โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน

ดัชนี เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน

แกร์รี โคเบน ในปี 2009 สมาชิกวง เดอะ ฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน ที่เมืองเคียฟ ประเทศยูเครน เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน (The Future Sound of London) (มักย่อว่า FSOL) เป็นวงดนตรีอิเล็กทรอนิกส์จากอังกฤษ ประกอบด้วยสมาชิกดูโอ แกร์รี โคเบน และไบรอัน ดูแกน.

41 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2509พ.ศ. 2511พ.ศ. 2531กีตาร์ลิซ่า เจอร์ราดวีแฮฟเอ็กซ์โพลซีฟสแลม (เพลง)สเตเกอร์ฮิวแมนนอยด์อิเล็กทรอนิกาผู้กำกับภาพยนตร์ทริปฮอปดรัมแมชชีนดิอิสเนสดนตรีดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีแอมเบียนต์ดนตรีแดนซ์คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์กราฟิกส์คิว (เพลง)คีตกวีซีเควนเซอร์ประเทศอังกฤษปาปัวนิวกินี (เพลง)แมนเชสเตอร์แอซิดเฮาส์แอนิเมชันแอ็กเซเลเรเทอร์แซมเพลอร์โพรเกรสซิฟร็อกโกลบอลโปรดิวเซอร์เพลงไลฟ์ฟอร์มสไอเอสดีเอ็น (อัลบั้ม)เอิร์ธบีตเฮาส์ (แนวดนตรี)เทคโนเทคโนโลยีเดดซิตีส์เครื่องสังเคราะห์เสียง

พ.ศ. 2509

ทธศักราช 2509 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1966 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและพ.ศ. 2509 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2511

ทธศักราช 2511 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1968 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและพ.ศ. 2511 · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2531

ทธศักราช 2531 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1988 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ (ลิงก์ไปยังปฏิทิน) ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและพ.ศ. 2531 · ดูเพิ่มเติม »

กีตาร์

กีตาร์ (guitar) เป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง จัดเป็นพวกเครื่องสาย มักจะเล่นด้วยนิ้วมือซ้าย และดีดด้วยนิ้วมือขวาหรือใช้ปิ๊กดีดกีตาร์ เสียงของกีตาร์นั้นเกิดจากการสั่นสะเทือนของสาย ทำให้เกิดกำทอน (resonance) แก่ตัวกีตาร์และคอกีตาร์ ยอร์ช กีตาร์นั้น มีทั้งแบบกีตาร์อะคูสติก และกีตาร์ไฟฟ้า บางตัวก็เป็นได้ทั้งสองอย่าง กีตาร์มีส่วนตัวเป็นกล่องกำทอน ซึ่งในกีตาร์อะคูสติกจะเจาะเป็นช่อง ส่วนกีตาร์ไฟฟ้ามักจะตัน และมีโพรงในส่วนคอกีตาร์ โดยทั่วไปแล้วส่วนหัวของกีตาร์จะยืดขึ้นไปจากคอ เพื่อใส่ลูกบิดหมุนสายสำหรับปรับเสียง กีตาร์เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้แพร่หลาย และใช้กับดนตรีหลากหลายสไตล์ นับเป็นเครื่องดนตรีที่นิยมใช้บรรเลงเดี่ยวอย่างกว้างขวางที่พบเห็นมากที่สุดคือกีตาร์คลาสสิก และยังเป็นเครื่องดนตรีหลักในวงดนตรีประเภทบลูส์ และดนตรีร็อกอีกด้วย กีตาร์สามารถเล่นในยามว่าง หรือ เป็นงานอดิเรก ได้ดี ปกติกีตาร์จะมี 6 สาย แต่แบบ 4- 7- 8- 10- 12- สายก็มีเช่นกัน ผู้ประดิษฐ์กีตาร์จะเรียกว่า Luthier.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและกีตาร์ · ดูเพิ่มเติม »

ลิซ่า เจอร์ราด

ลิซ่า เจอร์ราด นักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวออสเตรเลีย มีชื่อเสียงจากวงดนตรีดูโอ ชื่อ Dead Can Dance เล่นดนตรีในแนวโกธิก, นิวเอจ, แอมเบียนต์ ระยะหลังหันมาผลิตผลงานดนตรีประกอบภาพยนตร์ โดยอัลบั้มที่มีชื่อเสียงคือ เพลงประกอบภาพยนตร์ Gladiator (นักรบผู้กล้าผ่าแผ่นดินทรราช) เป็นผลงานร่วมกับฮานส์ ซิมเมอร์ นักแต่งเพลงชาวเยอรมัน ได้รับรางวัลลูกโลกทองคำ และเข้าชิงรางวัลออสการ.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและลิซ่า เจอร์ราด · ดูเพิ่มเติม »

วีแฮฟเอ็กซ์โพลซีฟ

วีแฮฟเอ็กซ์โพลซีฟ (We Have Explosive) เป็นเพลงของวง เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน ออกจำหน่ายเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2540.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและวีแฮฟเอ็กซ์โพลซีฟ · ดูเพิ่มเติม »

สแลม (เพลง)

แลม (Slam) เป็นซิงเกิลเอซิดเฮาส์ จาก อัลบั้มชุด โกลบอล และ เป็นซิงเกิลของ ฮิวแมนนอยด์หรือเป็นชื่ออีกชื่อหนึ่งคือ ไบรอัน ดูแกนส์ เป็นสมาชิกวง เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน ออกจำหน่าย ในปี 1989 ขึ้นชาร์ตซิงเกิลอันดับสูงสุดที่ 54.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและสแลม (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

สเตเกอร์ฮิวแมนนอยด์

ตเกอร์ฮิวแมนนอยด์ (Stakker Humanoid) เป็นซิงเกิลเอซิดเฮาส์ของ ฮิวแมนนอยด์ ออกจำหน่าย ในปี 1988 สเตเกอร์ฮูแมนนอยด์ หรือเป็นชื่ออีกชื่อหนึ่งคือ ไบรอัน ดูแกนส์ เป็นสมาชิกวง เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนเป็นเพลงแต่งเองครั้งแรกในเมื่อปลายยุค 80s ทำเพลงโดยใช้เครื่องสังเคราะห์เสียงอีเลกโทรนิก คือ Roland TB-303.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและสเตเกอร์ฮิวแมนนอยด์ · ดูเพิ่มเติม »

อิเล็กทรอนิกา

อิเล็กทรอนิกา (electronica) เป็นคำที่ใช้รวมกับแนวดนตรีอิเล็กทรอนิกส์หลายประเภท เช่น เทคโน เฮาส์ แอมเบียนต์ ดรัมแอนด์เบส จังเกิล อินดัสเทรียลแดนซ์ และท่ามกลางแนวดนตรีอื่น มันถูกนำมาใช้เพื่ออธิบายรูปแบบดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้จัดเป็นเพียงแค่เพลงเต้นรำ แต่ยังเน้นในการฟังเพลงมากกว.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและอิเล็กทรอนิกา · ดูเพิ่มเติม »

ผู้กำกับภาพยนตร์

วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง ขณะกำกับภาพยนตร์ในกองถ่ายเรื่องเปนชู้กับผี ผู้กำกับภาพยนตร์ คือผู้ที่มีหน้าที่กำกับในขั้นตอนการสร้างภาพยนตร์ โดยผู้กำกับภาพยนตร์มีหน้าที่สร้างจินตนาการจากบทหนัง แล้วถ่ายทอดความคิดทางด้านศิลปะออกมาตามแบบที่ตนเองต้องการ และเป็นคนสั่งฝ่ายอื่น ๆ ในกองถ่าย อย่างเช่น ฝ่ายผู้กำกับภาพ ผู้กำกับการแสดง ฝ่ายเทคนิค นักแสดง ออกมาอยู่ในองค์ประกอบทางศิลป์ที่ตนเองต้องการบนแผ่นฟิล์มหรือในระบบดิจิตอล อย่างไรก็ดี ผู้กำกับภาพยนตร์อาจจะควบคุมทุกอย่างตามที่ตนคิดไว้ไม่ได้เสมอไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเป็นภาพยนตร์ที่ฉายในโรง เพราะผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ จะเป็นคนกำหนดงบประมาณที่จะให้ผู้กำกับใช้จ่ายได้ หรือสั่งตัดต่อหนังในขั้นตอนสุดท้ายก่อนเข้าโรงฉายหากหนังมีความยาวเกินไป หรือเพื่อดึงการจัดเรตหนังให้ต่ำลงมา หรือบางฉากอาจจะมีการเพิ่มโฆษณาเข้าไป ดังนั้นเป็นเรื่องที่ไม่แปลกหากผู้กำกับจะมีปัญหาให้คุยกับผู้อำนวยการสร้างเสมอ.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและผู้กำกับภาพยนตร์ · ดูเพิ่มเติม »

ทริปฮอป

ทริปฮอป เป็นแนวเพลงย่อยที่ประกอบด้วยดนตรีดาวน์เทมโป อิเล็กทรอนิกส์ที่มีต้นกำเนิดในช่วงต้นในทศวรรษที่ 1990 ในสหราชอาณาจักร โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่บริสตอล เพราะอันเกิดมาจาก "หลังยุค" ดนตรีแอซิดเฮาส์ คำว่าทริปฮอปได้ใช้ครั้งแรกในสื่อดนตรีอังกฤษ และอธิบายถึงของดนตรีทดลองที่แตกต่างจากเบรกบีต ซึ่งได้รับอิทธิพลจากดนตรี โซล ฟังก์ และแจ๊ส ตามที่พจนานุกรมของเว็บสเตอร์ (Webster's Dictionary) คำนี้ถูกใช้ครั้งแรกในปี 1989 สารานุกรมบริตานิกาออนไลน์ (Encyclopædia Britannica Online) ยังอ้างว่าคำนี้ได้ใช้ใน มิกซ์แมก (Mixmag) เป็นนิตยสารของอังกฤษที่เชี่ยวชาญในดนตรีแดนซ์ ได้รับการอธิบายว่า "ทางเลือกของยุโรปช่วงครึ่งหลังของยุค 90" และ"ฟิวชันของฮิปฮอปและอิเล็กทรอนิกา จนกระทั่งแนวเพลงไม่ใช่ทั้งสองอย่างที่รู้จัก" ดนตรีทริปฮอป รวมดนตรีหลายสไตล์ และมีแนวอื่นมากขึ้นเช่นเดียวกัน อาจมีลักษณะที่คล้ายอย่างมากกับดนตรีแอมเบียนต์ ที่มีเสียงกลองจากเบรตดาวน์ ที่มีส่วนกับลักษณะของฮิปฮอปในประเทศสหรัฐอเมริกา และยังมีองค์ประกอบของ เฮาส์ แดนซ์ ดับ เรกเก้ ทริปฮอป ยังสามารถเป็นดนตรีทดลองได้อย่างมากในธรรมชาต.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและทริปฮอป · ดูเพิ่มเติม »

ดรัมแมชชีน

รัมแมชชีน Yamaha RY30 ดรัมแมชชีน (Drum machine) เป็นเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ที่จำรองเสียงกลอง ฉาบ เครื่องเคาะจังหวะอื่นๆ และเบสไลน์ ดรัมแมชชีนมักมีความเกี่ยวข้องกับดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ดนตรีเฮาส์ แต่ยังรวมถึงแนวเพลงอื่นๆ อีกมากมาย ยังถูกใช้แทนมือกลองที่ไม่ว่างหรือการลดค่าใช้จ่ายในการจ้างมือกลองที่มีค่าจ้างแพง นอกจากนี้ดรัมแมชชีนในปัจจุบันมีเสียงหลายรูปแบบที่ไม่ซ้ำกัน และช่วยให้ผู้ใช้แต่งจังหวะและการเขียนที่ไม่ซ้ำกันด้วย ที่ใช้งานไม่ยากและง่ายเหมือนคนตีกลองของจริง ในปัจจุบันดรัมแมชชีนยังเป็นซีเควนเซอร์ในรูปแบบแซมเพิล (rompler) หรือ ซินธิไซเซอร์ที่สังเคราะห์เสียงกลองจากกลอง.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและดรัมแมชชีน · ดูเพิ่มเติม »

ดิอิสเนส

อิสเนส (The isness) เป็นอัลบั้มของ Amorphous Androgynous หรือที่รู้จักในนาม เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน เป็นอัลบั้มเพลง อิเล็กทรอนิกส์, เอกซ์เปอีรีเม็นทัล, ไซเคเดลิก้า, โพรเกรสซีฟร็อก, ออกจำหน่าย ในปี..

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและดิอิสเนส · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรี

น้ตเพลง ดนตรี (music) คือ เสียงและโครงสร้างที่จัดเรียงอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ซึ่งมนุษย์ใช้ประกอบกิจกรรมศิลปะที่เกี่ยวข้องกับเสียง โดยดนตรีนั้นแสดงออกมาในด้านระดับเสียง (ซึ่งรวมถึงท่วงทำนองและเสียงประสาน) จังหวะ และคุณภาพเสียง (ความต่อเนื่องของเสียง พื้นผิวของเสียง ความดังค่อย) นอกจากดนตรีจะใช้ในด้านศิลปะได้แล้ว ยังสามารถใช้ในด้านสุนทรียศาสตร์ การสื่อสาร ความบันเทิง รวมถึงใช้ในงานพิธีการต่าง ๆ ได้.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและดนตรี · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์

นตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ ในบางครั้งเีรียกว่า ไอดีเอ็ม (IDM) หริอ เบรนแดนซ์ (Braindance) เป็นคำที่อธิบายแนวเพลงอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในช่วงต้นทศวรรษ 1990 แต่เดิมแนวเพลงได้รับอิทธิพลจากการพัฒนาในดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ เช่น ดีทรอยต์เทคโน และเบรกบีตหลากหลายรูปแบบที่เกิดขึ้นใหม่ในสหราชอาณาจักรในช่วงเวลานั้น"The electronic listening music of the Nineties is a prime example of an art form derived from and stimulated by countless influences.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์

นตรีอิเล็กทรอนิกส์ (electronic music) เป็นดนตรีที่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ในการผลิตขึ้นมา โดยทั่วไปแล้วความโดดเด่นของดนตรีสามารถเกิดขึ้นโดยใช้เครื่องดนตรีไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีเครื่องไฟฟ้า"The stuff of electronic music is electrically produced or modified sounds.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีแอมเบียนต์

นตรีแอมเบียนต์ เป็นแนวเพลงที่เน้นเรื่องของเสียงมากกว่าตัวโน้ต เน้นบรรยากาศ สภาพสิ่งแวดล้อม ในธรรมชาติ แอมเบียนต์เกิดขึ้นในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เป็นการนำสไตล์เพลงหลาย ๆ อย่างมารวมกัน ไม่ว่าจะเป็นแนวแจ๊ซ, อิเล็กทรอนิกส์, นิวเอจ, ร็อค แอนด์ โรล,ดนตรีคลาสสิก, เร็กเก้, เวิลด์มิวสิก หรือแม้กระทั่งเสียงทั่ว ๆ ไป (Noise) ไบรอัน อีโน่ (สมาชิกวง Roxy Music และโปรดิวเซอร์ของ U2 กับ เดวิด โบวี่) ให้คำนิยามดนตรีแอมเบียนต์ โดยเขียนนิยามดนตรีในอัลบั้มของเขาอัลบั้มชื่อ Ambient 1: Music for Airports ในปี 1978 ดนตรีแอมเบียนต์ เป็นดนตรีที่ไม่ได้เรียกร้องความสนใจ มันเหมือนเสียงบรรยากาศในสกอร์ประกอบหนังที่ไม่มีใครสังเกต เหมือนเสียงเพลงเบาๆ ในลิฟต์ที่ไม่มีใครใส่ใจ หรือเสียงซาวด์เอ็ฟเฟกต์ตามคลื่นวิทยุ ได้ซ่อนตัวเป็นเหมือนชั้นบรรยาก.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและดนตรีแอมเบียนต์ · ดูเพิ่มเติม »

ดนตรีแดนซ์

ดนตรีแดนซ์ (dance music) เป็นดนตรีที่ประพันธ์ขึ้นโดยเฉพาะเพื่ออำนวยความสะดวกหรือเพื่อคลอไปกับการเต้นรำ ในด้านการแสดง ดนตรีแดนซ์แบ่งประเภทหลักเป็นดนตรีแดนซ์สดกับดนตรีแดนซ์ที่บันทึกไว้ ขณะที่มีหลักฐานยืนยันว่ามีการเต้นรำพร้อมกับดนตรีตั้งแต่ยุคโบราณ (ตัวอย่างเช่น แจกันสมัยกรีกโบราณแสดงนักเต้นรำร่วมกับนักดนตรี) ดนตรีแดนซ์ฝั่งตะวันตกยุคแรก ๆ คือการเต้นรำยุคกลางที่เหลือรอดมาได้ ในยุคบาโรก รูปแบบการเต้นรำหลัก ๆ คือการเต้นรำในราชสำนักคนชั้นสูง ดนตรีแดนซ์สมัยใหม่ได้เกิดขึ้นจากเพลงลีลาศแบบตะวันตกในปลายศตวรรษที่ 19 ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 การเต้นลีลาศได้เพิ่มความนิยมในหมู่ชนชั้นแรงงานที่มักเข้าร่วมงานเต้นรำสาธารณะ ดนตรีแดนซ์กลายเป็นที่นิยมอย่างมากในช่วงยุค 1920 ในยุค 1930 ดนตรีสวิงเป็นดนตรีแดนซ์ที่นิยมในอเมริกา ยุค 1950 ร็อกแอนด์โรลกลายเป็นดนตรีแดนซ์ที่นิยม ในช่วงปลายยุค 1960 มีการเกิดของแนวเพลงโซลและอาร์แอนด์บีและดิสโก้ในยุค 1970 ซึ่งทำให้ดนตรีแดนซ์เป็นที่นิยมมากในผู้คนทั่วไป มาถึงช่วงปลายยุค 1970 ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ได้รับการพัฒนามาเรี่อย ๆ โดยส่วนใหญ่ใช้เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นรูปแบบของเพลงสมัยนิยมที่มักจะเปิดในไนต์คลับ สถานีวิทยุ คอนเสิร์ต หมวดหมู่:ดนตรีแดนซ์.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและดนตรีแดนซ์ · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์

อบีเอ็ม โรดรันเนอร์ - ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดในโลกผลิตโดยไอบีเอ็มและสถาบันวิจัยแห่งชาติลอสอะลาโมส (2551) http://www.cnn.com/2008/TECH/06/09/fastest.computer.ap/ Government unveils world's fastest computer จากซีเอ็นเอ็น คอมพิวเตอร์ (computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์ เป็นเครื่องจักรแบบสั่งการได้ที่ออกแบบมาเพื่อดำเนินการกับลำดับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์หรือคณิตศาสตร์ โดยอนุกรมนี้อาจเปลี่ยนแปลงได้เมื่อพร้อม ส่งผลให้คอมพิวเตอร์สามารถแก้ปัญหาได้มากมาย คอมพิวเตอร์ถูกประดิษฐ์ออกมาให้ประกอบไปด้วยความจำรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเก็บข้อมูล อย่างน้อยหนึ่งส่วนที่มีหน้าที่ดำเนินการคำนวณเกี่ยวกับตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ และตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ และส่วนควบคุมที่ใช้เปลี่ยนแปลงลำดับของตัวดำเนินการโดยยึดสารสนเทศที่ถูกเก็บไว้เป็นหลัก อุปกรณ์เหล่านี้จะยอมให้นำเข้าข้อมูลจากแหล่งภายนอก และส่งผลจากการคำนวณตัวดำเนินการออกไป หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์มีหน้าที่ดำเนินการกับคำสั่งต่าง ๆ ที่คอยสั่งให้อ่าน ประมวล และเก็บข้อมูลไว้ คำสั่งต่าง ๆ ที่มีเงื่อนไขจะแปลงชุดคำสั่งให้ระบบและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ เป็นฟังก์ชันที่สถานะปัจจุบัน คอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1940 – ค.ศ. 1945) แรกเริ่มนั้น คอมพิวเตอร์มีขนาดเท่ากับห้องขนาดใหญ่ ซึ่งใช้พลังงานมากเท่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) สมัยใหม่หลายร้อยเครื่องรวมกัน คอมพิวเตอร์ในสมัยใหม่นี้ผลิตขึ้นโดยใช้วงจรรวม หรือวงจรไอซี (Integrated circuit) โดยมีความจุมากกว่าสมัยก่อนล้านถึงพันล้านเท่า และขนาดของตัวเครื่องใช้พื้นที่เพียงเศษส่วนเล็กน้อยเท่านั้น คอมพิวเตอร์อย่างง่ายมีขนาดเล็กพอที่จะถูกบรรจุไว้ในอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์มือถือนี้ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ขนาดเล็ก และหากจะมีคนพูดถึงคำว่า "คอมพิวเตอร์" มักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ของยุคสารสนเทศ อย่างไรก็ดี ยังมีคอมพิวเตอร์ชนิดฝังอีกมากมายที่พบได้ตั้งแต่ในเครื่องเล่นเอ็มพีสามจนถึงเครื่องบินบังคับ และของเล่นชนิดต่าง ๆ จนถึงหุ่นยนต์อุตสาหกรรม.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและคอมพิวเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

คอมพิวเตอร์กราฟิกส์

อมพิวเตอร์กราฟิกส์ (computer graphics) หรือในศัพท์บัญญัติว่า วิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ คือหนึ่งในศาสตร์ องค์ความรู้ ของระเบียบวิธีการแก้ปัญหาเชิงคอมพิวเตอร์ (computing methodology) ที่แก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องของภาพหรือการแสดงภาพ โดยเน้นการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ให้ข้อมูลนำเข้าเป็นข้อมูลตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญญานต่าง ๆ แทน ตำแหน่งพิกัด สี รูปทรง ความสว่าง ขั้นตอนแรกเริ่มต้นด้วยการสร้างแบบจำลอง (modeling) เพื่อแทนความสัมพันธ์ของข้อมูลต่าง ๆ เหล่านั้นให้สามารถประมวลผลได้ด้วยคอมพิวเตอร์ ตามด้วย การแปรเป็นภาพสุดท้าย หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเร็นเดอร์ หรือการเร็นเดอร์ (rendering) เป็นการแปรหรือแสดงผลลัพธ์ทางอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ เช่น จอภาพ หรือ อุปกรณ์อื่น ๆ ออกมาเป็นภาพเชิงเรขาคณิตมองเห็น รูปทรง สีสัน ลวดลาย ลายผิว หรือ ลักษณะแสงเงา รวมถึง ข้อมูลอื่น ๆ ของภาพ เช่น ข้อมูลการเคลื่อนไหว การเปลี่ยนแปลง ลักษณะการเชื่อมต่อ และ ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุหรือสิ่งของในภาพ วิชานี้ยังครอบคลุมถึงการศึกษาด้านระบบในการแสดงภาพ ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ สถาปัตยกรรมของเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เชื่อมต่อ หรือ อุปกรณ์ในการนำเข้า และ แสดงผล ปัจจุบันมีการประยุกต์ วิชาเรขภาพคอมพิวเตอร์ใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีอื่น เช่น การสร้างภาพเคลื่อนไหวหรือ แอนิเมชัน งานภาพยนตร์ เกม สื่อประสมภาพและเสียง ศึกษาบันเทิง หรือ ระบบสร้างภาพความจริงเสมือน เป็นต้น ระเบียบวิธีที่นิยมแบ่งเป็นสองวิธีหลัก คือ การใช้หลักการฉายและการใช้หลักการตามรอยละแสง สำหรับวิธีการสร้างภาพโดยใช้หลักการฉาย (projective method) ซึ่งใช้หลักการแปลงพิกัดข้อมูลตำแหน่งต่าง ๆ ในสามมิติ ให้เป็นข้อมูลที่มีพิกัดสองมิติแล้วแสดงผลบนอุปกรณ์แสดงผลเช่นจอภาพ เป็นต้น โดยระหว่างการแปลงพิกัดจะมีการคำนวณย่อย เช่น การขริบ (clipping) การขจัดเส้นแฝงผิวแฝง (hidden line/surface removal) และ การทำให้เป็นจุดภาพ (rasterization) เป็นต้น อีกวิธีที่นิยมใช้คือ การตามรอยลำแสง (ray tracing) ซึ่งเป็นการคำนวณโดยอาศัยหลักไล่ตามรอยทางเดินของแสงที่มาจากแหล่งกำเนิดแสงมาตกกระทบที่วัตถุแล้วสะท้อนเข้าตาหรือกล้อง โดยไล่ตรวจสอบย้อนรอยแสง ไปดูค่าความสว่างของวัตถุที่จะแสดงในแต่ละจุดภาพบนอุปกรณ์แสดงผล.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ · ดูเพิ่มเติม »

คิว (เพลง)

"คิว" (Q) เป็นซิงเกิลของ Mental Cube หรือที่รู้จักในนาม เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน ออกจำหน่าย ในปี..

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและคิว (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

คีตกวี

ลุดวิจ ฟาน เบโทเฟน ใน ค.ศ. 1820 คีตกวี เป็นคำศัพท์ทางดนตรีที่พบได้บ่อยครั้ง หมายถึง ผู้ประพันธ์ดนตรี มักจะใช้เรียกผู้ที่แต่งและเรียบเรียงดนตรีบางประเภท โดยเฉพาะ ดนตรีคลาสสิก โดยที่ผู้แต่งเพลงมักจะแต่งทั้งท่วงทำนองหลัก และแนวประสานทั้งหมด เพื่อให้นักดนตรีเป็นผู้นำบทเพลงนั้นไปบรรเลงอีกทอดหนึ่ง โดยนักดนตรีจะต้องบรรเลงทุกรายละเอียดที่คีตกวีได้กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด คำว่า คีตกวี ในภาษาไทยนี้ นิยมใช้เรียก ผู้ประพันธ์ดนตรีในแนวดนตรีคลาสสิกของตะวันตก โดยแปลมาจากคำว่า composer นั่นเอง อย่างไรก็ดี บางท่านอาจใช้คำว่า ดุริยกวี แต่ก็มีความหมายอย่างเดียวกัน สำหรับผู้ที่แต่งเพลงในแนวดนตรีอื่นๆ มักจะเรียกว่า นักแต่งเพลง หรือ ครูเพลง เท่านั้น คีตกวี อาจไม่จำเป็นต้องประพันธ์ดนตรีลงในแผ่นกระดาษเพียงอย่างเดียว แต่อาจเป็นผู้บรรเลงบทประพันธ์นั้นเป็นครั้งแรก และในภายหลังมีผู้อื่นนำไปใช้บรรเลงตามก็ได้ชื่อว่า คีตกวี เช่นกัน โดยทั่วไปเราจะรู้จัก คีตกวี ในฐานะที่เป็น นักแสดงดนตรี แม้ว่าหลายท่านจะมีผลงานการประพันธ์ดนตรี มากกว่าผลงานการบรรเลงก็ตาม เช่น เบโทเฟิน, โมซาร์ท, วากเนอร์ ฯลฯ.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและคีตกวี · ดูเพิ่มเติม »

ซีเควนเซอร์

ซีเควนเซอร์ หรือ การจัดลำดับดนตรี (music sequencer หรือ sequencer) เป็นอุปกรณ์หรือโปรแกรมเขียนเพลงที่สามารถจัดลำดับโน๊ตเพลงขึ้นมาเองได้ ผ่านในการบันทึกหลายรูปแบบ เช่น CV/gate, MIDI หรือ โอเพนซาวด์คอนโทรล (OSC) บางครั้งสามารถใช้ระบบข้อมูลอัตโนมัติผ่าน DAW หรือปลั๊กอินอื่น.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและซีเควนเซอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศอังกฤษ

อังกฤษ (England อิง(ก)ลันด์) หรือในอดีตเรียกว่า แคว้นอังกฤษ เป็นประเทศอันเป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักร มีพรมแดนทางบกติดต่อกับสกอตแลนด์ทางเหนือ และเวลส์ทางตะวันตก ทะเลไอร์แลนด์ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต้ ทะเลเหนือทางตะวันออก และช่องแคบอังกฤษซึ่งคั่นระหว่างอังกฤษกับยุโรปแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ประเทศอังกฤษส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของเกาะบริเตนใหญ่ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกว่าอีกกว่า 100 เกาะ เช่น หมู่เกาะซิลลีและเกาะไวต์ ภูมิประเทศของอังกฤษส่วนมากประกอบด้วยเขาเตี้ยๆ และที่ราบ โดยเฉพาะทางตอนกลางและตอนใต้ของอังกฤษ อย่างไรก็ตาม ทางเหนือและทางตะวันตกเฉียงใต้เป็นที่สูง วินเชสเตอร์เป็นเมืองหลวงเก่าของอังกฤษกระทั่งเปลี่ยนมาเป็นลอนดอนใน..

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและประเทศอังกฤษ · ดูเพิ่มเติม »

ปาปัวนิวกินี (เพลง)

ปาปัวนิวกินี เป็น ซิงเกิลแรกของวงอีเลคโทรนิก เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน ออกจำหน่าย ในปี..

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและปาปัวนิวกินี (เพลง) · ดูเพิ่มเติม »

แมนเชสเตอร์

แมนเชสเตอร์ (Manchester) เป็นนครและโบโรฮ์มหานคร ในเทศมณฑลเกรเทอร์แมนเชสเตอร์ ตอนเหนือของประเทศอังกฤษ มีประชากรในปี..

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและแมนเชสเตอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แอซิดเฮาส์

แอซิดเฮาส์ (Acid house) เป็นแนวเพลงย่อยของดนตรีเฮาส์ที่เน้นจังหวะซ้ำแบบถูกสะกดจิต เหมือนกับดนตรีแทรนซ์ที่มักจะมีแซมเพิล หรือมีสายเสียงพูดแทนศิลปิน มีแกนเสียงดังผลัวะแบบอิเล็กทรอนิกส์ของแอซิดเฮาส์ และได้รับการพัฒนาในประมาณกลางยุค 1980 โดยเฉพาะอย่างยิ่งดีเจจากชิคาโก ผู้ทดลองกับ Roland TB-303 (เป็นเครื่องสังเคราะห์เสียง-ซีเควนเซอร์ อิเล็กทรอนิกส์) แอซิดเฮาส์ได้แพร่กระจายไปยังสหราชอาณาจักร และทวีปยุโรป ที่ถูกเล่นโดยดีเจในดนตรีแอซิดเฮาส์และต่อมาเป็นงานสังสรรค์เรฟ โดยในปลายทศวรรษ 1980 มีเพลงที่เลียนแบบ และแอซิดเฮาส์รีมิกซ์ที่นำแนวเพลงไปสู่กระแสหลัก ที่ยังมีบางอย่างที่ได้รับอิทธิพลจาก แนวป็อป และแดนซ์ ชื่อเล่น "เดอะซาวด์ออฟแอซิด" (the sound of acid) มีอิทธิพลต่อเพลงแดนซ์ของแอซิดเฮาส์ที่มีแก่นแท้เมื่อได้ถูกพิจารณาจากจำนวนที่แท้จริงของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ แทร็กที่อ้างอิงถึงแอซิดเฮาส์ที่ได้ผ่านการใช้เสียง รวมทั้ง แทรนซ์ กัวแทรนซ์ ไซเคเดลิกแทรนซ์ เบรกบีต บิ๊กบีต เทคโน ทริปฮอป และดนตรี.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและแอซิดเฮาส์ · ดูเพิ่มเติม »

แอนิเมชัน

ตัวอย่างแอนิเมชันของเครื่องจักรรูปทรงวงกลม แอนิเมชัน (animation) หมายถึง การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูงโดยการนำภาพนิ่งมาเรียงต่อกัน การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ในการคำนวณสร้างภาพจะเรียกการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน หากใช้เทคนิคการถ่ายภาพหรือวาดรูป หรือหรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจำลองที่ค่อย ๆ ขยับ จะเรียกว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุดหรือสตอปโมชัน (stop motion) โดยหลักการแล้ว ไม่ว่าจะสร้างภาพ หรือเฟรมด้วยวิธีใดก็ตาม เมื่อนำภาพดังกล่าวมาฉายต่อกันด้วยความเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่า ภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจากการเห็นภาพติดตา ในทางคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บภาพแบบแอนิเมชันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต มีหลายรูปแบบไฟล์เช่น GIF APNG MNG SVG แฟลช และไฟล์สำหรับเก็บวีดิทัศน์ประเภทอื่น.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและแอนิเมชัน · ดูเพิ่มเติม »

แอ็กเซเลเรเทอร์

แอ็กเซเลเรเทอร์ (Accelerator) เป็นอัลบั้มชุดแรก ของวง เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน เป็นอัลบั้มเพลง อีเลคโทรนิก้า, เอซิดเฮาส์, เทคโน, ดนตรีแอมเบียนต์ ออกจำหน่าย ในปี พ.ศ. 2534 และ พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและแอ็กเซเลเรเทอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แซมเพลอร์

AKAI MPC2000 sampling sequencer นักดนตรีใช้ Yamaha SU10 Sampler แซมเพลอร์ (sampler) เป็นเครื่องดนตรีอีเลคทรอนิกส์ มีความใกล้เคียงกับเครื่องสังเคราะห์เสียง แทนที่จะใช้เสียงที่ได้จากการถูบนเทิร์นเทเบิล แซมเพลอร์เริ่มจากการนำหลาย ๆ เพลง (หรือเรียกว่า แซมเพิล) จากเสียงหลาย ๆ เสียงนำมาใส่โดยผู้ใช้ และเล่นกลับไปมาโดยขึ้นอยู่กับการปรับแต่งเครื่องดนตรี และเพราะว่าแซมเพิลมักจะเก็บไว้ใน RAM ทำให้การเข้าถึงข้อมูลจึงเร็ว การใช้เครื่องแซมเพลอร์ กลายเป็นสิ่งสำคัญในดนตรีฮิปฮอป ดนตรีอีเลกโทรนิกส์ และดนตรีอาวองต์การ์ด แซมเพลอร์มีส่วนร่วมในการตั้งค่าของเครื่องสังเคราะห์เสียง และสามารถปรับเปลี่ยนได้หลายแบบ แซมเพลอร์มีความสามารถแบบโพลีโฟนิก ที่พวกเขาสามารถเล่นมากกว่า 1 โน้ตได้ในเวลาเดียวกัน.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและแซมเพลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

โพรเกรสซิฟร็อก

รเกรสซิฟร็อก (Progressive rock หรือเขียนสั้น ๆ ว่า prog หรือ prog rock) เป็นดนตรีร็อกประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 1960 และต้นทศวรรษ 1970 เป็นส่วนหนึ่งของ "ความพยายามในการยกฐานะเพลงร็อกอังกฤษสู่ระดับใหม่ ด้านความเชื่อถือด้านศิลปะดนตรี" คำว่า "อาร์ตร็อก" มักจะใช้ในความหมายเช่นเดียวกับ "โพรเกรสซิฟร็อก" แต่ขณะที่ทั้งสองแนวเพลงก็ข้ามกันไปข้ามกันมา แต่ทั้งสองแนวเพลงก็ไม่ใช่อย่างเดียวกัน วงดนตรีโพรเกรสซิฟร็อก ได้ผลักดัน ด้านเทคนิกและขอบเขตการจัดวาง โดยทำให้เหนือมาตรฐานร็อกทั่วไป หรือเพลงนิยมที่มีท่อนร้อง-คอรัส เป็นหลักโครงสร้าง นอกจากนี้ การเรียบเรียงมักจะรวมองค์ประกอบของดนตรีคลาสสิก แจ๊ส และเวิลด์มิวสิก เข้าไป ใช้เครื่องดนตรีทั่วไป แต่เพลงและเนื้อเพลง ในบางครั้งจะเป็นนามธรรม แนวความคิด หรือแฟนตาซี ในบางครั้งวงโพรเกรสซิฟร็อกจะใช้คำว่า "คอนเซปต์อัลบั้ม เพื่ออธิบายถ้อยแถลง มักใช้การอธิบายเรื่องราวแบบมหากาพย์ หรือความยิ่งใหญ่" ดนตรีโพรเกรสซิฟร็อกพัฒนามาตั้งแต่ปลายยุคไซเคเดลิกร็อก ทศวรรษ 1960 ที่เพลงร็อกได้รับความนิยม วงดนตรีแนวนี้ที่เป็นที่นิยมอย่างเช่น เดอะไนซ์, มูดี้บลูส์, คิงคริมสัน, เยส, เจเนซิส, เจโทรทัล และอีเมอร์สัน, เลค แอนด์ พาร์เมอร์ เพลงโพรเกรสซิฟร็อกได้รับความนิยมกว้างขวางราวกลางทศวรรษ 1970 ขณะที่ได้รับความนิยมสุงสุดในทศวรรษ 1970 และต้นทศวรรษ 1980.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและโพรเกรสซิฟร็อก · ดูเพิ่มเติม »

โกลบอล

กลบอล (Global) เป็นอัลบั้มเอซิดเฮาส์, การาจชุดแรกของ ไบรอัน ดูแกนส์ หรือ วง เดอะ ฟิวเจอร์ ซาวด์ ออฟ ลอนดอน เป็นผู้แต่งเองทั้งหมด โดยได้มีนักร้องรับเชิญอย่าง แกร์รี โคเบน ในเพลง "Sunshine & Brick".

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและโกลบอล · ดูเพิ่มเติม »

โปรดิวเซอร์เพลง

ในอุตสาหกรรมดนตรี โปรดิวเซอร์เพลง (record producer) มีหลายบทบาทการทำงาน ทั้งทำหน้าที่ควบคุมการบันทึกเสียง ให้คำแนะนำและแนวทางกับนักดนตรี จัดการและวางแผนงานการผลิตทั้งค่าใช้จ่ายและทรัพยากร ดูแลจัดการการบันทึกเสียง การผสมเสียงและขั้นตอนการการทำต้นฉบับ สิ่งเหล่านี้คือหน้าที่หลักของโปรดิวเซอร์ ตั้งแต่เริ่มต้นบันทึกเสียง แต่ต่อมาช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ต่างก็มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมารับหน้าที่บางส่วน ในบางกรณีจะมีการนำโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ มาเปรียบเทียบการทำงานกับโปรดิวเซอร์เพลง ในแง่งาน ของเขต ซึ่งแตกต่างจากโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ที่ โปรดิวเซอร์เพลงมักไม่ค่อยจะได้รับความรับผิดชอบในการหาเงินทุนเพื่อการผลิตผลงานเพลง การทำงานของโปรดิวเซอร์เพลงจะคล้ายกับการทำงานของผู้กำกับภาพยนตร์มากกว่า โปรดิวเซอร์เพลงจะถูกว่าจ้างโดยนายทุน (โดยทั่วไปอาจหมายถึงค่ายเพลง หรือในบางครั้งอาจเป็นตัวศิลปินเอง).

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและโปรดิวเซอร์เพลง · ดูเพิ่มเติม »

ไลฟ์ฟอร์มส

ลฟ์ฟอร์มส (Lifeforms) เป็นอัลบั้มแอมเบียนต์ชุดที่สอง ของวง เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน ขึ้นชาร์ตอัลบั้มแห่งสหราชอาณาจักรอันดับสูงสุดที่ 6 ในปี 1994.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและไลฟ์ฟอร์มส · ดูเพิ่มเติม »

ไอเอสดีเอ็น (อัลบั้ม)

อเอสดีเอ็น (ISDN) เป็นอัลบั้มเพลงเอ็กซ์เปอรีเม็นทัล, อีเลคโทรนิก้า โดย เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน เป็นอัลบั้มแสดงสดและอัลบั้มเพลงของวงเดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน และ ออกจำหน่าย ในปี 1994 และ 1995.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและไอเอสดีเอ็น (อัลบั้ม) · ดูเพิ่มเติม »

เอิร์ธบีต

อิร์ธบีต (Earthbeat) เป็นอัลบั้มอัลบั้มรวมเพลง ของ เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน เป็นอัลบั้มเพลง อีเลคโทรนิก้า, ดนตรีเฮาส์, เทคโน, ออกจำหน่าย ในปี พ.ศ. 2535.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและเอิร์ธบีต · ดูเพิ่มเติม »

เฮาส์ (แนวดนตรี)

() เป็นแนวเพลงหนึ่งของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ เกิดในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 โดยมีต้นกำเนิดมาจากเมืองชิคาโก รัฐอิลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา แรกเริ่มเดิมทีเป็นที่นิยมในดิสโก้เทคสำหรับชาวแอฟริกัน-อเมริกัน, ละตินอเมริกันและสังคมเกย์ในสมัยกลางทศวรรษที่ 1980 ที่เมืองชิคาโก ต่อมาจึงกระจายความนิยมไปยังนิวยอร์ก, นิวเจอร์ซีย์, ดีทรอยต์และไมอามี จนกระทั่งถึงยุโรปก่อนจะมีบทบาทสำคัญแก่แนวเพลงป็อปและเพลงแดนซ์ทั่วโลก แนวดนตรีเฮาส์ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากองค์ประกอบของดนตรีโซลและฟังก์ในช่วงกลางยุค 1970 เฮาส์มีลักษณะโดดเด่นในการนำเอาการเคาะเพอคัสชั่น (percussion) แบบดิสโก้มาใช้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ดรัมเบสในทุก ๆ บีต (beat) แล้วพัฒนาเป็นแนวดนตรีแนวใหม่โดยผสมไลน์เบสของเครื่องสังเคราะห์เสียงอิเล็กทรอนิก, กลองอิเล็กทรอนิก, เอฟเฟกต์อิเล็กทรอนิก,แซมเปิลฟังก์และป็อป รวมไปถึงการใช้เสียงก้องและเสียงร้องดีเล.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและเฮาส์ (แนวดนตรี) · ดูเพิ่มเติม »

เทคโน

ทคโน (techno) เป็นรูปแบบของดนตรีอิเล็กทรอนิกส์แดนซ์ที่เกิดขึ้นในดีทรอยต์ รัฐมิชิแกน ในสหรัฐอเมริกา ในช่วงกลางถึงปลายทศวรรษ 1980 คำว่า techno ได้ถูกจัดเป็นแนวดนตรีครั้งแรกในปี 1988Brewster 2006:354Reynolds 1999:71.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและเทคโน · ดูเพิ่มเติม »

เทคโนโลยี

นาโนเทคโนโลยีเป็นที่สนใจในศตวรรษปัจจุบัน เทคโนโลยี หรือ เทคนิควิทยา มีความหมายค่อนข้างกว้าง โดยทั่วไปหมายถึงธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่งองค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดำรงชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและเทคโนโลยี · ดูเพิ่มเติม »

เดดซิตีส์

ซิตีส์ (Dead Cities) เป็นอัลบั้มเพลงเอ็กซ์เปอรีเม็นทัล, โดย เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอน.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและเดดซิตีส์ · ดูเพิ่มเติม »

เครื่องสังเคราะห์เสียง

Synthesizer เครื่องสังเคราะห์เสียง หรือ ซินธิไซเซอร์ (synthesizer) คือ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ ออกแบบมาเพื่อสร้างเสียงจำลองโดยใช้เทคนิคต่างๆ เช่น การเพิ่มเสียง, การ ลดเสียง, การใช้คลื่นเสียงกล้ำคลื่นวิทยุโดยเปลี่ยนความถี่คลื่น (Frequency Modulate; FM), การสังเคราะห์ เสียงกายภาพ, การทำให้คลื่นเสียงผิดเพี้ยนรูปร่างไป ซินธิไซเซอร์สร้างเสียงผ่านการปรับเปลี่ยนโดยตรงของกระแสไฟฟ้าซึ่งถูกใช้ในซินธิไซเซอร์แบบอนาล็อก, การปรับเปลี่ยนทางคณิตศาสตร์ของค่าตัวแปรที่พอใจ โดยใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งใช้ใน ซินธิไซเซอร์แบบที่เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป หรือจากการรวมทั้งสองวิธีเข้าด้วยกัน ในขั้นตอนสุดท้ายของซินธิไซเซอร์กระแสไฟฟ้าจะถูกใช้เพื่อสร้างการสั่นให้กับแผ่นที่ใช้สั่นของ ลำโพง หรือ หูโทรศัพท์ เป็นต้น เสียงซินธิไซเซอร์นี้ถูกจำลองไว้จากการอัดเสียงธรรมชาติ เมื่อพลังงานทางกลของคลื่นเสียงถูกแปลงไปเป็นสัญญาณ และที่สุดจะถูกเปลี่ยนกลับไปเป็นพลังงานทางกลจากการเล่นเทปที่อัดไว้ผ่านการสุ่ม ส่วนสำคัญที่ขาดหายไปของเสียงซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของซินธิไซเซอร์ ซินธิไซเซอร์เสียงพูด ยังถูกใช้ใน กรรมวิธีสร้างเสียงพูด อิเล็กทรอนิกส์ มักจะใช้ใน โวโคดเดอร์ (Vocoders) หรือการสร้างเสียงพูดนั่นเอง.

ใหม่!!: เดอะฟิวเจอร์ซาวด์ออฟลอนดอนและเครื่องสังเคราะห์เสียง · ดูเพิ่มเติม »

เปลี่ยนเส้นทางที่นี่:

FSOLFuture Sound of LondonThe Future Sound of Londonเดอะ ฟิวเจอร์ ซาวด์ ออฟ ลอนดอน

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »