โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เฮ็นไตและโชะตะคอน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง เฮ็นไตและโชะตะคอน

เฮ็นไต vs. โชะตะคอน

เฮ็นไต เป็นคำศัพท์ในภาษาญี่ปุ่นที่หมายถึง "การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย" หรือ "ความผิดปกติ" รวมทั้งยังสามารถแปลว่า "แปลงร่าง" ได้ด้วย (ได้เหรอ?) ในประเทศญี่ปุ่น คำว่า "เฮ็นไต" มักใช้ในความหมายไม่ดี อาจหมายถึง "ความผิดปกติทางเพศ" และในประเทศอื่นบางประเทศใช้หมายถึงการ์ตูนญี่ปุ่น (ทั้งที่เป็นมังงะ, โดจินชิ และอะนิเมะ) และเกมคอมพิวเตอร์ญี่ปุ่น ที่มีลักษณะลามกอนาจาร เช่น มีภาพการมีเพศสัมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ และมักใช้อักษร H นำหน้าชื่อ เช่น H-Game หรือ H-Anime เพื่อระบุประเภท อย่างไรก็ตาม คำว่าเฮ็นไตในความหมายเกี่ยวกับสื่อลามกนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้กันในประเทศญี่ปุ่น ในประเทศญี่ปุ่นเรียกเฮ็นไตที่เป็นอะนิเมะว่า "18+" หรือ "อะนิเมะเร้ากำหนัด" (erotic anime) นอกจาก นี้ยังอาจเรียกเฮ็นไตที่เป็นเกมคอมพิวเตอร์ว่า เอะโระเก หมวดหมู่:ศัพท์ในการ์ตูนญี่ปุ่น หมวดหมู่:สื่อลามกอนาจาร. ตะคอน (shotacon) หรือมักย่อว่า โชะตะ เป็นคำตลาดในภาษาญี่ปุ่น ย่อจากคำประสมว่า "โชตะโรคอมเพลกซ์" (shōtarō complex) แปลว่า ปมโชตะโร มีที่มาจากตัวละครชื่อ โชตะโร ในอะนิเมะเรื่อง เทตสึจิน หุ่นเหล็กหมายเลข 28 (Tetsujin 28-go)Saitō Tamaki (2007) "Otaku Sexuality" in Christopher Bolton, Istvan Csicsery-Ronay Jr., and Takayuki Tatsumi ed., page 236 University of Minnesota Press ISBN 978-0-8166-4974-7 โชะตะคอน หมายความว่า ความหลงใหลใน "หนุ่มน้อย" หรือบุคคลที่มีความหลงใหลเช่นนั้น ตรงกันข้ามกับโลลิคอน (lolicon) ซึ่งว่าด้วย "สาวน้อย" อนึ่ง คำโชะตะคอนนี้ ภายนอกประเทศญี่ปุ่นยังใช้เรียกมังงะหรืออะนิเมะซึ่งแสดงภาพตัวละครผู้ชายในวัยหนุ่มหรือก่อนเป็นหนุ่มไปในอิริยาบถเร้ากำหนัดหรือเชิงสังวาส ทั้งยังใช้หมายถึงตัวละครชายที่พ้นวัยหนุ่มแล้วแต่ยังมีรูปโฉมเยาว์วัยเหมือนหนุ่มอยู่ด้วย ในหมู่ผู้นิยมวัฒนธรรมญี่ปุ่น ทั้งที่เป็นชาวญี่ปุ่นเองและชาวประเทศอื่นนั้น งานประเภทโชะตะคอนมีทั้งที่เร้ากำหนัดเพียงเล็กน้อย ที่ชวนรักใคร่ ที่ไม่เกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมทางเพศโดยสิ้นเชิง ไปจนถึงที่แสดงความลามกอนาจารอย่างแจ้งชัด เช่นเดียวกับโลลิคอน โชะตะคอนนั้นสัมพันธ์กับทัศนคติเรื่องคะวะอี (kawaii, ความน่ารัก) และโมะเอะ (moe, บุคลิกลักษณะน่ารัก อ่อนหวาน อ่อนวัย และชวนปกป้องดูแล) องค์ประกอบโชะตะคอน อาทิ ยะโอะอิ (yaoi, ชายรักร่วมเพศ) นั้น ค่อนข้างดาษดื่นในมังงะประเภทโชโจะ (shōjo, มังงะที่มีกลุ่มลูกค้าเป็นหญิงสาววัยรุ่น) เช่น เรื่อง เลิฟเลส (Loveless) ที่ว่าด้วยความสัมพันธ์เชิงสังวาสระหว่างเด็กชายอายุสิบสองปีกับผู้ชายอายุยี่สิบปี ส่วนมังงะประเภทเซเน็ง (seinen, มังงะที่มีกลุ่มลูกค้าเป็นชายหนุ่ม) โดยเฉพาะที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นโอะตะกุ (otaku, ผู้นิยมมังงะ อะนิเมะ หรือวิดีโอเกมเป็นพิเศษ) นั้น บางคราวก็แสดงตัวละครชายวัยรุ่นไปในเชิงเร้ากามารมณ์แต่ไม่ลามกอนาจาร เช่น เรื่อง ยุบิซะกิมิลก์ที (Yubisaki Milk Tea) ที่มีตัวเอกเป็นเด็กชายลักเพศอายุสิบหกปี นักวิพากษ์วิจารณ์บางคนเห็นว่า งานประเภทโชะตะคอนนั้นส่งผลให้เกิดการล่วงละเมิดทางเพศต่อเด็กขึ้นจริง ๆ ขณะที่นักวิจารณ์กลุ่มอื่น ๆ แย้งว่า ข้ออ้างดังกล่าวไม่มีพยานหลักฐานรองรับ และถึงมี ก็เป็นพยานหลักฐานที่บ่งชี้ไปในทางอื่นเสียมากกว.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง เฮ็นไตและโชะตะคอน

เฮ็นไตและโชะตะคอน มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มังงะอะนิเมะ

มังงะ

หน้าหนึ่งจากหนังสือการ์ตูนเรื่องมาร์มาเลดบอย ฉบับภาษาญี่ปุ่น เล่ม 1 มังงะ เป็นคำภาษาญี่ปุ่นสำหรับเรียกการ์ตูนช่อง สำหรับภายนอกประเทศญี่ปุ่น คำนี้ถูกใช้เรียกการ์ตูนช่องที่มาจากญี่ปุ่น มังงะพัฒนามาจากอุคิโยเอะและจิตรกรรมตะวันตก และเริ่มคงรูปแบบที่เป็นอยู่ในปัจจุบันตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง มังงะที่ได้รับความนิยมสูงมักถูกนำไปสร้างเป็นอะนิเมะ เนื้อหาของมังงะเหล่านั้นมักถูกดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมต่อการแพร่ภาพทางโทรทัศน์และเพื่อให้ถูกรสนิยมของผู้ชมทั่วไปมากขึ้น.

มังงะและเฮ็นไต · มังงะและโชะตะคอน · ดูเพิ่มเติม »

อะนิเมะ

รูปแบบอะนิเมะในปัจจุบัน อะนิเมะ (「アニメ」 anime) เป็นคำภาษาญี่ปุ่นที่มาจากภาษาอังกฤษว่า แอนิเมชั่น (animation) ซึ่งมาจาก ภาษาฝรั่งเศส อานีเม่ (animé) และจากภาษาละติน แปลว่าเคลื่อนไหว หรือภาพเคลื่อนไหว แต่ความหมายกลายจนเป็นคำเฉพาะของภาษาญี่ปุ่นแปลว่า ภาพยนตร์การ์ตูน ภายนอกประเทศญี่ปุ่น อะนิเมะหมายถึงภาพยนตร์การ์ตูนสัญชาติญี่ปุ่น ซึ่งส่วนใหญ่มีลักษณะทางศิลปะแตกต่างกับภาพยนตร์การ์ตูนจากแหล่งอื่น อะนิเมะส่วนใหญ่จะวาดขึ้นด้วยมือ แต่ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยสร้างอะนิเมะอย่างแพร่หลาย อะนิเมะส่วนใหญ่สร้างขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงเหมือนภาพยนตร์ โดยมีแนวเรื่องหลากหลายและครอบคลุมแนววรรณกรรมเกือบทุกแนว อะนิเมะส่วนใหญ่ถูกสร้างขึ้นเป็นตอน ๆ เพื่อฉายทางโทรทัศน์ ส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนเรื่องยาวเพื่อฉายในโรงภาพยนตร์ และอีกส่วนหนึ่งถูกสร้างเป็นตอน ๆ เพื่อขายตรงในรูปแบบดีวีดี วีซีดี หรือวีดิโอ ดูมีการทำตอนเฉพาะที่เรียกว่า โอวีเอ อะนิเมะหลายเรื่องถูกดัดแปลงมาจากมังงะ นอกจากนี้ยังมีอะนิเมะที่ถูกนำไปดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อีกด้ว.

อะนิเมะและเฮ็นไต · อะนิเมะและโชะตะคอน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง เฮ็นไตและโชะตะคอน

เฮ็นไต มี 9 ความสัมพันธ์ขณะที่ โชะตะคอน มี 13 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 9.09% = 2 / (9 + 13)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เฮ็นไตและโชะตะคอน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »