โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มาริโอ อันชิชและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มาริโอ อันชิชและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์

มาริโอ อันชิช vs. โรเจอร์ เฟเดอเรอร์

มาริโอ อันชิช (Mario Ančić) นักเทนนิสชาวโครแอต ​เกิดเมื่อวันที่​ 30 มีนาคม พ.ศ. 2527 (ค.ศ. 1984) ​ณ เมืองสปลิต ประเทศโครเอเชีย คุณพ่อของเขาชื่อ สติเป ทำกิจการเกี่ยวกับด้านห้างสรรพสินค้า คุณแม่ของเขาชื่อ นิลด้า เป็นที่ปรึกษาด้านการเงิน อันซิชจบการศึกษาจากคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสปลิต เขามีพี่ชาย 1 คน ชื่อ อิวิซา อันชิช (Ivica Ančić) ซึ่งเคยเล่นเทนนิสอาชีพ และเป็นโค้ชให้กับเขาในช่วงแรกๆ ส่วนน้องสาวคนเล็กของเขาที่มีชื่อว่า ซันย่า อันชิช (Sanja Ančić) ก็เป็นนักเทนนิสอาชีพเช่นเดียวกัน โดยมี อิวิซา อันซิช เป็นโค้ชให้เช่นเดียวกัน อันซิชเริ่มเล่นเทนนิสเมื่ออายุได้ 7 ปี โดยมีสโมสรเทนนิสเมืองสปลิต (Tennis Klub Split) ตั้งอยู่ตรงข้ามบ้าน หลังจากที่เขาสามารถเอาชนะมือหนึ่งของโลก โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ (Roger Federer) ได้ในการแข่งขันเทนนิสแกรนด์สแลม รายการวิมเบิลดัน พ.ศ. 2545 เขาจึงได้รับจึงได้รับการขนานนามชื่อเล่นในวงการเทนนิสว่า ซุปเปอร์ มาริโอ้ (Super Mario). * โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ (Roger Federer) เกิดเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1981 เป็นนักเทนนิสอาชีพชาวสวิส เขาเคยขึ้นครองอันดับที่ 1 ของโลกมาตั้งแต่วันที่ 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004 ต่อเนื่องมาจนถึง วันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2008 นับเป็นระยะเวลา 237 สัปดาห์ติดต่อกัน ซึ่งถือเป็นสถิติการครองอันดับ 1 ติดต่อกันที่ยาวนานที่สุดตลอดกาลของวงการเทนนิสโลก ปัจจุบันตั้งแต่วันที่ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 2009 เขาสามารถแย่งอันดับที่ 1 ของโลกกลับมาจากราฟาเอล นาดาลได้เป็นผลสำเร็จ หลังจากที่สามารถคว้าแชมป์วิมเบิลดันได้เป็นสมัยที่ 6 เป็นที่ยอมรับกันว่า เฟเดอเรอร์เป็นนักเทนนิสที่เก่งที่สุดในยุคของเขา โดยถูกจัดอยู่ในกลุ่มนักเทนนิสชายยอดเยี่ยมตลอดกาล และถือเป็นชาวสวิสคนแรกที่ยังมีชีวิตอยู่ที่มีรูปอยู่ในสแตมป์ของสวิสซึ่งถูกผลิตในเดือนเมษายน ค.ศ. 2007 เป็นรูปเฟเดอเรอร์กับถ้วยวิมเบิลดัน เขาเป็นนักกีฬาคนแรกที่ได้รับรางวัลนักกีฬาโลกแห่งปี (Laureus World Sportsman of the Year) 4 ครั้งติดต่อกัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2005 - ค.ศ. 2008 เฟเดอเรอร์ ชนะการแข่งขันประเภทเดี่ยว ในรายการแกรนด์สแลม 20 ครั้ง (6 ออสเตรเลียนโอเพน, 1 เฟรนช์โอเพน, 8 วิมเบิลดัน, 5 ยูเอสโอเพน) (ถือเป็นการทำลายสถิติการคว้าแชมป์ 14 แกรนด์สแลมตลอดกาลของพีท แซมพราส), รายการเทนนิสมาสเตอร์คัพ 6 ครั้ง, รายการเอทีพีมาสเตอร์ซีรีส์ 24 ครั้ง และรายการเอทีพีทัวร์อื่นๆอีก 26 ครั้ง อีกทั้งยังชนะ การแข่งขันประเภทคู่ 8 ครั้ง และเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 2007 เฟเดอเรอร์สามารถเอาชนะราฟาเอล นาดาล ในการแข่งขันเทนนิสวิมเบิลดัน ทำให้เขาครองสถิติ ชนะเลิศติดต่อกัน 5 สมัย เทียบเท่าบิยอร์น บอร์ก หลังจากการคว้าแชมป์วิมเบิลดันได้ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2009 เฟเดอเรอร์จึงกลายเป็นนักเทนนิสชายคนที่ 6 ในประวัติศาสตร์วงการเทนนิสโลกที่สามารถคว้าแชมป์แกรนด์สแลมได้ครบทั้ง 4 รายการในการเล่นเทนนิสอาชีพ หรือที่เรียกว่า "Career Grand Slam" นั่นเอง เฟเดอเรอร์สร้างสถิติใหม่ในกีฬาเทนนิสขึ้นมาอย่างมากมาย เช่น การเข้าถึงรอบชิงชนะเลิศของรายการระดับแกรนด์แสลมประเภทชายเดี่ยวติดต่อกันมากที่สุดถึง 10 สมัย (ตั้งแต่ วิมเบิลดัน ค.ศ. 2005 จนถึง ยูเอสโอเพน ค.ศ. 2007) การเข้าถึงรอบรองชนะเลิศของรายการระดับแกรนด์แสลมประเภทชายเดี่ยวติดต่อกันมากที่สุดถึง 23 สมัย (ตั้งแต่ วิมเบิลดัน ค.ศ. 2004 จนถึงปัจจุบัน) การชนะติดต่อกันมากที่สุดในยุคโอเพน บนพื้นคอร์ต 2 ประเภท คือ คอร์ตหญ้า (65 แมตซ์ติดต่อกัน) และ คอร์ตคอนกรีต (56 แมตซ์ติดต่อกัน) เป็นต้น และล่าสุด ชัยชนะออสเตรเลียนโอเพนของเขาในปี 2017 ส่งผลให้เขาเป็นนักเทนนิสชายคนแรกที่ได้แชมป์แกรนด์สแลม 3 รายการอย่างน้อย 5 ครั้ง (ออสเตรเลียนโอเพน, วิมเบิลดัน และ ยูเอสโอเพน นอกจากนี้ เขายังเป็นนักเทนนิสที่อายุมากที่สุดที่คว้าถ้วยแกรนด์สแลมนับตั้งแต่ปี 1972 หลังจาก Ken Rosewell.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มาริโอ อันชิชและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์

มาริโอ อันชิชและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2545พ.ศ. 2552วิมเบิลดันประเทศโมนาโกแกรนด์สแลม (เทนนิส)

พ.ศ. 2545

ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2545และมาริโอ อันชิช · พ.ศ. 2545และโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2552

ทธศักราช 2552 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2009 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีสุดท้ายในคริสต์ทศวรรษ 2000.

พ.ศ. 2552และมาริโอ อันชิช · พ.ศ. 2552และโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

วิมเบิลดัน

วิมเบิลดัน อาจหมายถึง.

มาริโอ อันชิชและวิมเบิลดัน · วิมเบิลดันและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศโมนาโก

ราชรัฐโมนาโก (Principauté de Monaco) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า โมนาโก (Monaco มอนาโก) เป็นนครรัฐในยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศเอกราชที่เล็กที่สุดเป็นอันดับสองของโลก แต่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษาฝรั่ง.

ประเทศโมนาโกและมาริโอ อันชิช · ประเทศโมนาโกและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

แกรนด์สแลม (เทนนิส)

ทนนิสแกรนด์สแลม หรือ แกรนด์สแลม (Grand Slam) เป็นชื่อเรียกการแข่งขันเทนนิสรายการใหญ่ที่สุด 4 รายการของโลก บนพื้นผิวคอร์ทและภูมิอากาศที่แตกต่างกัน คำว่า "แกรนด์สแลม" ถูกใช้ในวงการเทนนิสเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1933 โดยจอห์น คีราน คอลัมนิสต์ของหนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทม์ ในปัจจุบันทั้งสี่รายการใช้เวลาแข่งขันสองสัปดาห์ ในการแข่งขันประเภทเดี่ยวจะมีนักเทนนิสเข้าร่วมแข่งขันในรอบเมนดรอว์ 128 คน นั่นคือผู้ชนะเลิศต้องชนะติดต่อกัน 7 ครั้งติดต่อกันจึงจะได้ครองตำแหน่ง นอกจากจะเป็นชื่อเรียกรายการแข่งขันแล้ว แกรนด์สแลมยังถูกนำมาใช้เรียกแสดงความประสบความสำเร็จของนักเทนนิสที่ชนะเลิศครบทั้งสี่รายการ ความแตกต่างกันของพื้นผิวสนามและสภาพอากาศ (ออสเตรเลียนโอเพนอากาศร้อน วิมเบิลดันมักมีฝนตก ยูเอสโอเพนอากาศเย็น) ทำให้เป็นการยากที่นักเทนนิสคนใดจะได้แกรนด์สแลม และยากยิ่งขึ้นถ้าจะชนะทั้งสี่รายการในปีเดียวกัน ในประวัติศาสตร์มีนักเทนนิสประเภทเดี่ยวเพียงห้าคนที่ชนะเลิศแกรนด์สแลมทุกรายการในปีเดียวกัน คือ ดอน บัดจ์ และ รอด เลเวอร์ ในประเภทชายเดี่ยว มัวรีน คอนนอลลี, มาร์กาเรต สมิธ คอร์ท และ สเตฟี กราฟ ในประเภทหญิงเดี่ยว.

มาริโอ อันชิชและแกรนด์สแลม (เทนนิส) · แกรนด์สแลม (เทนนิส)และโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มาริโอ อันชิชและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์

มาริโอ อันชิช มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรเจอร์ เฟเดอเรอร์ มี 74 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 5.81% = 5 / (12 + 74)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มาริโอ อันชิชและโรเจอร์ เฟเดอเรอร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »