โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

วงศ์ย่อยงูโบอาและสัตว์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง วงศ์ย่อยงูโบอาและสัตว์

วงศ์ย่อยงูโบอา vs. สัตว์

วงศ์ย่อยงูโบอา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Boinae; Boa, Anaconda) เป็นวงศ์ย่อยของงูไม่มีพิษในวงศ์ Boidae มีลักษณะโดยรวม คือ กระดูกพรีฟรอนทัลชิ้นซ้ายและขวามีขอบด้านในอยู่ชิดกันหรือแตะกัน มีแอ่งรับคลื่นความร้อนอินฟราเรดกระจายอยู่รอบขอบปากบนและล่าง เป็นงูที่มีขนาดใหญ่ ขนาดเล็กที่สุด คือ ชนิด Candoia aspera ที่มีขนาดความยาว 60-90 เซนติเมตร และใหญ่ที่สุด คือ Eunectes murinus หรืองูอนาคอนดาเขียว ที่ยาวได้ถึง 11.5 เมตร น้ำหนักกว่า 250 กิโลกรัม แต่ว่าในยุคก่อนประวัติศาสตร์มีงูในวงศ์ย่อยนี้อยู่ชนิดหนึ่ง คือ ไททันโอโบอา แซร์อาโฮนเอนซิส (Titanoboa cerrejonensis) ซึ่งได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้ว มีความยาวได้ถึง 13 หรือ 15 เมตร และอาจมีน้ำหนักได้มากถึง 2 ตัน ซึ่งนับว่าใหญ่และหนักกว่างูอนาคอนดาที่พบได้ในยุคปัจจุบันนี้มาก ค้นพบครั้งแรกเป็นซากดึกดำบรรพ์ในประเทศโคลอมเบีย เมื่อปี ค.ศ. 2007 มีทั้งหมด 28 ชนิด 5 สกุล โดยแพร่ขยายพันธุ์ด้วยการออกลูกเป็นตัวทั้งสิ้น จำนวนลูกที่คลอดแต่ละครั้งจะแตกต่างออกไปตามแต่ละสกุลและชนิด โดยสกุล Cadoia ซึ่งเป็นสกุลที่มีขนาดเล็กจะตกลูกครั้งละ 5-6 ตัว แต่ในขณะที่สกุล Eunectes หรือที่รู้จักดีในชื่อ งูอนาคอนดา ซึ่งมีขนาดใหญ่จะตกลูกได้ถึงครั้งละ 40 ตัวหรือมากกว่านั้น หรือสกุล Boa ที่ตกลูกได้ถึงครั้งละ 60-70 ตัว เป็นงูที่ล่าเหยื่อได้แก่ นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมด้วยการใช้การรับรู้จากอินฟราเรดจากตัวเหยื่อด้วยการเข้ารัดเหมือนงูในวงศ์ Pythonidae พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ทวีปอเมริกาใต้, เกาะมาดากัสการ์ และหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้. ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง วงศ์ย่อยงูโบอาและสัตว์

วงศ์ย่อยงูโบอาและสัตว์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สัตว์มีแกนสันหลัง

สัตว์มีแกนสันหลัง

ัตว์มีแกนสันหลัง คือสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา พวกมันจะมีแกนสันหลัง ใยประสาทส่วนหลังกลวง ช่องคอหอย หลอดเส้นประสาทกลวงส่วนหลัง และหางหลังทวารหนัก ในช่วงหนึ่งของวงจรชีวิต สัตว์มีแกนสันหลังเป็นพวกดิวเทอโรสโตม กล่าวคือในช่วงระยะตัวอ่อน ทวารหนักเกิดก่อนปาก และเป็นซีโลเมตที่มีสมมาตรด้านข้าง ในกรณีของสัตว์มีแกนสันหลังที่มีกระดูกสันหลัง แกนสันหลังจะถูกแทนที่โดยกระดูกสันหลังในช่วงเจริญเติบโต และพวกมันอาจจะมีปล้องตามร่างกาย ในอนุกรมวิธาน ตัวไฟลัมเองประกอบไปด้วยไฟลัมย่อยเวอร์เตบราตา (ซึ่งประกอบด้วย ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ทูนิคาตา (ซึ่งรวมทั้งซาล์ปและเพรียงหัวหอม) และเซฟาโลคอร์ดาตา ประกอบด้วยแหลนทะเล และยังรวมถึงบางกลุ่มที่สูญพันธุ์ไปแล้ว บางครั้งกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังถูกจัดรวมอยู่กับกลุ่มสัตว์มีกระโหลกศีรษะ สัตว์มีแกนสันหลังมีมากกว่า 65,000 สปีชีส์ที่ยังมีชีวิตอยู่ กว่าครึ่งเป็นพวกปลากระดูกแข็ง วาฬและเหยี่ยวเพเรกริน สัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและเคลื่อนที่เร็วที่สุดตามลำดับ เป็นสัตว์มีแกนสันหลังเช่นเดียวกันกับมนุษย์ ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีแกนสันหลังยุคแรกๆ มีอายุย้อนไปถึงในช่วงการระเบิดยุคแคมเบรียน.

วงศ์ย่อยงูโบอาและสัตว์มีแกนสันหลัง · สัตว์และสัตว์มีแกนสันหลัง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง วงศ์ย่อยงูโบอาและสัตว์

วงศ์ย่อยงูโบอา มี 32 ความสัมพันธ์ขณะที่ สัตว์ มี 39 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.41% = 1 / (32 + 39)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง วงศ์ย่อยงูโบอาและสัตว์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »