกธนบัตรแบบหนึ่งพันเยนชุดใหม่โดยมีรูปเหมือนของเขาอยู่ที่ด้านหน้าธนบัตร ฮิเดะโยะ โนะงุชิ บนธนบัตรหนึ่งพันเยนซึ่งออกใช้เมื่อปี พ.ศ. 2547.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและฮิเดะโยะ โนะงุชิ · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกงของบริเตน

องกงของบริเตน (British Hong Kong; 英屬香港) หรือเรียกอย่างง่ายว่า ฮ่องกง เป็นช่วงสมัยที่ฮ่องกงอยู่ภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและฮ่องกงของบริเตน · ดูเพิ่มเติม »

ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น

อาคารสำนักงานฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่นรุ่นก่อตั้งที่เมืองเซี่ยงไฮ้ ปี ค.ศ. 1886 สาธารณรัฐจีน ฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น จำกัด (The Hongkong and Shanghai Banking Corporation Limited) เป็นธนาคารที่มีชื่อเสียง ก่อตั้งขึ้นและมีฐานอยู่ในฮ่องกง นับแต..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น · ดูเพิ่มเติม »

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": โจเซฟ สตาลิน แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์และวินสตัน เชอร์ชิลล์ ในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

จอห์น เอเวอเรตต์ มิเล

อห์น เอเวอเรตต์ มิเล หรือ เซอร์จอห์น เอเวอเรตต์ มิเล บาโรเนตที่ 1, PRA (John Everett Millais หรือ Sir John Everett Millais, 1st Baronet, PRA) (8 มิถุนายน ค.ศ. 1829 - 13 สิงหาคม ค.ศ. 1896) เป็นจิตรกรและนักวาดภาพประกอบของกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอลชาวอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรม, ภาพวาดเส้น และภาพพิมพ์ มิเลเป็นหนึ่งในผู้ก่อตั้งกลุ่มนิยมแบบก่อนราฟาเอล.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและจอห์น เอเวอเรตต์ มิเล · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเสียนเฟิง

มเด็จพระจักรพรรดิเสียนเฟิงขณะทรงแก้ไขพระราชกิจ สมเด็จพระจักรพรรดิเสียนฟงขณะทรงพักผ่อนพระอิริยาบถ จักรพรรดิเสียนเฟิง พงศาวดารไทยเรียก สมเด็จพระเจ้าฮำหอง เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 9 (นับจากจักรพรรดินู่เอ๋อร์ฮาชื่อ) แห่งราชวงศ์ชิง เป็นราชโอรสองศ์ที่ 4 ของจักรพรรดิเต้ากวง มีนามเดิมว่า อ้ายซินเจว๋หลัว อี้จู่ หรือองค์ชาย อี้จู่ ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 2374 (ค.ศ. 1831) ขึ้นครองราชย์ได้ทั้ง ๆ ที่มิใช่รัชทายาทองค์เอกที่วางตัวไว้ แต่ว่าพระองค์สามารถเอาชนะใจพระราชบิดาได้ด้วยการออกล่าสัตว์ และพระองค์ไม่สังหารสัตว์ที่มีลูกอ่อน นอกจากนี้ยังมีคนกล่าวกันว่าพระราชวรกายของพระองค์อ่อนแอมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์แล้ว จึงมักประชวรบ่อย ๆ ขึ้นครองราชย์ในปี พ.ศ. 2393 (ค.ศ. 1850) ทันทีที่จักรพรรดิเต้ากวงสวรรคต ด้วยพระชนมายุ 19 พรรษา ซึ่งในระหว่างที่พระองค์ขึ้นครองราชย์ใหม่ ๆ พระราชประเพณีจีนห้ามจักรพรรดิองค์ใหม่มีมเหสีหรือพระสนม และต้องไว้ทุกข์เป็นเวลานานถึง 27 เดือน แต่ก่อนที่จักรพรรดิเต้ากวงจะสวรรคตมีพระมเหสีองค์แรกแล้ว คือ พระชายาสะโกตา ซึ่งสิ้นพระชนม์ก่อนที่จักรพรรดิเต้ากวงจะสวรรคต เมื่อจักรพรรดิเสียนเฟิงครองราชย์แล้วทรงสถาปนานางสะโกตะเป็น สมเด็จพระจักรพรรดินีเสี่ยวเต๋อเซียน เมื่อผ่านช่วงไว้ทุกข์ไปแล้ว จึงมีการเลือกพระสนม โดยองค์ประธาน คือ พระนางคังฉินไท่เฟย(康慈皇贵太妃) พระมเหสีองค์หนึ่งของสมเด็จพระจักรพรรดิเต้ากวง ที่ทรงดูพระราชวังหลัง ซึ่งพระอัครมเหสีองค์แรกของสมเด็จพระจักรพรรดิเสียงเฟิง คือ พระอัครมเหสีหนิวฮู่ลู่ หรือ ซูอันไทเฮา ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก พระนางคังฉินไท่เฟย ในสมัยพระองค์เกิดสงครามฝิ่นครั้งที่ 2 ซึ่งส่งผลให้เกาะฮ่องกงตกเป็นของจักรวรรดิอังกฤษโดยสมบูรณ์ และมาเก๊าตกเป็นของโปรตุเกส และกบฏไท่ผิง โดย หง ซิ่วฉวน ซึ่งล้วนแต่ส่งผลต่อความมั่นคงของประเทศและราชวงศ์ จักรพรรดิเสียนเฟิง มีพระมเหสีองค์รองอีกหนึ่งพระองค์ ที่ต่อมามีบทบาทอย่างมากในประวัติศาสตร์ภายหลัง คือ พระมเหสีเย่เฮ่อนาลา หรือ ซูสีไทเฮา พระองค์สวรรคตในปี พ.ศ. 2440 (ค.ศ. 1861) ด้วยพระชนมายุเพียง 30 พรรษา ด้วยพระโรคที่รุมเร้าจากทรงกลัดกลุ้มในปัญหาของบ้านเมือง และจักรพรรดิองค์ใหม่ คือ องค์ชายไจ้ฉุน หรือพระนามตอนขึ้นครองราชย์ คือ จักรพรรดิถงจื้อ.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและจักรพรรดิเสียนเฟิง · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิ

ักรวรรดิ (อ่านว่า จัก-กฺระ-หฺวัด, อังกฤษ: empire) ถูกนิยามว่าหมายถึง "กลุ่มชาติรัฐหรือชาติพันธุ์ที่อยู่ภายใต้การปกครองของจักรพรรดิหรืออธิปไตยของรัฐอื่นๆที่ทรงอิทธิพล โดยทั่วไปมีอาณาเขตกว้างใหญ่กว่าราชอาณาจักร" นักวิชาการได้ถกเถียงกันมานานเกี่ยวกับคำว่า “Empire” ในภาษาอังกฤษหรือ “จักรวรรดิ” ในภาษาไทย (จากคำภาษาละติน “imperium” ที่หมายถึงสายการบังคับบัญชาทางการทหารของรัฐบาลโรมันโบราณ) โดยทั่วไปมักนิยามให้เป็นรัฐที่มีอาณาจักรอื่นที่มีประชากรและวัฒนธรรมที่แตกต่างชัดเจนอยู่ภายใต้อิทธิพลอำนาจการปกครองหรืออยู่ในเครือจักรภพ เช่นประเทศในเครือจักรภพอังกฤษในปัจจุบัน นิยามอีกรูปแบบหนึ่งอาจเน้นปัจจัยทางเศรษฐกิจหรือการเมือง แต่โดยทั่วไปมักหมายถึงการครอบงำทางอำนาจการทหาร เช่นเดียวกับรัฐทั่วไป จักรวรรดิจะมีโครงสร้างทางการเมืองของตนเอง หรืออย่างน้อยก็โดยวิธีกดขี่บังคับให้อยู่ใต้อำนาจ จักรวรรดิบนแผ่นดินใหญ่ (เช่นจักรวรรดิมองโกล หรือจักรวรรดิอาคีเมนิดเปอร์เชีย – Achaemenid Persia) มักจะขยายไปตามอาณาเขตที่ประชิดต่อเนื่องกัน ส่วนจักรวรรดิทางทะเล (เช่น จักรวรรดิเอเธนีเนียน จักรวรรดิโปรตุเกสและจักรวรรดิอังกฤษ) อาจมีอาณาเขตกระจัดกระจายหลวมๆ แต่อยู่ในอำนาจการควบคุมทางกองทัพเรือเป็นต้น จักรวรรดิที่มีมาก่อนจักรวรรดิโรมันหลายร้อยปี ได้แก่จักรวรรดิอียิปต์ซึ่งได้ก่อตั้งจักรวรรดิเมื่อประมาณ 1000 ปีก่อน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและจักรวรรดิ · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี

ักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี รู้จักกันในนาม ออสเตรีย-ฮังการี (Austria-Hungary) เป็นจักรวรรดิที่มีระบอบการปกครองแบบควบคู่ (Dual Monarchy) เจริญรุ่งเรืองตั้งแต่ปีพ.ศ. 2410 จนถึง พ.ศ. 2461 หลังจากนั้น จักรวรรดินี้ถูกล้มล้างหลังจากสงครามโลกครั้งที่ 1 จักรวรรดินี้ได้สืบทอดมาจากจักรวรรดิออสเตรีย (ค.ศ. 1804-ค.ศ. 1867) โดยมีอาณาเขตพื้นที่เดียวกัน โดยมีต้นกำเนิดจากการเจรจาต่อรองระหว่างออสเตรียและฮังการี เมื่อปีพ.ศ. 2410 ซึ่งทั้งสองประเทศนี้ถูกปกครองโดยราชวงศ์ฮับส์บูร์กมาช้านาน โดยเจรจาให้มีการรวมอาณาจักรเป็นหนึ่งเดียว โดยจักรวรรดินี้เป็นอาณาจักรที่มีหลากหลายเชื้อชาติและมีความเจริญรุ่งเรืองขีดสุด ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ราชวงศ์ฮับส์บูร์กนั้นได้ปกครองประเทศในฐานะจักรพรรดิแห่งออสเตรีย (Emperor of Austria) และราชอาณาจักรฮังการีในฐานะกษัตริย์แห่งฮังการี (Apostolic King of Hungary) ผู้ทรงเปรียบเสมือนเบื้องขวาแห่งองค์พระผู้เป็นเจ้า นอกจากนั้นยังได้ปกครองทั่วทั้งทางตะวันตกและทางเหนือ รวมทั้งครึ่งหนึ่งของทวีปยุโรปเลยทีเดียว โดยทุกประเทศที่อยู่ภายใต้จักรวรรดินี้ มีรัฐบาลเป็นของตนเอง มิได้มีรัฐบาลและศูนย์กลางทางการเมืองหรือรัฐบาลที่ประเทศเดียว เมืองหลวงของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้น มีอยู่ 2 เมืองด้วยกันคือ กรุงเวียนนา ที่ประเทศออสเตรีย และกรุงบูดาเปสต์ที่ประเทศฮังการี จักรวรรดินี้มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับสองรองจากจักรวรรดิรัสเซีย และเป็นอาณาจักรที่มีประชากรหนาแน่นเป็นอันดับ 3 รองจากจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งปัจจุบันนี้ พื้นที่ที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดินั้นมีประชากรรวมทั้งหมดถึง 73 ล้านคน.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิอิตาลี

ักรวรรดิอิตาลี (Italian Empire) ก่อตั้งขึ้นโดยราชอาณาจักรอิตาลี (อิตาลีสมัยใหม่ที่เกิดขึ้นจากการรวมชาติอิตาลี (Italian unification) ที่เพิ่งเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1861) โดยอิตาลีได้ร่วมมือกับมหาอำนาจอื่นๆ ในยุโรปใน “การล่าอาณานิคมในแอฟริกา” ในช่วงนี้จักรวรรดิโปรตุเกส, สเปน, เนเธอร์แลนด์, อังกฤษ และ ฝรั่งเศส ต่างก็เป็นเจ้าของอาณานิคมกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้ว ดินแดนสุดท้ายที่ยังคงเหลือสำหรับยึดเป็นอาณานิคมคือทวีปแอฟริกาเท่านั้น เมื่อสงครามโลกครั้งที่หนึ่งเริ่มขึ้นในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและจักรวรรดิอิตาลี · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโปรตุเกส

ักรวรรดิโปรตุเกส (Portuguese Empire, Império Português) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิอาณานิคมของโลกจักรวรรดิแรกที่มีดินแดนในหลายทวีปที่รวมทั้งอเมริกาใต้, แอฟริกา, อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภายใต้การปกครอง และเป็นจักรวรรดิอาณานิคมที่รุ่งเรืองอยู่นานที่สุดในยุโรปที่รุ่งเรืองอยู่เป็นเวลาเกือบห้าร้อยปีตั้งแต่การพบบราซิลในปี ค.ศ. 1500 จนกระทั่งถึงการคืนมาเก๊าในปี ค.ศ. 1999 ซึ่งเป็นระยะเวลายาวนานกว่าจักรวรรดิสเปน และ จักรวรรดิฝรั่งเศส ความต้องการที่จะขยายดินแดนไปทั่วโลกของโปรตุเกสเริ่มขึ้นอย่างจริงจังเมื่อนักสำรวจเริ่มดินทางไปสำรวจทางฝั่งทะเลของแอฟริกาในปี ค.ศ. 1419 หลังจากที่ได้รับชัยชนะต่อเมืองเซวตา (Ceuta) ทางตอนเหนือของแอฟริกาในปี ค.ศ. 1415 โปรตุเกสใช้ความก้าวหน้าล่าสุดทางการเดินเรือ, การเขียนแผนที่ และเทคโนโลยีทางทะเลเช่นการใช้เรือคาราเวล (Caravel) ในการแสวงหาเส้นทางการค้าขายเครื่องเทศซึ่งเป็นสินค้าที่มีค่าที่สุดในยุคนั้น ในปี ค.ศ. 1488 บาร์ตูลูเมว ดีอัช (Bartolomeu Dias) เดินทางรอบแหลมกูดโฮปสำเร็จ และในปี ค.ศ. 1498 วาสโก ดา กามาก็เดินทางรอบอินเดีย ขณะที่การสำรวจเหล่านี้เป็นการแสดงถึงอำนาจของโปรตุเกสในต่างประเทศแต่จุดประสงค์ที่แท้จริงของการสำรวจก็เพื่อเป็นการขยายเส้นทางการค้าที่เน้นการแสวงหาเส้นทางใหม่ไปยังตะวันออกไกล โดยไม่ต้องเดินทางผ่านทะเลเมดิเตอร์เรเนียนที่ขณะนั้นอยู่ภายใต้อิทธิพลของอำนาจของฝ่ายปฏิปักษ์โดยเฉพาะจักรวรรดิออตโตมัน ความเปลี่ยนแปลงในปี ค.ศ. 1500 เกิดขึ้นเมื่อมีผู้พบฝั่งทะเลอเมริกาใต้โดยบังเอิญ และเมื่อเปดรู อัลวาเรซ กาบรัลเป็นผู้เดินทางสำรวจไปพบและยึดบราซิลเป็นอาณานิคม นโยบายที่เคยเป็นการสำรวจเพื่อการค้าจึงเริ่มเปลี่ยนไปเป็นการสำรวจเพื่อแสวงหาอาณานิคม ในช่วงเวลาหลายสิบปีต่อมานักเดินเรือชาวโปรตุเกสก็ดำเนินการสำรวจฝั่งทะเลและเกาะต่างๆ ในเอเชียตะวันออกต่อไป ก่อตั้งป้อม และ สถานีการค้า (trading post) ขึ้นตามสถานที่ต่างๆ ที่พบ ภายในปี ค.ศ. 1571 โปรตุเกสก็มีสถานีการค้าระไปตั้งแต่ลิสบอนเองไปจนถึงนะงะซะกิในญี่ปุ่น การขยายดินแดนทำให้โปรตุเกสกลายเป็นจักรวรรดิโลกที่มีความมั่งคั่งอันมหาศาล ระหว่างปี ค.ศ. 1580 ถึงปี ค.ศ. 1640 โปรตุเกสก็กลายเป็นพันธมิตรรองของสเปนของสองราชบัลลังก์ในการรวมตัวกันเป็นสหภาพไอบีเรีย (Iberian Union) แม้ว่าสองราชอาณาจักรนี้จะมีการบริหารแยกกันแต่อาณานิคมของโปรตุเกสก็กลายเป็นเป้าในการโจมตีโดยศัตรูของสเปนในยุโรปผู้มีความไม่พึงพอใจต่อความสำเร็จในอำนาจทางทะเลในต่างประเทศของจักรวรรดิในคาบสมุทรไอบีเรียที่รวมทั้งจักรวรรดิดัตช์ (ผู้ในที่สุดก็เข้าสงครามสงครามอิสรภาพต่อต้านสเปน), จักรวรรดิอังกฤษ และ จักรวรรดิฝรั่งเศส แต่โปรตุเกสเป็นประเทศเล็กและมีประชากรเพียงจำนวนไม่มากนักซึ่งทำให้ไม่สามารถป้องกันอาณานิคมในการปกครองของตนเองในดินแดนต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ ซึ่งในที่สุดก็เป็นผลทำให้อำนาจของโปรตุเกสเริ่มลดถอยลง นอกจากนั้นการสูญเสียบราซิลซึ่งเป็นอาณานิคมที่ใหญ่ที่สุดและสร้างผลกำไรให้มากที่สุดแก่โปรตุเกสในปี ค.ศ. 1822 ในช่วงการปลดปล่อยอาณานิคมในอเมริกา (Decolonization of the Americas) เป็นความสูญเสียอันใหญ่หลวงที่ทำให้โปรตุเกสไม่อาจฟื้นตัวขึ้นได้หลังจากนั้น การล่าอาณานิคมในแอฟริกาที่เริ่มขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ทำให้โปรตุเกสพอจะได้ดินแดนมาบ้าง ดินแดนส่วนใหญ่ในแอฟริกาที่ได้มาตกอยู่ภายใต้การบริหารและอิทธิพลของโปรตุเกสเป็นเวลาหลายร้อยปี เมืองเช่นลูอันดา (Luanda) และ เบงเกลา (Benguela) และที่ตั้งถิ่นฐานต่างๆ หลายแห่งได้รับการก่อตั้งขึ้นและปกครองโดยโปรตุเกสมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง อันโตนิโอ เดอ โอลิเวรา ซาลาซาร์ (António de Oliveira Salazar) ผู้นำของโปรตุเกสก็ยังพยายามรักษาจักรวรรดิโปรตุเกสไว้โดยไม่ยอมเปลี่ยนแปลงในขณะที่ประเทศต่างๆ ในยุโรปเริ่มถอนตัวจากอาณานิคมต่างๆ ในปี ค.ศ. 1961 กองกำลังจำนวนเพียงเล็กน้อยของโปรตุเกสที่ประจำอยู่ที่รัฐกัวก็ไม่สามารถต้านทานกองทหารอินเดียที่รุกเข้ามาในอาณานิคมได้ ซาลาซาร์จึงเริ่มสงครามอาณานิคมโปรตุเกสอันเป็นสงครามนองเลือดอันยาวนานเพื่อที่จะปราบปรามนักต่อต้านอาณานิคมในอาณานิคมแอฟริกา สงครามอันไม่เป็นที่นิยมมาสิ้นสุดลงเมื่อคณะรัฐบาลของซาลาซาร์ถูกโค่นอำนาจในปี ค.ศ. 1974 ที่เรียกกันว่าการปฏิวัติคาร์เนชัน (Carnation Revolution) หลังจากนั้นรัฐบาลโปรตุเกสก็เปลี่ยนนโยบายทันทีและอนุมัติอิสรภาพของประเทศต่างๆ ในอาณานิคมโปรตุเกสทั้งหมดยกเว้นมาเก๊าที่มาคืนให้แก่ประเทศจีนในปี ค.ศ. 1999 ซึ่งเท่ากับเป็นการสิ้นสุดของจักรวรรดิโปรตุเก.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและจักรวรรดิโปรตุเกส · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิไม่เป็นทางการ

ักรวรรดิไม่เป็นทางการ อธิบายถึงเขตอิทธิพลซึ่งจักรวรรดิแห่งหนึ่ง ๆ อาจพัฒนาจนกระทั่งกลายมาเป็นระดับของิทธิพลหนือภูมิภาคหรือประเทศ ซึ่งไม่ใช่อาณานิคมของจักรวรรดิแห่งนั้นอย่างเป็นทางการ เนื่องจากผลของการขยายตัวทางการค้า ทางยุทธศาสตร์หรือผลประโยชน์ทางการทหารของจักรวรร.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและจักรวรรดิไม่เป็นทางการ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติกาตาร์

งชาติกาตาร์ (علم قطر) ประกาศใช้เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม ค.ศ. 1971 เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในแบ่งออกเป็นสองส่วนด้วยเส้นฟันปลา 9 ซี่ ตามแนวตั้ง ด้านคันธงเป็นพื้นสีขาว ส่วนด้านปลายธงเป็นสีแดงม่วง โดยสีขาวแทนสันติภาพ สีแดงม่วงแทนเกียรติยศของประเทศชาติ และเส้นฟันปลา 9 ซี่หมายถึงกาตาร์ที่เป็นเอมิเรตลำดับที่ 9 กาตาร์มีธงชาติใช้ก่อนหน้าจะได้รับเอกราชจากอังกฤษ โดยกลางศตวรรษที่ 19 มีการเพิ่มแถบสีขาวแนวตั้งลงบนด้านคันธงของธงสีแดงล้วน เส้นฟันปลา 9 ซี่ถูกเพิ่มเติมในภายหลัง และสีแดงถูกเปลี่ยนเป็นสีแดงม่วงในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและธงชาติกาตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

งชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (ภาษาอาหรับ: علم الإمارات العربية المتحدة) เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเมื่อ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2514 ลักษณะเป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีพันธมิตรอาหรับสี่สี ได้แก่ สีแดง สีเขียว สีขาว และ สีดำ โดยจัดให้มีแถบแนวตั้งสีแดงที่ด้านติดคันธง ความกว้างเป็น 1 ใน 5 ส่วนของด้านยาวธงทั้งหมด ส่วนที่เหลือแบ่งเป็นแถบสามสีตามแนวนอน อันได้แก่ สีเขียว สีขาว และสีดำ เรียงตามลำดับจากบนลงล่าง ความกว้างแต่ละแถบเท่ากัน สัญลักษณ์ในธงชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์มีความหมายดังนี้.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและธงชาติสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ · ดูเพิ่มเติม »

ธงชาติสิงคโปร์

งชาติสิงคโปร์ เป็นธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน ประกอบด้วยแถบสองสีแบ่งครึ่งกลางธง แถบสีแดงอยู่ด้านบน แถบสีขาวอยู่ด้านล่าง ที่มุมธงบนด้านคันธงมีรูปพระจันทร์เสี้ยว ถัดจากรูปดังกล่าวมีรูปดาวห้าแฉก 5 ดวง เรียงเป็นรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า รูปเหล่านี้เป็นสีขาว ธงนี้เริ่มใช้เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2502 ซึ่งเป็นปีที่สิงค์โปร์ได้สิทธิปกครองตนเองจากจักรวรรดิอังกฤษ และถือเป็นธงชาติของรัฐเอกราชเมื่อสิงคโปร์ประกาศเอกราชในวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1695) ความหมายสำคัญขององค์ประกอบต่างๆ ในธง อันได้แก่ สีแดง หมายถึงภราดรภาพและความเสมอภาคของมนุษย์โดยทั่วหน้า สีขาว หมายถึงความบริสุทธิ์และความดีงามที่แพร่หลายและคงอยู่ตลอดกาล รูปพระจันทร์เสี้ยว ซึ่งเป็นจันทร์เสี้ยวข้างขึ้น หมายถึงความเป็นชาติใหม่ที่ถือกำเนิดขึ้น ดาว 5 ดวง หมายถึงอุดมคติ 5 ประการของชาติ ได้แก่ ประชาธิปไตย สันติภาพ ความก้าวหน้า ความยุติธรรม และความเสมอ.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและธงชาติสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทัณฑนิคม

ทัณฑนิคม (penal colony) หมายถึงถิ่นฐานซึ่งใช้สำหรับเนรเทศนักโทษและแยกพวกเขาจากประชากรส่วนใหญ่โดยการส่งตัวนักโทษเหล่านี้ไปยังสถานที่ที่อยู่ห่างไกล ซึ่งส่วนใหญ่มักเป็นเกาะหรือดินแดนอาณานิคมที่อยู่ไกลออกไป คำดังกล่าวมักหมายถึงประชาคมนักโทษซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของนักโทษหรือผู้ว่าการซึ่งมีอำนาจเด็ดขาด ในทางประวัติศาสตร์ ทัณฑนิคมมักจะเป็นสถานที่ซึ่งมีการใช้แรงงานนักโทษในดินแดนของรัฐ (หรือส่วนใหญ่คืออาณานิคม) ซึ่งเศรษฐกิจอย่างไม่พัฒนา และมีขนาดใหญ่กว่า "ฟาร์มในคุก" อย่างมาก ในทางปฏิบัติแล้ว ทัณฑนิคมมีความเหนือกว่าประชาคมทาสเพียงเล็กน้อยเท่านั้น จักรวรรดิอังกฤษ จักรวรรดิฝรั่งเศส และจักรวรรดิอาณานิคมอื่น ๆ มักจะใช้ทวีปอเมริกาเหนือ และส่วนอื่น ๆ ของโลกเป็นทัณฑนิยมสำหรับโทษที่แตกต่างกัน ซึ่งบางครั้งอยู่ในฐานะความจำยอม การผูกมัดหรือการจัดการที่คล้ายคลึงกัน.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและทัณฑนิคม · ดูเพิ่มเติม »

ทางรถไฟสายกาลกา–ศิมลา

ทางรถไฟสายกาลกา–ศิมลา (Kalka–Shimla Railway) เป็นรถไฟรางแคบขนาด 2 ฟุต 6 นิ้ว (762 เซนติเมตร) เดินรถจากสถานีรถไฟกาลกาในเมืองกาลกา (Kalka) รัฐหรยาณา กับสถานีรถไฟศิมลาในเมืองศิมลา (Shimla) ในรัฐหิมาจัลประเทศ ประเทศอินเดีย สร้างเสร็จเมื่อปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและทางรถไฟสายกาลกา–ศิมลา · ดูเพิ่มเติม »

ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์

ร่างสตรีและเด็กที่เป็นบรรยายความยากเข็ญของบริจิต โอดอนเนล จากลอนดอนนิวส์ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1849 ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ (An Gorta Mór, Irish Potato Famine) หรือในภาษาเกลิก “An Gorta Mór” แปลตรงตัวว่า “ความโหยหิวอันยิ่งใหญ่” หรือ “An Drochshaol” ที่แปลว่า “ชีวิตอันตกอับ” เป็นสมัยที่เกิดทุพภิกขภัย โรคระบาด และการย้ายถิ่นฐานครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438

การต่อต้านอังกฤษในพม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและขบวนการต่อต้านของพม่า พ.ศ. 2428–2438 · ดูเพิ่มเติม »

ขี้โรคแห่งเอเชีย

วลีคำว่า "ขี้โรคแห่งเอเชีย" หรือ "คนป่วยแห่งเอเชีย" (Sick man of Asia) เป็นคำใช้เรียกประเทศจีนอย่างดูถูกดูแคลนในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อประเทศจีนได้ตกอยู่ในสภาพอ่อนแอถูกรุกรานและถูกขูดรีดเอาเปรียบจากเหล่าประเทศมหาอำนาจชาติตะวันตกและญี่ปุ่น ที่ใช้ลัทธิล่าอาณานิคมหรือจักรวรรดินิยมมาคุกคาม เริ่มตั้งแต่เหตุการณ์สงครามฝิ่นกับจักรวรรดิอังกฤษทำให้ประเทศจีนต้องถูกบังคับให้ลงนามในสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ ความรู้สึกต่ำต้อยและอัปยศอดสูของชาวจีนปิดท้ายจนถึงขีดสุดเมื่อจักรวรรดิญี่ปุ่นได้รุกรานประเทศจีนในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง คำวลีดังกล่าวได้เป็นที่ดูถูกเหยียดหยามชาวจีนโดยเฉพาะของชาวตะวันตกและชาวญี่ปุ่น จนกระทั่งปัจจุบันคนจีนจำนวนมากยังไม่ลืมประวัติศาสตร์ในยุคดังกล่าว มีการเรียนรู้สั่งสอนถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นเพื่อให้คนจีนรุ่นใหม่ไม่ลืมช่วงเวลาอันแสนอัปยศขมขื่น ถือเป็นบทเรียนที่ชาวจีนทั่วโลกมักจะตระหนักจดจำอยู่เสมอ.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและขี้โรคแห่งเอเชีย · ดูเพิ่มเติม »

คราวน์โคโลนี

ราวน์โคโลนี (Crown colony) หรือ อาณานิคมในพระองค์ เป็นประเภทหนึ่งของการบริการอาณานิคมของจักรวรรดิอังกฤษ คราวน์โคโลนีถูกปกครองโดยข้าหลวงซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์อังกฤษ (และ ในภายหลัง รัฐมนตรีว่าการอาณานิคม) ถึงแม้ว่าคำดังกล่าวจะไม่ถูกใช้ตั้งแต่แรกก็ตาม อาณานิคมแห่งแรกซึ่งเป็นที่รู้จักกันว่าคราวน์โคโลนี คือ อาณานิคมเวอร์จิเนีย ในสหรัฐอเมริกาปัจจุบัน ในภายหลังจึงได้ถูกควบคุมโดยบริษัทเวอร์จิเนีย ในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและคราวน์โคโลนี · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์สหัสวรรษที่ 2

ริสต์สหัสวรรษที่ 2 เป็นช่วงเวลาที่เริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม..1001 และจบลงในวันที่ 31 ธันวาคม..2000 ตามปฏิทินเกรกอเรียนUnited States Naval Observatory, (Washington, DC, June 14, 2011).

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและคริสต์สหัสวรรษที่ 2 · ดูเพิ่มเติม »

คริสต์ทศวรรษ 1770

..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและคริสต์ทศวรรษ 1770 · ดูเพิ่มเติม »

คลองไทย

thumb คลองไทย (หรือในอดีตรู้จักกันในนาม คลองกระ หรือ คลองคอคอดกระ) หมายถึง แผนการก่อสร้างคลองขนาดใหญ่ซึ่งตัดผ่านภาคใต้ของประเทศไทย เพื่อสนับสนุนการขนส่งภายในพื้นที่ เพื่อเชื่อมทะเลอันดามันกับอ่าวไท.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและคลองไทย · ดูเพิ่มเติม »

ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ

ประธานาธิบดี ดอนัลด์ ทรัมป์ ร่วมกันแถลงข่าว ณ ห้องตะวันออกของทำเนียบขาว เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2560 ความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร-สหรัฐ เปิดกว้างในทุกทุกด้านและขยายความสัมพันธ์กันตลอดช่วงสี่ศตวรรษที่ผ่านมา แรกเริ่มในปี พ.ศ. 2150 เมื่ออังกฤษสถาปนาเขตพักพิงถาวรแห่งแรกขึ้นบนพื้นทวีปอเมริกาเหนือ เขตพักพิงแห่งนี้มีชื่อว่า เจมส์ทาวน์ ในยุคที่สหรัฐยังเป็นอาณานิคมทั้งสิบสาม ทั้งสหราชอาณาจักรและสหรัฐต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษด้วยกันคู่ ซึ่งทั้งสองรัฐถูกผูกมัดเข้าด้วยกันทั้งในด้านประวัติศาสตร์ ภาษาแม่ ระบบยุติธรรม วัฒนธรรม รวมทั้งความเกี่ยวดองกันทางสายเลือดและเครือญาติ ชาวอเมริกันเชื้อสายอังกฤษในสหรัฐจึงสามารถย้อนต้นตระกูลกลับไปได้หลายชั่วอายุคน ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมามีทั้งสงคราม การก่อกบฏ สันติภาพและความบาดหมางต่อกัน จนกระทั่งท้ายที่สุดทั้งสองก็กลายเป็นทั้งเพื่อนและพันธมิตรต่อกัน ความสัมพันธ์อันหยั่งรากลึกนี้ดำเนินมาถึงจุดสูงสุดและถาวรเมื่อสงครามโลกครั้งที่สองปะทุขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ สายสัมพันธ์พิเศษ ซึ่งถูกอธิบายโดยนักวิจารณ์ชั้นแนวหน้าอย่าง คริสเตียน อามันพัวร์ ว่าเป็น "พันธมิตรหลักแห่งแอตแลนติก" เช่นเดียวกับประธานวุฒิสมาชิกด้านกิจการยุโรปของสหรัฐ ฌอง ชาฮีน ที่ยอมรับใน พ.ศ. 2553 ว่าเป็น "หนึ่งในเสาหลักแห่งเสถียรภาพของทั่วทั้งโลก" ปัจจุบัน นโยบายด้านการต่างประเทศของสหราชอาณาจักรฉบับล่าสุดกล่าวถึงความสัมพันธ์กับสหรัฐว่าเป็น "หุ้นส่วนความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่สำคัญที่สุด" ขณะที่นโยบายด้านการต่างประเทศของสหรัฐเองก็ยืนยันเช่นกันว่าสหราชอาณาจักรเป็นหนึ่งในความสัมพันธ์ระดับทวิภาคีที่ยืนยงที่สุด ซึ่งเห็นได้จากสภาพทางสังคมที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการเมือง ความเชื่อมโยงกันของการค้า การพาณิชย์ การเงินการคลัง เทคโนโลยี การศึกษา เช่นเดียวกับด้านศิลปะและวิทยาการ นอกจากนี้ยังมีความร่วมมือกันของรัฐบาลและหน่วยงานทางการทหาร เช่น ปฏิบัติการทางการทหารและปฏิบัติการรักษาสันติภาพร่วมกัน นอกจากนี้โดยปกติแล้วประธานาธิบดีแห่งสหรัฐจะเป็นบุคคลแรกในโลกที่จะส่งจดหมายแสดงความยินดีในการเข้ารับตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรคนใหม่ ในทางกลับกัน นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักรก็จะส่งจดหมายแสดงความยินดีเป็นบุคคลแรกในโลกเช่นเดียวกัน สหรัฐยังเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร เช่นเดียวกับที่สหราชอาณาจักรเป็นนักลงทุนต่างชาติรายใหญ่ที่สุดในสหรัฐ เมื่อรวมทั้งสองประเทศเข้าด้วยกันแล้วจะพบว่าการค้าของทั้งสองประเทศมีสัดส่วนมหาศาลเมื่อเทียบกับการค้าทั่วโลก อีกยังมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมอย่างมากต่อประเทศและดินแดนอื่น ๆ ทั่วโลก สหราชอาณาจักรและสหรัฐยังเปนสองประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดและประชากรมากที่สุดในกลุ่มประเทศ แองโกลสเฟียร์ มีประชากรรวมกันมากกว่า 370 ล้านคนในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและความสัมพันธ์สหราชอาณาจักร–สหรัฐ · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงสมบูรณ์แบบ

วามตกลงสมบูรณ์แบบเพื่อยุติสถานะสงครามระหว่างสยามและฝ่ายสัมพันธมิตร (Formal Agreement for The Termination of The State of War Between Siam and Allies ("United Nations")) หรือ ความตกลงสมบูรณ์แบบ เป็นสนธิสัญญาสันติภาพที่จัดทำขึ้นเมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและความตกลงสมบูรณ์แบบ · ดูเพิ่มเติม »

ความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย

การกำหนดพรมแดน: ดินแดนเปอร์เซีย (สีน้ำเงิน) อยู่ในการควบคุมของรัสเซีย; ดินแดนทางตะวันออกเฉียงใต้ (สีชมพู) เป็นของอังกฤษ ความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย (Anglo-Russian Entente) ลงนามเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

คอคอดกระ

อคอดกระ (เบื้องหลังเป็นเทือกเขาตะนาวศรี) คอคอดกระ หรือ กิ่วกระ เป็นส่วนที่แคบที่สุดของคาบสมุทรมลายูอยู่ในเขตบ้านทับหลี ตำบลมะมุ อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง กับ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร ประมาณกิโลเมตรที่ 545 ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ห่างจากเขตเทศบาลเมือง 66 กิโลเมตร ในบริเวณนี้มีแผ่นป้ายคอนกรีตขนาดใหญ่จำลอง คอคอดกระ มีระยะทางจากฝั่งทะเลตะวันตกจรดฝั่งตะวันออกกว้างเพียง 50 กิโลเมตร พื้นที่ส่วนนี้นับเป็นยุทธศาสตร์สำคัญ ที่ได้รับความสนใจตั้งแต่ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในการที่จะขุดคลองตัดผ่านจนกระทั่งถึงรัชกาลที่ 4 ฝรั่งเศสคิดจะขุดคอคอดกระเพื่อร่นระยะทางในการเดินเรือจากฝั่งทะเลอันดามันข้ามมายังฝั่งอ่าวไทย โดยไม่ต้องอ้อมไปทางแหลมมลายู แต่เนื่องด้วยความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับอังกฤษที่เป็นเจ้าของกิจการท่าเรือในปีนังและสิงคโปร์โครงการนี้จึงต้องระงับไป ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองในสนธิสัญญาสมบูรณ์แบบไทยยินยอมที่จะไม่ขุดคลองคอคอดกระหากไม่ได้รับความยินยอมจากอังกฤษก่อน ปรีดี พนมยงค์ได้เสนอให้ขุดคลอง เมื่อ กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2501 แต่ยังคงไม่มีการขุดคลองแต่อย่างใดจวบจนปัจจุบัน ซึ่งมีหลายเหตุผลคัดค้านรวมถึงไม่ต้องการให้ประเทศไทยแยกออกเป็นสองส่วน ผนวกกับประเทศสิงคโปร์กลัวจะเสียผลประโยชน์ด้วย ใน พ.ศ. 2544 วุฒิสภาได้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ ผลการศึกษาที่รายงานต่อที่ประชุมมีสาระสำคัญให้เรียกชื่อคลองว่า "คลองไทย" และบริเวณที่ขุดมิใช่คอคอดกระ เนื่องด้วยเหตุผลทางวิศวกรรมศาสตร์ อันได้แก่สภาพพื้นที่ที่ต้องขุดที่คอคอดกระนั้นเป็นหินและภูเขา และความมั่นคงเนื่องจากบริเวณคอคอดกระอยู่ที่ชายแดนพม่าปากแม่น้ำกระบุรี บริเวณที่วุฒิสภาเห็นว่ามีความเป็นไปได้และเกิดประโยชน์สูงสุดในการขุดคลองไทย คือ เส้นทาง 9A ผ่านจังหวัดกระบี่ ตรัง พัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลา ระยะทาง 120 กิโลเมตร.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและคอคอดกระ · ดูเพิ่มเติม »

คำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา

วาดคณะกรรมการร่างคำประกาศอิสรภาพยื่นร่างให้กับรัฐสภาอเมริกา โดยภาพนี้พบได้ในธนบัตรสองดอลลาร์ด้วย คำประกาศอิสรภาพแห่งสหรัฐ (United States Declaration of Independence) เป็นแถลงการณ์ซึ่งสภาภาคพื้นทวีปลงมติยอมรับเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและคำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา · ดูเพิ่มเติม »

คำให้การชาวกรุงเก่า

ำให้การชาวกรุงเก่า เป็นหนังสือพงศาวดารบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยโดยเฉพาะช่วงอาณาจักรอยุธยา ตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักร จนกระทั่งเสียแก่พม่าใน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและคำให้การชาวกรุงเก่า · ดูเพิ่มเติม »

คณะราษฎร

ณะราษฎร (อ่านว่า "คะ-นะ-ราด-สะ-ดอน"; มักสะกดผิดเป็น คณะราษฎร์) คือ กลุ่มบุคคลที่ดำเนินการการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ยึดอำนาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองของประเทศสยาม จากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ อาจได้ชื่อว่าเป็นพรรคการเมืองพรรคแรกของไท.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและคณะราษฎร · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา

ปฏิบัติการบาร์บารอสซา (Unternehmen Barbarossa, Operation Barbarossa, รัสเซีย: Оперенация Барбарросса) เป็นชื่อรหัสสำหรับแผนการบุกสหภาพโซเวียตของนาซีเยอรมนี ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการดังกล่าวเริ่มต้นขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 ชื่อปฏิบัติการบาร์บารอสซาถูกตั้งชื่อตามพระนามของจักรพรรดิฟรีดริช บาร์บารอสซา แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ผู้นำสงครามครูเสดครั้งที่สาม ในช่วงคริสต์ศตวรรรษที่ 12 วัตถุประสงค์ของปฏิบัติการนี้ คือ การพิชิตสหภาพโซเวียตทางภาคพื้นยุโรปทั้งหมด ซึ่งถือเอาแนวที่ลากเส้นระหว่าง อัคอังเกลส์ก (Arkangelsk) ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัสเซีย ลงไปจนถึงเมืองอัสตราคาน (Astrakhan) ที่อยู่ริมสามเหลี่ยมปากแม่น้ำวอลกา โดยแนวนี้ถูกเรียกว่าแนว AA ปฏิบัติการบาร์บารอสซาไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ฮิตเลอร์คาดหวังไว้ ในทางยุทธวิธีแล้ว กองทัพเยอรมันก่อให้เกิดความเสียหายใหญ่หลวงต่อสหภาพโซเวียต โดยการยึดครองพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญของประเทศเอาไว้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานหลังจากปฏิบัติการบาร์บารอสซา กองทัพเยอรมันไม่อาจเป็นฝ่ายบุกในแนวรบด้านตะวันออกอีกต่อไป และหลังจากนั้น ก็ประสบความพ่ายแพ้มาตลอดMilitary-Topographic Directorate, maps No.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและปฏิบัติการบาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิม

ปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิม (Declaration on the Rights of Indigenous Peoples) ผ่านโดยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติระหว่างสมัยประชุมที่ 62 ที่สำนักงานใหญ่สหประชาชาติในนครนิวยอร์ก เมื่อวันที่ 13 กันยายน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของปวงชนท้องถิ่นดั้งเดิม · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร

ประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร (History of the United Kingdom) เป็นประวัติศาสตร์ของอาณาจักรที่เกิดจากการรวมตัวของราชอาณาจักรอังกฤษที่รวมทั้งราชอาณาจักรเวลส์ กับ ราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นอาณาจักรเดียวกันเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคมค.ศ. 1707 ตามสนธิสัญญาสหภาพ (Treaty of Union) ที่ลงนามกันเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคนค.ศ. 1706 พระราชบัญญัติได้รับการอนุมัติทั้งโดยรัฐสภาแห่งอังกฤษและรัฐสภาแห่งสกอตแลนด์ แต่ละสภาก็ผ่านพระราชบัญญัติสหภาพ ก่อนหน้านั้นราชอาณาจักรอังกฤษและราชอาณาจักรสกอตแลนด์เป็นราชอาณาจักรอิสระที่แยกจากกันแม้ว่าจะมีการปกครองโดยพระมหากษัตริย์ร่วม (Union of the Crowns) กันมตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและประวัติศาสตร์สหราชอาณาจักร · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษ

ประวัติศาสตร์ของหมู่เกาะอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ: History of the British Isles) เป็นประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับความขัดแย้งและความเป็นพันธมิตรระหว่างผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณต่างๆ ของบริเตนใหญ่, ไอร์แลนด์ และเกาะต่างๆ ที่รวมเป็นเกาะอังกฤษที่รวมทั้งฝรั่งเศส, เยอรมนี, เนเธอร์แลนด์, เดนมาร์ก และ สแกนดิเนเวีย ในปัจจุบันเกาะอังกฤษประกอบด้วยรัฐอิสระสองรัฐ: สาธารณรัฐไอร์แลนด์ และ สหราชอาณาจักร นอกจากนั้นยังมีรัฐที่ขึ้นกับสหราชอาณาจักร: เกิร์นซีย์, เจอร์ซีย์ และ ไอล์ออฟแมน.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและประวัติศาสตร์หมู่เกาะอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ประวัติศาสตร์เชียงตุง

นแดนเชียงตุงเป็นดินแดนที่มีความสำคัญมานานในอดีตเช่นเดียวกับเชียงใหม่และเชียงรุ่ง (สิบสองปันนา)ตามหลักฐานในประวัติศาสตร์ แต่เดิมเชียงรุ่งเป็นเมืองลูกหลวงของเชียงใหม่ จนกลายเป็นเมืองประเทศราชของพม่าในสมัยพระเจ้าบุเรงนอง หลังจากนั้น เชียงใหม่ได้แยกตัวเป็นอิสระจากพม่า มาเป็นเมืองประเทศราชของสยาม ส่วนเชียงตุงยังคงเป็นเมืองประเทศราชของพม่า ทำให้เกิดความขัดแย้งเป็นสงครามเชียงใหม่-เชียงตุงถึง 3 ครั้ง ในที่สุด เชียงตุงเป็นอาณานิคมของอังกฤษเช่นเดียวกับพม่า ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของไทยในชื่อสหรัฐไทยเดิมในเวลาสั้นๆช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อพม่าได้รับเอกราช จึงเป็นส่วนหนึ่งของรัฐฉาน ประเทศพม.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและประวัติศาสตร์เชียงตุง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและประเทศฝรั่งเศส · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศมาเลเซีย

มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia) เป็นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3 ดินแดน และมีเนื้อที่รวม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์) โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วนซึ่งมีขนาดใกล้เคียงกัน ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวียดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วมกับบรูไนและอินโดนีเซีย และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิลิปปินส์และเวียดนาม เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะที่ปูตราจายาเป็นที่ตั้งของรัฐบาลกลาง ด้วยประชากรจำนวนกว่า 30 ล้านคน มาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับที่ 42 ของโลก ตันจุงปีไอ (Tanjung Piai) จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยู่ในมาเลเซีย มาเลเซียเป็นประเทศในเขตร้อน และเป็นหนึ่งใน 17 ประเทศของโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิ่ง (megadiverse country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิ่นเป็นจำนวนมาก มาเลเซียมีต้นกำเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรที่ปรากฏในพื้นที่ แต่ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็นต้นมา อาณาจักรเหล่านั้นก็ทยอยขึ้นตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุ่มแรกของบริเตนมีชื่อเรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูที่เหลือกลายเป็นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา ดินแดนทั้งหมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็นครั้งแรกในฐานะสหภาพมาลายาในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและประเทศมาเลเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอิรัก

ประเทศอิรัก (العراق; عێراق อังกฤษ: Iraq) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐอิรัก (جمهورية العراق; كؤماری عێراق) เป็นประเทศในตะวันออกกลาง มีอาณาเขตทางทิศเหนือจดประเทศตุรกี ทางทิศตะวันออกจดประเทศอิหร่าน ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จดประเทศคูเวต ทางทิศใต้จดประเทศซาอุดีอาระเบีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จดประเทศจอร์แดน และทางทิศตะวันตกจดประเทศซีเรีย กรุงแบกแดด ซึ่งเป็นเมืองหลวง ตั้งอยู่ในกลางประเทศ ราว 97% ของประชากรอิรัก 36 ล้านคนเป็นชาวมุสลิม ส่วนใหญ่มีเชื้อสายซุนนีย์ ชีอะฮ์และเคิร์ด ประเทศอิรักมีแนวชายฝั่งส่วนแคบวัดความยาวได้ 58 กิโลเมตรทางเหนือของอ่าวเปอร์เซีย และอาณาเขตของประเทศครอบคลุมที่ราบลุ่มแม่น้ำเมโสโปเตเมีย ปลายทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเทือกเขาซากรอส และทะเลทรายซีเรียส่วนตะวันออก สองแม่น้ำหลัก แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ไหลลงใต้ผ่านใจกลางประเทศและไหลลงสู่ชัฏฏุลอะร็อบใกล้อ่าวเปอร์เซีย แม่น้ำเหล่านี้ทำให้ประเทศอิรักมีดินแดนอุดมสมบูรณ์มากมาย ภูมิภาคระหว่างแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสมักเรยกว่า เมโสโปเตเมีย และคาดว่าเป็นบ่อเกิดของการเขียนและอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดของโลก พื้นที่นี้ยังเป็นที่ตั้งของอารยธรรมที่สืบทอดต่อกันมานับแต่ 6 สหัสวรรษก่อนคริสตกาล ในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ อิรักเป็นศูนย์กลางของจักรวรรดิอัคคาเดีย ซูเมเรีย อัสซีเรีย และบาบิโลเนีย นอกจากนี้ยังเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิมีเดีย อะคีเมนิด เฮลเลนนิสติก พาร์เธีย แซสซานิด โรมัน รอชิดีน อุมัยยะฮ์ อับบาซียะห์ มองโกล ซาฟาวิด อาฟชาริยะห์และออตโตมัน และเคยเป็นอาณาเขตในอาณัติสันนิบาตชาติภายใต้การควบคุมของอังกฤษ พรมแดนสมัยใหม่ของประเทศอิรักส่วนใหญ่ปักใน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและประเทศอิรัก · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศซีลอนในเครือจักรภพ

ประเทศซีลอนในเครือจักรภพThe Sri Lanka Independence Act 1947 uses the name "Ceylon" for the new dominion; nowhere does that Act use the term "Dominion of Ceylon", which although sometimes used was not the official name) หรือ "ซีลอน" คืออดีตรัฐที่ดำรงสถานะก่อนหน้าสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ปกครองภายใต้ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยมีสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร เป็นพระประม.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและประเทศซีลอนในเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศในเครือจักรภพ

ประเทศในเครือจักรภพ (Dominion) เป็นรัฐกึ่งเอกราชซึ่งยอมรับพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรเป็นประมุขแห่งรัฐ ถือว่ายังเป็นดินแดนในจักรวรรดิบริติช ประกอบด้วย แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นิวฟันด์แลนด์ แอฟริกาใต้ เสรีรัฐไอร์แลนด์ และต่อมาภายหลังคริสต์ทศวรรษ 1940 ได้รวมถึง อินเดีย ปากีสถาน และซีลอน (ศรีลังกาในปัจจุบัน) ประเทศในเครือจักรภพปรากฎอยู่จนถึง..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและประเทศในเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศเบลีซ

ลีซ (Belize) เป็นชาติขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของอเมริกากลาง ริมทะเลแคริบเบียน มีอาณาเขตจรดประเทศเม็กซิโกทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และจรดประเทศกัวเตมาลาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ มีประเทศฮอนดูรัสเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่อยู่ใกล้เคียง ห่างออกไปเพียง 75 กิโลเมตร (47 ไมล์) ตามอ่าวฮอนดูรัสทางด้านตะวันออก ชื่อประเทศมีต้นกำเนิดมาจากชื่อแม่น้ำเบลีซ ซึ่งเมืองเบลีซซิตี (เมืองหลวงเก่า) ก็ได้ชื่อมาจากแม่น้ำนี้ด้วยเช่นกัน ในภาษาสเปนมักจะเรียกว่า Belice เบลีซเป็นสมาชิกของประชาคมแคริบเบียน (CARICOM) และ the Sistema de Integracion Centro Americana (SICA) และจัดว่าตนเองอยู่ทั้งในกลุ่มประเทศแคริบเบียนและอเมริกากลาง.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและประเทศเบลีซ · ดูเพิ่มเติม »

ปลาช่อนบาร์กา

ปลาช่อนบาร์กา (Barca snakehead) เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Channa barca ในวงศ์ปลาช่อน (Channidae) มีความยาวเต็มที่ประมาณ 90 เซนติเมตร เป็นปลาที่มีสีสันสวยงามมาก โดยมีสีเขียวและเหลืองประกอบกับจุดสีดำและแดงกระจายทั่วบริเวณส่วนหัว, ลำตัว และครีบ ส่วนหัวมีขนาดโตและปากกว้างมาก จนได้ชื่อว่าเป็นปลาช่อนที่มีความสวยงามที่สุดในโลก มีถิ่นกระจายพันธุ์อยู่ในแม่น้ำพรหมบุตรและแม่น้ำคงคาในรัฐอัสสัมและรัฐเบงกอลตะวันตก ในประเทศอินเดีย และบางส่วนของบังกลาเทศเท่านั้น ปลาช่อนบาร์กา เป็นที่รู้จักครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1822 โดย ฟรานซิส บูชาแนน แฮมิลตัน ซึ่งเป็นนายแพทย์และนักชีววิทยาประจำกองทัพจักรวรรดิอังกฤษที่ปกครองอินเดียอยู่ ได้ศึกษาธรรมชาติในรัฐเบงกอลและได้ค้นพบปลาน้ำจืดชนิดใหม่ ๆ ได้ถึง 100 ชนิด หนึ่งในนั้นคือ ปลาช่อนชนิดนี้ พร้อมกับได้เขียนภาพประกอบไว้ โดยได้ตีพิมพ์ในหนังสือชื่อ An account of the fishes found in the river Ganges and its branches โดยบรรยายไว้เกี่ยวกับปลาช่อนบาร์กาว่า ความยาวเต็มที่ได้ถึง 90 เซนติเมตร และทำรังโดยขุดรูขึ้นบริเวณริมฝั่งโผล่และเฉพาะส่วนหัวออกมาเพื่อหาอาหาร เพศของปลาชนิดนี้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับสีแต่ขึ้นอยู่กับรูปร่างครีบปลาลำตัว แต่ในปลาตัวผู้นั้นจะมีครีบหลัง ครีบอก ครีบก้นที่ใหญ่กว่าตัวเมียและลำตัวผอมยาวอย่างเห็นได้ชัดแต่ตัวเมียนั้นมีครีบที่เล็กกว่าอย่างเห็นได้ชัด และในตัวเมียมีลำตัวมีลักษณะข้อนข้างป้อมสั้นกว่าตัวผู้ส่วนเรื่องสีของปลาชนิดนี้ก็จะขึ้นอยู่กับค่าน้ำสภาพแวดล้อม และอื่นๆ ปลาช่อนบาร์กา จัดไว้เป็นหนึ่งในปลาช่อนที่หายากที่สุดในโลก จากคุณสมบัติทั้งหมดดังกล่าว ทำให้เป็นปลาสวยงามที่มีราคาแพงมากชนิดหนึ่ง และสำหรับในประเทศไทยเป็นปลาที่มีการนำเข้ามาจำหน่ายเพียงแค่ไม่กี่ตัว และเคยมีการหลอกขายโดยเอาปลาช่อนชนิดอื่นมาขายกันแล้วในชื่อต่าง ๆ รวมทั้งเคยสับสนกับปลาช่อนชนิดอื่นที่มีความใกล้เคียงกันด้วย พฤติกรรมในที่เลี้ยงเป็นปลาที่มีดุร้ายก้าวร้าวมาก ไม่สามารถเลี้ยงรวมกันโดยเฉพาะตัวผู้หลาย ๆ ตัวได้เลย เพราะจะกัดกันทันทีแม้กระทั่งเพิ่งเทจากถุงลงตู้กระจก แต่การเลี้ยงรวมกับตัวเมียสามารถกระทำได้อย่างง่ายดาย เป็นปลาที่สามารถเลี้ยงในห้องที่เปิดเครื่องปรับอากาศได้ตลอด 24 ชั่วโมง เพราะอาศัยอยู่ในที่ ๆ มีอุณหภูมิระหว่าง 10-24 องศาเซลเซียส มีพฤติกรรมการกินอาหารเพียงแค่ แมลง หรือกุ้งฝอย หรือเนื้อกุ้งชิ้นเท่านั้น โดยไม่กินปลาเหยื่อหรือลูกปลาขนาดเล็กเล.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและปลาช่อนบาร์กา · ดูเพิ่มเติม »

นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์

นายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็นตำแหน่งประมุขฝ่ายบริหารและหัวหน้ารัฐบาลของสิงคโปร์ แต่งตั้งโดยประธานาธิบดี ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมีมาตั้งแต..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและนายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ · ดูเพิ่มเติม »

นิคมช่องแคบ

นิคมช่องแคบ (Straits Settlements; 海峡殖民地 Hǎixiá zhímíndì) คืออาณานิคมของจักรวรรดิบริติชในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยดินแดนที่เป็นรัฐปีนัง ดินดิง (ส่วนหนึ่งของรัฐเปรัก) รัฐมะละกา สิงคโปร์ และลาบวนในปัจจุบัน อาณานิคมแห่งนี้ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2369 โดยในตอนแรกเป็นเพียงส่วนหนึ่งของดินแดนที่อยู่ในความควบคุมของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ ต่อมาในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2410 ได้กลายเป็นอาณานิคมอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลสหราชอาณาจักรอย่างเต็มตัว และได้รับเอกราชภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและนิคมช่องแคบ · ดูเพิ่มเติม »

แพทริก เฮนรี

แพทริก เฮนรี แพทริก เฮนรี (Patrick Henry - 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2279 – 6 มิถุนายน พ.ศ. 2342)นักปฏิวัติและรัฐบุรุษคนสำคัญชาวอเมริกัน ผู้ได้ชื่อเสียงจากคำประกาศ "ให้เสรีภาพแก่ข้าพเจ้า หรือมิฉะนั้นก็ให้ความตายแก่ข้าพเจ้า" (Give me liberty or give me death) เพื่อเรียกร้องอิสรภาพจากจักรวรรดิอังกฤษร่วมกับ ซามูเอล อดัมส์และ โทมัส เพน แพทริก เฮนรีถือได้ว่าเป็นนักรณรงค์ที่ทรงอิทธิพลมากผู้หนึ่งในหมู่นักปฏิวัติเพื่อเรียกร้องอิสรภาพจากจักรวรรดิอังกฤษและการก่อตั้งสาธารณรัฐเอกราช แพทริก เฮนรี เกิดที่เมืองสตัดเลย์ เวอร์จิเนีย หลังจากจบการศึกษาด้านกฎหมายก็ได้รับเลือกเข้าสภาอาณานิคมแห่งเวอร์จิเนียร์ และด้วยทักษะในการปราศัยด้วยถ้อมคำที่แหลมคม ทำให้แพทริก เฮนรีเริ่มเป็นที่รู้จักและมีชื่อเสียง จากการปราศัยต่อต้านนโยบายของอังกฤษที่ใช้บังคับอาณานิคมอย่างรุนแรงและตรงไปตรงมา เช่นการบังคับใช้กฎหมายแสตมป์ พ.ศ. 2308 และการอภิปรายใน "สภาผืนทวีป" (Continental Congress) เมื่อ พ.ศ. 2317 แพทริก เฮนรีได้เป็นผู้ว่าการรัฐอิสระเวอร์จิเนียร์ในปี พ.ศ. 2319 และได้รับเลือกลับเข้ามารงตำแหน่งถึง 4 วาระ อย่างไรก็ดี วาทะที่ว่า "ให้เสรีภาพแก่ข้าพเจ้า หรือมิฉะนั้นก็ให้ความตายแก่ข้าพเจ้า" อันมีชื่อเสียงที่เชื่อว่าเป็นคำกล่าวของแพทริก แต่ก็ไม่ปรากฏพบหลักฐานดั้งเดิมที่มีการบันทึกไว้ แพทริก เฮนรี มีชีวิตอยู่ในระหว่างรัชสมัยของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แห่งสมัยอยุธยาและ รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมัยรัตนโกสินทร.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและแพทริก เฮนรี · ดูเพิ่มเติม »

แม่น้ำอิรวดี

แม่น้ำอิรวดี (ออกเสียง เอยาวะดี) เป็นแม่น้ำที่ไหลจากเหนือจรดใต้ผ่านประเทศพม่า เป็นแม่น้ำที่ใหญ่สุดในประเทศและเป็นเส้นทางการค้าที่สำคัญที่สุด ชื่ออิรวดีในพม่ามาจาก ภาษาบาลี Irāvatī Airavati Erāvatī เป็นชื่อบาลีของช้างเอราวัณพาหนะของพระอินทร์ ช้างมักถูกใช้เป็นสัญลักษณ์สำหรับน้ำ และถูกนำมาใช้เป็นชื่อของแม่น้ำอื่น ๆ ในหลายภูมิภาคเช่น แม่น้ำอจิรวดี ในอินเดีย แม่น้ำอิรวดีมีต้นกำเนิดจากจุดบรรจบกันของ แม่น้ำมะลิขา และ แม่น้ำเมขา ที่ไหลลงมาจากธารน้ำแข็งบริเวณเทือกเขาหิมาลัยทางตอนเหนือของปูตาโอในพม่าตอนบน แม่น้ำค่อนข้างไหลเป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ผ่านดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดี และไหลลงสู่ทะเลอันดามัน แม่น้ำอิรวดีมีพื้นที่ลุ่มน้ำ 404,200 ตารางกิโลเมตร (156,026 ตารางไมล์) ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศพม่า นักกวีชาวอังกฤษ รัดยาร์ด คิปลิง มีการบรรยายถึงแม่น้ำอิรวดีในบทกวีที่เขาแต่งเรื่อง 'ถนนสู่มัณฑะเลย์' กว่าหกศตวรรษที่แม่น้ำถูกใช้สำหรับการค้าขายและการขนส่ง แม่น้ำมีความสำคัญต่อจักรวรรดิอังกฤษหลังได้พม่าเข้ามาอยู่ในอาณานิคมได้มีการพัฒนาเครือข่ายคลองชลประทาน แม่น้ำยังคงมีความสำคัญในปัจจุบันเนื่องจากเป็นเส้นทางการจราจรและเป็นเส้นทางของสินค้าส่งออกจำนวนมาก ข้าวมีการผลิตในเขตดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำอิรวดีซึ่งมีการใช้น้ำจากแม่น้ำ ในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและแม่น้ำอิรวดี · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง)

แนวรบด้านตะวันตก (Western Front) คือเขตสงครามหลักในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่งตั้งแต่เดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและแนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง) · ดูเพิ่มเติม »

โลกที่หนึ่ง

ติเป็นกลาง และประเทศไม่สังกัดพันธมิตรใด แนวคิดของ โลกที่หนึ่ง (First World) ถือกำเนิดขึ้นระหว่างสงครามเย็น เป็นคำซึ่งใช้เพื่ออธิบายถึงประเทศที่เข้าเป็นฝ่ายเดียวกับสหรัฐอเมริกา ประเทศเหล่านี้มักมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และมีระบบเศรษฐกิจทุนนิยม หลังจากการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการสิ้นสุดของสงครามเย็น ความหมายของคำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้เปลี่ยนไปให้สามารถปรับใช้ได้กับยุคสมัย จากการจำกัดความดั้งเดิม คำว่า "โลกที่หนึ่ง" ได้มามีความหมายในทำนองเดียวกับประเทศพัฒนาแล้ว (ขึ้นอยู่กับว่ากำลังใช้คำจำกัดความใด) ประเทศโลกที่หนึ่งโดยทั่วไปมักมีเศรษฐกิจที่เจริญก้าวหน้าและมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ในระดับสูงมาก ในอีกมุมมองหนึ่ง สหประชาชาติจำกัดความ "โลกที่หนึ่ง" ขึ้นอยู่กับความมั่งคั่งของรายรับและผลผลิตของชาติต่าง ๆ การจำกัดความของ "โลกที่หนึ่ง" ในปัจจุบัน จึงประจักษ์ชัดเจนน้อยกว่าระหว่างสงครามเย็น ความเคลื่อนไหวในระดับโลกระหว่างโลกที่หนึ่งและโลกอื่น ๆ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วน ความสัมพันธ์กับโลกที่สองเป็นไปในเชิงการแข่งขัน และความเป็นปรปักษ์ทางความคิด ความสัมพันธ์กับโลกที่สาม โดยปกติมักเป็นไปในเชิงบวกตามทฤษฎี ในขณะที่อาจมีความสัมพันธ์ในเชิงลบอยู่บ้างในทางปฏิบัติ แต่ความสัมพันธ์ระหว่างโลกในปัจจุบันมิได้เป็นไปอย่างตายตัวอย่างในอดีต ถึงแม้ว่าจะมีความไม่เสมอกันซึ่งโลกที่หนึ่งมีอิทธิพล ความมั่งคั่ง ข้อมูลข่าวสาร และความเจริญก้าวหน้าเหนือกว่าโลกอื่น ๆ โลกาภิวัตน์ได้เป็นปรากฏการณ์ที่ค่อย ๆ มีความสำคัญมากยิ่งขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลมาจากโลกที่หนึ่งและความเชื่อมโยงกับโลกอื่น ๆ ตัวอย่างของโลกาภิวัตน์ภายในโลกที่หนึ่ง คือ สหภาพยุโรป ซึ่งได้นำความร่วมมือและการบูรณาการเข้ามาสู่ภูมิภาคเป็นอันมาก บริษัทข้ามชาติยังเป็นตัวอย่างของผลกระทบของโลกที่หนึ่งซึ่งมีต่อโลกาภิวัตน์ เมื่อบริษัทเหล่านี้ได้นำมาซึ่งการรวมเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมในหลายประเทศ ด้วยการเติบโตของบริษัทข้ามชาติมักมีปัญหาในกระบวนการติดต่อกับบุคคลที่สามในหลายประเทศโลกที่หนึ่ง.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและโลกที่หนึ่ง · ดูเพิ่มเติม »

โลกตะวันตก

ลกตะวันตก (Western world และอาจเรียก The West หรือ Occident) เป็นคำซึ่งใช้กล่าวถึงประเทศได้หลายประเทศ โดยประเทศที่หมายถึงอาจแตกต่างกันไปตามบริบทของการใช้คำศัพท์ นอกจากนี้เป็นคำซึ่งมีคำจำกัดความอยู่มากมาย, Our Tradition; James Kurth; accessed 30 August 2011 แนวคิดส่วนของโลกซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกมีรากฐานมาจากอารยธรรมกรีกโรมันในยุโรปและการกำเนิดของศาสนาคริสต์Cambridge University Historical Series, An Essay on Western Civilization in Its Economic Aspects, p.40: Hebraism, like Hellenism, has been an all-important factor in the development of Western Civilization; Judaism, as the precursor of Christianity, has indirectly had had much to do with shaping the ideals and morality of western nations since the christian era.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและโลกตะวันตก · ดูเพิ่มเติม »

โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์

ซอร์ โทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ (Sir Thomas Stamford Bingley Raffles); (6 กรกฎาคม พ.ศ. 2324 – 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2369) ผู้บริหารอาณานิคม ผู้ก่อตั้งเมืองสิงคโปร์ เกิดบนเรือที่ลอยทะเลนอกฝั่งพอร์ตมอแรนต์ จาเมกา แรฟเฟิลส์ได้รับการศึกษาอย่างเป็นทางการน้อยมากแต่ก็ได้เข้าทำงานเป็นสมียนของบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ หลังจากการศึกษาด้วยตนเอง แรฟเฟิลส์ ก็ได้รับตำแหน่งก้าวหน้าเป็นผู้ช่วยเลขานุการเมืองปีนังได้เลื่อนตำแหน่งอย่างรวดเร็วจนถึงตำแหน่งรองผู้ว่าราชการเขตอาณานิคมชวา (พ.ศ. 2354 - พ.ศ. 2359) และ ได้ปฏิรูประบบการบริหารใหม่โดยสิ้นเชิง เมื่อปี พ.ศ. 2359 แรฟเฟิลส์ต้องกลับบ้านที่อังกฤษเนื่องจากการป่วยไข้ และได้รับการแต่งตั้งเป็นอัศวินชั้นเซอร์ เมื่อแรฟเฟิลส์หายป่วยและกลับมาดำรงตำแหน่งรองผู่ว่าราชการเขตอาณานิคม "เบิงกูลู" (พ.ศ. 2361 - พ.ศ. 2366) ก็ได้จัดตั้งนิคมขึ้นที่เกาะสิงคโปร์อีก แรฟเฟิลส์จึงได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้มีบทบาทมากที่สุดผู้หนึ่งในการพัฒนาจักรวรรดิอังกฤษในตะวันออกไกล.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและโทมัส สแตมฟอร์ด แรฟเฟิลส์ · ดูเพิ่มเติม »

โคฟี แอนนัน

ฟี แอนนัน (Kofi Annan) เกิดวันที่ 8 เมษายน ค.ศ. 1938 เป็นนักการทูตชาวกานา และ เป็นอดีตเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ แอนนันนับเป็นเลขาธิการองค์การสหประชาชาติคนที่ 7 โดยรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1997 และหมดวาระเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 2006 โคฟี แอนนัน ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพด้ว.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและโคฟี แอนนัน · ดูเพิ่มเติม »

เชียงตุง

ียงตุง (ภาษาไทเขิน: ᨩ᩠ᨿᨦᨲᩩᨦ ไทใหญ่:; ကျိုင်းတုံမြို့; 60px; Keng Tung) เป็นเมืองตั้งอยู่ในรัฐฉานของประเทศพม่า เป็นเมืองของชาวไทเขิน และชาวไทใหญ่ ถือได้ว่าเป็นเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองเทียบเท่า เมืองเชียงใหม่แห่งล้านนาไทย และเมืองเชียงรุ่งแห่งสิบสองปันนา โดยชาวไทใหญ่เรียกชื่อเมืองนี้ว่า เก็งตุ๋ง (Keng Tung) ในอดีตเชียงตุงเป็นเมืองที่มีความสำคัญทางการค้าเชื่อมต่อระหว่างสิบสองปันนากับล้านนา โดยมีพ่อค้าชาวจีนฮ่อเดินทางไปมาค้าขายในเส้นทางนี้.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเชียงตุง · ดูเพิ่มเติม »

เพชรโคอินัวร์

ห์อินัวร์ (Koh-i-Noor, کوہ نور อ่านออกเสียง: koh iː nuːɾ|pron, "ภูเขาแห่งแสง"; บางครั้งสะกดเป็น Kuh-e Nur หรือ Koh-i-Nur) คือเพชรที่มีขนาด 105.6 กะรัต มีน้ำหนัก 21.6 กรัม ในสภาพที่เจียระไนครั้งล่าสุด (ก่อนหน้านี้มีขนาด 186.6 กะรัต หนัก 37.21 กรัม) และยังเคยเป็นเพชรที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ตามหลักฐานนั้นค้นพบในรัฐอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย พร้อมกันกับเพชรคู่แฝดที่มีชื่อว่า ดารยา-เย-นัวร์ (แปลว่า​ "ทะเลแห่งแสง") โคห์อินัวร์นั้นมีประวัติอันยาวนาน โดยตกเป็นเพชรของหลายราชวงศ์ในอดีต รวมถึง ราชปุตแห่งอินเดีย, ราชวงศ์โมกุล, ราชวงศ์อัฟชาริด, ราชวงศ์ดูร์รานี, ราชวงศ์ซิกข์ และล่าสุดนั้นตกเป็นของจักรวรรดิอังกฤษ โคห์อินัวร์ได้ถูกริบจากผู้ครอบครองคือ ดูลิป สิงห์ ในปีค.ศ. 1850 โดยบริษัทอินเดียตะวันออก และต่อมาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องราชกกุธภัณฑ์แห่งสหราชอาณาจักรเมื่อสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นสมเด็จพระจักรพรรดินีแห่งอินเดียในปีค.ศ. 1877 โคห์อินัวร์เคยถูกเรียกว่า "ศิยมันทกามณี" และต่อมา "มณยัก" หรือ "ราชาแห่งอัญมณี" ก่อนจะถูกเรียกเป็น "โคห์อินัวร์" ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยชาห์นาเดอร์ ภายหลังจากการยึดครองอินเดียของพระองค์ ในปัจจุบันโคห์อินัวร์ถูกเก็บรักษาและจัดแสดงที่หอคอยแห่งลอนดอน.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเพชรโคอินัวร์ · ดูเพิ่มเติม »

เมืองแมนแดนสันติ

มืองแมนแดนสันติ เป็นชื่อรัฐซึ่งก่อตั้งขึ้นเพื่อต่อต้านรัฐบาลในประเทศจีนตั้งแต..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเมืองแมนแดนสันติ · ดูเพิ่มเติม »

เรืออู

เรืออู 995 เรืออู (AU-boat; AU-Boot, อู๋โบท, คำเต็ม: Unterseeboot, อุนเทอร์เซโบท หมายถึง "เรือใต้ทะเล") คำนี้ในภาษาเยอรมันหมายถึงเรือดำน้ำใด ๆ แต่ในภาษาอังกฤษ (ร่วมกับอีกหลายภาษา) หมายความเฉพาะถึงเรือดำน้ำเยอรมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและสงครามโลกครั้งที่สอง เรืออู๋นั้นมีเป็นอาวุธกองเรือที่มีประสิทธิภาพต่อเรือรบข้าศึก ทว่าถูกใช้มีประสิทธิภาพสูงสุดในบทบาทการสงครามเศรษฐกิจ (การตีโฉบฉวยเรือพาณิชย์) การปิดล้อมทางทะเลต่อการขนส่งสินค้าทางเรือข้าศึก เป้าหมายหลักของการทัพเรืออูในสงครามโลกทั้งสองครั้งคือกองเรือพาณิชย์ที่นำเสบียงจากประเทศแคนาดา จักรวรรดิอังกฤษและสหรัฐอเมริกา ไปส่งยังหมู่เกาะสหราชอาณาจักร และรวมถึงสหภาพโซเวียตและประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนในสงครามโลกครั้งที่สอง เรือดำน้ำจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (และก่อนหน้านั้น) ก็เรียกว่าเรืออู๋ว่า เอิท ชอบ เดีย หมวดหมู่:เรือดำน้ำ หมวดหมู่:เรือในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หมวดหมู่:เรือในสงครามโลกครั้งที่สอง.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเรืออู · ดูเพิ่มเติม »

เวยไห่

เวยไห่ เวยไห่ เป็นเมืองในมณฑลซานตง สาธารณรัฐประชาชนจีน มีท่าที่มีเฟอร์รี่ข้ามไปเกาหลี เป็นอดีตเมืองอาณานิคมของจักรวรรดิอังกฤษ อยู่ห่างจากเอียนไท่ 60 กิโลเมตร ว หมวดหมู่:อดีตอาณานิคมของอังกฤษ หมวดหมู่:เมืองในมณฑลซานตง.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเวยไห่ · ดูเพิ่มเติม »

เส้นทางการค้า

้นทางการค้า (trade route) คือเส้นทางที่ในเครือข่ายที่บ่งว่าเป็นเส้นทางและจุดหยุดพักที่ใช้ในการขนส่งสินค้าไปยังตลาดที่อยู่ในดินแดนที่ไกลออกไปจากต้นแหล่งที่ผลิตสินค้ามาก เส้นทางการค้าแต่ละเส้นทางก็จะประกอบด้วยถนนสายหลัก (Arterial road) ที่อาจจะมีเครือข่ายย่อยๆ ที่ใช้เป็นเส้นทางการค้าและการคมนาคมมาบรรจบ ในประวัติศาสตร์ช่วงตั้งแต่ปี 1532 ก่อนคริสต์ศักราช จนถึง..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเส้นทางการค้า · ดูเพิ่มเติม »

เอมิเรตอัฟกานิสถาน

อมิเรตอัฟกานิสถาน (Emirate of Afghanistan; د افغانستان امارت) เป็นเอมิเรตที่ปกครองอัฟกานิสถานระหว่างปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเอมิเรตอัฟกานิสถาน · ดูเพิ่มเติม »

เจมส์ ไนสมิท

มส์ ไนสมิท (James Naismith, M.D.; 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 — 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2482) เป็นชาวแคนาดา เป็นโค้ชกีฬาและเป็นผู้ริเริ่มการคิดค้นกีฬาบาสเก็ตบอลขึ้นในปี พ.ศ. 2434 (ค.ศ. 1891) เขาเขียนกฎหลักของบาสเก็ตบอล และเป็นผู้เปิดสอนมหาวิทยาลัย University of Kansas ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับบาสเกตบอล.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเจมส์ ไนสมิท · ดูเพิ่มเติม »

เจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น

้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น เจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น (อาร์เธอร์ วิลเลียม แพทริค อัลเบิร์ต; 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2393 - 16 มกราคม พ.ศ. 2485) ทรงเป็นสมาชิกในพระราชวงศ์อังกฤษและแซ็กซ์-โคบูร์กและก็อตธา ซึ่งทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแห่งแคนาดา ระหว่างปี พ.ศ. 2454 - พ.ศ. 2459 พระองค์ประสูติแด่สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และทรงได้รับการศึกษาโดยพระอาจารย์ส่วนพระองค์ก่อนทรงเข้าศึกษาต่อในวิทยาลัยการทหารหลวง ณ เมืองวูลิช เมื่อพระชนมายุ 16 พรรษา เมื่อจบการศึกษา พระองค์ทรงได้รับการประดับยศร้อยโทแห่งกองทัพบกอังกฤษ และปฏิบัติหน้าที่อยู่ในกองทัพอยู่เป็นเวลา 40 ปี โดยได้ทอดพระเนตรภารกิจของกองทัพในหลายส่วนของจักรวรรดิอังกฤษ ในช่วงเวลานี้เจ้าชายอาร์เธอร์ ทรงได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็นดยุก โดยทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น และเอิร์ลแห่งซัสเซ็กส์ พระองค์ทรงเสกสมรสกับ เจ้าหญิงลูอีส มาร์กาเร็ตแห่งปรัสเซีย มีพระบุตรดังนี้.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเจ้าชายอาร์เธอร์ ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น · ดูเพิ่มเติม »

เดอะสเตรตส์ไทมส์

อะสเตรตส์ไทมส์ (The Straits Times) เป็นหนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษของประเทศสิงคโปร์ เป็นหนังสือพิมพ์รายวันที่มียอดจำหน่ายสูงสุดในสิงคโปร์ วันละ 400,000 ฉบับ ฉบับวันอาทิตย์ใช้ชื่อว่า เดอะซันเดย์ไทมส์ ปัจจุบันเดอะสเตรตส์ไทมส์เป็นส่วนหนึ่งของบริษัท สิงคโปร์เพรสโฮลดิงส์ เดอะสเตรตส์ไทมส์ก่อตั้งขึ้นในปี..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเดอะสเตรตส์ไทมส์ · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพ

รือจักรภพ (commonwealth) เป็นคำภาษาอังกฤษเดิมใช้กับชุมชนการเมืองที่ตั้งขึ้นเพื่อประโยชน์ร่วมกัน ในอดีต บางครั้งคำนี้สมนัยกับ "สาธารณรัฐนิยม" ภายหลังคำนี้ใช้กับสมาคมรัฐเอกราช ที่โดดเด่นที่สุด คือ เครือจักรภพแห่งชาติ สมาคมสำหรับอดีตสมาชิกจักรวรรดิอังกฤษเป็นหลัก มักเรียกย่อเป็น "เครือจักรภพ".

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ · ดูเพิ่มเติม »

เครือจักรภพแห่งประชาชาติ

รือจักรภพแห่งประชาชาติ (Commonwealth of Nations) ชื่อเดิมคือ เครือจักรภพบริเตน (British Commonwealth) หรือเรียกอย่างง่ายว่า เครือจักรภพ เป็นองค์กรระหว่างประเทศในระดับรัฐบาล ประกอบด้วย 52 ชาติสมาชิกซึ่งส่วนมากเป็นอดีตอาณานิคมของจักรวรรดิบริเตน เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยยึดหลักฉันทามติของชาติสมาชิกจากที่ประชุม เครือจักรภพมีการดำเนินงานโดยสำนักเลขาธิการเครือจักรภพและองค์กรอิสระ ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 อาณานิคมต่างๆของสหราชอาณาจักรเริ่มได้รับเอกราชเป็นของตนเอง เครือจักรภพแห่งประชาชาติกำเนิดขึ้นเมื่อมีปฏิญญาลอนดอนใน..

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพแห่งประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

เซยุม มังกาชา

ซยุม มังกาซา เป็นทหารบกชาวเอธิโอเปีย และเป็นผู้บังคับบัญชาการทหารรักษาพระองค์ เกิดเมื่อวันที่24 มิถุนายน..1886 ในช่วงที่เขามีชีวิตนั้น เขาได้ไปไปเที่ยวที่ลอนดอน เยรูซาเลม เอเธนส์ เป็นต้น เขาได้รับรางวัลผู้บัญชาการอัศวินแห่งจักรวรรดิอังกฤษ ในช่วงสงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง เขาได้ทำสงครามพ่ายแพ้ในการรุกคริสต์มาส ของอิตาลี และไม่สามารถป้องกันเอเทรียได้กองทัพราชอาณาจักรอิตาลี จนภรรยาและลูกชายคนเล็กและเขาถูกจับเป็นเชลย โดนจำคุกสองปีในข้อหาเชลยศึก เมื่ออิตาลีถูกสหราชอาณาจักรมีความมุ่งมั่นที่จะปล่อยเอธิโอเปีย เขาได้นำกองทัพ70,000 นายเพื่อปลดปล่อยจังหวัดทางภาคเหนือของเอธิโอเปีย จักรพรรดิเฮลี เซลาสซี ให้ขึ้นเป็นสมาชิกของพระมหากษัตริย์และที่ปรึกษาอาวุโส จนเขาเสียชีวิต จากการรัฐประหาร ตอนที่จักรพรรดิเสด็จไปยังบราซิล หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2503.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเซยุม มังกาชา · ดูเพิ่มเติม »

เน็ด เคลลี

น็ด เคลลี (ภาพถ่ายครั้งสุดท้ายก่อนวันประหารชีวิต 1 วัน) เอ็ดเวิร์ด "เน็ด" เคลลี (Edward "Ned" Kelly) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เน็ด เคลลี (Ned Kelly, 3 มิถุนายน ค.ศ. 1854 – 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1880) เป็นโจรชื่อดังชาวออสเตรเลีย และสำหรับคนบางกลุ่มได้ถือว่าเป็นวีรบุรุษผู้ลุกขึ้นต่อต้านอำนาจรัฐจากรัฐบาลอาณานิคมออสเตรเลียภายใต้การปกครองของจักรวรรดิอังกฤษ เน็ด เคลลีเกิดที่รัฐวิกตอเรีย ประเทศออสเตรเลีย เขาเป็นบุตรของนักโทษชาวไอริชและเริ่มมีเรื่องกระทบกระทั่งกับตำรวจของรัฐมาตั้งแต่วัยเด็ก หลังเกิดคดีกับเจ้าหน้าที่ตำรวจที่บ้านของเน็ดในปี ค.ศ. 1878 คณะเจ้าหน้าที่ตำรวจก็ได้เริ่มสืบหาตัวเน็ดซึ่งหลบหนีไปซ่อนตัวป่า และต่อมารัฐบาลอาณานิคมก็ได้ประกาศให้เน็ดและพรรคพวกของเขาอีก 3 คน เป็นกลุ่มบุคคลนอกกฎหมาย 2 ปีถัดมาคณะโจรของเน็ดก็ได้เผชิญหน้าอย่างรุนแรงกับตำรวจที่เมืองเกลนโรวัน โดยเน็ดและคณะได้สวมเกราะเหล็กและหมวกเหล็กที่พวกเขาทำขึ้นเองเป็นเครื่องป้องกันตัว ผลปรากฏว่ามีเน็ดเพียงคนเดียวที่รอดชีวิตและถูกจับกุมตัวไว้ เขาถูกตัดสินให้ประหารชีวิตด้วยการแขวนคอที่เรือนจำเก่าเมืองเมลเบิร์น (Old Melbourne Gaol) เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1880 ความกล้าและชื่อเสียงของเขาได้กลายเป็นภาพลักษณ์สำคัญที่ปรากฏอยู่ในวงการประวัติศาสตร์ออสเตรเลีย นิทานพื้นบ้าน วรรณกรรม ศิลปะ และภาพยนตร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลียได้ประกาศว่าค้นพบที่ฝังศพของเน็ด เคลลี เมื่อวันที่ 9 มีนาคม ค.ศ. 2008.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเน็ด เคลลี · ดูเพิ่มเติม »

เน็ด เคลลี่ (ภาพยนตร์)

เน็ด เคลลี่ เป็นภาพยนตร์จากออสเตรเลียที่ออกฉายเมื่อวันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 2003 นำแสดงโดย ฮีธ เลดเจอร์ และออร์แลนโด บลูม โดยสร้างจากชีวิตจริงของจอมโจรชื่อดังของออสเตรเลีย ที่ลุกขึ้นต่อต้านอำนาจของจักรวรรดิอังกฤษ ในช่วงคริสตวรรษที่ 19 หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2546 หมวดหมู่:ภาพยนตร์ออสเตรเลีย หมวดหมู่:ภาพยนตร์ที่ถ่ายทำในประเทศออสเตรเลีย.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและเน็ด เคลลี่ (ภาพยนตร์) · ดูเพิ่มเติม »

1 กรกฎาคม

วันที่ 1 กรกฎาคม เป็นวันที่ 182 ของปี (วันที่ 183 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 183 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ1 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

1 E+13 m²

1 E+13 m² เป็นอันดับของขนาดของสิ่งที่มีพื้นที่ระหว่าง 10 ล้าน ถึง 100 ล้านตารางกิโลเมตร ---- พื้นที่ขนาดน้อยกว่า 10 ล้านตารางกิโลเมตร ---- ทวีปยุโรป มีพื้นที่ประมาณ 10 ล้าน ตร.กม. สหภาพโซเวียต ก่อนการล่มสลาย มีพื้นที่ 22 ล้าน ตร.กม. ดวงจันทร์ มีพื้นที่ 38 ล้าน ตร.กม. มหาสมุทรแอตแลนติก มีพื้นที่ 77 ล้าน ตร.กม.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ1 E+13 m² · ดูเพิ่มเติม »

13 เมษายน

วันที่ 13 เมษายน เป็นวันที่ 103 ของปี (วันที่ 104 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 262 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ13 เมษายน · ดูเพิ่มเติม »

14 กันยายน

วันที่ 14 กันยายน เป็นวันที่ 257 ของปี (วันที่ 258 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 108 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ14 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

1812 โอเวอร์เชอร์

''Battle of Borodino'', by Peter von Hess, 1843 การบรรเลง ''1812 Overture'' ประกอบการยิงปืนใหญ่ ในปี 2005 ที่ออสเตรเลีย The Year 1812, Festival Overture in E flat major, Op.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ1812 โอเวอร์เชอร์ · ดูเพิ่มเติม »

19 มกราคม

วันที่ 19 มกราคม เป็นวันที่ 19 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 346 วันในปีนั้น (347 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ19 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

22 กันยายน

วันที่ 22 กันยายน เป็นวันที่ 265 ของปี (วันที่ป 266 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 100 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ22 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

22 มกราคม

วันที่ 22 มกราคม เป็นวันที่ 22 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 343 วันในปีนั้น (344 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ22 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

23 มีนาคม

วันที่ 23 มีนาคม เป็นวันที่ 82 ของปี (วันที่ 83 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 283 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ23 มีนาคม · ดูเพิ่มเติม »

24 กันยายน

วันที่ 24 กันยายน เป็นวันที่ 267 ของปี (วันที่ 268 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 98 วันในปีนั้น.

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ24 กันยายน · ดูเพิ่มเติม »

26 มกราคม

วันที่ 26 มกราคม เป็นวันที่ 26 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 339 วันในปีนั้น (340 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ26 มกราคม · ดูเพิ่มเติม »

6 กุมภาพันธ์

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เป็นวันที่ 37 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 328 วันในปีนั้น (329 วันในปีอธิกสุรทิน).

ใหม่!!: จักรวรรดิบริติชและ6 กุมภาพันธ์ · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

British Empireจักรวรรดิอังกฤษจักรวรรดิอาณานิคมอังกฤษจักรวรรดิบริเตน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »