โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ลีเมอร์ซิฟากาและสัตว์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ลีเมอร์ซิฟากาและสัตว์

ลีเมอร์ซิฟากา vs. สัตว์

ลีเมอร์ซิฟากา (Sifaka) เป็นไพรเมตจำพวกลีเมอร์ที่อยู่ในสกุล Propithecus ในวงศ์ Indriidae ลีเมอร์ซิฟากา นับเป็นลีเมอร์ขนาดใหญ่ มีขนตามลำตัวสีขาว และมีใบหน้ารวมถึงใบหูสีดำ เป็นลีเมอร์ที่ออกหากินในเวลากลางวัน มีเสียงร้องที่ดังมาก โดยกินใบไม้ชนิดต่าง ๆ รวมถึงผลไม้, ลูกไม้ และสามารถกินดอกไม้ของต้นไม้ที่มีหนามแหลมตลอดทั้งต้นได้ด้วย โดยใช้ฝ่าเท้าทั้ง 4 ข้างยึดจับหนามแหลมเหล่านั้นโดยไม่กลัวเจ็บ ในบางชนิดมีฟันหน้าที่มีลักษณะคล้ายหวี จึงสามารถดึงดอกไม้ออกมากินได้สะดวก ลีเมอร์ซิฟากา เป็นลีเมอร์ที่กระโดดได้ไกลมากจากต้นไม้ต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่ง โดยการใช้แรงส่งจากขาหลัง และเมื่อลงมาพื้นดิน และใช้ขาหลังเพียงข้างเดียวส่งตัวกระโดดไปกับพื้น โดยหันข้างเหมือนการสไลด์ แต่หากเจอศัตรูหรือภัยอันตรายก็สามารถกระโดดพร้อมกันด้วยขาหลังทั้งคู่และกระโดดไปข้างหน้าก็ได้ ลีเมอร์ซิฟากา เชื่อกันว่าในอดีตดั้งเดิมเคยเป็นลีเมอร์ที่หากินในพื้นที่ ๆ มีอุดมสมบูรณ์อย่าง ป่าฝนเมืองร้อนมาก่อน แต่ด้วยสาเหตุที่ยังไม่แน่ชัด อาจเป็นไปได้ว่าเพื่อหลีกเลี่ยงการแย่งชิงอาหารระหว่างลีเมอร์ด้วยกันเอง จึงอพยพย้ายถิ่นเข้ามาอาศัยในเขตป่าที่แห้งแล้งของเกาะมาดากัสการ์ ที่หาอาหารได้ยากกว่า นอกจากนี้แล้ว ในความเชื่อของชนพื้นเมืองชาวมาดากัสการ์ มีนิทานปรำปราเล่าว่า เดิมลีเมอร์ซิฟากาเคยเป็นเด็กผู้ชายมาก่อน วันหนึ่งได้พยายามขโมยอาหารกินด้วยความหิว จึงถูกแม่เลี้ยงทุบตีและป้ายเข้าที่หน้าด้วยช้อนตักขี้เถ้า จึงหนีเข้าป่าและกลายเป็นลีเมอร์ไป ลีเมอร์ซิฟากาจึงมีใบหน้ามีดำ และด้วยเหตุนี้ชนพื้นเมืองของมาดากัสการ์จึงไม่ล่าลีเมอร์ซิฟาก. ัตว์ (Animal) เป็นสิ่งมีชีวิตยูแคริโอตหลายเซลล์ในอาณาจักร Animalia (หรือเรียก เมตาซัว) แผนกาย (body plan) ของพวกมันสุดท้ายคงที่เมื่อพัฒนา แม้สัตว์บางชนิดมีกระบวนการการเปลี่ยนสัณฐานภายหลังในช่วงชีวิต สัตว์ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ สัตว์ทุกชนิดต้องกินสิ่งมีชีวิตอื่นหรือผลิตภัณฑ์ของสิ่งมีชีวิตเพื่อการดำรงชีพ (สิ่งมีชีวิตสร้างอาหารเองไม่ได้) ไฟลัมสัตว์ที่รู้จักกันดีที่สุดปรากฏในบันทึกฟอสซิลเป็นสปีชีส์ภาคพื้นสมุทรระหว่างการระเบิดแคมเบรียน (Cambrian explosion) ประมาณ 542 ล้านปีก่อน สัตว์แบ่งเป็นกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม บางกลุ่ม เช่น สัตว์มีกระดูกสันหลัง (นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน ปลา) มอลลัสกา (หอยกาบ หอยนางรม ปลาหมึก หมึกสาย หอยทาก) สัตว์ขาปล้อง (กิ้งกือ ตะขาบ แมลง แมงมุม แมงป่อง ปู ลอบสเตอร์ กุ้ง) สัตว์พวกหนอนปล้อง (ไส้เดือนดิน ปลิง) ฟองน้ำ และแมงกะพรุน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ลีเมอร์ซิฟากาและสัตว์

ลีเมอร์ซิฟากาและสัตว์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): สัตว์มีแกนสันหลัง

สัตว์มีแกนสันหลัง

ัตว์มีแกนสันหลัง คือสัตว์ในไฟลัมคอร์ดาตา พวกมันจะมีแกนสันหลัง ใยประสาทส่วนหลังกลวง ช่องคอหอย หลอดเส้นประสาทกลวงส่วนหลัง และหางหลังทวารหนัก ในช่วงหนึ่งของวงจรชีวิต สัตว์มีแกนสันหลังเป็นพวกดิวเทอโรสโตม กล่าวคือในช่วงระยะตัวอ่อน ทวารหนักเกิดก่อนปาก และเป็นซีโลเมตที่มีสมมาตรด้านข้าง ในกรณีของสัตว์มีแกนสันหลังที่มีกระดูกสันหลัง แกนสันหลังจะถูกแทนที่โดยกระดูกสันหลังในช่วงเจริญเติบโต และพวกมันอาจจะมีปล้องตามร่างกาย ในอนุกรมวิธาน ตัวไฟลัมเองประกอบไปด้วยไฟลัมย่อยเวอร์เตบราตา (ซึ่งประกอบด้วย ปลา สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ปีก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม) ทูนิคาตา (ซึ่งรวมทั้งซาล์ปและเพรียงหัวหอม) และเซฟาโลคอร์ดาตา ประกอบด้วยแหลนทะเล และยังรวมถึงบางกลุ่มที่สูญพันธุ์ไปแล้ว บางครั้งกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังถูกจัดรวมอยู่กับกลุ่มสัตว์มีกระโหลกศีรษะ สัตว์มีแกนสันหลังมีมากกว่า 65,000 สปีชีส์ที่ยังมีชีวิตอยู่ กว่าครึ่งเป็นพวกปลากระดูกแข็ง วาฬและเหยี่ยวเพเรกริน สัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดและเคลื่อนที่เร็วที่สุดตามลำดับ เป็นสัตว์มีแกนสันหลังเช่นเดียวกันกับมนุษย์ ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์มีแกนสันหลังยุคแรกๆ มีอายุย้อนไปถึงในช่วงการระเบิดยุคแคมเบรียน.

ลีเมอร์ซิฟากาและสัตว์มีแกนสันหลัง · สัตว์และสัตว์มีแกนสันหลัง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ลีเมอร์ซิฟากาและสัตว์

ลีเมอร์ซิฟากา มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ สัตว์ มี 39 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.22% = 1 / (6 + 39)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ลีเมอร์ซิฟากาและสัตว์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »