โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

คอนสตันติน โรคอสซอฟสกี

ดัชนี คอนสตันติน โรคอสซอฟสกี

อนสตันติน คอนสตันติโนวิช โรคอสซอฟสกี (Konstanty Ksawerowicz Rokossowski; Константи́н Константи́нович (Ксаве́рьевич) Рокоссо́вский) เป็นผู้บัญชาการโซเวียตและโปแลนด์เป็นผู้ได้รับยศจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตและจอมพลแห่งโปแลนด์และดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์ เขาเป็นผู้บัญชาการกองทัพแดงในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เขาเป็นหนึ่งในผู้วางแผนปฏิบัติการบากราติออนหนึ่งในปฏิบัติการที่ประสบความสำเร็จในแนวรบด้านตะวันออก.

25 ความสัมพันธ์: บีตวาซามอสค์วูการก่อการกำเริบวอร์ซอการรุกปรัสเซียตะวันออกยุทธการที่สตาลินกราดยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 3ยุทธการที่คูสค์ยุทธการที่เบอร์ลินยุทธการที่เคอนิจส์แบร์กรายชื่อผู้บัญชาการทหารในสงครามโลกครั้งที่สองวีรชนแห่งสหภาพโซเวียตสวนสนามชัยกรุงมอสโก ค.ศ. 1945สตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533)สตาลินกราดสกายาบีตวาจอมพลแห่งสหภาพโซเวียตจอมพลแห่งโปแลนด์ซอลดาตืยสโวโบดืยปฏิบัติการบากราติออนปฏิบัติการยูเรนัสปฏิบัติการสีน้ำเงินปฏิบัติการซิทาเดลปาเดนีเอเบียร์ลีนาแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1เดนโคมันดีราดีวีซีอิเครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัย

บีตวาซามอสค์วู

ีตวาซามอสค์วู (Битва за Москву) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ของสหภาพโซเวียต มีเนื้อเรืองเกี่ยวกับยุทธการที่มอสโก กำกับโดยยูรี โอเซรอฟ ภาพยนตร์มีทั้งหมด 2 ภาค คือ Aggression และ Typhoon ภาคละ 2 ตอน รวมเป็น 4 ตอน เป็นภาพยนตร์ร่วมมือกันระหว่าง สหภาพโซเวียต, เยอรมนีตะวันออก, เชโกสโลวาเกีย และ เวียดนาม บทภาพยนตร์ดังกล่าวก็ได้ถูกนำมาสร้างเป็นภาพยนตร์เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสครบรอบ 40 ปี ที่สหภาพโซเวียตได้รับชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่สอง และฉลองครบรอบ 20 ปี ที่กรุงมอสโกได้รับเลือกให้เป็นนครวีรชน.

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและบีตวาซามอสค์วู · ดูเพิ่มเติม »

การก่อการกำเริบวอร์ซอ

การก่อการกำเริบวอร์ซอ (powstanie warszawskie) เป็นเหตุการณ์ครั้งสำคัญในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อได้เกิดเหตุการณ์การจลาจลในกรุงวอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ปี 1944 ซึ่งประเทศโปแลนด์อยู่ภายใต้การยึดครองของนาซีเยอรมนี การก่อจลาจลนั้นมาจากกองกำลังใต้ดินของกองทัพบ้านเกิดของประเทศโปแลนด์ในกรุงวอร์ซอได้ก่อจลาจลเพื่อปลดปล่อยประเทศโปแลนด์ให้เป็นอิสระจากนาซีเยอรมันให้ได้ก่อนสหภาพโซเวียตซึ่งกำลังรุกจากตะวันออก เนื่องจากเป็นวัตถุประสงค์ของสหราชอาณาจักรเพราะได้เล็งเห็นว่าสหภาพโซเวียตได้สนับสนุนคณะกรรมาธิการแห่งชาติเพื่อการปลดปล่อยโปแลนด์และหมายจะยึดครองโปแลนด์ให้กลายเป็นรัฐบริวารคอมมิวนิสต์ซึ่งได้พยายามขัดขวางไม่ให้ทำสำเร็จจึงได้สนับสนุนขบวนการใต้ดินของโปแลนด์ในการก่อจลาจลโดยได้ให้การสนับสนุนทางอากาศของตน โปลแลนด์ แอฟริกาใต้ และสหรัฐอเมริกา ส่วนสหภาพโซเวียตได้แสดงเจตจำนงทำการสนับสนุนกองทัพบ้านเกิดของโปแลนด์ในการก่อจลาจลจึงได้ให้การสนับสนุนกองทัพอากาศเช่น การต่อสู้ได้ถูกดำเนินเป็นเวลา 2 เดือน จนกระทั่งเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม ปี 1944 กองทัพเยอรมันได้ปราบปรามการจลาจลอย่างราบคาบ กองกำลังใต้ดินโปแลนด์ได้ยอมจำนน และกรุงวอร์ซอถูกทำลายเสียหายยับเยินโดยกองทัพเยอรมัน สาเหตุที่การจลาจลล้มเหลวเพราะสหภาพโซเวียตไม่ได้สนับสนุนอย่างจริงจังแต่อย่างใดเลย และยังปฏิเสธไม่ให้กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาลงจอดในลานบินแดนโซเวียตเพื่อสนันสนุนโปแลน.

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและการก่อการกำเริบวอร์ซอ · ดูเพิ่มเติม »

การรุกปรัสเซียตะวันออก

การรุกปรัสเซียตะวันออกคือการรุกของกองทัพแดงต่อกองทัพเวร์มัคท์ในแนวรบด้านตะวันออกเรื่มขึ้นในวันที่13 มกราคม – 25 เมษายน 1945 กองทัพเวร์มัคท์ยังไม่ยอมจำนนจนถึงวันที่ 9 พฤษภาคม ยุทธการที่เคอนิจส์แบร์กคือยุทธการสุดท้ายในการรุกที่โซเวียตได้รับชัยชนะอย่างเด็.

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและการรุกปรัสเซียตะวันออก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่สตาลินกราด

ทธการสตาลินกราด เป็นยุทธการใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายหนึ่ง สู้รบกับสหภาพโซเวียตอีกฝ่ายหนึ่ง เพื่อแย่งชิงการควบคุมนครสตาลินกราด (ปัจจุบันคือ วอลโกกราด ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหพันธรัฐรัสเซีย) ยุทธการดำเนินไประหว่างวันที่ 21 สิงหาคม..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและยุทธการที่สตาลินกราด · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 3

ทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 3 เป็นหนึ่งในการสู้รบในแนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง.ปฏิบัติการโดยกองทัพกลุ่มตอนใต้ได้ต่อสู้รบกับกองทัพแดง,บริเวณรอบๆของเมืองคาร์คอฟ (ปัจจุบันคือคาร์คิฟ) ระหว่างวันที่ 19 กุมภาพันธ์ และ 15 มีนาคม ปี..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและยุทธการที่คาร์คอฟครั้งที่ 3 · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่คูสค์

ทธการที่คูสค์ (Курская битва, Битва на Курской дуге) เกิดขึ้นเมื่อกำลังเยอรมนีและโซเวียตเผชิญหน้ากันในแนวรบด้านตะวันออกระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง บริเวณย่านชานนครคูสค์ (Kursk) ห่างจากกรุงมอสโกไปทางใต้ 450 กิโลเมตร ในสหภาพโซเวียต ช่วงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและยุทธการที่คูสค์ · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เบอร์ลิน

ทธการที่เบอร์ลิน หรือที่สหภาพโซเวียตตั้งชื่อว่า ปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบอร์ลิน (Битва за Берлин, Берлинская наступательная операция, Штурм Берлина) เป็นการรุกใหญ่ในช่วงปลายเขตสงครามยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มจากวันที่ 12 มกราคม..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและยุทธการที่เบอร์ลิน · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธการที่เคอนิจส์แบร์ก

ทธการที่เคอนิจส์แบร์ก (Battle of Königsberg) หรือที่รู้จักในชื่อ การรุกเคอนิจส์แบร์ก (Königsberg Offensive) เป็นปฏิบัติการสุดท้ายในการรุกปรัสเซียตะวันออกในเวลา 4 วัน โดย แนวรบบอลติกที่ 1 และ แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 3 ของกองทัพโซเวียตสามารถยึดเคอนิจส์แบร์กได้.

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและยุทธการที่เคอนิจส์แบร์ก · ดูเพิ่มเติม »

รายชื่อผู้บัญชาการทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง

นายแฟรงกลิน ดี.รูสเวลต์ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา คนที่ 32.

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและรายชื่อผู้บัญชาการทหารในสงครามโลกครั้งที่สอง · ดูเพิ่มเติม »

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต

วีรชนแห่งสหภาพโซเวียต (Герой Советского Союза, Geroy Sovietskogo Soyuza) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ที่สูงที่สุดในสหภาพโซเวียตบุคคลที่ได้รับรางวัลนี่เป็นกลุ่มสำหรับคสามกล้าหาญในการบริการให้กับรัฐโซเวียตและสังคม.

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและวีรชนแห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

สวนสนามชัยกรุงมอสโก ค.ศ. 1945

''ภาพยนตร์ข่าว พิธีสวนสนามชัยกรุงมอสโก ค.ศ. 1945 พิธีสวนสนามแห่งชัยชนะที่กรุงมอสโก..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและสวนสนามชัยกรุงมอสโก ค.ศ. 1945 · ดูเพิ่มเติม »

สตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533)

ตาลินกราด (Сталинград) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียต 2 ภาค มีเนื้อเรืองเกี่ยวกับยุทธการที่สตาลินกราด เป็นภาพยนตร์ร่วมมือกันระหว่าง สหภาพโซเวียต-เยอรมันตะวันออก-เชโกสโลวาเกีย-สหรัฐ กำกับโดย ยูรี โอเซรอฟ ภาพยนตร์ออกฉายในเดือนกุมภาพัน..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและสตาลินกราด (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2533) · ดูเพิ่มเติม »

สตาลินกราดสกายาบีตวา

ตาลินกราดสกายาบีตวา (Сталингра́дская би́тва) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์สหภาพโซเวียต 2 ภาค มีเนื้อเรืองเกี่ยวกับยุทธการที่สตาลินกราด ภาคที่หนึ่งออกฉายในวันที่ 9 พฤษภาคม..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและสตาลินกราดสกายาบีตวา · ดูเพิ่มเติม »

จอมพลแห่งสหภาพโซเวียต

อมพลแห่งสหภาพโซเวียต (Ма́ршал Сове́тского Сою́за) เป็นยศสูงสุดในกองทัพโซเวียต (ส่วนยศสูงสุด จอมพลสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียต ซึ่งมีการเสนอให้โจเซฟ สตาลินหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้น ไม่เคยได้รับอนุมัติอย่างเป็นทางการ).

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต · ดูเพิ่มเติม »

จอมพลแห่งโปแลนด์

อมพลแห่งโปแลนด์ (Marszałek Polski) เป็นยศทหารที่สูงที่สุดในกองทัพโปแลนด์ ยศนี่เทียบเท่าจอมพลและพลเอกแห่งกองทัพ (OF-10) ในกองกำลัง นาโต.

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและจอมพลแห่งโปแลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

ซอลดาตืยสโวโบดืย

ซอลดาตืยสโวโบดืย (Солдаты свободы) เป็นภาพยนตร์แนวสงครามและอิงประวัติศาสตร์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง 4 ภาคของสหภาพโซเวียตกำกับโดย ยูรี โอเซรอฟ เป็นภาพยนตร์ภาคต่อจากภาพยนตร์ ออสโวบอจเดนี.

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและซอลดาตืยสโวโบดืย · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการบากราติออน

ปฏิบัติการบากราติออน (Oперация Багратион, Operaion Bagration) เป็นชื่อรหัสของปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบลาร..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและปฏิบัติการบากราติออน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการยูเรนัส

ปฏิบัติการยูเรนัส (romanised: Operatsiya "Uran") เป็นรหัสนามของโซเวียต เมื่อวันที่ 19-23 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและปฏิบัติการยูเรนัส · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการสีน้ำเงิน

18 พฤศจิกายน ปฏิบัติการสีน้ำเงิน (Case Blue; Fall Blau) ภายหลังเปลี่ยนชื่อปฏิบัติการ Braunschweig เป็นแผนสำหรับเป็นที่ในช่วงฤดูร้อน 1942 กลยุทธ์ในการเข้าโจมภาคใต้ของสหภาพโซเวียตระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน ถึง24 พฤศจิกายน 1942 หลังจากความล้มเหลวในปฏิบัติการบาร์บารอสซา ซึ่งไม่สามารถยึดมอสโกได้ทันเวล.เยอรมนีจึงเล็งเมืองทางภาคใต้ของสหภาพโซเวียตนำโดยกองทัพกลุ่ม A และ B ช่วงแรกเข้าตีเมืองทางภาคใต้เข้าสู่สตาลินกราด จากนั้นกองทัพกลุ่ม A จะข้ามภูเขาคอเคซัสเพื่อเข้ายึดแหล่งน้ำมันใหญ่ของสหภาพโซเวียต ส่วนกองทัพกลุ่ม B จะนำกองกำลังเข้าป้องกันแม่น้ำโวลก้าในเขตสตาลินกราด ในการยุทธช่วงแรกกองทัพเยอรมนีสามารถนำเอาชนะกองทัพโชเวียตที่โวโรเนซและรอสตอฟ อย่างง่ายได้แต่เมื่อเข้าสู่ยุทธการที่สตาลินกราดพบการต้านทานอย่างหนักและพ่ายแพ้ในปฏิบัติการยูเรนัสและปฏิบัติการเสาร์ทำให้แผนการเข้าสู่แหล่งน้ำมันใหญ่ล้มเหลว นำถอยทัพกลับคูบานและเคิร์สต.

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและปฏิบัติการสีน้ำเงิน · ดูเพิ่มเติม »

ปฏิบัติการซิทาเดล

ปฏิบัติการซิทาเดล(Unternehmen Zitadelle)เป็นปฏิบัติการการรุกของเยอรมันที่ต่อกรกับกองทัพโซเวียตในส่วนที่ยืดออกของคูสค์ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองบนแนวรบด้านตะวันออก เป็นการริเริ่มของยุทธการที่คูสค์ ด้วยความตั้งใจของปฏิบัติการการป้องกันที่โซเวียตได้นำไปใช้เพื่อต่อต้านการรุกของเยอรมันที่เรียกว่า ปฏิบัติการป้องกันทางยุทธศาสตร์คูสค์ การรุกของเยอรมันได้ถูกตีโต้กลับด้วยปฏิบัติการ Polkovodets Rumyantsev (Полководец Румянцев) และปฏิบัติการคูตูซอฟ(Кутузов) สำหรับเยอรมัน การรบครั้งนี้เป็นการรุกทางยุทธศาสตร์ครั้งสุดท้ายที่พวกเขาจะสามารถเปิดฉากบนแนวรบด้านตะวันออก เมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรบุกเข้ายึดครองที่เกาะซิซิลีได้เริ่มต้นขึ้น อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้ถูกบังคับให้หันเหการฝึกกองกำลังทหารในฝรั่งเศสเพื่อเผชิญหน้าการคุกคามของฝ่ายสัมพันธมิตรในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แทนที่จะใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการสำรองกองกำลังสำหรับแนวรบด้านตะวันออก เยอรมันได้สูญเสียกำลังพลและรถถังอย่างกว้างขวางได้ทำให้เกิดความมั่นใจของกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียตที่ได้รับชัยชนะนั้นได้มีความสุขกับการริเริ่มทางยุทธศาสตร์สำหรับช่วงที่เหลือของสงคราม เยอรมันได้คาดหวังว่าจะลดศักยภาพของการรุกฝ่ายโซเวียตลงสำหรับช่วงฤดูร้อนในปี..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและปฏิบัติการซิทาเดล · ดูเพิ่มเติม »

ปาเดนีเอเบียร์ลีนา

ปาเดนีเอเบียร์ลีนา (Падение Берлина) เป็นภาพยนตร์แนวสงครามของสหภาพโซเวียต และเป็นตัวอย่างของผลงานแนวสัจนิยมสังคมนิยม ปาเดนีเอเบียร์ลีนา มี 2 ภาค ออกฉายในวันที่ 21 มกราคม..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและปาเดนีเอเบียร์ลีนา · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง)

แนวรบด้านตะวันออกเป็นเขตสงครามหนึ่งในสงครามโลกครั้งที่สอง มีอักษะประเทศในทวีปยุโรป และคู่สงครามร่วมฟินแลนด์ฝ่ายหนึ่ง กับสหภาพโซเวียต โปแลนด์และชาติสัมพันธมิตรจำนวนหนึ่งอีกฝ่ายหนึ่งเป็นคู่สงคราม เขตสงครามนี้กินอาณาบริเวณยุโรปตะวันออก บางส่วนของยุโรปเหนือและยุโรปใต้ สู้รบกันระหว่างวันที่ 22 มิถุนายน..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและแนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) · ดูเพิ่มเติม »

แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1

แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1 (1-й Белорусский фронт) เป็นแนวรบหน้าของกองทัพโซเวียตในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วงหลังสงครามแนวรบนี้ได้วางกำลังในเยอรมนีตะวันออกเป็นกองกำลังโซเวียตในเยอรมนีตะวันออก.

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและแนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1 · ดูเพิ่มเติม »

เดนโคมันดีราดีวีซีอิ

นโคมันดีราดีวีซีอิ (День командира дивизии) เป็นภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ของสหภาพโซเวียต ภาพยนตร์ได้โครงเรื่องจากนวนิยายของ Aleksandr Bek ที่วางจำหน่ายในเดือนสิงหาคม..

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและเดนโคมันดีราดีวีซีอิ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัย

รื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัย (Орден "Победa") คือเครื่องอิสริยาภรณ์ที่สหภาพโซเวียตมอบให้กับผู้บัญชาการทหารในสงครามโลกครั้งที่สองและจอมพลแห่งสหภาพโซเวียต.

ใหม่!!: คอนสตันติน โรคอสซอฟสกีและเครื่องอิสริยาภรณ์แห่งชัย · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

Konstantin Rokossovsky

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »