โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มหาสงครามชิงพิภพและวิชคิง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มหาสงครามชิงพิภพและวิชคิง

มหาสงครามชิงพิภพ vs. วิชคิง

มหาสงครามชิงพิภพ (The Lord of the Rings: The Return of the King) เป็นภาพยนตร์ตอนที่สามซึ่งเป็นตอนสุดท้ายของภาพยนตร์ไตรภาคเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ หลังจากสองภาคแรก ได้แก่ อภินิหารแหวนครองพิภพ และ ศึกหอคอยคู่กู้พิภพ กำกับโดย ปีเตอร์ แจ็กสัน จากงานเขียนต้นฉบับ เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ออกฉายครั้งแรกในปี.. วิชคิงแห่งอังก์มาร์ (Witch King of Angmar) หรือ ราชาภูติ หรือ พญาโหงแห่งอังก์มาร์ เป็นตัวละครตัวหนึ่งในปกรณัมชุดมิดเดิลเอิร์ธของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ในเรื่อง เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ เป็นหัวหน้าของเหล่านาซกูล หรือภูตแหวน ที่ทำหน้าที่รับใช้จอมมารเซารอน เนื่องจากตกอยู่ใต้อำนาจของเซารอนหลังจากยอมรับแหวนแห่งอำนาจของมนุษย์ทั้งเก้าวงมาไว้ในครอบครองด้วยความโลภ ในปกรณัมของโทลคีนไม่ได้เอ่ยถึงชื่อจริงของเขา รวมถึงเหล่านาซกูลอื่น ๆ ด้วย แต่จากข้อมูลบางส่วนในงานเขียนที่ยังไม่เสร็จของเขา บ่งชี้ว่ามีแม่ทัพนูเมนอร์อย่างน้อย 3 คนที่ได้รับแหวนแห่งอำนาจ และหนึ่งในสามคนนี้น่าจะได้เป็นวิชคิงในเวลาต่อมา เขาได้ชื่อว่าเป็น วิชคิง "แห่งอังก์มาร์" เนื่องจากสามารถโจมตีอาณาจักรอาร์นอร์ ยึดดินแดนมาส่วนหนึ่งก่อตั้งเป็นอาณาจักรอังก์มาร์ได้ จากนั้นก็โจมตีดินแดนส่วนอื่นของอาร์นอร์จนอาณาจักรล่มสลายลงในที่สุด แม้ภายหลังเหล่านาซกูลจะย้ายมายังมินัสมอร์กูลแล้ว ก็ยังคงเรียกชื่อราชันขมังเวทว่า "วิชคิงแห่งอังก์มาร์" อยู่ ในช่วงศึกที่ฟอร์นอสต์ครั้งอังมาร์แตก กลอร์ฟินเดลได้ทำนายชะตาของวิชคิงไว้ว่า "อวสานของเขาจะไม่เกิดขึ้นด้วยน้ำมือของบุรุษใด" ซึ่งผลลัพธ์ก็เป็นดังที่ว่า เมื่อเอโอวีน (นางเป็นสตรี) พร้อมด้วยฮอบบิท เมอเรียด็อค แบรนดี้บั๊ก ได้สังหารเขาในศึกที่ทุ่งเพลานอร์ หน้ามินาสทิริธ ครั้งสงครามแหวน.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มหาสงครามชิงพิภพและวิชคิง

มหาสงครามชิงพิภพและวิชคิง มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มิดเดิลเอิร์ธอภินิหารแหวนครองพิภพฮอบบิทเมอเรียด็อค แบรนดี้บั๊กเอโอวีนเจ. อาร์. อาร์. โทลคีนเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์เซารอน

มิดเดิลเอิร์ธ

แผนที่มิดเดิลเอิร์ธในช่วงยุคที่หนึ่ง แสดงแผ่นดินเบเลริอันด์ ซึ่งเป็นสถานที่เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ที่บันทึกในซิลมาริลลิออน ทางด้านขวามือสุดของแผนที่เป็นที่ตั้งของ 'เทือกเขาสีน้ำเงิน' แผนที่มิดเดิลเอิร์ธในช่วงปลายของยุคที่สาม ซึ่งปรากฏอยู่ในหนังสือ ลอร์ดออฟเดอะริงส์ สังเกตจะเห็น 'เทือกเขาสีน้ำเงิน' อยู่ทางด้านซ้ายมือสุดของแผนที่ มิดเดิ้ลเอิร์ธ (Middle-earth) หรือ มัชฌิมโลก หมายถึงสถานที่ในนิยายของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน อันเป็นฉากหลังของเรื่องราวตำนานทั้งหลายในงานเขียนของโทลคีน ปกรณัมของโทลคีนมีเนื้อหาเกี่ยวกับการเข้าควบคุมและครอบครองโลก (ในตำนานเรียกว่า "อาร์ดา") ซึ่งมีทวีปหลักชื่อว่า "มิดเดิลเอิร์ธ" เป็นที่อยู่อาศัยของพวก 'มรรตัยชน' (คือมนุษย์ที่รู้ตาย) เป็นสถานที่ตรงข้ามกับ "อามัน" หรือ 'แดนอมตะ' อันเป็นถิ่นที่อยู่ของพวกวาลาร์ กับพวกเอลฟ์ คำนี้มีรากมาจากคำภาษาอังกฤษกลางว่า middel-erde ซึ่งพัฒนามาจากคำในภาษาอังกฤษเก่าว่า middangeard แก่นสำคัญของงานเขียนของโทลคีนคือเรื่องของการช่วงชิง ควบคุม และครอบครองอำนาจหรือของวิเศษ ทำให้เกิดสงครามขึ้นบนมิดเดิลเอิร์ธหลายครั้งหลายหน คือสงครามระหว่างเหล่าเทพวาลาร์ เอลฟ์ และพันธมิตรชาวมนุษย์ฝ่ายหนึ่ง กับเทพอสูรเมลคอร์กับบริวาร ได้แก่พวกออร์ค มังกร และมนุษย์ที่เป็นทาสอีกฝ่ายหนึ่ง ในตำนานยุคหลัง เมื่อเมลคอร์สิ้นอำนาจและถูกขับไล่ออกไปจากอาร์ดาแล้ว บทบาทการช่วงชิงนี้ก็ตกไปอยู่กับเซารอน สมุนเอกของเขา เหล่าเทพวาลาร์ได้ยุติบทบาทของตนลงหลังจากที่เมลคอร์สิ้นอำนาจ เพราะการสงครามระหว่างพวกพระองค์ครั้งนั้นได้ทำให้โลกพินาศเสียหายไปมาก อย่างไรก็ดีพวกพระองค์ก็ยังส่ง อิสตาริ หรือเหล่าพ่อมด เข้ามาให้ความช่วยเหลือในการต่อต้านอำนาจของเซารอน อิสตาริที่มีบทบาทมากคือ แกนดัล์ฟพ่อมดเทา และซารูมานพ่อมดขาว แกนดัล์ฟได้ทำงานบรรลุวัตถุประสงค์เป็นอย่างดี โดยได้ช่วยเหลือชาวมิดเดิลเอิร์ธอย่างถึงที่สุดเพื่อโค่นอำนาจเซารอนลงให้ได้ แต่ซารูมานกลับพ่ายแพ้ต่อความคิดฉ้อฉลแล้วตั้งตนขึ้นเป็นใหญ่ ช่วงชิงอำนาจบนมิดเดิลเอิร์ธแข่งกับเซารอนเสียเอง สำหรับพลเมืองชาวมิดเดิลเอิร์ธพวกอื่นๆ ได้แก่ คนแคระ เอนท์ และฮอบบิท อันเป็นเผ่าพันธุ์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุด ในการสร้างสรรค์งานของโทลคีน เขาได้จัดทำแผนที่ของมิดเดิลเอิร์ธขึ้นเป็นจำนวนมาก แสดงถึงดินแดนและสถานที่ต่างๆ ที่ตำนานของเขาเอ่ยถึง แผนที่บางส่วนได้รับการตีพิมพ์ในช่วงชีวิตของเขา แต่ก็ยังมีแผนที่อีกจำนวนมากที่ไม่ได้ตีพิมพ์เลยจนกระทั่งเขาเสียชีวิตไปแล้ว แผนที่ส่วนใหญ่จะปรากฏอยู่ในเรื่อง เดอะฮอบบิท เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ และ ซิลมาริลลิออน เหตุการณ์ส่วนใหญ่ในยุคที่หนึ่งเกิดขึ้นบนดินแดนที่เรียกชื่อว่า เบเลริอันด์ ดินแดนนี้ต่อมาได้จมลงสู่ทะเลหลังสงครามครั้งใหญ่ระหว่างเทพวาลาร์กับเมลคอร์ คงเหลือแต่เทือกเขาสีน้ำเงินที่ปรากฏอยู่ทางขวาสุดของแผนที่ เป็นจุดเชื่อมต่อเดียวกันกับเทือกเขาสีน้ำเงินที่อยู่ทางด้านซ้ายสุดของแผนที่ในเรื่องเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ดินแดนทางด้านตะวันออกของเทือกเขาสีน้ำเงินเป็นที่เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ในยุคที่สองและสาม โทลคีนบอกว่ามิดเดิ้ลเอิร์ธนั้นคือโลกของเรา เพียงแต่เป็นช่วงเวลาในอดีต โดยประมาณว่าปลายยุคที่สามคือช่วงระยะประมาณ 6,000 ปีก่อนยุคของโทลคีน เขายังบรรยายเขตแดนที่ฮอบบิทอาศัยว่าอยู่ที่ "ตะวันตกเฉียงเหนือของโลกเก่า ทางตะวันออกของทะเลใหญ่",เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์, บทนำ, หน้า 2 ซึ่งอ้างอิงถึงอังกฤษและเขตตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรปอย่างชัดเจน ประวัติศาสตร์มิดเดิลเอิร์ธของโทลคีน ถูกแบ่งออกเป็นหลายยุค เรื่องราวที่ปรากฏใน เดอะฮอบบิท และเรื่องราวใน ลอร์ดออฟเดอะริงส์ เกิดขึ้นในราวปลายยุคที่สาม และนำไปสู่ช่วงเริ่มต้นของยุคที่สี่ ในขณะที่เรื่องราวใน ซิลมาริลลิออน ซึ่งเป็นงานเขียนของโทลคีนเกี่ยวกับมิดเดิลเอิร์ธที่เก่าแก่ที่สุด เป็นเรื่องที่เกิดตั้งแต่ยุคสร้างโลกและยุคที่หนึ่งเป็นส่วนใหญ.

มหาสงครามชิงพิภพและมิดเดิลเอิร์ธ · มิดเดิลเอิร์ธและวิชคิง · ดูเพิ่มเติม »

อภินิหารแหวนครองพิภพ

อภินิหารแหวนครองพิภพ (The Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring) เป็นภาพยนตร์ตอนแรกสุดของภาพยนตร์ไตรภาคเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ กำกับโดย ปีเตอร์ แจ็กสัน และออกฉายครั้งแรกในปี..

มหาสงครามชิงพิภพและอภินิหารแหวนครองพิภพ · วิชคิงและอภินิหารแหวนครองพิภพ · ดูเพิ่มเติม »

ฮอบบิท

อบบิท (Hobbit) เป็นเผ่าพันธุ์สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งในจินตนิยายของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน ปรากฏตัวครั้งแรกในหนังสือฮอบบิท และมีบทบาทสำคัญในเรื่องเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ฮอบบิทเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีรูปร่างคล้ายมนุษย์ แต่มีขนาดย่อมกว่า และไม่ล่ำบึกบึนเหมือนอย่างคนแคระ เนื่องจากฮอบบิทมีขนาดราวครึ่งหนึ่งของมนุษย์ จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ฮาล์ฟลิง (Halfling) พวกเอลฟ์เรียกเขาว่า เพเรียนนัธ (Periannath) แต่พวกฮอบบิทเรียกตัวเองว่า คูดุค (Kuduk) ส่วนคำว่า ฮอบบิท มีที่มาจากคำในภาษาโรเฮียริคว่า โฮลบีตลาน (Holbytlan) ซึ่งหมายถึง ผู้อยู่ในโพรง ฮอบบิทมีภาษาพูดของตนเอง เรียกว่า ภาษาฮอบบิติช เป็นภาษาในตระกูลเดียวกันกับภาษาโรเฮียริค เนื่องจากถิ่นฐานดั้งเดิมของชาวฮอบบิทกับชาวโรเฮียริมอยู่ใกล้เคียงกัน กอลลัม ในบทนำของเรื่อง เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ระบุว่า ฮอบบิทส่วนใหญ่มีความสูงประมาณ 2-4 ฟุต ความสูงเฉลี่ย 3 ฟุต 6 นิ้ว มีอายุเฉลี่ยราว 100 ปี (สูงสุดประมาณ 130 ปี) เท้าเป็นขนและเดินได้เงียบ ปลายหูแหลม อาศัยอยู่ในโพรง ชอบการกินอาหาร ชอบการละเล่นและความสนุกสนาน เป็นเผ่าพันธุ์ที่รักสงบ อายุยืนกว่ามนุษย์ธรรมดา ถ้าฮอบบิทอายุได้ 33 ปี จะเทียบกับมนุษย์ได้ 21 ปี เมื่อนั้นจึงจะถือว่าฮอบบิทคนนั้นเป็นผู้ใหญ่แล้ว ฮอบบิทกินอาหารถึงวันละ 7 มื้อ ได้แก่ มื้อเช้า, มื้อหลังเช้า, มื้อ 11 โมง, มื้อเที่ยง, มื้อน้ำชา, มื้อเย็น และมื้อดึก ทั้งนี้ไม่รวมของว่างเล็กๆ น้อยๆ ที่ทานได้ตลอดทั้งวัน ทานครั้งแรกถึง 6 มื้อ ฮอบบิททานอาหารได้ทุกประเภท แต่ที่โปรดปรานที่สุดคือ เห็ด ช็อคโกแล็ต และเหล้าเอล และ ฮอบบิท ชอบทำขนมเค็กด้วย เผ่าพันธุ์ฮอบบิทเป็นผู้ชำนาญการด้านยาสูบ ดินแดนของพวกเขาเป็นแหล่งผลิตยาสูบมวนกระดาษสีดำชั้นดีที่สุดของมิดเดิลเอิร์ธ และพวกฮอบบิทก็ชอบใช้กล้องสูบยาด้ว.

มหาสงครามชิงพิภพและฮอบบิท · วิชคิงและฮอบบิท · ดูเพิ่มเติม »

เมอเรียด็อค แบรนดี้บั๊ก

มอเรียด็อค แบรนดี้บั๊ก หรือชื่อเล่นในหมู่เพื่อนว่า เมอร์รี่ เป็นตัวละครในจินตนิยายเรื่อง เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ซึ่งประพันธ์โดย เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นชาวฮอบบิท ในตระกูลใหญ่แห่งบั๊กแลนด์ เขาเกิดในปีที่ 2982 ของยุคที่สาม เป็นลูกชายคนเดียวของซาราด็อค แบรนดี้บั๊ก ผู้นำแคว้นบั๊กแลนด์ เขาจึงเป็นทายาทของผู้ครองแคว้น แม่ของเขาคือเอสเมอรัลดา ตุ๊ค น้องสาวของเธนพาลาดิน ตุ๊ค เมอร์รี่จึงเป็นลูกพี่ลูกน้องกับปิ๊ปปิ้น ซึ่งเป็นเพื่อนสนิทของเขาด้วย เมอร์รี่เป็นทั้งเพื่อนสนิทและญาติห่างๆ ของโฟรโด แบ๊กกิ้นส์ เขาชอบการพายเรือเล่น (เช่นเดียวกับชาวบั๊กแลนด์ส่วนใหญ่) และชื่นชอบการศึกษาแผนที่ เมอร์รี่ถูกกล่าวถึงหลายครั้งในหนังสือในแง่ของความเฉลียวฉล.

มหาสงครามชิงพิภพและเมอเรียด็อค แบรนดี้บั๊ก · วิชคิงและเมอเรียด็อค แบรนดี้บั๊ก · ดูเพิ่มเติม »

เอโอวีน

อโอวีน (Éowyn) เป็นตัวละครตัวหนึ่งในนิยายชุด เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน นางเป็นสตรีสูงศักดิ์ในอาณาจักรโรฮัน เป็นที่รู้จักกันในนาม "ท่านหญิงขาวแห่งโรฮัน" หรือ "เลดี้แห่งอิธิลิเอน" ชื่อ เอโอวีน เป็นคำในภาษาอังกฤษเก่า ซึ่งโทลคีนใช้ในการถอดความ (ตามที่เขาว่า) ถ้อยคำต่างๆ ในภาษาโรเฮียริค มีความหมายว่า "ผู้ยินดีในอาชา" มาจากคำว่า เอโอ (Eoh-) หมายถึง ม้า และ วีน (-wyn) หมายถึง ความรื่นเริงยินดี แต่ชื่อจริงๆ ของนางในภาษาโรเฮียริคนั้นไม่ได้ถูกกล่าวถึง.

มหาสงครามชิงพิภพและเอโอวีน · วิชคิงและเอโอวีน · ดูเพิ่มเติม »

เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน

. อาร.

มหาสงครามชิงพิภพและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · วิชคิงและเจ. อาร์. อาร์. โทลคีน · ดูเพิ่มเติม »

เดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์

อะลอร์ดออฟเดอะริงส์ (The Lord of the Rings) เป็นนิยายแฟนตาซีขนาดยาว ประพันธ์โดยศาสตราจารย์ชาวอังกฤษ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เป็นนิยายที่ต่อเนื่องกับนิยายชุดก่อนหน้านี้ของโทลคีน คือ เรื่อง There and Back Again หรือที่รู้จักกันดีอีกชื่อหนึ่งว่า เดอะฮอบบิท แต่ได้ขยายโครงเรื่องซับซ้อนไปกว่า เดอะฮอบบิท มาก โทลคีนแต่งเรื่องนี้ขึ้นในช่วงปี..

มหาสงครามชิงพิภพและเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ · วิชคิงและเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ · ดูเพิ่มเติม »

เซารอน

ซารอน (Sauron) เป็นตัวละครหลักฝ่ายอธรรมในนิยายเรื่องเดอะลอร์ดออฟเดอะริงส์ ของ เจ. อาร์. อาร์. โทลคีน เดิมเป็นเทพไมอา ซึ่งทำงานรับใช้จอมมารมอร์กอธ ภายหลังตั้งตัวเป็นใหญ่ เซารอนเป็นผู้หลอมสร้างแหวนเอก ซึ่งบรรจุพลังอำนาจมหาศาลเอาไว้ภายใน และสามารถบังคับควบคุมใครก็ตามที่สวมแหวนแห่งอำนาจวงอื่น.

มหาสงครามชิงพิภพและเซารอน · วิชคิงและเซารอน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มหาสงครามชิงพิภพและวิชคิง

มหาสงครามชิงพิภพ มี 56 ความสัมพันธ์ขณะที่ วิชคิง มี 22 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 10.26% = 8 / (56 + 22)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มหาสงครามชิงพิภพและวิชคิง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »